The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ป.6

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by THAWATSON SINGSUTH, 2020-09-04 00:02:26

คู่มือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ป.6

คู่มือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ป.6

แผนการจดั กิจกรรมลกู เสือ หลกั สตู รลูกเสือสามญั (ลูกเสอื เอก) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

หนวํ ยท่ี 3 วชิ าการของลูกเสอื เวลา 1 ชวั่ โมง
แผนการจดั กิจกรรมที่ 7 ความปลอดภยั ในการใชเ๎ คร่อื งมือของมีคม

1. จดุ ประสงคก์ ารเรียนร๎ู
1.1 ลกู เสอื สามารถใชเ๎ ล่ือยและขวานได๎อยาํ งถกู ต๎อง
1.2 ลกู เสอื สามารถเกบ็ รักษาเลอ่ื ยและขวานไดอ๎ ยาํ งถูกตอ๎ ง

2. เนื้อหา
2.1 วิธีใช๎เลอ่ื ยและขวานท่ปี ลอดภยั
2.2 วิธีการเก็บรกั ษาเลอื่ ยและขวาน
2.3 การใช๎เลือ่ ยหรอื ขวานสําหรบั โคนํ รดิ ก่งิ ไม๎ หรือตดั ไมเ๎ นอ้ื ออํ น

3. สอื่ การเรียนร๎ู
3.1 แผนภูมเิ พลง
3.2 เกม
3.3 ใบความรู๎
3.4 ฐานสาธิต
3.5 เรอื่ งส้นั ที่เป็นประโยชน๑

4.กจิ กรรม
4.1 พิธีเปดิ ประชุมกอง )ชกั ธงข้ึน สวดมนต๑ สงบน่ิง ตรวจ แยก(
4.2 เพลง หรอื เกม
4.3 กิจกรรมตามจุดประสงค๑การเรยี นร๎ู
1( ลกู เสอื เรียนรูจ๎ ากฐานสาธติ และฝกึ ปฏบิ ตั ดิ งั น้ี
ฐานท่ี 1 วธิ ีการใช๎และเกบ็ รกั ษาเลอ่ื ยและขวาน
ฐานที่ 2 การใช๎เล่ือยหรอื ขวานสาํ หรับโคนํ ริดกง่ิ ไม๎ หรอื ตัดไมเ๎ นอ้ื อํอน
ฐานที่ 3 การพกพา การสํงเล่อื ยและขวานให๎ผู๎อ่ืน
2( ผ๎กู าํ กับลูกเสอื ใหล๎ กู เสอื อภิปรายและสรุปการเรยี นรจู๎ ากฐานกจิ กรรม
4.4 ผ๎ูกํากับลูกเสอื เลาํ เร่อื งสน้ั ทเ่ี ปน็ ประโยชน๑
4.5 พิธปี ดิ ประชุมกอง )นดั หมาย ตรวจเคร่ืองแบบ ชักธงลง เลิก(

5. การประเมินผล
5.1 สังเกตจากการปฏิบัติขณะสาธิตในฐานกิจกรรม
5.2 ซกั ถามความเข๎าใจถึงวิธกี ารใช๎และการเกบ็ รกั ษาเลือ่ ย และขวาน

42 คมํู อื คสู่มงํอื เสส่งรเสิมรแมิ ลแะลพะพฒั ฒั นนาากกจิจิ กกรรรรมมลลกู ูกเสเสือทอื ักทษักะษชะวี ชิตวีในิตสใถนาสนถศาึกนษศา ึกปษระาเภลทกูลเูกสเสอื ือโสทามชญั ั้นปหรละักถสูตมรศลึกกู ษเสาือปเอีทก่ี 6 49
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

6. คุณธรรม
1. ความรบั ผดิ ชอบ
2. อดุ มการณ๑คุณธรรม

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมที่ 7
เพลง

ชมปา่

ปูานี้เขาวาํ มีวหิ คก หมนูํ กนับร๎อยพนั
มาด๎วยกนั ๆ ชมไพร นะเพ่อื นเอยใหเ๎ พลดิ เพลิน
สนกุ ดงั เชอื้ เชิญ
ปูานเ้ี ขาวํามคี วามสุข นะเพอื่ นเอยวิไลตา
มากา๎ วเดินๆ ชมไพร

เร่ืองสัน้ ทเี่ ปน็ ประโยชน์

นายมากบั เป็ดวิเศษ

นายมาเป็นชาวไรํ มีเป็ดวเิ ศษอยตูํ วั หนึง่ ไขํเป็นทองคาํ นายมาได๎ไขํจากเปด็ วนั ละ 1 ฟอง นําไป
ขาย ครอบครวั ของเขาเปน็ สุขมาก

อยํูมาวันหนง่ึ นายมาเดินทางเข๎ากรุง ไปเหน็ บา๎ นเมอื งใหญโํ ต นายมากลับมาบ๎านได๎ปรึกษากับ
ภรรยา ซึง่ ทง้ั สองอยากไดบ๎ า๎ นหลงั ใหญํ ซง่ึ จะตอ๎ งใช๎เงนิ มากๆ ควรจะต๎องผําท๎องเป็ดเพ่ือนําไขํของมัน
ไปขายให๎หมด เพราะมันเป็นไขํทองคาํ

นายมาเห็นดดี ๎วยจงึ ไปจับเป็ดมาทนั ที สวํ นภรรยาก็เตรียมตะกรา๎ ไว๎ใสํไขํทองคํา นายมาจัดการ
ผาํ ทอ๎ งเป็ด กไ็ มํพบไขทํ องคาํ แม๎แตํใบเดียว สํวนเป็ดกต็ าย นายมาจึงไมมํ ไี ขทํ องคาํ ขายอกี ตํอไป ท้ังสอง
จึงยากจนลง และอยตํู อํ มาด๎วยความยากลาํ บาก

เรอื่ งนี้สอนให๎ร๎วู าํ จงพอใจในสงิ่ ที่ตนมอี ยํู อยาํ โลภมาก ลาภจะหาย

50 คูมํ อื สํงเสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6
คู่มือส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื สามัญ หลักสูตรลูกเสือเอก 43
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6

ใบความร๎ู

การเก็บรกั ษาเลอ่ื ย และ ขวาน

การใชแ๎ ละการเกบ็ รกั ษาเลือ่ ยและขวาน
เลื่อย และขวาน เป็นเคร่ืองมือจําเป็นที่ลูกเสือต๎องใช๎ในการอยูํคําย เพื่อตัด ทอน เส้ียมไม๎ แตํ

การใช๎ตอ๎ งให๎ถกู วิธแี ละระวงั มใิ ห๎เกิดอันตราย ดงั น้ี

ขวาน
ขวานเปน็ เครื่องมือที่ทําด๎วยเหล็กมีสันหนาใหญํใช๎สําหรับตัด ฟัน ผํา ตอก ทุบ และถากไม๎ อาจ

จําแนกขวานออกได๎เปน็ 2 ประเภท คือ
1. ขวานไทย เปน็ ขวานพ้ืนเมือง เหมาะสาํ หรบั คนไทย และมขี นาดแตกตํางกัน 2 ชนิด คือ ขวาน

ไทยขนาดเล็ก ทําดว๎ ยเหลก็ หน๎าตรง ด๎านคมคํอนข๎างบาง กว๎างประมาณ 3 นวิ้ และสวํ นสันหนาประมาณ 2
– 2 ½ นวิ้ ซ่ึงมีรตู รงกลางสําหรับสอดใสํด๎าม ซ่ึงทําด๎วยไม๎ยาวประมาณ 12-14 นิ้ว ขวานชนิดน้ีมีนํ้าหนัก
คํอนขา๎ งเบา ขวานไทยขนาดใหญํ มีลักษณะรูปราํ งคล๎ายกบั ขวานไทยขนาดเล็ก แตํมีขนาดใหญํกวําและมี
ด๎านยาวประมาณ 2 เทํา จงึ เหมาะที่จะใช๎ในงานหนกั เชนํ การโคนํ และการผําไมข๎ นาดใหญํ เปน็ ต๎น

2. ขวานฝร่ัง เป็นขวานจากตํางประเทศ ท่ีนิยมใช๎กันมี 2 ชนิด คือ ขวานฝร่ังขนาดเล็ก ทําด๎วย
เหล็กกล๎า ด๎านคมคํอนข๎างบาง กว๎างประมาณ 4 ½ นิ้ว สํวนสันกว๎างประมาณ 2 ½ น้ิวมีชํองเป็นวงรี
สําหรับใสํด๎ามไม๎เนื้อแข็งซ่ึงมีความยาวประมาณ 14 น้ิว สํวนขวานฝร่ังขนาดใหญํ มีรูปรํางเหมือนกับ
ขวานฝรง่ั ขนาดเลก็ แตมํ ขี นาดโตข้นึ เล็กน๎อย และมีด๎ามยาวประมาณ 2 เทาํ

ขวานมีสํวนประกอบที่สาคญั 2 สวํ น คอื สํวนตวั ขวาน ซ่งึ ทําดว๎ ยเหล็ก และสํวนดา๎ มท่ีทําดว๎ ยไม๎

หวั ขวาน
บา่ ขวาน

ดา้ มขวาน

ปลายด้าม สันขวาน
คมมีด ใบมดี

ภาพสว่ นต่างๆ ของขวาน

การใช๎และเกบ็ รกั ษาเลื่อยและขวาน
เล่ือย และขวานเป็นเคร่ืองมือท่ีเป็นประโยชน๑ตํอการอยํูคํายพักแรมของลูกเสือมาก เนื่องจาก

การพักแรมมกั นิยมเลอื กสถานทีเ่ ปน็ สนาม ปาู ไม๎ หรอื แถวภูเขา ซึ่งมธี รรมชาติที่เป็นต๎นไม๎ ต๎นหญ๎า จึง

44 คูํมือคส่มู งํือเสสง่ รเสิมรแิมลแะลพะพฒั ฒั นนาากกจิิจกกรรรรมมลลกู ูกเสเสือทือกัทษกั ะษชะวี ชติ วีในติ สใถนาสนถศาึกนษศา กึปษระาเภลทกูลเูกสเสือือโสทามชัญ้นั ปหรละักถสูตมรศลกึ กู ษเสาอื ปเอีทกี่ 6 51
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6

จําเปน็ ต๎อง ตัด ริด ถาก หรือถางให๎มีสถานท่ีเหมาะแกํการพักแรมค๎างคืนและแม๎ลูกเสือพักอาศัยอยูํที่

บ๎านก็ต๎องมกี ารใช๎เลอื่ ย และขวาน ดงั นนั้ จงึ จาํ เปน็ ต๎องร๎จู ักวิธีการใช๎และการเก็บรักษาเล่ือยและขวาน
เพือ่ จะใช๎ไดอ๎ ยํางทนทานและปลอดภยั ควรปฏิบตั ดิ ังนี้

1. อยําวางเล่ือย และขวานไว๎บนพื้น เพราะจะเป็นอันตรายตํอตนเองและผ๎ูอ่ืนท่ีเผลอไปเตะหรือ
เหยียบเข๎า นอกจากนน้ั การวางเล่อื ย และขวานไวบ๎ นพ้ืนจะทาํ ให๎เกดิ มสี นิมได๎

2. อยําใชเ๎ ลือ่ ยหรือขวาน ห่ัน ถาก ตดั ฟัน วตั ถุที่แข็งเกินไป เพราะจะทําให๎บ่ินหรือหมดคม ต๎อง
ใชเ๎ ล่ือยหรือขวานใหเ๎ หมาะกบั งาน

3. อยาํ เอาเลือ่ ยหรอื ขวานไปห่ัน เชอื ด ตดั ของรอ๎ น หรือลนไฟเพราะจะทาํ ใหค๎ มเลื่อยหรือขวนท่อื ได๎

4. การถือเลือ่ ย และขวานตอ๎ งหนั คมให๎ออกนอกตวั ทั้งนเี้ พื่อปอฺ งกนั การพล้ังเผลอ หรือเกิดหกล๎ม
คมเล่ือย และขวานอาจบาดหรอื เฉอื นเราได๎

5. การสํงเลอ่ื ย และขวานให๎แกํกัน อยํางใช๎วิธีโยนหรือขว๎าง แตํผ๎ูสํงจะต๎องจับสันเลื่อยหรือขวาน
หนั คมเลอื่ ยออกนอกตัว หรอื หนั ด๎ามคมลงบนพ้นื สํงด๎ามเล่ือยหรือขวานให๎ผ๎ูรับจับ เม่ือผู๎รับจับด๎ามเลื่อย
หรือขวานแนํนแลว๎ ผส๎ู งํ จึงปลอํ ยมอื

การนาเล่อื ย และขวานไปใช๎อยํางถูกวิธี
6. หลงั จากใช๎เล่ือย และขวานแลว๎ ทุกครั้ง ตอ๎ งลา๎ งใหส๎ ะอาด เชด็ ให๎แห๎ง ทาน้ํามันแล๎วเก็บเข๎าท่ี

ให๎เรียบร๎อย
7. ถา๎ เปน็ เล่อื ยหรือขวานทมี่ ีปลอก มหี น๎ากาก ควรสวมปลอกหรอื หนา๎ กากกอํ นแล๎วจงึ เกบ็ หรอื

พกพาไป
8. เมอื่ ความคมของเลอื่ ยหรอื ขวานหมดไป ตอ๎ งนําไปลบั กับหนิ ลับเล่ือยหรอื หนิ กากเพชรใหค๎ ม

9. ถ๎าดา๎ มเล่ือย หรอื ดา๎ มขวานหลวม แตก หรอื รา๎ วตอ๎ งรีบซํอมแซมใหม๎ ่ันคง เพอ่ื ความปลอดภัย

ในการพกพา

52 คูํมอื สงํ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชวี ิตในสถานศึกษา ลกู เสือโท ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6
คมู่ อื ส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามัญ หลกั สูตรลกู เสือเอก 45
ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6

การใช๎เลอ่ื ยเหลาสมอบก ในการอยคูํ าํ ยพกั แรม
ลูกเสืออาจต๎องตดั ไม๎ในปูามาทําสมอบก จงึ ควรปฏบิ ตั ดิ ังน้ี

1. หาไม๎เนอ้ื แขง็ เสน๎ ผํานศนู ยก๑ ลาง ประมาณ 1 น้ิว มา

2-3 ตน๎ โดยลิดกิ่งก๎านออกให๎หมด

2. ทอนไมใ๎ ห๎เปน็ ทอํ นๆ ยาวประมาณ 1 ฟตุ ตาม

จํานวนท่ตี ๎องการ

3. ใช๎เลื่อยอโี ตห๎ รือเลอื่ ยพรา๎ เส้ียมปลายทอํ นไมด๎ า๎ น การใช้เลอ่ื ยลิคก่ิงไม้

หนงึ่ โดยทาํ มมุ เอยี งประมาณ 45 องศา และไมตํ ๎องใหป๎ ลายแหลมมากนกั เพราะจะทําให๎ปลายหักงาํ ย

เวลาตอก

4. หากลูกเสอื มแี ตํเลอื่ ยพก เมอื่ ต๎องการเหลาสมอบก เนอื่ งจากต๎องออกแรงมากและเลอ่ื ยอาจแฉลบ

ได๎

5. เหลาตวั สมอบกใหเ๎ กลยี้ งเกลา

การใช๎ขวานผําไม๎และตดั ไม๎
การใชข๎ วานตดั ผําไมเ๎ พ่ือเตรยี มกอํ กองไฟ

การใชข๎ วานตดั ผาํ ไม๎ระวังอยําให๎พลาดเขา๎ หาตวั ไมตํ ดั

ตาไม๎แข็งๆ เมอื่ ลิดกง่ิ ท่ีแหง๎ หรือเกะกะรอบๆ ตน๎ ไมใ๎ ห๎ลิดตาม

กง่ิ อยาํ ย๎อนก่งิ อยาํ ตดั ไมส๎ ดจากต๎นจนเหลอื ใช๎ ควรอนรุ กั ษล๑ าํ

ตน๎ และกิ่งใกล๎ๆ ยอดให๎เจรญิ เตบิ โตตอํ ไปมิใหเ๎ กดิ อันตรายตอํ ตน๎ ไม๎ การใช้ขวานผ่าไม้

วิธีตดั หรือผาํ ไม๎ กํอนจะตัดหรอื ผาํ ไม๎ใหห๎ าขอนไมห๎ รอื สง่ิ ของอยาํ งใด รองพน้ื ทเี่ สียกํอนจะฟนั

เฉียงลง อยาํ ฟันตรงๆ และระวังในเรอ่ื งท่หี มาย จบั ขวานใหม๎ ั่น ฟนั ลงท่ีจดุ ตามตอ๎ งการ แตอํ ยาํ เพ่ิมแรงใน

ขณะที่ฟันลงไป

การใชข๎ วานตดั ไม๎และผาํ ไม๎

46 คูํมอื คสู่มงํอื เสส่งรเสิมรแิมลแะลพะพัฒัฒนนาากกิจจิ กกรรรรมมลลกู ูกเสเสือทือกัทษักะษชะีวชติ วีในติ สใถนาสนถศากึ นษศา ึกปษระาเภลทกูลเูกสเสืออื โสทามชญั ั้นปหรละกั ถสตูมรศลกึ กู ษเสาอื ปเอีทกี่ 6 53
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

แผนการจดั กิจกรรมลกู เสอื หลกั สตู รลกู เสือสามัญ (ลูกเสอื เอก) ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6

หนวํ ยท่ี 3 วชิ าการของลกู เสือ เวลา 2 ชัว่ โมง
แผนการจดั กิจกรรมท่ี 8 รกั ษ์ธรรมชาติ อนุทนิ ธรรมชาติ

1. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นร๎ู

1.1 ลูกเสอื เหน็ ความสาํ คัญของการอนุรกั ษธ๑ รรมชาติ
1.2 ลูกเสอื สามารถจดั ทาํ อนทุ ินธรรมชาตติ ามความสนใจได๎

2. เนอ้ื หา
2.1 การอนรุ กั ษ๑ธรรมชาติ
2.2 การจดั ทาํ อนทุ นิ ธรรมชาติ

3. สื่อการเรียนร๎ู
3.1 แผนภมู ิเพลง
3.2 ตัวอยํางหรอื แผนภูมกิ ารบันทกึ อนุทนิ
3.3 เร่ืองส้ันท่เี ป็นประโยชน๑

4.กจิ กรรม
4.1 กิจกรรมครั้งท่ี 1

1( พธิ ีเปดิ ประชุมกอง )ชักธงขน้ึ สวดมนต๑ สงบนิง่ ตรวจ แยก(
2( เพลง หรือเกม
3( กิจกรรมตามจดุ ประสงค๑การเรยี นร๎ู

)1( ผ๎กู าํ กบั ลูกเสอื แบงํ ลกู เสอื เป็น 3 กลมุํ ใหล๎ กู เสือกลมํุ ที่ 1 นงั่ ในอาคาร กลุมํ ท่ี 2
น่ัง กลาง แดด กลมํุ ที่ 3 นั่งใตร๎ มํ ไม๎ เปน็ เวลา 3 นาที เมือ่ หมดเวลาผูก๎ าํ กับให๎
สัญญาณนกหวดี เปลย่ี นสถานท่นี ่ัง จนครบทั้ง 3 แหํง

)2( ผ๎ูกาํ กบั ลกู เสอื นาํ อภปิ รายในประเด็นตอํ ไปนที้ ีละประเด็น
- ผลการเปรยี บเทยี บ ลกู เสอื มคี วามรส๎ู ึกตาํ งกนั อยาํ งไร
- ถ๎าเราตดั ตน๎ ไมห๎ มด สภาพแวดล๎อมจะเป็นอยํางไร

- การทาํ ลายปาู มสี าเหตจุ ากอะไร และจะมแี นวทางปอฺ งกนั อยาํ งไร
)3( ลกู เสือรํวมกันวางแผน ดแู ลรกั ษาตน๎ ไม๎ในโรงเรียน จดั ทําโปสเตอร๑ ปาฺ ยรณรงค๑

การตํอตา๎ นการทาํ ลายปูาเพอ่ื นาํ ไปตดิ ประชาสมั พนั ธห๑ มูํละ 1 ช้ินงาน
เพือ่ ดาํ เนนิ การในครง้ั ตอํ ไป
4( ผู๎กาํ กับลกู เสอื เลาํ เรอ่ื งส้ันทมี่ ปี ระโยชน๑

5( พธิ ีปิดประชมุ กอง )นัดหมาย ตรวจเครอื่ งแบบ ชกั ธงลง เลิก(

54 คํมู ือสํงเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสอื โท ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6
คู่มือสง่ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลกั สูตรลกู เสอื เอก 47
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6

4.2 กจิ กรรมครัง้ ที่ 2
1( พธิ ีเปิดประชมุ กอง )ชักธงข้ึน สวดมนต๑ สงบน่ิง ตรวจ แยก(
2( เพลง หรอื เกม
3( กิจกรรมตามจดุ ประสงค๑การเรียนรู๎
)1( ลูกเสอื รํวมกนั ดําเนินการตามแผนทไ่ี ดว๎ างไว๎
)2( ผูก๎ าํ กบั ลูกเสอื นาํ เสนอตัวอยํางการบันทกึ อนุทนิ
)3( ผกู๎ ํากับลกู เสอื ใหห๎ มูํลูกเสือรวํ มกนั จดั ทําอนทุ นิ ธรรมชาติเกีย่ วกบั นก สัตวเ๑ ลย้ี ง
หรอื สะสมใบไม๎ ดอกไม๎ และสง่ิ ที่เป็นธรรมชาตติ าํ งๆ ในระยะเวลา 1 เดอื น
แลว๎ นาํ มาเสนอตอํ กองลกู เสือ
)4( ผ๎กู ํากับลูกเสอื และลูกเสือรวํ มกนั สรุปขอ๎ คดิ ที่ได๎
4( ผก๎ู ํากบั ลกู เสอื เลาํ เรื่องสนั้ ท่ีเปน็ ประโยชน๑
5( พธิ ีปดิ ประชมุ กอง )นัดหมาย ตรวจเครอื่ งแบบ ชกั ธงลง เลกิ (

5. การประเมินผล
1. สงั เกตการมีสํวนรวํ มในการทํากิจกรรม และการแสดงความคิดเหน็ ในหมํแู ละในกองลูกเสอื
2. ประเมินผลงานอนุทนิ ธรรมชาตติ ามความสนใจของลกู เสอื ทส่ี ะสมจัดทํามาแลว๎ เปน็ เวลา 1 เดือน

6. คณุ ธรรม
1. ความรบั ผดิ ชอบ
2. อดุ มการณ๑คุณธรรม

48 คมูํ อื คสู่มํงอื เสส่งรเสมิ รแมิ ลแะลพะพฒั ัฒนนาากกิจจิ กกรรรรมมลลูกกู เสเสือทอื กัทษักะษชะวี ชิตีวในติ สใถนาสนถศาึกนษศา กึปษระาเภลทกูลเูกสเสอื อื โสทามชญั น้ั ปหรละักถสูตมรศลึกกู ษเสาอื ปเอที ก่ี 6 55
ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมท่ี 8

เพลง

ลูกเสือปลกู ปา่

ฉนั พอใจหนกั หนา สมเจตนาไดม๎ ารวํ มงาน
พวงมาลนี นั้ มีสีเสริมพนั ธ๑ุ )ซ้าํ ( คนดีนน้ั โลกนยิ ม
ชมดอกไมใ๎ นพนา ชมพฤกษาโขดเขา
เราทงั้ หลายๆ ชวํ ยบรรเทา ความร๎อนเรําดว๎ ยการปลูกปูา

เราลูกเสอื สามัญ อนรุ กั ษป๑ ูากนั เราทกุ คนยึดมั่นสร๎างสรรคช๑ าตไิ ทย

ปาู น้ีเขาวาํ มวี หิ ค ป่านี้มวี ิหค

มาด๎วยกนั ๆ ชมไพร หมูํนกนับร๎อยพัน
ปาู น้ีเขาวํามีความสุข นะเพือ่ นเอยใหเ๎ พลิดเพลิน
มาก๎าวเดินๆ ชมไพร สนกุ ดงั เชอ้ื เชิญ
วไิ ลตา

56 คํมู อื สงํ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ลกู เสือโท ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6
คูม่ อื ส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือสามญั หลกั สตู รลูกเสือเอก 49
ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6

แผนการจัดกจิ กรรมลูกเสอื หลกั สตู รลกู เสือสามญั (ลูกเสอื เอก) ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6

หนวํ ยที่ 3 วิชาการของลูกเสือ เวลา 1 ช่ัวโมง
แผนการจัดกิจกรรมที่ 9 ความกตัญญกู ตเวที

1. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู๎
ลกู เสือแสดงออกถงึ ความกตญั ๒กู ตเวที

2. เนื้อหา
การแสดงออกถึงความเปน็ ผกู๎ ตัญ๒ูกตเวที

3. สอ่ื การเรียนรู๎

3.1 แผนภูมิเพลง
3.2 เกม
3.2 เร่ืองสั้นที่เปน็ ประโยชน๑

4.กิจกรรม
4.1 พิธเี ปดิ ประชมุ กอง )ชักธงขนึ้ สวดมนต๑ สงบนิง่ ตรวจ แยก(
4.2 เกม

4.3 กิจกรรมตามจดุ ประสงค๑การเรยี นรู๎
1( ผ๎ูกํากับลูกเสือมอบหมายให๎ลูกเสือแตํละหมํู คิดพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความกตัญ๒ู
กตเวทีหมูํละ 1 พฤติกรรม แล๎วนําเสนอในรูปแบบของการแสดงเงียบ )เชํน ชํวยพํอแมํ
ทํางานบ๎าน ชํวยงานครู การแสดงความเคารพนบั ถือ ยกยอํ งเชิดชผู มู๎ ีพระคณุ ไมํทอดท้งิ
ผ๎มู พี ระคุณ ฯลฯ( โดยใชเ๎ วลานําเสนอหมลํู ะไมํเกิน 3 นาที

2( ลกู เสือแสดงเงียบทีละหมํู ลูกเสือหมูํอน่ื ชํวยกันทายแลว๎ ใหห๎ มทํู แี่ สดงเฉลย จนครบทกุ หมูํ
3( ผู๎กํากับลูกเสอื นําอภิปราย สรปุ และเพิม่ เตมิ ในประเดน็ ตอํ ไปนี้

- คําวํา “กตัญ๒กู ตเวที” มคี วามหมายอยาํ งไร )กตญั ๒ู หมายถึงความสาํ นกึ ในบุญคณุ
ทีผ่ อ๎ู นื่ มีตํอตนเอง กตเวที หมายถึง การแสดงออกเพอื่ การตอบแทนบุญคุณ กตัญ๒ู
กตเวที จงึ หมายถึง การร๎บู ญุ คณุ และตอบแทนคณุ ตอํ ผม๎ู ีพระคณุ (

- มคี วามเหน็ อยํางไรตํอคาํ กลาํ วทีว่ าํ “ความกตญั ๒ูร๎ูคณุ เปน็ เครอื่ งหมายของคนดี”
- ถ๎าผมู๎ พี ระคุณเรยี กร๎องใหต๎ อบแทนบญุ คณุ ดว๎ ยการกระทําทไ่ี มํถูกตอ๎ ง เชํน ไปลกั

ขโมย ขายยาเสพตดิ ทาํ ผิดกฎหมาย ฯลฯ ลกู เสอื คดิ วาํ ควรปฏิบัติตนอยาํ งไรจงึ จะคง
ความเป็น “คนดี” ไวไ๎ ด๎
4( ผู๎กํากับลูกเสือชํวยเพ่ิมเติม “ความกตัญ๒ูกตเวทีเป็นองค๑ประกอบหน่ึงในคุณธรรม 8

ประการ

50 คํูมือคสู่มํงอื เสส่งรเสิมรแิมลแะลพะพฒั ฒั นนาากกิจจิ กกรรรรมมลลกู กู เสเสอื ทือักทษกั ะษชะีวชติ วีในติ สใถนาสนถศาึกนษศา ึกปษระาเภลทกูลเกู สเสอื ือโสทามชญั ้ันปหรละักถสูตมรศลึกกู ษเสาือปเอีทก่ี 6 57
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6

ซ่ึงเปน็ แนวทางในการประพฤติปฏิบัติตนให๎เป็นคนดี เพ่ือประโยชน๑สุขของตนเองและ
สวํ นรวม ดงั นัน้ การกระทาํ ใดท่ีคา๎ นกบั คาํ วาํ เปน็ คนดีจงึ ไมํควรกระทํา”
4.4 ผก๎ู ํากับลกู เสอื เลาํ เร่ืองสนั้ ที่เป็นประโยชน๑
4.5 พิธีปดิ ประชมุ กอง )นัดหมาย ตรวจเครื่องแบบ ชักธงลง เลิก(

5. การประเมนิ ผล
สังเกตการมีสวํ นรวํ มในการทาํ กจิ กรรม และการแสดงความคดิ เหน็ ในหมูํ และในกองลกู เสอื

6. องค์ประกอบทกั ษะชีวติ สาคญั ท่ไี ดจ๎ ากกิจกรรม
คอื ความตระหนักรูถ๎ งึ คุณคําของส่ิงดี ๆ ทไ่ี ดร๎ ับจากผอู๎ ่ืน และเห็นความสําคัญของการตอบแทน

บุญคุณ และทําสง่ิ ดี ๆ ให๎กบั ผูอ๎ ื่นท่ีต๎องการความชวํ ยเหลอื จากเราตํอ ๆ ไป

7. คณุ ธรรม
1. ความพอเพียง
2. ความซือ่ สัตย๑สุจรติ
3. ความกตญั ๒ู
4. ความรบั ผิดชอบ
5. อดุ มการณ๑คณุ ธรรม

58 คํูมอื สํงเสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6
คู่มือส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื สามญั หลกั สูตรลกู เสอื เอก 51
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรมท่ี 9

เพลง

ลูกเสอื จบั มือ เพอ่ื ความยืนยงสามคั คี
จับมือกนั ไว๎ใหม๎ นั่ คง

รกั กนั ปรองดองเหมอื นน๎องพ่ี ผูกความสามคั คมี ีรวํ มกัน

โกรธกนั มนั รา๎ ยเป็นสิ่งเลว เปรยี บดังเปลวไฟรอ๎ นไฟนนั่

เผาใจใหม๎ คี วามไหวหวนั่ จับมอื ยม้ิ ใหก๎ ันเป็นสิง่ ดี

เรือ่ งสั้นทเ่ี ป็นประโยชน์

ลกู กตัญญู....บรจิ าคไตใหพ๎ ํอ
เม่ือวันท่ี 6 ธ.ค.52 ผู๎สื่อขําวจังหวัดศรีสะเกษรายงานวํา นางสาวจุฑารัตน๑ ไชยรัตน๑อายุ 21 ปี ชาว
ตาํ บลผกั แพว อําเภอกนั ทรารมย๑ จังหวัดศรสี ะเกษ นกั ศึกษาคณะแพทยแ๑ ผนไทยและแพทยท๑ างเลอื ก ปี 1
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี ได๎บริจาคไตข๎างหนึ่งของตนเองให๎กับพํอคือนาย
ไพรตั น๑ ไชยรัตน๑ อายุ 46 ปี ทป่ี ูวยเป็นโรคไตเร้อื รังระยะสุดทา๎ ยมานานกวํา 10 ปี ต๎องรักษาดว๎ ยการ
ฟอกเลือด ล๎างไต มานาน 10 ปีแล๎วโดยมีคาํ ใช๎จํายคร้งั ละ 1,800 บาท ครอบครวั มีอาชีพทํานารายไดน๎ ๎อย
ครอบครัวตอ๎ งอยูํอยํางยากลําบาก
เม่อื ทราบขาํ ววํามีโครงการบัตรทองรักษาผป๎ู ูวยโรคไตฟรี ทําใหเ๎ ธอตัดสินใจทันทีท่ีจะชํวยพํอให๎ดีข้ึน
จากการเจ็บปูวยไมํต๎องทุกข๑ทรมานได๎ใช๎ชีวิตปกติเหมือนคนท่ัวไป เธอจึงรีบเดินทางไปยื่นความจํานงขอ
บรจิ าคไตใหก๎ ับพอํ ของเธอทันที
แม๎ครั้งแรกรู๎วําจะต๎องผําตัดก็นึกกลัว แตํความรักที่มีตํอพํอ ทําให๎ความกลัวหายไป และได๎
ตัดสินใจสละไตของตนเองให๎กับพอํ บังเกดิ เกลา๎ ซ่ึงหลังจากท่ีตนเข๎ารับการผําตัดสละไตให๎กับพํอแล๎ว ตน
ก็จะต้ังใจเรียนหนังสือให๎จบเพ่ือท่ีจะได๎มีอาชีพหาเงินมาเล้ียงครอบครัวและรักษาพํอ และได๎สมัครเลือก
เรียนคณะแพทย๑แผนไทยและแพทย๑ทางเลือก เพ่ือท่ีจะได๎นําความร๎ูมาประกอบอาชีพและดูแลรักษาพํอ
เมื่อยามเจ็บปูวยและรับใช๎ประชาชนชาวศรีสะเกษทวั่ ไปทเ่ี จบ็ ปูวย

ขอขอบคุณเนอื้ หาขําว คณุ ภาพดี
โดย: หนังสอื พิมพข๑ ําวสด เรอื่ งท่ีสอนให๎รูว๎ ํา ความกตัญ๒ูกตเวทเี ปน็ สัญลักษณ๑ของคนดี

52 คูํมือคส่มู ํงอื เสส่งรเสมิ รแิมลแะลพะพัฒัฒนนาากกจิจิ กกรรรรมมลลกู กู เสเสือทือักทษักะษชะวี ชติ วีในติ สใถนาสนถศากึ นษศา กึปษระาเภลทกูลเกู สเสืออื โสทามชัญ้นั ปหรละกั ถสตูมรศลึกกู ษเสาอื ปเอที ก่ี 6 59
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6

แผนการจัดกิจกรรมลกู เสือ หลักสูตรลูกเสือสามัญ (ลูกเสือเอก) ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6

หนวํ ยที่ 3 วิชาการของลูกเสือ เวลา 1 ช่วั โมง
แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 10 ลกู เสอื สุภาพบุรษุ

1. จดุ ประสงค์การเรยี นร๎ู

ลูกเสือสามารถวิเคราะห๑คุณสมบตั ิของสุภาพบุรษุ สุภาพสตรที ่ีพงึ ปรารถนาในสังคมและวัฒนธรรม
ไทยได๎

2. เนอ้ื หา
คณุ ลกั ษณะที่ดีของลูกเสอื ทเี่ ป็นพน้ื ฐานการพฒั นาไปสํคู วามเปน็ สภุ าพบุรุษและสภุ าพสตรี

3. ส่ือการเรียนรู๎
3.1 แผนภมู เิ พลง

3.2 ภาพลายพระหตั ถ๑รัชกาลที่ 6
3.3 เร่อื งสัน้ ที่เป็นประโยชน๑

4. กิจกรรม
4.1 พธิ ีเปดิ ประชุมกอง )ชักธงข้ึน สวดมนต๑ สงบนงิ่ ตรวจ แยก(
4.2 เพลง หรอื เกม
4.3 กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก๑ ารเรยี นรู๎
1( ผกู๎ าํ กับลกู เสอื อัญเชิญลายพระหัตถ๑ ร. 6 “ขา้ ไม่ต้องการตาราเรียนท่เี ดนิ ได้ ทขี่ า้ อยาก
ได้น้ันคือ เยาวชนทีเ่ ป็นสุภาพบุรุษ ซ่อื สัตยส์ จุ รติ มีอุปนิสัยใจคอดี” ใหก๎ องลกู เสอื ดู
2( ผก๎ู ํากบั ลกู เสอื มอบหมายงานใหล๎ ูกเสอื แตลํ ะหมูํ วิเคราะหว๑ าํ “เยาวชนทเี่ ปน็ สุภาพบุรุษ
ควรเปน็ อย่างไร” โดยรํวมกนั อภปิ รายและสงํ ตวั แทนนาํ เสนอในกองลูกเสือ เป็นการ
แสดงละครสน้ั ใชเ๎ วลาไมเํ กิน 3 นาที กลมํุ ละ 1 คุณสมบัติ
3( ลกู เสือนาํ เสนอละครสนั้ ทลี ะหมํู หลงั การนําเสนอผู๎กาํ กับลูกเสอื นาํ อภิปรายถึง
ความหมายของคณุ สมบตั ิที่นาํ เสนอ และการนาํ ไปใชใ๎ นชีวติ ประจาํ วนั จนครบทุกหมํู
4( ผก๎ู าํ กับลกู เสอื ตั้งคาํ ถาม “ลกู เสอื มีความเหน็ อยํางไรตอํ คํากลาํ วท่ีวาํ “หวั ใจของความ

เปน็ สภุ าพบรุ ุษอยทู่ ก่ี ารเสยี สละ เพราะการเสยี สละเปน็ บอ่ เกิดของคุณความดีอน่ื ๆ หาก
ผใู้ ดขาดคุณธรรมนี้ ผ้นู ้นั ยงั ไมเ่ ป็นสภุ าพบุรษุ โดยครบครนั ผู้ใดเกดิ มาเปน็ สภุ าพบรุ ุษ

ผูน้ ้ันเกดิ มาสาหรับคนอ่ืน”
5( ผ๎ูกํากับลูกเสอื และลูกเสอื รวํ มกนั สรปุ ข๎อคดิ ทีไ่ ด๎
4.4 ผู๎กาํ กับลกู เสอื เลําเร่ืองสนั้ ทีเ่ ปน็ ประโยชน๑
4.5 พธิ ปี ิดประชมุ กอง )นดั หมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชักธงลง เลกิ (

60 คมํู ือสงํ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
คมู่ อื สง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสือทักษะชวี ิตในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลักสูตรลูกเสอื เอก 53
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6

5. การประเมินผล
สังเกต การมสี ํวนรวํ มในการทํากจิ กรรม และการแสดงความคิดเหน็ ในหมํู และกองลกู เสือ

6. องค์ประกอบทกั ษะชวี ติ สาคญั ทีเ่ กดิ จากกจิ กรรม
คือ เข๎าใจเห็นใจผู๎อนื่ รบั ผดิ ชอบตอํ สังคม ภมู ใิ จเห็นคณุ คาํ ตนเอง

7. คุณธรรม
1. ความพอเพียง
2. ความซื่อสตั ยส๑ จุ รติ
3. ความกตัญ๒ู
4. ความรับผดิ ชอบ
5. อุดมการณค๑ ณุ ธรรม

54 คมํู ือคสมู่ งํอื เสสง่ รเสมิ รแิมลแะลพะพฒั ฒั นนาากกิจิจกกรรรรมมลลกู กู เสเสือทอื กัทษักะษชะีวชติ วีในิตสใถนาสนถศากึ นษศา ึกปษระาเภลทกูลเกู สเสอื ือโสทามชญั ้ันปหรละักถสูตมรศลึกูกษเสาือปเอที ก่ี 6 61
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมที่ 10
เพลง

เกียรติลูกเสือไทย

ลกู เสอื ลูกเสอื ไวศ๎ กั ด์ิซลิ ูกผ๎ูชาย ลูกเสือลกู เสอื ไวล๎ ายซลิ กู เสือไทย
รกั เกยี รติ รกั วนิ ยั แขง็ แรงและอดทน เราจะบําเพ็ญตนให๎เป็นประโยชนต๑ ํอผ๎ูอน่ื
แมล๎ ําบากตรากตราํ ก็ต๎องทาํ ให๎สาํ เร็จ ทาํ ทําทาํ ข๎าสญั ญาวาํ จะทํา
เสียชพี อยําเสยี สตั ย๑ รกั ชาติมนั่ ไว๎ ดังนามอนั เกรียงไกรพระมงกฎุ ทรงประทาน

ภาพข๎อความทร่ี ฐั กาลท่ี 6 พระราชทานแดํลกู เสอื

62 คมูํ ือสงํ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6
คู่มอื ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามญั หลักสตู รลกู เสอื เอก 55
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6

เรือ่ งสัน้ ทีเ่ ปน็ ประโยชน์

มา๎ กับลา

พํอคา๎ คนหน่ึงเดนิ ทางคา๎ ขายระหวํางเมอื งตํางๆ ได๎นาํ สินค๎าท่เี ตรยี มไปจําหนาํ ยซง่ึ มจี าํ นวนมาก
บรรทกุ บนหลงั ลาจนลาหลงั แอํนสํวนม๎าน้นั พอํ คา๎ ใหเ๎ ดนิ ตัวเปลําเพราะต๎องการจะถนอม กลัววาํ จะขายม๎า
ไมไํ ด๎ราคาดี หากม๎าต๎องบอบชาํ้ จากการเดินทาง ลารู๎สึกวําการบรรทุกคร้ังน้ีหนักเกินกําลังของมันมาก
มนั พยายามอ๎อนวอนม๎าผ๎ูเปน็ สหายขอให๎ชวํ ยแบํงเบาสมั ภาระไปบ๎าง

“เพ่ือนเอ๐ย..ข๎ารู๎สึกตาลายแข๎งขาสั่นไปหมดแล๎ว ชํวยแบํงสัมภาระไปบรรทุกบ๎างเถิด เมื่อพัก
คํอยยงั ช่ัวกลบั มแี รงขนึ้ มาสกั หนอํ ย ขา๎ จะรีบนําของเหลาํ น้นั มาบรรทกุ ตามเดิมหากเพื่อนไมํชํวยคราวน้ี
ข๎าคงต๎องขาดใจตายอยํูกลางทางแนํๆ” ม๎าไมํสนใจคําขอร๎องของลา มันยังคงเดินอยํางสงําตํอไปใน
ขณะทล่ี าเร่ิมหมดแรงทาํ ทําจะล๎มลง

“ข๎าไมํได๎สําออยหรอกนะแตํคราวน้ีไมํไหวจริงๆ เจ๎าน้ันท้ังสูงใหญํและแข็งแรงกวําข๎ามากนัก
โปรดอยาํ นง่ิ ดูดายอยํเู ลย หากเพอ่ื นไมเํ มตตาข๎าคงไมํมีโอกาสไดก๎ ลาํ วคาํ วงิ วอนอกี แลว๎ ”

“หุบปากของเจ๎าซะที” ม๎าทําทีขัดเคือง มันธุระกงการอะไรของข๎าที่จะต๎องไปชํวยคนอื่น เจ๎ามี
หน๎าท่ีบรรทุกก็ก๎มหน๎าก๎มตาทําไปซิ”ลาผู๎นําสงสารกัดฟันเดินตํอไปได๎อีกไมํกี่ก๎าวก็ล๎มลงขาดใจตาย
พอํ คา๎ จึงนําสนิ ค๎าทั้งหมดให๎ม๎าบรรทุกแทน และเมื่อเดินทางจนเหน็ดเหนื่อยพํอค๎าก็ขึ้นไปข่ีบนหลังอีก
ดว๎ ย ในเวลานมี้ ๎าได๎แตสํ าํ นึกเสยี ใจในความเหน็ แกํตวั ของมัน แตกํ ส็ ายไปแลว๎

เรื่องนีส้ อนใหว๎ าํ การไมํร๎ูจักเห็นใจชํวยเหลือผู๎อื่นในสิ่งท่ีสมควรเมื่อคราวที่เขาตกทุกข๑ได๎ยาก ทุกข๑
น้นั อาจจะมาถึงตวั เราได๎เชนํ กนั

56 คูมํ ือคสู่มงํอื เสสง่ รเสิมรแมิ ลแะลพะพฒั ัฒนนาากกิจิจกกรรรรมมลลกู ูกเสเสอื ทอื ักทษักะษชะีวชิตีวในติ สใถนาสนถศากึ นษศา กึปษระาเภลทกูลเูกสเสืออื โสทามชญั ้ันปหรละกั ถสูตมรศลกึ ูกษเสาอื ปเอที กี่ 6 63
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6

แผนการจัดกจิ กรรมลูกเสอื หลกั สูตรลกู เสือสามัญ (ลกู เสอื เอก) ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

หนวํ ยท่ี 3 วชิ าการของลกู เสอื เวลา 1 ช่วั โมง
แผนการจัดกิจกรรมท่ี 11 เข๎าใจเพอ่ื นดว๎ ยภาษากาย

1. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู๎
ลกู เสือเหน็ ความสําคัญของของภาษากายทใี่ ช๎สาํ หรับการสอื่ สารในชวี ติ ประจาํ วัน

2. เนือ้ หา
ภาษากายและการสนองตอบทางกายในทางท่ดี ี

3. สอ่ื การเรียนรู๎
3.1 แผนภมู เิ พลง
3.2 บัตรคาํ

3.3 เรื่องสน้ั ทเี่ ปน็ ประโยชน๑

4.กจิ กรรม
4.1 พธิ เี ปดิ ประชุมกอง )ชกั ธงข้นึ สวดมนต๑ สงบนง่ิ ตรวจ แยก(
4.2 เพลง หรือเกม

4.3 กิจกรรมตามจุดประสงคก๑ ารเรยี นรู๎
1( แจกบัตรคําใหล๎ กู เสอื หมลูํ ะ 2 ใบ )หมํู 1 โกรธ เสียใจ, หมูํ 2 เบอ่ื เจ็บ, หมํู 3
สนุก ประหลาดใจ, หมูํ 4 ดใี จ น๎อยใจ(
2( ใหต๎ วั แทนของแตํละหมอูํ อกมาแสดงอารมณ๑ ตามบัตรคําทไ่ี ด๎รับ
3( ให๎ลกู เสือท่ีไมํไดแ๎ สดงทายวําเป็นลกั ษณะของอารมณ๑ใด หมูํใดทายถกู มากทส่ี ุดและ
เรว็ ทสี่ ดุ เปน็ ผ๎ูชนะ
4( ใหล๎ ูกเสอื น่งั เปน็ วงกลม
)1( ใหช๎ ํวยกันคิดวําการทีเ่ ราสามารถอํานภาษากายได๎ จะมปี ระโยชน๑ตํอลกู เสืออยาํ งไร
)2( ให๎แตํละหมูชํ ํวยกันคดิ วํา ถา๎ เพอ่ื นกําลงั อยใํู นอารมณ๑ตามบตั รคาํ ทห่ี มูํลูกเสอื ไดร๎ ับ
ลกู เสอื จะตอบสนองตํอเพอ่ื นอยํางไร

5( ผู๎กาํ กบั ลกู เสอื สํุมถาม หมลํู กู เสือ เกยี่ วกบั ประโยชน๑ของภาษากาย นาํ อภิปรายให๎
หมูํอน่ื เพมิ่ เตมิ และสรปุ (รวู้ า่ เพอื่ นกาลังเปน็ อย่างไร มอี ารมณค์ วามรูส้ กึ อยา่ งไร จะได้

ปฏบิ ัติตอ่ เพ่ือนไดอ้ ย่างเหมาะสม)
6( ผ๎ูกาํ กบั ลูกเสอื สมุํ ให๎ลกู เสือรายงานตามขอ๎ 5( อกี 1 – 2 หมูํ
7( ผก๎ู ํากบั ลกู เสอื ชวนให๎ลูกเสือคดิ วาํ ลูกเสอื ไดข๎ อ๎ คดิ อะไรบ๎าง และจะนาํ ไปใช๎ใน
ชีวติ ประจําวันอยํางไร

64 คมูํ ือสํงเสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ลกู เสือโท ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6
คมู่ ือส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื สามญั หลกั สตู รลูกเสอื เอก 57
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

4.4 ผู๎กาํ กบั ลกู เสอื เลําเรอ่ื งสนั้ ทีเ่ ปน็ ประโยชน๑
4.5 พิธปี ิดประชมุ กอง )นดั หมาย ตรวจเครอื่ งแบบ ชกั ธงลง เลิก(

5. การประเมนิ ผล
สังเกต พฤติกรรมการแสดงออก และ การรํวมฝึกปฏิบัตอิ ยํางตอํ เน่อื งทกุ กิจกรรม

6. องคป์ ระกอบทักษะชวี ิตสาคญั ทเ่ี กดิ จากกิจกรรม
คอื การสร๎างสมั พนั ธภาพและการสอื่ สาร

7. คุณธรรม
1. ความซอื่ สัตย๑สจุ ริต
2. ความกตญั ๒ู
3. ความรับผิดชอบ
4. อุดมการณค๑ ุณธรรม

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมที่ 11

เรือ่ งส้ันที่เป็นประโยชน์

ทาไมสุนัข จึงชอบปัสสาวะใสํยางรถยนต์ ?

สัตวแพทย๑ ได๎ให๎คําอธิบายวํา การท่ีสุนัขปัสสาวะรดยางรถยนต๑เป็นพฤติกรรมอยํางหนึ่งท่ี
เรยี กวํา urine making เพ่อื ประกาศอาณาเขตของตน ถอื เปน็ การส่ือสารอยํางหนึ่งในระหวํางเพื่อนสุนัข
ด๎วยกนั สุนขั ที่ทาํ พฤตกิ รรมน้ี จะเปน็ ตวั ผู๎ท่ีอยํูในวัยเจริญพันธุ๑แล๎ว มันจะยกขาหลังแล๎วปลํอยปัสสาวะ
ในลักษณะพุํงตรงออกไปอยํางแรงเพ่ือใหต๎ รงเปฺาหมายท่ตี ๎องการ

สงิ่ ทมี่ ันชอบปสั สาวะรดนั้น ไมํจําเป็นต๎องเป็นยางรถยนต๑เทําน้ัน แตํเป็นอะไรก็ได๎ที่ต้ังฉากกับ
พ้นื โลก เชนํ โคนเสา โคนตน๎ ไม๎ ฯลฯ

นี่ก็เป็นภาษากายอยาํ งหน่งึ ของสนุ ัขในการประกาศอาณาเขตของตน ไมใํ หส๎ นุ ัขตวั อื่นขา๎ มเขตแดน
เขา๎ มา

เรอื่ งน้ีสอนใหร๎ ๎วู ํา ภาษากายสามารถเรยี นรไู๎ ด๎

58 คมํู ือคสูม่ ํงือเสส่งรเสิมรแมิ ลแะลพะพัฒฒั นนาากกิจจิ กกรรรรมมลลกู ูกเสเสือทอื กัทษักะษชะีวชติ วีในิตสใถนาสนถศากึ นษศา กึปษระาเภลทกูลเูกสเสอื ือโสทามชัญั้นปหรละกั ถสูตมรศลกึ กู ษเสาือปเอที ก่ี 6 65
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6

แผนการจัดกิจกรรมลกู เสือ หลักสูตรลูกเสือสามญั (ลกู เสือเอก) ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6

หนวํ ยที่ 3 วชิ าการของลูกเสือ เวลา 1 ชั่วโมง
แผนการจดั กจิ กรรมที่ 12 ทกั ษะการปฏเิ สธ

1. จดุ ประสงค์การเรียนรู๎
ลูกเสอื มที กั ษะในการปฏิเสธได๎อยาํ งเหมาะสม

2. เนื้อหา
ทกั ษะการปฏิเสธท่ีเหมาะสม

3. สือ่ การเรยี นรู๎

3.1 เกม
3.2 ใบความรู๎ เร่ือง ทักษะการปฏเิ สธ
3.3 เรื่องส้นั ที่เปน็ ประโยชน๑

4.กิจกรรม
4.1 พธิ เี ปดิ ประชุมกอง )ชกั ธงขนึ้ สวดมนต๑ สงบนิ่ง ตรวจ แยก(
4.2 เพลง หรือเกม

4.3 กิจกรรมตามจุดประสงคก๑ ารเรยี นร๎ู
1( ผ๎ูกาํ กับลูกเสอื มอบหมายใหห๎ มลูํ กู เสือ แสดงบทบาทสมมติ หมลูํ ะ 1 สถานการณ๑ ดังนี้
- ปฏิเสธเพ่อื น กรณเี พือ่ นชวนสบู บุหรี่
- ปฏิเสธเพอื่ น กรณเี พ่อื นชวนลองดื่มเหล๎า
- ปฏเิ สธเพอื่ น กรณีเพ่อื นชวนหนเี รยี นไปเลํนเกม

- ปฏิเสธเพอื่ น กรณีเพอ่ื นขอยมื เงนิ
- ปฏิเสธเพอื่ น กรณีเพอ่ื นชวนไปซอื้ บรกิ ารทางเพศ
2( ลกู เสอื แสดงบทบาทสมมติทลี ะหมํู ผ๎ูกํากบั ลูกเสือใหช๎ ํวยกนั วิเคราะห๑วาํ แตลํ ะหมูํ
ปฏเิ สธไดส๎ ําเร็จหรือไมํ
3( ผูก๎ าํ กับลูกเสอื แจกใบความร๎ู ขัน้ ตอนการปฏิเสธ โดยเพื่อนไมโํ กรธ พรอ๎ มอธิบายและ

ยกตัวอยาํ งประโยคคําพดู ในแตํละข้นั ตอน
4( หมูลํ ูกเสอื รวํ มกนั คิดประโยคคําพดู ปฏิเสธในสถานการณ๑เดมิ ตามขน้ั ตอนในใบความรู๎
5( ลูกเสือแตลํ ะหมูนํ ําเสนอ โดยผูก๎ ํากบั ลูกเสอื และลกู เสือหมํอู นื่ รวํ มกันประเมนิ ความ

ถกู ตอ๎ งตามขนั้ ตอนทกั ษะปฏเิ สธ และสรุป
4.4 ผก๎ู าํ กับลูกเสอื เลําเรื่องส้นั ที่เปน็ ประโยชน๑

4.5 พิธปี ิดประชุมกอง )นดั หมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชกั ธงลง เลกิ (

66 คํมู ือสงํ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6
คมู่ อื ส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือสามญั หลกั สูตรลูกเสอื เอก 59
ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6

5. การประเมินผล
สงั เกตและตรวจสอบการปฏบิ ัตติ ามขน้ั ตอนการปฏเิ สธ

6. องค์ประกอบทักษะชวี ติ สาคญั ทเ่ี กิดจากกจิ กรรม
คอื การสร๎างสัมพนั ธภาพและการสอื่ สาร

7. คณุ ธรรม
1. ความซือ่ สัตยส๑ ุจรติ
2. ความกตญั ๒ู
3. ความรับผิดชอบ
4. อุดมการณค๑ ณุ ธรรม

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมท่ี 12

เกม

เปลย่ี นของ

วิธีเลน่
ลูกเสือและหมูเํ ข๎าแถวตอนให๎มจี ํานวนเทําๆ กนั คนแรกของหมอํู ยใํู กลเ๎ สน๎ เริ่มตรงขา๎ มสนามอีก
ดา๎ นหน่ึงมหี มวกกบั ผา๎ ผูกคอลกู เสอื อยตูํ รงหนา๎ ของแตลํ ะหมูํ
เม่ือไดย๎ ินสญั ญาณเริ่มเลํนจากผู๎กาํ กับลกู เสอื ให๎คนแรกของแตลํ ะแถวว่งิ ไปเกบ็ หมวกแล๎วว่งิ มา
สงํ ใหค๎ นที่ 2 คนที่ 2 รบั แล๎วว่งิ เอาหมวกไปไวท๎ เี่ ดิม แล๎วหยบิ ผ๎าผูกคอมาใหค๎ นท่ี 3 คนที่ 3 รบั แล๎ว เอา
กลบั ไปไวท๎ เ่ี ดมิ เอาหมวกมาอีกสลับกนั ไปจนหมด แถวไหนเสรจ็ กอํ นแถวนนั้ ชนะ

60 คมํู อื คสูม่ ํงือเสสง่ รเสมิ รแิมลแะลพะพฒั ัฒนนาากกิจจิ กกรรรรมมลลูกูกเสเสอื ทอื ักทษักะษชะีวชติ ีวในติ สใถนาสนถศากึ นษศา ึกปษระาเภลทกูลเกู สเสือือโสทามชญั ้ันปหรละักถสูตมรศลกึ กู ษเสาอื ปเอที กี่ 6 67
ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6

ใบความรู๎

ทกั ษะการปฏเิ สธ

การปฏิเสธเป็นสิทธิสํวนบุคคลท่ีทุกคนควรเคารพและยอมรับ การปฏิเสธจะสําเร็จได๎นั้น ผู๎
ปฏเิ สธต๎องมคี วามต้งั ใจชัดเจนที่จะปฏเิ สธ

ขนั้ ตอนการปฏเิ สธ
1.อา๎ งความรูส๎ กึ ประกอบเหตุผล เพราะความรู๎สกึ โตแ๎ ย๎งได๎ยากกวําการใช๎เหตุผล เชํน “ฉันไมํ
ชอบ รู๎สึกไมดํ ที ีท่ ําอยาํ งนั้น”
2. ปฏิเสธชัดเจน เชํน “ขอไมทํ าํ ”

3. ถามความเหน็ เป็นการรกั ษานํ้าใจผ๎ูชวน เชํน “นะ” หรอื “ได๎ไหม”หรือ “เธอคงไมวํ ํานะ”
4. ขอบคณุ เมอ่ื เขายอมรับ เชํน “ขอบคุณทเี่ ข๎าใจ”

ถ๎าผ๎ูชวนตื๊อไมํเลิก เชํน เซ๎าซ้ี, สบประมาท, ยกเหตุผลหวํานล๎อม, ปลอบหรือรับรองวําไมํมี
ปญั หา หรอื แมก๎ ระท่ังขมํ ขูํ ฯลฯ ไมํควรหวน่ั ไหว ควรหาทางออกด๎วยวิธีใดวิธหี นงึ่ ตอํ ไปนี้

1. ปฏิเสธซาํ้ แลว๎ รบี ลาจากไป เชนํ “ไมทํ าํ จริง ๆ ขอตัวกํอนนะ”
2. ผดั ผอํ น แลว๎ รีบลาจากไป เชํน “ ไวค๎ อํ ยคุยกนั ใหมํนะ เราตอ๎ งไปแลว๎ ”
3. ตอํ รองหาทางเลือกอ่นื ท่ียอมรบั ไดท๎ ั้งสองฝาู ย เชนํ “เธอไปอํานหนงั สือกบั เราดกี วาํ ไหม”
จดุ ออํ นท่ีทําใหม๎ กั ปฏเิ สธไมสํ ําเร็จ
1. ปากบอกปฏิเสธ แตํใจไมปํ ฏเิ สธแทจ๎ ริง เลยใจอํอนปฏเิ สธไมสํ าํ เร็จ

2. ใช๎เหตุผลเปน็ ขอ๎ อา๎ ง ผู๎ชวนเลยเอาเหตุผลอนื่ มาหกั ล๎างทาํ ใหป๎ ฏเิ สธไมสํ ําเร็จ
3. ไมํออกจากสถานการณ๑ อยใูํ ห๎เขาตอ้ื ไปเรอ่ื ย ๆ กเ็ ลยปฏเิ สธไมํสําเร็จจนได๎
4. เกรงใจโดยเฉพาะกับผ๎ูอาวุโสสูงกวาํ เลยทาํ ใหไ๎ มรํ กั ษาสทิ ธิในการปฏิเสธของตนเอง

ตัวอยาํ งประโยคคาพูด สถานการณ์: เพอ่ื นชวนลองสูบบหุ รี่

ขัน้ ตอน ตัวอยํางประโยคคาพูด

อ๎างความรู๎สกึ ประกอบเหตุผล เราไมํชอบ รส๎ู กึ วํามนั เปน็ ส่งิ ทไี่ มดํ ี

ปฏิเสธชดั เจน ขอไมํลอง

ถามความเห็นเปน็ การรกั ษาน้ําใจผชู๎ วน นะเพื่อน

ขอบคณุ เมอื่ เขายอมรบั ขอบคณุ ที่เขา๎ ใจเรา

ถ๎าผู๎ชวนต๊อื ไมเํ ลิก เลอื กวิธีใดวิธหี นึ่งตอํ ไปน้ี

ปฏิเสธซํ้า แลว๎ รีบขอตัวออกจากเหตกุ ารณ๑ ไมลํ ะ ขอตัวกํอนนะเพอ่ื น )รีบเดนิ จากไป(

ผดั ผอํ น แลว๎ รีบขอตวั ออกจากเหตกุ ารณ๑ เอาไว๎ชวนเรอ่ื งอ่ืนแล๎วกัน ขอตัวนะเพอ่ื น

)รบี เดินจากไป(

ตํอรองหาทางเลือกอน่ื ท่ยี อมรับไดท๎ ้ังสองฝาู ย เรามาหาอะไรทาํ อยาํ งอนื่ กนั ดีกวํา ไปกนิ

ไอศกรมี กนั ดไี หมเพอ่ื น

68 คํมู อื สํงเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
คมู่ อื ส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลักสตู รลูกเสือเอก 61
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6

เรอ่ื งส้ันทเ่ี ป็นประโยชน์

กระเปา๋ สองใบ

กาลหน่ึงนานมาแลว๎ อสี ปกลาํ วไว๎วํา มนุษย๑ทุกคนมกี ระเปา๋ ประจําตัวอยํูสองใบ ซ่ึงบรรจุความชั่ว
เอาไว๎เต็มใบที่อยํูด๎านหน๎าบรรจุความช่ัวของผู๎อ่ืน สํวนใบท่ีอยํูด๎านหลังบรรจุความช่ัวของตัวเราเอง
ดงั นัน้ เราจงึ มักจะเหน็ ความผิด ความเลว ความช่ัวของผู๎อน่ื แตไํ มํคํอยเหน็ ของตนเอง

เรื่องนส้ี อนใหร๎ ๎ูวํา ความผดิ ของผู๎อนื่ เหน็ ได๎งาํ ย ความผดิ ของเราเห็นได๎ยาก

62 คํมู อื คสู่มงํอื เสส่งรเสมิ รแมิ ลแะลพะพัฒฒั นนาากกิจิจกกรรรรมมลลูกูกเสเสือทอื กัทษกั ะษชะวี ชิตวีในติ สใถนาสนถศาึกนษศา กึปษระาเภลทกูลเูกสเสืออื โสทามชญั นั้ ปหรละักถสูตมรศลึกกู ษเสาอื ปเอีทกี่ 6 69
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

แผนการจดั กจิ กรรมลูกเสอื หลกั สูตรลูกเสือสามญั (ลกู เสอื เอก) ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6

หนวํ ยท่ี 3 วิชาการของลูกเสอื เวลา 1 ช่ัวโมง
แผนการจัดกจิ กรรมที่ 13 คดิ เชิงบวก

1. จดุ ประสงค๑การเรยี นรู๎
ลูกเสือมที ักษะการคดิ เชงิ บวก

2. เนือ้ หา
การคิดเชิงบวก มองโลกอยํางสรา๎ งสรรค๑

3. ส่ือการเรียนร๎ู
3.1 แผนภมู ิเพลง
3.2 เกม

3.2 ใบความรู๎
3.3 ใบงาน
3.4 เรื่องสนั้ ทเ่ี ปน็ ประโยชน๑

4.กิจกรรม
4.1 พิธีเปดิ ประชุมกอง )ชกั ธงขนึ้ สวดมนต๑ สงบนงิ่ ตรวจ แยก(
4.2 เพลง หรือเกม
4.3 กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก๑ ารเรยี นร๎ู
1( ใหล๎ กู เสอื น่งั เป็นวงกลม ผกู๎ าํ กบั ลกู เสอื แจก ใบความร๎ูเร่อื งความคดิ 2 ประเภท และ
มอบใบงานให๎ลูกเสอื รวํ มกนั ปฏิบัติ และสงํ ตัวแทนนําเสนอในกองลกู เสือ

2( ผู๎กํากับลูกเสอื ใหต๎ วั แทนของหมํูลกู เสือรายงานหมํูละ 1 ขอ๎ ผ๎กู ํากบั ลกู เสอื นาํ
อภิปรายใหห๎ มอูํ ่นื เพม่ิ เติม จนครบทกุ ขอ๎

3( ผกู๎ ํากับลกู เสอื ตงั้ ประเด็นคําถาม และนาํ อภิปรายจนไดข๎ อ๎ สรปุ โดยผ๎ูกํากบั
ลกู เสือชํวยเพิ่มเติม ทลี ะประเด็น จนครบดังน้ี
- ความคดิ ทางลบมผี ลตอํ ลูกเสอื อยาํ งไร

- ความคดิ ทางบวกมีผลตอํ ลูกเสอื อยาํ งไร
4( ผ๎ูกํากับลูกเสอื และลกู เสอื รํวมกันสรุปขอ๎ คิดท่ไี ดแ๎ ละการนําไปใช๎ในชีวติ ประจาํ วนั
4.4 ผูก๎ ํากับลกู เสอื เลําเรอื่ งสน้ั ท่ีเปน็ ประโยชน๑

4.5 พธิ ปี ดิ ประชุมกอง )นดั หมาย ตรวจเครื่องแบบ ชักธงลง เลิก(

70 คมํู ือสงํ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6
คมู่ อื สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลูกเสือสามัญ หลักสตู รลกู เสือเอก 63
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6

5. การประเมนิ ผล
สงั เกตการมสี ํวนรวํ มในการทาํ กจิ กรรม และการแสดงความคดิ เหน็ ในหมูแํ ละในกองลกู เสือ

6. องค์ประกอบทักษะชีวิตสาคญั ท่เี กิดจากกิจกรรม
ความคดิ วิเคราะห๑ ความคดิ สรา๎ งสรรค๑ การเข๎าใจตนเอง

7. คุณธรรม
1. ความซอ่ื สัตย๑สจุ รติ
2. ความกตัญ๒ู
3. ความรบั ผดิ ชอบ
4. อุดมการณ๑คณุ ธรรม

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกิจกรรมที่ 13

เพลง

ฉนั และเธอ

ฉนั และเธอ เจอกนั แทบทุกวันเลยเชียว

เมือ่ เจอกัน เราทกั กนั เพือ่ สมานไมตรี
ย้ิมใหก๎ นั ทไี ร สขุ ฤทัย เปรมปรีย๑
ได๎พดู จา พาที สวสั ดีเพอ่ื นเอย

64 คูํมอื คสมู่ งํือเสส่งรเสิมรแิมลแะลพะพฒั ฒั นนาากกิจิจกกรรรรมมลลกู ูกเสเสอื ทอื กัทษักะษชะวี ชิตวีในิตสใถนาสนถศากึ นษศา กึปษระาเภลทกูลเูกสเสอื อื โสทามชัญนั้ ปหรละักถสูตมรศลึกูกษเสาือปเอีทกี่ 6 71
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6

เรอ่ื งสน้ั ทเี่ ป็นประโยชน์

หวั ใจนกั ส๎ูของ นิควจู ซิ คิ หนมํุ พกิ ารไมมํ แี ขน-ขา

เรื่องราวของ "นคิ วูจิซิค" (Nick Vujicic)หนํุมพิการชาวออสเตรเลีย วัย 26 ปี เขาไมํมีแขนท้ังสอง
ข๎าง และมแี ตขํ าสัน้ ๆ ข๎างเดียวท่มี นี ้ิวโปฺงโผลํออกมาสองนิ้วเทําน้ัน

"นิค" เป็นคนมองโลกในแงํดี เขาคิดเสมอวํา ความบกพรํองทางรํางกายของเขา คือการ
ทดลองที่พระเจ๎ามอบให๎ แม๎วําคนในครอบครัวของเขาตํางเสียใจท่ี "นิค" เกิดมาด๎วยสภาพน้ี แตํ "นิค"
กลับทําใหท๎ ุกคนไดเ๎ ห็นวํา เขาเปน็ เหมือนคนปกติ มีรํางกายแข็งแรง เพียงแตไํ มํมีแขนและขาเทาํ นน้ั

"นคิ " บอกพอํ แมวํ ํา เขาอยากใช๎ชีวิตตามปกติ ไมํต๎องการให๎ใครมาดูแลเป็นพิเศษ เขาสามารถตํอส๎ู
กับกฎหมายท่ีระบุไว๎วํา ห๎ามคนพิการเข๎าเรียนในโรงเรียนชั้นนําได๎สําเร็จ ทําให๎เขากลายเป็นคนพิการรํุน
แรกๆ ที่ได๎รับการศึกษาจากโรงเรียนระดับแถวหน๎า แม๎เขาจะต๎องเผชิญกับ "สายตา" ของคนอื่นท่ีมองมา
และสอ่ื ใหเ๎ ห็นวาํ เขาเปน็ คนแปลกแยก แตํนั่นกไ็ มไํ ดท๎ ําใหเ๎ ขารส๎ู ึกทอ๎ ถอยแตํอยํางใด เพราะเขาได๎รับกําลังใจ
ท่ีดีจากครอบครวั ตลอดเวลา

ในที่สุดเขาก็สาเร็จการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรีด๎านการค๎า เอกการวางแผนด๎านการเงินและ
บัญชี มาได๎สาเร็จ ลบคําสบประมาทของหลายๆ คน เขารู๎ดีวําความสําเร็จของเขาเกิดข้ึนได๎ เพราะ
กาํ ลงั ใจทด่ี ี และไมํทอ๎ แทน๎ น่ั เอง และนเ่ี องเป็นแรงบนั ดาลใจใหเ๎ ขาอยากแบํงปันและสํงตํอกําลังใจเหลําน้ัน
ใหก๎ ับเพ่ือนมนษุ ยท๑ ี่กาํ ลังท๎อแท๎ และส้นิ หวัง

"นิค" เดินทางไปบรรยายสรา๎ งแรงบนั ดาลใจให๎กับคนท่ัวโลก เขาปลุกให๎ทุกคนลุกข้ึนมาตํอส๎ูได๎อีก
คร้ังหน่ึง ดว๎ ยคาํ พูดทว่ี ํา “หากวันหนึ่งใครก็ตามที่ล๎มและไมํมีกําลังจะลุกขึ้น ไมํมีความหวังอีกแล๎ว ขอให๎
หนั กลับมามองชวี ติ ของผมทไ่ี มมํ แี ขน ไมมํ ขี า ซ่ึงกํอนนี้ไมํมใี ครคิดวาํ ผมจะลกุ ข้ึนเดินได๎ แตํผมก็พยายาม
ที่จะลกุ ข้ึนมา ครงั้ แลว๎ ครัง้ เลํา ุ ถงึ ครัง้ ทีร่ ๎อย คร้ังที่พันจะลุกไมไํ ด๎ แตหํ ลังจากทีพ่ ยายามตอํ ไป ไมํท๎อแท๎
ทาํ ให๎ ณ วนั นผี้ มสามารถลุกข้ึนเดนิ ได๎สาํ เรจ็ เพราะถา๎ ผมยอมแพ๎ ผมจะไมํมีวันลุกข้ึนได๎อีกเลย” หากเรา
เจออปุ สรรคร๎ายแรง แลว๎ อดทนสูต๎ ํอไป ไมํยอมแพ๎ เราจะผํานมันไปได๎อยํางเขม๎ แข็ง ขอเพียงแคํให๎กําลังใจ
กับตวั เองเทาํ น้นั อยาํ งเชํนท่ี “ นิค” ทาํ อยใํู นทุกๆ วนั

เร่อื งน้ีสอนใหร๎ ูว๎ ํา แรงบนั ดาลใจ เกิดจากการมองโลกในแงดํ ี

72 คํมู ือสงํ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
คู่มือสง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื สามญั หลกั สตู รลูกเสือเอก 65
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6

ใบงาน

ให๎หมํลู กู เสือระดมสมองใหไ๎ ดม๎ ากทส่ี ุดวําความคดิ ทางลบและความคดิ ทางบวกของในแตลํ ะกรณี
มปี ระการใดบ๎าง

บัญชคี วามคิด

สถานการณ์ ความคดิ ทางลบ ความคดิ ทางบวก
ถกู เพือ่ นลอ๎
วําตวั เตี้ย ............................................................. ..............................................................

ลืมเอา ............................................................. ..............................................................
สมุดการบา๎ น
มาสํงครู ............................................................. ..............................................................

วง่ิ หกล๎ม ............................................................. ..............................................................
หวั เขําถลอก
............................................................. ..............................................................

............................................................. ..............................................................

............................................................. ..............................................................

............................................................. ..............................................................

............................................................. ..............................................................

............................................................. ..............................................................

............................................................. ..............................................................

............................................................. ..............................................................

............................................................. ..............................................................

............................................................. ..............................................................

............................................................. ...............................................................

............................................................. ...............................................................

............................................................. ...............................................................

............................................................. ...............................................................

............................................................. ...............................................................

............................................................. ...............................................................

............................................................. ...............................................................

66 คํูมอื คสมู่ งํอื เสส่งรเสมิ รแิมลแะลพะพัฒัฒนนาากกจิจิ กกรรรรมมลลกู กู เสเสอื ทือกัทษกั ะษชะีวชติ วีในติ สใถนาสนถศาึกนษศา ึกปษระาเภลทกูลเกู สเสืออื โสทามชัญ้ันปหรละกั ถสูตมรศลกึ กู ษเสาือปเอีทก่ี 6 73
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6

ใบความร๎ู

ความคิด 2 ประเภท
ลกั ษณะความคดิ ของคนเรามี 2 ประเภท คือ
คดิ ทางลบ เปน็ ประเภททคี่ ิดแลว๎ นาความทกุ ขม์ าสตูํ นเอง ได๎แกํ
1( การตัง้ ความหวังไวส๎ งู เกินไป ทง้ั ตอํ ตนเองและผ๎อู ่นื
2( การคาดการณ๑ร๎าย คดิ ถึงแตํสิง่ ไมํดที อ่ี าจจะเกิดหรอื ไมเํ กดิ ขึ้นกไ็ ด๎
3( การตําหนติ นเอง หรอื มองตนเองวาํ ไร๎ความสามารถ
4( การไมํอยูํกับปัจจุบัน วิตกกังวลกับอนาคตที่ยังมาไมํถึง หรือหมกมํุนอยํูกับอดีตที่ผํานไป
แล๎ว และอยากแก๎ไขอดีตซ่ึงเป็นไปไมํได๎

คิดทางบวก เป็นประเภทที่คดิ แลว๎ นาความสขุ มาสํตู นเอง ได๎แกํ
1( ตั้งความหวงั ไว๎อยํางสอดคลอ๎ งกบั สภาพความเปน็ จริง ทง้ั ของตนเองและผ๎อู ่นื
2( มีสติอยูํกบั ปัจจบุ นั รู๎วําตนเองทําอะไร เพื่ออะไร ทําปัจจุบันให๎ดีท่ีสุด เพ่ือเป็นรากฐานที่ดี

สาํ หรบั อนาคต และไมตํ อ๎ งกังวลกับการอยากแกไ๎ ขอดีตซงึ่ เปน็ ไปไมํได๎
3( มองปัญหาวํามีทางแก๎ไขเสมอ มองหาวํา “อะไรผิด”ที่ต๎องแก๎ แทนการมองหาวํา “ใครผิด”

เพื่อกลําวโทษ
4( มองสิ่งท่ีเหลืออยํูมากกวําสิ่งท่ีขาดหายไป หรือหาสิ่งตอบแทนจากการสูญเสีย เชํน มอง

ความผิดพลาดเปน็ ครูสอนไมํใหผ๎ ิดซ้าํ
5( มอี ารมณ๑ขนั

74 คํูมือสํงเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6
คู่มอื ส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสือสามัญ หลักสตู รลกู เสือเอก 67
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6

แผนการจดั กิจกรรมลกู เสือ หลักสตู รลูกเสือสามญั (ลูกเสอื เอก) ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6

หนํวยที่ 3 วิชาการของลูกเสือ เวลา 1 ชั่วโมง
แผนการจัดกิจกรรมท่ี 14 ภาพวาดอนาคต

1. จดุ ประสงค์การเรียนร๎ู
ลูกเสอื สามารถบอกเปฺาหมายในชวี ิตของตนเองได๎

2. เนือ้ หา
เปาฺ หมายชีวิตในอนาคตของตนเอง

3. สือ่ การเรยี นรู๎
3.1 แผนภมู ิเพลง
3.2 เกม
3.2 กระดาษ ปากกา ดนิ สอสี อุปกรณ๑วาดภาพ
3.3 เรื่องสน้ั ท่เี ป็นประโยชน๑

4. กจิ กรรม
4.1 พธิ เี ปดิ ประชมุ กอง )ชักธงข้ึน สวดมนต๑ สงบนง่ิ ตรวจ แยก(
4.2 เพลง หรอื เกม
4.3 กิจกรรมตามจุดประสงค๑การเรยี นร๎ู
1( ให๎ลูกเสอื แตลํ ะหมูนํ งั่ เปน็ วงกลม ใหล๎ ูกเสอื แตํละคน วาดภาพสัญลักษณ๑อนาคตทต่ี นเอง
อยากเปน็ เชํน หมอ )เขม็ ฉดี ยา( ทหาร )ปนื ( นักบิน )เครอื่ งบิน( นกั ฟตุ บอล
)ลกู บอล( ฯลฯ
2( หลังวาดเสร็จ ลกู เสือผลัดกนั ใหเ๎ พื่อนทายภาพวําอยากเป็นอะไร เม่อื ทายถูกจงึ เลาํ
เหตผุ ลที่อยากเปน็ และจะเตรยี มตัวอยาํ งไรเพอื่ มีอนาคตตามทอ่ี ยากเป็น ให๎เพอื่ นใน
หมฟํู ัง เวียนจนครบทกุ คน
3( ผูก๎ าํ กับลูกเสอื เรยี กรวมกอง และนําอภปิ ราย ถามขอ๎ คิดที่ไดจ๎ ากการทํากจิ กรรม และสรปุ
4.4 ผ๎กู ํากับลูกเสอื เลาํ เรือ่ งส้ันทีเ่ ปน็ ประโยชน๑
4.5 พิธปี ิดประชมุ กอง )นดั หมาย ตรวจเคร่อื งแบบ ชกั ธงลง เลกิ (

5. การประเมินผล
สังเกต การมสี ํวนรวํ มทาํ กจิ กรรม และการแสดงความคิดเหน็ ในหมูํและในกองลูกเสือ

68 คมูํ ือคสู่มํงือเสสง่ รเสมิ รแิมลแะลพะพฒั ฒั นนาากกจิจิ กกรรรรมมลลกู ูกเสเสอื ทือักทษักะษชะีวชติ วีในิตสใถนาสนถศาึกนษศา ึกปษระาเภลทกูลเูกสเสอื อื โสทามชญั ้ันปหรละักถสตูมรศลกึ ูกษเสาือปเอีทกี่ 6 75
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6

6. องค์ประกอบทักษะชีวติ สาคญั ทเ่ี กิดจากกจิ กรรม
คือ ตระหนักรถ๎ู งึ ความสามารถและความตอ๎ งการของตนเองทอ่ี ยากเปน็ ในอนาคต ความคดิ

วิเคราะห๑ ความคดิ สรา๎ งสรรค๑

7. คณุ ธรรม
1. ความซอ่ื สตั ย๑สุจรติ
2. ความกตัญ๒ู
3. ความรับผดิ ชอบ
4. อุดมการณค๑ ุณธรรม

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกิจกรรมท่ี 14
เพลง

ลกู เสือไทย

ลกู เสอื ลูกเสอื ไว๎ศกั ด์สิ ลิ ูกผ๎ชู าย ลกู เสือ ลกู เสอื ไว๎ลายลกู เสอื ไทย
รักเกยี รติ รกั วนิ ัย แข็งแรงและอดทน เราจะบาํ เพญ็ ตนใหเ๎ ป็นประโยชน๑ตอํ ผูอ๎ น่ื
แมล๎ าํ บากตรากตรํากต็ ๎องทาํ ใหส๎ ําเร็จ ทํา ทาํ ทํา เราสัญญาวาํ จะทํา

เสียชพี อยาํ เสยี สตั ย๑รักษ๑ชาตใิ หม๎ ัน่ ไว๎ ดังนามอันกรยี งไกรพระมงกุฎทรงประทาน

เรือ่ งสั้นทีเ่ ปน็ ประโยชน์

เขาฝึกสุนัขตารวจกนั อยํางไร ?

วิธีฝึกสุนัขให๎ดมกล่ิน ค๎นหายาเสพติดและระเบิด เริ่มจากการคัดเลือกสุนัขที่จะนํามาฝึก ต๎อง
เปน็ พันธุท๑ ี่เหมาะสม คือสามารถดมกลน่ิ เปน็ เลิศและมนี ิสยั ที่จะกู๎สิง่ ของซ้ําแล๎วซํ้าเลําไมํร๎ูเบ่ือ สุนัขพันธุ๑
ท่ีเหมาะสมทสี่ ุดได๎แกเํ ยอรมันเชปเพริ ๑ดเลบราดอรร๑ ีทรฟี เวอร๑สุนัขเหลําน้ี จะได๎รับการสอน ให๎วิเคราะห๑
กล่นิ พเิ ศษและเปลยี่ นแปลงพฤติกรรม เมื่อได๎กลิน่ นัน้ เชนํ ถา๎ พบกล่ินระเบิด สนุ ัขมักถกู สอนให๎นั่ง หรือ
นอนลงเพราะหากคน๎ หาตํอไปอาจเกิดระเบิดข้นึ ได๎

ปรกติจะเริ่มต๎นฝึกใหด๎ มกล่ินกญั ชากํอน ใชเ๎ วลาฝกึ ประมาณ 10 สปั ดาห๑
ข้ันแรก จะฝึกให๎สุนัขสนใจกัญชากํอน โดยใสํกัญชาไว๎ในถุงพลาสติกเล็ก ๆ และหํอให๎ดีเพ่ือ
ปฺองกันสนุ ัขกดั ขาด จากน้ันจะทําเหมือนเวลาฝกึ ใหส๎ ุนขั ไปคาบกงิ่ ไม๎ คือขว๎างถงุ กัญชาออกไปประมาณ
10 ฟตุ และกระต๎นุ ให๎สนุ ขั ไปคาบกลับมา ถา๎ สาํ เรจ็ สุนัขจะได๎รบั คําชมเชยพร๎อมรางวัล

76 คํูมอื สงํ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสอื โท ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6
คูม่ ือสง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามัญ หลักสตู รลกู เสือเอก 69
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6

ขัน้ ตอํ มา ครฝู กึ จะนาํ ถงุ ไปซํอนไวไ๎ กล ๆ เพอ่ื ทส่ี ุนขั จะไดใ๎ ช๎จมูกดมกล่นิ หาแทนทีจ่ ะใชต๎ าดูหน่ึง
เดอื นหลังจากฝึกข้ันนี้ สุนัขควรสามารถหาถุงกัญชา ในกระเป๋าเดินทาง หรือหีบหํอของได๎แล๎วแรก ๆ
อาจมีเพยี งสองสามกระเป๋าใหเ๎ ลือก คลอํ งแล๎วจงึ เพิม่ จาํ นวนตวั เลอื ก ให๎มากขึน้

ถดั จากกระเปา๋ เดนิ ทาง สถานที่ซอํ นกญั ชาจะเรมิ่ เปน็ ในรถยนต๑ ในตกึ และสถานที่ที่ซับซ๎อนขึ้น
เร่ือย ๆหลังจากฝึกไปได๎สองเดือน ครูฝึกจะกลบกล่ินกัญชา ด๎วยกล่ินอยํางอื่น เชํน น้ําหอม ฟอร๑มัลดี
ไฮดส๑ ดั สํวนของกลน่ิ ปลอมปนตอํ กลิ่นกัญชาจะเพมิ่ ข้ึนทีละเล็กละน๎อย สุนัขท่ีผํานการฝึกจนสําเร็จ ควร
หากัญชาพบ แม๎จะมีกล่ินอื่นมาปะปนถึงร๎อยละ 90 จากน้ัน ครูฝึกจึงสามารถฝึก ให๎สุนัขค๎นหา
ยาเสพยต๑ ิดชนิดอืน่ รวมท้ังค๎นหาดินระเบิดและวัสดุอ่ืน ๆ ทใ่ี ชท๎ ําระเบดิ

ที่มา 108 ซองคาํ ถาม

เร่อื งนส้ี อนให๎ร๎ูวาํ การฝึกฝนจะทาํ ให๎เกิดทักษะ

70 คูํมอื คสูม่ ํงือเสสง่ รเสิมรแิมลแะลพะพฒั ัฒนนาากกจิจิ กกรรรรมมลลูกกู เสเสือทือักทษกั ะษชะีวชติ วีในิตสใถนาสนถศากึ นษศา ึกปษระาเภลทกูลเกู สเสอื อื โสทามชญั ้นั ปหรละักถสูตมรศลกึ ูกษเสาือปเอีทก่ี 6 77
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6

แผนการจดั กิจกรรมลูกเสอื หลกั สตู รลกู เสือสามญั (ลกู เสอื เอก) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

หนวํ ยท่ี 3 วชิ าการของลกู เสือ เวลา 2 ชวั่ โมง
แผนการจดั กิจกรรมที่ 15 การปรุงอาหารแบบชาวป่า

1. จุดประสงค์การเรยี นร๎ู
1.1 ลกู เสือสามารถปรงุ อาหารแบบชาวปาู ได๎ 2 อยําง สําหรับ 2 คนได๎
1.2 ลูกเสอื สามารถสร๎างทพ่ี กั แรมชั่วคราวได๎

2. เน้ือหา
2.1 การปรงุ อาหารแบบชาวปูา
2.2 การสรา๎ งทพี่ กั แรมชว่ั คราว

3. ส่ือการเรียนร๎ู

3.1 แผนภมู ิเพลง
3.2 เกม
3.3 ภาพการป้งิ ยาํ ง เผา
3.4 ไม๎ขีดไฟ เล่ือยผําฟืน ขวาน
3.5 ฐานสาธติ การประกอบอาหารชาวปูา และการสร๎างทพี่ ักแรมชว่ั คราว

3.6 เรอ่ื งสนั้ ทเ่ี ปน็ ประโยชน๑

4. กจิ กรรม

4.1 กจิ กรรมครงั้ ที่ 1
1( พธิ ีเปิดประชุมกอง )ชักธงขนึ้ สวดมนต๑ สงบน่งิ ตรวจ แยก(
2( เพลง หรอื เกม
3( กิจกรรมตามจดุ ประสงคก๑ ารเรียนรู๎
)1( ผู๎กํากบั ลกู เสอื ให๎ลกู เสอื ตามระบบฐาน ดงั น้ี
ฐานที่ 1 การปงิ้ หรอื ยาํ ง
ฐานท่ี 2 การเผา

ฐานที่ 3 การหงุ
ฐานท่ี 4 การอบ
)2( ผกู๎ าํ กับลูกเสอื และลกู เสอื รํวมกันสรุปบทเรยี น
4( ผ๎กู าํ กบั ลกู เสอื เลาํ เรื่องสั้นที่เปน็ ประโยชน๑
5( พิธปี ิดประชุมกอง )นัดหมาย ตรวจเครอื่ งแบบ ชกั ธงลง เลิก(

78 คมํู ือสงํ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ลกู เสือโท ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6
คู่มือส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามญั หลกั สูตรลกู เสือเอก 71
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6

4.2 กิจกรรมครั้งที่ 2
1( พิธเี ปิดประชุมกอง )ชักธงขึ้น สวดมนต๑ สงบนงิ่ ตรวจ แยก(
2( เพลง หรอื เกม
3( กจิ กรรมตามจดุ ประสงค๑การเรียนรู๎
)1( ผ๎กู าํ กบั ลูกเสอื สนทนาถึงการพักแรมและการทาํ ทพ่ี กั แรมชว่ั คราว สาํ หรบั พกั แรมวํา
ควรจะสร๎างอยํางไร ในสถานทใี่ ดบา๎ ง เชนํ ในปาู , ในสวน หรอื ในทๆ่ี ใกลน๎ าํ้ อากาศ
ร๎อน หรอื อากาศหนาว เปน็ ตน๎
)2( ผ๎ูกาํ กบั ลกู เสอื ให๎ลกู เสอื เรยี นและฝึกปฏิบัตติ ามระบบฐาน ดงั นี้
ฐานที่ 1 ศึกษาเต็นทแ๑ บบตํางๆ สําหรับคนนอน 1 คน 2 คน และหลายๆ คน

ตลอดจนการปอฺ งกนั มด แมลง นํา้ คา๎ งในเวลากลางคนื
ฐานที่ 2 การจัดแสงสวํางภายในเตน็ ท๑ การใช๎ไฟฉาย โคมแบตเตอรีต่ ํางๆ
ฐานที่ 3 ฝกึ กางเตน็ ท๑ หรอื การสรา๎ งท่พี กั แบบงํายๆ

)3( ผ๎กู าํ กับลกู เสอื ตรวจผลงานการกางเตน็ ท๑ของแตํละหมูํ และใหท๎ าํ การ
เก็บเตน็ ท๑ให๎เรยี บรอ๎ ย

4( ผ๎ูกํากับลูกเสอื เลาํ เรื่องสนั้ ที่เปน็ ประโยชน๑
5( พธิ ีปดิ ประชมุ กอง )นัดหมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชกั ธงลง เลกิ (

5. การประเมนิ ผล
5.1 สังเกตความสนใจในการฝกึ ปฏบิ ัตแิ ละเรียนรูก๎ ิจกรรม
5.2 ตรวจสอบการปรงุ อาหารชาวปูาและการสรา๎ งคํายพักแรมชั่วคราว

6. คณุ ธรรม
1. ความพอเพียง
2. ความรบั ผดิ ชอบ

72 คูํมอื คสู่มงํือเสส่งรเสิมรแมิ ลแะลพะพัฒัฒนนาากกจิิจกกรรรรมมลลกู กู เสเสอื ทือักทษกั ะษชะีวชติ ีวในติ สใถนาสนถศากึ นษศา กึปษระาเภลทกูลเกู สเสืออื โสทามชัญน้ั ปหรละกั ถสตูมรศลึกูกษเสาือปเอีทกี่ 6 79
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกิจกรรมท่ี 15

เพลง

เพลินใจชาวดง

เพลินใจชาวดงราํ วงกบั เฮฮา ฮะ หลั่นลนั ลา )ซ้าํ (

เชิญชวนกนั มา เฮฮามาชมุ นมุ )อีปมุ บุมบุม )ซา้ํ ((

ปาู ดงพงไพร แสนไกลสดุ กนั ดาร

เราชวนกนั มา เฮฮามาชุมนมุ )อปี ุมบมุ บมุ )ซ้ํา((

ดอกไม๎ในป่า

แดนปาู เขาหนูนอ๎ ยเริงใจ เดด็ ดอกไม๎เสยี บใสปํ อยผม
ดอกมะลวิ ัลย๑ กรรณิกาลั่นทม เฝาฺ เดด็ ดมนิยมในไพร
นําชื่นใจดอกไม๎ในปูา
ชวนกนั รอ๎ งเพลงเพลนิ กนั ไป

80 คํมู ือสงํ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสอื โท ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6
คูม่ ือสง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลกั สูตรลูกเสือเอก 73
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6

แผนการจัดกจิ กรรมลูกเสือ หลกั สตู รลูกเสือสามญั (ลกู เสอื เอก) ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6

หนวํ ยท่ี 4 ทักษะลกู เสอื และกิจกรรมกลางแจ๎ง เวลา 1 ชว่ั โมง
แผนการจัดกจิ กรรมที่ 16 การเดนิ ทางไกล (ภาคทฤษฎี)

1. จดุ ประสงค์การเรียนร๎ู
1.1 ลกู เสอื สามารถบอกความหมายของการเดนิ ทางไกลได๎
1.2 ลกู เสือสามารถชแี้ จงการเตรยี มอุปกรณ๑สําหรบั ใช๎เดินทางไกลและอยํคู าํ ยพักแรมได๎

2. เน้ือหา
2.1 ความหมายของการเดนิ ทางไกล
2.2 การเตรียมอปุ กรณส๑ าํ หรบั ใช๎เดินทางไกลและอยูํคาํ ยพกั แรม

3. ส่ือการเรียนรู๎
3.1 แผนภูมิเพลง
3.2 เกม
3.2 ใบความรู๎
3.3 อปุ กรณ๑สําหรบั ใชเ๎ ดินทางไกล
3.5 เร่อื งสนั้ ทเี่ ป็นประโยชน๑

4. กิจกรรม
4.1 พธิ เี ปดิ ประชมุ กอง )ชักธงข้นึ สวดมนต๑ สงบนงิ่ ตรวจ แยก(
4.2 เพลง หรอื เกม
4.3 กิจกรรมตามจุดประสงค๑การเรยี นร๎ู
1( ผกู๎ ํากบั ลูกเสอื แจกใบความรู๎ ใหล๎ กู เสอื ทกุ หมนํู ําไปศึกษา
2( ผู๎กาํ กบั ลูกเสอื สนทนากบั ลูกเสอื ถงึ ความหมายของการเดนิ ทางไกล
3( ลูกเสือรวํ มกนั อภิปรายถึงลกั ษณะของการเดินทางไกลตามบริบทของลกู เสอื ท่ปี ลอดภัย

และมีความพรอ๎ ม
4( ลกู เสือศึกษาอปุ กรณ๑สําหรบั ใช๎เดนิ ทางไกลและอยํูคํายพกั แรมจากการสาธติ

4.4 ผ๎กู าํ กบั ลูกเสอื เลําเรอ่ื งสนั้ ทเ่ี ปน็ ประโยชน๑
4.5 พิธปี ิดประชมุ กอง )นดั หมาย ตรวจเครื่องแบบ ชกั ธงลง เลกิ (

5. การประเมินผล
5.1 สงั เกตความสนใจในการเข๎ารํวมกิจกรรมของลกู เสอื
5.2 สอบถามความเขา๎ ใจเรอื่ งความหมายการเดินทางไกล และการเตรยี มอุปกรณ๑สําหรับเดนิ
ทางไกลและอยูํคาํ ยพกั แรม

74 คํมู ือคสู่มํงอื เสสง่ รเสมิ รแมิ ลแะลพะพฒั ัฒนนาากกจิจิ กกรรรรมมลลกู กู เสเสอื ทือักทษกั ะษชะีวชติ ีวในติ สใถนาสนถศาึกนษศา ึกปษระาเภลทกูลเูกสเสอื ือโสทามชญั ้ันปหรละกั ถสูตมรศลกึ กู ษเสาือปเอที กี่ 6 81
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6

6. คณุ ธรรม
1. ความพอเพียง
2. ความรับผิดชอบ
3. อุดมการณ๑คุณธรรม

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมที่ 16

เพลง

เดินทางไกล

เดนิ ทางไกล เดนิ ทางไกล ไป ไป ซไิ ป ไป ซซไิ ปไิ ปไปไปดว้ ดย๎วกยนั กัน
เหนือ่ ยอยาํ งไร ไมเํ คยหวน่ั รวํ มใจกนั และสามัคคี
เดินทางไกล ในกลางดง ใจคิดพะวง หลงเพลนิ เขาดอย
เหนอ่ื ยหยุดพัก พอหายเหนื่อย ไมํเฉยเมย มุํงสํูปลายทาง
คนหลงรกั ปาู รักภผู าลาํ ธาร จิตช่ืนบาน ธรรมชาติสดใส
ทางแสนลําบาก ใชํปัญหาใดใด สดช่ืนใจ เพลนิ ในเเขขาาดดออยย

82 คคํูมมู่ ือือสสํงง่ เเสสรริมมิ แแลละะพพัฒฒั นนากาิจกกิจรกรมรลรมกู เลสูกือทเสกั อื ษทะชกั ีวษติ ะใชนีวสติถาในนศสึกถษาานปศรึกะษเภาทลลกู กู เสเสอื อืสาโทมญั ชห้ันลปกั รสะตู ถรมลกูศเกึสือษเาอปกที ่ี 6 75
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

ใบความร๎ู

การเดินทางไกล

การเดินทางไกลไปอยคํู ํายพกั แรมเปน็ กิจกรรมหน่ึงซึง่ ลกู เสอื จะต๎องมกี ารเตรยี มการเรอ่ื งเครอ่ื ง
หลงั ให๎พรอ๎ ม และเหมาะสมกับการเดินทางไกลไปพกั คา๎ งคนื อุปกรณท๑ ีต่ อ๎ งจดั เตรียมแบงํ ออกเป็น 2
ประเภท คอื

1. อุปกรณ๑เฉพาะบุคคล หรือ อปุ กรณ๑ประจาํ ตวั
2. อปุ กรณส๑ วํ นรวม หรอื อุปกรณ๑สําหรบั หมหูํ รอื กอง
อปุ กรณ๑เฉพาะบุคคลควรเป็นสิ่งจําเป็น มีนา้ํ หนักไมํมากนัก ไดแ๎ กํ
1. กระตกิ นา้ํ ใสนํ ้ําสะอาดให๎เต็ม
2. เครอ่ื งใช๎ประจาํ ตัว เชํน ผ๎าเช็ดตัว ผ๎าขาวมา๎ ผ๎าถงุ สบํู แปรงสีฟัน ยาสฟี นั รองเท๎าแตะ
ไฟฉาย ช๎อนสอ๎ ม จานขา๎ ว ยาทากนั ยุง เป็นตน๎
3. เครื่องแบบและเครือ่ งหมายประกอบเคร่อื งแบบ ไดแ๎ กํ เสื้อ กางเกง )กระโปรงสาํ หรับเนตรนาร(ี
ผา้ ผูกคอ หมวก เข็มขัด รองเทา๎ ถุงเทา๎ เปน็ ต๎น
4. ยาประจําตัวและอปุ กรณป๑ ฐมพยาบาล
5. เขม็ ทศิ แผนท่ี สมุดจดบนั ทกึ การเดนิ ทาง ดนิ สอ ปากกา
6. ชดุ กนั ฝน เสอ้ื กันหนาว
7. เครอื่ งนอน เชํน เตน็ ท๑ ผา๎ ปทู ่ีนอน เสื่อ ผา๎ หมํ ถงุ นอน เปน็ ต๎น
8. ถงุ พลาสตกิ เพ่ือใช๎สาํ หรบั ใสํเสอ้ื ผา๎ เปียกช้นื หรอื เสือ้ ผ๎าทีใ่ ช๎แลว๎
9. เชือกหรือยางเพอ่ื ใชผ๎ กู รดั อปุ กรณส๑ ่งิ ของเลก็ ๆ นอ๎ ย ๆ
10. ไมพ๎ ลอง

อปุ กรณ๑ สวํ นรวม หรอื อุปกรณ๑สาํ หรับหมหูํ รอื กอง เป็นอปุ กรณ๑ทใี่ ช๎สาํ หรบั ทุกคนในหมํูหรือกอง
ในการอยูํคํายพกั แรมรวํ มกัน และตอ๎ งแบงํ หน๎าทก่ี นั นําสิ่งของไป เชนํ

- นายหมูํ เอาตะเกียง เลอ่ื ยพร๎า และแผนท่ี
- รองนายหมูํ นาํ พลวั่ สนาม เตน็ ท๑ กระดาษชาํ ระ กระเป๋ายาและอุปกรณ๑ในการปฐมพยาบาล ถัง
นาํ้ กะละมงั ไม๎ขีดไฟ เชื้อไฟ ยาขัดรองเท๎า ยาขัดโลหะ
- หัวหน๎าคนครัว เตรียมกระทะ หมอ๎ ทัพพี หมอ๎ สาํ หรบั ปรุงอาหาร กระทะ เลื่อยทําครวั
- รองหัวหน๎าคนครัว นํากับข๎าว เครื่องปรุง อาหารสด อาหารแห๎ง และอาหารกระป๋องสําหรับ
รับประทานทั้งหมูํ

ส่ิงท่ไี มคํ วรบรรจุเคร่อื งหลัง
ไมคํ วรนาํ ส่ิงของอ่ืน ๆ ที่ไมํจาํ เป็นและของมีคําทุกชนิดไป เชํน สร๎อยคอทองคํา โทรศัพท๑ เคร่ือง

เลนํ รวมถงึ อุปกรณ๑อิเลก็ ทรอนิกส๑ ฯลฯ นาํ เงินติดตัวไปเทําท่ีจําเป็นต๎องใช๎ รวมท้ัง ไมํพกพาอาวุธทุกชนิด
และอุปกรณก๑ ารพนัน สงิ่ ที่จะทําให๎สิง่ ของทอ่ี ยํูในเคร่อื งหลงั เสียหายได๎ เชนํ นํ้า

76 คํูมอื คสมู่ งํือเสส่งรเสมิ รแิมลแะลพะพัฒัฒนนาากกิจิจกกรรรรมมลลกู กู เสเสอื ทือักทษกั ะษชะวี ชิตีวในติ สใถนาสนถศาึกนษศา ึกปษระาเภลทกูลเกู สเสอื ือโสทามชญั ัน้ ปหรละักถสูตมรศลกึ กู ษเสาือปเอีทก่ี 6 83
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6

การบรรจสุ ่ิงของลงในเครือ่ งหลงั
เครื่องหลัง คอื ถุงหรอื กระเปา๋ สําหรบั ใสสํ ง่ิ ของตาํ ง ๆ ใช๎สะพายหลังเพื่อสามารถนําส่งิ ของติดตัว

ไปไดส๎ ะดวก จดั เปน็ ส่งิ สําคญั และมคี วามจําเปน็ มากสําหรับกิจกรรมการเดินทางไกล เพราะลูกเสือต๎อง
ใช๎บรรจอุ ุปกรณป๑ ระจําตวั อุปกรณป๑ ระจาํ หมูํ ทีต่ ๎องนําไปใช๎ในการอยูคํ าํ ยพกั แรม

เครื่องหลังมีหลายชนิดแล๎วแตํลูกเสือจะเลือกใช๎เชํน กระเป๋า ยําม หรือ เปฺ ลูกเสือควรเลือกใช๎
เครือ่ งหลงั ทมี่ ลี กั ษณะคล๎ายเปเฺ พราะมีชอํ งสาํ หรบั แยกบรรจสุ ่ิงของไดห๎ ลายประเภท

การบรรจสุ ง่ิ ของลงในถุงเครื่องหลังหรอื กระเปา๋ มขี ๎อแนะนําดงั นี้
1. เลอื กเครือ่ งหลงั ท่มี ขี นาดพอเหมาะไมํเลก็ หรือใหญจํ นเกนิ ไป
2. บรรจุสิ่งของท่ีมีน้ําหนักมากหรือส่ิงของที่ใช๎ภายหลังไว๎ข๎างลําง สํวนสิ่งของท่ีใช๎กํอนหรือใช๎

รีบดวํ น เชนํ ไฟฉาย เสอ้ื กนั ฝน ไมข๎ ีดไฟ ฯ ให๎บรรจุไวข๎ ๎างบนสุดเพ่ือสามารถนาํ ออกมาใชไ๎ ดอ๎ ยาํ งสะดวก
3. บรรจสุ ิ่งของนมุํ ๆ เชํน ผ๎าเช็ดตัว ผา๎ หมํ เส้อื ผ๎า ฯลฯ ตรงสวํ นทส่ี ัมผสั กับหลังของลูกเสือเพื่อ

จะไดไ๎ มํเจบ็ หลงั ขณะเดินทาง
4. ส่ิงของบางประเภท เชํน ยารักษาโรค ขา๎ วสาร เป็นต๎น ควรใสถํ งุ ผ๎าหรอื ถงุ พลาสตกิ กอํ น แลว๎

จงึ บรรจุลงเครื่องหลงั
5. ในกรณีท่ถี ุงนอน และผา๎ หํมบรรจเุ ครอ่ื งหลังไมํได๎ ให๎ผูกถุงนอนและผ๎าหํมนอนของลูกเสือไว๎

นอกเครื่องหลงั คลุมด๎วยแผํนพลาสตกิ ใสเพ่ือกนั การเปียกน้ํา
6. เคร่ืองหลังที่ลกู เสอื นําไปต๎องไมํหนกั จนเกนิ ไป เพราะจะทาํ ให๎ลกู เสือเหนือ่ ยเร็ว นํา้ หนักของ

เคร่ืองหลังควรหนักไมํเกิน 1 ใน 5 ของน้ําหนักตัวลูกเสือ เชํน ถ๎าลูกเสือหนัก 40 กิโลกรัมเครื่องหลัง

ควรหนักไมํเกิน 8 กิโลกรัม เป็นต๎น

รองเท้าผา้ ใบ ชุดลาลอง

รองเท้าแตะ สมุดบันทึก

ยารักษาโรค ของใช้สว่ นตัว ไฟฉาย

84 คูํมอื สํงเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ลกู เสอื โท ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6
คูม่ อื สง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื สามญั หลักสูตรลูกเสอื เอก 77
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6

เรอื่ งสน้ั ทีเ่ ปน็ ประโยชน์

ข๎อสงั เกตในการเดนิ ทาง

ปัจจุบันมีเหตุการณม๑ ากมายในระหวํางการเดินทางท่ลี กู เสือไมํควรมองข๎าม ดงั เร่ืองจรงิ ตํอไปน้ี
เหตเุ กดิ บนถนนสายตรงระหวํางจังหวัด ขณะท่ีเราขับรถอยูํบนถนนสายหนึ่ง สังเกตเห็นรถคัน
หน่ึงว่ิงมาตามหลังรถ เราแล๎วบีบแตรไลํให๎เราไปอยูํทางเลนขวา จากนั้นจะมีรถอีกคัน ว่ิงแซงขึ้นมา
เหมือนกับวํา รถเราไปตัดหน๎ารถของเขา และจะเรียกให๎เราลงจากรถ มาตกลงคําเสียหาย ประมาณ
10,000 บาท เราไมํยอมจําย และบอกวําไปตกลงกันที่โรงพักและโทรศัพท๑แจ๎งตํารวจแล๎ว ให๎รอสักพัก
เด๋ียวเจา๎ หนา๎ ท่ีกําลังก็จะมา พวกเขากต็ ํอรอง ทําทําจะเข๎าไปเอากุญแจรถเราและจะยึดรถเราไป แตํเรา
ถอดกุญแจใสํกระเปา๋ กางเกงไว๎เรียบร๎อยแลว๎ พวกเขารีรอพักหนึ่งก็บอกวํา “เสียเวลาทํามาหากิน มีนัด
ไปกํอนละ” เมื่อตาํ รวจมาถึง ตํารวจแจ๎งวาํ มนั คือแกง๏ ตบทรพั ย๑ หากใครกลวั ก็จะจาํ ยเงนิ ใหม๎ ันไป...

เรื่องนี้สอนใหร๎ ๎วู ํา ตง้ั สติไตรํตรองอยาํ เชอื่ สงิ่ ท่รี ับรู๎ และให๎แจง๎ ความทันที ที่ 191 หรือ 911

78 คํูมือคสมู่ ํงอื เสสง่ รเสมิ รแมิ ลแะลพะพฒั ฒั นนาากกจิจิ กกรรรรมมลลกู ูกเสเสือทอื ักทษักะษชะวี ชิตีวในิตสใถนาสนถศากึ นษศา กึปษระาเภลทกูลเูกสเสืออื โสทามชญั น้ั ปหรละกั ถสตูมรศลกึ กู ษเสาือปเอที กี่ 6 85
ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6

แผนการจัดกิจกรรมลกู เสอื หลกั สตู รลูกเสือสามญั (ลกู เสอื เอก) ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6

หนวํ ยท่ี 4 การผจญภัย เวลา 1 ชว่ั โมง
แผนการจดั กิจกรรมที่ 17 ผจญภยั ได๎เพอื่ น เถื่อนธาร การสนกุ สุขสม

1. จุดประสงคก์ ารเรียนรู๎
1.1 ลูกเสือสามารถเดินทางไกลด๎วยการเดินเท๎าเป็นระยะทาง 10 ก.ม.หรือเดินทางไกล โดย
รถจักรยาน เป็นระยะทาง 40 ก.ม. และบันทกึ รายงานการเดินทางโดยยอํ ได๎
1.2 ลูกเสอื สามารถเขา๎ รวํ มกิจกรรมการบันเทงิ และการอยคูํ าํ ยพกั แรมได๎

2. เน้อื หา
2.1 กจิ กรรมการเดินทางไกล
2.2 กจิ กรรมการบันเทงิ ในกองลกู เสอื
2.3 การรายงานผลการเดนิ ทางตามวธิ ีการเดนิ ทางของตนเอง

3. ส่อื การเรยี นร๎ู
3.1 แผนภมู เิ พลง
3.2 จกั รยาน
3.3 เครอื่ งหลังท่ีบรรจอุ ุปกรณก๑ ารพกั คา๎ งคืนและประกอบอาหาร

3.4 กลอ๎ งถํายรปู
3.5 แบบบันทึกการรายงาน/สมุดบันทึกการเดนิ ทางไกล
3.6 เอกสารคําสง่ั ปฏิบตั ิการเดินทางไกลจากผก๎ู ํากบั ลกู เสือ

4. กจิ กรรม
4.1 พธิ เี ปดิ ประชมุ กอง )ชักธงขึ้น สวดมนต๑ สงบนงิ่ ตรวจ แยก(
4.2 เพลง หรอื เกม
4.3 กจิ กรรมตามจุดประสงค๑การเรยี นรู๎
1( ผก๎ู าํ กับลูกเสอื จดั ให๎ลกู เสือเดนิ ทางไกลด๎วยเท๎าหรอื เดินทางโดยจักรยานในวันหยดุ เรยี น
2( ขณะเดินทางไกล ให๎ลูกเสือบันทึกเวลาในการเดินทาง จุดพัก จุดผํานที่ประทับใจด๎วยการ

ถํายภาพ การสเกต็ ภาพ การบนั ทกึ ความรูส๎ กึ และความคิดเหน็ ตลอดเสน๎ ทางไปและเดินทาง
กลบั
3( จัดกิจกรรมรํวมกับกองลูกเสือ เชํน การประกอบอาหาร การสํารวจ การรอ๎ งเพลง
การเลนํ ดนตรี การแสดงมายากล ฯลฯ เพือ่ ให๎เกดิ ความสนกุ สนาน และผอํ นคลาย

86 คํมู ือสงํ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6
คู่มือส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลักสตู รลกู เสอื เอก 79
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6

4( นายหมแํู ละผก๎ู าํ กับลกู เสือสนทนาถึงความร๎ูสกึ ความคดิ เห็น ความประทับใจ ปัญหา
อุปสรรค และการแก๎ไขปัญหารํวมกนั บันทกึ ไว๎เปน็ บทเรยี นในการเดินทางและอยูคํ ําย
พกั แรม

5( เมอ่ื กลบั มาถึงโรงเรียน ใหล๎ ูกเสอื แตํละหมสํู งํ ตัวแทน รายงาน/เลาํ ประสบการณ๑ ให๎
ลกู เสอื หมอํู น่ื ๆ ได๎รับทราบ พรอ๎ มท้ังจดั ทาํ เปน็ รายงาน 1 ฉบับ

4.4 ผ๎ูกาํ กบั ลูกเสอื เลําเรอ่ื งส้นั ทเี่ ปน็ ประโยชน๑
4.5 พิธีปิดประชมุ กอง )นดั หมาย ตรวจเครื่องแบบ ชกั ธงลง เลิก(

5. การประเมินผล
ประเมนิ จากสภาพจริงของลูกเสือตลอดการเดนิ ทางไกล และการกลบั มารายงานผลการเดิน

ทางไกล

6. คุณธรรม
1. ความพอเพียง
2. ความรับผดิ ชอบ
3. อุดมการณ๑คณุ ธรรม

การเปดิ -ปดิ ประชุมกอง
- เปิดประชมุ กองกอํ นออกเดินทางไกล
- ปดิ ประชมุ กองเมอ่ื กลับมาจากการเดนิ ทางไกล

80 คํูมอื คสู่มงํือเสสง่ รเสิมรแมิ ลแะลพะพัฒฒั นนาากกจิจิ กกรรรรมมลลูกกู เสเสอื ทือักทษกั ะษชะวี ชติ ีวในิตสใถนาสนถศาึกนษศา ึกปษระาเภลทกูลเกู สเสอื ือโสทามชัญัน้ ปหรละกั ถสูตมรศลึกกู ษเสาือปเอที ก่ี 6 87
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรมที่ 17

เพลง

เพลง ยามคา่

ฟาฺ มดื มวั ลมเยน็ พัดโชยกระหนา่ํ ฝนก็ตกพราํ พราํ ฟาฺ มืดคํ่ามัวไป
ใจคิดถงึ เมอ่ื ครัง้ มาพกั แรมในปูาแสนจะสขุ ใจ ฟาฺ มืดคาํ่ ทไี รพอเบิกบานใจฝนกระหนํา่ ลงมา
เสือเผาํ ไทยรํวมใจมานอนกลางปาู แมเ้ หน็ดแเหมน๎เห่ือนย็ดกาเหยนาเื่อรยาสกขุายอุราาเรเกาสนิ ขุใคอรุ าเกิน
ใคร ถงึ หนกั เอาเบาสู้ สามคั คมี อี ยแู่ สนจะสขุ ใจ
ถึงหนักเอาเบาส๎ู สามคั คีมอี ยํแู สนจะสุขใจ ฟ้ามดื ค่ำ� ทไี ร เลน่ รอบกองไฟเรา สนุกเฮฮา
สนุกเฮฮา ฟฺามดื ค่ําทไี ร เลํนรอบกองไฟเรา

เพลงสขุ ใจอยํคู าํ ย

สขุ ใจเมอื่ ไดม๎ าอยคูํ าํ ย สขุ กายเมสอ่ืขุ ไกดาม้ ยาเพมอ่ืกั ไแดรม๎ าพกั แรม
คืนนพ้ี ระจันทร๑สวยแจมํ พักแรมๆ สุขใจ )ซาํ้ (
รํมเย็นเมือ่ ได๎มาพักใจ
สขุ ใจเมอ่ื ได๎มารอ๎ งเลนํ
สุขนที้ ่ีเราฝนั ใฝู สุขใจเมอ่ื ไดม๎ าพักแรม )ซํา้ (

เพลงเดินทางไกล คาํ ร๎อง/ทาํ นอง สรุ ชยั นําพา

เดินทางไกล เดนิ ทางไกล ไปสไิ ป ไไปปสสไิ ิไปปดไว้ ปยสกไิ นั ป ดว๎ ยกัน
เหน่ือเหยอนย่ือา่ยงอไยราํ ไงมไเ่รคยไหมวเํ คนั่ ยหว่ัน รํวมใจกัน และสามคั คี

เดินทางไกล ในกลางดง ใจคดิ พะวใจงคหิดลพงะเพวงลนิ หเลขงาเดพอลยินเขาดอย

เหนือ่ ยหยดุ พัก พอหายเหนอื่ ย ไมํเฉยเมย มงํุ สูํปลายทาง

คนหลงรกั ปูา รักภูผาลาํ ธาร จติ ช่ือนบาน ธรรมชาตสิ ดใส

ทางแสนลาํ บาก ใชปํ ัญหาใดใด สดช่ืนใจ เพลนิ ในเขาดอย

88 คํมู ือสงํ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ลกู เสอื โท ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6
คมู่ ือสง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสือทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามัญ หลักสูตรลูกเสอื เอก 81
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

เร่ืองส้นั ที่เป็นประโยชน์

นกั จักรยาน 2 ล๎อ น.ส.จุฑามาส ชํุมเมอื งปกั ผู๎แตํง

ลูกเสอื เดชาชัย กําลงั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4 และเรียนหลักสูตรลูกเสือตรี มีความมุํงม่ันตั้งใจ
วําในการเป็นลูกเสือสามัญต๎องให๎มีโอกาสประดับเคร่ืองหมายวิชาพิเศษลูกเสือสามัญ เดชาชัย พยายาม
เลือกกิจกรรมทไี่ ดป๎ ฏบิ ัติอยํูแล๎ว เพื่องํายตํอการตํอยอดให๎สมบูรณ๑ยิ่งข้ึน เขาตัดสินใจเลือกท่ีจะเป็น “นัก
จักรยาน 2 ลอ๎ ” เนื่องจากเขามจี กั รยาน 2 ล๎อ เป็นของตัวเอง ใช๎เป็นพาหนะ ในการเดินทาง ไป – กลับ

ระหวํางบ๎านและโรงเรียนมาตั้งแตํเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ความจริงเดชาชัย ขี่จักรยานเป็นต้ังแตํ
เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 2 แตํแมํเพิ่งอนุญาตให๎ขี่จักรยานไปโรงเรียนเมื่อเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
เขาโชคดีที่ได๎เรียนรู๎วิธีซํอมจักรยานโดยเฉพาะการเปลี่ยนยาง ปะยางและปรับอานจากลุงโชคเจ๎าของ
ร๎านซอํ มจักรยานใกลบ๎ ๎าน ในการรวํ มกิจกรรมลกู เสือทโ่ี รงเรียนเขาไดเ๎ รยี นรู๎เรอ่ื งความปลอดภยั ในการใช๎
รถใช๎ถนน ทุกครั้งที่มีกิจกรรมเก่ียวกับการขับข่ีจักรยานเขาจะเข๎ารํวมกิจกรรมอยํางสม่ําเสมอ เชํน

กจิ กรรมปนั่ เพื่อสุขภาพในชมุ ชน กจิ กรรมเดนิ ทางและแรมคืนของลกู เสอื สามญั ดว๎ ยจักรยาน 2 ล๎อ และที่
ทําใหเ๎ ดชาชยั ประทบั ใจและภมู ใิ จมากที่สุดที่การขี่จักรยานของเขาได๎มีโอกาสเข๎ารํวมเป็นคร้ังสําคัญใน
ชีวติ คอื “กจิ กรรมปัน่ เพื่อพํอ” เมือ่ เดอื นธนั วาคม 2558

เดชาชัย ไดท๎ าํ รายงานเกี่ยวกับกจิ กรรมจักรยานของเขาใหผ๎ ๎กู ํากบั กองลูกเสอื ทราบ และส่ิงทเี่ ขา
มงุํ ม่ันตัง้ ใจกเ็ ปน็ ความจริงนนั่ คอื เขาได๎รบั การประดบั เครื่องหมายวิชาพิเศษลูกเสือสามัญ “นักจักรยาน
2 ลอ๎ ”

เรื่องนส้ี อนให๎รวู๎ าํ ความมงํุ มน่ั ต้งั ใจในการปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ใด สาํ เรจ็ ยอํ มกํอให๎เกดิ ความภาคภมู ใิ จ

82 คูํมือคสมู่ งํอื เสส่งรเสมิ รแมิ ลแะลพะพัฒัฒนนาากกิจิจกกรรรรมมลลูกูกเสเสอื ทอื ักทษักะษชะีวชิตีวในติ สใถนาสนถศากึ นษศา ึกปษระาเภลทกูลเกู สเสอื อื โสทามชัญัน้ ปหรละักถสตูมรศลึกกู ษเสาือปเอที ก่ี 6 89
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6

ใบความรู๎

สนกุ สขุ ใจ

การเดนิ ทางไกลไปอยคูํ าํ ยพักแรมรํวมกนั ของกองลูกเสือ เป็นการไดป๎ ระสบการณ๑ ดังทวี่ ํา
“ผจญภัย ไดเ๎ พอ่ื น เถอื่ นธาร การสนกุ สขุ สม”

ผจญภัย : หมายถงึ การทาํ กจิ กรรมทที่ ๎าทายความสามารถ
ไดเ๎ พอื่ น : หมายถงึ การไดพ๎ บปะผคู๎ น และการสรา๎ งความสมั พันธร๑ ะหวาํ งการทาํ กจิ กรรม
เถ่ือนธาร : หมายถึง ได๎พบกับความยากลาํ บากในการเดนิ ทาง การได๎เรยี นรู๎ธรรมชาติ
ปาู เขาลําเนาไพร ทเ่ี ราไมคํ ุ๎นเคย
การสนกุ : หมายถึง มคี วามสนกุ สนาน ไมตํ ดิ อยูใํ นกรอบ ไดท๎ าํ อาหารเอง ไดท๎ านอาหารที่
อาจไมํสนกุ แตกํ อ็ รอํ ย รสชาตทิ ่มี ิลืมเลอื น ไดอ๎ าบนํ้ากลางลาํ ธาร ได๎พกั
สุขสม : หมายถึง ในทพี่ กั ที่ไมสํ ะดวก แตํสนุกสนาน
มีความสขุ ประทับใจ มิร๎ลู มื ตราตรึงในความทรงจาํ ตลอดไป

90 คํูมือสงํ เสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6
คู่มือส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลกั สูตรลกู เสือเอก 83
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6

แผนการจดั กจิ กรรมลูกเสือ หลักสตู รลกู เสือสามัญ (ลกู เสอื เอก) ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6

หนวํ ยที่ 4 การผจญภยั เวลา 2 ช่ัวโมง
แผนการจัดกิจกรรมท่ี 18 แผนทีแ่ ละเขม็ ทิศ

1. จุดประสงค์การเรียนรู๎
1.1 ลกู เสือสามารถใช๎เขม็ ทิศการหาทิศได๎
1.2 ลกู เสอื สามารถอธบิ ายสญั ลกั ษณต๑ ํางๆ ในแผนทีไ่ ด๎
1.3 ลกู เสือสามารถบอกพกิ ัดในแผนทไี่ ด๎

2. เนอ้ื หา
การใชเ๎ ข็มทศิ ในการหาทศิ และการหาพกิ ดั ในแผนท่ี

3. ส่อื การเรียนร๎ู
3.1 แผนภมู ิเพลง
3.2 เกม
3.3 เขม็ ทศิ แบบซิลวา
3.4 แผนที่
3.5 เข็มทศิ จําลอง
3.6 ใบความร๎ู
3.7 เร่ืองสนั้ ที่เปน็ ประโยชน๑

4. กจิ กรรม
4.1 กจิ กรรมคร้ังท่ี 1
1( พธิ เี ปดิ ประชมุ กอง )ชักธงขน้ึ สวดมนต๑ สงบนง่ิ ตรวจ แยก(
2( เพลง หรอื เกม
3( กิจกรรมตามจดุ ประสงคก๑ ารเรยี นรู๎
)1( ผก๎ู ํากบั ลกู เสือทบทวนการใช๎แผนทแ่ี ละเขม็ ทิศท่เี คยเรยี นมา
)2( ผ๎กู ํากบั ลกู เสอื ให๎หมํูลูกเสอื เขา๎ เรยี นตามฐาน ดังนี้
ฐานที่ 1 ร๎ูจกั ทิศ และการหาทศิ จากแผนท่ี
ฐานที่ 2 เรยี นรู๎เส๎นความสูงสญั ลกั ษณ๑ในแผนที่
ฐานท่ี 3 หาตําแหนํงทตี่ ั้งโดยระบบพกิ ดั กรดิ
)3( ผูก๎ าํ กับลูกเสือและลกู เสือรวํ มกันสรุป
4( ผก๎ู ํากบั ลูกเสอื เลําเรื่องสั้นทีเ่ ปน็ ประโยชน๑
5( พธิ ปี ิดประชมุ กอง )นดั หมาย ตรวจเคร่อื งแบบ ชกั ธงลง เลกิ (

84 คํูมือคสูม่ ํงือเสส่งรเสิมรแมิ ลแะลพะพฒั ฒั นนาากกิจจิ กกรรรรมมลลกู กู เสเสอื ทือกัทษกั ะษชะวี ชิตวีในิตสใถนาสนถศาึกนษศา กึปษระาเภลทกูลเกู สเสืออื โสทามชญั ั้นปหรละักถสูตมรศลกึ ูกษเสาือปเอีทก่ี 6 91
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6

4.2 กจิ กรรมครงั้ ท่ี 2
1( พธิ เี ปดิ ประชุมกอง )ชักธงขนึ้ สวดมนต๑ สงบนง่ิ ตรวจ แยก(
2( เพลง หรอื เกม
3( กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก๑ ารเรียนรู๎
)1( หมลํู ูกเสอื เข๎าเรยี นตามฐานกิจกรรม ดงั น้ี
ฐานท่ี 1 เกมขา๎ มทุํง
ฐานท่ี 2 เกมหาเหรียญบาท
ฐานท่ี 3 หน๎าปดั นาฬกิ า
)2( ผก๎ู าํ กบั ลกู เสือและลูกเสอื รวํ มกนั สรปุ การเรยี นร๎ู เร่ืองทศิ และการหาทิศดว๎ ยเขม็ ทิศ
4( ผู๎กํากบั ลูกเสอื เลาํ เรอื่ งสนั้ ที่เปน็ ประโยชน๑
5( พธิ ีปิดประชมุ กอง )นัดหมาย ตรวจเคร่อื งแบบ ชักธงลง เลิก(

5. การประเมินผล
สงั เกต การมสี วํ นรวํ มในการทาํ กจิ กรรม และประเมนิ ความถกู ต๎องในการหาทิศ

6. คุณธรรม
ความรบั ผิดชอบ

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรมที่ 18

เพลง

เพลงเดินทางไกล คาํ ร๎อง/ทํานอง สุรชยั นาํ พา

เดินทางไกล เดินทางไกล ไปสิไป ไปสไิ ป ดว้๎ ยกนัน
เหน่ือเหยนอยื่อา่ยงอไยราํ ไงมไรเ่ คยไหมวเํ คนั่ ยหว่นั รํวมใจกนั และสามคั คี
ใจคดิ พะวง หลงเพลนิ เเขขาาดดออยย
เดนิ ทางไกล ในกลางดง
ไมเํ ฉยเมย มุงํ สปํู ลายทาง
เหนื่อยหยุดพกั พอหายเหนอ่ื ย
จิตชื่นบาน ธรรมชาติสดใส
คนหลงรกั ปาู รักภผู าลําธาร
สดช่ืนใจ เพลนิ ในเขาดอย
ทางแสนลาํ บาก ใชํปัญหาใดใด

92 คมูํ ือสงํ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6
คูม่ อื ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลักสูตรลูกเสือเอก 85
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6

เกม

เกม หาทศิ
วธิ เี ลํน
ผู๎เลํนเข๎าแถวตอนลึกตามจํานวนหมํู ขีดเส๎นจากหมูํหํางออกไปประมาณ 8 เมตร นําเข็มทิศ
วางไว๎ กระดาษแข็งตเี ส๎นตามทิศทั้งแปดทศิ ฝาขวดนํา้ อดั ลมเขยี นตัวเลขเปน็ มมุ ตาํ งๆ เชนํ 45, 90 ,
135 , 180 , 225 , 270 , 315 , และ 0 เมื่อได๎ยินสัญญาณเร่ิม ให๎นายหมํูหันเข็มทิศให๎ตรงทิศ
เหนอื แลว๎ หยบิ ฝาขวดนา้ํ อัดลมอันหนึง่ วางลงบนกระดาษให๎ตรงตามมุมองศาที่กําหนด แล๎ววิ่งไปสัมผัส
มอื กับคนท่ี 2 คนที่ 2 หยบิ ฝานาํ้ อดั ลม 1 อัน ดจู ํานวนองศา แล๎ววางไว๎ตามมมุ ทก่ี ําหนด เสร็จแลว๎ วิ่ง
ไปสัมผสั มือคนที่ 3 ทาํ ตอํ ไปจนครบท้ังแปดทิศ )ถ๎าผ๎ูเลนํ ไมคํ รบ 8 คน ใหเ๎ ลนํ ซํ้าคนแรกใหม(ํ

การตัดสนิ หมใูํ ดถูกตอ๎ งมากท่สี ดุ ชนะ

86 คมํู อื คสูม่ งํอื เสสง่ รเสิมรแิมลแะลพะพัฒัฒนนาากกิจิจกกรรรรมมลลกู ูกเสเสือทอื กัทษกั ะษชะวี ชติ วีในิตสใถนาสนถศาึกนษศา ึกปษระาเภลทกูลเกู สเสอื ือโสทามชัญั้นปหรละักถสตูมรศลกึ กู ษเสาอื ปเอีทก่ี 6 93
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

ใบความรู๎

เรื่องทิศ และการใช๎เข็มทศิ

ทิศทงั้ 8

เหนือ

ตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ตะวนั ออกเฉียงเหนือ

ตะวนั ตก ตะวนั ออก

ตะวนั ตกเฉยี งใต๎ ตะวนั ออกเฉยี งใต๎

ใต๎

อุดร )เหนอื ( NORTH
อีสาน )ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ( NORTH EAST

บรู พา )ตะวนั ออก( EAST
อาคเนย๑ )ตะวันออกเฉยี งใต๎( SOUTH EAST
ทกั ษิณ )ใต(๎ SOUTH
หรดี )ตะวนั ตกเฉยี งใต(๎ SOUTH WEST
ประจมิ )ตะวนั ตก( WEST

พายัพ )ตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ( NORTH WEST

เส๎นความสูงในแผนท่ี
บริเวณภูเขาจะมีเส๎นสีน�ําตาลเป็นวงรอบภูเขาเป็นวงๆ แตํละวงนั้นจะหํางไมํเทํากัน บางวง

ใกล๎ชิดกันบางวงหํางกันเป็นเส๎นแสดงความสูงจากระดับน�ําทะเลปานกลาง )วัดที่เกาะหลัก

94 คมูํ อื สํงเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6
ค่มู ือสง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื สามญั หลักสตู รลูกเสอื เอก 87
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6

จ.ประจวบครี ีขันธ(๑ เราจะทราบวําภูเขาน้สี ูงเทําใด ลักษณะชนั หรือลาดได๎จากเส๎นนี้ โดยระยะแตํละวงน้ัน
สงู ตาํ งกัน 500 ฟตุ ถ๎าวงอยชํู ิดกันก็จะชันวงหาํ งกันก็จะลาด

การอํานแผนทใ่ี นระบบพิกดั กริด
วางแผนที่ในแนวราบ บนพ้นื ที่ได๎ระดบั ทิศเหนอื ของแผนท่ีชไ้ี ปทางทศิ เหนือ จัดให๎แนวตําง ๆ ใน

แผนท่ีขนานกบั แนวท่เี ป็นจริงในภูมิประเทศทกุ แนว
โดยทัว่ ไปแผนท่จี ะบอกท่ตี งั้ ของส่งิ ตาํ ง ๆ ระบบที่ใช๎ในการหาที่ตั้งของสิ่งตําง ๆ ท่ีนิยมใช๎กันมี 2

ระบบ คืดระบบพกิ ดั ภูมิศาสตร๑ และระบบพิกดั ตารางหรือพิกดั กริด
1.ระบบพิกัดภูมศิ าสตร์

ใชค๎ าํ ละตจิ ูดหรอื เส๎นรงุ๎ และลองติจดู หรอื เสน๎ แวง เป็นตวั กําหนดท่ีตงั้ ของสงิ่ ตาํ ง ๆ
ละติจูด เป็นเส๎นที่ขีดรอบโลกตามแนวนอนขนานกันโดยมีเส๎นศูนย๑สูตร )อิเควเตอร๑( เป็นเส๎น
กําหนดเขตแบํงโลกเป็นซีกโลกเหนือและซีกโลกใต๎ เส๎นละติจูดท่ีอยูํเหนือและใต๎เส๎นศูนย๑สูตรเรียกวํา
ละตจิ ูดเหนอื และละตจิ ดู ใต๎ มจี ํานวนซีกโลกละ 90 เส๎นมีหนวํ ยเป็นองศา
ลองติจูด เป็นเส๎นท่ีลากจากจากข้ัวโลกเหนือมายังข้ัวโลกใต๎โดยเร่ิมจากเส๎นท่ีลากผํานเมือง
กรนี ชิ ประเทศอังกฤษเป็นเส๎นลองติจดู ที่ 0 องศาถา๎ วัดไปทางขวามอื จะเป็นซกี โลกตะวันออกมี 180 เส๎น
ถ๎าวัดไปทางซา๎ ยมอื จะเป็นซีกโลกตะวนั ตกมี 180 เส๎น มีนวํ ยเป็นองศาเชํนกนั

88 คมูํ อื คสู่มํงอื เสส่งรเสิมรแิมลแะลพะพฒั ัฒนนาากกจิจิ กกรรรรมมลลูกกู เสเสือทือกัทษกั ะษชะีวชิตวีในิตสใถนาสนถศากึ นษศา กึปษระาเภลทกูลเูกสเสือือโสทามชญั นั้ ปหรละักถสตูมรศลึกูกษเสาือปเอีทก่ี 6 95
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

2.ระบบพิกดั ตารางหรือพกิ ัดกริด
อาศัยเสน๎ ตรง 2 ชุด เปน็ ตวั กําหนดท่ีต้ังของส่ิงตาํ ง ๆ เสน๎ คขูํ นานในแนวต้งั เรียกวํา เสน๎ พกิ ัดต้ัง

เส๎นคูํขนานในแนวนอนเรียกวํา เส๎นพิกัดราบหรือนอน เส๎นคํูขนานทั้ง 2 ชุดจะตัดกันเป็นรูปสี่เหลี่ยม
จตุรสั เรยี กวาํ พิกัดกริดระหวาํ งเส๎นคขูํ นานแตํละคทูํ ั้งแนวตง้ั และแนวนอนยังแบํงยํอยออกเป็น 10 ชํอง
เทาํ ๆ กัน

ระบบนี้จะมีในแผนท่ที ่ลี ะเอยี ดมากคือมาตราสวํ น1ตํอ 50,000 ขน้ึ ไป )1 ซ.ม.ตํอคร่ึงกม.(

ตวั อยาํ งการหาพิกัดจดุ A ในระบบตาราง
)1( ดตู ารางส่ีเหลย่ี มจตุรัสทีล่ อ๎ มรอบจุด A
)2( อาํ นเส๎นพกิ ดั ในแนวนอน โดยอํานตัวเลขทกี่ าํ กับเสน๎ แนวนอนจากซ๎ายไปขวาทีผ่ ํานจดุ A
)3( อาํ นเส๎นพิกดั ในแนวตงั้ โดยอาํ นตวั เลขที่กาํ กบั เสน๎ แนวนอนจากลาํ งขนึ้ บนทีผ่ ํานจดุ A
)4( นาํ เลขชุดท่อี าํ นได๎ในข๎อ )2( และ )3( มาเรยี งตอํ กนั ตามลาํ ดับ ตวั เลขน้ีจะเปน็ พิกัดของจดุ A

จุด A = 937604
จุด B = 920585
จดุ C = ุุุุ..
จดุ X = ุุุุ.
จดุ Y = ุุุุ.

จากตารางนี้ตําแหนํงของจุด A จะอยูํที่เส๎น 93.7 ตัดกับเส๎น 60.4 จึงเขียนและอํานเป็น
937604 เรียงกัน โดยไมํเขียนและไมํอํานวําจุด ตําแหนํงจุด B ก็เชํนเดียวกันอยูํที่เส๎น 92 พอดีก็คือ
92.0 ตัดกับเส๎นท่ี 58.5 ก็อําน 920585

96 คมูํ ือสงํ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสอื โท ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6
คูม่ อื ส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสือทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื สามัญ หลกั สูตรลูกเสือเอก 89
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6

การใชเ๎ ข็มทศิ ในทีก่ ลางแจ๎ง

สํวนประกอบเขม็ ทศิ แบบซลิ วา
1. แผนํ ฐานเป็นตวั วัตถโุ ปรงํ ใสแนวขอบมีมาตราสวํ นเป็นนิว้ หรือเซนตเิ มตร
2. แนวขีดมาตราสวํ น
3. ลูกศรชี้ทิศทาง
4. เลนส๑ขยาย
5. ตลบั เขม็ ทศิ เปน็ วงกลมหมุนได๎ บนกรอบหนา๎ ปดั ของตลับเข็มทศิ มี 360 องศา
6. ปลายเข็มทศิ เป็นแมํเหล็กสแี ดง ซึ่งจะชี้ไปทางทิศเหนอื เสมอ
7. ชือ่ ตาํ แหนงํ สาํ หรบั ตั้งมมุ และอาํ นคาํ มมุ อยูตํ รงปลายลูกศรช้ที ศิ ทาง

การหาทศิ
วางเข็มทิศในแนวระนาบ ปลายเขม็ ทิศข๎างหนึ่งจะชี้ไปทางทศิ เหนอื คอํ ย ๆหมุนหน๎าปัดของเข็ม

ทศิ ให๎ตาํ แหนงํ ตวั เลขหรอื อกั ษรทบี่ อกทิศเหนอื บนหนา๎ ปัดตรงกบั ปลายเหนือของเขม็ ทศิ เมอื่ ปรบั เข็มตรง
กบั ทิศเหนอื แล๎วจะสามารถอํานทศิ ตาํ งๆ ได๎อยํางถูกตอ๎ งจากหนา๎ ปัดเข็มทศิ

ลูกเสอื สามารถนําเขม็ ทิศไปใช๎ในกิจกรรมตาํ งๆไดเ๎ ชํนการเดนิ ทางไกลการสํารวจปาู การผจญภยั
การสํารวจและการเยือนสถานท่ีเป็นต๎น เมื่อเร่ิมออกเดินทางลูกเสือควรหาทิศท่ีจะมํุงหน๎าไปให๎ทราบ
กอํ นวําเป็นทศิ ใด เมอื่ เกิดหลงทศิ หรอื หลงทางจะสามารถหาทศิ ทางตาํ ง ๆ จากเข็มทศิ ได๎

กรณบี อกมมุ อะซมิ ทุ มาให๎และต๎องการรู๎วาํ จะตอ๎ งเดินทางไปในทศิ ทางใด
สมมุตวิ ํามุมอะซมิ ุท 60 องศา

1( วางเข็มทศิ ในแนวระดับใหเ๎ ขม็ แมํเหล็กหมนุ ไปมาไดอ๎ ิสระ
2( หมุนกรอบหนา๎ ปัดของตลบั เข็มทิศใหเ๎ ลข 60 อยตํู รงขดี ตาํ แหนํงตั้งมมุ

90 คูํมือคสมู่ ํงอื เสสง่ รเสิมรแิมลแะลพะพฒั ฒั นนาากกิจจิ กกรรรรมมลลกู ูกเสเสอื ทอื กัทษักะษชะวี ชิตีวในติ สใถนาสนถศาึกนษศา ึกปษระาเภลทกูลเกู สเสอื ือโสทามชัญ้นั ปหรละักถสูตมรศลึกูกษเสาือปเอที กี่ 6 97
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6

3( หันตัวเข็มทิศท้ังฐานไปจนกวําเข็มแมํเหล็กสีแดงภายในตลับเข็มทิศช้ีตรงกับอักษร N บน
กรอบหน๎าปดั ทบั สนิทกบั เครื่องหมายหัวลูกศรทพ่ี มิ พ๑ไว๎

4( เมือ่ ลูกศรช้ีทศิ ทางชไ้ี ปทิศใด ให๎เดินไปตามทิศทางนั้น โดยเล็งหาจุดเดํนที่อยูํในแนวลูกศรชี้
ทิศทางเปน็ หลัก แลว๎ เดินตรงไปยังส่งิ นัน้

กรณีที่จะหาคาํ ของมุมอะซมิ ทุ จากตาบลทเ่ี รายนื อยํู ไปยังตาบลท่ีเราจะเดินทางไป
1( วางเข็มทศิ ในแนวระดับให๎เขม็ แมํเหล็กหมนุ ไปมาไดอ๎ ิสระ
2( หันลูกศรช้ีทิศทางไปยังจุดหรอื ตําแหนงํ ท่ีเราจะเดินทางไป
3( หมุนกรอบหนา๎ ปดั เขม็ ทศิ ไปจนกวาํ อักษร Nบนกรอบหน๎าปดั อยํูตรงปลายเขม็ แมํเหล็กสีแดง

ในตลับเข็มทศิ
4( ตวั เลขบนกรอบหน๎าปดั จะอยตํู รงขีดตาํ แหนํงสาํ หรบั ตงั้ มมุ และอํานคํามุม คือคําของมุมที่เรา

ต๎องการทราบ

การใช๎เข็มทศิ หาพกิ ดั ตาแหนงํ ในแผนท่ี
กํอนอื่นจะตอ๎ งร๎วู ําตนเองอยํูณทใี่ ดของแผนท่ี โดยใชเ๎ ขม็ ทิศชํวยในการวางแผนที่ใหถ๎ ูกทิศทางหรอื

วางแผนทใ่ี ห๎ขนานกบั เส๎นทางหรือถนนพน้ื ทจี่ รงิ การวางขนานกับเสน๎ ทางต๎องระวังไมํให๎กลับทางทิศเหนือ
– ใต๎ โดยตรวจสอบสงิ่ อน่ื บนแผนทป่ี ระกอบอยาํ งนอ๎ ย 2 แหงํ

วางเข็มทิศบนแผนทใ่ี หเ๎ ครื่องหมายศรชีท้ ศิ เหนอื ทางแนวทศิ เหนือในแผนทจ่ี ากนั้นก็หมุนกระดาษ
แผนที่ )อยําให๎เขม็ ทิศเคล่ือน( ไปจนเข็มแดงศรช้ที ิศเหนอื แล๎วจึงกดเขม็ ทศิ ตดิ กบั แผนที่แล๎วหมุนแปฺนบอก
องศาให๎ตรงทิศ

จากนั้นใหม๎ องหาท่หี มายจริงบนภมู ิประเทศกบั บนแผนท่สี กั 2 แหงํ เชนํ บนภูมิประเทศ A และ a

บนแผนท่ีกบั B บนภูมิประเทศและ b บนแผนที่ใช๎บรรทัดลากเส๎นจาก A a และ B b และตํอเส๎นให๎ตัด
กนั จะได๎ตาํ แหนงํ c บนแผนท่คี ือที่ท่เี รายนื อยูํ

98 คํมู ือสงํ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6
คมู่ ือส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสือทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามญั หลกั สูตรลกู เสือเอก 91
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6


Click to View FlipBook Version