The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เอกสารวิชาการชีวภัณฑ์ป้องกันกำจัดศัตรูพืช

ชีวภัณฑ์ป้องกันกำจัดศัตรูพืช

Keywords: ชีวภัณฑ์,การป้องกันกำจัดศัตรูพืช,ชีววิธี,ตัวห้ำ,ตัวเบียน

10-12 วััน ไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงจะออกจากซากหนอนมาอยู่�ในน้ำำ��ที่่�หล่่อไว้้ (ดูจู ากความขุ่�นของน้ำำ��) ทำำ�การเก็บ็
ไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงที่�ได้้ โดยเทใส่่ภาชนะและเติิมน้ำำ��สะอาดหล่่อไว้้ในกล่่อง สามารถเก็็บได้้วัันเว้้นวััน
ประมาณ 4-5 ครั้�ง จนซากหนอนแห้้ง (เฉลี่�ยได้้ไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงประมาณ 100,000 ตััว/หนอนกิินรัังผึ้�ง
1 ตััว) ทำำ�ความสะอาดไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงที่�เก็็บได้้ โดยล้้างด้้วย 0.1% formalin ตั้�งทิ้�งไว้้ให้้ไส้้เดืือนฝอย
ศัตั รูแู มลงตกตะกอน เทน้ำำ��ส่่วนบนทิ้�ง เติิมน้ำำ��สะอาดลงไปใหม่่ ล้้างเช่น่ นี้� 2-3 ครั้�ง จนได้้ไส้้เดือื นฝอยศััตรููแมลง
ทส่ี ะอาด เกบ็ ใสภ่ าชนะไวใ้ ชส้ ำ� หรับเล้ยี งขยายเพม่ิ ปริมาณตอ่ ไป
ก่่อนนำำ�ต้้นเชื้�อไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงมาใช้้เลี้�ยงขยายเพิ่�มปริิมาณ ให้้นำำ�มาล้้างทำำ�ความสะอาดด้้วย
0.1% hyamine 3 ครั้�ง และล้้างตามด้้วยน้ำำ��กลั่�นที่�นึ่�งฆ่่าเชื้�ออีีก 3 ครั้�ง แล้้วปรัับปริิมาณให้้ได้้ตามอััตรา
ทตี่ อ้ งการใช้

การผลิติ ขยายไส้้เดืือนฝอยศัตั รููแมลงด้้วยอาหารเทียี มเหลว (Liquid culture)

ส่่วนประกอบของอาหารเหลว ได้้แก่่ Tryptic Soy Broth (TSB), Yeast cell น้ำำ��มันั ไข่ไ่ ก่่ และน้ำำ��กลั่�น
โดยเตรีียม TSB ผสมกัับ Yeast cell และเติิมน้ำำ��กลั่�นตามอััตราส่่วน บรรจุุลงในขวดแก้้ว ปิิดจุุกสำำ�ลีีและ
นึ่�งฆ่่าเชื้�อที่่�อุุณหภููมิิ 121 องศาเซลเซีียส ความดััน 15 ปอนด์์/ตารางนิ้�ว เป็็นเวลา 20 นาทีี จากนั้�น
นำำ�อาหารออกจากหม้้อนึ่�งตั้�งทิ้�งไว้้ให้้เย็็น นำำ�แบคทีีเรีียที่�เลี้�ยงขยายปริิมาณในอาหารเหลว YS broth เทผสม
ลงในไข่ไก่และน้�ำมัน จากน้ันน�ำใส่ลงในขวดอาหารเหลวที่เตรียมไว้ตามอัตราส่วน น�ำไปเล้ียงโดยเขย่าที่
ความเร็วรอบ 120 รอบ/นาที อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 48 ช่ัวโมง ก่อนใส่ไส้เดือนฝอย
S. carpocapsae ทล่ี ้างสะอาดแล้วลงในขวดอาหารเหลว นำ� ไปเล้ียงโดยเขย่าที่ความเร็วรอบ 120 รอบ/นาที
อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 12 วัน ท�ำการตรวจไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงวัย 3 ระยะ IJ เมื่อพบ IJ
มากกว่า 95% จึงท�ำการเก็บผลผลิต ซึ่งข้อมูลวิธีการเลี้ยงไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงด้วยอาหารเทียมเหลวระดับ
ขวดเขยา่ นี้ สามารถน�ำไปเป็นขอ้ มลู ส�ำหรบั การผลิตขยายไส้เดือนฝอยศตั รูแมลงในระดบั ถงั หมัก (fermenter) ได้

การผลิติ ขยายไส้เ้ ดืือนฝอยศััตรูแู มลงด้ว้ ยอาหารเทีียมแข็ง็ กึ่่�งเหลว (Semi-solid culture)

ส่ว่ นประกอบของอาหารเทีียมแข็ง็ กึ่�งเหลว ได้แ้ ก่่ อาหารสุุนััข น้ำำ��มััน ไข่่ไก่่ น้ำำ��กลั่�น และฟองน้ำำ��สัังเคราะห์์
โดยเตรีียมอาหารสุุนััข และน้ำำ�� ปั่�นรวมกัันด้้วยเครื่�องผสมอาหารแล้้วขยำำ�รวมกัับชิ้�นฟองน้ำำ��สัังเคราะห์์ แล้้วบรรจุุ
ในถุุงพลาสติิกทนร้้อน ปิิดจุุกนำำ�ไปนึ่�งฆ่่าเชื้�อที่่�อุุณหภููมิิ 121 องศาเซลเซีียส ความดััน 15 ปอนด์์/ตารางนิ้�ว
เป็็นเวลา 20 นาทีี จากนั้�นนำำ�อาหารออกจากหม้้อนึ่�ง ตั้�งทิ้�งไว้้ให้้เย็็น แล้้วจึึงนำำ�แบคทีีเรีียที่�เลี้�ยงเพิ่�มปริิมาณ
ในอาหารเหลว YS broth และตรวจสอบความบริิสุุทธิ์�แล้้วเทผสมลงในไข่่ไก่่และน้ำำ��มััน แล้้วใส่่ลงในถุุงอาหาร
ที่�เตรีียมไว้้ ตั้�งไว้้ที่่�อุุณหภููมิิ 25 องศาเซลเซียี ส เป็็นเวลา 48 ชั่�วโมง ก่่อนใส่่ไส้้เดือื นฝอยศัตั รููแมลงลงในถุงุ อาหาร
แล้้วเขย่่าให้้ทั่�วฟองน้ำำ�� จากนั้�นตั้�งไว้้ที่่�อุุณหภููมิิ 25 องศาเซลเซีียส เป็็นเวลา 12 วััน ทำำ�การตรวจไส้้เดืือนฝอย
ศัตั รููแมลงวัยั 3 ระยะ IJ เมื่�อพบ IJ มากกว่า่ 95% จึงึ ทำำ�การเก็บ็ ผลผลิิต

เอกสารวชิ าการ 95

ชวี ภณั ฑป์ ้องกนั กำ� จัดศัตรพู ื ช

การผลิติ ขยายไส้้เดืือนฝอยศัตั รููแมลงสำำ�หรับั เกษตรกร

การผลิตขยายไสเ้ ดือนฝอยศัตรูแมลงดว้ ยแมลงอาศัย (host)

น�ำต้นเชื้อไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงวัย 3 ระยะ IJ เจือจางในน้�ำกล่ัน ให้ได้อัตรา 2,000 ตัว/น�้ำ
1 มิลลิลิตร หยดลงบนกระดาษกรองในจานเล้ียงเชื้อ ปล่อยหนอนกินรังผ้ึงวัย 5 จ�ำนวน 10 ตัว ลงในจาน
ที่�หยดไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงแล้้ว จากนั้�นปิิดฝานำำ�เก็็บที่่�อุุณหภููมิิ 25 องศาเซลเซีียส เป็็นเวลา 48 ชั่�วโมง
โดยหนอนที่�ตายด้้วยไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงมีีลัักษณะตััวเหนีียวไม่่เละ สีีเปลี่�ยนเป็็นสีีเหลืืองครีีม จึึงเก็็บ
หนอนดัังกล่่าวมาล้้างด้้วย 0.1% formalin แล้้วนำำ�วางเรีียงบนกระดาษกรองบนจานพลาสติิก และวางใน
กล่องพลาสติก 13x17x7 เซนติเมตร ท่ีหล่อน�้ำไว้เพ่ือให้ความช้ืนเล็กน้อย ปิดฝากล่องให้สนิทกันไม่ให้แมลงหว่ีลง
น�ำเก็บที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10-12 วัน ต่อมาจะเห็นไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงออกจาก
ซากหนอนมาอยู่�ในน้ำำ��ที่่�หล่่อไว้้ จึึงทำำ�การเก็็บไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงที่�ได้้เทใส่่ภาชนะเก็็บไว้้ และเติิมน้ำำ��สะอาด
หล่่อไว้้ในกล่่องอีีกครั้�ง ทำำ�วัันเว้้นวัันประมาณ 4-5 ครั้�ง จนซากหนอนแห้้ง (เฉลี่�ยได้้ไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลง
ประมาณ 100,000 ตัวั /หนอนกิินรัังผึ้�ง 1 ตััว) ผลผลิติ ไส้้เดืือนฝอยศััตรูแู มลงที่�เก็บ็ ได้้ ให้้นำำ�มาทำำ�ความสะอาด
โดยเติิม 0.1% formalin แล้้วตั้�งทิ้�งไว้้ให้้ไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงตกตะกอนเป็็นเวลา 15 นาทีี เทน้ำำ��ส่่วนบนทิ้�ง
เติิมน้ำำ��สะอาดลงไปใหม่่ ล้้างเช่่นนี้� 2-3 ครั้�ง จนได้้ไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงที่�สะอาด จึึงเก็็บผลผลิิตบรรจุุใส่่ภาชนะ
เตรีียมนำำ�ไปใช้้

การสง่ เสริมการใชไ้ ส้เดือนฝอยศัตรแู มลง S. carpocapsae ในประเทศไทย

การใช้ไ้ ส้เ้ ดือื นฝอยศัตั รูแู มลงควบคุมุ แมลงศัตั รูพู ืชื เป็น็ การส่ง่ เสริมิ ให้เ้ กษตรกรสามารถผลิติ พืชื ที่�ปราศจาก
สารพิิษตกค้้าง ปลอดภััยกัับตััวเกษตรกร ผู้�บริิโภค และสิ่�งแวดล้้อม และเป็็นอีีกทางหนึ่�งที่่�ช่่วยสร้้างมููลค่่าเพิ่�ม
สิินค้้าเกษตรด้้านพืืช หรืือการส่่งออกพืืชที่�เป็็นการค้้าระหว่่างประเทศ อีีกทั้�งยัังเป็็นการลดการนำำ�เข้้าสาร
กำำ�จััดแมลงศััตรููพืืชอีีกด้้วย นอกจากนี้้�ยัังเป็็นการสนัับสนุุนนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ตามแนวทาง
การปลููกพืืชในระบบเกษตรอิินทรีีย์์ หรืือการปลููกผัักปลอดสารพิิษโดยลดการใช้้สารเคมีีกำำ�จััดแมลงในแปลงปลููกด้้วย
ดัังนั้�นเพื่�อเป็น็ การสร้้างเครืือข่่าย ต่่อยอด ขยายผลงานวิิจััยเทคโนโลยีกี ารผลิติ ขยายชีวี ภัณั ฑ์์ไส้้เดือื นฝอยศััตรููแมลง
ที่่�มีีคุุณภาพจากส่่วนกลางถ่่ายทอดสู่�หน่่วยงานภููมิิภาคและผู้�ที่�สนใจ ทางสำำ�นัักวิิจััยพััฒนาการอารัักขาพืืชจึึง
พร้้อมดำำ�เนิินการถ่่ายทอดเทคโนโลยีี ให้้คำำ�แนะนำำ� และเผยแพร่่ข้้อมููลการใช้้ประโยชน์์จากชีีวภััณฑ์์ไส้้เดืือนฝอย
ศัตั รูแู มลงที่่�ถููกต้อ้ งและเหมาะสมกับั ชนิิดแมลงศััตรููพืชื และพืืชปลูกู ให้ก้ ัับเจ้า้ หน้้าที่่�หน่ว่ ยงานของรััฐ ผู้�ประกอบการ
ผู้�สนใจ และเกษตรกรที่่�ต้้องการใช้้ชีีวภััณฑ์์ไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลง เพื่�อให้้ชีีวภััณฑ์์ไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลง
S. carpocapsae กระจายถึึงมืือเกษตรกร ตอบสนองความต้้องการใช้้ชีีวภััณฑ์์ไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงได้้
อย่่างรวดเร็็ว เพิ่�มโอกาสให้้เกษตรกรมีีทางเลืือกใช้้ชีีวภััณฑ์์ที่่�มีีคุุณภาพประสิิทธิิภาพสููงในการกำำ�จััดแมลง
ศััตรููพืืชอย่่างถููกต้้องตามชนิิดแมลงและชนิิดพืืชปลููก เพราะถึึงแม้้ว่่าไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงมีีแมลงอาศััย
หลายชนิิด (broad host ranges) แต่่ไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงแต่่ละชนิิด (species) มีีความเฉพาะเจาะจง
(specific) กัับกลุ่�มของแมลงศัตั รูพู ืืช

96 เอกสารวชิ าการ

ชวี ภณั ฑ์ป้องกันก�ำจดั ศตั รพู ื ช

การผลิติ ขยายไส้เ้ ดือื นฝอยศััตรูแู มลงด้ว้ ยอาหารเทียี มเหลว (Liquid culture)

การผลิติ ขยายไส้้เดืือนฝอยศัตั รููแมลงด้ว้ ยอาหารเทีียมกึ่�งเหลว (Semi-solid culture)

เอกสารวชิ าการ 97

ชีวภณั ฑป์ ้องกันกำ� จดั ศตั รพู ื ช

การผลิตขยายไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงส�ำหรับเกษตรกร

Link / QR code / Clip ของชวี ภณั ฑ์
https://www.youtube.com/watch?v=H6o684X7tVs
http://www.youtube.com/watch?v=TPAXkI6kXS0

บรรณานกุ รม
คงกฤษ อิินทแสง. ม.ป.ป. สตรอว์์เบอร์์รีี Strawberry. (ระบบออนไลน์์). แหล่่งข้้อมููล: http://xn--m3ck

0abavs0ac6fvf9dybe.blogspot.com/2014/12/blog-post_14.html (4 สิิงหาคม 2563).
นิิรนาม. 2561. โรคและแมลงศััตรููของดาวเรืือง. (ระบบออนไลน์์). แหล่่งข้้อมููล : http://www.m-group.in.th/

บทความ/โรคและแมลงศััตรููของดาวเรืือง.html (4 สิงิ หาคม 2563).
พััชรีวี รรณ จงจิติ เมตต์์. 2562. การผลิิตชีวี ภัณั ฑ์ไ์ ส้้เดืือนฝอยศััตรูแู มลง Steinernema carpocapsae. จดหมายข่า่ ว

ผลิิใบ. ประจำำ�เดืือนธัันวาคม 22(3): 2-6.

98 เอกสารวชิ าการ

ชวี ภณั ฑป์ อ้ งกนั ก�ำจดั ศตั รพู ื ช

พััชรีวี รรณ จงจิติ เมตต์.์ 2563. ชีีวภัณั ฑ์์ไส้เ้ ดืือนฝอยศััตรูแู มลง Steinernema carpocapsae. หนัังสืือพิิมพ์ก์ สิิกร.
ประจำำ�เดืือนเมษายน-พฤษภาคม 93(4): 81-87.

วััชรีี สมสุุข อััจฉรา ตัันติิโชดก และอุุทััย เกตุุนุุติิ. 2529. ไส้้เดืือนฝอยควบคุุมหนอนกิินใต้้ผิิวเปลืือกไม้้สกุุล
ลางสาด. ว.กีีฏ.สัตั ว. 8(3): 115-119.

วััชรีี สมสุุข วิินััย รััชตปกรณ์์ชััย และพิิมลพร นัันทะ. 2534. การใช้้ไส้้เดืือนฝอย Steinernema carpocapsae
(Weiser) ควบคุุมด้ว้ งหมัดั ผักั ในผัักกาดหัวั . ว.กีีฏ.สััตว. 13: 183-188.

วััชรีี สมสุุข สุุธน สุุวรรณบุุตร และพิิมลพร นัันทะ. 2534. ศึึกษาการใช้้ไส้้เดืือนฝอย Steinernema
carpocapsae (Weiser) ในการควบคุุมด้้วงงวงมัันเทศในสภาพธรรมชาติ.ิ หน้า้ 1-10. ใน: รายงาน
ผลวิิจัยั ประจำ�ำ ปีี 2534. กองกีีฏและสัตั ววิิทยา กรมวิชิ าการเกษตร.

วััชรีี สมสุุข และพิมิ ลพร นัันทะ. 2535. การผลิติ ไส้้เดือื นฝอยปราบแมลงศััตรููพืืชด้ว้ ยอาหารเทีียม. ว. วิิชาการเกษตร
กษ. 10: 1-4.

วัชั รีี สมสุุข พิิมลพร นันั ทะ และอเนก บุตุ รรักั ษ์.์ 2537. การควบคุุมหนอนกระทู้�หอม Spodoptera exigua
ในดาวเรืืองด้้วยไส้้เดืือนฝอย. หน้้า 55-62. ใน: ผลงานแบบแผ่่นภาพในการประชุุมสััมมนาทาง
วิิชาการแมลงและสััตว์ศ์ ััตรููพืืช ครั้�งที่่� 9. กองกีีฏและสััตววิทิ ยา กรมวิชิ าการเกษตร.

วัชั รีี สมสุขุ . 2544. ไส้้เดืือนฝอยศััตรูแู มลง. หน้้า 209-244. ใน: เอกสารวิิชาการ การควบคุุมแมลงศัตั รููพืืชโดย
ชีวี วิิธีเี พื่่�อการเกษตรยั่ง� ยืืน. โรงพิมิ พ์์ชุุมนุุมสหกรณ์์การเกษตรแห่่งประเทศไทย จำำ�กััด. กรุุงเทพฯ.

วััชรีี สมสุุข และสุุทธิิชััย สมสุุข. 2544. รายงานวิิจััยฉบัับสมบููรณ์์ เรื่�องผลงานวิิจััยโครงการวิิจััยและพััฒนา
การผลิิตไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงในระดัับการค้้า. กรมวิิชาการเกษตร สำำ�นัักงานกองทุุนสนัับสนุุน
การวิิจััยและมหาวิทิ ยาลััยธรรมศาสตร์์. 172 หน้า้ .

วัชั รีี สมสุุข และพิิมลพร นัันทะ. 2545. การควบคุมุ แมลงศัตั รููพืืชในหญ้้าสนามด้้วยไส้้เดือื นฝอย. เอกสารประกอบ
การประชุุมวิชิ าการศูนู ย์ว์ ิิจัยั ควบคุมุ ศััตรูพู ืชื โดยชีีวิินทรียี ์์แห่่งชาติิ ประจำำ�ปีี 2545. 7 หน้้า.

วััชรีี สมสุุข อุุษณีีย์์ ฉััตรตระกููล สุุทธิิสัันต์์ พิิมพะสาลีี และณรงค์์ชััย พิิพััฒน์์ธนวงศ์์. 2549. ชีีววิิทยาของด้้วง
กิินรากสตรอเบอรี่� และการควบคุุมด้้วยไส้้เดืือนฝอย. หน้้า 16-17. ใน: รายงานโครงการวิิจัยั ฉบับั สมบููรณ์์
เรื่�อง ชีีววิทิ ยาของด้ว้ งกินิ รากสตรอเบอรี่� และการควบคุุมด้้วยไส้เ้ ดืือนฝอย. มููลนิิธิิโครงการหลวง.

Akhurst, R.J. 1980. Morphological and functional dimorphism in Xenorhabdus sp. bacteria
symbiotically associated with insect pathogenic nematodes Neoaplectana and
Heterorhabditis. J. Gen. Microbiol. 121: 303-309.

Baiocchi, T., L. Grant, C. Dong-Hwan and A.R. Dillman. 2017. Host Seeking Parasitic Nematodes
use Specifc Odors to Assess Host Resources. (online). Available. www.nature.com/
scientificreports (August 4, 2020).

Bedding, R. A. 1981. Low cost In Vitro mass production of Neoaplectana and Heterorhabditis
species (Nematode) for field control of insect pests. Nematologica. 27: 109-114.

Bedding, R. A. 1984. Large scale production, storage and transport of the insect parasitic
nematodes Neoaplectana spp. and Heterorhabditis spp. Ann. Appl. Biol.
104: 117-120.

เอกสารวชิ าการ 99

ชีวภณั ฑป์ อ้ งกันกำ� จัดศัตรูพื ช

Gaugler, R. and R. Han. 2002. Production Technology. Pages 289-310. In: Entomopathogenic
Nematology. Gaugler, R. (ed.) CAB International, Wallingford, UK.

John, L.C. 2018. Featured Creatures. (online). Available. http://entnemdept.ufl.edu/
creatures/veg/potato/sweetpotato_weevil.htm (August 4, 2020).

Kaya, H. K. 1985. Entomogenous Nematodes for Insect Control in IPM Systems. Pages 283-303.
In: Biological Control in Agricultural IPM Systems. M.A. Hoy and D.C. Herzog., (eds.)
Academic Press, New York.

Miller, R.W. 1989. Novel pathogenicity assessment technique for Steinernema and
Heterorhabditis entomopathogenic nematodes. J. Nematol. 21:574.

Poinar, G.O. Jr. 1967. Description and taxonomic position of the DD-136 nematode
(Steinernematidae, Rhabditoidea) and its relationship to Neoaplectana
carpocapsae Weiser. Proceedings of the Helminthological Society of Washington
34: 199-209.

Poinar, G.O. Jr., G.M. Thomas. 1966. Significance of Achromobacter nematophilus sp. nov.
(Achromobacteriaceae-Eubacteriales) associated with a nematode. Int. Bull.
Bacteriol of Nomen Tax on. 15: 249-252.

Steiner, G. 1923. Aplectana kraussei n. sp., einer in der Blattwespe Lyda sp. Parasitierende
Nematodenform, nebst Bemerkungen über das Seitenorgan der Parasitischen
Nematoden. Z HYG INFEKTIONSK. 59: 14-18.

Weiser J. 1955. Neoaplectana carpocapsae n. sp. (Anguillata, Steinernematidae) Novy
Cizopasnik Housenek Obalece Jablecneho, Carpocapsae pomonella L. Vestn Cesk
Spol Zool. 19: 44-52.

Word, C. 2014. Entomopathogenic Nematodes. (online). Available. https://csiropedia.csiro.au/
entomopathogenic-nematodes/ (August 4, 2020).

ติดต่อสอบถามขอ้ มูลเพิม่ เตมิ : กลมุ่ งานวิจยั การปราบศัตรูพืชทางชวี ภาพ กลมุ่ กฏี และสตั ววทิ ยา
สำ� นกั วจิ ยั พฒั นาการอารกั ขาพืช  โทร. 0 2579 7580 ตอ่ 138

100 เอกสารวิชาการ

ชวี ภณั ฑป์ ้องกนั ก�ำจัดศัตรพู ื ช

แตนเบียนไข่ไตรโคแกรมมา

Trichogramma confusum

ช่ือวทิ ยาศาสตร์: Trichogramma confusum Viggiani
ชอ่ื สามญั : แตนเบียนไข่ไตรโคแกรมมา
วงศ์: Trichogrammatidae
อนั ดบั : Hymenoptera

ทมี่ าและความสำ� คญั /ปญั หาศตั รูพื ช
แตนเบีียนไข่่ Trichogramma confusum เป็็นแมลงศััตรููธรรมชาติิที่่�สำำ�คััญชนิิดหนึ่�ง ตััวเต็็มวััยเป็็น
แตนเบีียนที่่�มีีขนาดเล็็ก ทำำ�ลายเฉพาะระยะไข่่ของแมลงศััตรููพืืช สามารถนำำ�ไปใช้้ควบคุุมไข่่ผีีเสื้�อแมลงศััตรููพืืช
ที่่�สำำ�คััญทางเศรษฐกิิจได้้หลายชนิดิ เช่น่ ไข่ข่ องหนอนเจาะสมอฝ้า้ ย Helicoverpa armigera ไข่่ของหนอนกออ้้อย
Chilo infuscatellus และ Chilo tumidicostalis ไข่่ของหนอนเจาะลำำ�ต้้นข้้าวโพด Ostrinia furnacalis
ไข่่ของหนอนใยผััก Plutella xylostella ไข่่ของหนอนคืืบกะหล่ำำ�� Trichoplusia ni ไข่่ของหนอนคืืบละหุ่�ง
Achaea janata ไข่่ของหนอนแก้้วส้้ม Papilio demoleus malayanus ไข่่ของหนอนกอแถบลาย
Chilo suppressalis ไข่ของหนอนหัวด�ำมะพร้าว Opisina arenosella ฯลฯ มีหลายประเทศได้น�ำ
แตนเบีียนไข่่ T. confusum ไปใช้้ควบคุุมแมลงศััตรููพืชื ที่่�สำำ�คััญ ได้้แก่่ หนอนกออ้้อย หนอนกอข้้าว หนอนเจาะ
ลำำ�ต้้นข้้าวโพด และหนอนเจาะสมอฝ้้าย พบว่่ามีีประสิิทธิิภาพในการควบคุุมสููงถึึง 70-90% สามารถลดค่่าใช้้จ่่าย
สารเคมีีกำำ�จััดแมลงได้้มาก แมลงศััตรููพืืชไม่่สร้้างความต้้านทานต่่อแมลงศััตรููธรรมชาติิ อีีกทั้�งไม่่เป็็นอัันตรายต่่อ
สภาพแวดล้้อมและเกษตรกร ซึ่�งแตนเบีียนไข่่ชนิิดนี้�พบว่่ามีีเขตการแพร่่กระจายอยู่�ทั่�วไป เช่่น อเมริิกาเหนืือ
อเมริิกากลาง อเมริิกาใต้้ สหรััฐอเมริิกา อิินเดีีย ไต้้หวััน จีีน เปรูู เม็็กซิิโก บาร์์บาโดส คิิวบา แคนาดา
รััสเซีีย เยอรมนีี ไทย โดยมีีหลายประเทศได้้ทำำ�การผลิิตเลี้�ยงขยายแตนเบีียนไข่่เป็็นจำำ�นวนมากและนำำ�ไปปล่่อย
ควบคุุมศััตรูพู ืืชได้้อย่่างมีีประสิทิ ธิิภาพ

เอกสารวิชาการ 101

ชีวภณั ฑป์ อ้ งกนั กำ� จดั ศัตรูพื ช

วงจรชีวิต
แตนเบียนไข่ T. confusum เป็นแมลงที่มีขนาดเล็ก ตัวเต็มวัยมีขนาด 0.5 มิลลิเมตร มีตาสีแดง
ตัวเต็มวัยเพศเมียเท่านั้นท่ีท�ำลายไข่ของแมลงศัตรูพืช โดยแตนเบียนเพศเมียใช้อวัยวะวางไข่แทงเข้าไปใน
ไข่แมลงศัตรูพืชแล้ววางไข่ไว้ภายใน ไข่ 1 ฟอง สามารถมีแตนเบียนไข่ได้ 1-4 ตัว ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับขนาดของ
ไข่่แมลงอาศััยและความสมบููรณ์์ของอาหารภายในไข่่ที่่�ถููกเบีียน ไข่่ที่่�ถููกเบีียนแล้้ว 3 วัันจะเปลี่�ยนเป็็นสีีดำำ�
และไม่่ฟัักเป็็นหนอน และออกเป็็นตััวเต็็มวััยหลัังจากไข่่ถููกเบีียนแล้้ว 6-8 วััน ซึ่�งจะผสมพัันธุ์�และไปทำำ�ลายไข่่
ของแมลงศััตรููพืชื ต่อ่ ไป

วงจรชีวติ ของแตนเบยี นไข่ Trichogramma confusum Viggiani

กลไกการทำ� ลายศตั รพู ื ช
แตนเบียนเพศเมียใช้อวัยวะวางไข่แทงเข้าไปในไข่แมลงศัตรูพืชแล้ววางไข่ไว้ภายใน เมื่อหนอนแตนเบียน
ออกจากไข่จะดูดกินแร่ธาตุอาหารในไข่แมลงศัตรูพืชและเข้าดักแด้อยู่ภายใน หลังจากนั้นตัวเต็มวัยแตนเบียน
จะเจาะออกมาเพ่ือผสมพันธุ์และเข้าท�ำลายไข่แมลงศัตรูพืชต่อไป โดยชอบเข้าท�ำลายไข่ใหม่อายุ 1-2 วัน
ไข่แมลงศตั รูพืชทถี่ ูกทำ� ลายมีสดี �ำและไมส่ ามารถฟักเป็นหนอนได้

102 เอกสารวิชาการ

ชวี ภัณฑ์ปอ้ งกันก�ำจดั ศตั รพู ื ช

วธิ กี ารใชช้ ีวภณั ฑ์ควบคมุ ศัตรูพื ช

การปล่อยแตนเบียนไข่ T. confusum เพ่ือควบคุมแมลงศัตรูพืชให้ได้ผลดี ควรปล่อยในระยะที่พืช
มีความเสียหายเล็กน้อย อัตราท่ีปล่อย 20,000–30,000 ตัว/ไร่ จุดที่ปล่อยควรจะมีระยะห่างกันไม่ต่�ำกว่า
15 เมตร พนื้ ที่ 1 ไร่ ใหป้ ลอ่ ยไรล่ ะ 6 จุด และควรทำ� ในชว่ งเย็นหลังจาก 16.00 น. หรือในขณะที่มีแสงแดดออ่ น
ไม่ปล่อยขณะฝนตกหรอื ลมแรง

การใชแ้ ตนเบยี นไข่ Trichogramma confusum ในการควบคุมไข่ของแมลงศัตรพู ชื ทางเศรษฐกจิ

พชื แมลงศตั รพู ชื อตั ราการปลอ่ ย จำ� นวน
ตวั /ไร่ คร้ัง/ฤดู
ออ้ ย หนอนกออ้้อยลายเล็็ก Chilo infuscatellus 20,000
ฝ้าย หนอนเจาะสมอฝ้้าย Helicoverpa armigera 30,000 3-4
ขา้ วโพด หนอนเจาะลำำ�ต้้นข้้าวโพด Ostrinia furnacalis 30,000 3-4
มะเขือเทศ หนอนเจาะสมอฝ้้าย Helicoverpa armigera 30,000 3
หนอนใยผักั Plutella xylostella 30,000 3-4
ผัก หนอนคืบื กะหล่ำำ�� Trichoplusia ni 30,000 3
หนอนแก้ว้ ส้้ม Papilio demoleus malayanus 30,000 4-6
พชื ตระกลู สม้ 4-8

กข

คง

วธิ ีการปล่อยแตนเบียนไข่ Trichogramma confusum Viggiani
ก) - ข) การปลอ่ ยแตนเบยี นไข่ Trichogramma confusum ในแปลงอ้อย
ค) - ง) การปลอ่ ยแตนเบยี นไข่ Trichogramma confusum ในแปลงข้าวโพด

เอกสารวิชาการ 103

ชีวภัณฑ์ป้องกันกำ� จัดศัตรพู ื ช

กข
คง

จฉ

การทำ� ลายไขแ่ มลงศตั รูพืชของแตนเบียนไข่ Trichogramma confusum Viggiani
ก) แตนเบีียนไข่่ Trichogramma confusum กำำ�ลัังวางไข่ใ่ นไข่ข่ องหนอนกออ้้อย Chilo infuscatellus
ข) ไข่หนอนกออ้อยถูกแตนเบยี นไข่ Trichogramma confusum ท�ำลาย
ค) ไขห่ นอนเจาะล�ำตน้ ข้าวโพด Ostrinia furnacalis ถกู แตนเบยี นไข่ Trichogramma confusum
ทำ� ลายเปลีย่ นเปน็ สีด�ำ
ง) รูเจาะของแตนเบียนไข่ Trichogramma confusum ออกจากไข่หนอนเจาะล�ำต้นข้าวโพดหลัง
ถกู แตนเบยี นไข่ทำ� ลาย
จ) แตนเบียนไข่ Trichogramma confusum ก�ำลังวางไข่ในไข่ของหนอนหัวด�ำมะพร้าว Opisina
arenosella
ฉ) ไข่หนอนหวั ดำ� มะพรา้ วถูกแตนเบยี นไข่ Trichogramma confusum ทำ� ลาย

104 เอกสารวิชาการ

ชวี ภณั ฑป์ อ้ งกันก�ำจัดศตั รพู ื ช

ข้อดี

1. ใชเ้ วลาในการปลอ่ ยไม่มาก
2. แตนเบยี นไข่ T. confusum สามารถบนิ ไปวางไขใ่ นไข่แมลงศัตรูพืชได้เอง
3. ไม่เ่ ป็็นอัันตรายต่่อสิ่�งที่่�มีชี ีวี ิติ เช่่น คน สััตว์์ พืชื ทุุกชนิดิ
4. ไม่ท่ ำำ�ให้เ้ กิดิ พิิษตกค้้างในพืชื ผลและไม่ก่ ่อ่ ให้้เกิดิ มลพิษิ ต่่อสภาพแวดล้อ้ ม เช่น่ ดิิน น้ำำ�� อากาศ
5. แมลงศตั รูพืชไมส่ รา้ งความต้านทานตอ่ แตนเบียนไข่ T. confusum เหมอื นการใช้สารเคมีก�ำจัดแมลง
6. ตน้ ทนุ การผลิตขยายพันธุ์แตนเบียนไข่ T. confusum ไม่สูงมาก สามารถผลิตขยายได้ปริมาณมาก
ข้นึ อย่กู ับความสามารถในการผลติ แมลงอาศัยใหม้ ปี ริมาณมาก
7. สามารถน�ำไปใช้รว่ มกับวิธกี ารควบคุมศัตรพู ืชอน่ื ๆ ท�ำให้มีประสทิ ธภิ าพในการควบคุมแมลงศตั รพู ชื
ได้้สููงขึ้�น ซึ่�งการใช้้แตนเบีียนไข่่ T. confusum ควบคุุมแมลงศััตรููพืืชเป็็นอีีกแนวทางหนึ่�งที่่�ช่่วยอนุุรัักษ์์ศััตรููธรรมชาติิ
ให้้มีปี ริมิ าณมากขึ้�นช่ว่ ยลดการใช้ส้ ารเคมีกี ำำ�จััดแมลง

ข้อจำ� กัด

1. ก่อนปลอ่ ยแตนเบียนไข่ T. confusum ต้องมกี ารส�ำรวจพบศตั รพู ชื เป้าหมาย
2. ห้้ามพ่น่ สารเคมีีกำำ�จััดแมลงก่่อนและหลังั ปล่่อยแตนเบีียนไข่่ T. confusum
3. ไขแ่ มลงศัตรูพชื อายุ 1-2 วนั มคี วามเหมาะสมต่อการทำ� ลายแตนเบียนไข่ T. confusum
4. ตวั เต็มวยั เพศเมียเทา่ นั้นท่จี ะทำ� ลายไขแ่ มลงศตั รพู ชื
5. สภาพอุณหภมู สิ ูงกวา่ 35 องศาเซลเซยี ส จะมีประสทิ ธิภาพการเบียนต่ำ�
6. สภาพฝนตกชุกและลมแรงไม่เหมาะต่อการใช้แตนเบียนไข่ T. confusum

การตรวจสอบคุณภาพ/การเก็บรกั ษาชีวภณั ฑ์

การเกบ็ รักษาไข่ของแตนเบียนไข่ Trichogramma confusum

หากยังไม่ถึงเวลาปล่อยแตนเบียนไข่ T. confusum สามารถชะลอการออกเป็นตัวเต็มวัยของ
แตนเบียนไข่ได้ โดยน�ำไข่ผีเสื้อข้าวสารที่มีดักแด้แตนเบียนไข่ T. confusum อยู่ภายในใส่กล่องพลาสติก
เกบ็ เขา้ ตู้ควบคุมอุณหภมู ทิ ่ี 10-13 องศาเซลเซียส จะชะลอการออกเป็นตัวเตม็ วัยได้ 2 สปั ดาห์

เอกสารวชิ าการ 105

ชวี ภัณฑ์ป้องกนั กำ� จัดศตั รพู ื ช

การประเมนิ ประสิทธิภาพในการควบคมุ
วิธกี ารประเมนิ ประสทิ ธิภาพในการควบคุมศตั รูพืชของแตนเบียนไข่ T. confusum มีขัน้ ตอนดงั น้ี
1. กอ่ นปล่อยแตนเบียนไข่ T. confusum ต้องส�ำรวจประชากรไข่ของแมลงศัตรูพชื ถ้าพบอยู่ทร่ี ะดบั
5-10% จงึ ทำ� การปล่อยแตนเบยี นไข่ T. confusum ได้ และควรปล่อยระยะแรกท่ีผเี สือ้ เร่มิ วางไข่
2. อัตราการปล่อยแตนเบียนไข่ T. confusum ท่ีเหมาะสม 20,000-30,000 ตัว/ไร่ อัตราการออก
เป็น็ ตัวั เต็็มวัยั เพศเมียี ควรอยู่�ที่� 40-50% ขึ้�นไป ปล่อ่ ยแต่่ละครั้�งห่า่ งกันั 7 วััน แตนเบีียนไข่ท่ ี่่�นำำ�ไปปล่อ่ ยควรจะ
ทยอยออกเป็น็ ตัวั เต็็มวััยภายใน 1-5 วััน
3. การปล่อยแตนเบียนไข่ T. confusum ให้ครอบคลุมพื้นท่ีปลูกพืชต้องปล่อยเหนือทิศทางลม
ไม่ควรปล่อยในสภาพอากาศท่ีมีฝนตก แสงแดด หรืออุณหภูมิสูงเกินไป ควรปล่อยเวลาเย็นต้ังแต่ 16.00 น.
เปน็ ตน้ ไป จุดปลอ่ ยควรห่างกัน 15-20 เมตร และไม่ควรเกิน 6 จุด/ไร่
4. ปล่่อยแตนเบีียนไข่่ T. confusum โดยการนำำ�แผ่่นไข่่แมลงอาศััยที่�ภายในมีีดัักแด้้แตนเบีียนไข่่
อายุุ 7 วันั ไปติดิ กัับใบพืชื หรือื เพื่�อป้้องกัันฝนติิดแผ่น่ ไข่่ไว้้ด้า้ นในถ้้วยพลาสติิกหรือื กรวยกระดาษ โดยวางคว่ำำ��
เสีียบไว้้ที่�ปลายไม้้ไผ่่สููงจากพื้�น 50 เซนติิเมตร และทาจาระบีีบริิเวณรอบๆ ต้้นหรืือกิ่�งส่่วนที่�ปล่่อย หรืือโคนไม้้ไผ่่
เพื่�อป้อ้ งกัันมดเข้า้ ทำำ�ลาย
5. ประเมินิ ประสิทิ ธิภิ าพของแตนเบีียนไข่่ T. confusum โดยสำำ�รวจความเสียี หายของพืชื และประชากร
แมลงศััตรููพืืช รวมทั้�งตรวจสอบปริิมาณและผลการเบีียนในแปลงที่�ปล่่อยแตนเบีียนไข่่ โดยทำำ�การเก็็บไข่่
แมลงศัตั รููพืืชในไร่่มาตรวจสอบ หลังั จากปล่อ่ ยแตนเบียี นไข่ไ่ ปแล้ว้ 4 วันั

การผลิตขยายชวี ภัณฑ์
การผลิตขยายแตนเบียนไข่ T. confusum ให้ได้ปริมาณมาก ส่ิงส�ำคัญคือการเลี้ยงผีเส้ือข้าวสาร
Corcyra cephalonica Stainton เพื่�อผลิิตไข่่ให้้ได้้ปริิมาณมากสำำ�หรัับใช้้เป็็นแมลงอาศััยของแตนเบีียนไข่่
T. confusum แบ่่งเป็น็ 2 ขั้�นตอน ดัังนี้�

ข้ันตอนที่ 1 การเล้ยี งผเี ส้อื ข้าวสาร C. cephalonica

1. นำ� หนอนและตัวเตม็ วัยผเี สือ้ ขา้ วสารที่เก็บมาจากยงุ้ ฉางมาทำ� การเล้ยี งขยายในห้องปฏบิ ัติการ
2. น�ำร�ำละเอียด 1 กระสอบ (60 กิโลกรัม) ผสมกับปลายข้าวสาร 3 กิโลกรัม และน้�ำตาลทราย 1 กโิ ลกรมั
อบในตูอ้ บอณุ หภูมิ 70-80 องศาเซลเซียส เปน็ เวลา 7-8 ชว่ั โมง เพอ่ื ฆ่าแมลงโรงเก็บทตี่ ิดมากบั ร�ำละเอยี ด เชน่
มอดข้้าวสาร มอดแป้้ง ด้้วงงวงข้้าว ทิ้�งไว้้ให้้เย็็น จากนั้�นนำำ�รำำ�ละเอีียดใส่่กล่่องพลาสติิกกล่่องละ 1 กิิโลกรััม
ให้้หนาประมาณ 3 เซนติิเมตร
3. ช่งั ไข่ของผเี ส้ือขา้ วสาร 0.1 กรมั หรือประมาณ 2,000 ฟอง/รำ� ละเอยี ด 1 กโิ ลกรมั โรยให้ทว่ั บรเิ วณ
ผิวหน้าปิดฝาครอบให้สนิท ฝาครอบเจาะรูระบายอากาศ บุด้วยตะแกรงลวดตาถี่เพื่อป้องกันแมลงชนิดอ่ืนเข้าไป
จากนน้ั น�ำไปไวท้ ช่ี ั้นเล้ยี งแมลงในหอ้ งอณุ หภูมิ 25-30 องศาเซลเซียส ความช้นื สมั พัทธ์ 75-80%

106 เอกสารวชิ าการ

ชวี ภณั ฑ์ปอ้ งกันก�ำจดั ศัตรูพื ช

4. หลังจากนั้น 4-5 วัน ไข่ผีเส้ือข้าวสารจะฟักเป็นหนอน หนอนจะกินอาหารเจริญเติบโตเข้าดักแด้
และเป็นตวั เตม็ วยั ใช้เวลาประมาณ 45-60 วนั
5. เมื่�อดัักแด้้ผีีเสื้�อข้้าวสารเริ่�มออกเป็็นตััวเต็็มวััย ใช้้เครื่�องดููดแมลงดููดตััวเต็็มวััยผีีเสื้�อข้้าวสาร
ใส่่ในตะกร้้าตาข่่ายที่�บรรจุุอยู่�ภายในเครื่�องดููดแมลง การดููดตััวเต็็มวััยผีีเสื้�อข้้าวสารใช้้เวลาไม่่เกิิน 5 นาทีี
แล้ว้ นำำ�ตะกร้้าตาข่า่ ยออก ปิดิ ปากด้้วยถุงุ ตาข่่ายนำำ�ไปเก็็บในห้อ้ งเขี่�ยไข่่
6. เมื่�อครบ 24 ชั่�วโมง ใช้้แปรงปััดไข่่ผีีเสื้�อข้้าวสารที่่�ติิดบนตะกร้้าตาข่่ายออกใส่่ในถาดอะลููมิิเนีียม
หลัังจากนั้�นทำำ�ความสะอาดไข่่ผีีเสื้�อข้้าวสารโดยใช้้ตะแกรงลวดตาถี่่�เพื่�อแยกสิ่�งปนเปื้�อนอื่�นๆ เช่่น ขนและขา
ของผีเี สื้�อข้้าวสาร นำำ�ไข่ผ่ ีีเสื้�อข้า้ วสารที่�ได้ม้ าชั่่�งน้ำำ��หนักั
7. แบ่งไขผ่ ีเสื้อขา้ วสารออกเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 ไข่ผีเสอื้ ขา้ วสาร 80% ไปใช้ผลิตขยายแตนเบยี นไข่
T. confusum สว่ นที่ 2 ไขผ่ เี สอ้ื ขา้ วสาร 20% ใช้ขยายพันธผุ์ เี สื้อข้าวสารตอ่ ไป

สว่ นผสมอาหารสำ� หรับเลย้ี งผเี ส้อื ข้าวสาร Corcyra cephalonica (Stainton)
และการอบในต้อู บอณุ หภูมิ 70-80 องศาเซลเซียส เปน็ เวลา 7-8 ช่ัวโมง

การดดู ผเี ส้อื ขา้ วสาร Corcyra cephalonica (Stainton) ใส่ถงุ ตาขา่ ยเพื่อเก็บไข่ผเี ส้ือข้าวสาร

เอกสารวชิ าการ 107

ชีวภัณฑป์ อ้ งกนั กำ� จัดศตั รูพื ช

การเกบ็ ไข่ผีเสอ้ื ขา้ วสาร Corcyra cephalonica (Stainton)

ขัน้ ตอนท่ี 2 การผลิตขยายแตนเบยี นไข่ T. confusum

1. ทำ� เฟรมกรอบไม้ขนาด 25×30 เซนติเมตร และเตรยี มกระดาษมาขดี ตารางเปน็ ช่องขนาด 1x1.5 น้ิว
กระดาษ 1 แผ่่น จะได้้ 42 ช่่อง (6x7 ช่่อง) ทากาวน้ำำ��ให้้ทั่�ว จากนั้�นนำำ�ไข่่ของผีีเสื้�อข้้าวสารใส่่ในตะแกรง
โรยลงบนกระดาษให้้ทั่�วและสม่ำำ��เสมอ (1 ช่่อง มีีไข่่ประมาณ 2,000 ฟอง) จากนั้�นนำำ�ไปผ่่านแสง Ultraviolet
นานประมาณ 15 นาที เพอื่ ปอ้ งกนั ไม่ให้ไขผ่ เี ส้อื ข้าวสารฟักเป็นหนอน
2. นำำ�ไข่่ที่่�ผ่่านแสง Ultraviolet แล้้วมาขยายแตนเบีียนไข่่ T. confusum โดยนำำ�เฟรมไม้้มาทากาว
ที่�บริิเวณขอบ ติิดเฟรมด้้วยแผ่่นไข่่ผีีเสื้�อข้้าวสาร ใช้้สำำ�ลีีชุุบน้ำำ��ผึ้้�งความเข้้มข้้น 70% ใส่่ไว้้ภายในเพื่�อเป็็นอาหาร
ของตััวเต็ม็ วัยั แตนเบีียนไข่่ T. confusum
3. นำำ�แตนเบียี นไข่่ T. confusum ที่�ออกเป็็นตััวเต็็มวัยั มาใส่่ในเฟรมดังั กล่า่ ว แล้ว้ นำำ�แผ่น่ ไข่ผ่ ีเี สื้�อข้้าวสาร
ปิดิ ทับั อีีกด้้าน โดยใส่แ่ ตนเบียี นไข่่ต่อ่ ไข่่ผีเี สื้�อข้้าวสาร อัตั รา 1:5 บันั ทึึกชนิดิ ของแตนเบียี นและวันั ที่�ที่�ผลิติ และ
วัันที่�ที่�จะทำำ�การตััดเฟรมเพื่�อเก็บ็ เกี่�ยวแตนเบียี นไข่่ (วันั ที่� 7 นับั ตั้�งแต่่วันั ที่�เริ่�ม)
4. นำำ�เฟรมไม้ไ้ ปตั้�งไว้้ที่่�มีีแสงสว่า่ งส่อ่ งถึงึ และพลิิกเข้า้ หาแสงทุกุ 6 ชั่�วโมง หลัังจากนั้�น 4-5 วััน ไข่่ของ
ผีเี สื้�อข้้าวสารจะมีีสีีเข้ม้ ขึ้�นเนื่�องจากถูกู แตนเบียี นไข่เ่ บียี น
5. เมอ่ื ครบ 7 วัน นำ� เฟรมท่ผี ลิตขยายแตนเบียนไข่ T. confusum มากรีดแผ่นกระดาษออกจากเฟรม
โดยใช้มีดคัตเตอร์ แล้วตัดแบ่งเป็นช่องๆ ตามท่ีขีดตารางไว้ เพ่ือเก็บไว้น�ำไปใช้ประโยชน์ ซ่ึงไข่ของผีเส้ือข้าวสาร
ทถี่ ูกเบียนจะเป็นสีด�ำภายในมดี กั แด้ของแตนเบียนไข่ และพร้อมท่ีจะออกเปน็ ตวั เตม็ วัยตอ่ ไป
6. น�ำแผ่นดักแด้แตนเบียนไข่ T. confusum ท่ีใส่ในกล่องพลาสติกเก็บเข้าตู้เย็นท่ีอุณหภูมิประมาณ
10-13 องศาเซลเซียส จะชะลอการออกเป็นตัวเต็มวัยได้ประมาณ 2 สัปดาห์ แต่เปอร์เซ็นต์การออกเป็น
ตัวเต็มวัยจะลดลงเม่ือเกนิ 2 สปั ดาหข์ นึ้ ไป โดยน�ำออกจากต้เู ยน็ 1-2 วนั ก่อนน�ำไปปลอ่ ย

108 เอกสารวชิ าการ

ชวี ภณั ฑป์ ้องกนั ก�ำจัดศตั รูพื ช

อุปุ กรณ์์ผลิติ ขยายแตนเบียี นไข่่ ชั้ �นวางเฟรมเลี้ �ยงขยาย พ่่อแม่่พัันธุ์ �แตนเบีียนไข่่

ตู้�หลอดไฟ UV ห้้องเลี้ �ยงผีีเสื้ �อข้้าวสาร ตู้�เก็็บรักั ษาแตนเบียี นไข่พ่ ร้อ้ มใช้้

อุุปกรณ์ก์ ารเลี้�ยงขยายแตนเบีียนไข่่ Trichogramma confusum Viggiani

การโรยไข่ผเี สอ้ื ข้าวสาร Corcyra cephalonica (Stainton) ลงบนแผ่นเฟรมทเ่ี ตรียมไว้

การผลิติ ขยายแตนเบีียนไข่่ Trichogramma confusum Viggiani ในแผ่่นเฟรม

เอกสารวชิ าการ 109

ชวี ภณั ฑ์ป้องกนั กำ� จดั ศัตรูพื ช

การเก็บรกั ษาแตนเบียนไข่ Trichogramma confusum Viggiani ทอ่ี ุณหภมู ิ 10-13 องศาเซลเซยี ส

Link / QR code / Clip ของชีวภัณฑ์
https://www.youtube.com/watch?v=GxW3DRoNkrk
https://www.youtube.com/watch?v=p3EHExPhthw

บรรณานุกรม
กองกีีฏและสัตั ววิิทยา. 2544. การควบคุุมแมลงศััตรูพู ืืชโดยชีีววิธิ ีเี พื่่อ� การเกษตรยั่�งยืืน. สำำ�นักั พิมิ พ์ช์ ุมุ นุมุ สหกรณ์์

การเกษตรแห่ง่ ประเทศไทย จำำ�กััด: กรุงุ เทพฯ. 317 หน้้า.
นงนุชุ ช่า่ งสีี. 2561. การผลิิตแตนเบียี นไข่่ Trichogramma spp. หน้้า 37-61. ใน: คู่่�มืือการผลิิตขยายชีีวภัณั ฑ์์

อย่า่ งง่่าย. สำำ�นักั วิิจััยพััฒนาการอารัักขาพืชื กรมวิิชาการเกษตร.
นงนุุช ช่่างสีี พััชรีีวรรณ จงจิิตเมตต์์ และณััฏฐิิณีี ศิิริิมาจัันทร์์. 2561. การใช้้แตนเบีียนไข่่ Trichogramma

ควบคุุมแมลงศััตรููพืืช. หน้้า 35-39. ใน: เอกสารวิิชาการชีีวภััณฑ์์กำ�ำ จััดศััตรููพืืชเพื่่�อเกษตรที่่�ยั่�งยืืน.
สำำ�นัักวิิจัยั พัฒั นาการอารัักขาพืืช กรมวิชิ าการเกษตร.
นุุชรีีย์์ ศิิริิ ทััศนีีย์์ แจ่่มจรรยา และอโนทััย ภาระพรมราช. 2546. การควบคุุมแมลงศััตรููด้้วยแมลงเบีียน.
หน้้า 1-16. ใน: รายงานการวิิจััยประจำ�ำ ปีี 2546. ศููนย์์วิิจััยควบคุุมศััตรููพืืชโดยชีีวิินทรีีย์์แห่่งชาติิ
ภาคตะวัันออกเฉียี งเหนืือตอนบน.

110 เอกสารวิชาการ

ชวี ภณั ฑ์ปอ้ งกนั ก�ำจัดศัตรูพื ช

วิินิภิ า ชาลีคี าร. 2556. การพััฒนาการผลิติ และการใช้้ประโยชน์์แตนเบียี นไข่่ Trichogramma spp. วิิทยานิิพนธ์์
ปริญิ ญาวิิทยาศาสตรมหาบััณฑิติ สาขากีีฏวิทิ ยา. บััณฑิติ วิทิ ยาลัยั มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่่น. 70 หน้า้ .

Jeffrey, G., M.P. Hoffimann, S.A. Pitcher and J.K. Harper. 2010. Integrating insecticides
and Trichogramma ostriniae to control European corn borer in sweet corn:
economic analysis. Biol. Control. 56: 9-16.

Saljogi, A.U.R. and A.S.K. Khajjak. 2007. Effect of different artificial diets on the efficiency and
development of Trichogramma chilonis (Ishii) (Hymenoptera: Trichogammatidae).
Sarhad J. Agric. 23(1): 129-132.

ตดิ ตอ่ สอบถามข้อมลู เพิ่มเติม: กลมุ่ งานวจิ ยั การปราบศัตรพู ชื ทางชีวภาพ กลุ่มกฏี และสตั ววทิ ยา
สำ� นักวิจัยพัฒนาการอารักขาพชื   โทร. 0 2579 7580 ตอ่ 134

เอกสารวชิ าการ 111

ชีวภณั ฑ์ป้องกันกำ� จัดศัตรพู ื ช

แตนเบียนไข่ไตรโคแกรมมา

Trichogramma pretiosum

ชื่อวิทยาศาสตร:์ Trichogramma pretiosum (Riley)
ชอ่ื สามัญ: แตนเบยี นไขไ่ ตรโคแกรมมา
วงศ:์ Trichogrammatidae
อนั ดบั : Hymenoptera

ทม่ี าและความสำ� คญั /ปัญหาศตั รพู ื ช
แตนเบีียนไข่่ Trichogramma pretiosum เป็น็ แมลงศััตรููธรรมชาติิขนาดเล็็กที่่�มีปี ระโยชน์์ มีบี ทบาทสำำ�คััญ
ในการควบคุมุ แมลงศัตั รููพืืช ซึ่�งมีีประสิทิ ธิิภาพในการทำำ�ลายไข่่ผีีเสื้�อศัตั รููพืชื ได้ห้ ลายชนิดิ เช่น่ หนอนกระทู้้�ข้้าวโพด
ลายจุุด Spodoptera frugiperda หนอนเจาะกระบองเพชร Cactoblastis cactorum หนอนผีีเสื้�อข้้าวสาร
Corcyra cephalonica หนอนใยผััก Plutella xylostella หนอนเจาะสมอฝ้้าย Helicovepa armigera
มีีประสิิทธิิภาพในการป้้องกัันกำำ�จััดสููง 70-90% ซึ่�งสามารถลดค่่าใช้้จ่่ายในการซื้�อสารเคมีีกำำ�จััดแมลงได้้มาก
อีีกทั้�งไม่่เป็็นอัันตรายต่่อสภาพแวดล้้อมและเกษตรกร ปััจจุุบัันหลายประเทศมีีการใช้้แตนเบีียนไข่่ T. pretiosum
ในการควบคุมุ แมลงศัตั รููพืชื กัันอย่่างแพร่ห่ ลาย เช่่น จีนี อินิ เดีีย สหรััฐอเมริกิ า โคลัมั เบีีย เยอรมนีี แอฟริิกาใต้้

วงจรชีวติ
แตนเบียนไข่ T. pretiosum เมื่อเจริญเต็มที่มีขนาดล�ำตัวยาว 0.3-0.5 มิลลิเมตร ระยะไข่มีสีขาว
เมื่อใกล้ฟักจะมีสีเหลืองและแต้มสีขาว ระยะไข่ 1-2 วัน ตัวหนอนแบบ sacciform ส่วนปากของหนอน
มีลักษณะคล้ายตะขอ 2 อัน โค้งชี้เข้าหากัน เพ่ือเจาะกินของเหลวภายในส่วนของคัพภะ หนอนมี 3 ระยะ
อายุ 3-7 วัน เมื่อหนอนเจริญเติบโตเตม็ ที่แลว้ จะพักตวั เข้าดกั แด้อยภู่ ายในไข่อาศยั ดกั แดม้ ีลกั ษณะคลา้ ยตัวเตม็ วยั

112 เอกสารวชิ าการ

ชวี ภณั ฑป์ อ้ งกนั ก�ำจัดศัตรูพื ช

แต่ไม่มีส่วนปีกและอวัยวะเพศ ส่วนหนวดและขาซ่อนอยู่ภายในล�ำตัว ตาสีแดงเห็นชัดเจน ระยะดักแด้ 2 วัน
ตัวเต็มวยั มีขนาดเล็ก สนี ้ำ� ตาลเหลือง ปกี เปน็ แบบ membrane หนวดเพศเมยี เป็นรูปกระบอง ตวั เตม็ วยั เพศผู้
ส่วนปลายหนวดมีเส้นขนยาวคล้ายหนวดยุง โดยสามารถแยกความแตกต่างของเพศผู้และเพศเมียได้จากลักษณะ
ของหนวด ตัวเต็มวยั เพศเมียมอี วยั วะวางไข่ยืน่ ยาว มอี ายุ 4-7 วนั สว่ นตวั เต็มวัยเพศผู้ มีอายุ 3-5 วนั

ระยะไข่ 1-2 วัน

ระยะตัวเตม็ วัย ระยะหนอน 3-7 วัน
เพศเมยี 4-7 วนั
เพศผู้ 3-5 วนั

ระยะดกั แด้ 2 วนั

วงจรชีวติ ของแตนเบียนไข่ Trichogramma pretiosum (Riley)

กลไกการทำ� ลายศตั รพู ื ช
พฤติกรรมการเบียนของแตนเบียนไข่ เพศเมียวางไข่ภายในไข่ของแมลงศัตรูพืช โดยเดินวนรอบ
บริิเวณไข่่แมลงอาศััยและใช้้หนวดสััมผััสไข่่แต่่ละฟองเพื่�อตรวจสอบว่่าไข่่ฟองนั้�นสมบููรณ์์หรืือไม่่ เมื่�อพบไข่่ที่�
เหมาะสมแตนเบีียนจะขึ้�นไปบนไข่่แล้้วเดิินวนรอบๆ และใช้้หนวดสััมผััสไข่่ฟองนั้�นอีีกครั้�งเพื่�อหาตำำ�แหน่่งที่�
ต้องการเจาะวางไข่ แล้วใช้ขาคู่หลังเกาะบริเวณด้านบนและขาคู่กลางเกาะส่วนล่างของไข่ แตนเบียนจะไม่เจาะไข่
ในทันทีแต่จะทดลองเจาะโดยยื่นอวัยวะวางไข่ออกมาท่ีผิวของไข่ หลังจากน้ันเมื่อได้ต�ำแหน่งที่เหมาะสมแล้ว
จึงใช้อวัยวะวางไข่แทงลงบนไข่แมลงอาศัยตรงๆ การเบียนของแตนเบียนไข่ใช้เวลา 3-4 วินาที เม่ือเวลา
ผา่ นไป 3-4 วนั ไขแ่ มลงอาศัยทถ่ี ูกเบยี นจะเปลี่ยนเปน็ สดี �ำ แตนเบยี นเพศเมยี 1 ตัว สามารถวางไข่เฉลีย่ 20 ฟอง

เอกสารวิชาการ 113

ชีวภณั ฑป์ อ้ งกันกำ� จัดศตั รพู ื ช

แตนเบียนไข่ Trichogramma pretiosum (Riley)
วางไข่บนไขผ่ เี สือ้ ข้าวสาร Corcyra cephalonica (Stainton)

กข

ลักษณะการท�ำลายของแตนเบียนไข่ Trichogramma pretiosum (Riley)
ก) แตนเบียนไข่ Trichogramma pretiosum ก�ำลังวางไข่ในไข่ของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด
Spodoptera frugiperda
ข) ไขห่ นอนเจาะลำ� ตน้ ข้าวโพดถูกแตนเบยี นไข่ Trichogramma pretiosum ท�ำลายจะเปลยี่ นเปน็ สดี �ำ

วธิ กี ารใชช้ วี ภณั ฑ์ควบคุมศัตรพู ื ช

การใช้แตนเบียนไข่ Trichogramma pretiosum ในการควบคุมไขข่ องแมลงศัตรูพืชทางเศรษฐกจิ

แมลงศัตรพู ชื อตั ราการปลอ่ ย จ�ำนวน
ตวั /ไร่ ครง้ั /ฤดู
หนอนเจาะสมอฝ้้าย Helicoverpa armigera
หนอนใยผััก Plutella xylostella 20,000-30,000 6-8
หนอนเจาะลำำ�ต้น้ ข้้าวโพด Ostrinia furnacalis 40,000-60,000 6-10
หนอนกระทู้้�ข้้าวโพดลายจุุด Spodoptera frugiperda 20,000-30,000 6-10

20,000-30,000 4-8

114 เอกสารวชิ าการ

ชวี ภัณฑ์ปอ้ งกนั ก�ำจดั ศตั รูพื ช

ขอ้ ดี

1. ใชเ้ วลาในการปลอ่ ยไม่มาก
2. แตนเบียนไขส่ ามารถบนิ ไปวางไข่ในไขแ่ มลงศตั รูพืชไดเ้ อง
3. ไมเ่ ปน็ อันตรายตอ่ สงิ่ ที่มชี วี ิต เชน่ คน สัตว์ พชื ทุกชนิด
4. ไม่ท่ ำำ�ให้เ้ กิดิ พิษิ ตกค้้างในพืชื ผลและไม่ก่ ่อ่ ให้เ้ กิิดมลพิิษต่่อสภาพแวดล้้อม เช่่น ดินิ น้ำำ�� อากาศ
5. แมลงศัตรูพืชไม่สร้างความต้านทานต่อแตนเบียนไข่ T. pretiosum เหมือนการใช้สารเคมีก�ำจัดแมลง
เน่ืองจากเปน็ แมลงศัตรูธรรมชาติที่มปี ระโยชน์ไมเ่ ป็นอันตรายต่อผู้ใช้
6. ตน้ ทนุ การผลติ ขยายพนั ธุแ์ ตนเบยี นไข่ T. pretiosum ไม่สูงมาก สามารถผลิตขยายไดป้ รมิ าณมาก
ขึน้ อยูก่ ับความสามารถในการผลติ แมลงอาศัยใหม้ ปี ริมาณมาก
7. สามารถที่จะน�ำไปใช้ร่วมกับวิธีการควบคุมอ่ืนๆ ท�ำให้มีประสิทธิภาพในการควบคุมแมลงศัตรูพืช
ได้้สููงขึ้�นการใช้้แตนเบีียนไข่่ T. pretiosum ควบคุุมแมลงศััตรููพืืชจะเป็็นอีีกแนวทางหนึ่�งที่�จะช่่วยอนุุรัักษ์์
ศััตรูธู รรมชาติใิ ห้้มีีปริิมาณมากขึ้�นและลดมลภาวะให้น้ ้้อยลง

ขอ้ จำ� กดั

1. ก่อนปลอ่ ยแตนเบยี นไข่ T. pretiosum ตอ้ งมีการส�ำรวจพบศตั รพู ืชเป้าหมาย
2. หา้ มพน่ สารเคมีป้องกันกำ� จดั แมลงก่อนและหลงั ปล่อยแตนเบยี นไข่ T. pretiosum
3. ไข่แมลงศตั รพู ชื อายุ 1-2 วนั มีความเหมาะสมตอ่ การท�ำลายแตนเบียนไข่ T. pretiosum
4. ตัวเตม็ วัยเพศเมียเทา่ นนั้ ท่จี ะทำ� ลายไขแ่ มลงศัตรพู ชื
5. สภาพอุุณหภูมู ิสิ ูงู กว่่า 35 องศาเซลเซียี ส จะมีปี ระสิทิ ธิภิ าพการเบียี นต่ำำ��
6. สภาพฝนตกชกุ และลมแรงไม่เหมาะต่อการใชแ้ ตนเบียนไข่ T. pretiosum

การตรวจสอบคุณภาพ/การเก็บรกั ษาชวี ภณั ฑ์

การเกบ็ รกั ษาไขข่ องแตนเบียนไข่ Trichogramma pretiosum

ถ้าหากยังไม่ถึงช่วงเวลาปล่อยแตนเบียนไข่ T. pretiosum สามารถชะลอการออกเป็นตัวเต็มวัยได้
โดยการน�ำแผ่นไข่ไปใส่ในกล่องพลาสติกเก็บเข้าตู้เย็นท่ีอุณหภูมิประมาณ 4-6 องศาเซลเซียส จะชะลอ
การออกเป็นตวั เต็มวยั ได้ประมาณ 2 สัปดาห์ หลงั จากนัน้ อตั ราการออกเป็นตวั เตม็ วยั จะลดลง

การประเมินประสทิ ธภิ าพในการควบคุม
วิิธีีการประเมิินประสิิทธิิภาพในการควบคุุมแมลงศััตรููพืืช เช่่นเดีียวกัันกัับในเรื่�องแตนเบีียนไข่่
T. confusum

การผลิติ ขยายชีวี ภััณฑ์์
ในการเลี้ยงขยายแตนเบียนไข่ T. pretiosum ให้ได้ปริมาณมาก มีอุปกรณ์และวิธีการผลิตขยาย
เชน่ เดียวกบั การผลติ แตนเบยี นไข่ T. confusum

เอกสารวชิ าการ 115

ชวี ภณั ฑป์ ้องกนั กำ� จดั ศัตรูพื ช

Link / QR code / Clip ของชีวภัณฑ์
https://youtu.be/GxW3DRoNkrk
https://youtu.be/p3EHExPhthw

บรรณานกุ รม
กองกีีฏและสััตววิิทยา. 2544. การควบคุมุ แมลงศััตรููพืืชโดยชีวี วิิธีเี พื่่อ� การเกษตรยั่�งยืืน. สำำ�นัักพิมิ พ์ช์ ุุมนุุมสหกรณ์์

การเกษตรแห่ง่ ประเทศไทย จำำ�กััด: กรุุงเทพฯ 317 หน้้า.
นงนุชุ ช่า่ งสี.ี 2561. การผลิติ แตนเบียี นไข่่ Trichogramma spp. หน้้า 37-61. ใน: คู่่�มืือการผลิติ ขยายชีีวภัณั ฑ์์

อย่า่ งง่า่ ย. สำำ�นัักวิิจััยพัฒั นาการอารัักขาพืชื กรมวิชิ าการเกษตร.
นงนุุช ช่่างสีี พััชรีีวรรณ จงจิิตเมตต์์ และณััฏฐิิณีี ศิิริิมาจัันทร์์. 2561. การใช้้แตนเบีียนไข่่ Trichogramma

ควบคุุมแมลงศััตรููพืืช. หน้้า 35-39. ใน: เอกสารวิิชาการชีีวภััณฑ์์กำำ�จััดศััตรููพืืชเพื่่�อเกษตรที่่�ยั่�งยืืน.
สำำ�นักั วิิจััยพััฒนาการอารัักขาพืืช กรมวิิชาการเกษตร.
นุุชรีีย์์ ศิิริิ ทััศนีีย์์ แจ่่มจรรยา และอโนทััย ภาระพรมราช. 2546. การควบคุุมแมลงศััตรููด้้วยแมลงเบีียน.
หน้้า 1-16. ใน: รายงานการวิิจััยประจำำ�ปีี 2546. ศููนย์์วิิจััยควบคุุมศััตรููพืืชโดยชีีวิินทรีีย์์แห่่งชาติิ
ภาคตะวัันออกเฉียี งเหนืือตอนบน.
วิินิภิ า ชาลีีคาร. 2556. การพัฒั นาการผลิิตและการใช้้ประโยชน์แ์ ตนเบีียนไข่่ Trichogramma spp. วิิทยานิพิ นธ์์
ปริญิ ญาวิิทยาศาสตรมหาบัณั ฑิติ สาขากีีฏวิิทยา. บัณั ฑิติ วิิทยาลััย มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่่น. 70 หน้า้ .
Kuske, S., F. Widmer, P. J. Edwards, T. C. J. Turlings, D. Babenreier and F. Bigler. 2003. Dispersal
and persistence of mass released Trichogramma brassicae (Hymenoptera:
Trichogrammatidae) in not-target habitats. Biol. Control. 27: 181-193.
ตดิ ต่อสอบถามข้อมลู เพมิ่ เตมิ : กลมุ่ งานวจิ ยั การปราบศัตรูพชื ทางชีวภาพ กลุม่ กฏี และสตั ววทิ ยา
สำ� นกั วิจัยพัฒนาการอารกั ขาพืช  โทร. 0 2579 7580 ตอ่ 134

116 เอกสารวิชาการ

ชีวภัณฑป์ อ้ งกนั ก�ำจดั ศัตรูพื ช

แตนเบยี นอะนาไกรสั

Anagyrus lopezi

(ที่�มา: G. Goergen (IITA), 2011)

วทิ ยาศาสตร์: Anagyrus lopezi (De Santis)
ชื่�อสามััญ: แตนเบีียนอะนาไกรัสั / แตนเบีียนเพลี้�ยแป้้งมัันสำำ�ปะหลัังสีชี มพูู
วงศ:์ Encyrtidae
อันดับ: Hymenoptera
ท่มี าและความสำ� คัญ/ปญั หาศัตรูพื ช
แตนเบีียนอะนาไกรััส Anagyrus lopezi (De Santis) เป็็นแมลงศััตรููธรรมชาติิที่่�มีีประโยชน์์ช่่วยควบคุุม
เพลี้�ยแป้้งมัันสำำ�ปะหลัังสีีชมพูู Phenacoccus manihoti Matile-Ferrero มีีถิ่�นกำำ�เนิิดในแถบประเทศ
อาร์เจนตินา บราซิล โบลิเวีย และปารากวัย ในปี 2551 มันส�ำปะหลังในประเทศไทยมีปัญหาการระบาดของ
เพลี้ยแป้งมันส�ำปะหลัง ซ่ึงเป็นสาเหตุหลักท่ีท�ำให้ผลผลิตมันส�ำปะหลังลดลง หัวมันท่ีได้ไม่มีคุณภาพ หรือ
มีปริมาณแป้งลดลง นอกจากนั้นยังท�ำให้ขาดแคลนท่อนพันธุ์ส�ำหรับใช้ปลูกในฤดูต่อไป กรมวิชาการเกษตร
จึงท�ำการศึกษาถึงชนิดของเพล้ียแป้งมันส�ำปะหลังท่ีระบาด จนทราบแน่ชัดว่าเพล้ียแป้งมันส�ำปะหลังที่ก�ำลัง
ระบาดอยู่เป็นเพลี้ยแป้งมันส�ำปะหลังสีชมพู จึงได้ประสานและขอความอนุเคราะห์จากสถาบันวิจัยการเกษตร
เขตร้อนแห่งสาธารณรัฐเบนิน (International Institute for Tropical Agriculture, IITA-Benin) จัดส่ง
แตนเบียน A. lopezi เข้ามาให้ทดสอบเพ่ือศึกษาถึงความเป็นไปได้ในการก�ำจัดเพล้ียแป้งมันส�ำปะหลังสีชมพู
ในประเทศไทย เน่ืองจากต่างประเทศเคยมีการระบาดของเพล้ียแป้งมันส�ำปะหลังสีชมพูและใช้แตนเบียนชนิดนี้

เอกสารวชิ าการ 117

ชวี ภัณฑป์ อ้ งกนั กำ� จดั ศตั รพู ื ช

ในการควบคุมจนสามารถก�ำจัดเพลี้ยแป้งมันส�ำปะหลังสีชมพูได้ส�ำเร็จ โดยด�ำเนินการตามข้ันตอนของการ
น�ำเข้าสิ่งต้องห้ามในราชอาณาจักรเพื่อการทดลองหรือวิจัย แตนเบียนท้ังหมดที่น�ำเข้าเป็นแมลงที่ได้จากการ
เพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการด้านการควบคุมโดยชีววิธี (Biological Control Laboratory) ของ IITA-Benin
โดยนำ� เข้ามาเมอื่ วนั ที่ 30 กันยายน 2552 จ�ำนวน 500 ตัว เพื่อศึกษาทดสอบและใชค้ วบคมุ เพล้ยี แป้งมนั ส�ำปะหลัง
สีชมพูเท่านั้น จากการตรวจสอบแตนเบียนที่น�ำเข้าท้ังหมด พบว่าเหลือแตนเบียนท่ีมีชีวิตรวม 365 ตัว แบ่งเป็น
เพศเมีย 198 ตัว เพศผู้ 167 ตัว เม่ือตรวจสอบการปะปนของแมลงชนิดอ่ืนท่ีอาจติดเข้ามากับแตนเบียน
ที่่�นำำ�เข้้า ไม่่พบว่่ามีีแมลงชนิิดอื่�นติิดปะปนเข้้ามากัับแตนเบีียนที่่�นำำ�เข้้า จากการทดสอบความเฉพาะเจาะจงต่่อ
แมลงอาศััย พบว่่าแตนเบีียนชนิิดนี้้�ทำำ�ลายเฉพาะเพลี้�ยแป้้งมัันสำำ�ปะหลัังสีีชมพููเท่่านั้้�น นอกจากนี้้�ยัังได้้
ประเมินผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมของแตนเบียนชนิดน้ี และทดสอบประสิทธิภาพในการควบคุมเพล้ียแป้ง
มันส�ำปะหลังสชี มพู โดยการปล่อยแตนเบยี นในพนื้ ที่ทดสอบ 3 แห่ง ไดแ้ ก่
1) ศูนย์วิจยั พชื ไร่ระยอง ต�ำบลหว้ ยโป่ง อ�ำเภอเมือง จังหวดั ระยอง พ้นื ท่ีประมาณ 350 ไร่
2) สถาบันพัฒนามันส�ำปะหลังแห่งประเทศไทย ต�ำบลห้วยบง อ�ำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา
พนื้ ที่ประมาณ 4,500 ไร่ และพื้นที่ 25 หมู่บ้านโดยรอบสถาบนั ฯ ในตำ� บลห้วยบง พ้นื ที่ประมาณ 300,000 ไร่
3) ศนู ยว์ จิ ัยพืชไร่ขอนแก่น พนื้ ท่ีประมาณ 200 ไร่
ผลการทดสอบพบว่่าแตนเบีียนอะนาไกรััสลงทำำ�ลายเฉพาะเพลี้�ยแป้้งมัันสำำ�ปะหลัังสีีชมพููเท่่านั้้�น
ไม่่ลงทำำ�ลายแมลงทดสอบชนิิดอื่�นๆ สามารถดำำ�รงชีีวิิตขยายพัันธุ์�ได้้เป็็นอย่่างดีีในสภาพการเพาะปลููกมัันสำำ�ปะหลััง
ในพนื้ ทที่ ง้ั 3 แหง่ และสามารถลดการระบาดของเพลยี้ แปง้ มนั สำ� ปะหลงั สชี มพลู งได้ การนำ� แตนเบยี นอะนาไกรสั
ไปใช้้ประโยชน์์จะต้้องเพาะเลี้ �ยงและนำำ�ออกปล่่อยในพื้ �นที่่�ทัันทีีที่ �เริ่ �มพบการระบาดของเพลี้ �ยแป้้งมัันสำำ�ปะหลััง
สีีชมพูู จะให้้ผลในการควบคุุมได้้ดีีกว่่าปล่่อยในขณะที่�พบเพลี้�ยแป้้งระบาดรุุนแรงแล้้ว หากไม่่มีีเพลี้�ยแป้้ง
มัันสำำ�ปะหลัังสีีชมพููให้้เบีียน แตนเบีียนชนิิดนี้�จะตาย จึึงนัับว่่าเป็็นแตนเบีียนที่่�มีีความเฉพาะเจาะจงสููง และ
มีีความปลอดภัยั สููงมาก
กรมวิิชาการเกษตรร่่วมกัับกรมส่่งเสริิมการเกษตร สถาบัันพััฒนามัันสำำ�ปะหลัังแห่่งประเทศไทย (ห้้วยบง)
ผู้�ประกอบการโรงงานมัันสำำ�ปะหลััง และเกษตรกร ดำำ�เนิินการเพาะเลี้�ยงขยายปริิมาณแตนเบีียนอะนาไกรััส
และนำำ�ปล่่อยในพื้�นที่�การระบาดอย่่างท่่วมท้้นในช่่วงเวลาปีี 2552-2553 ร่่วมกัับการใช้้วิิธีีการควบคุุมอื่�นแบบ
ผสมผสาน ท�ำให้ประสบความส�ำเร็จในการควบคุมเพลี้ยแป้งมันส�ำปะหลังสีชมพูอย่างรวดเร็วภายในระยะเวลา
อันส้ัน และได้ถ่ายทอดวิธีการเทคโนโลยีการเพาะเล้ียงแตนเบียนอะนาไกรัสและการควบคุมแบบผสมผสาน
ให้กับประเทศเพ่ือนบ้านท่ีพบการระบาดของเพล้ียแป้งมันส�ำปะหลังสีชมพู ตามโครงการความร่วมมือทาง
วิชาการ (Technical Cooperation Programme, TCP): “Capacity Building for Spread Prevention
and Management of Cassava Pink Mealybug in the Greater Mekong Subregion” ซึ่งด�ำเนนิ งาน
ในช่วงปี 2554-2555 ต่อมาในปี 2558 ทางองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and
Agriculture Organization of the United Nations, FAO) ได้ม้ อบรางวััล E. Saouma Award 2014-2015
ให้้กัับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ (กรมวิิชาการเกษตร และกรมส่่งเสริิมการเกษตร) ในฐานะที่่�มีีบทบาทสำำ�คัญั
ในการดำำ�เนิินงานโครงการดังั กล่่าว

118 เอกสารวชิ าการ

ชีวภณั ฑป์ ้องกันก�ำจัดศัตรพู ื ช

วงจรชีวิต
แตนเบียี นอะนาไกรัสั เป็็นแตนเบีียนขนาดเล็็ก ลำำ�ตััวมีสี ีดี ำำ� ปีีกใส 2 คู่� ขนาดลำำ�ตััวยาว 1.2-1.4 มิิลลิเิ มตร
ลัักษณะสำำ�คััญที่�ใช้้ในการจำำ�แนกเพศของแตนเบีียนชนิิดนี้้�คืือ ส่่วนหนวดแตนเบีียนเพศผู้้�มีีลัักษณะยาวเรีียวสีีดำำ�
และมีีขนเล็็กที่่�ส่่วนของปล้้องหนวด สำำ�หรัับหนวดปล้้องแรกของเพศเมีียมีีลัักษณะแบนและใหญ่่กว่่าหนวดปล้้องอื่�น
และปล้้องหนวดมีีสีขี าวสลับั ดำำ� ระยะเวลาตั้้�งแต่่วางไข่่ถึึงตัวั เต็ม็ วััยประมาณ 17-20 วันั ขนาดและความสมบููรณ์์
ของเพลี้�ยแป้้งเป็็นตััวกำำ�หนดเพศของแตนเบีียน โดยแตนเบีียนเพศเมีียเมื่�อผสมพัันธุ์�แล้้ววางไข่่ในเพลี้�ยแป้้ง
ขนาดเล็็กจะเจริิญเติิบโตเป็็นแตนเบีียนเพศผู้� หากวางไข่่ในเพลี้�ยแป้้งขนาดใหญ่่และมีีความอุุดมสมบููรณ์์ส่่วนใหญ่่
จะได้้แตนเบีียนเพศเมียี

กลไกการทำ� ลายศตั รพู ื ช
แตนเบีียนอะนาไกรััส สามารถเข้้าทำำ�ลายทั้�งตััวอ่่อนและตััวเต็็มวััยของเพลี้�ยแป้้งมัันสำำ�ปะหลัังสีีชมพูู
พฤติิกรรมการเข้า้ ทำำ�ลายของแตนเบียี นอะนาไกรัสั มีี 2 วิิธีี ได้้แก่่
1) การห้�ำ แตนเบียนเพศเมียใช้อวัยวะวางไข่แทงเข้าไปในล�ำตัวเพลี้ยแป้งมันส�ำปะหลังสีชมพูเพื่อ
สร้้างบาดแผล จากนั้�นใช้้ปากเลีียกิินของเหลวจากรอยแผล เพื่�อนำำ�โปรตีีนจากของเหลวในลำำ�ตััวเพลี้�ยแป้้งไปใช้้
สร้้างไข่่ วิิธีีนี้�จะทำำ�ให้้เพลี้�ยแป้้งตายทัันทีี เมื่�อไข่่พััฒนาและพร้้อมที่�จะวางแล้้วแตนเบีียนเพศเมีียจึึงทำำ�หน้้าที่่�
เปน็ ตวั เบยี น
2) การเบีียน แตนเบีียนเพศเมีียใช้้อวััยวะวางไข่่แทงเข้้าไปในลำำ�ตััวเพลี้�ยแป้้งและวางไข่่ภายใน หนอน
แตนเบีียนดููดกิินของเหลวในลำำ�ตััวเพลี้�ยแป้้งเจริิญเติิบโตอยู่�ภายใน แตนเบีียน 1 ตััว สามารถฆ่่าและทำำ�ลาย
เพลี้�ยแป้้งได้้วัันละ 20-30 ตััว และลงเบีียนเพลี้�ยแป้้งได้้วัันละ 15-20 ตััว เพลี้�ยแป้้งที่่�ถููกเบีียนจะค่่อยๆ ตาย
และตัวเพล้ยี แป้งจะมีลักษณะเป็นซากแข็งสนี ้ำ� ตาล ซงึ่ มีดักแด้แตนเบยี นอยู่ภายใน เรียกวา่ “มัมม”ี่ เมอ่ื พฒั นา
เปน็ ตัวเต็มวยั แล้วจะเจาะผนงั มมั ม่ีออกสภู่ ายนอกและออกหาเพลยี้ แปง้ เพ่อื ห�้ำและเบยี นต่อไป

แตนเบียนอะนาไกรสั Anagyrus lopezi (De Santis)
ก�ำลงั เบียนเพลีย้ แป้งมันสำ� ปะหลังสชี มพู Phenacoccus manihoti Matile-Ferrero

เอกสารวิชาการ 119

ชีวภัณฑ์ปอ้ งกันกำ� จดั ศัตรพู ื ช

วิธีการใชช้ ีวภัณฑ์ควบคมุ ศัตรูพื ช
ขอ้ พิจารณาและวิธีปลอ่ ยแตนเบียนอะนาไกรัสเพือ่ ควบคุมเพล้ยี แปง้ มนั สำ� ปะหลงั สีชมพู
1. ปล่อยในพื้นที่ท่ีมีเพล้ียแป้งมันส�ำปะหลังสีชมพู โดยน�ำภาชนะที่บรรจุแตนเบียนไปวางใกล้ๆ
ยอดมันส�ำปะหลังท่ีมีเพล้ียแป้งมันส�ำปะหลังสีชมพู เปิดฝาภาชนะบรรจุแตนเบียนให้แตนเบียนบินเข้าหา
ยอดมันส�ำปะหลังยอดละ 4-5 ตัว แล้วย้ายไปปล่อยใส่ยอดใหม่ท่ีมีเพล้ียแป้ง ท�ำเช่นนี้จนแตนเบียนหมด
หากปล่อยปริมาณมากให้ใช้เชือกยึดภาชนะบรรจุแตนเบียนน�ำไปแขวนไว้ท่ีใต้ทรงพุ่มมันส�ำปะหลังท่ีมีเพล้ียแป้ง
แล้วเปิดฝาภาชนะบรรจุให้แตนเบยี นบนิ ออกได้
2. ปล่อยแตนเบียนให้กระจายทั่วแปลง เนื่องจากแตนเบียนอะนาไกรัสเจริญเติบโตเร็ว และขยายได้
อย่างนอ้ ย 10 เทา่ ในทุกๆ ช่วงอายุ ดังนน้ั แตนเบียนจงึ สามารถขยายพนั ธแ์ุ พรก่ ระจายตัวครอบคลมุ พนื้ ที่ไดเ้ ร็ว
และกว้างขวาง
3. อัตราการปล่อย 50-100 คู่/ไร่ หากพบเพล้ียแป้งมันส�ำปะหลังสีชมพูระบาดรุนแรงให้ปล่อยอัตรา
200 คู่�/ไร่่ หลัังจากปล่่อยประมาณ 1-2 เดืือน ควรสัังเกตปริิมาณแตนเบีียนในบริิเวณที่�ปล่่อยจะพบตััวเต็็มวััย
แตนเบีียนอะนาไกรััสปริิมาณมากบิินวนอยู่�ตามยอดมัันสำำ�ปะหลััง ให้้ใช้้เครื่�องดููดแมลงดููดจัับแตนเบีียน แล้้วนำำ�ไป
ปล่อ่ ยในบริิเวณที่่�ยัังไม่ม่ ีีการปล่อ่ ยแตนเบีียน โดยวิธิ ีนีี้�จะสามารถกระจายแตนเบีียนให้ท้ั่�วพื้�นที่�ได้เ้ ร็็วขึ้�น
4. หลีกเล่ยี งการพน่ สารเคมกี ำ� จัดแมลงในบริเวณทีป่ ล่อยแตนเบยี นและบริเวณใกล้เคียง

วธิ กี ารปล่อยแตนเบียนอะนาไกรสั Anagyrus lopezi (De Santis)

120 เอกสารวิชาการ

ชีวภัณฑ์ปอ้ งกนั ก�ำจดั ศตั รพู ื ช

การตรวจสอบคณุ ภาพ/การเกบ็ รกั ษาชีวภัณฑ์
1. โดยทั่�วไปแตนเบียี นอะนาไกรัสั มีีอายุุ 7-12 วันั ถ้้าให้น้ ้ำำ��ผึ้้�ง 50% เป็น็ อาหาร และการเก็็บในตู้�ควบคุุม
อุุณหภููมิิ 15 องศาเซลเซีียส จะมีีชีีวิติ อยู่�ได้น้ าน 21-30 วััน แต่ถ่ ้้าไม่ม่ ีีอาหารจะมีีอายุเุ พีียง 2-3 วันั
2. การปลอ่ ยแตนเบยี นท่ีออกจากมัมมใี่ หมๆ่ มีประสทิ ธิภาพมากกวา่ แตนเบยี นทเ่ี ก็บไว้นาน
3. ไม่แนะน�ำให้เก็บแตนเบียนไว้นานมากกว่า 14 วัน เน่ืองจากแตนเบียนที่มีอายุมากการเข้าท�ำลาย
เพล้ียแป้งจะลดลง

ชนดิ ของศตั รพู ื ช

วิทยาศาสตร์: Phenacoccus manihoti Matile-Ferrero
ชอ่ื สามัญ: pink cassava mealybug/ เพลี้ยแป้งมันสำ� ปะหลังสีชมพู
วงศ:์ Hemiptera
อันดับ: Pseudococcidae
เพลี้�ยแป้้งมัันสำำ�ปะหลัังสีีชมพูู เป็็นแมลงศััตรููพืืชต่่างถิ่�นระบาดเข้้ามาในประเทศไทยเมื่�อใดไม่่มีีข้้อมููล
แน่่ชััด เพลี้�ยแป้้งชนิิดนี้้�มีีถิ่�นกำำ�เนิิดดั้�งเดิิมอยู่�ในประเทศแถบทวีีปอเมริิกาใต้้ เช่่น บราซิิล ชิิลีี โบลิิเวีีย
เคยระบาดรุุนแรงตั้�งแต่่ปีี พ.ศ. 2516 สร้้างความเสีียหายต่่อการปลููกมัันสำำ�ปะหลัังซึ่�งเป็็นพืืชอาหารหลัักของ
คนในทวีีปแอฟริิกาทำำ�ให้้ชาวแอฟริิกััน 200 ล้้านคนเกืือบอดอาหารตาย สาเหตุุของการระบาดในครั้�งนั้�น
คาดว่าน่าจะเกิดจากการน�ำท่อนพันธุ์มันส�ำปะหลังที่มีเพล้ียแป้งจากประเทศต้นทางไปปลูกในประเทศไนจีเรีย
เมื่อมีพืชอาหารอุดมสมบูรณ์สภาพแวดล้อมเหมาะสม จึงท�ำให้เพล้ียแป้งเจริญเติบโตขยายพันธุ์เพ่ิมปริมาณข้ึน
อย่างรวดเร็วจนกระทั่งการระบาดกลายเป็นศัตรูพืชในประเทศไนจีเรียและประเทศใกล้เคียง ท�ำให้เกิดปัญหา
เพลี้ยแป้งมันส�ำปะหลังสีชมพูระบาดใน 25 ประเทศในแอฟริกาตะวันตก เพลี้ยแป้งมันส�ำปะหลังสีชมพูเป็น
แมลงทมี่ ีแตเ่ พศเมยี เทา่ นน้ั เมอื่ เจริญเติบโตเปน็ ตัวเตม็ วัยแล้วสามารถวางไขแ่ ละขยายพนั ธุไ์ ด้ทุกตัว

เอกสารวชิ าการ 121

ชีวภัณฑป์ อ้ งกันกำ� จัดศัตรูพื ช

วิิธีีการแก้้ปััญหาการระบาดของเพลี้�ยแป้้งมัันสำำ�ปะหลัังสีีชมพููในแอฟริิกา คืือการควบคุุมโดยชีีววิิธีี
มีกี ารนำำ�เข้า้ แตนเบีียนอะนาไกรัสั จากอเมริิกาใต้้ไปใช้้ในการควบคุุมและประสบผลสำำ�เร็็จเป็็นอย่า่ งดีี

วงจรชีวติ
เพลี้�ยแป้้งมัันสำำ�ปะหลัังสีีชมพููขยายพัันธุ์�ได้้โดยไม่่อาศััยเพศ คืือเพศเมีียไม่่ต้้องได้้รัับการผสมพัันธุ์�จากเพศผู้�
สำำ�หรัับเพลี้�ยแป้้งมัันสำำ�ปะหลัังสีีชมพููวางไข่่เป็็นฟอง ไข่่มีีสีีเหลืืองอ่่อน ลัักษณะยาวรีี มีีใยคล้้ายสำำ�ลีีห่่อหุ้�มไว้้
เมื่�อใกล้ฟ้ ักั ไข่จ่ ะมีีสีีเข้ม้ ขึ้�น ระยะไข่ป่ ระมาณ 8 วััน ตััวอ่่อนลอกคราบ 3 ครั้�ง ตัวั อ่อ่ นวัยั แรกเป็น็ วัยั ที่�เคลื่�อนที่�ได้้
และมองเห็น็ ขา 6 ขา ได้้ชััดเจน อายุุประมาณ 4 วััน ลอกคราบเป็็นวัยั 2 ประมาณ 4 วััน และระยะตััวอ่อ่ นวััย
3 ประมาณ 5 วััน และเจริิญเป็็นตััวเต็็มวััย ระยะเวลาตั้้�งแต่่ไข่่จนเป็็นตััวเต็็มวััยใช้้เวลาประมาณ 21-30 วััน
และวางไข่ไ่ ด้้ตั้�งแต่่ 300-500 ฟอง

ลกั ษณะอาการพื ชท่ถี กู ทำ� ลาย
ลักษณะอาการของต้นมันส�ำปะหลังที่ถูกเพล้ียแป้งมันส�ำปะหลังสีชมพูลงท�ำลายจะมีใบและยอดหงิก
ล�ำต้นโค้งงอ ข้อและปล้องถี่ หากลงท�ำลายต้นมันส�ำปะหลังท่ีงอกใหม่ๆ หรือต้นเล็กจะท�ำให้ตายได้ ถ้าลง
ท�ำลายต้นใหญ่จะท�ำให้ผลผลิตและคุณภาพของหัวมันส�ำปะหลังลดลง โดยท�ำให้ผลผลิตลดลงมากถึงร้อยละ
20-80 และทำ� ให้ปรมิ าณแป้งในหัวลดลงด้วย

ลักษณะอาการของยอดมันสำ� ปะหลังทถ่ี กู เพล้ียแปง้ มนั ส�ำปะหลังสีชมพู
Phenacoccus manihoti Matile-Ferrero ลงทำ� ลาย

122 เอกสารวชิ าการ

ชวี ภณั ฑป์ อ้ งกันก�ำจดั ศัตรพู ื ช

การประเมนิ ประสทิ ธภิ าพในการควบคมุ
1. ตรวจดูลักษณะหยดน�้ำเหนียวๆ ที่ใบมันส�ำปะหลังจะลดลง โดยปกติเพลี้ยแป้งมันส�ำปะหลัง
สีชมพูท่ียังมีชีวิตจะดูดกินน้�ำเล้ียงจากต้นมันส�ำปะหลังแล้วถ่ายออกมาเป็นน้�ำหวานใสๆ และเหนียว บริเวณใต้
ใบมันส�ำปะหลังที่ถูกเพลี้ยแป้งเข้าท�ำลาย เมื่อปล่อยแตนเบียนอะนาไกรัสเข้าท�ำลายเพล้ียแป้งแล้ว จะท�ำให้
เพลี้ยแป้งตาย ปริมาณน้�ำหวานท่ีเพล้ียแป้งถ่ายออกมาจะลดลง ท�ำให้ใบมันส�ำปะหลังมีหยดน�้ำหวานเหนียวๆ
บนใบลดลง
2. การตรวจสอบการปรากฏตัวของแตนเบียนอะนาไกรัสในพ้ืนท่ีที่ปล่อย โดยปกติหากพบเพล้ียแป้ง
มันส�ำปะหลังสีชมพูเป็นปริมาณมากจะพบแตนเบียนเพ่ิมปริมาณอย่างรวดเร็ว และมักพบแตนเบียนบินวน
ยอดมันส�ำปะหลังท่มี เี พล้ยี แปง้ ก�ำลังลงทำ� ลายภายหลังการปลอ่ ย 2 เดือน
3. การตรวจสอบยอดมนั ส�ำปะหลงั ทแี่ ตกใหม่ จะพบวา่ ยอดมันส�ำปะหลังท่ีแตกใหมม่ ีอาการยอดหงิกลดลง
4. การเก็็บตััวอย่่างยอดมัันสำำ�ปะหลัังที่่�ยัังมีีเพลี้�ยแป้้งมัันสำำ�ปะหลัังสีีชมพููลงทำำ�ลายจากบริิเวณที่�ปล่่อย
แตนเบีียนอะนาไกรััสแล้้วนำำ�กลัับมาเก็็บไว้้ในมุ้�งหรืือกรงเลี้�ยงแมลง รอให้้แตนเบีียนออกจากมััมมี่่�ที่่�มีีในแต่่ละยอด
ที่�เก็็บมาตรวจนัับและบัันทึึกจำำ�นวนก่่อนนำำ�ไปใช้้ประโยชน์์ต่่อไป วิิธีีนี้�นอกจากจะสามารถทราบปริิมาณแตนเบีียน
ที่�ลงทำำ�ลายเพลี้�ยแป้้งในแต่่ละยอดแล้้ว ยัังสามารถเก็็บแตนเบีียนที่�ได้้และนำำ�ไปปล่่อยในพื้�นที่่�ที่่�ยัังไม่่มีีการปล่่อย
แตนเบียี นอีกี ด้ว้ ย
อีีกวิิธีีหนึ่�งที่�สามารถกระจายพัันธุ์�แตนเบีียนได้้ โดยการเก็็บรวบรวมแตนเบีียนอะนาไกรััสจากแปลง
ปลููกมัันสำำ�ปะหลัังที่่�มีีการปล่่อยแตนเบีียนแล้้ว และแตนเบีียนสามารถดำำ�รงชีีวิิตขยายพัันธุ์�ได้้ในแปลงที่�ปล่่อย
วธิ นี ี้เรียกว่า “การสมุ ยอด” มีข้ันตอนด�ำเนินการ ดงั น้ี
1. ปลอ่ ยแตนเบียนอตั รา 200 ค/ู่ ไร่ ในพ้นื ที่ที่พบเพลีย้ แป้งมนั ส�ำปะหลงั สีชมพูลงทำ� ลายหนาแนน่
2. ปล่อยไว้ประมาณ 6-8 สปั ดาห์ แตนเบียนอะนาไกรัสจะขยายพนั ธ์ไุ ดเ้ ป็นจ�ำนวนมาก
3. เลือกเก็บยอดมันส�ำปะหลังที่มีเพลี้ยแป้งมันส�ำปะหลังสีชมพู น�ำมากองรวมกันในกรงหรือมุ้งที่ท�ำ
จากผ้าหรอื ตาข่ายเน้อื ละเอยี ด ทง้ิ ไว้ประมาณ 1-2 วัน ใชอ้ ุปกรณด์ ดู เกบ็ แตนเบยี น น�ำออกมาคัดแยก นบั จ�ำนวน
และนำ� ไปปล่อยตามคำ� แนะนำ�
4. เพื่อให้สามารถเก็บแตนเบียนได้นานขึ้น ให้ใส่ผลฟักทองในกรงท่ีน�ำยอดมันส�ำปะหลังที่มีเพล้ียแป้ง
มากองรวมกัน เพล้ียแป้งท่ียังไม่ถูกเบียนจะย้ายมาอยู่บนผลฟักทอง และถูกแตนเบียนท่ีเหลืออยู่ในกรงลงเบียน
โดยวิธีน้ีจะสามารถขยายพันธุ์เพ่ิมจ�ำนวนแตนเบียนได้ และมีแตนเบียนให้เก็บรวบรวมไปปล่อยได้ประมาณ
6 สปั ดาห์ หรือจนกว่าผลฟกั ทองจะเนา่

เอกสารวชิ าการ 123

ชีวภัณฑ์ปอ้ งกันกำ� จดั ศัตรูพื ช

การผลิตขยายชีวภัณฑ์
การเพาะเลี้�ยงแตนเบีียนอะนาไกรััสมีี 2 วิิธีกี าร ดัังนี้�

วิธกี ารที่ 1 การเพาะเลย้ี งแตนเบียนอะนาไกรสั โดยใชเ้ พลย้ี แปง้ มันสำ� ปะหลังสชี มพู
ทเ่ี ลย้ี งบนต้นมนั สำ� ปะหลงั

1. ปลูกท่อนพันธุ์มันส�ำปะหลังในกระถางขนาด 8 น้ิว ใช้ท่อนพันธุ์กระถางละ 2 ท่อน ต้นมันส�ำปะหลัง
ทใ่ี ชเ้ พาะเล้ียงเพล้ยี แป้งมันส�ำปะหลงั สีชมพูควรมอี ายุอย่างนอ้ ย 6 สัปดาห์ จึงจะแข็งแรงทนทานตอ่ การเข้าทำ� ลาย
ของเพลยี้ แปง้ และทำ� ให้ต้นมนั ส�ำปะหลงั ไมต่ าย
2. เขี่�ยกลุ่�มไข่่เพลี้�ยแป้้งมัันสำำ�ปะหลัังสีีชมพููใส่่บนยอดของใบมัันสำำ�ปะหลััง ปล่่อยให้้ไข่่ฟััก และตััวอ่่อน
เพลี้�ยแป้้งเจริิญเติบิ โตถึงึ วััย 3 ซึ่�งใช้้เวลาประมาณ 3 สััปดาห์์ (21-25 วััน) จึงึ นำำ�ไปใช้้เลี้�ยงแตนเบีียนอะนาไกรััส
3. นำำ�ต้้นมัันสำำ�ปะหลัังที่่�มีีเพลี้�ยแป้้งจากข้้อ 2 จำำ�นวน 4 กระถาง ใส่่กรงเลี้�ยงแมลงขนาด 50x50x60
เซนติิเมตร หรืือ 8 กระถาง ใส่่ในกรงเลี้�ยงแมลงขนาด 50x100x60 เซนติิเมตร แล้้วปล่่อยแตนเบีียน 20 คู่�
ในกรงเล็็ก หรืือ 40 คู่� ในกรงใหญ่่ ภายในกรงให้้น้ำำ��ผึ้้�งความเข้ม้ ข้้น 50% เป็็นอาหารของแตนเบีียนอะนาไกรัสั
โดยทาน้ำำ��ผึ้้�งบนกระดาษทิิชชููแขวนไว้้ภายในกรง แตนเบีียนจะลงเบีียนเพลี้�ยแป้้งมัันสำำ�ปะหลัังสีีชมพููที่�เลี้�ยงบน
ต้น้ มันั สำำ�ปะหลััง จากนั้�นประมาณ 2 สัปั ดาห์์ (11-15 วััน) เพลี้�ยแป้ง้ มันั สำำ�ปะหลัังสีีชมพูจู ะตายกลายเป็็นมัมั มี่�
4. คอยสังเกตเมื่อพบตัวเต็มวัยแตนเบียนอะนาไกรัสเจาะออกมาจากมัมม่ี และบินออกมาภายนอก
ใหใ้ ชเ้ คร่อื งดดู แมลง ดดู เกบ็ แตนเบียนใส่ภาชนะท่ีมรี ูระบายอากาศและใหน้ �้ำผึง้ ไวภ้ ายใน โดยนับจำ� นวนแตนเบียน
อัตราเพศผู้ต่อเพศเมีย 1:1 ที่เพาะเล้ียงได้บรรจุใส่ภาชนะ 100-200 คู่ ส�ำหรับน�ำไปปล่อย หรือน�ำไปใช้เป็น
พ่อแม่พนั ธ์ุเพาะเลีย้ งขยายพันธตุ์ ่อไป

ต้น้ มัันสำำ�ปะหลังั ที่่�มีเี พลี้�ยแป้ง้ มันั สำำ�ปะหลังั สีีชมพูู Phenacoccus manihoti Matile-Ferrero
ในกรงสำำ�หรัับเพาะเลี้�ยงแตนเบีียนอะนาไกรััส Anagyrus lopezi (De Santis)

124 เอกสารวชิ าการ

ชีวภัณฑป์ อ้ งกันก�ำจดั ศัตรพู ื ช

วธิ ีการท่ี 2 การเพาะเล้ยี งแตนเบียนอะนาไกรัสโดยใช้เพล้ยี แป้งมนั สำ� ปะหลงั สีชมพู
ทเี่ ลีย้ งบนผลฟกั ทอง

1. เก็็บยอดมัันสำำ�ปะหลัังที่่�มีีเพลี้�ยแป้้งมัันสำำ�ปะหลัังสีีชมพููลงทำำ�ลายจากไร่่มาวางเรีียงบนตะแกรง
ที่ �ตั้ �งบนชั้ �น
2. เลือกผลฟักทองที่ไม่อ่อนหรือแก่เกินไปและมีสีเขียว ผิวเรียบ ล้างท�ำความสะอาดและเช็ดให้แห้ง
นำ� เรยี งทับบนยอดมนั ส�ำปะหลังปลอ่ ยไว้ประมาณ 3-7 วัน เพล้ียแปง้ มนั ส�ำปะหลงั สชี มพจู ะขน้ึ มาอย่บู นผลฟกั ทอง
3. น�ำผลฟักทองท่ีมีเพล้ียแป้งมันส�ำปะหลังสีชมพูจากข้อ 2 ใส่ในกรงเล้ียงแมลง 10-20 ผล ปล่อย
แตนเบียนอะนาไกรัส 40-50 คู่ ภายในกรงมีน�้ำผึ้งความเข้มข้น 50% ทาบนกระดาษทิชชูแขวนไว้ภายใน
เพื่อเป็นอาหารของแตนเบียนอะนาไกรัส แตนเบียนจะลงท�ำลายเพลี้ยแป้งท่ีเลี้ยงบนผลฟักทอง ปล่อยไว้ประมาณ
2 สัปดาห์ (11-15 วัน) เพลย้ี แปง้ มนั สำ� ปะหลงั สีชมพจู ะกลายเป็นมัมมี่
4. เมื่อพบแตนเบียนอะนาไกรัสบินออกมาจากมัมม่ีให้ใช้เครื่องดูดแมลงดูดเก็บแตนเบียนใส่ในภาชนะ
ท่ีมีรูระบายอากาศและให้น้�ำผึ้งไว้ภายใน โดยนับจ�ำนวนแตนเบียนอัตราเพศผู้ต่อเพศเมีย 1:1 ที่เพาะเล้ียง
ไดบ้ รรจใุ ส่ภาชนะ 100-200 คู่ ส�ำหรับน�ำไปปลอ่ ย หรอื ใชเ้ ป็นพ่อแมพ่ ันธุเ์ พาะเลี้ยงขยายพันธุ์ต่อไป

ขอ้ ควรระวัง

1. ไม่ควรใช้เพลยี้ แปง้ ขนาดเลก็ เลยี้ งแตนเบียน เนอ่ื งจากจะทำ� ใหไ้ ดแ้ ตนเบียนเพศผู้มากกวา่ เพศเมีย
2. แตนเบียนเพศเมียที่ไม่ได้รับการผสมพันธุ์ก็สามารถเบียนหรือวางไข่ขยายพันธุ์ได้ แต่แตนเบียนที่ได้
จากแม่พันธ์ุท่ีไม่ไดร้ บั การผสมพนั ธท์ุ ้งั หมดจะเปน็ เพศผู้ ท�ำให้ขยายพันธต์ุ อ่ ไปไม่ได้
3. แตนเบียนอะนาไกรัสชอบเบียนเพลี้ยแป้งมันส�ำปะหลังสีชมพูขนาดใหญ่และไม่มีกลุ่มไข่มากกว่า
เพล้ียแปง้ มันสำ� ปะหลังสีชมพูตวั เตม็ วยั ท่ีมกี ลุ่มไข่จ�ำนวนมากอยู่ใตท้ ้อง

กข

การเพาะเลย้ี งแตนเบยี นอะนาไกรัส Anagyrus lopezi (De Santis) โดยใช้
เพลี้ยแป้งมนั ส�ำปะหลังสีชมพู Phenacoccus manihoti Matile-Ferrero ทเี่ ลี้ยงบนผลฟกั ทอง
ก) ผลฟัักทองที่่�มีเี พลี้�ยแป้้งในกรงสำำ�หรัับเพาะเลี้�ยงแตนเบียี นอะนาไกรััส
ข) ขวดเก็บแตนเบยี น

เอกสารวิชาการ 125

ชวี ภณั ฑป์ ้องกันกำ� จดั ศตั รพู ื ช

การเพาะเลี้้�ยงแตนเบีียนอะนาไกรััส
Anagyrus lopezi (De Santis)

126 เอกสารวิชาการ

ชวี ภณั ฑป์ ้องกันก�ำจดั ศตั รพู ื ช

Link / QR code / Clip ของชีวภณั ฑ์
https://www.youtube.com/watch?v=6aw0TCT0YAM
https://www.youtube.com/watch?v=Gg2VSxoCSho

บรรณานุกรม
พัชั รีีวรรณ จงจิติ เมตต์์ ณััฏฐิิณีี ศิริ ิิมาจันั ทร์์ และนงนุชุ ช่่างสี.ี 2561. การเพาะเลี้�ยงแตนเบีียนเพลี้�ยแป้ง้ มันั สำำ�ปะหลังั

สีีชมพูู. หน้้า 48-50. ใน: คู่่�มืือการผลิิตขยายชีีวภััณฑ์์อย่่างง่่าย. สำำ�นัักวิิจััยพััฒนาการอารัักขาพืืช
กรมวิชาการเกษตร.
พััชรีีวรรณ จงจิิตเมตต์์ ณััฏฐิิณีี ศิิริิมาจัันทร์์ และนงนุุช ช่่างสีี. 2561. การใช้้แตนเบีียนเพลี้�ยแป้้งมัันสำำ�ปะหลััง
สีีชมพูู (แตนเบียี นอะนาไกรััส) ควบคุุมเพลี้�ยแป้้งมันั สำำ�ปะหลังั สีีชมพูู. หน้า้ 42-43. ใน: เอกสารวิิชาการ
ชีีวภััณฑ์์กำ�ำ จัดั ศััตรูพู ืืชเพื่่อ� เกษตรที่่�ยั่ง� ยืืน. สำำ�นัักวิิจัยั พััฒนาการอารัักขาพืืช กรมวิชิ าการเกษตร.
สำำ�นัักวิิจััยและพััฒนาการเกษตรเขตที่� 5 และสำำ�นัักวิิจััยพััฒนาการอารัักขาพืืช. 2553. การจััดการเพลี้�ยแป้้ง
ในมัันสำำ�ปะหลััง. เอกสารวิิชาการ สำำ�นัักวิิจััยและพััฒนาการเกษตรเขตที่่� 5 และสำำ�นัักวิิจััยพััฒนา
การอารัักขาพืืช. กรมวิิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์. 49 หน้้า.
อัมพร วิโนทัย ประภัสสร เชยค�ำแหง รจนา ไวยเจริญ ชลิดา อุณหวุฒิ อิสระ พุทธสิมมา วัชริน แหลมคม
และเถลิิงศัักดิ์์� วีีระวุุฒิิ. 2553. การนำำ�เข้้าแตนเบีียน Anagyrus lopezi เพื่�อควบคุุมเพลี้�ยแป้้ง
มัันสำำ�ปะหลัังสีชี มพูู. รายงานผลงานวิิจััยปีี 2553 กรมวิชิ าการเกษตร.
Georg Goergen. 2011. File: Anagyrus lopezi. jpg [online]. Source=[http://www.flickr.com/
photos/ciat/4797095918/Anagy (10 August 2020).
ตดิ ตอ่ สอบถามข้อมูลเพม่ิ เตมิ : กลุ่มงานวิจัยการปราบศตั รพู ชื ทางชีวภาพ กลมุ่ กฏี และสตั ววทิ ยา
ส�ำนักวิจยั พัฒนาการอารักขาพืช  โทร. 0 2579 7580 ตอ่ 135

เอกสารวชิ าการ 127

ชีวภณั ฑป์ อ้ งกันกำ� จดั ศตั รพู ื ช

แตนเบียนอะซีโคเดส

Asecodes hispinarum

ชือ่ วทิ ยาศาสตร:์ Asecodes hispinarum Bouček
ชือ่ สามัญ: แตนเบยี นอะซีโคเดส/ แตนเบยี นหนอนแมลงดำ� หนามมะพร้าว
วงศ์: Eulophidae
อันดบั : Hymenoptera

ทมี่ าและความสำ� คัญ/ปัญหาศัตรพู ื ช
แตนเบีียนอะซีีโคเดส Asecodes hispinarum Bouček มีีถิ่�นกำำ�เนิิดอยู่�ในแถบประเทศปาปััวนิิวกิินีี
ถููกนำำ�เข้้ามาเพื่�อใช้้ควบคุุมแมลงดำำ�หนามมะพร้้าว Brontispa longissima (Gestro) ในซามััว เวีียดนาม
จีีน มััลดีีฟส์์ ลาว และนารััว โดยสามารถควบคุุมแมลงดำำ�หนามมะพร้้าวในประเทศเหล่่านี้้�ได้้เป็็นอย่่างดีี
กรมวิิชาการเกษตรจึึงนำำ�เข้้าแตนเบีียนอะซีีโคเดสจากประเทศเวีียดนาม มาใช้้ควบคุุมแมลงดำำ�หนามมะพร้้าว
ในประเทศไทย โดยความช่่วยเหลืือจากองค์์การอาหารและเกษตรแห่่งสหประชาชาติิ (FAO) และมหาวิิทยาลััย
นงลามในประเทศเวีียดนาม นำำ�เข้้ามาในลัักษณะซากหนอนตายที่่�มีีดัักแด้้แตนเบีียนอยู่�ภายใน เรีียกว่่า “มััมมี่�”
จำำ�นวน 100 มััมมี่� เมื่�อวัันที่� 25 สิงิ หาคม 2547 และทำำ�การเลี้�ยงศึึกษาในห้อ้ งปฏิิบััติิการกักั กััน เพื่�อทดสอบความ
ปลอดภััยในการนำำ�มาใช้้ พบว่่ามีีความปลอดภัยั สามารถนำำ�มาใช้้ควบคุุมแมลงดำำ�หนามมะพร้้าวในประเทศไทยได้้

128 เอกสารวิชาการ

ชวี ภัณฑ์ป้องกันก�ำจดั ศัตรพู ื ช

วงจรชวี ติ
แตนเบียนอะซีโคเดสมีขนาดเล็ก ล�ำตัวยาว 0.5-0.7 มิลลิเมตร มีปีกใส 2 คู่ เพศเมียมีขนาดใหญ่กว่า
เพศผู้เล็กน้อย ตัวเต็มวัยเพศผู้มีส่วนท้องเล็กเรียวยาว เพศเมียมีส่วนท้องใหญ่เป็นกระเปาะ ใต้ท้องมีอวัยวะวางไข่
ลักษณะเป็นเข็มยาวเรียวซ่อนอยู่ในช่องเก็บใต้ท้อง แตนเบียนชนิดน้ีเลือกลงท�ำลายเฉพาะหนอนแมลงดําหนาม
มะพร้าวเทา่ นนั้
แตนเบีียนอะซีีโคเดสสามารถจัับคู่�ผสมพัันธุ์�ได้้ทัันทีีที่�เจาะออกจากมััมมี่� ภายหลัังผสมพัันธุ์� 1-2 ชั่�วโมง
แตนเบีียนสามารถเข้้าเบีียนหนอนแมลงดํําหนามมะพร้้าวได้้ ตััวเต็็มวััยมีีอายุุ 4-7 วััน ระยะการเจริิญเติิบโต
ตั้�งแต่ร่ ะยะไข่่ถึึงตััวเต็ม็ วัยั ประมาณ 17-20 วััน ภายในมัมั มี่่�มีดี ัักแด้แ้ ตนเบีียน 23-129 ตััว เฉลี่�ย 50 ตััว/มัมั มี่�

กข

ลักษณะตวั เตม็ วยั ของแตนเบียนอะซโี คเดส Asecodes hispinarum Bouček ก) เพศผู้ ข) เพศเมยี

กลไกการทำ� ลายศตั รพู ื ช
แตนเบีียนอะซีีโคเดส ตััวเต็็มวััยเพศเมีียใช้้อวััยวะวางไข่่แทงเข้้าไปวางไข่่ในลำำ�ตััวหนอนแมลงดํําหนาม
มะพร้้าว สามารถลงทำำ�ลายหนอนแมลงดำำ�หนามมะพร้้าวได้้ทุุกระยะแต่่ชอบลงทำำ�ลายหนอนวััย 3 และ
วััย 4 หนอนของแตนเบีียนอะซีีโคเดสเมื่�อฟัักออกจากไข่่จะดููดกิินของเหลวเจริิญเติิบโตและเข้้าดัักแด้้ภายในลำำ�ตััว
หนอนแมลงดำำ�หนามมะพร้้าว หนอนแมลงดํําหนามมะพร้้าวที่่�ถููกเบีียนจะเคลื่�อนไหวช้้า กิินอาหารน้้อยลงและ
ตายในที่่�สุุด ภายหลัังจากถููกเบีียน 5-7 วััน หนอนที่�ตายจากการถููกเบีียนลำำ�ตััวจะมีีสีีน้ำำ��ตาลเข้้มขึ้�นและแข็็ง
เรียกว่า “มัมม่ี” แตนเบียนตัวเต็มวัยเม่ือออกจากดักแด้แล้วจะใช้ปากกัดผนังมัมม่ีออกมาภายนอก สามารถ
จับค่ผู สมพันธุไ์ ดท้ นั ที ภายหลงั จากผสมพนั ธุ์ 1-2 ชั่วโมง สามารถเข้าเบียนหนอนแมลงดำ� หนามมะพร้าวได้ทันที

เอกสารวิชาการ 129

ชวี ภณั ฑป์ ้องกนั กำ� จดั ศตั รูพื ช

กข

แตนเบยี นอะซีโคเดส Asecodes hispinarum Bouček
ลงทำ� ลายหนอนแมลงดำ� หนามมะพร้าว Brontispa longissima (Gestro)
ก) แตนเบีียนอะซีีโคเดสกำำ�ลังั เบีียนหนอนแมลงดำำ�หนามมะพร้้าว
ข) “มัมม”่ี ซากหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าวที่มีแตนเบยี นอะซโี คเดสอยภู่ ายใน

วธิ กี ารใช้ชีวภณั ฑ์ควบคมุ ศัตรพู ื ช
ก่อ่ นปล่่อยแตนเบีียนอะซีีโคเดสควรเก็บ็ ตัวั อย่่างแตนเบีียนไว้้ 1% ของแต่ล่ ะชุุดการผลิติ เพื่�อตรวจสอบ
คุุณภาพของแตนเบีียน โดยแตนเบีียนชุุดที่�ผลิิตได้้และนำำ�ไปปล่่อยต้้องได้้รัับการตรวจสอบคุุณภาพ แตนเบีียน
ที่�ผลิิตได้้ต้้องมีีแตนเบีียนเพศเมียี เฉลี่�ย 25 ตัวั /มัมั มี่�
อุุปกรณ์์ปล่่อยแตนเบีียนอะซีีโคเดส ได้้แก่่ หลอดพลาสติิกพร้้อมฝาปิิดขนาดเส้้นผ่่านศููนย์์กลาง
2.5 เซนติิเมตร สููง 6 เซนติิเมตร หรืือถ้้วยพลาสติิกพร้้อมฝาปิิดขนาดเส้้นผ่่านศููนย์์กลาง 4.5 เซนติิเมตร
สููง 4 เซนติิเมตร ซึ่�งทั้�งหลอดพลาสติิกและถ้้วยพลาสติิกเจาะรููในลัักษณะเดีียวกััน คืือ ด้้านข้้างหลอดเจาะรูู
3-4 รูู ด้้านบนเจาะ 1 รูู สำำ�หรัับแขวนและด้้านล่่างเจาะรููให้้น้ำำ��ระบายออกได้้ทั้�งหมด (อย่่าให้้มีีน้ำำ��ขัังในภาชนะ)
นำำ�มััมมี่�อายุุ 7-9 วันั ใส่ใ่ นหลอดพลาสติกิ มีีฝาปิดิ (ระวังั มดหรืือสัตั ว์์อื่�นทำำ�ลายมััมมี่�) นำำ�ไปแขวนให้้ใกล้ย้ อดมะพร้า้ ว
มากที่่�สุุด โดยปล่อ่ ยไร่่ละ 5-10 มัมั มี่� ปล่่อยทุกุ 7 วััน ต่อ่ เนื่�อง 1 เดืือน หากสามารถเพาะเลี้�ยงและปล่่อยได้ม้ าก
จะเห็็นผลการควบคุุมได้้เร็็วยิ่�งขึ้�น เมื่�อสามารถควบคุุมได้้แล้้วให้้ปล่่อยเพิ่�มเติิมเป็็นระยะๆ 5-6 ครั้�ง เพื่�อป้้องกััน
การกลัับมาระบาดใหม่่
การเก็็บรัักษามััมมี่่�ก่่อนนำำ�ไปปล่่อยควบคุุมแมลงดำำ�หนามมะพร้้าวในธรรมชาติินั้�น ถ้้าหากว่่ายัังไม่่ถึึง
เวลาปล่่อยสามารถชะลอการออกเป็็นตััวเต็็มวััยของแตนเบีียนได้้ โดยนำำ�มััมมี่�อายุุ 17 วัันหลัังจากเบีียน ซึ่�ง
มีีดัักแด้้แตนเบีียนอยู่�ภายใน ห่่อด้้วยกระดาษทิิชชููใส่่ถ้้วยพลาสติิกเก็็บในตู้�ควบคุุมอุุณหภููมิิที่� 10-13 องศาเซลเซีียส
หรือื ตู้�เย็น็ ช่อ่ งธรรมดา สามารถชะลอการออกเป็น็ ตัวั เต็ม็ วัยั ได้ป้ ระมาณ 2 สัปั ดาห์์ และเมื่�อออกจากตู้�ควบคุมุ อุณุ หภูมู ิิ
จะออกเป็็นตัวั เต็็มวััยแตนเบียี นภายใน 1-2 วััน

130 เอกสารวชิ าการ

ชีวภณั ฑ์ป้องกนั ก�ำจัดศตั รูพื ช

อุุปกรณ์์การปล่่อยแตนเบียี นอะซีีโคเดส Asecodes hispinarum Bouček

ขอ้ ควรระวงั

ภาชนะที่�ใส่ม่ ัมั มี่�ควรเจาะรููด้้านล่่างภาชนะ
ให้้น้ำำ��ระบายออกได้้ทั้�งหมด
อย่่าให้ม้ ีีน้ำำ��ขังั ท่ว่ มมััมมี่�

ชนดิ ของศตั รูพื ช

ช่ือวิทยาศาสตร์: Brontispa longissima (Gestro)
ชือ่ สามญั : coconut leaf beetle/ แมลงดำ� หนามมะพร้าว
วงศ์:์ Hispidae
อนั ดบั : Coleoptera

เอกสารวิชาการ 131

ชีวภัณฑ์ป้องกนั กำ� จดั ศตั รูพื ช

แมลงดำำ�หนามมะพร้า้ ว Brontispa longissima (Gestro) เป็น็ แมลงศัตั รูพู ืชื ต่่างถิ่�นรุุกราน มีีถิ่�นกำำ�เนิดิ
ในแถบประเทศอิินโดนีีเซีีย และปาปััวนิิวกิินีี แมลงดำำ�หนามมะพร้้าวได้้แพร่่กระจายเข้้าไปในภููมิิภาคเอเชีียแปซิิฟิิก
ได้้แก่่ ออสเตรเลีีย ซามััว หมู่�เกาะโซโลมอน เกาะตาฮิิติิ เกาะมััลดีีฟส์์ นารััว เกาะไหหลำำ� กวางโจว
เวีียดนาม สำำ�หรัับประเทศไทยพบครั้�งแรกที่่�จัังหวัดั นราธิิวาสในปีี 2543 แต่เ่ ดิิมเข้า้ ใจว่่าเป็็นแมลงดำำ�หนามมะพร้้าว
ชนิิด Plesispa reichei Chapuis ที่่�มีีประจำำ�ถิ่่�นและทำำ�ลายต้้นมะพร้้าวไม่่รุุนแรง ส่่วนแมลงดำำ�หนามมะพร้้าว
B. longissima ยัังไม่่เคยมีีรายงานการพบและการระบาดในประเทศไทยมาก่่อน ซึ่�งแมลงทั้�งสองชนิิดมีีขนาด
ลำำ�ตััวรููปร่่างและพฤติิกรรมคล้้ายกััน โดยแตกต่่างกัันตรงลัักษณะหนวดและส่่วนอกปล้้องแรก ต่่อมา
กรมวิิชาการเกษตรได้้รัับรายงานเมื่�อเดืือนกุุมภาพัันธ์์ 2547 พบว่่าแมลงดำำ�หนามมะพร้้าวต่่างถิ่�นนี้�ระบาดรุุนแรง
ในอำำ�เภอทัับสะแก อำำ�เภอบางสะพาน อำำ�เภอบางสะพานน้้อย และอำำ�เภอเมืือง จัังหวััดประจวบคีีรีีขัันธ์์ และ
ที่�เกาะสมุุย เกาะพะงันั จัังหวัดั สุุราษฎร์์ธานีี และสำำ�รวจพบว่า่ มีีการแพร่ร่ ะบาดต่อ่ ไปยังั แหล่ง่ อื่�นๆ

วงจรชีีวิติ
แมลงดำ� หนามมะพร้าวเพศเมียเมอื่ ผสมพนั ธุแ์ ล้วจะวางไข่เปน็ ฟองเด่ียวๆ หรือเป็นกลมุ่ กลุ่มละ 2-5 ฟอง
ระยะไข่ 4-5 วนั เฉล่ยี 4.2 วัน ระยะหนอน 18-26 วัน เฉลี่ย 21.56 วัน ตัวหนอนมกี ารลอกคราบ 4-5 ครงั้
ระยะดักั แด้้ 5-6 วันั เฉลี่�ย 5.7 วััน ตััวเต็ม็ วัยั เพศเมียี มีอี ายุุ 13-133 วััน เฉลี่�ย 54.8 วันั ตัวั เต็็มวััยเพศผู้้�มีีอายุุ
21-110 วััน เฉลี่�ย 65.2 วันั เมื่�อเลี้�ยงด้้วยใบแก่ม่ ะพร้า้ ว

ตัวั เต็็มวััย 13-133 วััน ไข่ 4-5 วนั

ดักแด้ 5-6 วนั หนอน 18-26 วัน

วงจรชวี ิตของแมลงด�ำหนามมะพร้าว Brontispa longissima (Gestro)

132 เอกสารวชิ าการ

ชวี ภณั ฑป์ อ้ งกนั ก�ำจดั ศัตรพู ื ช

ลกั ษณะอาการพื ชท่ถี กู ท�ำลาย
แมลงด�ำหนามมะพร้าวท�ำลายส่วนใบของมะพร้าว โดยทั้งตัวเต็มวัยและตัวอ่อนอาศัยอยู่ในใบอ่อน
ท่ียังไม่คล่ีของใบมะพร้าวและแทะกินผิวใบ ใบมะพร้าวที่ถูกท�ำลายเม่ือใบคล่ีกางออกจะมีสีน้�ำตาลอ่อน
หากใบมะพร้าวถกู ท�ำลายติดตอ่ กนั เป็นเวลานานจะทำ� ใหย้ อดของมะพรา้ วมีสนี �้ำตาล เมือ่ มองไกลๆ จะเห็นเปน็
สีขาวโพลน ชาวบา้ นเรยี กว่า “มะพร้าวหัวหงอก”

ตน้ มะพรา้ วถูกแมลงด�ำหนามมะพร้าว Brontispa longissima (Gestro) ลงท�ำลาย

การประเมนิ ประสทิ ธิภาพในการควบคุม
ประเมิินความเสีียหายจากต้้นมะพร้้าวที่่�ถููกแมลงดำำ�หนามมะพร้้าวทำำ�ลายแปลงละ 10% ของจำำ�นวน
ต้้นมะพร้้าวทั้�งหมดในแปลง ทำำ�การประเมิินก่่อนและหลัังปล่่อยแตนเบีียนทุุกเดืือน ทำำ�การจำำ�แนกระดัับ
การทำำ�ลายโดยนับั ทางใบมะพร้า้ วใบยอดที่่�ถูกู ทำำ�ลาย ซึ่�งการจำำ�แนกระดับั การทำำ�ลายของแมลงดำำ�หนามมะพร้้าว
ตามวิิธีกี ารใน Proceedings of the Dissemination Workshop on the CFC/DFID/APCC/FAO Project
on Coconut Integrated Pest Management Held in Columbo Sri Lanka 12-20th October 2006
กำำ�หนดโดยนับั ทางใบมะพร้า้ วใบยอดที่่�ถูกู ทำำ�ลายดังั นี้� ระดับั รุนุ แรงมีีจำำ�นวนมากกว่่า 10 ทางใบ ระดัับปานกลาง
มีีจำำ�นวน 6-10 ทางใบ ระดับั น้อ้ ยมีจี ำำ�นวนน้้อยกว่่า 6 ทางใบ และไม่่มีกี ารระบาดคือื ไม่พ่ บการทำำ�ลาย

ระดบั การทำ� ลาย แมลงดำ� หนามมะพรา้ ว (นับทางใบยอดทถี่ กู ทำ� ลาย)
รุุนแรง > 10 ทางใบ
ปานกลาง 6-10 ทางใบ
น้้อย < 6 ทางใบ

ไม่่มีีการระบาด ไม่พบทางใบท่ีถูกท�ำลาย

เอกสารวชิ าการ 133

ชีวภัณฑ์ปอ้ งกนั กำ� จดั ศตั รูพื ช

ระดบั นอ้ ย      ระดับปานกลาง      ระดบั รุนแรง

การผลิตขยายชวี ภณั ฑ์
การเพาะเลี้ยงแตนเบียนอะซีโคเดส จ�ำเป็นต้องใช้หนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าววัย 4 (อายุประมาณ
15-18 วัน หลังฟักออกจากไข)่ เป็นแมลงอาศัย จงึ ตอ้ งเพาะเลยี้ งตามข้ันตอนและวิธกี าร ดังน้ี

วธิ ีการเพาะเลยี้ งหนอนแมลงดำ� หนามมะพร้าว

การเตรียมพ่อแม่พันธุ์แมลงด�ำหนามมะพร้าว เก็บแมลงด�ำหนามมะพร้าวจากต้นมะพร้าวท่ีถูกท�ำลาย
มาคัดแยกตัวเต็มวัยและหนอน โดยแยกเลี้ยงตัวเต็มวัยแมลงด�ำหนามมะพร้าวด้วยใบอ่อนมะพร้าวที่เช็ด
ท�ำความสะอาดแล้ว ตัดให้ได้ขนาดยาว 20 เซนติเมตร จ�ำนวน 50 ใบ ใส่ในกล่องพลาสติกขนาด 17x27x9
เซนติเมตร โดยท่ีฝากล่องเจาะเป็นช่องบุด้วยผ้าใยแก้วขนาด 9x19 เซนติเมตร ส�ำหรับหนอนและดักแด้
แมลงด�ำหนามมะพรา้ วแยกเล้ยี งในกลอ่ งพลาสติกรอใหอ้ อกเปน็ ตัวเตม็ วัยแล้วจึงเล้ยี งต่อไป
การเลย้ี งขยายหนอนแมลงด�ำหนามมะพรา้ ว
1. เมื่�อตััวเต็็มวััยผสมพัันธุ์�และวางไข่่ เก็็บไข่่แมลงดำำ�หนามมะพร้้าวออกจากกล่่องเลี้�ยงตััวเต็็มวััย
ทุุก 2-3 วััน นำำ�ไข่่ประมาณ 500 ฟอง มาโรยใส่่ด้้านในใบอ่่อนมะพร้้าว ซึ่�งเช็็ดทำำ�ความสะอาดและตััดให้้ได้้ขนาด
ยาว 10 เซนติิเมตร จำำ�นวน 25-30 ชิ้�น มััดซ้อ้ นไว้ด้ ้ว้ ยยางวง วางไว้้ในกล่่องพลาสติกิ รอให้้หนอนฟักั ออกจากไข่่
เป็น็ เวลา 4-5 วันั ที่่�อุุณหภููมิิ 25-28 องศาเซลเซียี ส
2. เม่ือไข่ฟัก ท�ำการเลี้ยงหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าวในกล่องพลาสติกขนาด 10x15x6 เซนติเมตร
โดยท่ีฝากล่องเจาะเป็นช่องบุด้วยผ้าใยแก้วขนาด 4x10 เซนติเมตร เพื่อเป็นที่ระบายอากาศและป้องกัน
ไม่ให้แมลงหนีออกจากกล่อง โดยเขี่ยหนอนประมาณ 300 ตัว ใส่ในกล่องท่ีมีใบแก่มะพร้าว มัดรวมกันด้วย
ยางวง เก็บบนชน้ั เลี้ยงแมลง เปลย่ี นใบมะพรา้ วทกุ 5-7 วนั หรือเมอื่ ใบเปลยี่ นเป็นสีน�้ำตาล โดยเล้ียงทีอ่ ุณหภูมิ
25-28 องศาเซลเซียส
3. เลี้�ยงหนอนประมาณ 15-18 วััน จะได้้หนอนวััย 4 ขนาดยาวประมาณ 1 เซนติิเมตร เหมาะ
สำ� หรับน�ำไปเลยี้ งแตนเบียนอะซโี คเดสได้

134 เอกสารวชิ าการ

ชีวภณั ฑ์ปอ้ งกนั ก�ำจดั ศตั รูพื ช

กข

คง

การเพาะเลี้ยงหนอนแมลงดำ� หนามมะพรา้ ว Brontispa longissima (Gestro)
ก) ตััวเต็ม็ วััยพ่อ่ แม่่พัันธุ์�ในใบอ่่อนมะพร้้าว
ข) โรยไข่่แมลงดำำ�หนามมะพร้้าวในใบอ่่อนมะพร้้าว
ค) เรียี งใบมะพร้้าวในกล่่องพลาสติิก
ง) หนอนแมลงดำ� หนามมะพร้าววยั 4

วธิ ีการเพาะเลย้ี งแตนเบยี นอะซีโคเดส

การเตรยี มพอ่ แม่พนั ธแุ์ ตนเบียนอะซโี คเดส
1. คััดเลืือกมััมมี่่�พ่่อแม่่พัันธุ์�แตนเบีียนที่�สมบููรณ์์อายุุ 7-10 วััน นัับจากวัันเบีียน ล้้างผ่่านด้้วย
0.1% Clorox แล้วนำ� ขนึ้ ผงึ่ ให้แห้งบนกระดาษทชิ ชู วางทงิ้ ไว้ 1 คนื น�ำใสใ่ นถว้ ยพลาสตกิ ขนาดเสน้ ผ่านศนู ย์กลาง
4.5 เซนติเมตร สูง 4 เซนตเิ มตร
2. ตั้งท้ิงไว้อีก 10-11 วัน (อายุ 17-21 วัน นับจากวันเบียน) ท่ีอุณหภูมิ 25-28 องศาเซลเซียส
จากน้ันน�ำใส่กล่องพลาสติกเล้ยี งแมลงขนาด 10x15x6 เซนติเมตร ทฝี่ าเจาะเป็นช่องบุดว้ ยผา้ ใยแก้วขนาดกวา้ ง
4x10 เซนติเมตร เมื่อพบแตนเบียนออกจากมัมมี่ ให้ปล่อยทิ้งไว้ 2-3 ชั่วโมง เพื่อให้แตนเบียนได้ผสมพันธุ์กัน
จากน้นั น�ำไปใช้เบียนหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าวรุน่ ใหม่
การเลี้ยงขยายแตนเบยี นอะซีโคเดส
1. คัดั เลือื กหนอนแมลงดำำ�หนามมะพร้้าววััย 4 จำำ�นวน 200 ตัวั ใส่่กล่อ่ งที่่�มีีใบมะพร้้าวเช็ด็ ทำำ�ความสะอาด
และตััดให้้ได้้ขนาดยาว 10 เซนติิเมตร จำำ�นวน 2-3 ชิ้�น ด้้านข้้างกล่่องติิดกระดาษชุุบน้ำำ��ผึ้้�งความเข้้มข้้น 10%
เพื่�อเป็็นอาหารแตนเบีียน แล้ว้ ปล่่อยพ่อ่ แม่่พัันธุ์�แตนเบียี นประมาณ 500 ตััว (ใช้้มััมมี่่�พ่่อแม่พ่ ันั ธุ์� 20 มัมั มี่� (1 มััมมี่�
มีแี ตนเบีียนอะซีโี คเดส ประมาณ 25 ตััว)) ลงในกล่่อง

เอกสารวชิ าการ 135

ชีวภัณฑป์ ้องกนั กำ� จัดศตั รูพื ช

2. แตนเบียนจะลงท�ำลายหนอนทันทีท่ีปล่อยลงในกล่อง น�ำกล่องวางบนช้ันเล้ียงแมลง 3-4 วัน
ท่ีอณุ หภมู ิ 25-28 องศาเซลเซยี ส
3. ย้ายหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าวท่ีถูกลงท�ำลายแล้ว 4-5 กล่อง มาเลี้ยงรวมกันในกล่องใหม่
ใส่่ใบมะพร้้าวที่�เรีียงซ้้อนและมััดรวมกัันไว้้ เพื่�อเป็็นอาหารของหนอนที่่�ถููกลงทำำ�ลายแต่่ยัังไม่่ตาย หนอนที่่�ถููก
ลงทำำ�ลายจะเริ่�มตายและกลายเป็็นมัมั มี่� 7-10 วันั
4. คัดแยกหนอนทกี่ ลายเป็นมัมม่อี อกจากกลอ่ งทกุ วัน จดบันทึกวันทีเ่ ก็บมมั ม่ี
5. แบ่งมัมม่ีเป็น 2 ส่วน ส่วนท่ี 1 ประมาณ 10% น�ำไปใช้เป็นพ่อแม่พันธุ์ โดยแยกเก็บมัมม่ีใน
หลอดพลาสติกมีฝาปิดสนิท ส่วนที่เหลือ 90% น�ำไปปล่อยเพ่ือควบคุมแมลงด�ำหนามมะพร้าวในสวนมะพร้าว
ซึ่งแตนเบียนจะออกเป็นตัวเต็มวัยหลงั จากเกบ็ มมั ม่ีพกั ไวแ้ ลว้ ประมาณ 10-11 วัน

ก ข

การเพาะเล้ียงแตนเบยี นอะซีโคเดส Asecodes hispinarum Bouček
ก) หนอนแมลงดำ� หนามมะพรา้ ววัย 4
ข) กลอ่ งเลีย้ งขยายแตนเบียนอะซโี คเดส

136 เอกสารวชิ าการ

ชวี ภัณฑ์ปอ้ งกนั ก�ำจดั ศตั รพู ื ช

การผลิตขยายแมลงดำ� หนามมะพรา้ ว
Brontispa longissima (Gestro)

เอกสารวชิ าการ 137

ชวี ภัณฑป์ ้องกนั กำ� จัดศตั รพู ื ช

การผลิติ ขยายแตนเบียี นอะซีีโคเดส
Asecodes hispinarum Bouček

138 เอกสารวิชาการ

ชีวภณั ฑป์ อ้ งกนั ก�ำจัดศัตรพู ื ช

Link / QR code / Clip ของชีวภณั ฑ์
https://www.youtube.com/watch?v=stCz1cHbonc
https://www.youtube.com/watch?v=if30vq8yluU
https://www.youtube.com/watch?v=wqnJ35SjH2U

บรรณานกุ รม
จรััสศรีี วงศ์์กำำ�แหง. 2551. การระบาดและการดำำ�เนิินงานโครงการป้้องกัันกำำ�จััดแมลงดำำ�หนามมะพร้้าว

ในภาคใต้้ตอนล่่าง. หน้้า 33-65. ใน: รายงานการสััมมนาเชิิงปฏิิบััติิการเรื่�องการป้้องกัันและกำำ�จััด
แมลงดำำ�หนามศัตั รูมู ะพร้า้ วและมาตรการการเฝ้า้ ระวััง. 28-29 มกราคม 2551 ณ โรงแรมชลจันั ทร์์
พัทั ยา รีสี อร์์ท จัังหวััดชลบุุรีี.
เฉลิม สินธุเสก อัมพร วิโนทัย รุจ มรกต ประภัสสร เชยค�ำแหง ยุพิน กสินเกษมพงษ์ สุภาพร ชุมพงษ์
จรััสศรีี วงศ์์กำำ�แหง และยิ่�งนิิยม ริิยาพัันธ์์. 2549. การควบคุุมแมลงดำำ�หนามมะพร้้าว Brontispa
longissima (Coleoptera: Chrysomelidae) แบบชีีววิิธีี. รายงานผลวิิจััย เงิินรายได้้จาก
การดำำ�เนินิ งานวิิจััยด้า้ นการเกษตร กรมวิิชาการเกษตร. 65 หน้้า.
พัชั รีวี รรณ จงจิิตเมตต์์. 2561. การเพาะเลี้�ยงแตนเบียี นหนอนแมลงดำำ�หนามมะพร้้าว (แตนเบีียนหนอนอะซีโี คเดส).
หน้้า 29-32. ใน: คู่�มือการผลิติ ขยายชีีวภัณั ฑ์อ์ ย่่างง่่าย. สำำ�นัักวิจิ ัยั พััฒนาการอารัักขาพืชื กรมวิชิ าการเกษตร.
สำำ�นัักวิิจัยั พัฒั นาการอารัักขาพืชื . 2560. การจััดการศััตรููมะพร้า้ ว. เอกสารวิชิ าการ สำำ�นักั วิิจัยั พัฒั นาการอารักั ขาพืืช
กรมวิิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.์ กรุงุ เทพฯ. 96 หน้้า.
อััมพร วิโิ นทััย ประภััสสร เชยคำำ�แหง รจนา ไวยเจริญิ รุจุ มรกต และเฉลิมิ สิินธุเุ สก. 2551. วิิจััยพััฒนาการผลิติ
ขยายและการจ้้างเอกชนผลิิตแตนเบีียน Asecodes hispinarum เพื่�อควบคุุมแมลงดำำ�หนามมะพร้้าว
Brontispa longissima โดยชีีววิิธีี. หน้้า 7-19. ใน: รายงานการสััมมนาเชิิงปฏิิบััติิการเรื่�อง
การป้้องกัันและกำ�ำ จััดแมลงดำ�ำ หนามศััตรููมะพร้้าวและมาตรการเฝ้้าระวััง. 28-29 มกราคม 2551
ณ โรงแรมชลจัันทร์์ พััทยา รีสี อร์ท์ จังั หวััดชลบุุรี.ี

ตดิ ตอ่ สอบถามข้อมูลเพม่ิ เติม: กล่มุ งานวจิ ัยการปราบศัตรพู ชื ทางชีวภาพ กลมุ่ กฏี และสัตววทิ ยา
ส�ำนกั วิจยั พฒั นาการอารกั ขาพชื   โทร. 0 2579 7580 ต่อ 135

เอกสารวิชาการ 139

ชีวภณั ฑ์ป้องกนั กำ� จัดศัตรูพื ช

แตนเบียนเตตระสตคิ สั

Tetrastichus brontispae

ชื่�อวิทิ ยาศาสตร์:์ Tetrastichus brontispae Ferrière
ช่อื สามญั : แตนเบยี นเตตระสติคัส/ แตนเบยี นดกั แด้แมลงด�ำหนามมะพร้าว
วงศ์: Eulophidae
อนั ดับ: Hymenoptera

ทมี่ าและความสำ� คญั /ปัญหาศตั รูพื ช
แตนเบีียนเตตระสติิคััส Tetrastichus brontispae Ferrière เป็็นแมลงศััตรููธรรมชาติิที่่�มีีประโยชน์์
ช่ว่ ยทำำ�ลายดักั แด้ข้ องแมลงดำำ�หนามมะพร้า้ ว Brontispa longissima (Gestro) ซึ่�งเป็็นแมลงศัตั รููมะพร้้าวที่่�สำำ�คัญั
แตนเบีียนชนิิดนี้้�มีีถิ่�นกำำ�เนิิดในชวา ต่่อมามีีการนำำ�เข้้าไปใช้้ในการควบคุุมแมลงดำำ�หนามมะพร้้าวโดยชีีววิิธีี
ในเอเชีียตะวัันออกเฉีียงใต้้ และแปซิิฟิิกใต้้ แตนเบีียนชนิิดนี้้�จััดเป็็นแตนเบีียนประจำำ�ถิ่่�นทางภาคใต้้ตอนล่่าง
ของประเทศไทย อาจมีีอยู่�แล้้วในธรรมชาติิหรืือเข้้ามาพร้้อมกัับแมลงดำำ�หนามมะพร้้าว มีีบทบาทที่่�สำำ�คััญมาก
ในการควบคุุมและลดการระบาดของแมลงดำำ�หนามมะพร้้าวในพื้ �นที่่�จัังหวััดภาคใต้้ตอนล่่างได้้เป็็นอย่่างดีี
สามารถสำำ�รวจพบแตนเบีียนชนิดิ นี้�ได้ท้ั่�วไปในสวนมะพร้้าวที่่�มีแี มลงดำำ�หนามมะพร้า้ วเข้้าทำำ�ลาย

วงจรชีวติ
ตััวเต็็มวััยของแตนเบีียนเตตระสติิคััส เป็็นแตนเบีียนสีีดำำ�ขนาดเล็็ก ตััวเต็็มวััยเพศผู้้�มีีขนาดลำำ�ตััวยาว
เฉลี่�ย 1.1 มิิลลิิเมตร ส่่วนเพศเมีียมีีขนาดลำำ�ตััวยาวเฉลี่�ย 1.4 มิิลลิิเมตร ตััวเต็็มวััยมีีอายุุประมาณ 4-7 วััน
ไข่่มีีสีีขาวเปลืือกใส ภายในเป็็นสีีขาวขุ่�น ลัักษณะคล้้ายทรงกระบอกแต่่ความกว้้างไม่่เท่่ากััน ขนาดยาว
0.2 มิิลลิิเมตร สำำ�หรัับระยะหนอนมีีลัักษณะคล้้ายทรงกระบอก ส่่วนปลายท้้องค่่อนข้้างแหลมกว่่าส่่วนหััว

140 เอกสารวิชาการ

ชวี ภณั ฑป์ ้องกนั ก�ำจดั ศัตรพู ื ช

หนอนมีีสีีขาวใส ภายในลำำ�ตััวเห็็นเป็็นสีีเหลืืองอ่่อน และมีีสีีเหลืืองเข้้มขึ้�นเมื่�อมีีอายุุมากขึ้�น มีีขนาดลำำ�ตััวยาว
0.2-1.9 มิิลลิิเมตร โดยหนอนอายุุ 5-6 วันั มีขี นาดตััวยาวมากที่่�สุุด และหดตัวั สั้�นลงเมื่�อจะเข้้าดัักแด้้ ซึ่�งดัักแด้้
มีีลัักษณะลำำ�ตััวสีีขาวในระยะเริ่�มแรก และพััฒนาเป็็นสีีดำำ�ในที่่�สุุด วงจรชีีวิิตแตนเบีียนเตตระสติิคััสอาศััยอยู่�
ในมัมั มี่� (ดักั แด้้แมลงดำำ�หนามมะพร้้าวที่่�ถููกเบียี น) ประมาณ 20-21 วััน แล้้วออกเป็น็ ตััวเต็ม็ วััยจากนั้�นเริ่�มผสมพันั ธุ์�
และวางไข่ท่ ันั ทีี โดยแตนเบีียนตัวั เต็็มวััยมีอี ายุุ 4-5 วันั

พัฒั นาการการเจริญิ เติบิ โตของแตนเบียี นเตตระสติิคััส Tetrastichus brontispae Ferrière

เอกสารวชิ าการ 141

ชีวภัณฑ์ปอ้ งกนั กำ� จัดศัตรูพื ช

กลไกการท�ำลายศตั รพู ื ช
แตนเบีียนเตตระสติิคััสเพศเมีียที่�ผสมพัันธุ์�แล้้วจะใช้้อวััยวะวางไข่่แทงเข้้าไปในลำำ�ตััวของดัักแด้้
แมลงดำำ�หนามมะพร้้าวแล้้ววางไข่่ ซึ่�งแตนเบีียนสามารถเบีียนหนอนวััย 4 ระยะก่่อนเข้้าดัักแด้้และระยะ
ดัักแด้้ของแมลงดำำ�หนามมะพร้้าวได้้ แต่่แตนเบีียนชอบเบีียนระยะดัักแด้้มากที่่�สุุด เมื่�อฟัักออกจากไข่่จะดููดกิิน
ของเหลวเจริิญเติิบโตและเข้้าดัักแด้้ภายในลำำ�ตััวแมลงดำำ�หนามมะพร้้าว ภายหลัังจากถููกเบีียนประมาณ 8 วััน
ดัักแด้้จะมีีลัักษณะลำำ�ตััวแข็็ง กลายเป็็นสีีน้ำำ��ตาลและมีีสีีเข้้มมากขึ้�นจนถึึงสีีดำำ� เรีียกว่่า “มััมมี่�” ซึ่�งแตนเบีียน
ตััวเต็็มวััยที่�อยู่�ภายในมััมมี่�จะใช้้ปากกััดผนัังมััมมี่�ออกมาภายนอก แตนเบีียนสามารถจัับคู่�ผสมพัันธุ์�ได้้ทัันทีี
หลัังออกจากมััมมี่�และจะเข้้าเบีียนแมลงดำำ�หนามมะพร้้าว แตนเบีียนมีีพฤติิกรรมเข้้าเบีียนดัักแด้้อายุุ 1-6 วััน
ถึงึ แม้้ว่า่ ดักั แด้้อายุุ 6 วััน จะออกเป็็นตััวเต็ม็ วัยั ในวันั เดียี วกัันนั้�น แต่ส่ ำำ�หรัับหนอนวััย 4 ที่่�มีอี ายุุน้อ้ ย เมื่�อถููกเบียี น
หนอนจะตายก่่อนที่�จะเข้้าดัักแด้้และกลายเป็็นมััมมี่� เมื่�อผ่่าหนอนดููจะพบหนอนของแตนเบีียนอยู่�ภายใน
แสดงให้้เห็น็ ว่่าในสภาพธรรมชาติิแตนเบียี นเตตระสติคิ ัสั สามารถทำำ�ลายหนอนวัยั 4 ได้้ ถึึงแม้ว้ ่า่ จะไม่่ได้ผ้ ลผลิติ
แตนเบียี นหรือื ได้ผ้ ลผลิติ แตนเบีียนน้อ้ ย แต่ถ่ ้า้ เป็น็ หนอนที่�ใกล้้จะเข้า้ ดัักแด้จ้ ะสามารถเจริญิ เติิบโตและกลายเป็็น
มัมั มี่�ได้้

ตัวั เต็ม็ วัยั ของแตนเบียี นเตตระสติิคััส Tetrastichus brontispae Ferrière เพศผู้้� (บน) และเพศเมียี (ล่่าง)

วิธีการใช้ชวี ภณั ฑ์ควบคุมศตั รูพื ช
ก่่อนปล่่อยแตนเบีียนเตตระสติิคััสควรเก็็บตััวอย่่างแตนเบีียนไว้้ 1% ของแต่่ละชุุดการผลิิตเพื่�อ
ตรวจสอบคุุณภาพของแตนเบีียน โดยแตนเบีียนชุุดที่�ผลิิตได้้และนำำ�ไปปล่่อยต้้องได้้รัับการตรวจสอบคุุณภาพ
แตนเบีียนที่�ผลิติ ได้้ต้อ้ งมีแี ตนเบียี นเพศเมีียเฉลี่�ย 11 ตัวั /มัมั มี่�
อุุปกรณ์์ปล่่อยแตนเบีียนเตตระสติิคััส ได้้แก่่ หลอดพลาสติิกพร้้อมฝาปิิดขนาดเส้้นผ่่านศููนย์์กลาง
2.5 เซนติิเมตร สููง 6 เซนติิเมตร หรืือถ้้วยพลาสติิกพร้้อมฝาปิิดขนาดเส้้นผ่่านศููนย์์กลาง 4.5 เซนติิเมตร สููง
4 เซนติิเมตร ซึ่�งทั้�งหลอดพลาสติิกและถ้้วยพลาสติิกเจาะรููในลัักษณะเดีียวกััน คืือ ด้้านข้้างหลอดเจาะรูู 3-4 รูู

142 เอกสารวิชาการ

ชวี ภัณฑป์ ้องกันก�ำจัดศตั รพู ื ช

ด้้านบนเจาะ 1 รูู สำำ�หรัับแขวน และด้้านล่่างเจาะรููให้้น้ำำ��ระบายออกได้้ทั้�งหมด (อย่่าให้้มีีน้ำำ��ขัังในภาชนะ)
นำำ�มััมมี่�อายุุ 7-9 วััน ใส่่ในหลอดพลาสติิกมีีฝาปิิด (ระวัังมดหรืือสััตว์์อื่�นทำำ�ลายมััมมี่�) นำำ�ไปแขวนให้้ใกล้้
ยอดมะพร้้าวมากที่่�สุุด โดยปล่่อยอััตรา 5-10 มััมมี่�/ไร่่ ทุุก 7 วััน ต่่อเนื่�อง 1 เดืือน หากสามารถเพาะเลี้�ยง
และปล่่อยได้้มากจะเห็็นผลการควบคุุมได้้เร็็วยิ่�งขึ้�น เมื่�อสามารถควบคุุมได้้แล้้ว ให้้ปล่่อยเพิ่�มเติิมเป็็นระยะๆ
5-6 ครั้�ง เพื่�อป้อ้ งกันั การกลับั มาระบาดใหม่่
การเก็็บรัักษามััมมี่่�ก่่อนนำำ�ไปปล่่อยควบคุุมแมลงดำำ�หนามมะพร้้าวในธรรมชาติินั้�น ถ้้าหากว่่ายัังไม่่ถึึง
เวลาปล่่อย สามารถชะลอการออกเป็็นตััวเต็็มวััยของแตนเบีียนได้้ โดยนำำ�มััมมี่�อายุุ 17 วััน หลัังจากเบีียน
ซึ่�งมีีดัักแด้้แตนเบีียนอยู่�ภายในห่่อด้้วยกระดาษทิิชชููใส่่ถ้้วยพลาสติิกเก็็บในตู้�ควบคุุมอุุณหภููมิิที่� 10-13 องศา
เซลเซีียส หรืือตู้�เย็็นช่่องธรรมดาสามารถชะลอการออกเป็็นตััวเต็็มวััยได้้ประมาณ 2 สััปดาห์์ และเมื่�อออกจาก
ตู้�ควบคุุมอุุณหภููมิิจะออกเป็็นตััวเต็็มวััยแตนเบีียนภายใน 1-2 วััน แตนเบีียนเมื่�อออกจากมััมมี่�จะผสมพัันธุ์�และ
เข้า้ ทำำ�ลายดัักแด้้แมลงดำำ�หนามมะพร้า้ วต่่อไป

กข ค

แตนเบีียนเตตระสติิคัสั Tetrastichus brontispae Ferrière
เข้าท�ำลายแมลงดำ� หนามมะพร้าว Brontispa longissima (Gestro)
ก) แตนเบียนเตตระสตคิ ัสก�ำลังเบยี นแมลงดำ� หนามมะพร้าวระยะ prepupa
ข) แตนเบยี นเตตระสตคิ ัสกำ� ลงั เบียนแมลงด�ำหนามมะพรา้ วระยะดักแด้
ค) “มมั มี่” ดักแดแ้ มลงดำ� หนามมะพร้าวที่ถกู แตนเบยี นเตตระสตคิ ัสทำ� ลาย

ชนิดของศตั รูพื ช
ข้อมูลวงจรชีวิต ลักษณะอาการของพืชท่ีถูกท�ำลายของแมลงด�ำหนามมะพร้าว เช่นเดียวกันกับในเรื่อง
แตนเบยี นอะซีโคเดส

การประเมนิ ประสิทธภิ าพในการควบคมุ
วิธีการประเมินประสิทธิภาพในการควบคุมแมลงด�ำหนามมะพร้าว เช่นเดียวกันกับในเรื่องแตนเบียน
อะซีโคเดส

เอกสารวชิ าการ 143

ชีวภัณฑ์ป้องกนั กำ� จัดศัตรูพื ช

การผลติ ขยายชวี ภณั ฑ์
ในการเพาะเลี้�ยงแตนเบีียนเตตระสติิคััส จำำ�เป็็นต้้องใช้้ดัักแด้้แมลงดำำ�หนามมะพร้้าวอายุุ 1-2 วััน เป็็น
แมลงอาศััย ซึ่�งการเพาะเลี้�ยงดัักแด้้แมลงดำำ�หนามมะพร้้าวสามารถทำำ�ตามขั้�นตอนและวิิธีีการเพาะเลี้�ยงหนอน
แมลงดำำ�หนามมะพร้้าวเพื่�อการเพาะเลี้�ยงแตนเบีียนอะซีีโคเดส โดยเลี้�ยงแมลงดำำ�หนามมะพร้้าวหลัังจากฟัักออก
จากไข่ใ่ ห้ไ้ ด้อ้ ายุปุ ระมาณ 19-21 วันั จะได้ด้ ัักแด้แ้ มลงดำำ�หนามมะพร้า้ วที่�เหมาะสมสำำ�หรับั นำำ�ไปเลี้�ยงแตนเบียี น
เตตระสติิคัสั

การเพาะเลีย้ งแตนเบียนเตตระสติคัส

1. เตรียี มมััมมี่่�พ่่อแม่่พันั ธุ์�แตนเบีียนเตตระสติคิ ััสใส่ก่ ล่อ่ งพลาสติิกจำำ�นวน 20 มัมั มี่� ปล่อ่ ยให้้แตนเบีียน
ออกเป็น็ ตัวั เต็็มวัยั ทิ้�งไว้้ให้ผ้ สมพันั ธุ์� 2-3 ชั่�วโมง
2. เตรียมกล่องพลาสติกขนาด 10x15x6 เซนติเมตร ท่ีมีฝาปิดสนิท บนฝาตัดเป็นช่องส่ีเหลี่ยมขนาด
ประมาณ 4x10 เซนติเมตร บุด้วยผ้าใยแก้วเพื่อให้อากาศภายในกล่องถ่ายเทได้ ให้น้�ำผึ้งความเข้มข้น 10%
เป็็นอาหารสำำ�หรัับแตนเบีียนตััวเต็็มวััย โดยใช้้พู่่�กัันชุุบน้ำำ��ผึ้้�งทาบนกระดาษทิิชชููชนิิดหนาที่่�ตััดเป็็นสี่�เหลี่�ยมขนาด
2x6 เซนติิเมตร กดให้้กระดาษทิชิ ชููติดิ กับั ด้้านข้้างกล่อ่ ง
3. เลืือกดัักแด้้แมลงดำำ�หนามมะพร้้าวประมาณ 200 ตััว ใส่่ลงในกล่่องเบีียน ใส่่ใบแก่่มะพร้้าวตััดให้้มีี
ขนาดยาวประมาณ 10 เซนติเิ มตร จำำ�นวน 2-3 ชิ้�น แล้้วปล่อ่ ยพ่อ่ แม่พ่ ันั ธุ์�แตนเบีียนจำำ�นวนประมาณ 200 ตัวั
(ใช้มมั มีพ่ อ่ แมพ่ ันธ์ุ 20 มัมม่ี (1 มัมม่ี มีแตนเบียนเตตระสติคัส ประมาณ 11 ตัว)) ลงในกลอ่ ง แล้วปิดฝา
4. ปล่อยท้งิ ไว้ประมาณ 10 วัน เพอ่ื ใหแ้ ตนเบียนเตตระสตคิ สั เบยี นดักแดแ้ มลงดำ� หนามมะพร้าว
5. ดักแด้ที่ถูกเบียนจะทยอยตายและกลายเป็นมัมมี่ หลังจากเบียนแล้ว 10 วัน คัดแยกดักแด้ท่ีตายและ
แห้งแข็งเป็นมัมมี่สีด�ำหรือสีน�้ำตาลออกจากแต่ละกล่อง และน�ำไปเก็บรวบรวมไว้ในกล่องพลาสติกมีฝาปิดสนิท
ระบายอากาศด้านบน และรองพ้นื กล่องดว้ ยกระดาษทิชชู หากพบดักแดท้ ่ีตายจากเชอ้ื ราหรือเนา่ ตาย ให้รบี เก็บ
แยกออกจากกล่องทันทเี พ่อื ป้องกนั ไม่ใหด้ กั แดท้ ี่เหลอื ตดิ โรคตาย
6. นำำ�มััมมี่�อายุุประมาณ 17 วััน ใส่่ลงในถ้้วยพลาสติิกขนาดเส้้นผ่่านศููนย์์กลาง 4.5 เซนติิเมตร
สููง 4 เซนติิเมตร ที่่�มีีฝาปิิดพร้้อมที่�จะนำำ�ไปปล่่อยควบคุุมแมลงดำำ�หนามมะพร้้าว หรืือทิ้�งไว้้แตนเบีียนก็็จะ
เริ่�มเจาะออกจากมััมมี่�หลัังจากถููกเบีียนประมาณ 18-21 วััน แตนเบีียนเพศผู้�จะเจาะออกจากมััมมี่่�ก่่อนแตนเบีียน
เพศเมีียและจะเข้้าผสมพัันธุ์์�ทัันทีีที่�เพศเมีียเจาะออกจากมััมมี่� นำำ�แตนเบีียนที่�เจาะออกจากมััมมี่�ไปเป็็น
พ่อ่ แม่่พัันธุ์์�ต่อ่ ไป

กข

ก) ดักแดแ้ มลงดำ� หนามมะพร้าวทเี่ หมาะสมสำ� หรบั ใชเ้ ลยี้ งแตนเบยี นเตตระสตคิ ัส
ข) กลอ่ งพ่อแมพ่ ันธุ์แตนเบยี นเตตระสติคสั

144 เอกสารวชิ าการ

ชวี ภณั ฑป์ ้องกันก�ำจดั ศตั รพู ื ช


Click to View FlipBook Version