The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ป.6

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by THAWATSON SINGSUTH, 2020-09-04 00:02:26

คู่มือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ป.6

คู่มือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ป.6

ใบความร๎ู

การทาทพี่ กั สาหรบั พักแรม
1. การทาทพี่ กั แรมชัว่ คราว

การเดนิ ทางไกลและไปอยคูํ าํ ยพกั แรม จาํ เปน็ จะตอ๎ งมีเตน็ ท๑)กระโจม( สาํ หรบั กางนอน โดยปกติ
จะใช๎เต็นท๑เด่ียวซง่ึ ประกอบดว๎ ยผา๎ 2 ผืน มีกระดมุ ติดเพื่อตํอเป็นผนื เดยี วกนั ได๎ เตน็ ท๑นีน้ อนได๎ 2 คน
เปน็ ที่ร๎จู กั กนั วําเป็นเตน็ ท๑บคุ คล 2 คน หรือกระโจม 5 ชาย ซง่ึ มสี ํวนประกอบสาํ คญั คอื

1. ผา๎ กระโจม 2 ผืน )กวา๎ งยาวผืนละ 1.44 x 1.22 เมตร(
2. เสากระโจม 2 ตน๎ ต๎นละ 3 ทํอน )ตอํ เขา๎ ด๎วยกนั (
3. เชอื กรั้ง 2 เสน๎ )ร้งั หัว ร้ังท๎าย(
4. สมอบก 10 ตัว )ใช๎ตอกกับพนื้ เพ่อื ผกู เชอื กดงึ ผา๎ เต็นท(๑
วธิ ีการกางเตน็ ท์
การกางเต็นทถ๑ อื ความรวดเร็ว ควรกางให๎เสรจ็ ภายในเวลาไมํเกิน 10 นาที ควรเลือกสถานท่ีกาง
กระโจมในที่ดอนและแห๎ง หนั ด๎านข๎างขวางทศิ ทางลม ตอกหมดุ )สมอบก( ทุกตัวใหแ๎ นนํ ขุดรอํ งระบาย
น�ํารอบกระโจม ใหป๎ ลายรอํ งนาํ๎ ไหลลงสํูทตี่ ํา และปรบั พนื้ ทใี่ หเ๎ รยี บใหแ๎ นนํ การกางเตน็ ทป๑ ฏิบัตดิ งั นี้
1. ตงั้ เสาหลกั ทงั้ สองตน๎
2. ตดิ กระดุมผ๎ากระโจม 2 ผนื เข๎าด๎วยกนั
3. ผูกเชอื กรั้งหวั ทา๎ ยเต็นท๑เข๎ากบั สมอบก ดงึ ใหต๎ ึง
การทาเตน็ ท์เพือ่ กนั น้า
การทาํ เตน็ ทใ๑ ห๎สามารถกนั นํ้าได๎ มีวิธที าํ ที่งํายที่สุด คือ วางผ๎าเต็นท๑ไว๎บนโต๏ะ แล๎วใช๎พาราฟิน
หรอื ขผ้ี ้งึ ถูสวํ นผวิ นอกใหท๎ ่วั จากนน้ั ใช๎เตารดี ทอ่ี ณุ หภูมิปานกลางรดี ทบั บนผิวทท่ี าไว๎ เพือ่ ให๎ขี้ผึ้งละลาย
ไหลซมึ ทบั เส๎นด๎ายทุกเส๎นท่ปี ระกอบขนึ้ เปน็ ผา๎
2. การดดั แปลงวัตถทุ าเป็นท่ีพกั ชั่วคราวหรือท่พี ักฉุกเฉนิ
บางคร้งั ถงึ แม๎จะได๎เตรยี มการปฺองกนั ไวล๎ ํวงหน๎าแลว๎ แตํสถานการณ๑ที่ไมํคาดคิดอาจเกิดข้ึนได๎
และทําใหจ๎ ําเป็นต๎องสร๎างที่พักฉุกเฉินขึ้นอยํางรีบเรํง เชํน เกิดหลงทาง หรือมีสมาชิกประสบอุบัติเหตุ
หรอื มสี ภาพอากาศเลวร๎ายเกดิ ขึ้น หรือเสน๎ ทางทีก่ ลับถูกตัดขาดเน่ืองด๎วยนํ้าทํวมกะทันหัน เป็นต๎น ใน
การพักแรมในชํวงระยะเวลาสั้นๆ ในสถานการณ๑ดังกลําวน้ัน ลูกเสือสามารถดัดแปลงธรรมชาติ ภูมิ
ประเทศ หรือวสั ดทุ อ่ี ยูใํ นท๎องถ่ินจดั สร๎างเป็นทพ่ี กั ช่วั คราวได๎ โดย
1. นําผ๎าหํมหรือผ๎าขาวม๎าใช๎ตัดแปลงเป็นหลังคาท่ีพัก หรือทําเป็นลักษณะคล๎ายเต็นท๑ โดยใช๎
พลองหรอื กง่ิ ไม๎เปน็ สวํ นประกอบ
2. นาํ ซังข๎าว ใบไม๎ ใบหญ๎า มาใช๎ทาํ เป็นหลงั คาเพงิ พักกันแดดและกนั ลม โดยใช๎ไมพ๎ ลอง ก่ิงไม๎
เชือก เป็นสํวนประกอบทาํ เปน็ รูปเพงิ พกั

142 คํมู อื คสู่มงํอื เสสง่ รเสิมรแิมลแะลพะพฒั ัฒนนาากกจิิจกกรรรรมมลลกู กู เสเสือทอื ักทษกั ะษชะีวชติ วีในิตสใถนาสนถศากึ นษศา กึปษระาเภลทกูลเกู สเสืออื โสทามชัญนั้ ปหรละกั ถสูตมรศลึกกู ษเสาือปเอที ก่ี 6 149
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6

3. บรเิ วณท่อี ยรูํ ะหวาํ งต๎นไมล๎ อ๎ มรอบ เชนํ ต๎นไผํท่ีมที ิศทางเข๎าออกเฉพาะ สามารถปัดกวาด
ตบแตงํ ดัดแปลงเปน็ ท่ีพักได๎

4. บรเิ วณเพิงพกั หรอื ถาํ้ ทีอ่ ากาศถาํ ยเทได๎สะดวก ดดั แปลงเป็นที่พกั กนั แดด กันลม กนั ฝน และ
ใชเ๎ ปน็ ท่ีพกั แรมได๎

3. การจดั คํายพักแรม
กอํ นท่จี ะไปตง้ั คาํ ยพักแรมน้นั ควรจะได๎มีการศึกษาลักษณะพ้ืนท่ีภูมิประเทศให๎ดีเสียกํอน โดย

พจิ ารณาความเหมาะสมจากส่ิงตอํ ไปนี้
1. อยํูบนที่สูง หรือเชิงเขา เวลาฝนตกมีทางระบายนํ้าออกอยํางรวดเร็ว ทําให๎ไมํมีนํ้าขังใน

บรเิ วณคําย หรอื มฉิ ะนนั้ ควรต้งั คาํ ยบริเวณที่เนอ้ื ดนิ เปน็ ดินปนทราย เพ่ือให๎นํา้ ดดู ซึมได๎โดยรวดเรว็
2. ไมคํ วรอยใํู กล๎สถานทท่ี ม่ี ีคนพลกุ พลําน เชนํ สถานที่ตากอากาศ
3. ไมํควรอยูํใกลถ๎ นนหรอื ทางรถไฟ เพราะอาจเกดิ อุบตั ิเหตุกบั ลูกเสือได๎
4. ไมคํ วรอยูใํ กล๎ต๎นไมใ๎ หญํ เพราะเมื่อเกดิ ลมพายุอาจหักโคํนลงมาทําให๎เกดิ อนั ตรายได๎
5. สถานที่ต้ังคําย ควรมีน้ําดื่มนํ้าใช๎เพียงพอ แตํไมํควรอยํูใกล๎แมํน้ํา ลําคลอง หนองหรือบึง

เพราะอาจเกดิ อบุ ัติเหตุกบั ลกู เสอื ได๎
6. สถานท่ตี ัง้ คาํ ย ไมํควรอยํไู กลจากตลาดมากนัก ทั้งนี้เพื่อสะดวกแกํการไปซ้ือกับข๎าว และไมํ

ควรอยูํไกลจากโรงพยาบาลสงํ เสริมสุขภาพตําบลมากนัก เพ่ือวําเมื่อเกิดการเจ็บปูวยหรือเกิดอุบัติเหตุ
รา๎ ยแรง จะไดช๎ ํวยเหลอื ไดท๎ ันทวํ งที

7. ควรอยใํู นสถานทที่ ีป่ ลอดภยั จากผ๎กู ํอการรา๎ ย

4. การอยคํู ํายพกั แรม
การพกั แรม กระทาํ ภายหลังจากการเดินทางมาแล๎ว เพอ่ื ใหล๎ ูกเสือได๎พกั ผอํ นหลับนอน โดยการ

กางเต็นท๑ หรือกางกระโจม หรือสร๎างท่ีกําบังชั่วคราวขึ้น การอยํูคํายพักแรมนี้ ลูกเสือจะต๎องเตรียม
เสบียง อุปกรณ๑หุงหาอาหาร อุปกรณ๑สําหรับสร๎างที่พักแรม อุปกรณ๑ท่ีจําเป็นอ่ืนๆ ตลอดจนของใช๎
สํวนตัวไปด๎วย อีกทั้งต๎องสร๎างเคร่ืองใช๎ข้ึนในขณะอยูํคํายพักแรม การอยํูคํายพักแรมจะให๎ประโยชน๑
หลายประการ เชํน

1. ได๎ออกกําลงั กาย
2. ทาํ ใหเ๎ กิดความเพลิดเพลนิ
3. ปลกู ฝงั ความสามคั คีในหมูํคณะ
4. ได๎เหน็ ขนบธรรมเนยี มประเพณีของทอ๎ งถิ่น
5. ได๎ศกึ ษาธรรมชาติ
6. เป็นการทดสอบความอดทน
7. เปน็ การฝกึ ระเบียบวินัย

150 คูมํ อื สงํ เสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสือโท ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
คมู่ อื ส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสือทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือสามัญ หลักสตู รลกู เสือเอก 143
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6

อาหารทคี่ วรนาไปอยูํคํายพกั แรม
เนื่องจากลูกเสือต๎องมีการเดินทางไกลเพื่อไปอยูํคํายพักแรม สถานที่ตั้งคํายสํวนใหญํอยูํตาม

ชนบท ซึ่งมักหาเคร่ืองประกอบอาหารยาก หากลูกเสือจะนําติดตัวไปด๎วยก็เป็นภาระที่ยุํงยาก ฉะนั้น
ลูกเสือควรเลือกอาหารที่ประกอบไมํยุํงยากนัก เชํน ใช๎เผา น่ึง ปิ้ง ยําง อาหารท่ีนําติดตัวไปด๎วยควร

เป็นอาหารแห๎ง เป็นต๎นวาํ ไขํเค็ม เน้ือแห๎ง ปลาแหง๎ ก๎ุงแหง๎ น้ําพริกเผา กุนเชียง ถั่วลิสง หมูหรือไกํรวน
แห๎ง หรืออาหารกระป๋อง ขนมปังกรอบ นมข๎นหวาน นอกจากนี้อาจต๎องเตรียมอาหารท่ีใช๎เป็นเคร่ือง
ประกอบอาหาร เชนํ หอม กระเทยี ม พรกิ ชฟี้ าฺ มะนาว พรกิ ไทย เกลอื นํา้ ตาล ไปดว๎ ย

5. การเตรยี มตัวเดินทางไปอยคํู ํายพักแรม
เมอ่ื ทราบวาํ จะมีการเดินทางไกลในวันรํุงข้ึนเพ่ือไปอยูํคํายพักแรม ลูกเสือจะต๎องเตรียมของใช๎ให๎

เรียบร๎อยในตอนเย็น หรือกํอนกําหนดการเดินทางให๎เรียบร๎อย ของใช๎ที่ต๎องเตรียมไปอยูํคํายพักแรมท่ี
สาํ คญั มีดงั นี้

1. เครอื่ งแบบลกู เสือและเครอ่ื งประกอบเครอื่ งแบบ
2. สมดุ บนั ทกึ การเดนิ ทาง และดนิ สอ
3. กระติกนา้ํ
4. ยาประจาํ ตัว
5. ไฟฉาย

6. เต็นทป๑ ระจําตวั ผา๎ หํมนอน ผา๎ ปทู ่นี อน
7. ไมพ๎ ลองลกู เสอื
8. ของใช๎ประจาํ ตัว เชํน แปรงสีฟนั ยาสีฟัน สบูํ หวี กระจกเลก็ ๆ ชุดลาํ ลอง ผา๎ ขาวมา๎ ถุงเทา๎
9. ของใชอ๎ ่นื ๆ เชํน จาน ช๎อน ส๎อม ถ๎วย แก๎วน้ํา เข็มเย็บผ๎า ด๎ายเย็บผ๎า เข็มกลัดซํอนปลาย เชือก
ผูกเงื่อน เชอื กสําหรบั ผูกมัดของเล็กๆ และหากเปน็ ฤดฝู นควรเตรยี มเสือ้ กันฝนไปด๎วย

10. กล๎องถาํ ยรปู )ถา๎ ม(ี
อยํางไรก็ตามกํอนบรรจุของใช๎ลงหีบหํอ ควรตรวจดูเคร่ืองมือเครื่องใช๎ตํางๆ จะต๎องนําไปวํา
เรยี บรอ๎ ย ไมํให๎เป็นอุปสรรคตอํ การเดินทาง

เรอ่ื งสนั้ ที่เป็นประโยชน์ เสยี งห่งึ ๆ ของผ้งึ

ทําไมเวลาผง้ึ บนิ จงึ มีเสยี งหงึ่ ๆ อยูดํ ว๎ ย เปน็ เสยี งร๎องของผ้ึงใชํหรือไมํ ุ..?....เสียงห่ึงๆ ของผึ้งท่ี
เราได๎ยิน ไมํใชํเสียงร๎องของมัน แตํเป็นเสียงท่ีเกิดจากการส่ันสะเทือนขณะกระพือปีก ซ่ึงมีอัตราเร็ว
มากกวํา 200 ครั้งตํอวินาที ผึ้งไมํมีหู แตํพวกมันรับรู๎เสียงได๎ด๎วยการใช๎หนวดหรือขาของมันสัมผัส

แรงสัน่ สะเทือนผงึ้ จะกระพอื ปกี สํงเสียงหงึ่ ๆ ตอนไหนบา๎ ง ?

144 คมูํ อื คสูม่ ํงอื เสสง่ รเสมิ รแมิ ลแะลพะพฒั ัฒนนาากกิจิจกกรรรรมมลลกู กู เสเสือทอื ักทษกั ะษชะวี ชติ ีวในิตสใถนาสนถศาึกนษศา กึปษระาเภลทกูลเกู สเสืออื โสทามชญั ้ันปหรละักถสูตมรศลกึ กู ษเสาอื ปเอที กี่ 6 151
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6

- เวลาหนาวจัด เพ่ือปรับอุณหภูมิภายในรวงผึ้ง โดยผ้ึงจะเกาะกันเป็นกลํุมใหญํในรัง เว๎น
ชํองวํางไว๎ให๎ผึ้งจํานวนหนึ่งผลัดกันเข๎าไปกระพือปีกอยํางรวดเร็วเพื่อให๎เกิดความร๎อน สร๎าง
ความอบอนํุ ใหแ๎ กตํ วั อํอนของมนั

- สํวนในฤดูร๎อน ผ้ึงจะกระจายตัวกันอยูํ และจะกระพือปีกพัดนํ้าท่ีหามาให๎ระเหยเหมือนพัดลม
ปรบั อากาศ ทาํ ให๎อากาศในรังเยน็ ลง )การปรับอณุ หภูมิในรงั ไมํพบในแมลงทวั่ ไป(

- ผึ้งทุกตัวจะกระพือปกี สงํ เสยี งหง่ึ ๆ หากมนั ถูกแหยขํ ณะอยํใู นรงั หรือถูกจับ
- เป็นเทคนคิ เฉพาะของผึง้ ทีจ่ ะนําเอาละอองเกสรจากดอกไมท๎ ม่ี ีโพรงเกสรเล็กมาก ไมํสามารถใช๎

วธิ ีโฉบเอามางํายๆ ได๎ มันจะโหนตัวจากดอกไม๎ โดยใช๎ขาทั้งหกเกาะโพรงเกสรไว๎ แล๎วทําการ
กระพอื ปีกจนเกิดการส่ันสะเทอื นทําให๎ละอองเกสรตกลงมายงั ที่เกบ็ ละอองเกสรบนตวั มัน

- ชวํ ยในการกระจายกล่ินหอมของดอกไมท๎ ่ีเหลาํ ผง้ึ งานพบ เพื่อนําผ้ึงตัวอื่นๆ พบแหลงํ อาหารน้ี
- ขณะผ้งึ นํานาํ้ หวานกลบั สูรํ งั มันจะกระพือปีกอยํางเร็วเพื่อให๎เกิดความร๎อนที่จะชํวยแปรสภาพ

น้ําหวานเป็นนาํ้ ผึ้ง และเมอื่ ถึงรังผึ้งมันจะเกาะท่ปี ากรัง กระพือปีกระบายอากาศเพื่อให๎ได๎นํ้าผึ้ง
ทีด่ ี

ทมี่ า 108 ซองคาํ ถาม
เรื่องน้สี อนใหร๎ ูว๎ ํา ธรรมชาตสิ รา๎ งสมดุลใหส๎ ง่ิ มชี ีวิตทุกชวี ิต

152 คํูมอื สงํ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6
ค่มู ือสง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามญั หลกั สตู รลกู เสอื เอก 145
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6

แผนการจดั กจิ กรรมลกู เสอื หลกั สตู รลกู เสือสามญั (ลกู เสือเอก) ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

หนวํ ยที่ 7 พิธีการ เวลา 1 ชวั่ โมง
แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 29 พิธปี ระดบั เคร่ืองหมายลกู เสือเอก

และเครือ่ งหมายวชิ าพิเศษลูกเสือสามัญ

1. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นร๎ู
เพ่ือสรา๎ งความภาคภมู ิใจในความสาํ เรจ็

2. เนื้อหา
การประดบั เคร่ืองหมายวชิ าพเิ ศษและสายยงยศ

3. สื่อการเรียนร๎ู
3.1 เครื่องหมายวิชาพเิ ศษ
3.2 สายยงยศ

4. กจิ กรรม
4.1 ผก๎ู าํ กบั ลกู เสอื และลูกเสอื พรอ๎ มกันในหอ๎ งประชมุ
4.2 ผู๎กาํ กับลูกเสอื เป็นประธานจุดธปู เทียนบชู าพระรตั นตรัย และถวายสกั การะแดพํ ระรูป

รชั กาลที่ 6 ผ๎กู ํากับลกู เสอื และลกู เสอื ถวายราชสดดุ ี
4.3 ผ๎ูกาํ กับลกู เสอื กลําวถงึ การได๎รับอนมุ ัตใิ หม๎ สี ิทธิประดับเครอ่ื งหมายวชิ าพเิ ศษลูกเสอื สามัญ

และสายยงยศ )ในกรณลี ูกเสอื ผํานการทดสอบตามขอ๎ บงั คับคณะลกู เสอื แหงํ ชาต(ิ พรอ๎ มทงั้
ให๎โอวาทแกํลูกเสอื
4.4 ผก๎ู าํ กบั ลกู เสอื และผบู๎ งั คับบญั ชาลกู เสอื มอบเครอื่ งหมายลูกเสือเอก เครือ่ งหมายวิชาพิเศษ

ลูกเสอื สามัญแกํลกู เสือทกุ คน
4.5 ผูก๎ าํ กับลกู เสอื และผบู๎ งั คับบัญชารวํ มกันประดับสายยงยศให๎กบั ลูกเสือทกุ คนทม่ี สี ทิ ธิตาม

ข๎อบงั คับคณะลกู เสอื แหงํ ชาติ
4.6 ผูก๎ ํากบั ลูกเสอื แสดงความช่ืนชมยนิ ดีกับลกู เสอื ทุกคน และเชญิ ชวนลูกเสือสมคั รเข๎าเปน็

ลกู เสอื สามัญรํุนใหญใํ นโอกาสตอํ ไป

4.7 ผก๎ู าํ กบั ลกู เสอื และลูกเสอื รวํ มกันทบทวนคําปฏญิ าณ

5. การประเมินผล
สังเกตความร๎สู ึก ปตี ิ ยินดขี องลกู เสอื สามญั ทุกนาย

146 คมูํ ือคสู่มํงือเสสง่ รเสิมรแมิ ลแะลพะพฒั ัฒนนาากกิจิจกกรรรรมมลลูกูกเสเสือทอื ักทษกั ะษชะวี ชิตวีในติ สใถนาสนถศากึ นษศา ึกปษระาเภลทกูลเกู สเสอื อื โสทามชัญ้ันปหรละักถสตูมรศลึกูกษเสาอื ปเอที กี่ 6 153
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6

แผนการจัดกิจกรรมลูกเสอื หลักสูตรลูกเสือสามัญ (ลูกเสอื เอก) ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6
หนวํ ยที่ 8 ประเมินผล

แผนการจดั กิจกรรมที่ 30 การประเมนิ ผล เวลา 2 ชว่ั โมง

1. จุดประสงค์การเรียนร๎ู
1.1 เพื่อให๎ลกู เสอื เข๎าใจการประเมนิ ผลเพอ่ื การตัดสนิ ผลการผาํ น ไมํผาํ นกจิ กรรม
1.2 เพ่ือใหล๎ กู เสือเข๎าใจการประเมินพฤติกรรมทักษะชวี ติ ท่ีลูกเสอื ไดร๎ ับการพฒั นา
1.3 เตรยี มความพร๎อมรบั การประเมนิ ตามวธิ ีการของผู๎กาํ กับกองลูกเสอื

2. เน้ือหา
2.1 เกณฑ๑การตัดสินกจิ กรรมพฒั นาผ๎ูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

พุทธศกั ราช 2551
2.2 การประเมินพฤตกิ รรมทักษะชีวติ

3. สื่อการเรียนรู๎
1.3 Flow Chart การประเมนิ เพอ่ื ตดั สนิ ผลการเลื่อนชั้นของลกู เสอื และจบการศกึ ษา
3.2 แบบประเมนิ ทกั ษะชีวิตของลกู เสอื รายบุคคลหรือรายหมลูํ กู เสือ
3.3 แบบประเมินตนเองของลกู เสอื ประจาํ ปีการศึกษา

4.3 ใบความรู๎

4. กจิ กรรม
4.1 ผก๎ู ํากับลูกเสอื อธิบายหลกั เกณฑ๑ วธิ ีการประเมนิ ผลการเรยี นรตู๎ ามท่ีหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กําหนดเพอ่ื ตดั สนิ การจบการศึกษา

4.2 ผก๎ู ํากบั ลูกเสอื อธิบายถึงพฤติกรรมของลกู เสือท่ีไดร๎ ับการเสรมิ สร๎างทกั ษะชีวิตผํานกิจกรรม
ลกู เสือ

4.3 ลูกเสอื ประเมนิ ความพรอ๎ มของตนเองเพ่อื รบั การประเมนิ และวางแผนพัฒนาตนเองในสํวนที่
ไมมํ ัน่ ใจ

4.4 ผู๎กํากับลกู เสอื และลกู เสอื กาํ หนดขอ๎ ตกลงรํวมกนั ถงึ ชํวงเวลาการประเมนิ

4.5 ผ๎กู าํ กบั ลกู เสอื นดั หมายและดาํ เนนิ การประเมนิ

5. การประเมินผล
5.1 สงั เกตจากผลการประเมนิ ตนเองของลกู เสอื
5.2 สงั เกตความมัน่ ใจและการยนื ยนั ความพรอ๎ มของลกู เสือ

154 คมูํ ือสงํ เสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสือทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสือโท ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6
คมู่ ือส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสือทักษะชวี ิตในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลักสูตรลูกเสอื เอก 147
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมท่ี 30
1. แนวทางการประเมนิ ผลตามเกณฑข์ องหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551

ผงั กระบวนการประเมนิ ผลลูกเสอื (Flow Chart)

ลกู เสอื เรยี นรจู้ ากกิจกรรม เกณฑก์ ารประเมิน
ลูกเสือทักษะชวี ติ 1. เวลาเข้ารว่ มกจิ กรรม
2. การปฏบิ ัติกิจกรรม
ผู้กากบั ประเมนิ ผลเรยี น 3. ผลงาน / ชิ้นงาน
ของลูกเสือท่รี ่วมกจิ กรรม 4. พฤตกิ รรม/คุณลกั ษณะของ
ลูกเสือ

ผลการประเมิน ไม่ผา่ น - ซอ่ มเสริม
ผา่ น - พัฒนาซา้
ผ่าน
ตัดสนิ ผลการเรียนร้ผู ่านเกณฑ์

รบั เคร่ืองหมายช้ันลูกเสอื
ตามประเภทลูกเสือ

148 คูมํ ือคส่มู ํงือเสสง่ รเสิมรแิมลแะลพะพัฒัฒนนาากกิจจิ กกรรรรมมลลูกกู เสเสือทือกัทษักะษชะีวชิตวีในติ สใถนาสนถศาึกนษศา ึกปษระาเภลทกูลเูกสเสอื อื โสทามชญั น้ั ปหรละกั ถสตูมรศลกึ กู ษเสาอื ปเอที ก่ี 6 155
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6

แบบประเมนิ ตนเองของลูกเสอื ประจาปีการศึกษา.........................................
ช่อื -สกลุ ........................................................ช้ัน..............ประเภท
ลกู เสอื ุุุุุุุุุุุุุุุ.ุุ

เกณฑ์ที่ การประเมนิ ตนเอง ขอ๎ คิดเหน็
ท่ี รายการท่รี ับการประเมิน สถานศึกษา ครบ/ ไมํครบ/ การ

กาหนด ผําน ไมผํ ําน พฒั นา

1 1. เขา๎ รวํ มกิจกรรมลกู เสือ

1.1 รํวมกิจกรรมการฝึกอบรม 40 ชั่วโมง/ปี

1.2 รํวมกิจกรรมวนั สาํ คญั อยาํ ง

น๎อย ๕ คร้งั /ปี เชนํ
- วนั คลา้ ยวันสถาปนา

คณะลกู เสอื แหํงชาติ

- วันคล๎ายวันสวรรคต

- วนั ชาติ

- วนั แมํแหงํ ชาติ

- วนั ตํอต๎านยาเสพตดิ โลก

- กจิ กรรมบาํ เพ็ญประโยชน๑

อนื่ ๆ

- กจิ กรรมวัฒนธรรม/ ประเพณี

1.3 เดินทางไกล/ อยคํู าํ ยพักแรม

2 2. มีผลงานชนิ้ งานจากการเรยี นร/ู๎

กจิ กรรมลกู เสือ

2.1 ผลงานการบริการ 1 ครง้ั /ปี

2.2 ชิ้นงาน/ งานท่คี ดิ สร๎างสรรค๑ 1 ครัง้ /ปี

2.3 อ่ืนๆ เชนํ รายงานฯ 1 ครงั้ /ปี

3 3. มคี วามพรอ๎ มเขา๎ รับการทดสอบ

เพอ่ื รับเครอ่ื งหมายวิชาพิเศษตาม

ประเภทของลกู เสือ

3.1.............................................

3.2.............................................

3.3.............................................

3.4.............................................

ผาํ นและพร๎อม

156 คํมู อื สงํ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6
คมู่ ือสง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื สามัญ หลักสตู รลกู เสือเอก 149
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6

สรปุ ผลการประเมินตนเอง  ฉันพอจะมคี วามพรอ๎ มรับประเมิน
 ฉนั ม่นั ใจวําผาํ นแนนํ อน  ต๎องการความชํวยเหลอื จากผก๎ู าํ กบั ลูกเสอื
 ฉนั ยงั ไมพํ รอ๎ มรับการประเมนิ

แบบประเมินพฤติกรรมทกั ษะชีวิตของลกู เสอื สาหรับผู๎กากบั ลกู เสอื สามัญ
ช่ือลกู เสือ................................................... ลูกเสอื ................. ชน้ั ................. ปกี ารศึกษา................

พฤตกิ รรมลูกเสือสามัญที่คาดหวงั

รายการประเมนิ ใชํ ไมํใชํ

1. ลกู เสือมีทกั ษะในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมกลางแจง๎
2. เสอื รวํ มกิจกรรมบาํ เพญ็ ประโยชน๑
3. ลกู เสือชํวยตนเองและครอบครวั ได๎
4. ลูกเสือไมํมีปญั หาทันตสขุ ภาพ ไมดํ ม่ื นํ้าอดั ลม ขนมกรุบกรอบ

ไมํรับประทานขนมหวานเป็นประจาํ
5. ลูกเสือร๎จู ักใช๎เวลาวํางใหเ๎ ปน็ ประโยชนแ๑ ละไมํตดิ เกม
6. ลูกเสือประพฤติตนเหมาะสมกับเพศและวยั มีทักษะการสรา๎ ง

สมั พันธภาพและการสื่อสารไมํก๎าวรา๎ วรนุ แรง
7. ลกู เสอื แสดงออกถึงความซ่ือสัตย๑ รจู๎ ักแก๎ปญั หา หรอื ใหค๎ วาม

ชํวยเหลือผอ๎ู ่นื
8. ลูกเสอื มีนาํ้ หนกั และสวํ นสงู ตามเกณฑม๑ าตรฐาน

สรปุ แบบการประเมนิ ตนเอง

มีทกั ษะชีวิต จะมีทักษะชีวติ ดี ต๎องพัฒนาตนเอง ไมแํ นํใจชวี ติ
พรอ๎ มเผชญิ อยาํ งอยูํ แก๎ไขปรับปรุง บางเรื่อง )มีปัญหาแลว๎ นะ(

รอดปลอดภยั พฤตกิ รรม จงึ จะมีทกั ษะชีวิตทดี่ ี

)เสยี่ งนะเนยี่ (

150คมูํ ือสคชงํ มู่้ันเือสปสรรง่ะิมเถสแมรลศมิ ะกึ แพษลัฒาะปพนีทฒั า่ี น6กาจิ กกิจรกรรมรมลลกู กู เเสสอื ือททกักั ษษะะชชวี ีวิติตในในสถสาถนาศนกึ ศษกึาษปาระเลภกู ทเลสกู ือเสโทือสชามนั้ ญั ปรหะลถกั มสศตู รึกลษูกาเสปือีทเอี่ 6ก 157

เร่อื งทีฉ่ ันจะตอ๎ งปรับปรุง
1(
............................................................................................................................................................
2(
............................................................................................................................................................
3(
............................................................................................................................................................
4(
............................................................................................................................................................

ใบความรู๎

ผลการผาํ นเกณฑ์
การประเมินกิจกรรมลูกเสอื

1. การประเมินผลการเรยี นรู๎ตามแนวทางหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช
2551

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้นฐาน พุทธศักราช 2551 กําหนดให๎กิจกรรมลูกเสือเป็น
กิจกรรมท่มี ํุงปลูกฝังระเบยี บวินัยและกฎเกณฑ๑เพ่ือการอยูํรํวมกัน ร๎ูจักการเสียสละ บําเพ็ญประโยชน๑
แกํสังคมและดําเนินวิถชี ีวิตในระบอบประชาธิปไตย ตลอดจนมที กั ษะชวี ติ เปน็ ภูมคิ ุม๎ กันปัญหาสังคมตาม
ชํวงวยั ของลกู เสอื

การจัดกิจกรรมลูกเสือยังต๎องเป็นไปตามข๎อบังคับของสํานักงานลูกเสือแหํงชาติและสอดคล๎อง
กับหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานอกี ดว๎ ย

2. การประเมนิ ผลการตัดสนิ การผาํ นกิจกรรมลกู เสือ
กิจกรรมลูกเสอื เป็นกิจกรรมนักเรยี นที่ลกู เสือทุกคนตอ๎ งเขา๎ รํวมกจิ กรรมลูกเสือ 40 ชั่วโมงตํอปี

การศกึ ษาในระดบั ประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษา
การประเมินการจัดกจิ กรรมลูกเสือตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีประเด็น/สิ่งที่

ตอ๎ งประเมนิ ดังน้ี
2.1 เวลาในการเข๎ารวํ มกจิ กรรม ผ๎เู รยี นต๎องมเี วลาเขา๎ รํวมกิจกรรมตามทีส่ ถานศกึ ษากาํ หนด
2.2 การเรียนรู๎ผํานกิจกรรมหรือการปฏิบัติกิจกรรมอยํางตํอเนื่อง มุํงเน๎นการพัฒนาศักยภาพ

ของตนและการทาํ งานกลมุํ
2.3 ผลงาน / ช้ินงาน / พฤติกรรม / คุณลักษณะของผ๎ูเรียน ท่ีปรากฎจากการเรียนรู๎หรือการ

เปลยี่ นแปลงตนเอง

158 คูมํ ือสงํ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6
ค่มู ือส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื สามัญ หลักสตู รลูกเสือเอก 151
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6

Flow chart ข้นั ตอน
แนวทางการประเมนิ ผลการเรียนร๎ูกจิ กรรมลกู เสือ

แผนการจดั กจิ กรรมลูกเสอื

จดั กิจกรรมลกู เสอื เกณฑ์การประเมนิ
ตามคู่มอื การจดั กจิ การลูกเสือที่ 1. เวลาเข้าร่วมกจิ กรรม
2. การปฏิบัติกิจกรรม
เสริมสรา้ งทักษะชวี ิต 3. ผลงาน / ช้นิ งาน
4. พฤตกิ รรม/คุณลกั ษณะของ
ประเมินผลการเรียนรู้
ลูกเสอื

ผลการประเมนิ ไม่ผา่ น ซ่อมเสรมิ
ผา่ น
ผา่ น
สรุปผลการประเมนิ /
ตดั สนิ ผลการเรียนรู้

รายงาน / สารสนเทศ

จดั พิธีประดับเคร่ืองหมายลกู เสือ
ตามประเภทลกู เสอื

3. การประเมินกิจกรรมลูกเสือ มี 2 แนวทาง คอื
1) การประเมนิ กจิ กรรมลกู เสือรายกจิ กรรมมีแนวปฏบิ ัติ ดังน้ี
)1.1( ตรวจสอบเวลาเขา๎ รํวมกิจกรรมของลกู เสือให๎เป็นไปตามเกณฑท๑ ่ีสถานศกึ ษากาํ หนด
)1.2( ประเมินกิจกรรมการเรียนร๎ูจากการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน ช้ินงาน คุณลักษณะ

ของผ๎ูเรียนตามเกณฑ๑ท่ีสถานศึกษากําหนดด๎วยวิธีการท่ีหลากหลาย เน๎นการมีสํวนรํวมในการปฏิบัติ
กจิ กรรม

152 คํูมอื คส่มู งํือเสสง่ รเสมิ รแิมลแะลพะพัฒัฒนนาากกจิจิ กกรรรรมมลลูกกู เสเสอื ทอื กัทษกั ะษชะวี ชติ วีในิตสใถนาสนถศากึ นษศา กึปษระาเภลทกูลเูกสเสอื อื โสทามชญั ้นั ปหรละกั ถสูตมรศลึกูกษเสาือปเอที ก่ี 6 159
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6

)1.3( ลูกเสือที่มีเวลาการเข๎ารํวมกิจกรรม มีการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน ชิ้นงาน
คุณลกั ษณะตามเกณฑท๑ ่สี ถานศึกษากําหนดเปน็ ผผู๎ ํานการประเมนิ รายกิจกรรมและนําผลการประเมนิ ไป
บนั ทกึ ในระเบียนแสดงผลการเรยี น

)1.4( ลูกเสือท่ีมีผลการประเมินไมํผํานในเกณฑ๑เวลาการเข๎ารํวมกิจกรรม การปฏิบัติ
กจิ กรรมและผลงาน ชนิ้ งาน คุณลกั ษณะตามท่ีสถานศึกษากําหนด ผ๎ูกํากับลูกเสือต๎องดําเนินการซํอม
เสริมและประเมินจนผาํ น ท้งั น้ีควรดาํ เนนิ การใหเ๎ สร็จสนิ้ ในปีการศึกษาน้ัน ๆ ยกเว๎นมีเหตุสุดวิสัยให๎อยํู
ในดลุ พินจิ ของสถานศึกษา

2) การประเมนิ กจิ กรรมลูกเสือเพอ่ื การตดั สนิ ใจ
การประเมนิ กจิ กรรมลกู เสอื เพือ่ ตัดสินควรได๎รับเครื่องหมายและเล่ือนระดับทางลูกเสือและ

จบการศึกษาเป็นการประเมินการผํานกิจกรรมลูกเสือเป็นรายปี/รายภาค เพื่อสรุปผลการผํานในแตํละ
กิจกรรม สรุปผลรวมเพ่ือสรุปผลการผํานในแตํละกิจกรรม สรุปผลรวมเพ่ือเล่ือนช้ันระดับลูกเสือและ
ประมวลผลรวมในปีสุดท๎ายเพ่ือการจบแตํละระดับการศึกษา โดยการดําเนินการดังกลําวมีแนวทาง
ปฏบิ ตั ิ ดังน้ี

2.1( กําหนดให๎มผี ร๎ู ับผดิ ชอบในการรวบรวมข๎อมูลเก่ียวกับการเข๎ารํวมกิจกรรมลูกเสือของ
ลกู เสือทุกคนตลอดระดับการศึกษา

2.2( ผ๎รู ับผดิ ชอบสรุปและตดั สนิ ใจผลการรํวมกจิ กรรมลูกเสือของลูกเสือเป็นรายบุคคล ราย
หมํู ตามเกณฑท๑ สี่ ถานศึกษากําหนด

4. เกณฑก์ ารตัดสิน
1( กาํ หนดเกณฑ๑การประเมนิ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐานกําหนดไว๎ 2 ระดับ คือ

ผําน และ ไมํผาํ น
2( เกณฑก๑ ารตดั สินผลการประเมินรายกจิ กรรม
ผําน หมายถึง ลูกเสือมีเวลาเข๎ารํวมกิจกรรมครบตามเกณฑ๑ ปฏิบัติกิจกรรมและมีผลงาน

ชนิ้ งาน คณุ ลกั ษณะตามเกณฑ๑ทีส่ ถานศกึ ษากาํ หนด
ไมํผําน หมายถงึ ลกู เสอื มเี วลาเขา๎ รํวมกิจกรรมไมํครบตามเกณฑ๑ ไมํผํานการปฏิบัติกิจกรรม

หรอื มีผลงาน ชิน้ งาน คุณลกั ษณะไมํเปน็ ไปตามเกณฑ๑ทสี่ ถานศึกษากาํ หนด
3( เกณฑ๑การตัดสินผลการประเมนิ กิจกรรมลกู เสอื รายปี / รายภาค
ผําน หมายถึง ลูกเสือมีผลการประเมนิ ระดับ “ผําน” ในกิจกรรมสําคัญตามหลักสูตรลูกเสือแตํ

ละประเภทกําหนด รวมถึงหลกั สตู รลูกเสอื ทกั ษะชีวิต
ไมผํ ําน หมายถึง ลูกเสือมีผลการประเมินระดับ “ไมํผําน” ในกิจกรรมสําคัญท่ีหลักสูตรลูกเสือ

แตลํ ะประเภทกําหนดและลูกเสือทกั ษะชีวิต
4( เกณฑ๑การตัดสินผลการประเมนิ กิจกรรมลูกเสือเพ่ือจบหลักสูตรลูกเสือแตํละประเภทเป็นราย

ชน้ั ปี
ผาํ น หมายถงึ ลกู เสอื มีผลการประเมินระดบั “ผาํ น” ทุกชนั้ ปใี นระดบั การศกึ ษาน้ัน

160 คํมู ือสํงเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ลกู เสอื โท ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
คมู่ อื ส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามญั หลกั สูตรลกู เสือเอก 153
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6

ไมผํ ําน หมายถงึ ลูกเสือมีผลการประเมนิ ระดับ “ไมผํ ําน” บางชั้นปีในระดับการศกึ ษานั้น
)หมายเหตุ การประเมินผลอาจเขียนแยกการประเมินผลแตํละกิจกรรม หรือเขียนรวมการ
ประเมนิ รวบยอดกิจกรรมลกู เสือทีม่ พี ฤติกรรมตอํ เนื่องหรอื เม่ือส้นิ สุดกิจกรรมรายป(ี

เอกสารอ๎างองิ
กระทรวงศึกษาธกิ าร. หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551.

กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพช๑ มุ นมุ สหกรณ๑การเกษตรแหงํ ประเทศไทย จํากดั . 2551.

2. การประเมินพฤติกรรมทกั ษะชีวติ และคณุ ลกั ษณะทางลกู เสอื
2.1 ความสามารถทคี่ าดหวงั ให๎เกดิ ข้นึ กบั ลูกเสอื โดยรวม คอื
1( ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห๑
2( ความสามารถในการคดิ สรา๎ งสรรค๑

3( ความสามารถในการเห็นใจผอ๎ู นื่
4( เหน็ คณุ คาํ ตนเอง
5( รับผดิ ชอบตํอสังคม
6( ความสามารถในการสอ่ื สารเพ่ือสรา๎ งสัมพนั ธภาพ
7( ความสามารถในการตดั สินใจ

8( ความสามารถในการจดั การแกไ๎ ขปัญหา
9( ความสามารถในการจดั การกบั อารมณ๑
10( ความสามารถในการจดั การกับความเครียด
2.2 พฤตกิ รรมทค่ี าดหวังให๎เกดิ ขนึ้ กับลกู เสอื แตํละช้ันปี
1( ลูกเสอื สาํ รอง

)1( มีทักษะในการสังเกตและจดจาํ
)2( พึ่งตนเอง ดแู ลตนเองได๎
)3( รจ๎ู กั รกั ษาสง่ิ แวดลอ๎ ม
)4( ไมํเจบ็ ปวู ยดว๎ ยโรคตดิ ตอํ ตามฤดกู าล
)5( ปฏิเสธสง่ิ เสพติดทกุ ชนดิ

)6( พดู จาสอื่ สารเชงิ บวก ไมกํ า๎ วรา๎ วรนุ แรง
)7( แก๎ปญั หาเฉพาะหน๎าได๎
)8( ให๎ความชํวยเหลอื เพอ่ื นในภาวะวิกฤติ
2( ลูกเสอื สามัญ

)1( มีทกั ษะในการปฏบิ ัติกิจกรรมกลางแจ๎ง

)2( รํวมกิจกรรมบําเพ็ญประโยชนด๑ ว๎ ยจิตอาสา

154 คูํมอื คสู่มงํือเสส่งรเสมิ รแิมลแะลพะพฒั ฒั นนาากกจิจิ กกรรรรมมลลกู ูกเสเสอื ทือักทษักะษชะวี ชิตีวในิตสใถนาสนถศากึ นษศา ึกปษระาเภลทกูลเูกสเสืออื โสทามชญั นั้ ปหรละกั ถสูตมรศลึกกู ษเสาอื ปเอีทกี่ 6 161
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6

)3( พึ่งตนเองและชํวยเหลอื ครอบครัว
)4( ไมดํ ม่ื น้ําอดั ลม
)5( ไมรํ บั ประทานขนมหวานและขนมกรุบกรอบ
)6( ใชเ๎ วลาวํางให๎เปน็ ประโยชน๑
)7( รู๎จกั พูดเชงิ บวก ไมํพดู ก๎าวร๎าวรุนแรง
)8( มคี วามซอ่ื สตั ย๑ ไมโํ กหก
)9( รจ๎ู ักแกป๎ ัญหาด๎วยสนั ตวิ ธิ ี
)10( มนี าํ้ หนกั สํวนสูงตามเกณฑม๑ าตรฐาน
3( ลกู เสอื สามัญรํนุ ใหญํ
)1( มที ักษะในการทาํ กิจกรรมตามความสนใจ
)2( มีจิตอาสาทําประโยชน/๑ ไมกํ อํ ความเดือดรอ๎ น ใหก๎ บั ครอบครวั สถานศกึ ษา ชมุ ชน
สังคม
)3( ใช๎เวลาวํางใหเ๎ ป็นประโยชน๑
)4( รํวมกิจกรรมสํงเสรมิ อนุรักษป๑ ระเพณี ศลิ ปวฒั นธรรมไทย
)5( มที ักษะการคิดวิเคราะห๑ การยับยง้ั ไมเํ ปน็ ทาสของสอื่ โฆษณา
)6( มที กั ษะการใช๎ประโยชนจ๑ าก Internet
)7( มผี ลงาน/ โครงการการประหยดั พลงั งาน/ ทรัพยากร
)8( มกี ารออมหรอื ทาํ บัญชีรายรบั รายจํายของตนเองอยาํ งตํอเนื่อง
)9( มที กั ษะการหลกี เล่ียง ลรอดพน๎้ และไมํเกดิ อบุ ัติเหตจุ ากการใช๎ยานพาหนะ
)10( ไมเํ ก่ียวขอ๎ งกับสงิ่ เสพตดิ ทกุ ประเภท
4( ลูกเสอื วิสามญั
)1( มผี ลงาน/ โครงการเฉพาะที่เป็นประโยชนต๑ อํ ตวั เอง/ สังคม
)2( มจี ติ อาสาและบริการ
)3( รว๎ู ธิ ปี อฺ งกัน/ และหลกี เลี่ยงความเสยี่ งทางเพศ
)4( ใชเ๎ วลากบั สอ่ื IT อยํางเหมาะสม ไมเํ กดิ ความเสียหายตอํ วถิ ชี ีวิตปกตขิ องตนเอง
)5( ไมเํ กี่ยวข๎องกับสง่ิ เสพตดิ
)6( มีคาํ นิยมด๎านสุขภาพอยาํ งเหมาะสม ไมํเกดิ ผลเสยี หายตามมา
)7( มคี ํานยิ มดา๎ นการรับประทานอาหารทีเ่ หมาะสม ไมํเกดิ ผลเสยี หายตามมา
)8( มคี ํานยิ มดา๎ นความงามทีเ่ หมาะสม ไมเํ กดิ ผลเสยี หายตามมา
)9( ไมมํ ีพฤตกิ รรมกา๎ วร๎าวและกํอเหตุรนุ แรง

อ๎างองิ จาก
คํมู อื การเทยี บระดับ )Benchmarking( กิจกรรมลูกเสือเสรมิ สรา๎ งทกั ษะชีวติ 2558

162 คมํู ือสงํ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6
คมู่ อื ส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสือทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื สามัญ หลกั สูตรลกู เสือเอก 155
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6



ภาคผนวก

คํมู อื สงํ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 163



ภาคผนวก ก

แนวคิดเรือ่ งทักษะชีวติ

ความหมายและองค์ประกอบทกั ษะชีวติ

ทกั ษะชวี ติ เปน็ ความสามารถของบคุ คล ทจี่ าํ เปน็ ตํอการปรบั ตวั ในการเผชิญปัญหาตาํ ง ๆ และ
สามารถดาํ เนินชีวิตทํามกลางสภาพสงั คมทม่ี ีการเปลยี่ นแปลงทง้ั ในปัจจุบนั และเตรียมพร๎อมสาํ หรับการ
เผชญิ ปัญหาในอนาคต

องค์ประกอบทักษะชีวิต มี 12 องค๑ประกอบ จัดเป็น 6 คูํ โดยแบํงตามพฤติกรรมการเรียนรู๎
3 ดา๎ น ดังนี้

อhgงhคjh์ปgfรgjะjhกgfอf บjhhทgกัffdษsdะsชdsีวิต6 คูํ 3 ด๎าน

ความตระหนัก การสร๎าง
รู๎ในตน สัมพันธภาพและ

การสอื่ สาร

ความเห็นใจ ความคดิ การ ทักษะพสิ ัย
ผ๎ูอืน่ สร๎างสรรค์ ตัดสินใจ
พทุ ธิพสิ ยั และแก๎ไข
ติ พสิ ยั ปัญหา
ความ ความคิดวิเคราะห์
ภาคภูมิใจ วิจารณ์

ในตัวเอง ความ การจดั การกับ
อารมณแ์ ละ
รบั ผดิ ชอบ ความเครียด
ตํอสังคม

แผนภาพท่ี 1 องค์ประกอบของทกั ษะชวี ติ

1. ดา๎ นพทุ ธิพิสัย จัดไวต๎ รงกลางของแผนภาพ เพราะเปน็ องค๑ประกอบรํวมและเป็นพน้ื ฐานของ
ทกุ องค๑ประกอบ ได๎แกํ

- ความคิดวิเคราะห์วิจารณ์ เปน็ ความสามารถทจ่ี ะวเิ คราะห๑ สงั เคราะห๑ ประเมนิ
ข๎อมลู ขําวสาร ปญั หา และสถานการณต๑ ําง ๆ รอบตวั

- ความคดิ สรา๎ งสรรค์ เปน็ ความสามารถในการคดิ ออกไปอยาํ งกว๎างขวางโดยไมยํ ึด
ติดอยใํู นกรอบ และการสรา๎ งสรรคส๑ ง่ิ ใหมํ

164 คูํมอื สงํ เสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6
คู่มือสง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือสามญั หลกั สตู รลูกเสือเอก 159
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6

2. ด๎านจิตพสิ ยั หรอื เจตคติ มี 2 คูํ คอื
คูํท่ี 1 ความตระหนักร๎ใู นตนเอง และ ความเขา๎ ใจ/เห็นใจผ๎อู ื่น
คูํที่ 2 เหน็ คุณคํา/ภูมิใจตนเอง และ ความรบั ผิดชอบตอํ สังคม

- ความตระหนักรูใ๎ นตนเอง เป็นความสามารถในการค๎นหาและเข๎าใจในจุดดีจุดด๎อย

ของตนเอง ยอมรับความแตกตํางของตนเองกับบุคคลอ่ืน ไมํวําจะในแงํความสามารถ เพศ วัย อาชีพ
ระดับการศกึ ษา ฐานะทางเศรษฐกิจ ฐานะทางสังคม ศาสนา สีผวิ ทอ๎ งถ่ิน สขุ ภาพ ฯลฯ

- ความเข๎าใจ/เหน็ ใจผ๎ูอ่ืน เป็นความสามารถในการเข๎าใจความรู๎สึกของผ๎ูอื่น เห็นอก
เหน็ ใจและยอมรบั ตัวตนของบคุ คลอนื่ ทแ่ี ตกตํางกับเรา ไมํวําจะในแงคํ วามสามารถ เพศ วัย อาชพี ระดับ
การศกึ ษา ฐานะทางเศรษฐกิจ ฐานะทางสงั คม ศาสนา สผี ิว ทอ๎ งถ่นิ สุขภาพ ฯลฯ

- เห็นคุณคํา/ภูมิใจตนเอง เป็นการค๎นพบ คุณสมบัติเฉพาะตัวของตนเอง ร๎ูสึกวํา
ตนเองมีคุณคํา เชนํ เปน็ คนมีนาํ้ ใจ ซอ่ื สัตย๑ ยตุ ิธรรม และภูมิใจในความสามารถด๎านตําง ๆ ของตนเอง
เชนํ ดา๎ นสงั คม ดนตรี กฬี า ศิลปะ การเรยี น ฯลฯ

- ความรบั ผดิ ชอบตอํ สงั คม เป็นความรสู๎ ึกวําตนเองเป็นสํวนหน่ึงของสังคมและมีสํวน
รับผิดชอบในความเจรญิ หรอื เส่ือมของสงั คมนน้ั คนที่เห็นคุณคําตนเองจะมแี รงจงู ใจทีจ่ ะทาํ ดีกบั ผูอ๎ ่นื และ
สังคมสํวนรวมมากขน้ึ จึงจัดเข๎าคูกํ ับความรบั ผิดชอบตอํ สงั คม

3. ดา๎ นทักษะพิสัยหรอื ทกั ษะ ประกอบด๎วย 3 คูํ คอื

คูํท่ี 1 การสอื่ สารและการสรา๎ งสมั พนั ธภาพ
คทํู ี่ 2 การตัดสนิ ใจและการแกไ๎ ขปัญหา
คูํท่ี 3 การจดั การกับอารมณแ๑ ละความเครยี ด

- ทักษะการการสือ่ สารและการสร๎างสัมพันธภาพ เป็นความสามารถในการใชค๎ าํ พดู
และภาษาทาํ ทาง เพอื่ สอ่ื สารความรสู๎ กึ นกึ คิดของตนเอง และสามารถรบั รค๎ู วามร๎สู ึกนกึ คดิ ความตอ๎ งการ
ของอกี ฝาู ยหนึ่ง มีการตอบสนองอยาํ งเหมาะสมและเกิดสมั พันธภาพทดี่ ีตอํ กัน

- ทกั ษะการตดั สินใจและการแกไ๎ ขปญั หา การตัดสนิ ใจใชใ๎ นกรณีท่มี ีทางเลือกอยูํแล๎ว
จงึ เร่มิ ตน๎ ดว๎ ยการวิเคราะห๑ขอ๎ ดขี ๎อเสยี ของแตลํ ะทางเลอื กเพื่อหาทางเลอื กที่ดที ส่ี ดุ และนาํ ไปปฏิบัติ สวํ น
การแก๎ไขปญั หาเปน็ ความสามารถในการรับร๎ปู ญั หาและสาเหตขุ องปัญหา หาทางเลอื ก
ได๎หลากหลาย วเิ คราะหข๑ ๎อดขี ๎อเสียของแตลํ ะทางเลือก ตดั สินใจเลอื กทางเลอื กในการแกป๎ ญั หาท่ี
เหมาะสมท่สี ดุ และนําไปปฏบิ ัติ

- ทักษะการจดั การกบั อารมณ์และความเครยี ด เป็นความสามารถในการรับรู๎อารมณ๑
ตนเอง ประเมนิ และรเ๎ู ทาํ ทนั วําอารมณ๑จะมอี ทิ ธิพลตํอพฤตกิ รรมของตนอยํางไร และเลอื กใชว๎ ธิ จี ัดการ
กบั อารมณท๑ ่ีเกดิ ขนึ้ ไดอ๎ ยาํ งเหมาะสม สํวนการจัดการความเครยี ดเป็นความสามารถในการรับรู๎ระดบั
ความเครยี ดของตนเอง ร๎สู าเหตุ หาทางแก๎ไข และมวี ิธีผํอนคลายความเครียดของตนเองอยาํ งเหมาะสม

160 คํมู ือคสู่มงํอื เสส่งรเสมิ รแมิ ลแะลพะพฒั ฒั นนาากกิจจิ กกรรรรมมลลกู กู เสเสือทือักทษกั ะษชะีวชิตีวในติ สใถนาสนถศาึกนษศา ึกปษระาเภลทกูลเกู สเสอื ือโสทามชญั น้ั ปหรละกั ถสูตมรศลกึ กู ษเสาือปเอีทก่ี 6 165
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6

ความแตกตํางระหวํางทักษะชีวติ ทวั่ ไปและทักษะชีวิตเฉพาะ

ทักษะชีวิตทั่วไป เป็นการสร๎างภูมิคุ๎มกันทางสังคม สําหรับปัญหาทั่ว ๆ ไปใน
ชีวติ ประจาํ วัน ดว๎ ยทกั ษะชีวติ 12 องค๑ประกอบ ให๎กบั เดก็ ทกุ คน

ทกั ษะชวี ติ เฉพาะ เปน็ การประยุกตใ๑ ช๎ทักษะชวี ิต 12 องค๑ประกอบ ที่มีเน้ือหาเก่ียวกับ
การปฺองกนั ปัญหาเฉพาะเร่ืองสําหรับเด็กกลํุมเสี่ยง โดยมีครูท่ีปรึกษาและระบบดูแลชํวยเหลือนักเรียน
รองรับ

ทกั ษะชวี ติ กับการพัฒนาเยาวชน

เมือ่ แบํงเยาวชนออกเป็น 3 กลํุม คือเด็กปกติ เด็กกลุํมเสี่ยง และเด็กที่มีปัญหา ทักษะ
ชีวติ จะเปน็ กลยทุ ธส๑ าํ คญั ในการสงํ เสรมิ ภูมิคุ๎มกันทางสังคม ให๎กับเด็กปกติ และเด็กทุกคน สําหรับเด็ก
กลุมํ เสี่ยงตอ๎ งมีการสอนทักษะชีวติ เฉพาะในแตลํ ะปัญหา มีครูที่ปรึกษาและระบบดูแลชํวยเหลือนักเรียน
รองรับ สํวนเด็กท่ีมีปัญหาแล๎วใช๎การดูแลใกล๎ชิดเพ่ือหาทางแก๎ปัญหาที่เหมาะสมเป็นรายบุคคล และมี
ระบบสงํ ตอํ ยังวชิ าชีพเฉพาะทเี่ กยี่ วข๎อง

166 คมูํ อื สํงเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ลกู เสือโท ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6
คมู่ ือสง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือสามญั หลกั สูตรลูกเสอื เอก 161
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6

ตัวอยาํ งทักษะชีวติ เฉพาะ

162 คํูมอื คสูม่ ํงือเสสง่ รเสิมรแิมลแะลพะพฒั ัฒนนาากกิจจิ กกรรรรมมลลกู ูกเสเสอื ทือักทษกั ะษชะีวชติ วีในิตสใถนาสนถศาึกนษศา ึกปษระาเภลทกูลเูกสเสอื ือโสทามชญั ัน้ ปหรละักถสูตมรศลึกกู ษเสาือปเอีทกี่ 6 167
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6

ความแตกตาํ งระหวํางทกั ษะชวี ติ และทักษะการดารงชวี ิต

ทักษะชวี ิต (Life Skills) เป็นความสามารถทางจิตสังคม อนั ประกอบ ด๎วย ความร๎ู เจตคติ
และทกั ษะ ที่จําเปน็ ในการดําเนนิ ชวี ติ ทาํ มกลางสภาพสังคมทเี่ ปล่ียนแปลงอยํางรวดเร็วในปจั จบุ นั และ
เตรียมพร๎อมสาํ หรับการเผชิญปัญหาในอนาคต มี 6 คูํ 12 องคป๑ ระกอบ

ทกั ษะการดารงชีวิต (Living Skills) เปน็ ทกั ษะทใี่ ชใ๎ นกจิ วัตรประจําวัน ในเรอื่ งพืน้ ฐานของ
ชีวิต มักเปน็ ทักษะทางกายภาพ เชํน อาบน�ํา แตํงตัว ซักเสอ้ื ผา๎ ปรงุ อาหาร ขี่จักรยาน วํายน�ํา ผกู เงื่อน
เชือก การจัดกระเป๋าเดนิ ทาง การใช๎แผนทีเ่ ขม็ ทิศ ฯลฯ

ความเชือ่ มโยงระหวาํ งทักษะชวี ิต และทักษะการดารงชวี ิต
ทกั ษะชวี ิตและทกั ษะการดํารงชีวิต มกั ถกู ใช๎ผสมผสาน เชอ่ื มโยงกนั ทงั้ ในกิจวตั รประจําวนั
ปกติ และในสถานการณต๑ ําง ๆ ท่เี กดิ ขึน้ ไมแํ ยกสํวน โดยทกั ษะชวี ิตจะเปน็ ตวั ชํวยในการเลอื กและใช๎
ทักษะการดาํ รงชวี ติ ไดอ๎ ยาํ งเหมาะสม ถกู ที่ ถกู เวลา และเกิดผลลพั ธท๑ ดี่ ี
สถานการณ๑ทางจิตสังคม มกั ใช๎ทกั ษะชวี ิตเปน็ หลัก ตวั อยาํ ง เชนํ

การจดั การกับอารมณโ๑ กรธ ความขดั แย๎ง และ ความรุนแรง

ตระหนกั รู๎และหลกี เลย่ี งพฤตกิ รรมเส่ยี งตําง ๆ รวมถงึ การปอฺ งกนั อบุ ตั เิ หตุ

การชํวยเหลือผอ๎ู ื่น และรบั ผิดชอบตํอสํวนรวม

การสื่อสารเชิงบวกและสร๎างสมั พนั ธภาพทดี่ ี
กิจวตั รทีท่ าํ เป็นประจํา ใช๎ทกั ษะการดาํ รงชวี ติ เปน็ หลัก เชนํ อาบนาํ้ แตํงตวั แปรงฟัน ซกั
เส้อื ผ๎า ปรงุ อาหาร ข่ีจักรยาน วํายนา้ํ ผกู เงื่อนเชือก ใช๎แผนทีเ่ ขม็ ทิศ ฯลฯ

168 คมํู อื สงํ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6
คมู่ ือสง่ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามัญ หลักสตู รลกู เสอื เอก 163
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

ทกั ษะชวี ติ สร๎างได๎อยํางไร

สร๎างดว๎ ย 2 วธิ ีการใหญํ ๆ คอื
1. เรยี นร๎ูเองตามธรรมชาติ ซง่ึ ขน้ึ กบั ประสบการณ๑และการมีแบบอยํางที่ดี จึงไมมํ ที ิศทางที่
แนนํ อน และกวาํ จะเรียนรก๎ู อ็ าจชา๎ เกนิ ไป
2. สร๎างโดยกระบวนการเรยี นการสอนที่ยึดผู๎เรยี นเปน็ ศนู ย๑กลาง ใหเ๎ ด็กเรียนร๎รู วํ มกนั ในกลมุํ
ผาํ นกจิ กรรมรปู แบบตําง ๆ ทีเ่ ดก็ ตอ๎ งมสี ํวนรวํ มท้งั ทางราํ งกายคือลงมือปฏิบตั ิ และทางความคิดคือการ
อภิปรายแลกเปลยี่ นความคิดและประสบการณ๑ เพื่อสรา๎ งองค๑ความรู๎ใหมรํ ํวมกนั

การสอนทย่ี ดึ ผเู้ รยี นเป็ นศนู ยก์ ลาง

• สรา้ งความรู้ (Construction) กจิ กรรมทใ่ี หผ้ เู ้ รยี นมสี ว่ นรว่ มทาง
สตปิ ัญญา คน้ พบความรดู ้ ว้ ยตนเอง

• ปฏสิ มั พนั ธ์ (Interaction) กจิ กรรมตอ้ งสง่ เสรมิ ปฏสิ มั พันธก์ บั
ผอู ้ น่ื และแหลง่ ความรทู ้ หี่ ลากหลาย

• เป็ นกระบวนการ (Process Learning)
• มสี ว่ นรว่ ม (Physical Participation) มสี ว่ นรว่ มดา้ นรา่ งกาย ลง

มอื กระทากจิ กรรมในลักษณะตา่ ง ๆ
• มกี ารประยกุ ตใ์ ช้ (Application)

การมสี ํวนรวํ มทางสตปิ ญั ญาทาํ ให๎เกดิ ทกั ษะชวี ติ 2 องค๑ประกอบแกนหลกั คอื ความคิดวิเคราะห๑
และความคดิ วิจารณ๑

ปฏสิ ัมพนั ธ๑ในกลํุมเพ่ือทาํ กิจกรรมรวํ มกนั ทาํ ให๎เด็กได๎ฝกึ องค๑ประกอบทกั ษะชวี ิต ด๎านทักษะทั้ง 3
คูํ คือการสร๎างสมั พันธภาพและการส่อื สาร การตดั สนิ ใจและการแก๎ไขปัญหา การจดั การอารมณ๑และ
ความเครียด

การรับฟงั ความคดิ เหน็ ของคนอ่ืน ทาํ ให๎เกิดความเข๎าใจคนอื่นมากข้นึ ขณะเดยี วกันกเ็ กิดการ
ไตรตํ รองทาํ ความเข๎าใจและตรวจสอบตนเอง จดั เป็นองค๑ประกอบทกั ษะชวี ติ ดา๎ นเจตคตคิ อื การเข๎าใจตนเอง
และเข๎าใจ/เหน็ ใจผ๎ูอ่นื

การไดร๎ บั การยอมรับจากกลมํุ การทํางานสาํ เร็จได๎รับคําชม ทาํ ใหเ๎ กดิ ความภูมใิ จและเหน็ คณุ คํา
ตนเอง นาํ ไปสํคู วามรบั ผดิ ชอบมากขน้ึ ท้งั ตํอตนเองและสงั คม

กระบวนการและการมสี ํวนรวํ ม ชํวยใหก๎ จิ กรรมสนุกสนานนาํ สนใจ และนําไปสูํจุดประสงค๑ ท่ีต้ัง
ไว๎ รวมทัง้ การประยกุ ต๑ใชเ๎ ปน็ การเปดิ โอกาสให๎ผ๎เู รยี นไดเ๎ ชอื่ มองคค๑ วามร๎ูใหมํที่เกิดข้ึนเข๎าสูํชีวิตจริง วํา
ได๎เกดิ การเรียนรู๎อะไรและนําไปใชใ๎ นชวี ิตประจําวนั อยํางไร

164 คมํู ือคสมู่ งํือเสสง่ รเสมิ รแิมลแะลพะพัฒัฒนนาากกจิิจกกรรรรมมลลูกกู เสเสือทอื กัทษักะษชะวี ชิตวีในิตสใถนาสนถศากึ นษศา กึปษระาเภลทกูลเกู สเสอื อื โสทามชญั นั้ ปหรละกั ถสตูมรศลึกกู ษเสาอื ปเอที กี่ 6 169
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6

8
8












ความหมายของกระบวนการลกู เสอื (Scout movement)
ความหมตาายมขคาํอนงยิ การมะขบอวงลนกู กเสาือรโลลกูกเหสมือาย(Sถึงcoกuรtะบmวoนvกeาmรเรeียnนt)รู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง

สําหรับเยตาาวมชคนํานเพิยื่อาสมรข้าองงเลยูกาวเสชือนโทลี่มกีจหิตมใจาเยสถียึงสลกะระรบับวผนิดกชาอรบเรีแยลนะรอ๎ูแุทลิศะพตันฒแนกา่สตังนคเมองดอ้วยยําวงิธตีกํอาเนร ื่อง
สลํากู หเสรบัอื เยาวชน เพือ่ สร๎างเยาวชนทม่ี ีจติ ใจเสยี สละ รบั ผดิ ชอบ และอทุ ิศตนแกํสังคม ดว๎ ยวธิ กี ารลกู เสือ

ตตาามมแแนนววททาางกงการาจรัดจกัดิจกกิจรกรรมรพมัฒพนัฒานผู๎าเรผียู้เนรีย2น522252)ส2พฐ(.(สหพมฐา.)ยหถึมงการยะถบึงวกนรกะาบรวทนากงการาทรศาึกงษา
สกํวานรหศึนกษ่งึ าซสง่ึ ่วมนงุํ พหฒันึ่งนาซสึ่งมมรุ่งรพถัฒภานพาขสอมงรบรถคุ คภลาพทขัง้ อทงาบงสุคมคอลงทรั้งําทงกาางยสมจอติ งใจร่าแงลกะาศยีลธจริตรมใจเพแลอ่ื ะใหศีล๎เปธ็นรรบมคุ คล
ทเพ่ีมื่คีอวใหาม้เป็นระบพุคฤคตลิดทงี ี่ามมีควไมามํกรปะรทะาํพตฤนตเปิด็นีงปามัญหไมาส่กงั รคะมทําแตละนดเําปร็นงปชวีัญติ หอายสาํ ังมคคีมวแามลหะดมํายรงแชลีวะิตสอุขยส่าบงามยี

หคลวาักมกหามราลยกู แเลสะสอื ขุ (สSบcาoยut principle)
หลักการหลลกักู กเสารือลกู(Sเสcอื oโuลกt เpนrน๎ inทcห่ี iนp๎าleท)หี่ ลัก 3 ประการ คอื

1ห.หลักนก๎าทารตี่ ลอํ กู พเสระือเโจล๎าก/ศเนาน้สนทาหี่ นไดา้ ทแ๎ กห่ี ํลกกั าร3แสปวรงะหการแลคะอื ดาํ เนินชีวิตอยํางมคี ณุ คําและความหมาย
21..หหนน๎า้ าทท่ีตี่ ตํอ่ อผพู๎อรื่ นะ เไจด้ า๎แ/ ศกํากสานราเคไาดร้ แพก่ใหก๎าเกรียแรสตวิ งชหํวายแเลหะลดือํ าผเู๎อนื่นิ น ชรี วิมตถอึงยก่ าางรมดี คู แุ ณลคส่ังาคแมล ะแล ะ
สคง่ิ วแาวมดหลมอ๎ ามย

32..หน๎้าที่ต่อํอผตู้อน่ืนเอไดง้แไกด่ ๎กแากรํ เพคัฒารนพาใตหน้เกเอียงรทตั้ิงชด่ว๎ายนเหรําลงือกผู้าอย่ืน รจวิตมใถจึงกอารรดมูแณล๑สสังัคงคมมแลแะละ
จสิติง่ วแิญวดญลา้อณม

ห3ล.หักนก้าาทรี่ลตูก่อเตสนือเไอทงยไมดี ้5แกข่ อ๎ พคัฒอื นาตนเองทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ
จติ วิญญา1ณ. มศี าสนาเป็นหลกั ยึดทางใจ

2. จงรักภกั ดีตํอพระมหากษัตรยิ ๑และประเทศชาติ
คมู่ ือสง่ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสอื สารอง ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 127

170 คูมํ อื สํงเสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสือทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6
คูม่ อื สง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสือทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลกั สูตรลูกเสอื เอก 165
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6

3. เข๎ารํวมพัฒนาสังคม ยอมรับ เคารพในเกียรติและศักดิ์ศรีผ๎ูอื่นและเพ่ือนมนุษย๑ทุกคน
รวมท้งั ธรรมชาติ และสรรพส่งิ ท้ังหลายในโลก

4. รับผิดชอบตอํ การพัฒนาตนเองอยาํ งตอํ เนือ่ ง
5. ยดึ มั่นในคาํ ปฏิญาณและกฎของลกู เสอื

วธิ กี ารลกู เสอื (Scout method)

วธิ ีการลูกเสอื โลก มี 8 องค๑ประกอบ โดยแบํงออกเป็น 3 กลุํม คือ
กลุํมท่ี 1 ผใู๎ หญํมหี นา๎ ท่ีชวํ ยเหลอื และสงํ เสรมิ เยาวชนใหเ๎ กดิ การเรยี นรูใ๎ นกลุํม
กลํมุ ท่ี 2 มกี ิจกรรมทบ่ี รรลุวตั ถปุ ระสงคใ๑ นการพัฒนาเยาวชนอยาํ งตอํ เนอื่ งและเปน็ ระบบ
กลมํุ ที่ 3 เป็นลกั ษณะกจิ กรรมท่ีใช๎ มี 6 องค๑ประกอบ
1. ยดึ ม่ันในคําปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื
2. ใชร๎ ะบบสญั ลักษณ๑เป็นแรงกระต๎ุนไปสเูํ ปฺาหมายในการพฒั นาตนเอง
3. ระบบหมูํ )กลุํมเรยี นรร๎ู วํ มกนั (
4. เรยี นร๎ใู กลช๎ ดิ ธรรมชาติ
5. เรยี นรู๎จากการลงมอื ปฏบิ ัติ / เกม
6. เรียนร๎จู ากการบรกิ ารผอู๎ น่ื
วิธกี ารลูกเสอื ไทย ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน 2551 มี 7 องค๑ประกอบ คอื
1. ความก๎าวหนา๎ ในการเขา๎ รวํ มกจิ กรรม
2. การสนับสนุนโดยผู๎ใหญํ
3. ยึดม่ันในคําปฏญิ าณและกฎ
4. การใช๎สญั ลักษณ๑รํวมกนั
5. ระบบหมํู
6. การศึกษาธรรมชาติ
7. เรียนร๎จู ากการกระทาํ

วิธีการลกู เสอื สร๎างทกั ษะชีวติ ได๎อยาํ งไร

วธิ กี ารลูกเสอื มอี งคป๑ ระกอบครบทัง้ 5 ประการ ของกระบวนการเรียนการสอนทีย่ ึดผเ๎ู รยี นเปน็
ศูนย๑กลาง การสร๎างทักษะชีวติ ทงั้ 12 องค๑ประกอบ เกดิ ข้นึ ดว๎ ยกิจกรรมดงั ตารางตํอไปน้ี

166 คมูํ ือคสมู่ ํงือเสสง่ รเสิมรแิมลแะลพะพัฒัฒนนาากกิจิจกกรรรรมมลลูกกู เสเสือทอื กัทษกั ะษชะีวชิตีวในติ สใถนาสนถศาึกนษศา ึกปษระาเภลทกูลเกู สเสอื ือโสทามชญั ้นั ปหรละักถสูตมรศลึกกู ษเสาอื ปเอที กี่ 6 171
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6

วิธกี ารลูกเสือ มอี งค์ประกอบครบท้งั 5 ประการ ของกระบวนการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียน
เปน็ ศนู ย์กลาง การสรา้ งทักษะชวี ิตทัง้ 12 องค์ประกอบ เกิดขนึ้ ดว้ ยกิจกรรมดังตารางต่อไปน้ี























มแวรสวลัน่ตั บังตัะคถบผชถงสุปดิํวขุปยุขชรอเสอรงะพแเรบะปพสลื่อา๎ สระ่ืองงพแะคงสคพลเัฒวครทะ์คัฒรานชศ์คคมณาน่วชณ๑สมลยาาะังูก่ันตสละคลเคูริกลสมตกู้างเอืูกใาขงสเหทมสสอเือเ๎ั้งสแรงกือททรปนือิดั้แงคารวแคทง์สหะทวกหเาังาํงทาาคงง่งชมยศกมดชสาชาังใสาาตาหยตตมตต้อํเิ ิปัคก)ิสิไพต(ญัคิดปตพารี คญินปแมระวละ้ีรัญแาาราะนาญจมชมวชิตบสคี าทบใาัญวจาญัจมางญิมตัแคดญตัเลใคังจัตจิละตี ริลศแกู ่อิญแกูลีลเไลสกเธะปสือะมร๎านอืศรวีคพี้มีหลพว.ธนศาใ.ศรหม๎า. ร.เ๎เ2ทปจม25้งัร็น55นิญใ51พห้ีเ1กพลม้เ้ามปเื่อามวา็ตนคือหตรวพงนราาดลา้าม8ี เมส8(มท)งคี ือ้ังบวงนสาดี้เมขุ พี รมแื่อบั ีคลคผะววิดคาาชวมมอามบ

11. .ใหให๎ม้มีนีนสิ สิยั ัยชชาํ ่างงสสงั งัเกเกตตจจดดจจาํ าํ เชเช่อื ือ่ฟฟังงั แแลละะพพ่งึ งึ่ตตนนเอเองง
22. .ใหให๎ซ้ซ่ือ่ือสสตั ัตยย๑ส์สจุ จุรริติตมมีรรีะะเบเบยี ยี บบววินนิ ัยัยแแลละะเหเห็นน็ ออกกเหเห็น็นใจใจผผ๎ูออู้่ืน่นื
33. .ใหใหร๎ รู้๎จจู้ักกั บบาํ ําเพเพญ็ ญ็ ตตนนเพเพ่ืออ่ืสสาาธธาารรณณปปรระะโยโยชชนน๑ ์
44. .ใหให๎ร้รู๎จูจ้กั ักททาํ ํากกาารรฝฝีมมี อื ือแแลละะฝฝึกึกฝฝนนใหใหท๎ ท้ ําํากกจิ ิจกกาารรตตําา่งงๆๆตตาามมคคววาามมเหเหมมาาะะสสมม
55. .ใหให๎ร้ร๎ูจจู้กั ักรรกั ักษษาาแแลละะสสงํ ง่เสเสรรมิ มิ จจาารรตี ีตปปรระะเพเพณณี วี วัฒัฒนนธธรรรรมมแแลละะคคววาามมมมั่น่นั คคงงขขอองงปปรระะเทเทศศชชาาตติ ิ

หหลลกั ักสสตู ตู รรลลูกกู เสเสือือเสเสรริมมิ สสรร๎าา้งงททกั ักษษะะชชวี ีวิตติ

หสทหอล่ีสลดักักอคสดสูตลตูค๎อรรลแงหแอ้ลกหลละงับละัวกกปกัวิชบัสิชัญสาูตปาชูตหรัญชพีรลาพีลหพูกตกูพาเิเาเตสศิเมสศืาอษอืวมษเลเัยสวสลูกแรยัรูกเิมลมิแสเะสสลอืสพือระรส๎าพัสฒา้ํางงํารัฒนททรอนาอักักงกงาษษสกาสะะราาชชาดมรมีวีวด๎าัญติัญิตน้าไไนตสดดสตําา้ใา๎ใา่มงชชมง้ขัญ๎ขๆัญอ้ๆ๎อรรบขํุนบุ่นขังอใังใอคหงหคงับลญับญลูคกกูคํ่ณเแแเณสสลละือือะะละลววกูโโูิกสสิดเดสาาเยยสมอืมจจือแญััญัดัดแหหหหเ่งเปนปนชํงํ็นว็ชนา่วยตหายหกิวตลกลา่ิจิวักิจักดกํากแ้วดรแรลยร๎วลระกมยมะเาเกพตตพราาา่ิมป่ิมรมมเกปเนททนคก้ือ่ีี่รรื้อรคะหะอหบบรางาอุใุ ทนง่ี
หปรละกั เสภตู ทรจขงึคอแูม่ งตอืลกสกู ต่งเเสาํสงอืรกิมแนัแตลลํ ะะพปฒั รนะเาภกทิจกดรรังมนลัน้ กู เชสอื่อื หทักนษวํ ะยชกวี ิจติ กในรสรมถานแศลกึะจษําานลวกู นเสหือนสาํวรยอกงิจชกั้นรปรรมะขถอมงศลกึ ูกษเาสปือที แ่ี 2ตํละ129

แผนการจัดกิจกรรมลูกเสือเสริมสร๎างทักษะชีวิตในคูํมือชุดนี้ ได๎ออกแบบโดยบูรณาการ
กิจกรรมท่ีเสริมสร๎างทักษะชีวิตเข๎ากับวิธีการลูกเสือ คือการใช๎ระบบหมํูหรือกลุํมยํอย โดยให๎เด็กเป็น

172 คูํมอื สงํ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6
คูม่ ือส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสือทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลกั สตู รลกู เสือเอก 167
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6

ศนู ยก๑ ลาง และมีผใ๎ู หญํทาํ หนา๎ ท่ีชํวยเหลอื และสงํ เสริมใหเ๎ กดิ กระบวนการเรียนรู๎ในกลํุม แนะนํา สั่งสอน
และฝึกอบรมใหส๎ ามารถพ่งึ ตนเองได๎ มีจิตอาสา รับผิดชอบตอํ สวํ นรวม ยึดมัน่ ในคําปฏิญาณและกฎของ
ลูกเสอื เสริมสรา๎ งคุณคาํ ในตนเอง รวมทง้ั ใช๎ระบบเคร่อื งหมายหรอื สัญลักษณท๑ างลูกเสือและเครื่องหมาย
วชิ าพเิ ศษ เปน็ แรงกระตน๎ุ ไปสํูเปฺาหมายในการพัฒนาตนเอง

องค๑ประกอบในการประชุมกอง เน๎นการใช๎ชีวิตกลางแจ๎ง นอกห๎องเรียน ใกล๎ชิดธรรมชาติ
เรยี นร๎ูจากการลงมือปฏิบัตดิ ว๎ ยตนเอง เกม และการบริการผ๎ูอ่ืน ซึ่งถือเป็นหัวใจของกิจกรรมลูกเสือทุก
ประเภท โดยกจิ กรรมที่ใช๎ แบํงออกเป็น 5 ประเภท คือ การแสดงออก การรายงานและการสํารวจ การ
วิเคราะห๑และการประเมิน เกมและการแขํงขัน การบําเพ็ญประโยชน๑ การออกแบบกิจกรรมเพ่ือให๎
ลูกเสือใช๎กระบวนการกลํุมในการแลกเปล่ียนประสบการณ๑ แลกเปล่ียนความคิดความเชื่อ สร๎างองค๑
ความร๎ูและสรปุ ความคิดรวบยอด รวมทั้งเปิดโอกาสให๎ลูกเสือได๎ประยกุ ต๑ใชส๎ ง่ิ ทไี่ ด๎เรียนร๎อู กี ด๎วย

เนือ้ หาสาระในแผนการจัดกจิ กรรมแบงํ ออกได๎เป็น 3 กลมํุ ประกอบดว๎ ย

1.กิจกรรมตามข๎อบังคับของคณะลูกเสอื แหงํ ชาติ )ไมํรวมกิจกรรมทดสอบเพื่อรับเครื่องหมาย
หรอื สญั ลกั ษณท๑ างลกู เสือและเคร่ืองหมายวิชาพเิ ศษ(

2. กิจกรรมตามข๎อบังคับของคณะลูกเสือแหํงชาติท่ีชํวยเสริมสร๎างทักษะชีวิตด๎านคุณธรรม
จริยธรรม ความภาคภมู ใิ จในตนเอง ความรับผดิ ชอบตอํ สํวนรวม

3.กจิ กรรมเสริมสร๎างทักษะชีวิต เพ่ือสร๎างภูมิค๎ุมกันทางสังคมตํอเหตุการณ๑และสภาพปัญหา
ของเด็กแตํละวัย

สําหรับกิจกรรมลูกเสือตามข๎อบังคับ เพื่อการขอรับเคร่ืองหมายลูกเสือช้ันพิเศษ และ
เคร่อื งหมายลูกเสอื หลวง ไมไํ ด๎นํามารวบรวมไวใ๎ นคูํมอื การจดั กจิ กรรมลูกเสอื ชดุ น้ี

คูํมือมีจํานวน 11 เลํม ตามช้ันปีของลูกเสือ 4 ประเภท แตํละเลํม ได๎จัดทําตารางหนํวย
กิจกรรม และแผนการจัดกิจกรรมครบ 40 ช่ัวโมง เพื่อให๎เห็นภาพรวมของการจัดกิจกรรมลูกเสือ
เสริมสร๎างทักษะชีวิตของลูกเสือในแตํละระดับช้ัน และมีหมายเหตุบอกไว๎ในตารางชํองขวาสุด วําเป็น
แผนการจดั กจิ กรรมเสริมสร๎างทกั ษะชีวิต

แผนการจดั กิจกรรมประกอบดว๎ ย จดุ ประสงค๑การเรียนร๎ู เน้ือหา สื่อการเรียนรู๎ กิจกรรม การ
ประเมินผล องค๑ประกอบทักษะชีวิตสําคัญท่ีเกิดจากกิจกรรม และภาคผนวกประกอบแผนการจัด
กิจกรรม )เพลง เกม ใบงาน ใบความร๎ู เรอ่ื งท่เี ป็นประโยชน๑(

ภาพรวมการพัฒนาหลกั สตู รลกู เสอื เสรมิ สรา๎ งทกั ษะชีวิต

1. เรมิ่ จากการศึกษาเอกสาร งานวิจยั หลักสูตรลูกเสือไทยและตํางประเทศ รวมท้ังสัมภาษณ๑
ผเ๎ู ชี่ยวชาญด๎านลกู เสอื

2. สัมมนาครู ผป๎ู กครอง นกั พัฒนาเยาวชน และผู๎เชี่ยวชาญดา๎ นกิจกรรมเด็กและเยาวชน เพื่อ
รวํ มกันคน๎ หาปญั หาจริงของเด็กแตลํ ะวยั และออกแบบกจิ กรรมท่เี หมาะสม

168 คมูํ ือคสูม่ ํงือเสส่งรเสมิ รแิมลแะลพะพัฒัฒนนาากกิจจิ กกรรรรมมลลูกูกเสเสอื ทือักทษักะษชะวี ชิตวีในิตสใถนาสนถศากึ นษศา กึปษระาเภลทกูลเูกสเสืออื โสทามชญั น้ั ปหรละกั ถสตูมรศลึกกู ษเสาือปเอีทกี่ 6 173
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6

3. จัดทําคํูมือการจัดกิจกรรมลูกเสือเสริมสร๎างทักษะชีวิต 4 ประเภท ได๎แกํ ลูกเสือสํารอง
ลูกเสอื สามัญ ลูกเสือสามัญรํุนใหญแํ ละลกู เสือวิสามัญ รวมทงั้ ส้นิ 11 เลํม โดยผํานการประเมิน ปรับปรุง
และพัฒนา จนเปน็ ทยี่ อมรบั และนําไปใช๎ในสถานศกึ ษาจํานวนมาก

4. จัดทําหลักสูตรการฝึกอบรมผู๎กํากับลูกเสือสํารอง ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุํนใหญํและ
ลูกเสือวิสามัญ ข้ันความร๎ูเบื้องต๎น และข้ันความรู๎ช้ันสูง รวม 8 ประเภท โดยได๎รับการอนุมัติจาก
คณะกรรมการบริหารลูกเสือแหํงชาติ ในการประชุม คร้ังท่ี 2/2557 เมื่อวันท่ี 22 กันยายน 2557 ให๎ใช๎
เปน็ หลกั สตู รการฝกึ อบรมผ๎ูกาํ กบั ลกู เสือของสาํ นกั งานลกู เสอื แหํงชาติ

5. จดั ทาํ คํมู อื ฝกึ อบรมวทิ ยากรลกู เสอื เสรมิ สรา๎ งทักษะชวี ิต เพ่อื ขยายผลในการสร๎างวิทยากร
และฝกึ อบรมผูก๎ าํ กบั ลกู เสือในสถานศกึ ษาทว่ั ประเทศ

174 คูํมือสงํ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสือทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6
คู่มอื ส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามัญ หลกั สตู รลูกเสือเอก 169
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6

ภาคผนวก ข

กิจกรรมลูกเสอื เสริมสร๎างทกั ษะชีวติ

การจัดกิจกรรมลูกเสือเสริมสร๎างทักษะชีวิตนั้น ยังคงหลักการ และวิธีการของลูกเสือไว๎ ทุก
ประการ แตเํ น๎นการสอดแทรกการเรียนรู๎ทักษะชีวิตเพ่มิ เข๎าไปด๎วยเพื่อตอบสนองวัตถุประสงค๑ท่ีรอบด๎าน
และครอบคลุมการดาํ รงชวี ิตในปัจจุบนั

คณุ คาํ ของสอ่ื การเรียนการสอนประเภทกจิ กรรม

สื่อการเรียนการสอนประเภทกิจกรรม เป็นกระบวนการเรียนการสอนที่ให๎ผ๎ูเรียนได๎ มีโอกาส
เรียนรปู๎ ระสบการณต๑ าํ งๆ ดว๎ ยตนเอง ผํานการทํากิจกรรมรํวมกัน ผู๎เรยี นได๎เรยี นร๎จู ากประสบการณ๑ของ
เพ่ือนในกลุํม ทําให๎สามารถเรียนรู๎ได๎มากขึ้นโดยใช๎เวลาน๎อยลง การออกแบบกิจกรรมจะต๎องกระตุ๎นให๎
ผู๎เรียนเกดิ ความสนใจ และรวํ มมอื ในการทํากจิ กรรมท่กี ําหนดใหอ๎ ยํางเตม็ ที่ จึงจะเกดิ การเรียนรู๎ได๎อยาํ งมี
ประสทิ ธิภาพ ผลทเี่ กิดข้นึ ตํอผเ๎ู รียนมีดงั นี้

1. สงํ เสริมให๎ผู๎เรียนกล๎าแสดงออกและทาํ งานรํวมกับผูอ๎ ืน่ ได๎
2. เกดิ ความสนกุ สนานเพลดิ เพลิน ซ่งึ เป็นลกั ษณะเฉพาะของส่ือการสอนประเภทกิจกรรม
3. เปดิ โอกาสให๎ผ๎ูเรยี นมสี วํ นรวํ มในการกาํ หนดขอบขําย เนอ้ื หา และวตั ถปุ ระสงค๑
4. ผู๎เรียนได๎ฝึกฝน พฤติกรรมการเรียนรู๎ทั้งทางด๎านความร๎ู เจตคติ และทักษะ รวมทั้งความคิด
สร๎างสรรค๑ และจนิ ตนาการด๎วย

ประเภทของกจิ กรรมลกู เสอื เสริมสรา๎ งทกั ษะชีวติ

เมือ่ จดั ประเภทตามทกั ษะ/ความสามารถ ในการปฏิบัตกิ จิ กรรม แบํงออกไดเ๎ ปน็ 5 ประเภท คือ
1. กจิ กรรมการแสดงออก เป็นกจิ กรรมท่เี ปิดโอกาสให๎ลูกเสือได๎ใช๎ความสามารถในการแสดงออก
แสดงความคิดสร๎างสรรค๑ จินตนาการในรปู แบบตาํ ง ๆ ซึง่ มักจะเปน็ การจาํ ลองประสบการณ๑ตําง ๆ มาเพ่ือ
การเรยี นร๎ไู ดง๎ าํ ยและสะดวกข้นึ หรือเป็นสิ่งที่ใช๎แทนประสบการณ๑จริง เพราะศาสตร๑ตํางๆ ในโลก มีมาก
เกินกวาํ ท่จี ะเรยี นร๎ูได๎หมดส้ินจากประสบการณ๑ตรงในชีวิต และบางกรณีก็อยํูในอดีต หรือซับซ๎อนเร๎นลับ
หรือเป็นอันตราย ไมสํ ะดวกตํอการเรยี นรู๎จากประสบการณจ๑ ริง
ตวั อยาํ งกจิ กรรม เชํน
1.1 สถานการณ๑จําลอง เป็นการจัดสภาพแวดล๎อมให๎ใกล๎เคียงกับสภาพความเป็นจริงมากท่ีสุด
เพื่อให๎ผเู๎ รียนไดฝ๎ ึกฝน แก๎ปญั หาและตดั สินใจจากสภาพการณ๑ทก่ี าํ ลังเผชิญอยูํน้นั แล๎วนาํ ประสบการณ๑แหงํ
ความสําเร็จไปเป็นแนวทางในการแก๎ปญั หา
1.2 การสาธติ กระบวนการที่ผสู๎ อนชํวยใหผ๎ ๎ูเรียนได๎เกิดการเรียนรต๎ู ามวัตถุประสงค๑ โดยการแสดง
หรอื กระทาํ ใหด๎ ูเปน็ ตัวอยาํ ง ใหค๎ วามสําคัญกบั กระบวนการท้ังหมดทผ่ี เ๎ู รียนจะต๎องเฝฺาสังเกตอยํูโดยตลอด
1.3 เลาํ นทิ าน
1.4 ละคร หนํุ จาํ ลอง

170 คูมํ อื คสู่มํงือเสส่งรเสิมรแมิ ลแะลพะพฒั ฒั นนาากกจิจิ กกรรรรมมลลกู ูกเสเสอื ทอื ักทษักะษชะวี ชิตวีในติ สใถนาสนถศาึกนษศา ึกปษระาเภลทกูลเูกสเสอื อื โสทามชัญ้นั ปหรละกั ถสูตมรศลกึ กู ษเสาอื ปเอีทก่ี 6 175
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

1.5 เพลง ดนตรี การเคล่อื นไหวตามจังหวะดนตรี หมายถึง กิจกรรมท่ีเน๎นการใช๎ดนตรีเป็นสื่อใน
การเรียนร๎ทู งั้ ในแงํเน้อื หาและความบนั เทิง ผอํ นคลาย และเข๎าถงึ วฒั นธรรมตาํ ง ๆ

1.6 ศลิ ปะ แขนงอน่ื ๆ เชํน การวาดรปู การป้ันดนิ เหนยี ว งานหตั ถกรรม การรอ๎ ยดอกไม๎
1.7 การโต๎วาที

ฯลฯ
2. กจิ กรรมการการสํารวจและการรายงาน เปน็ กจิ กรรมท่ีเน๎นใหล๎ ูกเสอื ไดเ๎ รียนรูจ๎ ากความเปน็ จริง
/เหตุการณ๑จริง ในชีวิตประจําวัน ผํานประสบการณ๑ตรงด๎วยตนเอง ซึ่งเป็นรากฐานสําคัญของการศึกษา
เชนํ การทําแผนที่ การสาํ รวจ หมายถึง การเรียนร๎ูผํานสถานการณ๑จริงด๎วยการลงพ้ืนท่ีสํารวจ และจําลอง
สงิ่ ท่ีได๎เรยี นรู๎สแํู ผนที่ ภาพ หรอื สัญลกั ษณ๑ เพอ่ื แสดงความคดิ รวบยอดของสง่ิ ทไี่ ดเ๎ รียนร๎นู ้ัน

ตัวอยาํ งกิจกรรม เชนํ
การสมั ภาษณ๑ การเป็นผส๎ู ่อื ขาํ ว การทาํ สารคดี การศึกษานอกสถานที่ ชุมชนศกึ ษา การผลติ ส่ือ การทําปูม
ชวี ติ บุคคลตวั อยาํ ง การจดั นทิ รรศการ การสอดแนม การสํารวจ การทําแผนที่ การเขียนเรียงความการเลํา
เรอ่ื ง ฯลฯ

3. กิจกรรมการวิเคราะห๑และการประเมนิ เปน็ การเรยี นรทู๎ ่เี กิดจากการแลกเปลี่ยนความคดิ เห็นและ
รํวมกันวิเคราะห/๑ ประเมนิ สิง่ ตาํ งๆทเ่ี กิดขนึ้

ตวั อยาํ งกจิ กรรม เชนํ
การเปรยี บเทยี บคณุ คาํ การประเมนิ ความเส่ยี ง การทาํ แผนทค่ี วามคิด ฯลฯ
4. การเลํนเกมและการแขํงขัน

4.1 เกม เปน็ กจิ กรรมท่มี กี ฎกตกิ า และลําดับขั้นตอน ท่ีเอ้ือให๎ลูกเสือเกิดการเรียนรู๎ผําน
การเลํนเกม ใหข๎ ๎อคิดท่ีสอดคล๎องกบั ผลการเรียนร๎ทู ี่ต๎องการ เชนํ เกมกระซิบ เปน็ ตน๎

4.2 การแขงํ ขนั เป็นกิจกรรมที่มีกติกาในการแขํงขัน และมีการตัดสินหาผ๎ูชนะ เชํน การ
ตอบปัญหาในเร่ืองตาํ ง ๆ เพือ่ กระตุน๎ ใหเ๎ กดิ ความสนใจใฝูร๎มู ากขนึ้ ฯลฯ

5. กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน๑ เป็นกจิ กรรมสร๎างสรรค๑ท่ีเน๎นการฝึกความเสียสละของลูกเสือ ได๎แกํ
การจัดกจิ กรรมการกศุ ล การซํอมของเลนํ ใหน๎ ๎อง การดูแลทําความสะอาดสถานที่ การปลูกและดูแลต๎นไม๎
การเกบ็ ผกั จากแปลงไปประกอบอาหารเลย้ี งน๎อง ฯลฯ

หลกั การออกแบบกจิ กรรม

1. การเลือกประเภทของกจิ กรรม ตอ๎ งสอดคลอ๎ งกบั ผลการเรียนร๎ูที่ต๎องการ เชํน

ผลการเรยี นร๎ดู ๎านพุทธิพสิ ัย มักเลอื กใช๎ กจิ กรรมการวเิ คราะห๑และการประเมนิ การรายงาน และ

การแขงํ ขนั ตอบปญั หาในเร่อื งเนื้อหาท่ีตอ๎ งการใหเ๎ รียนรู๎ เป็นตน๎

ผลการเรียนรู๎ด๎านจิตพิสัย มักเลือกกิจกรรมท่ีสร๎างความร๎ูสึกท่ีสอดคล๎องกับผลการเรียนรู๎ที่
ตอ๎ งการ เชํน กจิ กรรมการแสดงออก เกม กจิ กรรมบาํ เพ็ญประโยชน๑ เป็นต๎น

ผลการเรียนร๎ูด๎านทักษะพิสัย ถ๎าเป็นทักษะทางสติปัญญานิยมใช๎กิจกรรมการวิเคราะห๑ และ
ประเมินสวํ นทักษะทางกายภาพ เลอื กได๎เกอื บทกุ ประเภท

176 คูํมือสงํ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6
คู่มือส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลักสตู รลูกเสือเอก 171
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

2. การตั้งประเด็นอภิปราย เพ่ือให๎ลูกเสือได๎รํวมอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในเรื่องที่
สอดคลอ๎ งกบั ผลการเรยี นร๎ูที่ต๎องการ เชนํ

ผลการเรียนร๎ูดา๎ นพุทธิพิสัย ตัง้ ประเดน็ ให๎ วเิ คราะห๑ /สงั เคราะห๑ /ประเมิน เนื้อหาที่ต๎องการให๎
ผ๎เู รยี นเกดิ ความเข๎าใจอยํางถอํ งแท๎ เกดิ ความคดิ รวบยอดทีช่ ดั เจน และสามารถนําไปประยกุ ตใ๑ ช๎ได๎จริง

ผลการเรยี นรดู๎ า๎ นจติ พิสยั ตง้ั ประเดน็ ใหเ๎ กิดการโต๎แย๎งกนั ดว๎ ยเหตผุ ลในเรอื่ งความคิดความเช่ือ
ทเ่ี กย่ี วข๎องกับเจตคตทิ ีต่ ๎องการ เพื่อใหส๎ มาชิกแตํละคนไดม๎ โี อกาสตรวจสอบความคิดความเชื่อของตนเอง
ที่แตกตํางจากคนอื่น ทําให๎เกิดการปรับเปลี่ยนความคิดความเช่ือจากการโต๎แย๎งกันด๎วยเหตุผลใน
กระบวนการกลุํม

ผลการเรยี นร๎ดู ๎านทักษะพิสยั ต้งั ประเดน็ ให๎เกดิ ความเข๎าใจอยํางถอํ งแทใ๎ นข้นั ตอนการทําทักษะ

น้ัน ๆ เชนํ การวเิ คราะห๑ความครบถ๎วนในการทําตามข้ันตอนของทักษะ การวิเคราะห๑จุดอํอน ท่ีมักจะทํา
ทกั ษะนน้ั ๆ ไมํสําเรจ็ เป็นต๎น

3. การสรุปความคิดรวบยอดและประยกุ ตใ๑ ช๎ ทุกกจิ กรรมควรมีการสรุปความคิดรวบยอดที่เกิดข้ึน
ใหช๎ ดั เจน และเปดิ โอกาสให๎ไดล๎ องประยกุ ตใ๑ ช๎ ไดแ๎ กํ

ผลการเรียนรู๎ด๎านพุทธิพิสัย ความคิดรวบยอดคือเนื้อหา องค๑ความรู๎ที่ต๎องการให๎เกิดข้ึน
ประยุกต๑ใช๎โดยผลิตซา้ํ ความคิดรวบยอดในรูปแบบท่ีตาํ งจากเดมิ เชนํ การทํารายงาน ทําสรปุ ยํอ ฯลฯ

ผลการเรียนร๎ูด๎านจิตพิสัย ความคิดรวบยอดไมํมีเน้ือหา แตํเป็นความรู๎สึกและความคิดความ
เช่อื ท่เี กดิ ขนึ้ ภายในตัวผู๎เรียน ประยุกต๑โดยการแสดงออกท่ีสอดคล๎องกับเจตคติท่ีเกิด เชํน การกระทําท่ี
แสดงออกถงึ ความซอ่ื สัตย๑ การกระทาํ ทแี่ สดงออกถงึ ความเปน็ สภุ าพบุรุษ สุภาพสตรี เป็นต๎น

ผลการเรียนรดู๎ า๎ นทกั ษะพสิ ัย ความคิดรวบยอดที่เกิดคอื ความเขา๎ ใจขนั้ ตอนและทําทกั ษะนั้น ๆ
ได๎ ประยกุ ต๑โดยการฝกึ ฝนทกั ษะนั้นจนชํานาญ

172 คํมู ือคสู่มํงอื เสส่งรเสมิ รแมิ ลแะลพะพัฒัฒนนาากกจิจิ กกรรรรมมลลูกกู เสเสือทอื ักทษักะษชะีวชิตวีในิตสใถนาสนถศากึ นษศา ึกปษระาเภลทกูลเูกสเสอื อื โสทามชัญ้นั ปหรละกั ถสูตมรศลกึ กู ษเสาอื ปเอีทกี่ 6 177
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6

ภาคผนวก ค

แนวปฏบิ ัตกิ ารสอบวชิ าพิเศษ

ใหโ๎ รงเรยี นดําเนินการแตํงต้งั กรรมการ เพ่ือดาํ เนินการสอนและสอบวชิ าพิเศษ โดยออกคาํ สัง่ ใน
นามโรงเรียน เมอ่ื ทําการสอนแลว๎ ให๎จดั สอบภาคทฤษฎี และ ภาคปฏบิ ตั ิ จากนัน้ ใหท๎ าํ เรอ่ื งขออนมุ ัติผล
การสอบ และขอประดับเคร่อื งหมายวชิ าพิเศษ ไปยงั เลขาธกิ ารคณะกรรมการบริหารลกู เสอื แหงํ ชาติ
หรือผอ๎ู ํานวยการลกู เสือจงั หวัด แล๎วแตกํ รณี ดงั นี้

1. รายช่ือผเู๎ ขา๎ สอบ
2. ผบู๎ ังคับบัญชาลกู เสือขออนญุ าตสอบวิชาพเิ ศษตํอผู๎อาํ นวยการลูกเสอื โรงเรยี น
3. โรงเรียนออกคาํ ส่งั แตํงต้งั คณะกรรมการดาํ เนนิ การสอบ
4. สอบภาคทฤษฎี
5. สอบภาคปฏิบัติ
6. รายชอื่ ลูกเสอื ท่ีสอบได๎ - ตก แตํละรายวชิ า
7. หนังสอื ขออนุมัติผลการสอบและขอประดบั เครอื่ งหมายวชิ าพิเศษ สงํ ไปยังสาํ นกั งานลกู เสอื

เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาเพ่ืออนุมัติ
8. โรงเรียนออกหนังสือรบั รองให๎กับลกู เสือตามรายวิชาท่สี อบได๎

178 คํูมอื สํงเสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชีวิตในสถานศึกษา ลกู เสือโท ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6
คู่มอื สง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสือทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามญั หลักสูตรลูกเสอื เอก 173
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6

หนังสอื ขออนุมัติผลการสอบวิชาพเิ ศษลกู เสอื – เนตรนารี สามัญ

ที่ ุุุุ../ุุุุุุุ.
โรงเรียนุุุุุุุุุุุุ

วันท่ีุุ..เดอื นุุุุุุุุุ.พ.ศุุุุ

เรือ่ ง ขออนมุ ตั ิผลการสอบวิชาพเิ ศษลกู เสือ – เนตรนารีสามัญ และประดบั เครอ่ื งหมายวิชาพเิ ศษ
เรียน เลขาธิการคณะกรรมการบริหารลกู เสือแหํงชาติ / ผู๎อํานวยการลกู เสอื จังหวดั ุุุุุ..
สงิ่ ทส่ี ํงมาด๎วย 1. คําสัง่ แตงํ ตง้ั คณะกรรมการสอบวชิ าพิเศษ

2. รายชอ่ื ลูกเสือ – เนตรนารี ที่สอบวิชาพเิ ศษ
3. ขอ๎ สอบภาคทฤษฎี
4. ขอ๎ สอบภาคปฏิบตั ิ
5. โครงการ )ถา๎ ม(ี
ด๎วยโรงเรยี นุุุุุุุุุุุไดท๎ าํ การอบรมและสอบวิชาพเิ ศษ ลกู เสือ – เนตรนารี
สามัญ ใหแ๎ กํลกู เสือสามญั จาํ นวน ุุุคน เนตรนารสี ามญั จาํ นวนุุ..คน
รวมท้ังสิ้น ุุุุคน ตง้ั แตวํ ันทีุุุุ่.เดอื นุุุุุุุุพ.ศ. ุุุุุ.ถงึ วันท่ีุ..
เดือนุุุุุุุุพ.ศุุุุุ.. โดยทําการสอบวิชาพิเศษ จาํ นวนุุุุ.วิชา ดังนี้
1. วชิ าุุุุุุุุุุ..
2. วิชาุุุุุุุุุุ..
3. วิชาุุุุุุุุุุ..
บัดนี้ คณะกรรมการได๎ดําเนินการสอบวชิ าพเิ ศษ ลกู เสอื – เนตรนารสี ามญั เปน็ ทเี่ รยี บรอ๎ ยแลว๎
ดงั รายละเอยี ดทสี่ ํงมาพร๎อมนี้
จึงเรยี นมาเพอื่ ขอได๎โปรดพจิ ารณาอนมุ ตั ิดว๎ ย จะเปน็ พระคณุ ยิง่

ขอแสดงความนบั ถือ

) ุุุุุุุุุุุุุุ. (
ผู๎อาํ นวยการโรงเรียนุุุุุุุุุุุุ.

174 คํมู อื คสมู่ งํือเสส่งรเสมิ รแิมลแะลพะพัฒฒั นนาากกิจิจกกรรรรมมลลูกกู เสเสอื ทือักทษักะษชะวี ชติ ีวในติ สใถนาสนถศากึ นษศา ึกปษระาเภลทกูลเูกสเสืออื โสทามชัญนั้ ปหรละกั ถสตูมรศลกึ ูกษเสาือปเอีทก่ี 6 179
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6

โรงเรยี นุุุุุุุุุุุุุุ.
รายช่ือลกู เสอื – เนตรนารสี ามัญทีส่ อบวชิ าพิเศษ

ลาํ ดบั ช่ือ –นามสกลุ
ิวชาุุุุุ.ุุ
ิวุชาุุุุุุุุุุ.ุุุ
ิวุุชาุุ..ุุุุุุุุุุุุุ.ุุุุุุ
ิิิิิิววววววุุุุุุุุุุุุชชชชชชาาาาาาุุุุุุุุุุุุ............ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ......ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ......ุุุุุุ......
ุุุุ..ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ.ุ.
ุุ..ุุุุุุุุุุุุุุ.ุ.
ุุุุุุุุุุ..

ุุุุุุุุุุุ ุุุุุุุุุุุุ ุุุุุุุุุุุุ
)ุุุุุ..ุุุุ..( )ุุุุุุุุุุุ.( )ุุุ......ุุุุุุ..(

กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ

180 คมูํ อื สงํ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ลกู เสือโท ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6
คู่มือส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลักสตู รลูกเสอื เอก 175
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6

คาํ ส่ังโรงเรียนุุุุุุุุุุุุ..

ทีุุุุุุุ่./ุุุุุุุ.

เร่ือง แตํงตงั้ คณะกรรมการสอบวชิ าพิเศษลูกเสอื – เนตรนารสี ามญั

**********************************************

เพอ่ื ใหก๎ ารสอบวชิ าพิเศษลกู เสือ – เนตรนารี สามัญรนํุ ใหญํ จํานวนุุุุุุวิชา ของ

โรงเรียนุุุุุุุุุุุุุุุุ.ซง่ึ ดาํ เนินการสอบ ณุุุุุุุุุุุุุุ.

ระหวํางวันทีุุุ่.เดือนุุุุุุุ.พ.ศ. ถึง วนั ทีุุุุ่เดือนุุุุุุุพ.ศุุุุ

เป็นไปดว๎ ยความเรยี บร๎อย และไดผ๎ ลสมความมํงุ หมายทกุ ประการ จงึ แตํงตัง้ ใหผ๎ ม๎ู นี ามตอํ ไปน้ี เป็น

คณะกรรมการ คอื

1. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ. ประธานกรรมการ

2. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ. รองประธานกรรมการ

3. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ. กรรมการสอบวชิ าุุุุุุุุ

4. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ. กรรมการสอบวิชาุุุุุุุุ
5. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ. กรรมการสอบวชิ าุุุุุุุุ

6. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ. กรรมการสอบวิชาุุุุุุุุ

7. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ. กรรมการสอบวิชาุุุุุุุุ

8. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ. กรรมการและเลขานุการ

ท้ังน้ตี ั้งแตบํ ดั น้เี ปน็ ตน๎ ไป

ส่ัง ณ วันที่ ุุุ. เดอื น ุุุุุุุุุุุุุุ..พ.ศุุุุุุ.

)ลงชือ่ ( ุุุุุุุุุุุุุุุุ..

)ุุุุุุุุุุุุุุุ...(
ผ๎อู ํานวยการลกู เสอื โรงเรียนุุุุุุุุุุ.

176 คูํมอื คสูม่ งํือเสส่งรเสมิ รแมิ ลแะลพะพัฒัฒนนาากกิจจิ กกรรรรมมลลกู กู เสเสือทือกัทษกั ะษชะีวชติ วีในิตสใถนาสนถศาึกนษศา กึปษระาเภลทกูลเูกสเสอื อื โสทามชญั น้ั ปหรละกั ถสูตมรศลึกูกษเสาอื ปเอที ก่ี 6 181
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6

หนงั สือรับรองผลการสอบวชิ าพิเศษลกู เสือสามัญ

ที่ ุุุุุุ./ุุุุุุุุ. โรงเรียนุุุุุุุุุุุุ
วันทีุุุุ่เดอื นุุุุุุ..พ.ศุุ...

ขอรบั รองวํา ุุุุุุุุุุุุุุ.เปน็ ลกู เสอื โรงเรยี นุุุุุุุุุุุ
สอบไดว๎ ชิ าพเิ ศษลกู เสอื สามญั รนํุ ใหญโํ ดยการอนมุ ัตผิ ลการสอบของสํานกั งานคณะกรรมการบริหาร
ลูกเสอื แหํงชาติ ท่ี ุุุุุุ./ุุุุุ.ลงวันท่ี ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ
และไดแ๎ นบสําเนาหนงั สอื อนมุ ัติผลมาด๎วยแลว๎ โดยสอบได๎วชิ าพิเศษ ดังนี้

1. ุุุุุุุุุุุุุุุุุ
2. ุุุุุุุุุุุุุุุุุ
3. ุุุุุุุุุุุุุุุุุ
4. ุุุุุุุุุุุุุุุุุ

5. ุุุุุุุุุุุุุุุุุ
6. ุุุุุุุุุุุุุุุุุ
7. ุุุุุุุุุุุุุุุุุ
8. ุุุุุุุุุุุุุุุุุ
9. ุุุุุุุุุุุุุุุุุ

)ลงชอ่ื (ุุุุุุุุุุุุุุ.
)ุุุุุุุุุุุุุ(

ุุุุุุุุุุุุุุุุุุ

182 คมํู อื สงํ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสือทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6
คมู่ ือสง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสือสามัญ หลกั สตู รลูกเสอื เอก 177
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

การประชุมกองลกู เสือสามัญ

(1) พิธีเปิดประชมุ กอง
1. การชักธงขึ้น
1.1 ผก๎ู าํ กบั ยืนตรงหน๎าเสาธง หาํ งจากเสาธงประมาณ 3 กา๎ ว รองผก๎ู าํ กบั ลกู เสือ

ยืนหลังเสาธง หาํ งประมาณ 1 กา๎ ว

1.2 ผกู๎ าํ กบั เรียกแถว "กอง" พร๎อมกบั ใช๎สัญญาณมือเรยี กแถวรูปครง่ึ วงกลม
)มือแบท้ังสองขา๎ งเหยียดตรงลงขา๎ งลาํ ง คว่ำ�ําฝาู มือเข๎าหาลาํ ตวั แกวํงประสานกันด๎านหน๎าช๎า ๆ เปน็ รปู
ครงึ่ วงกลม(

1.3 ลกู เสือทุกคนรีบวิง่ มาเข๎าแถวรูปครึ่งวงกลม )ลูกเสอื หมํูแรกยนื ด๎านซ๎ายมอื
ของผก๎ู ํากับ ฯ โดยนายหมหูํ มแูํ รกยนื เป็นแนวเดียวกับผู๎กํากบั ฯ หมํทู ่ี 2 และหมูตํ ํอ ๆ ไปอยํทู างด๎าน
ซ๎ายมอื ของหมํแู รกตามลําดับ รองนายหมํขู องหมูํสุดทา๎ ยยืนอยเํู ปน็ เส๎นตรงแนวเดียวกับผู๎กาํ กับ ฯ และ
นายหมูํหมูํแรก โดยถือวาํ ผู๎กํากับ ฯ เป็นจุดศูนย๑กลาง ทกุ คนอยํใู นทาํ จัดแถว โดยการยกขอ๎ ศอกซา๎ ยขึน้
มือทาบสะโพก นิว้ ทง้ั ห๎าเรยี งชิดติดกนั ชี้ลงลาํ ง และสะบัดหน๎าทางขวา ยกเว๎นรองนายหมหํู มูํสุดท๎ายไมํ
ต๎องยกขอ๎ ศอกซ๎าย(

1.4 ผู๎กํากบั สั่ง "นิ่ง" ลูกเสือทุกคนลดแขนลงพร๎อมกับสะบัดหน๎ามาอยํูในทําตรง
ระยะเคยี งระหวํางบคุ คล 1 ชวํ งศอก ระยะเคียงระหวาํ งหมํู 1 ชวํ งแขน

1.5 ผู๎กํากับส่ัง "ตามระเบียบ, พัก" )ลูกเสือทุกคนแยกเท๎าซ๎ายออกไปทางข๎าง
ประมาณ 30 เซนตเิ มตร หรอื ประมาณเกอื บคร่งึ ก๎าวปกติอยํางแข็งแรงและองอาจ มือขวาที่ถือไม๎พลอง
ให๎เลื่อน ข้ึนมาเสมอเอว แล๎วดันไม๎พลองไปข๎างหน๎า เฉียงไปข๎างขวาประมาณ 45 องศา มือซ๎ายไพลํ
หลัง โดยมอื แบตามธรรมชาตินิว้ เรียงชดิ ติดกนั (

1.6 ผ๎ูกํากับสั่ง "กอง, ตรง" และผ๎ูกํากับก๎าวถอยหลังมายืนทางซ๎ายหรือขวามือ
และหนั หนา๎ เข๎าหาเสาธง ลกู เสอื ทกุ คนดึงไมพ๎ ลองเขาหาลําตัว มือขวาอยํูระดับเอว แล๎วเล่อื นมอื ลงมาอยํู
ในทาํ ตรง พรอ๎ มกบั ยกเทา๎ มาชิดเทา๎ ขวา

1.7 ผ๎ูกาํ กับส่ัง "หมูบ่ ริการชักธงขึ้น" หมํูบริการฝากไม๎พลองไว๎กับคนข๎างเคียง
แลว๎ วง่ิ ออกไปพร๎อมกัน )ลูกเสือออกว่ิงด๎วยเท๎าซ๎ายกํอน วางปลายเท๎าลงบนพ้ืน พร๎อมกันนั้นยกมือ
ขึน้ เสมอราวนมกํามือและหันฝูามือเข๎าหาตัว ยืดอกและศีรษะต้ังตรง ขณะวิ่งแกวํงแขนที่งอตามจังหวะ
กา๎ วไดพ๎ อสมควร

1.8 ลูกเสือผ๎ูชักธงชาติท้ังสองวิ่งออกไปพร๎อมกัน และหยุดยืนตรงหน๎าเสาธง
ประมาณ 3 ก๎าว วันทยหตั ถแ๑ ละลดมือลงพร๎อมกัน ลูกเสือคนทางขวามือก๎าวไปข๎างหน๎า 2 ก๎าวและชิด
เท๎า แกเ๎ ชือกธง แลว๎ ก๎าวถอยหลงั 2 กา๎ วกลับมายืนท่ีเดิม และชิดเท๎ายืนตรง แยกเชือกสํงให๎ลูกเสือคน
ทางซ๎ายมือ )ธงชาตอิ ยํทู างขวามือของคนชักธงชาติเสมอ อยาํ ให๎สํวนหน่ึงสวํ นใดของธงชาติแตะพ้ืนเป็น
อันขาด( คนทางซ๎ายมือเป็นคนชักธงชาติ คนทางขวามือเป็นคนปลํอยเชือก ลูกเสือทั้งสองคนยืนตรง
ในขณะท่ชี ักธงชาติเชือกทงั้ สองด๎านตึงตลอดเวลา จนกวําธงชาติจะขึ้นสํยู อดเสา

178 คูมํ อื คสู่มงํือเสส่งรเสมิ รแมิ ลแะลพะพฒั ฒั นนาากกิจิจกกรรรรมมลลูกูกเสเสอื ทือักทษกั ะษชะวี ชติ ีวในติ สใถนาสนถศาึกนษศา ึกปษระาเภลทกูลเกู สเสืออื โสทามชญั ั้นปหรละักถสตูมรศลกึ กู ษเสาือปเอีทก่ี 6 183
ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6

1.9 ผ๎ูกํากับส่ัง "กอง, วันทยา-วุธ" ผ๎ูกํากับและรองผ๎ูกํากับลูกเสือทุกคน
วันทยหตั ถ๑ ลกู เสอื ทกุ คนวนั ทยาวุธ )ลกู เสอื ทาํ จังหวะเดียว โดยยกแขนซ๎ายข้ึนมาเสมอไหลํ ศอกงอไป
ข๎างหน๎าให๎ตั้งฉากกบั ลาํ ตวั ฝูามอื แบคว่าํ รวบนิว้ หวั แมํมือกดทับน้ิวก๎อยไว๎ คงเหลือนิ้วชี้ น้ิวกลาง และ
นว้ิ นาง เหยียดตรงและชิดกนั ใหข๎ อ๎ แรกของน้ิวช้ีแตะไมพ๎ ลองในรํองไหลขํ วา

1.10ลกู เสือหมบูํ รกิ ารคนหน่ึงนําร๎องเพลงชาติ "ประเทศไทยรวมเลือดเน้ือชาติ
เชือ้ ไทย" ผบ๎ู งั คบั บัญชาลกู เสือและลูกเสอื ทกุ คนร๎องเพลงพร๎อมกัน "เป็นประชารัฐ ผไทของไทยทุกส่วน….."
จนจบเพลง พอเริม่ ร๎องเพลงชาติให๎ลูกเสือคนทางซ๎ายมือดึงเชือกให๎ธงชาติข้ึนสํูยอดเสาอยํางช๎า ๆ ให๎
เชอื กตึง สํวนคนทางขวามือคอํ ย ๆ ผํอนเชือกให๎ธงชาตขิ นึ้ และเชือกตึงเชํนเดียวกัน ผ๎ูชักธงชาติจะต๎อง
กะระยะวําพอเพลงชาติจบ ให๎ธงชาติถึงปลายเสาพอดี เม่ือเสร็จเรียบร๎อยแล๎วลูกเสือคนทางขวามือรับ
เชือกจากลูกเสือทางซ๎ายมือมารวมกัน แล๎วก๎าวออกไปข๎างหน๎า 2 ก๎าว และชิดเท๎ายืนตรงผูกเชือกธง
ก๎าวถอยหลัง 2 ก๎าว และชิดเท๎ากลับ มายืนตรงที่เดิม ลูกเสือท้ังสองยืนตรงวันทยหัตถ๑และลดมือลง
พร๎อมกนั )ผู๎บงั คับบัญชาลูกเสอื ทุกคนลดมอื ลง( ลกู เสอื ท้ังสองกลบั หลงั หนั วิ่งกลบั มาเขา๎ แถวในหมูํของ
ตน และรบี นําไม๎พลองท่ีฝากมาทําทําวันทยาวุธอยําง แข็งแรงและองอาจเชํนเดียวกับลูกเสือในกอง
)การกา๎ วเขา๎ ไปผูกและแกเ๎ ชอื กธง เริม่ ต๎นด๎วยเท๎าซ๎าย(

1.11ผ๎ูกํากบั สัง่ "เรยี บ-อาวธุ " ลูกเสือทุกคนลดแขนซา๎ ยลงมาอยํูในทาํ ตรงโดยเร็ว
2. สวดมนต์

2.1 ผ๎ูกํากบั ส่ัง ”ถอดหมวก“
2.2 ผก๎ู าํ กับสั่ง "หมํบู รกิ ารนาํ สวดมนต"๑ ลกู เสือนาํ ไม๎พลองมาไว๎ระหวํางปลายเท๎า
ทงั้ สอง แลว๎ พิงทํอนบนไว๎กับแขนซา๎ ยด๎านในซึ่งงอตรงศอกเสร็จแล๎วใช๎มือขวาจับท่ีหมวกด๎านหน๎าแล๎ว
ถอดหมวก พร๎อมกับยกมอื ซ๎ายขน้ึ มาประกบกบั มอื ขวาในทําพนมมอื ใหด๎ ๎านในของหมวกหนั ไปทางซ๎าย
หน๎าหมวกหันเข๎าหาตัว ให๎หมวกอยํูระหวํางฝูามือท้ังสองและหนีบหมวกไว๎ ผ๎ูบังคับบัญชาทุกคนถอด
หมวกด๎วย
2.2 ลูกเสือหมูํบริการคนหนึ่งที่ได๎รับมอบหมาย นําสวดมนต๑ยํอ ผู๎บังคับบัญชา

ลูกเสือและลูกเสือทุกคนสวดมนต๑ตามพร๎อมกัน )สวดนํา( "อรหํ สมมา สมพุทโธ ภควา" )สวดตาม(

"อรหํ สมมา สมพทุ โธ ภควา" สวดนาํ และสวดตามจนจบ
3. สงบนิ่ง
3.1 ผ๎ูกํากับส่ัง "สงบนิ่ง" )ลูกเสือลดมือขวาที่ถือหมวกไปอยํูก่ึงกลางลําตัว แขน

เหยียดตรง พร๎อมกับวางฝูามอื ซา๎ ยทับลงบนหลงั มอื ขวา กม๎ หนา๎ เล็กนอ๎ ย( สงบนิ่งประมาณ 1 นาที

3.2 ผ๎กู ํากบั ส่ัง "สวมหมวก" ลูกเสือเงยหน๎าขึ้น สวมหมวก แล๎วใช๎มือขวาจับไม๎
พลอง มาอยใํู นทาํ ตรง

3.3 ผก๎ู าํ กับส่ัง "กอง, ตามระเบยี บ, พัก" ผกู๎ าํ กบั กา๎ วเดินไปยืนตรงที่หน๎าเสาธง
เชนํ เดมิ

184 คํูมือสงํ เสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6
คูม่ อื สง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสือทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามญั หลักสตู รลูกเสือเอก 179
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6

4. ตรวจ
การตรวจมี 2 ประเภท คือ รองผู๎กาํ กับตรวจและนายหมํูตรวจ โดยมีข๎อเสนอแนะ

ในการตรวจ ดงั นี้
ก. ถ๎าเป็นการตรวจในตอนเปิดประชุมกอง จะตรวจในเรื่องความสะอาด
สขุ ภาพของราํ งกาย อปุ กรณท๑ ผ่ี ก๎ู าํ กับสั่งให๎เอามาในการเรียนการสอน

ข. ถ๎าเป็นการตรวจในตอนปิดประชุมกอง จะตรวจเครื่องแบบเคร่ืองแตํงกาย
เพราะลูกเสือจะต๎องเดินผํานชุมชน ตลาด หากแตํงตัวไมํเรียบร๎อยอาจจะ
ถกู ตําหนิแกํคนพบเห็นได๎

4.1 รองผ๎ูกากับ
4.1.1 ผูก๎ าํ กบั สง่ั "รองผ้กู ํากบั ตรว เชอื ก " รองผก๎ู ํากบั ทกุ คนวง่ิ ออกไป

หาผ๎กู าํ กับ วันทยหตั ถแ๑ ละลดมือลง ผ๎ูกาํ กับรับการเคารพดว๎ ยวันทยหัตถ๑และลดมอื ลงเมือ่ รองผ๎ูกํากับลด
มอื ลง )รองผก๎ู าํ กับว่ิงไปทาํ ความเคารพผู๎กํากับกํอนตรวจน้ัน จะต๎องพิจารณาจังหวะให๎ดี อยําทําความ
เคารพพรอ๎ มกนั ( รองผูก๎ ํากบั วง่ิ ไปตรวจหมํลู ูกเสือทันที

4.1.2 รองผ๎ูกํากับหยุดยืนตรงข๎ามนายหมูํ หํางจากนายหมูํประมาณ 3 ก๎าว
นายหมสํู ง่ั "หม…ู่ ..ตรง, วันทยา-วุธ" ลูกเสือทุกคนวันทยาวุธ นายหมูํเรียบอาวุธ ก๎าวออกไป 1 ก๎าว
วันทยาวุธ พร๎อมกับกลําวรายงาน "หมู่…..พร้อมที่ ะรับการตรว แล้วครับ" )รองผ๎ูกํากับรับการ
เคารพดว๎ ยวันทยหตั ถ๑เม่อื นายหมูํรายงาน และลดมอื ลงเม่อื รายงานจบ( นายหมูเํ รียบอาวธุ กา๎ วถอยหลงั
1 ก๎าวและชดิ เท๎ามายนื ตรงทีเ่ ดมิ นายหมวํู นั ทยาวุธและสั่งลกู เสอื ในหมตูํ ํอไป "เรียบ-อาวธุ "

4.1.3 รองผก๎ู ํากบั กา๎ วออกไปข๎างหนา๎ 1 ก๎าว และชิดเทา๎ ตรวจนายหมูเํ ปน็ คน
แรก

4.1.4 รองผู๎กาํ กับสัง่ นายหมํู "เดนิ ตามข้าพเ า้ " ตรวจลูกเสือคนแรกและคน
ตํอ ๆ ไป การเดินตรวจ รองผู๎กํากับก๎าวเท๎าขวาไปทางข๎างขวา 1 ก๎าว แล๎วชักเท๎าซ๎ายไปชิดอยําง
แขง็ แรง กอํ นนายหมํูกา๎ วไปทางข๎างขวา ให๎ยกไมพ๎ ลองขนึ้ ประมาณ 1 คืบ ก๎าวเท๎าขวาไปทางขา๎ งขวา 1
กา๎ ว แลว๎ ชักเท๎าซา๎ ยไปชดิ อยาํ งแข็งแรง แลว๎ ตัง้ ไมพ๎ ลองลงกับพืน้ ยนื ในแนวเดียวกบั รองผ๎ูกํากับ ก๎าว 1
ก๎าวตรวจลกู เสอื 1 คน เมื่อตรวจลูกเสือถึงคนสุดท๎ายแล๎ว ให๎นายหมํูลูกเสือและรองผ๎ูกํากับลูกเสือเดิน
ย๎อนกลับทเี่ ดิมเหมอื นตอนแรก นายหมยูํ ืนตรงส่งั "วันทยา-วุธ" และกลําววาํ "ขอบคุณครบั " )ยนื อยํูกบั
ที่ไมํต๎องก๎าวออกไป( รองผู๎กํากับรับการเคารพด๎วยวันทยหัตถ๑และลดมือลง นายหมํูส่ังตํอไป "เรียบ-
อาวุธ, ตามระเบยี บ, พกั "

4.2 นายหมูํตรวจ
ในการประชมุ กองลูกเสือ บางครงั้ รองผู๎กํากบั ไมํมาจาํ เปน็ ต๎องใหน๎ ายหมูํตรวจ

แทน แนวปฏิบัติ คือ ผู๎กํากับสั่ง "นายหมู่ตรว " นายหมํูทุกคนก๎าวออกไปข๎างหน๎าหมํูของตนเอง 3
ก๎าว รองนายหมูํวิ่งอ๎อมหลังหมํูมายืนแทนท่ีนายหมูํ และทําหน๎าที่นายหมูํ และทําการตรวจแบบรองผ๎ู
กาํ กับ ในข๎อ 4.1.4 โดยทาํ เหมือนกบั รองผ๎กู าํ กับทุกประการ

180 คํมู อื คสมู่ งํอื เสส่งรเสมิ รแิมลแะลพะพัฒัฒนนาากกจิิจกกรรรรมมลลูกกู เสเสือทือกัทษกั ะษชะวี ชิตวีในติ สใถนาสนถศากึ นษศา ึกปษระาเภลทกูลเูกสเสือือโสทามชัญั้นปหรละักถสูตมรศลึกูกษเสาือปเอีทก่ี 6 185
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6

4.3 การรายงานการตรวจ
4.3.1 รองผ๎ูกากับรายงาน
เมอ่ื นายหมูํลูกเสือขอบงคุณรองผก๎ู าํ กับ ภายหลังการตรวจเรียบร๎อยแล๎ว

รองผกู๎ ํากบั กลับหลงั หันทําวนั ทยหตั ถ๑ พร๎อมกบั กลาํ วรายงานตํอผูก๎ าํ กับวํา "ข้าพเ ้าได้รับมอบหมาย
ากผู้กํากับให้ไปตรว เชอื ก หมู่ ปรากฎวา่ และได้ตักเตอื นแลว้ , ครับ" เสรจ็ แลว๎ ว่งิ กลับมา
ด๎านหลังเสาธง รองผูก๎ ํากบั คนตํอไปก็รายงานตํอ ๆ ไป )รองผกู๎ าํ กับเมอ่ื ตรวจเสรจ็ แล๎วใหร๎ ายงานผล
การตรวจได๎เลย ไมํตอ๎ งรอให๎เสรจ็ ทุกหมกํู อํ นจงึ คอํ ยรายงาน(

4.3.2 นายหมูํลูกเสือรายงาน
เมื่อนายหมูํลูกเสือคนใดตรวจเสร็จแล๎ว ให๎ยืนตรงหน๎าหมูํของตนเอง

โดยหันหนา๎ ไปหาผก๎ู ํากบั และรอใหน๎ ายหมํลู ูกเสือทุกหมูํตรวจเสร็จเรียบรอ๎ ยเสียกํอน เม่อื นายหมํูลกู เสือ
ตรวจเสรจ็ เรียบรอ๎ ยทุกหมแํู ล๎ว นายหมูํลูกเสอื ทุกคนว่ิงออกไปเข๎าแถวหน๎ากระดานแถวเดี่ยวตรงข๎ามผ๎ู
กํากบั พรอ๎ มกัน หํางจากผูก๎ ํากบั ประมาณ 3 ก๎าว นายหมูลํ ูกเสอื หมํบู ริการยืนหัวแถว นายหมูํลูกเสือหมูํ
อืน่ ๆ เรยี งไปตามลําดับ โดยอยูใํ นทําตามระเบยี บพัก ผก๎ู ํากบั ยนื กงึ่ กลางของแถว

ผ๎ูกํากับส่ัง "นายหมู่รายงาน" นายหมูํลูกเสือหมํูบริการรายงานผลการตรวจเป็นคนแรก
นายหมํูลูกเสือยืนตรง, วันทยาวุธและเรียบอาวุธ ก๎าวออกไปข๎างหน๎า 1 ก๎าว หันหน๎าไปหาผ๎ูกํากับ
วันทยาวธุ พร๎อมกับกลําวรายงาน "ข้าพเ ้าได้รับมอบหมาย ากผู้กํากับให้ไปตรว เชือก หมู่
ปรากฎว่า และได้แนะนาํ ใหป้ รบั ปรุงแกไ้ ขแล้ว, ครับ" เม่อื จบการรายงาน นายหมูเํ รียบอาวุธ ถอย
กลับเข๎าท่ี แลว๎ ทําวันทยาวธุ แล๎วเรียบอาวุธ, ตามระเบียบพัก นายหมูํคนอ่ืน ๆ ให๎ปฏิบัติเชํนเดียวกัน
จนกระท่ังการรายงานผลการตรวจเสร็จเรียบร๎อย ผู๎กํากับส่ัง "กลับท่ีเดิม-ว่ิง" นายหมํูทุกคนทํา
วันทยาวุธและเรียบอาวุธพร๎อมกัน กลับหลังหันมายืนในหมูํของตนเองในตําแหนํงเดิม รองนายหมูํว่ิง
ออ๎ มหลงั หมํกู ลบั มายืนทาํ หน๎าทรี่ องนายหมํตู ามเดิม

5. แยก
ผก๎ู ํากับสัง่ "กอง-ตรง, กอง-แยก" ลูกเสือทกุ คนขวาหนั แล๎วแยกไปปฏบิ ัตกิ ิจกรรม

อื่นตํอไป

(2) เกม-เพลง
เกมหรอื การเลํนของลกู เสือเป็นอุปกรณ๑ที่สําคัญที่สุดอยํางหนึ่งในการฝึกอบรมลูกเสือ

ทุกประเภท ท้ังในทางจิตใจและในการบริหารรํางกาย เกมชํวยพัฒนาเด็กในเรื่องนิสัยใจคอ อารมณ๑ดี
นํา้ ใจ นักกีฬา การรกั หมํคู ณะ ความอดทน ระเบยี บวินยั และความไมํเหน็ แกํตวั ทกุ คร้ังท่มี ีการประชุม
กองจะตอ๎ งมีการจัดการให๎เด็กเลํนเกมเพือ่ บรหิ ารราํ งกายเป็นการฝกึ อบรมเด็กในทางจติ ใจไปในตัว เกม
ทใี่ ชจ๎ ะตอ๎ งเลือกเกมท่ีเหมาะสมตํอวยั ของเด็กด๎วย หรือการร๎องเพลงเพื่อเป็นการปลุกใจ คลายอารมณ๑
กอํ ให๎เกิดความราํ เริงบนั เทงิ ใจ และการร๎องเพลงเป็นเพลงหมูหํ รอื รอ๎ งพรอ๎ ม ๆ กัน เพ่ือเป็นการสํงเสริม
ความสามคั คี

186 คูํมือสงํ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ลกู เสือโท ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6
คู่มือสง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามญั หลักสูตรลกู เสอื เอก 181
ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6

(3) การสอนตามเน้อื หา
ผก๎ู ํากับลูกเสอื จะกาํ หนดเน้ือหาตามหลกั สตู ร ซ่ึงเขียนเป็นแผนการสอนหรือโครงการ

สอน ในแตลํ ะคาบจะกําหนดเนื้อหาสําหรบั เขียนไวใ๎ นการประชมุ กอง การสอนอาจจะสอนเปน็ ฐาน แลว๎ มี
การเปลี่ยนฐาน โดยกําหนดเวลาให๎ อาจจะมี 1 ฐานหรือมากกวําก็ได๎ ขึ้นอยํูกับลูกเสือและความ
เหมาะสมตําง ๆ สํวนเทคนิคการสอนอาจจะเป็นแบบบรรยาย อภิปราย สาธิต หรือปฏิบัติจริง แล๎วแตํ
เน้ือหาทกี่ าํ หนด หรอื อาจจะให๎นายหมํูสอนภายในหมูํตนเองก็ได๎

การรายงานเพ่อื เขา๎ ฝึกตามฐาน
การฝึกลกู เสอื ตามฐานตําง ๆ นัน้ ให๎จดั ฐานแตํละฐานเป็นวงกลมหรือรปู เหลี่ยมมีศนู ยก๑ ลาง
ระยะทางระหวํางฐานควรเทํากัน เส๎นทางการเดินทางให๎สะดวก บางฐานอาจมีเส๎นทางเข๎าสูํฐานไมํต๎อง
ตรงอ๎อมสิ่งปลูกสร๎าง พํุมไม๎ หรือบํอนํ้า ก็จงคํานึงถึงเวลาเดินทางให๎เทํากับฐานอ่ืน ๆ มิฉะน้ันแล๎ว
ลูกเสอื จะเสยี เวลา เดินทางมาก ไมํไดร๎ ับความรู๎ในฐานน้ันเตม็ ที่
การเคลื่อนท่เี ข๎าฐานนิยมเคลื่อนโดยเวียนขวา คือ ไปตามเข็มนาฬิกา ฉะน้ัน ผู๎อยํูประจํา
ฐาน )วทิ ยากร( จะต๎องหนั หนา๎ เข๎าสจํู ดุ ศนู ยก๑ ลางของวงใหญํ เม่ือลูกเสอื ฝกึ ครบเวลามีสัญญาณปลอํ ยตัว
แล๎ว จะเขา๎ แถวหนา๎ กระดาน ทําขวาหัน แล๎วเคลอ่ื นท่ีตามนายหมไํู ดเ๎ ลย
การเขา๎ ฐานครง้ั ละหลายหมํู แตลํ ะหมํนู นั้ นายหมูํต๎องรายงานเองทุกหมูํ แตํรายงานทีละหมํู
ไม่ควรท่ีจะให๎หมูํใดหมูํหน่ึงรายงานรวมหนเดียว เพราะนายหมูํจะส่ังการได๎เฉพาะลูกหมูํตนเองเทําน้ัน
หากมีการเข๎าฐานมากหมูํจนเกินไปจะเสียเวลามาก ก็เปลี่ยนการเข๎าฐานแบบวิทยากรเคลื่อนท่ีไปหา
ลกู เสอื ซ่ึงแบบนี้จะสามารถมผี ูแ๎ ทนสั่งเคารพคนเดียวได๎เสมือนครเู ข๎าหอ๎ งสอน

1. การรายงานกรณที ุกคนมอี าวธุ
เม่ือนายหมํูนําลูกหมูํไปถึง ผู๎ประจําฐานให๎เข๎าแถวหน๎ากระดาน โดยนายหมํูยืน

ตรงหนา๎ ผู๎ประจําฐาน นายหมํนู ่ัง "หม…ู่ ..ตรง, วนั ทยา-วธุ " เฉพาะนายหมเํู รียบอาวุธ ก๎าวเข๎าไปหา
ผปู๎ ระจําฐาน 1 กา๎ ว ทําวนั ทยาวธุ แล๎วรายงานวํา "หมู่…..พร้อมที่ ะรับการฝึกแล้วครับ" รายงาน

เสรจ็ ทาํ เรียบอาวุธ แล๎วถอยหลัง 1 ก๎าวเข๎ามาในแถว ทําวันทยาวุธไว๎ให๎เหมือนลูกหมูํ แล๎วสั่ง "เรียบ-
อาวุธ" และสงั่ "ตามระเบียบ-พัก" )ชวํ งนว้ี ิทยากรประจาํ ฐานควรสง่ั "พักแถว" กํอนก็ได๎(

จากน้ันผป๎ู ระจาํ ฐานจะเร่มิ สอนหรือฝกึ ทางท่ดี ผี ู๎ประจาํ ฐานควรจะสง่ั "ตรง" และสั่ง "พัก
แถว" กอํ นจงึ เรม่ิ สอนกจ็ ะเปน็ การเหมาะสมมาก เพราะการสอนนน้ั ลกู เสือยอํ มอยูํในทําพักตามระเบียบ
ไมํได๎

สาํ หรบั ผ๎ปู ระจําฐานเมอื่ นายหมํูส่งั "วนั ทยา-วุธ" ก็รบั การเคารพด๎วยวนั ทยหตั ถ๑ และก็ค๎าง
อยูอํ ยํางนน้ั จนกวาํ นายหมูํจะกา๎ วออกมาและรายงานจบ เมอ่ื นายหมํรู ายงานจบเรยี บอาวุธ ผกู๎ าํ กับจะลด
มอื ลงพร๎อมกันตอนน้ี )มใิ ชคํ อยลดมือลงพรอ๎ มลูกเสอื ในแถว(

2. การรายงานกรณมี อี าวุธเฉพาะนายหมํู
การเข๎าเรียนตามฐานบางกรณีน้นั เพ่ือความสะดวกผ๎กู าํ กับหรือผ๎สู อนวชิ าอาจสง่ั ให๎

ลกู เสอื รวมอาวธุ ไว๎ ใหน๎ ําติดตัวไปเฉพาะนายหมํูก็ได๎ หรือการเข๎าคํายพักแรมกรณีท่ีนําอาวุธไปเฉพาะ
นายหมํู เพราะไมํสามารถนาํ พลอง ไมพ๎ ลอง จํานวนหลายร๎อยอันไปได๎

182 คูํมือคสูม่ ํงือเสส่งรเสมิ รแิมลแะลพะพัฒฒั นนาากกิจิจกกรรรรมมลลกู กู เสเสือทือกัทษกั ะษชะวี ชติ วีในติ สใถนาสนถศากึ นษศา ึกปษระาเภลทกูลเกู สเสือือโสทามชญั นั้ ปหรละกั ถสูตมรศลกึ กู ษเสาือปเอที กี่ 6 187
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6

กรณีน้ีนายหมูํส่ัง "หมู่…..ตรง" สําหรับตัวนายหมูํน้ันเมื่อตรงแล๎วให๎ทําวันทยาวุธ-เรียบ
อาวุธ ก๎าวเข๎าไปหาผ๎ูประจําฐาน 1 ก๎าว แล๎วทําวันทยาวุธอีก รายงาน เมื่อรายงานจบเรียบอาวุธ แล๎ว

ถอยหลงั เข๎าทใี่ นแถวอยูํในทําตรงเหมือนลกู หมํู แล๎วสงั่ "ตามระเบียบ-พัก" ท้ังนี้ ไมํต๎องทําวันทยาวุธ
อกี ครั้ง เพราะขณะนนั้ อยํใู น ทาํ ตรงเหมือนลูกหมํูแลว๎

สาํ หรบั ผ๎ปู ระจําฐาน ใหร๎ บั การเคารพดว๎ ยวันทยหัตถ๑ พร๎อมกับลูกเสือในแถวเคารพด๎วยทํา
ตรง และวันทยหัตถ๑ค๎างอยํูจนกวํานายหมํูจะรายงานจบ จึงเอามือลงพร๎อมกับนายหมํูเรียบอาวุธตอน
รายงานจบ

3. การรายงานกรณีไมมํ ีอาวุธท้งั หมด

นายหมูํจะสงั่ "หมู่…..ตรง" เฉพาะนายหมํูนายหมูํเมื่อตรงแล๎วก็ทําวันทยหัตถ๑ ลด

มอื ลง กา๎ วเขา๎ ไปรายงาน ขณะรายงานก็ทําวันทยหัตถ๑ รายงานวํา "หมู่…..พร้อมท่ี ะรับการฝึกแล้ว
ครบั " รายงานแล๎วลดมือลงถอยหลังเข๎าไปในแถว อยํูในทําตรงเหมือนลูกหมูํ แล๎วสั่ง "ตามระเบียบ-
พัก" )ถอยเข๎าไปในแถวแลว๎ ไมตํ อ๎ งทําวันทยหตั ถอ๑ กี (

สําหรับผู๎ประจําฐานให๎รับการเคารพด๎วยวันทยหัตถ๑ ตอนที่ลูกเสือเคารพด๎วยทํา
ตรง ทาํ วนั ทยหัตถ๑คา๎ งไว๎จนกวาํ นายหมํูจะรายงานจบและลดมือลง จงึ ลดมือลงพร๎อมกับนายหมํู

4. การเขา๎ ฐานกรณีผู๎ประจาฐานเคล่ือนท่ีเอง
การสอนแบบนี้เหมาะสําหรับมีลูกเสือจํานวนมาก เมื่อแบํงฐานแล๎วจะได๎ฐานละ

หลายหมํู หากจะใหล๎ ูกเสอื เคล่อื นท่ีจะเสียเวลามาก จงึ ควรจัดให๎ลูกเสอื อยูํเป็นกลุมํ กลุมํ ละหลาย ๆ หมูํ
กรณีนไ้ี มํต๎องมกี ารรายงาน ใหท๎ ําเหมอื นครเู ดนิ เข๎าหอ๎ งสอน เมื่อผ๎ูประจาํ ฐานเข๎าไป ลูกเสือ

ก็ทําความเคารพ โดยผู๎กํากับจะแตํงตั้งหัวหน๎านายหมูํช่ัวคราวไว๎เป็นผ๎ูส่ังเคารพ โดยสั่งวํา "ลูกเสือ-
ตรง, วันทยา-วุธ, เรียบ-อาวุธ, ตามระเบยี บ-พกั "

แตถํ า๎ ในสนามมีอาวธุ เฉพาะนายหมูํ )หลายหมํ(ู ก็สง่ั วํา "ลูกเสือ-ตรง" เฉย ๆ แตํนายหมํู
ทกุ คนทมี่ อี าวธุ อยูํแลว๎ เมื่อตรงแล๎วกท็ าํ วันทยาวุธ เรยี บอาวธุ เองโดยไมมํ ีใครสัง่

สาํ หรบั ผ๎ปู ระจาํ ฐาน เม่อื เข๎าไปเขาสัง่ เคารพกร็ ับการเคารพตามธรรมดา )วันทยหตั ถ๑ ลดมือ
ลงเลย เพราะไมํมกี ารรายงาน( จะเหมอื นกบั ครเู ข๎าสอนในห๎องเรียน

5. การลาฐานเม่อื หมดเวลา

นายหมํูเป็นผ๎ูส่ัง โดยออกคําส่ังวํา "หมู่…..ตรง, วันทยา-วุธ )นายหมํูคนเดียว
กลําววาํ "ขอบคณุ -ครับ"( เรียบ-อาวุธ, ขวา-หนั , ตามขา้ พเ า้ "

แตํหากมีอาวุธเฉพาะนายหมํู ก็เพียงส่ัง "หมู่…..ตรง )ตนเองทําวันทยาวุธ แล๎วกลําววํา
"ขอบคณุ ครับ, เรียบอาวุธ"( ขวาหนั , ตามขา้ พเ ้า"

(4) ผู๎กากบั เลําเรอื่ งส้ันที่เปน็ ประโยชน์
ผู๎กํากับควรจะหาเรื่องสั้นหรือนิทานมาเลําให๎ลูกเสือฟัง เพื่อแทรกคติธรรมตําง ๆ โดย
ท่ีลูกเสือได๎รับไปปฏิบัติโดยไมํรู๎ตัว ทั้งน้ี เพ่ือให๎เกิดความนับถือ ความสนิทสนม ความเป็นกันเอง
เพอ่ื ใหล๎ กู เสือเกิดความกลา๎ ความสามคั คี เกิดความรักชาติ เสียสละ กตญั ๒ู

188 คํมู อื สํงเสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6
คูม่ ือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลักสตู รลูกเสือเอก 183
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6

(5) พธิ ปี ิดประชุมกอง
1. นดั หมาย

1.1 ผ๎กู าํ กบั ยืนตรงหน๎าเสาธง หํางจากเสาธงประมาณ 3 ก๎าว รองผู๎กํากับลูกเสือ
ทกุ คนยืนหลงั เสาธง หํางประมาณ 1 ก๎าว

1.2 ผู๎กาํ กบั เรยี กแถว สั่ง "กอง" พร๎อมกับใช๎สัญญาณมือเรียกแถวรูปครึ่งวงกลม
)มือแบทั้งสองข๎าง เหยียดตรงลงข๎างลําง ควํ่าฝูามือเข๎าหาลําตัว แกวํงแขนประสานกันด๎านหน๎าช๎า ๆ
เป็นรปู ครง่ึ วงกลม(

1.3 ลูกเสือทุกคนรีบว่ิงมาเข๎าแถวรูปคร่ึงวงกลม )ลูกเสือหมํูแรกยืนด๎านซ๎ายของ
ผูก๎ าํ กบั ลูกเสือ โดยนายหมํูหมํแู รกยืนอยูํเป็นแนวเดียวกับผ๎ูกํากับลูกเสือ หมูํที่ 2 และหมูํตํอ ๆ ไปอยํู
ทางด๎านซ๎ายมือของหมํูแรกตามลําดับ รองนายหมูํของหมํูสุดท๎ายอยูํเป็นเส๎นตรงแนวเดียวกับผู๎กํากับ
ลกู เสือและนายหมหูํ มํูแรก โดยถือวําผู๎กํากบั ลูกเสือเป็นจดุ ศนู ยก๑ ลาง ทุกคนอยใํู นทําจัดแถว โดยการยก
ข๎อศอกซ๎ายข้ึนมาทาบสะโพก นิ้วท้ังห๎าเรียงชิดติดกันชี้ลงลําง และสะบัดหน๎าทางขวา ยกเว๎นนายหมํู
ของหมํูแรกไมํตอ๎ งสะบัดหน๎า และรองนายหมหํู มํูสดุ ท๎ายไมตํ อ๎ งยกข๎อศอกซ๎าย(

1.4 ผู๎กํากบั สง่ั "นิง่ " )ลกู เสอื ทุกคนลดแขนลงพร๎อมกับสะบัดหน๎ามาอยูํในทําตรง
ระยะเคยี งระหวาํ งบุคคล 1 ชวํ งศอก ระยะเคียงระหวํางหมูํ 1 ชํวงแขน(

1.5 ผู๎กํากับสั่ง "กอง, ตามระเบียบ, พัก" )ลูกเสือทุกคนแยกเท๎าซ๎ายออกไป
ทางซ๎ายประมาณ 30 เซนตเิ มตร หรอื ประมาณเกอื บครึ่งก๎าวปกติอยํางแข็งแรงและองอาจ มือขวาท่ีถือ
ไม๎พลองใหเ๎ ลื่อนข้นึ มาเสมอเอว แลว๎ ดันไม๎พลองไปข๎างหนา๎ เฉยี งไปข๎างหนา๎ ประมาณ 45 องศา มอื ซา๎ ย
ไพลํหลงั โดยตัวมือแบตามธรรมชาติ นว้ิ เรยี งชดิ ตดิ กนั

1.6 ผู๎กํากับนัดหมาย เร่ืองที่นัดหมาย คือ เร่ืองที่จะต๎องให๎ลูกเสือเตรียมอุปกรณ๑
ในการฝึกอบรมครง้ั ตํอไป เชํน คร้ังตํอไปจะฝกึ อบรมเร่ืองเงอื่ นลกู เสือ เตรียมเชอื ก

2. ตรวจ
สําหรับการตรวจตอนปิดประชุมกองจะตรวจเครื่องแบบ เครื่องแตํงกาย เพราะ

ลกู เสอื จะต๎องเดนิ ผาํ นชมุ ชน ตลาด ถ๎าหากแตํงตวั ไมํเรยี บรอ๎ ยอาจจะถกู ตาํ หนิแกผํ ทู๎ ีพ่ บเหน็ ได๎
2.1 รองผู๎กากับตรวจ
2.1.1 ผู๎กํากับสั่ง "รองผู้กํากับตรว เคร่ืองแบบ" รองผ๎ูกํากับทุกคนว่ิง

ออกไปหาผูก๎ ํากบั วนั ทยหัตถ๑ และลดมอื ลง ผู๎กาํ กับรบั การเคารพดว๎ ยวันทยหตั ถแ๑ ละลดมอื ลง เมื่อรองผู๎
กาํ กบั ลดมือลง รองผก๎ู ํากับวงิ่ ไปตรวจหมลูํ ูกเสอื ทันที

2.1.2 รองผู๎กํากับหยุดยืนตรงข๎ามนายหมํู หํางจากนายหมํูประมาณ 3 ก๎าว

นายหมูํสง่ั "หมู่…..ตรง, วันทยา-วุธ" ลูกเสือทุกคนวันทยาวุธ นายหมํูเรียบอาวุธ ก๎าวออกไป 1 ก๎าว
วันทยาวธุ พร๎อมกบั กลําววาํ "หมู่…..พร้อมที่ ะรับการตรว แล้วครบั " )รองผู๎กาํ กบั รบั การเคารพด๎วย
วันทยหัตถ๑ เมื่อ นายหมํูรายงานและลดมือลงเมื่อนายหมํูรายงานจบ( นายหมูํเรียบอาวุธ ก๎าวถอย

หลงั 1 ก๎าว และชิดเท๎ากลับมายืนในทาํ ตรง ทําวนั ทยาวธุ และส่งั ลูกเสอื ในหมํูตํอไป "เรยี บ-อาวธุ "

184 คูํมือคสูม่ งํือเสสง่ รเสมิ รแมิ ลแะลพะพฒั ฒั นนาากกิจิจกกรรรรมมลลูกกู เสเสอื ทือักทษักะษชะวี ชิตวีในิตสใถนาสนถศาึกนษศา ึกปษระาเภลทกูลเกู สเสือือโสทามชัญน้ั ปหรละักถสตูมรศลึกกู ษเสาือปเอที ก่ี 6 189
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6

2.1.3 รองผ๎กู ํากบั กา๎ วออกไปขา๎ งหน๎า 1 กา๎ ว และชิดเทา๎ ตรวจนายหมํเู ป็น
คนแรก โดยมีข๎อเสนอแนะในการตรวจ ดังน้ี

การตรวจเครื่องแบบ นายหมูํเป็นคนแรกจะต๎องถูกตรวจด๎านหน๎า ซึ่งจะตรวจในเร่ื อง
ตอํ ไปน้ี

1) หมวก
ทรงอํอนสีเลือดหมู มีตราหน๎าหมวกรูปตราคณะลูกเสือแหํงชาติ ทําด๎วยโลหะสีทอง

เวลาสวมหมวกให๎ตราหน๎าหมวกอยูํเหนือคิ้วซ๎าย หมวกต๎องมีขนาดเหมาะสมกับศีรษะ และสวมปิดไร
ผมทงั้ หมด

2) เส้ือ
เป็นเส้ือเช้ิตแขนส้ันสีกากี คอมีปก ผําอกตลอด มีดุมติดตลอด มีสาบท่ีหน๎าอก เหนือ

กระดุมเม็ดท่ีหนึ่งนับจากคอเส้ือลงมาเล็กน๎อย มีกระเป๋าสองกระเป๋าติดที่อกเส้ือทั้งสองข๎าง กึ่งกลาง
กระเปา๋ มจี บี จีบอยํูในแถวยืนถงึ ปากกระเป๋า เครอ่ื งหมายนายหมํูมีแถวผ๎าสเี ลอื ดหมกํู ว๎าง 1.5 เซนติเมตร
ยาวเทํากระเปา๋ เส้ือ 2 แถบ ตดิ อยํรู มิ กระเปา๋ ตามแนวยาวกระเปา๋ ซ๎าย กระเป๋ามปี ก รปู มนกลางแหลม

เจาะรูรังดมุ สาํ หรับกลดั ดมุ ทต่ี ิดอยูทํ ีก่ ระเปา๋ บนไหลํมอี ินทรธนูสเี ลือดหมู ปลายออินนิ ททรรธนูมีอกั ษร "“ลล..ญญ.."”
ปฺายชื่อโรงเรยี นเป็นผ๎าโค๎งไปตามตะเข็บไหลํ ตดิ ตํากวาํ ไหลขํ ๎างขวา 1 เซนติเมตร แผนํ ปาฺ ยบอกชอ่ื กลมํุ
กอง ตดิ อยกํู ลางปาฺ ยชอ่ื โรงเรยี น )ตวั ขาวพนื้ แดง( สวํ นเครอื่ งหมาย หมทํู าํ ดว๎ ยผา๎ สเี่ หลยี่ มจตั รุ สั ยาวดา๎ นละ
3.5 เซนติเมตร มีรปู สามเหลย่ี ม 2 รูป สีตามสปี ระจาํ หมลูํ ูกเสือสามญั รุํนใหญํ ขลิบสเี ลือดหมู ตดิ ที่
ไหลเํ ส้ือขา๎ งซ๎ายใต๎ตะเข็บ 1 เซนติเมตร กระดุมเส้อื กลดั หมด ผา๎ ผกู คอเป็นรูปสามเหลี่ยมม๎วนพบั ตาม
แนวทะแยงใหเ๎เ้ รรยี ยี บบ มมว๎ ว้ นนเหช่วลยอื ชายประมาณหนงึ่ ฝฝ่าาู มมอื อื ใหร้๎ อยพพบบั ออยยู่ดดํู า้ า๎ นนใในน รรววบบชายผา้๎ ผูกคอไวด๎้ า๎้ นหนา๎้
แล๎วสวมปลอกตราคณะลูกเสือแหงํ ชาติ ให๎ปลอก หํางจาก คางระยะ 1 กาํ มือของตนเอง สายนกหวีด
สีเหลอื งสวมทับผา๎ ผกู คอ เก็บนกหวดี ไวก๎ ระเป๋าซา๎ ย

3) กางเกง
สีกางเกงเชํนเดียวกับเสื้อ ขาสั้นแบบไทย ริมขอบขาหํางจากก่ึงกลางสะบ๎าหัวเขํา 5

เซนติเมตร มีกระเปา๋ สองกระเป๋าตรงด๎านหน๎าทผ่ี ํามีซิปซํอนไว๎ข๎างในและรูดซิปเรียบร๎อย เวลาสวมเอา
ขอบกางเกงทับชายเสื้อ มีหูกางเกงด๎วย เข็มขัดสีนํ้าตาลแกํ หัวเข็มขัดทําด๎วยโลหะสีทอง ต๎องขัดให๎
สะอาดเป็นเงาเสมอ มีลายดุนรูปเฟลอร๑เดอลีส๑ประกอบหน๎าอยํูในกรอบชํอชัยพฤกษ๑ ตรงสํวนลํางของ
กรอบมคี ตพิ จนว๑ ํา "เสยี ชีพอยําเสยี สตั ย์" เวลาคาดเข็มขัดทับขอบกางเกง ไมํปลํอยให๎หัวเข็มขัดห๎อย
ยาน

4) ถุงเทา๎
ถุงเทา๎ ยาวสกี ากี มีสายรัดถงุ กันยํน เวลาสวมใหพ๎ บั ขอบอยูใํ ตเ๎ ขําประมาณ 5 เซนตเิ มตร

หรือ 4 น้ิวฝาู มือตนเอง ขอบพบั กว๎างประมาณ 4 น้วิ ฝูามือตนเอง ลายของถุงเท๎าตรง
5) รองเทา๎
รองเทา๎ สีน้าํ ตาล ทําดว๎ ยหนงั หรือผ๎าใบก็ได๎ แตํไมํมีลวดลาย หุ๎มส๎น มีเชือกผูกแข็งแรง

และผูกดว๎ ยเง่ือนพริ อด รองเท๎าหนังสะอาดและขัดเปน็ เงางาม

190 คูมํ อื สงํ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6
คู่มือสง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสือทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามัญ หลักสตู รลูกเสอื เอก 185
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6

2.1.4 เม่ือรองผ๎ูกํากับตรวจด๎านหน๎าเสร็จเรียบร๎อยแล๎ว ส่ัง "กลับหลังหัน"
เพอื่ ตรวจดา๎ นหลงั อกี คร้ังหนงึ่ นายหมูํกลับหลังหนั รองผู๎กาํ กับตรวจความเรียบร๎อยดา๎ นหลัง เชนํ เชือก

ผกู รัด หมวกทรงออํ น ผ๎าผกู คออยูํตรงกลางเสือ้ เสอ้ื อกนอกกางเกง หรือไมํ

2.1.5 เมือ่ รองผู๎กาํ กับตรวจนายหมูดํ ๎านหลงั เสร็จเรียบร๎อยแล๎ว รองผู๎กํากับ

สั่ง "กลบั หลงั หัน" รองผก๎ู ํากับสัง่ ตํอไป "เดนิ ตามขา้ พเ า้ " ตรวจลกู เสือด๎านหนา๎ ตรวจลูกเสือคนแรก
และ คนตํอ ๆ ไป การเดินตรวจรองผ๎ูกํากับก๎าวเท๎าขวาไปทางข๎างขวา 1 ก๎าว แล๎วชักเท๎าซ๎ายไป

อยาํ งอยํางแข็งแรง กอํ นนายหมํกู า๎ วไปทางข๎างขวา ใหย๎ กไมพ๎ ลองขน้ึ ประมาณ 1 คบื กา๎ วเทา๎ ขวาไปทาง

ขา๎ งขวา 1 กา๎ ว แลว๎ ชักเท๎าซ๎ายไปชิดอยํางแข็งแรง แล๎วต้ังไม๎พลองลงกับพ้ืน ยืนในแนวเดียวกับรองผ๎ู

กํากับ ก๎าว 1 ก๎าวตรวจลูกเสือ 1 คน การตรวจเหมือนกับการตรวจนายหมํูด๎านหน๎าทุกประการ ถ๎า

เป็นการตรวจในตอนเปิดประชุมกอง ตรวจสขุ ภาพราํ งกาย หรอื อปุ กรณ๑การเรียนการสอน จะไมเํ ดินออ๎ ม

หลัง

เมื่อตรวจด๎านหน๎าเสร็จทุกคน แล๎วจึงเดินตรวจด๎านหลังตํอไป การเดินตรวจด๎านหลังให๎

ปฏิบัติเชํนเดียวกับการเดินตรวจด๎านหน๎า การตรวจปฏิบัติเชํนเดียวกับการตรวจนายหมํู เมื่อตรวจ

ดา๎ นหลังเสร็จ ทุกคนแล๎ว รองผกู๎ าํ กบั และนายหมํกู ลับมายนื ท่เี ดมิ อีกคร้ังหนึ่ง นายหมํูยืนตรงส่ัง "วัน
ทยา-วุธ" และกลําววํา "ขอบคุณครับ" )ยืนอยํูกับที่ไมํต๎องก๎าวออกไป( รองผู๎กํากับรับการ
เคารพด๎วยวันทยหัตถแ๑ ละลดมือลง นายหมูสํ ัง่ ตอํ ไป "เรียบ-อาวธุ , ตามระเบียบ-พัก"
2.2 นายหมตูํ รวจ

ในการประชมุ กองลูกเสือ ในบางครั้งรองผู๎กํากับไมํมาจําเป็นให๎นายหมํูตรวจ

แทน แนวปฏิบัติ คือ ผู๎กํากับส่ัง "นายหมู่ตรว " นายหมูํทุกหมูํก๎าวออกไปข๎างหน๎าหมูํของตนเอง 3
ก๎าว รองนายหมํวู ิง่ อ๎อมหลังมายืนแทนทีน่ ายหมํู และทาํ หน๎าทนี่ ายหมํู และทําการตรวจแบบรองผ๎ูกํากับ

ทุกประการ

2.3 การรายงานการตรวจ
2.3.1 รองผก๎ู ากบั รายงาน
เมื่อนายหมูํขอบคุณรองผู๎กํากับ ภายหลังการตรวจเรียบร๎อยแล๎ว รอง

ผูก๎ ํากับกลับหลังหนั ทาํ วนั ทยหัตถ๑ พรอ๎ มกับกลําวรายงานวํา "ข้าพเ ้าไดม้ อบหมาย ากผ้กู าํ กับให้ไป
ตรว …..หมู่…..ปรากฏว่า…..และได้ตักเตือนเรียบร้อย, ครับ" เสร็จแล๎ววิ่งกลับมาด๎านหลังเสาธง
รองผู๎กาํ กบั คนตํอไปกร็ ายงานตอํ ๆ ไป

2.3.2 นายหมรูํ ายงาน

นายหมํูลูกเสือคนใดตรวจเสร็จแล๎ว ให๎ยืนตรงหน๎าหมํูของตนเอง หัน

หน๎าไปหาผ๎ูกาํ กับ และรอใหน๎ ายหมํูทกุ หมตํู รวจเสร็จเรยี บร๎อยเสียกอํ น เม่ือนายหมํูตรวจเสร็จเรียบร๎อย

แล๎ว นายหมํูทุกคนวิง่ ออกไปเข๎าแถวหน๎ากระดานแถวเดี่ยวตรงข๎ามผ๎ูกํากับพร๎อมกัน หํางจากผู๎กํากับ

ประมาณ 3 ก๎าว นายหมหูํ มูํบริการยืนหวั แถว นายหมํูอื่น ๆ เรียงไปตามลําดับ ผ๎ูกํากับยืนก่ึงกลางของ

แถว

186 คูํมอื คสมู่ งํอื เสสง่ รเสมิ รแมิ ลแะลพะพฒั ัฒนนาากกจิิจกกรรรรมมลลูกกู เสเสือทือกัทษกั ะษชะวี ชิตวีในิตสใถนาสนถศาึกนษศา กึปษระาเภลทกูลเกู สเสอื อื โสทามชัญ้ันปหรละกั ถสูตมรศลกึ ูกษเสาือปเอีทกี่ 6 191
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

ผู๎กํากบั สงั่ "นายหม่รู ายงาน" นายหมํหู มบํู ริการรายงานการตรวจเปน็ คนแรก นายหมูํยืน
ตรง วันทยาวุธ และเรียบอาวุธ ก๎าวออกไป 1 ก๎าว หันหน๎าไปหาผ๎ูกํากับ วันทยาวุธ พร๎อมกับกลําว
รายงาน "ข้าพเ า้ ไดร้ บั มอบหมาย ากผกู้ ํากบั ให้ไปตรว เครือ่ งแตง่ กายหมู่…..ปรากฏว่า…..และ
ไดแ้ นะนาํ ใหป้ รบั ปรงุ แกไ้ ขให้ถูกต้องแล้ว, ครับ" นายหมูํคนอื่น ๆ ให๎ปฏิบตั เิ ชํนเดียวกัน จนกระท่ัง
การรายงานผลการตรวจเสร็จเรียบร๎อย ผู๎กํากับสั่ง "กลับท่ีเดิม-วิ่ง" นายหมูํทุกคนวันทยาวุธและ
เรยี บอาวธุ พร๎อมกนั กลับหลงั หนั วิ่งกลับมายืนในหมขํู องตนในตําแหนงํ เดมิ รองนายหมวูํ งิ่ ออ๎ มกลบั หลงั
มายืนทาํ หนา๎ ทรี่ องนายหมตํู ามเดิม

3. ชักธงลง
3.1 ผูก๎ ํากับส่งั "กอง, ตรง" ผก๎ู ํากับก๎าวถอยหลังมายืนทางขวามือหรือซ๎ายมือ หัน

หนา๎ เข๎าหาเสาธง
3.2 ผ๎ูกํากับสั่ง "หมู่บริการชักธงลง" ลูกเสือที่เป็นหมํูบริการฝากไม๎พลองกับ

ลูกเสือ คนถัดไป ว่ิงออกมาพร๎อมกันและหยุดยืนตรงหน๎าเสาธง หํางจากเสาธงประมาณ 3 ก๎าว
วนั ทยหตั ถ๑และลดมอื ลงพรอ๎ มกัน ลูกเสือทางขวามือก๎าวออกไปข๎างหน๎า 2 ก๎าวและชิดเท๎า แก๎เลือกธง
แล๎วกา๎ วถอยหลงั 2 กา๎ ว และ

3.3 ผู๎กํากบั ส่ัง "กอง, วันทยา-วุธ" ผู๎บงั คบั บัญชาลกู เสือวนั ทยหตั ถ๑ ลูกเสือทุกคน
วันทยาวธุ ลกู เสอื ผ๎ชู กธงชาตลิ งทางขวามือ คอํ ย ๆ ดงึ เชอื กลงชา๎ ๆ คนทางซ๎ายมือคํอย ๆ ปลํอยเชือก
เชอื ก ทงั้ สองด๎านตงึ ตลอดเวลาขณะชักธงชาตลิ ง เม่อื ชกั ธงชาตลิ งเสรจ็ เรยี บรอ๎ ยแล๎ว ลูกเสือทางขวามือ
รับเชือกจาก ลกู เสอื ทางซา๎ ยมอื มารวมกัน กา๎ วไปข๎างหนา๎ 2 ก๎าว และชิดเท๎า ผูกเชือกธง แล๎วก๎าวถอย
หลงั 2 กา๎ ว และชิดเท๎ากลับมายืนตรงท่ีเดิม ลูกเสือท้ังสองยืนตรงทําวันทยหัตถ๑และลดมือลงพร๎อมกัน
)ผบ๎ู ังคับบญั ชาลูกเสอื ทุกคนลดมือลง( กลบั หลังหนั วิง่ กลับมาเข๎าแถวในหมํขู องตน แล๎วรีบนําไม๎พลองท่ี
ฝากไวม๎ าทาํ วันทยาวุธอยาํ งแขง็ แรงและองอาจเชนํ เดยี วกบั ลูกเสอื ในกอง

3.4 ผูก๎ ํากับสั่ง "เรยี บ-อาวธุ " ลูกเสอื ทกุ คนลดแขนซ๎ายลงมาอยูใํ นทเ่ี ดมิ โดยเรว็
4. เลิก

4.1 ลูกเสือทุกคนเม่อื เรียบอาวุธแลว๎ ก็ยังยืนอยูํในทําตรง
4.2 ผ๎ูกํากับสัง่ "กอง, เลิก" ลูกเสือท้ังหมดทําวันทยาวุธ และเรียบอาวุธ ขวาหัน
พรอ๎ มกนั เดินออกนอกแถว

192 คํูมอื สงํ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ลกู เสอื โท ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6
คมู่ ือส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามญั หลักสูตรลกู เสอื เอก 187
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6

การประชุมนายหมํูลกู เสือสามัญ

ที่ประชุม
การจัดท่ปี ระชมุ นายหมูํ
1. หอ๎ งประชมุ ในห๎องประชมุ จัดให๎มีโต๏ะหมูบํ ูชา มีพระพทุ ธรปู ธงชาตแิ ละพระบรมฉายาลักษณ๑

ของพระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัวรัชกาลปัจจุบัน กับมีพระบรมรูปของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล๎า
เจ๎าอยหูํ วั องคพ๑ ระผพู๎ ระราชทานกาํ เนิดลกู เสอื ไทย และรปู ของลอรด๑ เบเดน เพาเวลล๑

2. โต๏ะประชุม ควรจัดให๎มีเก๎าอ้ีประชุมตามจํานวนของนายหมํู และจัดท่ีนั่งเป็นพิเศษสําหรับ
ผู๎กํากับหรอื รองผ๎ูกํากับที่จะเขา๎ ประชมุ ด๎วยในฐานะท่ปี รึกษา โดยจดั ใหน๎ ง่ั อยูทํ างซ๎ายของประธาน

3. การจัดทีน่ ่ัง จะต๎องกําหนดไว๎ให๎ทราบ โดยมีการเขยี นปาฺ ยหรอื เคร่ืองหมายแสดงไว๎ ณ ที่นั้น ๆ
เชนํ ประธาน เลขานุการ หมูสํ งิ โต หมูํเสอื หมํนู กหวั ขวาน ฯลฯ และผูก๎ ํากับลกู เสือ

4. ผเ๎ู ขา๎ ประชุม
- นายหมํูทกุ หมํู ถา๎ นายหมไูํ มํอยใํู ห๎รองนายหมเํู ขา๎ ประชมุ แทน
- ผ๎ูกํากบั ลูกเสอื ถ๎าผู๎กาํ กบั ไมํอยูใํ หร๎ องผูก๎ ํากบั เข๎าประชุมแทน
- ผท๎ู รงคณุ วุฒิที่กองลกู เสอื เชิญมาเพอื่ แนะนําการเป็นครัง้ คราว
- การเลอื กประธานและเลขานกุ าร

5. การเข๎าห๎องประชุม เลขานุการจะเป็นผ๎ูเข๎ากํอนแล๎วจึงเชิญนายหมํูตําง ๆ เข๎าห๎องประชุม
จนถึงประธานและท่ีปรึกษาเข๎าเป็นคนสุดท๎ายผู๎ที่เข๎าประชุมกํอนท่ีจะเข๎าน่ังจะต๎องไปไหว๎พระพุทธรูป
)ยกเว๎นผ๎ูที่นับถือศาสนาอ่ืน มิใชํศาสนาพุทธ ให๎แสดงความเคารพตํอธงชาติและพระบรมฉายาลักษณ๑ได๎เลย(
และแสดงงคคววาามมเคเคาารรพพตตอ่ อํธงธชงาชตาิตแิ แลละพะพระรบะบรมรฉมาฉยาายลากั ลษักณษ์ขณอ๑ขงพองรพะบราะทบสามทเสดมจ็ เพดรจ็ ะพเจรา้ ยอูหํ ยัวหู่ ตวั าตมามลาํลดำ� ดบั บัเสเสียยีกกํออ่ นน
โดยวธิ ีวันทยหัตถ๑ แลว๎ จงึ ไปนัง่ ยังท่ีของตน )ยกเว๎นประธานจะตอ๎ งจุดธูปเทยี นและกราบท่ีหนา๎ พระ(

6. การเปดิ ประชมุ เป็นหน๎าทขี่ องประธานทีจ่ ะกลําวเปิด โดยลุกขน้ึ ยืนหันหน๎าเข๎าสูํที่ประชุมยื่น
มอื ขวาออกไปข๎างหนา๎ ทาํ มมุ ประมาณ 45 องศา แขนเหยยี ดตรงแสดงรหสั ของลกู เสือแลว๎ กลาํ ววํา “บดั นี้
สมาชิกของที่ประชุมได๎มาครบองค๑ประชุมแล๎ว ข๎าพเจ๎าขอเปิดการประชุม ขอให๎สมาชิกทั้งหลายได๎ใช๎
สิทธแิ ละเสรภี าพของทํานโดยเสรใี นการประชมุ และขอให๎ถือวาํ การประชุมนเ้ี ป็นความลบั ไมเํ ปิดเผย” เมอ่ื
ประธานกลําวจบแล๎วลดมือลงมาแสดงรหัส สมาชิกที่เข๎าประชุมยืนพร๎อมกัน พร๎อมกับยกมือขวาขึ้น
แสดงรหสั ลกู เสือแบบให๎คําปฏิญาณของลูกเสอื แล๎วกลาํ วพร๎อมกันวาํ “ขา๎ พเจ๎าจะถือวําการประชุมน้ีเป็น
ความลับ เวน๎ ไวแ๎ ตํจะได๎รับความเห็นชอบจากที่ประชุม” เสร็จแล๎วประธานน่ังลง สมาชิกนั่งลงพร๎อมกัน
จากนน้ั จึงใหด๎ าํ เนนิ การประชุมตามระเบียบวาระตํอไป

7. การพูดในที่ประชุม กํอนพูดต๎องยกมือขออนุญาต เม่ือประธานอนุญาต จึงจะพูดได๎
)และจะต๎องพดู กับประธานทุกครง้ั ( เมอื่ เวลาพดู ให๎นง่ั ไมตํ อ๎ งยืน

8. การนดั หมายเรียกประชุม เป็นหน๎าทขี่ องเลขานกุ ารท่จี ะแจง๎ นัดหมายไป
9. การจัดระเบยี บวาระการประชมุ นายหมูํ เป็นหนา๎ ที่ของเลขานุการโดยประสานงานกับประธาน

188 คูํมือคส่มู ํงือเสส่งรเสมิ รแิมลแะลพะพัฒฒั นนาากกิจจิ กกรรรรมมลลูกกู เสเสือทือักทษักะษชะีวชิตีวในิตสใถนาสนถศากึ นษศา ึกปษระาเภลทกูลเกู สเสืออื โสทามชญั ้ันปหรละักถสตูมรศลกึ กู ษเสาอื ปเอที กี่ 6 193
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6

10. เรื่องท่ีจะจัดเข๎าวาระการประชุมนายหมูํ ควรเป็นเร่ืองที่เก่ียวกับหน๎าที่ความรับผิดชอบใน
กองลูกเสอื ของตน, จดั ทาํ กาํ หนดการฝกึ อบรม, การอยคํู าํ ยพกั แรม, การเงิน, การลงโทษ, การให๎รางวัล,
และการแกป๎ ญั หาตําง ๆ ฯลฯ เปน็ ต๎น

11. รายงานการประชุมของนายหมูํ ผู๎เข๎ารํวมประชุมจะต๎องถือเป็นความลับ ไมํควรเปิดเผย

เว๎นแตํจะไดร๎ บั ความเหน็ ชอบจากท่ปี ระชุม
12. การจดรายงานการประชุม เป็นหน๎าท่ีของเลขานุการจะต๎องเป็นผู๎จดและจัดทํารายงานการ

ประชุมบนั ทกึ ลงในสมดุ และสาํ เนาแจ๎งให๎ผ๎ูเข๎าประชุมทราบ
13. ผด๎ู ํารงตาํ แหนํงประธานที่ประชุมนายหมํู เป็นบุคคลที่ผ๎ูกํากับแตํงตั้งจากนายหมูํท่ีนายหมูํ

สํวนมากเหน็ ชอบดว๎ ย

14. เลขานกุ ารของทีป่ ระชมุ ประธานทป่ี ระชมุ เป็นผแู๎ ตงํ ตัง้ จากนายหมํูโดยใหน๎ ่ังอยูทํ างซา๎ ยของ
ประธาน )เลขาฯ จะจเปะเ็นปผ็นู๎เผผเู้ ชิญนายหมํูเข๎าที่ประชุมนายหมํูทีละคนจนถึงประธานแล๎วจึงเชิญผ๎ูกํากับฯ
เป็นคนสุดทา๎ ย( เลขาฯมีสิทธ์แิ สดงความคิดเหน็ ได๎แตํไมมํ ีสิทธอิ อกเสียงลงคะแนนและมตขิ องท่ีประชมุ ฯ

15. ผ๎ูกํากับลูกเสือ ท่ีประชุมไมํมีสิทธิออกเสียงในท่ีประชุม แตํมีสิทธิยับยั้งการกระทําใด ๆ
ทผี่ ู๎กํากับฯ เห็นวําถ๎าจะปลอํ ยให๎ทําไปตามขอ๎ ตกลงของท่ีประชุมแล๎ว อาจกํอให๎เกดิ ผลเสียหายขึ้นได๎

16. การปดิ ประชุม ประธานจะลกุ ขนึ้ ยืนหันหนา๎ เข๎าสํทู ป่ี ระชมุ ยื่นมือขวาออกไปข๎างหน๎าทํามุม
ประมาณ 45 องศา แขนเหยียดตรงแสดงรหัสของลูกเสือ แล๎วกลําววํา “ข๎าพเจ๎าขอปิดการประชุม”
เม่อื ประธานกลําวจบใหน๎ ายหมํูทุกคนลุกขนึ้ ยืนทาํ วันทยหัตถแ๑ กํประธาน )ประธานทาํ วนั ทยหัตถ๑ตอบ(

17. การออกจากหอ๎ งประชุม ตามลําดับดงั น้ี คือ ทีป่ รกึ ษา, ประธาน และนายหมูํ )โดยปฏบิ ัติพิธี

การเชนํ เดียวกับการเข๎าหอ๎ งประชมุ ( เลขานกุ ารเป็นคนสุดทา๎ ย

194 คํมู อื สํงเสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสือทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6
คมู่ อื สง่ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามญั หลักสูตรลูกเสอื เอก 189
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6

(ตวั อยาํ งระเบียบวาระการประชุม)
ระเบยี บวาระการประชมุ นายหมํู

ครงั้ ท่.ี ....... / ........
วันท่.ี ..........เดอื น........................พ.ศ. ........... ณ ................................................

...................................................................

วาระที่ 1 เรื่องท่ปี ระธานจะแจ๎งใหท๎ ราบ )ถ๎ามี(
วาระที่ 2 เรอื่ งรับรองรายงานการประชมุ ครงั้ ท่.ี ..................../ .....................
วาระท่ี 3 เรื่องทีส่ บื เนอื่ งจากการประชมุ คร้งั กอํ น )ถ๎ามี(
วาระที่ 4 เร่ือง...................................... )เป็นเรื่องทจ่ี ะประชุมพจิ ารณากันในการประชุม ถ๎ามีหลาย

เรอ่ื ง ก็ใสํ วาระท่ี 5 ที่ 6 จนหมดเรอ่ื งทจี่ ะนาํ มาประชุม( วาระที่ 5 เรื่องอื่น ๆ )ถ๎าม(ี
วาระท่ี 5 หรอื วาระอันดบั สุดทา๎ ยนี้เป็นวาระท่ีกําหนดสําหรบั เรอ่ื งท่จี ะมขี ้นึ ภายหลังทไ่ี ดก๎ าํ หนด

ระเบียบวาระไปแล๎ว จะไดน๎ าํ มาเข๎ามาพดู ในทปี่ ระชุมได๎

190 คมํู ือคสมู่ ํงอื เสส่งรเสมิ รแมิ ลแะลพะพฒั ัฒนนาากกจิจิ กกรรรรมมลลูกูกเสเสอื ทอื กัทษกั ะษชะีวชิตีวในติ สใถนาสนถศาึกนษศา กึปษระาเภลทกูลเกู สเสือือโสทามชญั ้นั ปหรละกั ถสูตมรศลึกูกษเสาือปเอที ก่ี 6 195
ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6

(ตัวอยํางบันทึกรายงานการประชุม) บนั ทึกรายงานการประชมุ นายหมูํ
คร้ังที.่ ..................../ .....................

วันที.่ ..........เดือน........................พ.ศ. ...........
ณ ....................................................
.......................................

ผู๎เขา๎ รวํ มประชุม 1. ..................................
2. ..................................
3. ..................................
ฯลฯ

ผไ๎ู มมํ าประชมุ )ถา๎ มี(
เปดิ ประชุมเวลา....................... น.

ประธานกลาํ วเปิดการประชมุ แล๎ว ดําเนนิ การประชุมตามระเบียบวาระตอํ ไป
วาระที่ 1 เรอ่ื ง.........................................

ประธานเสนอวาํ ที่ประชมุ
)มีมตหิ รอื ตกลงอยํางไร(

ฯลฯ

ปดิ ประชมุ เวลา........................ น.
)ลงชื่อ(..................................ผจู๎ ดรายงานการประชุม

ทป่ี ระชมุ รบั รองรายงานการประชมุ นีแ้ ล๎ว
)ลงชื่อ(..................................ประธาน
)ลงชื่อ(..................................นายหมํู หม.ูํ ................
)ลงชื่อ(..................................รองนายหมํู หม.ํู ...........
ฯลฯ

196 คูํมอื สํงเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6
คมู่ ือสง่ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามัญ หลักสูตรลกู เสือเอก 191
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6


Click to View FlipBook Version