The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เอกสารวิชาการชีวภัณฑ์ป้องกันกำจัดศัตรูพืช

ชีวภัณฑ์ป้องกันกำจัดศัตรูพืช

Keywords: ชีวภัณฑ์,การป้องกันกำจัดศัตรูพืช,ชีววิธี,ตัวห้ำ,ตัวเบียน

ในปี พ.ศ. 2544 อุทัย ได้รายงานว่า ไวรัส NPV เป็นไวรัสที่เกิดโรคกับแมลงในอันดับ Lepidoptera
ได้หลายชนิดและแมลงในอันดับนี้ส่วนใหญ่เป็นแมลงศัตรูพืชท่ีมีความส�ำคัญทางเศรษฐกิจ เนื่องจากไวรัส NPV
มีีคุุณสมบััติิสำำ�คััญคืือมีีความเฉพาะเจาะจงสููงมากถึึงระดัับ species ในขณะเดีียวกัันไวรััส NPV มีีประสิิทธิิภาพสููง
ต่่อแมลงศััตรููพืืชเป้้าหมายในระยะตััวอ่่อน (หนอนผีีเสื้�อ) มากกว่่าไวรััสชนิิดอื่�นๆ ที่�เกิิดโรคกัับแมลงในอัันดัับนี้�
เน่ืองจากมีความเฉพาะเจาะจงสูงต่อแมลงศัตรูพืชเป้าหมายเท่าน้ันจึงไม่ท�ำลายแมลงอื่นๆ เช่น แมลงห้�ำ
แมลงเบียน และแมลงศัตรูธรรมชาติ ในประเทศทีพ่ ฒั นาแลว้ มีนักกฏี วทิ ยาท�ำการวจิ ัยโรคไวรัส NPV เพือ่ นำ� มา
ใช้กำ� จัดแมลงศตั รพู ชื กนั อย่างกวา้ งขวาง เป็นการเพิ่มทางเลอื กให้เกษตรกรในการควบคุมแมลงศัตรูพชื ชว่ ยลด
การใช้สารเคมีก�ำจัดแมลง ลดปัญหาพิษตกค้างในผลิตผลทางการเกษตร ตลอดจนช่วยลดการต้านทานต่อสารเคมี
ก�ำจัดแมลงของแมลงศัตรูพืช เน่ืองจากไวรัส NPV มีความปลอดภัยสูงต่อมนุษย์ สัตว์ และส่ิงแวดล้อม
ปัจจุบันได้มีการวิจัยและพัฒนาน�ำไวรัส NPV มาผลิตในเชิงอุตสาหกรรมและน�ำมาใช้ควบคุมแมลงศัตรูพืช
ที่่�สำำ�คััญทางเศรษฐกิิจได้้หลายชนิิด และมีีการขึ้�นทะเบีียนเพื่�อผลิิตจำำ�หน่่ายเป็็นการค้้าในหลายประเทศ เช่่น
Heliothis zea NPV, Helicoverpa armigera NPV, Trichoplusia ni NPV, Orgia pseudotsugata NPV,
Spodoptera exigua NPV, Spodoptera litura NPV, Spodoptera frugiperda NPV, Spodoptera
littoralis NPV, Lymantria dispar NPV, Neodiprion sertifer NPV
ปี พ.ศ. 2513 กลุ่มงานวิจัยการปราบศัตรูพืชทางชีวภาพ ได้เริ่มท�ำการค้นคว้าวิจัยไวรัส NPV ของ
หนอนกระทู้หอม ในปี พ.ศ. 2520 ได้ท�ำการวิจัยไวรัส NPV ของหนอนเจาะสมอฝ้าย และในปี พ.ศ. 2535
ได้ท�ำการวิจัยไวรัส NPV ของหนอนกระทู้ผัก ในปี พ.ศ. 2519-2521 ได้มีการทดลองน�ำเช้ือไวรัส NPV
ของหนอนกระทู้หอม SeNPV ไปใช้ในโครงการการป้องกันก�ำจัดหนอนกระทู้หอมในหอมแดงและหอมหัวใหญ่
ภายใต้โครงการป้องกันก�ำจัดแมลงศัตรูผักโดยวิธีผสมผสาน และในปี พ.ศ. 2530-2540 ได้น�ำไวรัส NPV
ของหนอนเจาะสมอฝ้าย HaNPV ไปใช้ร่วมกับแตนเบียนไข่ Trichogramma confusum ภายใต้โครงการ
การปอ้ งกนั กำ� จดั แมลงศตั รูฝา้ ยโดยวิธผี สมผสาน โดยด�ำเนนิ งานร่วมกบั กรมส่งเสรมิ การเกษตรในแหล่งปลกู ฝา้ ย
แหลง่ ใหญ่ของประเทศ เช่น จังหวัดนครสวรรค์ ลพบรุ ี สระแก้ว นครราชสีมา อุทัยธานี โดยกรมวชิ าการเกษตร
ได้้มองเห็็นความสำำ�คััญและศัักยภาพของไวรััส NPV จึึงจััดสรรงบประมาณสร้้างโรงงานต้้นแบบการผลิิต
เชื้�อไวรัสั NPV เพื่�อทำำ�การผลิิตขยายนำำ�ไปเผยแพร่ใ่ ห้้เกษตรกรได้้รู้้�จักั และนำำ�ไปใช้ป้ ระโยชน์ต์ ่่อไป

กลไกการท�ำลายศัตรูพื ช
จากการทดลองของ Granados and Williams ในปีี ค.ศ. 1986 พบว่่าไวรััส NPV จะทำำ�ให้้แมลง
เกิิดเป็็นโรคได้้ต่่อเมื่�อแมลงกิินอาหารที่่�มีีเชื้�อไวรััส NPV ปะปนอยู่�เข้้าไป เมื่�อไวรััสเคลื่�อนที่�เข้้าสู่่�กระเพาะอาหาร
ส่่วนกลาง (midgut) สภาพน้ำำ��ย่่อยของตััวอ่่อนแมลงในอัันดัับ Lepidoptera มีีคุุณสมบััติิเป็็นด่่าง (pH 9-11)
ย่่อยสลายผลึึกโปรตีีน นิิวคลีีโอแคปสิิดจะหลุุดกระจายออกไปและเข้้าทำำ�ลายอวััยวะภายในของแมลง
การเกดิ โรคในหนอนของแมลงโดยไวรสั NPV จึงแบง่ ออกเป็น 2 ขัน้ ตอนทส่ี �ำคญั คอื

เอกสารวชิ าการ 45

ชีวภณั ฑป์ อ้ งกันกำ� จัดศตั รพู ื ช

การเขา้ ท�ำลายระยะที่ 1

นิวคลีโอแคปสิดจะเข้าท�ำลายเซลล์รอบท่ออาหารส่วนกลาง (midgut epithelial cells) เพ่ิมปริมาณ
ของอนุภาคไวรัสอยู่ในภายในนิวเคลียสของเซลล์แต่ไม่มีการสร้างผลึกโปรตีนห่อหุ้มอนุภาคไวรัสท่ีถูกสร้าง
ขน้ึ มาใหม่ เรยี กอนุภาคแบบนี้ว่า Extra Cellular Virion หรือ buded virion (ECV, BV) จากนนั้ ผ่านออกจาก
เซลล์รอบท่ออาหารเข้าไปในกระแสเลอื ดและแพรก่ ระจายตามกระแสเลือดไปยังเน้อื เยอ่ื ต่างๆ ทั่วตัวแมลง

การเขา้ ท�ำลายระยะที่ 2

ในปี ค.ศ. 1991 Adams and Mc Clintock พบว่า buded virion จะเข้าไปท�ำลายเซลล์เม็ดเลือด
ของแมลงและเนื้�อเยื่�อส่่วนต่่างๆ ของแมลงโดยจะเข้้าไปทวีีจำำ�นวนอยู่�ในนิิวเคลีียสโดยอาศััยอาหารภายในนิิวเคลีียส
ของแมลง จากนั้�นจะมีีการสร้้างผลึึกโปรตีีนห่่อหุ้�มอนุุภาคของไวรััสจนทำำ�ให้้นิิวเคลีียสของเซลล์์และเซลล์์
ของเนื้�อเยื่�อต่่างๆ ขยายขนาดขึ้�นและแตกเป็็นผลให้้การทำำ�งานของเนื้�อเยื่�อต่่างๆ เสีียไป หนอนจะตายในที่่�สุุด
จึึงเป็็นลัักษณะสำำ�คััญของหนอนผีีเสื้�อที่�เกิิดโรคจากไวรััส NPV โดยหนอนที่�ตายจะมีีลัักษณะลำำ�ตััวที่�แตก
เละง่่าย และของเหลวภายในลำำ�ตััวหนอนที่�เป็็นโรคจะมีีสีีขาวขุ่�น ผลึึกโปรตีีนที่�อยู่�ภายในลำำ�ตััวหนอนจะ
แพร่กระจายออกส่สู ภาพธรรมชาติและระบาดเข้าท�ำลายแมลงตวั อ่นื ตอ่ ไป
ลัักษณะอาการของหนอนที่�ได้้รัับไวรััส NPV อาการภายนอกที่่�สัังเกตได้้คืือหนอนจะลดการกิินอาหาร
เคลื่�อนไหวเชื่�องช้้าลง ผนัังลำำ�ตััวมีีสีีซีีดลงหรืือลัักษณะผนัังลำำ�ตััวเป็็นมััน ลำำ�ตััวเปลี่�ยนเป็็นสีีขาวขุ่�นหรืือสีีครีีม
อาการระยะสุุดท้้ายหนอนมัักจะพยายามไต่่ขึ้�นส่่วนยอดของพืืชแล้้วเกาะนิ่�ง หยุุดกิินอาหาร และตายในลัักษณะ
ใช้้ขาเทีียม 1 คู่� เกาะต้้นพืืชเอาไว้้โดยห้้อยหััวและส่่วนท้้องลงมาลัักษณะเป็็นรููปตััว V หััวกลัับ เมื่�อหนอนตาย
ผนงั ลำ� ตวั จะแตกเละและเปลีย่ นเปน็ สดี �ำอย่างรวดเร็ว

ลักษณะการตายของหนอนกระทหู้ อม Spodoptera exigua (Hübner) จากไวรัส NPV

46 เอกสารวิชาการ

ชีวภัณฑ์ปอ้ งกันก�ำจดั ศตั รพู ื ช

วิธกี ารใชช้ วี ภัณฑค์ วบคุมศัตรูพื ช
จุุดมุ่�งหมายที่่�นำำ�ไวรััส NPV สาเหตุุโรคแมลงมาใช้้ควบคุุมแมลงศััตรููพืืช เพื่�อเสริิมวิิธีีการป้้องกัันกำำ�จััด
โดยใช้้สารเคมีีซึ่�งเป็็นวิิธีีการป้้องกัันกำำ�จััดที่่�มีีการใช้้อยู่�จากอดีีตจนถึึงปััจจุุบััน โดยคาดหวัังว่่าเมื่�อนำำ�เข้้ามา
ประยุุกต์์ใช้้จะเป็็นการช่่วยลดปััญหามลภาวะเป็็นพิิษต่่อเกษตรกร และพิิษตกค้้างบนผลิิตผลทางการเกษตร
ปััญหาราคาสารเคมีีที่่�สููงขึ้�นส่่งผลกระทบต่อ่ ต้้นทุุนการผลิติ และปััญหาแมลงสร้้างความต้า้ นทานต่อ่ สารเคมีี เป็น็ ต้้น
แต่่ไวรััส NPV ก็็มีีจุุดอ่่อนในตััวของมัันเอง เนื่�องจากเป็็นสิ่�งมีีชีีวิิตจึึงต้้องมีีองค์์ประกอบหลายอย่่างมาเกื้�อกููล
เพื่�อช่ว่ ยให้้การควบคุมุ ได้้ผลดีี สิ่�งเหล่่านี้้�จะเป็น็ ข้้อจำำ�กััดต่อ่ การใช้้ไวรัสั NPV อย่า่ งมีีประสิิทธิภิ าพ การศึึกษาค้น้ คว้า้
เพื่�อนำำ�ข้้อดีีมาใช้้ประโยชน์์อย่่างเต็็มที่� และการศึึกษาหาวิิธีีการหลีีกเลี่�ยงข้้อจำำ�กััดหรืือจุุดอ่่อนของไวรััสเพื่�อ
การนำำ�มาใช้้ให้้ได้้ประโยชน์์สููงสุุด นัับเป็็นสิ่�งสำำ�คััญยิ่�งต่่อการนำำ�ไวรััส NPV ไปใช้้ให้้ประสบผลสำำ�เร็็จดัังเช่่น
การใช้้สารเคมีีกำำ�จััดแมลง

การใช้ไวรัส SeNPV, HaNPV และ SlNPV ควบคมุ หนอนกระทู้หอม
หนอนเจาะสมอฝ้าย และหนอนกระทผู้ ัก

พืช ลักษณะการเขา้ ท�ำลายพืช อัตราและวิธกี ารใช้

1. ขา้ วโพดฝักออ่ น หนอนกระทหู้ อม SeNPV 20 มิลลิลิตร/น้�ำ 20 ลิตร พ่น
ขา้ วโพดหวาน เข้าท�ำลายขา้ วโพดอายุ 1-2 สปั ดาห์ เม่ือพบการท�ำลายของหนอนกระทู้หอม
เกนิ 20%
หนอนเจาะสมอฝา้ ย HaNPV 30 มิิลลิิลิิตร/น้ำำ�� 20 ลิิตร
พบเข้าท�ำลายในระยะที่เกสรตัวผู้เร่ิม พ่่นในระยะที่่�ฝัักข้้าวโพดเริ่�มแทงไหม
แทงช่อจนถึงระยะที่ฝักข้าวโพดมีไหมย่ืน พ้้นปลายฝััก พ่น่ 1-2 ครั้�ง ห่่างกััน 4 วันั
ออกจากปลายฝัก โดยแม่ผีเสื้อจะวางไข่
บรเิ วณไหมปลายฝกั เมอ่ื หนอนฟกั เปน็ ตวั
จะกดั กนิ ไหมปลายฝกั เมอ่ื หนอนโตขนึ้ จะ
เข้ากัดกินบริเวณปลายฝักท�ำให้ส่วนของ
เมล็ดบริเวณปลายฝักถูกท�ำลาย ท�ำให้
ขา้ วโพดหวานไม่ไดค้ ณุ ภาพ

2. พชื ตระกูลกะหล�่ำ หนอนกระท้หู อม SeNPV 20 มิลลลิ ติ ร/นำ้� 20 ลิตร
กะหลำ่� ปลี กะหลำ่� ดอก พบเข้าท�ำลายตั้งแต่ผักอายุ 2 สัปดาห์ พน่ ทกุ 5-7 วนั
คะน้า ผกั กาดขาวปลี จนถงึ ระยะเก็บเกี่ยวผลผลติ
หนอนกระทู้ผกั SlNPV 30 มิลลิลติ ร/น�ำ้ 20 ลติ ร
พบเข้าท�ำลายตั้งแต่ผักอายุ 2 สัปดาห์ พน่ ทุก 7 วนั
จนถึงระยะเก็บเกย่ี วผลผลติ

เอกสารวิชาการ 47

ชีวภณั ฑ์ปอ้ งกันกำ� จดั ศตั รพู ื ช

พชื ลักษณะการเขา้ ทำ� ลายพืช อตั ราและวิธีการใช้

3. พืชตระกลู หอม หนอนกระทหู้ อม SeNPV 20 มิลลิลติ ร/น�ำ้ 20 ลติ ร พ่นทกุ
หอมแดง หอมหัวใหญ่ พบเขา้ ทำ� ลายตงั้ แตร่ ะยะ 15 วนั หลงั จาก 7 วัน เม่ือพบต้นที่มีรอยถูกท�ำลายเกิน
กระเทยี ม งอกจนถึงระยะเก็บเก่ียวผลผลิต โดย 10% หากพบระบาดรุุนแรง มีีความ
แม่ผีเสื้อวางไข่บนใบ เม่ือไข่ฟักหนอน เสีียหายเกิิน 20% ควรพ่่นติิดต่่อกััน
จะเจาะเข้าไปอาศัยกัดกินอยู่ภายใน 2 ครั้�ง ทุุก 4 วััน
หลอดหอม

4. พชื ตระกลู ถวั่ หนอนกระทู้หอม SeNPV 20 มลิ ลิลิตร/นำ้� 20 ลิตร ระยะ
ถว่ั ฝักยาว ถัว่ ลันเตา พบเข้าท�ำลายตั้งแต่หลังถ่ัวเริ่มงอก หลังงอกพ่นทกุ 5-7 วัน ระยะถัว่ ตดิ ดอก
ถั่วเขียว 2 สัปดาห์ ไปจนกระทั่งถ่ัวติดฝักอ่อน และติดฝัก ถ้ามีหนอนระบาดรุนแรงควร
โดยหนอนจะเข้ากัดกินยอดอ่อน ใบ พ่นตดิ ตอ่ กัน 2 คร้ัง หา่ งกัน 4 วนั
ดอก และฝกั
หนอนเจาะสมอฝ้าย HaNPV 30 มิลลิลิตร/น้�ำ 20 ลิตร พ่น
พบหนอนเข้าท�ำลายในระยะที่ถั่วเริ่ม สัปดาห์ละ 1 ครัง้ เม่อื พบการระบาดของ
ออกดอก โดยเข้าท�ำลายดอก เจาะกัด หนอนในระยะถวั่ อายุ 30-50 วนั ควรพน่
กินฝักอ่อนในถั่วลันเตา ถั่วเขียวและ ติดต่อกันทุก 5-7 วนั
ถวั่ ฝกั ยาว จะพบการทำ� ลายไปจนกระทงั่
สิ้นสดุ การปลูก

5. หนอ่ ไม้ฝร่งั หนอนกระทู้หอม SeNPV 20 มิลลิลิตร/น�้ำ 20 ลิตร พ่น
พบเข้าท�ำลายระยะท่ีหน่อไม้ฝรั่งเร่ิม ทุก 7 วัน หลังจากหน่อไม้ฝรั่งพักตัว
แทงหน่อหลังจากการพักต้น 20-25 วัน 20-30 วัน หากพบการระบาดรุนแรง
โดยกัดกินใบบริเวณยอดระยะเร่ิมแทงหน่อ (เฉล่ียพบหนอนเกิน 3 ตัว/กอ) ควรพ่น
เพื่อให้ผลผลิต หนอนมักจะกัดกินบริเวณ ตดิ ตอ่ กนั 2 ครง้ั ทุก 4 วัน
ยอดของหน่อ ท�ำให้หน่อไม้เกิดรอยแผล
บิดเบ้ยี วไมไ่ ดค้ ุณภาพ
หนอนเจาะสมอฝ้าย HaNPV 30 มิลลิลิตร/น�้ำ 20 ลิตร พ่น
พบระบาดทำ� ลายหนอ่ ไมฝ้ รงั่ เปน็ ครงั้ คราว ทุก 5-7 วัน หากพบการระบาดรุนแรง
ในระยะที่หน่อไม้ฝร่ังติดดอกและติดผล ควรพ่นติดต่อกัน 2 คร้ัง ระยะห่างกัน
หนอนจะกัดกินอยู่บริเวณยอดอ่อนหรือ 4 วัน
กัดกินผลของหน่อไม้ฝร่ัง พบว่าหนอน
เจาะสมอฝ้ายเม่ือเคล่ือนที่ลงไปบริเวณ
โคนต้นจะกัดกินหน่ออ่อนท่ีเพ่ิงโผล่พ้น
ผิวดินเกิดความเสียหาย ไม่สามารถ
จำ� หน่ายได้
หนอนกระทู้ผัก SlNPV 30 มิลลิลิตร/น้�ำ 20 ลิตร พ่น
พบเข้าท�ำลายหน่อไม้ฝรั่งในบางพื้นที่จะ ทุก 7 วัน หากพบการระบาด
กัดกินบริเวณใบและยอดอ่อน กลางวัน
หนอนจะหลบอย่บู ริเวณโคนตน้

48 เอกสารวิชาการ

ชีวภัณฑป์ ้องกันก�ำจดั ศตั รพู ื ช

พืช ลักษณะการเข้าทำ� ลายพืช อตั ราและวิธกี ารใช้
6. กระเจีย๊ บเขียว
หนอนกระทู้หอม SeNPV 20 มิลลิลิตร/น้�ำ 20 ลิตร พ่น
7. องุ่น พบเข้าท�ำลายต้ังแต่กระเจ๊ียบเขียวอายุ ทุก 7 วัน ระยะที่เร่ิมติดดอกและให้ฝัก
2 สัปดาห์ จนกระท่ังระยะท่ีติดฝักให้ ควรพ่นทุก 5-7 วัน หากพบการระบาด
ผลผลิต โดยเข้าท�ำลายยอด ดอกตูม รุนแรงให้พ่นติดต่อกัน 2 คร้ัง ห่างกัน
ดอกบาน และฝกั 4 วนั
หนอนเจาะสมอฝ้าย HaNPV 30 มิลลิลิตร/น�้ำ 20 ลิตร พ่น
เข้าท�ำลายในระยะที่เริ่มออกดอกและ ทุกสัปดาห์ หากพบการระบาดรุนแรง
ติดฝัก ต่อเนื่องไปจนระยะเกบ็ เกย่ี วผลผลติ พบหนอนเฉลี่ยเกิน 30 ตัว/100 ต้น
ควรพน่ ตดิ ต่อกัน 2 คร้งั ทุก 4 วนั
หนอนกระทู้ผกั SlNPV 30 มิลลิลิตร/น�้ำ 20 ลิตร พ่น
พบเข้าทำ� ลายในทกุ ระยะการเติบโต ทุก 7 วนั

หนอนกระทูห้ อม ระยะที่องุ่นแตกยอดอ่อน ใช้ SeNPV
พบเขา้ ทำ� ลายตง้ั แตร่ ะยะหลงั จากตดั แตง่ อตั รา 20 มลิ ลิลิตร/น้ำ� 20 ลติ ร พ่นทกุ
กิ่งองุ่น 15-20 วัน ระยะท่ีเริ่มติดดอก 7-10 วัน ระยะท่ีเร่ิมแทงช่อดอกและ
และตดิ ผลออ่ น จนกระท่ังระยะท่ีผลองุ่น ดอกบาน พ่นทุก 5 วัน ติดต่อกัน 3-4
อายุ 60 วนั คร้ัง ระยะองนุ่ ติดผลแลว้ 30 วนั ควรพน่
ทกุ 7-10 วนั
หนอนเจาะสมอฝา้ ย HaNPV 30 มิลลิลิตร/น�้ำ 20 ลิตร ใน
เข้้าทำำ�ลายองุ่�นในระยะที่�องุ่�นมีีช่่อดอก ระยะก่อนที่ช่อดอกองุ่นบาน 2-3 วัน
และพร้้อมจะบาน แม่่ผีีเสื้�อจะเข้้ามา จากนัน้ พ่นติดตอ่ กนั อกี 2 ครั้ง ระยะหา่ ง
วางไข่่บนช่่อดอกระยะก่่อนดอกบาน จากคร้ังแรก 4 วัน
2-3 วันั เมื่�อไข่่ฟักั เป็็นตัวั หนอนจะอาศััย
กััดกิินอยู่�ในช่่อดอก เมื่�อองุ่�นติิดผลอ่่อน
เป็็นระยะที่ �หนอนเจาะสมอฝ้้ายอยู่ �ใน
วััย 2-3 จะเริ่�มกััดกิินผลอ่่อน เมื่�อ
หนอนโตขึ้�นเป็็นวััย 4-5 จะทำำ�ความ
เสีียหายแก่่ผลองุ่�นมากขึ้�น พบว่่าหนอน
1 ตััวจะสามารถทำำ�ลายผลอ่่อนในช่่อได้้
มากกว่่า 2 ช่อ่ เป็น็ ผลทำำ�ให้้ผลผลิิตลดลง
ทรงช่่อเสีีย ทำำ�ให้้ผลผลิติ องุ่�นลดลง และ
ผลผลิิตลดคุณุ ภาพลง
หนอนกระทู้ผกั SlNPV 30 มิลลิลิตร/น�้ำ 20 ลิตร พ่น
พบเริ่มเข้าท�ำลายช่อผลองุ่นหลังตัดแต่ง ทุก 7 วนั
ช่อแล้ว

เอกสารวชิ าการ 49

ชีวภัณฑ์ป้องกนั กำ� จัดศัตรูพื ช

พืช ลักษณะการเขา้ ทำ� ลายพืช อตั ราและวิธกี ารใช้

8. ไมด้ อก เชน่ กล้วยไม้ หนอนกระทหู้ อม SeNPV 20 มิลลิลิตร/น้�ำ 20 ลิตร
เดซี่ ดาวเรือง กหุ ลาบ พบหนอนเข้้าทำำ�ลายตั้�งแต่่ระยะต้้นกล้้า ระยะก่อนออกดอก พ่นทุก 7-10 วัน
และเบญจมาศ โดยหนอนชอบกััดกิินยอดอ่่อน ระยะ ระยะที่เริ่มออกดอกควรลดระยะพ่นเป็น
ติิดดอกจะเข้้าทำำ�ลายดอกตููม และดอก ทกุ 5-7 วนั
ที่�บานทำำ�ให้้คุุณภาพของดอกเสียี ไป

9. พริก หนอนเจาะสมอฝา้ ย HaNPV 30 มิลลิลิตร/น้�ำ 20 ลิตร
พบท�ำลายพริกท่ีมีผลขนาดกลางและ พ่นเม่ือพบการระบาดของหนอน โดย
ผลขนาดใหญ่ ในระยะท่ีเร่ิมติดดอก พ่นสัปดาห์ละครั้ง หากมีการระบาด
ติดผลอ่อนไปจนกระท่ังเก็บเก่ียวผลผลิต รุนแรงควรพ่นตดิ ต่อกัน 2 คร้งั ทกุ 4 วนั
โดยหนอนเจาะเข้าไปกัดกินเมล็ดพริก
ภายในผล

10. มะเขือเทศ หนอนเจาะสมอฝ้าย HaNPV 30 มิลลิลิตร/น�้ำ 20 ลิตร
เขา้ ทำ� ลายระยะทม่ี ะเขอื เทศเรมิ่ ออกดอก พ่นทุก 7 วัน ระยะที่ออกดอกและติด
และติดผลอ่อนต่อเนื่องไปจนกระท่ัง ผลอ่อน หากพบที่มีปริมาณหนอนเฉล่ีย
เก็บเกีย่ วผลผลิต เกนิ 20 ตวั /มะเขือเทศ 100 ตน้ ควรพน่
ติดต่อกนั 2 ครง้ั ทกุ 4 วนั

11. สม้ เขียวหวาน หนอนเจาะสมอฝา้ ย HaNPV 200 มิลลิลิตร/ไร่ ติดต่อกัน
เข้า้ ทำำ�ลายระยะที่่�ส้้มเขียี วหวานออกดอก 2-3 คร้ัง โดยปรับหัวฉีดเครื่องพ่นสาร
และดอกเริ่�มบาน ก่อ่ นดอกบาน 2-3 วันั ให้อยู่ที่อัตรา 200-250 ลิตร/ไร่ เริ่ม
แม่ผ่ ีเี สื้�อจะเข้า้ มาวางไข่บ่ นช่อ่ ดอกบริเิ วณ พ่นคร้ังแรกก่อนดอกส้มบาน 2-3 วัน
กลีีบดอกที่่�ตููม เมื่�อหนอนฟัักออกจากไข่่ พ่นครั้งท่ี 2 และ 3 หลังจากการพ่น
จะเข้้ากััดกิินอยู่�ภายในดอก หนอนวััย ครงั้ แรกทุก 4 วัน
2-3 จะทำำ�ลายผลอ่่อนของส้ม้ ที่�เพิ่�งติิดผล
เมื่�อหนอนอยู่�ในวััย 4-5 ความเสีียหาย
จะรุุนแรงขึ้ �นเนื่ �องจากหนอนตััวโตมััก
เคลื่�อนที่�ไปยัังช่่อดอกอื่�นๆ ระยะทาง
ไกลขึ้ �น

50 เอกสารวชิ าการ

ชวี ภัณฑ์ป้องกันก�ำจัดศัตรพู ื ช

ข้อดี

1. เป็็นชีีวิินทรีีย์์ที่่�มีีอยู่�ในธรรมชาติิ ผ่่านการวิิวััฒนาการจนปรัับตััวสามารถอาศััยแมลงศััตรููพืืช
เป็็นแหล่่งแพร่่พัันธุ์� เป็็นผลทำำ�ให้้ประชากรของแมลงถููกทำำ�ลายจนลดจำำ�นวนลงต่ำำ��กว่่าระดัับที่�จะทำำ�ความเสีียหาย
ทางเศรษฐกิจิ ได้้
2. ผา่ นการทดสอบแล้วว่าปลอดภยั ต่อมนษุ ย์ สัตว์ พชื และแมลงศตั รูธรรมชาติ
3. ไม่มพี ษิ ตกคา้ งสะสมอยู่บนพืชผล จึงมผี ลกระทบตอ่ สภาพแวดล้อมน้อยมาก
4. สามารถน�ำไปใช้ควบคุมศัตรูพืชได้ 2 ลักษณะ คือ การน�ำไปใช้ก�ำจัดแมลงศัตรูพืชโดยตรงในรูป
ของ microbial insecticide หรืือนำำ�ไปใช้้ในรููปแบบของการควบคุุมระยะยาว โดยการปลดปล่่อยให้้ไวรััส
NPV เข้้าไปปะปนทำำ�ให้้เกิิดโรคในประชากรของแมลงศััตรููพืืช เมื่�อประชากรของแมลงศััตรููพืืชเพิ่�มปริิมาณ
มากขึ้�น สภาพแวดล้้อมเหมาะสมที่�จะเกิิดการระบาดของโรคก็็จะเกิิดการระบาดขึ้�น ซึ่�งสามารถลดประชากร
แมลงศัตรูพืชได้
5. เป็นวิธีการป้องกันก�ำจัดท่ีเสียค่าใช้จ่ายในการพัฒนาการผลิตถูกกว่าการพัฒนาการผลิตสารเคมี
กำ� จดั แมลง
6. การสร้างความตา้ นทานของแมลงต่อการใช้ไวรัส NPV เกิดข้นึ ไดช้ ้ากวา่ สารเคมีกำ� จัดแมลงสงั เคราะห์
7. มคี วามเฉพาะเจาะจงต่อการเกดิ โรคกับแมลงสงู มาก จะทำ� ลายเฉพาะแมลงเป้าหมายเทา่ น้นั
8. การใช้้ไวรัสั NPV เป็น็ การอนุุรักั ษ์แ์ มลงศัตั รูธู รรมชาติิและแมลงผสมเกสรให้ค้ งอยู่�
9. การนำำ�ไวรััส NPV ไปใช้้ในแหล่่งที่�แมลงสร้้างความต้้านทานต่่อสารเคมีีกำำ�จััดแมลง จะช่่วยลดความ
เสียหายจากการทำ� ลายของแมลงศัตรูพชื ลงได้

ข้อจำ� กดั

1. ต้องการระยะเวลาในการฟักตัวก่อนที่หนอนเกิดอาการโรคและตาย โดยทั่วไปต้องใช้เวลา 3-7 วัน
ท้งั นข้ี ้นึ อย่กู บั อายุ ขนาดของหนอน ตลอดจนปริมาณไวรสั NPV ทหี่ นอนกนิ เข้าไป
2. การนำำ�ไวรัสั NPV ไปใช้้ ผู้�ใช้้ต้้องศึกึ ษาคำำ�แนะนำำ�วิธิ ีกี ารใช้ไ้ วรัสั ให้เ้ ข้า้ ใจก่อ่ นจึงึ จะนำำ�ไปใช้้อย่่างได้ผ้ ล
3. สิ่งแวดล้อม เช่น อณุ หภูมิ ความชน้ื แสงแดด ชนดิ ปรมิ าณศตั รูพืช ตลอดจนระดับความเสียหาย
ทางเศรษฐกิจของพืชน้นั ๆ เปน็ ปจั จัยส�ำคญั ต่อการนำ� ไวรสั NPV ไปใชค้ วบคมุ แมลงศตั รพู ชื อย่างได้ผล
4. เกษตรกรคุ้�นเคยกัับการพ่่นสารเคมีีกำำ�จััดแมลง ซึ่�งเมื่�อพ่่นแล้้วศััตรููพืืชจะตายในระยะเวลาอัันสั้�น
จึึงมัักไม่ย่ อมรัับวิิธีกี ารใช้้ไวรััส NPV ซึ่�งใช้เ้ วลานานกว่่าการใช้ส้ ารเคมีีกำำ�จัดั แมลง
5. อาจใช้ไม่ไดผ้ ลดกี บั พชื ทีม่ รี ะดับความเสียหายทางเศรษฐกิจต�ำ่
6. ไวรัส NPV มีความเฉพาะเจาะจงต่อการเกิดโรคกับแมลงศัตรูพืชสูงมาก คือ จะเกิดโรคเฉพาะกับ
แมลงสกุลใดสกุลหนึ่งเท่าน้ัน จะประสบปัญหามากเมื่อน�ำไปใช้กับพืชที่มีแมลงศัตรูพืชมากชนิดท่ีเข้าท�ำลาย
พร้อมๆ กนั
7. การใชไ้ วรัส NPV ให้ไดผ้ ลตอ้ งศกึ ษาขอ้ มูลของศตั รูพืชน้นั ๆ เปน็ อยา่ งดี เช่น วงจรชวี ติ การเข้าทำ� ลาย
ระดับความเสียหายทางเศรษฐกิจของพืชนัน้ ๆ ตลอดจนสภาพทางนเิ วศวิทยาของแหลง่ ท่จี ะนำ� ไวรสั NPV ไปใช้
8. ไวรััส NPV สามารถคงอยู่�บนต้้นพืืชในระยะเวลาสั้้�น และประสิิทธิิภาพลดลงเนื่�องจากถููกรัังสีี
Ultraviolet จากแสงแดดทำำ�ลาย ดัังนั้�นการพ่่นไวรััส NPV จึึงควรพ่่นหลัังเวลา 15.00 น. เป็็นต้้นไป เนื่�องจาก
มีปรมิ าณและความเข้มข้นของรงั สคี ่อนข้างต�ำ่ กวา่ ในตอนกลางวนั

เอกสารวชิ าการ 51

ชวี ภณั ฑป์ ้องกนั กำ� จดั ศัตรพู ื ช

ชนิดของศัตรูพื ช

ช่อื วทิ ยาศาสตร์: Spodoptera exigua (Hübner)
ชื่อสามญั : beet armyworm/ หนอนกระทู้หอม
วงศ์: Noctuidae
อันดับ: Lepidoptera

ผีีเสื้�อหนอนกระทู้�หอม เป็็นผีีเสื้�อกลางคืืนขนาดกลาง ความยาวจากหััวถึึงปลายท้้องประมาณ
2.5 เซนติิเมตร เมื่�อกางปีกี เต็็มที่�กว้้าง 2.0-2.5 เซนติิเมตร มีีจุดุ สีนี ้ำำ��ตาลอ่อ่ นที่�กลางปีกี คู่�หน้า้ 2 จุุด ตััวเต็็มวััย
อายุุ 7-10 วััน เพศเมียี วางไข่เ่ ป็น็ กลุ่�ม กลุ่�มละประมาณ 20-25 ฟอง สามารถวางไข่ไ่ ด้้ 200-400 ฟอง ไข่่ปกคลุมุ
ด้้วยขนสีีน้ำำ��ตาลอ่่อน ระยะไข่่ 2-3 วััน หนอนที่่�ฟัักจากไข่่ใหม่่ๆ จะอยู่�รวมเป็็นกลุ่�มและกััดกิินผิิวใบ 1-2 วััน
จึึงจะกระจายไปยัังใบอื่�นหรืือต้้นใกล้้เคีียง ลัักษณะหนอนมีีผิิวเรีียบมััน สีีของตััวหนอนขึ้�นอยู่่�กัับอาหาร
และระยะการลอกคราบ เช่น เขียวอ่อน เทาปนด�ำ น้�ำตาลอ่อน น้�ำตาลด�ำ ออกท�ำลายพืชในเวลากลางคืน
ส่วนกลางวันหลบตามซอกใบ ขนาดโตเตม็ ท่ีมลี �ำตวั ยาว 2 เซนตเิ มตร ระยะหนอน 15-18 วัน หนอนเข้าดกั แด้
ใตด้ ินใกลต้ ้นพืช ระยะดกั แด้ 5-7 วนั วงจรชวี ิต 28-35 วัน
ในปี พ.ศ. 2544 กองกีฏและสัตววิทยา ได้รายงานว่า หนอนกระทู้หอมมีรายงานการระบาดทั่วโลก
จึงมีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไป ส่วนใหญ่จะเรียกตามชื่อพืชอาหาร เช่น small cotton worm, linseed
caterpillar, lesser armyworm, pigweed caterpillar, false armyworm, asparagus caterpillar,
small willow moth หรืือ beet armyworm เป็็นต้้น ในประเทศไทยเกษตรกรนิิยมเรีียกแตกต่่างกัันไป
เช่น่ หนอนกระทู้�หอม หนอนหลอดหอม หรือื หนอนหนังั เหนีียว เนื่�องจากสามารถต้า้ นทานต่อ่ สารเคมีกี ำำ�จััดแมลง
ได้้รวดเร็็ว พบระบาดในพืืชเศรษฐกิิจหลายชนิิด เช่่น หอมแดง องุ่�น ฝ้้าย พริิก พืืชตระกููลกะหล่ำำ�� ทานตะวััน
ถั่�วลิิสง ถั่�วเขีียว ถั่�วเหลืือง กุุหลาบ มะเขืือเทศ เป็็นต้้น และในปีี ค.ศ. 1982 E-Guidny et al. รายงานว่่า
หนอนกระทู้�หอมเป็็นแมลงในสกุุล Spodoptera ซึ่�งเป็็นสกุุลที่่�มีีความสามารถในการสร้้างความต้้านทานต่่อ
สารเคมีีกำำ�จััดแมลงได้้อย่่างรวดเร็็วและดีีที่่�สุุดเมื่�อเทีียบกัับแมลงในสกุุลอื่�น สามารถสร้้างความต้้านทานต่่อสารเคมีี
ก�ำจัดแมลงได้เกือบทุกชนิด จึงเป็นปัญหาในการป้องกันก�ำจัดของเกษตรกรตลอดมา สารเคมีก�ำจัดแมลงที่มี
ประสทิ ธภิ าพสงู สามารถนำ� มาใช้ควบคมุ หนอนกระทูห้ อมได้ในระยะเวลาอนั สั้นเพียง 2-3 ปี เท่านนั้

52 เอกสารวชิ าการ

ชวี ภณั ฑป์ ้องกันก�ำจัดศัตรพู ื ช

ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์: Helicoverpa armigera (Hübner)
ชื่อสามัญ: cotton bollworm/ หนอนเจาะสมอฝา้ ย
วงศ์: Noctuidae
อันดบั : Lepidoptera
ผีเส้ือหนอนเจาะสมอฝ้าย เป็นผีเสื้อกลางคืน จัดเป็นแมลงศัตรูพืชท่ีส�ำคัญของประเทศไทย
ในปััจจุุบััน และมีีแนวโน้้มว่่าจะเป็็นศััตรููร้้ายแรงของประเทศในอนาคต ทั้�งนี้�เนื่�องจากแมลงชนิิดนี้้�มีีพืืชอาหาร
กว้้างมาก ประกอบกัับวงจรชีีวิิตค่่อนข้้างสั้�นประมาณ 1 เดืือน เพศเมีียสามารถวางไข่่ได้้ 1,000-2,000 ฟอง
วางไข่่เป็น็ ฟองเดี่�ยวๆ ตามส่่วนต่่างๆ ของพืชื ไข่่มีสี ีีขาวนวล ระยะไข่่ 2-3 วันั สีขี องตัวั หนอนเปลี่�ยนไปตามวัยั
และชนิดิ ของพืืชอาหาร ลำำ�ตัวั มีีขนและมีีแถบสีีครีมี ที่่�ด้้านข้้างลำำ�ตัวั ข้้างละแถบ หนอนลอกคราบ 5 ครั้�ง ตัวั โตเต็็มที่�
ยาวประมาณ 3.5-4 เซนติเิ มตร ระยะหนอน 15-21 วันั จะเข้า้ ดักั แด้ต้ ามรอยแตกของดินิ ระยะดัักแด้้ 8-12 วััน
ตัวเต็มวัยมีความกว้างของปีก 3.2-3.8 เซนติเมตร ปีกคู่หน้าสีน�้ำตาลปนแดง มีลายแถบสีน้�ำตาลอ่อนพาด
ตามขวางของส่วนปลายปีก ปลายส่วนท้องมีพู่ขนสีเหลือง ส�ำหรับเพศผู้ปีกคู่หน้ามีสีน�้ำตาลอมเขียวและ
ส่่วนของท้้องมีีขนสีีน้ำำ��ตาลเข้้ม แม่่ผีีเสื้�อสามารถบิินเคลื่�อนที่�ได้้เป็็นระยะทางไกลๆ ดัังนั้�นจึึงพบว่่ามีีการระบาด
อย่่างรวดเร็ว็ เป็น็ พื้�นที่�กว้้างได้้ตลอดปีี
หนอนเจาะสมอฝ้้ายสามารถสร้้างความต้้านทานต่่อสารเคมีีกำำ�จััดแมลงได้้รวดเร็็ว จึึงเป็็นปััญหามาก
ในการป้้องกัันกำำ�จััด ในอดีีตประเทศไทยมีีพื้�นที่�ปลููกฝ้้ายสููงถึึง 1 ล้้านไร่่ จากปััญหาการระบาดของหนอนเจาะ
สมอฝ้้ายทำำ�ให้้พื้�นที่�ปลูกู ฝ้้ายของประเทศลดลง จึงึ ผลิิตฝ้้ายไม่่เพียี งพอต่อ่ ความต้้องการของอุุตสาหกรรมผลิิตเสื้�อผ้้า
ทำำ�ให้้ต้้องนำำ�เข้้าปุุยฝ้้ายจากต่่างประเทศ ในแหล่่งปลููกฝ้้ายอื่�นๆ ทั่�วโลกก็็ประสบปััญหาการระบาดของหนอน
เจาะสมอฝ้้ายเช่่นกันั

เอกสารวชิ าการ 53

ชวี ภณั ฑ์ป้องกันกำ� จดั ศัตรูพื ช

ชือ่ วิทยาศาสตร:์ Spodoptera litura (Fabricius)
ช่อื สามัญ: common cutworm/ หนอนกระทผู้ กั
วงศ์: Noctuidae
อันดบั : Lepidoptera
ผีีเสื้�อหนอนกระทู้้�ผััก เป็็นผีีเสื้�อกลางคืืน พบระบาดอยู่�ในประเทศแถบเอเชีีย มีีชื่�อเรีียกแตกต่่างกัันไป
เช่่น cotton leafworm, common cutworm, tobacco cutworm ตััวเต็็มวััยปีีกคู่�หน้้ามีีสีีน้ำำ��ตาลเข้้ม
มีีลวดลายเต็็มปีีก คู่�หลัังสีีขาวบาง ลำำ�ตััวมีีขนสีีน้ำำ��ตาลอ่่อนปกคลุุมอยู่� เพศเมีียวางไข่่เป็็นกลุ่�มๆ ประมาณ
100-300 ฟอง บนใบพืืช ปกคลุมุ ด้ว้ ยกลุ่�มขนเพื่�อป้้องกันั การถููกทำำ�ลาย วงจรชีวี ิิต ระยะไข่่ 2-3 วันั หนอนวััย 1
หากิินเป็น็ กลุ่�ม ต่่อมาแยกกระจายออก ระยะหนอน 15-21 วันั มีี 5 วััย หนอนจะเข้า้ ดักั แด้้อยู่�ในดิิน ระยะดัักแด้้
ประมาณ 12 วััน ระยะหนอนจะสัังเกตแถบสีีดำำ�ที่่�ปล้้องอกที่� 3 ได้้ชััดเจน ลำำ�ตััวจะเปลี่�ยนจากสีีเขีียวอ่่อน
เกิิดลายเส้้นหรืือจุุดสีีดำำ�และผิิวลำำ�ตััวมีีขีีดดำำ�พาดตามยาว หนอนเจริิญเติิบโตเต็็มที่่�มีีลำำ�ตััวอ้้วนป้้อมยาว
ประมาณ 3.5-4.0 เซนติิเมตร หนอนระยะนี้�จะทำำ�ความเสีียหายแก่่พืืชอย่่างรุุนแรง หนอนกระทู้้�ผัักทำำ�ลายพืืช
ที่่�มีีความสำำ�คััญทางเศรษฐกิิจมากมายหลายชนิิด เช่่น ไม้้ผล พืืชไร่่ ไม้้ดอก พืืชตระกููลกะหล่ำำ�� หอมใหญ่่
หน่่อไม้้ฝรั่�ง มันั เทศ กระเจี๊�ยบเขียี ว เป็น็ ต้น้
หนอนกระทู้้�ผัักพบทั่�วทุุกภาคของประเทศไทยในทุุกฤดููกาล หนอนกระทู้้�ผัักมีีขนาดใหญ่่และ
มีีนิิสััยหลบซ่่อนตััวในตอนกลางวััน จึึงรอดพ้้นจากการถููกสารเคมีีกำำ�จััดแมลงเมื่�อเกษตรกรฉีีดพ่่น และสามารถ
สร้้างความต้้านทานต่่อสารเคมีีกำำ�จััดแมลงได้้ดีีและรวดเร็็ว โดยเฉพาะอย่่างยิ่�งในแหล่่งที่่�มีีการปลููกผัักต่่อเนื่�อง
ตลอดทั้งปี

54 เอกสารวิชาการ

ชีวภณั ฑ์ปอ้ งกนั ก�ำจดั ศัตรูพื ช

การผลิตขยายชีวภัณฑ์

การเลี้ยงขยายแมลงอาศัยเพ่ื อน�ำไปผลติ ไวรัส NPV

การเล้ียงขยายพันธุ์แมลงอาศัย จ�ำเป็นอย่างย่ิงส�ำหรับการผลิตไวรัส NPV เพื่อไปใช้ควบคุมแมลงศัตรูพืช
ทั้งนี้เนื่องจากไวรัส NPV ต้องอาศัยแมลงในการด�ำรงชีวิตและแพร่พันธุ์ (obligate parasite) ไวรัส NPV
มีความเฉพาะเจาะจงสูงสามารถเจริญและเพ่ิมจ�ำนวนอยู่ในเซลล์ของเเมลงอาศัยเท่าน้ัน จึงไม่สามารถผลิต
ขยายไวรัส NPV บนอาหารได้เหมือนเช้ือรา แบคทีเรีย หรือไส้เดือนฝอย ดังน้ันการเพาะเล้ียงไวรัส NPV
จะท�ำได้ 2 วิธีการ คือ การใช้แมลงอาศัยมาเพาะเลี้ยงโดยตรง หรือการน�ำเอาเซลล์หรือเน้ือเย่ือของ
แมลงอาศัยมาเลี้ยงเพิ่มจ�ำนวนในอาหารเลี้ยงเซลล์ (cell-culture) จนได้เซลล์ปริมาณมากแล้วจึงท�ำการ
เพาะไวรัสลงในเซลล์หรือเน้ือเยื่อน้ัน แต่การผลิตไวรัสในอาหารเลี้ยงเซลล์ เป็นวิธีการท่ีมีค่าใช้จ่ายสูงและ
ประสิทธิภาพของไวรสั ไม่คงที่
การเพาะเลี้�ยงแมลงอาศััยเพื่�อนำำ�มาใช้้ผลิิตไวรััส NPV นัับว่่าเป็็นวิิธีีการที่�เหมาะสมที่่�สุุด เนื่�องจากมีี
ค่่าใช้้จ่่ายถููกกว่่าวิิธีีการเพาะเลี้�ยงในอาหารเลี้�ยงเซลล์์ การศึึกษาวิิธีีการผลิิตขยายแมลงอาศััยให้้ได้้ปริิมาณมาก
โดยการใช้้อาหารเทียี มมาทดแทนอาหารธรรมชาติิ มีขี ้อ้ ดีีดัังนี้�
1. ประหยัดแรงงาน เน่ืองจากไม่ต้องปลูกพืชอาหารเพ่อื น�ำมาเลีย้ งแมลง
2. สามารถลดพ้ืนท่ีในการเล้ียงแมลงไดม้ ากกวา่ การเลีย้ งด้วยพชื อาหาร
3. สามารถเลย้ี งแมลงได้จ�ำนวนมากตามความต้องการ โดยไม่มขี ้อจ�ำกดั ในเร่ืองของอาหารทจี่ ะนำ� มาเลยี้ ง
4. สามารถควบคุมคณุ ภาพของอาหารเทยี มได้ตลอดเวลา เปน็ ผลดตี ่อคณุ ภาพของไวรสั ทผ่ี ลิตได้
5. การเลย้ี งด้วยอาหารเทยี มสามารถวางแผนการผลิตหนอนได้ตดิ ตอ่ กันตลอดปี
6. ประหยัดเวลาในการเปลย่ี นอาหาร
7. สามารถควบคมุ ขนาดของหนอนใหไ้ ดข้ นาดตามต้องการและมคี วามสม่ำ� เสมอในการผลติ หนอน

การเตรยี มหัวเชอ้ื ไวรัส NPV

จากการศึกษาของ Rickwood ในปี ค.ศ. 1987 และ Roth and Rickwood ในปี 1992 พบวา่ ไวรสั
NPV ท่ีเก็บจากซากหนอนตายในธรรมชาติเมื่อน�ำมาปลูกเช้ือบนหนอนท่ีเป็นแมลงอาศัย อาจมีการปนเปื้อน
ของเชื้�อจุุลิินทรีีย์์ชนิิดอื่�นๆ จากในธรรมชาติิที่่�ติิดมากัับหนอน เมื่�อนำำ�มาทำำ�การผลิิตขยายเป็็นจำำ�นวนมาก
อาจมีีเชื้�อจุุลิินทรีีย์์ชนิิดอื่�นเพิ่�มขยายปริิมาณพร้้อมกัับไวรััส NPV โดยเฉพาะอย่่างยิ่�งคืือ Microsporidia ดัังนั้�น
จึึงจำำ�เป็็นต้้องแยกเชื้�อไวรััส NPV ให้บ้ ริสิ ุทุ ธิ์เ� สียี ก่่อน ก่อ่ นที่�จะนำำ�เชื้�อไปใช้้เป็็น inoculum การทำำ�เชื้�อไวรััส NPV
ให้้บริิสุุทธิ์� โดยวิิธีี Gradient centrifugation โดยใช้้ความเข้้มข้้นของสารละลายน้ำำ��ตาลซููโครสเป็็นตััวแยก
ผลึึกไวรััส NPV ออกจากสิ่�งแปลกปลอมต่า่ งๆ จนได้ผ้ ลึกึ ไวรััสที่�บริสิ ุุทธิ์�

เอกสารวิชาการ 55

ชวี ภณั ฑ์ป้องกันกำ� จดั ศัตรพู ื ช

การผลิิตขยายไวรัสั NPV
(Nucleopolyhedrovirus)

56 เอกสารวชิ าการ

ชีวภัณฑ์ปอ้ งกนั ก�ำจดั ศตั รพู ื ช

การเตรยี มไวรัส NPV เบอ้ื งตน้

1. เทซากหนอนตายลงในหลอดปั่นเหว่ียงขนาด 10 มิลลิลิตร เติม 0.1% sodium dodecyl
sulphate (SDS) ลงไปในหลอดป่ันเหว่ยี ง 5-6 มลิ ลิลิตร
2. ใช้หลอดบดกดหมุนเพอ่ื ใหล้ ำ� ตัวหนอนแตก
3. น�ำไปเขา้ เคร่อื งป่ันเหวี่ยงที่ 2,000 รอบ/นาที นาน 1 นาที เพือ่ แยกเอาส่วนของเนอื้ เย่ือแมลงออก
ทง้ิ ไป
4. เทน�ำ้ ใสตอนบนไปยงั หลอดปน่ั เหวี่ยงหลอดใหมแ่ ลว้ ป่ันซ้�ำอีกครั้งตามข้อ 3
5. รวบรวมน้ำ� ใสตอนบนเขา้ ด้วยกนั และทิง้ ตะกอนกน้ หลอด
6. นำ� ไปเขา้ เครอื่ งปั่นเหว่ียงที่ 3,000 รอบ/นาที นาน 10 นาที เพ่อื ใหผ้ ลึกของไวรสั ตกตะกอนที่กน้ หลอด
เทน�ำ้ ใสตอนบนท้ิง
7. เตมิ น้ำ� กลัน่ 5 มิลลิลติ ร น�ำเขา้ เคร่ืองปั่นเหวยี่ งอกี คร้งั ท่ี 3,000 รอบ/นาที นาน 10 นาที
8. เกบ็ รวบรวมตะกอนของผลึกไวรัส

การเตรยี มไวรสั NPV ใหบ้ ริสุทธิ์

1. ทำำ�การเตรียี มสารละลายน้ำำ��ตาลซูโู ครส ที่�ความเข้ม้ ข้้น 40 45 50 55 และ 60% ในน้ำำ��กลั่�น นำำ�ไป
นึ่�งฆ่า่ เชื้�อในหม้อ้ นึ่�งฆ่่าเชื้�อ
2. ทำำ�เชื้�อให้้บริิสุุทธิ์�โดยใช้้เครื่�อง ultra-centrifuge ที่่�มีีรอบการปั่�นสููงถึึง 40,000 รอบ/นาทีี และ
ใช้้ตัวั rotor แบบ swing bucket โดยมีหี ลอดปั่�นเหวี่�ยงขนาด 30 มิิลลิลิ ิติ ร จำำ�นวน 6 หลอด
3. เตรีียมหลอดสารละลายน้ำำ��ตาลซููโครสในหลอดปั่�นเหวี่�ยงโดยเทน้ำำ��ตาลที่่�มีีความเข้้มข้้นสููงลงไปก่่อน
ตามลำำ�ดัับ โดยใช้้น้ำำ��ตาลแต่่ละความเข้้มข้้นจำำ�นวนความเข้้มข้้นละ 5 มิิลลิิลิิตร จากนั้�นนำำ�หลอดปั่�นเหวี่�ยง
ที่�บรรจุุน้ำำ��ตาลทั้�ง 5 ความเข้้มข้้นแล้้วเข้้าเก็็บในตู้�เย็็น 1 คืืน เพื่�อให้้น้ำำ��ตาลซููโครสแต่่ละชั้�นของความเข้้มข้้น
มีีความกลมกลืืนกันั
4. นำำ�หลอดปั่�นเหวี่�ยงออกจากตู้�เย็็นจากนั้�นนำำ�ไวรััส NPV ที่�ได้้จากการเตรีียมเบื้�องต้้น ใช้้ไมโครปิิเปต
ดููดสารแขวนลอยของไวรััสลงบนส่่วนบนสุุดของน้ำำ��ตาลซููโครสในหลอดปั่�นเหวี่�ยงจำำ�นวน 2 มิิลลิิลิิตร จำำ�นวน
6 หลอด จากนั้�นนำำ�หลอดปั่�นเหวี่�ยงไปทำำ�การถ่่วงน้ำำ��หนัักให้้แต่่ละคู่�ของหลอดปั่�นเหวี่�ยงในตััว rotor ต้้องมีี
น้ำำ��หนัักเท่่ากัันโดยใช้้น้ำำ��กลั่�นและเครื่�องชั่�งทศนิิยม 2 ตำำ�แหน่่ง
5. นำำ�เข้า้ เครื่�องปั่�นเหวี่�ยงที่� 20,000 รอบ/นาทีี นาน 1 ชั่�วโมง 30 นาทีี
6. เมื่�อครบกำำ�หนดเวลานำำ�หลอดปั่�นเหวี่�ยงออกจาก rotor นำำ�แต่ล่ ะหลอดมาทำำ�การดูดู เอาผลึกึ ไวรัสั NPV
ออกมาโดยใช้ไ้ มโครปิเิ ปตดููดบริเิ วณวงสีีขาวของผลึกึ ไวรัสั ที่�ระดัับความเข้ม้ ข้น้ ของน้ำำ��ตาลที่� 56-57%
7. นำำ�ไวรััส NPV ที่่�ดููดออกมานำำ�มาใส่่ไว้้ในบีีกเกอร์์ขนาด 100 มิิลลิิลิิตร โดยเติิมน้ำำ��กลั่�นลงไปในไวรััส
ที่่�ดููดออกมา ในอััตราน้ำำ��กลั่�นต่่อไวรััส 2:1 นำำ�เข้้าตู้้�เย็็น 3 ชั่�วโมง จากนั้�นนำำ�มาเข้้าเครื่�องปั่�นเหวี่�ยงที่� 3,000
รอบ/นาทีี นาน 30 นาทีี เทน้ำำ��ใสตอนบนทิ้�ง
8. นำำ�ตะกอนก้้นหลอดมาเติิมน้ำำ��กลั่�นเล็็กน้้อย นำำ�ไปเขย่่าโดยใช้้เครื่�อง vortex mixer เพื่�อแยกผลึึก
ไวรัสั ที่่�ติิดก้้นหลอดออก
9. นำำ�สารแขวนลอยไวรััสบรรจุุในหลอดเก็็บ เขีียนบัันทึึกข้้างหลอด จากนั้�นนำำ�ไปเก็็บในตู้�เย็็นที่� -20
องศาเซลเซีียส เพื่�อรอการนำำ�ไปใช้้ต่อ่ ไป

เอกสารวชิ าการ 57

ชวี ภณั ฑป์ ้องกนั กำ� จัดศัตรูพื ช

การเตรยี มอาหารเทียมเล้ยี งแมลงอาศัย

สูตรอาหารเทียมใช้เลีย้ งแมลงเพ่ือผลติ ไวรสั NPV ปรบั ปรงุ จากสตู รของอทุ ัย (2544)

ส่วนผสม ปรมิ าณของส่วนผสม

สำ� หรบั เลีย้ งหนอนเจาะสมอฝา้ ย สำ� หรับใช้ปลูกไวรสั NPV
หนอนกระทู้หอม หนอนกระทู้ผัก

ถวั่ เขยี วบด 200 กรัม 300 กรัม

Dried baker’s yeast 20 กรัม 10 กรมั

Methyl parahydroxybenzoate 5 กรัม 6 กรมั

Sorbic acid 3 กรัม 3 กรัม

Antibiotic - 3 กรัม

Agar 25 กรมั 25 กรัม

Formalin 40% 6 มลิ ลิลติ ร -

Vitamin stock* 45 มลิ ลลิ ิตร 30 มลิ ลิลิตร

น�้ำกล่ัน 1,800 มิลลิลิตร 1,650 มลิ ลลิ ิตร
(1,000 มิลลิลิตร สำ� หรับตม้ วนุ้ (850 มลิ ลลิ ิตร สำ� หรบั ตม้ วนุ้
800 มิลลิลิตร ส�ำหรบั ปนั่ สว่ นผสม) 800 มิลลิลติ ร สำ� หรับปน่ั ส่วนผสม)

* Vitamin stock (ส่วนผสมตอ่ น�ำ้ 100 มลิ ลิลติ ร)
Niacin 600 มลิ ลกิ รัม
Inositol 500 มิลลิกรัม
Calcium pantothenate 600 มิลลกิ รัม
Vitamin B1 250 มลิ ลกิ รัม
Ribofalvin (B2) 150 มิลลิกรัม
Vitamin B6 150 มิลลิกรมั
Folic acid 250 มลิ ลิกรมั
Choline choride 1,000 มลิ ลิกรมั
Biotin 0.5 มลิ ลิกรัม
Vitamin B12 200 มิลลิกรมั

58 เอกสารวชิ าการ

ชวี ภณั ฑป์ ้องกันก�ำจัดศตั รูพื ช

การปลููกเชื้้�อไวรััส NPV บนแมลงอาศััย

การผลิตไวรัส NPV ของหนอนกระทู้หอม หนอนเจาะสมอฝ้าย และหนอนกระทู้ผัก โดยคัดเลือก
ไวรัส NPV ของหนอนแต่ละชนิดท่ีมีประสิทธิภาพสูงสุด จากน้ันน�ำมาท�ำให้บริสุทธ์ิก่อนท่ีจะน�ำมาใช้เป็น
inoculum เพ่ือปลูกเช้อื โดยใชอ้ ัตราความเขม้ ข้นของไวรัส NPV แต่ละชนิด ดังน้ี
ก. ไวรสั NPV ของหนอนกระทูห้ อม ทค่ี วามเข้มขน้ 1x106 polyhedra/มลิ ลลิ ติ ร
ข. ไวรัส NPV ของหนอนเจาะสมอฝ้าย ทค่ี วามเข้มขน้ 5x106 polyhedra/มลิ ลลิ ิตร
ค. ไวรัสั NPV ของหนอนกระทู้้�ผััก ที่�ความเข้้มข้้น 1x107 polyhedra/มิลิ ลิิลิิตร
การปลูกไวรัสด้วยการเท inoculum ของไวรสั NPV ปริมาณ 3 มลิ ลิลิตร ใช้แปรงขนออ่ นขนาด 3 นิว้
ปาดไวรััส NPV ให้้ทั่�วบนผิิวหน้้าของอาหารเทีียมสููตรสำำ�หรัับปลููกเชื้�อ ที่�เทลงบนถาดปลููกเชื้�อขนาด
24.5×24.5×6 เซนติิเมตร แล้้วผึ่�งถาดอาหารเทีียมไว้้ให้้แห้้งประมาณ 5 นาทีี จากนั้�นกดช่่องเลี้�ยงที่่�มีี
จ�ำนวน 98 ช่อง/ถาด ลงบนผิวหน้าของอาหารเทียมให้จมลงไปบนผิวหน้าของอาหารเทียมเล็กน้อย จากน้ัน
เข่ียหนอนลงไปในถาดปลูกไวรัส NPV ช่องละ 1 ตัว และปิดถาดให้สนิท ติดป้ายก�ำกับวันท่ีปลูกไวรัส NPV
พรอ้ มจำ� นวนถาด ก่อนนำ� ไปเก็บในห้องที่มอี ุณหภูมิ 27 องศาเซลเซยี ส ใชเ้ วลาฟักตัวในการเกิดโรคประมาณ 7-9 วัน

กข

คง

ภาชนะสำ� หรับใส่อาหารเทยี มทใ่ี ชใ้ นการปลูกเช้ือไวรัส NPV ในหนอน
ก) ถาดใสอ่ าหารเทียมสำ� หรบั ใช้ปลกู เชอื้ ไวรสั NPV
ข) ชอ่ งเลย้ี งทีม่ จี ำ� นวน 98 ชอ่ ง
ค) ถาดปลูกเชื้อท่ปี ิดฝาสนิท
ง) การบันทึกและเกบ็ ถาดปลกู เช้ือไวรสั NPV บนช้นั เกบ็

เอกสารวิชาการ 59

ชวี ภณั ฑ์ปอ้ งกนั กำ� จดั ศัตรพู ื ช

การเกบ็ รวบรวมไวรสั NPV

เมื่�อหนอนได้้รัับการปลููกเชื้�อแล้้ว เชื้�อไวรััส NPV จะใช้้เวลาฟัักตััวประมาณ 7-9 วััน ขึ้�นอยู่่�กัับอายุุและ
ชนิิดของหนอน ถ้้าหนอนทั้�ง 3 ชนิิดที่่�นำำ�มาปลูกู เชื้�อมีีอายุุ 7-8 วันั จะพบหนอนเริ่�มเป็น็ โรคตายในวัันที่� 6 และ
จะตายมากในวัันที่� 7-8 ยกเว้้นหนอนกระทู้้�ผัักที่่�มีีขนาดใหญ่่ จะใช้้เวลาฟัักตััวนานกว่่าหนอนกระทู้�หอมและ
หนอนเจาะสมอฝ้้าย โดยจะมีีการตายในวัันที่� 8-9 และตายต่อ่ เนื่�องไปถึงึ วันั ที่� 10 และ 11 หลัังจากได้้รับั เชื้�อ
การเก็็บหนอนตายออกจากถาดปลููกเชื้�อโดยการดััดแปลงใช้้เครื่�องดููดสููญญากาศ (vacuum pump)
ตอ่ ทอ่ เข้าสูข่ วดรปู ชมพู่ (flask) ขนาด 1 ลิตร เพ่อื เก็บรวบรวมหนอนที่ตาย จากนัน้ นำ� ไปเทรวมในขวดพลาสตกิ
ทบึ แสงปากกวา้ งทีม่ ีฝาเกลียวปิดสนทิ ขนาดความจุ 2-3 ลติ ร จดบันทึกวนั ที่ ชนิดของหนอน และปรมิ าณทเี่ กบ็ ได้
จากน้ันน�ำไปเก็บในตูแ้ ช่เย็นทีม่ อี ุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียส เพือ่ รอการนำ� ไปท�ำสูตรสำ� เร็จตอ่ ไป

การผลิตชวี ภัณฑ์ไวรสั NPV

1. ผสม Guar gum ลงใน Propylene glycol กวนให้ละลาย
2. เท Kaolin clay ลงในน�ำ้ สะอาดท่ตี วงไว้แลว้ กวนให้ละลาย
3. เท Silica form ลงไป กวนผสมใหล้ ะลาย
4. เทหัวเชื้อไวรัส NPV ลงในเครื่องปั่นผสมสาร จากน้ันเทสารละลายท่ีได้จากข้อ 2 และ 3 ลงไป
ปน่ั ผสมให้เข้ากนั
5. เติม Emulsogen ป่ันต่อไป ประมาณ 1 นาที
6. บรรจภุ ัณฑ์

บรรจภุ ัณฑ์ชวี ภณั ฑ์ไวรัส NPV

60 เอกสารวิชาการ

ชีวภณั ฑป์ อ้ งกนั ก�ำจัดศตั รพู ื ช

Link / QR code / Clip ของชีวภณั ฑ์
https://www.youtube.com/watch?v=v-7kvC61M1E&feature=youtu.be
https://www.youtube.com/watch?v=9goSdpe4alw&feature=youtu.be

บรรณานกุ รม
กองกีีฏและสััตววิิทยา. 2544. คู่่�มืือตรวจแมลง ไรศััตรููพืืชเศรษฐกิจิ . เอกสารทางวิิชาการ. กองกีฏี และสัตั ววิิทยา

กรมวิิชาการเกษตร. 275 หน้้า.
อุุทััย เกตุุนุตุ ิ.ิ 2544. การควบคุุมแมลงศััตรููพืชื ด้้วยไวรัสั NPV. หน้้า 141-177. ใน: เอกสารวิชิ าการ การควบคุุม

แมลงศััตรููพืืชโดยชีีววิิธีีเพื่่�อการเกษตรยั่�งยืืน. กองกีีฏและสััตววิิทยา กรมวิิชาการเกษตร. พิิมพ์์ที่�
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จำ� กัด กรงุ เทพฯ.
Adams, J.R. and T.A. Wilcox. 1982. Scanning electron microscopical comparison of insect virus
occlusion bodies prepared by several techniques. J. Invertebr. Pathol. 40: 12-20.
Adams, J.R. and I.T. Mc Clintock. 1991. Nuclear polyhedrosis virus of insects. Pages 87-204.
In: Atlas of Invertebrate Viruses. J. R. Adams and J. R. Bonami (eds.). CRC Raton, Florida.
Attathom, T., S. Chaeychomsri, S. Chaichuchot, S. Attathom and P. Chiemsombat. 1989.
Characterization of the nuclearpolyhedrosis virus of the cotton bollworm,
Heliothis armigera. Kasetsart J. (Nat. Sci.). 22(5): 14-23.
Bergold, G.H. 1963. Fine structure of some insect viruses. J. Insect. Pathol. 5: 111-128.
E-Guidny, M. A., S.M. Madi, M.E. Keddis, Y.H. Issa and M.M. Abdel-Sattar. 1982. Development
of resistance to pyrethroids in field population of the Egyptian cotton leafworm
Spodoptera littoralis (Boisd). Int. Pest Contr. 124: 6-11.
Granados, R.R. and K.A. Williams. 1986. In vivo infection and replication of Baculoviruses.
Pages 89-108. In: The Biology of Baculoviruses. Vol.1, Biological Properties and Molecular
Biology. R. R. Granados and B. A. Federici (eds.). CRC Press, Inc. Boca Raton, Florida.
Hunter, D.K. and I.M. Hall. 1968. Pathogenicity of a nuclear polyhedrosis virus of the beet
armyworm, Spodoptera exigua (Hübner). J. Insect. Pathol. 12(1): 83-85.
Martignoni, M.E. and P.J. Iwai. 1986. A catalog of viral disease of insects, mites and ticks,
U.S. Department of Agriculture Forest Service, Gen. Tech. Report. PNW 15, 1.

เอกสารวชิ าการ 61

ชีวภัณฑ์ปอ้ งกนั กำ� จดั ศัตรพู ื ช

Payne, C.C. and D.C. Kelly. 1981. Identification of insect and mite viruses. Pages 61-91. In: Microbial
Control of Pests and Plant Diseases 1970-1980. H. D. Burges, (ed.). Academic Press.

Rickwood, D. 1987. Centrifugation-a practical approach. IRL Press, 354 p.
Roth, H. and D. Rickwood. 1992. Centrifuge and Rotors. Pages 42-46. In: Preparative centrifugation -

a practical approach. Rickwood D. (ed.). IRL Press.
Steinhaus, E.A. 1949. Principle of Insect Pathology, McGraw-Hill Book Co., New York.
Tinsley, T.W. and D.C. Kelly. 1985. Taxonomy and nomenclature of insect pathogenic viruses.

In: Viral Insecticides for Biological Control. Maramorosch, K. and Sherman K. E., (eds.).
Academic Press, Orlando.
WHO. 1973. The use of virus for the control of insect pests and disease vector. Report of
a joint FAO/WHO meeting on insect viruses. World Health Organization Technical
Report Series No. 531. Geneva.
ติดิ ต่อ่ สอบถามข้อ้ มูลู เพิ่�มเติมิ : กลุ่�มงานวิิจัยั การปราบศัตั รูพู ืชื ทางชีีวภาพ กลุ่�มกีฏี และสัตั ววิิทยา
สำ� นักวจิ ยั พฒั นาการอารักขาพชื   โทร. 0 2579 7580 ตอ่ 134

62 เอกสารวชิ าการ

ชีวภัณฑ์ป้องกนั ก�ำจดั ศตั รพู ื ช

แบคทีเรีย Bacillus thuringiensis (Bt)

ชือ่ วทิ ยาศาสตร:์ Bacillus thuringiensis
วงศ:์ Bacillaceae
อันดบั : Bacillales

ท่มี าและความสำ� คัญ/ปญั หาศตั รพู ื ช
Bacillus thuringiensis เป็็นแบคทีีเรีียที่่�รู้้�จัักกัันในชื่�อ Bt หรืือ B.T. หรืือ บีีทีี เป็็นแบคทีีเรีีย
แกรมบวก (gram positive) มีีรููปร่่างเป็็นท่่อน (rod shaped) มีีการสร้้างสปอร์์ Bt จััดอยู่�ในกลุ่�มแบคทีีเรีีย
พวก facultative aerobic bacteria คืือ สามารถเจริิญได้้ทั้�งในสภาพที่่�มีีออกซิิเจนและไม่่มีีออกซิิเจน แต่่
ขณะสร้้างสปอร์ต์ ้อ้ งการสภาพที่่�มีีออกซิิเจน Bt พบได้้ทุุกหนทุกุ แห่่งในโลกทั้�งในอากาศ ดิิน น้ำำ�� แม้แ้ ต่บ่ นต้้นไม้้
และใบไม้้ Bt มีีความปลอดภััยสููงไม่่เป็็นอัันตรายต่่อมนุุษย์์และสััตว์์ ในต่่างประเทศมีีการทดลองเกี่�ยวกัับ
ความปลอดภััยจากการใช้้ Bt กัับสัตั ว์์เลือื ดอุ่�น เช่่น นก สัตั ว์์น้ำำ��พวกปลา แมลงที่�เป็น็ ประโยชน์์ เช่่น ผึ้�ง แมลงห้ำำ��
แมลงเบีียน ลัักษณะเฉพาะของ Bt คืือ สามารถสร้้างสารพิิษ ซึ่�งเมื่�อแมลงกิินเข้้าไปจะทำำ�ให้้แมลงตาย ดัังนั้�น
จึึงมีีประสิิทธิิภาพเฉพาะกัับตััวอ่่อนหรืือวััยหนอนของแมลง ยกเว้้น Bt บางสายพัันธุ์์�ที่่�ทำำ�ลายได้้ทั้�งตััวอ่่อน
และตััวเต็็มวััยของด้ว้ งปีกี แข็็งบางชนิดิ จึงึ ได้้มีีการนำำ�ไปใช้้ควบคุุมแมลงศััตรููพืชื ทางการเกษตร
แบคทีีเรีียในสกุุล Bacillus ที่่�มีีการศึึกษาค้้นคว้้ามากที่่�สุุดและมีีการผลิิตนำำ�ไปใช้้ควบคุุมแมลงศััตรููพืืช
หลายชนิิดทั่�วโลก คืือ B. thuringiensis เนื่�องจากเป็็นจุุลิินทรีีย์์ที่่�มีีการค้้นพบและมีีศัักยภาพในการควบคุุม
แมลงศััตรููพืชื มานาน มีีคุุณลักั ษณะครบถ้ว้ นทุุกประการเหมาะแก่่การเป็็น microbial insecticide

เอกสารวชิ าการ 63

ชีวภัณฑป์ ้องกนั กำ� จดั ศตั รพู ื ช

วงจรชีวิต
เมื่�อเลี้�ยง Bt บนอาหารเลี้�ยงเชื้�อโคโลนีีมีีลัักษณะสีีขาวขุ่�น ผิิวไม่่มััน ขอบไม่่เรีียบ โคโลนีีค่่อนข้้างใหญ่่
5-10 มิลลิเมตร Bt มีการเจริญเติบโตอยู่ 2 ระยะ คือ vegetative (germination) และ sporulation
ในระยะ vegetative สปอร์จะงอกเป็นเซลล์รูปแท่งเรียกว่า vegetative cell ที่มีการแบ่งตัวเพิ่มจ�ำนวน
อย่างทวีคูณ ได้เซลล์ที่ต่อกันเป็นสายยาวคล้ายโซ่ หลังจากน้ันประมาณ 24-48 ชั่วโมง Bt จะเข้าสู่ระยะ
sporulation ซ่ึงระยะน้ีจะปรากฏเมื่ออาหารหมดหรือสภาพแวดล้อมเปล่ียนแปลงไปจากเดิม จะมีการสร้างสปอร์
และผลึกโปรตีน (crystal protein) ข้ึนภายในเซลล์ไปพร้อมๆ กัน รูปร่างของผลึกโปรตีนข้ึนอยู่กับชนิดและ
สายพันธุ์ของ Bt ซ่ึงสปอร์นี้มีความทนทานต่อสภาพแวดล้อมทั้งท่ีเหมาะสมและไม่เหมาะสมต่างๆ ได้ เช่น
อุณหภูมิสูงหรือความแห้งแล้ง ต่อจากน้ันผนังเซลล์มีลักษณะบางจะสลายตัวไป สปอร์และผลึกโปรตีนจะ
ลอยอิสระอยู่ในอาหารหรือวัสดุที่เช้ืออาศัยอยู่ แล้วเม่ืออยู่ภายใต้สภาพแวดล้อมหรือเง่ือนไขท่ีเหมาะสม
สปอรจ์ ะงอกและเรม่ิ เข้าสูร่ ะยะ vegetative cell อีกคร้ัง

ลกั ษณะโคโลนีของ Bacillus thuringiensis และของจลุ ินทรยี ช์ นดิ อื่นๆ

ลกั ษณะเซลล์และสปอร์ของ Bacillus thuringiensis

64 เอกสารวิชาการ

ชีวภัณฑ์ปอ้ งกันก�ำจัดศตั รพู ื ช

วงจรชวี ิตของ Bacillus thuringiensis

กลไกการทำ� ลายศตั รูพื ช
สารเคมีีกำำ�จััดแมลงมีีทั้�งชนิิดที่่�ถููกตััวตายและกิินตาย ซึ่�งแตกต่่างจาก Bt เพราะแมลงต้้องกิินเข้้าไป
และมีีประสิิทธิิภาพเฉพาะกัับตััวอ่่อนหรืือวััยหนอนของแมลง ยกเว้้น Bt บางสายพัันธุ์์�ที่่�ทำำ�ลายได้้ทั้�งตััวอ่่อน
และตััวเต็็มวััยของด้้วงปีีกแข็็งบางชนิิด ผลึึกโปรตีีนของ Bt ที่�เป็็นสารพิิษที่่�นำำ�มาใช้้ในการควบคุุมแมลงศััตรููพืืช
เมื่�อเข้้าไปอยู่�ในกระเพาะอาหารส่่วนกลางของแมลง (midgut) ที่่�มีีสภาพเป็็นด่่าง คืือมีีค่่า pH ประมาณ 8.9
หรืือมากกว่่านั้้�น จะเกิิดการย่่อยสลายของผลึึกโปรตีีนและถููกกระตุ้�นให้้มีีการเปลี่�ยนแปลงโครงสร้้างของโมเลกุุล
โดยน้ำำ��ย่่อยของแมลงกลายเป็็นสารพิิษ ซึ่�งสารพิิษนี้�จะทำำ�ให้้เกิิดรููในกระเพาะอาหารส่่วนกลางของแมลง ทำำ�ให้้
เซลล์์ผนัังกระเพาะอาหารบวมและแตกออก ของเหลวที่�อยู่�ในกระเพาะจะไหลออกตามรอยแผลไปอยู่่�ที่่�ช่องว่่าง
ภายในลำำ�ตััวของแมลง ส่่งผลให้้แรงดัันของระบบเลืือดเสีียสมดุุล แมลงเป็็นอััมพาต หยุุดกิินอาหาร เคลื่�อนไหว
ไม่่ได้้และตายในที่่�สุุด นอกจากนี้�สปอร์์ที่�แมลงกิินเข้้าไปจะไปขยายพัันธุ์�อยู่�ที่�กระเพาะ และบางส่่วนก็็เข้้าไป
ตามรอยแผล ไปแบ่งตวั อยตู่ ามเนอ้ื เย่อื ตา่ งๆ ในตวั แมลง ซึ่งเปน็ สาเหตุทำ� ใหเ้ ลอื ดแมลงเปน็ พิษ
การทแ่ี มลงศตั รพู ืชจะตายเร็วหรอื ชา้ ขน้ึ กบั ปจั จยั ตา่ งๆ ดงั น้ี
1. ความเป็็นกรด-ด่่าง ภายในลำำ�ไส้้ของแมลงแต่่ละชนิิดจะมีี pH ที่�แตกต่่างกััน ซึ่�ง pH ที่�เหมาะสม
คือ 8.9 ขน้ึ ไป
2. ชนดิ ของแมลง อายุ ความแขง็ แรง และวยั ที่เหมาะสม (คอื ระยะตวั อ่อน)
3. สภาพแวดล้อ้ ม ได้แ้ ก่่ อุุณหภูมู ิิ ความชื้�น แสงแดด พืืชอาหาร
4. ชนิดของ Bt ซ่ึงมีหลาย subspecies หรือ varieties หรือ serovar ความแข็งแรงของ Bt และ
การปนเป้ือนของ Bt

เอกสารวิชาการ 65

ชวี ภัณฑ์ปอ้ งกันกำ� จดั ศตั รพู ื ช

การเขา้ ทำ� ลายแมลงของ Bacillus thuringiensis

วิธกี ารใช้ชีวภัณฑ์ควบคมุ ศตั รพู ื ช
1. อา่ นฉลากข้างภาชนะบรรจุ เพ่อื ทราบว่า Bt ใชค้ วบคมุ แมลงศตั รพู ืชชนิดใด มชี อ่ื ของแมลงศัตรพู ชื
ท่ีต้องการก�ำจัดระบุอยู่หรือไม่ ทั้งน้ีเนื่องจาก Bt ท่ีมีจ�ำหน่ายในท้องตลาดมีหลายสายพันธุ์ ประสิทธิภาพ
ในการควบคุมแมลงศัตรูพชื แตกต่างกนั
2. การผสม Bt กับน�้ำก่อนการพ่น ในท้องตลาดมี Bt จ�ำหน่ายหลายรูปแบบ เช่น รูปผงละลายน้�ำ
รูปน�้ำหรือในรูปสารละลายน้�ำเข้มข้น ในกรณีท่ีเป็น Bt รูปเม็ดละลายน้�ำ หรือรูปผงละลายน้�ำไม่ควรผสม Bt
กบั น้ำ� ในถัง ควรแบ่งนำ�้ จ�ำนวน 1-2 ลิตร แล้วผสม Bt ให้เข้ากันจงึ เทใส่ถงั น้ำ� ท่เี ตรยี มไว้ กวนใหเ้ ข้ากนั แลว้ เท
ลงในถังเครอื่ งพ่นสาร การใช้ Bt ควรผสมสารจับใบดว้ ยทกุ คร้งั โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ การพ่น Bt ในพืชตระกูลกะหล�่ำ
ซึ่งผิวใบมีลักษณะมัน สารจับใบจะช่วยให้ Bt เคลือบผิวใบได้ดีขึ้นและช่วยลดการชะล้างของน้�ำฝนหรือน�้ำ
ท่ีรดแปลง
3. ศึกษาพฤติกรรมของแมลงศัตรูพืช ควรทราบว่าแมลงอาศัยกัดกินอยู่ส่วนใดของพืช เช่น คะน้า
มหี นอนใยผักและหนอนคบื กะหล�ำ่ เป็นแมลงศตั รทู ส่ี ำ� คญั แมลงทงั้ 2 ชนดิ น้ีจะกัดกนิ ด้านล่างของใบคะนา้ ดังนน้ั
การพ่น Bt บนพชื ตระกูลกะหลำ�่ ควรเอียงหวั ฉีดเข้าทางดา้ นลา่ งของตน้ เพอ่ื ใหล้ ะอองของ Bt ลงสใู่ ต้ใบซึ่งเป็น
แหล่งทหี่ นอนใยผักและหนอนคบื กะหลำ่� อาศัยอยู่
4. ควรใชห้ วั ฉดี ทีม่ ขี นาดของละอองสารเล็กที่สุดจะทำ� ใหจ้ บั ผิวใบไดด้ ีกวา่ การพน่ ทีม่ ขี นาดละอองสารใหญ่
5. ควรหลีกเลี่ยงการพ่น Bt ในขณะแสงแดดจัดในช่วง 10.00 น. ถึง 15.00 น. ควรพ่นหลังเวลา
15.00 น. จะช่วยให้ Bt คงอยู่บนต้นพชื ได้นานข้นึ
6. ใช้ Bt ตามอัตราที่แนะนำ� เนอื่ งจากการใชอ้ ัตราต่ำ� ไมส่ ามารถกำ� จดั แมลงศัตรูพืชในแปลงได้
7. หม่ันตรวจดูแปลงปลูกพืช เช่น เกษตรกรต้องหมั่นตรวจดูแปลงปลูกพืช เพ่ือส�ำรวจแมลงศัตรูพืช
หากพบแมลงศตั รูพชื ระบาดให้พ่น Bt ตามอตั ราแนะน�ำ

66 เอกสารวชิ าการ

ชีวภณั ฑ์ป้องกันก�ำจัดศัตรูพื ช

ขอ้ ดี

1. Bt เป็็นจุุลิินทรีีย์์ที่่�มีีความเฉพาะเจาะจงต่่อแมลงเป้้าหมาย โดยไม่่มีีผลกระทบต่่อแมลงชนิิดอื่�นๆ
เช่น่ แมลงศัตั รูธู รรมชาติิ (แมลงห้ำำ�� แมลงเบีียน) ตลอดจนแมลงที่่�มีปี ระโยชน์อ์ื่�นๆ
2. Bt มคี วามปลอดภยั ต่อมนุษย์ สตั ว์ และพืช
3. Bt ไมม่ ีฤทธต์ิ กค้าง หลังจากเกบ็ ผลติ ผลแล้วสามารถนำ� มาล้างทำ� ความสะอาดแลว้ บรโิ ภคได้ทนั ที
4. Bt จัดั เป็น็ จุุลิินทรียี ์ท์ ี่่�มีปี ระสิิทธิภิ าพสููง สามารถนำำ�มาใช้้ควบคุมุ แมลงศัตั รููพืืชได้้ มีีการผลิติ จำำ�หน่่าย
อย่่างกว้า้ งขวางสามารถนำำ�มาใช้้ทดแทนสารเคมีีกำำ�จัดั แมลงศัตั รูพู ืืชได้้
5. Bt หลายสายพัันธุ์�ได้้มีีการพััฒนาให้้สามารถใช้้ในการควบคุุมแมลงศััตรููพืืช แมลงสร้้างความต้้านทาน
ต่อ Bt มีน้อยกว่าสารเคมีก�ำจัดแมลงศัตรูพืช โดยได้มีการน�ำ Bt เข้ามาใช้ตั้งแต่ปี 2512 จนกระท่ังปัจจุบัน
ยังใช้ Bt ควบคุมแมลงศตั รพู ชื อย่างไดผ้ ล
6. Bt สามารถนำ� ไปใชร้ ่วมกบั วธิ กี ารป้องกันก�ำจดั อน่ื ๆ ได้เปน็ อยา่ งดี

ขอ้ จำ� กัด

1. Bt มีความเฉพาะเจาะจงต่อแมลงเป้าหมาย จึงไม่สามารถใช้กับแมลงศัตรูพืชที่พบว่ามีการระบาด
ในแปลงหลายๆ ชนดิ จ�ำเปน็ ต้องศึกษากอ่ นวา่ Bt สามารถใชค้ วบคุมแมลงศัตรพู ืชชนิดใดบา้ งก่อนทจ่ี ะนำ� ไปใช้
2. Bt ออกฤทธช์ิ ้า ใช้เวลา 1-2 วนั จึงจะท�ำให้หนอนตาย เกษตรกรคนุ้ เคยกบั การใช้สารเคมกี ำ� จัดแมลง
ศตั รพู ชื ซงึ่ ออกฤทธเ์ิ ร็ว หนอนจะตายทันทเี มื่อพน่ สาร
3. รัังสีี Ultraviolet บนพืืชมีีผลต่่อประสิิทธิภิ าพของ Bt
4. Bt มีราคาสงู เกษตรกรนิยมใช้สารเคมีก�ำจัดแมลงทม่ี รี าคาถกู กวา่
5. ไม่ควรผสม Bt กบั สารเคมกี ำ� จัดโรคพชื

แมลงศัตั รููพืื ชที่่�สำำ�คััญที่่�สามารถใช้้ Bt ในการป้อ้ งกัันกำำ�จััด

แมลงศัตรพู ชื พืชที่ถูกทำ� ลาย
หนอนใยผกั (diamondback moth) พืชตระกลู กะหลำ�่ (กะหลำ่� ปลี คะนา้ กะหล่ำ� ดอก
Plutella xylostella ผกั กาดขาวปลี ผักกาดต่างๆ)
หนอนคืบกะหล�่ำ (cabbage looper) พชื ตระกูลกะหล่ำ� ผักกาดหอม ถว่ั ลันเตา
Trichoplusia ni
หนอนคืบละหุง่ (castor semi-looper) ละห่งุ พทุ รา กหุ ลาบ ทับทมิ
Achaea janata
หนอนร่านกินใบปาลม์ (slug caterpillar) ปาล์มน้ำ� มัน มะพรา้ ว
Darna furva
Darna diducta
Thosia siamica
Parasa lepida

เอกสารวิชาการ 67

ชีวภัณฑ์ป้องกนั กำ� จดั ศตั รูพื ช

แมลงศััตรููพืชื ที่่�สำำ�คััญที่�สามารถใช้้ Bt ในการป้อ้ งกันั กำำ�จััด (ต่อ่ )

แมลงศัตรูพชื พชื ท่ีถูกทำ� ลาย
หนอนปลอก (bag worm) กลว้ ย มะพรา้ ว ปาล์มน�้ำมนั
Mahasena corbetti
Metisa plana พืชตระกูลกะหล�ำ่
หนอนผีเสอ้ื ขาว (cabbage white butterfly)
Pieris rapae ขา้ วโพด ทานตะวัน
Pieris brassicae หน่อไมฝ้ ร่ัง องนุ่ ข้าวโพดฝักอ่อน ถ่ัวลันเตา มะเขือเทศ
หนอนเจาะล�ำตน้ ขา้ วโพด (corn borer) กระเจ๊ยี บเขยี ว พชื ตระกูลกะหล่ำ� กุหลาบ ดาวเรอื ง
Ostrinia furnacalis หน่อไม้ฝรั่ง องุน่ กระเจยี๊ บเขยี ว ถั่วลนั เตา กุหลาบ
หนอนกระทหู้ อม (beet army worm) ดาวเรือง ส้ม มะเขอื เทศ
Spodoptera exigua ปาล์ม ละหุง่ ถั่วลสิ ง พทุ รา หนอ่ ไม้ฝรัง่
หนอนเจาะสมอฝ้าย (cotton bollworm) บวั ตา่ งๆ
Helicoverpa armigera เผือก ยาสบู บอน ถัว่
หนอนบงุ้ กินใบ (leaf eating caterpillar) ชมพู่ ชมพูส่ าแหรก ลำ� พู หูกวาง สะแก
Orgyia turbata ส้มเขียวหวาน
หนอนกนิ ใบบัว (leaf eating caterpillar) สนสามใบ สนจนี สนสองใบ กุหลาบ ซอ้
Nymphula crisonalis
หนอนกนิ ใบเผือก (leaf eating caterpillar)
Maduca quincuemaculata
หนอนกินใบชมพู่ (leaf eating caterpillar)
Trabala vishnou
หนอนห่อใบหรอื แปะใบสม้ (leaf roller)
Archips sp.
หนอนหนามหรอื หนอนกินใบสน
(leaf eating caterpillar)
Metanastria latipennis

68 เอกสารวิชาการ

ชีวภณั ฑ์ปอ้ งกันก�ำจดั ศัตรูพื ช

ชนดิ ของศตั รูพื ช

ชือ่ วทิ ยาศาสตร:์ Plutella xylostella Linnaeus
ชื่อสามัญ: diamondback moth/ หนอนใยผกั
วงศ์: Plutellidae
อนั ดับ: Lepidoptera
หนอนใยผักเป็นผีเสื้อกลางคืนขนาดเล็ก สีน�้ำตาลอ่อนถึงเข้มหรือสีเทาอ่อน บนสันหลังของปีกคู่หน้า
จะมีีรอยแถบสีีเหลืืองขาวตามความยาวของลำำ�ตััว เมื่�อมองด้้านข้้างของลำำ�ตััวจะเห็็นเป็็นรููปสามเหลี่�ยม 3 อััน
เรีียงต่่อกััน (diamond mark) พบแพร่่กระจายและระบาดทั่�วทุุกภาคของประเทศไทยที่่�มีีการปลููกพืืช
ตระกูลกะหล่�ำ หนอนใยผักเริ่มระบาดตั้งแต่ฤดูหนาวและจะเพิ่มความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ จนระบาดมากในช่วงท้าย
ของฤดูหนาวต่อฤดูแล้ง ซึ่งเป็นระยะที่มีการปลูกผักกันมาก ในฤดูฝนพบระบาดไม่รุนแรง หนอนใยผักเมื่อฟัก
ออกมาจากไข่่ใหม่่ๆ ตััวหนอนจะแทะกิินผิิวใบด้้านล่่างเป็็นวงกว้้างและทิ้�งผิิวใบด้้านบนซึ่�งมีีลัักษณะโปร่่งแสงไว้้
ในระยะต้้นอ่่อน หากมีีการระบาดรุุนแรงหนอนใยผัักจะกััดกิินใบเป็็นรููพรุุนเหลืือแต่่ก้้านใบ ในระยะออกดอก
ติิดฝักั หนอนจะกัดั ทำำ�ลายส่่วนยอดจนชะงักั การเจริิญเติบิ โต หนอนใยผักั มีวี งจรชีีวิติ 18-24 วััน หนอนมีีสีีครีีม
หรืือเหลืืองอ่่อน ส่่วนหััวและท้้ายมีีลัักษณะแหลม หนอนโตเต็็มที่่�มีีขนาด 0.8-1 เซนติิเมตร หนอนใยผััก
สามารถสร้้างความต้้านทานต่อ่ สารเคมีีกำำ�จัดั แมลงได้้เร็็ว ควรใช้ว้ ิิธีีการป้อ้ งกันั กำำ�จััดแบบผสมผสาน
สำำ�หรัับแมลงศััตรููพืืช ได้้แก่่ หนอนกระทู้�หอม และหนอนเจาะสมอฝ้้าย ข้้อมููลเช่่นเดีียวกัันกัับ
ในเรื่�องไวรััส NPV

เอกสารวิชาการ 69

ชวี ภัณฑป์ อ้ งกันกำ� จัดศตั รพู ื ช

การผลิติ ขยายชีีวภััณฑ์์

การผลิิตขยายแบคทีเี รีีย Bacillus thuringiensis

เตรีียมอาหารเลี้�ยงเชื้�อ Nutrient Agar (NA) และ Nutrient Broth (NB) โดยใช้อ้ าหารสำำ�เร็จ็ รูปู
และนำำ�ไปอบนึ่�งฆ่า่ เชื้�อที่� 121 องศาเซลเซียี ส ความดััน 15 ปอนด์์/ตารางนิ้�ว เป็็นเวลา 15 นาทีี

นำำ�เชื้�อที่�ได้้จากสำำ�นัักวิจิ ัยั พัฒั นาการอารัักขาพืืชมา Simple streak บน NA ที่�เตรียี มไว้ห้ นึ่�งหลอด/หนึ่�งจาน
บ่่มเชื้�อที่่�อุุณหภููมิิ 37 องศาเซลเซียี ส เป็น็ เวลา 24 ชั่�วโมง แล้้วขููด Bt ลงในอาหารเหลว NB ที่�เตรีียมไว้้
โดยใช้้ลูปู ขููดอาหาร NA สองจานต่อ่ NB หนึ่�งขวด

เขย่า่ เชื้�อ Bt ในเครื่�องเขย่า่ ที่่� 200 รอบ/นาทีี เป็็นเวลา 72 ชั่�วโมง

เชื้�อสด Bt พร้อ้ มใช้้

70 เอกสารวชิ าการ

ชีวภัณฑป์ อ้ งกนั ก�ำจัดศตั รูพื ช

Link / QR code / Clip ของชวี ภณั ฑ์
https://www.youtube.com/watch?v=cwIDzfVhWhI&feature=youtu.be
https://www.youtube.com/watch?v=WKXRV7425hM&feature=youtu.be

บรรณานกุ รม
กองกีีฏและสััตววิิทยา. 2544. คู่่�มืือตรวจแมลงไรและสััตว์์ศััตรููพืืชเศรษฐกิิจ. เอกสารวิิชาการ. กองกีีฏและ

สัตั ววิทิ ยา กรมวิชิ าการเกษตร. 275 หน้า้ .
El-Guindy, M.A., S.M. Madi, M.E. Keddis, Y.H. Issa and M.M. Abdel-Sattar. 1982. Development

of resistance to pyrethroids in field populations of the Egyptian Cotton leafworm
Spodoptera littoralis (Boisd.). Int. Pest Contr. 124: 6-11.
Knipling E.F. 1979. The basic principle of insect population suppression and management.
US Agriculture Handbook. No. 512. 613 p.
ติดต่อสอบถามข้อมลู เพิ่มเตมิ : กลุ่มงานวิจัยการปราบศตั รพู ชื ทางชีวภาพ กลมุ่ กฏี และสตั ววิทยา
สำ� นักวจิ ัยพฒั นาการอารกั ขาพชื   โทร. 0 2579 7580 ตอ่ 134

เอกสารวชิ าการ 71

ชวี ภณั ฑ์ปอ้ งกันกำ� จัดศตั รูพื ช

ราเขียวเมตาไรเซยี ม

Metarhizium anisopliae สายพัั นธุ์์� DOA-M5

ช่ือวิทยาศาสตร์: Metarhizium anisopliae (Metsch) Sorokin
ช่ือสามญั : green muscardine/ ราเขยี วเมตาไรเซยี ม
วงศ:์ Clavicipitaceae
อันดับ: Hypocreales

โคโลนรี าเขียวเมตาไรเซียมบนอาหาร PDA

72 เอกสารวชิ าการ

ชีวภัณฑ์ปอ้ งกนั ก�ำจัดศตั รพู ื ช

ลักษณะโครงสรา้ งการเกิดโคนิเดยี ราเขียวเมตาไรเซียม

ทม่ี าและความสำ� คัญ/ปัญหาศตั รพู ื ช
ด้วงแรดมะพร้าว และด้วงงวงมะพร้าว เป็นแมลงศัตรูมะพร้าวที่มีความส�ำคัญมีการท�ำลายค่อนข้างรุนแรง
เนื่องจากตัวเต็มวัยของด้วงแรดมะพร้าวจะเจาะและกัดกินส่วนยอดของมะพร้าวเกิดเป็นรอยแผล ท�ำให้
ตัวเต็มวัยด้วงงวงมะพร้าวเข้ามาวางไข่ในโพรงที่ถูกด้วงแรดมะพร้าวกัดเจาะไว้ ระยะไข่ หนอน และดักแด้
ของด้วงงวงมะพรา้ วจะอยภู่ ายในต้นมะพรา้ วซึ่งสร้างความเสียหายคอ่ นข้างมาก สว่ นระยะไข่ หนอน และดักแด้
ของด้วงแรดมะพร้าวมักจะอย่ตู ามพน้ื ในกองเศษซากพืชท่ีเกษตรกรนำ� มากองท้ิงทบั ถมกนั กองป๋ยุ หมัก ปุ๋ยคอก
หรือตามตอมะพร้าวท่ีถูกตัดท้ิงไว้เป็นเวลานาน ซึ่งสภาพดังกล่าวถ้าไม่มีการจัดการที่เหมาะสมจะกลายเป็น
แหล่่งขยายพัันธุ์�ของด้้วงแรดมะพร้้าวและด้้วงงวงมะพร้้าว ซึ่�งจะเป็็นปััญหากัับเกษตรกรต่่อไป จากรายงานของ
กรมส่่งเสริิมการเกษตร เมื่�อวันั ที่� 20 พฤษภาคม 2563 พบพื้�นที่�การระบาดของด้ว้ งแรดมะพร้า้ วจำำ�นวน 7,176 ไร่่
ใน 21 จัังหวััด การควบคุมุ การระบาดของแมลงศััตรููมะพร้้าวทั้�ง 2 ชนิิดนี้้�จึงึ มีีความจำำ�เป็น็ เนื่�องจากมักั พบการระบาด
ของแมลงทั้�ง 2 ชนิิดนี้้�ร่่วมกัันเสมอ จากพฤติิกรรมของด้้วงแรดมะพร้้าวที่�พบการวางไข่่ในกองวััสดุุเศษซากพืืช
เน่าเปื่อยตามพื้นดิน ท�ำให้สามารถป้องกันการระบาดโดยการตัดวงจรในช่วงท่ีเป็นระยะตัวหนอนและดักแด้
ของด้วงแรดมะพร้าวได้โดยการหาจุลินทรีย์ที่มีศักยภาพในการควบคุมระยะดังกล่าว ซ่ึงราเขียวเมตาไรเซียม
เป็นจุลินทรีย์ที่ได้รับความนิยมและใช้กันอย่างแพร่หลายในหลายประเทศ ประเทศไทยโดยกรมวิชาการเกษตร
ไดม้ ีการศกึ ษาวจิ ัยในเร่อื งนแี้ ละปจั จุบันไดเ้ ผยแพร่สู่เกษตรกรเพ่ือเปน็ ทางเลอื กในการป้องกนั กำ� จัดอีกวิธหี น่ึง
ในปีี พ.ศ. 2548-2553 เสาวนิิตย์์ และคณะ ได้้ศึึกษาสููตรอาหารและปััจจััยต่่างๆ ที่�เหมาะสมต่่อการ
เจริิญเติิบโตของราเขีียวเมตาไรเซีียมเพื่�อนำำ�ข้้อมููลที่�ได้้มาใช้้เป็็นพื้�นฐานในการผลิิตขยายเชื้�อราชนิิดนี้� การศึึกษา
คัดเลือกวัสดุที่ใช้เป็นสารพา (carriers) ตลอดจนการทดสอบในเร่ืองการเก็บรักษา และศึกษาการใช้ราเขียว
เมตาไรเซยี มในการควบคมุ แมลงศัตรูมะพร้าว ผลการศึกษาท�ำใหไ้ ด้สายพนั ธุ์ท่มี ีความเหมาะสมในการใช้ควบคุม
หนอนด้วงแรดมะพร้าว หนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าว และหนอนหัวด�ำมะพร้าว โดยพบว่าการเกิดโรคใน
หนอนด้วงแรดมะพร้าวใช้ระยะเวลาในการเกิดโรคอยู่ในช่วง 8-14 วัน หนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าวใช้ระยะเวลา
ในการเกิดโรคอยู่ในช่วง 4-8 วัน และหนอนหัวด�ำมะพร้าวใช้เวลาในการเกิดโรคสูงสุดไม่เกิน 4 วัน จากผล
การทดลองพบว่่าเชื้ �อที่ �แยกได้้จากแมลงชนิิดเดีียวกัันจะเกิิดการติิดเชื้ �อกลัับไปในแมลงชนิิดเดิิมได้้ดีีกว่่าใน

เอกสารวชิ าการ 73

ชวี ภัณฑป์ อ้ งกนั กำ� จดั ศัตรพู ื ช

แมลงชนิิดอื่�น เช่่น ราเขีียวเมตาไรเซีียมสายพัันธุ์� DOA-M5 ที่�แยกได้้จากหนอนด้้วงแรดมะพร้้าวจะทำำ�ให้้
หนอนด้้วงแรดมะพร้้าวเป็็นโรคได้้ดีีกว่่าแมลงชนิิดอื่�นที่�ใช้้ทดสอบ ในทำำ�นองเดีียวกัันราเขีียวเมตาไรเซีียม
สายพัันธุ์� DOA-M4 ที่�แยกได้้จากหนอนแมลงดำำ�หนามมะพร้้าวก็็ทำำ�ให้้หนอนแมลงดำำ�หนามมะพร้้าวเป็็นโรค
ไดด้ ีกว่าแมลงชนดิ อนื่ ทใี่ ชท้ ดสอบ
ปีี พ.ศ. 2554 เสาวนิิตย์์ และคณะ ได้้ศึึกษาอััตราการใช้้ราเขีียวเมตาไรเซีียมในการควบคุุม
หนอนด้้วงแรดมะพร้้าวที่�เหมาะสมต่่อหน่่วยพื้�นที่� และพบว่่าการใช้้ราเขีียวอััตรา 200-1,000 กรััม/ถัังซีีเมนต์์
(ความจุ 0.25 ลูกบาศก์เมตร) ไม่ท�ำให้เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนด้วงแรดมะพร้าวต่างกัน โดยพบว่า
การเพ่ิมปริมาณราเขียวมากขึ้นไม่ท�ำให้เกิดการติดเชื้อเพ่ิมข้ึนเสมอไป ความแปรปรวนดังกล่าวอาจเกิดข้ึน
จากการแข่งขันกันเพื่อแย่งอาหารและที่อยู่อาศัยของเชื้อราและเช้ือแบคทีเรียชนิดต่างๆ เมื่ออยู่ในพ้ืนท่ีจ�ำกัด
การแพร่กระจายของเชื้อราโรคแมลงขึ้นอยู่กับปริมาณความหนาแน่นของเช้ือซึ่งต้องมีมากพอ และต้องอยู่ใน
สภาพแวดล้้อมที่�เหมาะสม ได้้แก่่ อุุณหภููมิิและความชื้�นที่�พอเหมาะจะกระตุ้�นให้้เชื้�อราสร้้างโคนิิเดีียและงอกได้้
นอกจากนี้้�ยัังต้้องคำำ�นึึงถึึงโอกาสในการสััมผััสของโคนิิเดีียกัับผนัังลำำ�ตััวของเหยื่�ออาศััย ซึ่�งแมลงที่่�ติิดโรคส่่วนใหญ่่
มัักได้้รัับเชื้�อผ่่านเข้้าทางผนัังลำำ�ตััว ดัังนั้�นการนำำ�เชื้�อราโรคแมลงไปใช้้จึึงจำำ�เป็็นต้้องทำำ�ให้้เชื้�อรามีีโอกาสกระจายตััว
ให้้มากที่่�สุดุ เพื่�อให้้ถูกู แมลงศััตรูพู ืชื เป้า้ หมายได้้มากที่่�สุุด
ปี พ.ศ. 2561 เสาวนิตย์ และคณะ ได้ศึกษาและพัฒนาการผลิตราเขียวเมตาไรเซียมให้อยู่ในรูปแบบ
ชีวภัณฑ์อัดเม็ด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้เทคโนโลยีการผลิตราเขียวเมตาไรเซียมในรูปแบบชีวภัณฑ์ที่มี
ประสิทธิภาพในการก�ำจัดด้วงแรดมะพร้าว สะดวกต่อการใช้งานและมีต้นทุนการผลิตไม่สูง เน้นรูปแบบอัดเม็ด
เพื่อลดการปลิวของโคนิเดียและปลอดภัยต่อผู้ใช้ ตลอดจนศึกษาการประยุกต์ใช้ชีวภัณท์ราเขียวเมตาไรเซียม
ท่ีผลิตได้ในการก�ำจัดด้วงแรดมะพร้าวในสภาพไร่ ค่าเฉล่ียหนอนด้วงแรดมะพร้าวท่ีติดราเขียวเมตาไรเซียม
ในกองกับดักที่ใช้ชีวภัณฑ์เชื้อสดอัดเม็ดและเช้ือสดอยู่ที่ 87.07 และ 77.67% ตามล�ำดับ ดังนั้นการใช้ราเขียว
เมตาไรเซียมเพื่อควบคมุ ด้วงแรดมะพร้าวจงึ เปน็ อีกหน่งึ ทางเลือกของเกษตรกรในการแก้ปญั หาดว้ งแรดมะพร้าว
ในสวนมะพรา้ วหรอื ในแปลงปลกู ปาล์ม ณ ปัจจบุ ัน
กลไกการทำำ�ลายศัตั รููพืื ช

การเขา้ ทำ� ลายแมลงของเชื้อราโรคแมลงต่อหนอนผเี ส้อื

(ที่�มา: Senthil-Nathan, 2015)

74 เอกสารวชิ าการ

ชวี ภัณฑป์ อ้ งกันก�ำจดั ศัตรูพื ช

ราเขียวเมตาไรเซียมเข้าท�ำลายแมลงได้โดยผ่านเข้าทางผนังล�ำตัว โคนิเดียของราเขียวท่ีติดกับผนัง
ล�ำตัวแมลงเม่ือได้รับความช้ืนและอุณหภูมิท่ีเหมาะสมจะกระตุ้นให้เกิดการงอกและแทงทะลุผ่านช้ัน
ผนังล�ำตัวเข้าสู่ภายใน เชื้อราจะท�ำลายช้ันไขมันเป็นส่วนแรกและแพร่เข้าสู่ช่องว่างภายในล�ำตัวแมลง เส้นใย
ราเขียวเจริญเติบโตโดยการดูดซึมและใช้อาหารภายในล�ำตัวแมลงอาศัย ในขณะเดียวกันเส้นใยบางส่วนอาจ
เข้าท�ำลายเน้ือเยื่อ หรืออวัยวะภายในของแมลงให้ได้รับความเสียหาย จากน้ันจะเจริญเติบโตและเพิ่มปริมาณ
จนเต็มตัวแมลง แมลงที่ตายด้วยเชื้อรามักมีลักษณะแห้งและแข็ง เรียกลักษณะเช่นนี้ว่า “มัมม่ี” เน่ืองจาก
มีีเส้้นใยเชื้�อราเจริิญอััดแน่่นอยู่�ภายในลำำ�ตััว หลัังจากแมลงตายราเขีียวจะแทงทะลุุผ่่านผนัังลำำ�ตััวออกมา
แพร่ก่ ระจายพันั ธุ์�ภายนอก ในช่ว่ งแรกจะพบเส้้นใยสีขี าวขึ้�นปกคลุมุ ลำำ�ตัวั และเปลี่�ยนเป็็นสีีเขียี วในเวลาต่อ่ มา

กลไกการเข้าท�ำลายของเช้ือราโรคแมลง

(ที่�มา: Boucias and Pendland, 1998)

ในปีี ค.ศ. 1998 Boucias and Pendland พบว่่าการเข้้าทำำ�ลายแมลงของเชื้�อราโรคแมลงเริ่�มจาก
โคนิเดียของเช้ือปลิวไปสัมผัสกับผนังล�ำตัวของแมลงอาศัย โคนิเดียจะสร้าง Appressorium เพื่อช่วยในการ
เกาะยึดกับผนังล�ำตัวแมลง เมื่อมีอุณหภูมิ 25-30 องศาเซลเซียส และความชื้นเหมาะสมจะงอก germ tube
ในกรณีีที่่�อุุณหภููมิติ ่ำำ��กว่า่ 19 และสูงู เกินิ 33 องศาเซลเซียี ส โคนิิเดียี จะไม่เ่ กิดิ การงอก ซึ่�งเป็น็ ไปในทิิศทางเดียี ว
กัับ Madelin et al. ในปีี ค.ศ. 1967 ที่�กล่่าวว่่าราจะงอก germ tube สั้�นๆ และใช้้ germ tube หรืือ
infection pegs ที่ราสร้างขึ้นจากโคนิเดีย แทงทะลุผ่านผนังล�ำตัวแมลงเข้าไปภายใน โดยมี appressoria
เป็นส่วนที่ชว่ ยยดึ ผนงั ลำ� ตัวแมลงไว้ และขอ้ มูลสนบั สนนุ ของ McCoy and Selhime ในปี ค.ศ. 1977 ทก่ี ล่าวไว้
ว่าโคนิเดียจะงอกไดด้ ีที่ระดับความช้ืน 90-100%

เอกสารวชิ าการ 75

ชวี ภณั ฑป์ อ้ งกันกำ� จัดศตั รูพื ช

ผนัังลำำ�ตััวแมลงประกอบด้ว้ ยไขมันั โปรตีีน และคาร์์โบไฮเดรต โดยเฉพาะ chitin จึงึ คาดว่่ามีี enzyme
หลายชนิิด ได้้แก่่ ไลเปส โปรติิเอส อะไมเลส และไคติิเนส ช่่วยในกระบวนการแทงทะลุุผ่่านผนัังลำำ�ตััวแมลง
และเมื่อเข้าไปแล้วเส้นใยเชื้อราจะแตกออกเป็นท่อนสั้นๆ เรียก hyphal bodies กระจายและไหลเวียน
เข้าสู่ช่องว่างภายในล�ำตัวแมลง เส้นใยบางส่วนอาจเข้าท�ำลายอวัยวะต่างๆ เช่น fat body และขยายอัดแน่น
ไปทั่วล�ำตัวแมลงภายหลังท่ีแมลงตาย ท�ำให้ซากแมลงที่ตายด้วยเช้ือรามีลักษณะแน่นและแข็ง ในระยะต่อมา
เชอ้ื ราจะแทงทะลอุ อกมานอกลำ� ตัว และสร้างโคนเิ ดยี เพ่อื แพร่กระจายพันธ์ุตอ่ ไป
การใช้ราเขียวเมตาไรเซียมควบคุมด้วงแรดมะพร้าวเป็นวิธีการป้องกันก�ำจัดทางชีววิธีที่ได้ผลในระยะยาว
ไม่มีพิษตกค้าง มีความปลอดภัยต่อสภาพแวดล้อม โดยราเขียวมีความคงทนสามารถมีชีวิตอยู่ในดินได้ข้ามปี
และมีความเฉพาะเจาะจงต่อกลุ่มแมลงอาศัย การใช้ราเขียวควบคุมด้วงแรดมะพร้าวส่วนใหญ่จะคลุกผสมราเขียว
ลงในกองกับดัก หรือในแหลง่ ท่พี บการระบาดของดว้ งแรดมะพร้าว เพอ่ื ทำ� ลายตัวหนอนและดักแดท้ ่ีอยใู่ นดนิ

หนอนดว้ งแรดมะพรา้ วทถี่ กู ราเขยี ว Metarhizium anisopliae (Metsch) Sorokin ทำ� ลาย

วิธกี ารใชช้ ีวภัณฑค์ วบคมุ ศตั รูพื ช
ท�ำกองกับดักเพ่ือควบคุมด้วงแรดมะพร้าวในแหล่งที่พบการระบาด โดยสังเกตจากแปลงมะพร้าวท่ีมี
ต้นถูกท�ำลาย ทางใบท่ีเกิดใหม่จะไม่สมบูรณ์มีรอยขาดแหว่งเป็นร้ิวๆ คล้ายหางปลา หรือรูปพัด ซ่ึงเกิดจาก
การเข้าท�ำลายของตัวเต็มวัยด้วงแรดมะพร้าว จัดเตรียมกองกับดักในพ้ืนท่ีดังกล่าวเพ่ือล่อให้ด้วงแรดมะพร้าว
ตวั เตม็ วยั มาจับคูผ่ สมพันธุ์และวางไข่

วธิ เี ตรียมกองกบั ดกั

1. เลือกวัสดทุ ห่ี าไดง้ า่ ยในพืน้ ที่ มาวางกัน้ เป็นขอบกองกับดัก ขนาด 1.5x1.5x0.50 เมตร
2. ผสมปุ๋ยคอกและมะพรา้ วสบั อตั ราสว่ น 1:2 ใสล่ งในกองกบั ดกั ทีเ่ ตรียมไว้
3. รดน้ำ� ใหท้ ่วั ท้ังกอง เพื่อให้เกดิ กระบวนการหมักทส่ี มบรู ณ์ ทิ้งไวป้ ระมาณ 1-2 เดอื น ตวั เต็มวยั ของ
ดว้ งแรดมะพร้าวจะเริ่มมาวางไข่

76 เอกสารวิชาการ

ชีวภัณฑ์ปอ้ งกันก�ำจดั ศัตรพู ื ช

ลักษณะของกองกับดกั

วธิ ใี ชร้ าเขียวเมตาไรเซียม

1. เม่ือพบตัวหนอนด้วงแรดมะพร้าวในกองกับดัก ใช้ราเขียวเมตาไรเซียมในรูปแบบเชื้อสด หรือ
รูปแบบอัดเม็ด (pellet) ในอตั รา 400 กรัม/กอง
2. เกล่ียให้เชือ้ กระจายทัว่ ทง้ั กอง และรดน�้ำเพิ่มความชนื้ ในกองกบั ดัก
3. หาวสั ดุคลมุ กอง เช่น ทางมะพร้าว หรอื เศษใบไม้ เพอ่ื ปอ้ งกนั แสงแดดและรักษาความชืน้ ในกองกับดัก
4. ท้งิ ไวป้ ระมาณ 1 เดือน หนอนด้วงแรดมะพร้าวจะเร่มิ ติดเชอ้ื สังเกตจากรอยแผลสนี ้ำ� ตาลขา้ งลำ� ตัว
การท�ำกองกับดักควรท�ำอย่างต่อเน่ือง โดยการเติมวัสดุในกองกับดักและใส่ราเขียวเมตาไรเซียมเพื่อ
ช่วยควบคุมตัวหนอนด้วงแรดมะพร้าวที่เกิดข้ึนใหม่ ทุกๆ 3-4 เดือน เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการควบคุม
ให้ดยี ง่ิ ข้ึน

ขอ้ ดี

1. ผลติ ไดง้ า่ ย สามารถเลย้ี งได้บนเมลด็ ธญั พชื หลายชนิด รวมทงั้ อาหารสังเคราะห์
2. มีความคงทนในสภาพแวดลอ้ มสูง สามารถมีชวี ติ อยูใ่ นดินไดข้ ้ามปี
3. ใช้ได้งา่ ย โดยการคลุกผสมกบั ดนิ หรอื การผสมน้�ำฉดี พน่
4. แพรก่ ระจายไดง้ า่ ย โดยปลวิ ไปกับลม หรอื ติดไปกับคน สตั ว์ หรือแมลง

ข้อจำ� กดั

1. ราเขียวเมตาไรเซยี มต้องการความชื้นสูงเพื่อกระตุ้นให้โคนเิ ดยี งอก จงึ ควรเลอื กช่วงเวลาทีเ่ หมาะสม
ในการใช้ เช่น ช่วงปลายฝนต้นหนาว หรือการเพิ่มความช้ืนโดยการรดน�้ำบริเวณพ้ืนที่ปลูกพืชก่อนที่จะมีการใช้
ราเขียวเมตาไรเซยี ม
2. ผู้ใชค้ วรหลกี เล่ียงการใช้ในชว่ งทีม่ ีแสงแดดจดั เชน่ ในช่วงเวลากลางวัน ควรใชใ้ นช่วงเวลาเย็นหรือ
หลงั พระอาทิตยต์ ก
3. ผู้ใช้ควรสวมเคร่ืองป้องกัน เช่น ใช้ผ้าปิดปากและจมูก เพื่อหลีกเล่ียงการสูดหายใจเอาโคนิเดีย
เข้าระบบทางเดนิ หายใจ สำ� หรับผู้ท่เี ป็นโรคภมู ิแพ้อาจท�ำให้เกดิ อาการผน่ื คันได้

เอกสารวชิ าการ 77

ชีวภณั ฑป์ อ้ งกนั กำ� จดั ศตั รพู ื ช

การตรวจสอบคุณุ ภาพ/การเก็็บรัักษาชีีวภัณั ฑ์์
1. ราเขยี วเมตาไรเซยี มรูปแบบเช้อื สดไมค่ วรเก็บนานเกนิ 1 เดอื น ในอุณหภูมหิ อ้ ง 27+3 องศาเซลเซยี ส
เน่ืองจากเชื้อสามารถเจริญเติบโตบนอาหารเลี้ยงและพัฒนาตัวเองไปเรื่อยๆ ประสิทธิภาพอาจจะลดลง
การเก็บในตู้เย็นอุณหภูมิ 7+2 องศาเซลเซียส จะท�ำให้เช้ือชะงักการเจริญเติบโตและช่วยยืดอายุการเก็บรักษา
เชอ้ื ไดน้ านขึ้น แต่ไม่ควรเก็บนานเกนิ 6 เดือน
2. ราเขียวเมตาไรเซียมรูปแบบเช้ือสดอัดเม็ดท่ีบรรจุในถุงฟอยล์และซีลสุญญากาศ หากเก็บในตู้เย็น
อณุ หภูมิ 7+2 องศาเซลเซียส สามารถคงประสทิ ธิภาพของเชื้อไดน้ านเป็นปี

ชนิดของศตั รูพื ช

ด้้วงแรดมะพร้า้ ว Oryctes rhinoceros L.
ชือ่ วทิ ยาศาสตร์: Oryctes rhinoceros L.
ช่ือสามญั : coconut rhinoceros beetle/ ดว้ งแรดมะพร้าว
วงศ:์ Scarabaeidae
อันดบั : Coleoptera
ด้วงแรดมะพร้าว พบในแหล่งปลูกมะพร้าวและพชื ตระกลู ปาล์ม มี 2 ชนิด คือดว้ งแรดมะพร้าวชนดิ เลก็
Oryctes rhinoceros L. พบได้บ่อย และพบทั่วทุกภาคของประเทศไทย อีกชนิดหนึ่งคือด้วงแรดมะพร้าว
ชนดิ ใหญ่ Oryctes gnu Mohner ส่วนใหญ่พบในเขตภาคใตข้ องประเทศไทยต้ังแต่จังหวัดชุมพรลงไป
ด้วงแรดมะพร้าวเป็นแมลงท่ีมีพฤติกรรมชอบหลบซ่อน ท้ังตัวเต็มวัย ไข่ หนอน ดักแด้ จึงมักพบอยู่
ในแหล่่งที่�ไม่่มีีแสงสว่่าง เฉพาะตััวเต็็มวััยเท่่านั้้�นที่่�ทำำ�ลายพืืชสด โดยจะบิินขึ้�นไปเจาะกิินยอดมะพร้้าวหรืือ
ปาล์์มน้ำำ��มััน ซึ่�งอาจพบด้้วงมากกว่่า 1 ตััว มีีรายงานว่่าในต้้นปาล์์มประดัับพบด้้วงแรดมะพร้้าวหลบซ่่อน
ตามโคนกาบทางใบมากกว่่า 10 ตััว นอกจากนี้้�ยัังพบในแหล่่งขยายพัันธุ์� ตััวเต็็มวััยออกหากิินเวลาพลบค่ำำ��และ
ก่่อนพระอาทิิตย์์ขึ้�น ในสภาพธรรมชาติิมัักพบด้้วงแรดมะพร้้าวบิินมาเล่่นไฟในเวลากลางคืืน ด้้วงแรดมะพร้้าว
มัักบินิ ไปมาในระยะทางสั้�นๆ ใกล้แ้ หล่่งอาหารและแหล่ง่ ขยายพัันธุ์� มีรี ายงานว่า่ ด้้วงแรดมะพร้้าวสามารถบิินได้้นาน

78 เอกสารวชิ าการ

ชีวภณั ฑป์ ้องกนั ก�ำจดั ศัตรพู ื ช

2-3 ชั่�วโมง เป็็นระยะทาง 2-4 กิิโลเมตร ตััวหนอนของด้้วงแรดมะพร้้าวมีีลำำ�ตััวงอเป็็นรููปอัักษร C บางครั้�ง
เห็็นส่่วนหััวกัับส่่วนท้้ายลำำ�ตััวเกืือบชนกััน ถ้้าหนอนอยู่�ในสภาพแวดล้้อมที่�ไม่่เหมาะสมอาจมีีอายุุยืืนยาวถึึง
420 วััน ส่่วนดัักแด้้มีีรููปร่่างลัักษณะต่่างกัันไปตามแหล่่งขยายพัันธุ์� เช่่น ถ้้าพบในซากท่่อนมะพร้้าวหรืือ
ปาล์มน้�ำมันที่ผุพัง หนอนวัยสุดท้ายจะสร้างรังมีลักษณะเป็นโพรงรูปไข่เพ่ือเข้าดักแด้ ถ้าอยู่ในกองปุ๋ยหมัก
ปุ๋ยคอก กองขี้เล่ือย กองขยะ กองเศษพืชเน่าเปื่อย หนอนวัยสุดท้ายจะสร้างรังโดยใช้วัสดุเหล่านั้นปั้นเป็น
ก้อนรูปไข่ขนาดใหญ่และเข้าดักแด้อยู่ภายใน บางคร้ังพบหนอนเข้าดักแด้อยู่ในดิน มีรายงานว่าพบดักแด้อยู่
ใต้ดินลึกถึง 150 เซนตเิ มตร
ด้้วงแรดมะพร้้าวชนิิดเล็็กและด้้วงแรดมะพร้้าวชนิิดใหญ่่มีีรููปร่่างลัักษณะที่�คล้้ายกััน ต่่างกัันเพีียง
ขนาดล�ำตัวและขอบของแผ่นปกคลุมด้านหลังของส่วนอก ซ่ึงมีลักษณะคล้ายฟันเล็กๆ ด้วงแรดมะพร้าว
ชนิดใหญ่มี 3 ซี่ ด้วงแรดมะพร้าวชนิดเล็กมี 2 ซี่ ไข่มีลักษณะกลมรี สีขาวนวล ขนาดกว้าง 2-3 มิลลิเมตร
ยาว 3-4 มลิ ลิเมตร เม่ือใกลฟ้ กั ไขจ่ ะมสี นี ำ้� ตาลอ่อน โดยปกตไิ ข่จะถูกวางลึกลงไปจากดินประมาณ 5-15 เซนตเิ มตร
ในแหล่่งขยายพัันธุ์�ที่�มีการย่่อยสลายของอิินทรีีย์์วััตถุุต่่างๆ สมบููรณ์์แล้้ว บางครั้�งอาจพบที่�ตอมะพร้้าวผุุ โดยไข่่จะ
ถููกฝัังอยู่�ใต้้เปลืือกมะพร้้าวรอบตอที่่�ผุุนั้�น ตััวหนอนเมื่�อฟัักออกมาจากไข่่ใหม่่ๆ ลำำ�ตััวมีีสีีขาวขนาด 2x7.5 มิิลลิิเมตร
หััวกระโหลกสีีน้ำำ��ตาลอ่่อนกว้้างประมาณ 2-2.5 มิิลลิิเมตร มีีขาจริิง 3 คู่� ด้้านข้้างลำำ�ตััวมีีรููหายใจจำำ�นวน 9 คู่�
เมื่�อหนอนกิินอาหารแล้้วผนัังลำำ�ตััวจะมีีลัักษณะโปร่่งใส มองเห็็นภายในสีีดำำ� หนอนเมื่�อเจริิญเติิบโตเต็็มที่่�มีี
ขนาดลำ� ตวั ยาวประมาณ 60-90 มิลลิเมตร เมอ่ื หนอนเจริญเติบโตเตม็ ที่จะหยุดกนิ อาหารและสร้างรังเปน็ โพรง
หนอนจะหดตัวอยู่ภายในเป็นเวลา 5-8 วัน จึงเปล่ียนรูปร่างเป็นดักแด้สีน้�ำตาลแดงขนาดประมาณ 22x50
มิลลิเมตร สามารถแยกเพศได้ โดยดักแด้เพศผู้จะเห็นส่วนท่ีเป็นรยางค์คล้ายเขาย่ืนยาวชัดเจนกว่าของเพศเมีย
ตัวเต็มวัยเป็นด้วงปีกแข็งสีด�ำเป็นมันวาว ใต้ท้องสีน้�ำตาลแดงมีขนาดกว้าง 20-23 มิลลิเมตร ยาว 30-52
มิลลิเมตร สามารถแยกเพศได้โดยตัวเต็มวัยเพศผู้มีเขาลักษณะคล้ายเขาแรดอยู่บนส่วนหัวยาวโค้งไปทาง
ด้านหลัง ขณะที่เขาของตัวเมียสั้นกว่า และบริเวณท้องปล้องสุดท้ายของเพศเมียมีขนสีน�้ำตาลแดงขึ้นหนาแน่น
กว่าของเพศผู้ วงจรชวี ิตต้งั แต่ไขจ่ นถงึ ตัวเต็มวัยใชเ้ วลาประมาณ 4-9 เดอื น โดยเฉล่ียประมาณ 6 เดือน

ระยะไข่ 10-12 วัน ระยะหนอน 80-150 วัน

ระยะตัวเต็มวยั 90-120 วนั ระยะดักแด้ 23-28 วนั

วงจรชีีวิติ ของด้ว้ งแรดมะพร้า้ ว Oryctes rhinoceros L.

เอกสารวชิ าการ 79

ชวี ภัณฑ์ปอ้ งกนั กำ� จดั ศัตรูพื ช

การประเมนิ ประสทิ ธิภาพในการควบคมุ
โดยปกติมะพร้าวจะแทงยอดเดือนละ 1 ครั้ง ต่อมาจะพัฒนาเป็นทางใบ การประเมินประสิทธิภาพ
ราเขีียวเมตาไรเซีียมในการควบคุุมด้้วงแรดมะพร้้าว สามารถประเมิินได้้จากรอยทำำ�ลายของตััวเต็็มวััยที่�เข้้ามา
เจาะกิินยอดมะพร้้าวหรืือปาล์์มน้ำำ��มััน ซึ่�งจะทำำ�ให้้ทางใบที่�เกิิดใหม่่ไม่่สมบููรณ์์ มีีรอยขาดแหว่่งเป็็นริ้�วๆ คล้้าย
หางปลา หรืือรููปพััด การตั้�งกองกัับดัักให้้กระจายในแปลงปลููกมะพร้้าวเพื่�อดึึงดููดให้้ตััวเต็็มวััยด้้วงแรดมะพร้้าว
มาวางไข่่ในแปลงและใช้้ราเขีียวเมตาไรเซีียมในการควบคุุมจะช่่วยลดปริิมาณหนอนและดัักแด้้ในแปลงได้้
ซึ่�งมีีผลทำำ�ให้้ปริิมาณหนอนและดัักแด้้ที่�จะพััฒนาเป็็นตััวเต็็มวััยลดลง สัังเกตได้้จากยอดมะพร้้าวที่�เกิิดใหม่่จะ
ถููกทำำ�ลายลดลง

รอยแผลบรเิ วณยอดอ่อนและลักษณะทางใบท่ีถูกดว้ งแรดมะพรา้ วทำ� ลาย

การผลิตขยายชวี ภัณฑ์

การผลติ ขยายราเขยี วเมตาไรเซยี มสำ� หรบั เกษตรกร

1. การเตรยี มอาหารเล้ียงราเขียวเมตาไรเซียม โดยช่ังข้าวโพดบดหยาบ 200 กรัม เตมิ นำ�้ 200 มลิ ลิลติ ร
ใส่ถุงพลาสติกทนร้อน (ถุงเพาะเห็ด) ปิดปากถุงด้วยจุกส�ำลีและหุ้มทับด้วยกระดาษ น�ำไปนึ่งฆ่าเช้ือท่ีอุณหภูมิ
121 องศาเซลเซยี ส ความดัน 15 ปอนด/์ ตารางน้วิ เปน็ เวลา 20 นาที ปล่อยทง้ิ ไวใ้ หเ้ ย็น
หมายเหต:ุ ในกรณที ่ใี ช้หมอ้ น่งึ ลกู ทุง่ ควรใชเ้ วลาน่งึ ไม่ตำ่� กว่า 2 ช่วั โมง
2. การผลิิตขยายราเขีียวเมตาไรเซีียม โดยทำำ�ความสะอาดพื้�นผิิวบริิเวณที่�จะใช้้เลี้�ยงราเขีียวเมตาไรเซีียม
โดยใช้้ 70% แอลกอฮอล์์ เช็็ดให้้ทั่�วบริิเวณที่�ใช้้ปฏิิบััติิงาน นำำ�ช้้อนที่�จะใช้้ลนไฟฆ่่าเชื้�อให้้ทั่�ว แล้้วพัักไว้้ให้้เย็็น
เปิิดถุุงหััวเชื้�อ (ราเขีียวเมตาไรเซีียมรููปแบบเชื้�อสด) และถุุงอาหารเลี้�ยงเชื้�อที่�เตรีียมไว้้ ตัักหััวเชื้�อที่�เตรีียมไว้้
ในปริมิ าณ 1 ช้อ้ นโต๊ะ๊ แล้ว้ ถ่า่ ยใส่่ในถุุงอาหารที่�เตรีียมไว้้ (หัวั เชื้�อราเขีียว 1 ถุุง สามารถขยายใส่ใ่ นถุุงอาหารใหม่่
ได้้ 20 ถุุง) ปิิดถุุงด้้วยจุุกสำำ�ลีี และหุ้�มทัับด้้วยกระดาษ เขย่่าถุุงเพื่�อคลุุกผสมให้้เชื้�อกระจายทั่�วอาหาร เลี้�ยงไว้้
ที่่�อุณุ หภููมิิห้อ้ งประมาณ 14 วันั เชื้�อราจะเริ่�มเจริญิ เติิบโตและสร้า้ งโคนิิเดีียจนเต็ม็ ถุุง พร้อ้ มที่�จะนำำ�ไปใช้้งาน

80 เอกสารวชิ าการ

ชีวภัณฑ์ป้องกันก�ำจัดศตั รูพื ช

การผลิิตขยายราเขีียวเมตาไรเซีียม Metarhizium anisopliae (Metsch) Sorokin

1. เตรยี มอุปกรณ์ 2. ลนไฟอุปกรณต์ กั เชือ้

3. ตักเช้ือในถงุ หวั เชอื้ ท่เี ตรียม 1 ช้อน 4. ถา่ ยใสถ่ งุ อาหารใหม่

5. คลุกใหร้ าเขยี วกระจายทั่วทั้งถงุ 6. น�ำไปเลีย้ งท่อี ณุ หภมู หิ อ้ งเป็นเวลา 14 วนั

Link / QR code / Clip ของชวี ภัณฑ์
https://www.youtube.com/watch?v=1WUQm8bKPqE
https://www.youtube.com/watch?v=8mSZ_Ouhkl0&feature=youtu.be
https://www.youtube.com/watch?v=u35hZIsQv7o&feature=youtu.be

เอกสารวชิ าการ 81

ชีวภณั ฑป์ อ้ งกันกำ� จดั ศตั รพู ื ช

บรรณานุกรม
มลิิวััลย์์ ปัันยารชุุน และอััจฉรา ตัันติิโชดก. 2521. โรคราของแมลงในประเทศไทยและผลของสิ่ �งแวดล้้อมที่่�มีี

อิิทธิิพลต่อ่ การงอกของเชื้้�อราของแมลงและสััตว์์ศัตั รูพู ืืช. กองกีีฏและสััตววิิทยา กรมวิิชาการเกษตร
หน้้า 42-54.
มลิวิ ัลั ย์์ ปันั ยารชุนุ และสุรุ พล ตรุยุ านนท์.์ 2537. รายงานผลวิจิ ัยั ก้า้ วหน้า้ การใช้เ้ ชื้�อราเขียี วควบคุมุ ด้ว้ งแรดมะพร้า้ ว
ในท้อ้ งที่�ประสบวาตะภััยจากพายุุเกย์์, หน้้า 6-15. ใน: รายงานผลการค้น้ คว้า้ และวิิจัยั ประจำ�ำ ปีี 2537.
กลุ่�มงานวิจิ ััยการปราบศัตั รูพู ืืชทางชีีวภาพ กองกีฏี และสัตั ววิิทยา กรมวิชิ าการเกษตร กรุุงเทพฯ.
มลิิวัลั ย์์ ปัันยารชุนุ . 2537. ศึึกษาอัตั ราการใช้้เชื้�อราเขีียวกำำ�จัดั มอดเจาะผลกาแฟ ในห้อ้ งปฏิบิ ััติกิ าร, หน้า้ 1-6.
ใน: รายงานผลการค้้นคว้้าและวิิจััยประจำำ�ปีี 2537. กลุ่�มงานวิิจััยการปราบศััตรููพืืชทางชีีวภาพ
กองกฏี และสตั ววทิ ยา กรมวชิ าการเกษตร กรงุ เทพฯ.
มลิิวััลย์์ ปัันยารชุุน. 2537. รายงานผลวิิจััยก้้าวหน้้าศึึกษาเปรีียบเทีียบอััตราการใช้้เชื้�อราเขีียวต่่อมวนโกโก้้
ในห้้องปฏิิบััติิการ. หน้้า 16-19. ใน: รายงานผลการค้้นคว้้าและวิิจััยประจำำ�ปีี 2537. กลุ่�มงานวิิจััย
การปราบศัตรพู ชื ทางชวี ภาพ กองกฏี และสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ.
เสาวนิิตย์์ โพธิ์�พููนศัักดิ์์� อภิิรััชต์์ สมฤทธิ์� และอนุุวััฒน์์ จัันทรสุุวรรณ. 2548. การวิิจััยและพััฒนาการผลิิตและ
ใช้้เชื้�อราเขีียว Metarhizium anisopliae เพื่�อประโยชน์์ทางการเกษตร. หน้้า 1785-1808. ใน:
รายงานผลงานวิิจัยั เรื่�องเต็็มปีี 2548 เล่่มที่่� 2. สำำ�นักั วิิจัยั พัฒั นาการอารัักขาพืืช กรมวิชิ าการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ ISBN: 374-436-561-7.
เสาวนิติ ย์์ โพธิ์พ� ูนู ศักั ดิ์์� วัชั รีี สมสุุข อภิริ ัชั ต์์ สมฤทธิ์� สุุชลวััจน์์ ว่่องไวลิขิ ิิต และสาทิพิ ย์์ มาลี.ี 2549. ศึึกษาการ
เจริิญของเชื้�อราเขีียว Metarhizium anisopliae ในผลิิตภััณฑ์์แป้้งชนิิดต่่างๆ. หน้้า 527-535.
ใน: รายงานผลงานวิิจััยประจำำ�ปีี 2549 เล่่ม 1. สำำ�นัักวิิจััยพััฒนาการอารัักขาพืืช กรมวิิชาการเกษตร
กรุุงเทพฯ.
เสาวนิิตย์์ โพธิ์�พููนศัักดิ์์� วััชรีี สมสุุข อภิิรััชต์์ สมฤทธิ์� สุุชลวััจน์์ ว่่องไวลิิขิิต และสาทิิพย์์ มาลีี. 2549. ศึึกษา
สารพา (carriers) ที่�เหมาะสมในการใช้้ร่ว่ มกัับผลิิตภัณั ฑ์แ์ ป้ง้ . หน้้า 536-545. ใน: รายงานผลงาน
วิิจัยั ประจำำ�ปีี 2549 เล่ม่ 1. สำำ�นักั วิิจััยพัฒั นาการอารักั ขาพืืช กรมวิิชาการเกษตร กรุุงเทพฯ.
เสาวนิติ ย์์ โพธิ์�พูนู ศักั ดิ์์� วัชั รีี สมสุุข และสุุชลวัจั น์์ ว่่องไวลิขิ ิิต. 2551. การเก็บ็ รัักษาเชื้�อราเขีียว Metarhizium
anisopliae ในรููปผง. หน้้า 710-719. ใน: รายงานผลงานวิจิ ััยประจำ�ำ ปีี 2551 เล่่ม 2. สำำ�นักั วิจิ ััยพััฒนา
การอารัักขาพืชื กรมวิชิ าการเกษตร กรุุงเทพฯ.
เสาวนิิตย์์ โพธิ์�พููนศัักดิ์์� เกรีียงไกร จำำ�เริิญมา และสาทิิพย์์ มาลีี. 2553. การทดสอบประสิิทธิิภาพเชื้�อราเขีียว
มััสคาดีีน (Metarhizium anisopliae (Metschn.) Sorokin) ในรููปแบบผง ในห้้องปฏิิบััติิการ
หน้้า 854-864. ใน: รายงานผลงานวิิจััยประจำำ�ปีี 2553 เล่่ม 2. สำำ�นัักวิิจััยพััฒนาการอารัักขาพืืช.
เอกสารวชิ าการ ลำ� ดับที่ 1/2554 กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
เสาวนิิตย์์ โพธิ์�พููนศัักดิ์์� อิิศเรส เทีียนทััด วิิไลวรรณ เวชยัันต์์ และยุุทธนา แสงโชติิ. 2554. ศึึกษาอััตราการใช้้
เชื้�อราเขีียว Metarhizium anisopliae (Metschn.) Sorokin ในการควบคุมุ หนอนด้้วงแรดมะพร้้าว.
หน้้า 2104-2113. ใน: รายงานผลงานวิจิ ััยประจำ�ำ ปีี 2554 เล่่ม 4. สำำ�นักั วิจิ ััยพัฒั นาการอารัักขาพืืช
เอกสารวิิชาการ ลำำ�ดับั ที่� 1/2555 กรมวิชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.์

82 เอกสารวชิ าการ

ชวี ภณั ฑ์ปอ้ งกันก�ำจดั ศตั รพู ื ช

เสาวนิตย์ โพธ์ิพูนศักด์ิ อิศเรส เทียนทัด เมธาสิทธ์ิ คนการ สมชัย สุวงศ์ศักด์ิศรี ประภาพร ฉันทานุมัติ
ดารากร เผ่่าชูู อุุดมพร เสืือมาก และภััสชญภณ หมื่�นแจ้้ง. 2561. การผลิิตและการประยุุกต์์ใช้้
ชีีวภััณท์์ราเขีียวเมตาไรเซีียมในการกำำ�จััดด้้วงแรด (Oryctes rhinoceros L.) รายงานผลวิิจััย
เงิินรายได้้จากการดำำ�เนินิ งานวิิจััยด้า้ นการเกษตร. กรมวิิชาการเกษตร.

Boucias, D.G. and J.C. Pendland. 1998. Principles of Insect Pathology. Kluwer Academic
Publishers. 537 p.

Madelin, M.F., R.K. Robinson and R.J. Williams. 1967. Appressorium like structures insect
parasitizing Deuteromycetes. J. Invertebr. Pathol. 9: 404-412.

McCoy, C.W. and A.G. Selhime. 1977. The fungus pathogen, Hirsutella thompsonii and its
potential use for control of the citrus rust mite in Florida. Proc. Inter. Citrus Congr.
2: 521-527.

Senthil-Nathan, S. 2015. A Review of Biopesticides and Their Mode of Action Against
Insect Pests. Retrived August 13, 2020, from https://www.researchgate.net/
publication/277017477.

ติดตอ่ สอบถามขอ้ มลู เพม่ิ เติม: กลุม่ งานวิจยั การปราบศตั รูพชื ทางชีวภาพ กล่มุ กฏี และสตั ววทิ ยา
ส�ำนักวจิ ยั พัฒนาการอารักขาพืช  โทร. 0 2579 7580 ตอ่ 133

เอกสารวิชาการ 83

ชวี ภัณฑ์ปอ้ งกันกำ� จดั ศัตรูพื ช

ไสเ้ ดอื นฝอยศัตรแู มลงแบบผงละลายนำ�้

Steinernema carpocapsae

ชอ่ื วทิ ยาศาสตร:์ Steinernema carpocapsae (Weiser)
ชื่�อสามััญ: entomopathogenic nematodes/ ไส้้เดือื นฝอยศััตรูแู มลง
วงศ:์ Steinernematidae
อนั ดับ: Rhabditida

ที่่�มาและความสำำ�คััญ/ปัญั หาศัตั รูพู ืื ช
ไส้้เดืือนฝอย (nematode) เป็็นสััตว์์ขนาดเล็็กไม่่มีีกระดููกสัันหลััง อยู่�ใน Phylum Nematoda ซึ่�งมีี
ชื่�อเรีียกทั่�วไปว่่า “หนอนตัวั กลม” มีรี ููปร่่างเรียี วยาวคล้้ายเส้น้ ด้้าย (nema=เส้น้ ด้้าย) ส่่วนหัวั กลมมน ส่่วนหางแคบ
และเรีียวแหลมที่�ปลาย ลำำ�ตััวไม่่แบ่่งเป็็นปล้้อง ไส้้เดืือนฝอยหรืือหนอนตััวกลมมีีทั้�งที่่�ดำำ�รงชีีวิิตอิิสระ และ
ดำำ�รงชีีวิิตเป็็นปรสิิตในสััตว์์และพืืช ไส้้เดืือนฝอยถููกพบกระจายอยู่�ทั่�วโลก ไส้้เดืือนฝอยที่�เข้้าไปอาศััยอยู่�ในพืืช
จััดเป็็น “ไส้้เดืือนฝอยโรคพืืช (plant parasitic nematodes)” ไส้้เดืือนฝอยที่�เข้้าไปอาศััยอยู่�ในสััตว์์ เรีียกว่่า
“พยาธิิ (helminthes)” และไส้้เดืือนฝอยที่�เข้้าไปอาศััยอยู่�ในตััวแมลง ทำำ�ให้้แมลงเกิิดโรคและตายในที่่�สุุด
จัดเป็น “ไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง (entomopathogenic nematodes)” ถือว่าเป็นไส้เดือนฝอยที่มีประโยชน์
ถูกจัดเข้าอยู่ในวิชาการเร่ืองโรคแมลง (insect pathology) สามารถน�ำไปใช้ควบคุมแมลงศัตรูพืชทดแทน
การใช้สารเคมกี ำ� จดั แมลงได้ ถือเป็นชีวนิ ทรียช์ นิดหนึง่ (biological control agent)

84 เอกสารวิชาการ

ชีวภณั ฑ์ป้องกันก�ำจดั ศตั รพู ื ช

ไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง เป็นท่ีรู้จักมาตั้งแต่ศตวรรษท่ี 19 ต้ังแต่ปี ค.ศ. 1923 Steiner ได้ค้นพบ
ไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลง Aplectana kraussei (ปััจจุุบัันคืือ Steinernema kraussei) ในดิินครั้�งแรกที่�
ประเทศเยอรมนีี ต่่อมาปีี ค.ศ. 1930 Glaser and Fox ค้้นพบไส้้เดืือนฝอย Steinernema glaseri
ที่เข้าท�ำลายตัวอ่อนด้วง Japannese beetle (Popilla japonica) แมลงศัตรูท�ำลายหญ้าในสนามกอล์ฟ
ในรัฐนิวเจอร์ซ่ี สหรัฐอเมริกา Glaser and Fox ได้ทดลองเลี้ยงขยายไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง S. glaseri
ในห้องปฏิบัติการและน�ำไปฉีดพ่นควบคุมแมลงศัตรูชนิดน้ีได้เป็นผลส�ำเร็จ และยังพบว่าไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง
S. glaseri สามารถมีชวี ติ อยใู่ นสภาพธรรมชาตไิ ด้นานถงึ 8 เดอื น ในปี ค.ศ 1955 Weiser Jaroslav จำ� แนก
ไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง Neoaplectana carpocapsae (ปัจจุบันคือ Steinernema carpocapsae)
ได้้จากหนอนผีีเสื้�อกลางคืืน และเริ่�มทำำ�การศึึกษาอย่่างจริิงจัังจนกระทั่�งในช่่วงปีี ค.ศ. 1965-1967 Poinar
ได้้เริ่�มศึึกษาวิิธีีการเลี้�ยงขยายเพิ่�มปริิมาณไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลง S. carpocapsae และมีีการศึึกษาต่่อเนื่�อง
เรื่�อยมาจนถึึงปัจั จุุบันั
สำำ�นักั วิิจััยพััฒนาการอารักั ขาพืชื ได้เ้ ริ่�มศึึกษาค้้นคว้้าวิิจััยเรื่�องไส้้เดือื นฝอยศัตั รูแู มลงมาตั้้�งแต่ป่ ีี พ.ศ. 2529
แล้้วพััฒนาวิิธีีการผลิิตและการเก็็บรัักษาไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงอย่่างจริิงจัังและต่่อเนื่�องมาตั้้�งแต่่ปีี 2535
โดย วััชรีี และพิิมลพร ได้้ดำำ�เนิินการวิิจััยพััฒนาการผลิิตไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลง S. carpocapsae ได้้สำำ�เร็็จ
โดยใช้้อาหารเทีียมแข็็งกึ่�งเหลว (semi-solid media) ต่่อมาปีี 2538-2542 ได้้จััดตั้�งโครงการวิิจััยและพััฒนา
การผลิิตไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงในระดัับการค้้า สามารถพััฒนาเทคโนโลยีีการผลิิตไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงด้้วย
อาหารเหลวได้้สููตรที่�เหมาะสม สามารถผลิิตไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงวััย 3 ระยะ IJ (Infective Juvenile)
ระดัับขวดเขย่่า (shake flask) ได้้ผลผลิิตสููงเฉลี่�ย 300,000 ตััว/อาหาร 1 มิิลลิิลิิตร ซึ่�งผลการวิิจััยพััฒนา
วิิธีีการเลี้ �ยงขยายไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงด้้วยอาหารเหลวในระดัับขวดเขย่่าทำำ�ให้้ได้้ข้้อมููลสำำ�หรัับต่่อยอดผลิิต
ขยายเพิ่�มปริิมาณมากและพัฒั นาสู่่�ระดับั ถัังหมััก (fermenter) 6 ลิิตร จากนั้�นพัฒั นาสู่่�ระดัับถังั หมััก 130 ลิิตร
(ปีี 2543-2548) ได้้ผลผลิิตสููงเฉลี่�ย 150,000 ตััว/อาหาร 1 มิิลลิิลิิตร ซึ่�งการผลิิตไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลง
ในระดัับถัังหมัักเป็็นปริิมาณมากนี้� ยัังมีีความจำำ�เป็็นต้้องศึึกษาวิิจััยและพััฒนาองค์์ประกอบปััจจััยต่่างๆ ที่่�สำำ�คััญ
ต่่อการเจริิญเติิบโตและขยายพัันธุ์�ของไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงดัังกล่่าว นอกจากนี้�ได้้พััฒนาอุุปกรณ์์ที่่�มีีประสิิทธิิภาพ
สููงในการแยกล้้างไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงให้้สะอาดรวดเร็็ว ต่่อมาในปีี 2544 วััชรีี และสุุทธิิชััย ได้้พััฒนา
วิิธีีการเก็็บรัักษาไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงในรููปแบบผงดิินเป็็นชีีวภััณฑ์์มาตรฐานเพื่ �อส่่งต่่อสู่ �เกษตรกรนำำ�ไปใช้้
ควบคุุมแมลงศััตรููพืืชมาจนถึึงปััจจุุบััน ไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลง S. carpocapsae มีีการผลิิตเป็็นการค้้าอย่่าง
กว้้างขวางทั่�วโลก มีีหลัักฐานทางวิิชาการและรายงานการค้้นคว้้าวิิจััยมาอย่่างยาวนานสนัับสนุุนให้้การเลี้�ยง
ไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงจำำ�เป็็นต้้องเลี้�ยงแบบ aseptic technique คืือเลี้�ยงในสภาพปลอดเชื้�อ และปััจจััยสำำ�คััญ
อีีกอย่่างหนึ่�งคือื วิิธีกี ารเลี้�ยงขยายปริิมาณไส้เ้ ดือื นฝอยศัตั รููแมลงให้ม้ ีคี ุุณภาพสููงจำำ�เป็น็ ต้อ้ งเลี้�ยงแบบ monoxenic
culture คืือการเลี้�ยงโดยเติิมเชื้�อแบคทีีเรีียร่่วมอาศััยของไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงลงเลี้�ยงในอาหารเทีียมด้้วย
เพื่ �อให้้ได้้ผลผลิิตไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงเป็็นปริิมาณมากมีีคุุณภาพและมีีประสิิทธิิภาพในการกำำ�จััดแมลงสููง
เนื่�องจากแบคทีีเรีียมีีการปล่่อยสารยัับยั้�งจุุลิินทรีีย์์ปนเปื้�อนชนิิดอื่�น ช่่วยสร้้างสภาพที่�เหมาะสมสำำ�หรัับการ
เจริิญเติิบโตและขยายพัันธุ์�ของไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลง และเป็็นการเพิ่�มปริิมาณแบคทีีเรีียให้้กัับตััวไส้้เดืือนฝอย
ศัตั รููแมลงด้้วย ดัังเช่น่ รายงานของ Bedding, 1981; Bedding, 1984; Gaugler and Han, 2002 และ วััชรีี
และสุทุ ธิิชััย, 2544

เอกสารวิชาการ 85

ชวี ภัณฑ์ป้องกันกำ� จดั ศตั รพู ื ช

ไส้เ้ ดืือนฝอยศััตรูแู มลงที่่�มีีศักั ยภาพสูงู ในการนำำ�ไปใช้้ควบคุมุ แมลงศััตรูพู ืืช จััดอยู่�ในวงศ์์ Steinernematidae
และ Heterorhabditidae ไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงทั้�ง 2 วงศ์์นี้้�มีีลัักษณะพิิเศษที่�แตกต่่างจากไส้้เดืือนฝอยชนิิดอื่�นๆ
คือื มีแี บคทีเี รีียดำำ�รงชีวี ิิตอยู่่�ร่่วมกัับแบบพึ่�งพาอาศััยกััน (symbiosis) ในปีี ค.ศ. 1980 Akhurst ได้้ทำำ�การศึกึ ษา
ลัักษณะของ symbiotic bacteria นี้�พบว่่าแบคทีีเรีียมีีลัักษณะเป็็น rod-shaped เคลื่�อนที่�ได้้โดยอาศััยรยางค์์
รอบตัวั (pertrichous flagella) เป็็นแบคทีเี รียี แกรมลบ ไม่่สร้้างสปอร์์ แบคทีีเรีียชนิดิ นี้�ไม่่มีี resistant stage
จึึงไม่่สามารถพบในสภาพแวดล้้อมตามธรรมชาติิทั่�วไป แต่่พบเฉพาะที่่�ส่่วนลำำ�ไส้้ของไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงเท่่านั้้�น
โดยไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงทำำ�หน้้าที่่�ช่่วยป้้องกัันอัันตรายและเป็็นพาหะนำำ�แบคทีีเรีียเข้้าสู่่�ตััวแมลงทำำ�ให้้แมลง
เกิิดอาการเลืือดเป็็นพิิษ (septicemia) แบคทีีเรีียร่่วมอาศััยดัังกล่่าวนี้้�มีี 2 ระยะ คืือ ระยะแรกและระยะสอง
(primary and secondary phase) ซึ่�งจะเห็น็ ความแตกต่่างจากลัักษณะของโคโลนีี โดยระยะแรกโคโลนีีจะเล็ก็
และนููนกว่่าระยะสอง แบคทีีเรียี ระยะแรกจะดูดู ซัับสีีน้ำำ��เงินิ ของ bromothymol blue บนอาหารวุ้�น และสร้า้ ง
สาร antibiotics ขึ้�นมาเพื่�อยัับยั้�งจุลุ ินิ ทรียี ์์ชนิดิ อื่�น แต่ร่ ะยะสองจะไม่ด่ ููดซัับสีนี ้ำำ��เงินิ ของ bromothymol blue
และไม่่มีีสารต้้านจุุลิินทรีีย์์ แบคทีีเรีียระยะแรกจึึงเป็็นระยะที่่�มีีความสำำ�คััญต่่อการเจริิญเติิบโต และการขยายพัันธุ์�
ของไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลง โดยแบคทีีเรีียร่่วมอาศััยสกุุล Xenorhabdus อยู่่�ร่่วมกัับไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลง
วงศ์์ Steinernematidae และแบคทีีเรีียร่่วมอาศััยสกุุล Photorhabdus อยู่่�ร่่วมกัับไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลง
วงศ์์ Heterorhabditidae โดยแบคทีีเรีียมีีความสำำ�คััญต่่อการเจริิญเติิบโต และการขยายพัันธุ์�ของไส้้เดืือนฝอย
ศััตรููแมลงทั้ �งในอาหารเทีียมและในแมลงอาศััย

ก ขค

ไส้้เดืือนฝอยศััตรูแู มลง Steinernema carpocapsae (Weiser) และ
แบคทีเรียรว่ มอาศยั Xenorhabdus nematophila Poinar and Thomas
ก) ไส้เ้ ดือื นฝอยศััตรููแมลง Steinernema carpocapsae (Weiser) ระยะ Infective Juvenile; IJ
ข) แบคทเี รียรว่ มอาศยั อย่ทู ่ีล�ำไสข้ องไส้เดอื นฝอยศตั รแู มลง
ค) โคโลนแี บคทีเรียบนอาหารเลย้ี งเชื้อ NBTA และลักษณะเซลล์ของแบคทีเรยี ร่วมอาศัย

86 เอกสารวชิ าการ

ชีวภัณฑ์ปอ้ งกันก�ำจัดศัตรูพื ช

วงจรชีวติ
วงจรชีวิตของไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงวงศ์ Steinernematidae และ Heterorhabditidae มีความ
แตกต่่างกัันคืือ ไส้เ้ ดือื นฝอยศััตรูแู มลงวงศ์์ Steinernematidae ระยะเข้า้ ทำำ�ลายแมลง (Infective Juvenile; IJ)
เมื่�อเข้้าไปในแมลงอาศััยแล้ว้ จะเจริญิ เป็็นตััวเต็ม็ วัยั เพศผู้�และเพศเมีีย ซึ่�งจะผสมพันั ธุ์� วางไข่่ และฟักั เป็็นตััวอ่อ่ น
ส่ว่ นไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงวงศ์์ Heterorhabditidae เมื่�อเข้้าไปในแมลงอาศััยแล้้ว ทั้�งหมดจะเจริิญเป็น็ ตััวเต็ม็ วััย
เพศเมีีย สามารถออกลููกโดยไม่่ต้้องรัับการผสม (hermaphroditic females) หลัังจากนั้�นตััวอ่่อนจะเจริิญเป็็น
ตัวเตม็ วยั เพศผแู้ ละเพศเมยี และจะผสมพันธกุ์ ันตามปกติ
วงจรชีีวิิตของไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงประกอบด้้วย ระยะไข่่ ระยะตััวอ่่อน ตััวเต็็มวััยเพศผู้� และเพศเมีีย
ระยะตัวั อ่อ่ นมีี 4 ระยะ ระยะที่� 1 (first juvenile: J1) ระยะที่� 2 (second juvenile: J2) ระยะที่� 3 (third
juvenile: J3) และระยะที่� 4 (fourth juvenile: J4) มีีวงจรชีีวิิตประมาณ 10-14 วััน ตััวอ่่อนระยะที่� 3
ระยะเข้้าทำำ�ลายแมลง (Infective Juvenile; IJ) เป็็นระยะเดีียวที่�สามารถเข้้าทำำ�ลายแมลง และสามารถทนต่่อ
สภาพแวดล้้อมที่�ไม่เ่ หมาะสมได้น้ านแม้จ้ ะไม่ม่ ีีแมลงอาศัยั และมีีเชื้�อแบคทีีเรียี ร่่วมอาศัยั (symbiotic bacteria)
อยู่่�ที่่�ส่่วนของลำำ�ไส้้ ซึ่�งไส้้เดืือนฝอยศัตั รูแู มลงจะเป็็นพาหะนำำ�เชื้�อแบคทีเี รียี เข้้าไปในตัวั แมลงอาศััย (host)

วงจรชวี ติ ของไสเ้ ดอื นฝอยศัตรูแมลงในสกลุ Steinernema และ Heterorhabditis

(ที่�มา: Kaya, 1985)

เอกสารวิชาการ 87

ชีวภณั ฑป์ ้องกนั กำ� จัดศัตรพู ื ช

กลไกการทำ� ลายศตั รูพื ช
เมื่�อไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงค้้นพบแมลงอาศััย จะเข้้าสู่่�ตััวแมลงทางช่่องเปิิดต่่างๆ ได้้แก่่ ทางปาก ทวาร
รููหายใจ จากนั้�นไชผ่่านผนัังลำำ�ไส้้ (midgut) เข้้าสู่่�กระแสเลืือดของแมลง (hemocole) แล้้วจึึงปล่่อยแบคทีีเรีีย
ออกมาแพร่ก่ ระจายอย่า่ งรวดเร็็วในเลือื ดของแมลง ทำำ�ให้เ้ ลือื ดเป็็นพิษิ (septicemia) และแมลงตายภายในเวลา
24-48 ชั่�วโมง หลัังจากแมลงอาศััยตายไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงจะเจริิญเติิบโตจนครบวงจรชีีวิิตภายในซากแมลง
โดยกิินเซลล์์เนื้�อเยื่�อของแมลงอาศััยนั้�นจนเป็็นตััวเต็็มวััย ไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงเพศเมีียมีีขนาดใหญ่่กว่่า
เพศผู้� เมื่�อผสมพัันธุ์์�กัันแล้้วเพศเมีียผลิิตไข่่และไข่่ฟัักเป็็นตััวอ่่อน โดยตััวอ่่อนมีีการลอกคราบ 4 ครั้�งก่่อนเป็็น
ตััวเต็็มวััยภายในซากแมลง ไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงจะออกลููกหลานหลายรุ่�น เมื่�ออาหารจากแมลงอาศััยหมด
และสภาพแวดล้้อมภายนอกเหมาะสมจะออกจากซากแมลงอาศััยตััวเก่า่ เพื่�อค้้นหาแมลงอาศััยตััวใหม่่ต่อ่ ไป

เม่ืออาหารในตวั แมลงหมด ไส้เดอื น ไส้เดือนฝอยศตั รูแมลงระยะ IJ เขา้ สตู่ วั แมลง
ฝอยศตั รูแมลงระยะ IJ จะออกจากซาก ทางช่่องเปิดิ ธรรมชาติิ สู่่�ช่อ่ งว่า่ งลำำ�ตััวแมลง

เพ่ือหาแหล่งอาหารใหม่ตอ่ ไป ปล่อยเชือ้ แบคทีเรยี ออกมา

ไส้เดอื นฝอยศตั รแู มลงเจรญิ เป็นตัวเตม็ วยั แมลงอาศยั ตายเพราะเลือดเป็นพิษ
และขยายพนั ธุ์ ไดไ้ สเ้ ดอื นฝอยศัตรูแมลงระยะ IJ รนุ่ ใหม่ ไส้เดือนฝอยศตั รแู มลงเจรญิ เป็นตัวเต็มวัย

วงจรชวี ิตการเข้าทำ� ลายแมลงของไสเ้ ดอื นฝอยศตั รแู มลง Steinernema carpocapsae (Weiser)

(ที่�มา: www.nature.com/scientificreports)

วิธีการใชช้ วี ภณั ฑค์ วบคมุ ศัตรูพื ช

การควบคุมหนอนกินใต้ผิวเปลือกลองกอง Cossus chloratus (Swinhoe)

ใช้้ไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงอััตรา 40 ล้้านตััว/น้ำำ�� 20 ลิิตร พ่่นตามกิ่�งและลำำ�ต้้นที่่�มีีหนอนระบาดให้้ทั่�ว
(ปริิมาณ 2-3 ลิิตร/ต้้น) โดยพ่่นไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงทุุก 15 วััน จำำ�นวน 2 ครั้�ง ด้้วยเครื่�องยนต์์พ่่นสาร
แบบใช้้แรงดัันน้ำำ��สููงช่่วยให้้ประสิิทธิิภาพการเข้้าทำำ�ลายของไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงสููงขึ้�น หนอนจะตายภายใน
24-48 ชั่�วโมงหลัังพ่่น และตรวจพบซากหนอนอยู่�ใต้้เปลืือก ถ้้าทิ้้�งซากไว้้มัักเห็็นมดมาคาบซาก และควรพ่่น
ไส้เ้ ดืือนฝอยศัตั รูแู มลงในช่่วงเย็น็ กรณีีที่�อากาศแห้้งควรพ่น่ น้ำำ��ให้้ความชื้�นก่อ่ น

88 เอกสารวิชาการ

ชวี ภณั ฑ์ป้องกนั ก�ำจดั ศัตรูพื ช

หนอนกินใต้ผวิ เปลอื กลองกอง Cossus chloratus (Swinhoe)

การควบคมุ ตวั ออ่ นดว้ งหมดั ผกั ในผักกาดหวั หรอื พื ชตระกูลกะหลำ�่
Phyllotreta sinuata (Stephens)

ใช้้ไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงอััตรา 320 ล้้านตััว/ไร่่/น้ำำ�� 160 ลิิตร (หรืือ 40 ล้้านตััว/200 ตารางเมตร/
น้ำำ�� 20 ลิิตร) พ่่นหรืือราดลงดิินหลัังการให้้น้ำำ��ในช่่วงเย็็นก่่อนปลููกพืืช และทุุก 7 วัันหลัังปลููก สามารถควบคุุม
ตััวอ่อ่ นด้้วงหมััดผักั ที่�เข้้าทำำ�ลายรากผัักกาดหัวั ในดิิน ลดปริิมาณการทำำ�ลายของตััวอ่อ่ นด้ว้ งหมััดผักั

ตัวเต็มวัยของดว้ งหมดั ผกั Phyllotreta sinuata (Stephens)

เอกสารวชิ าการ 89

ชวี ภณั ฑ์ป้องกันกำ� จัดศตั รูพื ช

การควบคมุ ด้วงงวงมนั เทศ Cylas formicarius (Fabricius)

ใช้้ไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงอััตรา 320 ล้้านตััว/ไร่่/น้ำำ�� 160 ลิิตร (หรืือ 40 ล้้านตััว/200 ตารางเมตร/
น้ำำ�� 20 ลิิตร) พ่่นหรืือราดลงดิินหลัังการให้้น้ำำ��ในช่่วงเย็็นเมื่�อมัันเทศมีีอายุุ 60 วัันหลัังปลููก และใช้้ติิดต่่อกััน
ทุุก 15-20 วััน รวม 3-4 ครั้�ง กรณีีระบาดรุุนแรงควรพ่่นทุุก 7 วััน สามารถลดปริิมาณการทำำ�ลายของ
ด้้วงงวงมัันเทศได้้ โดยพบว่่าผลผลิิตที่�ได้้มีีคุุณภาพใกล้้เคีียงกัับการใช้้สารเคมีีกำำ�จััดแมลง carbosulfan และ
ได้ผ้ ลผลิิตที่�ปลอดสารพิิษ

ตัวเตม็ วัยของดว้ งงวงมนั เทศ Cylas formicarius (Fabricius)

(ที่�มา: http://entnemdept.ufl.edu/creatures/veg/potato/sweetpotato_weevil.htm)
การควบคุมุ หนอนกระทู้้�หอมในดาวเรือื ง Spodoptera exigua (Hübner)

ใช้้ไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงอััตรา 320 ล้้านตััว/ไร่่/น้ำำ�� 160 ลิิตร (หรืือ 40 ล้้านตััว/200 ตารางเมตร/
น้ำำ�� 20 ลิิตร) เริ่�มพ่่นไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงเมื่�อต้้นดาวเรืืองอายุุ 15 วัันหลัังเพาะเมล็็ด โดยพ่่นบนยอดและ
ดอกดาวเรืืองให้้ทั่�วด้้วยเครื่�องพ่่นสารสะพายหลััง ปรัับหััวพ่่นละเอีียด ควรพ่่นไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงในช่่วงเย็็น
หลัังการให้้น้ำำ�� ช่่วงที่่�มีกี ารระบาดรุนุ แรงพ่่นทุุก 5 วััน หลัังจากนั้�นอาจพ่น่ ทุุก 7 หรืือ 10 วันั

หนอนกระทู้�หอม Spodoptera exigua (Hübner)

(ที่�มา: http://www.m-group.in.th/บทความ/โรคและแมลงศัตั รูขู องดาวเรืือง.html)

90 เอกสารวิชาการ

ชีวภัณฑ์ป้องกนั ก�ำจัดศัตรูพื ช

การควบคุุมด้ว้ งกินิ รากสตรอว์์เบอร์์รีี Mimela schneideri (Ohaus)

ใช้้ไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงอััตรา 200 ล้้านตััว/ไร่่/น้ำำ�� 16 ลิิตร (หรืือ 50 ล้้านตััว/400 ตารางเมตร/
น้ำำ�� 4 ลิิตร) พ่น่ เมื่�อสตรอว์เ์ บอร์์รีีอายุุ 30 และ 60 วันั หลัังปลููก ในช่่วงเย็น็ หลังั ให้้น้ำำ�� สามารถควบคุมุ หนอนด้ว้ ง
กิินรากสตรอว์์เบอร์์รีีได้้เช่่นเดีียวกัับการพ่่นสารเคมีีกำำ�จััดแมลง chlorpyrifos ส่่วนในพื้�นที่�ที่�หนอนด้้วง
มีีความต้้านทาน พบว่่าการพ่่นไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงมีีประสิิทธิิภาพในการควบคุุมสููงกว่่าการใช้้สารเคมีี
กำำ�จัดั แมลง

หนอนด้ว้ งกัดั กิินรากสตรอว์เ์ บอร์์รีี Mimela schneideri (Ohaus)

(ที่�มา: http://xn--m3ck0abavs0ac6fvf9dybe.blogspot.com/2014/12/blog-post_14.html)

การควบคุมหนอนผีเสื้อในโรงเห็ด Dasyses rugosell (Stainton)

ใช้ไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงอัตรา 16 ล้านตัว/น�้ำ 20 ลิตร เริ่มพ่นไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงเม่ือเปิดปากถุงเห็ด
โดยพ่นเข้าทางปากถุงหรือเม่ือพบการเขา้ ท�ำลายของหนอนในก้อนเช้ือเห็ด หลังจากน้ันพ่นสัปดาห์ละคร้ัง หรือ
เมอ่ื มหี นอนระบาด

การควบคมุ แมลงศตั รูในสนามหญ้า Carpet Beetle (วงศ์ Dermestidae)

ใชไ้ ส้เดือนฝอยศตั รแู มลงอัตรา 50 ล้านตวั /640 ตารางเมตร/น�ำ้ 64 ลติ ร พ่นหรือปล่อยตามท่อน้ำ� เหวย่ี ง
ในสนามหญ้า เมอื่ เร่ิมมกี ารระบาดของแมลงกดั กนิ รากหญา้

เอกสารวชิ าการ 91

ชีวภัณฑ์ปอ้ งกนั กำ� จดั ศตั รูพื ช

ข้อดี

1. ไม่ม่ ีีอันั ตรายต่่อสิ่�งมีีชีีวิติ อื่�นๆ เช่่น มนุุษย์์ สััตว์์ พืชื ทุกุ ชนิิด ไม่่มีพี ิิษตกค้า้ งในพืชื ผล และไม่ก่ ่่อให้้เกิดิ
มลพิิษต่่อสภาพแวดล้อ้ มในน้ำำ�� ดินิ อากาศ
2. ไม่มกี ลิน่ เหมน็ และไม่เป็นพิษต่อผิวหนงั ผู้ใชไ้ มจ่ �ำเป็นต้องสวมผา้ ปิดจมูกและร่างกาย
3. หนอนไม่สามารถสร้างความต้านทานต่อไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงเหมือนการสร้างความต้านทานต่อ
สารเคมีกำ� จัดแมลง
4. ไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงมีีความทนทานต่่อสารเคมีีกำำ�จััดแมลงหลายชนิิด ฉะนั้�นผู้�ใช้้ไม่่จำำ�เป็็นต้้องซื้�อ
เครื่�องพ่่นยาใหม่่ เพราะใช้เ้ ครื่�องเดีียวกับั ที่�ใช้้พ่น่ สารเคมีกี ำำ�จัดั แมลงได้้
5. การใช้ไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงควบคุมแมลงศัตรูพืชเป็นแนวทางหนึ่งท่ีช่วยอนุรักษ์ศัตรูธรรมชาติ
ทีม่ ปี ระโยชน์

ข้อจำ� กดั

1. เนื่�องจากไส้้เดืือนฝอยเป็็นสิ่�งมีีชีีวิิต ผู้�ใช้้จึึงต้้องศึึกษาวิิธีีการใช้้ที่่�ถููกต้้อง ต้้องรู้้�จัักวิิธีีการเก็็บรัักษา
ช่่วงเวลาที่่�ใช้้เหมาะสม จึงึ จะได้้ผลดีี ซึ่�งต่า่ งกัับการพ่น่ สารเคมีกี ำำ�จัดั แมลงที่�สามารถนำำ�ไปใช้ไ้ ด้้ทุกุ เวลา
2. หาซื้อยาก ไมม่ ีขายตามทอ้ งตลาดเหมอื นสารเคมีก�ำจดั แมลงทัว่ ไป ตอ้ งสงั่ ซ้ือโดยตรงจากแหลง่ ผลติ
3. ในขณะน้ีต้นทุนการใช้ยังสูงเม่ือเทียบกับสารเคมีก�ำจัดแมลง ซึ่งในเร่ืองนี้ก�ำลังศึกษาปรับปรุงการผลิต
ขยายให้ตน้ ทุนต่�ำสดุ เพอื่ ประโยชนแ์ กเ่ กษตรกรผ้ใู ช้ ขณะเดยี วกันต้นทนุ จะลดลงได้ ถา้ สามารถขยายตลาดไดก้ ว้าง

ขอ้ ควรระวัง

1. ไสเ้ ดอื นฝอยศัตรูแมลงท่ีน�ำมาใชต้ อ้ งมชี ีวติ มีความแขง็ แรงและมจี �ำนวนไม่นอ้ ยกวา่ ในคำ� แนะน�ำ
2. ควรพน่ ไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงหลงั การใหน้ ้ำ� ในแปลงปลูกพชื เพ่อื ให้สภาพแวดล้อมมีความชุ่มชืน้
3. ควรพ่่นไส้้เดือื นฝอยศััตรููแมลงในช่่วงเย็็น เพื่�อหลีีกเลี่�ยงแสงแดดซึ่�งอาจเป็น็ สาเหตุุทำำ�ให้ไ้ ส้้เดือื นฝอย
ศัตั รูแู มลงเสื่�อมประสิิทธิิภาพ
4. ระหว่างการพ่นไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง ควรเขย่าและคนเป็นระยะเพ่ือให้ไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง
กระจายในน้�ำทวั่ ถงึ
5. ควรพน่ ไสเ้ ดอื นฝอยศตั รูแมลงท่เี ตรยี มไวใ้ ห้หมดในการใช้แต่ละครงั้
6. การใช้้ไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงควบคุุมแมลงศััตรููพืืชที่�อาศััยอยู่�ในที่่�ซ่่อน เช่่น ในดิิน ใต้้เปลืือก ในรูู
หรือื ซอกกลีบี ดอก จะใช้ไ้ ด้ผ้ ลดีกี ว่า่ การควบคุุมแมลงศััตรููพืชื ในที่�โล่ง่ แจ้้ง
7. เครื่�องพ่่นไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงควรอยู่�ในสภาพที่�เหมาะสม หััวฉีีดพ่่นสะอาด ไม่่อุุดตััน ขนาดรููหััวฉีีด
ไม่ควรเลก็ กว่า 0.4 มลิ ลิเมตร เพอื่ ให้ปรมิ าณและประสทิ ธิภาพของไสเ้ ดือนฝอยศัตรูแมลงทอ่ี อกมามากพอ และ
แข็งแรงทจ่ี ะเข้าทำ� ลายศัตรพู ชื
8. เก็บรักษาชวี ภณั ฑ์ไสเ้ ดือนฝอยศัตรแู มลงในตคู้ วบคมุ อณุ หภมู ิ 6-10 องศาเซลเซยี ส (หา้ มแช่แขง็ )
9. ไม่ควรเก็บชวี ภัณฑ์ไส้เดอื นฝอยศัตรูแมลงไว้นานเกนิ 6 เดือน

92 เอกสารวชิ าการ

ชวี ภัณฑป์ ้องกันก�ำจดั ศตั รพู ื ช

การตรวจสอบคณุ ภาพ/การเก็บรกั ษาชวี ภณั ฑ์

การตรวจสอบคุณภาพของผลผลติ ไสเ้ ดือนฝอยศัตรแู มลง

ขั้้�นตอนการตรวจสอบคุุณภาพของไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงแบบผงละลายน้ำำ�� ตามวิิธีีของ Miller
(1989) มีีดัังนี้�
1. เตรยี มถาดหลุม (cell well plate) ขนาดเสน้ ผา่ นศูนย์กลาง 1.5 เซนติเมตร จำ� นวน 24 หลุม/ถาด
2. รองก้นหลุมด้วยกระดาษกรอง หลุมละ 1 แผ่น
3. เจอื จางไสเ้ ดอื นฝอยศัตรแู มลงให้อยูใ่ นอตั รา 200 ตวั /น้�ำ 10 มลิ ลิลติ ร
4. ใช้ไมโครปิเปตดูดไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงที่มีชีวิต 1 ตัว/น�้ำ 30 ไมโครลิตร หยดลงในถาดหลุมทุกหลุม
ทำ� 7 ถาด และทำ� ชุดควบคมุ (control) 1 ถาด โดยหยดเฉพาะนำ้� สะอาด 30 ไมโครลติ ร
5. น�ำหนอนกินรังผึ้งวัย 5 ขนาดล�ำตัวยาวประมาณ 2.5 เซนติเมตร ใส่ลงในหลุมๆ ละ 1 ตัว ปิดฝา
ถาดหลุมใหส้ นทิ เกบ็ ท่ีอณุ หภูมิ 25 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 48 ชว่ั โมง
6. ตรวจนับจ�ำนวนหนอนกินรังผึ้งที่ตายด้วยไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง ค�ำนวณเปอร์เซ็นต์จ�ำนวนหนอนตาย
โดยตดั ข้อมลู ถาดทม่ี เี ปอรเ์ ซ็นต์สูงสดุ และตำ�่ สุดออก ใชข้ อ้ มูลคำ� นวณจาก 5 ถาดหลุม
ตามมาตรฐานที่่�กำำ�หนด ไส้้เดือื นฝอยศััตรูแู มลงที่่�มีคี ุุณภาพดีตี ้อ้ งมีีจำำ�นวนหนอนตาย ภายใน 48 ชั่�วโมง
ไม่่ต่ำำ��กว่่า 40%

การเก็บรักษาชวี ภณั ฑ์ไส้เดือนฝอยศตั รแู มลง S. carpocapsae

การเก็็บรัักษาไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงในรููปแบบผงละลายน้ำำ�� สามารถยืืดอายุุการเก็็บรัักษาได้้นานถึึง
6 เดืือน โดยคงประสิิทธิิภาพการควบคุุมแมลงศััตรููพืืชในระดัับสููง และสะดวกต่่อการนำำ�ไปใช้้ควบคุุมแมลง
ศััตรููพืืชในแปลงปลูกู
1. เตรียมผงดินและส่วนประกอบส�ำหรับเก็บรักษาไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง ได้แก่ ดิน Attapugite
ดิน Zeolite Benzoic acid และ Ethylene glycol
2. เตรียมไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงวัย 3 ระยะ IJ ท่ีผ่านการล้างกรองจนสะอาดแล้ว ปรับปริมาตรน้�ำ
และจำ� นวนไสเ้ ดอื นฝอยศตั รแู มลงตามอตั ราส่วน เตมิ สาร Ethylene glycol ผสมให้เขา้ กนั
3. เตรีียมดิิน Attapugite และ Zeolite โดยอบที่�ความร้้อนอุุณหภููมิิ 90 องศาเซลเซีียส เป็็นเวลา
3 ชั่�วโมง นำำ�ออกจากตู้�อบทิ้�งให้เ้ ย็น็ ปรัับปริิมาณดิินทั้�ง 2 ชนิิด ให้้ได้ต้ ามต้อ้ งการใส่ใ่ นโถผสม และผสมให้เ้ ข้า้ กันั
4. เทไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงที่�เตรีียมไว้้ลงในโถผสม คลุุกเคล้้าส่่วนผสมทั้�งหมดให้้เข้้าเป็็นเนื้�อเดีียวกััน
จากนั้�นแบ่่งผงดิินไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงจำำ�นวน 50 ล้้านตััว/กระป๋๋อง บรรจุุในกระป๋๋องพลาสติิกขนาดเส้้นผ่่าน
ศููนย์ก์ ลาง 6 เซนติเิ มตร สููง 11.5 เซนติิเมตร
5. เก็บรักษาไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงในรูปผงดินที่อุณหภูมิ 6-10 องศาเซลเซียส (ควรใช้ไส้เดือนฝอย
ศตั รแู มลงทันทีประสทิ ธิภาพการควบคุมแมลงจะสงู กวา่ การเกบ็ ไว้เปน็ เวลานาน)

เอกสารวิชาการ 93

ชวี ภัณฑป์ ้องกันกำ� จดั ศัตรพู ื ช

การผลิตขยายชวี ภณั ฑ์
ตามธรรมชาติิไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลง S. carpocapsae จะเจริิญเติิบโตและขยายพัันธุ์�ได้้โดยได้้รัับ
อาหารจากในตััวแมลง (host) เท่่านั้้�น แต่่สำำ�หรัับการเลี้�ยงไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงเพื่�อให้้ได้้ปริิมาณมาก
ด้้วยอาหารเทีียมนั้�น จะต้้องทำำ�ในสภาพปลอดเชื้�อและเติิมแบคทีีเรีียร่่วมอาศััยลงในอาหารเทีียมด้้วย เนื่�องจาก
ไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลง Steinernema มีีชีีวิิตอยู่�ร่วมกัับแบคทีีเรีียสกุุล Xenorhabdus ในลัักษณะพึ่�งพาอาศััยกััน
(symbiosis) ซึ่�งมีคี วามสำำ�คัญั ต่่อการเจริิญเติบิ โตและการขยายพันั ธุ์�ของไส้้เดืือนฝอย

การผลิตขยายแบบการค้า

การเตรยี มต้นเชื้อแบคทเี รียร่วมอาศยั

มี 2 วธิ กี าร ดงั นี้
1. นำ� ไสเ้ ดือนฝอยศัตรูแมลงทอี่ อกจากแมลงอาศัย (host) ใหม่ๆ ลา้ งให้สะอาด (surface sterilized)
ดว้ ย 0.1% hyamine แลว้ ล้างดว้ ยนำ�้ กลั่นอกี ครง้ั น�ำไส้เดอื นฝอยศตั รูแมลงมาบดดว้ ยแท่งแกว้ จนตวั ไส้เดอื นฝอย
ศัตรูแมลงแตกแบคทีเรียจะออกจากไส้เดือนฝอย ใช้ลูปเขี่ยเชื้อแตะของเหลวจากตัวไส้เดือนฝอยไปเลี้ยงบนอาหาร
Tergitol 7 Agar ลักษณะโคโลนีของแบคทีเรีย Xenorhabdus sp. จะเป็นโคโลนีกลมนูน ตรงกลางสีเข้ม
รอบโคโลนีีเป็็นสีีน้ำำ��เงิิน ลัักษณะเซลล์์เป็็น rod-shaped เมื่�อได้้แบคทีีเรีียบริิสุุทธิ์�แล้้ว นำำ�ไปแยกไว้้บน
Nutrient Agar และนำำ�ไปเก็บ็ ที่่�อุุณหภููมิิ 10-12 องศาเซลเซียี ส เพื่�อเก็บ็ เป็น็ ต้้นเชื้�อบริิสุทุ ธิ์�
2. ตัดผนังล�ำตัวของหนอนกินรังผ้ึง Galleria mellonella Linnaeus ที่ตายด้วยไส้เดือนฝอย
ศััตรููแมลง S. carpocapsae ใช้้ลููปเขี่�ยเชื้�อแตะน้ำำ��เลืือดมาขีีด (streak) บนอาหารเลี้�ยงเชื้�อ NBTA เก็็บที่�
อุุณหภููมิิ 28 องศาเซลเซีียส เป็็นเวลา 48 ชั่�วโมง จากนั้�นแยกเชื้�อบริิสุุทธิ์�ของแบคทีีเรีีย โดยเลืือกโคโลนีี
ที่�เป็็นโคโลนีเี ดี่�ยว ลักั ษณะกลม นููน สีีน้ำำ��เงินิ แยกเก็็บเป็น็ ต้น้ เชื้�อบริสิ ุุทธิ์ไ� ว้บ้ นอาหารเลี้�ยงเชื้�อ NBTA ที่่�อุณุ หภููมิิ
10-12 องศาเซลเซียี ส ไว้้ใช้ต้ ่อ่ ไป เมื่�อต้อ้ งการนำำ�แบคทีีเรีียมาใช้้เลี้�ยงขยายปริิมาณไส้้เดือื นฝอยศัตั รููแมลง จึึงทำำ�การ
คััดเลืือกโคโลนีีเดี่�ยวของแบคทีีเรีียลงเลี้�ยงในอาหารเหลว YS broth ปริิมาณ 150 มิิลลิิลิิตร เขย่่าที่่�ความเร็็ว
180 รอบ/นาที อณุ หภูมิ 28 องศาเซลเซียส เปน็ เวลา 24 ช่วั โมง จึงนำ� ไปตรวจความบริสทุ ธิก์ ่อนนำ� ไปใช้
การตรวจความบริสุทธ์ิของเชื้อแบคทีเรียโดยใช้ลูปเข่ียเชื้อแตะอาหารเหลวเล้ียงแบคทีเรีย smear
ลงบนแผน่ สไลด์แล้วย้อมแกรม จากน้ันตรวจสอบภายใต้กล้องจลุ ทรรศน์ โดยเซลล์ของแบคทเี รยี X. nematophila
มีรูปร่างเป็นแท่ง (rod shaped) และตดิ สแี ดงของ safranin เท่านน้ั เนอื่ งจากเปน็ แบคทีเรยี แกรมลบ

การเตรยี มต้นเชือ้ ไส้เดอื นฝอยศตั รูแมลง

น�ำไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงวัย 3 ระยะ IJ เจือจางในน�้ำกลั่น อัตรา 2,000 ตัว/น้�ำ 1 มิลลิลิตร หยดลง
บนกระดาษกรองในจานเลี้ยงเช้ือ ปล่อยหนอนกินรังผึ้งวัย 5 จ�ำนวน 10 ตัว ลงในจานที่หยดไส้เดือนฝอย
ศัตั รููแมลง ปิิดฝาให้้สนิทิ เก็็บที่่�อุณุ หภูมู ิิ 25 องศาเซลเซียี ส หนอนจะตายภายในเวลา 24-48 ชั่�วโมง โดยลัักษณะ
หนอนที่�ตายจะเปลี่�ยนเป็็นสีีเหลืืองครีีม ตััวไม่่เละ เก็็บหนอนดัังกล่่าวมาล้้างด้้วย 0.1% formalin แล้้วนำำ�
วางเรียงบนกระดาษกรองบนจานพลาสติก และวางในกล่องพลาสติกขนาด 13x17x7 เซนติเมตร ที่หล่อน�้ำไว้
เพื่อให้ความชื้นเล็กน้อย ปิดฝากล่องให้สนิทป้องกันแมลงหว่ี เก็บที่อุณหภูมิที่ 25 องศาเซลเซียส เป็นเวลา

94 เอกสารวิชาการ

ชีวภัณฑ์ป้องกนั ก�ำจัดศตั รพู ื ช


Click to View FlipBook Version