The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เล่ม 1) ป.3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ruthairong Srikeaw, 2021-11-26 10:02:51

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เล่ม 1) ป.3

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เล่ม 1) ป.3

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู

วิชา วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รหสั วิชา ว13101 (เลม 1)
ตามมาตรฐานการเรียนรแู ละตัวช้วี ดั

กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551
ระดับชนั้ ประถมศึกษาปที่ 3

นางสาวฤทยั รงค ศรีแกว
ตาํ แหนง ครผู ชู ว ย

โรงเรียนบา นบาตัน (ฟลอยดรอสอนสุ รณ)
สํานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต 1

สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู

วิชา วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี รหัสวิชา ว13101 (เลม 1)
ตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

กลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560)
หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปที่ 3

นางสาวฤทยั รงค ศรแี กว
ตําแหนง ครผู ูชว ย

โรงเรยี นบานบาตัน (ฟลอยดร อสอนุสรณ)
สาํ นกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต 1

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

คาํ นาํ

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู วิชา วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี เลม 1 ของระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ 3 น้ี
ประกอบดว ย 3 หนว ย การเรียนรู ไดแก ชวี ิตสัตว การเปลีย่ นแปลงของวตั ถแุ ละวัสดุ และแรง ซึ่งแตละหนว ยการ
เรียนรูจะมงุ เนนใหผูเรยี นไดเรยี นรวู ิทยาการคําานวณผานการทาํ กิจกรรมดวยการลงมือปฏิบัติ เพ่อื ใหผเู รยี นไดใ ช
ทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี นําความรทู ี่ไดไปใชใ นการดาํ ารงชวี ิตและรูเทา ทันการเปลยี่ นแปลงของโลกได

ผูจัดทําหวงั เปนอยางยิง่ วาชดุ กิจกรรมการเรียนรูวิชาวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี เลม 1 ของ
ระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 นี้ จะเปนประโยชนตอครผู ูสอนในการนาํ ไปใชจดั การเรยี นรูใหกบั นกั เรยี น
เพอื่ เพมิ่ ประสทิ ธิภาพการจดั การเรยี นรูของครแู ละการเรยี นรขู องนกั เรยี นใหส งู ขนึ้ ตอ ไป

ขอบคุณผูทรงคุณวฒุ ิ ผบู รหิ ารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก ครู อาจารย และทกุ ทา นท่ีมีสวนเกีย่ วขอ งกบั
การจัดทาํ เอกสารมา ณ โอกาสน้ี

ฤทัยรงค ศรีแกว
ผูจัดทํา

สารบัญ

หนา้

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ ชวี ิตสัตว์ ๑
หนว่ ยย่อยที่ ๑ ปจั จยั ทจ่ี ำ� เปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและการดำ� รงชวี ติ ของสตั วแ์ ละมนษุ ย ์ ๒
เร่ือง ปจั จยั ทจ่ี �ำเป็นตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและการด�ำรงชีวติ ของสตั ว์ ๒
เรื่อง ปัจจัยทจ่ี �ำเป็นต่อการเจริญเตบิ โตและการด�ำรงชวี ิตของมนษุ ย์ ๑๔
หนว่ ยย่อยท่ี ๒ วฏั จกั รชวี ติ ของสตั ว์ ๓๑
เรอ่ื ง วฏั จกั รชวี ติ ของสตั ว ์
หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๒ การเปล่ยี นแปลงของวตั ถุและวัสดุ ๓๑
๕๑
หน่วยย่อยที่ ๑ สว่ นประกอบของวสั ด ุ ๕๒
เรอ่ื ง วัตถุช้ินใหมจ่ ากวตั ถชุ ิ้นเดิม
๕๒
๖๔
หนว่ ยยอ่ ยที่ ๒ การเปลยี่ นแปลงของวสั ด ุ ๖๔
เรื่อง ความรอ้ นกบั การเปลยี่ นแปลงของวสั ดุ
เรือ่ ง การใช้ประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงของวสั ดุเม่อื รอ้ นข้นึ หรอื เย็นลง ๗๑
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๓ แรง ๘๑
หนว่ ยยอ่ ยที่ ๑ การดงึ การผลกั และผลของการออกแรงทมี่ ตี อ่ การเคลอ่ื นทข่ี องวตั ถ ุ ๘๒
เร่ือง การดงึ การผลกั ๘๒
๙๓
เรื่อง ผลของการออกแรงทม่ี ตี อ่ การเคลอื่ นทข่ี องวตั ถุ ๑๐๔
หน่วยยอ่ ยที่ ๒ แรงแมเ่ หลก็
เรื่อง แมเ่ หลก็ ๑๐๔
๑๑๒
เรอ่ื ง ขว้ั แมเ่ หลก็ ๑๒๒
เรอื่ ง แรงระหวา่ งแมเ่ หลก็
เรอื่ ง แรงสมั ผสั แรงไมส่ มั ผสั ๑๓๓
๑๔๕
๑๕๗

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี ๑
ชวี ติ สัตว์

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) 1

ใบงาน

บ.๑.๑ / ผ. ๑.๑

ปจั จยั ทจี่ ำ� เปน็ ตอ่ กาหรนเจว่ ยรยญิ อ่ ยเตท่ีบิ ๑โตและการดำ� รงชีวิต
ของสตั วแ์ ละมนษุ ย์

เรอ่ื ง ปจั จยั ท่ีจ�ำเป็นตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและการดำ� รงชีวติ ของสตั ว์

2 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ชอื่ -สกล เดอน ชั้น เลขท่ี บ. บ๑. ๑๒./๑ผ/. ๑ผ.๑ ๑ - - ๐ ๐๑๑
วันท่ี พ.ศ.

กิจกรรมท่ี ๑ ร้ไู หมวา่ ..สัตวต์ อ้ งการอะไรบ้างเพื่อการเจรญิ เติบโต
และการดำ� รงชวี ติ

จดุ ประสงค์
รวบรวมข้อมลู และบรรยายปจั จัยที่จำ� เป็นตอ่ การเจริญเตบิ โตและการดำ� รงชีวติ
ของสัตว์

วัสด-ุ อปุ กรณ์
-

วธิ ที ำ�
๑. ร่วมกันอ่านเร่ืองชีวิตของปลาและชีวิตใหม่ของข้าวเปียก อภิปรายปัจจัย
ท่ีจ�ำเป็นต่อการเจริญเติบโตและการด�ำรงชีวิตของปลาและข้าวเปียก
และบนั ทึกผล
๒. น�ำเสนอและอภิปรายเปรียบเทียบปัจจัยที่จ�ำเป็นต่อการเจริญเติบโตและ
การดำ� รงชีวิตของปลาและสุนัข
๓. รว่ มกนั อภปิ รายเลอื กสตั วเ์ ลยี้ ง ๑ ชนดิ นอกจากปลาและสนุ ขั และวางแผน
วธิ กี ารเลยี้ งเพอ่ื ใหส้ ัตวเ์ ลีย้ งเจริญเตบิ โตและดำ� รงชีวิตอยู่ได้
บนั ทกึ ผลและนำ� เสนอ

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) 3

ช่อื -สกล เดอน ชนั้ เลขท่ี บ. บ๑. ๑๒./๑ผ/. ผ๑. ๑ - ๐๑
วนั ที่ พ.ศ.

ชีวิตของปลา

ปลาเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในน�้ำ มีส่วนต่าง ๆ ของร่างกายที่เหมาะสม
กบั การดำ� รงชวี ติ ในนำ้� เชน่ มคี รบี ชว่ ยในการวา่ ยนำ�้ มเี หงอื กชว่ ยในการหายใจในนำ�้
ปากของปลาท่ีอ้าและหุบอยู่ตลอดเวลาท�ำให้น้�ำเข้าสู่ร่างกายซึ่งในน�้ำจะมี
แก๊สออกซิเจนอยู่ เมื่อน�้ำไหลจากปากผ่านเหงือกที่อยู่บริเวณกระพุ้งแก้ม
เหงือกจะท�ำหน้าที่กรองแก๊สออกซิเจนจากน้�ำ ท�ำให้ปลาได้รับท้ังน้�ำและ
แกส๊ ออกซเิ จน ซงึ่ เปน็ สง่ิ ทจี่ ำ� เปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและการดำ� รงชวี ติ ของปลา

ครีบหลัง ทศิ ทางทนี่ ำ้� ผา่ น
จากปากไปเหงอื ก
ตา

เหงือก ครีบหาง เหงอื ก
รูป ปลาอ้าปากเพื่อน�ำน้�ำและ
รปู ส่วนตา่ ง ๆ ของปลา แก๊สออกซเิ จนเขา้ สู่รา่ งกาย

ในทุก ๆ วันปลายังต้องการอาหาร เพ่ือให้ร่างกายเจริญเติบโตและ
ด�ำรงชีวิตได้อย่างปกติ โดยในธรรมชาติปลาแต่ละชนิดต้องการอาหาร
ทีแ่ ตกตา่ ง เช่น ปลาหางนกยงู จะกินสตั ว์นำ�้ ขนาดเลก็ ปลานลิ จะกนิ สาหร่าย
พืชน�้ำหรือซากพืชซากสัตว์ แต่การเล้ียงปลาส่วนใหญ่เราจะเล้ียงปลา
ด้วยอาหารส�ำเร็จรูป เราจึงควรให้อาหารปลาตามความเหมาะสมกับชนิด
และขนาดของปลาด้วย รวมท้ังต้องเล้ียงปลาในน้�ำท่ีสะอาดมีแก๊สออกซิเจน
อยา่ งเพยี งพอสำ� หรบั การหายใจ เพอ่ื ใหป้ ลาสามารถเจริญเติบโตและด�ำรงชีวิต
อยู่ได้

ที่มา : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2562. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพร้าว.

4 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ชื่อ-สกล เดอน ช้นั เลขท่ี บ. ๑บ.๑ ๒/.๑ผ/. ๑ผ.๑ ๑ - - ๐ ๐๑๑
วันท่ี พ.ศ.

ชีวติ ใหม่ของข้าวเปียก



ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) 5

ชอ่ื -สกล เดอน ชัน้ เลขที่ บ.บ ๑. .๒๑.๑/ ผ/.ผ๑.. ๑ - ๐๑
วนั ท่ี พ.ศ.

ข้าวเปียกออกจากบ้านด้วยความเสียใจ เร่ร่อนไปเร่ือยๆ เจอผู้คน
มากมายและกลัวจะโดนท�ำร้ายอีก แต่กลับประหลาดใจท่ีมีคนเอาน�้ำ
และอาหารมาให้
อยมู่ าวนั หนึง่ มคี นใจดคี อยเลย้ี งดูข้าวเปียก ใหน้ ำ�้ อาหาร และเลี้ยงใน
ที่ที่มีอากาศถ่ายเทได้ดี จนข้าวเปียกกลับมามีสุขภาพแข็งแรงและมีความสุข
อกี คร้ัง

6 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ชื่อ-สกล เดอน ชน้ั เลขที่ บ.บ ๑. .๒๑.๑/ ผ/ .ผ๑. .๑ - ๐๑
วันท่ี พ.ศ.

ใบงาน ๐๑ : ปจั จยั ทจ่ี ำ� เปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและการดำ� รงชวี ติ ของสตั ว์

บันทกึ ผลการทำ� กิจกรรม

ปจั จยั ทจ่ี ำ� เป็นต่อการเจรญิ เตบิ โตและการดำ� รงชีวิตของปลา ได้แก่
๑)

๒)
๓)
๔)

ปัจจยั ทจ่ี ำ� เป็นต่อการเจรญิ เตบิ โตและการดำ� รงชวี ติ ของขา้ วเปียก ไดแ้ ก่
๑)

๒)
๓)
๔)

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) 7

ชือ่ -สกล เดอน ชั้น เลขท่ี บ.บ ๑. .๒๑.๑/ ผ/ .ผ๑. .๑๑ - -  ๐๐๑๑
วนั ท่ี พ.ศ.

สัตวท์ ฉ่ี ันจะเลี้ยง คือ

วธิ กี ารเลยี้ งสตั วเ์ พอ่ื ใหส้ ตั วเ์ ลยี้ งเจรญิ เตบิ โตและดำ� รงชวี ติ อยไู่ ด้ คอื

??

8 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ช่อื -สกล เดอน ชั้น เลขที่ บ.บ ๑. .๒๑.๑/ ผ/.ผ๑. .๑ - ๐๑
วนั ที่ พ.ศ.

คำ� ถามหลังจากทำ� กจิ กรรม

๑. ปลาและขา้ วเปยี กต้องการอะไรบ้างเพ่อื เจรญิ เติบโตและมชี ีวติ อยไู่ ด้

๒. ถ้านักเรียนเป็นเจ้าของข้าวเปียก นักเรียนจะเล้ียงข้าวเปียกอย่างไร เพื่อให้
ข้าวเปยี กเจรญิ เติบโต มสี ุขภาพแขง็ แรง และมีความสุข

๓. เสอ้ื ผา้ และบา้ นสนุ ขั เปน็ สง่ิ ทจ่ี ำ� เปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและการดำ� รงชวี ติ ของสนุ ขั
หรือไม่ เพราะเหตุใด

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ล9ะเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) 9

ช่อื -สกล เดอน ชัน้ เลขท่ี บ. บ๑. ๑๒./๑ผ/. ๑ผ.๑ ๑ - - ๐ ๐๑๑
วนั ท่ี พ.ศ.

๔. มอี ะไรบ้างทีบ่ อกให้รวู้ า่ สัตว์มกี ารเจรญิ เตบิ โต

๕. ถา้ เราตอ้ งการเลยี้ งสตั วอ์ นื่ ปจั จยั ทจ่ี ำ� เปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและการดำ� รงชวี ติ
ของสัตว์เลยี้ งของเรา ปลาและสนุ ขั เหมือนหรือแตกตา่ งกนั
อย่างไร
ทำ� เครอื่ งหมาย √
ลงในชอ่ ง ทเ่ี ลอื ก
เหมือนกนั แตกต่างกัน

โดยมีปัจจยั ท่จี ำ� เปน็ ต่อการเจริญเติบโตและการดำ� รงชวี ิตดังน้ี

๖. ถา้ สตั วช์ นดิ ตา่ ง ๆ ไมไ่ ดร้ บั ปจั จยั ทจ่ี ำ� เปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและการดำ� รงชวี ติ
อยา่ งเหมาะสม สตั ว์เหล่าน้ันจะเปน็ อยา่ งไร

10 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ชอื่ -สกล เดอน ช้นั เลขที่ บ. บ๑. ๑๒./๑ผ/. ผ๑. ๑ - ๐๑
วนั ท่ี พ.ศ.

๗. จากกิจกรรมน้ี สรปุ ไดว้ ่าอย่างไร

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) 11

ชอื่ -สกล เดอน ชัน้ เลขที่ บ.บ ๑.. ๒๑.๑/ ผ/.ผ๑.. ๑ - ๐๑๒
วนั ท่ี พ.ศ.

ใบงาน ๐๒ : แบบฝกึ หดั เรอ่ื งปจั จยั ทจ่ี ำ� เปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โต
และการดำ� รงชวี ติ ของสตั ว์

๑. อ่านเนอ้ื เรอ่ื งแลว้ ตอบคำ� ถาม

เดก็ ชายปนั ปนั อายุ ๖ ขวบ สนใจอยากเลย้ี งนกแกว้ ในชว่ งแรกปนั ปนั
ใหอ้ าหารกบั นกแกว้ ทกุ วนั อยา่ งสมำ�่ เสมอ นกแกว้ แขง็ แรงและสง่ เสยี งรอ้ งทกุ วนั
ผ่านไป ๑ สัปดาห์ เพ่ือนชวนปันปันไปเล่น จึงลืมให้อาหารกับนกแก้ว
นกแก้วไม่กระโดดหรือส่งเสียงร้องเหมือนเดิม ปันปันรู้สึกผิดและเสียใจ
ที่ลืมให้อาหารกับนกแก้ว จึงต้ังใจไว้ว่าจะให้อาหารกับนกทุกวันและ
ให้คราวละมากๆ เพอื่ กนั ลมื ไมก่ ว่ี นั ผา่ นไป ปนั ปนั พบวา่ นกแกว้ ตาย มมี ดขนึ้
อาหารของนกและมีกลิ่นเหม็น ปันปันแปลกใจว่า ท�ำไมนกแก้วจึงตาย
ทง้ั ๆ ท่ีใหอ้ าหารนกแก้วและใหน้ ำ้� กบั นกแกว้

คำ� ถาม
๑.๑ นกแก้วมีพฤตกิ รรมเปลยี่ นไป หลงั จากเลยี้ งไปได้ ๑ สัปดาห์ เพราะเหตุใด

๑.๒ นกแกว้ ตายเพราะอะไร

12 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ชอื่ -สกล เดอน ชน้ั เลขท่ี บบ. ๑. ๒.๑.๑/ /ผ.ผ๑. ๑.๑ - - ๐ ๐๑๒
วันท่ี พ.ศ.

๑.๓ หากตอ้ งการดูแลให้นกแกว้ เจรญิ เติบโตและมีชีวิตอยไู่ ด้ ควรทำ� อย่างไรบ้าง

๑.๔ ปัจจัยทจ่ี ำ� เป็นตอ่ การเจรญิ เติบโตและการดำ� รงชวี ติ ของนกแกว้ มีอะไรบ้าง

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) 13

ใบงาน

บ.๑.๑ / ผ. ๑.๒

ปจั จยั ทจ่ี ำ� เปน็ ตอ่ การกหานรว่ เยจยรอ่ ญิยทเ่ี ต๑บิ โตและการดำ� รงชีวิต
ของสตั วแ์ ละมนษุ ย์

เร่อื ง ปัจจยั ท่จี ำ� เป็นตอ่ การเจรญิ เติบโตและการด�ำรงชวี ิตของมนุษย์

14 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ชอื่ -สกล เดอน ช้ัน เลขท่ี บ. บ๑.. ๑๒./๑ผ/. ผ๑. ๒๑ -- ๐๐๑๑
วนั ท่ี พ.ศ.

กจิ กรรมที่ ๑ เรามีการเจรญิ เตบิ โตอยา่ งไร
จดุ ประสงค์
สงั เกตและวดั การเจริญเตบิ โตของตนเอง

วสั ด ุ – อปุ กรณ์ สมดุ สุขภาพ
๑. สมุดสุขภาพประจำ� ตัวของนักเรียน
๒. เครอื่ งชง่ั นำ้� หนัก
๓. ทวี่ ัดส่วนสูง

วธิ ที ำ�
๑. ดูคา่ นำ�้ หนกั และความสูงของตนเองเมือ่ ๖ เดือนทีผ่ า่ นมา ในสมุดสุขภาพ
ประจำ� ตัวและบนั ทึกผล
๒. ช่งั นำ�้ หนกั และวดั ความสงู ของตนเองในปัจจบุ ัน และบันทึกผล
๓. เขยี นแผนภูมแิ ทง่ แสดงนำ้� หนกั และความสูงของตนเอง

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) 15

ชือ่ -สกล เดอน ชน้ั เลขท่ี บ. ๑บ.๑. ๒/ .ผ๑. ๑/ .ผ๒. ๑- -๐ ๐๑๑
วนั ท่ี พ.ศ.

ใบงาน ๐๑ : การเจรญิ เตบิ โตของเรา

บนั ทึกผลการทำ� กิจกรรม

ตาราง นำ�้ หนักและความสงู ของตนเองเมอ่ื ๖ เดือนที่ผ่านมา และปจั จุบัน

๖ เดอื นท่ผี า่ นมา ปัจจุบัน

น�ำ้ หนัก สว่ นสูง น�้ำหนกั ส่วนสูง
(กิโลกรมั ) (เซนติเมตร) (กิโลกรมั ) (เซนติเมตร)

16 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ชือ่ -สกล ชั้น เลขท่ี บ. บ๑. ๑๒./๑ผ/. ๑ผ. ๒๑ - ๐๑

วนั ที่ เดอน พ.ศ.

แผนภูมแิ ท่ง นำ�้ หนักของตนเองเมื่อ ๖ เดอื นและปัจจบุ นั

นำ้� หนกั (กิโลกรัม)

๖ เดอื นท่ีผา่ นมา ปัจจบุ นั เวลา

แผนภมู ิแท่ง ความสูงของตนเองเมื่อ ๖ เดือนและปัจจบุ ัน
ความสงู (เซนตเิ มตร)

๖ เดอื นที่ผ่านมา ปัจจุบัน เวลา

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) 17

ชื่อ-สกล เดอน ชน้ั เลขที่ บ. บ๑. ๑๒./๑ผ/. ผ๑. ๒๑ - ๐๑
วันท่ี พ.ศ.

คำ� ถามหลงั จากทำ� กิจกรรม ทำ� เครอ่ื งหมาย √
ลงในชอ่ ง ทเ่ี ลอื ก
๑. เมื่อเปรียบเทยี บ ๖ เดือนทผี่ า่ นมากับปจั จบุ ัน
เรามนี ำ้� หนกั เปล่ียนแปลงอย่างไร เทา่ เดิม

เรามนี ำ้� หนัก เพิ่มขน้ึ ลดลง

๒. เมอ่ื เปรยี บเทยี บ ๖ เดอื นทผ่ี า่ นมากบั ปจั จบุ นั เรามคี วามสงู เปลย่ี นแปลงอยา่ งไร

เรามีความสงู เพิ่มขึ้น ลดลง เทา่ เดมิ

๓. ถ้าช่ังนำ้� หนักและวัดความสูงตอ่ ไปเรื่อย ๆ คาดวา่ ขอ้ มลู ทีไ่ ดจ้ ะเปน็ อย่างไร

๔. ร่างกายเรามกี ารเจริญเติบโตหรือไม่ รไู้ ดอ้ ย่างไร
๕. จากกิจกรรมน้ี สรปุ ได้วา่ อย่างไร

18 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ชอ่ื -สกล เดอน ชนั้ เลขท่ี บ. บ๑. ๑๒./๑ผ/. ๑ผ. ๒๑ - ๐๑๒
วนั ท่ี พ.ศ.

กจิ กรรมที่ ๒ ปจั จยั ทจี่ ำ� เปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและการดำ� รงชวี ติ ของเรามอี ะไรบา้ ง
จุดประสงค์

๑. อา่ นและบรรยายเกย่ี วกบั ปจั จยั ทจี่ ำ� เปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและการดำ� รงชวี ติ
ของมนุษย์

๒. วิเคราะห์และอธิบายแนวทางในการดูแลตนเองให้ได้รับปัจจัยที่จ�ำเป็นต่อ
การเจริญเติบโตและการดำ� รงชีวิตของตนเองอย่างเหมาะสม

วัสด ุ – อปุ กรณ์
––

วิธีทำ�
๑. รว่ มกนั ระดมความคดิ เกยี่ วกบั ปจั จยั ทจี่ ำ� เปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและการดำ� รงชวี ติ
ของมนษุ ย์ บนั ทกึ ผล
๒. อา่ นใบความรแู้ ละรว่ มกนั สรปุ ปจั จยั ทจี่ ำ� เปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและการดำ� รงชวี ติ
ของมนุษย์ บนั ทกึ ผล
๓. รว่ มกนั อภปิ รายเพอ่ื เปรยี บเทยี บขอ้ มลู เกย่ี วกบั ปจั จยั ทจี่ ำ� เปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โต
และการดำ� รงชีวิตของมนุษยท์ ไี่ ดจ้ ากการระดมความคิดและในใบความรู้
๔. รว่ มกนั อภปิ รายขอ้ มลู จากใบความรแู้ ละวเิ คราะหว์ า่ ในชวี ติ ประจำ� วนั ของเรา
ไดร้ บั ปจั จยั ทจ่ี ำ� เปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและการดำ� รงชวี ติ อยา่ งเหมาะสมหรอื ไม่
และบอกแนวทางในการดูแลตนเองให้ได้รับปัจจัยเหล่านั้นอย่างเหมาะสม
บันทึกผล
๕. อ่านกรณตี วั อย่าง : เหตกุ ารณ์เหมืองถล่มในชลิ ี และร่วมกันอภปิ รายปจั จยั ท่ี
จำ� เปน็ ตอ่ การดำ� รงชวี ติ ของมนุษย์ในกรณีตัวอย่าง จากนน้ั เขียนผังความคิด
เกี่ยวกับปัจจัยที่จ�ำเป็นตอ่ การดำ� รงชวี ติ ของคนในเหมือง

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) 19

ชือ่ -สกล เดอน ชนั้ เลขท่ี บ. ๑บ..๑ ๒/.๑ผ./๑ผ.๒. ๑- -๐ ๐๒๑
วันท่ี พ.ศ.

ใบความรเู้ รื่องปจั จัยทจ่ี ำ� เป็นตอ่ การเจรญิ เติบโตและการดำ� รงชวี ิตของเรา

ในการเจริญเติบโตและการด�ำรงชีวิตของเรา เราต้องการปัจจัยต่าง ๆ
ไดแ้ ก่ อาหาร นำ�้ และอากาศ
อาหารเปน็ สงิ่ ทเี่ รากนิ เขา้ ไป แลว้ มปี ระโยชนต์ อ่ รา่ งกาย โดยอาหารบางอยา่ ง
ช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโตและช่วยซ่อมแซมส่วนท่ีสึกหรอ เช่น เน้ือสัตว์
ไข่ นม ถั่ว งา อาหารบางอย่างให้พลังงานแก่ร่างกาย เชน่ ขา้ ว แป้ง เผอื ก มัน
น้�ำตาล ไขมันและน�้ำมัน และอาหารบางอย่างช่วยให้การท�ำงานของร่างกาย
เป็นปกติ เช่น ผักและผลไม้ต่าง ๆ
เราจึงควรรับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ให้ครบถ้วนและหลากหลาย
ในปรมิ าณทเ่ี หมาะสมกบั ความตอ้ งการของรา่ งกาย โดยไมร่ บั ประทานอาหารมาก
หรอื นอ้ ยเกนิ ไป รบั ประทานอาหารทสี่ ะอาดและไมค่ วรรบั ประทานอาหารทม่ี นี ำ�้ มนั
หรอื ไขมนั เปน็ สว่ นประกอบมากเกนิ ไป

20 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ชอ่ื -สกล เดอน ชัน้ เลขที่ บ. บ๑. ๑๒./๑ผ/. ๑ผ. ๒๑ - ๐๑๒
วนั ที่ พ.ศ.

ในการกินอาหารนั้น เรายังได้รับน�้ำจากอาหารท่ีกินเข้าไปด้วย
แต่อย่างไรก็ตามเราก็ควรด่ืมน�้ำสะอาด วันละประมาณ ๒ ลิตร
หรือ ๖-๘ แกว้ เพอื่ ให้ร่างกายทำ� งานได้ปกติ

เราต้องหายใจตลอดเวลา แก๊สท่ีเราใช้ในการหายใจ คือ
แก๊สออกซิเจน ซึ่งเป็นองค์ประกอบของอากาศท่ีอยู่รอบตัวเรา
เราจงึ ควรอยู่ในสถานที่ท่ีมอี ากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก

นอกจากปัจจัยที่จำ� เป็นต่อการเจริญเติบโตและการด�ำรงชีวิต
เหล่าน้ีแล้ว เรายังควรพักผ่อนให้เพียงพอและออกก�ำลังกาย
อย่างสมำ่� เสมอเพอ่ื ให้รา่ งกายมีสขุ ภาพดี

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) 21

ชอ่ื -สกล เดอน ช้นั เลขที่ บ. ๑บ.๑ ๒/.๑ผ/. ๑ผ.๒ ๑ - ๐๒๑
วันท่ี พ.ศ.

ใบงาน ๐๒ : ปจั จัยท่จี ำ� เปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โต
และการดำ� รงชวี ิตของมนุษย์

บันทกึ ผลการทำ� กิจกรรม
ปัจจัยที่จ�ำเป็นต่อการเจริญเติบโตและการด�ำรงชีวิตของมนุษย์จากการระดม
ความคิด คือ
ทำ� เครอ่ื งหมาย √
นำ้� เสอ้ื ผา้ ลงใน ชอ่ งทเ่ี ลอื ก
อาหาร และเขยี นเพม่ิ เตมิ ได้
ที่อยู่อาศยั

อากาศ

ปจั จยั ทจ่ี ำ� เปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและการดำ� รงชวี ติ ของมนษุ ยจ์ ากในใบความรู้ คอื

นำ้� เสื้อผา้

ทอ่ี ยู่อาศยั อาหาร

อากาศ

22 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ชือ่ -สกล เดอน ชัน้ เลขท่ี บ.บ ๑.. ๒๑.๑/ ผ/. ผ๑.. ๑๒ -- ๐ ๐๑๒
วันท่ี พ.ศ.

ในชีวิตประจ�ำวัน เราได้รับปัจจัยที่จ�ำเป็นต่อการเจริญเติบโตและการด�ำรงชีวิต

เหมาะสม ไม่เหมาะสม ทำ� เครอ่ื งหมาย √
ลงในชอ่ ง ทเี่ ลอื ก

แนวทางในการดูแลตนเองให้ได้รับปัจจัยท่ีจ�ำเป็นต่อการเจริญเติบโตและ
การดำ� รงชีวติ อย่างเหมาะสม คือ

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) 23

ชือ่ -สกล เดอน ชั้น เลขท่ี บ. ๑บ.๑ ๒/.๑ผ/. ๑ผ.๒ ๑ - ๐๒๑
วนั ที่ พ.ศ.

กรณีตัวอย่าง : เหตุการณ์เหมอื งถลม่ ที่ประเทศชลิ ี

เคยมเี หตกุ ารณเ์ หมอื งถลม่ ทเี่ กดิ ขนึ้ เนอื่ งจากแผน่ ดนิ ไหว เหมอื งนเ้ี ปน็ เหมอื งทอง
และทองแดง อย่กู ลางทะเลทรายใกล้กบั เมอื งโคเปยี โปในประเทศชิลี ทำ� ใหค้ นงาน
ในเหมอื ง ๓๓ คน ตดิ อยู่ในอุโมงคใ์ ตด้ ินลกึ ราว ๗๐๐ เมตร หรอื เทียบเท่าหอ้ งเรียน
ตอ่ กนั เปน็ ชน้ั  ๆ ลกึ ลงไปใตด้ นิ ประมาณ ๒๓๐ ชนั้ กวา่ เจา้ หนา้ ทก่ี ภู้ ยั จะพบพวกเขา
ต้องใช้เวลาถึง ๑๗ วัน พวกเขายังมีชีวิตด้วยการแบ่งปันน�้ำและอาหารท่ีมีอยู่
ไม่มาก และโชคดีที่มีอากาศเพียงพอต่อการหายใจ เพราะอุโมงค์ที่พวกเขาอยู่
เปน็ โพรงเชอ่ื มตอ่ กนั ยาวประมาณ ๕ กโิ ลเมตรกวา่   ๆ ดงั รปู

24 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ชอ่ื -สกล เดอน ชั้น เลขที่ บ.บ ๑.. ๒๑./๑ผ/. ผ๑.. ๒๑ -- ๐ ๐๑๒
วันท่ี พ.ศ.

เจ้าหน้าที่กู้ภัยได้พยายามช่วยเหลือคนงานโดยการเจาะหลุมขนาดเล็ก
เพอื่ สง่ นำ้� อาหาร และสง่ิ จำ� เปน็ อนื่ ๆ ลงไปในอโุ มงค์ และเจาะหลมุ ขนาดใหญ่ เพอื่ หยอ่ น
แคปซลู ทมี่ ถี งั อากาศลงไป แลว้ นำ� คนงานกลบั ขน้ึ มากบั แคปซลู ทลี ะคนจนครบทกุ คน ตงั้ แต่
วนั ที่เหมืองถลม่ จนคนงานทกุ คนได้รบั การช่วยเหลอื ขน้ึ มา รวมเปน็ เวลาทงั้ หมด ๖๙ วัน
นอกจากอาหาร นำ�้ และอากาศ ทเ่ี จา้ หนา้ ทก่ี ภู้ ยั สง่ ลงไปชว่ ยเหลอื คนงานแลว้ การท่ี
ทกุ คนรอดชวี ติ ยงั เปน็ ผลมาจากความสามคั คี ความมนี ำ้� ใจแบง่ ปนั อาหารและนำ�้ ใหแ้ กก่ นั
และความเสียสละของหัวหน้าคนงาน ในการส่งลูกน้องข้ึนมากับแคปซูลก่อน แล้วตนเอง
ขน้ึ มาเป็นคนสดุ ทา้ ย

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) 25

ชอื่ -สกล เดอน ชน้ั เลขที่ บ. บ๑. ๑๒./๑ผ/. ผ๑. ๒๑ - ๐๑๒
วนั ท่ี พ.ศ.

ผังความคดิ เรอ่ื งปัจจยั ทจ่ี ำ� เปน็ ต่อการดำ� รงชีวิตของคนในเหมอื ง

26 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ชอื่ -สกล เดอน ชนั้ เลขท่ี บ.บ ๑. .๒๑.๑/ ผ/ .ผ ๑. .๑๒ -- ๐ ๐๑๒
วนั ท่ี พ.ศ.

คำ� ถามหลังจากการทำ� กจิ กรรม
๑. ในแตล่ ะวันมนุษย์ต้องการอะไรบ้าง เพ่อื การเจรญิ เติบโตและการดำ� รงชวี ติ

๒. ในกรณีตัวอย่างเหตุการณ์เหมืองถล่ม คนในเหมืองต้องการปัจจัยที่จ�ำเป็น
เหมอื นหรอื แตกตา่ งจากปจั จยั ทจี่ ำ� เปน็ ในแตล่ ะวนั หรอื ไม่ อย่างไร

๓. การดแู ลตนเองใหเ้ จริญเตบิ โตและดำ� รงชีวิตอยู่ได้อย่างปกติ ทำ� ไดอ้ ย่างไร

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) 27

ชอ่ื -สกล ช้ัน เลขท่ี บ. ๑บ. ๑๒./๑ผ/. ๑ผ.๒ ๑ - ๐๑๒
วนั ที่ พ.ศ.
เดอน

๔. จากกจิ กรรมนี้ สรปุ ได้วา่ อยา่ งไร

28 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ช่ือ-สกล เดอน ชน้ั เลขที่ บ.บ ๑. .๒๑.๑/ ผ/.ผ๑.. ๑๒ -- ๐๐๑๓
วนั ท่ี พ.ศ.

ใบงาน ๐๓ : แบบฝกึ หดั เรอื่ งปจั จยั ทจี่ ำ� เปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โต
และการดำ� รงชวี ติ ของมนษุ ย์

ตอบคำ� ถามตอ่ ไปนีใ้ ห้ถูกต้อง

๑. ส่ิงที่จ�ำเป็นต่อการเจริญเติบโตและการด�ำรงชีวิตของสัตว์และมนุษย์มีอะไรบ้าง
และสิง่ ตา่ ง ๆ เหล่าน้นั มปี ระโยชน์อยา่ งไร
โรยปู งมเนสษุ ้นยสแ์ ิ่งลทะบี่จอ�ำกเปปร็นะไโปยชยนัง์

อากาศ ยารักษาโรค
ประโยชน์ คอื ประโยชน์ คอื

ทอ่ี ยู่อาศัย นำ้�
ประโยชน์ คือ ประโยชน์ คือ

อาหาร เครอ่ื งนงุ่ หม่
ประโยชน์ คอื ประโยชน์ คือ

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) 29

ช่ือ-สกล ชั้น เลขที่ บ. ๑บ.๑ ๒./๑ผ/. ๑ผ.๒ ๑ - ๐๓๑

วนั ท่ี เดอน พ.ศ.
๒. เราจะมวี ธิ ดี แู ลตนเองอยา่ งไร เพอ่ื ใหร้ า่ งกาย
เจรญิ เตบิ โตและดำ� รงชวี ติ ได้อย่างปกติ

ทหำ�นเ้าคขร้ออ่ื คงวหามมาทยี่เล√อื กใน

นอนตงั้ แตห่ วั คำ�่ เล่นฟตุ บอลกบั เพือ่ น
ด่มื นำ้� สะอาด ในตอนเยน็

อยใู่ นทท่ี ม่ี อี ากาศ
ถ่ายเทไดส้ ะดวก

รบั ประทานอาหาร
ท่ีมีประโยชน์

รบั ประทานขนมขบเคยี้ ว ดมื่ นำ�้ อัดลม
เปน็ ประจำ� ทุกมอื้ อาหาร

30 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ใบงาน

บ.๑.๒ / ผ. ๒

หน่วยย่อยที่ ๒

วฏั จกั รชวี ิตของสตั ว์

เรื่อง วัฏจักรชวี ติ ของสัตว์

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) 31

ช่อื -สกล เดอน ชน้ั เลขที่ บ.บ ๑. ๒.๒.๑/ /ผ.ผ๒. ๑- -๐ ๐๑๑
วันท่ี พ.ศ.

กิจกรรมท่ี ๑ วัฏจักรชีวิตของสัตว์เป็นอยา่ งไร

จุดประสงค์
๑. รวบรวมข้อมูลและสรา้ งแบบจำ� ลองทบ่ี รรยายวฏั จกั รชีวติ ของสัตว์
๒. เปรยี บเทียบวฏั จักรชวี ิตของสัตวช์ นดิ ต่าง ๆ
๓. วเิ คราะหข์ ้อมลู และบอกแนวทางการไมท่ ำ� ใหว้ ัฏจกั รชีวติ ของสัตวเ์ ปล่ียนแปลง

วัสด ุ – อปุ กรณ์
๑. บัตรภาพแสดงการเจรญิ เตบิ โตในระยะต่าง ๆ
ของมนษุ ย์ ไก่ และผเี สื้อไหม
๒. บตั รคำ�

วิธที ำ� http://ipst/me/10909
ตอนที่ ๑

๑. จับคู่บัตรภาพแสดงการเจริญเติบโตในระยะต่าง ๆ ของมนุษย์ ไก่
และผเี ส้ือไหม กบั บัตรคำ�
๒. ร่วมกันอภิปรายล�ำดับการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะ การกินอาหาร
และแหลง่ ที่อยู่ขณะเจรญิ เตบิ โตของมนษุ ย์ ไก่ และผีเส้อื ไหม
๓. เขียนภาพวัฏจกั รชวี ติ ของมนุษย์ ไก่ และผีเส้ือไหม และนำ� เสนอ
๔. รว่ มกันอภิปรายแลว้ เปรียบเทยี บวฏั จกั รชวี ิตของมนุษย์ ไก่ และผเี สอื้ ไหม

บนั ทึกผลลงในตาราง ๑ ๒ และ ๓ ตามลำ� ดบั

32 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ช่อื -สกล เดอน ชั้น เลขที่ บ.บ ๑. .๒๒.๑/ ผ/ .ผ๒. ๑- -๐ ๐๑๑
วนั ที่ พ.ศ.

ตอนที่ ๒
๑. ศึกษารูปวัฏจักรชีวิตของกบและปลาทู และร่วมกันอภิปรายล�ำดับ

การเปล่ียนแปลงรูปร่างลักษณะขณะเจริญเติบโตของสัตว์ทั้ง ๒ ชนิด
และบนั ทกึ ผล

๒. อ่านสถานการณ์เกีย่ วกบั กบและปลาทู แลว้ ร่วมกนั อภปิ รายว่า ในแตล่ ะ
สถานการณ์มีผลต่อวัฏจักรชีวิตของสัตว์ทั้งสองชนิดอย่างไร พร้อมบอก
แนวทางการไม่ท�ำให้วัฏจักรชีวิตของสัตว์ท้ังสองชนิดเปลี่ยนแปลง
บนั ทึกผล

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) 33

ช่อื -สกล เดอน ชนั้ เลขที่ บ.บ ๑. ๒.๒.๑/ /ผ.ผ๒. ๑- -๐ ๐๑๑
วันที่ พ.ศ.

ตัวเตม็ วยั

๘ เดือน-๑ ีป ๑ วนั
๑-๒ วัน
ลูกกบ ไข่กบ
วฏั จักรชีวติ
ของกบ

๒๐-๓๐ วัน ลูกอ๊อด

34 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ชอื่ -สกล เดอน ช้ัน เลขท่ี บ. ๑๒.๒๑ / ผ. ๒๑ -- ๐๐๑๑
วันที่ พ.ศ.

๓ ีป ๑๐ วนั

วฏั จักรชีวติ
ของปลาทู

๖-๗ เดอื น

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) 35

ชือ่ -สกล ช้ัน เลขที่ บ.บ ๑. .๒๒.๑/ ผ/ .ผ๒. ๑- -๐ ๐๑๑
วันที่ เดอน พ.ศ.

สถานการณ์ท่ี ๑

ในช่วงฤดูฝน ชาวบ้านในบางพื้นที่จะจับลูกอ๊อด
ซึ่งเปล่ียนแปลงมาจากไข่ของกบตามแหล่งน�้ำต่าง ๆ
เพ่ือนำ� มาทำ� อาหาร ท่ีเหลอื จะแบ่งขายเพื่อสรา้ งรายได้
สถานการณ์ท่ี ๒

สมาคมประมงไทยประกาศเตอื น ใหห้ ยดุ ซอื้ หยดุ ขายลกู ปลาทู เพราะมี
ผู้ลักลอบจับลูกปลาทูจ�ำนวนมากเพ่ือน�ำมาท�ำลูกปลาทูตากแห้งขาย

36 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ช่ือ-สกล เดอน ชนั้ เลขที่ บบ. ๑. ๒.๒.๑/ /ผผ. ๒. ๑- - ๐ ๐๑๑
วนั ท่ี พ.ศ.

ใบงาน ๐๑ : วฏั จกั รชวี ิตของสตั ว์

บนั ทกึ ผลการทำ� กจิ กรรม
ตอนท่ี ๑

แผนภาพวฏั จักรชวี ติ ของมนษุ ย์

แผนภาพวฏั จักรชวี ติ ของไก่

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) 37

ชอ่ื -สกล เดอน ช้นั เลขท่ี บ.บ ๑. .๒๒.๑/ ผ/ .ผ๒. ๑- -๐ ๐๑๑
วันท่ี พ.ศ.

แผนภาพวัฏจกั รชวี ติ ของผเี สอ้ื ไหม

ผลการอภปิ รายวฏั จักรชีวติ ของสตั ว์ ทำ� เครอื่ งหมาย √

ตาราง ๑ การเปรยี บเทยี บรปู รา่ งลกั ษณะ การกนิ อาหาร ใน หนา้ ข้อความที่เลือก
และแหลง่ ทอี่ ยใู่ นแตล่ ะระยะของวฏั จกั รชวี ติ
ของมนษุ ย์

ชนดิ ระยะตา่ ง ๆ ของ รูปร่าง ผลการเปรียบเทยี บ
ของสัตว์ วฏั จกั รชีวติ ของมนุษย์ ลกั ษณะ
การกิน แหลง่ ทอี่ ยู่
อาหาร

จากมนุษย์ตวั เต็มวัย เหมอื นกัน เหมอื นกัน เหมือนกนั
มนษุ ย์ จนถงึ ทารกแรกเกดิ แตกตา่ งกนั แตกตา่ งกนั แตกตา่ งกนั

จากทารกแรกเกดิ จนถงึ เหมอื นกัน เหมอื นกัน เหมือนกนั
มนุษยต์ ัวเต็มวยั แตกตา่ งกนั แตกตา่ งกนั แตกตา่ งกนั

38 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ชือ่ -สกล เดอน ชน้ั เลขท่ี บบ. ๑. ๒.๒.๑/ /ผผ. ๒. ๑- -๐ ๐๑๑
วนั ที่ พ.ศ.

ตาราง ๒ การเปรยี บเทยี บรปู รา่ งลกั ษณะ การกนิ อาหาร และแหลง่ ทอ่ี ยใู่ นแตล่ ะระยะของ
วฏั จกั รชวี ติ ของไก่

ชนดิ ระยะต่าง ๆ ของ รูปรา่ ง ผลการเปรยี บเทียบ
ของสัตว์ วฏั จกั รชวี ติ ของไก่ ลักษณะ
การกิน แหล่งท่ีอยู่
อาหาร

จากไก่ตวั เตม็ วัย เหมอื นกนั เหมอื นกัน เหมอื นกัน
จนถงึ ตัวออ่ นในไขไ่ ก่ แตกตา่ งกนั แตกตา่ งกนั แตกตา่ งกนั

ไก่ จากตัวออ่ นในไข่ไก่ เหมือนกัน เหมอื นกัน เหมือนกัน
จนถึงลกู เจยี๊ บ แตกตา่ งกนั แตกตา่ งกนั แตกตา่ งกนั

จากลูกเจ๊ยี บจนถงึ เหมอื นกนั เหมือนกัน เหมอื นกนั
ไก่ตัวเตม็ วัย แตกตา่ งกนั แตกตา่ งกนั แตกตา่ งกนั

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) 39

ช่อื -สกล เดอน ชัน้ เลขท่ี บ.บ ๑. .๒.๑/ ผ/ .ผ๒. ๑- -๐ ๐๑๑
วันที่ พ.ศ.

ตาราง ๓ การเปรยี บเทยี บรปู รา่ งลกั ษณะ การกนิ อาหาร และแหลง่ ทอี่ ยใู่ นแตล่ ะระยะของ
วฏั จกั รชวี ติ ของผเี ส้อื ไหม

ชนิด ระยะตา่ ง ๆ ของ รูปรา่ ง ผลการเปรียบเทบีย. ๑บ.๒ / ผ. ๒ - ๐๑
ของสัตว์ วฏั จกั รชวี ติ ของผเี สอ้ื ไหม ลกั ษณะ
การกิน แหลง่ ทอ่ี ยู่
จากผเี สอื้ ไหมตวั เตม็ วยั อาหาร
จนถงึ ไข่ผเี สอ้ื ไหม
เหมือนกัน เหมอื นกนั เหมือนกัน
แตกตา่ งกนั แตกตา่ งกนั แตกตา่ งกนั

ผเี สื้อไหม จากไขผ่ ีเส้ือไหม เหมอื นกัน เหมอื นกัน เหมือนกนั
จนถึงหนอนผีเสอ้ื ไหม แตกตา่ งกนั แตกตา่ งกนั แตกตา่ งกนั

จากหนอนผเี ส้ือไหม เหมือนกัน เหมือนกนั เหมือนกัน
จนถงึ ดกั แดผ้ เี สอ้ื ไหม แตกตา่ งกนั แตกตา่ งกนั แตกตา่ งกนั
จากดักแด้ผเี ส้อื ไหม เหมือนกัน เหมอื นกนั เหมือนกนั
จนถงึ ผเี สอื้ ไหมตวั เตม็ วยั แตกตา่ งกนั แตกตา่ งกนั แตกตา่ งกนั

ผลการเปรยี บเทียบ

ตาราง ๔ การเปลี่ยนแปลงรปู รา่ งลกั ษณะ การกินอาหาร และแหล่งทีอ่ ยู่ตง้ั แต่
แรกเกิด* จนเปน็ ตวั เต็มวัยของมนุษย์ ไก่ และผเี สือ้ ไหม

ชนดิ ของสตั ว์ การเปล่ยี นแปลงรูปรา่ งลักษณะ การกนิ อาหาร
และแหล่งท่ีอย่ตู ้ังแตแ่ รกเกดิ จนเป็นตวั เตม็ วยั

มนษุ ย์ มกี ารเปล่ียนแปลง ไมม่ กี ารเปลีย่ นแปลง

ไก่ มีการเปล่ียนแปลง ไมม่ ีการเปลยี่ นแปลง
ผีเสอื้ ไหม มีการเปลี่ยนแปลง ไม่มกี ารเปล่ยี นแปลง

*หมายเหตุ แรกเกดิ หมายถงึ เมอื่ สตั วฟ์ กั ออกจากไขห่ รอื มนษุ ยค์ ลอดออกจากทอ้ งแม่

40 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ชื่อ-สกล เดอน ชั้น เลขท่ี บ.บ ๑. .๒๒.๑/ ผ/ .ผ๒. ๑- -๐ ๐๑๑
วันท่ี พ.ศ.

คำ� ถามหลงั จากทำ� กิจกรรม
๑. สตั ว์ชนดิ ใดท่ีมีการเปล่ยี นแปลงรูปร่างลกั ษณะ การกนิ อาหาร และแหล่งท่อี ยู่

ตั้งแต่แรกเกิดจนเปน็ ตัวเตม็ วยั

๒. สตั วช์ นดิ ใดทไี่ มม่ กี ารเปลยี่ นแปลงรปู รา่ งลกั ษณะ การกนิ อาหาร และแหลง่ ทอ่ี ยู่
ต้ังแต่แรกเกิดจนเป็นตัวเต็มวัย

๓. มนุษย์และไก่ มวี ฏั จักรชวี ิตเหมือนหรือแตกตา่ งกนั อยา่ งไร กัน
มนุษย์และไก่มีวัฏจกั รชีวิต
แตใ่ นขณะเจริญเตบิ โต ทง้ั นษุ ยแ์ ละไกเ่ หมือนกนั คอื

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) 41

ช่ือ-สกล เดอน ช้ัน เลขท่ี บบ. ๑. ๒.๒.๑/ /ผ.ผ๒. ๑- -๐ ๐๑๑
วันที่ พ.ศ.

๔. ไก่และผเี ส้อื ไหม มวี ฏั จกั รชวี ติ เหมือนหรือแตกตา่ งกันอย่างไร

ไกแ่ ละผเี ส้ือไหมมีวัฏจักรชวี ติ กัน

โดย มกี ารเปลย่ี นแปลงรปู ร่างลกั ษณะ

การกินอาหาร และแหล่งทอ่ี ยู่ขณะเจริญเตบิ โต
แต ่ ไมม่ กี ารเปลยี่ นแปลงรปู รา่ งลกั ษณะ

การกินอาหาร และแหลง่ ทอ่ี ยู่ขณะเจรญิ เติบโต

๕. จากกจิ กรรมน้ี สรุปได้วา่ อย่างไร

42 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ชอื่ -สกล เดอน ชน้ั เลขท่ี บบ. ๑. ๒.๒.๑/ /ผผ. ๒. ๑- - ๐ ๐๑๑
วนั ที่ พ.ศ.

ตอนที่ ๒

บันทึกผลการทำ� กิจกรรม

ผลการอภปิ ราย ทำ� เครือ่ งหมาย √
วัฏจักรชีวิตของกบ ใน ที่เลอื ก

ระยะทางวฏั จักรชีวิตของกบ ผลการเปรียบเทยี บรปู ร่าง
จากกบตัวเตม็ วัยจนถงึ ไขก่ บ ลักษณะขณะเจรญิ เตบิ โต

เหมอื นกัน
แตกตา่ งกนั

จากไข่กบจนถึงลกู อ๊อด เหมือนกนั
จากลูกอ๊อดจนถึงกบตัวเลก็ แตกตา่ งกัน
เหมือนกัน
แตกต่างกนั

จากกบตัวเลก็ จนถึงตัวเต็มวัย เหมือนกนั
แตกตา่ งกัน

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) 43

ชอ่ื -สกล เดอน ชั้น เลขท่ี บ.บ ๑. .๒๒.๑/ ผ/ .ผ๒. ๑- -๐ ๐๑๑
วันท่ี พ.ศ.

วัฏจกั รชีวิตของปลาทู ผลการเปรยี บเทยี บรูปรา่ ง
ระยะทางวัฏจักรชวี ติ ของปลาทู ลักษณะขณะเจริญเติบโต

จากปลาทูตัวเต็มวยั จนถึงไข่ปลาทู เหมือนกัน
จากไข่ปลาทจู นถงึ ปลาทตู วั เลก็ แตกต่างกนั
จากปลาทูตวั เลก็ จนถึงปลาทูตวั เตม็ วัย
เหมอื นกนั
แตกตา่ งกนั
เหมือนกัน
แตกตา่ งกนั

44 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ช่ือ-สกล เดอน ชน้ั เลขท่ี บบ. ๑. ๒.๒.๑/ /ผผ. ๒. ๑- - ๐ ๐๑๑
วันท่ี พ.ศ.

ผลการอภิปราย

การกระทำ� ของมนษุ ยท์ ส่ี ง่ ผลตอ่ วฏั จกั รชวี ติ ของสตั วใ์ นแตล่ ะสถานการณ์ และแนวทาง
ที่ไมท่ ำ� ให้วฏั จักรชีวิตของสตั วเ์ ปลี่ยนแปลง

สถานการณท์ ี่ ๑ เมนูเด็ดสดุ แซ่บ

ผลต่อวัฏจักร คือ

แนวทาง คือ

สถานการณ์ที่ ๒ ลูกปลาทแู ย่แลว้
ผลต่อวฏั จกั ร คอื

แนวทาง คอื

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) 45

ช่ือ-สกล เดอน ช้ัน เลขท่ี บบ. ๑. ๒.๒.๑/ /ผผ. ๒. ๑- - ๐ ๐๑๑
วนั ที่ พ.ศ.

ค�ำถามหลังจากทำ� กิจกรรม
๑. การจบั ลกู ออ๊ ดมาทำ� เปน็ อาหารจะสง่ ผลกระทบกบั ระยะใดของวฏั จกั รชวี ติ ของกบ

เปน็ อันดบั แรก เพราะเหตุใด

๒. การจับลูกปลาทูต่อไปอีกเร่ือย ๆ จะส่งผลกระทบต่อวัฏจักรชีวิตของปลาทู
อยา่ งไร

๓. เรามีแนวทางทีจ่ ะไมท่ ำ� ให้วัฏจกั รชีวติ ของสัตวเ์ ปล่ียนแปลงอยา่ งไร

๔. จากกิจกรรมนี้ สรุปไดว้ ่าอยา่ งไร

46 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั นกั เรยี น) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )


Click to View FlipBook Version