The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ไม้วงศ์ยาง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ไม้วงศ์ยาง

การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ไม้วงศ์ยาง

ไมวงศยางโตชา

พะยอม (Shorea roxburghii G. Don) ขึ้นในปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณ ปาดิบแลง และ
ปาดิบช้ืนทั่วทุกภาคของประเทศ บางคร้ังพบตามปาชายหาด ระดับความสูงถึงประมาณ 1,500
เมตร ผลแกชวงเดือนเมษายน - พฤษภาคม จนถึงเดือนพฤศจิกายน การขยายพันธุโดยการเพาะ
เมล็ด ควรเปนเมล็ดที่รวงหลนใหมๆ หรือท่ีแกบนตน ควรตรวจดูความอุดมสมบูรณ ไมถูกแมลงเจาะ
ทําลาย ใหเด็ดปกท้ิงกอนนําไปเพาะ หามตากแดด การยายปลูกไมควรเปลือยราก พะยอมเปนไม
โตชา แตทนแลงและไฟปาไดดี สามารถข้ึนในดินที่ไมสมบูรณ เชน ดินลูกรัง ชั้นดินตื้นในปาเต็งรัง
ตามสันเขา หรือดินปนทรายใกลชายหาด และดินหินปูน เหมาะสําหรับการฟนฟูสภาพปาไดแทบ
ทุกประเภท ยกเวนปาดิบเขาสูง

6. วัฒนธรรมชุมชนกับการอนุรักษไมวงศยาง

ปาเขตรอนไมเพียงเปนถ่ินกําเนิดของไมวงศยาง แตยังเปนแหลงถิ่นท่ีอยูอาศัยของมนุษย
มานานนับรอยนับพันป วิถีความผูกพัน การเรียนรู และประสบการณ ยอมไมอาจหลีกเลี่ยงความ
สัมพันธกับไมวงศยางซ่ึงเปนพรรณไมที่มีความโดดเดนและหลากหลายไปได การมีวิธีคิดและระบบ
คุณคาท่ีมองธรรมชาติอยางออนนอมถอมตนในฐานะเปนผูมีบุญคุณและใหกําเนิดสรรพชีวิต จึง
เปนการจัดการความสัมพันธระหวางมนุษยกับธรรมชาติอยางเก้ือกูลกันตลอดมานานนับอายุขัย
ของมนุษยชาติ จนกระท่ังเม่ือเริ่มมีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนการมองธรรมชาติแบบใหม เกิด
เปนการปฏิวิติทางการศึกษาและอุตสาหกรรม และไดแพรกระจายไปท่ัวทุกพื้นท่ีทั่วโลก วิธีคิดและ
ความผูกพันของมนุษยกับธรรมชาติในพ้ืนท่ีที่ตนเองอาศัยอยูจึงเปลี่ยนแปลงไป

1) วัฒนธรรมชุมชนทองถ่ินด้ังเดิมกับการอนุรักษปาไมวงศยาง

เนอ่ื งจากประเทศไทยตง้ั อยใู จกลางแผน ดนิ ใหญเ อเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต จงึ มคี วามหลากหลาย
ของกลุมชาติพันธุตางๆ ในประเทศไทยมีความหลากหลายทางภาษารวมท้ังสิ้นมากวา 60 กลุมภาษา
(สุวิไล และคณะ, 2547) ในบรรดากลุมชาติพันธุท่ีหลากหลาย กะเหร่ียง (ปกากะญอ) เปนกลุม
ชาติพันธุหน่ึงท่ีมีชื่อเสียงในดานของระบบการผลิตและวิถีชีวิตในลักษณะพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติ
มีการต้ังถ่ินฐานและระบบการผลิตมีลักษณะสอดคลองกับระบบนิเวศและผืนปาโดยรอบ (ยศ, 2542)

กะเหรี่ยงเปนชาติพันธุท่ีจัดวามีหลายเผาพันธุ หลายภาษา มีการนับถือศาสนาที่ตางกัน
มีถ่ินฐานอยูที่ประเทศพมา ไดอพยพเขามาอาศัยอยูประเทศไทย แบงออกไดเปน 4 กลุม ไดแก
กะเหรี่ยงสะกอ หรือที่เรียกนามตัวเองวา ปกากะญอ หมายถึงคน หรือมนุษย กะเหรี่ยงสะกอเปน

150 การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง

กลุมที่มีจํานวนมากที่สุด มีภาษาเขียนเปนของตนเอง โดยมีมิชชันนารีเปนผูคิดคนดัดแปลงมาจากตัว
หนังสือพมาผสมภาษาโรมัน กะเหร่ียงโปรเปนกลุมท่ีคอนขางเครงครัดในประเพณี พบมากท่ีอําเภอ
แมสะเรียง จังหวัดแมฮองสอน อําเภออมกอย จังหวัดเชียงใหม และแถบตะวันตกของประเทศไทย
คือ กะเหรี่ยงบเว พบท่ี อําเภอขุนยวม แมฮองสอน สวนปะโอ หรือตองสู พบนอยมาก (พิพิธิภัณฑ
ชนเผาออนไลน, มปป.)

จากการศึกษากลุมชาติพันธุทางตอนเหนือของประเทศไทยของ (ยศ, 2542) ไดแบงกลุม
ชาติพันธุตามระบบนิเวศ โดยจัดกะเหร่ียง (ปกาะญอ) อยูในระบบนิเวศปาดงดิบ หรือเขตปาสนเขา
ซึ่งมีพื้นท่ีที่มีความสูงประมาณ 1,000 - 1,400 เมตร เหนือระดับนํ้าทะเลปานกลาง กับระบบนิเวศ
แบบปาเบญจพรรณ ปาแดง และปาเต็งรัง ซ่ึงอยูในระดับความสูง 400 - 700 เมตรเหนือระดับน้ํา
ทะเลปานกลาง กะเหรี่ยงนิยมตั้งถ่ินฐานอยูในพ้ืนที่กลุมกนกระทะ ลอมรอบดวยเนินเขาใกลกับแหลง
น้ํา ไมนิยมตั้งหมูบานบนภูเขาสูง หรือสรางบานบนไหลเขา

ชาวกะเหร่ียงต้ังหมูบานอยูในบริเวณปาเบญจพรรณ ซึ่งลักษณะทั่วไปของปาเบญจพรรณมี
ไมไผหลากหลายชนิดเปนพืชเดน ในขณะเดียวกันบริเวณรอยตอระหวางปาเบญจพรรณและปาเต็ง
รังจะมีไมจําพวกไมเต็ง ไมรัง และตนตึง ดังนั้น การนําไมไผมาสรางบาน การใชหญาคา ใบตองตึง
หรือใบพลวง นํามามุงเปนหลังคาบาน จึงเปนการใชระบบนิเวศ ปรับตัวเขากับระบบนิเวศ และสราง
ระบบนิเวศท่ีเก่ียวของกับตนเองข้ึนมา ขณะเดียวกันพ้ืนท่ีบริเวณปาเบญจพรรณ มีความเหมาะสม
กับการปลูกขาว เพราะมีความอุดมสมบูรณ ดินเปนสีดํามีธาตุอาหารสูง ชาวบานผลิตขาวดวยระบบ
การผลิตของชาวกะเหร่ียงคือ การทําไรหมุนเวียน ภายหลังจากการทําไรแลว ชาวกะเหร่ียงจะปลอย
พื้นท่ีไรใหฟนตัวกลายเปนปา 7 - 8 ป ขณะท่ีลักษณะเดนของปาเบญจพรรณมีความสามารถในการ
ฟนตัวรวดเร็วภายในเวลาไมถึง 10 ป ซึ่งสอดคลองกับระบการผลิตของชาวกะเหร่ียง การผลิตแบบ
ไรหมุนเวียนของชาวกะเหรี่ยงมีความเชื่อ จารีตประเพณี และองคความรูในการจัดการทรัพยากร
สามารถจําแนกพื้นท่ีปาตามลักษณะการใชประโยชนของพื้นที่แบงออกเปน 6 ประเภท ไดแก

(1) ปาตนนํ้าหรือปาอนุรักษ เปนผืนปาธรรมชาติที่เปนแหลงกําเนิดของตนน้ําลําธาร มี
นํ้าผุดหรือนํ้าซึมออกมาเปนบริเวณกวาง ถือเปนเขตหวงหามเด็ดขาดของหมูบาน หามมิใหเขาไป
เก็บหาหนอไม ตัดตนไม หรือทําการอยางใดอยางหน่ึง ซ่ึงอาจเปนการรบกวนใหผีน้ําหรือผีขุนหวย
ไมพอใจ

(2) ปาใชสอย เปนพื้นที่ปารอบหมูบาน ซึ่งสวนใหญมักเปนปาเต็งรังมีตนพลวงหรือ
ตองตงึ ขนึ้ อยมู ากและมอี น่ื ๆ มกั เปน พนื้ ทสี่ าํ หรบั เกบ็ ฟน หาอาหาร เชน เหด็ เผาะ ปู และองึ่ นอกจากน้ี
ยังเก็บใบตองตึงเพ่ือใชมุงหลังคาบาน

การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง 151

(3) ปาชา เปนพื้นที่ปาใกลหมูบาน ใชเปนท่ีฝงศพ โดยไมมีการใชประโยชนเพราะเกรงวา
วิญญาณคนตายมาทําราย

(4) ปาศักด์ิสิทธิ์หรือปาประกอบพีธีกรรม เชน พิธีการเล้ียงผี เปนพื้นท่ีตองหามไมใหมี
การเขามาใชประโยชน

(5) ปาสะดือ เปนปารอบหมูบานท่ีมีไมใหญขึ้น ตามธรรมเนียมของชาวกะเหรี่ยงนิยมเอา
สายสะดือของทารกใสกระบอกไมไผไปผูกไวท่ีตนไมใหญ โดยเชื่อวาขวัญของเด็กจะอยูกับตนไม จะ
ไดเติบใหญและมีความสงบรมเย็นด่ังไมใหญตนน้ัน

(6) ปาทํากินหรือไรหมุนเวียน หรือที่เรียกวาไรเหลา มี 2 รูปแบบ คือ พ้ืนท่ีทํากินรวมกัน
ของคนทั้งชุมชนและพื้นท่ีทํากินรายบุคคล โดยมีความเชื่อวาหากไมปลอยใหพื้นท่ีมีการฟนตัว 7 ป
แตทําการตัดฟนโคนเผา การทําไรจะไมไดผลดี ซึ่งเปนการนําความเช่ือที่เปนสวนหน่ึงใชเปนพื้น
ฐานในการจัดการทรัพยากรที่เนนการรักษาสมดุลของธรรมชาติ เน่ืองจากการปลอยใหไรฟนตัวใน
ชวงปท่ี 3 - 4 เร่ิมมีสภาพเปนปาเบญจพรรณเกิดใหม ตนไมเริ่มมีขนาดสูงทวมหัว และเจริญเติบโต
อยางรวดเร็วในปท่ี 5 - 7 จึงทําใหไมตองใชไมจากปาธรรมชาติเลย ในกรณีของชาวกะเหร่ียงที่บาน
หนอเตา อําเภอแมวาง จังหวัดเชียงใหม มีการเก็บไรหมุนเวียนเอาไวเกินกวา 10 ป เพ่ือใชไมจากไร
เหลานั้นมาเปนวัสดุในการสรางบาน

ในป พ.ศ. 2547 ประเทศไทยเปนเจาภาพการประชุมใหญสมัชชาการอนุรักษสิ่งแวดลอม
โลก สหภาพสากลวาดวยการอนุรักษ IUCN (International Union for Conservation of Nature)
ไดมอบรางวัล Forest Pact Award ซึ่งเปนรางวัลเพื่อ เชิดชูเกียรติแกชุมชนท่ีดําเนินกิจกรรมดาน
การอนุรักษปาไมดีเดนของประเทศไทย 2 ชุมชน คือ ชุมชนบานหวยหินดํา อําเภอดานชาง จังหวัด
สุพรรณบุรี และชุมชนเขาพระพุทธบาทนอย จังหวัดสระบุรี โดยชุมชนบานหวยหินดําเปนชาว
กะเหร่ียงที่อยูในพ้ืนที่อุทยานแหงชาติพุเตย ทางชุมชนมีความพยายามในการดูแลรักษาพื้นที่ปาของ
ชุมชน สวนชุมชนเขาพระพุทธบาทนอยเปนชุมชนที่มีการรวมตัวกันเพื่อรักษาพื้นที่ปาไมของชุมชน
ซ่ึงผลจากการดูแลของชุมชนทําใหพื้นที่เขาหินปูนท่ีชุมชนดูแล จัดเปนระบบนิเวศที่มีลักษณะเฉพาะ
และยังคงมีความอุดมสมบูรณอยู โดยทาง IUCN ไดนําเรื่องความสําเร็จของชุมชนทั้ง 2 แหง เสนอ
ในที่ประชุมเพ่ือใหประเทศตางๆ รับทราบถึงบทบาทและความสําเร็จของชุมชนในประเทศไทยดาน
การอนุรักษปาไม (มติชน, 2547)

2) การปรับตัวของภูมิปญญาทองถิ่นกับการอนุรักษปาไมวงศยาง

(1) ภูมิปญญาการอนุรักษปาไม

152 การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง

ประเทศไทยเปนพื้นท่ีท่ีเต็มไปดวยความหลากหลายของทองถ่ิน ซึ่งเกิดเปนความสัมพันธ
ของคนกับสภาพแวดลอม การอนุรักษทรัพยากรปาไมของชุมชนในประเทศไทยในแตละพื้นท่ีจึง
เปนการนําเอาภูมิปญญาทองถิ่นเขามาปรับใช โดยมีคติความเช่ือท่ียึดถือปฏิบัติสืบทอดกันมา และ
บางคติความเช่ือไดถายทอดออกมาในรูปของพิธีกรรมตางๆ ตัวอยางของภูมิปญญาการอนุรักษปาไม
(สํานักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 2555) ไดแก

(1.1) คติความเช่ือเพื่อการอนุรักษทรัพยากรปาไม

ความเชื่อเรื่องผีบรรพชน หรือผีปูยาตายาย มักกําหนดพื้นที่ที่เปนที่อยูของปูตา
ทําใหเปนพ้ืนที่มีศักด์ิสิทธิ์ เปนกุศโลบายและภูมิปญญาในการรักษาปาของชาวอีสาน เพราะใน
อาณาเขตนั้นไมมีใครกลาเขาไปรบกวนทําใหรักษาปาไมไวได

ความเช่ือเร่ืองรุกขเทวดา มีความเช่ือวาตามท่ีตางๆ มีเทวดาสิงสถิต ในตนไมมี
รุกขเทวดา บนพ้ืนดินมีภุมเทวดา ดังน้ันจึงพยายามไมตัดตนไม เพราะเช่ือวาอาจไดรับโทษ

ความเช่ือเร่ืองตนโพธิ์เปนตนไมศักด์ิสิทธิ์ เพราะเปนตนไมของพระพุทธเจา ตน
โพธ์ิจึงไดรับการอนุรักษไว

(1.2) การประกอบพิธีกรรมเพ่ือการอนุรักษทรัพยากรปาไม

พิธีบวชตนไม เปนพิธีกรรมอยางหน่ึง ตนไมท่ีผานการบวชแลว ชาวบานจะไมตัด
ตนน้ันโดยเด็ดขาด และพญาไมท่ีผานพิธีกรรมการบวช จะชวยรักษาตนไมตางๆ ในบริเวณนั้น ซึ่ง
ทําใหฝนตกตองตามฤดูกาล นํ้าไมแหง ถือเปนการยับย้ังการทําลายปาท่ีเปนตนน้ํา ลําธาร และสราง
จิตสํานึกรวมกันในการดูแลรักษาธรรมชาติ พิธีบวชตนไมสามารถทําไดตลอดปแตนิยมทําพิธีในชวง
ฤดูแลง

การสบื ชะตาดนิ นา้ํ ปา ของชาวปกากะญอ การสบื ชะตาดนิ นาํ้ ปา ของชาวปกากะญอ
ความเช่ือของชาวปกากะญอมีผลทําใหผืนปายังคงอยูอยางอุดมสมบูรณ ซ่ึงสอดคลองกับการอนุรักษ

พิธีกรรมเล้ียงผีปา เปนความเชื่อความศรัทธาท่ีเปนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ขององคกรชาวบานและชุมชน มีการแบงพ้ืนท่ีปาเปนปาตนนํ้า ปาอนุรักษ และปาใชสอย อยาง
ชัดเจน กอใหเกิดจิตสํานึกในการปกปองคุมครองทรัพยากรธรรมชาติและปาไม จนทําใหผืนปาและ
แหลงน้ํามีความอุดมสมบูรณตลอดไป

ผีขุนน้ํา เปนผีที่ใหความคุมครองปกปองลําน้ํา ซ่ึงขุนนํ้ามีสัญลักษณ เชน บริเวณ
ท่ีมตี น ไมข นาดใหญ มลี าํ หว ยหลายลาํ หว ย เปน ทชี่ มุ นา้ํ เชอื่ วา ผขี นุ นา้ํ เปน อารกั ษป ระจาํ ตน นา้ํ แตล ะสาย

การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง 153

สิงสถิตอยูบนดอยสูง อาศัยอยูตามตนไมใหญ เชน ไทร มะคา หรือไมยาง เปนตน ชาวบานจะปลูก
ศาล อยูใตตนไมใหญ จึงเปนการอนุรักษตนไมเหลาน้ัน

ปาดอนปูตา เปนท่ีสาธรณะประโยชน มีตนไมข้ึนอยูหนาแนนเปนสัญลักษณบง
บอกถึงอาณาบริเวณปา มีการสรางศาลพระภูมิ เชิญผีเจาที่เจาทางมาอยูในศาล เพื่อปกปกษรักษา
คนในหมูบาน

(2) การอนุรักษปาไมในรูปแบบของปาชุมชน

ปาชุมชนไดมีวิวัฒนาการในประเทศไทยมานานแลว มีวิธีจัดการแตกตางกันไปตามภูมิภาค
ตางๆ โดยสอดคลองกับขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเชื่อ สภาพเศรษฐกิจและนิเวศวิทยาของพ้ืนที่
น้ันๆ แนวคิดของปาชุมชน คือ รูปแบบของการจัดการปาไมท่ีนําเอาความตองการพ่ึงพิงปาของ
ประชาชนมาเปนวัตถุประสงค และใหประชาชนผูรับประโยชนจากปาดังกลาวเปนผูกําหนดแผนการ
และควบคุมการดําเนินงาน เพ่ือผลประโยชนตอเนื่องอยางสมํ่าเสมอตามความตองการของชุมชน
การพัฒนาปาชุมชนอยูบนพื้นฐาน 4 ประการ (โกมล, 2537) ดังน้ี

(2.1) แนวคิดทางดานนิเวศวิทยา มีการยอมรับวามนุษยเปนสวนหนึ่งของระบบ
นิเวศ ภายใตการเชื่อมโยงของระบบตางๆ ที่ปรับเขาสูความสมดุล มนุษยมีความจําเปนตองพ่ึงพิง
และอาศัยอยูในระบบนิเวศ

(2.2) แนวคิดการพัฒนาชนบท มองวากิจกรรมทางดานปาไมสามารถทําใหชุมชน
ชนบทสามารถยืนอยูได เนื่องจากเปนแหลงทรัพยากรและศูนยรวมจิตใจที่เกิดจากความเช่ือและ
ประเพณีท่ีสืบตอกันมา ประโยชนท่ีไดรับจากปานับเปนความรูและประสบการณพ้ืนบานท่ีควรได
รับการสนับสนุนใหเขมแข็งเพื่อการพัฒนาชนบท

(2.3) แนวคิดการกระจายอํานาจ เปนแนวคิดในการมีสวนรวมของประชาชนใน
การดูแลรักษาทรัพยากรปาไมใหสามารถเกิดประโยชนตอชุมชนที่อยูในพ้ืนที่มากขึ้น

(2.4) แนวคิดดานการใชประโยชน ทรัพยากรปาไมสามารถงอกเงยได ตามการ
จัดการใหมีผลประโยชนอยางตอเน่ืองสมํ่าเสมอ ท้ังการใชสอย แหลงซับน้ํา การทองเที่ยว และรักษา
ความสมดุลของธรรมชาติ ภายใตการจัดการที่เหมาะสมในลักษณะปาเอนกประสงค

(3) ความหลากหลายของเห็ดปากับการอนุรักษปาไมวงศยาง

เห็ดปาเปนเชื้อราชั้นสูงจําพวกหน่ึง ซึ่งถือกําเนิดข้ึนมาในโลกนานกวา 130 ลานปแลว แต

154 การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง

เห็ดมีวิวัฒนาการท่ีล้ําหนากวาเช้ือราท่ัวไป วงจรชีวิตของเห็ดเริ่มจากสปอร (Spore) อันเปนสวน
สรางเซลลสืบพันธุถูกสายลม กระแสนํ้า หรือแมลง พาไปตกยังที่ซ่ึงมีสภาวะเหมาะสมตอการเจริญ
เติบโต สปอรเริ่มงอกเสนใยและกลุมใยรา (Mycelium) พัฒนาไปเปนกลุมกอนจนกลายเปนดอก
เห็ดโผลขึ้นเหนือพื้นดิน บนตนไม ขอนไม บนกองมูลสัตว หรือตามกองซากพืชช้ืนๆ ท่ีทับถมกัน เห็ด
ถูกจัดเปนพืชชั้นตํ่า เนื่องจากไมมีคลอโรฟลดไวสังเคราะหแสงสรางอาหารเอง จึงตองพึ่งพาอาหาร
และแรธาตุจากการสลายตัวของซากอินทรียในธรรมชาติ (มูลนิธิปาเขตรอน, 2547)

เห็ดมีความสัมพันธกับวิถีชาวบานมาอยางยาวนาน จัดเปนอาหารท่ีมีโปรตีนสูงเมื่อเปรียบ
เทียบกับพืชผัก และท่ีสําคัญเห็ดหลายชนิดยังมีสรรพคุณทางยาท่ีมีประโยชนชวยในการรักษาโรค
ตางๆ ไดอยางมากมาย ความอุดมสมบูรณและหลากหลายของเห็ดปาสะทอนถึงความสมบูรณของ
ระบบนิเวศนั้นดวย เห็ดปาโดยท่ัวไปพบมากในฤดูฝน หรือบางพ้ืนที่ภายหลังจากเกิดไฟปา เชน ปา
เต็งรังและปาเบญจพรรณ ท่ีมีพรรณไมวงศยางข้ึนอยู จากการศึกษาปาของชุมชนในพื้นที่ปาดอน
ปาซี ตําบลหนองหาง อําเภอกุฉินารายณ จังหวัดกาฬสินธุ เพ่ือศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ
ของเห็ด และการใชประโยชนในวิถีชีวิตของประชาชน ชุมชนหนองหาง ซ่ึงเปนชุมชนที่มีเช้ือสายของ
ชาวภูไท มีความผูกพันธกับทรัพยากรธรรมชาติ บรรพบุรุษของชาวหนองหางต้ังถ่ินฐานบริเวณที่ราบ
เชิงเขาและฝงลําหวย ไดแยกสภาพแวดลอมบริเวณที่เห็ดเกิด แยกเปน 2 กลุม คือ

เห็ดดิน สภาพดินบริเวณดอนปาซีเปนดินรวนปนทรายละเอียดคอนขางลึก มีการทับถมกัน
ของอินทรียวัตถุ ดินเปนดินผุสลายมาจากหินทราย สภาพดินที่เห็ดเกิดโดยทั่วไปมีลักษณะไมแตกตาง
กัน เห็ดกินไดสวนใหญพบในช้ันดินที่มีอินทรียวัตถุคอนขางหนา สวนเห็ดจําพวกเห็ดพิษสามารถเกิด
โดยท่ัวไป สภาพพื้นท่ีปาดอนปาซีเปนปาประเภทปาเต็งรัง ไมท่ีมีความสําคัญ 5 อันดับแรกไดแก เต็ง
เหียง พะยอม เหมือดโลด และแดง ไมยืนตนพบไมเต็งเปนพันธุไมที่มีการแพรกระจายมากท่ีสุด ไม
หนุมและลูกไมเปนเต็ง เหียง พะยอม สาน ชะมวง หนามแทง เพกา ประดู เปนตน สําหรับพื้นที่ปา
พบกลาไมขึ้นปะปนกันอยู เชน สาน เต็ง พะยอม

เห็ดขอน โดยทั่วไปเห็ดขอนที่เกิดในปาซี เกิดบนซากไมที่ตายแลว ไดแกไมเต็ง รัง กอ ซี
กอแดง เห็ดหูหนู เห็ดขอนสวนมากจะเกิดในฤดูหนาว เห็ดขอนท่ีนิยมรับทานมากท่ีสุดไดแกเห็ดบด
หรือเห็ดลม เห็ดขอนที่พบมากไดแก เห็ดกรวยทองตากู และเห็ดขอนพบไดมากเม่ือปลายฤดูฝน จน
กระทั่งปลายฤดูหนาวเขาสูฤดูรอน ประมาณเดือนตุลาคมถึงเดือนมีนาคม พบเห็ดหลินจือและเห็ด
จวักงูไดในชวงฤดูฝน ภูมิปญญาที่เกี่ยวของกับการสังเกตสภาพแวดลอมท่ีเห็ดออก พบวาเมื่อเริ่ม
มีเห็ดออกในชวงน้ัน สภาพอากาศจะรอนอบอาว มีฝนตกกอนเมฆบนทองฟาลายเหมือนดอกเห็ด
ใบไมใบตองแหง

การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง 155

เห็ดท่ีชาวบานรูจักดีสวนใหญเปนเห็ดท่ีกินได ไดแก ตระกูลเห็ดผึ้ง เห็ดนํ้าหมาก เห็ดหลม
เห็ดระโงก เห็ดโคน ปริมาณและมูลคาของเห็ดที่ชาวบานเก็บมาในแตละป ชุมชนหนองหางเก็บเห็ด
ในปามาบริโภคประมาณ 2,485 กิโลกรัม ตอป คิดเปนมูลคา 758,915 บาท

จากการที่มีคนเขาไปใชประโยชนในปาเปนจํานวนมาก ชาวบานเชื่อวาทําใหความอุดม
สมบูรณของปาซีลดลง เน่ืองจากคนนอกชุมชนมาใชประโยชนแลวตัดไมทําลายปา เผาปา นอกเหนือ
จากการเก็บเห็ดเพื่อนําไปขายเปนจํานวนมาก ทําใหปริมาณเห็ดในพ้ืนที่ลดลง จึงมีความตองการ
ใหหนวยงานของราชการเขามาชวยรณรงคเร่ืองการอนุรักษปา ปลูกปาเพ่ิมเติม ออกกฎหมายท่ี
เครงครัด มีบทลงโทษผูกระทําผิด มีงบประมาณมาสนับสนุนอยางเปนรูปธรรม (อรัญญา และคณะ,
2545)

(4) ตองตึงปาไมวงศยางทามกลางความเปล่ียนแปลง

หมูบานปากทางสะลวง ตําบลข้ีเหล็ก อําเภอแมริม จังหวัดเชียงใหม สืบเช้ือสายมาจากชาว
ไทยลื้อ ซึ่งตั้งถิ่นฐานอยูท่ีเมืองสิบสองปนนาทางตอนใตของประเทศจีน ไดอพยพจากถ่ินฐานลงมา
ต้ังรกรากอยูในประเทศไทยที่จังหวัดเชียงราย และมีคนบางกลุมแยกตัวออกมาเพ่ือหาถิ่นที่ต้ังกลุม
ใหมที่จังหวัดเชียงใหม และมีการใชใบยางพลวง หรือตองตึงขึ้น

การใชตองตึงมุงหลังคานั้นเปนวัฒนธรรมของกลุมชนทางภาคเหนือมานาน การเรียกวา
“ไพตองตึง” เปนภาษาของสลา ที่ใชเรียกตัวตองตึงที่ไดผูกมัดเขา ดวยกันและพรอมใชมุงหลังคา
ขนาดของไพตองตึงขนาดของความกวางประมาณ 20 - 30 เซนติเมตร ความยาวประมาณ 2 เมตร
ใบตองตึงเปนวัสดุทองถิ่นท่ีสามารถหาไดงาย การเลือกใชใบตองตึงตองใชใบที่แหง การไพตองใน
อดีต ทํากันในชวงปลายเดือนธันวาคมเปนตนไป เพราะตองตึงจะเริ่มรวงหลน ชาวบานไดนําตองตึง
ท่ีไพเสร็จแลวมาซอมแซมหลังคาบานของตนเอง ในสวนท่ีเหลือใชชาวบานนําไปจําหนาย ความนิยม
ท่ีตองการใชตองตึงไดแพรหลายมากขึ้น ทั้งในดานธุรกิจรีสอรท การเกษตร ใชคลุมแปลงผลไม การ
จัดนิทรรศการ ซุมสินคา รานอาหารและอ่ืนๆ จากความตองการใชตองตึงท่ีเพ่ิมมากขึ้นเรื่อยๆ ทําให
ชาวบานหันมาประกอบอาชีพไพตองตึงและทํากันตลอดท้ังป จนกลายเปนอาชีพหลักของชาวบาน

ปจจุบันชาวบาน หมูบานปากทางสะลวง ตําบลข้ีเหล็ก อําเภอแมริม จังหวัดเชียงใหม
ยังคงประกอบอาชีพไพตองตึงเปนรายไดหลักใหกับครอบครัว และคงเหลือจํานวน 20 - 30 ราย
เทานั้น ความสําคัญของอาชีพไพตองตึงของหมูบานปากทางสะลวง ท่ีประกอบอาชีพสืบตอกันมา
จากบรรพบุรุษไมนอยกวา 2 ชั่วอายุคน ถือวาอาชีพไพตองตึงเปนอาชีพแหงภูมิปญญาชาวบานที่
มีการดําเนินชีวิตเรียบงาย ดํารงชีวิตในลักษณะของงานชางและงานศิลป เปนมรดกทางวัฒนธรรม

156 การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง

ของคนไทย (กิตติภพ, 2550) ทําใหสะทอนถึงความเพียรพยายาม ความฉลาดในการเลือกใชวัตถุดิบ
ที่เหมาะสม ความผูกพันกับขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมทองถ่ิน การถายทอดความรูของ
ผูประกอบอาชีพไพตองตึง ไดรับการถายทอดความรูจากพอ แม ญาติพ่ีนอง โดยการทําใหดูเปน
ตัวอยางแลวฝกทําตาม (ปราณี, 2538) นอกจากนี้ชาวบานท่ีอยูอาศัยและทํากินในพ้ืนที่ปาเต็ง รัง
และเบญจพรรณในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม ไดแก อําเภอเชียงดาว อําเภอฝาง อําเภออมกอย อําเภอ
จอมทอง รวมทั้งจากตําบลแมทา อําเภอแมออน โดยเฉพาะอยางยิ่ง ชาวบานจากบานทาสะแล
ตําบลเวียง อําเภอเชียงดาว ซ่ึงเปนผูใชประโยชนจากตองตึง ในแตละปทํารายไดเฉลี่ยครอบครัวละ
60,000 บาทตอป (มูลนิธิเพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยืน, 2555)

ไมยางพลวง ซ่ึงเปนไมผลัดใบที่สําคัญชนิดหน่ึงของสังคมพืชปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ
ในอดีตพบมากในปาทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีความเก่ียวของกับคนไทยมาอยาง
ชานาน ท้ังในการใชประโยชนเกี่ยวกับท่ีอยูอาศัย ไมฟนที่ใหความรอนสูงและเผาไหมไดงาย การทํา
ไมหมอนรถไฟ และนํ้ามันยางพลวง นอกจากน้ีใบที่เรียกวา ใบตองตึง ใชมุงหลังคาแลว ปจจุบันไดนํา
ขี้เถาใบ ยางพลวง มาใชเปนสวนผสมของน้ํายาเคลือบขี้เถาพัฒนาศิลาดล ซ่ึงเปนงานเคร่ืองปนดินเผา
ชนิดเคลือบทดแทนการเคลือบดวยขี้เถาของไมมะกอผสมกับไมรกฟาท่ีหายากขึ้น เนื่องจากไม
สามารถนําไมออกจากปามาเผาเปนเถาได และเพื่อเปนการอนุรักษและสงเสริมภูมิปญญาทองถิ่น
(ณัฐพรและคณะ, 2554)

การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง 157

158 การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง

งานวิจัยเพื่ออนุรักษไมวงศยาง

การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง 159

งานวิจัยเพื่ออนุรักษไมวงศยาง

ประเทศไทยต้ังอยูในเขตภูมิอากาศแบบมรสุมเขตรอนหรือรอนชื้นทําใหพืชพรรณท่ีข้ึน
ตามธรรมชาติจัดเปนปาเขตรอนที่มีความหลากหลายของพรรณพืชมากแหงหนึ่งของโลก มีลักษณะ
โครงสรางของปาที่ซับซอนแตกตางกันไปตามสภาพภูมิประเทศ ลักษณะของดิน ความสูงจากระดับ
นํ้าทะเล และปริมาณน้ําฝน สงผลใหพรรณพืชในแตพ้ืนท่ีมีความผันแปรถึงแมจัดใหเปนปาชนิด
เดียวกัน ดังน้ันจึงมีผูสนใจทั้งชาวไทยและชาวตางชาติมาทําการศึกษาวิจัยพรรณพืชเปนจํานวน
มาก ที่ผานมามีการศึกษาวิจัยในดานนี้หลากหลายรูปแบบ เชน การศึกษาการกระจายพรรณพืช
ในปาชนิดตางๆ ไดแก ปาไมผลัดใบซ่ึงเปนปาที่ประกอบดวยพรรณพืชที่ใหความเขียวชอุมตลอด
ป และปาผลัดใบซึ่งเปนปาท่ีประกอบไปดวยพรรณพืชทิ้งใบเปนองคประกอบสําคัญ การวิจัยพืช
สมุนไพรในปาธรรมชาติ หรือวิจัยพันธุพืชปาท่ีเปนอาหารของชุมชนทองถ่ิน รวมท้ังการศึกษาวิจัย
เฉพาะชนิดพรรณพืชชนิดใดชนิดหน่ึง เปนตน

ในการวิจัยเกี่ยวกับไมวงศยางมีการศึกษาวิจัยตอเนื่องมายาวนานในภูมิภาคน้ี โดยจัดมี
การประชุมสัมมนาเพื่อแลกเปล่ียนผลงานวิจัยทุกๆ 4 ป (The Round Table Conference on
Dipterocarps) สําหรับในประเทศไทยมีการศึกษาวิจัยไมวงศยางหลากหลายดาน ซึ่งสามารถ
ประมวลผลการวิจัยแตละดานที่สามารถนําไปใชประโยชนในภาคการปฏิบัติ ดังนี้

1. ชีพลักษณของไมวงศยาง

ในปจจุบันสภาวะสภาพภูมิอากาศของโลกไดเกิดการเปลี่ยนแปลงข้ึนอยางนาวิตก ซึ่ง
เรียกวา “สภาวะโลกรอน” ทําใหหลายองคกรท่ัวโลกตองหันมาใสใจกับสภาพส่ิงแวดลอมและปา
ไมซึ่งเปรียบเสมือนปอดของโลก ในสภาวะโลกรอนทําใหอุณหภูมิของโลกสูงขึ้น ความแหงแลง ฝน
ตกไมตรงตามฤดูกาล ปจจัยเหลาน้ีอาจสงผลกระทบตอความแหงแลง การเกิดไฟปา และการเกิด
มหาอุทกภัยซึ่งเกิดขึ้นในหลายพ้ืนท่ีทั่วโลก นอกจากนี้สภาวะสภาพภูมิอากาศของโลกไดเกิดจาก
การเปลี่ยนแปลงและผันแปรตามธรรมชาติทําใหเกิดปรากฏการณเอลนิโญ (El Nino) ปนภาวะที่
อุณหภูมิของอากาศสูงกวาปกติในฤดูหนาวพรอมกับปริมาณฝนที่เปล่ียนแปลง สงผลทําใหเกิดสภาวะ
ภัยแลงที่ผิดปกติและยาวนานข้ึน (กรมอุตุนิยมวิทยา, 2548) ปรากฎการณเหลาน้ีมีผลอยางย่ิงตอ
ออกดอกและผลของตนไม โดยเฉพาะสงผลตอการเปลี่ยนแปลงลักษณะชีพลักษของพรรณไมในปา
ผลัดใบอยางย่ิง ไดแก ปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ ตนไมเหลานี้ไดตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลง
สภาพของภูมิอากาศอยางรวดเร็ว โดยมีการเปลี่ยนแปลงทางชีพลักษณที่สามารถสังเกตเห็นได เชน

160 การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง

การรวงหลนของใบ การออกดอก และการแกของผล เกิดเร็วขึ้นหรือชากวากําหนด รวมท้ังปริมาณ
การติดผลผลิตของเมล็ด เปนตน ซ่ึงการพัฒนาเหลานี้เปนปจจัยอยางหน่ึงท่ีสงผลกระทบตอการสืบ
ตอพันธุตามธรรมชาติ โครงสรางของปาและการเปนแหลงอาหารของสัตวปาท่ีอาศัยอาศัยอยูใน
บริเวณน้ันๆ

ชีพลักษณของไมวงศยางที่สัมพันธกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มีดังนี้ Tompsett
(1998) รายงานวา ชีพลักษณของการออกดอกของไมวงศยางมีความสัมพันธกับการเปล่ียนแปลง
ของฤดูกาล และสภาพภูมิอากาศ Aston (1988) รายงานวาการผลิดอกออกผลของไมวงศยางบาง
ครั้งพบวาผิดฤดูกาล เชน ไมตะคียนทอง บางครั้งสามารถออกดอกถึงสองคร้ังคือในเดือนกุมภาพันธ
และเดือนสิงหาคม และไมยางคลอง (D. oblongifolius) ปกติใหเมล็ดหน่ึงครั้งในเดือนเมษายน แต
บางคร้ังใหเมล็ดอีกคร้ังหนึ่งในเดือนตุลาคม หรือกลาไมยางนาท่ีสามารถใหดอกและติดผลได เมื่อ
อายุ 6 เดือน ซึ่งเปนปรากฎการเกิดข้ึนไดนอยมาก โดยปกติไมวงศยางเริ่มใหดอกเมื่ออายุ 20 - 30
ป (จินตนา และสุรพันธ, 2542; สงา และอรรถ, 2510) Krishnapillay and Tompsett (1998)
รายงานชวงเวลาการออกดอกจนเปนผลแกของไมวงศยางซ่ึงมีการออกดอกและผล 1 – 5 ปตอครั้ง
(ตารางท่ี 7.1) ข้ึนอยูกับชนิด อายุของตนไม และสภาพแวดลอม ไมวงศยางบางชนิดสามารถให
ดอกผลทุกปแตปริมาณการติดผลตางกันบางปใหนอยแตในบางปใหผลผลิตเมล็ดมาก (Good seed
year)

ตารางที่ 7.1 ชวงเวลาการออกดอกและผลของไมวงศยาง

ßîéĉ ĕöš đéĂČ î ßüŠ Üđüúć

ÿ÷ćĒéÜ ö.Ù Ö.ó öĊ.Ù đö.÷ ó.Ù öĉ.÷ Ö.Ù ÿ.Ù Ö.÷ ê.Ù ó.÷ í.Ù ĂĂÖéĂÖ
ÿ÷ćđĀúĂČ Ü (ðŘ)
÷ćÜ×î xx xx xx xx xx xx xx
÷ćÜðć÷ xx xx xx xx 3-4
ßćš öüŠ Ü xx xx xx 3-4
÷ćÜöîĆ ĀöĎ 1
ßĆîĀĂ÷ xx xx 4-5
óúüÜ xx xx 4-5
xx xx 4-5
xx xx 3-4
1

การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง 161

ในการศึกษาวิจัยดานชีพลักษณและโครงสรางดอกของไมวงศยาง สงา และอรรถ (2510)
แบงระยะการออกดอกและติดผลออกเปน 6 ระยะ ไดแก ระยะผลิตายอด (Terminal bud) ระยะ
แตกใบออนและออกชอดอก (Leaf unfold and inflorescence development) ระยะดอก
เริ่มบาน (Flowers opening) ระยะติดผล (Fruit setting) ระยะการเจริญเติบโตของผล (Fruit
development) และระยะสุดทายคือระยะผลรวง (Fruit falling) สําหรับปจจัยที่มีผลตอการ
ออกดอกของไมวงศยางยังไมทราบสาเหตุท่ีแนชัด Foxworthy (1932) รายงานวาการออกดอก
ของไมวงศยางเกิดจากสภาพแหงแลงอยางรุนแรง Aston et al. (1989) รายงานการออกดอก
ของไมวงศยางวามาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอม เชน การท่ีมีอุณหภูมิต่ําในเวลากลาง
คืนเปนเวลา 3 ถึง 4 วันติดตอกัน ซึ่งจากการเก็บตัวอยางในศึกษาการพัฒนาดอกของไมยางพลวง
สังเกตวาใบของดอกยางพลวงจะรวงชาหรือเร็วขึ้นปริมาณน้ําฝนที่ตกในชวงนั้น ๆ และไดสงผลตอ
การเกิดดอกซ่ึงสามารถแทงชอดอกหลังจากใบรวงหมดตน Owen et al. (1997) รายงานวาแสง
อาทิตยมีสวนชวยการชักนําใหเกิดดอกในไมวงศยาง Smitinand and Santisuk (1981) รายงาน
พฤติกรรมการออกดอกและผลของไมวงศยางท่ีไมผลัดใบในมาเลเซียเกิดขึ้นในปท่ีแหงแลง แตพรรณ
ไมวงศยางของปาดิบแลงและปาเต็งรังใหผลเกือบทุกป โดยมีผึ้งและตอชวยผสมเกสร แตวาเมล็ด
สวนใหญเปนเมล็ดเสีย และจากการศึกษาชีพลักษณของไมเต็งและรัง เปนเวลา 3 ป พบวาไมเต็ง
และรังใหผลผลิตเมล็ดดี 1 ครั้งเทาน้ันถึงแมวาปอ่ืนๆ ไดใหเมล็ดบาง นอกจากนี้ยังมีรายงานการ
ออกดอกจันทนกะพอ ที่วัดจันทนกะพอ จังหวัดสุราษฎรธานี และวัดจันทรกะพอ จังหวัดปทุมธานี
พบวาตนจันทนกะพอทั้งสองแหงไมออกดอกในชวงที่มีปรากฎการณเอลนิโญ ซ่ึงเปนภาวะผันแปร
ทางธรรมชาติเกิดอากาศรอนและแลงผิดปกติ (วงจันทร, 2542)

โดยท่ัวไปลักษณะของดอกไมในวงศไมยางเปนแบบลักษณะชอดอกแบบกระจะ (Raceme)
(สุดารัตนและโกวิท, 2532) โดยชอดอกและดอกยอยของไมในสกุล Dipterocarpus แตมีจํานวน
ดอกยอยท้ังหมดตอชอดอกท่ีแตกตางกันออกไป อํานวยพร (2542) รายงานวาดอกยางนาเปนดอก
สมบูรณเพศประกอบดวยกลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู เกสรตัวเมีย โดยเรณู (Pollen) มีลักษณะ
เปนแบบเรณูเด่ียว รูปรางรีมีความยาวของแกนกลางเฉล่ีย 67.5 ไมโครมิเตอร มีความกวางของแกน
ศูนยเฉล่ีย 42.5 ไมโครมิเตอร มีชองเปดรูปรีรอบเรณู 3 ชอง (Carple) แตละชองมีไขออน (Ovule)
2 อัน ติดอยูกับแกนกลางแบบ (Axile placentation) ซึ่งคลายคลึงกับดอกไมยางพลวงที่มีเปนดอก
สมบูรณเพศเชนเดียวกัน ประกอบดวยกลีบเล้ียง และกลีบดอกจํานวนอยางละ 5 กลีบ เกสรตัวผู
ประกอบดวยอับละอองเรณู ลักษณะยาวเรียวมีจํานวนโดยเฉลี่ยเทากับ 28.68 อันตอดอก ละออง
เรณู มีลักษณะแบบเรณูเดี่ยว (Monad) ขนาดกลาง ประกอบดวยชองเปด (Germination pure)
จํานวน 3 ชอง มีลักษณะแบบ tricolpate ผนังเรณู (Exine) แบบรางแห (Reticulate) เกสรตัว

162 การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง

เมีย ไดแก รังไข (Ovary) ประกอบดวย 3 หอง (Locule) แตละหองมีไขออน (Ovule) จํานวน 2
ใบ กานชูเกสรตัวเมีย (Style) มีลักษณะกลวง (Hollow) และยอดเกสรตัวเมีย (Stigma) มีลักษณะ
ขรุขระ (Papillate) ประกอบดวยเซลลขน (Papilla) จํานวน 3 กลุม จินตนา และประเสริฐ (2555)
ไดศึกษาการผสมเกสรและความสําเร็จของการสืบตอพันธุของไมยางพลวง พบวา ไมยางพลวงมี
ความสําเร็จของการสืบตอพันธุตํ่า อันมีผลสืบตอเนื่องมาจากการลดจํานวนของผลตอชออยางตอ
เน่ืองหลังการผสมเกสร

การพัฒนาดอกของไมยางพลวงจะเกิดข้ึนหลังจากที่ใบของไมยางพลวงรวงหลนหมด
ตน (Leaf abscission) ต้ังแตเดือนธันวาคม ชวงการออกดอกของไมยางพลวงจะเริ่มตั้งแตเดือน
กุมภาพันธ ถึงปลายเดือนมีนาคม มีการเรียงชอดอกแบบกระจะ (Receme) ดอกของไมยางพลวง
ไดเจริญอยูในกาบหุม และการเจริญของดอกเกิดขึ้นพรอมกับการแตกใบออน ชวงเวลาการถาย
ละอองเรณูของดอกไมยางพลวงมีแนวโนมเกิดขึ้นต้ังแตชวงดอกเร่ิมบานในตอนค่ําจนกระทั่งถึง
ชวงเชาของอีกวันหน่ึง ดังน้ัน ตัวผสมเกสรของดอกไมยางพลวงอาจเปนไดท้ังตัวผสมเกสรกลางคืน
(Nocturnal pollinators) และกลางวัน (Diurnal pollinators) (จินตนา และประเสริฐ, 2555) หลัง
การผสมเกสรแลวไมยางพลวงใชเวลาพัฒนาผลออนจนกระทั่งเปนผลแก 48 วัน ผลไมยางพลวงแก
ในปลายเดือนเมษายนถึงกลางเดือนพฤษภาคม ในชวงที่ผลแกปริมาณความช้ืนภายในผลลดลงจาก
83 เปอรเซ็นต เหลือ 30 เปอรเซ็นต (จินตนา และสุรพันธ, 2542) อยางไรก็ตามการสุกแกของผล
ในไมวงศยางแตละพ้ืนที่ไมเทากันขึ้นอยูกับภูมิอากาศ กลุมของไมวงศยางชนิดเดียวกันท่ีขึ้นในภาค
ใตจะแกชากวาผลไมวงศยางในภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ

วงจันทร (2542) รายงานลักษณะดอกจันทนกะพอ โดยมีลักษณะเปนดอกสีขาวหรือเหลือง
ออน ออกดอกเปนชอสั้นๆ ตามกิ่งตามซอกใบและปลายก่ิง กลีบดอกมีลักษณะบิดวนตามกันคลาย
ปลายกลีบดอกลั่นทม แตมีขนาดเล็กกวา โดยมีความยาวกลีบดอกเพียง 2 เซนติเมตร เกสรเพศเมีย
ขนาดเล็ก อับเรณูบริเวณโคนรังไขประมาณ 9 อัน มีกล่ินหอมจัดคลายกลิ่นหอมของดอกกระดังงาไทย
ดอกจันทนกะพอ นิยมปลูกเปนไมประดับ

การศึกษาลักษณะชีพลักษณและระบบสืบพันธุของไมวงศยางเปนการศึกษาที่มีประโยชน
ตอการสืบตอพันธุตามธรรมชาติ สําหรับการจัดการเมล็ดพันธุเพ่ือการปลูกสรางสวนปา การจัดสราง
แหลงอนุรักษพันธุกรรม รวมถึงเปนขอมูลพื้นฐานสําหรับการศึกษาทางดานอนุกรมวิธาน นอกจาก
น้ียังเปนแนวทางที่สามารถนํามาศึกษาผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ แตอยางไร
ก็ตามตองทําการศึกษาในระยาว ในอนาคตหากสามารถทําการศึกษาความสัมพันธของการออกดอก
ของไมวงศยางกับสภาพภูมิอากาศ ซ่ึงมีประโยชน และชวยใหเขาใจปรากฏการณความเปลี่ยนแปลง

การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง 163

สภาพภูมิอากาศไดดีย่ิงขึ้น โดยเฉพาะอยางย่ิงเม่ือปจจุบันโลกกําลังประสบกับความแปรปรวนของ
สภาพภูมิอากาศ เกิดความผันผวนของฤดูกาล ความรอนที่สูงขึ้น ความแหงแลง ปริมาณและการ
กระจายตัวของฝนผิดปกติจากอดีต ซ่ึงเปนภาวะทางธรรมชาติท่ียากแกการคาดการณและเก่ียว
พันอยางย่ิงกับการบริหารจัดการพื้นท่ีปาอนุรักษซึ่งเปนแหลงเก็บกักและปลดปลอยน้ําใหเกิดความ
สมดุลและเปนประโยชนแกประชาชนท่ัวไป ทั้งนี้ควรทําการศึกษาและวิเคราะหขอมูลฤดูกาลระหวาง
ปเปนการตอเนื่องในสภาพพ้ืนที่ท่ีแตกตางกัน ครอบคลุมพิสัยของการกระจายพันธุตามธรรมชาติ
เพื่อใหไดขอมูลเชิงปริมาณและคุณภาพเพียงพอ รวมทั้งการศึกษาการพัฒนาภายในของดอกกับผลที่
มีความสัมพันธกับการเปล่ียนแปลงอุณหภูมิภายนอกซึ่งไดรับอิทธิพลจากปจจัยทางสิ่งแวดลอมโดย
เฉพาะที่เกิดจากสภาพภูมิอากาศในถิ่นท่ีอยูอาศัย

2. เมล็ดไมวงศยาง

เมล็ดไมวงศยางมีความสําคัญอยางย่ิงตอการนําไปเพาะขยายพันธุเพ่ือการปลูกฟนฟูปา ใน
อดีตที่ผานมามีการศึกษาวิจัยเมล็ดไมวงศยางอยางกวางขวางเพ่ือใหเมล็ดไมสามารถคงความมีชีวิต
ใหไดนานท่ีสุด เมล็ดไมวงศยางสวนใหญจัดอยูในกลุมเมล็ด recalcitrant หรือไมคงทน (Intolerant)
หมายถึงกลุมเมล็ดไมท่ีปริมาณความช้ืนในเมล็ดมีความสําคัญตอการมีชีวิต ถาความชื้นในเมล็ดลดลง
ต่ํามาก เมล็ดไมวงศยางจะสูญเสียการงอกทันที หรือเปนกลุมเมล็ดตองเก็บในขณะที่เมล็ดแกเต็มที่
และตองรีบเพาะทันที เมล็ดไมวงศยางเกือบทั้งหมดจัดอยูในกลุมน้ี มีเมล็ดไมวงศยางเพียงไมก่ีชนิดท่ี
สามารถมีชีวิตที่ยาวนานข้ึน เชน กราด พลวง และยางนา ซ่ึงไดถูกจัดใหอยูในกลุมเมล็ด orthodox
หรือคงทน (Tolerant) ซ่ึงสามารถลดความชื้นในเมล็ดลงเหลือ 6 - 10 เปอรเซ็นต (Krishnapillay
and Tompsett, 1998) เมล็ดยางนาเม่ือลดความช้ืนในเมล็ดเหลือ 10 เปอรเซ็นต สามารถเก็บได
ถึง 2 ป ที่อุณหภูมิ -10 o C หรือ เก็บได 9 เดือน ในอุณหภูมิ 10 oC ดังน้ันการเขาใจถึงลักษณะทาง
สรีระวิทยาของเมล็ดไมวงคยาง ชวยใหการเก็บเมล็ดไมไดอยางถูกตองและเมล็ดไมมีอัตราการงอกสูง

การปลกู ปา ในประเทศไทยสว นใหญใ ชก ลา ไมจ ากเมลด็ ทเ่ี กบ็ มาจากแหลง ธรรมชาตเิ ปน หลกั
รวมทั้งการปลูกสวนปาไมวงศยางหรือการปลูกฟนฟูในปาในอดีตท่ีผานมา ถึงแมวาการใหผลผลิต
เมล็ดในไมวงศยางไมสมํ่าเสมอ หรือในบางชนิดใหผลผลิตเมล็ด 1 ป และเวนไป 1 - 3 ป ประกอบ
กับการท่ีเมล็ดไมวงศยางสูญเสียความสามารถในการงอกอยางรวดเร็ว ขณะท่ีเก็บไวเพื่อรอการนํา
ไปปลูก ดังน้ันจึงมีการศึกษาวิจัยเพื่อเก็บรักษา (Storage) เมล็ดไมในกลุมไมวงศยางจํานวนมาก ท้ัง
ในจุดประสงคเพื่อการเก็บรักษาเมล็ดสําหรับเพาะปลูกและเก็บรักษาไวเพ่ือการอนุรักษพันธุกรรม
ซึ่งสวนพฤกษศาสตรคิว (Royal Botanic Gardens, Kew) ประเทศอังกฤษ ไดทําวิจัยเก่ียวกับการ
อนุรักษพันธุกรรมไมวงศยางโดยลดปรมาณความช้ืนในเมล็ดลงและเก็บภายใตอุณหภูมิ -10 0C แต

164 การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง

ไมวงศยางบางชนิดไมสามารถลดความช้ืนลงต่ํา เชน เมล็ดไมพะยอม ถาความช้ืนในเมล็ดต่ํากวา
25 - 30 เปอรเซ็นต เมล็ดจะสูญเสียความมีชีวิตทันที

ประพันธและคณะ (2538) ศึกษาการเก็บเมล็ดและรักษาเมล็ดไมยางนา ตะเคียนหิน
พะยอม และรัง ภายใตระดับอุณหภูมิที่ตางกัน พรอมกับหาความสัมพันธกับปริมาณความช้ืนใน
เมล็ดไมและการเก็บรักษา ปรากฎวาการเก็บรักษาเมล็ดมีสวนสัมพันธกับการแกสมบูรณของเมล็ด
ความช้ืนของเมล็ด อุณหภูมิ และภาชนะท่ีบรรจุ เมล็ดยางนาท่ีเก็บจากพ้ืนดินเมล็ดมีอัตราการ
งอก 74 เปอรเซ็นต เม่ือลดความช้ืนเมล็ดลงเหลือ 10 เปอรเซ็นต อัตราการงอกของเมล็ดลดเหลือ
ประมาณ 20 เปอรเซ็นต เม่ือเก็บรักษานาน 5 - 9 เดือน และเมล็ดไมสามารถงอกเม่ือเก็บไวนาน 14
เดือน สําหรับเมล็ดยางนาท่ีเมล็ดไมท่ีแกจัดและลดความชื้นใหต่ําเหลือประมาณ 8 - 11 เปอรเซ็นต
สามารถเก็บรักษาไดนาน 24 เดือน ในที่ระดับอุณหภูมิต่ํากวาจุดเยือกแข็ง

เมล็ดตะเคียนหินที่เก็บบนพ้ืนดิน มีเปลือกหุมเมล็ดสีนํ้าตาล เมล็ดมีอัตราการงอกเพียง 30
เปอรเซ็นต เมล็ดแกที่เก็บบนตนมีอัตราการงอกระหวาง 47 – 85 เปอรเซ็นต ขึ้นอยูกับตนท่ีเก็บ
เมล็ดตะเคียนหินจะงอกสูงสุดภายใน 21 วัน และจะสูญเสียการงอก ดังนั้นเมล็ดตะเคียนหินควรเพาะ
ทันทีหลังเก็บเมล็ดมา สําหรับเมล็ดพะยอม และรัง เมล็ดท่ีเก็บมาและเพาะทันท่ีมีอัตราการงอกสูงถึง
80 เปอรเซ็นต เมื่อนําเมล็ดมาผึ่งในรม 2 วัน ความช้ืนของเมล็ดลดลง 8 – 11 เปอรเซ็นต หลังจาก
นั้นบรรจุลงถุงผาหรือถุงพลาสติก สามารถเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 20 - 30 o C ซึ่งแสดงวาสามารถเก็บ
รักษาเมล็ดตระกูลยางเหลาน้ีไดประมาณ 2 อาทิตย (ประพันธและคณะ, 2538) นอกจากน้ี ชนะ
และคณะ (2542) รายงานวาเปลือกหุมเมล็ดไมยางนามีความหนาประมาณ 19 – 20 มิลลิเมตร
ตองใชเวลา 8 – 10 ช่ัวโมง เพื่อใหคัพภะของเมล็ดดูดซับน้ําสําหรับการงอก และระหวางท่ีเมล็ด
งอกระดับ polymine ในเมล็ดสูงสุดเปนจุดที่เมล็ดใหอัตราการงอกสูงสุดเชนกัน

การทดลอบการงอกของเมล็ด Tompsett (1998) รายงาน การศึกษาอุณหภูมิท่ีเหมาะสม
ในการงอกของเมล็ดไมวงศยาง 56 ชนิด พบวาที่อุณหภูมิ 30 – 35o C ทําใหเมล็ดตะเคียนทอง และ
เมล็ดพะยอมงอกเกือบ 100 เปอรเซ็นต มีรากออน (Radical) งอกออกมาอยางรวดเร็ว สําหรับเมล็ด
ไม กระบาก เต็ง รัง ยางนา ยางปาย ยางพลวง ยางเหียง ยางแดง ตะเคียนทราย พันจําปกกาง
สยาเหลือง สยาแดง เต็งตานี เคี่ยม ไขเขียว สามารถงอกไดดีในอุณหภูมิระหวาง 26 - 31oC จะ
เห็นไดวาการเพาะเมล็ดไมวงศยางสามารถเพาะไดดีที่อุณหภูมิปกติทั่วไปในประเทศไทย ปจจัยหลัก
สําหรับการงอกของเมล็ดคือชวงเวลาการเก็บเมล็ดใตตน หรือเก็บบนตน และการทําลายเมล็ดไมของ
แมลง ดังนั้นกอนเก็บเมล็ดไปเพาะควรสุมตัดเมล็ดไมเพื่อดูความสมบูรณของรากออน (Radicle)
หรืออาหารสะสมในเมล็ดหรือใบเล้ียง (Cotyledon) โดยการผาเมล็ดออกเปนสองสวนถาไมพบ

การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง 165

แมลงหรือสวนของอาหารสะสมเปนสีขาว หรือมีสีขาวปนนํ้าตาลเล็กนอย แสดงวาเมล็ดไมในกลุมน้ี

สมบูรณสามารถนําไปเพาะเปนตนกลาเพ่ือนําไปปลูกตอไปได

3. โรคและแมลงของไมวงศยาง

โรคและแมลงมีผลกระทบอยางย่ิงตอไมวงศยางในระยะเมล็ดไม ระยะกลาไม และในระยะ
ที่เปนไมรุน Elouard (1994) รายงานศัตรูที่ทําลายไมวงศยางพบวามีหลายชนิด เชน แมลง นก
สัตวเลี้ยงลูกดวยนม และไสเดือนฝอย โดยเฉพาะแมลงนับวาเปนศัตรูท่ีสําคัญในการทําลายไมวงศ
ยางมากท่ีสุดซึ่งพบมากถึง 80 ชนิด เชนเดียวกับ Smitinand and Santisuk (1981) รายงานวา
เมล็ดยางปาย และยางแดง ถูกทําลายโดยกระรอก และเมล็ดไมยางสวนใหญไมสมบูรณ ถึงแมวา
ตนไมสามารถใหผลผลิตเมล็ดมาก นอกจากนี้แมลงยังเปนปจจัยหลักที่ทําใหเมล็ดไมวงศยางสูญเสีย
การงอกของปาไมวงศยางท่ีลุมต่ําในประเทศมาเลเซีย โดยเฉพาะเมล็ดไม Shorea pauciflora, S.
ovalis, S. laevis, S. smithiana, Dryobalanops aromatica และ Dipterocarpus cornutus
ถูกดวงวงศ Curculionidae ทําลาย 40 – 90 เปอรเซ็นต และเมล็ดไมวงศยางในกาลิมัลตัน
ถูกแมลงทําลาย 100,000 เมล็ดตอเฮกแตร ในป ค.ศ. 1986 สําหรับโรคของไมวงศยางสวนใหญเกิด
ขึ้นในเรือนเพาะชําในชวงท่ีเปนกลาไม ความรุนแรงของโรคข้ึนกับสภาพแวดลอม และความแข็งแรง
ของกลา ในระยะท่ีไมยางเปนไมรุนอาจเกิดเปนโรคท่ีมาจากเชื้อแบคทีเรีย ชนิด Agrobacterium
tumefaciens ซ่ึงเปนสาเหตุของโรคหูดในใบ (Gall) และโรคในใบที่มีสาเหตุมาจากเช้ือรา
Cephaleuros virescens (Elouard, 1998)

การศึกษาแมลงศัตรูไมในวงศยางในประเทศไทย ไดจําแนกการทําลายของแมลงศัตรูไมใน
วงศยางตามลักษณะการทําลายและสวนของพืชท่ีไดรับความเสียหายดังนี้คือ (Hutacharern and
Tubtim,1995; สุรชัย, 2542; และ จินตนาและคณะ, 2551)

1) ประเภทกินใบ (Defoliators) ความเสียหายท่ีแมลงไดทําลายใบของตนไมในไมวงศยาง
แบงออกเปน 2 ระยะ คือ ระยะที่ยังเปนตัวหนอน ซ่ึงไดแก หนอนของผีเสื้อกลางวัน และหนอน
ของผีเสื้อกลางคืน เชน หนอนผีเส้ือยักษ หนอนไหมปา จะมีการกัดกินใบเปนอาหารในระยะท่ีเปน
ตัวหนอน และ ดวงยีราฟ (Apoderus notatus Fabricius) ทําลายโดยการมวนใบในไมวงศยาง
หลายชนิด ไดแก ไมยางนา ยางพลวง ตะเคียนทอง เต็ง พะยอม และไมรัง นอกจากน้ีมีการทําลาย
โดยการกัดกินใบในระยะตัวเต็มวัย ไดแก ดวงคอมทอง (Hypomeces squamosus (Fabricius))
ซึ่งกัดกินใบไมยางนา ยางพลวง ไมรัง ดวงแมลงทับขาแดง (Sternocera aequisignata Saunders)
แมลงทับขาเขียว (Sternocera ruficornis Saunders) ไดกัดกินใบไมเต็ง พะยอม และไมรัง

166 การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง

ความรุนแรงในการทําลายน้ันข้ึนกับการเจริญเติบโตของไมวงศยาง ถาเกิดขึ้นระยะท่ี
เปนกลาไมสงผลใหการเจริญเติบโตของกลาไมลดลงหรือกลาไมตายได แตถาเกิดขึ้นกับไมวงศยาง
ท่ีกําลังเจริญเติบโตเปนไมรุนหรือไมใหญจะมีผลตอการออกดอกและผลในชวงน้ัน ซึ่งทําใหเมล็ด
ไมสําหรับการสืบพันธุลดลง สุรชัย และธิติ (2539) และสุรชัย (2542) รายงานวาหนอนไหมปา
(Antheraea sp.) หนอนบุง (Calliteara horsfieldii Saunders) ดวงคอมทอง ทําลายตนไม
โดยการกัดกินใบไมยางนา ดวงงวงชนิด Calandra rugicollis Casey, Phytoscaphus sp.,
Pollendera nr. remicornis Marshall, Arrhines spp., Baryrrhinus sp. และ หนอนผีเสื้อ
กลางคืน Caprinia conchylalis Guenee, Targalla sp., Dasychira sp. กินใบไมยางพลวง
นอกจากนี้ไมในวงศยางท่ีพบวามีแมลงกัดกินใบ ไดแก ตะเคียนทอง พบ หนอนบุง Calliteara
horsfiedii Saunders, Orgyia turbata Butler, Parasa lepida Cramer และหนอนผีเส้ือกลาง
คืน Archips micaceana (Walker) ไมเต็ง พบหนอนผีเส้ือยักษ Attacus atlas Linnaeus,
หนอนบุง Euproctis bipunctapex Hampson และ ดวงงวง Baryrrhinus sp. ไมพะยอม พบ
หนอนผีเส้ือกลางคืน 2 ชนิด คือ Achaea janata (Linnaeus) และ Glyphodes sp. นอกจากน้ี
ยังพบ ดวงงวง Hypomeces squamosus (Fabricius) และหนอนบุง Arhopala atosia jahara
Corbet ไมรัง พบดวงงวง ชนิด Arrhines sp., Baryrrhinus sp., Episomus sp. และหนอนผีเส้ือ
มรกต (Narathura aedias (Hewitson))

2) ประเภทเจาะลําตน (Stem borers) การทําลายแบบเจาะลําตนรวมท้ังการทําลายใน
ลักษณะการเจาะยอด (Shoot borers) และเจาะก่ิง (Twig borers) แมลงกลุมนี้สรางความเสียหาย
ตอไมในวงศไมยางมักเปนในระยะตัวหนอน ซึ่งไดแกหนอนผีเส้ือ และหนอนของดวง โดยเฉพาะดวง
หนวดยาวซ่ึงหากการเจาะเกิดข้ึนที่ลําตน จะทําใหเกิดรอยตําหนิในเนื้อไม หลังจากน้ันอาจมีเชื้อรา
หรือปลวกเขาทําลายซ้ําจนตนไมสามารถหักโคน แตถาเปนการทําลายที่ปลายยอดจะทําใหยอดของ
ตนไมหัก หลังจากนั้นตนไมไดแตกกิ่งยอยหลายก่ิงในบริเวณที่ปลายยอดหักทําใหตนไมเสีย
รูปทรง แมลงกลุมน้ี ไดแก ดวงหนวดยาวเจาะลําตนไมยางนา (Celostema pollinosa sulphurea
Heller) พบวามีการเจาะลําตนไมกระบากและยางนา (สุรชัย และธิติ, 2539) หนอนกาแฟสีแดง
(Zeuzera coffeae Nietner) พบการเจาะก่ิงและยอดของไมกระบากและไมรัง นอกจากน้ีพบดวง
หนวดยาวชนิด Chlorophorus annularis (Fabricius), Eurycephalus maxillosus Olivier,
Euryphagus lundii (Fabricius), Examnes frontalis Pascoe และ แมลงทับ Chrysobothris
indica Castelnau & Gor เจาะลําตนไมยางพลวง ดวงหนวดยาวชนิด Dorysthenes sp. เจาะ
ลําตนไมตะเตียนทอง และดวงหนวดยาว Chlorophorus hederatus Hell. พบเจาะลําตนไมเต็ง

การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง 167

3) ประเภทเจาะเปลือก (Bark borers) การทําลายแบบเจาะเปลือกรวมทั้งการกัดกิน
เปลือกของลําตน แมลงกลุมน้ีสามารถสรางความเสียหายตอไมในวงศไมยาง โดยการเจาะเขาทําลาย
ทั้งเปลือกนอกและเปลือกใน จนสามารถเขาทําลายเย่ือเจริญของพืช ซึ่งการทําลายประเภทนี้ของ
แมลงทําความเสียหายที่สามารถสังเกตไดนอย แตมีสวนชวยสงเสริมใหเกิดการเขาทําลายซ้ําของ
เช้ือโรคหรือแมลงอ่ืนและทําใหถึงขั้นที่ตนไมตายได แมลงที่กินเปลือก ไดแก มอดชนิด Polygraphus
major Stebbing กินเปลือกไมเต็ง และไมรัง มอดชนิด Sphaerotrypes assamensis Stebbing
กินเปลือกไมเต็ง รัง และพะยอม (Hutacharern and Tubtim, 1995)

4) ประเภทเจาะเมล็ดและผล (Seed predators) การทําลายของแมลงแบบเจาะเมล็ด
และผลสามารถแบงออกเปนสองระยะคือ ระยะกอนการกระจายพันธุ (Pre - dispersal) เปนการ
ทําลายในระยะท่ีเมล็ดอยูบนตนไม โดยแมลงเขาไปวางไขในระยะที่เปนดอกหรือผลออน แลวแมลง
ไดพัฒนาเปนตัวออน จากน้ันจะเขาดักแด และเปนตัวเต็มวัยอยูภายในเมล็ด ซ่ึงเปนชวงท่ีเมล็ด
พัฒนาตัวเองเปนผลแกเต็มที่ ถามองจากภายนอกจะไมสามารถบงบอกไดวาเมล็ดไม มีแมลงเจริญ
อยูภายในเมล็ด ระยะท่ีสองคือระยะหลังการกระจายพันธุ (Post - dispersal) เปนการทําลายเมล็ด
ในระยะท่ีเมล็ดแกเต็มที่และรวงสูพื้นดินซึ่งแมลงสวนใหญท่ีเขาทําลายในระยะนี้ไดแก หนอนผีเสื้อ
และมอด ผลหรือเมล็ดไมที่ถูกแมลงทําลายไมสามารถนําไปเพาะเปนกลาได

จินตนา และคณะ (2551) รายงานอัตราการทําลายเมล็ดพบวามีความผันแปรระหวางตน
สูง แมลงกลับมาวางไขและเจริญเติบโตในตนเดิมอีกในปถัดๆ มา นอกจากนี้อัตราการทําลายเมล็ดยัง
ข้ึนอยูกับแหลงอาศัยของพรรณไมท่ีเก็บเมล็ดไม เชน ในปาที่มีพรรณไมอื่นหลายชนิด หรือเปนปาท่ี
เปนที่โลงแจง จากการสุมตัดเมล็ดไมวงศยาง เมล็ดที่มีอัตราการทําลายมากที่สุด ไดแก ตะเคียนทอง
จากแหลงจังหวัดเชียงใหม และพะยอมจากแหลงจังหวัดนครราชสีมามีอัตราการทําลายสูงถึงรอยละ
100 นอกจากนี้อัตราการทําลายเมล็ดในยางพลวง และยางแดงจากแหลงจังหวัดเชียงใหม ยางกราด
จากจังหวัดนครราชสีมา มีอัตราการทําลายรอยละ 97.8, 98.0 และ 90.0 ตามลําดับ และมีรายงาน
เมล็ดไมยางนา บริเวณปากลางอาว อําเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ ซึ่งเปนแหลงอนุรักษ
พันธุกรรมของไมยางนาท่ีสําคัญ พบเมล็ดไมยางนาถูกแมลงทําลาย 35 – 40 เปอรเซ็นต โดยการ
กัดกินใบเลี้ยงและตนออนภายในเมล็ด พบการทําลายในลักษณะเดียวกันในเมล็ดไมเต็ง บริเวณปา
เต็งรังท่ีอุทยานแหงชาติภูกระดึง มีแมลงทําลายเมล็ดสูงถึง 60 – 70 เปอรเซ็นต (บุญชุบ, 2542ข)
แมลงท่ีทําลายเมล็ดไมวงศยางชนิดตางๆ มีวงจรชีวิตดังภาพท่ี 7.1 และมีชนิดแมลงท่ีเขากัดกินเมล็ด
ดังตารางที่ 7.2

168 การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง

ภาพท่ี 7.1 วงจรชีวิตของแมลงท่ีทําลายเมล็ดไมวงศยาง ตั้งแตระยะดอกจน
พัฒนาเปนผลแก

การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง 169

ตารางท่ี 7.2 แมลงที่ทําลายเมล็ดไมวงศยาง

ßîéĉ ĕöš ßîéĉ ĒöúÜ ĂîĆ éïĆ /üÜýŤ
(Host tree) (Insect species) (Order/Family)
ĕöš÷ćÜîć Damnux wagneri Lyal.
Dipterocarpus alatus Roxb. ex. Damnux wagneri thaiensis Lyal. Nanophyidae
G.DDoonn Alcidodes humeralis Heller Nanophyidae
Curculionidae
÷ćÜðć÷ Alcidodes ramezei Lyal
D. costatus C.F. Gaertn. Sitophilus rugicollis Casey Curculionidae
Culladia sp. Dryophthoridae
÷ćÜ×î Euzophera sp. Lepidoptera: Pyralidae
D. baudii Korth. Damnux spp. Lepidoptera: Pyralidae
Nanophyes spp. Nanophyidae
÷ćÜÖúĂŠ Ü Orthospila leptalis Hampson Nanophyidae
D. dyeri Pierre Damnux obtusifoliaphila Lepidoptera: Pyralidae
÷ćÜ÷ÜĎ Alcidodes hoplomachus Lyal. Nanophyidae
D. grandiflorus (Blanco) Blanco Synanthedon sp. Curculionidae
Alcidodes sp. Lepidoptera: Pyralidae
÷ćÜÖøćé Damnux sp. Curculionidae
D. intricatus Dyer Nanophyidae
Damnux wagneri wagneri Lyal.
÷ćÜđĀ÷Ċ Ü Alcidodes sp. Nanophyidae
D. obtusifolius Teijsm. ex Miq. Alcidodes crassus Pascoe Curculionidae
Conogethes evaxalis Walker Curculionidae
Damnux straminea Lepidoptera: Pyralidae
Damnux intricata Nanophyidae
Nanophyes spp. Nanophyidae
Damnux maculata Nanophyidae
Damnux obtusifoliaphila Nanophyidae
Damnux sp. Nanophyidae
Alcidodes ramezei Lyal. Nanophyidae
Nanophyes spp. Curculionidae
Orthospila leptalis Hampson Nanophyidae
Blastobasis spermologa Meyrick Lepidoptera: Pyralidae
Lepidoptera:
Carpophilus mutilatus Erichson Blastobasidae
Nitidulidae

170 การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง

ตารางท่ี 7.2 (ตอ) ßîĉéĒöúÜ ĂîĆ éïĆ /üÜýŤ
(Insect species) (Order/Family)
ßîéĉ ĕöš Alcidodes ramezei Lyal.
(Host tree) Alcidodes sp. Curculionidae
÷ćÜóúüÜ Nanophyes spp. Curculionidae
D. tuberculatus Roxb. Sitophilus rugicollis Casey Nanophyidae
Orthospila leptalis Hampson Dryophthoridae
÷ćÜĒéÜ Alcidodes sp. Lepidoptera: Pyralidae
D. turbinatus C.F. Gaertn. Nanophyes spp. Curculionidae
Diplophyes sp. Nanophyidae
êąđÙĊ÷îĀĉî Orthospila leptalis Hampson Nanophyidae
Hopea ferrea Laness. Blastobasis spermologa Meyrick Lepidoptera: Pyralidae
Lepidoptera:
ÖøąïÖÖøĆÜ Alcidodes sterorum Lyal. Blastobasidae
H. helferi (Dyer.) Brandis Alcidodes hopeae (Marshall) Curculionidae
êąđÙĊ÷îìĂÜ Alcidodes dipterocarpi (Marshall) Curculionidae
H. odorata Roxb. Nanophyes sp. Curculionidae
Diplophyes sp. Nanophyidae
êąđÙ÷Ċ îßĆîêćĒöü Neobalanocarpus Nanophyes sp. Nanophyidae
heimii (King) P.S. Ashton Alcidodes sterorum Lyal. Nanophyidae
đÙ÷Ċę öÙąîĂÜ Diplophyes sp.n.1 Curculionidae
Shorea henryana Pierre ex Laness. Nanophyes sp.n.1 Nanophyidae
óîĂÜ Orthospila leptalis Hampson Nanophyidae
S. hypochra Hance Assara albicostalis Walker Lepidoptera: Pyralidae
Stathmopoda sp. Lepidoptera: Pyralidae
Diplophyes sp. Lepidoptera: Pyralidae
Orthospila leptalis Hampson Nanophyidae
Diplophyes sp. Lepidoptera: Pyralidae
Alcidodes sp. Curculionidae
Orthospila leptalis Hampson Curculionidae
Lepidoptera: Pyralidae

การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง 171

ตารางที่ 7.2 (ตอ)

ßîéĉ ĕöš ßîĉéĒöúÜ ĂĆîéĆï/üÜýŤ

(Host tree) (Insect species) (Order/Family)

đêĘÜ Alcidodes curvirostris Lyal. Curculionidae

S. obtusa Wall. ex Blume Alcidodes. dipterocarpi (Marshall) Curculionidae

Sitophilus rugicollis Casey Dryophthoridae

Orthospila leptalis Hampson Lepidoptera: Pyralidae

óą÷Ăö Alcidodes curvirostris Lyal. Curculionidae

S. roxburghii G.Don Alcidodes. dipterocarpi (Marshall) Curculionidae

Diplophyes sp. Nanophyidae

Orthospila leptalis Hampson Lepidoptera: Pyralidae

Pammene theristis Meyrick Lepidoptera: Pyralidae

øÜĆ Alcidodes dipterocarpi (Marshall) Curculionidae

Shorea siamensis Miq. Orthospila leptalis Hampson Lepidoptera: Pyralidae

Pammene theristis Meyrick Lepidoptera: Pyralidae

Bruchidius uberatus Fabricius Bruchidae

Callosobruchus chinensis Bruchidae

จินตนา และคณะ (2551) ร(Lาiยnnงาaeนuกsา)รพบครั้งแรก (First record) ในประเทศไทยของ

ดวงงวง Alcidodes hopeae (Marshall) ทําลายเมล็ดไมตะเคียนหิน ในพื้นท่ีสถานีวิจัยสิ่งแวดลอม

สะแกราช (Sakaerat Biosphere Reserve) จังหวัดนครราชสีมา และพบนิเวศวิทยาของผีเส้ือ

กลางคืนขนาดเล็ก Sirindhorn thailandiensis Adamski & Malikul (ภาพท่ึ 7.2) ซ่ึงใน

ระยะตัวหนอนไดมีการเจริญเติบโตในเมล็ดไมวงศยางหลายชนิดในภาคเหนือ และตะวันออก

เฉียงเหนือ เชน เมล็ดไมยางนา เหียง พลวง ยางแดง Lyal and Curran (2000) รายงานดวง

งวง อันดับ (Order) Coleoptera (ภาพที่ 7.3) พบ Alcidodes spp. ชนิดใหมถึง 15 ชนิด ท่ี

ทําลายเมล็ดไมสกุลยางในเอเชียตะวันออกเฉียงใต นอกจากนี้ยังพบดวงงวงที่ทําลายเมล็ดไม

วงศยางถึง 70 ชนิด แยกเปนในไมสกุลยาง 16 ชนิด ในไมสกุล Dryobalanops 4 ชนิด พบใน

ไมสกุลตะเคียน 6 ชนิด ในสกุลไมเต็ง พบแมลงถึง 39 ชนิด และในสกุลไมพันจํา 5 ชนิด และ

รายงานวาแมลงท่ีทําลายเมล็ดไมวงศยางภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต พบวาดวงงวงในสกุล

Alcidodes (Curculioniodae) เปนกลุมพวกท่ีเฉพาะเจาะจงแหลงอาศัย ไมมีการเขาทําลาย

เมล็ดไมวงศยางขามสกุล ซึ่งเปนลักษณะของ Sympatric species คือ เปนสิ่งมีชีวิตที่มีรูปแบบ

ของการเกิดชนิด (Species) ใหมของประชาการท่ีอาศัยอยูในพ้ืนท่ีเดียวกัน แตภายในพ้ืนที่แหลง

อาศัยมีความหลากหลายของสภาพแวดลอมทําใหมีการปรับตัวท่ีแตกตางกันและนําไปสูความ

172 การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง

แตกตางทางพันธุกรรมจนเกิดเปนชนิดใหมขึ้นมา เชน ในกรณีของดวงงวงในสกุล Alcidodes
ถึงแมวาอาศัยอยูในปาแหงเดียวกันแตอาศัยอยูในตนไมตางชนิดกัน จากศึกษาครั้งนี้พบดวงงวง
ในสกุล Alcidodes อยางนอย 7 ชนิด ที่อยูในพืชอาศัยสกุลเดียวกัน ยกเวน A. dipterocarpi
(Marshall) ที่อาศัยพืชขามสกุล คือ สกุลไมเต็ง ไดแก เต็ง พะยอม และรัง กับสกุลไมตะเคียน
ไดแก ตะเคียนหิน

ในธรรมชาติมีแตนเบียน (Parasitoid) ซ่ึงเปนศัตรูตามธรรมชาติของแมลงที่ทําลาย
เมล็ดไมวงศยาง โดยแตนเบียนวางไขเขาไปในเมล็ดไมท่ีมีตัวหนอนอาศัยอยูและกินตัวหนอนเหลานี้
เปนอาหาร แตนเบียนเจริญเติบโตภายในเมล็ด เมื่อเปนตัวเต็มวัยจะเจาะเมล็ดออกมากอนที่
เมล็ดรวงหลนลงสูพ้ืนดิน แมลงกลุมน้ีมีความหลากหลายทางชีวภาพสูง (ภาพท่ี 7.4) แตนเบียน
บางชนิดสามารถพบในเมล็ดไมวงศยางหลายชนิด และมีการกระจายในหลายพ้ืนที่ บางชนิดพบ
แพรกระจายจํากัดในพ้ืนที่แตละแหง

การวิจัยเกี่ยวกับแมลงไมวงศยางมีความหลากหลายทางชนิดพันธุสูง ทั้งแมลงที่เปน
ทําลายเมล็ดไมและในสวนที่เปนศัตรูธรรมชาติของแมลงเหลานี้ การทําลายเมล็ดไมวงศยางมี
ผลตอการสืบตอพันธุตามธรรมชาติยากท่ีจะหลีกเลี่ยงและสงผลตอการลดลงของจํานวนประชากร
ไมวงศยางในธรรมชาติ ดังนั้นการวิจัยเก่ียวกับแมลงไมวงคยางในอนาคต จึงมีความจําเปนอยางยิ่ง
เพ่ือใหเขาใจความสัมพันธระหวางชนิดพันธุแมลงกับพันธุไมวงศยางตามสภาพแวดลอมในพ้ืนที่
ตางๆ ซึ่งมีความสําคัญตอการพัฒนาทรัพยากรปาไมท้ังในดานการฟนฟู อนุรักษ และการใช
ประโยชนอยางย่ังยืนและมีประสิทธิภาพ รวมถึงการปลูกสรางสวนอนุรักษพันธุกรรม สวนเมล็ด
พันธุ และสวนปาเชิงพานิชย โดยจัดทําเปนฐานขอมูลจากการสํารวจชนิดพันธุตามสภาพแวดลอม
พื้นท่ีตางๆ เพ่ือสามารถนําไปใชประกอบการตัดสินใจในการบริหารจัดการทรัพยากรปาไม

การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง 173

ภาพที่ 7.2 ผีเสื้อกลางคืนขนาดเล็ก Sirindhorn thailandiensis Adamski & Malikul
Alcidodes crassus Pascoe Alcidodes ramezei Lyal. Alcidodes sterorum Lyal.

Damnux wagneri wagneri Lyal. Damnux wagneri thainesis Lyal. Damnux sp.

วงศ Nanophyidae
ภาพที่ 7.3 ดวงงวงแมลงที่ทําลายเมล็ดไมในอันดับ (Order) Coleoptera

174 การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง

Family Ichneumonidae Family Ichneumonidae

Family Braconidae Family Braconidae

Family Braconidae Family Chalcididae

Family Perilampidae Family Eurytomidae

ภาพที่ 7.4 แตนเบยี นทเี่ ปน ศัตรูธรรมชาตขิ องแมลงที่ทาํ ลายเมลด็ ไมว งศย าง

การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง 175

การศึกษาการทําลายเมล็ดไมวงศยางของแมลง ยังนําไปใชประโยชนในการประเมินการ
สืบตอพันธุทางธรรมชาติของไมวงศยาง รวมถึงในปจจุบันท่ีมีความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ
มีความแตกตางกันมากของสภาพภูมิอากาศในแตละพื้นท่ี สงผลใหสิ่งมีชีวิตตางๆ พยายามปรับตัว
ใหเขากับสภาพแวดลอมที่เปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว ซึ่งแมลงจัดเปนส่ิงมีชีวิตขนาดเล็กท่ีมีความ
สามารถปรับตัวไดดี โดยการอพยพเคล่ือนยายไปตามแหลงท่ีอยูอาศัยที่เหมาะสม ผลกระทบจาก
การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติท่ีเกิดขึ้นในปจจุบัน อาจสงผลใหพฤติกรรมการ
หาพืชอาหารเปล่ียนแปลงไป การศึกษาวิจัยในสวนน้ีจึงเปนเรื่องที่ควรมีการแลกเปล่ียนความรูและ
ดําเนินการวิจัยตอไป ซ่ึงคาดวาสามารถพบแมลงชนิดใหมอีกหลายชนิด และควรทําฐานขอมูล (Data
base) ซึ่งเปนประโยชนอยางยิ่งในอนาคต

4. ไมคอรไรซากับไมวงศยาง

ไมคอรไรซา (Mycorrhiza) มาจากภาษากรีก จากคําวา “Mykes” แปลวา “เห็ด
(Mushroom) หรือ เชื้อรา (Fungus)” รวมกับ คําวา “rhiza” แปลวา ราก (Root) ซ่ึงเปนความ
สัมพันธระหวางเชื้อรากลุมหน่ึงท่ีอยูในดินซ่ึงเรียกวาเช้ือราไมคอรไรซา (Mycorrhizal fungi) กับ
รากของพืชช้ันสูงโดยเช้ือราเหลาน้ีไมเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดโรคตอพืช การอยูรวมกันระหวางราก
พืชกับเช้ือรานี้พบคร้ังแรกโดย F. Unger ในป ค.ศ. 1840 ตอมาในป ค.ศ. 1885 A.B. Frank เปน
บุคคลแรกท่ีเรียกพฤติกรรมน้ีวา ไมคอรไรซา การเกิดความสัมพันธไมคอรไรซาในรากพืช มีสาเหตุ
เนื่องมาจากไมคอรไรซาตองการอาหารและสารอาหารที่จําเปน เชน วิตามินบี (Thiamine) กรด
อะมิโน (Amino acid) บางชนิด และน้ําตาลโมเลกุลเดียว (Monosaccharides) อันไดแก กลูโคส
และ ฟรุคโตส ในขณะเดียวรากพืชจะไดรับอาหารและสารเคมีที่ราผลิตขึ้น ไดแก คารโบไฮเดรต
(Carbohydrate) และฮอรโมนกลุมของออกซิน (Auxins) ไซโตไคนิน (Cytokinin) จิบเบอเรลลิน
(Gibberellin) รวมท้ังสารปฏิชีวนะบางชนิด ความสัมพันธและกระบวนการแลกเปล่ียนอาหาร
ระหวางพืชกับเชื้อราจะเกิดไดสมบูรณ ตองอาศัยส่ิงแวดลอมท่ีเหมาะสม มีปจจัยดินเปนสื่อกลาง
โดยกิจกรรมการแลกเปล่ียนธาตุอาหารตางๆ เกิดข้ึนในบริเวณปลายราก หรือบริเวณรากออนของ
พืช (จินตนา, 2545)

ชนิดของเช้ือราเอคโตไมคอรในไมวงศยาง

เชื้อราที่มีความสัมพันธแบบเอคโตไมคอรไรซากับรากพืช สวนใหญอยูในกลุมของเช้ือรา
ชั้นสูง (Higher fungi) ซึ่งสามารถสรางดอกเห็ด (Mushroom fruiting body) ลูกฝุน (Puffball)
หรือทรัฟเฟล (Truffle) ขึ้นมาเหนือพื้นดิน เม่ือสภาพแวดลอมเหมาะสม ซ่ึงลักษณะภายนอกของ
ดอกเห็ด สปอร หรือลักษณะภายในของดอกเห็ดดังกลาวสามารถใชเปนสิ่งสําคัญในการจําแนก
(Identification) ชนิดหรือเชื้อราเอคโตไมคอรไรซาได สปอรของเชื้อราเหลาน้ีสามารถแพรกระจาย

176 การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง

ไปอยางกวางขวางไดโดยอาศัยลม และน้ํา เพื่อที่จะสามารถเจริญในท่ีแหงใหม (Brundrett et
al., 1996) Miller (1982) ไดจําแนกเช้ือราเอคโตไมคอรไรซา ออกเปน 3 กลุมใหญๆ คือ กลุม
Basidiomycotina ซึ่งมี 9 อันดับ 26 วงศ กลุม Ascomycotina ซ่ึงมี 3 อันดับ 7 วงศ กลุม
Zygomycotina ซึ่งมี 1 อันดับ 1 วงศ จินตนา (2545) รายงานวาในประเทศไทยมีพืชหลายชนิด
ท่ีมีความสัมพันธกับเชื้อราเอคโตไมคอรไรซา สําหรับไมวงคยาง เช้ือราไมคอรไรซามีความสําคัญ
อยางย่ิงทําใหพืชทนแลงได โดยสวนใหญไมวงศยางมีความสัมพันธแบบเอคโตไมคอรไรซา มีจํานวน
นอยมากที่มีความสัมพันธแบบเวสสิคูลาร - อาบัสคูลารไมคอรไรซา ไดสํารวจชนิดของเชื้อราเอคโต
ไมคอรไรซาของไมวงศยางในประเทศไทย (ตารางที่ 7.3)

ตารางที่ 7.3 ไมว งศยางในประเทศไทยที่พบวามีความสมั พนั ธก บั เชื้อราเอตโตไมคอรไ รซา

ßîĉéĕöš ßîĉé×ĂÜđĀéĘ øćđĂêēêĕöÙĂøĕŤ øàć ßĂČę ÿćöâĆ
(Tree species) (Species of ectomycorrhizal fungi) (Common name)

ĕöš÷ćÜîć Amanita angustiamellata (Hohn.) đĀéĘ ĕ×ĒŠ éÜ
Dipterocarpus alatus Roxb. Amanita caesarea (Scop.) Pres. đĀĘéĕ׊ĕÖŠ
ex G.Don Amanita heemmibibaapphhaa(B(Berekr.k&.&Brr..))SSaacccc.. đĀéĘ øąēÜÖđĀúĂČ Ü
đđĀĀĘééĘ ēēÙÙîîĀĀüüćć÷÷
Amanita hemibapha subsp. javanica đđđđĀĀĀĀéĘĘéĘééĘ đøđøññąąććēēąąÜÜ,Ö,ÖđđĀĀ××éĘćéĘćüđüđĀĀ÷Ċ÷Ċ ÜÜ
AAmmaanniittaa lleeppiiddeellllaa
AACAAsmsmltatrraavaanuneeiluiuttinasasahhppyysrrgipginnrr,ooccemmesseeCCttrrooiiccrruunnsseerr((PPeeeettrrssBB..))aaMsMs oorrgg.. đĀéĘ ×úćĞ Āöć
CLlaacvtualriinuas ssppp, . đĀĘé×úĞćĀöć
LPaiscotliathriuusstisnpcpto.rius (Pers.) Coker&Couch
PRiusoslsituhluasatiencrutogriinuesa(PLerins.d) Cbol.ker & Couch đĀéĘ ĀúöŠ ÖøąÿîĊ ĞćĚ êćú
Russula albida Peck đĀéĘ êąĕÙú×ćü
Russula crustosa Peck đĀéĘ ĒéÜ
Russula delica Fr.
Russula lepida Fr. đĀéĘ îĞćĚ ĀöćÖ
Russula nigricans Fr. đĀéĘ ĀúöŠ Öøąđ×÷Ċ ü
Russula sanguinea Fr.
Russula virescens Fr.
Russula violeipes Quel.
Scleroderma areolatum Ehrenb.
Scleroderma lycoperdoides Schw

Scleroderma neosaccadia

การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง 177

ตารางที่ 7.3 ((ตอ) ) ßîéĉ ×ĂÜđĀĘéøćđĂêēêĕöÙĂøŤĕøàć ßĂęČ ÿćöâĆ
(Species of ectomycorrhizal fungi) (Common name)
ßîéĉ ĕöš đĀéĘ ĕ׊
(Tree species) Amanita sp.
ĕöš÷ćÜĒéÜ Amanita cocora đĀéĘ øąēÜÖđĀúĂČ Ü
D. tubinatus C.F. Gaertn. Amanita hemibapha subsp. javanica đĀéĘ øąēÜÖ×ćü
Amanita princes Corner et Bas
đĀ÷Ċ Ü Boletus olivaceirubens Corner đĀéĘ ôćî
D. obtusifolius Teijsm. ex Miq. BBoolleettuuss hemmiicchhrryyssuuss BBeerrkk..eettCCuurtr.t.
Boletus peltatus Corner đĀéĘ ĒéÜ
Öøćé Lactarius delicious
D. intricatus Dyer Lactarius volemus Fr. đĀéĘ đñćą, đĀéĘ đĀĊ÷Ü
Russula bravipes Peck
óúüÜ Russula lepida Fr. đĀéĘ éćüéĉî
D. tuberculatus Roxb. Russula mariae Peck
đĀéĘ îĚĞćĀöćÖ
Astraeus hygrometricus (Pers.) Morg. đĀéĘ đñćą,đĀĘéđĀĊ÷Ü
Boletellus ananas (Curt.) Mun. đĀéĘ ×ĉÜ
Geastrum saccatum Fr.
Maramius spp. đĀéĘ ĒéÜ
Russula delica Fr.
Russula sanguinea Fr. đĀéĘ đñćą, đĀéĘ đĀ÷Ċ Ü
Astraeus hygrometricus (Pers.) Morg. đĀéĘ éćüéîĉ
Lactarius piperatus (L.ex Fr.) S.F.Grey đĀéĘ êąĕÙú×ćü
Lactarius rufus (Scop. ex Fr.)FFrr.. đĀéĘ ĒéÜ
Russula lepida Fr.
Scleroderma aurantium (Vaill.) Pers.
Astraeus hygrometricus (Pers.) Morg.
Geastrum saccatum Fr.
Russula delica Fr.
Russula lepida Fr.
Scleroderma aurantium (Vaill.) Pers.
Scleroderma verucosum (Buill.) Pers

178 การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง

ตารางที่ 7.3 (ตอ)

ßîéĉ ĕöš ßîéĉ ×ĂÜđĀĘéøćđĂêēêĕöÙĂøĕŤ øàć ßęĂČ ÿćöâĆ
(Tree species)
êąđÙ÷Ċ îìĂÜ (Species of ectomycorrhizal fungi) (Common name)
Hopea odorata Roxb.
Amanita hemibapha subsp. javanica đĀéĘ øąēÜÖđĀúĂČ Ü
êąđÙ÷Ċ îĀîĉ
H. ferrea Laness. Amanita hemibapha subsp. hermibapha đĀéĘ øąēÜÖĒéÜ

ÿ÷ćĒéÜ Amanita princes Corner et Bas đĀéĘ øąēÜÖ×ćü
Shorea leprosula Miq. AAmmaannitiatavavgaingiantat(aBu(Bllu. Ellx. Ferx.)FVri.t)t.Vitt. đĀéĘ ĕ׊đ÷÷Ċę üöćš

đêÜĘ Clavalina cristata (Fr.) Schoret. ðąÖćøÜĆ ÿÙĊ øĊö
S. obtusa Wall. ex Blume
Russula cyanoxantha Fr.
øÜĆ
S. siamensia Miq. Russula delica Fr. đĀéĘ êąĕÙú×ćü

Russula sanguinea Fr. đĀĘéîĚĞćĀöćÖ

Lactarius piperatus (L. ex Fr.) S.F.Grey

Russula aeruginea Lindbl. đĀđéĘ ĀĀéĘ úĀöŠ úĀöŠ öĀüöÖüđ×ÖĊ÷đ×üĊ÷ü

Russula albidula Peck.

Russula densifolia (Secr.) Gill. đĀđéĘ ĀëéĘ ćŠ ëîŠćđúîÖĘđúÖĘ
Russula lepida Fr.
đĀđéĘ ĀĒéĘ éĒÜéÜ

Geastrum saccatum Fr.

Russula aeruginea Lindbl. đĀđéĘ ĀĀéĘ úĀöŠ úĀöŠ öĀüöÖüđ×ÖĊ÷đ×üĊ÷ü

Russula delica Fr. đĀđéĘ ĀêéĘ ąêĕÙąĕúÙ×úć×üćü

Russula virescens Fr. đĀđéĘ ĀêéĘ ąêĕÙąĕúÙú

Amanita coccora

Astraeus hygrometricus (Pers.) Morg. đĀéĘđĀđñéĘ ćđñąć, ąđĀ, éĘđĀđĀéĘ ÷ĊđĀÜ÷Ċ Ü

Russula brevipes Peck

Russula crustosa Peck đĀđĀĘéĀĘéĀúúöŠ öŠÖÖøøąąÿÿîĊ îĊ ĚĞććĞĚêêććúú

Russula delica Fr. đĀéĘ đĀêéĘ ąêĕÙąúĕÙ×úć×üćü

Russula lepida Fr. đĀéĘđĀĒéĘ ĒÜéÜ

Russula sanguinea Fr. đĀéĘđĀîéĘ ĚĞćîĀćĞĚöĀćöÖćÖ

Amanita coccora

Amanita hemibapha (Berk.& Br.) Sacc đĀéĘ ĕ׊ĕÖŠ

Astraeus hygrometricus (Pers.) Morg. đĀđéĘ ĀđéĘñđćñąć,ąđ,ĀđéĘ ĀđéĘĀđĊ÷ĀÜ÷Ċ Ü

Russula delica Fr. đĀđéĘ ĀêéĘ ąêĕąÙĕúÙ×úć×üćü

การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง 179

ตารางท่ี 7.3 (ตอ ) ßîĉé×ĂÜđĀĘéøćđĂêēêĕöÙĂøĕŤ øàć ßČęĂÿćöâĆ

ßîĉéĕöš (Species of ectomycorrhizal fungi) (Common name)
(Tree species)
óą÷Ăö Pisolithus tinctorius (Peerrss..))CCookkeerr&&Couch đĀĘé×úćĞ Āöć
S. roxburghii G. Don
Russula cascadensis Shaffer
đÙ÷ęĊ öÙąîĂÜ RRuussssuullaa bbrreevviippeess PPeecckk
đSÙ.ęĊ÷höeÙnąryîaĂnÜa Pierre RRRRRuuuuussssssssssuuuuulllllaaaaaeedfdmmreealiilgttiiciicicclaaiaas FF(((SSPrrc.c.ehhrasa... eeexxx FFFrrr...)))PPFeerr.rss.. eexx.. rraayy đđđđđĀĀĀĀĀĘééĘéééĘĘĘ êĒĒêøÿĆéąéąàĕÜĕÜÙÙîîúĎ úúĚĞććĚćĞ ×Ā×ßĀććöööüüóććÖÖĎ
Se.xhLeannryeassn.a Pierre RSuclsesruoldaefrrmagailifsla(Pviedrus.mexElFlirs.) &FrE. verhart đĀéĘ øĆÿàĎúćßöóĎ
ex Laness.
SAcmlearnoidtaerhmeamfilbaavpidhuamsuEbllsisp.&jaEvaenrhicaart đĀéĘ øąēÜÖđĀúĂČ Ü
ìęöĊ ć: Ýĉîêîć, 2545
Amanita hperimncibesapChoarnseurbestpB. ajasvanica đĀéĘ øąēÜÖđ×ĀćúüČĂÜ
AAmmaanniittaa pvaringicneastaCo(Brnuellr. eetxBFar.s) Vitt. đđĀĀéĘéĘ øĕ׹đŠē÷ÜÖę÷Ċ ×üöćüšć
BABCBBBoomoooelllllneeaeeeotttttnuucuuuitosssssacaeoaecvdpdlpuiauvpupmgaleleiiinscsnneagddRRietiruiucacuolluubllp(..llBehaaeeunittxlxulusulsFs.FmCrreSS.o.xccFrhnhrF.aear.eer)ffVff..itt. đđĀĀĘééĘ ĕê×ïĆ đŠ ÷đê÷Ċę ćŠ üéöĞććš
BRoulsestuulas oblriuvancneioruvbioelnasceCaorCnrearwsh.
đĀéĘ êïĆ đêćŠ éĞć

CReunssoucloacdcuelmicagFero.philum Fr. đĀđéĘĀêéĘ ąêĕąÙĕúÙ×úć×üćü

Russula blerpunidnaeoFrv.iolacea Crawsh. đĀđéĘĀĒéĘ éĒÜéÜ
Russula virescens Fr. đĀđéĘĀêéĘ ąêĕąÙĕúÙú

Scleroderma vulgare Horn.

Strobilomyces floccopus (Vahl. ex Fr. đĀđéĘĀêéĘ ćêđçćđçŠć Šć
Kardt.)

180 การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง

จินตนา และ ศิริภา (2545) รายงานการสํารวจความหลากหลายของเชื้อเห็ดราเอคโต
ไมคอรไรซาในสวนปาไมวงศยางของสถานีทดลองปลูกพรรณไมหวยทา จังหวัดศรีสะเกษ ในสวน
ปาไมวงศยางของสถานีวิจัยและฝกอบรมการปลูกสรางสวนปาสะแกราช จังหวัดนครราชสีมา และ
สวนปาไมวงศยางของสถานีทดลองปลูกพรรณไมหวยมุด จังหวัดสุราษฏรธานี พบวาเห็ดท่ีเปนเชื้อ
ราเอคโตไมคอรไรซา ไดแก เห็ดระโงกเหลือง (Amanita hemibapha subsp. javanica) เห็ด
ระโงกแดง (Amanita hemibapha subsp. hemibapha) เห็ดระโงกขาว (Amanita princeps
Corner et Bas) เห็ดไขเยี่ยวมา (Amanita vaginata (Bull. ex Fr.) Vitt.) เห็ดโคนหวาย (Amanita
lepidella) เห็ดประการัง (Clavulina sp.) เห็ดฟาน (Lactarius sp.) เห็ดแดง (Russula lepida)
เห็ดกอนกรวด (Scleroderma neosaccadia) และเห็ดสคลีโรเดอรมา อรีโอลาตัม (Scleroderma
areolatum Ehrenb.) โดยสวนปาไมยางนาของสถานีทดลองปลูกพรรณไมหวยทา จังหวัดศรีสะเกษ
มีความหลากหลายของชนิดเห็ดเอคโตไมคอรไรซามากท่ีสุด นอกจากน้ีเห็ดระโงกแดงสามารถขึ้น
ไดดีรวมกับไมตะเคียนทอง (ภาพที่ 7.5) ในสวนปา ของสถานีวิจัยและฝกอบรมการปลูกสรางสวน
ปาสะแกราช เห็ดระโงกขาวและเห็ดระโงกเหลือง ที่ชาวบานนิยมนํามาประกอบอาหาร พบวาเปน
เช้ือราเอคโตไมคอรไรซาของไมวงศยางหลายชนิด นอกจากน้ีเห็ดกอนกรวดและเห็ดสคลีโรเดอรมา
อรีโอลาตัม เปนเช้ือราเอคโตไมคอรไรซาของไมยางนาเพียงชนิดเดียว (ภาพท่ี 7.6)

ในการสํารวจชนิดเห็ดราเอคโตไมคอรไรซาในสวนปาไมวงศยาง พบวามีจํานวนความ
หลากหลายของชนิดเห็ดราเอคโตไมคอรไรซานอยกวาที่สํารวจพบในระบบนิเวศของปาธรรมชาติ
ของไมวงศยาง อยางไรก็ตามขอดีในสภาพของสวนปา คือใหปริมาณดอกเห็ดสูงตลอดชวงฤดูฝน
การเก็บหาเห็ดเปนไปไดงาย และสามารถปรับปรุงดินเพ่ือเพ่ิมผลผลิต ในแตละปเกษตรกรสามารถ
เก็บเห็ดไปขายไดเงิน 20,000 - 30,000 บาท (จินตนา และ ธีรวัฒน, 2542) เห็ดที่สามารถนําไป
ขายและประกอบอาหารไดแก เห็ดระโงกขาว เห็ดระโงกเหลือง เห็ดระโงกแดง และเห็ดน้ําหมาก
โดยเกษตรกรหรือชาวบานเขาไปเก็บต้ังแตเชา หรือในบางพื้นที่ท่ีมีคนไปเก็บเห็ดจํานวนมาก บาง
คนตองไปนอนคางคืนในปาเพ่ือท่ีเก็บเห็ดใหไดจํานวนมาก (ภาพที่ 7.7) เห็ดที่เก็บไดจะนํามาใส
กระทงใบตองหรือใบยางพลวงวางขายตามขางทาง และจากการสํารวจพบวาสวนปาไมวงศยางเริ่ม
ใหผลผลิตเห็ดเม่ืออายุเพียง 2 ถึง 3 ปเทานั้น ดังนั้นจึงควรอนุรักษและสงเสริมใหมีการปลูกไมวงศ
ยาง โดยมีผลผลิตจากเห็ดเปนส่ิงจูงใจใหชาวบานเขามามีสวนรวมในการอนุรักษสภาพแวดลอมของ
เห็ด ซึ่งคือผลสําเร็จของการอนุรักษปาน่ันเอง

การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง 181

ภาพที่ 7.5 เห็ดเอคโต
ไมครไรซาท่ีข้ึนใตตนไม
ตะเคียนทอง

เห็ดระโงกเหลือง Amanita hemibapha เห็ดระโงกแดง Amanita hemibapha
subsp. javanica subsp. hemibapha

Scleroderma areolatum เห็ดระโงกขาว Amanita princeps
Corner et Bas

ภาพท่ี 7.6 เห็ดเอคโตไมคอรไรซาของไมวงศยางหลายชนิด

182 การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง

ภาพที่ 7.7 ชาวบานเขาไปเก็บเห็ดในสวนปาไมวงศยาง ในจังหวัดนครราชสีมา

สําหรับความหลากหลายของเช้ือราเอคโตไมคอรไรซา สวนใหญที่พบในเรือนเพาะชําไม
วงศยางและเปนนิยมนํามาใชสําหรับเพาะเช้ือราเอคโตไมคอรไรซาใหแกกลาไมวงศยางในเรือน
เพาะชํา ไดแก เห็ดเอคโตไมคอรไรซาในกลุมเห็ดไข (Amanita sp.) เห็ดไขหงส (Scleroderma
sp.) และ เห็ดนํ้าหมาก (Russula sp.) (Kikuchi et al., 1999; Soda, 1999) นอกจากนี้เช้ือรา
เอคโตไมคอรไรซาบางชนิดในสวนปาจัดอยูในกลุมเดียวกับเช้ือราไมคอรไรซาของไมวงศยางที่พบใน
ประเทศฟลิปปนส ไดแก เห็ดนํ้าหมาก (Russula sp.) และ เห็ดฟาน (Lactarius sp.) แตแตกตาง
จากเช้ือราไมคอรไรซาของไมวงศยางที่พบในประเทศ อินโดนีเซีย คือ กลุมเห็ดนา (Agaricus), ตับ
เตา (Boletus) และ กาสทีโรไมซีเตส (Gasteromycetes) (Pampolina et al., 1999) เทคนิควิธี
การเพาะเช้ือไมคอรไรซาใหกับไมวงศยางกอนไปปลูกที่นิยมใชปฏิบัติมี 4 วิธี (จินตนา, 2545) ไดแก

การใชดินเชื้อ (Soil inoculum)

การใชดินเชื้อ โดยขุดดินจากปาธรรมชาติ หรือในสวนปาท่ีมีเชื้อราไมคอรไรซาอยูแลว มา
ผสมคลุกเคลากับดินที่ตองการเตรียมเพาะกลาไม วิธีนี้เปนวิธีท่ีงายและสะดวกสําหรับสถานี
เพาะชําที่อยูใกลสวนปาหรือในปาธรรมชาติ สัดสวนของดินเช้ือท่ีใชผสมแตกตางกันไปต้ังแต 10 –
50 เปอรเซ็นต ในการขนยายดินไมควรเกิน 2 สัปดาห เพราะอาจทําใหเชื้อราไมคอรไรซาออนสภาพ
ลงหรือตายได แตมีเชื้อไมคอรซาบางชนิดสามารถเก็บไดนานถึง 15 เดือน หากมีการเก็บรักษาในถุง
พลาสติกท่ีมีความช้ืนและอุณหภูมิเหมาะสม ขอเสียของวิธีน้ีตองขนยายดินในปริมาณมาก ตองเสีย
คาใชจายสูงถาสถานีเพาะชําอยูไกลจากในบริเวณที่มีดินเชื้อ และเปนการเส่ียงตอการนําเอาเชื้อรา

การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง 183

ท่ีเปนสาเหตุของโรคพืชเขามาในเรือนเพาะชํา นอกจากน้ีการปลูกเช้ือราไมคอรไรซาใหกับกลาไมใน
เรือนเพาะชําอาจใชขุยมะพราวผสมกับดินเช้ือท่ีมีราไมคอรไรซา และปุยออสโมคอรด (Osmocode)
ซึ่งทําใหกลาไมยางมีมวลชีวภาพมาก มีการเจริญเติบโตดี ใหผลผลิตเห็ดไมคอรไรซาปริมาณมากและ
มีขนาดใหญ

การใชแมเช้ือ (Ectomycorrhizal seedling and root)

การใชแมเชื้อ เริ่มทําครั้งแรกในประเทศอินโดนีเซีย โดยทดลองกับไมสนสองใบ (Pinus
merkusii) หลังจากนั้นไดนํามาประยุกตใชกับไมยางนา ไมตะเคียนทอง และไมวงศยางชนิดอ่ืนๆ
วิธีการโดยใชแมไมเปนเช้ือเปนที่นิยมและสะดวก โดยในแตละแหงมีวิธีการปฎิบัติแตกตางกันออกไป
เชน การปลูกเชื้อเอคโตไมคอรไรซาใหกับกลาไมยางนาในเรือนเพาะชํา มีวิธีการปฎิบัติโดยการนําเอา
กลาไมยางนาท่ีมีเช้ือราเอคโตไมคอรไรซา ใชสําหรับเปนแมเชื้อ มาวางกระจายในเรือนเพาะชําเปน
ระยะๆ แลวนํากลาไมยางนาท่ีตองการปลูกเชื้อรา อาจเปนกลาไมท่ีเตรียมมาจากเมล็ดหรือกลาไม
ที่มาจากก่ิงชํา มาวางโดยรอบกลาไมยางนาที่ใชเปนแมเช้ือ วิธีการน้ีกลาไมที่วางใกลกับกลาไมที่ใช
เปนแมเชื้อจะมีการติดเช้ือไมคอรไรซารวดเร็วกวากลาไมท่ีวางหางไกลออกไป ดังนั้นจึงควรหมุนเวียน
สลับกับกลาไมที่วางหางออกไปเพ่ือใหกลาไมทุกตนสามารถรับเช้ือราไมคอรไรซาอยางสม่ําเสมอและ
มีการเขาติดเช้ือราไมคอรไรซาท่ีรากอยางรวดเร็ว

การใชดอกเห็ดและสปอร (Fruiting body and spores)

การใชดอกเห็ดและสปอร เปนวิธีการงายเหมาะท่ีใชสําหรับเห็ดที่สามารถสรางสปอรเปน
ปริมาณมาก ซึ่งเปนพวกเห็ดลูกฝุน (Puff ball) เชน ไรโซโปกอน (Rhizopogon) สคลีโรเดอรมา
(Scleroderma) และไพโซลิธัส (Pisolithus) จึงสามารถนําสปอรมาเพาะเชื้อไมคอรไรซาโดยตรง
อยางไรก็ตามการใชวิธีน้ีตองคํานึงถึงวัตถุประสงคของการปลูกเชื้อไมคอรไรซา เพื่อที่จะสามารถ
เลือกชนิดดอกเห็ดท่ีนําไปเพาะเปนแมเชื้อ เชน การปลูกไมวงศยางเพ่ือใหดอกเห็ดที่ใชเปนอาหาร
ควรใชเห็ดระโงกขาว ระโงกเหลือง เปนตน แตถาปลูกเชื้อไมคอรไรซาเพื่อเพิ่มการเจริญเติบโตของ
ตนไม สามารถเลือกเห็ดแมเช้ือพวกเห็ดลูกฝุน เนื่องจากใหสปอรจํานวนมาก

วิธีการใชสปอรจากเห็ดสําหรับการเพาะเชื้อไมคอรไรซาใหแกกลาไม สามารถทําไดโดยนํา
เห็ดไมคอรไรซามาคลุกเคลากับเวอรมิคูลไลท (Vermiculite Kaolin) หรือทรายเปยกชื้น สปอรจะ
ผลิตเสนใยจํานวนมาก หลังจากน้ันนําไปผสมกับดิน ที่เตรียมสําหรับเพาะเมล็ดไมวงศยาง เม่ือเชื้อ
ราไมคอรไรซาในดินเจริญเขาไปอาศัยอยูในรากของกลาไม และกลาไมมีใบแท 1 คู จึงยายกลาลง
ถุงชํา หรืออีกวิธีการหนึ่งคือ ใชสปอรผสมผสมคลุกเคลาลงในดินโดยตรง

184 การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง

การใชเชื้อราบริสุทธ์ิ (Pure culture)

การใชเช้ือราบริสุทธ เปนวิธีการที่สามารถเพาะขยายชนิดของเชื้อรามากตามที่ตองการ
และยังเสี่ยงตอการนําเชื้อโรคท่ีอยูในดินไปแพรยังท่ีตางๆ นอยที่สุด วิธีการนี้ที่นิยมคือการแยกเชื้อ
จากดอกเห็ดไมคอรไรซาที่ทราบชนิดแลว นําชิ้นสวนท่ีตัดออกจากดอกเห็ดไปเล้ียงบนอาหารเทียม
ในหองปฏิบัติการ โดยเห็ดระโงกขาวและระโงกเหลืองสามารถแยกเช้ือราไดดีในอาหาร MMN
(Modified Melin Norkans medium) และอาหาร PACH (Pachlewski medium) สําหรับเห็ด
Scleroderma areolatum สามารถแยกเชื้อราไดดีเฉพาะอาหาร MMN (จินตนา และ ศิริภา,
2545) จากน้ันเปลี่ยนอาหาร เพื่อขยายใหไดเช้ือราไมคอรไรซาใหไดจํานวนมาก กอนนําไปปลูกถาย
ใหแกกลาไมวงศยางในเรือนเพาะชํา หรือใชในสวนปา

การปลูกเชื้อราเอคโตไมคอรไรซาโดยใชเชื้อบริสุทธ์ิสามารถทําไดดังนี้ เม่ือขยายเช้ือรา
ไมคอรไรซาไดจํานวนมากแลว นําเชื้อรามาปนเล็กนอยในนํ้าหรืออาหารเทียม โดบไมมีสวนผสมของ
วุนเพื่อใหเชื้อราแยกออกจากกัน นํากลาไมยางท่ีไดจากการเพาะเมล็ดที่มีใบแท 1 คู มีขนาดโตพอท่ี
สามารถยายลงถุงชําได หรือกลาไมท่ีไดจาการปกชํา นํากลามาแชในน้ําหรืออาหารเทียมที่มีเช้ือรา
ไมคอรไรซาผสมอยูประมาณ 1 – 2 ชั่วโมง กอนนํากลาไมไปปลูกลงในถุงชํา

การปลูกเชื้อราไมคอรไรซาใหกับกลาไมวงศยาง โดยใชเช้ือบริสุทธ์ิ สามารถทําไดอีกวิธีหน่ึง
ซ่ึงเหมาะกับเรือนเพาะชําท่ีอยูไกลจากหองปฏิบัติการ โดยการนําเช้ือราไมคอรไรซาที่เพาะขยายไว
มาปนกับนํ้าหรืออาหารเทียมท่ีไมผสมวุน ไปหยดใสในถุงกลาไมวงศยาง หรือนําไปรดกลาไมในเรือน
เพาะชํา ซึ่งวิธีน้ีควรทําซํ้าประมาณ 2 – 3 ครั้ง กลาไมวงศยางท่ีมีเช้ือราไมคอรไรซาเจริญขึ้น บริเวณ
ขอบถุงที่สัมผัสดินมีเชื้อราสีขาวเกาะอยู

5. พันธุกรรมไมวงศยาง

ความหลากหลายทางพันธุกรรมมีความสําคัญตอการดํารงอยูของสิ่งมีชีวิต ซึ่งเปนสวนหนึ่ง
ของความหลากหลายทางชีวภาพ ลักษณะพันธุกรรมของพืชสามารถนําไปใชสําหรับการจําแนกพันธุ
พืชใหมีความละเอียดถูกตองมากข้ึน และการศึกษาดานพันธุกรรมยังสามารถนําไปใชสําหรับการ
ปรับปรุงพันธุพืช นอกจากนี้การศึกษาวิจัยพันธุกรรมของพืชสามารถนําไปสูการผลักดันใหพื้นที่น้ัน
เปนแหลงการอนุรักษพันธุกรรมของพืช ซ่ึงมีความสําคัญอยางย่ิงในการรักษาฐานความหลากหลาย
ทางชีวภาพ ท้ังดานพันธุกรรม (Genetic diversity) ชนิดพันธุ (Species diversity) ใหคงอยู และ
ยังเปนการรักษาลักษณะนิเวศวิทยาดั้งเดิมอันเปนแหลงที่ศึกษาใหเขาใจถึงกระบวนการวิวัฒนาการ

การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง 185

ของพืชนั้นๆ ดังน้ันการศึกษาความหลายหลายทางพันธุกรรมเปนสิ่งสําคัญอยางหนึ่งเพื่อพัฒนานํา
ไปสูการอนุรักษทรัพยากรทางชีวภาพดานปาไม

ไมวงศยางเปนพรรณไมดั้งเดิม (Native forest) ของประเทศ ในปาธรรมชาติมีความหลาก
หลายของยีนส (Gene) ถึงแมวาตนไมมีลักษณะเดนที่ปรากฏ (Phenotype) เหมือนกัน Bawa
(1998) รายงานวาจํานวนโครโมโซม (Chromosome) ของชนิดไมในวงศยางสกุลไมตะเคียน สกุล
ไมไขเขียว สกุลไมเต็ง - สยา สกุลไมตะเคียนชันตาแมว มีจํานวนพ้ืนฐานโครโมโซม เทากับ 7 (x
= 7) และสกุลไมยาง สกุลไมพันจํา สกุลไมกระบาก มีโครโมโซมเทากับ 11 (x = 11) และเม่ือผาน
ขบวนการแบงตัวของเซลล ปรากฏวาไมวงศยางในสกุลที่มีจํานวนพ้ืนฐานโครโมโซม เทากับ 7 (x =
7) มีจํานวนโซมาติกโครโมโซมเปน (Somatic chromosome) 20, 21 และ 22 จํานวนโครโมโซม
ของไมวงศยางบางชนิดมีจํานวนความผันแปร เชน ไมยางนามีจํานวนโครโมโซมปรากฎ 20 หรือ 22
ยางพลวงมีจํานวนโครโมโซม 20 ลูกผสมยางพลวงกับยางแดงมีจํานวนโครโมโซมปรากฎ 30 สําหรับ
ตะเคียนทองปรากฎมีจํานวนโครโมโซม 14, 20, 21 และ 22 ซึ่งจํานวนโครโมโซมท่ีผันแปรน้ันอาจ
เปนชวงท่ีมีการแบงตัวของเซลลพันธุกรรม

การศึกษาลักษณะของเชลสืบพันธุมีความสําคัญท่ีสามารถนําไปศึกษาการปรับปรุงพันธุและ
อธิบายลูกผสม (Hybrid) ของพันธุไมตระกูลยางที่พบเห็นท่ัวไปในปาธรรมชาติ เชน ลูกผสมของไม
ยางปาย กับยางเหียง ในอําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม หรือยางปายกับยางแดง และลูกผสมยาง
พลวงกับยางกราด ในสถานีวิจัยสะแกราช จังหวัดนครราชสีมา มีลักษณะทางสัณฐานวิทยาของลําตน
ที่สังเกตดวยสายตาอาจเหมือนกับตนพอหรือตนแม แตมีลักษณะผลที่แตกตางอยางชัดเจน (ภาพที่
7.8) ดังนั้นการศึกษาลักษณะอยางละเอียดทางสัณฐานวิทยาและพันธุกรรม ชวยการจําแนกชนิดท่ี
ถูกตอง

ในปจจุบันการลดลงของผืนปาธรรมชาติอยางรวดเร็ว เปรียบเสมือนการลดลงของฐาน
พันธุกรรมไมวงคยาง เนื่องจากปาธรรมชาติมีความหลากหลายทางพันธุกรรมสูง เหมาะแกการใช
เปนแหลงเก็บเมล็ดในการปลูกปาตอไปในอนาคต ดังน้ันควรอนุรักษแหลงอนุรักษพันธุกรรมของไม
วงศยางธรรมชาติที่สําคัญไว เชน การอนุรักษแหลงพันธุกรรมตามธรรมชาติของไมยางนา วนอุทยาน
ปากลางอาว อําเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ ซ่ึงเปนการอนุรักษแหลงพันธุกรรมตาม
ธรรมชาติ (In situ conservation) การอนุรักษพันธุกรรมแบบนี้ยังเปนบันไดข้ันแรกที่จะปองกัน
รักษาปา และใหพ้ืนที่นั้นไดคงไวซ่ึงความหลากหลายทางพันธุกรรม สอดคลองกับสุจิตรา (2551) ได
ศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของไมยางนาในประเทศไทยโดยใชเคร่ืองหมายไอโซเอนไซม
ยีน พบวาไมยางนาในปาธรรมชาติมีความหลากหลายทางพันธุกรรมสูงกวาไมยางนาในสวนปามาก

186 การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง

ภาพท่ี 7.8 ลูกผสมของไมยางระหวางยางปายกับยางเหียง
A: ยางปาย B: ยางเหียง C: ลูกผสม

แหลงไมยางนาในปาธรรมชาติท่ีมีความหลากหลายสูง เหมาะแกการเก็บเมล็ดไปปลูก และ
สมควรแกการอนุรักษไมยางนาในถิ่นกําเนิด ไดแก ดอยฟาหวน จังหวัดอุบลราชธานี, หวยเขยง
อําเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี, อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา และอําเภอลอง จังหวัดแพร
บุญชุบ (2542ข) ไดรวบรวมแหลงพันธุกรรมของไมยางนา (ตารางที่ 7.4) เพ่ือใชสําหรับขยายพันธุ
เชน การเก็บเมล็ด หรือก่ิงพันธุ อยางไรก็ตามการเก็บเมล็ดไมเพื่อปลูกในปาอนุรักษควรเก็บเมล็ด
พันธุหลายๆ ตน ถึงแมวาในไมวงศยางบางชนิดในหนึ่งตนสามารถใหผลผลิตเมล็ดจํานวนมาก เพ่ือ
เปนการรักษาความหลากหลายทางพันธุกรรมและทําใหกลาสามารถตานทานสิ่งแวดลอมตางๆ ท่ี
อาจเกิดข้ึน และใหผลผลิตเมล็ดรุนตอๆ ไปอยางมีคุณภาพในอนาคต

การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง 187

ตารางที่ 7.4 แหลงพันธุกรรมไมยางนาเพื่อใชสําหรับการเก็บเมล็ด

ßČęĂĒĀúŠÜóĆîíÖč øøö ìęêĊ ĚĆÜ ÿëćîõćó đîČĚĂìęĊ Āöć÷đĀêč

(ĕø)Š

ððćś śćđ×đ×ććóóøøąąùùþþĊ-đĊ-×đ×ććïïĂŠ ŠĂĒĒøøŠ Š Ă.ìĂÜñćõĎöĉ Ý.ÖćâÝîïčøĊ ðćś íøøößćêĉ 1,250

ïćÜÿąóćîîšĂ÷ Ă. ïćÜÿąóćîîšĂ÷ ĒðúÜìéúĂÜ 1 Ex-situ

Ý. ðøąÝüïÙĊøĊ×ĆîíŤ

ðśćÖúćÜĂŠćü Ă.ïćÜÿąóćî ðćś íøøößćêĉ 1,200

Ý. ðøąÝüïÙĊøĊ×îĆ íŤ

üĆéÖĎóŠ øąēÖîć Ă. ÿčüøøèõöĎ ĉ Ý.øĂš ÷đĂĘé ðśćíøøößćêĉ 200

üîĂčì÷ćîēÖÿöĆ óĊ Ă. ēÖÿöč óÿĉ ÷Ć Ý. öĀćÿćøÙćö ðśćíøøößćêĉ 50

ĕêøêøċÜ Ă. đöĂČ Ü Ý. ÖĞćĒóÜđóßø ÿüîðćś 50

ðśćüĆÜÖŤđÝšć - üĆÜßöõĎ Ă.ÖÜęĉ ĂĞćđõĂēÖÿĆöóĊîÙø ðćś íøøößćêĉ 50

Ý. ÖćĞ ĒóÜđóßø

ïćš îüÜĆ ÷ćÜ Ă. đöČĂÜ Ý. ÖćâÝîïčøĊ ðćś íøøößćêĉ 400

ðśćđ×ćõĀĎ úüÜ Ă. üĆÜîĞćĚ đ×÷Ċ ü Ý. îÙøøćßÿöĊ ć ðćś íøøößćêĉ 50

üîĂčì÷ćîĕß÷ïüø Ă. ēóìąđú Ý. óĉÝêĉ ø ðśćíøøößćêĉ 1,080

éÜôŜćĀŠüî Ă. đöČĂÜ Ý. Ăïč úøćßíćîĊ ðćś íøøößćêĉ 2,200

ĀîĂÜÿîö Ă. đöĂČ Ü Ý. øą÷ĂÜ ðćś íøøößćêĉ 223

ìŠć÷ćÜđóßøïčøĊ Ă. ìŠć÷ćÜ Ý. đóßøïčøĊ ðśćíøøößćêĉ -

ðćś üÜĆ îćĞĚ đ×Ċ÷ü Ă. üÜĆ îĞćĚ đ×Ċ÷ü Ý.îÙøøćßÿöĊ ć ðćś íøøößćêĉ 15

Ăìč ÷ćîĒĀÜŠ ßćêĉìĆïúćî Ă. Ùøïøč Ċ Ý. îÙøøćßÿöĊ ć ðśćíøøößćêĉ 80

ÿëćîĊüĉÝĆ÷ĒúąòřÖĂïøö Ă. üĆÜîĚĞćđ×Ċ÷ü Ý.îÙøøćßÿĊöć ÿüîĂîčøĆÖþŤ 10 ex-situ

ÖćøðúÖĎ ÿøćš Üÿüîðćś óîĆ íčŤ

ðćś Āüš ÷Ē×÷ÜŠ Ă. ìĂÜñćõĎöĉ Ý. ÖćâÝîïøč Ċ ðćś íøøößćêĉ 565

ðćś òũŦÜàćš ÷Āšü÷ìïĆ ìîĆ - Ă. ÿÜĆ ×ą Ý. ÿčøĉîìøŤ ðćś íøøößćêĉ 20

ÖćĞ ēóé (ĀîĂÜÙ)Ď

188 การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง

6. การปลูกไมวงศยาง

พรรณไมวงศยางในประเทศไทย เปนชนิดไมท่ีตองการแสง ถึงแมวาตองการรมเงาบาง
ในระยะกลาไม ในสภาพแวดลอมที่เหมาะสมพรรณไมวงศยางมีการเจริญเติบโตที่ดี (Smitinand
and Santisuk, 1981) และการปลูกกลาไมวงศยางในพ้ืนที่โลงแจงไมสงผลกระทบ และมีการ
เจริญเติบโตไมแตกตางกับไมยางนาที่ไดรับรมเงา 50 เปอรเซ็นต และ 75 เปอรเซ็นต (จินตนา และ
คณะ, 2542) ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาระดับความเขมของแสงท่ีเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของ
กลาไมยางนาในเรือนเพาะชํา โดยใชตาขายพรางแสงที่ใหแสงอาทิตยรอดผานได 10 เปอรเซ็นต,
30 เปอรเซ็นต, 50 เปอรเซ็นต และ 100 เปอรเซ็นต (ท่ีโลงแจง) โดยพบวาแสงมีผลตอการพัฒนา
ปากใบ (Stomata) การเปดและปดของปากใบ (Stomatal opening) คลอโรฟลล (Chlorophyll)
นํ้าหนักแหง (Biomass) อัตราสวนยอดตอราก (Root : Shoot ratio) ซึ่งกลาที่ไดรับแสงในระดับ
ความเขม 10 เปอรเซ็นต มีอัตราการเจริญเติบโตและแข็งแรงนอยที่สุด ในชวง 6 เดือนแรก (มิถุนายน
– พฤศจิกายน) หลังจากที่กลาไมยางนาไดรับการใหความเขมของแสงแตกตางกัน ซ่ึงเปนชวงฤดู
ฝน กลาไมที่ไดรับระดับความเขมแสง 100 เปอรเซ็นต มีอัตราการเจริญเทากับอายุของกลาไมที่
ใชทดลองปลูกในสวนจิตรลดาซ่ึงมีอัตราการรอดตายถึง 94 เปอรเซ็นต เม่ืออายุ 100 เปอรเซ็นต
มีอตั ราการเจรญิ และแขง็ แรงทสี่ ดุ ในชว ง 6 เดอื นหลงั (ธนั วาคม – พฤษภาคม) ซง่ึ เปน ฤดแู ลง กลา ไม
ท่ีอยูในระดับความเขมแสง 30 เปอรเซ็นต และ 50 เปอรเซ็นต มีอัตราการเจริญเติบโตและ
แข็งแรงมากที่สุด (จินตนา และคณะ, 2534) การศึกษาความเขมของแสงที่มีผลตอการเจริญเติบโต
และความแข็งแรงของกลาไมยางนาเปนแนวทางในการเตรียมกลาไมยางนาเพื่อการปลูกปา ซึ่งจาก
การศึกษาสามารถเตรียมกลาไมได 2 แนวทาง คือการเตรียมกลาไมที่ปลูกภายในปซึ่งเปนการเตรียม
กลาไมระยะส้ัน ควรเตรียมกลาภายใตแสง 100 เปอรเซ็นต หรือในท่ีโลงแจง โดยเมล็ดยางนาแก
และสามารถเก็บมาเพาะในเรือนเพาะชําในชวงเดือนมีนาคม – เมษายน กลาสามารถนําไปปลูกได
ในเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม กลาไมจะมีอายุ 4 เดือน (จินตนา และคณะ, 2542) การเตรียมกลา
ในวิธีน้ีตองรดน้ําใหแกกลาไมอยางสม่ําเสมอ สําหรับการเตรียมกลาไมขามป หรือการเตรียมกลา
สําหรับปลูกในฤดูกาลปลูกในชวงปถัดไป กลาไมมีอายุ 1 ป ซ่ึงเปนท่ีนิยมปฎิบัติท่ัวไป ควรเตรียม
กลาไมยางนาภายในเรือนเพาะชําที่ระดับความเขมแสง 30 - 50 เปอรเซ็นต การเตรียมกลาไมใน
ระดับความเขมแสงดังกลาวมีขอดีคือกลาไมไมมีกิ่งกานมาก และท่ีระดับความเขมแสงดังกลาว
เชื้อราไมคอรไรซาสามารถเจริญเติบโตไดดี

การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง 189

จินตนา และคณะ (2542) ไดทดลองนํากลาไมยางนาที่เตรียมในเรือนเพาะชํา ใชตาขาย
พรางแสงใหแสงอาทิตยรอดผานได 10 เปอรเซ็นต, 30 เปอรเซ็นต, 50 เปอรเซ็นต และ 100
เปอรเซ็นต (ที่โลงแจง) เม่ือกลาไมอายุ 1 ป ไดนํากลาไมมาปลูกในท่ีโลงแจง พบวากลาไมที่มี
ขนาดใหญและสูงอาจไดรับผลกระทบเม่ือเขาสูฤดูแลง โดยเกิดอาการยอดแหงตาย และกลาไม
ไดแตกยอดใหม กลาไมที่เตรียมจากความเขมแสงท้ัง 4 ระดับ มีอัตราการรอดตายในปท่ี 1 - 3
ไมแตกตางกัน สําหรับการเจริญของกลาไมที่ปลูกในแปลงทดลอง พบวามีความแตกตางทาง
ความสูงเพียงอยางเดียว โดยกลาไมท่ีปลูกจากกลาท่ีเตรียม ที่ระดับความสูง 10 เปอรเซ็นตนอย
ที่สุด ทั้งน้ีเปนเพราะวากลาที่ไดจากการเตรียมในระดับความเขมแสง 10เปอรเซ็นต มีความสูงต่ํากวา
กลาที่เตรียมจากความเขมแสงระดับอ่ืนๆ กอนนําไปปลูก เม่ือเขาสูปที่สองกลาไมมีอัตราการเจริญ
เติบโตไมแตกตางกัน องคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ (Food and Agriculture
Organization: FAO) กําหนดวาการเจริญเติบโตของไมยางนาเมื่ออายุ 2 – 3 ปแรกควรมีความสูง
1.20 เมตร ซ่ึงเปนการเจริญเติบโตที่รวดเร็ว เกียรติกอง (2542) รายงานการปลูกไมยางนาท่ีระยะ
ปลูก 2 x 4, 4 x 4 และ 3 x 3 เมตร เม่ือตนไมอายุ 12 ป ไมยางนามีการเจริญเติบโตไมแตกตาง
กันมาก โดยมีความสูง 13.3, 12.2 และ 13.9 เมตร และความโตท่ีเสนผาศูนยกลางเพียงอกเทากับ
18.6, 20.3 และ 17.9 เซนติเมตร ตามลําดับ Smitinand and Santisuk (1981) ไดรายงานวา
ไมยางนาสามารถปลูกไดทั้งภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต ไมยางนาท่ีปลูกริมถนน
เชียงใหม – ลําพูน มีเสนรอบวง 180 เซนติเมตร เมื่ออายุ 50 ป และการเจริญเติบโตของไมยางนา
ท่ีปลูกริมแมน้ําพอง จังหวัดขอนแกน มีเสนรอบวง 59 เซนติเมตร เมื่ออายุ 18 ป และไมตะเคียนทอง
ท่ีปลูกใกลเคียงกันมีเสนรอบวง 50 เซนติเมตร และการเจริญเติบโตของไมยางพลวงท่ีปลูกที่อําเภอ
แมสะเรียง จังหวัดแมฮองสอน มีเสนรอบวง 43 เซนติเมตร เม่ืออายุ 15 ป การเจริญเติบโตดีกวาไม
เต็งท่ีมีความโตเพียง 39 เซนติเมตร

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม
เปนหนวยงานที่ดูแลและฟนฟูพ้ืนท่ีปาตนน้ําโดยตรง ไดนอมนําแนวพระราชดําริพระบาทสมเด็จ
พระเจาอยูหัวฯ มาเปนแนวทางปฏิบัติในการรักษาและฟนฟูพื้นท่ีตนนํ้า โดยพิจารณาคัดเลือก
ชนิดไมทองถิ่นที่พบใน 8 ลุมนํ้า ครอบคลุม 5 ชนิดปา ไดแก ปาดิบเขา ปาดิบแลง ปาผลัดใบผสม ปา
เต็งรัง และปาชายนํ้า ไดพรรณไมจํานวน 80 ชนิด สําหรับการนําไปปลูกปาตนน้ําลําธาร (สํานักงาน
หอพรรณไม, 2555) ในจํานวนน้ี มีไมวงศยางไดแก กระบาก ยางนา ตะเคียนทอง และพะยอม
การนําชนิดไมท้ังสามชนิดไปปลูกในแตละพื้นท่ี ควรศึกษาการกระจายพันธุและระบบนิเวศด้ังเดิม
ซึ่งจะชวยสงเสริมใหตนไมมีการเจริญเติบโตดี โดยไมวงศยางแตละชนิดควรปลูกในพ้ืนท่ี ดังนี้

190 การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง

กระบาก

ชอ่ื พ้ืนเมอื ง: กระบาก ตะบาก
(ลําปาง), กระบากขาว (ชลบรุ ,ี
ชมุ พร, ระนอง), กระบากโคก (ตรัง),
กระบากชอ กระบากดา ง กระบาก
ดํา (ชมุ พร), กระบากแดง (ชุมพร,
ระนอง), ชอวาตาผอ (กะเหร่ียง-
กาญจนบรุ )ี , บาก (ชมุ พร), ประดิก
(เขมร-สุรนิ ทร) , พนอง (จนั ทบุรี,
ตราด), หมีดงั วา (กะเหรยี่ ง-ลําปาง)

ลักษณะของตนกระบากและช่ือพ้ืนเมือง

การกระจายพันธุตามธรรมชาติของกระบาก ขึ้นในปาดิบแลง ปาผลัดใบผสมในระดับสูง
และปาดิบช้ืน กระบากมีเขตการกระจายพันธุกวาง พบท่ีพมา ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู
บอรเนียว สุมาตรา ชวา และฟลิปปนส ในไทยกระจายทุกภาคของประเทศ บางคร้ังพบเปนกลุมหนา
แนน โดยเฉพาะทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน จนถึงระดับความสูงประมาณ 1,000 เมตร ผล
แก ชวงเดือนเมษายน - พฤษภาคม การสืบพันธุตามธรรมชาติคอนขางต่ํา เน่ืองจากถูกทําลายโดย
แมลง หรือผลมักรวงกอนแก

การขยายพันธุและการผลิตกลากระบาก การขยายพันธุโดยการเพาะเมล็ด เมล็ดควรเปน
เมล็ดท่ีเก็บใหมๆ จากตน ควรตรวจดูความสมบูรณ ไมถูกแมลงเจาะทําลาย หามนําไปตากแดด เมล็ด
มีอายุสั้น ไมควรเก็บไวนานเกิน 3 วัน นําเมล็ดแชน้ํา 6 - 8 ช่ัวโมง ชวยเพิ่มอัตราการงอกได

การปลูกกลาไม ชนิดดินท่ีเหมาะสม คือ ดินรวนปนทรายที่มีความอุดมสมบูรณและการ
ระบายน้ําดี ชอบสภาพอากาศคอนขางชื้นถึงชื้น ปริมาณนํ้าฝน 1,500 - 2,000 มิลลิเมตรตอป
กระบากเปนไมคอนขางโตเร็ว กลาไมตองการรมเงา ไมหนุมชอบแสงและเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว
เหมาะสําหรับการปลูกฟนฟูสภาพปาดิบแลงทั้งในระดับต่ําและระดับสูง กระบากเปนไมใหญท่ีให
ความชุมชื้นรมร่ืนแกปาไดดี ระบบรากลึกแข็งแรง สามารถปลูกผสมผสานกับไมโตชาหลายชนิด
ของปาดิบแลง เชน จําปปา ยมหอม กฤษณา และไมในวงศยางอ่ืนๆ เชน ยางปาย ยางแดง พันจํา
ตะเคียนหิน และกระบากดํา

การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง 191

ไมยางนา

ชอื่ พน้ื เมือง: ยางนา ยางขาว
ยาง ยางแมนํ้า ยางหยวก
(ทั่วไป) ยางกุง (เลย) ยาง
ควาย (หนองคาย) ยางเนนิ
(จันทบุรี) ราลอย (สุรินทร)
ลอยด (นครพนม) ทองหลกั
(ละวา ) ยางตงั (ชุมพร) จะดี
ยล (เขมร) เคาะ (เชยี งใหม)
ขะยาง (นครราชสีมา) กาดลี
(ปราจนี บุร)ี

-- - -

ลักษณะของไมยางนาและชื่อพื้นเมือง

การกระจายพันธุตามธรรมชาติของไมยางนา เปนพันธุไมที่ชอบขึ้นเปนกลุมตามท่ีราบ
ชายลําธารในปาดิบท่ัวไปที่สูงจากระดับนํ้าทะเลปานกลาง 200 - 600 เมตร สามารถขี้นทุกภาค
ของประเทศ ไดแก ภาคเหนือในจังหวัดเชียงราย เชียงใหม ลําพูน ตาก กําแพงเพชร นครสวรรค
และอุทัยธานี ภาคตะวันอกเฉียงเหนือพบมากในจังหวัด ปราจีนบุรี นครราชสีมา จนถึงอุบลราชธานี
ภาคกลางและภาคตะวันออก พบมากในจังหวัดนครนายก ชลบุรี ระยองและ ตราด สําหรับภาคใต
พบการกระจายเปนชวงๆ จากประจวบคีรีขันธ นครศรีธรรมราช สุราษฏธานี สงขลา ตรัง จนถึง
นราธิวาส

การขยายพันธุและการผลิตกลาไมยางนา นิยมใชเมล็ด เพราะสามารถเตรียมกลาไมได
เปนจํานวนมาก และงายในการดูแลรักษา เมล็ดมีการทําลายของแมลง ข้ึนอยูกับแหลงเก็บ ดังน้ัน
ควรผาเมล็ดดูความสมบูรณของเมล็ดกอนนํามาเพาะ โดยเมล็ดที่เก็บจากบนตน ใหอัตราการงอก
สูงกวาเมล็ดท่ีรวงตามพ้ืน การเพาะเมล็ดไมยางนาใหตัดปกจนชิดเมล็ด นําเมล็ดใสกระสอบปาน
รดน้ําใหชุม ปดปากถุง รดนํ้าทุกวันประมาณ 1 สัปดาหเมล็ดดีจะเร่ิมมีรากสีขาวหรือขาวปนน้ําตาล
งอกออกมา เม่ือรากยาว 4 - 5 เซนติเมตร ใหยายเมล็ดไปใสถุงชําหรือใสในกระบะเพาะท่ีเตรียมไว
เมล็ดจะทยอยงอกออกมาจนครบ 1 เดือน การเตรียมกลาปลูกในระหวางป ควรเตรียมกลาในท่ี
โลงแจง เพื่อกลาแข็งแกรงและมีการโตดี แตถาเตรียมกลาขามปควรไวในเรือนเพาะชํา ท่ีมีแสงรอด
ผาน 30 - 50 เปอรเซ็นต รดน้ําวันละคร้ัง

192 การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง

การปลูกกลาไม การปลูกไมยางนาควรเลือกปลูกในพ้ืนท่ีใกลแหลงน้ํา หรือมีความสูง
ไมเกิน 600 เมตรเหนือระดับน้ําทะเล การอยูรอดของกลาไมถือเปนระยะสําคัญที่แสดงใหเห็นวา
ไมชนิดนั้นๆ สามารถต้ังตัวอยูในถ่ินนั้นไดหรือไม สําหรับไมยางนาสามารถปลูกในที่เปดแสงสวาง
กลาไมมีอัตราการรอดตายสูงถึง 90 เปอรเซ็นต ในปแรก สําหรับปตอไปการดูแลกลาไม ตองกําจัด
วัชพืชไมใหปกคลุมแสงและแยงอาหารในระยะต้ังตัว

ไมตะเคียนทอง

ชือ่ พื้นเมอื ง: กะกี้ โกกี้ (กะเหร่ียง
แถบจงั หวัดเชยี งใหม) แคน
(ภาคเหนือ) จะเคียน (ภาคเหนอื )
จูเค โซเก (กะเหรย่ี ง จงั หวัด
กาญจนบรุ )ี ตะเคยี น ตะเคยี น
ทอง ตะเคยี นใหญ (ภาคกลาง)
ไพร (ละวา จังหวดั เชยี งใหม)
และมีชือ่ พนื้ เมือง ภาษาอังกฤษ
“Iron wood” มถี ิน่ กาํ เนิดใน
ปา ดบิ แลง ขน้ึ ไดดีบนทีร่ าบหรือ
คอนขา งราบใกลร ิมนํา้ เปน ไม
สําคญั ทางเศรษฐกจิ เปน ไมเดน
ของปา ดบิ ช้นื

ลักษณะของไมตะเคียนทองและช่ือพ้ืนเมือง

การกระจายพันธุตามธรรมชาติของไมตะเคียนทอง มีการกระจายพันธุตามธรรมชาติ ทาง
ตอนใตและตะวันออกเฉียงใตของทวีปเอเชีย แถบประเทศไทย พมา ลาว เวียดนาม กัมพูชา และ
มาเลเซีย มีการสืบพันธุตามธรรมชาติคอนขางตํ่า จึงสมควรที่นําไปขยายปลูก ในประเทศไทยมีการ
กระจายท่ัวประเทศตั้งแตภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคใต สภาพภูมิอากาศ
ที่เหมาะสมกับการปลูกไมตะเคียนทอง ควรมีปริมาณนํ้าฝนเกินกวา 1,500 มิลลิเมตรตอป ความสูง
ไมเกิน 600 เมตร และเปนดินรวนปนทราย มีความสมบูรณและระบายนํ้าดี

การขยายพันธุและการผลิตกลาไมตะเคียนทอง การขยายพันธุตะเคียนทอง ในปจจุบันใช
วธิ ผี ลติ กลา จากการเพาะเมลด็ เมลด็ ตะเคยี นทองจดั เปน พวกทสี่ ญู เสยี ความงอกไว ตน ตะเคยี นทอง ให
ผลผลิตเมล็ด 2 - 3 ป ตอครั้ง แตละครั้งใหเมล็ดไมมาก เน่ืองจากดอกรวงหลนกอนที่ไดรับการผสม
เกสร เพราะสภาพภูมิอากาศ โรค และแมลง แตไมตะเคียนทองบางแหลงใหผลผลิตเมล็ดสูง การ

การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง 193

เพาะเมล็ดเมล็ดไมตะเคียนทองสามารถทําไดโดยการเด็ดปก นําใสกระสอบเชือก รดน้ําใหชุมแลว
ปดปากถุงไว เมล็ดไมจะงอกภายใน 1 – 4 สัปดาห แลวจึงยายใสกระบะเพาะหรือถุงชํา เมล็ดไม
ตะเคียนมีขนาดเล็ก สามารถเพาะในกระบะเพาะไดโดยตรง ในวิธีน้ีควรนําเมล็ดไมแชน้ําประมาณ
8 – 12 ช่ัวโมง กอนนําไปเพาะ

การปลูกกลาไม ตะเคียนทองเปนไมโตเร็ว ตองการความชุมชื้นและแสง สามารถปลูกได
ในท่ีโลงแจง ตองถางวัชพืชใหกลาไมเม่ือปลูกในปแรก ในพ้ืนท่ีเหมาะสมควรมีปริมาณน้ําฝนสูงกวา
1,500 มิลลิเมตรตอป ไมตะเคียนทองจึงสามารถเจริญเติบโตไดดี และมีอัตราการรอดตายสูง

ไมพะยอม

ช่ือพนื้ เมือง: กะยอม ขะ
ยอมดง (ภาคเหนือ) ยาง
หยวก (นาน) แคน (ภาค
ตะวันอกเฉียงเหนอื ) สกุ รม
(ภาคกลาง) พะยอมทอง
(ปราจนี บรุ )ี

ลักษณะของไมพะยอมและชื่อพ้ืนเมือง

การกระจายพันธุตามธรรมชาติของไมพะยอม พะยอมเปนพันธุไมโตชา ขึ้นในปาเต็งรัง
ปาเบญจพรรณ ปาดิบแลง และปาดิบชื้นทั่วทุกภาคของประเทศ ท่ีสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลาง
ไมเกิน 1,500 เมตร

การขยายพันธุและการผลิตกลาไมพะยอม การขยายพันธุเพื่อการปลูกนิยมใชเมล็ดเพ่ือ
การขยายพันธุ เพราะสามารถเตรียมกลาไมไดเปนจํานวนมาก และงายในการดูแลรักษา เมล็ดมี
การทําลายของแมลงขึ้นอยูกับแหลงเก็บ ดังน้ันควรผาเมล็ดดูความสมบูรณของเมล็ดกอนนํามาเพาะ
โดยเมล็ดที่เก็บจากบนตนมีอัตราการงอกสูงกวาเมล็ดท่ีรวงตามพื้น

194 การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง

การเพาะเมล็ดไมพะยอม สามารถทําไดโดยการตัดปกใหชิดเมล็ด นําเมล็ดไปใสกระสอบ
ปานรดนํ้าใหชุม แลวปดปากถุงไว รถน้ําทุกวันประมาณ 1 สัปดาห เมล็ดดีจะเริ่มมีรากสีขาวหรือ
ขาวปนน้ําตาลงอกออกมารากยาวประมาณ 4 - 5 เซนติเมตร นําเมล็ดเหลานี้ไปใสถุงชําหรือใสใน
กระบะเพาะ เมล็ดจะทะยอยงอกหมดจนครบ 1 เดือน

การปลูกกลาไม การปลูกไมพะยอมควรเลือกปลูกในพ้ืนที่มีความสูงไมเกิน 1,500 เมตร
เหนือระดับน้ําทะเล สามารถปลูกในท่ีเปดแสงสวาง กลาไมพะยอมโตชาในชวงแรกๆ การดูแลอยา
ใหวัชพืชปกคลุมในระยะต้ังตัว

การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง 195

196 การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง

บทบาทของไมวงศยางในอนาคต

การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง 197

บทบาทของไมวงศยางในอนาคต

ไมวงศยางเปนไมพ้ืนเมืองท่ีโดดเดนของปาเขตรอน ทั้งดานความหลากหลายและความ
สูงใหญ ซ่ึงนอกจากมีบทบาทสําคัญในการรักษาสมดุลของระบบนิเวศธรรมชาติ ยังมีความสําคัญ
กับวัฒนธรรมของชุมชนทองถ่ินดั้งเดิม ในขณะท่ีสภาพแวดลอมในปจจุบันกําลังเผชิญกับความ
เปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ ความไมสมดุลของระบบนิเวศ การเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ
และสังคม ซึ่งมีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธกัน ในขณะทั่วโลกมีความหวงใยกับความไมแนนอนของ
อนาคต และไดรวมมือกันวางมาตรการและแนวทางตางๆ ในสวนประเทศไทยกับไมวงศยางจะ
มีบทบาทเกี่ยวของอยางไรกับความเปล่ียนแปลงหรือแนวโนมจากการขับเคลื่อนเพ่ือการอนุรักษ
ทรัพยากรธรรมชาติอยางย่ังยืนของประชาคมโลก

1. ไมวงศยางกับแนวคิดเร่ืองการลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจก
จากการทําลายปาและความเส่ือมโทรมของปาในประเทศกําลังพัฒนา

ปญหาการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศเปนปญหาส่ิงแวดลอมสําคัญ ซึ่งประเทศตางๆ ได
เห็นพองท่ีจะแกไขปญหารวมกันอยางจริงจัง โดยกําหนดเปนกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวย
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate
Change: UNFCCC) และพิธีสารเกียวโต เพ่ือใชเปนเวทีในการสรางความรวมมือจากนานาชาติใน
การแกไขปญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และรับมือตอภัยคุกคามที่อาจจะเกิดข้ึนจากการ
เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งประเทศไทยไดตระหนักถึงความจําเปนในการเขารวมกับประชาคม
โลกในการแกไขปญหาดังกลาว จึงไดลงนามและใหสัตยาบันตออนุสัญญาฯ เม่ือวันท่ี 28 ธันวาคม
2537 และตอพิธีสารเกียวโต เมื่อวันท่ี 28 สิงหาคม 2545 (สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ, 2552)
จากนั้นไดมีการประชุมสมัชชารัฐภาคีอนุสัญญาฯ เรื่อยมา มีการเจรจาตอรองความรวมมือตางๆ จน
นําไปสูกลไกเรดดพลัส ซ่ึงเก่ียวของกับการอนุรักษ และการจัดการปาอยางยั่งยืน รวมถึงการสงเสริม
การเพ่ิมพ้ืนที่ปาไมเพื่อเก็บคารบอน โดยผูดูแลตองไดรับผลประโยชน ดังนั้นกลไกเรดดพลัส จึงมี
สวนเกี่ยวของกับชุมชนท่ีอยูใกลชิดกับปา ปาชุมชน รวมไปถึงชุมชนเกษตรกรรมชนบท ในขณะที่
ไมวงศยางซึ่งเปนพรรณไมที่มีความผูกผัน ท้ังในพ้ืนท่ีปาธรรมชาติและการสงเสริมใหปลูกกระจาย
อยูท่ัวไปตามพื้นที่ตางๆ ยอมไมหลีกเล่ียงกับกลไกดังกลาวท่ีเกิดข้ึนในอนาคต

1) ความสําคัญของการจัดการภาคปาไมตอดูดซับกาซเรือนกระจกของไทย

ในชวงป พ.ศ. 2541 พื้นท่ีปาไมในประเทศไทยลดลงเหลือตํ่าสุดเหลือเพียงประมาณหน่ึง
ในส่ีของพ้ืนท่ีประเทศท้ังหมด หลังจากนั้นเปนตนมาประเทศไทยไดพยายามรักษาและขยายพื้นที่

198 การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง

ปาอนุรักษ สงเสริมการปลูกปาในพ้ืนที่เขตลุมน้ํา ขยายพ้ืนที่ปาชุมชน ทําใหพื้นท่ีปาไมของประเทศ
เพ่ิมข้ึนเปนรอยละ 33 ในป พ.ศ. 2551 การขยายตัวของพ้ืนท่ีปาไมแสดงถึงการเปนแหลงดูดซับ
กาซสุทธิของปาไมของประเทศไทยต้ังแตป พ.ศ. 2541 เปนตนมา ซ่ึงสอดคลองกับผลการคํานวณ
ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจก หากประเทศไทยสามารถรักษาพ้ืนที่ปาไมหรือขยายเพ่ิมข้ึนเรื่อยๆ
ปาไมจะกลายเปนแหลงชวยลดปริมาณกาซเรือนกระจกมากกวาที่เปนแหลงปลอยกาซเรือนกระจก
ของประเทศ

จากการประเมินในป พ.ศ. 2543 ปาไมของประเทศไทยปลอยกาซคารบอนไดออกไซด
(CO2) คดิ เปน รอ ยละ 21 ของปรมิ าณการปลอ ยกา ซคารบ อนไดออกไซดข องประเทศหรอื 44.2 ลา นตนั
ขณะเดียวกันปาไมไดดูดซับคารบอนไดออกไซด จากการปลูกปาได 13.4 ลานตัน และการเจริญ
เติบโตโดยธรรมชาติของพื้นที่รกรางวางเปลาได 39.0 ลานตัน รวมเปน 52.4 ลานตัน ทําใหภาค
การเปล่ียนแปลงการใชที่ดินและปาไมเปนภาคท่ีเปนสาขาดูดซับกาซเรือนกระจกสุทธิของประเทศ
สวนการปลอยกาซเรือนกระจกชนิดอ่ืนๆ ภาคการเปลี่ยนแปลงการใชท่ีดินและปาไมปลอยกาซมีเทน
(CH4) คารบอนมอนอกไซด (CO) และไนตรัสออกไซด (NO2) ในปริมาณท่ีเล็กนอยเทาน้ัน นอกจาก
น้ันแลวภาคการเปล่ียนแปลงการใชท่ีดินและปาไมไมไดปลอยกาซอื่นๆ ท่ีเกี่ยวของอยางมีนัยสําคัญ
แตอยางใด

ในรปู ของคารบ อนไดออกไซดน นั้ การเปลยี่ นแปลงพนื้ ทปี่ า ไมแ ละพนื้ ทท่ี ม่ี กี ารเกบ็ กกั เนอ้ื ไม
และพ้ืนที่ที่มีการปลอยใหรกรางวางเปลามีบทบาทสําคัญย่ิงตอการดูดซับกาซเรือนกระจก การขยาย
พื้นที่ปาไมและการปลูกปาตลอดจนการใชจัดการพื้นท่ีรกรางวางเปลาทําใหการดูดซับกาซเรือน
กระจกของประเทศไทยเพ่ิมขึ้นเปนอยางมาก ในขณะท่ีการควบคุมการบุกรุกปาท่ีกระทําอยางตอ
เน่ือง ทําใหสัดสวนการปลอยกาซเรือนกระจกนอยกวาสัดสวนการดูดซับ (ภาพท่ี 8.1) (ศูนยวิจัย
เศรษฐศาสตรประยุกต, 2553)

2) ความเปนมาและหลักการของเรดดพลัส

นับจากการประชุมสุดยอดโลก (Earth Summit) ท่ีเมืองริโอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล
ในป พ.ศ. 2535 ทําใหเกิดมีอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดย
มีสาระสําคัญ คือ การรวมกันลดการปลอยกาซเรือนกระจก แสวงหาวิธีการลดผลกระทบและการ
ปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หลังจากท่ีอนุสัญญาฯ มีผลบังคับใช ไดมีการประชุม
สมัชชารัฐภาคีอนุสัญญาฯ (Conference of the Parties: COP) อยางตอเนื่องเปนประจําทุกป
เพ่ือใหมีการดําเนินการอันจะนําไปสูเปาหมายของอนุสัญญาฯ (ลดาวัลย, 2552)

การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง 199


Click to View FlipBook Version