The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ป.6

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by THAWATSON SINGSUTH, 2020-09-04 00:02:26

คู่มือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ป.6

คู่มือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ป.6

ขัน้ ตอํ ไปจะหาตาํ แหนงํ ใดๆบนแผนทว่ี าํ ของจรงิ บนภมู ปิ ระเทศอยทํู ใี่ ดกห็ าไดจ๎ ากแผนทีแ่ ละตงั้
มมุ เขม็ ทศิ ไปไดต๎ ลอดจนสามารถจะทราบระยะทางจรงิ บนภมู ิประเทศได๎โดยเทยี บมาตราสํวนบนแผนที่

ข๎อควรระวังในการใช๎เข็มทิศ
1. จบั ถอื ดว๎ ยความระมดั ระวังเพราะหนา๎ ปดั และเข็มทศิ บอบบางออํ นไหวงาํ ย
2. อยาํ ให๎ตก แรงกระเทอื นอาจทําใหเ๎ สยี หายได๎
3. ไมคํ วรอาํ นเขม็ ทศิ ใกล๎สิ่งทเี่ ปน็ แมเํ หลก็ หรอื วงจรไฟฟาฺ
4. อยําให๎เขม็ ทิศเปยี กน้าํ จนข้ึนสนมิ
5. อยาํ ให๎ใกลค๎ วามร๎อนเพราะเขม็ ทิศจะบิดงอ

เรื่องสนั้ ทีเ่ ป็นประโยชน์

แสงอาทติ ย์

นายแดงเป็นคนหาของปูาอยูํในหมบํู ๎านสมบูรณ๑ ทุกวันเขาจะออกหาของปูาโดยเดนิ ลกึ เขา๎ ไปใน
ปาู เร่ือย ๆ ตามทศิ ทางทไ่ี มํซาํ้ กัน และนาํ ของปาู ท่ไี ด๎ไปขายในหมูบํ า๎ น

บาํ ยวันหน่ึงขณะทีน่ ายแดงกําลงั หาของปูาอยํูนั้น ได๎เกิดลมพายุรุนแรง ท๎องฟฺามืดครึ้ม ทําให๎
นายแดงไมํสามารถหาทิศกลับบ๎าน เพราะมืดมากมองไมํเห็น นายแดงจําได๎แตํหมํูบ๎านอยํูทางทิศ
ตะวันออกของปูาเทาํ น้ัน นายแดงคิดอยใูํ นใจวาํ ตอนบํายตน๎ ไม๎ใหญดํ ๎านที่ถูกแสงแดดต๎องหันเข๎าหาทิศ
ตะวนั ตกสวํ นดา๎ นตรงข๎ามนนั้ จะเป็นทิศตะวันออก เม่ือคิดได๎ดังนั้นเขาจึงรีบใช๎มือสัมผัสรอบ ๆ ต๎นไม๎
เพื่อหาดา๎ นทอ่ี ํนุ ๆ เมื่อหาพบแลว๎ เขาจงึ ตัดสินใจเดินทางไปด๎านตรงกันข๎ามกับด๎านที่อํุนของต๎นไม๎ไป
เร่ือย ๆ ไมํนานเขากเ็ ดนิ ถึงหมบํู า๎ นอยาํ งปลอดภัย

เรือ่ งนสี้ อนให๎วาํ การร๎ูจกั สงั เกตสงิ่ แวดล๎อม ยํอมมปี ระโยชน๑ตอํ ตนเองและนาํ ไปใช๎ในชีวติ ประจําวนั ได๎

92 คูํมอื คส่มู งํือเสส่งรเสมิ รแมิ ลแะลพะพัฒฒั นนาากกิจจิ กกรรรรมมลลูกกู เสเสอื ทือักทษักะษชะีวชิตวีในติ สใถนาสนถศาึกนษศา กึปษระาเภลทกูลเูกสเสอื อื โสทามชัญัน้ ปหรละกั ถสูตมรศลกึ ูกษเสาอื ปเอที ก่ี 6 99
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6

แผนการจดั กิจกรรมลกู เสอื หลักสูตรลูกเสือสามญั (ลกู เสือเอก) ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6

หนวํ ยที่ 5 การบรกิ าร เวลา 1 ชวั่ โมง
แผนการจดั กิจกรรมที่ 19 อปพร. นอ๎ ย

1. จุดประสงค์การเรยี นรู๎
ลูกเสอื สามารถสอื่ สารเพ่ือแจง๎ ขาํ วการเกิดอบุ ัตเิ หตุ อบุ ตั ภิ ยั และเหตฉุ กุ เฉนิ ได๎

2. เนอ้ื หา
2.1 แหลํงขอความชวํ ยเหลอื
2.2 วธิ กี ารสอ่ื สารเพื่อแจง๎ ขําวการเกิดอบุ ตั เิ หตุ อุบัติภัยและเหตฉุ กุ เฉนิ
2.3 หมายเลขโทรศัพทท๑ ีใ่ ช๎ติดตํอขอความชวํ ยเหลอื

3. สื่อการเรียนรู๎
3.1 แผนภูมิเพลง
3.2 เกม
3.2 ใบความรู๎
3.3 เร่ืองส้นั ทเี่ ปน็ ประโยชน๑

4. กจิ กรรม

4.1 พิธเี ปดิ ประชุมกอง )ชกั ธงขนึ้ สวดมนต๑ สงบน่ิง ตรวจ แยก(
4.2 เพลง หรอื เกม
4.3 กิจกรรมตามจดุ ประสงค๑การเรยี นรู๎

1( ผ๎ูกาํ กบั ลกู เสอื นําสนทนาถึงขาํ วการเกดิ อุบัตเิ หตุทีพ่ บเหน็ หรือจากการเสนอขาํ วของ
ส่ือสารมวลชน

2( ให๎ลูกเสอื รวํ มกนั อภิปรายถงึ สถานการณเ๑ มอื่ เกิดอบุ ัตเิ หตุ อุบตั ภิ ยั หรือเหตฉุ กุ เฉนิ
จะขอความชวํ ยเหลอื จากใครและขอความชํวยเหลือดว๎ ยวธิ กี ารใด

3( ผู๎กํากับลูกเสืออธิบายถึงวิธีการขอความชํวยเหลือจากหนํวยกู๎ชีพ อปพร./อสม./
หรืออาสาสมัครก๎ภู ยั ในทอ๎ งถ่ิน เพ่ือการชํวยเหลือทถ่ี กู ต๎องมีประสทิ ธิภาพ และนําสํง

โรงพยาบาล พรอ๎ มเบอรโ๑ ทรศพั ท๑ทโี่ ทรติดตอํ โดยตรงทไ่ี มํสงํ ผลเสยี หายตอํ ผป๎ู ูวย
4( ลกู เสอื ฝึกปฏิบตั กิ ารพดู สอ่ื สารเพอ่ื ขอความชํวยเหลือจากหนํวยงานศูนย๑นเรนทร หรือ
หนํวยงานในทอ๎ งถน่ิ เชํน ตาํ รวจ ศนู ย๑ก๎ูชพี ฉุกเฉนิ เป็นตน๎
4.4 ผ๎ูกาํ กับลกู เสอื เลาํ เรือ่ งสัน้ ที่เป็นประโยชน๑
4.5 พิธีปดิ ประชมุ กอง )นดั หมาย ตรวจเครื่องแบบ ชักธงลง เลกิ (

100 คมํู ือสํงเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6
คู่มอื สง่ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามัญ หลักสตู รลูกเสือเอก 93
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

5. การประเมินผล
5.1 สงั เกต ความตงั้ ใจ ความสนใจในการรวํ มกิจกรรม
5.2 สอบถามลกู เสือเกี่ยวกบั หมายเลขโทรศพั ท๑ของหนํวยงานทบ่ี ริการใหค๎ วามชํวยเหลือเมื่อ

เกดิ เหตุฉกุ เฉนิ ในทอ๎ งถน่ิ

6. คณุ ธรรม

1. ความรบั ผดิ ชอบ
2. อุดมการณค๑ ณุ ธรรม

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรมท่ี 19

เพลง

ลูกเสอื คืออะไร

ลูกเสอื นน้ั คอื อะไร ลูกเสอื มดี ีอยาํ งไร
มาพวกเราเร็วไว รีบเขา๎ ไปให๎เห็นดว๎ ยตา
กจิ กรรมลกู เสือชวํ ยเหลอื ผ๎ูคน ความอดคทวนานมนั้ อตดดิ ทตนานมน้ัมตาิดตามมา
ฝกึ การสงั เกตจดจํา รํวมทาํ รํวมพฒั นา

เราแสนสขุ อุรา เมือ่ ได๎มาเข๎าเป็นลกู เสือ

เกม

ลมหายใจทีอ่ ดทน

วธิ เี ลนํ 1. ให๎ผ๎เู ลํนนง่ั ลอ๎ มวงเป็นวงกลม เหยยี ดเทา๎ ไปข๎างหนา๎
2. ผ๎ูกํากบั ลกู เสอื ใหส๎ ัญญาณ โดยการเคาะ หรอื เปูานกหวีด 1 ครงั้
3. เมือ่ ผเู๎ ลนํ ได๎ยินสญั ญาณ ครั้งที่ 1 ใหส๎ ดู ลมหายใจเข๎าปอด
4. ผูก๎ าํ กบั ลกู เสอื ใหส๎ ญั ญาณครง้ั ที่ 2 ให๎ทุกคนทําเสียงหวีดคล๎ายเสยี ง
นกหวีด ใครหยุดเสยี ง ให๎ลม๎ ตัวลงนอน

กติกา - คนทเ่ี หลอื เป็นคนสดุ ทา๎ ยเป็นผชู๎ นะ
ขอ๎ เสนอแนะ - อาจแบํงผเ๎ู ลํนออกเป็นสองพวก คือ พวกแรกแขํงขันพวกที่ 2 เป็นผค๎ู วบคุมการหวดี

เสยี ง สลบั กบั ปฏิบัติ

94 คมํู ือคสู่มงํอื เสส่งรเสมิ รแมิ ลแะลพะพัฒฒั นนาากกจิิจกกรรรรมมลลูกกู เสเสือทือักทษักะษชะวี ชติ วีในิตสใถนาสนถศากึ นษศา ึกปษระาเภลทกูลเกู สเสือือโสทามชัญนั้ ปหรละักถสตูมรศลึกกู ษเสาือปเอที กี่ 6 101
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

เรือ่ งสั้นท่เี ปน็ ประโยชน์

ตัวไมคํ าดคดิ รปู แบบใหมํ

ผู๎หญิงคนหนึ่งกําลังจะกลับบ๎าน ระหวํางทางเธอเห็นเด็กตัวน๎อยๆ กําลังยืนร๎องไห๎อยํูข๎างทาง
ดว๎ ยความร๎ูสกึ สงสารเดก็ เธอเดนิ เขา๎ ไปหา และถามวํา “เกดิ อะไรข้นึ จ๏ะ”

เด็กน๎อยตอบ “ผมหลงทาง พี่ชํวยพาผมไปสํงท่ีบ๎านหนํอยได๎ไหมครับ” แล๎วเด็กน๎อยก็ย่ืน
กระดาษแผํนเล็กๆ แล๎วบอกวาํ ใหพ๎ าไปสงํ ตามทีอ่ ยใูํ นนนั้ และดว๎ ยความใจดขี องเธอ เธอมิได๎สงสยั อะไร
เลย แมแ๎ ตนํ ๎อย เธอกพ็ าเดก็ ไปสงํ ตามที่อยนํู น้ั พอไปถงึ บ๎านของเด็กน๎อยเธอก็กดกริง่ ทันใดน้นั เองกร่ิง
น้นั ช็อตตัวเธอจนหมดสติ เพราะกริง่ นัน้ ถูกตํอดว๎ ยกระแสไฟฟฺาเอาไว๎

วันตอํ มา เธอต่นื ขึน้ มาพร๎อมกับรํางอันเปลือยเปลํา เงิน สร๎อย เคร่ืองประดับหายไป เธอไมํได๎
เห็นแม๎แตหํ นา๎ ของผ๎รู ๎าย

เรอ่ื งน้สี อนใหร๎ ๎วู าํ อยาํ ไว๎ใจทาง อยําวางใจคน

102 คมํู อื สํงเสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสือทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6
คู่มอื ส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสือสามัญ หลกั สตู รลูกเสอื เอก 95
ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6

ใบความรู๎

การขอความชํวยเหลือเมอื่ เกิดอบุ ตั เิ หตุ

เมอ่ื เกดิ อุบตั เิ หตุ
ระงับความตื่นเตน๎ และตง้ั สติใหด๎ ี พจิ ารณวําควรสํงขาํ วให๎ใครทราบจึงจะไดัรบั ความชํวยเหลือ

ท่ถี กู ตอ๎ ง และรวดเรว็ ที่สดุ เหตุดํวนหรือเหตุรา๎ ย เชํน การทาํ ร๎ายราํ งกายการปลน๎ ทรพั ย๑การเกดิ อุบตั เิ หตุ
แจง๎ เจา๎ หนา๎ ที่ทอ่ี ยใูํ กล๎ทส่ี ดุ เชนํ กาํ นนั ผ๎ูใหญบํ ๎าน ตํารวจ

เหตุอบุ ัตภิ ยั
ไฟไหม๎ แก๏สพิษร่ัวแจ๎งเทศบาลสุขาภิบาลสถานีดับเพลิงสถานีตํารวจ ถ๎าเหตุฉุกเฉินมี

ผู๎ได๎รับบาดเจ็บถ๎ามีความจําเป็นต๎องสํงโรงพยาบาลแจ๎งโรงพยาบาลหรือสถานีอนามัย หรือขอความ
ชํวยเหลือจากผ๎ทู ี่มยี านพาหนะ

การสํงข๎อความเมือ่ เกิดอุบตั เิ หตุ
1.การบอกเลํา

เป็นการสํงขําว ที่ใช๎ตัวกลางเป็นคนโดยให๎เดินทางจากจุดเกิดเหตุไปยังจุดท่ีจะขอความ
ชวํ ยเหลือ การสํงขาํ ววธิ นี ้ีขาํ วตอ๎ งไมํยาวมากเพราะอาจเกิดความผิดพลาดได๎
2. การเขียน

เปน็ การสํงขําวโดยเขยี นจดหมายหรือไปรษณบี ัตรไปยงั ผท๎ู จ่ี ะขอความชํวยเหลอื การสํงขําววิธี
น้ไี มคํ อํ ยผิดพลาดเพราะขาํ วจะสงํ ถึงผรู๎ ับโดยตรงไดร๎ ายละเอียดครบถว๎ นและเสยี คาํ ใช๎จาํ ยนอ๎ ย
3. การโทรศพั ท์

เป็นการสํงขําวโดยอาศัยทั้งการบอกเลําและการเขียนเพ่ือให๎ข๎อความถูกต๎อง และครบถ๎วน
สมบูรณ๑ การสํงขําววิธีน้ี ไมํผิดพลาด เพราะเป็นการสนทนาโต๎ตอบกันระหวํางผู๎สํงขําวกับผู๎รับขําว
โดยตรง ซึ่งสะดวก รวดเรว็ และเปน็ ทนี่ ยิ มมากท่สี ุด แตํตอ๎ งเสียคําใช๎จาํ ยมากกวําวิธีอนื่ ๆ
4. การสงํ Messenger และการสํง Line

ลูกเสือควรมีหมายเลขโทรศพั ท๑ หรือ ID Line ของตาํ รวจ อปพร. ในที่ชุมชนหรือหนํวยงานวายุ
ภกั ดิ์ หรอื ศนู ยน๑ เรนทร เชนํ 191, 1669 และ 911

ขอ๎ ความทคี่ วรสํง
แจง๎ วาํ ผูพ๎ ดู คือใคร กําลงั โทรศัพท๑จากที่ไหน
แจ๎งวํา เกิดเหตอุ ะไร เชํนไฟไหม๎ รถชนกัน มคี นบาดเจ็บ หรือเกดิ เหตุทําร๎ายราํ งกาย
แจง๎ วาํ ต๎องการความชํวยเหลอื อยาํ งไร ผบ๎ู าดเจบ็ มอี าการอยาํ งไร ใหผ๎ ท๎ู ช่ี วํ ยเหลอื เตรยี มอุปกรณใ๑ ดมาบ๎าง
แจง๎ วาํ เกดิ เหตทุ ไี่ หน และผ๎ูท่ีจะมาชํวย ต๎องเดินทางไปจดุ เกดิ เหตุอยํางไร

96 คํมู ือคสู่มงํอื เสส่งรเสิมรแมิ ลแะลพะพฒั ัฒนนาากกจิิจกกรรรรมมลลูกูกเสเสือทอื ักทษักะษชะวี ชิตีวในิตสใถนาสนถศาึกนษศา กึปษระาเภลทกูลเูกสเสอื ือโสทามชญั ้นั ปหรละกั ถสตูมรศลึกูกษเสาอื ปเอที ก่ี 6 103
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6

คุณสมบตั ขิ องผ๎ูสํงขาํ วท่ดี ี
1. ชาํ งสงั เกต รจู๎ กั สงั เกตส่งิ แวดลอ๎ มหรือเหตกุ ารณต๑ าํ งๆท่พี บเหน็
2. ความจําดี สามารถจําเรือ่ งราวตํางๆได๎ ทีเ่ กดิ ขึ้นไดอ๎ ยาํ งแมํนยํา
3. ยํอความได๎ดแี ละชดั เจน สามารถเลาํ เร่ืองราวได๎อยาํ งถกู ตอ๎ ง กระชับ ชัดเจน และครบถว๎ น

หนํวยงานท่ใี หค๎ วามชวํ ยเหลือผ๎ปู ระสบอุบัตเิ หตุ
ศนู ยก์ ๎ูชพี “นเรนทร” (Narenthorn EMS Center)

ความเจบ็ ปูวยเกดิ ขน้ึ ได๎ทุกที่ทกุ เวลาไมํวาํ จะเกิดอบุ ัตเิ หตหุ รอื อาการปูวยเฉียบพลันจากโรคภัย
หากรักษาไมทํ นั การณโ๑ อกาสรอดชีวิตอาจมีไมํมาก หนํวยแพทย๑ฉุกเฉินจึงพร๎อมปฏิบัติหน๎าที่ 24 ชม.
เพื่อนําผ๎ูปูวยเข๎าสํูการรักษาในโรงพยาบาลอยํางทันทํวงที พวกเขาอุทิศตัวเพ่ือคนไข๎โดยไมํหวัง
ผลตอบแทน ทันทีท่ีโทรแจ๎ง 1669 พวกเขาจะไปถึงท่ีเป็นบริการฟรีไมํเกี่ยงวํานํ้าจะทํวม ไฟจะไหม๎
หรือตอ๎ งฝาู เขา๎ ไปในเขตระเบิด

ป่วยฉุกเฉินแจ๎ง 1661
ส่ิงหนงึ่ ทีห่ นํวยแพทย๑ฉุกเฉนิ หรอื หนวํ ยก๎ชู ีพใหค๎ วามสําคญั อยาํ งมากกค็ ือการเขา๎ ถึงผป๎ู ูวยให๎เร็ว

ท่ีสุดไมํวําผู๎ปูวยจะอยูํที่ไหน เหตุเกิดในเวลาใดดังนั้นนอกจากหนํวยก๎ูชีพที่มีหน๎าที่เข๎าไปให๎การ
ชํวยเหลือผ๎ูปูวยแล๎วจึงต๎องมีศูนย๑รับแจ๎งเหตุที่ให๎บริการตลอด 24 ช่ัวโมง และทําหน๎าท่ีประสานงาน
หนํวยงานตาํ ง ๆ ซึ่งจะอํานวยความสะดวกในการชํวยเหลือผ๎ูปูวย โดยเมื่อศูนย๑รับแจ๎งเหตุได๎รับแจ๎ง
จากผ๎ูปูวยหรือบุคคลใกล๎ชิดก็จะต๎องสอบถามรายละเอียดตําง ๆ ให๎ชัดเจน เชํน ได๎รับบาดเจ็บจาก
อุบัติเหตุ หรือมีอาการปูวยจากโรคประจําตัว อาการของผ๎ูปูวยอายุ – เพศ และจํานวนของผ๎ูปูวย
สถานทีเ่ กิดเหตุ พร๎อมทงั้ เบอรโ๑ ทร ท่สี ามารถติดตํอได๎

จากน้ันจึงแจ๎งไปยงั เจ๎าหน๎าที่ของหนํวยแพทย๑ฉุกเฉินซ่ึงใกล๎จุดเกิดเหตุที่สุด พร๎อมท้ังประสานกับ
หนํวยงานท่ีเก่ียวข๎องเพื่อให๎ชํวยอํานวยความสะดวกหรือเข๎าไปชํวยเหลือผ๎ูปูวยในเบื้องต๎น เชํน แจ๎งให๎
ตาํ รวจจราจรชวํ ยเคลียร๑เส๎นทาง ให๎อาสาสมัครปฺองกันฝูายพลเรือน )อพปร.( ชํวยงัดรถยนต๑เพื่อนําผ๎ูปูวย
ออกจากจุดเกิดเหตุ ปัจจุบนั ไดก๎ ําหนดใหม๎ ีการใชเ๎ ลขหมายโทรศพั ทใ๑ นการบั แจง๎ เหตผุ ป๎ู ูวยฉุกเฉินหมายเลข
เดียวกันทั่วประเทศ คือ หมายเลข 1669 เพื่อให๎งํายตํอการจดจํา โดยเมื่อผู๎ปูวยหรือผู๎ใกล๎ชิดโทรเรียก
1669 ระบบจะเชื่อมโยงไปยังหนํวยแพทย๑ฉุกเฉินที่ใกล๎ท่ีสุด จากน้ันหนํวยก๎ูชีพในพื้นที่รับผิดชอบก็จะสํง
เจ๎าหน๎าท่ีเข๎าไปนําตัวผ๎ูปูวยสํงโรงพยาบาลโดยเร็ว โดยระหวํางทางเจ๎าหน๎าที่จะทําการชํวยเหลือผู๎ปูวยใน
เบ้ืองต๎นตามความจําเป็น เชํน ห๎ามเลือด ให๎นํ้าเกลือ ให๎ออกซิเจน และภายในรถก๎ูชีพจะต๎องมีอุปกรณ๑
ชํวยชีวิตตําง ๆ ครบครัน ไมํวําจะเป็น เพลท หรือ เตียงลําเลียงผ๎ูปูวย เครื่องมือปฐมพยาบาล เครื่องวัด
ความดนั เคร่อื งป๊ัมหัวใจ สายนํา้ เกลือ ฯลฯ

ทัง้ น้ี เพ่ือเปน็ การเพิม่ ศักยภาพในการเข๎าถึงผป๎ู วู ยขณะนีท้ างสํานกั งานระบบบริการการแพทย๑
ฉกุ เฉินไดเ๎ รงํ ดําเนินการจัดทําโปรแกรมซอฟต๑แวร๑ เพ่ือใช๎ในการบอกตําแหนํงของผ๎ูปูวย โดยเม่ือมีการ

104 คมํู อื สํงเสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6
ค่มู อื ส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามญั หลักสตู รลูกเสือเอก 97
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6

โทรแจ๎งเหตุ ระบบจะทาํ การเช่อื มโยงขอ๎ มลู วําผแ๎ู จ๎งอยํู ณ จุดใด พรอ๎ มท้ังปรากฎภาพแผนที่บนหน๎าจอ
คอมพิวเตอรเ๑ พ่อื บอกตําแหนํงทม่ี ีการโทรแจ๎ง ซ่ึงจะชํวยให๎หนํวยแพทย๑ฉุกเฉินสามารถเดินทางไปยัง
พื้นทเี่ กิดเหตไุ ดเ๎ รว็ ยง่ิ ข้ึนและเมอ่ื รถก๎ูชพี เดนิ ทางออกจากโรงพยาบาลไปยังจุดเกิดเหตุก็จะปรากฎภาพ
ขึ้นบนหน๎าจอวํารถเคลื่อนที่ไปถึงจุดใด มีอุปสรรคใดหรือไมํ เพื่อที่หนํวยรับแจ๎ งเหตุจะได๎ทําการ

ประสานไปยงั เจา๎ หนา๎ ทต่ี าํ ง ๆ ทีเ่ กีย่ วขอ๎ งเพื่อชวํ ยแก๎ปัญหา โดยระบบดังกลําวจะแล๎วเสร็จประมาณต๎น
ปี 2551 และนํามาใชก๎ บั หนวํ ยบรกิ ารแพทยฉ๑ กุ เฉนิ ท่วั ประเทศ

98 คมํู อื คสมู่ งํอื เสสง่ รเสิมรแมิ ลแะลพะพัฒัฒนนาากกิจิจกกรรรรมมลลกู กู เสเสือทอื กัทษักะษชะีวชติ วีในิตสใถนาสนถศากึ นษศา กึปษระาเภลทกูลเกู สเสอื อื โสทามชัญน้ั ปหรละักถสูตมรศลกึ กู ษเสาอื ปเอีทกี่ 6 105
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6

แผนการจดั กิจกรรมลกู เสือ หลักสูตรลกู เสือสามญั (ลกู เสือเอก) ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6

หนวํ ยท่ี 5 การบรกิ าร เวลา 1 ช่วั โมง
แผนการจดั กจิ กรรมที่ 20 การเคลื่อนยา๎ ยผูป๎ ว่ ย

1. จุดประสงค์การเรียนร๎ู
1.1 ลูกเสอื สามารถปฐมพยาบาลผป๎ู ูวยที่มเี ลอื ดออกภายนอก และอาการช็อค )Shock( ได๎
1.2 ลกู เสอื สามารถบอกวธิ ชี ํวยใหค๎ นหายใจไดถ๎ ูกตอ๎ ง
1.3 ลูกเสือสามารถเคลอื่ นยา๎ ยคนเจบ็ และนาํ สงํ โรงพยาบาลได๎

2. เน้อื หา
2.1 การปฐมพยาบาลผ๎ูปวู ยทม่ี เี ลอื ดออกและมีอาการช็อคหมดสติ
2.2 วธิ กี ารชวํ ยใหค๎ นหายใจ
2.3 การเคล่ือนยา๎ ยคนเจบ็ และการนาํ สํงโรงพยาบาล

3. ส่ือการเรยี นรู๎

3.1 แผนภูมเิ พลง
3.2 เกม
3.2 ใบความร๎ู

3.3 ฐานสาธิตการปฐมพยาบาลและการเคลอ่ื นยา๎ ยผป๎ู ูวย
3.4 วดิ ีโอการชวํ ยฟื้นคนื ชพี ของหนํวยกชู๎ พี ศูนย๑ “นเรนทร”
3.5 เรอื่ งที่เปน็ ประโยชน๑

4.กจิ กรรม

4.1 พธิ เี ปดิ ประชมุ กอง )ชักธงขน้ึ สวดมนต๑ สงบนง่ิ ตรวจ แยก(
4.2 เพลง หรอื เกม
4.3 กิจกรรมตามจุดประสงคก๑ ารเรยี นร๎ู

1( ผ๎ูกํากับลูกเสือนําการสนทนาและอภิปรายเก่ียวกับการชํวยฟื้นคืนชีพในกรณีผู๎ปูวยช็อก
หมดสติ วาํ มคี วามเป็นไปไดห๎ รอื ไมํ โดยยกกรณตี วั อยาํ งประกอบ )จากขาํ วหน๎าหนงั สอื พิมพ(๑

2( ผู๎กํากับลูกเสือให๎ลูกเสือศึกษาใบความร๎ูและดูวีดีโอการชํวยฟื้นคืนชีพของหนํวยกู๎ชีพ
ศูนย๑ “นเรนทร”

3( ผู๎กํากับลูกเสอื ใหล๎ กู เสือฝกึ ปฏบิ ตั จิ ากฐานสาธิต
ฐานท่ี 1 การปฐมพยาบาลผปู๎ ูวยทม่ี ีเลอื ดออกภายนอก
ฐานที่ 2 การปฐมพยาบาลผูป๎ ูวยท่ีชอ็ ค หมดสติ
ฐานที่ 3 วธิ ีชวํ ยใหค๎ นหายใจ

106 คํูมอื สงํ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ลกู เสือโท ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6
คมู่ อื ส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื สามญั หลักสูตรลกู เสอื เอก 99
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

ฐานท่ี 4 การเคล่อื นยา๎ ยคนเจ็บทถี่ ูกวิธี
4( ผ๎กู าํ กบั ลกู เสือเรียกรวมกองลกู เสอื สรุปผลการฝึกปฏบิ ตั ิ และทบทวนความเข๎าใจของ
ลูกเสือ
4.4 ผ๎ูกํากบั ลกู เสอื เลําเร่ืองสน้ั ทเ่ี ป็นประโยชน๑
4.5 พิธีปดิ ประชุมกอง )นดั หมาย ตรวจเครอื่ งแบบ ชักธงลง เลิก(
5. การประเมนิ ผล
สงั เกต ตรวจสอบจากการฝกึ ปฏิบตั จิ ริงของลกู เสือ

6. คณุ ธรรม
1. ความรับผดิ ชอบ
2. อุดมการณค๑ ณุ ธรรม

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมท่ี 20

เพลง
การปฐมพยาบาล

)ทาํ นอง สรภัญญะ(
คําร๎อง บุญตา งามวัฒนากุล

การปฐมพยาบาลคือการชวํ ยชวี ิตคน ปวดหัวฮอดรถชน ยามคับขนั อยําตกใจ )ซ้ํา(
ตั้งสตใิ หด๎ ีดี หาวธิ ีชํวยปลอบใจ หากแมน๎ เขาเลือดไหล ตอ๎ งหา๎ มไวใ๎ หห๎ ยุดกอํ น )ซ้าํ (
ตรวจดใู ห๎รอบคอบ อยาํ ไปจอบเคลอ่ื นย๎ายเขา เบิ่งแล๎วอาการทเุ ลา เราต๎องฟฺาวสงํ แพทยต๑ ํอ
)ซ้ํา(

เยาวชนไทย

)สร๎อย( เยาวชนชาตไิ ทยตอ๎ งหยง่ิ ในความเปน็ ไทย ชวี ิตจิตใจอยาํ ใหใ๎ ครดูหมนิ่
เยาวชนไทย นัน้ เป็นไทยทุกเม่ือ จะอยํเู หนอื อยกํู ลาง หรอื ภาคใต๎
แมจ๎ ะถือศาสนาใดๆ เกดิ เปน็ ไทยตอ๎ งเปน็ ไทยอยชูํ ่วั กลั ป์ )สร๎อย(
เดก็ วันน้ี คอื ผใ๎ู หญํในวันหน๎า ชาติศาสนาพระมหากษัตรยิ ๑ ซอ่ื สตั ยม๑ ัน่
จงทําดี จงทําดไี วช๎ ่ัวชวี ัน สงิ่ สําคัญเพอ่ื มุงํ ให๎ชาติไทยเจริญ )สรอ๎ ย(

100 คํมู ือคสู่มงํอื เสส่งรเสมิ รแมิ ลแะลพะพฒั ฒั นนาากกจิิจกกรรรรมมลลกู กู เสเสอื ทือกัทษกั ะษชะีวชิตวีในิตสใถนาสนถศากึ นษศา ึกปษระาเภลทกูลเูกสเสอื ือโสทามชัญ้นั ปหรละักถสตูมรศลึกูกษเสาือปเอีทกี่ 6 107
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

ใบความรู๎

วิธีปฐมพยาบาลผ๎ูป่วยมีอาการชอ็ ค
ชอ็ ค

หมายถงึ สภาวะทรี่ ํางกายออํ นเพลีย หมดแรง จนทําให๎ระบบการทํางานของหัวใจและการ
ไหลเวยี นของโลหิตผดิ จากภาวะปกตผิ ๎ปู วู ยแสดงอาการหนา๎ ซดี ผวิ หนงั ซดี หายใจเร็วและตื้น ชพี จรเตน๎
เรว็ และเบา เหง่อื ออกท่ัวรํางกาย ผวิ หนงั เยน็ รมู าํ นตาขยายกวา๎ ง ผปู๎ วู ยบนํ วาํ อํอนเพลยี หิวนาํ้
วงิ เวียน หนา๎ มืด คล่นื เหียน และหมดสตไิ ปในท่สี ดุ
วิธีปฐมพยาบาลผป๎ู ว่ ยมอี าการช็อค

จัดผ๎ูปวู ยใหน๎ อนหงาย โดยให๎ศีรษะอยํใู นระดบั ตาํ่ กวําเท๎าเลก็ นอ๎ ย อาจหนนุ เทา๎ ทงั้ สองขน้ึ คลมุ
ตัวด๎วยผ๎าใหอ๎ บอนุํ ทง้ั น้เี พื่อใหโ๎ ลหิตไหลเวยี นไปยังศีรษะใหด๎ ีขน้ึ มขี ๎อยกเว๎นในกรณที ีต่ ๎องยกศรี ษะใหส๎ งู
กวาํ ลําตวั คอื ผทู๎ ี่บาดเจบ็ ท่ีศีรษะและสมอง ผท๎ู เี่ ป็นลมหน๎าแดงจากความร๎อน เชนํ กราํ แดด หรืออยใูํ นท่ี
มีความรอ๎ นสงู นานๆ ผู๎ที่บาดเจ็บทีท่ รวงอก ทาํ ให๎หายใจลําบาก
การปฐมพยาบาล
1. จดั ให๎นอนหงายราบไมหํ นนุ หมอน ตะแคงหน๎า เพอ่ื ปอฺ งกนั การสาลกั นาํ้ ลายหรืออาเจียน ยกปลายเท๎าให๎
สูงประมาณ 1 ฟตุ
2. หมํ ผา๎ ใหค๎ วามอบอนํุ
3. แกไ๎ ขสาเหตุช็อก เชนํ ถ๎ามเี ลือดออกให๎หา๎ มเลือด
4. รีบนําสงํ สถานพยาบาล

วิธปี ฐมพยาบาลเมอ่ื มบี าดแผลและการหา๎ มเลอื ด

เปน็ ธรรมดาของชวี ติ คนเรา ที่ตอ๎ งมีเกิด แกํ เจบ็ ตาย ซ่งึ ทั้งหลายเหลาํ นี้เปน็ วงเวียนชวี ติ ทตี่ อ๎ ง
เผชญิ กนั ทกุ คน แตกํ ารจะกลาํ วเฉพาะการเจ็บ สิง่ แรกท่ีทกุ คนมกั นกึ ถึงกค็ ือ บาดแผล และมีเลอื ดออก
จงึ ขอนาํ เสนอวิธกี ารปฐมพยาบาลเมือ่ มบี าดแผลเกดิ ขน้ึ และวิธีในการห๎ามเลอื ดกอํ นสงํ เขา๎ แผนกฉกุ เฉนิ
ในโรงพยาบาล

108 คํมู อื สงํ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ลกู เสอื โท ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6
คู่มอื สง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื สามญั หลักสูตรลกู เสือเอก 101
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6

ชนดิ ของบาดแผล
ชนดิ ของบาดแผลทพี่ บ สามารถแบงํ ออกไดเ๎ ปน็ 7 ชนิด ดังตอํ ไปน้ี
1) บาดแผลฟกช้า ห๎อเลอื ด

วธิ กี ารปฐมพยาบาล ให๎ประคบด๎วยความเย็นทนั ทภี ายใน 24 ชว่ั โมงแรกและให๎ประคบดว๎ ย
ความรอ๎ นภายใน 24 ชวั่ โมงหลัง
2) บาดแผลถลอก

วิธีการปฐมพยาบาล เมอื่ เกิดบาดแผลถลอกสง่ิ ท่ีจะตามมากค็ อื มีเลอื ดออกซบิ ๆ ดังนนั้ ให๎รบี ทํา
การลา๎ งแผลทันที เพือ่ ปอฺ งกันการติดเชื้อและอกั เสบของแผล
3) บาดแผลฉกี ขาด

วธิ กี ารปฐมพยาบาล ล๎างบาดแผลและรอบบาดแผลด๎วยนํ้าสะอาดและสบูํทาํ ความสะอาดสงิ่
แปลกปลอมทอ่ี ยํูในบาดแผลออกกดบาดแผล หา๎ มเลอื ดดว๎ ยผา๎ สะอาด ประมาณ 3-5 นาที ทาํ ความ
สะอาดบาดแผลด๎วยน้ํายาฆําเชื้อและปดิ แผลดว๎ ยพลาสเตอรห๑ รอื ผา๎ ปิดแผลสวํ นการดูแลแผลถลอก และ
บาดแผลฉกี ขาดขนาดใหญํควรรีบทําการหา๎ มเลอื ด และรีบนําสงํ โรงพยาบาล
4) บาดแผลถกู แทง

วธิ กี ารปฐมพยาบาล ใหท๎ าํ การห๎ามเลอื ด และรบี นําสงํ โรงพยาบาลถา๎ มวี ตั ถปุ ักคาอยหํู ๎ามดงึ ออก
ใหใ๎ ชผ๎ ๎าสะอาด กดรอบแผลและใช๎ผา๎ พนั ไว๎ กํอนรบี นาํ ตัวสํงโรงพยาบาลทันที
5) บาดแผลอวัยวะถูกตัดขาด

วิธีการปฐมพยาบาล ให๎ทาํ การห๎ามเลอื ดที่บาดแผลและรบี นําสํงโรงพยาบาล สวํ นอวยั วะทีถ่ กู ตดั
ขาดใหใ๎ สถํ ุงพลาสตกิ ทส่ี ะอาด ปิดปากถงุ ใหแ๎ นนํ ไมใํ ห๎นาํ้ เข๎าแลว๎ แชํในถังนา้ํ แขง็ แลว๎ นําสํงโรงพยาบาล
พรอ๎ มผป๎ู ูวย

6) บาดแผลถูกยิง
วธิ ีการปฐมพยาบาล ให๎ทาํ การหา๎ มเลอื ด และรบี นาํ สํงโรงพยาบาลโดยทนั ที เนอ่ื งจากมกี ารเสยี

เลอื ดคอํ นขา๎ งมาก

7) บาดแผลถกู ความรอ๎ น
วธิ ีการปฐมพยาบาล ให๎รีบถอดหรอื ตดั เสอ้ื ผา๎ บรเิ วณทถ่ี กู ความร๎อนออก หรือเครื่องประดับทน่ี าํ

ความรอ๎ นออก เปดิ นา้ํ เยน็ ให๎ไหลผาํ นบริเวณบาดแผล ให๎ทายาสาํ หรบั แผลไฟไหม๎ แล๎วปดิ ดว๎ ยผ๎าปดิ
แผลสะอาด ถ๎าแผลกวา๎ งและลึก หรอื ถกู อวัยวะสาํ คญั ใหร๎ บี นาํ สงํ โรงพยาบาล

การห๎ามเลือด
การห๎ามเลอื ดโดยท่วั ไป จะใช๎วิธีการอยูํ 2 วธิ ีคอื การใชม๎ อื กด และการใช๎ผ๎ากดเพอ่ื พนั แผล ซง่ึ

เปน็ วธิ ีการที่ใช๎กันอยํู เพียงแตจํ ะมเี ทคนิควธิ กี ารทค่ี ํอนข๎างเฉพาะจดุ ซง่ึ ต๎องทาํ ความเขา๎ ใจโดย

102 คมํู อื คสู่มํงอื เสส่งรเสิมรแมิ ลแะลพะพฒั ฒั นนาากกจิจิ กกรรรรมมลลูกูกเสเสือทอื ักทษกั ะษชะีวชิตวีในติ สใถนาสนถศากึ นษศา ึกปษระาเภลทกูลเูกสเสอื อื โสทามชญั ัน้ ปหรละักถสูตมรศลึกกู ษเสาือปเอีทก่ี 6 109
ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6

วธิ ีการลงมอื ปฏบิ ัติ
1( การใชม๎ อื กด สามารถหา๎ มเลอื ดไดโ๎ ดยการใชม๎ ือกด หรือใชน๎ ิ้วกดบาดแผลโดยตรง นอกจากนี้

ยังใชม๎ ือหรอื นิ้วบีบปากแผลเข๎าหากนั ใชส๎ าํ หรบั กรณที ีบ่ าดแผลมีขนาดใหญสํ วํ นวธิ กี ารใชน๎ วิ้ กดเสน๎
เลือดแดงใหญเํ หนอื บาดแผล ใชใ๎ นบาดแผลบริเวณแขนขาท่เี ลือดออกมาก โดยสํวนใหญํเกิดจากการ

บาดเจ็บตํอหลอดเลอื ดแดง และหา๎ มกดตดิ ตํอกนั นานเกนิ 15 นาที เพราะจะทาํ ใหเ๎ นอื้ เยอ่ื สํวนปลายขาด
เลอื ดได๎

2( การใช๎ผา๎ กดและการใชผ๎ ๎าพนั แผล มดี ๎วยกนั 3 วิธีคอื ขย๎ุมผา๎ สะอาดกดลงบนบาดแผลโดยตรง
พันหากไมมํ ีกระดกู หกั ควรยกบริเวณที่มีเลือดออกให๎สูงกวาํ ระดบั หวั ใจ และไมคํ วรกดหรอื พนั แนํน
จนเกินไป เพราะจะทาํ ใหอ๎ วยั วะสํวยปลายท่ีกดหรอื พนั ขาดเลอื ดได๎ )ยกเว๎นกรณีทห่ี า๎ มเลือดโดยวิธกี ด

เส๎นเลือดแดงใหญ(ํ หากนาํ ผา๎ ปดิ แผลชมุํ เลือดแล๎วไมคํ วรเอาออกและควรนาํ ผา๎ อกี ชน้ิ มาปดิ ทบั บนผา๎ ชนิ้
แรก

เรอื่ งสน้ั ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ เร่ือง นรินทรช์ ํวยเพ่ือน

นางสาวจฑุ ามาส ชมุํ เมอื งปัก ผู๎แตงํ

ในช่ัวโมงพลศกึ ษา นรินทรแ๑ ละเพอ่ื น ๆ ชวนกันเลํนฟุตบอล ขณะท่ีเลํนอยํางสนกุ สนานนน้ั
เดชา เพอ่ื นที่เลํนดว๎ ยกนั ล๎มลงถูกก๎อนหนิ ท่ีมีคนโยนเข๎ามาในสนาม ทําให๎เกดิ แผลทหี่ ัวเขํา มเี ลือดไหล
ออกมาก ทุกคนหยุดเลนํ วง่ิ มารุมล๎อม เดชา นรนิ ทร๑ร๎องบอกใหเ๎ พอ่ื น ๆ วิง่ ไปเอากระเป๋าพยาบาลมา
ทันที เขาเร่ิมเอาสําลีชุบแอลกอฮอลเ๑ ชด็ แผล ใช๎ผา๎ พนั แผลซบั เลือดและใชผ๎ ๎าพนั แผลพบั หนา ๆ กดทับ
แผลไว๎เพ่ือใหเ๎ ลอื ดหยดุ จากนนั้ เพอ่ื นอกี คนหนึ่งว่งิ ไปแจ๎งคุณครูรีบนําเดชาสํงโรงพยาบาลใกลโ๎ รงเรียน

ช่ัวโมงหนึ่งผํานไป เดชากลับมาจากโรงพยาบาลเลําวํา คุณหมอเย็บแผลให๎และแนะนําวิธีทํา
ความสะอาด เดชาขอบคณุ คุณครูและเพ่ือน ๆ ท่ีดแู ลปฐมพยาบาลตนเองเมื่อประสบอบุ ตั เิ หตุ

เร่อื งนส้ี อนให๎ร๎วู ํา เม่ือประสบเหตุฉุกเฉินควรต้งั สติและแก๎ไขปัญหาใหถ๎ กู วิธี

110 คูมํ อื สงํ เสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสอื โท ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6
คูม่ ือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื สามัญ หลักสตู รลูกเสือเอก 103
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6

แผนการจดั กิจกรรมลูกเสือ หลกั สตู รลูกเสือสามัญ (ลูกเสือเอก) ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6

หนวํ ยที่ 5 การบริการ เวลา 2 ช่ัวโมง
แผนการจดั กจิ กรรมที่ 21 การบรกิ ารและชวํ ยเหลือผอู๎ น่ื

1. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู๎
1. เพอื่ ปลูกฝังใหเ๎ กดิ จิตสาํ นกึ แกลํ กู เสอื ใหม๎ จี ติ อาสาบรกิ าร
2. เพอ่ื ใหล๎ กู เสอื สามารถบรกิ ารชํวยเหลือผอ๎ู ืน่ ได๎

2. เนอ้ื หา
2.1 การมีจติ อาสาชํวยเหลือผอ๎ู ืน่
2.2 การเขา๎ รบั การอบรมหลกั สูตรลกู เสอื จราจร และหลกั สูตรลกู เสอื บรรเทาสาธารณภัย

3. สือ่ การเรียนร๎ู
3.1 แผนภูมเิ พลง
3.2 เกม
3.3 แบบบนั ทึกการปฏิบัตงิ านจติ อาสา
3.4 เรอื่ งส้นั ที่เป็นประโยชน๑

4. กิจกรรม
4.1 กจิ กรรมที่ 1
1( พิธีเปดิ ประชุมกอง )ชักธงขนึ้ สวดมนต๑ สงบนง่ิ ตรวจ แยก(
2( เพลง หรอื เกม
3( กิจกรรมตามจดุ ประสงคก๑ ารเรียนรู๎
)1( ผูก๎ ํากับลูกเสอื นําสนทนาด๎วยคาํ ถาม “กฎลูกเสอื ข๎อใดทมี่ คี วามหมาย คลา๎ ยกบั คําปฏญิ าณ
ลูกเสือขอ๎ 2”
)2( ผ๎ูกาํ กับลูกเสอื ใหห๎ มํูลกู เสอื รํวมกนั ระดมสมองในประเด็นตอํ ไปนี้
- ในฐานะท่ีเป็นลกู เสือสามญั ลกู เสอื จะสามารถปฏบิ ัตติ ามคาํ ปฏิญาณทว่ี าํ
“ข้าจะชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื ทกุ เมื่อ” และกฎลกู เสอื ข๎อ 3 “ลูกเสือมหี น้าทกี่ ระทาตนให้
เปน็ ประโยชน์และช่วยเหลอื ผ้อู ืน่ ” ได๎อยํางไรบา๎ ง
- สมาชกิ ในหมํูแตํละคนมคี วามสามารถในเรอ่ื งอะไรบา๎ ง
)3( ผก๎ู ํากับใหแ๎ ตลํ ะหมูรํ ายงาน ผู๎กาํ กับลูกเสอื นาํ อภปิ รายเพมิ่ เตมิ และสรปุ
)4( ผกู๎ าํ กบั ลูกเสอื เพมิ่ เตมิ เรอื่ งการพัฒนาตนเองเพื่อชํวยเหลอื ผอู๎ นื่ ซ่ึงลูกเสอื สามารถ
ท่จี ะเรยี นรูเ๎ พม่ิ เติมจงึ จะชํวยผู๎อื่นได๎อยํางมปี ระสิทธิภาพ เชํน การอบรมลกู เสอื
จราจร ลกู เสอื พยาบาลฟน้ื คืนชพี ลกู เสอื บรรเทาสาธารณภยั ลกู เสอื ก๎ูภยั ไปเปน็
อาสาสมคั รชํวยงานโรงพยาบาล และงานจติ อาสาอ่ืนๆ

104 คํูมอื คส่มู งํอื เสสง่ รเสมิ รแิมลแะลพะพัฒัฒนนาากกจิิจกกรรรรมมลลกู ูกเสเสือทอื ักทษักะษชะวี ชิตวีในติ สใถนาสนถศากึ นษศา กึปษระาเภลทกูลเูกสเสอื อื โสทามชัญ้ันปหรละกั ถสตูมรศลึกกู ษเสาือปเอีทกี่ 6 111
ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6

4( ผ๎กู าํ กับลกู เสอื เลาํ เร่อื งสนั้ ทเ่ี ปน็ ประโยชน๑
5( พิธีปดิ ประชมุ กอง )นดั หมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชักธงลง เลิก(

4.2 กิจกรรมที่ 2
1( พิธีเปดิ ประชมุ กอง )ชกั ธงขน้ึ สวดมนต๑ สงบน่ิง ตรวจ แยก(
2( เพลง หรอื เกม
3( กิจกรรมตามจดุ ประสงค๑การเรียนร๎ู
)1( ผ๎กู าํ กับลูกเสอื ทบทวนถึงอุดมการณ๑ลกู เสอื ในการชํวยเหลอื ผ๎ูอืน่
)2( ผ๎ูกาํ กบั ลกู เสอื เชิญชวนให๎ลกู เสอื มีจิตอาสาบรกิ ารชํวยเหลือผอ๎ู น่ื โดยการทาํ
โครงการบริการชวํ ยเหลือผ๎ูอ่ืนในโรงเรียน ในกองลกู เสอื ในชุมชน หรอื แหลํงอ่นื ๆ
ในทอ๎ งถ่นิ ท่ลี ูกเสอื สามารถใหบ๎ รกิ ารได๎
)3( ลกู เสือรวมกลํมุ กันเพือ่ อาสาชํวยเหลอื ผ๎อู น่ื โดยวางแผนทํางานให๎มีคุณคําเกดิ
ประโยชนอ๑ ยํางแท๎จรงิ อยํางตํอเน่ือง
)4( เม่อื ลกู เสอื ปฏบิ ตั ิแลว๎ ใหร๎ ายงานผลการปฏบิ ัติงาน
4( ผู๎กํากบั เลาํ เรอ่ื งส้ันท่ีเป็นประโยชน๑
5( พธิ ปี ิดประชมุ กอง )นดั หมาย ตรวจเครื่องแบบ ชักธงลง เลกิ (

5. การประเมินผล
ประเมินจากผลงาน การรายงาน และการปฏิบัตจิ ริง

6. คุณธรรม
1. ความรบั ผดิ ชอบ
2. อุดมการณค๑ ุณธรรม

112 คูมํ ือสงํ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6
คู่มอื ส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื สามญั หลักสตู รลกู เสอื เอก 105
ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรมท่ี 21

เพลง

เพลงกฎลูกเสอื
)ทาํ นองแหลํ(

กฎทห่ี น่งึ พงึ จําให๎ดีลูกเสอื ตอ๎ งมีเกยี รติเชอ่ื ถือได๎
กฎท่ีสอง น้ันรองลงไปต๎องภกั ดใี นผมู๎ ีพระคณุ
กฎทีส่ าม นัน้ บําเพ็ญบญุ ชํวยเหลอื เกอื้ กูลผอ๎ู นื่ ท่ัวไป

นะเธออยาํ ลมื อยาํ ลมื นะนะเธออยาํ ลืมอยาํ ลืม
กฎท่สี ่ี นี้นําคดิ จงเป็นมิตรของคนทว่ั ไป
กฎทหี่ ๎า ทาํ นวาํ เอาไว๎มารยาทนัน้ ไซร๎กราบไหวง๎ ามๆ
กฎทีห่ ก นรกไมํตามเพราะน้ําใจงามกรณุ าสัตว๑มนั

นะเธออยาํ ลืมอยาํ ลมื นะนะเธออยาํ ลมื อยาํ ลืม
กฎทเ่ี จด็ จงเชื่อจงฟังในคําสงั่ โดยดุษฎี
กฎท่แี ปด ยม้ิ ๆไวยซ้ ิ้มลี ๆกู เไสวอื๎ซทลี ด่ีกู ไีเมสยอ่ื อท่ ทีด่ อ้ไี มตยํอ่ คอํ วทาอ๎ มตยอํ าคกวลาำ� มบยาากกลําบาก
กฎท่เี กา๎ ออมไวย๎ ามยากจะไมลํ ําบากเงินทองมากมี
กฎทสี่ บิ ประพฤตคิ วามดีทัง้ กายวจมี โนพรอ๎ มกนั

ลูกเสอื บรกิ าร

ลูกเสอื สบายดีฤา ลกู เสอื จงลชกู วเนสกือนัจงมชาวนกันมา
ลูกเสอื สบายอุรา ลูกเสอื นน้ั หนาพรอ๎ มบริการ

เร่ืองส้นั ทีเ่ ปน็ ประโยชน์

เสกมะมวํ ง

ชายหนุํมคนหนึ่งไดเ๎ รียนวิชาการเสกมะมํวงจากชายขอทาน สามารถเสกมะมํวงได๎ตลอดปี ไมํวํา
ฤดไู หนเขาสามารถเสกไดท๎ ั้งนั้น

หาได๎ ชายหนุํมผ๎ูนี้ทราบมพี ระเจา๎ แผนํ ดนิ องคห๑ น่งึ ตอ๎ งการเสวยมะมวํ งแตํไมํสามารถจะขําวจึงรีบ
อาสาไปเสกมะมํวง พระเจ๎าแผํนดนิ ได๎เสวยมะมํวงตามต๎องการจึงชอบพระทัยมาก พระราชทานทรัพย๑สิน
เงนิ ทองให๎บา๎ นพกั และใหต๎ ําแหนํงใหญโํ ตแกชํ ายหนมํุ ผ๎ูน้ี

106 คมูํ ือคสมู่ ํงือเสส่งรเสมิ รแิมลแะลพะพัฒัฒนนาากกิจิจกกรรรรมมลลูกกู เสเสอื ทือกัทษกั ะษชะีวชิตีวในิตสใถนาสนถศาึกนษศา ึกปษระาเภลทกูลเูกสเสือือโสทามชัญ้นั ปหรละักถสูตมรศลึกูกษเสาอื ปเอที ก่ี 6 113
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6

2 เดอื นตํอมา พระเจ๎าแผํนดนิ ตอ๎ งการเสวยมะมวํ งก็ใหช๎ ายหนํุมเสกอกี และตรัสถามชายหนํุมผ๎ูนี้
ด๎วยความสนพระทัยวํา ไปเรยี นวิชาเสกมะมวํ งนีม้ าจากใคร คร้นั ชายหนุมํ จะตอบไปตามตรงก็กลัวพระเจ๎า
แผํนดนิ จะร๎ูวําไปเรยี นวิชามาจากคนตา่ํ ต๎อย จงึ ตอบไปวาํ “เรียนมาจากอาจารยม๑ ชี อื่ เสยี งแหํงหนง่ึ ” พอตอบ
ไปเชํนนั้น วชิ าเสกมะมํวงท่เี รยี นมากเ็ สอ่ื มไปทันที

วันตอํ มา พระเจา๎ แผํนดินเรยี กมาใหเ๎ สกอกี ปรากฏวําเสกไมไํ ด๎ เมอ่ื พรเจ๎าแผํนดนิ ทราบสาเหตุวํา
เหตุท่เี สกไมไํ ดเ๎ พราะพดู โกหกดถู กู อาจารย๑ผ๎ูมพี ระคุณ จงึ สัง่ ใหท๎ หารริบทรัพย๑สมบัติ ไลํออกจากตําแหนํง
และขบั ไลํออกไปจากพระราชวงั ทันที

เรอื่ งนีส้ อนให๎วํา การดูถกู ครอู าจารย๑ ผ๎ูใหว๎ ชิ าความรูแ๎ กตํ นจะประสบกบั ความหายนะในชวี ติ

สนุ ัขช่ัว

สุนขั ตวั หนงึ่ มีนิสยั ชอบขโมยและกัดใครตอํ ใครทม่ี นั พบเหน็ อยเํู สมอ เพราะฉะนัน้ เจ๎าของจงึ เอา
กระดง่ิ แขวนไวท๎ ค่ี อ เพื่อเตอื นใหค๎ นรวู๎ ํามนั เข๎าไปใกลผ๎ ู๎ใด

แตํสุนัขตัวน้ันกลับมีความนิยมชมชอบในกระดิ่งที่เจ๎าของแขวนคอมัน มันเดินไปตามถนน
หนทางด๎วยความภาคภมู ิใจในเสยี งกระด่ิงทค่ี อของมัน จนกระท่งั สนุ ัขแกตํ ัวเมียตัวหน่ึงพูดวํา “เจ๎าหนํุม
ซ่งึ หาความดอี ะไรไมํได๎ ทําไมเจา๎ แสดงกริ ิยาทาํ ทเี ชํนนน้ั กระด่ิงนั้นไมใํ ชเํ คร่ืองหมายแหงํ คณุ งามความดี
ของเจ๎าเลย แตํเปน็ เครือ่ งหมายของความเลวทรามของเจ๎าตํางหาก”

เรือ่ งนี้สอนให๎รู๎วํา คนชวั่ ยํอมไมเํ คยมองเห็นความผิดของตนเอง

114 คูมํ ือสงํ เสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6
คู่มือส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามัญ หลักสูตรลกู เสอื เอก 107
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6

แผนการจดั กิจกรรมลูกเสอื หลกั สตู รลกู เสือสามญั (ลูกเสือเอก) ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6

หนํวยท่ี 6 การพ่งึ ตนเอง เวลา 2 ชวั่ โมง
แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 22 นา้ ด่ืมเพ่อื สขุ ภาพ

1. จดุ ประสงคก์ ารเรียนร๎ู
ลกู เสือสามารถทาํ น้าํ ดม่ื สมุนไพรตามภูมิปัญญาทอ๎ งถ่ินได๎

2. เนอ้ื หา
2.1 สมุนไพรไทย
2.2 การทํานาํ้ ด่มื จากสมนุ ไพรไทย
2.3 ประโยชนข๑ องนาํ้ สมุนไพรไทย

3. สื่อการเรียนรู๎
3.1 แผนภมู ิเพลง
3.2 เกม
3.2 ใบความรู๎
3.3 เรอ่ื งสนั้ ที่เปน็ ประโยชน๑

4. กิจกรรม
4.1 กิจกรรมครง้ั ท่ี 1
1( พธิ ีเปิดประชุมกอง )ชักธงขน้ึ สวดมนต๑ สงบนิง่ ตรวจ แยก(
2( เพลง หรอื เกม
3( กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก๑ ารเรียนร๎ู

)1( ลกู เสือรวํ มกนั ศึกษาการทําเครื่องด่มื นาํ้ สมุนไพรไทยหมูํละ 1 ชนิด เชํน
นา้ํ ใบเตย น้ําขงิ นํา้ มะตมู น้ําลกู เดือย นํา้ ตะไคร๎ ฯลฯ พร๎อมศึกษาถึงคุณประโยชน๑
ของนาํ้ สมนุ ไพรชนิดนน้ั ๆ โดยทําเปน็ แผํนพบั โฆษณาสรรพคณุ ของน้ําสมุนไพร

)2( ผ๎กู าํ กับลกู เสอื มอบหมายใหจ๎ ดั เตรยี ม และแบํงงานกนั ในหมํูลกู เสอื เพ่ือดําเนนิ การ

ในครงั้ ตํอไป
4( ผก๎ู าํ กบั ลูกเสอื เลาํ เรอ่ื งส้ันท่ีเปน็ ประโยชน๑
5( พิธีปดิ ประชมุ กอง )นัดหมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชักธงลง เลิก(

4.2 กิจกรรมครงั้ ท่ี 2
1( พิธเี ปิดประชุมกอง )ชักธงขน้ึ สวดมนต๑ สงบนงิ่ ตรวจ แยก(
2( เพลง หรือเกม

108 คํมู อื คสูม่ งํอื เสส่งรเสมิ รแิมลแะลพะพัฒัฒนนาากกิจจิ กกรรรรมมลลกู ูกเสเสอื ทอื กัทษักะษชะีวชติ ีวในิตสใถนาสนถศาึกนษศา กึปษระาเภลทกูลเกู สเสือือโสทามชัญ้ันปหรละกั ถสูตมรศลกึ ูกษเสาอื ปเอที กี่ 6 115
ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6

ผาํ นมา 3( กิจกรรมตามจุดประสงคก๑ ารเรยี นร๎ู
)1( ลูกเสือรํวมกนั ทาํ นํา้ สมุนไพรไทยหมํลู ะ 1 ชนดิ ตามทไี่ ดแ๎ บงํ งานกันไว๎ในชว่ั โมงท่ี

)2( ตัวแทนของแตํละหมนํู ําเสนอเป็นแผนํ พับ และบรรยายสรรพคุณและประโยชน๑
ของนา้ํ สมนุ ไพรของหมหํู รอื นาํ เสนอตามทห่ี มลูํ ูกเสือมคี วามถนดั

)3( ผูก๎ ํากบั ลกู เสอื และลูกเสอื รวํ มกันชมิ นํา้ สมนุ ไพร และสรปุ ข๎อคดิ ที่ได๎
4( ผ๎กู าํ กับลูกเสอื เลําเร่อื งสนั้ ทเี่ ป็นประโยชน๑
5( พิธปี ดิ ประชุมกอง )นดั หมาย ตรวจเคร่อื งแบบ ชกั ธงลง เลกิ (

5. การประเมินผล
สงั เกตการมีสํวนรวํ มในการทาํ กิจกรรม และประเมินผลการปฏบิ ัติ

6. คณุ ธรรม
ความพอเพยี ง

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมที่ 22
เพลง

อนุรักษ์ป่า
(ทานองเพลงผใู๎ หญลํ ี)

ปาู ไม๎ชวํ ยทําใหฝ๎ นตก ป่ ารกฝนปตูากรมกาฝกนมตายกมากมาย
น้าํ ในคลองเจ่งิ นองหลากหลาย)ซํ้า( แตํไมอํ นั ตรายเพราะปาู ไม๎บัง
ปาู ไมเ๎ ข๎าทําลายเสยี หมด
ยามฝนตกมาป่านองลน๎ ฝั่ง)ซ�าํ ( น้าํ จะลดแมน๎ สลดใจจงั
ขอพวกเราโปรดชวํ ยกนั ปลกู ปูา พัดบ๎านเรือนพงั โปรดระวังอนั ตราย
บา๎ นเมอื งจะรุงํ เรืองศวิ ไิ ลย)ซ�าํ ( พัฒนารมํ เยน็ สดใส
ขอใหล๎ กู เสือไทยชวํ ยกนั ปลกู ปูาเอย

มาตามนดั

เอ๎าฮาเฮฮา ชกั ช๎าอยใํู ย เอ๎าฮาฮาไฮ๎ จงรบี ไปให๎ทันเวลา

เอา๎ เร็วเข๎าซิดใู หด๎ ี เขามใี หมมํ า เอา๎ ฮาเฮาฮา พร๎อมใจกนั มาพบหนา๎ พรอ๎ มกนั

เฮพร๎อมใจมาเรยี น ฮาพากเพยี รบากบนั่ มาซิ มาซิ มาซเิ รว็ พลนั ถงึ วันเวลาอบรม

116 คํมู ือสงํ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทักษะชวี ิตในสถานศึกษา ลกู เสือโท ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6
ค่มู ือส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามญั หลกั สตู รลูกเสอื เอก 109
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

เรอื่ งส้ันทีเ่ ป็นประโยชน์

ตา๎ นภัยหนาว ด๎วยภูมิปัญญาไทย

ตามหลักทฤษฎีการแพทย๑แผนไทย คนเรามธี าตุ 4 เป็นองค๑ประกอบ ได๎แกํ ดิน นาํ้ ลม และไฟ
การเจ็บปวู ยในแตํละชํวงฤดูกาลขึน้ กบั การเสยี สมดุลของธาตุนัน้ ๆ การเจบ็ ปวู ยในฤดูหนาวมักเก่ยี วขอ๎ ง
กบั ธาตนุ ํา้ ในรํางกาย ทาํ ใหม๎ เี สมหะ เจบ็ คอ แสบคอ ดังนั้นในชํวงฤดูหนาวทางแพทย๑แผนไทยจึงใช๎
ทฤษฎีเรอ่ื งของอาหารปรับสมดุลของธาตุน้าํ ได๎

โดยเฉพาะผูท๎ ีม่ โี รคประจําตัว เชํน หอบหดื มกั ถูกกระต๎นุ ใหแ๎ สดงอาการของโรคมากกวาํ ในฤดู
อ่นื ๆ จงึ ควรปรับสมดลุ ของธาตนุ ๎ําโดยบริโภคอาหารรสเปรย้ี วและรสขม มากกวํารสอืน่ ๆ สรรพคุณของ
รสเปร้ียวจะชํวยในการขับเสมหะ สํวนรสขมจะทําให๎เจริญอาหาร นอกจากน้ีอาหารที่มีรสเผ็ดร๎อนจะ
ชํวยให๎รํางกายอบอุนํ กระตุน๎ ระบบไหลเวยี นโลหิตชํวยให๎เสมหะถกู ขับออกงํายขึน้ เชํน ขิง ขาํ พรกิ
กระเพรา ตะไคร๎ หวั หอม เป็นต๎น

ในสํวนของปญั หาผิวแห๎งในชํวงฤดูหนาวสามารถใช๎นํ้ามะพร๎าวน้ํามันงา นํ้ามันมะกอกทาผิว
เนื่องจากเป็นสารจากธรรมชาติอุดมด๎วยวิตามินอี มีสารต๎านอนุมูลอิสระ กรณีผิวแห๎งมากๆ แนะนํา
นํ้ามันมะกอกบริสุทธิ์จะชํวยให๎ผิวชุํมชื่นได๎นาน นํ้ามันมะพร๎าวยังชํวยลดการอักเสบของผิวหนังและ
ปฺองกันมะเร็งผิวหนงั จากแสงแดด

เรื่องนี้สอนให๎รู๎วํา ภูมิปัญญาและสมุนไพรของไทยมีคุณคําและประโยชน๑อยํางมากหากร๎ูหลักและ
เขา๎ ใจ พรอ๎ มนํามาใช๎อยํางถูกวธิ ี ก็สามารถสรา๎ งภูมติ ๎านทานทุกฤดูอกี ด๎วย

น้าสม๎ คนั้ วันละแก๎ว...หาํ งไกลจากโรคน่วิ

นํา้ ส๎มคั้น นอกจากจะมวี ิตามินซีซึ่งดตี อํ ผวิ พรรณแล๎ว ยงั มีผลดตี ํอสุขภาพอกี ดว๎ ย โดยนักวจิ ยั ได๎
เปดิ เผยวาํ การดืม่ นา้ํ ส๎มค้นั วันละแกว๎ สามารถชวํ ยปอฺ งกันการเกิดโรคนิ่วในไตได๎ประสิทธิภาพดีกวํานํ้า
ผลไม๎ที่มีรสเปรี้ยวอื่นๆ เชนํ นํา้ มะนาว

ความเช่ือท่ีวําการดื่มน้ําผลไม๎รสเปรี้ยวจากผลไม๎ชนิดใดก็ตาม จะสามารถปฺองกันนิ่วในไตได๎
เพราะมีสารซเิ ตรตจากธรรมชาติท่ีชํวยเพ่ิมปริมาณซิเตรต และลดความเป็นกรดของปัสสาวะจึงลดการ
เกิดนว่ิ ในไตได๎ แตงํ านวจิ ัยกลับพบวาํ แมว๎ าํ นํา้ ผลไม๎ท่มี รี สเปรี้ยวท้ังหลายจะมปี รมิ าณซิเตรตท่ีใกล๎เคียง
กนั แตํมนี ํ้าผลไม๎ทม่ี ีรสเปรยี้ วเพยี งบางชนดิ เทําน้ัน ท่ีอาจชํวยลดความเส่ียงในการเกดิ นิว่ ในไตได๎

โรคนิ่วในไตมักเกดิ จากจากที่ปัสสาวะมคี วามเข๎มข๎นมากจนตกตะกอนเป็นน่ิว มักเกิดที่บริเวณ
กรวยไต และเมอื่ กอ๎ นนวิ่ หลุดลงมาทที่ ํอไต ก็จะทําให๎เกิดอาการปวดท๎องทันที หลายคนท่ีเคยเป็นโรคน้ี
ต๎องหนั มากินยาพวกโพแทสเซยี มซิเตรต เพ่ือชํวยปฺองกันการเกิดใหมํของก๎อนนิ่ว แตํผลข๎างเคียงจาก
ยากอ็ าจทาํ ให๎เกิดการระคายเคืองในระบบทางเดินอาหารได๎ บางคนจึงหันไปดื่มน้ําผลไม๎รสเปรี้ยวท่ีมี
สารซเิ ตรตจากธรรมชาติแทน เพอื่ ปอฺ งกนั ไมํให๎กอ๎ นนว่ิ เกดิ ซาํ้ อกี
เร่ืองนส้ี อนใหร๎ วู๎ าํ การดูแลเรือ่ งอาหารการกนิ และพฤตกิ รรมการใช๎ชวี ติ อาจชํวยยบั ยัง้ การสะสมของ
ผลกึ ก๎อนนว่ิ ทีจ่ ะเกดิ ขน้ึ ใหมไํ ด๎

110 คมํู ือคสมู่ งํือเสส่งรเสมิ รแิมลแะลพะพฒั ฒั นนาากกจิิจกกรรรรมมลลูกูกเสเสอื ทือักทษักะษชะวี ชติ วีในติ สใถนาสนถศาึกนษศา กึปษระาเภลทกูลเกู สเสอื ือโสทามชญั ้นั ปหรละกั ถสูตมรศลกึ ูกษเสาือปเอีทก่ี 6 117
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6

ใบความรู๎

นา้ สมนุ ไพรกบั การแพทย์แผนไทย

อาหารและนาํ้ ด่ืมเปน็ ปัจจัยทส่ี าํ คัญตอํ ชีวิตมนุษย๑เพราะนอกจากจะชํวยให๎รํางกายเจริญเติบโต
แข็งแรงแล๎วในอาหารไทยยังมสี มุนไพรทเ่ี ปน็ เครอ่ื งปรงุ ชํวยรกั ษาโรคและอาการบางอยาํ งได๎

ตามหลักการการแพทย๑แผนไทยรํางกายจะแข็งแรงต๎องมีภาวะสมดุลของธาตุทั้ง 4 คือ ดิน น้ํา
ลม และไฟ ด๎วยเหตุผลทป่ี ระเทศไทยอยํูในเขตรอ๎ นมกี ารแปรเปลีย่ นของสภาวะอากาศหลายลักษณะซึ่ง
ทาํ ใหม๎ ผี ลกระทบตอํ ความสมดุลของธาตุทั้ง 4 ในรํางกายและสํงผลใหเ๎ กิดการเจ็บปวู ยได๎

ภูมิปัญญาไทยได๎อาศัยธรรมชาติที่มีอยํูรอบตัวมาใช๎ประโยชน๑ในการปรับสมดุลย๑ของรํางกายได๎
ตัวอยํางเชํน การด่ืมน้ําผลไม๎หรือนํ้าสมุนไพรสามารถกระทําได๎โดยการด่ืมตามเวลาท่ีธาตุในรํางกายของ
คนเราเปลยี่ นแปลงไป โดยมกี ารแบํงเวลาดังน้ี

เวลา 06.00–10.00 น.และ 18.00–22.00 น. รํางกายมักจะเจ็บปูวยด๎วยธาตุนํ้าน้ําสมุนไพรท่ี
บาํ รงุ รํางกายและปรับสมดุลของธาตนุ ํา้ ได๎แกนํ ้าํ สมนุ ไพรทม่ี รี สเปรีย้ ว เชนํ น้ําส๎ม นํา้ มะนาว ฯลฯ

เวลา 10.00–14.00 น. และ 22.00–02.00 น. รํางกายมักจะเจ็บปูวยด๎วยธาตุไฟ นํ้าสมุนไพรที่
ชวํ ยบาํ รงุ ราํ งกายและปรบั สมดุลของธาตุไฟได๎แกํนํ้าสมุนไพรทีม่ ีรสขม เชนํ นํ้าบวั บก น้าํ ลูกเดือย ฯลฯ

เวลา 14.00–18.00 น. และ 02.00–06.00 น. รํางกายมักจะเจ็บปูวยด๎วยธาตุลม น้ําสมุนไพรที่
ชํวยบํารุงรํางกายและปรับสมดุลของธาตุลม ได๎แกนํ า้ํ สมนุ ไพรทีม่ ีรสเผ็ดร๎อน เชํน นํ้าขิง น้าํ ตะไคร๎ ฯลฯ

ในกรณีการเจบ็ ปูวยดว๎ ยธาตดุ นิ นั้นไมํได๎ข้ึนกับกาลเวลา แตํจะเกิดผลของการผิดปกติของธาตุ

อนื่ ๆ ดังนน้ั การด่มื นาํ้ สมนุ ไพรหรอื นาํ้ ผลไม๎เพอ่ื บาํ รงุ ธาตดุ ินนน้ั จงึ สามารถกระทาํ ในเวลาใดก็ได๎

ตัวอยํางน้าสมุนไพรบารุงธาตดุ นิ
น้ามะพรา๎ ว
สวํ นผสม มะพร๎าวน้ําหอมทัง้ เนอ้ื และนาํ้ 1 ผล )500 กรมั ( นา้ํ เช่ือม2 ช๎อนโต๏ะ
วิธีทา เลอื กมะพรา๎ วออํ นพอดี ปอกเปลอื กออก ใช๎เลอื่ ยที่คมเฉาะเปลือกตวั หัวมะพรา๎ ว เทนาํ้ เก็บไว๎

ผาํ มะพร๎าวเป็น 2 ซกี ตักเฉพาะเนอ้ื มะพร๎าวใสเํ คร่ืองปัน่ เตมิ นํา้ มะพร๎าวและน้ําตาล ชิมรส
ตามใจชอบ

คณุ คําทางโภชนาการ พลงั งาน 500 กโิ ลแคลอรีแคลเซย่ี ม60 มก.ฟอสฟอรสั 865 มก.
รสและสรรพคณุ รสมนั ชวํ ยบํารุงกําลัง ขบั ปสั สาวะ ลดไข๎ แกก๎ ระหายทาํ ให๎สดชื่น

นา้ แหว๎
สวํ นผสม เน้ือแห๎วต๎มสกุ ประมาณ 6-8 หัว นา้ํ เชื่อม 2 ชอ๎ นโตะ๏ เกลือเสริมไอโอดนี 1 กรมั
วิธีทาํ นาํ แหว๎ ตม๎ สุกทีเ่ ตรียมไว๎ใสํเครื่องป่นั กบั นาํ้ จนละเอียด เติมน้ําเชอื่ ม เกลอื ปนู คนให๎เข๎ากัน
คณุ คาํ ทางโภชนาการ พลงั งาน 111.07 กโิ ลแคลอรี วติ ามนิ ซี 3.00 มิลลกิ รัม
รสและสรรพคณุ รสหวานมนั แก๎ร๎อนใน กระหายใน บาํ รุงธาตบุ าํ รงุ เส๎นเอน็

118 คูมํ อื สํงเสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6
คู่มอื สง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามญั หลักสูตรลูกเสือเอก 111
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ตวั อยาํ งนา้ สมนุ ไพรบารงุ ธาตนุ ้า
นา้ ส๎ม
สํวนผสม ส๎มเขยี วหวาน 3 ผล )ค้ันนาํ้ 200 กรมั ( น้ํามะนาว 5 กรมั )1 ช๎อนโตะ๏ (

เกลอื ไอโอดนี 1 กรมั )1/5 ช๎อนโต๏ะ( นาํ้ เชื่อม 30 กรมั )2 ช๎อนโตะ๏ (
วิธที า 1. ลา๎ งผลส๎มใหส๎ ะอาด ฝานตามขวาง 2 ซกี

2. ค้นั เอาแตํนาํ้ เติมนา้ํ มะนาว นา้ํ เชอื่ ม เกลอื ชมิ รสตามต๎องการ
คณุ คําทางโภชนาการ พลงั งาน 197.37 กโิ ลแคลอรี ใยอาหาร 3.20 กรมั วิตามนิ 865 มลิ ลกิ รมั
รสและสรรพคุณ รสเปร้ยี วของน้�ํา๎ำส๎มทําให๎ชุํมคอ แก๎ไอ ขับเสมหะ

นา้ ฝร่งั
สํวนผสม เนื้อฝรัง่ สด 1 ผล ) 300 กรมั ( น้ําตาลทราย 200 กรมั เกลือไอโอดนี 8 กรัม นา้ํ 6 ถ๎วย
วิธีทา 1. ล๎างฝร่ังให๎สะอาดเอาแตเํ นอ้ื หน่ั เปน็ ชิ้นเลก็ ๆ

2. ปัน่ ฝรั่งกับนาํ้ จนละเอียด ตั้งไฟ ใสนํ ํา้ ตาลเกลือ พอเดือดยกลงใสํนา้ํ แข็งบดกอํ นเสริ ๑ฟ
คุณคาํ ทางโภชนาการ พลงั งาน 115 กิโลแคลอรี วติ ามินซี 60 มก. ใยอาหาร 2.9 มก.
รสและสรรพคณุ รสฝาด อมเปรีย้ ว มีฤทธิฝ์ าดสมาน ชํวยแกอ๎ าการทอ๎ งเดนิ

ตวั อยาํ งน้าสมนุ ไพรบารุงธาตลุ ม
นา้ ขิง
สํวนผสม ขิงสด 15 กรมั น้ํา 240 มล. นาํ้ เชอ่ื ม 1 ชอ๎ นโต๏ะ
วธิ ีทํา ปอกเปลอื กขงิ ออกลา๎ งนาํ้ ใหส๎ ะอาด ทบุ พอแหลกต้งั นาํ้ ให๎เดอื ดเอาขิงทีท่ บุ ไวล๎ งต๎ม

ให๎เดือดกรองเอากากออก เติมนา้ํ ตาล ชิมรสตามชอบ
คณุ คําทางโภชนาการ พลงั งาน 61.5 กิโลแคลอรี แคลเซยี ม 2.7 มก. ฟอสฟอรัส 3.3 มก.
รสและสรรพคณุ รสเผด็ รอ๎ น บํารงุ ธาตุ ชวํ ยขับลม แกท๎ อ๎ งอืดท๎องเฟฺอ แกอ๎ าการ คลน่ื ไส๎

อาเจียนชวํ ยเจริญอาหาร

น้าตะไคร๎
สํวนผสม ตะไคร๎ 1 ต๎น น้ําเชือ่ ม 1 ช๎อนโต๏ะ นา้ํ เปลาํ 240 มล.
วิธีทาํ นาํ ตะไคร๎มาล๎างให๎สะอาด หั่นเป็นทํอนสั้น ทุบให๎แตกใสํหม๎อต๎มกับนํ้าให๎เดือดกระท่ังนํ้า

ตะไคร๎ออกมาปนกบั น๎ําจนเป็นสเี ขียวสักครํูจงึ ยกลงกรองเอาตะไครอ๎ อกเติมนํ๎าเชอื่ มชิมรส
ตามชอบหรืออาจเอาเหง๎าแกํที่อยูํใต๎ดินล๎างให๎สะอาดฝานเป็นแวํนบางๆ คั่วไฟอํอนๆ
พอเหลอื ง ชงเปน็ ชา
คณุ คําทางโภชนาการ ดม่ื วันละ 3 ครั้ง ครั้งละ1 ถ๎วยชา จะชํวยขับปสั สาวะ

112 คมูํ ือคสมู่ ํงือเสสง่ รเสิมรแิมลแะลพะพัฒัฒนนาากกจิจิ กกรรรรมมลลูกกู เสเสือทอื กัทษักะษชะีวชิตวีในติ สใถนาสนถศากึ นษศา ึกปษระาเภลทกูลเกู สเสอื ือโสทามชญั น้ั ปหรละักถสูตมรศลึกูกษเสาือปเอีทกี่ 6 119
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

รสและสรรพคณุ รสเผ็ดรอ๎ น บาํ รุงธาตุ ชวํ ยแกท๎ อ๎ งอดื ท๎องเฟฺอ จกุ เสียดขบั ปัสสาวะ ขบั เหงอ่ื ได๎
ดีชํวยลดพิษของสารแปลกปลอมในราํ งกาย

ตัวอยํางนา้ สมนุ ไพรบารงุ ธาตไุ ฟ
นา้ ใบบวั บก
สวํ นผสม บวั บกท้งั ตน๎ 30 กรัม )1 กํามือ( นา้ํ เช่ือม 4 ช๎อนโต๏ะ นา้ํ เปลําตม๎ สกุ 240 มล.
วธิ ที า นําต๎นบัวบกล๎างให๎สะอาด หั่นเป็นทํอนส้ันๆใสํลงในเครื่องปั่นเติมนํ้าพอทํวมใบบัวบก

ปั่นให๎ละเอียดกรองเอาแตํนํ้าเติมน้ําอีกครั้งหนึ่ง ท่ีเหลือค้ันน้ําอีกคร้ัง บีบน้ําให๎หมด
เตมิ นาํ๎ เชือ่ มชิมรสอาจลด หรอื เพ่มิ นํ๎าเชือ่ มเลก็ นอ๎ ยตามชอบ

คณุ คาํ ทางโภชนาการ พลงั งาน 92 กิโลแคลอรี่ วิตามนิ เอ 345 ไมโครกรัม แคลเซียม 392 มก.
รสและสรรพคณุ แก๎ร๎อนในกระหายน้�ํ๎าำ ทาํ ให๎สดชน่ื แกอ๎ กั เสบหรือชำ้�๎ําใน แก๎ปวดศรี ษะ ข๎างเดยี ว

น้าลูกเดือย
สํวนผสม ลกู เดือยดบิ 50 กรัม )5 ชอ๎ นโต๏ะ กรมั ( นาํ้ ตาลทราย 10 กรมั )2 ชอ๎ นโตะ๏ (

นํา้ เปลํา 250 กรัม )6 ชอ๎ นโต๏ะ( เกลอื เสรมิ ไอโอดนี 1 กรมั )1/5 ชอ๎ นโตะ๏ (
วิธที า นาํ ลกู เดอื ยลา๎ งให๎สะอาด ใสํหมอ๎ เตมิ นํ้าตง้ั ไปเคีย่ วจนลูกเดือยสกุ เป่ือย ใสนํ ้ําตาล

เกลอื ปนู ใสใํ นเครอื่ งปน่ั ปน่ั ใหล๎ ะเอยี ด ชมิ รสตามชอบ
รสและสรรพคณุ ชงเป็นยาเยน็ ขับปัสสาวะ แก๎รอ๎ นใน บาํ รงุ ไต กระเพาะอาหารมา๎ ม รวมทงั้

บํารุงเลอื ดลมในสตรีหลังคลอด รักษาอาการ คลน่ื ไส๎ อาเจยี นท๎องรํวง

ทม่ี า : ittm.dtam.moph.go.th/data_articles/t6.htm

120 คํมู ือสงํ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6
คูม่ อื สง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลักสูตรลูกเสือเอก 113
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6

แผนการจัดกจิ กรรมลูกเสือ หลักสูตรลกู เสือสามญั (ลกู เสือเอก) ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6

หนํวยท่ี 6 การพึง่ ตนเอง เวลา 1 ชว่ั โมง
แผนการจดั กิจกรรมที่ 23 เรียนรูเ๎ พอ่ื ฝกึ ทักษะการวาํ ยน้า

1. จดุ ประสงค์การเรียนรู๎
1.1 ลูกเสือสามารถบอกความสําคัญของการวาํ ยนา้ํ เป็น ไดอ๎ ยํางถกู ตอ๎ ง
1.2 ลูกเสือสามารถบอกแหลํงเรยี นรเ๎ู พ่ือการฝกึ วํายนํา้ อยาํ งมีประสทิ ธภิ าพและปลอดภยั ได๎

2. เนอ้ื หา
2.1 ความสําคญั ของการวํายนาํ้ ได๎
2.2 สถานทบ่ี ริการการฝกึ วาํ ยนาํ้ สาํ หรับเดก็

3. สื่อการเรียนร๎ู
3.1 แผนภูมิเพลง
3.2 เกม
3.3 ใบความร๎ู
3.4 สระวํายน�ําที่มมี าตรฐานและปลอดภัย
3.5 เรือ่ งสน้ั ทเ่ี ปน็ ประโยชน๑

4. กจิ กรรม
4.1 พธิ ีเปิดประชุมกอง )ชักธงขนึ้ สวดมนต๑ สงบน่ิง ตรวจ แยก(
4.2 เพลง หรอื เกม
4.3 กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก๑ ารเรยี นร๎ู

1( ผกู๎ ํากับลกู เสอื นาํ สนทนาถงึ ความเส่ยี งสําหรบั ผวู๎ าํ ยนํ้าไมเํ ป็น และความจําเป็นของ
การฝกึ วาํ ยนํา้

2( ผูก๎ ํากับลูกเสอื สอบถามผ๎ูทว่ี ํายนา้ํ เป็น วาํ ยนา้ํ ไมํเป็น และผ๎ูทก่ี ําลังฝกึ วํายนํา้
3( ผก๎ู ํากับลกู เสอื ให๎ลูกเสอื ศกึ ษาใบความรู๎เรอ่ื งการวาํ ยนา้ํ
4( ผ๎กู าํ กับลกู เสอื นําภาพสระวํายนํ้ามาตรฐานให๎ลกู เสือพจิ ารณา และอธิบายถงึ ความ

ปลอดภยั ความสะอาด ความสะดวก และมคี รทู ี่มคี วามสามารถในการฝึกสอน มีระบบ
รกั ษาความปลอดภยั ท่ีดี และอ่นื ๆ
5( ผก๎ู าํ กับลูกเสอื ลกู เสอื เชิญชวนใหล๎ ูกเสือสมคั รเป็นสมาชิกของสถานฝึกวํายนา้ํ ทมี่ ี
มาตรฐานเพอื่ ความปลอดภยั ในชวี ิตของตนเอง เชนํ สมาชกิ วาํ ยนา้ํ ของโรงเรยี น เป็นตน๎

4.4 ผกู๎ ํากับลูกเสอื เลาํ เรือ่ งสนั้ ที่เปน็ ประโยชน๑
4.5 พธิ ีปดิ ประชุมกอง )นัดหมาย ตรวจเคร่อื งแบบ ชักธงลง เลกิ (

114 คูํมอื คส่มู ํงอื เสส่งรเสมิ รแมิ ลแะลพะพัฒัฒนนาากกจิจิ กกรรรรมมลลกู กู เสเสือทือกัทษกั ะษชะีวชิตีวในติ สใถนาสนถศากึ นษศา กึปษระาเภลทกูลเูกสเสอื ือโสทามชญั นั้ ปหรละักถสูตมรศลกึ ูกษเสาือปเอที กี่ 6 121
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6

5. การประเมนิ ผล
5.1 สอบถามความเข๎าใจและการเหน็ ความสาํ คญั ของการวาํ ยนา้ํ
5.2 สอบถามลกู เสอื ถึงแหลงํ เรียนรูเ๎ พ่อื การฝกึ วํายนํ้าทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพและปลอดภยั

6. คณุ ธรรม
1. ความรับผดิ ชอบ
2. อดุ มการณ๑คณุ ธรรม

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมท่ี 23

เพลง

นา้ ข้ึนให๎รีบตกั
)ทํานองลาวแพนน้อย)

จดจาํ คําโบราณวํา นา้ํ ข้ึนใหร๎ ีบตัก ตอ๎ งใสํตมํุ ไว๎

เพราะเราจะไดใ๎ ช๎เมอื่ นาํ้ ลง น้าํ ลงจะขนํุ ขน๎ และแห๎งไปจนเราตกั ไมํได๎

เชํนพวกเรานนั้ ยงั มีเวลา )ซ้ํา( ตอ๎ งรบี ศึกษากํอนจะสายเกนิ ไป

ฯลฯ

เรือ่ งสัน้ ทเ่ี ปน็ ประโยชน์

ครอบครัวมสี ุข นางสาวจุฑามาส ชุํมเมอื งปกั ผแ๎ู ตํง

ณ สระวํายน้ําท่ที ันสมยั แหํงหนงึ่ มีคนมาใช๎บริการจาํ นวนมากทง้ั เดก็ และผู๎ใหญํ เพราะสระวาํ ยนํา้
แหํงนี้มีความเป็นมาตรฐานสากล มีระบบนา้ํ ท่ีถกู สุขลกั ษณะ มีผู๎ดูแลความปลอดภยั และมีครูสอนวํายนา้ํ
ประจําคอยใหบ๎ ริการวธิ ีการวํายอยํางถูกต๎อง คุณพํอคุณแมํนําทองทิวมาท่ีสระวํายนํ้าแหํงน้ีตามความ

ต๎องการของลูกชายที่ต๎องการวํายน้ําเป็น ทองทิวเรียนรู๎มาวําการวํายนํ้าเป็นการออกกําลัง กาย
โดยเฉพาะการวํายนํ้าเพื่อสุขภาพจะชํวยเสริมสร๎างรํางกายให๎แข็งแรง กระชับกล๎ามเน้ือ ชํวยให๎จิตใจ
ผอํ นคลาย เมื่อมาถึงสระวํายนาํ้ ครอู าทติ ย๑ ครสู อนวาํ ยนํา้ บอกวํา ถ๎าจะให๎ไดป๎ ระโยชน๑สูงสุดควรวํายนํ้า
สัปดาห๑ละ 3 ครั้ง ๆละประมาณคร่ึงชั่วโมง โดยเฉพาะทําฟรีสไตล๑จะชํวยให๎หัวใจสูบฉีดโลหิต ทํา
กรรเชยี งชวํ ยเผาผลาญแคลอร่ี และถ๎าจะใหเ๎ กิดความคิดสรา๎ งสรรคต๑ ๎องวาํ ยนํ้าทําผีเส้ือ

122 คูํมือสํงเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6
ค่มู ือส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามญั หลักสตู รลกู เสือเอก 115
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6

ขณะท่ีครูอาทติ ย๑คุยกบั ทองทิว คณุ พํอคุณแมํไดย๎ ินแล๎วจึงตัดสินใจวํายนํ้าพร๎อมกับทองทิวด๎วย
มาถึงวนั นท้ี ั้งสาม พอํ แมํ ลูก จึงออกกําลังกายด๎วยการวํายน้ําด๎วยกันเสมอ รํางกายก็แข็งแรง จิตใจก็
ผอํ งใส ใคร ๆ มักเรยี กครอบครวั น้วี ํา “ครอบครัวมีสขุ ”

เรอ่ื งนีส้ อนให๎ร๎ูวํา จติ ใจที่ผอํ งใสอยูํในราํ งการทแี่ ข็งแรง

ใบความร๎ู

การวาํ ยน้าทาํ แบบตํางๆ

1. Feestyle คาํ วาํ ฟรสี ไตล๑ เป็นคําที่เรียกตดิ ปาก เพราะถา๎ จะเรยี กใหถ๎ ูกตอ๎ ง ทําน้มี ชี ่ือวาํ crawl
stroke" )อาํ นวํา ครอลสโตรค(

ท่ีเรียกกันวํา ฟรีสไตล๑ก็เพราะคุณสามารถวํายทําอะไรก็ได๎ที่คิดวําเร็วท่ีสุดเพ่ือให๎ถึงขอบสระ
กอํ นคนอนื่ โดยทาํ ทนี่ ิยมใชค๎ ือ crawl stroke ทาํ ไมทาํ นีจ้ งึ มคี วามเรว็ สงู ท่สี ุดนํะหรือ เป็นเพราะทําน้ีเป็น
ทาํ ท่ีรํางกายมีความเพรียวลนูํ ้ํามากกวําทําอน่ื ๆ รวมทั้ง การเคล่ือนไหวเป็นไปอยํางตํอเน่ือง ซ่ึงทํานก็
สามารถจะวํายไดอ๎ ยํางงาํ ยดาย และในกระบวนการสอนวํายนาํ้ กจ็ ะสอนทาํ นีเ้ ปน็ ทาํ แรก

การใช๎แขนทาํ ฟรีสไตล์ (Freestyle Arm Action)
1. การวํายนํ้าทุกทาํ ยกเว๎นทํากบ จะต๎องใช๎แขนและมือเป็นตัวขับ เคลอื่ นถงึ 70 % หรอื มากกวาํ
ดังนน้ั แขนจงึ เปรียบเสมือนไม๎พาย ท่ีจะชํวยให๎รํางกายไปข๎างหน๎าได๎ และในทําฟรีสไตล๑น้ัน มีลักษณะ
การใช๎แขนท่มี ีความตํอเน่ืองกนั มากท่ีสุด โดยการวํายใหม๎ ีความเรว็ และถกู ต๎องนั้น ทําได๎ดังน้ี1. เมื่อคุณ
ยืดแขนไปด๎านหน๎าจนสดุ แล๎ว แขนของคณุ ต๎องชิดกับหู
2. ตอํ จากนั้นให๎คุณกดมือลง พร๎อมกับโกํงแขนโดยการยกข๎อศอกโดยแรงที่จะสํงตัวคุณนั้นจะ
ออกมาจากไหลํ
3. ดนั แขนทอํ นลํางให๎ผาํ นไปใตล๎ ําตวั นวิ้ ทกุ นิว้ เรยี งชิดตดิ กัน
4. ดนั น้าํ จนกระทั่งแขนของคุณตงึ พอดี สามารถตรวจสอบได๎ โดยมอื ของคุณจะผํานไปถงึ ต๎นขา
5. ยกแขนข้นึ โดยงอข๎อศอก แล๎ววาดแขนมาดา๎ นหน๎า วางมือลงนํ้า กดศอกแลว๎ ยืดแขนออกไป

116 คํูมอื คส่มู ํงือเสส่งรเสมิ รแิมลแะลพะพัฒฒั นนาากกิจิจกกรรรรมมลลูกกู เสเสือทอื กัทษกั ะษชะีวชิตีวในิตสใถนาสนถศาึกนษศา ึกปษระาเภลทกูลเูกสเสือือโสทามชญั ัน้ ปหรละักถสตูมรศลึกูกษเสาือปเอีทกี่ 6 123
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6

ข๎อควรจา
1. คุณตอ๎ งดันนาํ้ ไปด๎านหลังอยาํ งรวดเร็ว
2. เมอื่ คุณจะวางแขนลงนํา้ เพือ่ วํายตอํ ไป พยายามอยําใหแ๎ ขนฟาดนํา้ ใหล๎ ากศอกและมือแทงลง

น้าํ ไปด๎านหนา๎ อยาํ งน่มิ นวล
3. เม่ือมือคุณลงนํ้าแล๎ว อยําให๎มือช้ีลงไปท่ีพื้นสระ จงบังคับมือและแขนให๎ช้ีไปยังเปฺาหมาย

คือด๎านหน๎าของคุณ โดยการยืดแขนออกไปขณะท่ีมือลงน้าํ ไมํใชํจิ้มมือลงไปในนํ้า

2. Backstroke ทํากรรเชียง
หากคุณวํายทําฟรีสไตล๑ได๎ การวํายทํากรรเชียงก็ไมํยากสําหรับคุณ เพราะทํากรรเชียงก็

เหมือนกบั ทาํ ฟรีสไตล๑กลับด๎านกนั นั่นเอง
ดงั นั้นคณุ สามารถวํายกรรเชยี งโดยดัดแปลงหลักการของฟรีสไตล๑ได๎ ถ๎าคุณคิดจะวํายเลํนคําพูดท่ี

บอกวําหน๎าอยํูเหนือน้ําตลอดก็เป็นคําพูดท่ีถูก แตํในการแขํงขันแล๎วคุณคิดเชํนนั้นหรือเปลําเอํย ? ไมํ
เลย เพราะในการวํายระดบั สูงจะมีคลื่นทเี่ กิดจากการวางแขนของคุณไปดา๎ นหลังอยาํ งเรว็ และตอ๎ งวางใหช๎ ดิ
กบั หูของคุณดว๎ ย ดงั นัน้ จะปฏิเสธไมไํ ด๎เลยวาํ นาํ้ จะเข๎ามาท่ีหน๎าของคุณการแก๎ไขทําอยํางไร คุณสามารถ
หาดูไดจ๎ ากหวั ข๎อด๎านลาํ งนี้

การใช๎แขนทํากรรเชียง (Backstroke Arm Action)

การวาํ ยทาํ กรรเชยี ง คณุ ตอ๎ งนอนหงายแลว๎ วาํ ยในลักษณะเคลอ่ื นที่ไปดา๎ นหลัง แตํการทํางาน
ของแขนและมือจะคล๎ายกับทําฟรสี ไตลม๑ าก เรามาดกู ันวํา เราต๎องทาํ อยาํ งไรบา๎ ง

1. เม่ือคณุ ยืดแขนออกไปแลว๎ แขนคุณตอ๎ งชิดหู ไมํใชเํ อาหไู ปชดิ แขนนะครับ ใหพ๎ าแขนมาชดิ หู

2. ใหค๎ ณุ กดแขนลงไปในนา้ํ ท่ีสาํ คัญปลอํ ยไหลํตามสบาย ถ๎าคุณเกรง็ ไหลํใหอ๎ ยกูํ บั ท่เี อาไว๎ คุณ
จะกดแขนลงน้าํ ไมไํ ด๎

3. งอข๎อศอกและตง้ั มือ พรอ๎ มท้ังดันนา้ํ ผาํ นไปทางต๎นขาของคุณอยาํ งรวดเร็ว
4. จังหวะสดุ ท๎ายของการดนั นา้ํ ใหค๎ ณุ กดมอื ลงอยาํ งแรง จนแขนของคณุ ตงึ
5. เม่ือคณุ ยกแขนขนึ้ มาจากนาํ้ คุณตอ๎ งไมงํ อขอ๎ ศอก และวางแขนไปด๎านหลังโดยไมฟํ าดนาํ้ โดย

การวางแขนน้นั ใหค๎ ณุ หันฝูามอื เอาน้ิวกอ๎ ยลงกอํ น
6. เร่ิมทาํ ข๎อ 1. กับแขนอกี ขา๎ ง

124 คํมู ือสงํ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ลกู เสือโท ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6
คมู่ ือสง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามัญ หลักสูตรลูกเสอื เอก 117
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6

ข๎อควรจา
1. ในการวางแขนลงนา้ํ เพอ่ื จะดงึ นํา้ ตอํ ไป คณุ ตอ๎ งใหน๎ วิ้ กอ๎ ยลงนํ้ากอํ นเสมอ
2. คณุ ไมตํ ๎องกงั วลเรอื่ งท่นี ํ้าจะเขา๎ หน๎าคุณ เพราะวําถ๎าคุณวํายถูกต๎อง นํ้าก็เข๎าหน๎าคุณอยํูแล๎ว

ให๎แก๎ไขโดยกําหนดจงั หวะหายใจ เชนํ ยกแขนขวาขนึ้ หายใจเข๎า ยกแขนซ๎ายหายใจออก เปน็ ตน๎
3. ใหค๎ ณุ เกบ็ คางเพียงเลก็ นอ๎ ย ไมใํ ชกํ ม๎ จนหพู น๎ นา้ํ และไมํเงยจนกระท่ังหน๎าจมลงไปในน้าํ
4. ยืดตัวเอาไว๎ อยํางอตวั เปน็ ก๎งุ เดด็ ขาด

3. Butterfly ทาํ ผีเสอ้ื
ทําผีเสื้อ เป็นทําทคี่ ุณตอ๎ งใชแ๎ รงในการวาํ ยมากท่ีสดุ และในการสอนวํายน้ําก็จะสอนทํานี้เป็นทํา

สดุ ท๎าย ทํานม้ี คี วามเรว็ เป็นอนั ดบั สองรองจากฟรีสไตล๑ แตํถ๎าคุณวํายเกํงคุณสามารถวํายจี้ติดคนที่วําย
ทาํ ฟรีสไตลไ๑ ดเ๎ ลยทเี ดียว ในการวํายทาํ ผีเสอ้ื น้คี ณุ จะต๎องฝกึ ฝนเป็นเวลานานกวาํ ทําอน่ื รวมทัง้ คุณตอ๎ งมี
ราํ งกายท่ีแขง็ แรงดว๎ ย บางคนคดิ วําการวาํ ยผีเส้อื ตอ๎ งเป็นคนที่หัวไหลํแข็งแรงเทํานั้น แตํความเป็นจริง
แลว๎ แคนํ ้นั ยังไมํพอ คุณตอ๎ งมีกลา๎ มเนือ้ ทัง้ หวั ไหลํ หน๎าอก ลาํ ตัว หลงั และขาท่แี ข็งแรงมาก ถ๎าคุณ
วํายทําน้ีไดด๎ ี คุณจะวํายไดอ๎ ยาํ งสวยงามไมนํ อ๎ ยเลย สาํ หรบั ผชู๎ ายทว่ี าํ ยน�ําทํานี้ คณุ จะมีรูปราํ งทสี่ วยงาม
เป็นเหมอื นสามเหลยี่ มหวั กลับเลยเชียว แตํถ๎าคุณเป็นผูห๎ ญิง คุณกอ็ าจจะมีชวํ งไหลทํ ่ีกวา๎ งและใหญํได๎
ในการวาํ ยทําน้ีมลี กั ษณะเปน็ การถํายน�ําหนักของรํางกายไปมาจากหน๎าไปหลังและหลังไปหน๎าไป
เรื่อย ๆ ดงั นนั้ ทําน้ตี ๎องอาศยั เอวและสะโพกมาชวํ ย

การใชแ๎ ขนทําผีเสอื้ (Butterfly Arm Action)
การใชแ๎ ขนของทาํ ผเี สอ้ื นน้ั เป็นดังรปู โดยมขี ัน้ ตอนในการวาํ ยดงั นี้

1. เมือ่ แขนคณุ อยขํู า๎ งหนา๎ ใหก๎ ดมอื ลงพร๎อมกับกวาดออกไปดา๎ นขา๎ งเลก็ น๎อย
2. งอข๎อศอกพรอ๎ มทง้ั ดนั มือผาํ นใต๎ลําตวั
3. ดันนาํ้ จนแขนผาํ นบริเวณต๎นขา
4. ยกแขนขน้ึ ให๎ศอกและมือพน๎ จากน้าํ
5. วางแขนกลบั ไปด๎านหนา๎ โดยใหแ๎ ขนมีความกวา๎ งเทาํ ชวํ งไหลํ

118 คํมู ือคสมู่ งํือเสส่งรเสิมรแมิ ลแะลพะพฒั ัฒนนาากกิจิจกกรรรรมมลลูกูกเสเสือทอื ักทษกั ะษชะีวชิตีวในิตสใถนาสนถศากึ นษศา ึกปษระาเภลทกูลเกู สเสอื ือโสทามชัญ้ันปหรละักถสูตมรศลกึ กู ษเสาอื ปเอีทกี่ 6 125
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6

ข๎อควรจา
1. ในขณะที่คุณดันนาํ้ ผํานใตล๎ าํ ตวั นั้น คุณต๎องพยายามรกั ษาระดับของข๎อศอกให๎สูงเสมอ ไมํให๎
ขอ๎ ศอกตกลงไปตาํ่ มาก
2. ในขณะยกแขนข้ึนจากนํ้าต๎องให๎ศอกพ๎นน้ําด๎วย เพราะมันเป็นทั้งหลักการวํายที่ถูกต๎องและ
เป็นกตกิ าสากลในการวาํ ยทําผีเสอื้
3. คณุ ควรพยายามดนั นํ้าใหม๎ อื ทัง้ สองข๎างผาํ นใตล๎ าํ ตวั เพ่อื ใหเ๎ กดิ แรงสํง ถึงแม๎จะเหนื่อยหนํอย
แตํคณุ จะวํายได๎เร็วกวําการทีค่ ณุ จะดันน้ําเพียงแคํขา๎ งลาํ ตวั เทาํ นน้ั
4. ในการดนั มอื ผาํ นใต๎ลําตัวคุณตอ๎ งดันน้าํ ไปขา๎ งหลงั อยาํ งรวดเรว็ มิฉะนั้นไหลํและแขนของคุณ
จะยกขึน้ ไมํพน๎ นาํ้

4. BREASTSTROKE
" คนสํวนใหญํคิดวําทํากบจะสบายที่สุด แตํคุณรู๎ไหมวําทํากบเป็นทําที่ต๎องใช๎เทคนิคและ

พรสวรรค๑สูงที่สุด " ข๎อความด๎านบนเป็นจริง เพราะทํากบเป็นทําธรรมชาติของมนุษย๑คือใช๎มือพ๎ุยนํ้า
และใช๎เทา๎ ถีบไปเร่ือย ๆ แตํในการแขํงขันแลว๎ ทํากบใช๎เทคนคิ สงู เพราะการวํายไมํเหมือนกับการวาํ ยเลนํ
ธรรมดา และต๎องใชพ๎ รสวรรค๑สงู เพราะเปน็ ทําที่นักกีฬา ต๎องมีกล๎ามเน้อื ทีเ่ รยี วยาว ข๎อหัวเขํายืดหยุํนได๎
สูง ดังนั้นจึงไมงํ ํายเลยทีจ่ ะหาคนที่เหมาะสมกบั การวํายแบบนี้จรงิ ๆ

การใชแ๎ ขนทํากบ (Breaststroke Arm Action)

การใช๎แขนในทํากบ มีความสําคัญในการขับเคลื่อนรํางกายไปข๎างหน๎าน๎อยกวําการใช๎ขา เพราะ
ทาํ กบใช๎พลังขา 70 %เพือ่ การขับเคลื่อนรํางกาย แตํการใช๎แขนก็ไมํใชํวําไมํสําคัญเพราะอีก 30 % ก็มีผล
ตํอการวํายเชํนกนั เรามาดูกันวาํ การใชแ๎ ขนของทํากบนนั้ ทาํ อยาํ งไรบ๎าง

1. ให๎กดมือพรอ๎ ม ๆ กับการกวาดมือไปด๎านข๎างโดยการกดมือและแขนลงนั้นให๎กดลงประมาณ 45

องศา
2. เมื่อกวาดมือออกมาเลยชํวงไหลํเล็กน๎อยให๎โกํงแขนโดยงอข๎อศอกและยกข๎อศอกให๎สูงเอาไว๎

พร๎อมกับลอ็ คข๎อศอกให๎อยูกํ ับท่คี ือไมํลากศอกออกไปดา๎ นหลัง
3. ตวดั มอื ทงั้ สองขา๎ งใหม๎ าดา๎ นหนา๎ ในลกั ษณะกระพมํุ มอื )การตวัดให๎มาทั้งแขนทํอนลํางไมํใชํแคํ

ขอ๎ มือตวดั ( พร๎อมทงั้ ใหห๎ นบี ศอกท้งั สองข๎างมาชิดตัวอยํางรวดเร็วพร๎อมทั้งยืดแขนออกไปด๎านหน๎าอยําง

เร็วดว๎ ย
4. กม๎ หัว สํงแรงจากไหลตํ ามแขนไปด๎วย

126 คํมู ือสงํ เสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชวี ิตในสถานศึกษา ลกู เสอื โท ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6
คู่มอื สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื สามัญ หลักสูตรลูกเสอื เอก 119
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6

ขอ๎ ควรจา
1. คณุ ตอ๎ งยกศอกให๎สงู เสมอในขณะที่ดนั นาํ้
2. คณุ ตอ๎ งไมลํ ากแขนออกไปดา๎ นข๎างมากนัก และไมลํ ากแขนจนมอื เลยไปด๎านหลงั
3. อยําใหม๎ อื ไปอยํใู ตห๎ นา๎ อกหรอื ใตล๎ ําตวั เมื่อศอกชิดตวั แล๎วมอื ตอ๎ งอยูํด๎านหนา๎ ของหน๎าอก
4. คุณตอ๎ งหนีบขอ๎ ศอกมาให๎รวดเรว็ ที่สุด เพ่อื เป็นการแหวกขน้ึ มาหายใจอยํางรวดเร็ว มิใชํคํอยๆ
เงยขึน้ มาแลว๎ ลําตวั ไปต๎านน๎ํา ทําให๎เคลือ่ นที่ไดช๎ ๎าลง

..... อํานตํอได๎ที่: https://www.gotoknow.org/posts/476412

120 คํูมือคสูม่ งํอื เสส่งรเสมิ รแมิ ลแะลพะพัฒัฒนนาากกจิิจกกรรรรมมลลูกกู เสเสือทอื กัทษักะษชะวี ชติ ีวในติ สใถนาสนถศาึกนษศา กึปษระาเภลทกูลเูกสเสอื อื โสทามชัญั้นปหรละักถสูตมรศลึกูกษเสาอื ปเอีทกี่ 6 127
ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6

แผนการจัดกจิ กรรมลกู เสอื หลกั สูตรลูกเสือสามัญ (ลกู เสอื เอก) ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6

หนํวยที่ 6 การพงึ่ ตนเอง เวลา 1 ช่วั โมง
แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 24 การออกกาลังกาย

1. จดุ ประสงค์การเรียนรู๎
1.1 ลูกเสอื สามารถบอกประโยชนข๑ องการออกกาํ ลงั กายได๎
1.2 ลูกเสอื สามารถออกกาํ ลังกายได๎

2. เนือ้ หา
ประโยชนข๑ องการออกกําลังกายในชีวติ ประจาํ วัน

3. ส่อื การเรียนรู๎
3.1 แผนภูมิเพลง

3.2 เกม
3.3 แบบบนั ทึกความกา๎ วหนา๎ การออกกําลังกาย
3.2 เร่อื งสนั้ ทีเ่ ปน็ ประโยชน๑

4.กจิ กรรม
1.4 พธิ ีเปิดประชุมกอง )ชกั ธงขน้ึ สวดมนต๑ สงบนง่ิ ตรวจ แยก(
4.2 เพลง หรือเกม
4.3 กิจกรรมตามจุดประสงค๑การเรยี นรู๎
1( มอบหมายใหล๎ ูกเสอื แตลํ ะหมํูทาํ การสืบเสาะวิถีชวี ติ ของคนในชมุ ชน ทอี่ ยํใู น
วยั เดยี วกัน 2 คน คนหน่ึงมีสุขภาพดี อกี คนสขุ ภาพไมํดี โดยสมั ภาษณ๑วําทัง้ สองคน

มีวิถีชีวติ การออกกําลงั กายอยํางไร จึงมีสุขภาพตํางกนั
2( ลกู เสือแตํละหมํสู ํงตวั แทนออกมารายงาน
3( ผ๎ูกาํ กับลูกเสือนําอภิปรายประเด็น “การออกกาํ ลงั กายมปี ระโยชน๑ตํอสขุ ภาพของลูกเสือ

อยํางไร” และสรุป
4( ลกู เสือรํวมพูดคยุ แลกเปลย่ี น และเลอื กวิธกี ารออกกําลงั กายทเ่ี หมาะสม สามารถทาํ

ได๎อยาํ งสม่าํ เสมอและปลอดภัย
5( ลูกเสอื บนั ทกึ ความกา๎ วหนา๎ ของการออกกาํ ลังกายเป็นระยะ หรือสะสมไวอ๎ ยาํ งตอํ เนอ่ื ง
4.4 ผกู๎ ํากับลกู เสอื เลาํ เรอื่ งส้ันท่เี ปน็ ประโยชน๑
4.5 พธิ ปี ิดประชมุ กอง )นดั หมาย ตรวจเครื่องแบบ ชกั ธงลง เลิก(

128 คํูมือสํงเสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสือทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6
คู่มือส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื สามญั หลกั สตู รลกู เสอื เอก 121
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6

5. การประเมินผล
5.1 สงั เกตความรับผิดชอบและสมรรถนะในการออกกาํ ลังกายทาํ งาน
5.2 ติดตามผลการพัฒนาตนเองเพอ่ื การสงํ เสรมิ สุขภาพ
5.3 สังเกตการรวํ มกันอภิปรายประโยชนข๑ องการออกกาํ ลงั กาย

6. คุณธรรม
1. ความรบั ผิดชอบ
2. อุดมการณค๑ ณุ ธรรม

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรมที่ 24
เพลง

กายบรหิ าร

ชมู อื ขนึ้ แลว๎ หมนุ ๆ ชมู ือขน้ึ โบกไปมา )ซาํ้ (
ควงแขนขนึ้ และลง พบั แขนมอื แตะไหลํ
กางแขนขึ้นและลง ชูขน้ึ ตรงหมนุ ไปรอบตัว

เรอ่ื งสัน้ ทเี่ ปน็ ประโยชน์

ขีจ่ กั รยาน... ได๎มากกวําทคี่ ดิ

ผ๎ทู ีเ่ รม่ิ สนใจจักรยานอาจไมํร๎ูวํา ผลดีท่ไี ด๎จากการข่ีจักรยานน้ันมีมากมายกวําท่ีคิด ไมํเพียงแตํ
สนกุ และได๎ออกกําลงั แตํยงั พัวพนั ไปถงึ วิธีการดํารงชวี ติ แทรกซึมเข๎าไปยังวิธีคิดในทุกเรื่องโดยไมํรู๎ตัว

เราจะได๎อะไรบ๎าง จากการข่ีจักรยาน
1. เร่มิ ตัง้ แตํจะเลือกซื้อจักรยาน ควรหาความรู๎และวิธีใช๎และบํารุงรักษาจักรยานให๎เกิดประโยชน๑
สูงสุด ขนาดจักรยานต๎องพอดีกับชํวงขาและลําตัวจะชํวยให๎คนข่ีเคลื่อนไหวได๎อยํางสะดวกสบาย ผลที่ได๎
กค็ อื จะมลี ักษณะทําทางและรปู ราํ งเป็นปกติ มีบุคลกิ ภาพดีไมํปวดเม่ือยหรอื บาดเจ็บเม่ือข่ีไปไกล ๆ หรือข่ี
เปน็ เวลานาน
2. การขจ่ี กั รยานอยํางสม่ําเสมอ ถกู หลกั เกณฑ๑และกินอาหารถกู หลักโภชนาการ ทําให๎ได๎สุขภาพ
ท่ีดีข้ึน เพราะเป็นการออกกําลังกายแบบแอโรบิก ชํวยให๎รํางกายแข็งแรง ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ทาํ งานไดด๎ ีข้ึน
3. ชํวยลดน้ําหนักในคนอ๎วนได๎ เพราะชํวยเผาผลาญไขมันได๎อยํางดี )ใช๎พลังงาน 600-700
แคลอรี ตอํ การขี่ 1 ช่ัวโมง เทียบเทํากับพลงั งานจากขา๎ วมนั ไกํ 1 จาน(

122 คูํมือคส่มู งํอื เสสง่ รเสิมรแิมลแะลพะพัฒฒั นนาากกิจิจกกรรรรมมลลูกูกเสเสือทอื ักทษกั ะษชะวี ชติ วีในติ สใถนาสนถศาึกนษศา กึปษระาเภลทกูลเกู สเสืออื โสทามชญั น้ั ปหรละกั ถสูตมรศลกึ ูกษเสาือปเอที กี่ 6 129
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6

4. ชวํ ยให๎ขอ๎ เขาํ และขอ๎ เท๎าแขง็ แรง โดยเฉพาะในคนอว๎ นทต่ี อ๎ งรับนํ้าหนกั ตวั มาก ๆ
5. ชํวยลดความหงุดหงิดอึดอัดท่ีเกิดจากชีวิตประจําวันอันเครํงเครียดเพราะเม่ือออกกําลัง
ราํ งกายจะหล่งั สารแหงํ ความสขุ หรอื เอนโดรฟีน )endorphine( ซึ่งเป็นตัวขจัดความหงุดหงิด เลือดที่สูบ
ฉีดดียงั ชวํ ยใหส๎ มองปลอดโปรํงมีความสขุ มากข้ึน
6. การข่ีเป็นกลุมํ ชํวยใหเ๎ ข๎าใจการทํางานเป็นทีมหากขาดสิ่งน้ีก็จะเกิดได๎ทั้งอุบัติเหตุและสังคม
ไมํยอมรบั รวมไปถงึ ได๎ฝกึ ฝนการตัดสินใจและกลา๎ ตัดสินใจมากข้ึนจากการทํางานรํวมกับคนอ่นื และฝึก
ความใจเย็นร๎ูวาํ จังหวะไหนควรเรํงหรือผอํ นฝเี ทา๎
7. การขี่จักรยานรํวมกันท้ังครอบครัวชํวยให๎สมาชิกในครอบครัวรักกันมากข้ึนเพราะสนใจ
ส่ิงเดียวกนั และได๎แลกเปลยี่ นความคดิ ได๎ใกลช๎ ดิ กนั มากกวาํ แตกํ ํอน

เรือ่ งนี้สอนใหร๎ ู๎วํา จกั รยานอาจจะมรี าคาแพง แตํเปน็ การลงทนุ ที่คม๎ุ คํา เพราะได๎ใช๎มันจนค๎มุ เวน๎ แตํจะ
ซอื้ มันโดยทีไ่ มํหาขอ๎ มูล ได๎จักรยานผิดขนาดไมํสนใจศึกษาวิธีใช๎ และไมํบํารุงรักษา
ซึง่ ทําใหม๎ ีมมุ มองตํอจักรยานแตกตาํ งออกไป

130 คูํมือสํงเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสือโท ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6
ค่มู ือส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื สามัญ หลักสตู รลกู เสือเอก 123
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

แผนการจดั กิจกรรมลูกเสือ หลักสูตรลูกเสือสามัญ (ลูกเสือเอก) ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6

หนํวยที่ 6 การพึง่ ตนเอง เวลา 1 ชว่ั โมง
แผนการจัดกจิ กรรมที่ 25 ร๎เู ทาํ ทันสอื่ โฆษณา

1. จดุ ประสงค์การเรยี นรู๎
ลูกเสอื สามารถวิเคราะห๑ประโยชน๑และผลกระทบของการโฆษณาได๎

2. เนอ้ื หา

2.1 ประโยชนข๑ องสื่อโฆษณา
2.2 ผลกระทบของการไมรํ เ๎ู ทําทนั สอื่ โฆษณา
2.3 ประโยชน๑ของการร๎ูเทําทนั ส่ือโฆษณา

3. สอ่ื การเรยี นร๎ู

3.1 แผนภมู ิเพลง
3.2 เกม
3.3 เรื่องสั้นท่ีเปน็ ประโยชน๑

4. กจิ กรรม
4.1 พธิ เี ปดิ ประชุมกอง )ชกั ธงขน้ึ สวดมนต๑ สงบนิ่ง ตรวจ แยก(
4.2 เพลง หรือเกม
4.3 กิจกรรมตามจดุ ประสงค๑การเรยี นรู๎
1( มอบหมายให๎แตํละหมํูศึกษาโฆษณาสินค๎าทางโทรทัศน๑ หมูํละ 1 ชนิดท่ีไมํซํ้ากัน และ
นาํ มาแสดงบทบาทสมมตเิ ลยี นแบบการโฆษณาสนิ ค๎านนั้ หมํูละไมเํ กนิ 5 นาที

- โฆษณานา้ํ อัดลม
- โฆษณาบะหมส่ี ําเร็จรปู
- โฆษณาขนมขบเคยี้ ว
- โฆษณาลกู อม
2( เม่อื จบการแสดงบทบาทสมมตุ แิ ล๎วให๎ลูกเสืออภิปรายตามข๎อคําถามตํอไปน้ี โดยผ๎ูกํากับ

ลูกเสือสามารถเพมิ่ เติมสอดแทรกระหวํางการอภิปราย
- ใครเปน็ ผูส๎ ร๎างสอ่ื โฆษณา
- สร๎างเพื่อวตั ถปุ ระสงค๑อะไร
- ใชเ๎ ทคนคิ อะไรดึงดดู ใจผู๎ชม
- โฆษณานน้ั แฝงแนวคดิ หรือคํานยิ มอะไรบา๎ ง

- มผี ลอยาํ งไรกับผช๎ู ม

124 คูมํ อื คสมู่ งํือเสส่งรเสิมรแมิ ลแะลพะพัฒฒั นนาากกจิิจกกรรรรมมลลูกกู เสเสือทอื กัทษกั ะษชะวี ชติ วีในติ สใถนาสนถศากึ นษศา กึปษระาเภลทกูลเูกสเสืออื โสทามชญั นั้ ปหรละกั ถสตูมรศลกึ ูกษเสาอื ปเอีทกี่ 6 131
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6

- สนิ คา๎ ชิน้ นัน้ มปี ระโยชน๑และโทษอะไรบา๎ ง
- ถา๎ จะซื้อมารับประทานจะคุม๎ กบั ราคาหรือไมํ
- สรปุ วาํ ลกู เสอื จะตดั สินใจซอื้ หรอื ไมซํ อ้ื เพราะเหตุใด
3( ผู๎กาํ กบั ลูกเสอื แสดงความคิดเห็น
- หากลูกเสอื ไมํรู๎เทําทนั สอื่ โฆษณาจะเกดิ ผลกระทบอยํางไรบา๎ ง
- หากรู๎เทําทันจะเกดิ ประโยชนต๑ อํ เราอยํางไรบา๎ ง
4.4 ผ๎ูกํากับลูกเสือเรอ่ื งสั้นท่เี ปน็ ประโยชน๑
4.5 พิธปี ิดประชุมกอง )นดั หมาย ตรวจเครือ่ งแบบ ชกั ธงลง เลิก(

5. การประเมินผล
5.1 สงั เกต และประเมนิ ความคดิ ริเร่ิมสรา๎ งสรรคข๑ องลกู เสือในการแสดงบทบาทสมมติ
5.2 สงั เกตและตรวจสอบความร๎ูความเข๎าใจของลูกเสอื ถึงประโยชน๑และผลกระทบของการ

โฆษณา

6. องคป์ ระกอบทกั ษะชีวติ สาคัญที่เกิดจากกิจกรรม
คอื ความคิดวิเคราะห๑ ความคดิ สรา๎ งสรรค๑ และตระหนกั รู๎ถงึ การโฆษณาท่เี กนิ จรงิ

7. คุณธรรม
อุดมการณ๑คณุ ธรรม

132 คูํมอื สงํ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ลกู เสอื โท ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6
คมู่ อื ส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามญั หลกั สูตรลูกเสือเอก 125
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมท่ี 25

เพลง

กายบริหาร

ชูมอื ข้ึนแลว๎ หมนุ ๆ ชูมอื ขึ้นโบกไปมา )ซาํ้ (
ควงแขนขน้ึ และลง พบั แขนมอื แตะไหลํ
กางแขนข้ึนและลง ชูขน้ึ ตรงหมนุ ไปรอบตัว

เกม

วง่ิ เป้ียววงกลม

วธิ เี ลนํ
เขียนวงกลมให๎ใหญํและลากเส๎นผําศูนย๑กลางให๎เลยออกนอกวง แบํงผ๎ูเลํนออกเป็น 2 พวก

เทาํ ๆ กัน ใหย๎ ืนรอบวงกลมพวกละคร่ึงวง หนั หน๎าออกนอกวงกลม เริ่มเลํนโดยให๎ผ๎ูเลํนคนแรกซึ่งอยูํที่
เส๎นของแตํละหมํอู อกวิ่งไปรอบๆ วงกลม ใหห๎ ันดา๎ นซ๎ายให๎วงกลม มอื ถอื ผ๎า เมื่อครบรอบให๎สํงผ๎าให๎คน
ท่ี 2 ซ่ึงจะต๎องทาํ เชนํ เดียวกัน คอื วง่ิ รอบวงแล๎วสํงให๎คนท่ี 3 ในขณะทว่ี งิ่ ทกุ คนต๎องอยปูํ ระจาํ ที่ของตน

การตดั สนิ ฝูายใดว่งิ ครบทกุ คนกอํ นเป็นผูช๎ นะ

126 คมํู ือคสูม่ ํงือเสสง่ รเสมิ รแิมลแะลพะพฒั ัฒนนาากกจิิจกกรรรรมมลลูกูกเสเสอื ทอื ักทษกั ะษชะีวชิตวีในิตสใถนาสนถศากึ นษศา ึกปษระาเภลทกูลเกู สเสอื อื โสทามชญั ั้นปหรละกั ถสูตมรศลกึ กู ษเสาือปเอที กี่ 6 133
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6

แผนการจดั กจิ กรรมลูกเสือ หลกั สูตรลกู เสือสามญั (ลกู เสือเอก) ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

หนํวยที่ 6 การพง่ึ ตนเอง เวลา 1 ชั่วโมง
แผนการจดั กิจกรรมท่ี 26 รูท๎ ันป้องกนั ได๎

1. จุดประสงคก์ ารเรยี นร๎ู
1.1 ลกู เสอื สามารถบอกพฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกถงึ การลํวงละเมิดทางเพศได๎
1.2 ลูกเสือสามารถบอกแนวทางในการปฺองกันและหาทางออกเมือ่ ถกู ลวํ งละเมิดทางเพศได๎

2. เน้ือหา
2.1 พฤตกิ รรมทีแ่ สดงถึงการลวํ งละเมดิ ทางเพศ
2.2 แนวทางการปฺองกนั การถูกลํวงละเมิดทางเพศได๎อยาํ งเหมาะสม

3. สือ่ การเรียนรู๎

3.1 แผนภมู ิเพลง
3.2 เกม
3.3 บตั รคาํ
3.4 ใบความรู๎
3.5 เรอ่ื งส้นั ท่เี ป็นประโยชน๑

4. กิจกรรม
4.1 พธิ เี ปดิ ประชุมกอง )ชักธงขึน้ สวดมนต๑ สงบนงิ่ ตรวจ แยก(
4.2 เพลง หรอื เกม
4.3 กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก๑ ารเรียนรู๎

1( ผ๎ูกํากบั ลูกเสอื นําสนทนาเรอ่ื งขําวทเ่ี กย่ี วกบั การลํวงละเมิดทางเพศ และให๎ศกึ ษาใบ
ความรู๎ เรือ่ ง ความหมายและประเภทของการลํวงละเมดิ ทางเพศ

2( แจกบัตรคาํ ใหห๎ มํูลูกเสือ หมูํละ 1 ชดุ )มี 4 ใบ( ให๎รํวมกันวเิ คราะหข๑ อ๎ ความในบัตรคาํ
ทลี ะใบวาํ เป็นการลํวงละเมดิ ทางเพศหรือไมํ เพราะอะไร และสงํ ตัวแทนนาํ เสนอในกอง
ลูกเสือ

3( สมํุ ให๎ตวั แทนหมูํลูกเสอื นาํ เสนอผลการวิเคราะห๑บตั รคาํ ทีละใบทไี่ มซํ า้ํ กนั
ผูก๎ าํ กับลูกเสอื นาํ อภปิ รายให๎ลกู เสอื หมอํู นื่ เพม่ิ เตมิ และสรุปจนครบขอ๎ ความในบตั รคําทุกใบ

4( ผก๎ู ํากบั ลูกเสอื นาํ อภิปราย สรุป และชวํ ยเพม่ิ เตมิ ในประเด็นตอํ ไปนท้ี ีละประเดน็
1( ผลกระทบตอํ ผ๎ถู กู กระทํา มอี ะไรบา๎ ง
2( เม่อื ต๎องเผชิญเหตุการณ๑ ผ๎ถู กู กระทาํ ควรหาทางออกอยาํ งไร

3( แนวทางปฺองกันการถูกลํวงละเมดิ ทางเพศ มีอะไรบา๎ ง

134 คูํมอื สงํ เสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ลกู เสอื โท ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6
คู่มอื สง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือสามญั หลักสตู รลูกเสือเอก 127
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6

4.4 ผกู๎ าํ กบั ลกู เสอื เลําเรื่องสนั้ ท่ีเป็นประโยชน๑
4.5 พธิ ปี ดิ ประชุมกอง )นดั หมาย ตรวจเคร่อื งแบบ ชกั ธงลง เลิก(

5. การประเมินผล
สงั เกตการมีสํวนรํวมในการทาํ กจิ กรรม และการแสดงความคิดเห็นในหมํูและในกองลกู เสือ

เกีย่ วกบั การรู๎เทาํ ทันการกระทาํ ทเ่ี ป็นการลวํ งละเมดิ ทางเพศ และการหาแนวทางในการปฺองกนั เมือ่
เผชญิ เหตุการณ๑

6. องคป์ ระกอบทกั ษะชวี ิตสาคญั ที่เกดิ จากกิจกรรม
คือ ความคิดวเิ คราะห๑ ความคดิ สร๎างสรรค๑ และตระหนักรู๎ถงึ ภยั ทางเพศใกลต๎ วั

7. คุณธรรม
อดุ มการณ๑คุณธรรม

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมท่ี 26

เพลง

ตัวฉัน
ทํานอง: จับมือลกู เสือ

ราํ งกาย มอื ไมข๎ องฉนั
เปน็ ส่ิงสาํ คญั พอํ แมใํ หม๎ า
แก๎มปาก จมูก หู ตา )ซํ้า(
ไหลหํ ัว แขนขา ล๎วนเป็นของฉนั
ฉันรัก ทั้งหวง และหํวง
อยํามา ลลุ ํวง ละเมดิ ตํอกนั
ทุกสวํ น ลว๎ นสาํ คญั
เราเปน็ เพื่อนกนั รกั กนั ตอ๎ งจริงใจ )ซํา้ (

128 คมํู ือคสู่มงํอื เสสง่ รเสมิ รแมิ ลแะลพะพัฒัฒนนาากกจิจิ กกรรรรมมลลกู กู เสเสอื ทือกัทษกั ะษชะีวชติ ีวในติ สใถนาสนถศาึกนษศา ึกปษระาเภลทกูลเกู สเสอื อื โสทามชญั น้ั ปหรละกั ถสูตมรศลึกูกษเสาอื ปเอีทก่ี 6 135
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6

แผนการจัดกจิ กรรมลูกเสอื หลักสตู รลูกเสือสามญั (ลกู เสือเอก) ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6
หนํวยที่ 6 การพง่ึ ตนเอง

แผนการจดั กิจกรรมท่ี 27 ความปลอดภัย เวลา 1 ชั่วโมง

1. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นร๎ู
1.1 ลูกเสอื สามารถบอกวิธใี ช๎ การดแู ลรกั ษา และการระวงั อนั ตรายจากตะเกยี ง และเตา

สมยั ใหมํได๎
1.2 ลูกเสอื สามารถใช๎เครอื่ งใช๎ไฟฟาฺ ในชวี ิตประจาํ วนั ได๎ถกู ตอ๎ งตามหลกั ความปลอดภยั

2. เน้อื หา
2.1 วธิ ีใช๎และวธิ ีบํารงุ รักษา เคร่ืองใช๎ไฟฟาฺ และเตาแกส๏
2.2 การใชเ๎ คร่ืองใชไ๎ ฟฟาฺ ในครัวเรือนท่ปี ลอดภยั เชนํ พดั ลม เตารดี เตาไฟฟาฺ ตู๎เยน็ วทิ ยุ
โทรทศั น๑ เคร่ืองดกั จับยุงไฟฟาฺ เครื่องทาํ นา้ํ อุํน ฯลฯ

3. สือ่ การเรียนร๎ู

3.1 แผนภมู ิเพลง
3.2 เกม
3.3 ใบความรู๎

3.4 อุปกรณไ๑ ฟฟาฺ และเครือ่ งใชไ๎ ฟฟาฺ
3.5 ไฟฉาย ตะเกยี งตั้งโตะ๏
3.6 เตาฟู เตาแกส๏ เตาไฟฟาฺ เตาไมโครเวฟ
3.7 เครอ่ื งดกั จบั ยงุ ไฟฟาฺ
3.8 ฐานการเรียนร๎ู

3.9 เรอ่ื งส้ันทเี่ ปน็ ประโยชน๑

4. กจิ กรรม

4.1 พธิ ีเปดิ ประชุมกอง )ชักธงข้ึน สวดมนต๑ สงบนง่ิ ตรวจ แยก(
4.2 เพลง หรือเกม

4.3 กิจกรรมตามจดุ ประสงค๑การเรียนร๎ู
1( ผู๎กาํ กับลกู เสอื นาํ สนทนาถึงสถานการณ๑ที่เกดิ จากการใชอ๎ ปุ กรณ๑เครอ่ื งใช๎ทไี่ มํถูกตอ๎ ง
เชนํ เตาไฟฟาฺ ไมโครเวฟ กานาํ้ ไฟฟาฺ เตาแกส๏
2( ผูก๎ ํากับลูกเสอื ซกั ถามลกู เสือ “เลําเหตุการณต๑ วั อยาํ งความเสยี หายท่ีเกดิ จากการใช๎
อุปกรณเ๑ คร่ืองใชไ๎ ฟฟาฺ ในครัวเรือนให๎ลกู เสอื ในกองฟัง”
3( ผู๎กาํ กับลูกเสอื ให๎เรยี นร๎จู ากฐานสาธิตดังน้ี

136 คมํู ือสํงเสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ลกู เสอื โท ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6
คูม่ อื ส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื สามญั หลักสตู รลูกเสือเอก 129
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6

ฐานที่ 1 วธิ ีใช๎และบาํ รุงรกั ษาตะเกียงเจา๎ พายุ และตะเกยี งนาํ้ มันกา๏ ด
ฐานที่ 2 วธิ ีใช๎ และบาํ รงุ รักษา เครื่องใชไ๎ ฟฟาฺ เตาไฟฟาฺ เตาไมโครเวฟ
ฐานที่ 3 เครอ่ื งหมาย มาตรฐาน การรบั รองผลิตภณั ฑ๑
ฐานท่ี 4 สาเหตปุ จั จยั ที่ทาํ ให๎เกดิ ปญั หาอยํางฉบั พลัน
4( ผ๎กู าํ กบั ลูกเสอื และลูกเสอื รํวมกนั สรปุ ความรู๎ท่ไี ดร๎ ับ
4.4 ผูก๎ าํ กบั ลกู เสอื เลาํ เรอ่ื งสน้ั ท่ีเป็นประโยชน๑
4.5 พธิ ปี ดิ ประชุมกอง )นดั หมาย ตรวจเคร่ืองแบบ ชกั ธงลง เลกิ (

5. การประเมินผล
5.1 สังเกตความสนใจใฝูรู๎ในการเรียนรูต๎ ามฐาน
5.2 สอบถามทศั นคตหิ รือความคดิ เหน็ ตํอการใช๎เครอื่ งใช๎ในครัวเรอื น

6. คณุ ธรรม
อุดมการณค๑ ณุ ธรรม

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกิจกรรมท่ี 27

เพลง

กาต๎มนา้

ฉนั เป็นกาตม๎ นํา้ น๎อยอว๎ นมอํ ตอ๎
นี่คือหูของฉัน นน่ั คือพวยกางอ
ยามเมอื่ นา้ํ กาํ ลงั เดอื ด ฉันรอ๎ งฮอํ
ยกฉนั ลง แล๎วก็ชงฉันนอ

กองไฟใสสวาํ ง

กองไฟใสสวาํ งอยาํ อยหํู ํางเชญิ มาใกลๆ๎
เชิญมาใกล๎แสงสดใสๆ
ร๎องราํ กันไปใหส๎ ขุ สาํ ราญ

130 คํูมือคสมู่ ํงอื เสสง่ รเสิมรแิมลแะลพะพัฒัฒนนาากกจิิจกกรรรรมมลลูกูกเสเสอื ทือกัทษักะษชะวี ชติ วีในิตสใถนาสนถศาึกนษศา กึปษระาเภลทกูลเูกสเสืออื โสทามชัญ้ันปหรละักถสตูมรศลกึ ูกษเสาือปเอีทกี่ 6 137
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

เกม

ว่ิงเปยี้ ววงกลม

วธิ เี ลนํ
เขียนวงกลมให๎ใหญํและลากเส๎นผําศูนย๑กลางให๎เลยออกนอกวง แบํงผ๎ูเลํนออกเป็น 2 พวก

เทาํ ๆ กนั ใหย๎ นื รอบวงกลมพวกละครง่ึ วง หันหน๎าออกนอกวงกลม เร่ิมเลํนโดยให๎ผู๎เลํนคนแรกซ่ึงอยูํท่ี
เส๎นของแตลํ ะหมํอู อกว่งิ ไปรอบๆ วงกลม ให๎หันด๎านซา๎ ยให๎วงกลม มอื ถือผา๎ เมื่อครบรอบใหส๎ ํงผ๎าให๎คน
ที่ 2 ซึง่ จะตอ๎ งทาํ เชํนเดียวกนั คอื วิง่ รอบวงแลว๎ สงํ ใหค๎ นที่ 3 ในขณะทวี่ ่งิ ทกุ คนต๎องอยํูประจําทขี่ องตน

การตัดสิน ฝูายใดวิ่งครบทุกคนกํอนเป็นผู๎ชนะ

เรือ่ งสัน้ ทีเ่ ป็นประโยชน์ การฝึกตนให๎เป็นสุข

1. ฝกึ มองตนเองใหเ๎ ลก็ เข๎าไว๎ หมายความวําอยําใหค๎ วามสาํ คญั กบั ตนเองวําเป็นใหญํกวาํ ใคร จง
เปน็ คนธรรมดา ดาํ เนนิ ชวี ติ อยํางธรรมดา

2. ฝึกตนเองให๎เปน็ คนนงิ่ ๆ หมายความวาํ ถ๎าเห็นสิ่งใดดหี รือไมํดี กอ็ ยําไปพดู มาก ไมํวําสิ่งนั้นจะ
ถกู หรือผดิ ในความร๎ูสกึ นึกคิดของเรา เพราะการพดู วิพากษว๑ จิ ารณ๑เรอื่ งที่ไมดํ ขี องผอู๎ ่ืนจะทําให๎จิตใจขํุนมัว
ใจตกตํ่า

เรอื่ งน้ีสอนใหร๎ ๎วู าํ การรจ๎ู กั ตนเองเข๎าใจตนเองวํามสี ถานะใด และการเข๎าใจผอู๎ น่ื เปน็ การฝึกใจเบื้องต๎น
ให๎สงบ ไมรํ อ๎ นรน

138 คูมํ ือสงํ เสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6
คูม่ ือสง่ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสือสามัญ หลักสูตรลกู เสอื เอก 131
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6

ใบงาน

การดแู ลอุปกรณ์เคร่อื งใชไ๎ ฟฟ้า

การดูแลอุปกรณ์เคร่ืองใช๎ไฟฟ้า (การไฟฟ้าสํวน อุปกรณเ์ คร่อื งใชไ้ ฟฟ้า
ภูมิภาค) หลอดไฟชนดิ ต่างๆ

แนนํ อนวําเครื่องใช๎ไฟฟฺาเป็นสิ่งจําเป็นสําหรับทุก
บ๎าน การใช๎อุปกรณ๑เคร่ืองใช๎ไฟฟฺา จึงควรใช๎อยําง ทะนุ
ถนอมและหมน่ั ดูแลรกั ษาให๎ใชง๎ านไดด๎ ี เพื่อยืดอายกุ ารใช๎
งานเครือ่ งใช๎ไฟฟฺาของคณุ ให๎นานขน้ึ วนั นี้เราจึงมีข๎อมูล
ดี ๆ ในการดแู ลรักษาอปุ กรณเ๑ ครื่องใชไ๎ ฟฟาฺ จากการไฟฟฺา
สํวนภูมิภาค มาฝากกัน ลองทําตามคําแนะนําเหลําน้ีดู
เคร่ืองใช๎ไฟฟฺาของคุณจะได๎ใช๎ได๎อีกนาน ๆ นะคะ ทะนุ
ถนอม

ไฟฟา้ สํองสวําง
วิธีการใช๎ไฟฟ้ าส่องสว่างให๎ประหยัดและปลอดภยั
- ควรปิดไฟทกุ ครง้ั เมอ่ื ไมมํ ีคนอยใํู นห๎อง
- เลือกใช๎หลอดไฟทีม่ กี ําลงั วตั ตเ๑ หมาะสมกับการใช๎งาน
- สาํ หรับบริเวณทตี่ อ๎ งการความสวํางมาก
ภายในอาคารควรเลอื กใช๎หลอดฟลูออเรส
เซนต๑ สํวนภายนอกอาคารควรเลอื กใชห๎ ลอด
ไอโซเดยี ม และหลอดไอปรอท
- ควรใชฝ๎ าครอบดวงโคมแบบใสหากไมํมีปัญหา
เรอ่ื งแสงจา๎ และหมัน่ ทําความสะอาดอยเํู สมอ
- พิจารณาใชโ๎ คมไฟตัง้ โตะ๏ สําหรบั งานท่ตี อ๎ งการ
แสงสวํางจุดเดียว ทีวี วิทยุ ปิดเครื่องทุกคร้ัง
เมอ่ื ไมํได๎ดู
- ควรถอดปลั๊กเมื่อไมํใช๎เป็นเวลานาน
- ควรเลอื กใช๎โคมไฟแบบสะท๎อนแสงแทน
แบบเดิมทใี่ ช๎พลาสตกิ ปดิ
- ควรใชห๎ ลอดฟลอู อเรสเซนตห๑ รอื หลอด
คอมแพคฟลูออเรสเซนต๑ แทนหลอดไส๎ ซึ่งมี
คาํ แนะนําในการใช๎ดงั น้ี

132 คมํู อื คสูม่ ํงอื เสส่งรเสิมรแมิ ลแะลพะพัฒัฒนนาากกจิจิ กกรรรรมมลลูกกู เสเสอื ทอื ักทษักะษชะีวชิตีวในิตสใถนาสนถศาึกนษศา ึกปษระาเภลทกูลเกู สเสือือโสทามชัญน้ั ปหรละักถสูตมรศลกึ ูกษเสาือปเอีทกี่ 6 139
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6

- หลอดฟลูออเรสเซนต๑แบบผอม ขนาด 18 วัตต๑ และ 36 วัตต๑ มีความสวํางเทํากับ หลอด 20
วตั ต๑ และ 40 วตั ต๑แตํประหยัดไฟกวํา และสามารถใช๎แทนกันได๎ โดยไมํต๎องเปล่ียนบัลลาสต๑
และสตารท๑ เตอร๑

- หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนตม๑ ี 2 ชนดิ คอื ชนิดมีบลั ลาสต๑ภายใน สามารถใช๎แทนหลอด
กลมแบบเกลียวได๎ สํวนหลอดที่มีบัลลาสต๑ภายนอก จะมีขาเสียบเพื่อตํอกับตัวบัลลาสต๑ท่ีอยูํ
ภายนอก

พัดลม
วธิ ีการใช๎พดั ลมใหป๎ ระหยัดและปลอดภัย
- เปิดความเรว็ ลมพอควร
- เปิดเฉพาะเวลาใชง๎ าน
- ควรเปดิ หนา๎ ตาํ งใชล๎ มธรรมชาติแทนถา๎ ทําได๎

เตารีด พัดลม
วิธกี ารใช๎เครื่องทานา้ อํนุ ให๎ประหยัดและปลอดภยั เตารีด
เตารีดเป็นเครอื่ งใชไ๎ ฟฟาฺ ประเภทใหค๎ วามร๎อน ซ่งึ ในการ

รีดแตํละครงั้ จะกนิ ไฟมาก ดังนนั้ จงึ ควรรจู๎ ดั วธิ ีใช๎อยาํ งประหยดั
และปลอดภยั ดงั นี้

- กํอนอ่ืนควรตรวจสอบดวู ําเตารดี อยูํในสภาพพรอ๎ มทจ่ี ะ
ใชง้ านหรอื ไมํ เชํน สาย ตัวเคร่ือง เป็นต๎น

- ต้งั ปุูมปรับความรอ๎ นให๎เหมาะสมกบั ชนิดของผ๎า
- อยาํ พรมนาํ้ จนเปียกแฉะ
- ดงึ เต๎าเสยี บออกกอํ นจะรดี เสร็จประมาณ 2-3 นาที แลว๎

รีดตอํ ไปจนเสรจ็
- ควรพรมน้ําพอสมควร
- ถอดปล๊กั ออกเมอื่ ไมไํ ดใ๎ ช๎
- ควรรีดผา๎ คราวละมากๆ ติดตํอกันจนเสรจ็
- ควรเริม่ รีดผ๎าบาง ๆ กอํ น ขณะเตารีดยังไมรํ อ๎ น
- ควรดงึ ปลั๊กออกกํอนรดี เสรจ็ เพราะยงั รอ๎ นอกี นาน
- ควรซักและตากผา๎ โดยไมตํ ๎องบดิ จะทําใหร๎ ดี งาํ ยขน้ึ

140 คมํู อื สํงเสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสือทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6
คมู่ อื สง่ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสือทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื สามญั หลักสตู รลูกเสือเอก 133
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6

เครื่องเปา่ ผม เครือ่ งเปา่ ผม
วิธีการใชเ๎ ครื่องเป่ าผมให๎ประหยดั และปลอดภยั เครื่องดูดฝุน่
- เชด็ ผมกอํ นใช๎เคร่อื ง เพ่อื ประหยัดเวลาและพลังงาน
- ควรขยี้และสางผมไปดว๎ ยขณะเปาู

เครือ่ งดดู ฝุ่น
วิธกี ารใชเ๎ ครอ่ื งดดู ฝ่ นุ ใหป๎ ระหยัดและปลอดภัย
- ควรเอาฝุนู ในถงุ ท้ิงทกุ ครัง้ ทใี่ ช๎แลว๎ จะได๎มแี รงดดู ดี
ไมเํ ปลืองไฟ

ต๎เู ยน็ ต๎แู ชํ

ต้เู ยน็ ตแู้ ช่

134 คูํมือคสมู่ ํงอื เสสง่ รเสิมรแมิ ลแะลพะพัฒัฒนนาากกิจจิ กกรรรรมมลลกู ูกเสเสอื ทือกัทษกั ะษชะีวชติ ีวในิตสใถนาสนถศากึ นษศา กึปษระาเภลทกูลเูกสเสือือโสทามชญั น้ั ปหรละักถสตูมรศลึกกู ษเสาือปเอีทก่ี 6 141
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6

วิธีการใช๎ต้เู ยน็ ต้แู ช่ใหป๎ ระหยดั และปลอดภยั
- ตง้ั อุณหภมู ใิ หพ๎ อเหมาะ
- ไมนํ าํ ของรอ๎ นใสํต๎ูเยน็
- ปดิ ประตตู ู๎เยน็ ทนั ที หลงั นําของเขา๎ และออก
- ปิดประตูตู๎เย็นใหส๎ นทิ
- หากยางขอบประตูรั่วใหร๎ ีบแกไ๎ ข
- เลือกตู๎เยน็ หรอื ตแ๎ู ชํชนิดมีประสทิ ธภิ าพสงู
- ควรใช๎ตู๎เย็นขนาดเหมาะกบั ครอบครวั
- ควรตงั้ ต๎เู ยน็ ให๎หาํ งจากแหลงํ ความร๎อน ใหห๎ ลงั ต๎ู
หาํ งจากฝาเกนิ 15 เซน็ ติเมตร เพ่อื ระบายความรอ๎ นไดส๎ ะดวก ไมเํ ปลืองไฟฟาฺ
- ควรหมั่นทาํ ความสะอาดแผงระบายความร๎อน
- ควรเกบ็ เฉพาะอาหารเทาํ ที่จาํ เปน็

การเลอื กซ้ือต๎เู ย็นและตแ๎ู ชํ มีคาแนะนาให๎ทาํ นพจิ ารณากอํ นซอื้ ดังน้ี
- เลอื กขนาดใหพ๎ อเหมาะกบั ความตอ๎ งการของครอบครัว
- ตู๎เย็นแบบประตเู ดยี วกนิ ไฟนอ๎ ยกวาํ แบบ 2 ประตู
- ควรวางต๎เู ยน็ ใหอ๎ ากาศถาํ ยเทได๎สะดวก
- ตงั้ สวติ ช๑ควบคุมอุณหภมู ิใหเ๎ หมาะกับจํานวนของท่ใี สํ
- อยาํ เปดิ ต๎เู ย็นทง้ิ ไว๎นาน ๆ และอยํานําของร๎อนมาแชํ
- หมนั่ ละลายนา้ํ แขง็ เมอื่ เหน็ วาํ นํา้ แขง็ เกาะหนามาก

หม๎อหงุ ข๎าวไฟฟา้
วธิ ีการใชห๎ มอ๎ หุงข๎าวไฟฟ้าใหป๎ ระหยัดและปลอดภัย
- ควรหงุ ข๎าวให๎พอดีกับจาํ นวนผร๎ู บั ประทาน

- ควรถอดเต๎าเสียบออกเมอ่ื ขา๎ วสุกแล๎ว

- อยาํ ทาํ ใหก๎ น๎ หมอ๎ ตัวในเกดิ รอยบุบ จะทาํ ใหข๎ า๎ วสกุ ช๎า

- หม่นั ตรวจบรเิ วณแทํนความรอ๎ นในหมอ๎ อยาํ ให๎เมด็ ขา๎ ว หม้อหงุ ขา้ งไฟฟ้า
เกาะตดิ จะทําใหข๎ าํ วสกุ ชา๎ และเปลอื งไฟ

- ใชข๎ นาดหม๎อหงุ ขา๎ วท่ีเหมาะสมกับจํานวนสมาชิกในครอบครัว

- ควรดงึ ปล๊กั ออกเม่อื ขา๎ วสกุ พอแล๎ว ปัจจบุ นั หมอ๎ หุงขา๎ วไฟฟาฺ มใี ชก๎ ันมาก หมอ๎ ต๎มน้าํ

142 คํมู ือสํงเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6
คู่มือส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสือทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามญั หลกั สูตรลกู เสือเอก 135
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6

หม๎อต๎มกาแฟ
วธิ กี ารใชเ๎ ครอ่ื งต้มกาแฟให๎ประหยดั และปลอดภัย
- ใสํน�ําให๎มีปริมาณพอควร
- ควรปิดฝาให๎สนทิ ขณะตม๎
- ควรปดิ สวติ ชท๑ นั ทีเมือ่ น๎ําเดอื ด

หมอ้ ต้มกาแฟ

เครื่องสบู น้า

วธิ ีการใชเ๎ ครอื่ งสบู นํ�าให๎ประหยดั และปลอดภยั
- ควรตดิ ตง้ั อปุ กรณอ๑ ตั โนมตั ิควบคมุ ระดบั น้าํ ในถังและ
หมนั� ปรบั ตง้ั ให๎ถูกตอ๎ งเสมอ
- ติดตั้งทอํ นํา้ ใหม๎ ขี นาดเหมาะสมกับขนาดปม้ั
- ควรตรวจแกไ๎ ขจดุ ร่วั ในระบบน้าํ
- ควรใช๎น้าํ อยํางประหยัด
- ควรติดต้ังถงั เก็บนาํ้ ในตาํ แหนํงท่ไี มสํ ูงเกินไป

เครอ่ื งสูบนา้

ขอ๎ แนะนาพเิ ศษในการใช๎
เครอ่ื งสบู นํา้ เป็นอปุ กรณ๑ไฟฟาฺ ทีอ่ าํ นวยความสะดวกอยํางยงิ่ ซง่ึ ใช๎มอเตอรไ๑ ฟฟาฺ ในการสูบนาํ้ ไป
ยังถงั เก็บหรอื เพอื่ นาํ ไปใชป๎ ระโยชน๑ ซึง่ มวี ธิ กี ารใชอ๎ ยาํ งประหยดั ดงั น้ี
- ควรติดต้งั อปุ กรณอ๑ ัตโนมตั คิ วบคมุ ระดบั น้ําในถังเกบ็ และดแู ลรักษาให๎ทํางานได๎อยเูํ สมอ
- ตรวจสอบรอยร่ัวตามขอ๎ ตอํ ตาํ ง ๆ หากพบควรรบี ซอํ มแซมแก๎ไขโดยเรว็
- หากตวั ถังเกบ็ นา้ํ ไมมํ ีอปุ กรณอ๑ ตั โนมตั ิควบคมุ ระดบั น้าํ ควรดูแลอยาํ ใหน๎ า้ํ ลน๎ ถงั
- เครอ่ื งสูบน้าํ แบบใช๎สายพานตอ๎ งตรวจสอบไมใํ หห๎ ยํอนหรือตงึ เกนิ ไป

เครอื่ งซักผ๎า เคร่อื งซักผ้า

วิธีการใชเ๎ ครอ่ื งซกั ผา้ ให๎ประหยดั และปลอดภยั
- ควรใสํผ๎าแตพํ อเหมาะ ไมํนอ๎ ยเกนิ ไป และไมมํ ากจนเกินกาํ ลงั
เคร่อื ง
- ควรใช๎นาํ้ เย็นซกั ผา๎ สํวนน้ําร๎อนใหใ๎ ช๎เฉพาะกรณีรอยเปอื้ น
ไขมนั มาก

136 คํมู อื คสมู่ ํงอื เสสง่ รเสิมรแมิ ลแะลพะพัฒัฒนนาากกิจจิ กกรรรรมมลลกู ูกเสเสอื ทอื กัทษักะษชะีวชิตีวในติ สใถนาสนถศาึกนษศา กึปษระาเภลทกูลเูกสเสืออื โสทามชญั น้ั ปหรละกั ถสูตมรศลึกูกษเสาอื ปเอีทกี่ 6 143
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6

วิธีใช๎เครื่องซักผา๎ ให๎ประหยดั ไฟฟ้าควรปฏบิ ตั ดิ งั นี้
- ควรใสผํ า๎ ทจ่ี ะซักตามคาํ แนะนาํ ของแตลํ ะเครือ่ ง
- หากมผี า๎ ตอ๎ งซัก 1-2 ชน้ิ ควรซักด๎วยมอื
- หากมีแสงแดดไมคํ วรใชเ๎ ครอื่ งอบแหง๎ ควรจะนาํ เสอ้ื ผา๎ ทซี่ กั เสร็จมาตากแดด

มอเตอรไ์ ฟฟา้ มอเตอร์ไฟฟ้า
ววิธธิ ีกกี าารรใใชช้เ๎เคครร่ือือ่ งงมทอาเนต้าออรนุํไ์ ฟใหฟ้๎ปาใรหะ้ปหรยะัดหแยลดั ะแปลละอปดลภอัยดภยั
- ควรตรวจสอบแก๎ไข และอัดจารบีตามวาระ

- ปรบั ปรงุ สายพานมอเตอร๑ เชนํ ปรบั ความตงึ สายพาน
เปล่ียนสายพานใหมํ

- พิจารณาเปลี่ยนระบบควบคุมความเรว็ ของมอเตอรเ๑ ป็น
ระบบอีเลก็ ทรอนกิ ส๑

เตาอบ เตาไฟฟ้า ไมโครเวฟ

วิธกี ารใช๎เตาอบ เตาไฟฟ้า ไมโครเวฟให๎ประหยัดและปลอดภัย
เคร่ืองใชไ๎ ฟฟาฺ ประเภทนี้ ใชค๎ วามรอ๎ นมาทําให๎อาหารสกุ หากใหค๎ วามรอ๎ นสูญเสยี ไปโดยการใช๎
ไมํถกู วธิ ี ทําใหอ๎ าหารสกุ ชา๎ ลง กนิ กระแสไฟเพมิ่ ข้ึนจงึ มขี อ๎ แนะนําการใช๎เครอื่ งใชไ๎ ฟฟฺาประเภทน้อี ยาํ ง
ประหยดั คอื
- ควรเตรียมเคร่ืองปรุงในการประกอบอาหารใหพ๎ รอ๎ มกอํ นใชเ๎ ตา
- ควรใชภ๎ าชนะก๎นแบนและเป็นโลหะจะทาํ ให๎รับความรอ๎ น จากเตาได๎ดี
- ในการหุงตม๎ อาหารควรใสํน้�๎าํำให๎พอดกี บั จาํ นวนอาหาร
- ในระหวาํ งอบอาหารอยําเปิดตู๎อบบอํ ย ๆ
- ถอดเตา๎ เสยี บทนั ทีเมอ่ื ปรงุ อาหารเสร็จเรียบร๎อย
- ควรหรีไ่ ฟและปิดฝาหมอ๎ ในกรณที ีต่ ๎องเคี่ยว
- ควรเตรียมเครอ่ื งปรงุ ใหพ๎ รอ๎ มกอํ นใชเ๎ ตา
- ควรใช๎เตาชนิดมองไมเํ หน็ ขดลวดซงึ่ ไมเํ สยี ความรอ๎ น สญู เปลํามาก และปลอดภัยกวาํ
- ควรใช๎พาหนะกน๎ แบนขนาดพน้ื ท่กี น๎ เหมาะกบั พน้ื ที่หนา๎ เตา

- ควรปิดฝาภาชนะใหส๎ นิทขณะตงั้ เตา

หม้ออบ มอเตอร์ไฟฟา้ ไมโครเวฟ

144 คูํมอื สํงเสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสือทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6
ค่มู อื สง่ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามญั หลักสูตรลูกเสอื เอก 137
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6

เคร่อื งทานา้ อนุํ เครื่องทานา้ อุ่น
วิธกี ารใช๎เครอ่ื งทาน้าอํนุ ให๎ประหยดั และ

ปลอดภัย
- ปรบั ปูุมความรอ๎ นใหเ๎ หมาะสมกบั ราํ งกาย
- ปิดวาล๑วทันทเี ม่อื ไมํใชง๎ าน
- หากมีรอยรั่วควรรบี ทําการแกไ๎ ขทนั ที
- ตํอสายลงดนิ ในจดุ ทจ่ี ดั ไวใ๎ หข๎ องเครือ่ งทํานาํ้ อุํน
- ปดิ สวชิ ต๑ไฟฟฺาของเครื่องทาํ นํ้าอนุํ เม่อื ไมใํ ช๎

- ปฏิบัติตามคาํ แนะนาํ ท่ีแนบมากบั เคร่อื ง
- ใช๎เครอื่ งขนาดพอสมควร
- ปรบั ปรงุ ความรอ๎ นไมใํ หร๎ ๎อนเกินความจาํ เป็น
- ปิดกอ๏ กทกุ ครง้ั เมอ่ื ไมใํ ช๎งาน
- ในฤดรู อ๎ นไมํจาํ เป็นต๎องใชน๎ าํ้ รอ๎ น หรอื นํา้ อนุํ
- ควรใช๎นํา้ อุํนทไ่ี ดค๎ วามร๎อนจากแสงอาทิตย๑

เครอื่ งปรบั อากาศ
วิธกี ารใช๎เครอื่ งปรบั อากาศให๎ประหยัดและ
ปลอดภัย

- ปดิ เครอื่ งทุกครั้งเมือ่ ไมํอยูํ

- ปดิ ประตูหน๎าตาํ งและผา๎ มํานกันความร๎อนจาก
ภายนอก

- ตง้ั อุณหภูมไิ มคํ วรตํา่ กวํา 26 องศาเซลเซียส

- ควรใชเ๎ ครอื่ งขนาดเหมาะสมกบั ขนาดห๎อง

- ควรเลือกเครอ่ื งปรับอากาศที่มีประสทิ ธภิ าพสูง เครอ่ื งปรับอากาศ
- ควรตดิ ตัง้ เครื่องระดับสงู พอเหมาะ และให๎

อากาศร๎อนระบายออกดา๎ นหลังเครอ่ื งไดส๎ ะดวก

- ควรบผุ นงั หอ๎ ง และหลังคาด๎วยฉนวนกันความรอ๎ น

- ควรบาํ รุงรกั ษาเครอื่ งใหม๎ ีสภาพดตี ลอดเวลา

- ควรหมัน่ ทาํ ความสะอาดแผนํ กรองอากาศ และแผงระบายความร๎อน

- ในฤดหู นาวขณะท่อี ากาศไมํรอ๎ นมากเกินไป ไมคํ วรเปดิ เครอ่ื งปรับอากาศ

- ปดิ ประตู หนา๎ ตํางให๎มิดชดิ ไมใํ ห๎ความเยน็ รว่ั ไหล

- พิจารณาตดิ ตงั้ บังแสงหรอื กนั แดด เพ่ือลดภาระการทาํ งานของเครื่อง

138 คูํมอื คสมู่ งํอื เสส่งรเสิมรแิมลแะลพะพฒั ฒั นนาากกิจจิ กกรรรรมมลลูกูกเสเสือทือักทษกั ะษชะีวชติ ีวในิตสใถนาสนถศากึ นษศา ึกปษระาเภลทกูลเูกสเสืออื โสทามชญั น้ั ปหรละกั ถสูตมรศลึกกู ษเสาือปเอีทก่ี 6 145
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6

การใช๎เครอื่ งปรับอากาศให๎มคี วามเยน็ ทสี่ บายตํอราํ งกาย จะประหยดั คาํ ไฟฟ้าอยาํ งไดผ๎ ล
ซง่ึ ควรปฏบิ ตั ิดังน้ี

- ควรเลอื กใชข๎ นาดท่ีเหมาะสมกบั ขนาดของหอ๎ ง
- ควรใชผ๎ า๎ มาํ นกน้ั ประตูหน๎าตําง เพอื่ ปฺองกันความรอ๎ นจากภายนอก

- ตั้งปุมู ปรบั อุณหภมู ใิ หเ๎ หมาะสมตํอรํางกาย )ประมาณ 26 องศาเซลเซียส(
- หมนั่ ทําความสะอาดแผนํ กรองอากาศ
- ปฏิบตั ิตามคาํ แนะนําที่แนบมากับเครื่องปรบั อากาศ

146 คมํู ือสงํ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสือทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ลกู เสือโท ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6
ค่มู อื ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือสามญั หลักสูตรลูกเสอื เอก 139
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

แผนการจัดกจิ กรรมลกู เสอื หลกั สตู รลูกเสือสามัญ (ลกู เสอื เอก) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

หนํวยที่ 6 การพ่งึ ตนเอง เวลา 1 ชั่วโมง
แผนการจัดกิจกรรมที่ 28 การอยํูคํายพักแรม

1. จุดประสงค์การเรยี นรู๎
1.1 บอกสถานทที่ ่ีเหมาะสมในการตง้ั คํายพกั แรมได๎
1.2 สามารถสร๎างที่พักแรมชว่ั คราวได๎
1.3 สามารถปรุงอาหารแบบชาวปาู 2 อยาํ ง สาํ หรับ 2 คนได๎

2. เน้ือหา
2.1 การเลอื กท่ตี งั้ คาํ ยพกั แรม
2.2 การสรา๎ งทพ่ี ักแรมชั่วคราว
2.3 การปรงุ อาหารแบบชาวปาู

3. สือ่ การเรียนรู๎
3.1 แผนภมู เิ พลง เกม
3.2 เกม
3.3 ใบความรู๎

3.4 กระดาษฟลิปชาร๑ท ปากกาเครือ่ งเขยี น ไมบ๎ รรทัด
3.5 เร่อื งส้นั ทเี่ ปน็ ประโยชน๑

4. กิจกรรม
4.1 พธิ เี ปดิ ประชมุ กอง )ชักธงขน้ึ สวดมนต๑ สงบนงิ่ ตรวจ แยก(

4.2 เพลงหรือเกม
4.3 กิจกรรมตามจดุ ประสงคก๑ ารเรียนร๎ู

1( ผู๎กํากบั ลูกเสอื ใหล๎ กู เสือศกึ ษาใบความรแู๎ ละนาํ สนทนาถึงการอยคํู ํายพักแรม แลว๎
รํวมกันอภิปรายถึงสถานทท่ี ่ีเหมาะสมในการตงั้ คาํ ยพกั แรม

2( ผ๎กู าํ กบั ลูกเสอื ให๎ลกู เสือเรยี นจากระบบฐาน ดังน้ี

ฐานท่ี 1 ทพ่ี กั แรมแบบช่วั คราว
ฐานที่ 2 การปิ้ง ยําง เผา
ฐานท่ี 3 หุงขา๎ วดว๎ ยกระบอกไมไ๎ ผํ
ฐานท่ี 4 การทาํ รายการอาหารสาํ หรับการอยคูํ าํ ยพกั แรม

3( ผ๎ูกาํ กบั ลูกเสอื และลกู เสอื รวํ มสรุปความรแู๎ ละประสบการณท๑ ่ไี ด๎เรยี นรจ๎ู ากฐาน

140 คํมู อื คสู่มํงือเสส่งรเสิมรแิมลแะลพะพฒั ัฒนนาากกจิจิ กกรรรรมมลลูกูกเสเสือทอื ักทษกั ะษชะวี ชิตีวในิตสใถนาสนถศาึกนษศา ึกปษระาเภลทกูลเกู สเสือือโสทามชัญ้ันปหรละักถสตูมรศลกึ ูกษเสาือปเอที กี่ 6 147
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6

4( ผูก๎ ํากบั ลูกเสอื นดั หมาย การไปอยูํคํายพกั แรม โดยพจิ ารณาเลอื กทต่ี ้งั คาํ ยพกั แรม และ
พกั คา๎ งคนื ชั่วคราว พร๎อมทั้งปรงุ อาหารแบบชาวปาู 2 อยําง สําหรบั 2 คน โดยทาํ ในวนั หยดุ ทเ่ี หมาะสม

4.4 ผ๎กู าํ กบั ลกู เสอื เลําเรอื่ งสนั้ ท่ีเปน็ ประโยชน๑
4.5 พิธปี ดิ ประชุมกอง )นดั หมาย ตรวจเครอื่ งแบบ ชกั ธงลง เลกิ (

5. การประเมนิ ผล
5.1 สังเกต ความสนใจและการเขา๎ รํวมกจิ กรรม
5.2 ทดสอบ การสรา๎ งทพ่ี ักแรมช่ัวคราวและการปรงุ อาหารชาวปูา เม่อื ไปอยคูํ าํ ยพกั แรม

6. คุณธรรม
1. ความพอเพยี ง
2. ความรับผดิ ชอบ
3. อดุ มการณ๑คณุ ธรรม

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมท่ี 28
เพลง

ร่นื เริงทํองไพร

รนื่ เริง ทศั นาจร พกั ผํอนวันหยดุ เรยี น
ลกู เสอื ตํางพากเพยี ร ชวี ติ วยั เรียน เรยี นไป
พวกหมูํเราเพลิน มํงุ หนา๎ เผชิญเดินไกล
ตั้งคํายแดนไพร ตัง้ ใจเริงรําฮาเฮ

เกม
ลอดอุโมงค์

แบํงลกู เสือออกเปน็ หมํู ยืนเขา๎ แถวตอนเรยี งหนึง่ ท่เี ส๎นเริ่มการเลํน ใหล๎ กู เสือคนแรกของแตํละ
หมูํไปแตะเสน๎ กลับตวั ซึง่ อยหํู าํ งจากเสน๎ เริ่มประมาณ 20 เมตร แล๎ววิ่งกลับมาที่เส๎นเร่ิม เมื่อถึงหมํู
ของตัวเองใหค๎ กุ เขําลงแลว๎ คลานไปในระหวํางขาของหมูํตนเอง เม่อื พน๎ แล๎วรีบยนื และยกมอื ขน้ึ ลูกเสือ
คนตอํ ไปก็ออกว่ิงไปท่เี ส๎นกลบั ตวั ทันที แล๎วทาํ เหมอื นคนที่ 1 จนครบคนในหมูํ การตดั สนิ

การตดั สิน หมูํใดทาํ ครบทุกคนกํอนเปน็ ผู๎ชนะ

148 คํมู อื สงํ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6
คู่มอื ส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามัญ หลกั สตู รลกู เสอื เอก 141
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6


Click to View FlipBook Version