สํานกั งานลกู เสือเขตพืน้ ที่การศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต ๔
สํานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต ๔
คำนำ
ค่มู ือฉบบั นี้ ใชส้ ำหรบั การปฏิบตั งิ านลูกเสือของบุคลากรทางการลูกเสอื ในสำนักงานลูกเสอื เขต
พ้นื ทก่ี ารศึกษา และกลมุ่ กองลูกเสือทุกประเภท เพ่อื ใหเ้ กดิ ความถกู ตอ้ งตามหลกั การ แนวคดิ วัตถุประสงค์
แนวทางและวิธกี ารตามกฎหมาย กฎ ขอ้ บงั คับ ระเบยี บ และแนวปฏบิ ัติต่างๆ ส่งผลต่อการพัฒนากิจกรรม
ลกู เสือใหม้ ีประสิทธิภาพและเกดิ ประสิทธผิ ล ซงึ่ จะเป็นการสร้างเสรมิ ใหล้ ูกเสอื มคี วามรู้ ทักษะและเจตคติที่
สอดคล้องกบั สภาวะที่เปลีย่ นแปลงอย่างรวดเรว็ ทั้งทางดา้ นสภาพแวดลอ้ มทัว่ ไป เศรษฐกิจ สังคม และ
การเมืองการปกครอง
สำนักงานลูกเสอื เขตพื้นที่การศึกษานครศรธี รรมราช เขต 4 ได้ตระหนักถงึ ความสำคัญของ
กิจกรรมลกู เสือมาโดยตลอด มกี ารจดั กจิ กรรมลูกเสืออยา่ งหลากหลายและต่อเนือ่ ง โดยไดม้ ีการติดตามและ
ประเมินผลการดำเนนิ งานของสำนกั งานและสถานศกึ ษา พบว่า ยงั มีการปฏบิ ตั ิงานท่ไี มถ่ กู ต้อง ผิดพลาดอยู่
เสมอ ทำให้เกิดขอ้ โต้เถยี งหรือขดั แย้งกันอย่เู นอื งๆ จึงไดจ้ ดั ทำคู่มอื ฉบับนข้ี ึน้
ขอขอบคุณ ผอู้ ำนวยการลกู เสือเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 4
(วา่ ท่รี อ้ ยโทสเุ วศ กลบั ศรี) ที่กรณุ าใหแ้ นวคิดและแนวทาง รวมท้งั สนับสนุนการดำเนนิ งานดา้ นลกู เสอื และ
บคุ ลากรกลุ่มส่งเสริมการจัดการศกึ ษาทกุ คน ขอบคุณคณะทำงานวางแผนและพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทุกท่าน
หากค่มู อื ฉบับน้มี คี ุณประโยชนอ์ ยู่บา้ ง ขอยกคุณความดีคร้ังนแี้ ก่คณะวิทยากรลูกเสอื ทกุ ทา่ นท่ี
เสียสละและมงุ่ มั่นในการพฒั นาลูกเสือด้วยดเี สมอมา
สำนกั งานลูกเสอื เขตพน้ื ที่การศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 4
สารบญั
บทนำ.................................................................................................................................... หนา้
1
ความหมายของลกู เสือและการลูกเสอื ...................................................................
หลกั การของการลูกเสอื .......................................................................................... 1
ความสำคัญของกิจกรรมลูกเสือ........................................................................... .. 1
วัตถปุ ระสงคข์ องคณะลูกเสือแห่งชาติ.................................................................... 3
แนวทางการจดั กจิ กรรมลูกเสือ............................................................................... 4
วิธกี ารจดั กิจกรรมลูกเสอื ........................................................................................ 5
การจัดต้งั กลุ่ม กอง และแตง่ ตั้งผู้บังคับบญั ชาลูกเสอื .......................................................... 11
การยกย่องเชิดชูเกยี รติลกู เสือและบุคลากรทางการลกู เสือ................................................. 14
รายไดแ้ ละการเงนิ ลูกเสอื .................................................................................................... 26
พิธีการลกู เสอื ..................................................................................................................... 33
การตรวจขั้นที่ 5 ขน้ั ปฏบิ ตั ิการและประเมินผล................................................................. 37
วินยั และความเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ยของลูกเสือ................................................................. 57
การเดินทางไกลและอย่คู ่ายพกั แรม.................................................................................... 101
แผนทแี่ ละเข็มทศิ ................................................................................................................ 117
การบกุ เบิก.......................................................................................................................... 126
การผจญภยั ......................................................................................................................... 138
การบันเทิงในกองลกู เสือ..................................................................................................... 147
157
บทนำ
ความหมายของลกู เสือและการลกู เสอื
ลูกเสือ (Boy Scout) หมายถึง เด็กท่ีอยู่ในองค์การซ่ึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชน
และอีกนัยหนง่ึ หมายถงึ องคก์ ารทีม่ ีวัตถุประสงค์เพือ่ ฝึกหัดอบรมเด็กให้มีความรบั ผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
(สเุ วศ กลบั ศร,ี 2556 : 28)
การลูกเสือ (Scouting) หมายถึง กิจกรรมในการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เป็นพลเมืองดี มี
คุณธรรม รักและเคารพในสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ รู้จักการเป็นผู้นำและผู้ตาม มีความ
อดทน มีน้ำใจ และมชี วี ิตอยู่รว่ มกับบคุ คลอน่ื ได้อยา่ งมคี วามสขุ (สเุ วศ กลับศรี, 2556 : 28)
การลูกเสือ มีเป้าหมายในการอบรมสั่งสอนและฝึกฝนให้เด็กเป็นพลเมืองดี มีการวิเคราะห์คำว่า
Scout วา่ มาจากความหมาย (สมรรถไชย ศรกี ฤษณ์, 2537 : 1, 10) ดังนี้
S ย่อมาจาก Sincerithy แปลว่า ความจริงใจ
C ยอ่ มาจาก Courtesy แปลวา่ ความสภุ าพ อ่อนโยน
O ย่อมาจาก Obedience แปลว่า การเชอื่ ฟัง
U ยอ่ มาจาก Unity แปลวา่ ความเป็นใจเดียวกัน
T ยอ่ มาจาก Thrifty แปลวา่ ความมัธยสั ถ์
หลักการของการลูกเสอื
เบเดน โพเอลล์ไดก้ ำหนดหลกั การสำคญั ของการลูกเสอื ไว้ 8 ประการ (สำนักงานคณะกรรมการการ
บริหารลูกเสือแห่งชาติ, 2532 : 70) ดังนี้ 1) ลูกเสือเป็นผู้มีศาสนา 2) ลูกเสือมีความจงรักภักดีต่อชาติ
บ้านเมือง 3) ลูกเสือมีความเช่ือมั่นในมิตรภาพและความเป็นภราดรของโลก 4) ลูกเสือเป็นผู้บำเพ็ญ
ประโยชน์ต่อผู้อื่น 5) ลูกเสือเป็นผู้ยึดม่ันและปฏิบัติตามคำปฏิญาณและกฎของลูกเสือ 6) ลูกเสือเป็นผู้
อาสาสมัคร 7) ลกู เสือยอ่ มไม่เกี่ยวขอ้ งกบั การเมือง และ 8) มีกำหนดการพิเศษสำหรับการฝึกอบรมเด็กชาย
และคนหนุ่มเพื่อให้เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ โดยอาศัยวิธีการระบบหมู่ ระบบกลุ่ม มีการทดสอบ
เป็นขน้ั ๆ ตามระดบั ของหลักสูตรและวิชาพเิ ศษลูกเสือ และใชก้ ิจกรรมกลางแจง้
เบเดน โพเอลล์ได้เขียนสาส์นฉบบั สุดทา้ ยถงึ ลูกเสอื (สำนกั งานคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ,
2532 : 69) มีข้อความสำคัญดังน้ี 1) จงทำตนเองให้มีอนามัยและแข็งแรงในขณะท่ียงั เป็นเด็ก 2) จงพอใจ
ในสิ่งท่ีเธอมีอยู่และทำส่ิงน้ันให้ดีที่สุด 3) จงมองเร่ืองราวต่างๆ ในแง่ดี แทนที่จะมองในแง่ร้าย 4) ทางอัน
แท้จรงิ ที่จะหาความสขุ คอื โดยการให้ความสขุ แก่ผู้อ่ืน 5) จงพยายามปล่อยอะไรไว้ในโลกนี้ใหด้ ีกว่าท่ีเธอได้
พบและ 6) จงยึดมัน่ ในคำปฏิญาณของลูกเสือของเธอไว้เสมอ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจา้ อยู่หัว (สำนักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ, 2532 :
82) ทรงมีพระราชดำรวิ ่า เด็กผชู้ ายเป็นผทู้ ี่สมควรไดร้ บั การฝึกฝนท้งั รา่ งกายและจติ ใจ เปรียบเหมือนไม้ทย่ี ัง
อ่อน จะดัดให้เป็นรปู อยา่ งไรก็เปน็ ไปได้โดยงา่ ยและงดงาม ถ้ารอไวจ้ นแก่เสยี แล้วเมื่อจะดดั ก็ต้องเข้าไฟ และ
มักจะหักได้ เพื่อจะไดร้ ู้จกั หน้าทีผ่ ้ชู ายไทยทุกคนควรประพฤติให้เป็นประโยชน์แกช่ าติบ้านเมอื งอันเปน็ บ้าน
ค่มู อื ปฏิบตั งิ านลกู เสอื สานกั งานลกู เสือเขตพนื ้ ที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 1
เกิดเมอื งนอนของตน ดงั บทพระนิพนธไ์ ว้วา่ “ลกู เสือบ่ใชเ่ สอื สตั วไ์ พร เรายืมชอื่ มาใช้ดว้ ยใจกลา้ หาญปานกัน
ใจกลา้ มิใช่กล้าอาธรรม์ เช่นเสืออรัญสญั ชาตชิ นคนพาล ใจกล้าตอ้ งกลา้ อย่างทหาร กล้ากอรป์ กิจการแหง่ ชาติ
ประเทศเขตตน”
หลักการของลกู เสืออยู่ที่การปฏิบัติตามคำปฏิญาณและกฎของลูกเสือ โดยคำปฏิญาณและกฎของลูกเสือ
สำรอง (สำนักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแหง่ ชาติ, 2529 : 24) มดี งั นี้
คำปฏิญาณกล่าวว่า ขา้ สัญญาว่า
ขอ้ 1 ขา้ จะจงรักภกั ดีตอ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ขอ้ 2 ขา้ จะยึดม่นั ในกฎของลกู เสอื สำรองและบำเพญ็ ประโยชน์ตอ่ ผอู้ ่นื ทุกวัน
กฎของลูกเสือสำรอง
ขอ้ 1 ลูกเสือสำรองทำตามลกู เสือรนุ่ พ่ี
ข้อ 2 ลูกเสอื สำรองไมท่ ำตามใจตนเอง
ส่วนคำปฏิญาณและกฎของลูกเสือ ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ลูกเสือวิสามัญ และ
ผ้บู งั คับบญั ชาลูกเสอื (สำนักงานคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสือแห่งชาติ, 2542 : 2) มดี ังนี้
คำปฏญิ าณกล่าววา่ ด้วยเกยี รติของขา้ ขา้ สญั ญาวา่
ข้อ 1 ขา้ จะจงรกั ภักดีตอ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
ขอ้ 2 ขา้ จะช่วยเหลือผูอ้ นื่ ทุกเม่ือ
ขอ้ 3 ขา้ จะปฏบิ ตั ติ ามกฎของลกู เสอื
กฎของลกู เสือ มี 10 ข้อ ดังนี้
ข้อ 1 ลกู เสือมเี กียรติเชอื่ ถือได้
ข้อ 2 ลูกเสอื มีความจงรกั ภกั ดตี อ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และซื่อตรงตอ่ ผมู้ ีพระคณุ
ขอ้ 3 ลูกเสอื มีหนา้ ทีก่ ระทำตนให้เป็นประโยชนแ์ ละช่วยเหลอื ผอู้ ื่น
ข้อ 4 ลูกเสอื เป็นมติ รของคนทุกคนและเปน็ พ่นี อ้ งกบั ลกู เสอื อืน่ ทั่วโลก
ขอ้ 5 ลกู เสือเปน็ ผูส้ ภุ าพเรยี บร้อย
ข้อ 6 ลูกเสือมคี วามเมตตากรุณาตอ่ สัตว์
ข้อ 7 ลกู เสือเช่ือฟงั คำสงั่ ของบดิ ามารดา และผู้บงั คบั บัญชาดว้ ยความเคารพ
ข้อ 8 ลกู เสอื มีใจร่าเริงและไม่ย่อท้อต่อความลำบาก
ข้อ 9 ลูกเสือเป็นผ้มู ัธยสั ถ์
ข้อ 10 ลกู เสือประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ
คณะลูกเสือแห่งชาติ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551 : 93) ได้กำหนดวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาลูกเสือ
ทั้งทางกาย สตปิ ัญญา จติ ใจ และศีลธรรม ให้เป็นพลเมอื งดี มีความรับผิดชอบ และชว่ ยสรา้ งสรรค์สังคมให้มี
ความสามัคคีและมีความเจริญก้าวหน้า ทั้งน้ี เพ่ือความสงบสุขและความม่ันคงของประเทศชาติ ตาม
แนวทางดังต่อไปนี้ 1) ให้มนี ิสัยในการสังเกต จดจำ เช่อื ฟังและพึง่ ตนเอง 2) ให้ซ่อื สัตย์สุจรติ มีระเบียบวินัย
และเห็นอกเห็นใจผู้อื่น 3) ให้รู้จักบำเพ็ญตนเพื่อสาธารณประโยชน์ 4) ให้รู้จักทำการฝีมือและฝึกฝนให้ทำ
ค่มู ือปฏิบตั งิ านลกู เสือ สานกั งานลกู เสือเขตพนื ้ ทีก่ ารศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 2
กิจการต่างๆ ตามความเหมาะสม และ 5) ให้รู้จกั รักษาและสง่ เสริมจารตี ประเพณี วฒั นธรรมและความมั่นคง
ของประเทศชาติ
สรุปไดว้ ่า หลกั การของลกู เสอื ดังกล่าวมงุ่ ส่งเสริม สรา้ งสรรค์ใหล้ ูกเสือและผูบ้ ังคบั บญั ชาลกู เสอื ยึดถือ
เป็นแนวปฏิบัติในการดำเนินกิจกรรมลูกเสือและใช้ในการดำเนินชีวิตของตนเองให้เกิดความสุขให้เป็นคนดี คน
เก่ง พึ่งตนเอง เห็นอกเห็นใจและช่วยเหลือผู้อื่นได้ มีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ โดยยึด
หลักการ คำปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื เป็นหลักปฏบิ ัติ
ความสำคญั ของกิจกรรมลูกเสือ
วันมะหะหมดั นอร์ มะทา (2523 : 1) กล่าวว่า การนำเอากระบวนการของลูกเสือเข้าไปในโรงเรยี น
เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพต่อการจัดกิจกรรม เพราะกิจกรรมต่าง ๆ คือ สิ่งท่ีช่วยพัฒนานักเรียนทุก ๆ ด้าน
พร้อมกัน กิจกรรมที่จัดเพื่อให้เกิดการพัฒนามีหลายประเภท อาจมีความแตกต่างกันบ้างในแต่ละระดับขั้น
การศกึ ษา โดยท้งั น้ีต้องเปน็ ตามนโยบายหลกั ของรฐั
พิชัย รัตตกุล (2526 : 18) กล่าวว่า ประเทศที่กำลังพัฒนาหรือพัฒนาแล้วนั้นจะมีตัวบ่งช้ีท่ีสำคัญ
คือ คณุ ภาพของคนในชาติ ซึ่งการที่จะทำให้คนในชาติมคี ณุ ภาพได้ ขน้ึ อยู่กบั การฝกึ อบรมคนในชาติใหเ้ ป็นคน
ดีมีระเบียบวินัย และมีคุณภาพเป็นผู้นำท่ีดี มีคุณธรรมสูงและมีบุคลิกภาพและลักษณะนิสัยท่ีเหมาะสมกับ
สงั คม ซึ่งกจิ การลูกเสือสามารถพฒั นาลักษณะเหล่าน้ไี ด้
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช (สำนักราชเลขาธิการ, 2529) ทรงมีพระราชดำรัส
พระราชทานแก่ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ เนื่องในโอกาสรับพระราชทานเหรียญลูกเสือสดุดี ณ พระตำหนัก
จิตรลดารโหฐาน เมื่อวันอังคารท่ี 4 พฤศจิกายน พ.ศ.2529 ความตอนหน่ึงว่า “......การลูกเสือมีหลัก
ปฏิบัติและวิธีการอบรมที่สะดวกแยบคายเป็นไปตามธรรมชาติ พอเหมาะพอดีกับความต้องการและความ
พอใจของบุคคล พร้อมทั้งสามารถดึงเอาศักยภาพหลายๆ ด้านอันซ่อนเร้นอยู่ในแต่ละคนออกมาใช้การได้
อย่างมีประสิทธิภาพ ให้เป็นประโยชน์แก่ตนเอง แก่ส่วนรวม ตลอดจนชาติบ้านเมือง ดังน้ัน ต้ังแต่กิจการ
ลกู เสือเข้ามาสู่ประเทศของเรา จึงได้รับความนิยมส่งเสริมอย่างกวา้ งขวาง และต่อมาทุกฝ่ายก็ยอมรับนับถือ
ท่ัวกันว่า ลูกเสือเป็นกิจการสำคัญระดับประเทศ ซึ่งมีคุณค่าย่ิงทั้งในการพัฒนาบุคคลและการธำรงรักษา
ความมั่นคง ความเป็นปกติสุขในแผ่นดิน ทุกคนได้ช่ือว่ามีศรัทธาหนักแน่นในกิจการลูกเสือ และได้ช่วยกัน
อุปถัมภ์ค้ำจุนอย่างจริงจังมา จนเห็นผลอันน่าช่ืนชมถึงเพียงน้ีแล้ว ขอให้ร่วมแรงร่วมใจกันต่อไป ทั้งฝ่าย
ราชการและมิใชร่ าชการ ในอันที่จะส่งเสรมิ ดำเนินงานลูกเสือ ด้วยศรัทธา ด้วยปัญญา และด้วยความเมตตา
กรุณา ให้เต็มกำลัง เพื่อให้กิจการอันทรงคุณค่าน้ีอำนวยประสิทธิผลแพร่หลายสมบูรณ์ยิ่งขึ้น และให้เจริญ
ม่นั คงอยู่ในบ้านเมอื งเราตลอดไป”
สำนักงานคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสือแห่งชาติ (2532 : 8) ได้อธบิ ายถงึ ความสำคัญของการลูกเสือ
ว่า จะชว่ ยฝึกคนหนุม่ ให้เปน็ คนรู้จกั เตรียมพร้อม รู้จักดูแลตนเองและช่วยเหลือผู้อืน่ รู้จักคารวะและมีจิตใจ
ร่าเริงต่อโลกท่ีอยู่ล้อมรอบตัวเรา รู้จักปรับปรุงตนเองให้ดีข้ึนโดยเฉพาะในด้านทักษะและสติปัญญา ใน
ท้ายท่ีสุดจะช่วยให้เขาเกิดพัฒนาการในทางปฏิบัติ และก่อให้เกิดทักษะสัมพันธ์ในอันที่จะช่วยให้เขาเป็น
พลเมอื งดมี ปี ระโยชน์และเป็นคนทเ่ี ช่อื ถือได้
ค่มู อื ปฏิบตั ิงานลกู เสอื สานกั งานลกู เสือเขตพนื ้ ทกี่ ารศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 3
สมชัย วุฑฒิปรีชา (2533 : 23) กล่าวว่า การพัฒนาคุณภาพชีวิตควรจะเริ่มต้นตั้งแต่วัยเด็ก
จนกระทงั่ ถึงวยั ผ้ใู หญ่ เพราะเด็กไทยเป็นสมบตั ิท่สี ำคญั ยิ่งของประเทศชาติควรจะนำเอาขบวนการของลกู เสือ
มาพัฒนาเด็กและเยาวชนท่อี ยู่ในวัยเรยี นชว่ งอายุ 8 - 23 ปี ให้เป็นคนดีมีระเบียบวินยั รู้จักเสียสละ มีความ
สามคั คี จงรกั ภักดตี ่อชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ ์ รจู้ ักบำเพญ็ ตนใหเ้ ป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น ตามกฎและ
คำปฏิญาณของลูกเสือ การลกู เสอื มีจดุ มุ่งหมาย เพ่ือฝึกอบรมเดก็ และเยาวชนให้เป็นพลเมืองดขี องประเทศ
และของโลกในปัจจบุ นั
กรมวิชาการ (2533 : 12) ได้อธิบายถึงกิจกรรมต่าง ๆ ที่จัดขึ้นในโรงเรียนว่า กิจกรรมลูกเสือเป็น
กจิ กรรมที่มีความสำคัญเพราะมีวธิ ีการฝึกอบรมเป็นกระบวนการ และมีข้ันตอนการพัฒนาให้ก้าวหนา้ สูงขึ้น
และเชอื่ ว่ากิจกรรมท่ีทางโรงเรียนจัดข้ึนสามารถแก้ปัญหาของเด็กและเยาวชนที่เกิดจากสภาพเศรษฐกิจและ
สังคมปัจจบุ ันที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วได้ การแก้ปัญหาเด็กและเยาวชนมีหลายวิธี วิธีการของลูกเสือ
เป็นวิธกี ารที่ทัว่ โลกยอมรับวา่ สามารถแกป้ ญั หาเยาวชนได้อยา่ งดีทส่ี ดุ วิธหี นงึ่
กระทรวงศึกษาธิการ (2534 : 28) ได้กำหนดให้นักเรียนเป็นลูกเสือโดยเห็นว่า กิจการลูกเสือจะ
สามารถพัฒนาและเสรมิ สรา้ งคุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ให้เยาวชนได้มีคณุ ภาพ เปน็ กำลงั ของชาตใิ นอนาคต
ประดับ แก้วผลึกและคณะ (2549 : 6) กล่าวว่า กระบวนการลูกเสือเป็นกระบวนการสำคัญยิ่งใน
การพัฒนาเยาวชนของชาติให้เป็นคนดี มีความสามารถ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองดีของชาติบ้านเมือง
และสังคมโลก กระบวนการลูกเสอื ไทยเป็นพระราชมรดกอนั ล้ำค่าทพ่ี ระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
องค์พระราชบิดาแห่งการลูกเสือไทยได้มอบไว้แก่เยาวชนของชาติ ซ่ึงรัฐบาลทุกยุคทุกสมัยได้ยึดถือเป็น
นโยบายสำคัญท่ีจะส่งเสริมให้นักเรียนทุกระดับเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ เพราะกระบวนการลูกเสือเป็น
กระบวนการท่ีตอบสนองความต้องการของเยาวชน สามารถพัฒนาเยาวชนให้เป็นพลเมืองท่ีดีของชาติ เป็น
พลงั สำคัญในการดูแลรักษาและพฒั นา ชาติบ้านเมืองใหเ้ จรญิ มั่นคง
สรุปได้ว่า กิจกรรมลูกเสือเป็นเคร่ืองมือที่สำคัญในการพัฒนาให้เด็กและเยาวชนเป็นผู้ท่ีมีคุณภาพ
เป็นผู้นำและผู้ตามท่ีดี มีคุณธรรม มีระเบียบวินัย รู้จักเสียสละ สร้างความสามัคคี บำเพ็ญตนให้เป็น
ประโยชน์ต่อผู้อื่น สามารถดำรงตนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข จึงทำให้ประเทศท่ัวโลก ยอมรับถึง
ความสำคัญของกิจการลกู เสอื
วัตถปุ ระสงคข์ องคณะลกู เสือแห่งชาติ
คณะลูกเสือแห่งชาติ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551 : 93) ได้กำหนดวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาลูกเสือ
ทงั้ ทางกาย สติปญั ญา จติ ใจ และศีลธรรม ให้เป็นพลเมอื งดี มีความรับผิดชอบ และช่วยสร้างสรรคส์ ังคมใหม้ ี
เกิดความสามัคคีและมีความเจริญก้าวหน้า ท้ังนี้ เพ่ือความสงบสุขและความม่ันคงของประเทศชาติ ตาม
แนวทางดงั ตอ่ ไปนี้
1) ใหม้ ีนสิ ัยในการสังเกต จดจำ เชอื่ ฟงั และพึ่งตนเอง
2) ใหซ้ ือ่ สตั ยส์ ุจรติ มีระเบียบวนิ ัย และเหน็ อกเหน็ ใจผู้อ่ืน
3) ให้รจู้ กั บำเพญ็ ตนเพ่อื สาธารณประโยชน์
4) ใหร้ จู้ กั ทำการฝมี ือและฝึกฝนให้ทำกิจการตา่ งๆ ตามความเหมาะสม
5) ให้รจู้ กั รักษาและสง่ เสรมิ จารีตประเพณี วฒั นธรรมและความมนั่ คงของประเทศชาติ
ค่มู อื ปฏบิ ตั ิงานลกู เสือ สานกั งานลกู เสอื เขตพนื ้ ท่ีการศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 4
แนวทางการจดั กจิ กรรมลกู เสือ
การฝึกอบรมทเ่ี บเดน โพเอลล์ (อา้ งถึงใน ศาสตราวธุ บุ้งทอง, 2537 : 24 ) เป็นผู้กำหนดแบบอยา่ ง
ไว้นั้น ถือเอาความต้องการของเด็กที่เป็นไปตามธรรมชาติเป็นหลัก ผู้บังคับบัญชาลูกเสือต้องมีความ
รบั ผดิ ชอบต่อการคัดเลือกกิจกรรมต่างๆ ท่ีเหมาะสมกับจดุ ประสงค์ของการฝึกอบรมลูกเสือ ทั้งน้ี เด็กได้มี
ส่วนรบั ร้แู ละให้ความเห็นชอบด้วย เบเดน โพเอลลจ์ งึ ได้ชแ้ี นวทางในการจัดกิจกรรมลูกเสอื เพ่ือเป็นการเปิด
โอกาสใหเ้ ด็กปฏบิ ัตกิ ิจกรรมทีท่ า้ ทายมากยิ่งขน้ึ โดยใช้เสนห่ ์ 3 ประการ คือ
1) กิจกรรมกลางแจ้ง เชน่ นักผจญภัย นักบุกเบิก นกั สำรวจ ซึ่งทำให้การลูกเสอื เป็นท่ีดึงดูดใจ
เสมอ อันลักษณะดงั กลา่ วเป็นลกั ษณะนสิ ัยของมนษุ ย์ทกุ คน และเป็นสิ่งที่มองเห็นได้ชัดเจนในวัยเด็ก
2) ความสำเร็จ เด็กท่ีกำลังเจริญเติบโตจะพอใจกับความรู้สึกว่าตนมีความก้าวหน้า เพ่ิมพูน
ทกั ษะและความรู้เชิงปฏบิ ตั ิสิง่ ต่าง ๆ
3) การรบั ใช้ผอู้ ่ืน นอกจากการฝึกอบรมให้เดก็ เติบโต เปน็ ผู้มนี ิสัยดงี าม มีสขุ ภาพดี มีทักษะใน
วิชาลูกเสือ และงานอดิเรกแล้ว ควรฝึกฝนและเปิดโอกาสให้เด็กลูกเสือได้รับใช้ผู้อ่ืนด้วย โดยการบำเพ็ญ
ประโยชน์เป็นประจำทกุ วนั และการปฏบิ ัติตนตามลำพังหรือเปน็ กลมุ่
เบเดน โพเอลล์ (อ้างถึงใน ศาสตราวุธ บุ้งทอง, 2537 : 25) มีความเห็นว่าเด็กทุกคนชอบอยู่ค่าย
พักแรม กิจกรรมกลางแจ้งและการสนุกสนาน ฉะนั้น กิจกรรมลูกเสือก็คือการเล่น (Scouting is game)
และสง่ิ ที่เด็กต้องการ 5 ประการ คอื
1) การผจญภัย (Adventure) ไดแ้ กก่ ารเรียนร้เู ร่ืองใหม่ ๆ ทตี่ ื่นเตน้ และไมค่ าดหมายมากอ่ น
2) ได้เพ่อื น (Friendship) ได้แก่ การทเี่ ดก็ มเี พอ่ื น
3) เถือ่ นธาร ( The Outdoor World ) ได้แก่ โลกภายนอก ประกอบดว้ ย ปา่ เขา ลำธาร ท่งุ นา
4) การสนกุ (Good Fun) ไดแ้ ก่ ความสนุกสนานในการประกอบกิจกรรม
5) สุขสม ( A Feeling of Achievement) ได้แก่ ความรู้สึกภูมิใจในการที่ตนได้ทำงานอย่างใด
อยา่ งหน่งึ จนประสบความสำเร็จ
สำนักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ (2525 : 19 - 20) ได้กำหนดกุศโลบายในการ
ฝกึ อบรมลูกเสือ ดังน้ี
1) เครื่องแบบลกู เสือ ถือวา่ เปน็ เครือ่ งแบบท่ีมเี กียรติ เป็นเครื่องหมายแห่งความดี ดงั นนั้ ลูกเสือ
ต้องพิถีพิถันในการแต่งเครื่องแบบให้ถกู ต้องและสะอาดเรียบร้อยเสมอ กับท้ังจะต้องประพฤติตนให้สมกับท่ไี ด้
ชื่อว่าเป็นลูกเสือ เพ่ือเป็นการรักษาชื่อเสียงของตนและคณะลูกเสือแห่งชาติ โดยถือวา่ เคร่ืองแบบลูกเสือเป็น
เคร่อื งหมายแห่งการเสยี สละในการบำเพ็ญประโยชนต์ อ่ ผู้อ่ืน
2) คำปฏิญาณและกฎของลูกเสือ ลูกเสือต้องเข้าใจและปฏิบัติตามคำปฏิญาณและกฎของ
ลูกเสืออยู่เสมอ โดยเฉพาะในเรื่อง “ความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ความเป็นพี่น้องกับ
ลกู เสืออื่นทัว่ โลก และการกระทำความดีตา่ ง ๆ ผู้ท่ีจะเป็นพลเมืองดีน้ัน จะตอ้ งเปน็ ผู้กระทำความดี มิใชเ่ ป็น
คนดีโดยอยเู่ ฉย ๆ ไมท่ ำอะไร
ค่มู อื ปฏบิ ตั งิ านลกู เสอื สานกั งานลกู เสอื เขตพนื ้ ท่ีการศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 5
3) การบำเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อ่ืน เร่ืองนี้เป็นเร่ืองท่ีทำให้กจิ การลูกเสือมีช่ือเสียงและเป็นที่รู้จัก
ของบุคคลท่ัวไป โดยมีรากฐานของคติพจน์ของลูกเสอื ทัง้ 4 ประเภท เกี่ยวข้องกับอดุ มคตขิ องลูกเสอื ในการ
บำเพญ็ ประโยชนต์ ่อผอู้ ื่น ดงั น้ี
"ทำดีที่สุด" เป็นคติพจน์ของลูกเสือสำรอง หมายถึง การทำ เพื่อคนอ่ืน หรือทำเพื่อ
สว่ นรวมเปน็ การกระทำท่ีดีทส่ี ดุ
"จงเตรียมพร้อม" เป็นคติพจน์ของลูกเสอื สามัญ หมายถงึ พร้อมที่จะทำความดี พร้อมเพื่อ
สรา้ ง พร้อมเพื่อส่วนรวม
"มองไกล" เปน็ คติพจนข์ องลกู เสือสามัญรุ่นใหญ่ หมายถึง มองใหเ้ ห็นเหตุผล มองให้เห็นคน
อืน่ มองใหเ้ หน็ ส่วนรวม มิใช่มองแตต่ ัวเองหรอื ผลประโยชนข์ องตวั เอง
"บริการ" เป็นคติพจน์ของลูกเสือวิสามัญ หมายถึง การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้อื่นและ
ส่วนรวม
นอกจากน้ใี นคำปฏญิ าณและกฎของลูกเสือก็ไดร้ ะบุถึงการบำเพ็ญประโยชนต์ ่อผู้อน่ื โดยถือ
ว่าสำคัญมาก แหล่งหรือโอกาสท่ีลูกเสือจะบำเพ็ญประโยชน์นั้น ควรริเรมิ่ จากสง่ิ ที่ใกล้ตัวก่อนแล้วขยายให้
กวา้ งออกไปตามวยั และความสามารถของเดก็ ได้แก่ การเรมิ่ จากบา้ นเรอื น โรงเรยี น และสาธารณะ เปน็ ต้น
4) การฝึกอบรมท่ีต่อเน่ืองกันและก้าวหน้าสูงข้ึน การฝึกอบรมลูกเสือถ้าจะให้ประสบ
ความสำเร็จอย่างเต็มท่ีจะต้องให้ลูกเสือมีความก้าวหน้าอยู่เสมอและให้ผ่านข้ันตอนต่าง ๆ ตามลำดับ คือ
ลกู เสือสำรอง ลูกเสือสามญั ลูกเสือสามญั รุ่นใหญ่ และลูกเสือวสิ ามัญ สิง่ จำเปน็ ประการแรกในการฝึกอบรม
เด็ก คือ ผู้สอนจะต้องมองการฝึกอบรมในแง่ของเด็ก แล้วสอนวิชาต่าง ๆ ดังท่ีเด็กอยากจะรู้ และให้เด็ก
สอนกนั เอง เรยี นดว้ ยตนเอง
5) ระบบหมู่ ฝึกความรับผิดชอบ การเป็นผู้นำ ผู้ตาม การปกครองในระบอบประชาธิปไตย
การฝกึ อบรมลกู เสือมีการแบ่งลูกเสือออกเป็นกอง แต่ละกองแบ่งออกเป็นหมู่ หมู่ลูกเสอื เป็นหน่วยสำคัญใน
การดำเนินงานของลูกเสือ ไม่ว่าสำหรับการทำงานหรือการเล่น และไม่ว่าจะเป็นเรื่องวินัยหรือหน้าที่ การ
แต่งตั้งนายหมู่และรองนายหมู่ให้มีหน้าท่ีรับผิดชอบในการบังคับบัญชาลูกเสือเป็นเรื่องของนายหมู่ท่ีจะต้อง
ควบคุมและพัฒนาคุณลักษณะของลูกหมู่ของตนแต่ละคน การแบ่งลูกเสือออกเป็นหมู่ ๆ ก็เพื่อสะดวกและ
เพื่อให้นายหมู่ลูกเสือได้มีหน้าที่รับผิดชอบในการดำ เนินงานตามระบบหมู่ นายหมู่มีหน้าท่ีวางแผนปฏิบัติ
กิจกรรมของหมู่ รวมทั้งการไปอยู่ค่ายพักแรม โดยมีรองนายหมู่เป็นผู้ช่วย และผู้กำกับลูกเสือเป็นผู้ให้
คำแนะนำ นอกจากนนั้ นายหมูแ่ ละผู้กำกบั ลูกเสอื ยังมกี ารประชุมพรอ้ มกนั เป็นครั้งคราว ในที่ประชุมนาย
หมู่ สมาชกิ ท่ีประชุมจะต้องรับผิดชอบในการรักษาเกียรติของกองลูกเสือของตนกับต้องพิจารณาแผนปฏิบัติ
งานและกิจกรรมต่าง ๆ
6) ระบบเครอ่ื งหมายวชิ าพิเศษ ลูกเสือทุกคนจะได้รับการฝึกอบรมตามวธิ ีการของลูกเสอื และ
เม่ือผ่านการทดสอบตามที่กำหนดไว้ จะได้รับเครื่องหมายซ่ึงนำมาติดเครื่องแบบเป็นการเชิดชูเกียรติ และ
แสดงสมรรถภาพของตนส่วนหน่ึง เครอื่ งหมายวิชาพเิ ศษมีมากมาย เชน่ การผจญภัย การเดินทางไกล ดารา
ศาสตร์ บุกเบกิ สทู กรรม สะกดรอย ฯลฯ
ค่มู อื ปฏิบตั งิ านลกู เสือ สานกั งานลกู เสอื เขตพนื ้ ที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 6
7) กจิ กรรมกลางแจง้ ในการฝึกอบรมลกู เสอื ทุกประเภท ถือว่ากิจกรรมกลางแจ้งเป็นเรื่องสำคัญ
และควรได้รับการส่งเสริมให้มากเท่าที่สามารถจะทำได้ ท้ังนี้ เป็นการส่งเสริมสุขภาพของลูกเสือด้วย ใน
การฝึกอบรมลกู เสือ บางครั้งจะต้องกระทำภายในอาคาร แต่กิจกรรมเช่นเดียวกัน ถ้าได้กระทำกลางแจ้ง เช่น
ในสนาม ทงุ่ นา ในปา่ หรอื สวนสาธารณะ ก็จะเปน็ การดี การเดินทางไกลและอยูค่ า่ ยพักแรม เปน็ หัวใจของ
การฝกึ อบรมลูกเสือ เพราะมีวตั ถุประสงค์เพื่อฝึกให้ลกู เสือมคี วามอดทน อยู่ในระเบยี บวินัย รู้จักช่วยตนเอง
รจู้ ักอยู่และทำงานร่วมกบั ผูอ้ ่ืน ตลอดจนมีโอกาสไดเ้ รยี นรแู้ ละเข้าใจวิชาลูกเสืออยา่ งแจ่มแจง้ ด้วยการปฏิบัติ
จริง นอกจากน้ีกิจกรรมท่ีท้าทายลูกเสือ เช่น การผจญภัย การบุกเบิก การเดินทางสำรวจ ฯลฯ ก็นับเป็น
กจิ กรรมทลี่ กู เสือทุกคนควรเข้ารว่ มตามโอกาส
8) การเล่นเกมหรือการเล่นของลูกเสือ เป็นกิจกรรมที่สำคัญในการฝึกอบรมลูกเสือ ทั้งในทาง
จติ ใจและในการบริหารร่างกาย เกมชว่ ยพัฒนาเด็กในเรื่องนิสัยใจคอ อารมณ์ น้ำใจนักกีฬา การรกั หมู่คณะ
ความอดทน ระเบียบวินัย และความไม่เห็นแก่ตัว ทุกคร้ังท่ีมีการฝึกอบรมลูกเสือ หรือท่ีเรียกว่าการเปิด
ประชุมกองจะต้องมีการจัดให้เด็กได้เล่นเกมเพ่ือเป็นการบริหารรา่ งกายและเป็นการอบรมเด็กในด้านจิตใจไป
ดว้ ย
9) การร้องเพลงและการชุมนุมรอบกองไฟ วิธีการฝึกอบรมลูกเสือท่ีสำคัญอีกอย่างหนึ่ง คือ
การร้องเพลงและการชมุ นุมรอบกองไฟ การรอ้ งเพลงนอกจากจะชว่ ยผอ่ นคลายอารมณ์ให้เด็กๆไดส้ นุกสนาน
ร่นื เริงบันเทิงใจแล้ว ยังเป็นส่ือในการปลุกใจให้เกิดความรักชาติบ้านเมืองอีกด้วย ทุกคร้งั ท่ีมีการชุมนุมรอบ
กองไฟจะต้องมีการร้องเพลงรอบๆวงในการชุมนุมรอบกองไฟ และการรอ้ งเพลงสลับการแสดงต่างๆ และที่
สำคัญหากมีการให้เด็กๆ ร้องเพลงประจำหมู่ ซึ่งแต่ละหมู่แต่งข้ึนเองแล้ว ยอ่ มเป็นส่ิงที่ก่อให้เกิดความสมัคร
สมานสามคั คีในหมคู่ ณะมากย่ิงข้ึน
อภัย จันทวิมล (2529 : 2-3) กล่าวว่า การลูกเสือแตกต่างจากองค์การเยาวชนอ่ืนในข้อท่ีว่า การ
ลกู เสือฝกึ อบรมเยาวชนท่ีมีอายุตัง้ แต่ 8 ปี ถึง 25 ปี การลูกเสือจึงมีแผนการฝึกอบรมท่ตี ่อเนอ่ื งกนั และสงู ขึ้น
ตามลำดบั เพื่อใหเ้ หมาะสมกบั วัยและความเจรญิ ก้าวหน้าของเยาวชน
กรมวิชาการ (2533) ได้กำหนดหลักสูตรกิจกรรมลูกเสือไว้คือ โรงเรียนระดับประถมศึกษาจะเรียน
ลูกเสือสำรองและลูกเสือสามัญ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจะเรียนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ และในระดับ
มัธยมศกึ ษาตอนปลายกับระดับวิทยาลยั จะเรียนลกู เสือวิสามญั ลูกเสือท่ีเป็นหญิงอาจใช้ชื่อเรยี กวา่ เนตรนารี
หรือช่ืออื่น ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ และคำว่า “ลูกเสือ” ในท่ีนี้ให้
หมายรวมถงึ ลกู เสือเปน็ หญงิ ดว้ ย
สำนักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ (2537 : 165 - 166) ได้กำหนดแนวทางการพัฒนา
ลูกเสอื 8 ประการ คือ
1) การพัฒนาทางกาย คือ การจัดกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ลูกเสือได้ออกกำลังกายอย่างเต็มท่ี
และทำให้ร่างกายแข็งแรง เช่น การเล่นเกม การเดนิ ทางไกลอยู่คา่ ยพกั แรม การฝกึ ว่ายน้ำ เล่นฟุตบอล เป็น
ตน้ ให้เหมาะสมกับสภาพอนามัยและอายุของเด็ก ไม่ใชก่ ิจกรรมที่ต้องออกแรงมากเกนิ ไป หรือเป็นกิจกรรม
สำหรับเดก็ เลก็ ๆ
ค่มู อื ปฏบิ ตั ิงานลกู เสอื สานกั งานลกู เสอื เขตพนื ้ ที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 7
2) การพฒั นาทางสติปัญญา คือการจัดกิจกรรมที่เรา้ ใจให้ลูกเสอื ไดป้ ฏิบตั ิอันเป็นการกระตุ้นให้
เดก็ เกดิ ความคิดริเรมิ่ สร้างสรรค์ วิธีการบางอยา่ งทีไ่ ด้นำมาใช้ในการพัฒนาทางสตปิ ัญญา ไดแ้ ก่ งานประเภท
งานผมี อื ตา่ ง ๆ เช่น การประดิษฐส์ ิง่ ของจากวสั ดุเหลือใช้ การทำงานด้วยเคร่ืองมอื การชมุ นุมรอบกองไฟ การ
แสดงหุ่นกระบอก เปน็ ตน้
3) การพัฒนาทางจติ ใจและศีลธรรม ผู้กำกบั ลูกเสอื จะช่วยพฒั นาจติ ใจและศลี ธรรมใหแ้ ก่ลกู เสือ
ได้โดยส่งเสริมใหม้ ีความซาบซ้ึงในศาสนา ด้วยการฟังเทศน์ ไหว้พระ สวดมนต์ การปฏิบัตศิ าสนกิจและการไป
ทำบุญทำทานท่ีวัด พัฒนาแนวความคิดทางศาสนา เช่น การเชื่อคำสอนในพระพุทธองค์ การเชื่อในอำนาจ
ลกึ ลบั บางอย่างที่ดลบันดาลความหวังให้แก่ชวี ติ กระตุ้นให้เดก็ ปฏิบตั ติ ามและเชือ่ ถอื ตามพ่อแม่ กิจการลูกเสือ
สามารถท่ีจะเชือ่ มโยงกับศาสนาต่าง ๆ ได้
4) การพัฒนาในเรือ่ งการสร้างค่านิยมและเจตคติ ผู้กำกับลกู เสือต้องพยายามสรา้ งค่านยิ มและ
เจตคติที่ดีในส่ิงแวดล้อมท่ัวไปให้เด็กเห็น และปลูกฝังลงไปในตัวเด็กโดยการแสดงภาพท่ีดีที่มีค่านิยม
อภิปรายปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับลูกเสือแต่ละคนหรือกับกลุ่มลูกเสือทุกโอกาส เพื่อว่าลูกเสือจะได้พบด้วย
ตวั เองวา่ ค่านิยม เจตคติและมาตรฐานอะไรท่ีมคี ณุ ค่าอยา่ งยงิ่ ยวด
5) การพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างบุคคล ผู้กำกับจะต้องช่วยเหลือให้ลูกเสือสร้างสัมพันธภาพ
อย่างฉันท์มิตรกับผู้อ่ืนอยา่ งสม่ำเสมอ นอกจากนั้นก็ให้ลูกเสือได้ทดสอบความสามารถหรือทักษะของเขาใน
การสร้างสรรค์ความสัมพันธ์กับผู้กำกบั ลูกเสือ และทดสอบความสามารถในการผูกมิตรกับเด็กชายหญิงในวัย
เดยี วกันกบั เขา
6) การพัฒนาสัมพนั ธภาพทางสงั คม ผู้กำกับลูกเสือควรตระหนักถงึ การพัฒนาสมั พนั ธภาพทาง
สังคมว่า เป็นเสมือนส่วนหน่ึงท่ีสอดแทรกอยู่ในกิจการของลูกเสือ กลุ่มลูกเสือควรจะมีความสามารถท่ีจะ
ทำงานรว่ มกันอยา่ งกลมเกลียวราบรื่น ลูกเสอื ควรจะไดเ้ รียนรู้ถึงการใหค้ วามร่วมมือ การใหแ้ ละการรบั แสดง
บทบาทผู้กำกับ และเรียนรู้ถึงการยอมรับในคุณค่าและบุคลิกภาพของบุคคลอ่ืน ๆ เพราะไม่มีใครจะอยู่ได้
อย่างเดียวดาย ระบบหมู่ของลูกเสอื จะช่วยใหล้ ูกเสือแตล่ ะคนเข้ารว่ มกันเป็นกลุ่มท่ีประกอบด้วยบุคคลในรุ่น
เดียวกนั และมีความสนใจคลา้ ยคลึงกันในสภาพเช่นนี้ ลูกเสือสามารถทดลองทักษะในการทำงานในกลุ่มเล็ก
ๆ ซึ่งจะมสี ่วนช่วยเขาในอนาคตทงั้ ทีท่ ำงานและทบี่ า้ น
7) การพัฒนาสัมพันธภาพต่อชุมชน คือ ความพร้อมและความสามารถให้บริการแก่ผู้อื่น
ผู้บังคับบัญชาควรกระตุ้นให้ลูกเสือได้เข้าไปมีส่วนร่วมในชุมชนอย่างเข้มแข็ง ไม่ว่าจะเป็นการบำเพ็ญ
ประโยชน์ประจำเฉพาะตัว หรือปฏิบัติการร่วมกันทั้งหมู่ในโครงการบำเพ็ญประโยชน์ เจตคติและทักษะ
ดังกล่าวจะเป็นทักษะท่ีมีค่าและสำคัญ ถ้าในวันหนึง่ ลกู เสือได้รับการกระตุ้นใหเ้ ปน็ ผูท้ ่ีมีส่วนช่วยสร้างสรรค์
สังคม ชุมชนในสังคมนั้นกจ็ ะมคี วามประทับใจในผลงานของลกู เสอื
8) การพัฒนาทางด้านความรับผิดชอบต่อส่ิงแวดล้อม คือ การส่งเสริมให้ลูกเสือได้มีความ
เพลิดเพลินกับชีวิตกลางแจ้ง ส่งเสริมให้รู้จักรักธรรมชาติและรักษาธรรมชาติ การเรียนรู้เรื่องธรรมชาติเป็น
กจิ กรรมที่นำไปสู่ความสำเร็จในการลูกเสือ เพราะธรรมชาติให้บทเรียนว่า คนเราสามารถเล้ียงชีพได้อยา่ งไร
รวมทั้งสอนให้ร้จู ักการดำรงชวี ิตตลอดไปจนถงึ การแสวงหาความสขุ จากชีวิตอีกด้วย ความรู้พเิ ศษในเรื่องของ
ธรรมชาติเป็นวิธีที่ดีท่ีสุดท่ีจะเปิดดวงจิตและความคิดของเด็กให้รู้คุณค่าความงามของธรรมชาติ เม่ือนิยม
ค่มู อื ปฏิบตั งิ านลกู เสอื สานกั งานลกู เสือเขตพนื ้ ทก่ี ารศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 8
ไพรได้ฝังอยู่ในดวงจิตของเด็กแล้ว การสังเกต การจดจำ การอนุมานจะได้รับการพัฒนาข้ึนโดยอัตโนมัติจน
กลายเป็นนิสัย อีกประการหนึ่งในปัจจุบันประชากรท่ัวโลกได้ตระหนักถึงความต้องการท่ีจะป้องกันและ
อนรุ กั ษธ์ รรมชาตทิ ้งั หลาย ทั้งรฐั บาลและองค์การอนุรักษธ์ รรมชาตติ ่าง ๆ กำลังดำเนินการอย่างเข้มแข็งที่จะ
ให้การศึกษาแก่ประชาชนให้คิดและดำเนินการรักษาส่ิงแวดล้อมรอบตัว มีวิถีทางอย่างมากมายท่ีลูกเสือ
สามารถปฏิบัติและช่วยเหลือในการอนุรักษ์ธรรมชาติได้ เช่น การรณรงค์ต่อต้านการทิ้งเศษส่ิงของลงในที่
สาธารณะ การทำความสะอาดทางระบายน้ำ การปลูกต้นไม้ การจัดภาพแสดงการอนุรักษ์ปิดไว้ตามท่ี
สาธารณะ เป็นตน้
ทองสุข ชาภกั ดี (2545 : 34) ได้เสนอแนะแนวทางสำหรบั การจัดทำแผนการสอนลกู เสอื ดงั นี้
1) แผนการสอนที่เน้นกระบวนการและการจัดการเรียนสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ต้องมี
แนวทางดำเนนิ การอย่างมีลำดับตอ่ เนอื่ งจนแล้วเสร็จตามจดุ ประสงคท์ ่ีกำหนดไว้
2) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนต้องมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เน้นให้ผู้เรียนได้
คิดคน้ และสร้างความร้ดู ้วยตนเอง สามารถทำงานร่วมกับผู้อน่ื และนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ได้
3) การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนต้องมุ่งให้ผู้เรียนลงมือกระทำด้วยตนเองและสามารถเลือก
วธิ กี ารแกป้ ัญหาดว้ ยตนเองได้
เบเดน โพเอลล์ (อ้างถึงใน ธนกร ใจดี, 2547 : 32 )ไดเ้ สนอแนะการฝึกอบรมลกู เสอื 5 ขั้น ดังนี้
ข้ันที่ 1 การเตรยี ม มีแผนกำหนดงานและอุปกรณพ์ รอ้ ม
ขน้ั ท่ี 2 การสาธิต แสดงใหเ้ ห็นการกระทำและผลทไี่ ดร้ ับ
ข้นั ท่ี 3 การอธิบาย บรรยายใหท้ ราบว่าตอ้ งทำอย่างไรโดยละเอยี ด
ข้ันท่ี 4 การลอกแบบ ลูกเสือลงมอื ทำดว้ ยตนเอง
ขน้ั ท่ี 5 การซกั ถาม ผสู้ อนถามเด็กหรือให้เดก็ ถาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2552 : 7) ได้
กำหนดใหม้ ีกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน มุ่งใหผ้ ู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพ่อื ความ
เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ท้ังร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มี
ระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกของการทำประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่
ร่วมกบั ผู้อ่นื อยา่ งมคี วามสขุ สว่ นกจิ กรรมนกั เรียนเปน็ กิจกรรมท่ีมุ่งพัฒนาความมีระเบยี บวินยั ความเป็นผู้นำ
ผตู้ ามท่ดี ี ความรบั ผิดชอบ การทำงานร่วมกัน การรจู้ ักแก้ปัญหา การตดั สินใจที่เหมาะสม ความมีเหตผุ ล การ
ช่วยเหลือแบ่งปันกัน เอื้ออาทรและสมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความ
สนใจของผู้เรียนให้ได้ปฏิบัติด้วยตนเองในทุกข้ันตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติตามแผน
ประเมินและปรับปรุงการทำงาน เน้นการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิ
ภาวะของผู้เรียน บริบทของสถานศึกษาและท้องถ่ิน กจิ กรรมนกั เรียนประกอบด้วย กิจกรรมลกู เสือ เนตร
นารี ยวุ กาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ นักศึกษาวชิ าทหาร และกิจกรรมชมุ นุม ชมรม
ส่วนการฝึกอบรมผูบ้ ังคับบัญชาลูกเสือและผู้ตรวจการลูกเสอื น้ัน ตามข้อบังคับคณะลูกเสอื แหง่ ชาติ
ว่าด้วย การปกครอง หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ พ.ศ. 2509 (สำนักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือ
แห่งชาติ, 2534 : 54) ได้กำหนดวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมไว้ เพื่อช่วยผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
ค่มู อื ปฏิบตั งิ านลกู เสือ สานกั งานลกู เสอื เขตพนื ้ ทีก่ ารศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 9
ผู้ตรวจการลูกเสือ มีความรู้กิจการลูกเสือดีข้ึน สามารถถ่ายทอดให้กับลูกเสือ ตลอดจนเข้าใจหน้าท่ีและ
ความรบั ผดิ ชอบของตนตามหลกั การของลกู เสือ โดยโครงการฝึกอบรมทส่ี มบรู ณ์ ได้แก่
1) การฝึกอบรมผ้กู ำกับ รองผู้กำกับลูกเสอื
2) การฝกึ อบรมผกู้ ำกับกลุ่มและรองผ้กู ำกบั กลมุ่ ลูกเสอื
3) การฝึกอบรมผตู้ รวจการลกู เสือ
4) การฝกึ อบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือข้นั ความรู้เบ้ืองตน้
5) การฝึกอบรมวิชาผกู้ ำกับลูกเสอื ขนั้ วูดแบดจ์
6) การฝึกอบรมวชิ าเทคนิคทางลูกเสือ
7) การฝกึ อบรมเฉพาะวชิ า เชน่ ลูกเสอื สมทุ ร และลกู เสอื อากาศ
8) การฝกึ อบรมคณะผูใ้ ห้การอบรม
ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการลูกเสือแห่งชาติว่าด้วย แผนการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
แห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ.2521 มี 2 ระดับ (สำนักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ, 2529 : 205 -
208) ได้กำหนดระดับและขน้ั การฝึกอบรมไวด้ งั นี้
ระดบั ท่ี 1 วิชาผู้กำกับลูกเสอื เพ่ือรับเครอ่ื งหมายวูดแบดจ์ 2 ท่อน แบ่งออกเปน็ 5 ขน้ั คือ
ขัน้ ท่ี 1 ขน้ั ความรทู้ วั่ ไป (General Information Course)
ขั้นที่ 2 ขั้นความรู้เบ้ืองต้น (Basic Unit Leader Training Course (B.T.C.))
ข้ันท่ี 3 ข้นั ฝึกหัดงาน (In – Service Training)
ขั้นที่ 4 ขั้นความรู้ขั้นสูง (Advanced Unit Leader Training Course (A.T.C.))
ขนั้ ท่ี 5 ขน้ั ปฏิบตั กิ ารและขน้ั ประเมินผล (Application and Evaluation)
ระดับที่ 2 การให้การฝึกอบรมแก่ผู้ท่ีผา่ นการศึกษาอบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือแล้วแบ่งออกเป็น 2
ขนั้ คอื
ขั้นที่ 1 ขั้นผู้ช่วยผู้ให้การฝึกอบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือ (Assistant Leader Trainers
Course (A.L.T.C))
ขัน้ ท่ี 2 ขั้นหัวหนา้ ผ้ใู ห้การฝกึ อบรมวชิ าผูก้ ำกบั ลูกเสือ (Leader Trainers Course
( L.T.C))
ถนอม บุญประภา (2546 : 134) กล่าวเก่ียวกับการพัฒนาตนเองของผู้กำกับลูกเสือว่า ความ
ตอ้ งการของผ้นู ำลกู เสอื ที่พึงประสงคใ์ นการเขา้ รบั การฝึกอบรมมี 5 ประการ ดงั นี้
1) ความเข้าใจในกิจการลูกเสือ (Scouting’ s Understanding Skills) ได้แก่ ความรู้ ความ
เข้าใจว่า กจิ การลกู เสอื คอื อะไร มหี ลกั การ อุดมการณ์ หรือวตั ถปุ ระสงคอ์ ย่างไร พยายามจะทำอยา่ งไร
2) มนุษยส์ ัมพันธ์ (Human Relationship Skills) เป็นเรื่องเก่ียวกับการปฏิบัติงานร่วมกบั ผู้อื่น
ทัง้ ในและนอกกองลูกเสือ สามารถตดิ ตอ่ สอ่ื สารอย่างมีประสิทธิภาพ
3) วิชาการลูกเสือ (Knowledge Skills) ได้แก่ วิชาในหลักสูตร การอยู่ค่ายพักแรม การ
เดนิ ทางสำรวจ การเดินทางไกล และกจิ กรรมเฉพาะอยา่ งท่ีจะนำไปใช้ฝกึ อบรมลูกเสอื ได้ถูกต้อง
ค่มู ือปฏิบตั งิ านลกู เสอื สานกั งานลกู เสอื เขตพนื ้ ทกี่ ารศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 10
4) การวางแผน (Planning Skills) คือ การเรียนรู้เรื่องราวเรื่องการวางแผนท้ังระยะสั้นและ
ระยะยาว สำหรับจัดทำกำหนดการฝึกอบรม การจัดทำตารางฝึกอบรมประจำสัปดาห์ ประจำเดอื น ประจำ
ภาค ประจำปี รวมท้ังการวางแผนการจัดกิจกรรมอื่นๆ เช่น การอยู่ค่ายพักแรม การเดินทางสำรวจ และ
ทักษะอ่ืนๆ
5) การนำไปใช้ (Implementing Skills) คือ การนำทักษะ 4 ประการข้างต้นไปใช้เพ่ือทำให้
กิจการลูกเสือดำเนินไปได้ เช่น การหาแหล่งประโยชน์ในการบริหารงาน การหางบประมาณ การทำ
ระเบียบตา่ งๆ การฝึกอบรมลูกเสือ การสนองความต้องการในการฝึกอบรม ซ่งึ สามารถทำได้โดยใช้วิธกี าร
ดังน้ี การฝึกฝนตนเอง การสอบถามผู้มีความรู้ การเข้ารับการฝึกอบรมในวิชาการลูกเสือ การเข้าร่วม
ประชมุ สัมมนา และการตอบคำถามจากเอกสารการฝึกอบรมเพมิ่ เติม
สรุปว่า การจัดการเรียนการสอนกิจกรรมลูกเสือเป็นกระบวนการท่ีมีข้ันตอนเพื่อสร้างความ
รับผดิ ชอบ ความมีระเบยี บวินยั ในตนเอง การตรงตอ่ เวลา ฝกึ การเป็นท้ังผูน้ ำและผู้ตามทด่ี ี กล้าแสดงออกใน
สิ่งท่ีถกู ที่ควร ให้รูจ้ ักค้นควา้ วิเคราะห์ วางแผน ปฏบิ ตั ิจริง ส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรม ความกล้าหาญ อดทน
เสียสละ ในส่วนของผู้บังคับบัญชาลูกเสือจะต้องผ่านหลักสูตรการฝึกอบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือในระดับต่างๆ
ตามประเภทลูกเสือ
วธิ กี ารจัดกจิ กรรมลูกเสอื
เบเดน โพเอลล์ (สำนักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ, 2532 : 21) ได้ใช้กลวิธีการ
ฝึกอบรมลูกเสือท่ีเรียกว่า “การเรยี นปนเล่น” ซ่ึงดูเสมือนว่าเปน็ กลวิธที ่ีเหมาะสมกบั เด็กๆ มากที่สุด โดย
ผสมผสานกิจกรรมกลางแจ้งท่มี กี ารเตรียมการไว้ล่วงหนา้ อย่างเหมาะสม
สำนักงานคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสือแห่งชาติ (2532 : 4) ได้อธบิ ายถงึ วิธกี ารจัดกจิ กรรมลูกเสือท่ี
จะก่อให้เกดิ สมั ฤทธิผลตามวัตถปุ ระสงคข์ องคณะลกู เสือแหง่ ชาติไวด้ งั น้ี
1) จัดให้มีระบบการฝึกอบรมท่ีสนุกสนาน ดึงดูดความสนใจ ก้าวหน้าโดยอาศัยคำปฎิญาณและ
กฎของลูกเสือ
2) ใหเ้ ด็กชายได้ปฏิบตั ิกิจกรรมท่ีตนถนัดในที่กลางแจ้งเป็นส่วนใหญ่และให้บำเพ็ญประโยชน์ต่อ
ผูอ้ ่นื ด้วย
3) ให้ฝึกหัดความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อ่ืนเป็นข้ันๆ และเพ่ิมการฝึกอบรมให้กว้างขวาง
ยง่ิ ขนึ้ เพือ่ วา่ จะได้เกิดความสามารถ ความเช่อื มนั่ ในตนเอง มีนิสยั ใจคอดี เป็นท่ีไวว้ างใจ สามารถในการเป็น
ผ้นู ำและปฏิบตั งิ านร่วมกบั ผ้อู ื่น
การจัดกิจกรรมลูกเสือ มีแนวทางการจัดกิจกรรมตามวิธีการลูกเสือ (Scout Method) ซ่ึงมี
องคป์ ระกอบ 7 ประการ คือ
1) คำปฏิญาณและกฎ ถือเป็นหลักเกณฑ์ที่ลูกเสือทุกคนให้คำมั่นสัญญาว่าจะปฏิบัติตามกฎ
ของลูกเสือ กฎของลูกเสือมีไว้ให้ลูกเสอื เป็นหลกั ในการปฏิบัติ ไม่ได้ “หา้ ม” ทำ หรือ “บังคับ”ให้ทำ แต่ถ้า
“ทำ” กจ็ ะทำให้เกิดผลดแี กต่ ัวเอง เปน็ คนดี ไดร้ ับการยกย่องว่าเปน็ ผมู้ ีเกียรตเิ ช่ือถือได้
ค่มู อื ปฏบิ ตั งิ านลกู เสอื สานกั งานลกู เสอื เขตพนื ้ ที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 11
2) เรียนรู้จากการกระทำ เป็นการพัฒนาส่วนบุคคล ความสำเร็จหรือไม่สำเร็จของผลงานอยู่ท่ี
การกระทำของตนเอง ทำให้มีความรู้ท่ีชัดเจน สามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ด้วยตัวเองได้และท้าทาย
ความสามารถของตนเอง
3) ระบบหมู่ เปน็ รากฐานอันแทจ้ ริงของการลูกเสือ เปน็ พน้ื ฐานในการอยูร่ ว่ มกัน การยอมรบั ซ่ึง
กันและกัน การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ การช่วยเหลือซึ่งกันและกันซ่ึงเป็นการเรียนรู้การใช้
ประชาธปิ ไตยเบอื้ งตน้
4) การใช้สัญลักษณ์ร่วมกัน ฝึกให้มีความเป็นหน่ึงในการเป็นสมาชิกลูกเสือด้วยการใช้สัญลักษณ์
ร่วมกัน ได้แก่ เครื่องแบบ เครื่องหมาย การทำความเคารพ รหัส คำปฏิญาณ กฎ คติพจน์ คำขวัญ ธง เป็นต้น
วธิ ีการนี้จะช่วยให้ผู้เรียนตระหนักและภาคภูมิใจในการเป็นสมาชิกขององค์การลูกเสือแห่งโลก ซ่ึงมีสมาชิกอยู่ทั่ว
โลกและเปน็ หนึ่งองคก์ รทม่ี ีจำนวนสมาชกิ มากท่ีสดุ ในโลก
5) การศึกษาธรรมชาติ คือ สิ่งสำคัญอันดับหน่ึงในกิจกรรมลูกเสือ ธรรมชาติอันโปร่งใสตาม
ชนบท ป่าเขา ป่าละเมาะ และพุ่มไม้ เป็นท่ปี รารถนาอยา่ งยิ่งในการทำกจิ กรรมกับธรรมชาติ การปีนเขา ต้ัง
ค่ายพักแรมในสุดสัปดาห์หรอื ตามวาระของการอยู่ค่ายพักแรมตามกฎระเบียบ เปน็ ที่เสน่หาแก่เด็กทกุ คน ถ้า
ขาดส่ิงนี้แล้วก็ไม่เรยี กว่าใช้ชีวติ แบบลูกเสือ
6) ความก้าวหนา้ ในการเข้ารว่ มกิจกรรม กิจกรรมตา่ งๆ ที่จัดให้เด็กทำ ต้องให้มคี วามก้าวหน้า
และดึงดูดใจ สร้างให้เกิดความกระตือรือร้นอยากที่จะทำ และวัตถุประสงค์ในการจัดแตล่ ะอย่างให้สัมพันธ์
กับความหลากหลายในการพัฒนาตนเอง เกมการเล่นที่สนุกสนาน รวมทั้งการแข่งขันกันก็เป็นสิ่งดึงดูดใจ
และเป็นการจูงใจท่ดี ี
7) การสนับสนุนโดยผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่เป็นผู้ที่ช้แี นะหนทางท่ีถูกต้องให้แกเ่ ด็ก เพ่ือให้เขาเกิดความ
มั่นใจในการท่ีจะตดั สินใจกระทำสิ่งใดลงไป ต่างฝา่ ยก็มีความต้องการซง่ึ กนั และกนั เดก็ ตอ้ งการให้ผ้ใู หญช่ ว่ ย
ชี้นำ ผู้ใหญ่ตอ้ งการนำพาใหไ้ ปสู่หนทางที่ดี ใหไ้ ด้รับการพัฒนาอย่างถกู ตอ้ งและดีท่สี ดุ จึงเปน็ การร่วมมือกัน
ทั้งสองฝ่าย
กรมวิชาการ( 2533 : 41) ได้กำหนดให้มีการจัดการเรียนการสอนหรือที่เรียกว่า การฝึกอบรม
ลกู เสือ ตามกระบวนการของกิจกรรมลูกเสือคอื ใหม้ ีพิธี เปดิ - ปิด ปฏิบัติจรงิ เรยี นเป็นฐานเนน้ ระบบหมู่
ซึง่ มกี ระบวนการดงั น้ี
1) พิธเี ปิดประชุมกอง มีข้นั ตอนดังนี้
1.1 กิจกรรมลกู เสือสำรอง มีพิธีแกรนดฮ์ าวล์ ชกั ธงขึน้ สวดมนต์ สงบนงิ่ ตรวจ แยก
1.2 กิจกรรมลูกเสือสามัญ สามัญรุ่นใหญ่ และวิสามัญ มพี ิธีชักธงขึ้น สวดมนต์ สงบนิ่ง
ตรวจ แยก
2) เกมหรือเพลง เป็นกิจกรรมท่ีทำให้เกิดความสนุกสนานเป็นการอบอุ่นร่างกายก่อนปฏิบัติ
กจิ กรรมอาจใช้อย่างใดอย่างหน่ึง หรือทัง้ สองอย่าง ซึ่งบางครัง้ ไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งสอดคล้องกับเน้อื หาเสมอไป
3) ปฏบิ ัติกจิ กรรม โดยใหศ้ กึ ษา ค้นคว้า วเิ คราะห์ วางแผน ปฏิบตั ิจริง เนน้ การปฏบิ ตั ิเป็นฐาน
และระบบหมู่
ค่มู ือปฏิบตั งิ านลกู เสอื สานกั งานลกู เสือเขตพนื ้ ทก่ี ารศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 12
4) การเล่าเรื่องสั้นท่ีเป็นประโยชน์ เป็นเรื่องง่ายๆ ส่งเสริมคุณธรรมต่างๆ เช่น ความสามัคคี
ความเสียสละ ความกล้าหาญ อดทน ฯลฯ
5) พธิ ปี ดิ ประชมุ กอง มีข้นั ตอนดงั น้ี
5.1 กจิ กรรมลกู เสือสำรอง มกี ารนดั หมาย ตรวจ แกรนดฮ์ าวล์ ชักธงลง เลิก
5.2 กจิ กรรมลกู เสือสามญั สามญั รนุ่ ใหญ่และวิสามัญ มีการนดั หมาย ตรวจ ชักธงลง เลกิ
สำนักงานลูกเสือโลก (อ้างถึงใน สำนักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ, 2537 : 93)ได้
กำหนดวิธแี ละเทคนิคในการฝึกอบรม เพ่ือให้ผบู้ ังคบั บัญชาลูกเสือใช้ใหเ้ หมาะสมกับประเภทการสอนและการ
ฝึกอบรม ทงั้ ต้องให้เหมาะสมกับผูเ้ ข้ารบั การฝกึ อบรมดว้ ยเทคนคิ ดังกล่าวนน้ั มี 10 วธิ ี ดงั นี้
1) การอภิปรายกล่มุ (Group Discussion)
2) การประชุมกลุ่มยอ่ ย (Buzz Group)
3) การระดมสมอง (Brainstorming)
4) การบรรยาย (Lecture)
5) การสาธติ (Demonstration)
6) การสอนแบบฐาน (Base Method)
7) การสวมบทบาท (Role Playing)
8) การแบง่ กลมุ่ เพื่อปฏบิ ตั งิ านตามโครงการ (Project Work Group)
9) การศกึ ษารายกรณี (Case Study)
10) การอภปิ รายเป็นคณะ (Panel)
ค่มู อื ปฏบิ ตั ิงานลกู เสอื สานกั งานลกู เสอื เขตพนื ้ ทก่ี ารศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 13
การตง้ั กลุ่ม กอง และแต่งตง้ั ผบู้ งั คับบญั ชาลูกเสอื
การจัดกิจกรรมลุกเสือ-เนตรนารีในโรงเรยี น ตามหลักสตู รท่ีสถานศึกษากำหนด ควรดำเนินการ
ให้เป็นไปตามข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการปกครอง หลักสูตร และวชิ าพิเศษ พ.ศ. 2509 ข้อ
64 การจัดตั้งกลมุ่ หรอื กองลกู เสือตอ้ งได้รับอนุญาตจากเลขาธิการคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ ว่า
ด้วยการ แต่งต้ังผู้บังคับบัญชาลูกเสือ พ.ศ. 2553 ผู้มีอำนาจแต่งตั้งผู้บังคับบัญชาลูกเสือ คือ เลขาธิการ
สำนักงานลูกเสอื แหง่ ชาติ หรือผ้อู ำนวยการลกู เสือจังหวัดแลว้ แตก่ รณี (ขอ้ บังคบั พ.ศ. 2553 ข้อ 7)
เอกสารประกอบการขอ
1) หนังสือขออนญุ าต
2) แบบลส.1
3) แบบลส.2
4) สำเนาวฒุ ิทางลูกเสือ หรอื สำเนาวฒุ ิบัตรผา่ นการฝกึ อบรมฯ
ขน้ั ตอนการดำเนนิ การ
1) รับสมัครเด็กท่ีเป็นลกู เสือ เนตรนารี กรอกรายละเอียดในแบบ ลส.3
- กองลูกเสือสำรอง 1 กอง มีจำนวนลูกเสือ 8-36 คน อายุต้ังแต่ 8 ปี และไม่เกิน 11 ปี
บรบิ ูรณ์ หรอื อยใู่ นระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 – 3 โดยแบ่งลูกเสือออกเปน็ หมู่ๆ อย่างน้อย 2 หมู่ และไม่
เกนิ 6 หมู่ หมหู่ นึ่งมลี ูกเสือ 4 – 6 คน รวมทง้ั นายหมู่และรองนายหมู่ลูกเสอื ด้วย
- กองลูกเสอื สามญั 1 กอง มจี ำนวนลูกเสือ 12-48 คน มีอายุต้ังแต่ 11 ปี และไม่เกิน 17
ปีบริบูรณ์ หรอื อยใู่ นระดับชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 – 6 โดยแบ่งเด็กออกเป็นหมู่ๆ ละ 2 – 6 หมู่ หมู่หน่งึ มี
ลกู เสือ 6 – 8 คน รวมทัง้ นายหมู่และรองนายหมู่ลกู เสือด้วย
- กองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ 1 กอง มีจำนวนลูกเสือ 8 – 48 คน มีอายุ 14 – 18 ปีหรือ
กำลงั เรยี นอยูใ่ นช้นั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ โดยแบ่งเด็กออกเปน็ หมๆู่ อย่างนอ้ ย 2 หมู่ และไม่เกิน 6 หมู่ หมู่
หนง่ึ มีลูกเสือ 4 – 8 คน รวมทั้งนายหมแู่ ละรองนายหมดู่ ว้ ย
- กองลูกเสือวิสามัญรุ่นใหญ่ 1 กอง มีจำนวนลูกเสืออย่างน้อย 10 คน และไม่เกิน 40
คน อายุระหว่าง 16 – 25 ปี หรือกำลังเรียนอยู่ในชัน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย หรือระดับอาชีวศึกษา หรือ
ระดับอุดมศึกษา กองลกุ เสือวิสามัญจะแบ่งออกเป็นชุดหรือหมู่ ตามความต้องการก็ได้ และควรมีลูกเสือ
วิสามญั ชุดหรือหมูล่ ะ 4 – 6 คน รวมท้งั นายหมแู่ ละรองนายหมูด่ ้วย
2) ผู้อำนวยการโรงเรียน กรอกข้อความและลงนามในแบบ ลส.1
3) ผู้สมัครเป็นผู้บังคับบัญชาลูกเสือกรอกข้อความในแบบ ลส.2 ผู้สมัคร 1 คน สามารถดำรง
ตำแหน่งทางลูกเสือได้เพียงตำแหน่งเดียวเท่าน้ัน ผู้กำกบั กองลูกเสือกองละ 1 คน และรองผู้กำกับกอง
ลกู เสืออีก 1 คน หรือหลายคนเป็นผ้ชู ่วย
คู่มอื ปฏิบตั งิ านลูกเสือ สานกั งานลูกเสือเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 4 14
4) รวบรวม แบบ ลส.1 ลส.2 พร้อมแนบสำเนาวุฒิทางลูกเสือ หรือสำเนาวุฒิบัตรผ่านการฝกึ อบรมฯ ทำ
อยา่ งละ 3 ฉบับเกบ็ ไว้ท่โี รงเรียน 1 ฉบบั สง่ สำนักงานลูกเสือเขตพ้นื ที่การศกึ ษา 2 ฉบบั
5) เจ้าหน้าท่ีลกู เสือเขตพื้นท่ีการศกึ ษา ตรวจสอบคณุ สมบัติและความถกู ต้อง และจัดทำหนังสือขอ
อนุญาต เสนอผู้อำนวยการลูกเสอื จังหวดั พจิ ารณา โดยเสนอผ่านผอู้ ำนวยการลูกเสือเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา
6) เม่ือผู้อำนวยการลูกเสือจังหวัดลงนามใบอนุญาตต้ังกลุ่ม (ลส.11) กอง (ลส.12) แต่งต้ัง
ผบู้ ังคับบัญชาลูกเสือ (ลส.13) และหนังสืออนุญาตเรียบร้อยแล้ว ส่งกลับมายัง สำนักงานลูกเสือเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาท่เี สนอขออนุญาต
7) สำนักงานลกู เสือเขตพื้นท่ีการศึกษานำสง่ โรงเรยี นที่ขออนุญาตเป็นอันเสรจ็ สิ้น
8) เมื่อได้รับอนุมัติให้ตั้งกองได้แล้ว ให้ทำพิธีเข้าประจำกองและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ตามปกติ อยา่ งตอ่ เน่ือง
คณุ สมบตั ขิ องผบู้ งั คบั บัญชาลูกเสอื
1) เป็นผูส้ ภุ าพเรยี บรอ้ ย มีความประพฤตดิ ี สมควรเป็นแบบอย่างทดี่ ีแก่เดก็
2) เปน็ ผมู้ ีศาสนา
3) เป็นผ้ไู ม่มีโรคซงึ่ เปน็ ทนี่ ่ารงั เกียจแก่สงั คม
4) เป็นผู้มีสัญชาติไทย หรือถ้าไม่มีสัญชาติไทยต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริหารลูกเสือ
แหง่ ชาติ
5) เปน็ ผ้มู ีความเข้าใจในวตั ถปุ ระสงค์ หลักการและวิธีการของลกู เสอื
6) เปน็ ผู้มอี าชีพเป็นหลักฐานไมข่ ดั ตอ่ ศีลธรรมอันดี
7) มคี ุณสมบตั ิเฉพาะในตำแหนง่ ที่ไดร้ บั แตง่ ตัง้ ดังน้ี
ตำแหน่ง ตำแหน่งทางลูกเสอื อายุ วฒุ ทิ างลูกเสอื
ผอ.โรงเรยี น ผอ.ลกู เสอื โรงเรียน มไิ ดก้ ำหนดไว้ ไดร้ บั เครือ่ งหมายวูดแบดจ์
ผอ.โรงเรยี น รักษาการในตำแหนง่ ผอ. มิไดก้ ำหนดไว้ ไมผ่ ่านการฝึกอบรม และต้องเข้ารับการ
ลกู เสือโรงเรยี น อบรมภายใน 1 ปี
รองผอ.โรงเรยี น รองผอ.ลกู เสือโรงเรยี น มไิ ดก้ ำหนดไว้ ได้รบั เครอ่ื งหมายวดู แบดจ์
ท่ไี ด้รบั
มอบหมาย ผูก้ ำกบั กล่มุ 28 ปขี ้ึนไป ไดร้ บั เครื่องหมายวดู แบดจ์
คร/ู บคุ ลากร ได้รบั เคร่ืองหมายวูดแบดจ์
คร/ู บคุ ลากร รองผกู้ ำกับกล่มุ 25 ปีข้นึ ไป ไดร้ บั เครอ่ื งหมายวดู แบดจว์ ิสามญั
ครู/บคุ ลากร วิชาผู้กำกับลกู เสือวสิ ามัญ ( B.T.C. )
ครู/บคุ ลากร ผกู้ ำกับกองลกู เสอื วสิ ามัญ 25 ปีข้นึ ไป ไดร้ ับเครือ่ งหมายวูดแบดจ์สามญั รนุ่ ใหญ่
คร/ู บคุ ลากร
รองผกู้ ำกบั กองลูกเสอื วิสามัญ 23 ปีขน้ึ ไป
ผู้กำกบั กองลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ 23 ปีขึ้นไป
คู่มือปฏบิ ตั งิ านลูกเสือ สานกั งานลกู เสือเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 4 15
ครู/บุคลากร รองผกู้ ำกบั กองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ 21 ปีขน้ึ ไป วิชาผูก้ ำกับลูกเสอื สามัญรุ่นใหญ่ ( B.T.C. )
ครู/บุคลากร ไดร้ ับเครือ่ งหมายวดู แบดจส์ ามัญ
คร/ู บุคลากร ผกู้ ำกับกองลูกเสือสามัญ 20 ปีขน้ึ ไป วชิ าผูก้ ำกับลกู เสอื สามัญ ( B.T.C. )
คร/ู บคุ ลากร ได้รบั เครอ่ื งหมายวดู แบดจ์สำรอง
คร/ู บคุ ลากร รองผูก้ ำกับกองลูกเสือสามญั 18 ปีข้ึนไป วชิ าผกู้ ำกับลูกเสอื สำรอง ( B.T.C. )
ผกู้ ำกบั กองลูกเสอื สำรอง 20 ปีขึน้ ไป
รองผ้กู ำกบั กองลูกเสือสำรอง 18 ปีขึ้นไป
หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของผบู้ ังคบั บญั ชาลูกเสอื
1) ผู้กำกบั ลกู เสือ มีหน้าทแ่ี ละความรบั ผิดชอบ ดังนี้
1.1 บังคับบัญชาฝึกอบรมและรับผิดชอบกิจการในกองลูกเสือของตน ทั้งต้องปฏิบัติตาม
คำแนะนำของผ้กู ำกบั กลุ่มลูกเสือ
1.2 เปน็ ท่ปี รกึ ษาในการประชุมนายหมูล่ ูกเสอื
1.3 รับผดิ ชอบในเรือ่ งเกี่ยวกบั วนิ ยั และการรบั จา่ ยเงนิ ในกองลูกเสือ
1.4 ฝกึ อบรมนายหมู่ลูกเสือ
2) รองผกู้ ำกบั ลูกเสอื มีหน้าท่ีเป็นผู้ชว่ ย และทำหน้าที่แทน เม่ือผู้กำกบั ลูกเสอื ไม่สามารถปฏบิ ัติ
หน้าทีไ่ ด้
3) ผ้กู ำกบั กล่มุ ลกู เสือ มหี นา้ ทแี่ ละความรับผดิ ชอบ ดงั นี้
3.1 ปรับปรุงกลุ่มลูกเสือให้เป็นกลุ่มลูกเสือท่ีสมบูรณ์เวน้ แต่มีความจำเป็นที่ไม่อาจทำเช่นนั้น
ได้
3.2 ดูแลแนะนำและประสานงานของกลมุ่ ลูกเสอื ทกุ ประเภท
3.3 ทำหน้าที่เปน็ ประธานในท่ปี ระชุมกลมุ่
3.4 เสนอแตง่ ต้งั กรรมการกลุ่ม และตนเองเป็นกรรมการร่วมด้วย
4) รองผู้กำกับกลมุ่ ลูกเสอื มีหน้าท่ีเป็นผ้ชู ่วย และทำหน้าท่ีแทนเม่ือผู้กำกับกลุ่มลูกเสือไมส่ ามารถ
ปฏบิ ตั หิ น้าทีไ่ ด้
5) ผูอ้ ำนวยการลกู เสือโรงเรยี น มีหน้าท่ีอำนวยการลูกเสือท่ัวไปในโรงเรยี น
6) รองผู้อำนวยการลกู เสือโรงเรียน มหี น้าที่เปน็ ผ้ชู ่วย และทำหน้าทีแ่ ทนเม่ือผอู้ ำนวยการลูกเสือ
โรงเรียนไมส่ ามารถปฏิบัตหิ น้าที่ได้
7) นายหมลู่ ูกเสอื มหี น้าท่ีวางแผนปฏบิ ตั ิกิจกรรมของหมู่ รวมทั้งการไปอย่คู า่ ยพักแรมโดยมรี อง
นายหม่เู ป็นผ้ชู ว่ ยผู้กำกบั ลกู เสือเป็นผูใ้ หค้ ำแนะนำ
การจดั ตงั้ กล่มุ ลกู เสอื
การจดั ตั้งกลุ่มหรือกองลูกเสือต้องได้รับอนุญาตจากเลขาธกิ ารสำนักงานคณะกรรมการบริหาร
ลกู เสอื แห่งชาติ หรอื ผูอ้ ำนวยการลกู เสือจงั หวัด แลว้ แต่กรณ(ี ข้อบงั คบั พ.ศ.2509ขอ้ 64)
การทีจ่ ะขอจัดตง้ั กลุ่มลูกเสือไดจ้ ะตอ้ งมกี องลูกเสือ ตั้งแต่ 4 กองขึ้นไป กลุ่มลูกเสือแบ่งออกได้
เป็น 2 ลักษณะ คอื
คู่มือปฏบิ ตั ิงานลกู เสือ สานกั งานลูกเสือเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 4 16
1. กลมุ่ ลูกเสอื ท่สี มบูรณ์ ประกอบด้วยกองลกู เสอื ทง้ั 4 ประเภท ได้แก่
- กองลกู เสือสำรอง 1 กอง
- กองลูกเสือสามัญ 1 กอง
- กองลกู เสอื สามัญรุน่ ใหญ่ 1 กอง
- กองลกู เสอื วสิ ามัญ 1 กอง
(ประเภทละ 1 กอง เป็นอยา่ งนอ้ ย)
2. กลุ่มลูกเสือที่ไม่สมบูรณ์ ประกอบด้วยกองลูกเสือ 2-3 ประเภท ประเภทละ 2 กอง ข้ึนไป
หรือมีประเภทเดียว 4 กองขึ้นไป เม่ือรวมกองลูกเสือ 4 กอง เป็น 1 กลุ่มแล้ว จะต้องมีผู้กำกับกลุ่ม 1
คน และมีรองผกู้ ำกับกล่มุ เปน็ ผู้ช่วย
สำหรับโรงเรยี นทมี่ ีลกู เสอื เนตรนารีมีจำนวนน้อย
- ลูกเสือ เนตรนารีสามญั /ลูกเสือ เนตรนารีสามญั รุ่นใหญ่ และลูกเสอื เนตรนารีวสิ ามัญ
ของแตล่ ะโรงเรียนจะตอ้ งแยกกองกัน แยกกองเปน็ กองลกู เสอื สามัญ/กองลกู เสอื สามญั รุน่ ใหญ่/กองลกู เสือ
วสิ ามญั หรอื กองเนตรนารีสามัญ/กองเนตรนารีสามัญรุน่ ใหญ่/กองเนตรนารวี ิสามัญ
เม่อื ขอตงั้ กองลูกเสือ กองเนตรนารี เรยี บร้อยแล้ว
- โรงเรียนไม่ตอ้ งส่งรายชอ่ื ลกู เสือ เนตรนารี ทขี่ อตง้ั กองไปยงั สพป.นครศรธี รรมราช เขต 4
- โรงเรียนต้องใหล้ กู เสือ เนตรนารี กรอกใบสมัคร ลส.3 ทุกคนแล้วเกบ็ ใบสมัครไวท้ ่ีโรงเรียน
คู่มอื ปฏบิ ตั ิงานลกู เสือ สานกั งานลูกเสือเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 4 17
ตัวอย่างหนงั สอื ขออนุญาต / แบบลส.1 / แบบลส.2
(ตวั อย่างหนังสือ)
ที่ ศธ............../ ........ โรงเรียน........................................................
..........................................................
วัน.........เดอื น......................พ.ศ.............
เรอื่ ง ขออนญุ าตจัดตง้ั กองและแตง่ ตง้ั ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสือ
เรยี น ผอู้ ำนวยการลูกเสอื เขตพ้นื ที่การศกึ ษา............................
ส่ิงท่ีส่งมาด้วย 1. ลส.1 จำนวน.........ฉบับ
2. ลส.2 จำนวน.........ฉบบั
3. สำเนาวุฒิบัตร จำนวน.........ฉบบั
ด้ว ย โรงเรีย น ..................................มี ค ว าม ป ระ ส งค์ข อ จัด ตั้ งก อ งลู ก เสื อ
(ประเภท).........................จำนวน..........กอง และขอแต่งตั้งผู้บังคับบัญชาลูกเสือ (ประเภท)................
จำนวน..........คน ดงั น้ี
1. นาย.................................เป็นผู้กำกับกองลูกเสือ (ประเภท)......................กองที่.........
2. นาย.................................เปน็ รองผูก้ ำกับกองลูกเสือ (ประเภท)..............กองที.่ ........
ฯลฯ
พร้อมนี้ได้แนบคำร้องขอจัดตั้งกอง (ลส.1) ใบสมัครขอเป็นผู้บังคับบัญชาลูกเสือ (ลส.2)
และสำเนาวฒุ ิบัตรฯ มาพรอ้ มกับหนังสือฉบับนดี้ ้วยแลว้
จึงเรียนมาเพอ่ื โปรดพิจารณาอนุญาตดว้ ย จะเปน็ พระคณุ ยิง่
ขอแสดงความนับถอื
กลมุ่ งาน..................
โทร. ....................................
โทรสาร.........................................
คู่มอื ปฏิบตั งิ านลกู เสือ สานกั งานลูกเสือเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 4 18
(ตัวอยา่ งหนังสือ)
ที่ ศธ............../ ........ โรงเรียน........................................................
..........................................................
วนั .........เดอื น......................พ.ศ.............
เรือ่ ง ขออนญุ าตจัดต้ังกลุ่ม และผู้กำกับกลมุ่ รองผู้กำกบั กลุ่ม จำนวน.........ฉบบั
จำนวน.........ฉบบั
เรยี น ผ้อู ำนวยการลกู เสือเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา............................ จำนวน.........ฉบบั
สิง่ ทีส่ ่งมาดว้ ย 1. ลส.1
2. ลส.2
3. สำเนาวุฒิบตั ร
ดว้ ยโรงเรยี น..........................................ได้มกี องลกู เสือ (ประเภท)...............ครบจำนวน 4
กอง และเพ่ือการบริหารงานลูกเสือเป็นไปตามข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ จึงขอจัดตั้งเป็นกลุ่มลูกเสือ
โดยมี ดังนี้
1. นาย...................................เปน็ ผู้กำกบั กล่มุ ลกู เสอื กลุม่ ท.่ี ........
2. นาย...................................เป็นรองผกู้ ำกับกลุ่มลูกเสือ กลมุ่ ที่.........
ฯลฯ
พร้อมน้ีได้แนบคำร้องขอจัดต้ังกลุ่ม (ลส.1) ใบสมัครขอเป็นผู้บังคับบัญชาลูกเสือ (ลส.2)
และสำเนาวฒุ บิ ัตรฯ มาพรอ้ มกับหนังสือฉบับนี้ด้วยแลว้
จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดพิจารณาอนญุ าตด้วย จะเปน็ พระคุณยงิ่
ขอแสดงความนับถือ
กลุ่มงาน..................
โทร. ....................................
โทรสาร.........................................
คู่มือปฏบิ ตั งิ านลกู เสือ สานกั งานลูกเสือเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 19
(ตวั อยา่ งหนงั สอื )
ที่ ศธ............../ ........ โรงเรียน........................................................
..........................................................
วัน.........เดือน......................พ.ศ.............
เร่ือง ขอแตง่ ตั้งผอู้ ำนวยการลกู เสือโรงเรียน และรองผอู้ ำนวยการลูกเสอื โรงเรียน
เรียน ผอู้ ำนวยการลกู เสอื เขตพื้นที่การศึกษา............................
สง่ิ ที่ส่งมาด้วย 1. ลส.2 จำนวน.........ฉบบั
2. สำเนาวุฒิบัตร จำนวน.........ฉบบั
ดว้ ยโรงเรียน..................................มีความประสงคข์ อแต่งตั้งผู้อำนวยการลูกเสือโรงเรียน
และรองผู้อำนวยการลูกเสือโรงเรียน เพื่อให้การบริหารงานลูกเสือของโรงเรียนเป็นไปตามข้อบังคับ
คณะกรรมการบริหารลกู เสือแห่งชาติ ว่าด้วยการแต่งต้ังผู้บังคบั บัญชาลูกเสือ พ.ศ. 2553 ดงั น้ี
1. นาย........................................ดำรงตำแหน่งผ้อู ำนวยการลกู เสอื โรงเรียน
2. นาย........................................ดำรงตำแหน่งรองผูอ้ ำนวยการลกู เสอื โรงเรียน
พร้อมนีไ้ ด้แนบใบสมัครขอเปน็ ผ้บู ังคับบญั ชาลกู เสอื (ลส.2) และสำเนาวุฒิบตั รฯ
มาพรอ้ มกบั หนงั สอื ฉบับนีด้ ้วยแล้ว
จงึ เรียนมาเพือ่ โปรดพจิ ารณาอนญุ าตด้วย จะเป็นพระคณุ ยิ่ง
ขอแสดงความนับถอื
กลุ่มงาน..................
โทร. ....................................
โทรสาร.........................................
คู่มอื ปฏบิ ตั ิงานลกู เสือ สานกั งานลกู เสือเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 4 20
สาหรบั เจา้ หนา้ ท่กี รอก
(ลส.1) ไดอ้ อก
ใบต้งั กล่มุ ลูกเสือ...................
ที่....................................
วนั ที่................................
ใบต้งั กล่มุ ลกู เสือ.....................
คำร้อง ท่.ี ...................................
ขอจดั ตงั้ กล่มุ ลูกเสือหรือกองลูกเสอื
วนั ท่ี................................
(ลงนาม)....................................
เขียนท.่ี ............................................
วันท่.ี ..............เดือน.........................พ.ศ. .............
ข้าพเจา้ .....................................................อายุ..........ปี สัญชาติ.......................ศาสนา ...............
อยบู่ ้านเลขท.ี่ ............................ถนน..........................................ตำบล....................................อำเภอ.........................
จังหวดั ...........................................................อาชีพ...................................................................................................
ขอยนื่ คำรอ้ งตอ่ เลขาธกิ ารคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ หรอื ผอู้ ำนวยการลกู เสอื จังหวัด
ข้อท่ี 1. ข้าพเจา้ มคี วามประสงค์ขอจดั ตั้งกลมุ่ ลูกเสือหรือกองลูกเสอื มรี ายละเอยี ดดังตอ่ ไปนี้
กองลูกเสือ (ประเภท)...........สามัญ..............กองท.ี่ ...............กลุม่ ท่ี................ หรือกล่มุ ลกู เสอื กลมุ่ ท.ี่ .....................
ขึ้นท.่ี ....................................................ถนน....................................ตำบล...............................อำเภอ........................
จังหวัด................................................โทรศัพท์.................................... ...........................โดยมีความจำนงที่จะทำการ
ฝกึ อบรมเยาวชนตามหลักการและวัตถุประสงค์ของคณะลูกเสือแห่งชาติ มีผู้สมัครเข้าเปน็ ลูกเสือถงึ วนั ย่ืนคำร้อง จำนวน
..............คน
ข้อท่ี 2. ขา้ พเจา้ ขอเสนอตั้งชอ่ื กลุ่มลูกเสือหรือกองลกู เสือวา่ ......................................................................
กลุม่ ที่.........................กอง (บอกประเภทและบอกเลขกอง)......................................................................................
เหล่า.......................เสนา....................................................................................................................... ....................
ข้อท่ี 3. ในการจดั ตงั้ กลุ่มลกู เสอื หรอื กองลูกเสอื ขนึ้ ครง้ั น้ี มีผ้นู ามตอ่ ไปนี้เป็นผบู้ งั คับบัญชาลกู เสือ คอื
.....................................................................................มวี ุฒิทางลกู เสอื .....................................................................
.....................................................................................มีวุฒทิ างลูกเสอื .....................................................................
.....................................................................................มีวุฒทิ างลกู เสือ.....................................................................
จงึ เรยี นมาเพ่อื โปรดพิจารณา
(ลงนาม)..........................................................ผู้ยื่นคำร้อง
(ผยู้ น่ื คำร้องต้องเป็นอาจารยใ์ หญห่ รอื เจา้ ของโรงเรยี น)
ความคิดเห็นของเจา้ หน้าที่ลกู เสอื ตามลำดับ
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
หมายเหตุ : คำร้องน้ีให้ทำ 3 ฉบับ เก็บไว้ท่ีกอง 1 ฉบับ อีก 2 ฉบับส่งไปท่ีสำนักงานลูกเสือเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
และจงั หวัด โดยใหถ้ อื ใบสมัครน้เี ปน็ ทะเบยี นของสำนกั งานลกู เสือเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาและจงั หวดั
คู่มือปฏิบตั งิ านลกู เสือ สานกั งานลกู เสือเขตพ้ืนท่กี ารศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 21
(ลส.2) สาหรับเจา้ หน้าที่กรอก
ไดอ้ อก
ใบต้งั ตาแหน่ง........................
เลขท่.ี .............................
(ลงนาม)...................................
คำรอ้ ง
ใบสมคั รเปน็ ผบู้ ังคับบญั ชาลูกเสือ ผตู้ รวจการลูกเสอื
กรรมการลูกเสอื และเจา้ หนา้ ท่ีลกู เสือ
เขยี นท่ี........................................................
วันท่ี.............เดอื น.....................พ.ศ.............
ขา้ พเจ้า..................................................................อายุ..........ปี สญั ชาติ.............................ศาสนา.............
อย่บู ้านเลขท่ี.............ถนน...........................ตำบล...........................อำเภอ.........................จังหวดั ...........................
อาชีพ และตำแหนง่ การงาน.....................................................................................................................................
ขอย่นื คำรอ้ งตอ่ เลขาธิการคณะกรรมการบริหารลูกเสอื แหง่ ชาติ หรอื ผ้อู ำนวยการลกู เสอื จงั หวัด
ขอ้ ที่ 1. ขา้ พเจ้ามคี วามประสงคส์ มคั รเป็น
ผกู้ ำกับลูกเสือ (ประเภท)................................กองท.่ี ........กลุ่มที่..........เหล่า........................สงั กัด...........................
รองผกู้ ำกบั ลูกเสอื (ประเภท)..........................กองท.่ี ........กลมุ่ ท.่ี .........เหล่า....................... สังกดั ............................
หรือ (ตำแหน่งอนื่ ๆ).................................................................................................................................................
ขอ้ ท่ี 2. ปจั จุบันข้าพเจา้ ยงั ไม่มวี ฒุ ทิ างลกู เสือหรอื เนตรนารีแต่อย่างใด
ขอ้ ท่ี 3. ข้าพเจา้ มวี ุฒิทางลกู เสอื ดังน้ี
ข้าพเจ้าผ่านการฝึกอบรมวิชาผูก้ ำกับลูกเสือ (ประเภท).................................ข้ัน.......................................................
รุ่นที.่ .................................ณ.......................................................................ระหว่างวนั ที่.........................................
ขอ้ ท่ี 4. ข้าพเจ้าเป็นผู้มีคุณสมบตั ติ ามขอ้ บังคับคณะลกู เสือแหง่ ชาติ และข้าพเจา้ จะยอมประพฤติตนตาม
วนิ ัย แบบธรรมเนียมและขอ้ บังคับของลกู เสือทกุ ประการ
จงึ เรียนมาเพอ่ื โปรดพิจารณา
(ลงนาม)...............................................................ผ้ยู นื่ ใบสมคั ร
ข้าพเจ้า.................................................................ต้ังบ้านเรือนอย่ทู .่ี ............................................................
................................................................................................................................................... ..............ขอรับรองว่า
ผ้สู มคั รเปน็ ผ้มู คี วามประพฤตดิ ี เป็นผู้มีศาสนา และมอี าชีพเปน็ หลักฐานเป็นผู้เสยี สละและอทุ ิศตนเพื่ออบรมเด็ก และยังไม่
มีตำแหน่งทางลูกเสอื หรือเนตรนารีแต่อย่างใด ขอ้ ความตามทผี่ ู้สมคั รกลา่ วข้างต้นนั้นถูกตอ้ งทกุ ประการ
(ลงนาม)........................................................................ผู้รับรอง
(ผรู้ บั รองตอ้ งเป็นผู้บังคบั บญั ชาลกู เสือตัง้ แตผ่ ู้กำกับกลุ่มข้นึ ไป)
ความคิดเหน็ ของเจ้าหน้าท่ีลูกเสอื ตามลำดบั
...................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................................. .....
หมายเหตุ : ใบสมัครให้ทำ ๓ ฉบับ เก็บไว้ที่กอง ๑ ฉบับ อีก ๒ ฉบับส่งไปท่ีสำนักงานลูกเสือเขตพื้นที่
การศกึ ษาและจงั หวดั โดยใหถ้ ือใบสมัครน้เี ป็นทะเบียนของสำนกั งานลกู เสือเขตพื้นทก่ี ารศึกษาและจงั หวัด
คู่มือปฏิบตั งิ านลูกเสือ สานกั งานลกู เสือเขตพ้นื ท่กี ารศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 22
(ลส.3)
ใบสมัครเข้าเป็นลูกเสือ
ขา้ พเจ้า.........................................................................บุตร................................................
เกดิ วันที่.............................เดอื น...........................พ.ศ.................สัญชาติ..............เชอ้ื ชาติ..............
ศาสนา.......................อยูบ่ า้ นเลขท่ี..............................ถนน.....................................หม่ทู .่ี ...............
ตำบล.........................................อำเภอ.................................................จงั หวดั .................................
ถา้ เป็นนกั เรยี นกำลังศึกษาอยใู่ นโรงเรียน.........................................................................................
ขอทำใบสมคั รย่ืนต่อผู้ผู้กำกับลูกเสือ (ประเภท)..................................กองที.่ ..............เหลา่ ...............
ข้าพเจ้ายินดีขอสมัครเข้าเป็นลูกเสอื ในบงั คบั บญั ชาของท่าน และยอมประพฤตติ นตามวนิ ัยและ
ขอ้ บงั คบั ลกู เสอื ทุกประการ
(ลงนาม)...............................................................ผู้สมัคร
ขา้ พเจา้ ....................................................ตง้ั บา้ นเรือนอยทู่ .ี่ ..........................................................
เปน็ ผปู้ กครองของ...........................................................................................โดยเป็น..............................
มีความยินดียอมให.้ ............................................................................ สมคั รเปน็ ลกู เสือตามใจสมัคร
ข้าพเจา้ รับรองว่า..............................................................................เป็นผู้มีความประพฤตดิ ี
ข้าพเจา้ รับจะช่วยดแู ลความประพฤติและให้ความอดุ หนนุ ตามกำลงั
(ลงนาม)........................................................ผู้ปกครอง
ใหร้ ับ............................................................เป็นลูกเสอื .........................ในกลุ่มลูกเสือ.......
กลมุ่ ท.ี่ ............................(กอง) ประเภท.............................ที.่ ...............เลขประจำตัว........................
ได้ ณ บัดน้ี
วนั ท่ี...................เดือน...............................พ.ศ..............
(ลงนาม)....................................................................................................
ผู้กำกับลกู เสอื ผ้กู ำกบั กลมุ่ ลูกเสือ ผู้อำนวยการการลกู เสอื โรงเรียน
(ตำแหน่งใดที่ไม่ใช้ให้ขีดออก)
หมายเหตุ : ใบสมคั รเขา้ เปน็ ลกู เสอื นใ้ี ช้สำหรับลูกเสอื ทุกประเภท
คู่มือปฏบิ ตั ิงานลูกเสือ สานกั งานลูกเสือเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 4 23
แผนผงั การขอจดั ต้ังกองลกู เสือในโรงเรียน
ผอู้ ำนวยการลูกเสอื โรงเรียน W.B. ( 1 )
รองผูอ้ ำนวยการลกู เสอื โรงเรยี น W.B. ( 2 )
ผู้กำกบั กลุม่ ลกู เสือโรงเรียน W.B. ( 3 )
ผู้กำกับกองที่ 1 ผ้กู ำกบั กองที่ 2 ผ้กู ำกบั กองท่ี 3 ผ้กู ำกบั กองท่ี 4
W.B. ( 4 ) W.B. ( 5 ) W.B. ( 6 ) W.B. ( 7 )
รองผกู้ ำกับกองท่ี 1 รองผกู้ ำกับกองท่ี 2 รองผ้กู ำกับกองท่ี 3 รองผกู้ ำกับกองท่ี 4
W.B. ( 8 ) W.B. ( 9 ) W.B. ( 10 ) W.B. ( 11 )
อื่น ๆ < 10 อืน่ ๆ < 10 อน่ื ๆ < 10 อ่นื ๆ < 10
รายละเอียดการดำเนนิ งาน
1. วุฒิทางลกู เสอื แต่ละตำแหน่งทจ่ี ะขอตง้ั
1.1. (1) (2) (3) ต้องไดร้ บั เคร่อื งหมาย W.B. ประเภทใดก็ได้ หรอื
A.L.T.C. / A.L.T. / L.T.C. / L.T. ประเภทใดก็ได้
1.2. (1) ถงึ (7) ถา้ ยงั ไม่ได้ W.B. ให้รกั ษาการก่อนได้ แต่ต้องเข้ารบั การฝึกอบรมใหไ้ ด้ W.B.
ภายใน 1 ปี นับแต่วนั ดำรงตำแหนง่ นี้
1.3. (4) ถงึ (7) ต้องได้รับเคร่ืองหมาย W.B. หรือ A.L.T.C. / A.L.T. / L.T.C. / L.T.
ประเภทเดยี วกับกองทขี่ อตั้ง
1.4. (8) ถึง (11) ตอ้ งผา่ นการฝึกอบรมประเภทเดียวกับกองท่ีขอตั้ง ไม่ควรเกนิ 10 คน
- ชาย B.T.C. / A.T.C. / W.B. / A.L.T.C. / A.L.T. / L.T.C. / L.T.
- หญงิ B.T.C. / A.T.C. / W.B. / A.L.T.C. / A.L.T. / L.T.C. / L.T.
คู่มือปฏบิ ตั งิ านลกู เสือ สานกั งานลูกเสือเขตพ้ืนที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 24
2. การจัดตั้งกองลูกเสอื ในโรงเรียน
2.1 ลกู เสือสำรอง
1 กอง อย่างน้อย 2 หมู่ ไม่เกิน 6 หมู่ ๆ ละ 4 – 6 คน
2.2 ลูกเสือสามญั
1 กอง อยา่ งนอ้ ย 2 หมู่ ไม่เกิน 6 หมู่ ๆ ละ 6 – 8 คน
( กรณเี หลอื เศษ หมู่ละ 10 คน กไ็ ด้ )
2.3 ลูกเสอื สามัญรุน่ ใหญ่
1 กอง อยา่ งนอ้ ย 2 หมู่ ไมเ่ กิน 6 หมู่ ๆ ละ 6 – 8 คน
(กรณเี หลอื เศษ หม่ลู ะ 10 คน กไ็ ด้ )
3. หลกั ฐานแนบคำขอ
3.1 ล.ส.1 ใบคำรอ้ งขอตงั้ กลุ่มลูกเสือหรือกองลูกเสือ
3.2 ล.ส.2 ใบสมัครขอเปน็ ผู้บังคบั บัญชาลูกเสือ
*** ดำเนินการขออนญุ าตโดยกรอกลงแบบคำขอ ต่อไปนี้ แบบละ 3 ชดุ ทำหนงั สอื นำของ
ผบู้ ังคับบญั ชา / ผู้ขออนุญาต สง่ ผ่านหน่วยงานตน้ สงั กัด ผรู้ บั รองใบ ล.ส.2 เปน็ ผ้กู ำกับกลุ่มฯ ขน้ึ ไป
(*** ผอ. โรงเรียนไม่ควรลงนามรบั รองตนเอง หรอื ครขู องท่าน เพราะท่านกำลงั ขอแตง่ ตง้ั ฯ ให้
เวน้ ไว้ รอง ผอ.สพป.ทไ่ี ด้รับมอบหมายลงนามรับรอง***)
หมายเหตุ
- คำว่า W.B. ตอ้ งแนบใบอนญุ าตให้ประดบั เคร่ืองหมาย W.B. ดว้ ย ( ถ้าแนบใบผา่ นการฝกึ
อบรม A.T.C. ไมแ่ นใ่ จวา่ ท่านผา่ นการตรวจข้ันที่ 5 หรอื ไม่ และหากผ่านการฝกึ อบรม
A.L.T.C. ( 3 ท่อน ) ใหแ้ นบใบ W.B. ดว้ ย เพราะใบผ่านการฝึกอบรม A.L.T.C. ( 3 ทอ่ น )
ไม่ไดแ้ จ้งว่าทา่ นไดร้ ับเครอ่ื งหมาย W.B. ประเภทใด
- ( 8 ) ถงึ ( 11 ) ตอ้ งแนบใบผา่ นการฝึกอบรมด้วย
คู่มอื ปฏิบตั ิงานลูกเสือ สานกั งานลูกเสือเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 4 25
การยกย่องเชดิ ชูเกยี รติลูกเสือและบคุ ลากรทางการลูกเสอื
เหรยี ญลกู เสอื สรรเสรญิ
เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไว้สำหรับพระราชทานแก่ลูกเสือ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ผู้ตรวจการ
ลกู เสอื กรรมการลูกเสอื และเจา้ หนา้ ทลี่ ูกเสอื ผูม้ ีความดีความชอบ
เหรียญลูกเสือสรรเสริญเป็นเหรียญเงินมีลักษณะกลมรี ขนาดกว้าง 2.5 เซนติเมตร ยาว 3.2
เซนติเมตร ด้านหน้าตรงกลางมีตราหน้าเสือ ประกอบวชิระ ริมขอบส่วนบนมีอักษรว่า “ ลูกเสือ ” และ
ส่วนล่างมีอักษรว่า “ เสียชีพอย่าเสียสัตย์ ” ตราหน้าเสือประกอบวชิระและตัวอักษรให้ทำเป็นลายดุน
ด้านหลังเป็นพื้นเกลี้ยงจารึกเลขหมายประจำตัวของผู้ซึ่งได้รับพระราชทานนามหน่วยลูกเสือที่สังกัดและ
วนั ท่ีพระราชทาน ทขี่ อบส่วนบนของเหรยี ญมีห่วงห้อยแพรแถบขนาดกว้าง 2.4 เซนติเมตร มรี วิ้ สดี ำกว้าง
1.2 เซนติเมตร อยู่กลาง ริมท้ังสองข้างมีริ้วสเี หลืองกวา้ ง 6 มลิ ลิเมตร ประดับที่อกเส้ือเหนือปกกระเป๋า
เบือ้ งซา้ ย
เหรยี ญลูกเสอื สรรเสรญิ มี 3 ช้นั ดังน้ี
ชน้ั ที่ 1 มีเฟลอรเ์ ดอลสี ์ ทำด้วยโลหะเงนิ ประดับท่ีแพรแถบ 2 ดอก ตามแนวนอน
ชน้ั ท่ี 2 มีเฟลอร์เดอลสี ์ ทำด้วยโลหะเงนิ ประดบั ท่แี พรแถบตรงกึง่ กลาง 1 ดอก
ช้ันท่ี 3 ไมม่ ีเฟลอร์เดอลสี ์ประดบั ท่ีแพรแถบ
เหรียญลูกเสือสรรเสริญชั้นท่ี 1 จะพระราชทานแก่ผู้มีความดีความชอบ ซ่ึงได้ทำการรักษาความ
ปลอดภัยหรือสนั ติสุขเพื่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ หรือได้ช่วยชวี ิตผู้ตกอยู่ในอันตรายทั้งน้ีโดยตนเอง
ไดฝ้ ่าอนั ตรายจนถึงขนาดท่ีสมควรได้รับพระราชทานเหรียญนี้ หรอื ตนเองไดป้ ระสบอันตรายถึงทุพพลภาพ
หรือถงึ เสียชวี ิต
เหรียญลูกเสือสรรเสริญช้ันที่ 2 จะพระราชทานแก่ผู้มีความดีความชอบซึง่ ได้ช่วยชีวิตผู้ตกอยู่ใน
อันตรายโดยตนเองได้ประสบอันตราย หรือฝา่ อนั ตรายหรอื แก่ผู้ซึ่งได้ทำความดีความชอบในข้อต่อไปนี้ทุก
ข้อรวมกันไม่นอ้ ยกวา่ 100 ครั้ง และในแตล่ ะข้อไม่นอ้ ยกวา่ 10 ครง้ั คือ
1) ชว่ ยเหลือผไู้ ดร้ ับทุกข์ยากลำบากที่ควรช่วย
2) ชว่ ยสตั วห์ รอื ปอ้ งกันผูอ้ ่ืนหรือทรพั ย์สินของผอู้ ื่นใหพ้ น้ อันตราย
3) ช่วยสัตว์ให้พน้ จากการทรมานหรอื พ้นทุกขเวทนา
4) ทำการปฐมพยาบาล
5) ชว่ ยเหลอื ราชการ
6) ชว่ ยเหลอื กจิ การอันเปน็ สาธารณกศุ ล
7) ชว่ ยเหลือผปู้ กครอง หรือช่วยเหลือเพ่ือนบา้ น
8) ชว่ ยเหลือกิจการตา่ งๆ ของโรงเรยี น หรอื ของทท่ี ำงานซงึ่ ไม่ใช่หนา้ ที่ตามปกติ
คมู่ อื ปฏิบตั ิงานลกู เสอื สานกั งานลกู เสอื เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 26
เหรียญลูกเสือสรรเสริญช้ันท่ี 3 จะพระราชทานแก่ผู้มีความดีความชอบซ่ึงได้ช่วยชีวิตผู้ตกอยู่ใน
อันตรายเพียงครั้งเดียว หรือแก่ผ้ซู ่ึงได้ทำความดีความชอบตามเกณฑ์ สำหรับเหรยี ญลูกเสือสรรเสริญชั้นท่ี
2 ทุกข้อรวมกันไมน่ อ้ ยกว่า 50 ครงั้ และในแตล่ ะข้อไมน่ ้อยกวา่ 5 ครั้ง
เหรยี ญลูกเสอื สดุดี
เหรียญลูกเสอื สดุดี ช้ันที่ 1
จะพระราชทานแก่ผู้ท่ีมีอุปการคุณต่อกิจการลูกเสือถึงขนาด หรือท่ีได้อุทิศกำลังกายหรือกำลัง
ความคิดในการประกอบกจิ ให้บังเกิดคณุ ประโยชนแ์ ก่การลูกเสอื อย่างย่งิ คอื
1) ทำหน้าท่ีฝ่ายบริหารกิจการลูกเสือ ซ่ึงได้แก่ ผู้อำนวยการลูกเสือจังหวัด เขตพื้นท่ีการศึกษา
โรงเรียน หรือหน่วยงานอ่ืน ผู้รายงานขอจะต้องระบุตำแหน่งและเวลาท่ีตนได้ทำหน้าที่ผู้บริหารกิจการ
ลูกเสือ กับแสดงให้เห็นว่านอกจากการปฏิบัติหน้าที่ตามปกติแล้ว ตนได้ประกอบกิจอันใดเป็นพิเศษ ซ่ึง
แสดงว่าเป็นการอทุ ิศกำลังกาย หรือ กำลังความคิดในการประกอบกิจให้บังเกิดคุณประโยชน์แกก่ ารลกู เสือ
เป็นอยา่ งย่ิง เช่น ได้ดำเนินการสรา้ งคา่ ยลูกเสือหรือได้ส่งเสริมให้มีการฝึกอบรมวิชาผกู้ ำกบั ลกู เสือ หรือวชิ า
ลกู เสือเป็นพิเศษ หรือได้จัดให้มกี ารชุมนมุ ลกู เสือหรือได้จัดตั้งทุนถาวรสำหรบั ส่งเสริม กจิ การลกู เสือ หรือ
ไดจ้ ดั หาอุปกรณส์ ำหรบั การฝึกอบรม ผู้บงั คับบญั ชาลกู เสือ หรือลูกเสอื (เช่น เต็นท์ หรือเคร่ืองดนตรี ฯลฯ )
เป็นต้น
2) ทำหน้าที่ฝ่ายฝึกอบรม ซึ่งได้แก่ผู้กำกับกลุ่มลูกเสือ ผู้กำกับกองลูกเสือ และคณะผู้ให้การฝึก
อบรมของเขตการศึกษา จังหวดั เขตพ้ืนท่ีการศึกษา หรือหน่วยงานอื่นสำหรับผูท้ ี่เป็นผู้กำกับกลุ่มหรือผู้
กำกับกองลูกเสอื จะตอ้ งแสดงให้เห็นว่าได้อทุ ิศตนทำงานในหน้าที่ผูใ้ ห้การฝึกอบรมเปน็ ระยะเวลานาน โดย
ประกอบกิจกรรมทด่ี ีเดน่ และได้ประโยชนแ์ กก่ ารลกู เสอื เป็นพเิ ศษส่วนผู้ท่ีอยู่ในคณะผ้ใู ห้การฝึกอบรมของ
ภาค จังหวัด เขตพื้นท่ีการศึกษา หรือหน่วยงานอื่นจะต้องระบุให้ชัดเจนว่าได้เป็นกำลังสำคัญในการ
ฝึกอบรมอะไร ท่ีไหน และเมื่อใด โดยเรียงลำดับวัน เดือน ปี ของการฝึกอบรม และจำนวนผู้เข้ารับการ
ฝกึ อบรมแตล่ ะครัง้ ดว้ ย
3) ผู้ทำหน้าท่ีสนับสนุนกิจการลูกเสือ ซ่ึงได้แก่ ผู้ตรวจการลูกเสือ เจ้าหน้าที่ลูกเสือ กรรมการ
ลูกเสือจังหวัด หรือเขตพ้ืนที่การศึกษา หรือบุคคลท่ัวไป ควรระบุกิจกรรมสำคัญที่ได้กระทำ หรือได้เป็น
กำลังสำคญั ในการประกอบกจิ อันบังเกดิ คณุ ประโยชน์แก่การลูกเสือเป็นอย่างย่ิง และถ้าเป็นการบริจาคเงิน
หรือสิ่งของ ก็ควรมีรายงานอย่างละเอียด และหลักฐานประกอบ ซ่ึงแสดงให้เห็นว่าเป็นการอุปการคุณถึง
ขนาด สมควรได้รบั การยกย่องเป็นพิเศษ
ค่มู ือปฏิบตั งิ านลกู เสอื สานกั งานลกู เสอื เขตพืน้ ทกี่ ารศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 27
เหรยี ญลกู เสือสดุดี ชั้นที่ 2
จะพระราชทานแกผ่ ู้ท่ีมอี ปุ การคุณต่อกิจการลกู เสือ ดังตอ่ ไปนี้
1) บริจาคเงินหรือทรัพย์ส่ิงของต่างๆ คร้ังเดียว หรือหลายครั้งรวมกันเป็นจำนวนไม่น้อยกว่า
100,000 บาท หรือเป็นเจ้าของโครงการ หรอื ผู้ท่ีรับผิดชอบโครงการในการหาทุนสนับสนนุ กิจการลูกเสือ
ซง่ึ อาจจะเป็นโครงการเดียวหรือหลายโครงการ รวมกันเป็นวงเงนิ ไม่น้อยกว่า 500,000 บาท ในการหา
ทุนสนับสนุนกจิ การลกู เสอื อาจจะมีผู้ให้ความชว่ ยเหลือหลายคน ในกรณีน้ี ผู้รบั ผิดชอบโครงการอาจเสนอ
ใหผ้ ูร้ ่วมงานได้รบั พระราชทานเหรยี ญลกู เสือสดุดเี ฉพาะผูท้ เี่ ปน็ กำลังสำคญั ในการหาทนุ ของโครงการน้ันๆ
2) ช่วยเหลือเป็นอย่างดีในการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ระดับท่ี 1 วิชาผู้กำกับลูกเสือข้ัน
ความรู้เบอ้ื งต้น หรอื ขน้ั ความรชู้ ้ันสูง โดยอยปู่ ระจำตลอดการฝึกอบรมไม่น้อยกว่า 50 คร้งั หรือระดับที่ 2
การให้การฝึกอบรมผ้บู ังคับบัญชาลูกเสือขั้นผู้ช่วยผู้ให้การฝกึ อบรมวิชาผูก้ ำกับลูกเสือ หรือข้ันหัวหน้าผู้ให้
การฝกึ อบรมวชิ าผกู้ ำกับลกู เสือ โดยอย่ปู ระจำตลอดการฝกึ อบรมไม่นอ้ ยกวา่ 20 ครงั้
3) ชว่ ยเหลือกิจการลกู เสอื ด้านอื่นๆ จนเกดิ ผลดีแก่การลกู เสอื ติดตอ่ กันมาไม่นอ้ ยกว่า 5 ปี และ
ในปหี นง่ึ ๆ ไมน่ อ้ ยกวา่ 10 ครั้ง หรอื ชว่ ยเหลอื และสง่ เสริมความสัมพันธ์ระหว่างคณะลกู เสอื ไทย กับคณะ
ลูกเสอื ต่างประเทศเป็นอย่างดยี ิง่
เหรียญลกู เสอื สดดุ ี ชั้นท่ี 3
จะพระราชทานแก่ผู้ท่ีมอี ุปการคณุ ตอ่ กจิ การลกู เสอื ดังต่อไปน้ี
1) บริจาคเงินหรือทรัพย์ส่ิงของต่างๆ เพียงครั้งเดียวหรือหลายคร้ังรวมกันเป็นจำนวนไมน่ ้อยกว่า
50,000 บาท หรือเป็นเจ้าของโครงการ หรือผู้ท่ีรับผิดชอบโครงการในการหาทุนสนับสนุนกิจการลูกเสือ
ซ่ึงอาจจะเป็นโครงการเดียวหรือหลายโครงการ รวมกันวงเงินไม่น้อยกว่า 250,000 บาท ในการหาทุน
สนับสนุนกิจการลูกเสืออาจจะมีผูใ้ หค้ วามชว่ ยเหลือหลายคน ในกรณีน้ี ผู้รับผิดชอบโครงการอาจเสนอให้
ผูร้ ่วมงานไดร้ บั พระราชทานเหรยี ญลูกเสือสดดุ เี ฉพาะผทู้ ่เี ป็นกำลังสำคัญในการหาทนุ ของโครงการนั้นๆ
2) ช่วยเหลือเป็นอย่างดีในการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ระดับท่ี 1 วิชาผู้กำกับลูกเสือขั้น
ความรเู้ บอ้ื งตน้ หรือขน้ั ความร้ชู ั้นสงู โดยอยูป่ ระจำตลอดการฝึกอบรมไม่น้อยกว่า 25 ครง้ั หรือระดับท่ี 2
การให้การฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือขั้นผู้ช่วยผู้ให้การฝกึ อบรมวิชาผกู้ ำกับลูกเสือ หรือขั้นหัวหน้าผู้ให้
การฝึกอบรมวชิ าผ้กู ำกบั ลกู เสือ โดยอยูป่ ระจำตลอดการฝกึ อบรมไมน่ อ้ ยกว่า 10 ครงั้
3) ช่วยเหลือเป็นอย่างดีในการฝึกอบรมวิชานายหมู่ลูกเสือ หรือวิชาลูกเสือประเภทต่างๆ โดยอยู่
ประจำตลอดการฝกึ อบรมคร้งั ละ 3 วัน ไมน่ อ้ ยกว่า 50 ครัง้
4) ชว่ ยเหลือกิจการลูกเสือด้านน้ันๆ จนเกดิ ผลดีแก่การลูกเสือติดต่อกันมาไม่น้อยกว่า 3 ปี และปี
หนึง่ ๆ ไม่น้อยกว่า 5 ครัง้ หรอื ช่วยเหลือและสง่ เสริมความสัมพันธ์ระหว่างคณะลูกเสือไทย กับคณะลูกเสือ
ตา่ งประเทศเป็นอย่างดียงิ่
คมู่ ือปฏบิ ตั งิ านลกู เสือ สานกั งานลกู เสือเขตพืน้ ท่ีการศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 28
การรับรองผลการปฏบิ ัติงาน
ผลการปฏบิ ตั ิงานในการช่วยเหลือสนับสนุนกจิ การลกู เสือทุก ๆ ด้าน ของผู้บังคบั บญั ชาลกู เสอื หรือ
บคุ คลท่วั ไป จะตอ้ งมผี ้รู ับรองเปน็ หลักฐานดงั น้ี
1) ดา้ นการฝกึ อบรม ใหผ้ อู้ ำนวยการฝึกอบรมแต่ละครั้งเป็นผูร้ ับรอง
2) ดา้ นการบรจิ าค
2.1) ส่วนกลาง ให้เลขาธิการสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ หรือกรรมการบริหารลูกเสือ
แห่งชาติ หรืออธิบดี หรือตำแหน่งท่ีเทียบเท่า หรือหัวหน้าหน่วยงานที่มีฐานะเทียบเท่ากรม หรือ
ผู้อำนวยการกอง กองลูกเสอื แล้วแต่กรณี เป็นผู้รับรอง
2.2) ส่วนภมู ภิ าค ใหผ้ ู้วา่ ราชการจังหวัด หรือผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา
หรอื นายอำเภอ แล้วแตก่ รณี เป็นผรู้ ับรอง
การเสนอขอพระราชทานเหรียญลกู เสอื สดุดี
ขอ้ ปฏบิ ัตใิ นการเสนอขอพระราชทานเหรยี ญลูกเสอื สดุดี ทั้งในส่วนกลาง และสว่ นภมู ภิ าคมีดังน้ี
ส่วนกลาง ให้อธิบดี หรือตำแหน่งที่เทียบเท่า หรือหัวหน้าหน่วยงานที่มีฐานะเทียบเท่า กรม
หรือกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ แล้วแต่กรณี รายงานการขอพระราชทานต่อเลขาธิการสำนักงาน
ลกู เสือแห่งชาติ เพ่ือเสนอไปยังประธานคณะกรรมการบริหารลกู เสือแหง่ ชาติ ตามลำดบั
ส่วนภมู ิภาค ให้ผูว้ า่ ราชการจงั หวัด หรือผู้อำนวยการสำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา แล้วแต่กรณี
รายงานการขอพระราชทานต่อพระราชทานตอ่ เลขาธิการคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสือแห่งชาติ เพ่อื เสนอ
ไปยังประธานคณะกรรมการบริหารลกู เสอื แห่งชาติ ตามลำดับ
การขอเลอ่ื นชน้ั เหรียญลกู เสือสดดุ ี
ผู้ที่จะขอเล่อื นชน้ั เหรียญลูกเสือสดุดี จะต้องมรี ะยะเวลานับจากวันที่ได้รับพระราชทาน มาแล้วไม่
นอ้ ยกวา่ 2 ปี และต้องชแ้ี จงผลการปฏิบตั งิ านใหมโ่ ดยละเอยี ด
เข็มลูกเสือบำเพ็ญประโยชน์
เข็มลูกเสือบำเพ็ญประโยชน์มีไว้สำหรับมอบให้แก่ลูกเสือเพื่อเป็นการส่งเสริมการท่ี ได้บำเพ็ญ
ประโยชน์ของลูกเสือ และยกย่องลูกเสือที่ได้บำเพ็ญประโยชน์อย่างดีเด่น เข็มลูกเสือบำเพ็ญประโยชน์มี
ลักษณะเป็นรูปกลมรีมีขนาดกวา้ ง 2.5 เซนติเมตรยาว 3.2 เซนติเมตร พื้นลงยาสีตามช้ันของเข็ม ริมขอบ
นอกเป็นสีทอง ตรงกลางมีรูปเฟลอร์เดอลีส์ทำด้วยโลหะสีทอง มีอักษรสีทองจารึกคำว่า “ลูกเสือบำเพ็ญ
ประโยชน์” โคง้ อยใู่ ต้เฟลอรเ์ ดอลสี ์
เข็มลูกเสอื บำเพญ็ ประโยชนม์ สี ามช้นั คือ ช้ันทห่ี น่ึง พ้นื สีแดง ช้ันท่ีสอง พน้ื สีขาว
ชนั้ ที่สาม พน้ื สีนำ้ เงิน
ค่มู ือปฏิบตั ิงานลกู เสือ สานกั งานลกู เสอื เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 29
เขม็ ลูกเสอื บำเพ็ญประโยชน์ชัน้ ทส่ี ามจะมอบให้แกล่ ูกเสือผูม้ คี ุณลกั ษณะครบท้ังหา้ ขอ้
ดงั ต่อไปน้ี
(1) เป็นลูกเสอื มาแล้วไม่น้อยกว่าหนงึ่ ปี
(2) บำเพญ็ ตนเปน็ ลกู เสือท่ดี ีสมควรเป็นตวั อย่างแกล่ กู เสอื อื่น ๆ
(3) ชว่ ยเหลือบิดามารดาหรอื ผู้ปกครองในกิจการต่าง ๆ เปน็ อย่างดีโดยสมำ่ เสมอ
(4) ช่วยเหลอื กจิ การลกู เสอื ของกองลูกเสือของตนเป็นอย่างดโี ดยสม่ำเสมอ
(5) บำเพญ็ ประโยชนเ์ ปน็ ท่ีประจกั ษต์ ่อโรงเรยี นของตนหรอื ต่อผอู้ ืน่ หรอื กจิ การท่เี ป็น
สาธารณประโยชน์
เขม็ ลูกเสอื บำเพญ็ ประโยชน์ชัน้ ที่สองจะมอบใหแ้ กล่ กู เสอื ผู้มีคุณลกั ษณะครบทั้งสองขอ้
ดงั ต่อไปนี้
(1) ไดร้ บั เข็มลูกเสือบำเพญ็ ประโยชนช์ ั้นทีส่ ามมาแล้วไมน่ อ้ ยกว่าหนึง่ ปี
(2) นับต้ังแต่ได้รับเข็มลูกเสือบำเพ็ญประโยชน์ชั้นที่สามมาแล้วได้บำเพ็ญตนตามคุณลักษณะที่ได้
กำหนดไว้ในการขอเข็มลูกเสือบำเพ็ญประโยชน์ชั้นที่สามข้อ (2) (3) (4) (5) และบำเพ็ญประโยชน์อย่างดี
เปน็ ทป่ี ระจกั ษต์ อ่ โรงเรยี นของตนหรอื ต่อผูอ้ นื่ หรือกจิ การทเี่ ป็นสาธารณประโยชนไ์ ม่น้อยกว่าหนง่ึ ปี
เขม็ ลูกเสอื บำเพ็ญประโยชน์ชน้ั ทีห่ น่ึงจะมอบใหแ้ ก่ลกู เสอื ผมู้ คี ณุ ลักษณะดังตอ่ ไปน้ี
(1) ได้รบั เขม็ ลกู เสอื บำเพ็ญประโยชน์ชัน้ ทส่ี องมาแล้วไม่นอ้ ยกว่าหน่งึ ปี
(2) นับแตไ่ ดร้ ับเขม็ ลูกเสอื บำเพ็ญประโยชน์ช้ันทสี่ องมาแล้วได้บำเพ็ญตนตามคณุ ลักษณะ
ทไ่ี ด้กำหนดไวใ้ นการขอเข็มลูกเสือบำเพ็ญประโยชน์ชน้ั ที่สามข้อ (2) (3) (4) (5) และบำเพ็ญประโยชน์อย่างดี
ยิ่งเป็นท่ีประจักษต์ ่อโรงเรียนของตนหรือต่อผ้อู ื่น หรือกจิ การทเ่ี ป็นสาธารณประโยชนโ์ ดยต่อเน่ืองไมน่ ้อยกว่า
หนง่ึ ปี
การขอเขม็ ลกู เสอื บำเพญ็ ประโยชน์ให้มีเกณฑจ์ ำนวนลูกเสอื ท่จี ะขอได้ ดงั นี้
(1) จำนวนลูกเสอื ตงั้ แต่สบิ สองคนข้นึ ไปแต่ไมเ่ กินหนง่ึ รอ้ ยคนให้มีสทิ ธขิ อได้หนึ่งเข็ม
(2) จำนวนลูกเสือเกินกว่าหน่ึงร้อยคน ให้มีสิทธิขอได้ในอัตราส่วนลูกเสือร้อยคนต่อหนึ่งเข็มเศษ
ตั้งแตห่ า้ สบิ คนขึน้ ไปมีสทิ ธิขอเพิ่มขึ้นอีกหนึง่ เขม็
วิธีการขอเข็มลูกเสือบำเพ็ญประโยชน์ เม่ือลูกเสือผู้ใดมีคุณลักษณะตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ให้ผู้
กำกับกองลูกเสือหรือผู้กำกับกลุ่มลูกเสือรับรองคุณลักษณะของลูกเสือข้างต้นและให้ผู้อำนวยการลูกเสือ
โรงเรยี น หรือหวั หน้าหน่วยลูกเสือน้ันเป็นผเู้ สนอขอผา่ นต้นสังกัดจนถึงผู้อำนวยการลกู เสอื จังหวัด เพื่อเสนอ
ตอ่ เลขาธิการสำนักงานลกู เสือแห่งชาติ หนว่ ยลูกเสือและสถานศกึ ษาของรัฐและเอกชนในกรงุ เทพมหานคร
ที่ขน้ึ ตรงต่อสำนักงานลกู เสอื แหง่ ชาติใหเ้ สนอตอ่ เลขาธิการสำนักงานลกู เสอื แห่งชาติ
ค่มู อื ปฏบิ ตั ิงานลกู เสือ สานกั งานลกู เสือเขตพืน้ ท่ีการศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 30
สำหรบั ขอเข็มลูกเสอื บำเพญ็ ประโยชน์ ช้ันท่ี ๑ และชน้ั ท่ี ๒
ขอเข็มชน้ั ท่ี………
โรงเรียน…………………………………………………....มจี ำนวนลกู เสอื , เนตรนารที ัง้ สิ้น……………………….คน
ได้รับเข็มลูกเสือบำเพ็ญประโยชน์ ชน้ั ท่ี ๓ เม่อื วันท่ี………………เดอื น………………………….พ.ศ………………
ได้รบั เขม็ ลูกเสือบำเพญ็ ประโยชน์ ช้นั ท่ี ๒ เม่อื วันที่……………เดือน……………….……….พ.ศ…………………
๑.ข้าพเจา้ …………………………………..นามสกุล………………..…………………….อายุ………….…………….ปี
เกิดวันที่…………..เดอื น…………………..พ.ศ…………………กำลงั ศกึ ษาช้นั ………………………
เชอ้ื ชาต…ิ ………..สญั ชาติ……………..ศาสนา………………….ปัจจบุ ันเปน็ ( ลูกเสือ , เนตรนารี )
เป็นลกู เสอื สำรองตงั้ แตว่ นั ที่……..เดอื น………..พ.ศ…….. ถงึ วนั ที่………เดือน……….พ.ศ……. …
เปน็ ลกู เสือสามญั ตั้งแต่วนั ท่ี……..เดอื น………..พ.ศ…….. ถงึ วันท่ี………เดอื น……….พ.ศ……. …
เปน็ ลกู เสือสามัญรุ่นใหญต่ ัง้ แตว่ นั ที่……..เดอื น….…..พ.ศ……. .ถงึ วนั ท่ี………เดอื น……….พ.ศ……….
เป็นลูกเสือวิสามัญต้งั แต่วันท่ี……..เดือน………..พ.ศ…….. ถึงวนั ที่………เดือน……….พ.ศ……. …
๒.ได้บำเพญ็ ตนเปน็ ลูกเสือที่ดี สมควรเป็นตวั อยา่ งแกล่ ูกเสืออื่น ๆ คอื ( ยกตัวอยา่ งประกอบ )
…………………………………………………………………………………………………………...
๓.ไดช้ ว่ ยเหลือบิดามารดา หรอื ผปู้ กครองกิจกรรมต่าง ๆ ทางบ้านเปน็ อยา่ งดโี ดยสมำ่ เสมอ
( ยกตัวอย่างประกอบ )
…………………………………………………………………………………………………………...
๔.ไดช้ ่วยเหลือกจิ การลกู เสอื ของตนเป็นอย่างดีโดยสมำ่ เสมอ (ยกตวั อย่างประกอบ )
…………………………………………………………………………………………………………...
๕.ไดบ้ ำเพญ็ ประโยชนอ์ ยา่ งดเี ด่นตอ่ โรงเรยี นของตนหรอื ผอู้ ่นื หรอื กจิ กรรมท่ีเป็นสาธารณประโยชน์
( ยกตวั อยา่ งประกอบ )
…………………………………………………………………………………………………………...
ลงชอื่ …………………………..ผ้บู ำเพ็ญประโยชน์
(…………………………………)
ข้าพเจ้า ( นาย .,นาง , นางสาว )……………………………………………………………….ขอรบั รองวา่
ลูกเสือ , เนตรนารี ท่ีมีนามข้างต้นนบี้ ำเพ็ญประโยชน์ตามขอ้ บงั คับคณะลกู เสือแห่งชาติ ฯ ( ฉบับที่ ๔ )
พ.ศ. ๒๕๒๕ จรงิ
ลงช่ือ……………………………….………….ผูร้ ับรอง
( …………………………………....)
ตำแหน่ง………………………………………….
ค่มู อื ปฏบิ ตั ิงานลกู เสือ สานกั งานลกู เสือเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 31
สำหรบั ขอเขม็ ลูกเสอื บำเพญ็ ประโยชน์ ชัน้ ที่ ๓
โรงเรยี น…………………………………………………....มีจำนวนลกู เสอื , เนตรนารีทัง้ สน้ิ …………….……….คน
๑.ขา้ พเจา้ …………………………………………….……..นามสกุล………………..…………………….อายุ……………….ปี
เกดิ วันท่ี…………..เดอื น……………………….…..พ.ศ………….…………กำลังศกึ ษาชั้น…………………….……………
เชอื้ ชาติ……..……..สญั ชาติ………………..ศาสนา…………………….ปัจจุบันเปน็ ( ลกู เสอื , เนตรนารี )
เปน็ ลูกเสอื สำรองตงั้ แตว่ ันที่…..…..เดือน……………….พ.ศ…….. ถึงวนั ที่………เดือน........……..…….พ.ศ……. …
เปน็ ลูกเสือสามญั ตั้งแตว่ นั ท่ี……....เดือน………………..พ.ศ…….. ถึงวันท่ี………เดือน……………….….พ.ศ……. …
เปน็ ลูกเสอื สามญั รุ่นใหญต่ ั้งแตว่ ันที่……..เดือน………….…..พ.ศ……..ถงึ วนั ท่ี………เดอื น……….…….พ.ศ……….
เป็นลูกเสือวสิ ามัญตัง้ แตว่ ันที่……..เดือน…………………..พ.ศ…….. ถึงวนั ท่ี………เดอื น……………….พ.ศ……. …
รวมเวลาเปน็ ลูกเสือ , เนตรนารี……………………ปี……………………เดอื น……………….วนั
๒.ได้บำเพญ็ ตนเปน็ ลูกเสอื ท่ดี ี สมควรเป็นตัวอยา่ งแก่ลกู เสอื อื่น ๆ คือ ( ยกตวั อย่างประกอบ )
………………………………………………………………………………………………………….............................................
…………………………………………………………………………………………………………..............................................
๓.ได้ช่วยเหลือบดิ ามารดา หรอื ผปู้ กครองกิจกรรมต่าง ๆ ทางบา้ นเป็นอยา่ งดีโดยสม่ำเสมอ
( ยกตัวอย่างประกอบ )
…………………………………………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………………………………………….............................................
๔.ไดช้ ่วยเหลือกจิ การลกู เสอื ของตนเปน็ อยา่ งดีโดยสม่ำเสมอ (ยกตัวอย่างประกอบ )
…………………………………………………………………………………………………………...............................................
…………………………………………………………………………………………………………...............................................
๕.ไดบ้ ำเพ็ญประโยชนอ์ ยา่ งดีเดน่ ต่อโรงเรียนของตนหรอื ผอู้ ่นื หรอื กิจกรรมทเ่ี ปน็ สาธารณประโยชน์
( ยกตัวอย่างประกอบ )
…………………………………………………………………………………………………………..............................................
ลงช่อื …………………………..ผบู้ ำเพ็ญประโยชน์
(…………………………………)
ข้าพเจา้ ( นาย .,นาง , นางสาว )………………………………………………………………….ขอรับรองวา่
ลกู เสอื , เนตรนารี ทีม่ นี ามขา้ งตน้ นีบ้ ำเพญ็ ประโยชนต์ ามข้อบังคับคณะลูกเสือแหง่ ชาติ ฯ ( ฉบบั ท่ี ๔ )
พ.ศ. ๒๕๒๕ จริง
ลงชือ่ ……………………………….………….ผู้รบั รอง
( …………………………………....)
ตำแหนง่ …………………………………………
ค่มู อื ปฏิบตั งิ านลกู เสอื สานกั งานลกู เสอื เขตพืน้ ท่ีการศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 32
รายไดแ้ ละการเงนิ ลกู เสือ
รายได้
คณะลกู เสอื แหง่ ชาตอิ าจมีรายได้ดงั ต่อไปน้ี
1) เงนิ อดุ หนุนจากงบประมาณแผน่ ดนิ
2) เงนิ ค่าบำรงุ ลูกเสอื
3) เงินผลประโยชนต์ ่างๆ ของคณะลูกเสือแห่งชาติ
4) เงนิ และทรพั ยส์ นิ ซง่ึ มีผู้อุทศิ ให้แกค่ ณะลกู เสือแหง่ ชาติ
5) รายได้อ่ืน ๆ ซึ่งไม่ขัดต่อวตั ถุประสงคข์ องคณะลูกเสอื แหง่ ชาติ
วัตถปุ ระสงคก์ ารเก็บเงินคา่ บำรุงลกู เสอื
1) เพือ่ ให้ไดเ้ งินมาใชจ้ า่ ยในกิจการลูกเสือ
2) เพื่อให้ลูกเสือ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ผู้ตรวจการลูกเสือ กรรมการลูกเสือ และเจ้าหน้าที่ลูกเสือ
ทะนุบำรุงองคก์ ารของตนดว้ ยความเสยี สละ
3) เพอื่ ฝกึ อบรมลกู เสอื ใหร้ จู้ กั ทำงานเพื่อใหไ้ ดเ้ งนิ มาดว้ ยน้ำพักนำ้ แรงของตนเองโดยสจุ รติ
การเก็บเงนิ คา่ บำรงุ ลูกเสือ
1) เงนิ ค่าบำรุงลูกเสือเก็บคนหนึ่งไม่เกินปีละ 5 บาท จะเก็บในอัตราเท่าใดให้ผู้อำนวยการลูกเสือ
จังหวัดเป็นผู้กำหนด สำหรับการลูกเสือที่สังกัดสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ให้เลขาธิการสำนักงานลูกเสือ
แหง่ ชาตเิ ปน็ ผ้กู ำหนด
2) เงินค่าบำรุงประจำปีของผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ผู้ตรวจการลูกเสือ กรรมการลูกเสือ และ
เจา้ หนา้ ท่ีลูกเสือ กำหนดปีละ 10 บาท เมอ่ื ชำระครบ 10 ปี แล้วถอื ว่าเป็นสมาชิกตลอดชีพหรือจะชำระเงิน
ค่าบำรงุ ตลอดชพี ครัง้ เดยี วเปน็ เงิน 100 บาทก็ได้
3) ระยะเวลาชำระ ให้ลูกเสือ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ผู้ตรวจการลูกเสือ กรมการลูกเสือ และ
เจา้ หนา้ ท่ลี ูกเสือ ชำระเงนิ คา่ บำรงุ ประจำปี ตามอัตราท่ีกำหนดไวใ้ หเ้ สร็จภายในเดอื นสิงหาคมของทุกปี
4) กลุ่มหรือกองลูกเสือท่ีตั้งอยู่ในโรงเรียน หรือนอกโรงเรียนให้ผู้อำนวยการโรงเรียนหรือผู้
จัดการโรงเรยี นเปน็ ผู้เก็บเงินค่าบำรุง หรือผู้บงั คับบัญชาลกู เสอื ในสงั กัดเป็นผู้เก็บเงินกไ็ ด้ ในการเก็บเงินน้ัน
จะต้องออกใบเสร็จรับเงินทุกคราว สำหรับผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ผู้ตรวจการลูกเสือ กรรมการลูกเสือ และ
เจ้าหน้าท่ีลูกเสือ ที่สังกัดสำนักงานลูกเสือจังหวัด สำนักงานลูกเสือเขตพ้ืนที่การศึกษาให้สำนักงานท่ี
เกี่ยวขอ้ งแลว้ แตก่ รณี เปน็ ผจู้ ดั เกบ็
คู่มือปฏิบตั งิ านลูกเสือ สานกั งานลูกเสือเขตพ้ืนท่ีการศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 33
การแบง่ เงินค่าบำรุง
การแบ่งเงินคา่ บำรุงลูกเสือ ใหแ้ บง่ ดงั น้ี
1) ตามข้อบังคับของสมาคมลูกเสือโลก คณะลูกเสือแห่งชาตจิ ะต้องเสียเงินค่าบำรุงให้แก่สำนักงาน
ลกู เสือโลกตามจำนวนลูกเสือ และเจา้ หน้าทลี่ ูกเสือในอตั ราคนหน่ึงปีละ 50 สตางค์ เงินยอดนใ้ี ห้กองลูกเสือ
สังกัดสำนักงานลูกเสือแห่งชาติและจังหวัดรวบรวมส่งไปยังสำนักงานลูกเสือแห่ง ชาติเพื่อใช้จ่ายในส่วนที่
เกยี่ วกับลูกเสือโลก
2) ให้แบง่ เงินคา่ บำรงุ ทเ่ี หลือจ่ายจาก 1) ขา้ งตน้ ดังน้ี
ก.กองลูกเสอื ทส่ี ังกดั สำนักงานลูกเสอื แหง่ ชาติ
1. สำหรับเปน็ คา่ ใช้จ่ายในกลุ่มหรือกองลกู เสอื รอ้ ยละ 70
2. สง่ เป็นค่าใชจ้ า่ ยในสำนกั ลูกเสอื แห่งชาติ ร้อยละ 30
ข. กองลูกเสือทีข่ ึน้ ตรงตอ่ สำนกั งานลูกเสือเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา
1. สำหรับเปน็ คา่ ใชจ้ ่ายในกลมุ่ หรือกองลูกเสือรอ้ ยละ 70
2. ส่งเป็นคา่ ใช้จ่ายในสำนักงานลกู เสอื เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา ร้อยละ 8
3. ส่งเป็นคา่ ใช้จา่ ยในสำนกั ลกู เสอื จงั หวัด ร้อยละ 8
4. ส่งเป็นค่าใชจ้ า่ ยในสำนกั งานศกึ ษาธิการภาค รอ้ ยละ 8
5. สง่ เป็นค่าใชจ้ ่ายในสำนกั ลกู เสอื แหง่ ชาติ รอ้ ยละ 6
ค. กองลูกเสือทขี่ นึ้ ตรงตอ่ เทศบาล
1. สำหรับเปน็ คา่ ใช้จ่ายในกลุม่ หรือกองลูกเสอื ร้อยละ 78
2. สำหรับเป็นคา่ ใช้จ่ายในสำนกั งานเทศบาล รอ้ ยละ 16
5. สำหรบั เป็นค่าใช้จ่ายในสำนกั ลูกเสอื แหง่ ชาติ รอ้ ยละ 6
ง. กองลูกเสือท่ีขึ้นตรงต่อจงั หวดั
1. สำหรบั เปน็ ค่าใช้จ่ายในกลมุ่ หรือกองลูกเสอื ร้อยละ 78
2. สำหรบั เป็นคา่ ใช้จา่ ยในสำนกั คณะกรรมการลูกเสือจังหวดั รอ้ ยละ 8
3. สำหรับเป็นค่าใช้จา่ ยในสำนกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค ร้อยละ 6
4. สำหรบั เปน็ ค่าใช้จ่ายในสำนักลูกเสือแหง่ ชาติ ร้อยละ 6
จ. เงินค่าบำรุงลูกเสือที่เกบ็ จากผู้บังคับบญั ชาลูกเสือผตู้ รวจการลูกเสอื กรรมการลูกเสือ และ
เจ้าหน้าที่ลูกเสือ สังกัดสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ สำนักงานลูกเสือจังหวัด สำนักงานลูกเสือเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาให้เปน็ ของสำนักงานนัน้
การหาเงินรายได้
1) กลุ่มหรือกองลูกเสืออาจหาเงินรายได้โดยชอบด้วยกฎหมายในจังหวัดของตน โดยได้รับ
อนุญาตจากเลขาธิการสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ผู้อำนวยการลูกเสือจังหวัด ผู้อำนวยการลูกเสือเขตพื้นท่ี
คู่มือปฏิบตั ิงานลกู เสือ สานกั งานลูกเสือเขตพ้นื ท่กี ารศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 34
การศึกษา แลว้ แต่กรณี คณะกรรมการลูกเสอื จังหวัด คณะกรรมการลูกเสือเขตพนื้ ที่การศึกษา อาจหาเงิน
รายไดภ้ ายในจงั หวดั ของตนเพื่อส่งเสริมกิจการลกู เสือ
2) ผูบ้ ังคับบัญชาลูกเสือและลูกเสือต้องไม่เร่ียไรเงินและไม่เข้าร่วมเร่ขายสิ่งของใด ๆ ตามท้องถนน
หรอื เกบ็ บัตรผ่านประตู หรือปฏิบัติงานใด ๆ ทไี่ ม่สมเกียรติของลูกเสอื
3) ในกรณีท่ีเห็นสมควร เลขาธิการสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ผู้อำนวยการลูกเสือจังหวัดอาจ
อนุญาตเป็นกรณีพิเศษให้ผู้บังคับบัญชาลูกเสือและลูกเสือเข้าร่วมเรี่ยไรเงิน ขายสิ่งของ หรือเก็บบัตรผ่าน
ประตเู ฉพาะรายภายในระยะเวลาที่กำหนดใหก้ ็ได้
4) สมาชิกของคณะลกู เสือแหง่ ชาติทุกคนต้องไมส่ นับสนุนหรือเกีย่ วข้องกับวิธีการหาเงินใดๆ ทข่ี ัดต่อ
กฎหมายของบ้านเมอื ง หรอื เป็นไปในทำนองสง่ เสริมใหล้ กู เสือเล่นการพนัน
5) การควบคุมเงินรายไดก้ ลมุ่ หรือกองลูกเสอื เงนิ รายไดท้ กุ ประเภททก่ี ลุม่ หรือกองลูกเสอื ไดร้ ับ
ให้มีคณะกรรมการรับผิดชอบ 3 นาย ประกอบดว้ ยผู้บังคับบัญชาลูกเสอื หรอื ครใู นโรงเรียนนั้น มีหนา้ ทเี่ ก็บ
รกั ษาและควบคุมการจ่ายเงินให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ จัดทำบัญชีรับจ่ายและประกาศรายรับรายจ่ายให้
ลูกเสือทราบทุกเดือน เดือนใดไม่มีการรับ จ่าย ก็ให้ประกาศว่าไม่มีการรับจ่าย เงินรายได้น้ีให้นำฝาก
ธนาคาร
หลักการจ่ายเงินรายไดล้ ูกเสือ
การจ่ายเงนิ รายได้ลกู เสือ ต้องจ่ายตามวัตถปุ ระสงคด์ ังต่อไปนี้
1) เพ่ือจดั หาอปุ กรณก์ ารฝึกอบรมลูกเสอื
2) เพ่อื เปน็ คา่ ใช้จ่ายในการจดั การฝกึ อบรมผ้กู ำกบั ลูกเสอื และลกู เสือ
3) เพื่อจดั พิมพ์ตำรา คู่มือ และเอกสารเก่ียวกบั การลูกเสอื
4) เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายอืน่ ๆ เกยี่ วกับกจิ การลกู เสอื
อำนาจการสงั่ จ่ายเงนิ ลกู เสือทุกประเภท
อำนาจสั่งจา่ ยเงินลูกเสอื ทกุ ประเภท ให้กำหนดดังนี้
1) ผ้กู ำกับลกู เสอื สั่งจา่ ยไดค้ รงั้ ละไม่
ผูก้ ำกบั กล่มุ ลกู เสือ เกิน 2,500 บาท
2) รองผ้อู ำนวยการลกู เสือโรงเรียน ส่ังจา่ ยไดค้ รง้ั ละไม่
รองผู้อำนวยการลกู เสอื เขตพื้นท่ีการศกึ ษา เกนิ 5,000 บาท
3) ผอู้ ำนวยการลูกเสอื โรงเรียน สั่งจ่ายได้ครง้ั ละไม่
ผอู้ ำนวยการลกู เสือเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา เกนิ 15,000 บาท
รองผอู้ ำนวยการลกู เสอื จงั หวัด
คู่มือปฏบิ ตั ิงานลูกเสือ สานกั งานลูกเสือเขตพ้ืนที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 35
4) ผูอ้ ำนวยการลกู เสอื โรงเรียน
(มีกลุม่ ลกู เสอื ทส่ี มบรู ณ)์ สั่งจา่ ยได้ครงั้ ละไม่
รองผ้ตู รวจการลูกเสือประจำ เกนิ 25,000 บาท
สำนกั ลกู เสอื แห่งชาต(ิ ผู้ตรวจการศึกษา
ภาคศึกษา) ผ้อู ำนวยการลกู เสอื จงั หวัด
5) เลขาธกิ ารสำนักงานลกู เสอื แหง่ ชาติ ส่งั จา่ ยได้คร้งั ละไมเ่ กนิ 50,000 บาท
6) รองประธานคณะกรรมการบริหารลูกเสอื แหง่ ชาติ ส่ังจา่ ยได้ครั้งละไม่เกนิ 250,000 บาท
7) ประธานคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ ส่งั จ่ายได้ครั้งละตง้ั แต่ 250,000 บาท ข้ึนไป
การควบคุมการเงิน
1) ให้เลขาธิการและเหรัญญิกคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติมีหน้าที่ควบคุม และตรวจสอบ
การเงนิ ของลูกเสือทั่วไปและให้รองผอู้ ำนวยการลูกเสือจังหวดั และรองผ้อู ำนวยการลูกเสือเขตพื้นทีก่ ารศึกษา
มีหนา้ ที่ควบคมุ และตรวจสอบการเงินของลูกเสอื ในสังกดั ใหก้ องลกู เสือท่ีสงั กัดสำนกั งานลกู เสือแห่งชาตแิ ละ
ลกู เสอื จังหวดั รายงานฐานะการเงินตามแบบคณะกรรมการบริหารลูกเสอื แหง่ ชาติ
2) กรณีทกี่ องลกู เสอื ยุบหรอื เลิกกิจการ ใหบ้ รรดาทรพั ย์สินของลกู เสือน้ันตกเป็นกรรมสทิ ธ์ิของคณะ
ลกู เสือแห่งชาติ
คู่มือปฏิบตั ิงานลกู เสือ สานกั งานลูกเสือเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 4 36
พธิ ีการลูกเสือ
พิธีการต่างๆของลูกเสือน้ันเป็นไปอย่างง่ายๆสั้นๆและด้วยจริงใจ “พิธีการ” เป็นเร่ืองทำจริง
ไมใ่ ชส่ ิ่งสมมติ ผลท่ีไดจ้ ากพธิ ีการนนั้ คอื
(1) ความมีระเบียบวินัยในตัวเอง (ความเครง่ ครัดและมกี ฎเกณฑ์ของพิธที ำให้เกดิ วินัย)
(2) ใหล้ กู เสอื ไดม้ โี อกาสระลกึ ถึงและรักษาคำมั่นสญั ญาอย่เู สมอ
(3) ทำให้เกดิ ความสมั พนั ธอ์ ย่างใกล้ชดิ ระหวา่ งผกู้ ำกับกบั ลูกเสือ
(4) ทำใหล้ ูกเสือเกิดความภาคภมู ิใจในเกียรตทิ ไี่ ด้รับในพธิ ีนนั้ ๆ
พธิ กี ารลกู เสือสำรอง
การทำแกรนด์ฮาวล์
ผู้กำกับจะตอ้ งเลือกท่ีให้เหมาะสมเสยี กอ่ น และยืนอยู่ในท่าตรง แลว้ จึงเรียกและให้ปฏิบตั ิต่อไปน้ี
(1) ผู้กำกับลูกเสือ เรียก “แพ็ค-แพ็ค-แพ็ค” (แพ็คคำท้ายให้เน้นให้หนัก) พร้อมกับสัญญาณมือ
แกว่ง รอบตวั เปน็ รูปวงกลม (มรี องผู้กำกบั ยืนอยู่นอกวงกลมและหลงั ผูก้ ำกบั )
(2) ลูกเสือสำรอง เม่ือได้ยินเสียงเรียกของผู้กำกับ ทุกคนจะต้องขานรับพร้อมกันทันทีว่า
“แพ็ค” แล้วว่ิง มาเข้าแถวเป็นรูปวงกลมเล็กล้อมรอบผู้กำกับ (นายหมู่ของหมู่บริการอยู่ตรงหน้าผู้กำกับ
จากนน้ั กเ็ รียงไปตามลำดบั ใหไ้ หลต่ ่อไหล่ชดิ กัน)
(3) ผกู้ ำกับลูกเสือผายมอื ทงั้ สองออกไปข้าง ๆ เลก็ นอ้ ย นิ้วท้งั ห้าชดิ กัน ฝา่ มอื แบหงาย (แลว้ ลดมือ
ลง เพอ่ื ตรวจดคู วามเรยี บร้อย)
(4) ลูกเสือสำรองเมื่อเห็นสัญญาณนี้ ทุกคนจับมือกันขยายออกเป็นรูปวงกลมใหญ่ จนแขนตึงจึง
ปล่อยมือ และจัดวงกลมใหเ้ รียบรอ้ ย
(5) ผู้กำกบั ลูกเสือตรวจดูเห็นว่าวงกลมเรียบร้อยดีแล้ว ใหก้ างแขนทั้งสองออกไปขา้ ง ๆ เสมอไหล่
ขนานกับพน้ื น้ิวทง้ั 5 ชดิ กัน ฝ่ามือแบหงาย แลว้ พลิกฝ่ามือคว่ำลงและงองุม้ เป็นสญั ญาณให้ลูกเสือน่ังลง
(6) ลกู เสือสำรองทุกคนนั่งลงทันทีที่ให้น่ังลงบนส้นเท้าท้ังสอง แขนทั้งสองเหยียดตรงอยู่ระหว่าง
เข่า มือทั้งสองห่างกันพอควร แบะเข่าออกเล็กน้อยนิ้วชแี้ ละนิ้วกลางทั้งสองมือเหยียดชิดกัน และแตะพื้น
นวิ้ อ่นื ๆ งอไว้ในอุ้งมือ (คือนว้ิ หัวแม่มอื กดนว้ิ นางกับนิ้วกอ้ ยไว้)
(7) ผกู้ ำกับลูกเสือพลิกฝ่ามือท้ังสองหงายขนึ้ เป็นสัญญาณให้ลูกเสือร้อง
(8) ลูกเสอื สำรองทุกคนแหงนหนา้ ร้องขึน้ พร้อมกนั ว่า “อา-เค ล่า เรา - จะ - ทำ - ดี - ท่ี - สดุ ”
พอขาดคำว่า “สุด” ให้ลูกเสือทุกคนกระโดดยืนขึ้น เท้าท้งั สองชิดติดกนั พร้อมกับยกมือทั้งสองที่อย่ใู นท่า
นัง่ ให้ไวเ้ หนอื หแู ละชิดหู
(9) นายหมู่ลกู เสอื ซ่ึงทำหนา้ ทีเ่ ปน็ หมบู่ ริการในวนั น้ัน (ท่หี ันหน้าตรงกบั ผกู้ ำกับ) จะรอ้ งขึน้ ว่า
“จงทำดี- จงทำดี - จงทำดี” การร้อง ให้หันหน้าไปทางซ้าย - ตรงหน้า - ขวา ทีละครั้ง (เวลาร้องไม่ต้อง
ผงกศีรษะ)
คู่มอื ปฏิบตั งิ านลูกเสือ สานกั งานลกู เสือเขตพ้นื ท่ีการศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 37
(10) เมอื่ ส้ินคำทสี่ ามแล้ว ใหล้ กู เสือทกุ คนลดมอื ซา้ ยลงมาแนบลำตัวอยา่ งวอ่ งไว (มอื แบออก) ส่วน
มอื ขวาลดลงมาทำท่าวันทยหัตถ์ แล้วร้องข้ึนพร้อมกันว่า “เราจะทำดี - จะทำดี - จะทำดี”ขณะทลี่ ูกเสือ
ร้อง ให้ผู้กำกับทำวันทยหัตถ์ตามแบบลูกเสือสำรอง (สองน้ิว) เป็นการรับเคารพของลูกเสือ และอาจจะ
กลา่ วคำขอบใจหรือคำอื่นใดท่สี ัน้ ๆ กไ็ ด้ รองผกู้ ำกบั อนื่ ท่ีอยู่นอกวงกลมอยู่ในทา่ ตรง
พธิ ีเปิดประชมุ กองลกู เสอื สำรอง
ให้ปฏบิ ัติดงั ตอ่ ไปน้ี (แกรนด์ฮาวล์ - ชกั ธงขึน้ - สวดมนต์ - สงบนงิ่ – ตรวจแยก)
(1) แกรนด์ฮาวล์ - ผู้กำกับยืนอย่หู นา้ เสาธง ห่างจากเสาธงพอสมควร เรียกลูกเสอื ทำแกรนด์ฮาวล์
มรี องผู้กำกบั ยนื อยดู่ า้ นหลังผกู้ ำกบั และนอกวงกลม หลังจากทำแกรนดฮ์ าวล์ ลกู เสือทกุ คนอยใู่ นทา่ ตรง
(2) ชักธงขึ้น - ให้จัดลูกเสือที่เป็นหมู่บริการหรือทำหน้าที่หมู่บริการ 2 คน เป็นผู้ชักธง คือ
ให้เดินเข้าไปห่างจากเสาธงประมาณ 3 ก้าว ท้ังสองทำวันทยหัตถ์ แล้วคนหนึ่งก้าวไปข้างหน้า 2 ก้าว
เพื่อแก้เชือกที่ผูกธงออก แล้วถอยหลังมาตามเดิม สองคนช่วยกันชักธง (ให้ผืนธงอยู่ด้านขวาของผู้ชัก)
ผู้กำกับเป็นผู้ส่ังทำความเคารพโดยออกคำสั่ง “แพ็ค - วันทยหัตถ์”(คำส่ังวันทยหัตถ์น้ีไม่ใช่คำบอกแบ่ง
ว่า “วันทย - หัตถ์” แต่ เป็นคำบอกรวดว่า “วันทยหัตถ”์ ) ลูกเสือในวงกลมท้ังหมดรวมทั้งผู้กำกบั และรอง
ผู้กำกับอ่นื ๆ ทำวนั ทยหตั ถพ์ รอ้ มกัน ผ้บู ังคับบัญชาลูกเสือทำวันทยหัตถ์ 3 น้วิ หมู่บริการนำร้องเพลงชาติ
พอธงชาติข้ึนยอดเสาแล้ว คนหนึ่งเดินเข้าไปผูกเชือกธง อีกคนหนึ่งคงยืนอยู่ในท่าตรง (ไม่ต้องทำ
วันทยหัตถ์) เมื่อผูกเชือกเรียบร้อยแล้ว ให้ถอยหลัง 2 ก้าว มาหาคนที่กำลังยืนรออยู่ ท้ังสองคนทำ
วนั ทยหัตถ์ - ลดมือลง (ขณะนี้แถวในวงกลมทุกคนยังอยู่ในท่าวันทยหัตถ์) วิ่งกลับไปเข้าที่ของตน แล้วทำ
วันทยหัตถ์เหมือนลูกเสือในแถว ผู้กำกับสั่งว่า “มือลง” ทุกคน จึงลดมือลงพร้อมกัน ส่วนผู้กำกับและ
ผู้บงั คับบญั ชาลกู เสอื อื่น ๆ ใหล้ ดมือลงพรอ้ มกับลกู เสือคนท่ีชกั ธง (กอ่ นวิง่ กลบั ไปเขา้ ที่)
(3) สวดมนต์ - พอลดมือลงแล้ว ทุกคนอย่ใู นทา่ ตรง แล้วถอดหมวกเตรียมตัวสวดมนต์ หมบู่ ริการ
นำสวดมนต์
(4) สงบนิ่ง - เม่ือสวดมนต์จบแลว้ ทุกคนสงบนิง่
(5) ตรวจ - การตรวจในตอนน้ีจะตรวจอะไรก็ได้ เช่น เครื่องแบบ เล็บ ฟัน ความสะอาดอื่น ๆ
(ผ้กู ำกับ เป็นผู้สั่งก่อนจะให้ตรวจอะไร) แต่การตรวจในตอนปิดน้ัน ให้ตรวจเครื่องแบบอย่างเดียว เพราะ
เหตุว่าลูกเสือเรียนมาเป็นเวลานานแล้ว เคร่ืองแต่งกายย่อมไม่เรียบร้อย และจะต้องแต่งเคร่ืองแบบกลับ
บา้ น ผา่ นทชี่ มุ นุมชนหลายแห่งถ้าไมเ่ รยี บร้อยอาจจะนำความเสื่อมเสียมาสู่กองลกู เสอื ของตนได้
วิธีตรวจ ตามปกติผู้กำกับจะให้รองผู้กำกับเป็นผู้ตรวจ แต่บางกรณีผู้กำกับไม่อยู่หรือมีน้อย ผู้
กำกับจะให้นายหมู่ตรวจแทนก็ได้ ถ้ารองผู้กำกับตรวจ รองผู้กำกับท่ีจะไปตรวจนั้น ต้องทำความเคารพ
(วันทยหัตถ์) ผู้กำกับเสียก่อนแล้วจึงไปตรวจหมู่ลูกเสือ พอไปถึงหน้าหมู่ลูกเสือที่จะรับตรวจ นายหมู่สั่ง
ลกู เสือในหมู่ของตนวา่ “หมู่สี...... ตรง” ลูกเสอื ทุกคนตรง นายหมู่คนเดียวทำวันทยหตั ถ์ แล้วลดมือลงก้าว
ไปข้างหน้า 1 ก้าว ทำวนั ทยหัตถ์ แล้วรายงานว่า “หมู่สี..... พรอ้ มท่ีจะรับตรวจแล้วครับ/ค่ะ”เม่ือรายงาน
จบ ลดมือลงถอยหลังเขา้ ท่ีเดิม ผ้ตู รวจจะตรวจตัวนายหมกู่ อ่ น แลว้ จงึ ตรวจลกู หมู่ต่อไป ขณะที่ตรวจลกู หมู่
คู่มอื ปฏิบตั งิ านลูกเสือ สานกั งานลกู เสือเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 38
น้ัน ใหน้ ายหมู่ตามไปดว้ ย เพือ่ จะไดท้ ราบถึง ข้อบกพรอ่ งของลูกหมู่ เมอ่ื ตรวจครบทกุ คนแล้ว นายหม่กู ลับ
เข้าที่ ทำวันทยหัตถ์ผู้ตรวจอีกคร้ังหน่ึง จากน้ันนายหมู่จึงส่งั ลูกหมู่พัก รองผู้กำกับทไี่ ปตรวจจะรายงานผล
การตรวจใหผ้ ู้กำกับทราบ คนไหนตรวจเสรจ็ ก่อน กใ็ ห้รายงานก่อนโดยไม่ตอ้ งรอกนั ถ้านายหมู่ตรวจเม่อื ได้
ยนิ คำสัง่ ผู้กำกับสัง่ ว่า“นายหมตู่ รวจ” ให้รองนายหมวู่ งิ่ อ้อมดา้ นหลังหมู่ของตนไปยนื แทนท่นี ายหมแู่ ละทำ
หน้าทเ่ี สมือนนายหมู่ ส่วนนายหมู่ให้ก้าวออกมาข้างหน้าแถวของตน และทำหน้าที่เสมือนรองผู้กำกับ (วิธี
ตรวจก็เช่นเดียวกบั รองผู้กำกับตรวจ) และเมื่อตรวจเสรจ็ แลว้ ใหย้ ืนรออยู่ก่อน จนเห็นว่าทุกหมู่ตรวจเสร็จ
เรียบร้อยแล้ว จึงว่ิงไปเข้าแถวหน้ากระดานหน้าผ้กู ำกับ (นายหมู่บริการอยู่หัวแถว) เพ่ือรายงานผลการ
ตรวจ การรายงานให้รายงานทีละคนจากหัวแถวก่อน คนไหนจะรายงานให้ก้าวออกไปข้างหน้า 1ก้าว
พร้อมกับทำวันทยหัตถ์แล้วรายงานผลการตรวจเสร็จแล้วลดมือลงถอยเข้าที่จนครบทุกคน แล้วผู้กำกับจึง
ส่งั เขา้ ท่ี เมือ่ นายหมวู่ ่ิงมาถงึ ให้รองนายหมู่ว่ิงออ้ มด้านหลังกลับเข้าทต่ี ามเดมิ
จากนัน้ ผู้กำกับอาจจะพูดอะไรอีกเล็กน้อยกไ็ ด้ แลว้ สงั่ แถวแยก โดยออกคำสง่ั วา่ “แพ็ค-แยก” ให้
ลูกเสือทุกคนทำขวาหนั แลว้ แยกยา้ ยกันไป
พิธีปดิ ประชมุ กองลูกเสือสำรอง
ให้ปฏิบตั ิดังตอ่ ไปนี้ (นัดหมาย - ตรวจ(เครื่องแบบ) - แกรนด์ฮาวล์ – ชักธงลง – เลกิ )
(1) นัดหมาย– เม่ือผ้กู ำกับไดเ้ รยี ก “แพ็ค-แพ็ค-แพ็ค” ใหล้ กู เสือสำรองได้เข้ามาอยูใ่ นวงกลมเล็ก
แลว้ ผ้กู ำกบั จะนัดหมาย สง่ั การ หรือแนะนำตกั เตือนเล็กๆ นอ้ ยๆ เสียก่อน ท้ังนเ้ี พ่ือให้การฝกึ อบรมในครั้ง
ตอ่ ไปไดส้ มบรู ณแ์ ละไดผ้ ลดียง่ิ ขึน้
(2) ตรวจ-การตรวจในตอนเลิกประชุมกองน้ี จะเป็นการตรวจความเรียบร้อยของเคร่ืองแบบ
เท่านั้น (รายละเอียดไดก้ ล่าวไวใ้ นเร่อื งของการตรวจในตอนเปิดประชมุ กองขา้ งตน้ แลว้ )
(3) แกรนดฮ์ าวล์ – ปฏบิ ัตเิ ช่นเดียวกบั ในตอนเปดิ ประชุมกอง
(4) ชกั ธงลง – ปฏิบัตเิ ช่นเดียวกับในตอนเปิดประชุมกอง แต่ไม่ต้องร้องเพลงชาติ และไม่ต้องเป่า
นกหวดี
(5) เลิก – เมอ่ื ชักธงลงแลว้ ผู้ชกั ธงถอยเขา้ ท่ีเสรจ็ เรยี บรอ้ ย ผกู้ ำกบั สง่ั “มือลง” หมดทกุ คนแลว้
ผู้กำกับสั่ง“แพ็ค-เลิก” ลูกเสือทุกคนทำวนั ทยหัตถ์ต่อผู้กำกับ (ผู้กำกับทำวนั ทยหัตถ์ตอบ) แล้วทำขวาหัน
แยกย้ายกนั กลับได้
หมายเหตุ การตรวจหมูล่ กู เสอื สำรอง ทั้งในตอนเปิดและปิดประชุมกอง เปน็ การช่วยใหก้ องลกู เสอื สำรอง
มีมาตรฐานดีขึ้น การตรวจนับว่าเป็น “บันไดทอง” ที่จะนำให้เด็กไปสู่ความเป็นผมู้ ีระเบียบวินยั เราจะพบ
สิ่งท่ีดีและส่ิงบกพรอ่ งในตัวเด็กไปพรอ้ มกัน เม่ือได้รับรายงานการตรวจแล้ว ผู้กำกับควรยกย่องในสิ่งที่เด็ก
ทำได้ดีและควรช้ขี อ้ บกพร่องดว้ ย เพอ่ื ให้เด็กได้ปรบั ปรงุ ตวั เองให้ดีขึ้นในคราวต่อไป
ขอ้ ควรจำที่สำคัญของผู้กำกับอยา่ งหนงึ่ กค็ อื กอ่ นท่ีผูก้ ำกบั จะทำการตรวจเด็ก ผกู้ ำกบั ตอ้ งตรวจดู
ตวั เองให้เรียบร้อยเสยี ก่อนวา่ ไดแ้ ตง่ เครือ่ งแบบถกู ต้องสะอาดเรยี บร้อยไมม่ ขี ้อบกพรอ่ งใดๆ
คู่มือปฏบิ ตั งิ านลูกเสือ สานกั งานลกู เสือเขตพ้ืนท่ีการศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 39
พิธเี ขา้ ประจำกองลกู เสอื สำรอง
ในพิธีเขา้ ประจำกองลกู เสอื สำรอง หรอื เรยี กว่าพธิ ีปฏญิ าณตน หรือเรียกว่าพิธีต้อนรับลกู เสอื ใหม่
น้นั ให้เปน็ หนา้ ทข่ี องกองลกู เสอื ต่างกองต่างจดั ทำ มีอยู่ 2 วิธี คือ
ก. มกี องลกู เสืออยู่ก่อนแลว้
(1) กองลูกเสือสำรอง ทำรปู วงกลมใหญ่
(2) หมวกที่ตดิ เครอื่ งหมายลูกเสือสำรองแล้ว กับเครอื่ งหมายลูกเสอื สำรองทจ่ี ะติดเหนือกระเปา๋
เสอื้ อยูท่ ี่ผู้กำกบั
(3) ธงประจำกอง (ถา้ มี) ให้รองผูก้ ำกับถือไว้ในทา่ ตรงนอกวงกลม
(4) ลูกเสือใหม่อยูน่ อกวงกลม (แต่งเครือ่ งแบบครบ เวน้ แตเ่ ครอ่ื งหมายลกู เสอื สำรองท่จี ะติด
กระเป๋าเส้อื กับหมวกอยูท่ ผ่ี ู้กำกับ) ด้านหลังของหมทู่ ี่ตนจะเข้าไปอยู่
(5) ผู้กำกบั เรียกลูกเสอื ใหม่เข้ามาในวงกลม หนา้ ผู้กำกับ (หากหลายคนใหเ้ ขา้ แถวหนา้ กระดาน)
(6) ผู้กำกับสอบถามลกู เสือใหม่ ดังน้ี
ผู้กำกบั “เจา้ ตอ้ งการเปน็ ลูกเสือสำรองใชไ่ หม”
ลูกเสอื ใหม่ “ใช่ครบั ”
ผกู้ ำกบั “เจา้ เขา้ ใจกฎ คำปฏิญาณ การทำความเคารพ และการทำแกรนดฮ์ าวล์
หรือไม่”
ลูกเสอื ใหม่ “ขา้ เข้าใจและปฏบิ ัติได้”
ผกู้ ำกับ “กฎมวี า่ อยา่ งไร”
ลกู เสอื ใหม่ “ขอ้ 1 ลูกเสือสำรองทำตามลูกเสอื รุ่นพี่
ขอ้ 2 ลกู เสือสำรองไม่ทำตามใจตนเอง”
ผกู้ ำกบั “ถา้ เชน่ นน้ั จะให้เชือ่ ได้หรอื ไมว่ า่
ข้อ 1 เจา้ จะจงรกั ภักดตี ่อชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์
ขอ้ 2 เจ้าจะยึดมน่ั ในกฎของลูกเสอื สำรอง และบำเพ็ญ
ประโยชนต์ อ่ ผู้อ่ืนทุกวัน”
ลกู เสอื ใหม่ ทำวนั ทยหัตถ์ “ข้าสัญญาว่า
ข้อ 1 ขา้ จะจงรกั ภกั ดตี ่อชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์
ข้อ 2 ขา้ จะยดึ ม่นั ในกฎของลกู เสอื สำรอง และบำเพ็ญประโยชน์
ตอ่ ผู้อ่นื ทกุ วนั ”
ผู้กำกับ “เจา้ จงรกั ษาคำมน่ั สญั ญาของเจ้าไว้ใหม้ นั่ ตอ่ ไป บัดน้ีเจ้าไดเ้ ขา้ เปน็
ลกู เสอื สำรองและเปน็ สมาชิกผู้หนึ่งของคณะพน่ี ้องลูกเสอื แห่งโลก
อันยง่ิ ใหญ่แลว้ ”
(7) ผู้กำกบั มอบเคร่ืองหมายลกู เสอื สำรองสำหรบั ตดิ กระเป๋าและมอบหมวกให้ลูกเสอื รบั มาสวม
เอง ลูกเสอื ทำวนั ทยหัตถ์และลดมือลง แลว้ สัมผัสมอื กับผ้กู ำกับ
ในกรณีท่ีผกู้ ำกับกลุม่ เป็นประธาน หรอื เชิญผู้อน่ื เปน็ ประธาน กค็ วรใหท้ ำหน้าท่แี ทนผ้กู ำกับตาม
คู่มอื ปฏิบตั ิงานลูกเสือ สานกั งานลกู เสือเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 4 40
ข้อ 7 น้ี
(8) เสร็จแลว้ ลกู เสอื ใหม่ทำกลับหลงั หนั ทำความเคารพลกู เสอื เกา่ ด้วยวนั ทยหัตถ์ ลูกเสอื เก่ารบั
การเคารพด้วยทา่ วนั ทยหัตถ์เช่นกัน แล้วลดมือลงพรอ้ มกนั (โดยไมต่ อ้ งส่งั )
(9) ผู้กำกบั สงั่ ลูกเสอื ใหมเ่ ข้าประจำหมู่ โดยสั่งว่า “ลูกเสือใหม่เขา้ ประจำหมู่-วง่ิ ” ลูกเสือใหม่ว่ิง
เขา้ ประจำหมขู่ องตน(ซ่งึ จัดแบง่ ไวเ้ รียบร้อยแลว้ )
(10) เสรจ็ สิ้นดว้ ยการทำแกรนดฮ์ าวล์
ข. ยงั ไม่มกี องลกู เสือ
(1) ลูกเสอื ใหม่ทั้งหมดเขา้ แถวเปน็ แถวตอนหมูห่ น้าผู้กำกบั แตง่ เครอื่ งแบบครบเว้นแตเ่ ครอื่ งหมาย
ลูกเสือสำรองที่จะติดเหนือกระเปา๋ เสื้อกับหมวกอยู่ทผี่ กู้ ำกับ
(2) หมวกทีต่ ดิ เครอื่ งหมายลกู เสอื สำรองแล้ว กบั เคร่อื งหมายลกู เสือสำรองท่จี ะติดกระเป๋าเสอ้ื อยู่
ทผี่ ู้กำกบั
(3) ธงประจำกอง (ถ้ามี) ให้รองผู้กำกบั ถือไว้ในท่าตรงนอกวงกลม
(4) ผู้กำกบั เรยี กลูกเสอื ใหม่ออกมายนื หนา้ ผกู้ ำกับครัง้ ละหมู่ โดยออกคำสัง่ ว่า “หมู่สี...”ให้หมู่สนี ั้น
ออกมายนื เป็นแถวหน้ากระดาน
(5) ผกู้ ำกบั สอบถามลูกเสือใหม่ (เหมอื นอยา่ งมกี องลกู เสืออยกู่ ่อนแลว้ )
(6) เม่ือผูก้ ำกับหรือประธานมอบเครอื่ งหมายและหมวก และสมั ผัสมือกบั ลูกเสือใหม่แลว้ ให้
ลกู เสือใหม่ไปเขา้ แถวเตรียมเปน็ รปู วงกลม (หมายความวา่ เมอ่ื ทกุ หมเู่ ขา้ แถวเรยี บร้อยแลว้ จะเปน็ รปู
วงกลมล้อมรอบผกู้ ำกับ โดยออกคำสงั่ วา่ “ลูกเสอื ใหม่เขา้ ประจำท่ี-วิง่ ” ลูกเสือใหมว่ ่งิ ไปเขา้ ท่ขี องตน ซึ่งผู้
กำกับนดั หมายไว้กอ่ นแลว้ )
(7) เสร็จส้ินดว้ ยการทำแกรนด์ฮาวล์
หมายเหตุ 1. ขณะท่ีลกู เสอื กล่าวคำปฏิญาณตอ่ หน้าผู้กำกับน้ัน ผู้กำกบั ทำวนั ทยหัตถ์ (2 น้วิ ) ส่วนรองผู้
กำกบั หรอื ผู้บงั คบั บญั ชาลกู เสอื อืน่ ๆทำรหัสลูกเสอื 3 นวิ้
2. ลูกเสอื ผู้ใดได้กระทำพธิ ีปฏญิ าณตนแลว้ ขณะท่ีลกู เสอื ใหม่กลา่ วคำปฏญิ าณนน้ั ต้องทำ
วนั ทยหัตถ์ด้วย ลูกเสอื ผู้ใดยงั ไม่ได้ปฏิญาณตนไมต่ อ้ งทำ คงยนื ตรงเฉยๆ
3. การส่ังใหแ้ ถวแยก หมายความวา่ แยกไปเรยี นวชิ าอ่ืนก่อนใหส้ ง่ั วา่ “แพ็ค-แยก”ลูกเสือทำ
ขวาหนั แลว้ แยกไป
4. การสั่งใหเ้ ลิกแถว หมายความว่า เลกิ จากการเรียนแลว้ หรือปิดการประชมุ ให้สั่งว่า “แพ็ค-
เลกิ ” ลกู เสือทำวันทยหตั ถ์ แลว้ ขวาหนั เลกิ แถวไป
พิธีประดับดาวดวงท่ี 1
ให้ปฏิบัตดิ งั ตอ่ ไปน้ี
(1) กองลกู เสอื สำรองทำเปน็ รปู วงกลมใหญ่
(2) ผู้กำกบั ลูกเสือสำรองอย่กู ลางวงกลม มรี องผกู้ ำกับยืนอยนู่ อกวงกลมหลงั ผ้กู ำกับ
(3) หมวกท่ีติดดาวดวงท่ี ๑ แล้วอย่ทู ีผ่ กู้ ำกับ
คู่มือปฏบิ ตั งิ านลูกเสือ สานกั งานลกู เสือเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 4 41
(4) ผูก้ ำกบั ประกาศใหก้ องรวู้ า่ จะกระทำพธิ ปี ระดับดาวดวงท่ี ๑
(5) ผกู้ ำกบั เรยี กลูกเสือที่จะไดด้ าวดวงท่ี ๑ มายืนหน้าผู้กำกบั (ซง่ึ ขณะนนั้ ต่างกย็ นื อยูใ่ นหมู่
ของตน)
(6) ผู้กำกบั อธิบายความหมายของดาวดวงที่ ๑ ใหล้ กู เสือทจ่ี ะไดร้ บั ทราบ แลว้ สง่ั สอน
(7) ผกู้ ำกับมอบหมวกใหล้ กู เสือ ลกู เสือรบั ไปสวมเองแล้วทำวนั ทยหัตถผ์ กู้ ำกบั
(8) ผู้กำกบั แสดงความยินดีดว้ ยการสมั ผสั มือกับลูกเสือ
(9) ลูกเสือทไ่ี ดร้ บั ทำกลบั หลังหัน ว่ิงเขา้ ประจำหมูข่ องตน
(10) ลูกเสอื ในหม่ขู องตน (เฉพาะในหมูท่ ลี่ ูกเสือได้รบั ดาวเท่านัน้ ) ต่างก็มาแสดงความยนิ ดี
ด้วยการสัมผัสมือเสร็จพธิ ี ไม่มแี กรนดฮ์ าวล์
พิธปี ระดบั ดาวดวงท่ี 2
ใหป้ ฏิบัตดิ งั ตอ่ ไปน้ี
(1) กองลกู เสอื สำรองทำเปน็ รูปวงกลมใหญ่
(2) ผกู้ ำกบั ลูกเสือสำรองอยกู่ ลางวงกลม มีรองผู้กำกับยนื อยู่นอกวงกลมหลังผู้กำกบั
(3) หมวกท่ีติดดาวดวงที่ 3 แลว้ อยทู่ ี่ผกู้ ำกับ
(4) ลูกเสือทจี่ ะได้ดาวดวงที่ 2 มายืนอยู่หน้าผู้กำกับ ในแถววงกลม (แม้จะมีหลายหมู่หลายคนก็ให้
มายืนอยรู่ วมกันหนา้ ผู้กำกบั )
(5) ผกู้ ำกับอธบิ ายความหมายของดาวดวงท่ี 2 ให้ลกู เสือที่จะไดร้ ับทราบ แลว้ สงั่ สอน
(6) ผู้กำกบั ส่ังให้ลกู เสอื ทจี่ ะได้รบั ทวนคำปฏญิ าณอีกครัง้ หน่ึง โดยส่ังวา่ “เพื่อเปน็ ทแี่ น่ใจว่า เจ้ายัง
จำคำปฏญิ าณของเจ้าได้ ขอใหเ้ จ้าทวนคำปฏิญาณอีกคร้ังหน่งึ ” และลูกเสือทีจ่ ะไดร้ ับกก็ ลา่ วคำปฏญิ าณ
(7) ผกู้ ำกับมอบหมวกใหล้ ูกเสือ ลูกเสอื รบั ไปสวมเองแล้วทำวันทยหตั ถผ์ กู้ ำกบั
(8) ผกู้ ำกบั แสดงความยนิ ดดี ้วยการสัมผัสมอื กบั ลกู เสือ
(9) ลูกเสือทีไ่ ดร้ ับดาวดวงที่ 2 ทำกลบั หลังหัน ว่งิ เข้าทขี่ องตน (คือหนา้ ผกู้ ำกับ ไม่ใช่หม่ขู องตน)
(10) กองลูกเสือแสดงความยินดีด้วยการทำแกรนด์ฮาวล์ ลูกเสือที่ได้รับดาวดวงท่ี 2 เป็นผู้
ร้อง “จงทำดี-จงทำดี-จงทำดี” (ถ้ามหี ลายคน กใ็ หร้ อ้ งพร้อมกนั ทัง้ หมด)
พธิ ีประดับดาวดวงท่ี 3
ใหป้ ฏิบัตดิ งั ตอ่ ไปนี้
(1) จัดลูกเสือท่ีจะได้รับดาวดวงท่ี 3 ให้ยืนอยู่ในแถววงกลมติดกับนายหมู่บริการทางด้านขวา
ตรงหนา้ ผู้กำกบั
(2) กองลูกเสอื สำรองทำแกรนดฮ์ าวล์ นายหมู่บรกิ ารเป็นผู้ร้อง “จงทำดี-จงทำดี-จงทำดี”
(3) หมวกท่ีติดดาวดวงท่ี 1, 2 และ 3 แล้ว อยูท่ ผ่ี ู้กำกบั
(4) ผู้กำกับเรียกลูกเสือท่ีจะรับดาวดวงที่ 3 ทั้งหมดมายืนในวงกลมตรงหน้าผู้กำกับเป็นแถวหน้า
กระดาน แถวละไมเ่ กนิ 6 คน
คู่มือปฏิบตั ิงานลูกเสือ สานกั งานลกู เสือเขตพ้นื ที่การศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 4 42
(5) ผู้กำกับอธิบายความหมายของดาวดวงท่ี 3 และใหโ้ อวาทสั่งสอนแลว้ สงั่ ให้ลกู เสอื กล่าวทวนคำ
ปฏิญาณอกี ครงั้ หน่งึ
(6) ผู้กำกับมอบหมวกให้ลูกเสือ ลูกเสือรับไปสวมเองแล้วทำความเคารพผู้กำกับ ผู้กำกับแสดง
ความยินดดี ้วยการสมั ผสั มือกับลูกเสือ
(7) ลกู เสอื ทไ่ี ดร้ ับดาวดวงท่ี 3 ทำกลับหลังหนั วงิ่ เข้าประจำท่ขี องตน
(8) ลูกเสือทุกคนในแถววงกลม สัมผัสมือแสดงความยินดีกับลูกเสือที่ได้รับดาวดวงท่ี 3(ให้เวียน
จากซ้ายไปขวา)
(9) กองลูกเสอื สำรองทำแกรนด์ฮาวล์แสดงความยนิ ดอี ีกครงั้ หนึง่ ใหล้ กู เสอื ท่รี บั ดาวดวงท่ี 3 เป็นผู้
รอ้ ง “จงทำดี-จงทำดี-จงทำดี”
พธิ สี ง่ ลูกเสอื สำรองไปเปน็ ลูกเสือสามญั
ให้ปฏิบัตดิ งั ตอ่ ไปน้ี
(1) กองลกู เสือสำรองทำรูปวงกลมใหญ่ กองลกู เสอื สามญั ทำรปู เกือกม้า
(2) ระหวา่ งกองท้ังสองมีการแบง่ เขตแดน (อาจจะใชเ้ ชือก ไมพ้ ลอง หรือโรยปูนขาวไวก้ ็ได้)
(3) กองลูกเสอื ท้ังสองมีธงประจำกองและปา้ ยคำขวัญของตนและอยู่ในแดนของตน ใหร้ องผู้กำกับ
เปน็ คนถือไว้
(4) กองลกู เสอื สำรองทำแกรนดฮ์ าวล์
(5) ผู้กำกับลกู เสอื สำรองอธิบายความหมายของการจะทำพธิ ีสง่ ใหก้ องทราบ
(6) ผกู้ ำกับลกู เสือสำรอง เรียกลกู เสือที่จะส่งออกมายืนหน้าผู้กำกับ แล้วอบรมส่ังสอนในการท่ีจะ
จากไป แล้วให้ทวนคำปฏิญาณอีกคร้ังหน่ึง โดยส่ังว่า“เพ่ือเป็นท่ีแน่ใจว่า เจ้ายังจำคำปฏิญาณของเจ้าได้
ขอใหเ้ จา้ ทบทวนคำปฏิญาณอีกครง้ั ”แล้วลกู เสือกก็ ลา่ วคำปฏญิ าณ
(7) ลูกเสือกลับหลังหัน ไปล่ำลาลูกเสือเฉพาะในหมู่ของตน โดยการสัมผัสมือแลว้ กลับมายืนหน้า
ผกู้ ำกบั กองลกู เสือสำรองไชโยใหแ้ กเ่ ขาสามคร้ัง
(8) ผู้กำกับลูกเสือสำรองสั่งเปดิ ทางเพ่ือนำลูกเสือออกไปหาผู้กำกบั ลกู เสือสามญั ที่เสน้ ก้นั แดน
(9) ผู้กำกับลูกเสือสำรองจะแนะนำและฝากฝังลูกเสือสำรองกับผู้กำกับลูกเสือสามัญ แล้วนำ
ลูกเสือสำรองข้ามแดนไป (ถา้ หากลูกเสอื สำรองผู้ใดไดร้ ับ เครื่องหมายเสือเผ่นกใ็ หก้ ระโดดขา้ ม)
(10) ผู้กำกับลูกเสือสามัญนำลูกเสือสำรองผู้นั้นไปแนะนำให้รจู้ ักนายหมขู่ องหมู่ท่ีลกู เสือจะเข้าไป
อยู่
(11) นายหมูล่ ูกเสอื สามัญแนะนำใหล้ กู เสอื สำรองรจู้ ักกบั ลูกเสือสามญั ในหมทู่ ่ตี นเข้าไปอยู่นัน้
(12) พธิ เี สร็จสิ้นด้วยการเปล่งเสียงรอ้ งของลูกเสอื สามัญหรอื ไชโยสามคร้ัง
คู่มอื ปฏิบตั ิงานลูกเสือ สานกั งานลกู เสือเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 43
พธิ กี ารลกู เสือสามัญ
พธิ ีเข้าประจำกองลกู เสือสามัญ
พิธีเข้าประจำกองลกู เสือหรือเรยี กว่าพธิ ีปฏญิ าณตน ใหป้ ฏิบตั ดิ ังตอ่ ไปนี้
1. จัดลูกเสือเก่าอย่างน้อย 6 คน เป็นผู้แทนคณะลูกเสือแห่งชาติเข้าแถวหน้ากระดาน และ
ลูกเสือใหม่
2. ผู้กำกบั ยืนอยู่หน้าแถว มีรองผู้กำกับยืนอย่ดู ้านขวามือของผ้กู ำกับเพื่อรับฝากพลองกับหมวก
ของลูกเสือใหม่
3. ผู้กำกับเรียกลูกเสอื ใหม่วา่ “นายแดง รักชาติ มาแล้วหรือยงั ”
4. ผกู้ ำกับเริ่มทำการสอบถามดังนี้
ผู้กำกบั “เจ้าเขา้ ใจหรือไม่วา่ คำม่ันสัญญาของเจ้าคืออะไร”
ลกู เสอื ใหม่ “ขา้ เข้าใจว่า คือ ขา้ สญั ญาว่าจะทำอย่างไรแลว้ ต้องทำเหมือนปากพูดทุกอย่าง”
ผู้กำกบั “ถา้ เชน่ น้นั จะเชือ่ หรอื ไม่วา่
ขอ้ 1 เจา้ จะจงรักภักดตี อ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ขอ้ 2 เจา้ จะช่วยเหลือผู้อ่ืนทุกเม่อื
ขอ้ 3 เจา้ จะปฏบิ ตั ิตามกฎของลกู เสอื
ลกู เสอื ใหมแ่ สดงรหสั
“ด้วยเกียรตขิ องข้า ข้าสญั ญาว่า
ขอ้ 1 ข้าจะจงรกั ภักดตี ่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ข้อ 2 ขา้ จะช่วยเหลือผู้อน่ื ทกุ เมื่อ
ข้อ 3 ขา้ จะปฏบิ ตั ิตามกฎของลกู เสือ”
พธิ สี ง่ ลูกเสือสามญั ไปเปน็ ลูกเสือสามัญรุน่ ใหญ่
ใหป้ ฏิบัตดิ งั ต่อไปน้ี จัดลกู เสือให้เขา้ แถวรปู ครง่ึ วงกลม ๒ วง คอื ลูกเสอื สามัญวงหน่งึ และลูกเสือ
สามญั รุ่นใหญ่อกี วงหน่ึง หันหน้าเขา้ หากันระยะห่างกันพอสมควร ตรงกลางระหว่างแดนท้ังสองน้ันจะมีผู้
กำกับกลุ่มลูกเสือ ผกู้ ำกับลูกเสือสามัญ และผู้กำกับลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ยืนอยู่ถา้ ไม่มีผู้กำกบั ลกู เสือสามัญ
ร่นุ ใหญจ่ ะให้รองผกู้ ำกบั ลูกเสอื สามัญรนุ่ ใหญ่แทนก็ได้ และมนี ายหมู่ลกู เสือสามัญรุ่นใหญ่ทจ่ี ะรับตวั ลูกเสือ
ใหม่ยนื อยู่ด้วย จัดใหม้ ีธงประจำกองลูกเสือสามญั และธงประจำกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่พร้อมทั้งป้ายคติ
พจน์ของแต่ละประเภทอยู่ทางแดนของตน
ผู้กำกับลูกเสือสามัญนำลูกเสือท่ีจะมอบตัวให้เป็นลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่มายืนตรงหน้าผู้กำกับ
ลกู เสือสามัญรนุ่ ใหญ่แล้วกล่าววา่ “ข้านำ (ออกนามลูกเสอื ) ซ่งึ ได้เป็นลูกเสือสามัญหลายปแี ล้ว มามอบให้
อยูใ่ นกองลูกเสอื สามญั รุน่ ใหญ่ ทา่ นจะรับไว้ได้หรือไม่”
ผู้กำกับลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ “ข้าพร้อมท่ีจะรับ (ออกนามลูกเสือ) ไว้ในกองลูกเสือสามัญรุ่น
ใหญ่”
คู่มอื ปฏบิ ตั งิ านลูกเสือ สานกั งานลกู เสือเขตพ้นื ที่การศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 4 44
แล้วหันไปพูดกับลูกเสือใหม่ว่า “ขณะนี้ เจ้ามีอายุท่ีจะเป็นลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่แล้ว เจ้าเต็มใจที่จะเป็น
ลูกเสือสามัญรนุ่ ใหญใ่ นกองของเราหรอื ”
ลูกเสือใหม่ “ขา้ เตม็ ใจ”
ผู้กำกบั กลุ่มลูกเสือพดู กบั ลกู เสือใหม่ “การที่เจ้าจะเปน็ ลูกเสอื สามญั รุน่ ใหญ่น้ัน เจ้ามีหนา้ ทส่ี ำคัญ
อีกขั้นหนึ่งท่ีจะต้องปฏิบัติต่อไป ข้าได้เห็นผลงานอันดีที่เจ้าได้ปฏิบัติมาแล้ว และภูมิใจท่ีจะได้เห็น
ความสำเรจ็ ของเจ้าในกิจการลกู เสือสามัญรนุ่ ใหญใ่ นอนาคต”
ผกู้ ำกบั ลูกเสอื สามญั รุ่นใหญพ่ ดู กับลกู เสอื ใหม่ “ในนามของลูกเสอื สามญั ร่นุ ใหญ่ ขา้ ยนิ ดรี ับเจา้ เข้า
ไวใ้ นกองของเรา”
กล่าวแล้วสัมผสั มอื กบั ลูกเสอื ใหม่แล้วนำไปมอบตวั กับนายหมู่ นายหมูน่ ำลูกเสือใหม่ไปยงั หมู่
ของตน
พิธีการลูกเสอื วิสามญั
แนวการปราศรัยเก่ียวกับพธิ ีสำรวจตัวเอง
ในพิธีสำรวจตัวเองและพธิ ีประจำกองลกู เสอื วิสามัญ ซึ่งเป็นพิธีการทต่ี ่อเนื่อง ผู้กำกบั ลูกเสอื จะ
เป็นบุคคลสำคัญในพิธี เป็นผู้ที่จะกล่าวชี้แจง กล่าวปราศรัย และกล่าวให้โอวาท ตามข้ันตอนต่าง ๆ
ซึ่งแยกออกเป็น 3 ขั้นตอนคือ 1) การกล่าวช้ีแจงเมื่อลูกเสือวิสามัญในกองทุกคนมาพร้อมกัน 2) การ
กล่าวปราศรัยก่อนเร่ิมจะย่างก้าวเข้าสู่พิธีสำรวจตัวเองและพิธีเข้าประจำกอง 3) การกล่าวให้โอวาท
ตอนท้ายของพิธปี ระจำกอง รายละเอยี ดดงั นี้
1) การกล่าวช้ีแจง เมื่อลูกเสือวิสามัญทุกคนได้เข้านั่งที่พร้อมกันแล้วผู้กำกับจะกล่าวชแ้ี จงเป็น
ใจความว่า………………" พิธกี ารสำรวจตวั เองของผู้ท่ีจะเป็นลูกเสือวสิ ามัญ /กอ่ นที่จะถงึ พิธีเข้าประจำกอง /
ถือว่าเป็นพิธีการท่ีสำคัญยิ่ง /และมีความหมายอย่างมาก / โดยเฉพาะแก่ชีวิตในอนาคต /ของผู้ที่เป็น
ลูกเสือวิสามญั / จงึ ใคร่ขอรอ้ งพ่ีน้องลกู เสือ /โปรดให้ความร่วมมอื / ให้ความสนใจ / และช่วยทำให้พิธนี ้ี
/ เป็นพิธที ส่ี ำคญั / และมคี วามหมายอยา่ งจรงิ จังด้วย / อยา่ พดู คุยหรือส่งเสียงลอ้ เลยี นแต่ประการใด "
2) การกล่าวปราศรัยก่อนออกเดินทางสู่พิธีสำรวจตัวเองและพิธีเข้าประจำกอง ผู้กำกับ
ลกู เสือจะกลา่ วปราศรยั ช้ีแจงให้ลกู เสอื ไดม้ องเห็นส่งิ อบายมขุ ต่าง ๆ อนั เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินชวี ิตที่มี
อยโู่ ดยรอบ โดยยกตวั อยา่ งสุรา นารี พาชี กีฬาบัตร ยาเสพติด คนดีแตพ่ ูด คนเห็นแกไ่ ด้ ดังแนวการ
กล่าวต่อไปน้ี………… " พ่ีน้องลูกเสือที่รักท้ังหลาย / ท่านทราบอยู่แล้วเป็นอย่างดีว่า / ในการ
ดำรงชีวิตของคนเรานั้น / วิถีแห่งชีวิตย่อมแตกต่างกัน / และมิได้เป็นไปอย่างราบร่ืน / ประดุจดั่งเดิน
อยู่บนพรมสีแดง / หรือโรยด้วยกลีบกุหลาบอันสวยงามตลอดไป / ชวี ิตของคนเราจะประสบด้วยอปุ สรร
นานาประการ / มากบ้าง / นอ้ ยบ้าง /เสมือนเกาะแก่งที่มีอยู่ใน / แม่น้ำลำคลองขัดขวางมิให้น้ำไหลลง
ไปได้โดยสะดวก / ในชีวิตของคนเรา / อปุ สรรคบางอย่างจะบั่นทอน /ชักนำชีวติ ของบุคคลไปในทางท่ี
ผดิ / ทชี่ ว่ั ร้าย / ศาสดาทุกศาสนา /เรยี กอุปสรรคเช่นนว้ี า่ / อบายมุข / อบายมุขท่วี ่านี้ทกุ ศาสนาสอนไว้
คู่มอื ปฏบิ ตั ิงานลูกเสือ สานกั งานลกู เสือเขตพ้นื ที่การศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 4 45
วา่ / มีอบายมขุ ทส่ี ำคัญอยู่ 4 ประการดว้ ยกนั / กลา่ วคอื / สรุ า / นารี / พาชี / กีฬาบัตร / แต่ปจั จุบันนี้
/ เหตุการณข์ องโลกได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมาย/สิ่งที่จะทำใหช้ ีวติ ของคนเรา / โดยเฉพาะคนวัยหนุ่ม
สาวลงไปส่คู วามหายนะ/ลงสู่ห้วงเหวท่ีตำ่ น้ันมเี พ่ิมข้ึนมากมาย / อาทิ / ยาเสพติด / โรงบิลเลยี ด / ตู้เกม
/ วีดโี อเกม / สถานเรงิ รมยส์ ำหรับเท่ียวกลางคนื / เช่น / บาร์ / ผับ /ไนต์คลับ / ค๊อฟฟช่ี ๊อฟ / สถาน
อาบอบนวด / โรงแรมม่านรูด / เหล่านี้เป็นต้น / ทั้งนี้เป็นเพราะผู้คนท่ีมีจิตใจต่ำทราม /เห็นแก่
ประโยชน์ส่วนตน / เหน็ แกไ่ ด้ / มแี ตค่ นเก่งแตป่ าก / เก่งแต่พดู /งานไม่ทำ / ฯลฯ ดังนีเ้ ป็นต้น / ใคร่
จะกล่าวถึงโทษของอุปสรรค / หรือเกาะแก่งแห่งชีวติ เหล่านี้ / ให้พ่ีน้องลูกเสือได้ฟังเพ่ือเป็นคติเตือนใจ
บ้าง / ดังตอ่ ไปน้ี
"สุรา" การดื่มสุรามีมานมนานก่อนพุทธกาล / บรรดาผู้นำของศาสนาท้ังหลายในโลก / ได้
มองเห็นโทษของการดื่มสุรา / จึงได้บัญญัติเป็นข้อห้าม / ข้อเตือนใจ / ให้ละเว้นการเสพสุรา / และ
เครื่องดองของเมา /แต่ก็มีการดื่มสุรากันมาจนถึงปจั จุบนั น้ี / แมแ้ ต่ในงานเลี้ยงซึ่งทางราชการเป็นผู้จัด /
ก็มีการเลี้ยงสุรากันอยู่เสมอ / เม่อื มอิ าจห้ามดื่มสุราได้ และบางครงั้ บางคนอาจจำใจด่ืมสุรา / ก็พึงสำนึก
ถึงโทษของสุราไว้เสมอ /โทษของการดื่มสุราและเคร่ืองดองของเมา / หลักทางศาสนาบัญญัติไว้ /
ดงั ต่อไปน้ี / คือทำให้เสียทรัพย์ / ก่อให้เกิดการวิวาท / เกิดโรค / สุขภาพเส่ือม / ถูกตำหนิติเตียน /
หนา้ ด้านไม่รจู้ ักอาย / บ่ันทอนสุขภาพ/ และกำลงั สติปญั ญา "
" นารี " " ต่อไปจะได้กล่าวถึงนารี / หรือความเป็นนักเลงผู้หญิง / หรือผู้หญิงสำส่อน / เรื่องน้ี
เปน็ เรอื่ งสำคัญ / สำหรับคนวยั หนมุ่ สาว / เกี่ยวกับเรอื่ งเพศสมั พันธ์ / เปน็ ความรู้สึกท่ีเกดิ ขึ้นโดยธรรมชาติ
/ เม่ือคนวัยรุ่นยา่ งเข้าสู่การเป็นวยั หนุ่มสาว / ความรู้สึกท่ีเกดิ ขึ้นโดยธรรมชาติน้ี / จะผลกั ดนั ใหห้ น่มุ สาว
/ วิง่ เข้าหากัน เพ่ือต้องการประสบความพอใจ / ในเพศสัมพันธ์ / แต่ศีลธรรมและประเพณี / บังคับมิ
ใหม้ นษุ ย์กระทำเยย่ี งสัตว์ได้ / ความต้องการทางเพศมิใช่ทุกส่ิงทุกอย่างของชวี ิต / การขาดอาหาร / น้ำ
/ อากาศ / ทำให้คนถึงตายได้ / แต่การขาดความสัมพันธ์ทางเพศมิได้ทำให้คนถึงตาย / เพราะฉะนั้น
คนวัยหนุ่มสาวควรฝึกขม่ ใจตนเอง / มีความหนักแน่น / อดทน / หาทางระบายความรู้สึกเชน่ น้ี/ไปใช้
ในทางทด่ี มี ปี ระโยชน์แกช่ ีวิตของตน / เชน่ / ในการทำงาน / การคิดสร้างสรรค์ / งานศิลปะและกีฬา
/ เป็นต้น / กจิ กรรมเหล่านี้จะช่วยใหค้ วามรู้สึกทางเพศลดนอ้ ยลง / สมัยนชี้ ีวิตความเป็นอยู่ในสังคม /
ไดเ้ ปลี่ยนแปลงไปมาก / สถานเริงรมย์ / ผับ /สถานอาบอบนวด / โรงแรมม่านรูด / ได้เกิดขนึ้ ในเมืองใหญ่
ๆ / เมอื งละหลายแห่ง / คนวยั หนุ่มสาวพากนั ไปเที่ยว / หาความสำราญในสถานทีเ่ หล่าน้ี /
การไปหาความสำราญในสถานท่ีเหล่าน้ี / ต้องใช้เงินทองมาก / ปัญหามีว่า / คนวัยรุ่นหนุม่ สาวเหล่าน้ี
/ ซ่ึงเปน็ คนในวัยเรียนจะเอาเงนิ มาก ๆ / เช่นนั้นมาจากไหน / นี่คือเหตุหน่ึงที่กอ่ ให้เกิดอาชญากรรม /
สว่ นโทษของการดำรงตนเป็นนักเลงผู้หญิง / หรือผ้หู ญิงสำส่อนน้ัน / หลักทางศาสนาสอนไว้ว่า / จะทำ
ให้เกิดโรค / ทำให้เสียทรัพย์ / เสียเวลา / และสุขภาพเส่ือมโทรม / กามโรคและโรคเอดส์เป็นโรคที่
รา้ ยแรง / ติดต่อถึงผูอ้ ่ืนได้ / ถา้ ผูท้ ่ีมีครอบครัวแล้ว /ก็จะติดต่อถึงลกู เมยี หรือสามไี ด้ / หากเป็นมากถึง
ขน้ั อนั ตรายจะทำใหผ้ ู้นน้ั พกิ าร / และตอ้ งตายอย่างทรมาน "
" ภาชี " " การเท่ียวในยามวิกาล / คืออะไรนั้น / เราคงทราบเป็นอย่างดี / แต่เพ่ือเพิ่มเติม
ความเข้าใจให้ชัดเจน / ขอนำคำสอนท่ีศาสดาทุกศาสนากำหนดความหมาย / ของการเท่ียวยามวิกาลมา
คู่มอื ปฏิบตั ิงานลูกเสือ สานกั งานลกู เสือเขตพ้นื ท่ีการศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 46
เปน็ อุทาหรณ์ / ท่านว่ามรี ำท่ไี หนไปท่ีนนั้ / ขับร้องที่ไหน -ไปทน่ี ั้น / ดดี สตี ีเปา่ ที่ไหน - ไปท่ีน้ัน / เสภา
ที่ไหน - ไปทน่ี ัน้ / เพลงท่ไี หน - ไปที่น้ัน / เถิดเทงิ ที่ไหน - ไปทน่ี ้นั / คอนเสริ ต์ ท่ีไหน - ไปทน่ี นั้ / ซ่ึงพอ
สรุปได้ว่า / ไปเท่ียวกันแทบไม่มีวันหยุด / ไม่มีเวลาทำมาหากิน / หลักทางศาสนาจึงได้บัญญัติโทษ /
ของการเท่ียวยามวิกาลไว้ว่า / ทำให้ได้ชื่อว่า / ไม่รักษาตัว / ไม่รักครอบครัว / ไม่รู้จักรักษาทรัพย์ /
เป็นทีร่ ะแวงของคนทัง้ หลาย / มักถูกใส่ความและได้รบั ความลำบาก "
" กีฬาบัตร" " การเล่นการพนันมีโทษมากเช่นเดียวกัน / กล่าวคือเม่ือชนะย่อมก่อเวร / เม่ือแพ้
ยอ่ มเสยี ดายทรัพยท์ เ่ี สยี ไป /ทรัพย์ย่อมฉบิ หาย / ไมม่ ใี ครเช่ือถ้อยคำ / เป็นท่ีหมน่ิ ประมาทของเพ่อื นและ
บุคคลทัว่ ไป / การเล่นการพนนั นั้นนำมาซึ่ง / ความพินาศแก่ทรพั ย์สนิ ที่มีอยทู่ ุกชนดิ / มคี ำกล่าววา่ / ถูก
ไฟไหม้ 10 ครัง้ /ยงั ไม่ร้ายแรงเทา่ กับการเสยี พนัน / เพราะเม่ือไฟไหม้บ้าน /ท่ีดินยังอยู่เป็นของเรา / เรา
อาจปลูกบา้ นอยูใ่ หมไ่ ด้ / แตถ่ ้าแพ้การพนนั / เราอาจเสยี ทง้ั บ้านท้ังที่ดินได้ / ฉะนนั้ จึงนับวา่ การเล่นการ
พนนั นำมาซ่ึงความเสียหายอย่างย่ิง " /
" ยาเสพติด " " ยาเสพติด / เป็นอบายมุขอย่างใหม่ที่เป็นภยั รา้ ยแรง / ต่อสขุ ภาพและอนามยั /
ขณะน้ีกำลังระบาดอยู่ในหมู่คนวยั รุ่นหนุ่มสาวมากมาย / สารเสพตดิ มีหลายชนิด / ที่รู้จักกันโดยทั่วไป /
คือ / เฮโรอิน / แหล่งผลิตมาจากสามเหลี่ยมทองคำ / เดินทางผ่านประเทศไทย / เพื่อส่งไปขาย
ต่างประเทศอีกต่อหนึ่ง / เฮโรอินมีราคาแพงมากและหาซื้อได้ยาก / เพราะทางราชการปราบปรามอย่าง
เข้มแข็ง / คนวัยรุ่นหนมุ่ สาวหันไปหา / ยาบ้า /ทนิ เน่อร์ / น้ำมนั ผสมสี / เอามาสดู ดมกล่ินแทน / ทำให้
มีอันตรายมากยิ่งข้ึน / ร่างกายอ่อนแอเป็นการบั่นทอนกำลังของชาติโดยทางอ้อม / คนวยั รุ่นหนุ่มสาวได้
เงนิ จากไหนมาซื้อยาเสพติดเหล่าน้ี / คงไม่มีปัญญา / ต้องไปลักขโมยใครมาเป็นแน่ / เหตุของการตดิ ยา
เสพติด / มักเกิดจากการคบเพื่อเสเพล / เขาชวนให้ลองสกั คร้ังสองครั้ง / โดยเขาซื้อให้ / ไม่ช้าก็ติด /
เมื่อติดแลว้ รกั ษาใหห้ ายได้ยาก / อนาคตของชีวติ ย่อมหมดไป "
" คนดีแต่พูด / คนเห็นแก่ได้ " " คนดีแต่พูดนน้ั / อาจทำใหเ้ ราหลงทำอะไรตามเขาได้หลายอย่าง
/ เขาเป็นคนช่างพดู / แต่เขาพูดเพ่ือหาประโยชน์ของเขาเอง / คนอย่างน้ีมีอันตรายมาก / เพราะเขาเป็น
คนเหน็ แก่ตวั ฝา่ ยเดยี ว / ไมค่ ดิ ถึงประโยชนข์ องผ้อู น่ื / ไม่เหน็ ใจผู้อ่นื "
"ขอจบคำปราศรัยแตเ่ พียงน้ี / ต่อจากนี้ / ผู้กำกับ และพี่เลี้ยงจะแปลความหมายกฎของลูกเสือ
ให้ฟงั / ซึ่งเป็นการแปลความหมายแบบผู้ใหญ่ / ไม่ใช่แปลความหมายอย่างเด็ก /จากนั้นจะนำเดินทาง
ไปสู่สถานที่ / ท่จี ะประกอบพธิ ีเข้าประจำกองลูกเสอื วิสามญั / ขอใหท้ า่ นอยใู่ นความสงบเงยี บ / และทำ
จติ ใจใหผ้ อ่ งใส " /
" ข้อ 1 ลกู เสอื มเี กียรตเิ ชอื่ ถอื ได้ " " ลูกเสอื ท่ีแท้จรงิ ถอื ว่า / เกียรติของเขาสำคัญกว่าสิ่ง
ใด / เกยี รติของเขาเป็นส่ิงศกั ดิ์สิทธ์ิ / คนที่รู้จกั รักษาเกียรติ / เป็นผู้เช่ือถือได้เสมอ / เขาจะไม่กระทำสิ่ง
ใดๆทีเ่ สียเกียรติ / เช่น / พดู เท็จกับผูบ้ ังคับบญั ชา / พอ่ - แม่ / ญาติพี่น้อง / ครู - อาจารย์ / นายจ้าง /
เพื่อน / หรือผู้อยใู่ ตบ้ ังคับบัญชาของเขา / และเขาจะทำตัวใหเ้ ปน็ ที่เคารพนับถือของคนทั่วไป / ในฐานะ
ทีเ่ ป็นลกู เสือวิสามัญ / ท่านต้องไมย่ อมใหส้ ่ิงย่ัวยวนใจ / ไมว่ ่าจะลกึ ลบั / หรือรนุ แรงเพียงใด / มาชักจูง
ใหท้ า่ นกระทำการใด ๆ / ทีไ่ ม่สุจรติ หรอื เป็นที่น่าสงสัย / ทา่ นจะไม่ละเมดิ คำมน่ั สัญญาเป็นอนั ขาด"
คู่มอื ปฏบิ ตั งิ านลูกเสือ สานกั งานลกู เสือเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 47