199 Plants of Thailand and Lao PDR in Mekong Region
200 พรรณไม้ ไทย-ลาว สองฝั่งโขง อินถวาน้อย ชื่อพื้นเมืองไทย : อินถวา อินถวาทาม พุดป่า ຊື່ລາວ : ພຸດນາໍ້ ชื่อพฤกษศาสตร์ : Kailarsenia lineata (Craib) Tirveng. ชื่อพ้อง : Gardenia lineata Craib ชื่อวงศ์ : RUBIACEAE Common name : White Trumpet Gardenia. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม สูง 1-3 ม. ผลัดใบ ตามกิ่งอ่อน แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ ดอกและผลมีขน สั้นประปราย ต่อมาเกลี้ยง และมีผิวมันเงา (มีไขหรือชันเคลือบ) มักพบชันใสเหนียวหุ้มยอด มีหูใบเป็นหลอดปลาย แยก 2 แฉก ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปรีหรือรูปไข่กลับ ยาว 3-8 ซม. ปลายใบแหลม-มน ขอบใบเป็นคลื่น โคนใบสอบเรียว-มน มีเส้นแขนงใบข้างละ 6-11 เส้น ผิวใบด้านบนเกลี้ยงและมีรอยกดเป็นคลื่นตามแนวเส้นแขนงใบ ก้านใบยาว 2-4 มม. ดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกัน ผิวด้านนอกมี 5 สันตามแนวยาว ปลายกลีบเลี้ยงแยก 5 แฉก รูปใบหอก ยาว 3-5 มม. กลีบดอกสีขาว รูปล�ำโพง ท่อยาว 2 ซม. ปลายแยกเป็น 5 แฉก รูปไข่กลับ ยาว 1.3-2 ซม. ปลายแหลม-มน ผลทรงรี-กลมรี ยาว 2-3 ซม. กว้าง 1-2.5 ซม. ผลอ่อนมีสันตามแนวยาว 10 สัน ปลายผลมีกลีบเลี้ยงติดคงทน ก้านผลยาว 5 มม. ผลแก่สีเหลืองอ่อน มีสันเด่นชัด 5 สัน มีเมล็ดขนาดเล็กจ�ำนวนมาก นิเวศวิทยา : ขึ้นตามที่โล่งแจ้งหรือชายป่าของป่าบุ่งป่าทาม หรือริมน�้ำในพื้นที่บุ่งทาม หรือที่ราบน�้ำท่วมถึง ที่ความ สูงจากระดับน�้ำทะเล 100-200 ม. ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน ผลแก่เดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม การกระจายพันธุ์ : พืชถิ่นเดียวระดับภูมิภาค (Regional endemic) พบเฉพาะในเขตที่ราบสูงโคราช ตามลุ่มน�้ำ มูล ชี และลุ่มน�้ำสงคราม (ไม่พบในเขตลุ่มน�้ำโมง) คาดว่าน่าจะพบในแขวงสะหวันนะเขต ประเทศลาว ด้วย เนื่องจาก มีป่าบุ่งป่าทามค่อนข้างมากตามลุ่มน�้ำเซจ�ำพอน ประโยชน์ : รากตากแห้งต้มน�้ำดื่มช่วยเจริญอาหาร, ยอดอ่อนต�ำผสมตัวมดแดงกินเป็นยาแก้บิด, ดอกตากแห้งชงชา บ�ำรุงหัวใจ, ทั้งต้นตัดมามัดรวมกันท�ำไม้กวาดลานดิน, เหมาะสมในการปลูกเป็นไม้ประดับให้ร่มเงาและไม้ดอกหอม ทนแล้งและน�้ำท่วมได้ดี สามารถตัดแต่งพุ่มใบได้ง่าย ปลูกได้ทั้งลงดินหรือใส่กระถาง
201 Plants of Thailand and Lao PDR in Mekong Region
202 พรรณไม้ ไทย-ลาว สองฝั่งโขง ยอน�้ำ ชื่อพื้นเมืองไทย : ยอเบี้ย ยอทาม ยอเตี้ย ก้ามกุ้ง ຊື່ລາວ : ຍໍນາ ชื่อพฤกษศาสตร์ : Morinda pandurifolia Kuntze ชื่อพ้อง : Morinda pandurifolia var. oblonga (Pitard) Craib, M. pandurifolia var. tenuifolia Craib ชื่อวงศ์ : RUBIACEAE Common name : Water Climbing Noni. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มหรือไม้พุ่มรอเลื้อย สูง 0.3-2.5 ม. รากและเหง้ามีเนื้อสีเหลืองเข้ม ตามกิ่งอ่อน ช่อดอก ใบ และผลมีขนสั้นนุ่ม ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก มีหลากหลายรูป ได้แก่ รูปรี รูปขอบขนาน รูปแถบ หรือรูปคล้ายไวโอลิน ยาว 3-15 ซม. ปลายใบแหลม-เรียวแหลม โคนใบแหลม ใบของต้นอายุน้อยขอบใบมักจะหยัก เป็นแฉกแบบขนนก 1-3 แฉกในแต่ละข้างของขอบใบ ผิวใบด้านบนเกลี้ยง-มีขนประปราย ด้านล่างมีขนสั้น มีเส้น แขนงใบข้างละ 8-12 เส้น ก้านใบยาว 1-3 ซม. ช่อดอกกระจุกทรงกลม กว้าง 1 ซม. กลีบดอกสีขาว เป็นหลอดยาว 1.5-1.8 ซม. ปลายแยก 5-6 แฉก รูปขอบขนาน ยาว 1.5 ซม. บานโค้งกลับ มีกลิ่นหอม ผลทรงกลม-ขอบขนาน และ มักเบี้ยว กว้าง 2.5-3 ซม. ยาว 3-4 ซม. มีผลย่อยรูปหลายเหลี่ยมอัดรวมกัน 20-50 ผล มีกลีบเลี้ยงคล้ายวงแหวนติด คงทนที่กลางผลย่อยแต่ละผล เมล็ดรูปรี ยาว 0.7-1 ซม. นิเวศวิทยา : ขึ้นตามที่โล่งแจ้งหรือชายป่า ริมน�้ำหรือในพื้นที่บุ่งทาม มักพบในป่าบุ่งป่าทาม ที่ความสูงใกล้ระดับ น�้ำทะเลจนถึงประมาณ 200 ม. ออกดอกช่วงเดือนธันวาคม-เมษายน ผลแก่เดือนมีนาคม-กรกฎาคม การกระจายพันธุ์ : ในประเทศไทย ค่อนข้างหายากในภาคกลางตั้งแต่จังหวัดตากลงไปถึงภาคใต้ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี แต่พบได้ง่ายทั่วภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และพบในประเทศลาว กัมพูชา และเวียดนาม ประโยชน์ : รากต้มน�้ำดื่มเป็นยาบ�ำรุงก�ำลัง ทุบเอาน�้ำทารักษาแผลเงี่ยงปลาดุกต�ำ หรือใช้รากย้อมผ้า ให้สีเหลือง, ทั้งต้นเป็นยาเย็น เข้ากับยาอื่น ๆ ช่วยบ�ำรุงเลือด แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย
203 Plants of Thailand and Lao PDR in Mekong Region
204 พรรณไม้ ไทย-ลาว สองฝั่งโขง คัดเค้าเครือ ชื่อพื้นเมืองไทย : คัดเค้า เค็ดเค้า หนามคัดเค้า ຊື່ລາວ : ຄັດເຄົ້າ ชื่อพฤกษศาสตร์ : Oxyceros horridus Lour. ชื่อพ้อง : - ชื่อวงศ์ : RUBIACEAE Common name : Buffalo Horn Vine. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มรอเลื้อย ยาว 3-6 ม. ไม่ผลัดใบ กิ่งมีหนามแหลมคม ออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน ที่ซอกใบคล้ายเขาควาย ยาว 1 ซม. ตามกิ่งอ่อน ใบ ช่อดอกและผลเกลี้ยง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรีแกมรูป ขอบขนาน ยาว 6-12 ซม. ปลายใบแหลม-เรียวแหลม โคนใบมน มีเส้นแขนงใบข้างละ 7-11 เส้น ก้านใบยาว 1-1.5 ซม. ช่อดอกแยกแขนง รูปทรงกลม กว้าง 3-6 ซม. ออกตามซอกใบและปลายกิ่ง ดอกย่อย 10-25 ดอก อยู่ค่อนข้าง ชิดกัน มีกลิ่นหอมแรงช่วงตอนเย็น-กลางคืน กลีบเลี้ยงสีเขียว กลีบดอกเป็นหลอด ปลายแยก 5-6 แฉก รูปขอบขนาน ปลายมักจะบิดเล็กน้อย ดอกบานกว้าง 1.5-2 ซม. สีขาวแล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลืองคล�้ำเมื่อใกล้โรย ผลทรงกลม กว้าง 1 ซม. ผลอ่อนสีเขียว ผิวมันเงา ปลายมีโคนของกลีบเลี้ยงรูปวงแหวนติดค้าง เมื่อสุกสีด�ำ มีเมล็ดขนาดเล็กจ�ำนวนมาก นิเวศวิทยา : ขึ้นในที่โล่งแจ้งหรือชายป่าดิบ ป่าเบญจพรรณ และป่าบุ่งป่าทาม ในเขตที่ราบน�้ำท่วมถึง ที่ความสูง ใกล้ระดับน�้ำทะเลจนถึงประมาณ 500 ม. ออกดอกช่วงเดือนมกราคม-เมษายน ผลแก่เดือนเมษายน-กรกฎาคม การกระจายพันธุ์ : ในประเทศไทยและลาวพบทุกภาค และประเทศเมียนมาร์ กัมพูชา และเวียดนามตอนกลางถึง ตอนใต้ ประโยชน์ : ยอดอ่อนกินเป็นผักสด จิ้มน�้ำพริก ลาบ ก้อย, เมล็ดบดเข้ายาอื่น ๆ บ�ำรุงเลือด, รากต้มน�้ำดื่มแก้เบาหวาน, ล�ำต้นต้มน�้ำดื่มบ�ำรุงน�้ำนม, แก่นเป็นยาเย็น ฝนทารักษาแผล, ปลูกท�ำซุ้มหรือรั้วบ้านเพราะมีหนามคมและดอกหอม
205 Plants of Thailand and Lao PDR in Mekong Region
206 พรรณไม้ ไทย-ลาว สองฝั่งโขง หมักม่อ ชื่อพื้นเมืองไทย : หมากหม้อ ขี้หมู ຊື່ລາວ : ໝາກມໍ້ ชื่อพฤกษศาสตร์ : Ridsdalea wittii (Craib) J.T. Pereira ชื่อพ้อง : Rothmannia wittii (Craib) Bremek. ชื่อวงศ์ : RUBIACEAE Common name : Ivory Bell Tree. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดกลาง สูง 5-14 ม. ผลัดใบ เปลือกสีน�้ำตาลเข้ม เรียบหรือแตกสะเก็ด ชิ้นขนาดเล็ก ตามกิ่งอ่อน ยอดอ่อน แผ่นใบ ก้านใบ ช่อดอกและผลมีขนหนานุ่มคล้ายก�ำมะหยี่ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปไข่กลับ รูปรี หรือรูปขอบขนาน กว้าง 4-7 ซม. ยาว 7-13 ซม. ปลายใบมน-กลม และหยักคอดเป็นติ่งสั้น โคนใบ รูปลิ่ม-มน แผ่นใบค่อนข้างหนา มีเส้นแขนงใบข้างละ 7-11 เส้น ช่อดอกกระจุก ออกตามซอกใบและปลายกิ่ง มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงสีเขียว เชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย สูง 5 มม. ปลายแยกเป็น 5 ติ่งสั้น กลีบดอกสีขาว รูประฆัง ท่อยาว 3-4 ซม. ด้านในสีเหลืองอมเขียว ปลายแยกเป็น 5 แฉก รูปไข่ ยาว 1.5 ซม. บานโค้งกลับ ด้านในกลางแฉกมีจุดกระสีม่วงแดง จ�ำนวนมาก ผลทรงกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 4-5 ซม. ผลสุกสีด�ำ มีเมล็ดจ�ำนวนมาก นิเวศวิทยา : พบตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าเต็งรัง ในพื้นที่ที่มีการระบายน�้ำดี ที่ความสูงใกล้ระดับน�้ำทะเล จนถึงประมาณ 1,000 ม. ออกดอกเดือนมีนาคม-มิถุนายน เป็นผลเดือนมิถุนายน-กันยายน การกระจายพันธุ์ : ในประเทศไทยพบเกือบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ประเทศลาวพบทุกภาค และพบในประเทศกัมพูชา และเวียดนามตอนกลางจนถึงตอนใต้ ประโยชน์ : แก่นหรือรากต้มน�้ำดื่มแก้ไข้, ล�ำต้นผสมกับสมุนไพรอื่นต้มน�้ำดื่มรักษากามโรค, เนื้อในผลมีสีด�ำแฉะเล็กน้อย มีรสหวานกินได้ เป็นยาแก้เจ็บคอ, เหมาะสมต่อการปลูกเป็นไม้ประดับ เนื่องจากมีดอกสวยและมีกลิ่นหอมในตอน กลางคืน แต่ค่อนข้างเจริญเติบโตช้า
207 Plants of Thailand and Lao PDR in Mekong Region
208 พรรณไม้ ไทย-ลาว สองฝั่งโขง ตะลุมพุก ชื่อพื้นเมืองไทย : กระล�ำพุก บักลุมพุก มะคังขาว ຊື່ລາວ : ລຸມພຸກ ชื่อพฤกษศาสตร์ : Tamilnadia uliginosa (Retz.) Tirveng. & Sastre ชื่อพ้อง : Catunaregam uliginosa (Retz.) Sivar. ชื่อวงศ์ : RUBIACEAE Common name : Divine jasmine. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม สูง 4-10 ม. ผลัดใบ ต้นอายุน้อยเปลือกเรียบ ต้นแก่แตกเป็นสะเก็ด สีน�้ำตาล ปลายกิ่งโน้มลง มีเนื้อไม้อ่อนและยืดหยุ่น มีหนามแหลมคมที่ซอกใบ ยาว 1-2 ซม. ตามกิ่งอ่อน ใบ ดอกและผลเกลี้ยง ไม่มีขน ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามและเป็นกระจุกที่ปลายกิ่ง รูปไข่กลับ-ใบหอกกลับ ยาว 8-17 ซม. ปลายใบแหลม-มน โคนใบสอบเรียว ผิวใบด้านบนมันเงา มีเส้นแขนงใบข้างละ 5-7 เส้น ก้านใบยาว 0.5-1 ซม. ดอกเดี่ยว ออกที่ปลายกิ่ง ดอกคว�่ำลง มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงและฐานรองดอกรูประฆัง ยาว 1 ซม. สีเขียว กลีบดอกสีขาว รูปคล้ายชาม ดอก บานกว้าง 3-5 ซม. โคนกลีบติดกัน ปลายแยก 5-6 แฉก รูปกลม ปลายกลีบกลม-เว้าบุ๋ม โคนซ้อนกัน อับเรณูยาว 1 ซม. ติดที่โคนกลีบและบิดเวียนเล็กน้อย ก้านดอกยาว 1.5-3 ซม. ผลทรงรี-ไข่ กว้าง 3-5 ซม. ยาว 4-6 ซม. ผิวเกลี้ยง เมื่อสุกสีเหลือง มีเมล็ดจ�ำนวนมาก นิเวศวิทยา : ขึ้นในที่โล่งแจ้ง ในบริเวณพื้นที่ราบน�้ำท่วมถึง หรือในเขตพื้นที่ดอนบริเวณที่เป็นแอ่งกระทะมีน�้ำท่วม ขังชื้นแฉะในฤดูฝน พบในป่าผลัดใบ ป่าบุ่งป่าทาม และตามทุ่งนา ที่ความสูงใกล้ระดับน�้ำทะเลจนถึงประมาณ 800 ม. ผลัดใบช่วงเดือนมกราคม ออกดอกและติดผลเกือบตลอดทั้งปี การกระจายพันธุ์ : ประเทศไทยและลาวพบทุกภาค และพบในเขตร้อนของภูมิภาคเอเชียใต้ ประเทศเมียนมาร์ และภูมิภาคอินโดจีน ประโยชน์ : ยอดอ่อนรสขมอมฝาด กินเป็นผักสดจิ้มน�้ำพริก และช่วยแก้ท้องร่วง, ผลระยะห่ามรสมันฝาด สับเป็นชิ้นเล็ก แล้วขย�ำกับน�้ำมะขามเปียกช่วยลดความฝาด แล้วใช้ต�ำส้ม, รากต้มน�้ำดื่มรักษาโรคกระเพาะ, แก่นไม้มีเนื้อเหนียว แข็งแรงและหนัก ใช้ท�ำสากต�ำข้าว หรือด้ามเครื่องมือต่าง ๆ หรือท�ำ ตะลุมพุก (ค้อนไม้ใช้ทุบผ้า ต�ำข้าว ตอกสิ่ว ทุบ แผ่นกระเบื้อง)
209 Plants of Thailand and Lao PDR in Mekong Region
210 พรรณไม้ ไทย-ลาว สองฝั่งโขง มะสัง ชื่อพื้นเมืองไทย : หมากกะสัง สัง ຊື່ລາວ : ໝາກສັງ ชื่อพฤกษศาสตร์ : Citrus lucida (Scheff.) Mabb. ชื่อพ้อง : Feroniella lucida (Scheff.) Swingle ชื่อวงศ์ : RUTACEAE Common name : Stone Citrus Tree. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น สูง 5-15 ม. ผลัดใบช่วงสั้น เปลือกขรุขระ มีหนามแตกแขนง ยาวได้ถึง 15 ซม. ตามกิ่งอ่อน แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ และช่อดอกมีขนสั้นหนานุ่ม กิ่งมีหนามแหลมคม ยาว 1-5 ซม. ใบประกอบแบบ ขนนกปลายคี่ เรียงสลับ แกนใบยาว 4-10 ซม. มีใบย่อยเรียงตรงข้าม 5-11 ใบ รูปรีกว้าง หรือรูปไข่กลับ ยาว 1.5-3 ซม. ปลายใบมน-เว้าบุ๋ม ขอบใบเรียบ โคนใบมน-กลม ผิวใบด้านบนมันเงา เนื้อใบหนาเมื่อขยี้มีกลิ่นหอม ก้านใบย่อย ยาว 1-2 มม. มีเส้นแขนงใบข้างละ 4-6 เส้น ช่อดอกแยกแขนง ยาว 4-10 ซม. ออกตามซอกใบ มีกลิ่นหอมคล้าย ดอกส้ม กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 5-6 กลีบ กลีบดอกสีขาวอมเขียว รูปไข่-ใบหอก ยาว 1.5-2 ซม. ปลายกลีบ เรียวแหลม เกสรเพศผู้ 14-24 เกสร ยาวมากกว่ากลีบดอก ผลทรงกลมแป้น กว้าง 5-10 ซม. สูง 3.5-6 ซม. เปลือก สีเขียวเข้ม เรียบเกลี้ยงและแข็งมาก หนา 1-1.5 ซม. เมื่อสุกสีเขียวอมเหลือง มีเมล็ดจ�ำนวนมาก นิเวศวิทยา : ขึ้นตามที่โล่งแจ้ง ชายป่าของป่าผลัดใบ หรือป่าดิบแล้ง ที่อยู่ในเขตที่ราบน�้ำท่วมถึง หรือในป่าบุ่งป่าทาม มักขึ้นตามเนินดิน ที่ความสูงใกล้ระดับน�้ำทะเลจนถึงประมาณ 400 ม. ออกดอกและติดผลตลอดปี การกระจายพันธุ์ : ในประเทศไทยค่อนข้างหายากในธรรมชาติ พบเกือบทุกภาค ยกเว้นภาคเหนือและภาคใต้ ประเทศลาวพบตอนกลางและตอนใต้ ประเทศกัมพูชา เวียดนามตอนใต้ และเกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ประโยชน์ : ยอดอ่อนมีกลิ่นหอม กินเป็นผักสดจิ้มน�้ำพริก ลาบ ก้อย, ผลดิบ-สุก ผ่าครึ่งควักเอาเฉพาะเนื้อในสีขาว มีรสเปรี้ยวจัดใช้แทนมะนาว ใส่ต้มปลา ต�ำน�้ำพริก ต�ำส้ม หรือจิ้มเกลือทานช่วยระบายท้อง
211 Plants of Thailand and Lao PDR in Mekong Region
212 พรรณไม้ ไทย-ลาว สองฝั่งโขง ปลาไหลเผือกเล็ก ชื่อพื้นเมืองไทย : ปลาไหลเผือกน้อย เอียนด่อนเล็ก ຊື່ລາວ : ກົກອ່ ຽນດ່ ອນ ອ່ ຽນດ່ ອນ ຫຍ້ າຮາກດຽວ ชื่อพฤกษศาสตร์ : Eurycoma harmandiana Pierre ชื่อพ้อง : - ชื่อวงศ์ : SIMAROUBACEAE Common name : Dwarf Eurycoma. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มเตี้ย สูงได้ถึง 30 ซม. มีเหง้าและรากแก้วอวบหนา ยาว 15-30 ซม. ตามก้านใบ แกนใบ ช่อดอก และดอกย่อยมีสีแดงเข้มและมีขนสั้นหนานุ่ม ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงเวียน ยาว 9-18 ซม. ก้านใบยาว 3-5 ซม. มีใบย่อย 7-11 ใบ เรียงตรงข้าม รูปแถบ กว้าง 0.3-0.5 ซม. ยาว 3-7 ซม. ปลายแหลม โคนใบรูปลิ่มและเบี้ยว แผ่นใบเนื้อหนา เกลี้ยงทั้งสองด้าน ไม่มีก้านใบย่อย ช่อดอกแยกแขนง ออกตามซอกใบ ยาวได้ถึง 15 ซม. ดอกย่อยแยกเพศหรือสมบูรณ์เพศอยู่ร่วมต้นเดียวกัน สีแดง กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 5 กลีบ กลีบดอก โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็นแฉกรูปขอบขนาน ยาว 3 มม. เกสรเพศผู้มี 5 อัน ยาว 2 มม. ผลติดเป็นกลุ่ม มีผลย่อย 1-5 ผล/กลุ่ม ทรงรี สีแดง ยาวประมาณ 1 ซม. ไม่มีก้านผลย่อย นิเวศวิทยา : ขึ้นในที่โล่งแจ้ง ตามพลาญหินทราย ทุ่งหญ้า ป่าละเมาะ หรือป่าเต็งรัง ที่เป็นดินปนทราย ที่ความสูง ใกล้ระดับน�้ำทะเลจนถึงประมาณ 300 ม. ออกดอกเดือนพฤศจิกายน-เมษายน เป็นผลเดือนมกราคม-มิถุนายน การกระจายพันธุ์ : พืชถิ่นเดียวระดับภูมิภาค (Regional endemic) พบเฉพาะบริเวณภูมิภาคอินโดจีนตอนกลาง และตอนใต้ ประเทศไทยพบเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตามจังหวัดที่ใกล้แม่น�้ำโขง ประเทศลาวพบตอนกลาง และตอนใต้ ประเทศกัมพูชา และเวียดนามตอนใต้ ประโยชน์ : มีสรรพคุณด้านสมุนไพรคล้ายต้นปลาไหลเผือก (Eurycoma longifolia) รากต้มน�้ำดื่ม แก้ไข้ แก้ปวด แก้ไข้มาลาเรีย ช่วยบ�ำรุงก�ำลัง ฝนน�้ำทาแก้ฝีหนอง ฝนน�้ำดื่มมีรสเบื่อเมาใช้เลิกเหล้า
213 Plants of Thailand and Lao PDR in Mekong Region
214 พรรณไม้ ไทย-ลาว สองฝั่งโขง มะเฟืองป่า ชื่อพื้นเมืองไทย : - ຊື່ລາວ : - ชื่อพฤกษศาสตร์ : Pyrenaria jonquieriana Pierre ex Laness. ชื่อพ้อง : - ชื่อวงศ์ : THEACEAE Common name : Wild Camellia Tree. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น สูงถึง 30 ม. ไม่ผลัดใบ ตามกิ่งอ่อน ก้านใบ แผ่นใบด้านล่าง และกลีบเลี้ยงมีขน สั้นมันเงาคล้ายเส้นไหมแนบกับผิว เมื่อแก่เกลี้ยง ใบเดี่ยว รูปรีหรือรูปใบหอก กว้าง 2-5.5 ซม. ยาว 7-16 ซม. ปลาย ใบแหลมหรือเรียวแหลม โคนใบแหลมหรือมน ขอบใบจักฟันเลื่อยตื้น ผิวใบด้านบนเกลี้ยงและมันเงา แผ่นใบค่อนข้าง หนา เส้นแขนงใบข้างละ 7-11 เส้น ก้านใบยาว 5-12 มม. ดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง เมื่อบานเส้นผ่าน ศูนย์กลาง 3-3.5 ซม. ก้านดอกยาว 1-1.5 ซม. มีใบประดับ 2 ใบ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ สีครีม กลีบดอก 5 กลีบ สีขาว รูปไข่กลับ ยาว 1.5 ซม. ปลายกลม-เว้าบุ๋ม เกสรเพศผู้สีเหลือง มีจ�ำนวนมาก ผลทรงรีหรือรีกว้าง กว้าง 2.2-3.5 ซม. ยาว 3.5-5.5 ซม. มีสันตามยาว 3 สันหรือสันไม่ชัดเจน ภายในมีเมล็ด 1-3 เมล็ด ผลอ่อน-สุกสีเขียว นิเวศวิทยา : ขึ้นในเขตที่ราบเชิงเขา หรือที่ลาดชัน ใกล้ล�ำธาร ในป่าดิบแล้ง หรือป่าดิบเขา ที่ความสูงจากระดับ น�้ำทะเล 200-1,500 ม. ออกดอกเดือนธันวาคม-มีนาคม ผลแก่เดือนมีนาคม-พฤษภาคม การกระจายพันธุ์ : ประเทศไทยพบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ภูวัว จังหวัดบึงกาฬ ประเทศลาวทางตอนกลาง และตอนใต้ลงไปถึงแขวงจ�ำปาสักและอัตตะปือ ประเทศเวียดนามตอนกลางและตอนเหนือ และประเทศจีนที่เกาะ ไห่หนาน และมณฑลยูนนานตอนใต้ ประโยชน์ : -
215 Plants of Thailand and Lao PDR in Mekong Region
216 พรรณไม้ ไทย-ลาว สองฝั่งโขง กฤษณา ชื่อพื้นเมืองไทย : ไม้หอม ຊື່ລາວ : ເກດສະໜາ ປໍເຫືອງ ชื่อพฤกษศาสตร์ : Aquilaria crassna Pierre ex Lecomte ชื่อพ้อง : - ชื่อวงศ์ : THYMELAEACEAE Common name : Eagle wood. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น สูงถึง 40 ม. ไม่ผลัดใบ เปลือกบางและเรียบสีน�้ำตาลอมเทา เปลือกและใบ มีเส้นใยเหนียวสีขาว ยอดมีขนไหมสีขาว ตามก้านใบและช่อดอกมีขนสั้นนุ่มสีขาว ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปรีแกมรูปขอบขนาน หรือรูปรี กว้าง 2.5-6 ซม. ยาว 7-11 ซม. ปลายใบแหลมหรือเรียวแหลม โคนใบมน-รูปลิ่ม แผ่นใบบางแต่เหนียว ผิวใบด้านบนเกลี้ยงสีเขียวเป็นมัน ผิวใบด้านล่างมีขนคล้ายเส้นไหมสีขาวประปราย-เกลี้ยง เส้นแขนงใบข้างละ 12- 18 เส้น ก้านใบยาว 3-7 มม. ช่อดอกกระจุก ออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกมีกลิ่นหอม สีขาวหรือสีเขียวอ่อน กลีบเลี้ยงรูประฆัง ยาว 6-10 มม. ปลายแยก 5 แฉก รูปกลม กว้าง 3-4 มม. บานกลับ กลีบดอกลดรูป (เป็นวงแหวน) สูง 1-1.5 มม. ผลทรงไข่กลับหรือเกือบกลม กว้าง 3-4.5 ซม. ยาว 4-6 ซม. ผิวสีเขียวอ่อน มีขนก�ำมะหยี่นุ่ม มีกลีบเลี้ยง ขยายออกคลุมที่ขั้วผล เมื่อแก่เปลือกผลจะแตกออก 2 ซีก มี 1-2 เมล็ด สีน�้ำตาลเข้ม-สีด�ำ รูปหยดน�้ำ ยาว 1.5-2 ซม. นิเวศวิทยา : ขึ้นตามที่ราบหรือที่ลาดชันในป่าดิบชื้น ส�ำหรับในป่าดิบแล้งมักจะพบตามพื้นที่ชุ่มชื้นใกล้ล�ำธาร ที่ความสูงใกล้ระดับน�้ำทะเลจนถึงประมาณ 1,000 ม. ออกดอกเดือนธันวาคม-เมษายน ผลแก่เดือนกุมภาพันธ์-กรกฎาคม การกระจายพันธุ์ : พืชถิ่นเดียวระดับภูมิภาค (Regional endemic) พบเฉพาะในบริเวณภูมิภาคอินโดจีนตอน กลางและตอนใต้ ประเทศไทยพบในภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและด้านตะวันออกของภาคกลางและ ภาคเหนือ ประเทศลาวพบตอนกลางและตอนใต้ ประเทศเวียดนามตอนกลางและตอนใต้ และกัมพูชา ประโยชน์ : น�้ำมันกฤษณามีราคาสูงมาก เกิดจากเนื้อไม้ที่ถูกเชื้อราชนิดหนึ่งเข้าท�ำลาย แล้วต้นกฤษณาจะสร้าง น�้ำมันหอมระเหยขึ้นมาท�ำให้เนื้อไม้ส่วนนั้นกลายเป็นสีน�้ำตาล-สีด�ำ น�ำมากลั่นน�้ำมันหอมระเหยใช้ท�ำน�้ำหอมหรือ เครื่องหอมต่าง ๆ ในวัฒนธรรมอินเดียและอาหรับ, เนื้อไม้ที่เกิดกฤษณาหรือน�้ำมันเป็นสมุนไพร ช่วยบ�ำรุงหัวใจ บ�ำรุง โลหิต แก้อาเจียน วิงเวียน ท้องร่วง ปวดตามข้อ แก้กระหายน�้ำ, น�้ำมันจากเมล็ด ใช้รักษาโรคผิวหนัง แก้โรคเรื้อนและ โรคมะเร็ง
217 Plants of Thailand and Lao PDR in Mekong Region
218 พรรณไม้ ไทย-ลาว สองฝั่งโขง กฤษณาน้อย ชื่อพื้นเมืองไทย : กฤษณาน้อย ຊື່ລາວ : ເກດສະໜານອຍ້ ชื่อพฤกษศาสตร์ : Gyrinops vidalii P.H. Hô ชื่อพ้อง : - ชื่อวงศ์ : THYMELAEACEAE Common name : Lign-aloes Tree. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นขนาดเล็ก-กลาง สูง 10-15 ม. ไม่ผลัดใบ เปลือกบางเรียบ สีน�้ำตาลอมเทา เปลือกและใบมีเส้นใยเหนียวสีขาว ยอดมีขนไหมสีขาว ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปรีแกมรูปขอบขนาน หรือรูปใบหอก กว้าง 3-4 ซม. ยาว 4-7.5 ซม. ปลายใบยาวคล้ายหาง โคนใบมน-รูปลิ่ม ขอบใบเรียบ แผ่นใบค่อนข้างหนาและเหนียว ด้าน บนเป็นมันเงา เกลี้ยงทั้งสองด้าน เส้นแขนงใบข้างละ 15-18 เส้น ปลายเส้นจรดกับเส้นขอบใบ ก้านใบยาว 0.5 ซม. เกลี้ยง ดอกเดี่ยวหรือช่อกระจุกสั้น จ�ำนวน 1-3 ดอก ออกปลายกิ่งหรือตามซอกใบ กลีบเลี้ยงสีครีม เป็นหลอดยาว 1-1.5 ซม. ปลายแยก 5 แฉก ยาว 0.3 ซม. มีขนสั้นประปราย กลีบดอกลดรูปเป็นเกล็ดเล็กติดบนหลอดกลีบเลี้ยงด้าน ในและมีขนสั้นหนานุ่ม ผลทรงกระสวย ยาว 2.5-4 ซม. ปลายผลและโคนผลเรียวแหลม มีขนประปราย เมื่อแก่แตก เป็น 2 ซีก ก้านผลยาว 2 ซม. มีหลอดกลีบเลี้ยงติดคงทนที่โคนผล นิเวศวิทยา : ขึ้นตามที่ราบเชิงเขา ใกล้ล�ำธารในป่าดิบแล้ง ที่ความสูงจากระดับน�้ำทะเล 200-300 ม. ออกดอกเดือน มีนาคม-พฤษภาคม เป็นผลเดือนพฤษภาคม-กันยายน การกระจายพันธุ์ : พืชถิ่นเดียวระดับเมืองหรือรัฐ (Province endemic) และเป็นพืชที่หายากมาก พบเฉพาะบริเวณ เทือกเขาภูเขาควายในแขวงเวียงจันทน์ และบอลิค�ำไซ ประเทศลาว และพบในประเทศไทยที่ภูวัว จังหวัดบึงกาฬ ประโยชน์ : ใช้ประโยชน์คล้ายกับกฤษณา (Aquilaria crassna)
219 Plants of Thailand and Lao PDR in Mekong Region
220 พรรณไม้ ไทย-ลาว สองฝั่งโขง บรรณานุกรม เกียรติสุรักษ์ โภคสวัสดิ์, ศศิธร ถิ่นนคร, สมพล ไวปัญญา, โสระยา รัชดาภรณ์วานิช และเกียรติศักดิ์ กล�่ำเอม. 2546. พืชอาหารสัตว์พื้นเมือง เล่ม 1. โครงการความหลากหลายทางชีวภาพด้านปศุสัตว์, กรมปศุสัตว์, กรุงเทพฯ. 173 หน้า. ทรงกลด ประเสริฐทรง. 2554. ธรณีวิทยาระวางอ�ำเภอขุขันธ์ (5838 III) และระวางอ�ำเภอปรางกู่ (5838 IV), รายงานวิชาการ ฉบับที่ สทข 2/2554, ส�ำนักงานทรัพยากรธรณีเขต 2 (ขอนแก่น) กรมทรัพยากรธรณี. หน้า 76-128. มานพ ผู้พัฒน์, ปรีชา การะเกตุ, ขวัญใจ ค�ำมงคล และศรัณย์ จิระกร. 2561. ป่าบุ่งป่าทาม ภาคอีสาน. ส�ำนักงาน หอพรรณไม้, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม. 500 หน้า. ______________________, ธีรวัฒน์ ทะนันไธสง และกชพรรณ ศรีสาคร. 2563. พืชป่าสมุนไพร. กลุ่มงาน พฤกษศาสตร์ป่าไม้, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม. 500 หน้า. ส่วนพัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้. 2555. พรรณไม้สวนรุกขชาติไทย-ลาว. พิมพ์ครั้งที่ 1. ส�ำนักวิจัยการอนุรักษ์ ป่าไม้และพันธุ์พืช, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. 120 หน้า ส�ำนักงานหอพรรณไม้. 2557. ความหลากหลายและการใช้ประโยชน์พืชเมล็ดเปลือยในกลุ่มป่าภูเขียว-น�้ำหนาว. พิมพ์ครั้งที่ 1. ส�ำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. 96 หน้า. ________________. 2558. พืชที่ถูกคุกคามในป่าภูวัว-ภูลังกา. พิมพ์ครั้งที่ 1. ส�ำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และ พันธุ์พืช, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. 80 หน้า. สายสุดใจ ชุนเชาวฤทธิ์, มานพ ผู้พัฒน์, วิโรจน์ พวงภาคีศิริ, นิรัตน์ จินตนา และขวัญใจ ค�ำมงคล. 2559. นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ์ของหม้อข้าวหม้อแกงลิงในประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กลุ่มงาน วิจัยพันธุ์พืชป่ามีค่า หายาก ใกล้สูญพันธุ์, กองคุ้มครองพันธุ์สัตว์ป่าและพืชป่าตามอนุสัญญา, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. 136 หน้า. Balslev, H. & Chantaranothai, P. 2020. Leguminosae-Papilionoideae. In: K. Chayamarit & H. Balslev (eds.), Flora of Thailand 4(3.1): 221-487. Barfod, A.S., Dransfield, J., Pongsattayapipat, R., Henderson, A. & Hodel, D. 2013. Arecaceae. In: T. Santisuk & K. Larsen (eds.), Flora of Thailand 11(3): 323-498. Bunopas, S. 1982. Paleogeographic history of western Thailand and adjacent parts of southeast Asia : a plate tectonics interpretation 5: 810. Geological Survey Division, Department of Mineral Resources, Bangkok. Byrne, C., Parnell, J.A.N. & Chayamarit, K. 2019. Hypericaceae. In: K. Chayamarit & H. Balslev (eds.), Flora of Thailand 14(3): 481-494.
221 Plants of Thailand and Lao PDR in Mekong Region Chamchumroon, V. & Puff, C. 2003. The Rubiaceae of Ko Chang, south-eastern Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 31: 13-26. Chayamarit, K. 1991. Capparaceae. In: T. Santisuk & K. Larsen (eds.), Flora of Thailand 5(3): 241-271. ___________ & Van Welzen, P.C. 2005. Euphorbiaceae. In: T. Santisuk & K. Larsen (eds.), Flora of Thailand 8(1): 231-253. ___________. 2010. Anacardiaceae. In: T. Santisuk & K. Larsen (eds.), Flora of Thailand 10(3): 265-329. Cheng, S.L. & Gilbert, M.G. 1994. Verbenaceae. In: C. Y. Wu & P. H. Raven (eds.), Flora of China 17: 32–33. Science Press, Beijing, China. Coelho, N., Goncalves, S. & Romano, A. 2020. Endemic Plant Species Conservation: Biotechnological Approaches. Plants 9(3): 345. Basel, Switzerland. Cooper, M.A., Herbert, R., & Hill, G.S., 1989. The Structural Evolution of Triassic Intermontane Basins in Northeastern Thailand, In: T. Thanasuthipitak & P. Ounchanum (eds.), Proceedings of the Intermontane Basins. Geology and Resources: 231-242. Chiang Mai University, Chiang Mai. Gardner, S., Sidisunthorn, P. & Anusarnsunthorn, V. 2007. A field guide to Forest Trees of Northern Thailand. Kobfai Publishing Project, Bangkok. Ghora, C. & Panigrahi, G. 1985. Taxonomic delineation within the Rosa clinophylla Thory complex. Journal of Japanese botany 60: 53–62. Hai Ninh, L.N. & Yang, S.X. 2022. The taxonomy treatment of Camellia luuana (sect. Dalatia) in the Central Highlands, Vietnam. Dalat University Journal of Science 12(3): 70-79. Harwood, B. & Webber, B. 2015. Achariaceae. In: T. Santisuk & H. Balslev (eds.), Flora of Thailand 13(1): 1-17. Hite, R.J. and Japakasetr, T. 1979. Potash Deposits of the Khorat Plateau, Thailand and Laos. Economic Geology 74: 448-458. Hodel, D.R. & Vatcharakorn, P. 1998. The Palms of Thailand. In: D.R. Hodel (eds.), The Palms and Cycads of Thailand: 160. Allen Press, Inc., Kansas, USA. Hoogland, R.D. 1972. Dilleniaceae. In: T. Santisuk & K. Larsen (eds.), Flora of Thailand 2(2): 95-108. Johnson, D.M. & Murray, N.A. 2022. Annonaceae. In: K. Chayamarit & H. Balslev (eds.), Flora of Thailand 16(1): 1-332. Kobayashi, T. 1980. Notes on the Mesozoic history of Thailand and adjacent territories. Geology and Palaeontology of Southeast Asia 21:27-32. Kok, R. 2012. A revision of the genus Gmelina (Lamiaceae). Kew Bulletin 67: 293-329.
222 พรรณไม้ ไทย-ลาว สองฝั่งโขง La-ongsri, W. 2020. Nelumbonaceae. In: K. Chayamarit & H. Balslev (eds.), Flora of Thailand 14(4): 511-515. Larsen, K., Larsen, S.S. & Vidal, J.E. 1984. Leguminosae-Caesalpinioideae. In: K. Chayamarit & H. Balslev (eds.), Flora of Thailand 4(1): 1-130. __________________. 1997. Bauhinia sirindhorniae sp. nov. (Leguminosae-Caesalpinioideae) a remarkable new species from Thailand. Nordic Journal of Botany 17: 113. Li, B., Leeuwenberg, A.J.M. & Middleton, D.J. 1995. Apocynaceae. In: C.Y. Wu & P.H. Raven (eds.), Flora of China 16: 159-162. Science Press, Beijing, China. Middleton, D.J. 1999. Apocynaceae. In: T. Santisuk & K. Larsen (eds.), Flora of Thailand 7(1): 1-153. Newman, M., Ketphanh, S., Svengsuksa, B., Thomas, P., Sengdala, K., Lamxay, V. & Armstong, K. 2007. A checklist of the vascular plants of Lao PDR. Royal Botanic Garden, Edinburgh. Nielsen, I.C. 1985. Leguminosae-Momosoideae. In: K. Chayamarit & H. Balslev (eds.), Flora of Thailand 4(2): 131-220. Parnell, J. & Chantaranothai, P. 2002. Myrtaceae. In: T. Santisuk & K. Larsen (eds.), Flora of Thailand 7(4): 655-661. Peterson, B. (1997). Thymelaeaceae. In: T. Santisuk & K. Larsen (eds.), Flora of Thailand 6(3): 179-185. Phengklai, C. 1975. Podocarpaceae. In: T. Smitinand & K. Larsen (eds.), Flora of Thailand 2(3): 197-280. __________. 1975. Rosaceae. In: T. Smitinand, & K. Larsen (eds.), Flora of Thailand 2(1): 1-92. __________. 1975. Simaroubaceae. In: T. Smitinand & K. Larsen (eds.), Flora of Thailand 2(4): 281-464. __________. 1981. Ebenaceae. In: T. Smitinand & K. Larsen (eds.), Flora of Thailand 2(4): 281-392. __________. 1993. Tiliaceae. In: T. Smitinand, & K. Larsen (eds.), Flora of Thailand 6(1): 1-9. __________. 2001. Hamamelidaceae. In: T. Santisuk & K. Larsen (eds.), Flora of Thailand 7(3): 400-411. __________. 2005. Bombacaceae. In: T. Santisuk & K. Larsen (eds.), Flora of Thailand 9(1): 1-6. Phonsena, P. & Wilkie, P. 2008. Scaphium affine (Mast.) Pierre (Sterculiaceae) new for Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 36: 61-69. ___________., Duyfjes, B.E.E. & de Wilde, W.J.J.O. 2014. Lythraceae. In: T. Santisuk & H. Balslev (eds.), Flora of Thailand 11(4): 547-597. Phuphathanaphong, L. 2019. Malvaceae. In: K. Chayamarit & H. Balslev (eds.), Flora of Thailand 14(2): 185-251.
223 Plants of Thailand and Lao PDR in Mekong Region Pooma, R., Poopath, M. & Newman, M.F. 2017. Dipterocarpaceae. In: T. Santisuk & H. Balslev (eds.), Flora of Thailand 13(4): 557-685. Puff, C., Chayamarit, K. & Chamchumroon, V. 2005. Rubiaceae of Thailand. Forest Herbarium, Bangkok. ______________________________________. & Esser, H.J. 2021. Rubiaceae. In: K. Chayamarit & H. Balslev (eds.), Flora of Thailand 15(1): 1-235. Santisuk, T. 1987. Bignoniaceae. In: T. Santisuk & K. Larsen (eds.), Flora of Thailand 5(1): 32-66. Sattayarak, N. & Polachan, S. 1990. Rock Salt Beneath the Khorat Plateau. Proceedings on Mineral Management: 1-14. Department of Mineral Resources, Bangkok. Soh, W.K. & Parnell, J. 2015. A revision of Syzygium Gaertn. (Myrtaceae) in Indochina (Cambodia, Laos, and Vietnam). Adansonia 37(2): 179-275. Sookchaloem, D. 1995. Typhonium (Araceae) in Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 23: 18-39. Takhtajan, A. 1986. Floristic regions of the world. University of California Press, California. Thammarong, W., Chantaranothai, P. & Pornpongrungrueng, P. 2020. Lecythidaceae. In: K. Chayamarit & H. Balslev (eds.), Flora of Thailand 14(4): 516-539. Van Welzen, P.C. & Chayamarit, K. 2007. Euphorbiaceae. In: T. Santisuk & K. Larsen (eds.), Flora of Thailand 8(2): 305-592. Xiwen, L., Jie, L., Puhua, H., Fa’nan, W., Hongbin, C. & Werff, H.V.D. 2008. Lauraceae. In: C.Y. Wu & P.H. Raven (eds.), Flora of China 7: 102. Science Press, Beijing, China. You Mi, L. 2016. A checklist of plants in Lao PDR. Korea National Arboretum of the Korea Forest Service, Korea.
224 พรรณไม้ ไทย-ลาว สองฝั่งโขง ดัชนีชือพฤกษศาสตร์และชื ่ อวงศ์ ่(Index to botanical names & families) Bold for species in main text, nomal for synonyms. ACHARIACEAE 40 Afzelia xylocarpa 110 Akschindlium godefroyanum 126 Albizia attopeuensis 36, 112 Altingia excelsa 42 Altingia siamensis 42 ALTINGIACEAE 42 Alyxia lucida 56 Alyxia reinwardtii 56 ANACARDIACEAE 44 Anisoptera costata 88 ANNONACEAE 46-54 Anogeissus rivularis 84 Anthoshorea roxburghii 90 APOCYNACEAE 56-62 Aquilaria crassna 216, 218 ARACEAE 64 ARECACEAE 66-68 Artabotrys spinosus 36, 52 Barringtonia acutangula 148, 150 Bauhinia lakhonensis 118 Bauhinia sirindhorniae 130 BIGNONIACEAE 70-74 Bombax ceiba 158 Butea monosperma 114 CAPPARACEAE 76 Capparis magna 76 Careya arborea 150 Cassia fistula 13, 116 Catunaregam uliginosa 208 Cephalanthus tetrandra 192 Cheniella lakhonensis 36, 118 Cinnamomum subavenium 146 Citrus lucida 210 CLUSIACEAE 78 COMBRETACEAE 80-84 Corypha lecomtei 35, 66 Crateva magna 76 Cratoxylum formosum subsp. formosum 140 Croton poomae 108 Crudia chrysantha 35, 120 Cynometra craibii 36, 122 Dacrydium elatum 184 Dacrydium pierrei 184 Dalbergia cochinchinensis 35, 124 Dendrobium kontumense 36 Dillenia obovata 86 DILLENIACEAE 86 Diospyros bangoiensis 36 DIPTEROCARPACEAE 88-106 Dipterocarpus alatus 92 Dipterocarpus intricatus 35, 94 Dipterocarpus obtusifolius 96 Dipterocarpus tuberculatus 98 Dolichandrone serrulata 70 Droogmansia godefroyana 126 EUPHORBIACEAE 108 Eurycoma harmandiana 212 Eurycoma longifolia 212 FABACEAE 110-136 Fagraea fragrans 138 Feroniella lucida 210 Garcinia cowa 78 Gardenia lineata 200 Gardenia saxatilis 194 Gardenia sootepensis 196 Gardenia stenophylla 36, 198 GENTIANACEAE 138 Gluta laccifera 44 Gmelina racemosa 142
225 Plants of Thailand and Lao PDR in Mekong Region Goniothalamus laoticus 46 Gyrinops vidalii 36, 218 Hibiscus grewiifolius 160 Hopea odorata 100 Hopea pierrei 36 Hydnocarpus anthelminthicus 40 Hydnocarpus castanea 40 HYPERICACEAE 140 Kailarsenia lineata 36, 200 Kopsia angustipetala 36, 58 Lagerstroemia balansae 152 Lagerstroemia cochinchinensis 152 Lagerstroemia collinsae 152 Lagerstroemia noei 154 Lagerstroemia spireana 156 LAMIACEAE 142-144 LAURACEAE 146 LECYTHIDACEAE 148-150 Liquidambar excelsa 42 Lithocarpus corneus 36 LYTHRACEAE 152-156 MALVACEAE 158-164 Mayodendron igneum 72 Meibomia godefroyana 126 Melanorrhoea laccifera 44 Melodorum siamense 50 Millingtonia hortensis 74 Mitragyna diversifolia 192 Mitrephora laotica 46 Morinda pandurifolia 202 Morinda pandurifolia var. oblonga 202 Morinda pandurifolia var. tenuifolia 202 MYRTACEAE 166 Nelumbo nucifera 168 NELUMBONACEAE 168 NEPENTHACEAE 170 Nepenthes anamensis 170 Nepenthes smilesii 170 Nymphaea capensis var. zanzibariensis 172 Nymphaea nouchali 172, 174 Nymphaea rubra 174 NYMPHAEACEAE 172-174 Oxyceros horridus 204 Parashorea densiflora subsp. kerrii 36, 102 Parashorea kerrii 102 Peltophorum dasyrrhachis 156, 128 Pentacme siamensis 104 Phanera lakhonensis 118 Phanera sirindhorniae 36, 130 PHYLLANTHACEAE 176-178 Phyllanthus angkorensis 176, 178 Phyllanthus emblica 176 Phyllanthus polyphyllus var. siamensis 176 Phyllanthus taxodiifolius 178 PINACEAE 180-182 Pinus kesiya 29, 180, 182 Pinus latteri 28, 182 Pinus merkusii 182 Plumeria acuminata 60 Plumeria acutifolia 60 Plumeria obtusa 62 Plumeria rubra 15, 60, 62 POACEAE 186 PODOCARPACEAE 184 POLYGALACEAE 188 Pterocarpus macrocarpus 132 Pyrenaria jonquieriana 36, 214 Radermachera ignea 72 Rauwenhoffia siamensis 50 Rhapis laosensis 68 Ridsdalea wittii 206
226 พรรณไม้ ไทย-ลาว สองฝั่งโขง Rosa clinophylla 190 ROSACEAE 190 Rothmannia wittii 206 RUBIACEAE 192-208 RUTACEAE 210 Scaphium affine 164 Scaphium lychnophorum 164 Schizostachyum sp. 186 Schoutenia glomerata subsp. peregrina 35, 162 Schoutenia peregrina 162 Shorea obtusa 40, 106 Shorea roxburghii 90 Shorea siamensis 104 SIMAROUBACEAE 212 Sindora cochinchinensis 134 Sindora siamensis 134 Sphaerocoryne lefevrei 48 Sphaerocoryne siamensis 48 Sphenodesme mekongensis 144 Stereospermum serrulatum 70 Syzygium thorelii 166 Tamilnadia uliginosa 208 Terminalia alata 80 Terminalia elliptica 80 Terminalia pedicellata 36, 82 Terminalia rivularis 36, 84 Terminalia tomentosa 80 THEACEAE 214 THYMELAEACEAE 216-218 Typhonium laoticum 36, 64 Uvaria rufa 54 Uvaria siamensis 50 Xanthophyllum lanceatum 188 Xylia xylocarpa 136
227 Plants of Thailand and Lao PDR in Mekong Region ดัชนีชื่อไทย กกโดน 150 กระโดน 150 กระโดนทุ่ง 148 กระโดนน�้ำ 148 กระโดนสร้อย 148 กระตุก 42 กระทุ่มนา 192 กระบาก 88 กระเบา 40 กระเบาค่าง 40 กระเบาน�้ำ 40 กระเบาใหญ่ 40 กระล�ำพุก 208 กราด 94 กฤษณา 146, 216, 218 กฤษณาน้อย 36, 218 กวาวต้น 114 ก่อบังบาตร 36, 37 กะสิน 162 กะหวัน 50 กันเกรา 138 กางของ 74 ก้านของ 74 ก้ามกุ้ง 202 กาสะลอง 74 กาสะลองค�ำ 72 กุง 98 กุ่ม 76 กุ่มก่าง 76 กุ่มน�้ำ 76 กุหลาบน�้ำ 190 เกล็ดเข้ 36, 102, 112 เกี๊ยะ 180 เกี๊ยะแดง 180 เกี๊ยะเปลือกบาง 180 เกี๊ยะเปลือกหนา 182 ข่อยหิน 194 ขะยอม 90 ขะยุง 124 ข้าวหลามดง 46 ขี้หมู 206 ไข่เน่า 196 คนทาน�้ำ 190 คร่อเทียน 33, 36, 84 คัดเค้า 204 คัดเค้าเครือ 204 ค�ำมอกหลวง 196, 198 คูน 13, 116 เค็ดเค้า 204 เครือกล้วยน้อย 50 แคขาว 70 แคทราย 70 แคน 100 แคนหิน 102 แคนา 70 แคป่า 70 แคฝอย 70 แคะเป๊าะ 72 ไคร้หางนาค 178 งาช้าง 160 งิ้ว 158 งิ้วแดง 158 งิ้วบ้าน 158 แงะ 106 จงเพียร 160 จงอางเครือ 144 จวงผา 184 จอง 164 จะเคียน 100 จั๋งภูพาน 68 จาน 114 จ�ำปา 15, 60, 62 จ�ำปาขาว 62 จ�ำปาขอม 15, 60 จ�ำปาลาว 15, 60 จ�ำปาย 15 จิก 106, 148 จิกนา 148, 150 จิกน�้ำ 148 ชะมวง 78 ชะลูด 56 ชุมแสง 188 เชือก 80 ไชยวาน 192 ไชหิน 126 ซ้อหิน 36, 142 ซาด 96 เซว 176 เซือก 80 ไซหิน 126 ดู่ 132 ดู่ขาว 120 แดง 136 ตอง 148 ตองหมอง 126 ตะกร้อม 136 ตะเกรา 138 ตะเคียน 100 ตะเคียนทอง 100 ตัวหนาเป็นชือทางการและมีค�่ำบรรยาย, ตัวปกติเป็นชือพื่ ้นเมืองอื่นๆ หรือมีการกล่าวถึง
228 พรรณไม้ ไทย-ลาว สองฝั่งโขง ตะเคียนราก 36, 37 ตะเคียนหนูน�้ำ 84 ตะไคร้น�้ำ 192 ตะเซว 176 ตะแบกเกรียบ 152 ตะแบกเตี้ย 154 ตะแบกนายเนย 154 ตะแบกเปลือกบาง 152 ตะลุมพุก 208 ต่างหมอง 126 ตาด 96 ต�ำยาน 42 ต�ำเสา 138 ติ้วขาว 140 ติ้วส้ม 140 ตีนตั่ง 54 ตึง 98 เต็ง 40, 102, 106 เต๊าะกระไบย 52 แต้ 134 แต้ว 140 แต้หนาม 134 แต้โหลน 134 ทอง 114 ทองกวาว 114 ท�ำเสา 138 นนทรีป่า 128 นมแมว 50 นาวน�้ำ 36, 52 น�้ำเกลี้ยง 44 น�้ำเต้าพระฤๅษี 170 น�้ำเต้าฤๅษี 170 น�้ำผึ้ง 162 นิโรบล 172 นูด 56 บักลุมพุก 208 บัวขาบ 172 บัวแดง 174 บัวนา 172 บัวผัน 172 บัวเผื่อน 172, 174 บัวสาย 174 บัวหลวง 168, 174 บาก 88 ปรก 42 ประดงเกล็ด 36, 112 ประดู่ 132 ประดู่ขาว 120 ประดู่ป่า 132 ประดู่ลาย 124 ประดู่เสน 124 ปลาไหลเผือก 212 ปลาไหลเผือกน้อย 212 ปลาไหลเผือกเล็ก 212 ปอขี้แฮด 46 ปัดหิน 194 ป้านแดง 174 ป้านสังกอน 172 ปีบ 74 ปีบทอง 72 ปุย 150 ปุยสาย 148 เปล้าทอง 108 เปล้าภูวัว 108 เปา 104 เปื๋อยกะแอ่ง 152 เปื๋อยน้อย 154 เปื๋อยนา 156 เปือยน�้ำ 156 เปื๋อยน�้ำ 156 เปื๋อยน�้ำสงคราม 156 เปื๋อยเปลือกบาง 152 เปื๋อยเลือด 36, 82 เปื๋อยหิน 82 แปก 180, 182 ผักกุ่ม 76 ผักติ้ว 140 ผ่าด้าม 196 ผีพ่วน 54 ไผ่กะแสน 186 ไผ่แคน 186 พญามะขามป้อม 184 พลวง 98 พะยอม 90 พะยูง 35, 120, 124 พันตะวัน 160 พีพวนน้อย 54 พุงทะลาย 164 พุดน�้ำตังเกี๋ย 198 พุดน�้ำภูวัว 198 พุดป่า 200 พุดผา 194 พุดแหลม 36, 58 มหาปราบ 146 มะคังขาว 208 มะค่า 110 มะค่าแต้ 134 มะค่าโมง 110 มะค่าหนาม 134 มะค่าหยุม 134 มะพลับธารทอง 36, 37 มะเฟืองป่า 214 มะสัง 210 มันปลา 138 ไม้กู่แคน 186
229 Plants of Thailand and Lao PDR in Mekong Region ไม้ลูกแคน 186 ไม้หอม 216 ไม้เฮี่ย 186 ยอเตี้ย 202 ยอทาม 202 ยอน�้ำ 202 ยอเบี้ย 202 ยาง 92 ยางกราด 35, 94 ยางนา 92 ยางพลวง 98 ยางหยวก 92 ยางเหียง 96 รกฟ้า 80 รวงผึ้ง 35, 162 รัก 44 รัง 102, 104 ราชพฤกษ์ 13, 116 ลมแล้ง 13, 116 ลวงผึ้ง 162 ลั่นทม 15, 60 ลั่นทมขาว 62 ลั่นทมขาวพวง 62 ลั่นทมใบมน 62 ลั่นทมใบแหลม 60 ลาน 66 ลานป่า 35, 66 ล�ำดวน 48 ล�ำดวนดง 48 ลีลาวดี 60, 62 ลูด 56 สนเขา 180 สนสร้อย 184 สนสองใบ 29, 182 สนสามใบ 29, 180, 182, 184 สนหางหมา 184 สบ 42 ส้มมวง 78 ส้มโมง 78 ส้มเสี้ยวเถา 118 สะกรอม 136 สะตือ 35, 120 สะแบง 94, 96 สะฝาง 128, 156 สะรอล 182 สัง 68, 210 สัตตบงกช 168 สัตตบรรณ 174 สัตตบุษย์ 168 สาน 68 ส้าน 86 ส้านต้อง 86 ส้านใหญ่ 86 สามพันปี 184 สามสิบสองประดง 130 ส�ำรอง 164 สิงไคต้น 146 สิรินธรวัลลี 36, 130 สุธาสิโนบล 172 สุรามะริด 146 เสว 176 เสียว 176, 178 เสียวน้อย 178 เสียวน�้ำ 178 เสียวใหญ่ 176 แสง 188 แสลงหอมไก๋ 196 หนามไก่ให้ 190 หนามคัดเค้า 204 หม้อข้าวหม้อแกงลิง 170 หมักม่อ 206 หมากกล้วยเห็น 50 หมากกะสัง 210 หมากจอง 164 หมากโมง 78 หมากหม้อ 206 หว้าน�้ำ 36, 166 หอมนวล 48 หัวชุม 52 หาดเครือ 36, 144 เหียง 96 เหียงกราด 94 แห่ 120, 122 แห้ 120 แห่น้อย 36, 122 แหะ 122 อบเชย 146 อะราง 128, 156 อินถวา 200 อินถวาทาม 200 อินถวาน้อย 36, 200 อุตพิดลาว 64 อุตพิดเล็ก 36, 64 เอียนด่อนเล็ก 212 เอื้องเงินวิลาศ 36, 37 ฮกฟ้า 80 ฮ่อสะพายควาย 144 ฮัง 104 ฮัดเครือ 144
230 พรรณไม้ ไทย-ลาว สองฝั่งโขง ກະເບົາ 40 ກະໂດນ 150 ກະໂດນນາໍ້ 148 ກະໂດນໂຄກ 150 ກາງຂອງ 74 ກ້ າງປາສ້ ອຍນາໍ້ 178 ກຸ່ ມ 76 ກຸ່ ມນໍ້າ 76 ກຸງ 98 ກຸຫຼາບນໍ້າ 190 ກົກອ່ ຽນດ່ ອນ 212 ກົກເປືອກ 146 ເກດສະໜາ 216 ເກດສະໜານອຍ້ 218 ຂະຍຸງ 124 ຂີ້ໜອນ 78 ຂີ້ໝູອາຍ 120 ໄຂ່ ເນົ່າ 196 ເຂົ້າຫຼາມດົງ 46 ຄອນໝາ 178 ຄັດເຄົ້າ 204 ຄູນ 13, 116 ເຄ 146 ແຄ 146 ແຄດອກຍາວ 70 ແຄນຂະຍອມ 90 ແຄນເຮືອ 100 ແຄປ່ າດອກຂາວ 70 ໄຄ້ ທຽນ 84 ເຄືອເຂົາງົວສັ້ນ 56 ງິ້ວດອກແດງ 158 ງິ້ວໃຫຍ່ 158 ຈວງດົງ 146 ຈອງບານ 164 ຈານ 114 ຈໍາປາແດງ 15, 60 ຈໍາປາ 15, 60 ຈໍາປາຂາວ 62 ຈິກ 106 ໂຈງອາງຫວງໄຂ່ 144 ຈົງອາງຫວງໄຂ່ 144 ສະຄາມ 128 ສະຝ້ າຍ 42 ສະຝາງ 128 ສະຟາງ 128 ສະວານ 192 ສານ 68 ສ້ ານໃບໄຂ່ ປີ້ນ 86 ສີດາໂຄກ 196 ແສງ 188 ສົບ 42 ສ້ ຽວເຄືອ 118 ຊາຍວານ 192 ຊາດ 96 ຊໍ່ຫີນ 142 ເຊືອກກ້ ຽງ 84 ເຊືອກທຽນ 84 ຍາງຂາວ 92 ຍາງສາແບງ 94 ຍາງນາ 92 ດັດຊະນີຊື່ລາວ (ดัชนีชื่อลาว)
231 Plants of Thailand and Lao PDR in Mekong Region ຍໍນາ 202 ດອກປິບ 72 ດອກລີບ 72 ແດງ 136 ຕາຜິດນອຍ້ 64 ຕາພິດນອຍ້ 64 ຕິ້ວສົ້ມ 140 ແຕ້ ຂ່ າ 110 ແຕ້ ຄ່ າ 110 ແຕ້ ໜາມ 134 ຕົ້ນກາບາ 126 ຕົ້ນຄູນ 13, 116 ເທົ້າສານ 68 ນໍ້າກ້ ຽງ 44 ບາກ 88 ບົວ 168 ບົວຂົນ 174 ບົວເຝື່ອນ 172 ບົວແດງ 174 ປະດົງເກັດ 112 ປໍຕອມ 160 ປໍຫົວເສືອ 160 ປໍເຫືອງ 216 ພິພວນ 54 ພຸດດານ 194 ພຸດນາໍ້ 200 ພຸດແຫຼມ 58 ແປກສອງຍອຍ 182 ແປກສອງໃບ 182 ແປກສາມຍອຍ 180 ແປກສາມໃບ 180 ແປກຍາງ 182 ເປືອຍ 152 ເປືອຍແດງ 152 ເປືອຍເຕ້ ຍ 154 ເປົ້າພູງົວ 108 ແພງ 86 ມັນປາ 138 ໄມ້ ຍາງ 92 ໄມ້ ດູ່ 132 ໄມ້ ໂລງເລງຂາວ 184 ລານ 66 ລ້ ານເສົ້າ 156 ລຸມພຸກ 208 ລໍາດວນ 48 ຫຍ້ າຮາກດຽວ 212 ຫວານໍ້າ ້ 166 ຫິ້ງຫອມແດງ 184 ແຫ 122 ແຫະ 122 ໝາມຂີ້ແຮດ 190 ໝາກສັງ 210 ໝາກມໍ້ 206 ອິນທະນິນ 156 ອິນທະຫວາດົງ 194 ອ່ ຽນດ່ ອນ 212 ຮັງ 104 ຮິ້ງນາໍ້ 184 ຮິ້ງຫອມ 184
232 พรรณไม้ ไทย-ลาว สองฝั่งโขง ที่ปรึกษา อรรถพล เจริญชันษา อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง รักษาการอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช รุ่งนภา พัฒนวิบูลย์ รองอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช นรินทร์ ประทวนชัย รองอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ รองอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ภูสิน เกตานนท์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช ไพบูลย์ รัตนะเจริญธรรม ผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 10 (อุดรธานี) ผู้เรียบเรียง กิตติมา ด้วงแค วรดลต์ แจ่มจ�ำรูญ นันทวรรณ สุปันตี โสมนัสสา ธนิกกูล มานพ ผู้พัฒน์ ผู้ประสานงานและเตรียมข้อมูล นันทวรรณ สุปันตี เทพวลี คะนานทอง นุชจรี เครือจันต๊ะ โสมนัสสา ธนิกกูล ธนวัฒน์ ธีระนันท์ กมลลักษณ์ อยู่มา ฤทธิรงค์ อรุณเดชาวัฒน์ ชนิษฐา สีสว่าง กชพรรณ ศรีสาคร ณัฐวุฒิ อุดมศิริพงษ์ อเนชา เชียงแรง ภาพ : มานพ ผู้พัฒน์, ปรีชา การะเกตุ, นัยนา เทศนา, โสมนัสสา ธนิกกูล, ราชันย์ ภู่มา, ปิยชาติ ไตรสารศรี, สุคนธ์ทิพย์ ศิริมงคล, ธมกร เพียรภายลุน, ขวัญใจ ค�ำมงคล, ธีรวัฒน์ ทะนันไธสง และ เสกสรร ไกรทองสุข คณะผู้จัดท�ำ ข้อมูลทางบรรณานุกรม จัดพิมพ์โดย กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ ส�ำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พิมพ์ครั้งที่ 1 : พฤศจิกายน 2566, จ�ำนวน 1,000 เล่ม พิมพ์ที่: บริษัท ประชาชน จ�ำกัด, 35 ซอยพิพัฒน์ ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500, 0-2636-6550 การอ้างอิง กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้. 2566. พรรณไม้ ไทย–ลาว สองฝั่งโขง. ส�ำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, กรุงเทพฯ. ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ พรรณไม้ไทย–ลาว สองฝั่งโขง.-- กรุงเทพฯ : กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2566. 232 หน้า. 1. พฤกษศาสตร์ -- ท�ำเนียบนาม. 2. พรรณไม้ -- ท�ำเนียบนาม. I. กิตติมา ด้วงแค. II. ชื่อเรื่อง. 581 ISBN 978-616-316-765-1 หนังสือเผยแพร่ ห้ามจ�ำหน่าย
ພັນໄມ້ ໄທ-ລາວ ສອງຝັ່ງຂອງ Plants of Thailand and Lao PDR in Mekong Region พรรณไม้ ไทย-ลาว สองฝั ่งโขง E-book : https://online.pubhtml5.com/xzsnz/hvoo/ Free books download : https://portal.dnp.go.th/Content/ForestResearch?contentId=14342
พรรณไม้ไทย-ลาว สองฝ่ง ั โขง