The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การนิเทศเพื่อส่งเสริมความสามารถของครูในการพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ให้กับผู้เรียนโรงเรียนกลุ่มเครือข่ายวิชิต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by t.chitwong, 2023-02-02 00:02:53

วิจัยทิพวรรณ

การนิเทศเพื่อส่งเสริมความสามารถของครูในการพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ให้กับผู้เรียนโรงเรียนกลุ่มเครือข่ายวิชิต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็

Keywords: เครือข่ายวิชิต

การนิเทศเพื่อส.งเสริมความสามารถของครู ในการพัฒนาทักษะแห.งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียนโรงเรียนในกลุ.มเครือข.ายวิชิต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต นางสาวทิพวรรณ วิจิตรวงศ/ ตำแหน3ง ศึกษานิเทศก/ชำนาญการ กลุ3มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


การนิเทศเพื่อส.งเสริมความสามารถของครู ในการพัฒนาทักษะแห.งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียนโรงเรียนในกลุ.มเครือข.ายวิชิต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต นางสาวทิพวรรณ วิจิตรวงศ/ ตำแหน3ง ศึกษานิเทศก/ชำนาญการ กลุ3มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


ก ชื่อเรื่อง การนิเทศเพื่อส/งเสริมความสามารถของครูในการพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียนโรงเรียนในกลุ/มเครือข/ายวิชิต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ภูเก็ต กลุ+ม นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ป.ที่ศึกษา พ.ศ. 2564 - 2565 ชื่อผู7รายงาน นางสาวทิพวรรณ วิจิตรวงศX ตำแหน+ง ศึกษานิเทศกX วิทยฐานะ ชำนาญการ สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต บทคัดย+อ การนิเทศเพื่อส/งเสริมความสามารถของครูในการพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน โรงเรียนในกลุ/มเครือข/ายวิชิต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต เปZนการวิจัยเพื่อนำผล การศึกษามาใชBเปZนแนวทางในการขับเคลื่อนการนิเทศ เพื่อส/งเสริมศักยภาพการจัดการเรียนรูBในศตวรรษ ที่ 21 เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาใหBเกิดประสิทธิผล มีวัตถุประสงคXเพื่อศึกษาสภาพป\จจุบันและความ ตBองการ ศึกษาความสามารถของครูและศึกษาความพึงพอใจต/อกระบวนการนิเทศเพื่อส/งเสริม ความสามารถของครูในการพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน ซึ่งเปZนการวิจัยโดยใชBระเบียบวิธี วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) การวิเคราะหXขBอมูลในการวิจัยใชBสถิติพื้นฐานในการวิเคราะหX ขBอมูล ไดBแก/ ค/ารBอยละ ค/าเฉลี่ย ส/วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติที่ใชBในการหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา โดยการคำนวณค/าดัชนีความสอดคลBอง IOC (Index of item objective congruence) ผลการวิจัย พบว/า สภาพปJจจุบันของโรงเรียนกลุ/มเป{าหมาย โดยภาพรวมมีค/าเฉลี่ยอยู/ในระดับ มากทุกขBอ โดยเรียงลำดับไดB ดังนี้ การพัฒนาสื่อ นวัตกรรม ในการจัดการเรียนรูBการพัฒนาศักยภาพดBาน การจัดการเรียนรูB การพัฒนาเทคนิค วิธีการจัดการเรียนรูB การจัดกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรูB และ การนิเทศการสอน ความต7องการของครูในการพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน โดยภาพรวม มีค/าเฉลี่ยอยู/ในระดับมากที่สุด โดยเรียงลำดับไดB ดังนี้ การพัฒนาศักยภาพดBานการจัดการเรียนรูB การนิเทศการสอน การพัฒนาสื่อ นวัตกรรม ในการจัดการเรียนรูB การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูB และ การพัฒนาเทคนิค วิธีการจัดการเรียนรูB ความสามารถของครูในการพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน โดยภาพรวม 5 ดBาน มีค/าเฉลี่ยอยู/ในระดับมากทุกขBอ โดยเรียงลำดับไดB ดังนี้ พัฒนาการจัดการเรียนรูB (การจัดการเรียนรูBโดยใชBคลิปวีดีทัศนX) พัฒนาเทคนิค วิธีการจัดการเรียนรูB


ข ที่สอดคลBองกับทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 การประเมินผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 พัฒนาสื่อนวัตกรรมการเรียนรูBที่ครอบคลุมดBานทักษะ คุณลักษณะ ความสามารถตามบริบทของ โรงเรียน และการแลกเปลี่ยนเรียนรูBของครูเพื่อพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 เมื่อสรุปรายดBาน ไดBดังนี้ ด7านการพัฒนาเทคนิค วิธีการจัดการเรียนรูBที่สอดคลBองกับทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 โดยภาพรวม ค/าเฉลี่ยอยู/ในระดับมากทุกขBอ โดยเรียงลำดับไดB ดังนี้ครูจัดกระบวนการการเรียนรูBที่สอดคลBองกับทักษะ แห/งศตวรรษที่ 21 ครูออกแบบการจัดการเรียนรูBที่สอดคลBองกับทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 และครูมีสื่อ นวัตกรรมในการจัดการเรียนรูBที่สอดคลBองกับทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ด7านการพัฒนาสื่อนวัตกรรมการ จัดการเรียนรูBที่ครอบคลุมดBานทักษะ คุณลักษณะ ความสามารถตามบริบทของโรงเรียน โดยภาพรวมอยู/ ในระดับมากทุกขBอ โดยเรียงลำดับไดBดังนี้ครูผลิตสื่อ นวัตกรรมที่เหมาะสมกับช/วงวัยของผูBเรียน ครูผลิต สื่อ นวัตกรรมเพื่อใชBในกิจกรรมการจัดการเรียนรูB และครูผลิตสื่อ นวัตกรรมที่สอดคลBองกับเนื้อหา สาระ การเรียนรูBด7านการพัฒนาการจัดการเรียนรู7(การจัดการเรียนรูBโดยใชBคลิปวิดิทัศนX) โดยภาพรวมมี ค/าเฉลี่ยอยู/ในระดับมากทุกขBอ โดยเรียงลำดับไดBดังนี้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรูBที่สามารถพัฒนาผูBเรียนใหB มีความเมตตา กรุณา มีวินัย คุณธรรม และจริยธรรม ครูจัดกิจกรรมการเรียนรูBที่สามารถพัฒนาทักษะดBาน การอ/านและการเขียน ครูจัดกิจกรรมการเรียนรูBที่สามารถพัฒนาทักษะดBานเขBาใจความต/างวัฒนธรรม ต/างกระบวนทัศนX ครูจัดกิจกรรมการเรียนรูBที่สามารถพัฒนาทักษะดBานความร/วมมือ การทำงานเปZนทีม ครูจัดกิจกรรมการเรียนรูBที่สามารถพัฒนาทักษะดBานการคิดคำนวณ ครูจัดกิจกรรมการเรียนรูBที่สามารถ พัฒนาทักษะดBานการคิดอย/างมีวิจารณญาณและมีทักษะในการแกBป\ญหา ครูจัดกิจกรรมการเรียนรูBที่ สามารถพัฒนาทักษะดBานการสรBางสรรคXและนวัตกรรม ครูจัดกิจกรรมการเรียนรูBที่สามารถพัฒนาทักษะ ดBานคอมพิวเตอรXและเทคโนโลยีสารสนเทศ ครูจัดกิจกรรมการเรียนรูBที่สามารถพัฒนาทักษะดBาน การสื่อสารสารสนเทศและรูBเท/ากันสื่อ และครูจัดกิจกรรมการเรียนรูBที่สามารถพัฒนาทักษะดBานอาชีพ และการเรียนรูBด7านการแลกเปลี่ยนเรียนรู7ของครูเพื่อพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 โดยภาพรวมมี ค/าเฉลี่ยอยู/ในระดับมากทุกขBอ โดยเรียงลำดับไดBดังนี้ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูB ภายในกลุ/มสาระ การเรียนรูB ระดับช/วงชั้น หรือระดับโรงเรียน และครูมีการเผยแพร/ หรือแลกเปลี่ยนเรียนรูBกับโรงเรียนอื่น ด7านการประเมินผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 โดยภาพรวม มีค/าเฉลี่ยอยู/ใน ระดับมากทุกขBอ โดยเรียงลำดับไดBดังนี้ครูไดBรับการนิเทศ ติดตาม เพื่อส/งเสริมความสามารถของครูใน การพัฒนาผูBเรียนใหBมีทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 และครูสรุปและจัดทำรายงานผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนา ทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน ความพึงพอใจต/อกระบวนการนิเทศเพื่อส/งเสริมความสามารถของ ครูในการพัฒนาผูBเรียนใหBมีทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ทั้ง 5 ดBาน โดยภาพรวมมีค/าเฉลี่ยอยู/ในระดับมาก ทุกขBอ โดยเรียงลำดับไดB ดังนี้การออกแบบการนิเทศ การจัดทำสารสนเทศ การประเมินผล การนิเทศ


ค แบบหลากหลายวิธีการ และการรวบรวมความรูBเมื่อสรุปรายดBานไดBดังนี้ ด7านการรวบรวมความรู7โดย ภาพรวมมีค/าเฉลี่ยอยู/ในระดับมากทุกขBอ โดยเรียงลำดับไดB ดังนี้ผูBนิเทศใหBความรูB ความเขBาใจในการ ดำเนินงานเพื่อพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน และผูBนิเทศใหBคำแนะนำเพื่อการพัฒนาทักษะ แห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน ด7านการจัดทำสารสนเทศ โดยภาพรวมมีค/าเฉลี่ยอยู/ในระดับมากทุกขBอ โดยเรียงลำดับไดBดังนี้เอกสาร แนวทางการดำเนินงานมีความถูกตBอง เหมาะสม ในการพัฒนาทักษะแห/ง ศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน เอกสาร แนวทางการดำเนินงานมีความสอดคลBองกับความตBองการของครู และ เอกสาร แนวทางการดำเนินงาน มีขั้นตอนการดำเนินงานที่มีความเปZนไปไดBในทางปฏิบัติ ด7านการ ออกแบบการนิเทศ โดยภาพรวมมีค/าเฉลี่ยอยู/ในระดับมากทุกขBอ โดยเรียงลำดับไดBดังนี้ผูBนิเทศมีการ ทำงานเปZนทีม เพื่อใหBคำแนะนำ ช/วยเหลือผูBรับการนิเทศใหBสามารถพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับ ผูBเรียน ผูBรับการนิเทศมีส/วนร/วมในการแสดงความคิดเห็นและใหBขBอมูลที่เปZนประโยชนXเพื่อการพัฒนา ทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน การนิเทศเปZนไปตามปฏิทินที่กำหนด เพื่อส/งเสริมความสามารถ ของครูในการพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน รูปแบบหรือกระบวนการนิเทศตรงกับ วัตถุประสงคXของการดำเนินงานเพื่อพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน และระยะเวลาการนิเทศ มีความเหมาะสมในการส/งเสริมความสามารถของครูเพื่อพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน ด7านการนิเทศแบบหลากหลายวิธีการ โดยภาพรวมมีค/าเฉลี่ยอยู/ในระดับมากทุกขBอ โดยเรียงลำดับไดB ดังนี้ไดBรับการนิเทศแบบใหBคำแนะนำปรึกษา (Coaching and Mentoring) เพื่อส/งเสริมความสามารถ ของครูในการพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน ไดBรับการนิเทศแบบมีส/วนร/วมเพื่อส/งเสริม ความสามารถของครูในการพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน ไดBรับการนิเทศแบบออนไลนX (Online) เพื่อส/งเสริมความสามารถของครูในการพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน และไดBรับ การนิเทศโดยใชBกระบวนการชุมชนแห/งการเรียนรูBทางวิชาชีพ (PLC) เพื่อส/งเสริมความสามารถของครูใน การพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน ด7านการประเมินผล โดยภาพรวมมีค/าเฉลี่ยอยู/ในระดับ มากทุกขBอ โดยเรียงลำดับไดB ดังนี้การนิเทศช/วยใหBครูสามารถผลิตสื่อการเรียนรูBเพื่อพัฒนาทักษะแห/ง ศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน การนิเทศช/วยใหBครูนำสื่อ หรือนวัตกรรมไปใชBในการจัดการเรียนรูB เพื่อพัฒนา ทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน ผูBนิเทศเปÅดโอกาสใหBครูมีส/วนร/วมในการสะทBอนผลการจัดกิจกรรม การเรียนรูB และแสดงความคิดเห็นร/วมกัน การนิเทศช/วยใหBครูมีความรูBความเขBาใจในการวางแผน ออกแบบกิจกรรมการเรียนรูB เพื่อพัฒนาทักษาแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน การนิเทศช/วยใหBครูมีขวัญ และกำลังใจในการปฏิบัติงาน เพื่อพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน และการนิเทศส/งเสริม ความสามารถของครูในการพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน


ง กิตติกรรมประกาศ การนิเทศเพื่อส/งเสริมความสามารถของครูในการพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับ ผูBเรียนโรงเรียนในกลุ/มเครือข/ายวิชิต สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต ฉบับนี้ สำเร็จลุล/วงไดBดBวยความกรุณา ความอนุเคราะหX จากที่ปรึกษางานวิจัย ไดBแก/ นายชัยยุทธ อินฤทธิพงศX ผูBอำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต นายกิจธิชัย สารรัตนXรองผูBอำนวยการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต นายกิตติภูมิ อุทสาร รองผูBอำนวยการสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต นายยุทธนา พรทิพยX รองผูBอำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต นางมาลัยพร รัตนดิลก ณ ภูเก็ต ผูBอำนวยการกลุ/มนิเทศติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา และอีกหลายท/านที่ผูBวิจัยไม/สามารถกล/าวนามไดBทั้งหมด ซึ่งผูBวิจัยขอกราบ ขอบพระคุณทุกท/านเปZนอย/างสูงไวB ณ ที่นี้ ขอขอบพระคุณผูBทรงคุณวุฒิ ผูBช/วยศาสตราจารยX สุวิชา วิริยมานุวงษX รองคณบดี ฝÑายวิชาการ คณะครุศาสตรXมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ดร.ชุลีกร ทองดBวง ผูBอำนวยการสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 นางมาลัยพร รัตนดิลก ณ ภูเก็ต ผูBอำนวยการกลุ/มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา นางสาวสมเพียร เทียนทอง ผูBอำนวยการกลุ/มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา ศึกษาธิการจังหวัดภูเก็ต นายภานุพล สารคำ ผูBอำนวยการโรงเรียน บBานทุ/งคา “บุณยขจรประชาอาสา” สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต นางอุมาวรรณ ตะวัน ศึกษานิเทศกXชำนาญการพิเศษ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต นายป\ณณธร ละมBาย ศึกษานิเทศกXชำนาญการพิเศษ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต ที่ช/วยพิจารณาเครื่องมือและความถูกตBอง สมบูรณX ครบถBวนของงานวิจัยพรBอมทั้ง ใหBคำแนะนำ ช/วยเหลือดBวยดีมาโดยตลอด ผูBรายงานขอขอบคุณทุกท/านเปZนอย/างสูง ขอขอบคุณ คณะศึกษานิเทศกXสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต ทุกท/าน ผูBบริหาร คณะครู โรงเรียนอนุบาลภูเก็ต โรงเรียนวัดเทพนิมิตร โรงเรียนวิชิตสงคราม โรงเรียน บBานอ/าวน้ำบ/อ โรงเรียนแหลมพันวา และโรงเรียนบBานทุ/งคา “บุณยขจรประชาอาสา” ที่ไดBใหBความ ช/วยเหลือ ใหBความร/วมมือในการทดลองศึกษา เพื่อพัฒนานวัตกรรมการนิเทศการสอน ในครั้งนี้ ใหBสำเร็จดBวยดีและหวังเปZนอย/างยิ่งว/าจะไดBรับคำแนะนำ ขBอเสนอแนะจากท/านในโอกาสต/อไป ทิพวรรณ วิจิตรวงศX สิงหาคม 2565


จ สารบัญ หน7า บทคัดย+อ……………………………………………………………………………………………………………………..ก กิตติกรรมประกาศ………………………………………………………………………………………………………..ง สารบัญ………………………………………………………………………………………………………………………..จ สารบัญตาราง………………………………………………………………………………………………………….…..ซ บทที่ 1 บทนำ………………………………………………………………………………………………………..…….1 1. ความเปZนมาและความสำคัญของป\ญหา……………………………………………………..……1 2. วัตถุประสงคXของการวิจัย………………………………….……………………………………..…….5 3. ขBอคำถามการวิจัย…………………………………………………………………………………..…….5 4. สมมุติฐานการวิจัย…………………………………………………………………………………..…….5 5. ขอบเขตของการวิจัย…………………………………………………………………………………..…6 6. ขBอตกลงเบื้องตBน…………………………………………………………………………………..…..….6 7. นิยามศัพทXเฉพาะ…………………………………………………………………………………..….….7 8. ประโยชนXที่ไดBรับจากการวิจัย…………………………………………………………………………9 บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข7อง……………………………………………………………………………..….….10 1. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวขBองกับการนิเทศการศึกษา………………………………..….….10 1.1 ความหมายของการนิเทศการสอน………………………………..….………………………….10 1.2 ความสำคัญของการนิเทศการสอน………………………………..….………………………….11 1.3 หลักการนิเทศการสอน………………………………..….………………………………………….13 1.4 กระบวนการนิเทศการสอน………………………………..….……………………………………20 2. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวขBองกับทักษะศตวรรษที่ 21………………………………..….…29 3. งานวิจัยที่เกี่ยวขBอง………………………………..….…………………………………………………46 4. สรุปกรอบแนวคิดการวิจัย………………………………..….……………………………………….53


ฉ สารบัญ (ต+อ) หน7า บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย………………………………..….…………………………………………..…………….54 1. ประชากรและกลุ/มตัวอย/าง………………..….…………………………………………..……………54 2. แบบแผนการทดลอง………………..….…………………………………………..…………………….55 3. ขั้นตอนการวิจัย………………..….…………………………………………..……………………………56 4. เครื่องมือที่ใชBในการวิจัย………………..….…………………………………………..………………..57 5. การสรBางเครื่องมือที่ใชBในการวิจัย………………..….…………………………………………..…..58 6. การเก็บรวบรวมขBอมูล………………..….…………………………………………..…………………..65 7. การวิเคราะหXขBอมูล.………………..….…………………………………………..………………………65 8. สถิติที่ใชBในการวิเคราะหXขBอมูล..….…………………………………………..………………………66 บทที่ 4 ผลการวิจัย..….…………………………………………………..……………………..………………………67 1. สัญลักษณXที่ใชBในการวิเคราะหXขBอมูล..….…………………………………………..………………67 2. การนำเสนอผลการวิเคราะหXขBอมูล..….…………………………………………..…………………67 3. ผลการวิเคราะหXขBอมูล..….…………………………………………..………………………………….68 บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข7อเสนอแนะ..….……………………….……………………..…………….100 1. วัตถุประสงคXของการวิจัย..….…………………………………………..……………………………100 2. ประชากรและกลุ/มตัวอย/าง..….…………………………………………..…………………………100 3. เครื่องมือที่ใชBในการวิจัย..….…………………………………………..…………………………….101 4. การเก็บรวบรวมขBอมูล..….…………………………………………..……………………………….101 5. การวิเคราะหXขBอมูล..….…………………………………………..……………………………………102 6. สรุปผลการวิจัย..….…………………………………………..…………………………………………103 7. อภิปรายผล..….…………………………………………..………………………………………………106 8. ขBอเสนอแนะสำหรับการนำไปใชB..….…………………………………………..…………………110 9. ขBอเสนอแนะในการวิจัยครั้งต/อไป..….…………………………………………..……………….110 บรรณานุกรม..….…………………………………………………………..…………………..………………………111


ช สารบัญ (ต+อ) หน7า ภาคผนวก..….…………………………………………………………..…………………..……………………………..117 ภาคผนวก ก แบบสอบถามเพื่อการวิจัย.................………………..……………………………..118 ภาคผนวก ข การวิเคราะหXค/าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม...………………………………134 ภาคผนวก ค การหาค/าความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม (IOC)…………..………..………..137 ภาคผนวก ง รายชื่อผูBเชี่ยวชาญตรวจแบบสอบถาม...................…..…………………………146 ภาคผนวก จ หนังสือขอความอนุเคราะหX...............………………..……………………………..150 ประวัติผู7วิจัย..............................................................................................................................161


ซ สารบัญตาราง ตารางที่ หน7า 1 การสังเคราะหXกระบวนการนิเทศ เพื่อใหBไดBกระบวนการนิเทศที่เหมาะสมกับการ ส/งเสริมความสามารถของครูการในการพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน โรงเรียนในกลุ/มเครือข/ายวิชิต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต……….27 2 ประชากรและกลุ/มตัวอย/าง…..……………………………..…..……………………………………….55 3 จำนวนและรBอยละขBอมูลทั่วไปของผูBตอบแบบสอบถาม.……………………………………….69 4 ค/าเฉลี่ยและส/วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับการปฏิบัติตามสภาพป\จจุบัน และความตBองการเพื่อส/งเสริมการจัดการเรียนรูBในศตวรรษที่ 21 ทั้ง 5 ดBาน…………..71 5 ค/าเฉลี่ยและส/วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับการปฏิบัติตามสภาพป\จจุบันและ ความตBองการ ดBานการพัฒนาเทคนิค วิธีการจัดการเรียนรูB…………………………………...73 6 ค/าเฉลี่ยและส/วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับการปฏิบัติตามสภาพป\จจุบันและ ความตBองการดBานการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม ในจัดการเรียนรูB………………………………..75 7 ค/าเฉลี่ยและส/วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับการปฏิบัติตามสภาพป\จจุบัน และความตBองการ ดBานการพัฒนาศักยภาพดBานการจัดการเรียนรูB………………………..77 8 ค/าเฉลี่ยและส/วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับการปฏิบัติตามสภาพป\จจุบันและ ความตBองการ ดBานการจัดกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรูB………………………………………..79 9 ค/าเฉลี่ยและส/วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับการปฏิบัติตามสภาพป\จจุบันและ ความตBองการ ดBานการนิเทศการสอน.……………………………………….……………………..80 10 ค/าเฉลี่ยและส/วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความสามารถของครูในการพัฒนา ทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียนทั้ง 5 ดBาน.………………………………………………82 11 ค/าเฉลี่ยและส/วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับการดำเนินงานของครูในการพัฒนา ทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน ดBานการพัฒนาเทคนิค วิธีการจัดการเรียนรูB ที่สอดคลBองกับทักษะแห/งศตวรรษที่ 2.…………………………………………………………...84 12 ค/าเฉลี่ยและส/วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับการดำเนินงานของครูในการพัฒนา ทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน ดBานการพัฒนาสื่อนวัตกรรมการเรียนรูB ที่คลอบคลุมดBานทักษะ คุณลักษณะ ความสามารถตามบริบทของโรงเรียน………….85


ฌ สารบัญตาราง (ต+อ) ตารางที่ หน7า 13 ค/าเฉลี่ยและส/วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับการดำเนินงานของครูในการพัฒนา ทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียนดBานการพัฒนาการจัดการเรียนรูB (การจัดการเรียนรูBโดยใชBคลิปวีดีทัศนX) .………………………………….……………………………86 14 ค/าเฉลี่ยและส/วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับการดำเนินงานของครูในการพัฒนา ทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียนดBานการแลกเปลี่ยนเรียนรูBของครูเพื่อพัฒนา ทักษะในศตวรรษที่ 21.………………………………….…………………………………………………..88 15 ค/าเฉลี่ยและส/วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับการดำเนินงานของครูในการพัฒนา ทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน ดBานการประเมินผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนา ทักษะในศตวรรษที่ 21.………………………………….………………………………………………….89 16 ค/าเฉลี่ยและส/วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความพึงพอใจของครูต/อกระบวนการ นิเทศเพื่อส/งเสริมความสามารถของครูในการพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับ ผูBเรียน ทั้ง 5 ดBาน.………………………………….…………………………………………………………91 17 ค/าเฉลี่ยและส/วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความพึงพอใจของครูต/อกระบวนการ นิเทศเพื่อส/งเสริมความสามารถของครูในการพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับ ผูBเรียน ดBานการรวบรวมความรูB.………………………………….……………………………………..92 18 ค/าเฉลี่ยและส/วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความพึงพอใจของครูต/อกระบวนการ นิเทศเพื่อส/งเสริมความสามารถของครูในการพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับ ผูBเรียน ดBานการจัดทำสารสนเทศ.………………………………….……………………………………93 19 ค/าเฉลี่ยและส/วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความพึงพอใจของครูต/อกระบวนการ นิเทศเพื่อส/งเสริมความสามารถของครูในการพัฒนาใหBมีทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน ดBานการออกแบบการนิเทศ.………………………………….………………………..94 20 ค/าเฉลี่ยและส/วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความพึงพอใจของครูต/อกระบวนการ นิเทศเพื่อส/งเสริมความสามารถของครูในการพัฒนาใหBมีทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน ดBานการนิเทศแบบหลากหลายวิธีการ…………………………………….……….96 21 ค/าเฉลี่ยและส/วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความพึงพอใจของครูต/อกระบวนการ นิเทศเพื่อส/งเสริมความสามารถของครูในการพัฒนาใหBมีทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน ดBานการประเมินผล.………………………………….……………………………………98


1 บทที่ 1 บทนำ 1. ความเป_นมาและความสำคัญของปJญหา ป\จจุบันเปZนยุคสมัยใหม/เต็มไปดBวยการเปลี่ยนแปลงที่ทBาทาย อีกทั้งการเปลี่ยนแปลงยังเปZนไป อย/างรวดเร็วทั้งทางดBานวิทยาการ สังคม เศรษฐกิจ เทคโนโลยีและฐานความรูBโลกไดBเคลื่อนสู/ “สังคมความรูB” (knowledge-based society) ทักษะที่จำเปZนในสังคมความรูBคือ ทักษะการคิดวิเคราะหX ทักษะในการเลือกสรรและประมวลขBอมูลข/าวสารที่มีอยู/อย/างมากมาย การจัดการศึกษาและการเรียนรูB ควรมีเป{าหมายสำคัญในการพัฒนาคนในฐานะพลเมืองใหBเปZนมนุษยXที่สมบูรณXทั้งร/างกาย จิตใจ สติป\ญญา ความรูBและคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิตอย/างสมดุล มีทักษะจำเปZน และสามารถ อยู/ร/วมกับผูBอื่นอย/างมีความสุข มีภาวะผูBนำในการเรียนรูBดBวยตัวเองอย/างต/อเนื่องตลอดชีวิต โดยเนBน การเรียนรูBเพื่อเสริมสรBางแรงบันดาลใจใหBมีชีวิตอยู/อย/างมีความหมาย การเรียนรูBเพื่อบ/มเพาะ ความคิดสรBางสรรคXความสามารถในการสรBางสรรคXสิ่งใหม/ ๆ การเรียนรูBเพื่อปลูกฝ\งจิตสาธารณะ ยึดประโยชนXส/วนรวม และการเรียนรูBเพื่อการนำไปปฏิบัติมุ/งสรBางการทำงานใหBเกิดผลสัมฤทธิ์ เปZนพลเมืองที่มีคุณภาพ พึ่งพาตนเองไดBและดำเนินชีวิตอย/างมีความสุข ทั้งนี้หลักสูตรและวิธีการ จัดการศึกษาและการเรียนรูBในศตวรรษที่ 21 ควรจัดใหBผูBเรียนไดBเรียนรูBและพัฒนาตนเองอย/างต/อเนื่อง มิใช/การจดจำเนื้อหาวิชา เนBนการเรียนรูBที่เกิดจากความตBองการของผูBเรียนอย/างแทBจริงและ ลงมือปฏิบัติเพื่อใหBเกิดประสบการณXตรงและต/อยอดความรูBนั้นไดBดBวยตนเอง ผูBสอนตBองสามารถสรBางและ ออกแบบสภาพแวดลBอมในการเรียนรูBที่มีบรรยากาศเกื้อหนุนและเอื้อต/อการเรียนรูBอย/างมีเป{าหมาย การเชื่อมโยงความรูBหรือแลกเปลี่ยนความรูBกับชุมชนและสังคมโดยรวม จัดการเรียนรูBผ/านบริบท ความเปZนจริง และการสรBางโอกาสใหBผูBเรียนไดBเขBาถึงสื่อเทคโนโลยีเครื่องมือ และแหล/งเรียนรูBที่มีคุณภาพ (สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2564) พระราชบัญญัติการศึกษาแห/งชาติพ.ศ. 2542 และที่แกBไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ. 2545 ตามมาตรา 24 (2) ระบุว/า การจัดกระบวนการเรียนรูBใหBสถานศึกษาและหน/วยงานที่เกี่ยวขBอง ดำเนินการดังต/อไปนี้ฝïกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณXและการประยุกตX ความรูBมาใชBเพื่อป{องกันและแกBป\ญหาตามมาตรา 24 (3) ยังระบุไวBว/า จัดกิจกรรมใหBผูBเรียนไดBเรียนรูB จากประสบการณXจริง ฝïกการปฏิบัติใหBทำไดBคิดเปZน ทำเปZน รักการอ/าน และเกิดการรูBอย/างต/อเนื่อง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงไดBพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน


2 พุทธศักราช 2551 โดยมุ/งพัฒนาผูBเรียนใหBมีความรูBมีคุณธรรม รักความเปZนไทย มีทักษะการคิดวิเคราะหX คิดสังเคราะหXคิดสรBางสรรคXมีทักษะดBานเทคโนโลยีสามารถทำงานร/วมกับผูBอื่น และสามารถอยู/ร/วมกับ ผูBอื่นในสังคมโลกไดBอย/างมีสันตินอกจากนี้หลักสูตรยังกำหนดสมรรถนะสำคัญ เพื่อใหBผูBเรียนมีคุณภาพ และบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรูBตามที่กำหนด ไดBแก/ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถ ในการคิด ความสามารถในการแกBป\ญหา ความสามารถในการใชBทักษะชีวิต และความสามารถ ในการใชBเทคโนโลยีจากจุดมุ/งหมายในการพัฒนาผูBเรียน และสมรรถนะสำคัญของผูBเรียนตามหลักสูตร นอกจากนี้กระทรวงศึกษาธิการ ยังไดBมีการประกาศใหBใชBมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนยXการศึกษาพิเศษ พ.ศ. 2561 ลงวันที่ 6 สิงหาคม 2561 เพื่อใหBสถานศึกษาใชBเปZนแนวทางการดำเนินงานเพื่อการประกันคุณภาพภายใน ในมาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูBเรียนดBานผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผูBเรียน ที่กำหนดใหBผูBเรียน มีความสามารถในการอ/านการเขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณ มีความสามารถในการคิดวิเคราะหX คิดอย/างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแกBป\ญหา มีความสามารถ ในการสรBางนวัตกรรม มีความสามารถในการใชBเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยมีสำนักทดสอบ ทางการศึกษา ไดBกำหนดแนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาใหBสถานศึกษา เพื่อรองรับ การประเมินภายนอกจากสำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพภายนอกต/อไป (กระทรวงศึกษาธิการ, 2545) ทักษะแห/งอนาคตใหม/ในศตวรรษที่ 21 (21ST Century Skills) เปZนทักษะที่จำเปZน ต/อการดำรงชีวิตของประชาชนคนไทย ในฐานะการเปZนพลเมืองของโลก ที่มีการดำรงชีวิตท/ามกลาง โลกแห/งเทคโนโลยี โลกของเศรษฐกิจและการคBา โลกาภิวัฒนXกับเครือข/าย ความสมดุลของสิ่งแวดลBอม และพลังงาน ความเปZนสังคมเมือง ประเทศไทยจำเปZนตBองคBนหายุทธศาสตรXใหม/ในการพัฒนา ระบบการศึกษาสอดคลBองกับแนวคิดของวิจารณX พานิช (2556) ที่กล/าวว/า การศึกษาที่ถูกตBองสำหรับ ศตวรรษใหม/ตBองเรียนใหBบรรลุทักษะจากรูBวิชาไปสู/ทักษะในการใชBวิชา เพื่อการดำรงชีวิตในโลก แห/งความเปZนจริง การเรียนจึงตBองเนBนเรียนโดยการลงมือทำ หรือการฝïกฝนนั่นเอง และคนเราตBองฝïกฝน ทักษะต/าง ๆ ที่จำเปZนตลอดชีวิต เครื่องมือเสริมสรBางทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 จึงเปZนเครื่องมือสำคัญ ในการยกระดับการเรียนรูBร/วมกันของทั้งผูBบริหารการศึกษา ครูและผูBเรียน บนฐานคิด “กระบวนการ เรียนรูBสำคัญกว/าความรูB” และ “กระบวนการหาคำตอบสำคัญกว/าคำตอบ” โดยใชBฐานคิด “ทักษะแห/ง ศตวรรษที่ 21” (21st Century skills) เพื่อรองรับความทBาทายและการเปลี่ยนแปลงต/าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นกับ ประเทศไทยในศตวรรษที่ 21 การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและส/งเสริมการผลิตกำลังคน ที่มีขีดความสามารถในการแข/งขันในเวทีเศรษฐกิจโลกในศตวรรษที่ 21 โดยอยู/บนพื้นฐาน ความเปZนไทย


3 และฐานคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อใหBเขBาใจตัวตนความเปZนไทยอย/างเขBมแข็งก/อนเขBาสู/เวที ประชาคมอาเซียนอย/างยั่งยืน การจัดการเรียนการสอน การฝïกฝนใหBผูBเรียนไดBเกิดการเรียนรูB ตBองใชBทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ไม/ใช/ทักษะดBานการท/องจำอีกต/อไป แต/ในสภาพป\จจุบัน ครูยังสอนดBวยวิธีการบรรยาย โดยยึดเนื้อหาจาก หนังสือเรียนไม/ไดBยึดมาตรฐานการเรียนรูBตัวชี้วัดตามหลักสูตร การสอนเปZนการสอนเนื้อหไม/ไดBเนBนสอน กระบวนการอันนำไปสู/ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำเมื่อเทียบกับนานาประเทศ ดังนั้นในการจัดการเรียน การสอนในยุคนี้ จึงควรมุ/งใหBผูBเรียนเกิดการสรBางทักษะแห/งอนาคตใหม/ เพื่อใหBผูBเรียนมีความรูB ทักษะ และ คุณลักษณะขั้นพื้นฐาน ที่สามารถใชBชีวิตอยู/ไดBในสังคมเศรษฐกิจสมัยใหม/ ไดBอย/างมีคุณภาพรูBจักตัวเอง รูBจักโลก และมีเป{าหมายในการดำเนินชีวิต ดังนั้น การสรBางผูBเรียนใหBมีศักยภาพในการใชBชีวิตอยู/ไดB ในสังคมเศรษฐกิจสมัยใหม/จึงมีความจำเปZนอย/างยิ่ง โดยครูตBองเปZนผูBสรBางผูBเรียนทุกคน ใหBมีความรูB ความสามารถ และทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดBนำแนวคิดของวิจารณX พานิช (2555, หนBา 18 - 21) ที่ไดBดำเนินการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษา มีการเร/งพัฒนาคุณภาพการศึกษา และคุณภาพ ผูBเรียน โดยมุ/งเนBนการพัฒนาครูผูBสอน ซึ่งเปZนหัวใจสำคัญในการจัดการเรียนรูBใหBผูBเรียน ใหBเปZนครูยุคใหม/ ที่ไม/เนBนการสอน แต/จะทำหนBาที่สรBางแรงบันดาลใจใหBเกิดขึ้นกับผูBเรียน เนBนการออกแบบกระบวนการ เรียนรูBครูจะเปZนผูBชี้แนะการเรียนรูB (Coaching) ในดBานเนื้อหาสาระสำคัญที่ใชBในการจัดการเรียนรูBสำหรับ ศตวรรษที่ 21 จะยึดหลัก 3R ไดBแก/ Reading (อ/านออก) (W) Riting (เขียนไดB) (A) Rithemetics (คิดเลขเปZน) และ 8C ไดBแก/ 1) Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะดBานการคิด อย/างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแกBป\ญหา) 2) Creativity and Innovation (ทักษะดBาน การสรBางสรรคXและนวัตกรรม) 3) Cross-cultural Understanding (ทักษะดBานความเขBาใจความต/าง วัฒนธรรมต/างกระบวนทัศนX) 4) Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดBาน ความร/วมมือการทำงานเปZนทีม) 5) Communications, Information and Media Literacy (ทักษะดBานการสื่อสารสารสนเทศและรูBเท/าทันสื่อ) 6) Computing and ICT Literacy (ทักษะดBาน คอมพิวเตอรX และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) 7) Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และการเรียนรูB) 8) Compassion (ความมีเมตตา กรุณา มีวินัย คุณธรรม และ จริยธรรม) ซึ่งเปZนภารกิจที่ ผูBสอนและผูBมีส/วนเกี่ยวขBองทุกฝÑายตBองร/วมมือกัน ในการมีบทบาทจัดการเรียนรูBใหBผูBเรียนทั้งในหBองเรียน และนอกหBองเรียนเหมาะสมกับสถานการณXป\จจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงดBานต/าง ๆ อย/างรวดเร็ว สอดคลBองกับ สุวิธิดา จรุงเกียรติกุล (2561) ที่กล/าวว/า การพัฒนาผูBเรียนใหBมีทักษะการเรียนรูBในศตวรรษ ที่ 21 นั้น ตBองใหBความสำคัญกับทั้งระบบ โดยการบูรณาการประเด็นดังกล/าวในมาตรฐานการจัดการเรียน


4 การสอน การวัดและการประเมินผลหลักสูตรการเรียนรูB การจัดการเรียนการสอน การสรBางบรรยากาศ การเรียนรูB และการพัฒนาครูผูBสอน เพื่อก/อเกิดผลลัพธXการเรียนรูBที่จำเปZนและการพัฒนาผูBเรียนที่มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่พึงประสงคX ในการพัฒนาทักษะการเรียนรูBในศตวรรษที่ 21 การใหB ความสำคัญกับกิจกรรมเสริมหลักสูตรทั้งในระบบ นอกระบบ และอัธยาศัยเปZนการช/วยเสริมสรBาง ทักษะการเรียนรูBสำหรับผูBเรียนในโรงเรียนไดBเปZนอย/างดี และไพฑูรยX สินลำรัตนX (2558, หนBา 16) ไดBกล/าวว/า การสอนใหBผูBเรียนรูBจักคิดหรือเนBนคิด วิเคราะหXไดBดBวยตนเอง ครูผูBสอนจะใชBกิจกรรมอะไร ใหBผูBเรียนคิด ในการจัดการเรียนการสอนตBองมีการวางแผนและเตรียมการใชBกิจกรรมต/าง ๆ เพื่อฝïก ใหBผูBเรียนคิดบ/อย ๆ จากความสำคัญของการจัดการเรียนการสอนในป\จจุบัน การนิเทศการสอนจึงมีความสำคัญ อย/างยิ่งต/อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพราะการนิเทศการสอนเปZนการช/วยเหลือ แนะนำ ส/งเสริม การจัดการเรียนรูBของครูพัฒนาครูใหBมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติการสอน เปZนกระบวนการทำงาน ร/วมกันระหว/างผูBนิเทศและผูBรับการนิเทศ ซึ่งผลลัพธXอยู/ที่คุณภาพการจัดการศึกษาและคุณภาพ ผูBเรียน ขณะเดียวกันการนิเทศการสอนจำเปZนตBองปรับเปลี่ยนกระบวนการนิเทศ เพื่อไปขับเคลื่อน นโยบาย กระทรวงศึกษาธิการ และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานสู/การปฏิรูปการศึกษา และการดำเนินงานของโรงเรียนใหBสามารถบริหารจัดการไดBอย/างมีประสิทธิภาพและเพิ่มคุณภาพ การจัดการเรียนการสอน ทั้งนี้ การนิเทศการสอนในป\จจุบันมิไดBจำกัดแค/ศึกษานิเทศกXจากภายนอก เท/านั้น ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา ผูBบริหารสถานศึกษา และครูที่ไดBรับมอบหมายหรือ ผูBทำหนBาที่นิเทศ ซึ่งอาจเปZนครูหรือเพื่อนครู หัวหนBากลุ/มสาระการเรียนรูBหรือครูวิชาการ มีบทบาท ในการนิเทศการสอนภายในโรงเรียน เรียกว/า “ผูBนิเทศ” (วัชรา เล/าเรียนดี, 2553 หนBา 1) จากความสำคัญดังกล/าว ผูBวิจัยจึงมีความสนใจศึกษาการนิเทศเพื่อส/งเสริมความสามารถ ของครูในการพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียนโรงเรียนกลุ/มเครือข/ายวิชิต สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต เพื่อนำผลการศึกษามาใชBเปZนแนวทางในการขับเคลื่อนการนิเทศ เพื่อส/งเสริมศักยภาพการจัดการเรียนรูBในศตวรรษที่ 21 ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาภูเก็ต เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาใหBเกิดประสิทธิผลต/อไป


5 2. วัตถุประสงค`ของการวิจัย 2.1 เพื่อศึกษาสภาพป\จจุบันและความตBองการส/งเสริมความสามารถของครูในการพัฒนาทักษะ แห/งศตวรรษที่ 21ใหBกับผูBเรียนโรงเรียนในกลุ/มเครือข/ายวิชิต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต 2.2 เพื่อศึกษาความสามารถของครูในการจัดการเรียนรูBเพื่อพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียนโรงเรียนในกลุ/มเครือข/ายวิชิต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต 2.3 เพื่อศึกษาความพึงพอใจต/อกระบวนการนิเทศเพื่อส/งเสริมความสามารถของครูในการพัฒนา ทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียนโรงเรียนในกลุ/มเครือข/ายวิชิต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาภูเก็ต 3. ข7อคำถามการวิจัย 3.1 สภาพป\จจุบันและความตBองการ เพื่อส/งเสริมความสามารถในการพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียนโรงเรียนในกลุ/มเครือข/ายวิชิต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต อยู/ในระดับ มากใช/หรือไม/ 3.2 ความสามารถของครูในการจัดการเรียนรูBเพื่อพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษ ที่ 21 ใหBกับผูBเรียน โรงเรียนในกลุ/มเครือข/ายวิชิต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต อยู/ในระดับมากใช/หรือไม/ 3.3 ความพึงพอใจต/อกระบวนการนิเทศเพื่อส/งเสริมความสามารถของครูในการพัฒนาทักษะ แห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียนโรงเรียนในกลุ/มเครือข/ายวิชิต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ภูเก็ตอยู/ในระดับมากใช/หรือไม/ 4. สมมติฐานการวิจัย 4.1 สภาพป\จจุบันและความตBองการ เพื่อส/งเสริมความสามารถในการพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียนโรงเรียนในกลุ/มเครือข/ายวิชิต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ตอยู/ในระดับมาก 4.2 ความสามารถของครูในการจัดการเรียนรูBเพื่อพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษ ที่ 21 ใหBกับผูBเรียน โรงเรียนในกลุ/มเครือข/ายวิชิต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ตอยู/ในระดับมาก 4.3 ความพึงพอใจต/อกระบวนการนิเทศเพื่อส/งเสริมความสามารถของครูในการพัฒนาทักษะแห/ง ศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียนโรงเรียนในกลุ/มเครือข/ายวิชิต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต อยู/ในระดับมาก


6 5. ขอบเขตของการวิจัย ขอบเขตด7านเนื้อหา ในการวิจัยครั้งนี้ ทำการศึกษากระบวนการนิเทศการสอนใน 5 ดBาน ดังนี้ 1) การรวบรวมความรูB 2) การจัดทำสารสนเทศ 3) การออกแบบการนิเทศ 4) การนิเทศแบบหลากหลาย 5) การประเมินผล ประชากรและกลุ+มตัวอย+าง ประชากรที่ใชBในการศึกษา ไดBแก/ ครูผูBสอน จำนวน 182 คน โรงเรียนในกลุ/มเครือข/ายวิชิต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จำนวน 5 แห/ง ไดBแก/ โรงเรียนอนุบาลภูเก็ต โรงเรียนวัดเทพนิมิตร โรงเรียนวิชิตสงคราม โรงเรียนบBานอ/าวน้ำบ/อ และ โรงเรียนแหลมพันวา ผูBวิจัยไดBกำหนดขนาดกลุ/มตัวอย/างโดยใชBสูตรของทาโร ยามาแน/ (1973 : 1088) ไดBกลุ/มตัวอย/างจำนวน 125 คน และจากนั้นผูBวิจัยสุ/มตัวอย/าง โดยการสุ/มแบบแบ/งชั้น ( Stratified random sampling) ตามสัดส/วนของจำนวนครูในแต/ละโรงเรียน และสุ/มครูในแต/ละโรงเรียนโดยการ สุ/มอย/างง/าย (Sample Random Sampling) ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรที่ใชBในการศึกษา 1. ตัวแปรตBน ไดBแก/ กระบวนการนิเทศการสอน ประกอบดBวย 1) การรวบรวมความรูB 2) การจัดทำสารสนเทศ 3) การออกแบบการนิเทศ 4) การนิเทศแบบหลากหลาย และ 5) การประเมินผลการนิเทศ 2. ตัวแปรตาม ไดBแก/ 1) ความสามารถของครูในการพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับ ผูBเรียน และ 2) ความพึงพอใจต/อกระบวนการนิเทศ ขอบเขตของเวลา ผูBวิจัยกำหนดระยะเวลาในการวิจัยช/วงระหว/าง 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กรกฎาคม 2565 6. ข7อตกลงเบื้องต7น การวิจัยในครั้งนี้ เปZนการนำกระบวนการนิเทศ 5 ขั้นตอนที่ไดBจากการสังเคราะหXงานวิจัย ที่เกี่ยวขBองกับรูปแบบการนิเทศ หรือกระบวนการนิเทศการสอน และนำมาทดลองใชBกับครูผูBสอน ในโรงเรียนในกลุ/มเครือข/ายวิชิต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต โดยกำหนดกิจกรรม พัฒนาครูผูBสอน 5 ประเด็น ไดBแก/


7 1) พัฒนาเทคนิค/วิธีการจัดการเรียนรูBที่สอดคลBองกับทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 2) พัฒนาสื่อ นวัตกรรม การเรียนรูBที่ครอบคลุมดBานทักษะ คุณลักษณะความสามารถ ตามบริบทของโรงเรียน 3) พัฒนาศักยภาพครูดBานการจัดการเรียนรูBที่สอดคลBองกับทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 (จัดทำคลิปวีดีทัศนXสำหรับจัดการเรียนการสอนผ/านระบบการศึกษาทางไกล) 4). จัดประกวด แข/งขัน จัดค/าย แลกเปลี่ยนเรียนรูBเพื่อพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 สำหรับครูและนักเรียน 5) นิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานการนิเทศภายในของสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและรายงานผล 7. นิยามศัพท`เฉพาะ 7.1 การนิเทศเพื่อส/งเสริมความสามารถของครูในการพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน หมายถึง การดำเนินงานตามขั้นตอนการนิเทศอย/างเปZนระบบ ระหว/างผูBนิเทศและผูBรับการนิเทศ เพื่อใหBผูBรับการนิเทศไดBรับการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรูB ส/งผลใหBผูBเรียนมีทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ประกอบดBวย 5 ขั้นตอน ไดBแก/ การรวบรวมความรูB การจัดทำสารสนเทศ การออกแบบการนิเทศ การนิเทศแบบหลากหลาย และการประเมินผลการนิเทศ 7.2 การรวบรวมความรูB หมายถึง การสรBางองคXความรูBของผูBนิเทศโดยการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวขBองกับ การจัดกิจกรรมการเรียนรูBการพัฒนาผูBเรียนใหBมีทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 7.3 การจัดทำสารสนเทศ หมายถึง การนำขBอมูลและความรูBที่รวบรวมไดBมาประมวลผลจัดลำดับ ขั้นตอน จัดทำเปZนเอกสารคู/มือแนวทางการดำเนินงานใหBสถานศึกษาใชBในการวางแผนการดำเนินงาน 7.4 การออกแบบการนิเทศ หมายถึง การกำหนดแนวทางการนิเทศ วิธีการนิเทศ จัดทำแผนการนิเทศ กำหนดปฏิทินการนิเทศ และการประชุมวางแผนการดำเนินการนิเทศร/วมกันของผูBนิเทศ 7.5 การนิเทศแบบหลากหลาย หมายถึง วิธีการนิเทศที่ผูBนิเทศใชBในการส/งเสริมความสามารถของครู ไดBแก/ การนิเทศแบบชุมชนการเรียนรูB(PLC) การนิเทศแบบออนไลนX (Online) การนิเทศแบบใหB คำแนะนำปรึกษา (Coaching and Mentoring) และการนิเทศแบบมีส/วนร/วม 7.6 การประเมินผลการนิเทศ หมายถึง การประเมินความเหมาะสมของกระบวนการนิเทศ และความสามารถของครูในการจัดการเรียนรูBเพื่อพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน


8 7.7 ความสามารถของครู หมายถึง การดำเนินงานของครูเพื่อส/งเสริมทักษะแห/งศตวรรษที่ 21ใหBกับผูBเรียน ไดBแก/ การพัฒนาสื่อ นวัตกรรม การเรียนรูBที่ครอบคลุมดBานทักษะ คุณลักษณะความสามารถตามบริบท ของโรงเรียน จัดทำคลิปวีดีทัศนXสำหรับจัดการเรียนการสอนผ/านระบบการศึกษาทางไกลเปZนตBน 7.8 การส/งเสริมความสามารถของครูหมายถึง การดำเนินการเพื่อใหBครูสามารถออกแบบการจัดการ เรียนรูB และจัดกระบวนการเรียนรูBเพื่อพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน 7.9 การพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน หมายถึง การจัดกระบวนการเรียนรูBเพื่อใหB ผูBเรียนมีความรูB ความสามารถ และมีคุณลักษณะที่จำเปZนต/อการดำรงชีวิตในยุคป\จจุบัน โดยยึดหลัก 3R ไดBแก/ Reading (อ/านออก) (W) Riting (เขียนไดB) (A) Rithemetics (คิดเลขเปZน) และ 8C ไดBแก/ 1) Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะดBานการคิดอย/างมีวิจารณญาณ และทักษะ ในการแกBป\ญหา) 2) Creativity and Innovation (ทักษะดBานการสรBางสรรคX และนวัตกรรม) 3) Cross-cultural Understanding (ทักษะดBานความเขBาใจความต/างวัฒนธรรม ต/างกระบวนทัศนX) 4) Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดBานความร/วมมือ การทำงนเปZนทีม) 5) Communications, Information and Media Literacy (ทักษะดBานการสื่อสารสารสนเทศ และ รูBเท/าสื่อ) 6) Computing and ICT Literacy (ทักษะดBานคอมพิวเตอรX และเทคโนโลยีสารสนเทศ และ การสื่อสาร) 7) Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและการเรียนรูB) 8) Compassion (ความมีเมตตา กรุณา มีวินัย คุณธรรม และจริยธรรม) 7.10 การนิเทศการสอน หมายถึง การช/วยเหลือ แนะนำ สนับสนุน ส/งเสริม กระตุBน ร/วมคิด ร/วมทำ สรBางเสริมกำลังใจใหBผูBรับการนิเทศสามารถพัฒนา ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน ส/งผลใหBครูสามารถ พัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียนไดB 7.11 ผูBนิเทศ หมายถึง ผูBบริหารการศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศึกษานิเทศกX ผูBบริหาร สถานศึกษา และ ครูผูBสอนที่มีความรูB ความสามารถ มีประสบการณX มีหนBาที่หรือไดBรับมอบหมายในการ นิเทศการสอน เพื่อส/งเสริมความสามารถของครูในการพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน 7.12 ผูBรับการนิเทศ หมายถึง ครูผูBสอนโรงเรียนในกลุ/มเครือข/ายวิชิต สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต ไดBแก/ โรงเรียนอนุบาลภูเก็ต โรงเรียนวัดเทพนิมิตร โรงเรียนวิชิตสงคราม โรงเรียนบBานอ/าวน้ำบ/อ และโรงเรียนแหลมพันวา


9 8. ประโยชน`ที่ได7รับจากการวิจัย 8.1 ผูBรับการนิเทศ ไดBรับการพัฒนาใหBสามารถออกแบบการเรียนรูB และจัดกิจกรรมการเรียนรูB เพื่อพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน 8.2 ผูBนิเทศการสอนไดBแนวทางการนิเทศเพื่อส/งเสริมความสามารถของครูในการพัฒนาทักษะ แห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน 8.3 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต มีสารสนเทศเกี่ยวกับสภาพป\จจุบันและ ความตBองการเพื่อส/งเสริมความสามารถของครูในการพัฒนาทักษะแห/ง ศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน


บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข7อง งานวิจัย เรื่อง การนิเทศเพื่อส/งเสริมความสามารถของครูในการพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน ผูBวิจัยไดBนำเสนอเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวขBอง ดังนี้ 1. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข7องกับการนิเทศการศึกษา 1.1 ความหมายของการนิเทศการสอน 1.2 ความสำคัญของการนิเทศการสอน 1.3 หลักการนิเทศการสอน 1.4 กระบวนการนิเทศการสอน 2. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข7องกับทักษะศตวรรษที่ 21 2.1 ความหมายและความสำคัญของทักษะในศตวรรษที่ 21 2.2 กรอบแนวคิดการเรียนรูBในศตวรรษที่ 21 2.3 คุณลักษณะของผูBเรียนในศตวรรษที่ 21 3. งานวิจัยที่เกี่ยวข7อง 4. สรุปกรอบแนวคิดการวิจัย 1. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข7องกับการนิเทศการสอน 1.1 ความหมายของการนิเทศการสอน จากการสังเคราะหXความหมายของการนิเทศการสอน นักการศึกษาทั้งชาวไทยและ ชาวต/างประเทศไดBใหBความหมายของการนิเทศการสอน ดังนี้ Wiles (1967, หนBา 6) กล/าวว/า การนิเทศการสอน หมายถึง การแนะนำซึ่งกันและกัน การวางแผนร/วมกัน เพื่อหาแนวทางการปรับปรุงการเรียนการสอนใหBดีขึ้น Good (1973, หนBา 374) กล/าวว/า การนิเทศการสอน เปZนความพยายามทุกชนิดของฝÑาย การศึกษาที่ไดBรับมอบหมายใหBทำหนBาที่ในการนิเทศการสอน ใหBการแนะนำครูหรือผูBอื่นที่ทำหนBาที่ เกี่ยวกับการศึกษา ใหBรูBจักปรับปรุงวิธีสอนหรือการใหBการศึกษา ทำใหBเกิดความงอกงามในวิชาชีพ ดBานการศึกษาร/วมพัฒนาครูช/วยเหลือและปรังปรุงวัตถุประสงคXของการสอน เนื้อหาการสอน และ การ ประเมินผลการสอน


11 Harris (1985, หนBา 19) กล/าวว/า การนิเทศการสอน หมายถึง สิ่งที่บุคลากรในโรงเรียน กระทำ ต/อบุคคลหรือสิ่งหนึ่งสิ่งใด โดยมีวัตถุประสงคXเพื่อดำเนินการหรือเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงานของโรงเรียน มุ/งใหBเกิดประสิทธิภาพในการสอนเปZนสำคัญ ชาญชัย อาจิณสมาจาร (2548) กล/าวว/า การนิเทศการสอน คือ กระบวนการสรBางสรรคXที่ไม/ หยุดนิ่งในการใหBคำแนะนำและการชี้ช/องทางในลักษณะที่เปZนกันเองแก/ครูและนักเรียน เพื่อการปรับปรุง ตัวเขาเอง และสภาพการเรียนการสอน เพื่อใหBบรรลุเป{าหมายที่พึงประสงคX สเป°ยรXส (Spears อBางถึงใน อัญชลี ธรรมะวิธีกุล, 2552) กล/าวว/า การนิเทศการสอนเปZน กระบวนการที่จะทำใหBเกิดการปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนของครู โดยการทำงานร/วมกับบุคคล ที่เกี่ยวขBองกับการนี้เปZนกระบวนการกระตุBนความเจริญกBาวหนBาของครู และมุ/งหวังที่จะช/วยเหลือครู เพื่อใหBครูไดBช/วยตนเองไดB มาคสX และสทูปสX (Marks and Stoops อBางถึงใน อัญชลี ธรรมะวิธีกุล, 2552) กล/าวว/า การนิเทศการสอน คือการพัฒนาและปรับปรุงการเรียนการสอนใหBเหมาะสมกับสถานการณXและส/งผล สะทBอนไปถึงการพัฒนานักเรียนดBวย วัชรา เล/าเรียนดี (2556) กล/าวว/า การนิเทศ (Supervision) หมายถึง การใหBความช/วยเหลือ การใหBคำแนะนำ และการปรับปรุงเพื่อใหBงานบรรลุตามวัตถุประสงคXหรือมาตรฐานที่กำหนดไวB สรุปได7ว+า การนิเทศการสอน หมายถึง การช/วยเหลือ แนะนำ สนับสนุน ส/งเสริม กระตุBน ร/วมคิด ร/วมทำ สรBางเสริมกำลังใจใหBผูBรับการนิเทศสามารถพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน เพื่อใหB การจัดการศึกษาบรรลุจุดมุ/งหมายที่วางไวB 1.2 ความสำคัญของการนิเทศการสอน นักวิชาการหลายท/านไดBกล/าวถึงความสำคัญของการนิเทศไวB ดังนี้ มนูญ อรุณไพโรจนX(2553) กล/าวว/า ความสำคัญของการนิเทศการศึกษามีดังนี้ 1) สภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลา การศึกษาจำเปZนจะตBองมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อใหB สอดคลBองกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคม 2) ความรูBในสาขาวิชาการต/าง ๆ เพิ่มพูนขึ้นเรื่อย ๆ โดยไม/หยุดยั้ง เปZนเหตุใหBแนวคิดเรื่อง การเรียนการสอนเปลี่ยนไปตลอดเวลา ครูจำเปZนตBองติดตามศึกษาใหBมีความรูBทันกับความเปลี่ยนแปลง ใหม/ ๆ แต/โดยที่ครูมีภาระหนBาที่ในการสอนและทำกิจกรรมต/าง ๆ มากเสียจนลBนมือจึงเกิดความจำเปZน ที่จะตBองมีการนิเทศเขBามาเกี่ยวขBอง


12 3) การพัฒนาการเรียนการสอนและการแกBป\ญหาอุปสรรคต/าง ๆ เกี่ยวกับการเรียนการสอน จำเปZนตBองอาศัยการนิเทศจากผูBเชี่ยวชาญหรือผูBชำนาญการโดยเฉพาะ ผูBนิเทศหรือศึกษานิเทศกX 4) คุณภาพการศึกษาหรือมาตรฐานการศึกษาของประเทศ มีความจำเปZนตBองรักษาไวB ศึกษานิเทศกXจะทำหนBาที่เปZนผูBรายงานและดูแลใหBการเรียนการสอนในโรงเรียนต/าง ๆ ไดBมาตรฐาน ตามที่กำหนดไวBหากพิจารณาจากระบบการจัดการศึกษาแลBวจะเห็นว/าการนิเทศการศึกษา เปZนกระบวนการ หรือเครื่องมือทางการบริหารที่จะปรับองคXกรทางการศึกษาใหBเคลื่อนไหว ตามการเปลี่ยนแปลงของสังคม ตลอดจนเปZนเครื่องมือในการนำความรูBใหม/ๆ ใหBกับระบบและองคXการ เปZนที่ยอมรับในวงการศึกษา จึงควรใหBบุคลากรดังกล/าวไดBแสดงความรูBความสามารถใหBเกิดประโยชนX ต/อการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียนอย/างเต็มศักยภาพ 5) การนิเทศ เปZนการสนองเจตนารมณXสูงสุดของการนิเทศการศึกษาที่ตBองการใหBครูไดBนิเทศ ซึ่งกันและกัน หรือสามารถนิเทศกันเองไดB ลฎาภา นาคคูบัว (2556) กล/าวว/า งานนิเทศการศึกษาเปZนงานที่ปฏิบัติกับครู เพื่อใหBเกิดผล ต/อคุณภาพผูBเรียนโดยตรง โดยมีความสำคัญ คือ 1) เพื่อช/วยพัฒนาความสามารถของครูผูBสอน 2) เพื่อช/วยใหBครูสามารถวิเคราะหXป\ญหาและหาแนวทางแกBไขป\ญหาไดBดBวยตนเอง 3) เพื่อช/วยใหBครูคBนหาวิธีการทำงานดBวยตนเอง 4) เพื่อช/วยใหBครูมีความศรัทธาในวิชาชีพของตน 5) เพื่อช/วยใหBครูมีความกBาวหนBาในวิชาชีพ 6) เพื่อช/วยใหBครูมีทักษะในการปฏิบัติงาน เช/น การพัฒนาหลักสูตร การปรับปรุงการเรียน การสอน การใชBและผลิตสื่อการสอน การวัดและประเมินผล เปZนตBน 7) เพื่อช/วยครูใหBสามารถทำวิจัยในชั้นเรียนไดB สรุปได7ว+า การนิเทศเปZนกิจกรรมที่มีความสำคัญ ที่จะทำใหBการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ของโรงเรียนดำเนินการไปอย/างมีประสิทธิภาพ นอกจากนั้นยังเปZนการส/งเสริมใหB ผูBบริหาร คณะครู ไดBปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนในชั้นเรียนของตนเองใหBมีคุณภาพเปZนไปตาม จุดมุ/งหมาย ของหลักสูตรที่กำหนด


13 1.3 หลักการนิเทศการสอน สงัด อุทรานันทX (2530) กล/าวว/า หลักการนิเทศมี 3 ประการ เพื่อเปZนพื้นฐานสำหรับ การนิเทศการสอน ดังนี้ หลักการที่ 1 การนิเทศการสอนเปZน “กระบวนการ” ทำงานร/วมกันระหว/าง ผูBบริหาร ผูBนิเทศ และผูBรับการนิเทศ กล/าวคือคำว/า “กระบวนการ” จะมีความหมายครอบคลุมถึงการทำงานเปZนขั้นตอน มีความต/อเนื่องไม/หยุดนิ่ง และมีความเกี่ยวขBองปฏิสัมพันธXในหมู/ผูBปฏิบัติงาน ซึ่งเปZนลักษณะเฉพาะ ที่พึงประสงคXของการนิเทศการศึกษา หลักการที่ 2 การนิเทศการสอนมีเป{าหมายอยู/ที่คุณภาพของนักเรียน แต/การดำเนินงานนั้น จะกระทำโดยผ/าน “ตัวกลาง” คือ ครูและบุคลากรทางการศึกษา กล/าวคือ การนิเทศการสอน จะดำเนินการโดยผ/านครูและบุคลากรทางการศึกษา ไม/ใช/ดำเนินการกับนักเรียนโดยตรงเปZนการทำงาน ร/วมกับครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อใหBครูและบุคลากรทางการศึกษาไดBพัฒนาความรูBความเขBาใจ และสามารถปฏิบัติงานสอนไดBอย/างมีประสิทธิภาพ อันจะส/งผลต/อคุณภาพของนักเรียน หลักการที่ 3 การนิเทศการสอนเนBนบรรยากาศแห/งความเปZนประชาธิปไตย กล/าวคือ กระบวนการนิเทศการสอน ไม/ไดBมองเฉพาะบรรยากาศแห/งการทำงานร/วมกันเท/านั้น แต/จะรวมถึง การยอมรับซึ่งกันและกัน การเปลี่ยนบทบาทในฐานะผูBนำและผูBตาม และความรับผิดชอบต/อผลงาน ร/วมกันดBวย วิจิตร วรุตบางกูร และคณะ (2547) กล/าวว/า หลักสำคัญในการนิเทศการสอน มีดังนี้ 1) หาทางใหBครูรูBจักช/วยและพึ่งตัวเอง ไม/ใช/คอยจะอาศัยและหวังพึ่งศึกษานิเทศกXหรือ คนอื่นตลอดเวลา 2) ช/วยใหBครูมีความเชื่อมั่นในตนเอง สามารถที่จะวิเคราะหXและแยกแยะป\ญหาต/าง ๆ ดBวยตนเองไดB 3) ตBองทราบความตBองการของครูแลBววางแผนการนิเทศเพื่อตอบสนองความตBองการนั้น ๆ 4) ศึกษาป\ญหาต/าง ๆของครูและทำความเขBาใจกับป\ญหานั้น ๆ แลBวพิจารณาหาทางช/วยแกBไข 5) ชักจูงใหBครูช/วยกันแยกแยะและวิเคราะหXป\ญหาร/วมกัน 6) การแกBไขป\ญหาเกี่ยวกับการเรียนการสอน ควรเปÅดโอกาสใหBครูไดBใชBความคิดและลงมือ กระทำเองใหBมากที่สุด 7) รับฟ\งความคิดเห็นและขBอเสนอแนะต/าง ๆ ของครู แลBวนำมาพิจารณาร/วมกัน 8) ช/วยจัดหาแหล/งวิทยากร อุปกรณXการสอน ตลอดจนเครื่องมือเครื่องใชBต/าง ๆ ใหBแก/ครู 9) ช/วยจัดหาเอกสาร หนังสือ และตำราต/าง ๆ ใหBแก/ครู


14 10) ช/วยใหBครูรูBจักจัดหาหรือจัดทำวัสดุอุปกรณXการสอนที่ขาดแคลนดBวยตนเอง โดยใชBวัสดุ ในทBองถิ่นที่มีอยู/ 11) หาทางใหBสถานศึกษา ชุมนุมชน และหน/วยงานที่ใกลBเคียง มีความสัมพันธXกันและช/วยเหลือ ซึ่งกันและกัน 12) ตBองยอมรับนับถือบุคลากรที่ร/วมงานในโรงเรียนนั้น ๆ และแสดงใหBเขาเห็นว/าเขา มีความสำคัญในสถานศึกษานั้น ๆ ดBวย 13) ช/วยใหBครูไดBแถลงกิจกรรม และผลงานต/าง ๆ ของสถานศึกษาใหBชุมชนทราบโดยสม่ำเสมอ 14) ตBองทำความเขBาใจกับผูBบริหารสถานศึกษาในส/วนที่เปZนหนBาที่และความรับผิดชอบ ของกันและกัน 15) ช/วยประสานงานระหว/างสถานศึกษากับองคXการหรือหน/วยงานที่เกี่ยวขBอง 16) รวบรวมขBอมูลต/าง ๆ ที่เห็นว/าเปZนประโยชนXมาทำการวิเคราะหXและวิจัย 17) ทำความเขBาใจเกี่ยวกับเรื่องราวต/าง ๆ ของการศึกษาอย/างแจ/มแจBง เพื่อจะไดBดำเนินการ ใหBบรรลุเป{าหมาย วินัย เกษมเศรษฐX (2548) กล/าวว/า การนิเทศการสอนที่มีประสิทธิภาพจะตBองอาศัย หลักการต/าง ๆ ดังนี้ 1) หลักสภาพผูBนำ (Leadership) คือการใชBอิทธิพลของบุคคลที่จะทำใหBกิจกรรมต/าง ๆ ของกลุ/ม เปZนไปตามเป{าประสงคX 2) หลักความร/วมมือ (Cooperation) คือการกระทำร/วมกัน และรวมพลังทั้งหมดเพื่อแกBป\ญหา ดBวยกัน โดยยอมรับและยกย/องผลของความร/วมมือในการปรับปรุงการเรียนการสอนจากหลายฝÑายและ ทำหนBาที่และความรับผิดชอบชัดแจBงในการจัดองคXการ การประเมินผล ตลอดจนการประสานงาน 3) หลักการเห็นใจ (Considerateness) คือการนิเทศการศึกษาจะตBองคำนึงถึงตัวบุคคล ที่ร/วมงานดBวยการเห็นใจ จะทำใหBตระหนักในคุณค/าของมนุษยสัมพันธX 4) หลักการสรBางสรรคX (Creativity) คือการนิเทศการศึกษา จะตBองทำใหBครูเกิดพลังที่จะคิดเริ่ม สิ่งใหม/ ๆ แปลก ๆ หรือทำงานดBวยตนเองไดB 5) หลักการบูรณาการ (Integration) เปZนกระบวนการซึ่งรวมสิ่งกระจัดกระจายใหBสมบูรณX มองเห็นไดB 6) หลักการมุ/งชุมชน (Community) เปZนการแสวงหาป\จจัยที่สำคัญในชุมชน และการปรับปรุง ป\จจัยเหล/านั้น เพื่อส/งเสริมความเปZนอยู/ในชุมชนใหBดีขึ้น


15 7) หลักการวางแผน (Planning) หมายถึงกระบวนการวิเคราะหXซึ่งเกี่ยวกับการแสวงผล ในอนาคตการกำหนดจุดประสงคXที่ตBองการล/วงหนBา การพัฒนาทางเลือกเพื่อปฏิบัติใหBบรรลุถึง จุดประสงคXและการเลือกทางปฏิบัติใหBเหมาะสมที่สุด 8) หลักการยืดหยุ/น (Flexibility) หมายถึง ความสามารถที่จะถูกเปลี่ยนแปลงไดB และพรBอม อยู/เสมอที่จะสนองความตBองการสภาพที่เปลี่ยนแปลงไป 9) หลักวัตถุวิสัย (Objectivity) หมายถึงคุณภาพที่เปZนผลจากหลักฐานตามสภาพความจริง มากกว/าความเห็นบุคคล 10) หลักการประเมินผล (Evaluation) หมายถึง การหาความจริงโดยการวัดที่แน/นอน และหลายอย/าง บริกสX และจัสทXแมน (Briggs and Justman อBางถึงใน อัญชลี ธรรมะวิธีกุล, 2553) กล/าวว/า หลักการนิเทศมีหลักการ ดังนี้ 1) การนิเทศตBองเปZนประชาธิปไตย 2) การนิเทศจะตBองเปZนการส/งเสริม และการสรBางสรรคX 3) การนิเทศควรจะตBองอาศัยความร/วมมือของวิทยากรหลายคนมากกว/าที่จะแบ/งผูBนิเทศ ออกเปZนรายบุคคล 4) การนิเทศควรตั้งอยู/บนรากฐานของการพัฒนาวิชาชีพมากกว/าจะเปZนความสัมพันธX ส/วนบุคคล 5) การนิเทศจะตBองคำนึงถึงความถนัดของแต/ละบุคคล 6) จุดมุ/งหมายสูงสุดของการนิเทศ คือหาทางช/วยใหBผูBเรียนเกิดความรูBความสามารถตาม ความมุ/งหมายของการศึกษา 7) การนิเทศจะตBองเกี่ยวขBองอยู/กับการส/งเสริมความรูBสึกอบอุ/นใหBแก/ ครู และการสรBาง มนุษยสัมพันธXอันดีระหว/างหมู/คณะ 8) การนิเทศควรเริ่มตBนจากสภาพการณXป\จจุบันที่กำลังประสบอยู/ 9) การนิเทศควรเปZนการส/งเสริมความกBาวหนBา และความพยายามของครูใหBสูงขึ้น 10) การนิเทศควรเปZนการส/งเสริมและปรับปรุงสมรรถวิสัย ทัศนคติ และขBอคิดเห็นของครู ใหBถูกตBอง 11) การนิเทศพยายามหลีกเลี่ยงการกระทำอย/างเปZนพิธีการมาก ๆ 12) การนิเทศควรใชBเครื่องมือ และกลวิธีง/าย ๆ 13) การนิเทศควรตั้งอยู/บนหลักการและเหตุผล


16 14) การนิเทศควรมีจุดมุ/งหมายที่แน/นอน และสามารถประเมินผลไดBดBวยตนเอง เบอรXตัน และบรุคเนอรX (Burton and Brueckner อBางถึงใน อัญชลี ธรรมะวิธีกุล , 2553) กล/าวว/า หลักการนิเทศมี4 ประการ คือ 1) การนิเทศควรมีความถูกตBองตามหลักวิชา การนิเทศการศึกษาที่ดีควรจะเปZนไปตาม วัตถุประสงคXและนโยบายที่วางไวBควรเปZนไปตามความจริงและกฎเกณฑXที่แน/นอน 2) การนิเทศควรเปZนวิทยาศาสตรX การนิเทศการศึกษาควรเปZนไปอย/างมีระเบียบมีการปรับปรุง และประเมินผล การนิเทศควรจะมาจากการรวบรวมขBอมูล และการสรุปผลอย/างมีประสิทธิภาพ เปZนที่เชื่อถือไดB 3) การนิเทศควรเปZนประชาธิปไตย การนิเทศการศึกษาจะตBองเคารพในความแตกต/างของบุคคล เนBนความร/วมมือร/วมใจกันในการดำเนินงาน และใชBความรูBความสามารถในการปฏิบัติงาน เพื่อใหBงานนั้น ไปสู/เป{าหมายที่ตBองการ 4) การนิเทศควรจะเปZนการสรBางสรรคX การนิเทศการศึกษาควรเปZนการแสวงหาความสามารถ พิเศษของบุคคล แลBวเปÅดโอกาสใหBไดBแสดงออกและพัฒนาความสามารถเหล/านั้นอย/าง เต็มที่ ไวลสX (Wiles อBางถึงใน อัญชลี ธรรมะวิธีกุล, 2553) กล/าวว/า หลักการนิเทศมีดังนี้ 1) ใหBความสำคัญกับครูทุกคนและทำใหBเห็นว/าตBองการความช/วยเหลือจากเขา 2) แผนงานหรือความเจริญกBาวหนBาเปZนผลจากการทำงานเปZนทีม 3) หาโอกาสพบปะสังสรรคXเปZนกันเองกับครูโดยสม่ำเสมอ 4) เปÅดโอกาสใหBสมาชิกไดBแสดงความคิดเห็นและส/งเสริมใหBมีความคิดริเริ่ม 5) เปZนมิตรไมตรีกับบุคคลทั่วไป 6) ปรึกษากับหมู/คณะเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงใด ๆ อันจะพึงมี 7) พิจารณาสภาพที่เปZนป\ญหาของสมาชิก อาจจะซักถามสัมภาษณXหรือใหBคณะครูเสนอป\ญหาที่ อยู/ในความสนใจร/วมกัน 8) หากศึกษานิเทศกXกระฉับกระเฉงมีชีวิตชีวา หมู/คณะย/อมจะเปZนเช/นกัน 9) บทบาทการนำของศึกษานิเทศกXคือ การประสานงานและการช/วยเหลือทางวิชาการ 10) ฟ\งมากกว/าพูด 11) การปฏิบัติงานเริ่มดBวยป\ญหาของสมาชิก 12) วางแผนปฏิบัติงานของหมู/คณะไวB 13) ตำแหน/งหนBาที่มิไดBทำใหBศึกษานิเทศกXตBองเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม หรือความเปZนมิตรไมตรี กับหมู/คณะตBองชะงักงัน


17 14) พยายามใชBประสบการณXดBานความสามารถต/าง ๆ ของครูอาวุโสใหBเกิดประโยชนXในการนิเทศ มากที่สุด 15) ตัดสินใจแน/วแน/ทันต/อเหตุการณX 16) เอาใจใส/รูBงานในหนBาที่ดี 17) สำรวจและปรับปรุงตนเองอยู/เสมอ 18) สนใจในสวัสดิภาพของสมาชิก 19) มีความรับผิดชอบ ปลูกฝ\งความรับผิดชอบใหBแก/หมู/คณะ มารXค และคณะ (Marks อBางถึงใน อัญชลี ธรรมะวิธีกุล, 2553) กล/าวว/า หลักเบื้องตBนของ การนิเทศ มีดังนี้ 1) การนิเทศตBองอาศัยความร/วมมือจากทุกฝÑาย 2) การนิเทศตBองถือหลักว/าเปZนการบริการ ซึ่งครูเปZนผูBใชBบริการ 3) การนิเทศควรสอดคลBองกับความตBองการของครู 4) การนิเทศควรเปZนการสรBางสรรคXทัศนคติ และความสัมพันธXระหว/างผูBนิเทศกับผูBรับการนิเทศ 5) การนิเทศควรเนBนใหBเห็นความสำคัญของงานวิจัย และพยายามหาทางใหBครูศึกษางานวิจัย แลBวนำมาปฏิบัติตามนั้น 6) การนิเทศควรยึดหลักการประเมินผลการนิเทศทั้งผูBนิเทศและผูBรับการนิเทศ เบอรXตัน และบรัดเทอรX(Burton and Brueckner อBางถึงใน อัญชลี ธรรมะวิธีกุล , 2553) กล/าวว/า หลักการนิเทศ มีดังนี้ 1) การนิเทศการศึกษาควรมีความถูกตBองตามหลักวิชา (Theoretically Sound) 1.1) การนิเทศควรจะเปZนไปตามค/านิยม วัตถุประสงคX และนโยบาย ซึ่ง เกี่ยวขBองอยู/กับการนั้น โดยเฉพาะ 1.2) การนิเทศควรจะเปZนไปตามความเปZนจริงและตามกฎเกณฑXของเรื่องนั้นๆ 1.3) การนิเทศควรจะวิวัฒนาการทั้งทางดBานเครื่องมือและกลวิธี โดยมีจุดมุ/งหมายและ นโยบายที่แน/นอน 2) การนิเทศการศึกษาควรจะเปZนวิทยาศาสตรX( Scientific ) 2.1) การนิเทศควรเปZนไปอย/างมีลำดับ มีระเบียบ และมีวิธีการในการศึกษาปรับปรุง และประเมินผลสิ่งต/างๆ ภายในขอบเขตของงานนั้น ทั้งนี้ย/อมหมายรวมทั้งดBานกระบวนการนิเทศและ บรรดาอุปกรณXที่ใชBในการนิเทศดBวย


18 2.2) การนิเทศควรไดBจากการรวบรวมและสรุปผลจากขBอมูลอย/างเปZนปรนัยมี ความถูกตBอง แน/นอนเปZนที่เชื่อถือไดB และอย/างมีระเบียบมากกว/าการสรุปเอาจากความคิดเห็น 3) การนิเทศการศึกษาควรเปZนประชาธิปไตย ( Democratic ) 3.1) การนิเทศจะตBองเคารพในบุคคลและความแตกต/างของแต/ละบุคคล และพยายามส/งเสริม การแสดงออกของแต/ละบุคคลอย/างเต็มที่ 3.2) การนิเทศจะตBองเปÅดโอกาสใหBมีความร/วมมือ และใชBประโยชนXจากการมีส/วนร/วมของผูB มีส/วนเกี่ยวขBองใหBมากที่สุด 3.3) การนิเทศควรใชBอำนาจใหBนBอยที่สุด และอำนาจนั้นจำเปZนจะตBองไดBมาจากหมู/คณะ เพื่อประโยชนXในการปฏิบัติงานของหมู/คณะไปสู/เป{าหมาย 4) การนิเทศการศึกษาควรจะเปZนการสรBางสรรคX( Creative ) 4.1) การนิเทศควรจะแสวงหาความสามารถพิเศษของแต/ละบุคคล แลBวเปÅดโอกาสใหBไดB แสดงออกและพัฒนาซึ่งความสามารถนั้นอย/างสูงสุด 4.2) การนิเทศควรจะมีส/วนในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสภาพสิ่งแวดลBอม เพื่อใหBเกิด ความคล/องตัวในการทำงานใหBมากที่สุด อาดัมสXและดิ๊กกี้( Adams and Dickey อBางถึงใน อัญชลี ธรรมะวิธีกุล , 2553) กล/าวว/า หลักการนิเทศการศึกษามี4 ประการ คือ 1) มีพื้นฐานทางประชาธิปไตย 2) เปZนการสรBางสรรคX 3) มีความสัมพันธXกับการพัฒนาหลักสูตร 4) เปZนการนิเทศทั่วไป เบอรXตัน และบรุคเนอรX ( Burton and Brueckner อBางถึงใน อัญชลี ธรรมะวิธีกุล, 2553 ) กล/าวว/า หลักการนิเทศการศึกษา มีดังนี้ 1) การนิเทศการศึกษาควรเนBนถูกตBองตามหลักวิชา วัตถุประสงคX นโยบายที่วางไวB ตามสภาพจริงและกฎเกณฑXที่ชัดเจน 2) การนิเทศการศึกษาควรเปZนเชิงวิทยาศาสตรX หมายถึง มีระเบียบ การปรับปรุงและ ประเมินผลที่มาจากการรวบรวมขBอมูล และการสรุปผลตามขั้นตอนที่มีประสิทธิภาพและน/าเชื่อถือ 3) การนิเทศการศึกษาควรเปZนประชาธิปไตย เคารพในความแตกต/างของบุคคลเนBน ความร/วมมือร/วมใจในการดำเนินงาน และใชBความรูBความสามารถในการปฏิบัติงานเพื่อใหBบรรลุ วัตถุประสงคXของงาน


19 4) การนิเทศการศึกษาควรจะเปZนการสรBางสรรคX โดยแสวงหาความสามารถเฉพาะดBาน ของบุคคลเปÅดโอกาสใหBบุคคลไดBแสดงศักยภาพ และพัฒนาต/อยอดเต็มความสามารถ บริกสX และจัสทXแมน (Briggs and Justman อBางถึงใน อัญชลี ธรรมะวิธีกุล, 2553) กล/าวว/า หลักการนิเทศ มีดังนี้ 1) ยึดหลักประชาธิปไตย 2) เนBนการส/งเสริม และการสรBางสรรคX 3) สรBางความร/วมมือจากผูBมีส/วนเกี่ยวขBองหลายคนในการเปZนผูBนิเทศ 4) เนBนการพัฒนาวิชาชีพมากกว/าความสัมพันธXระหว/างบุคคล 5) คำนึงถึงความแตกต/างและความถนัดของแต/ละบุคคล 6) ส/งเสริมใหBผูBเรียนเกิดความรูB ทักษะและความสามารถ 7) ส/งเสริม สนับสนุน ครูผูBสอน และสรBางสัมพันธภาพที่ดีระหว/างผูBนิเทศและผูBรับการนิเทศ 8) เริ่มตBนจากสภาพป\ญหาตBองการแกBไข ณ ป\จจุบัน 9) ส/งเสริมความกBาวหนBาและความมุ/งมั่นของครูใหBเพิ่มขึ้น 10) ส/งเสริมและปรับปรุงเจตคติ และขBอคิดเห็นของครูใหBถูกตBอง 11) พยายามหลีกเลี่ยงการปฏิบัติที่เปZนพิธีการ 12) ใชBเครื่องมือและกลวิธีที่ง/ายสะดวกในการปฏิบัติ 13) ตั้งอยู/บนหลักการและเหตุผล 14) มีเป{าหมายที่ชัดเจนและสามารถประเมินผลไดBดBวยตนเอง ไวลสX (Wiles อBางถึงใน อัญชลี ธรรมะวิธีกุล, 2553) กล/าวว/า หลักการนิเทศ มีดังนี้ 1) ใหBความสำคัญกับครูทุกคนและความตBองการความช/วยเหลือจากพวกเขา 2) การทำงานเปZนทีมส/งผลต/อความกBาวหนBา และความสำเร็จของแผนงาน 3) หาโอกาสพบปะอย/างเปZนกันเองกับคณะครูอย/างสม่ำเสมอ 4) ใหBโอกาสสมาชิกแสดงความคิดเห็นและส/งเสริมใหBมีความคิดริเริ่มใหม/ๆ 5) เปZนกัลยาณมิตรกับบุคคลทั่วไป 6) ปรึกษาหารือในคณะที่มีส/วนร/วมในการพัฒนางานที่มีการเปลี่ยนแปลง 7) พิจารณาสภาพป\ญหาที่อยู/ในความสนใจร/วมกันของคณะครู 8) การกระตือรือรBนในการปฏิบัติงานของศึกษานิเทศกXย/อมส/งผลต/อพฤติกรรมของครูเช/นกัน 9) การประสานงานและช/วยเหลือทางดBานวิชาการ คือ บทบาทที่สำคัญของศึกษานิเทศกX 10) การเปZนผูBรับฟ\งมากกว/าผูBพูด


20 11) ป\ญหาของสมาชิกเปZนจุดเริ่มตBนของการปฏิบัติการ 12) วางแผนการปฏิบัติงานเปZนหมู/คณะ 13) ตำแหน/งของศึกษานิเทศกXไม/เปZนขBอจำกัดในความเปZนกัลยาณมิตร 14) การใหBครูผูBมีประสบการณXอาวุโสและความสามารถร/วมปฏิบัติงาน ก/อใหBเกิดประโยชนX ในการนิเทศ 15) การตัดสินใจอย/างแน/วแน/และทันเหตุการณX 16) เอาใจใส/ต/อภาระงานในหนBาที่ 17) สำรวจและปรับปรุงตนเองอยู/เสมอ 18) สนใจในสวัสดิภาพของสมาชิก 19) มีความรับผิดชอบปลูกฝ\งความรับผิดชอบต/อหมู/คณะ 20) ใหBความสำคัญต/อสวัสดิภาพของสมาชิก มาเรียม นิลพันธX (2553) กล/าวว/า ศึกษานิเทศกXมีแบบปฏิบัติการนิเทศที่เนBนใหBความรูBแก/ ครูผูBสอนเกี่ยวกับวิธีการจัดการเรียนรูB เพื่อจะส/งผลต/อคุณภาพผูBเรียน โดยใชBวิธีการนิเทศ ไดBแก/ วงจรปฏิบัติ PDCA การนิเทศแบบ PRIDE การนิเทศแบบชี้แนะ (Coaching) และรูปแบบกัลยาณมิตร สรุปได7ว+า หลักการนิเทศ เปZนสิ่งสำคัญที่เปZนแนวทางในการปฏิบัติการนิเทศการศึกษา แต/หากผูBปฏิบัติงานมีแต/หลักการแต/ไม/ตั้งใจทำงาน งานนั้นก็จะไม/เกิดผลเท/าที่ควร ดังนั้น ผูBนิเทศ ตBองมีทั้งหลักการทำงานและความใส/ใจ ความมุ/งมั่นในการทำงานดBวยงานนิเทศจึงมุ/งไปสู/ความสำเร็จไดB 1.4 กระบวนการนิเทศการสอน กระบวนการนิเทศการสอน หมายถึง การดำเนินการในการนิเทศใหBไดBรับความสำเร็จ จากการสังเคราะหXกระบวนการนิเทศมีนักการศึกษา ไดBนำเสนอกระบวนการนิเทศ ดังนี้ โบยานและโคพแลนดX (Boyan and Copeland,1978) ไดBนำเสนอกระบวนการนิเทศการสอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 การประชุมก/อนการสังเกตการสอน (Pre-Observation Conference) 1.1 พฤติกรรมการสอนที่เปZนป\ญหา 1.2 เลือกแนวทาง วิธีการปรับปรุง/พัฒนาพฤติกรรมการสอน 1.3 เลือกเครื่องมือหรือสรBางเครื่องมือสำหรับใชBในการสังเกตการสอน ขั้นที่ 2 การสังเกตการสอน (Observation) พฤติกรรมการสอนที่ระบุในขั้นที่ 1 ขั้นที่ 3 การวิเคราะหXการสอน (Analysis)


21 3.1 การวิเคราะหXผลที่ไดBจากการสังเกตการสอน 3.2 ระบุพฤติกรรมการสอนที่ตBองการคงเอาไวB หรือพฤติกรรมการสอน ที่ควรมีการปรับปรุง ขั้นที่ 4 การประชุมหลังการสังเกตการสอน (Post-Observation Conference) 4.1 ใหBขBอมูลป{อนกลับจากผลของการวิเคราะหX 4.2 พิจารณาเลือกยุทธวิธีการปรับปรุง/และพัฒนาครั้งต/อไป โกลดXแฮมเมอรX (Goldhammer,1980) ไดBนำเสนอกระบวนการนิเทศการศึกษา ดังนี้ ขั้นที่ 1 การประชุมปรึกษาก/อนการสังเกตการสอน (Pre-Observation Conference) ขั้นที่ 2 การสังเกตการสอน (Observation) ขั้นที่ 3 การวิเคราะหXขBอมูลและกำหนดวิธีการประชุมนิเทศ (Analysis and Strategy) ขั้นที่ 4 การประชุมนิเทศ (Supervision Conference) ขั้นที่ 5 การประชุมวิเคราะหXพฤติกรรมการนิเทศ (Post-Conference Analysis) แฮรริส (Harris, 1985 อBางถึงใน บวร เทศารินทรX2551, 50–51) กระบวนการนิเทศที่แฮริส กำหนดขึ้น มีความเหมาะสมกับการนิเทศการสอน และเปZนกระบวนการมุ/งเนBนการวางแผนการปฏิบัติงานมากกว/า การควบคุมงาน เพื่อก/อใหBเกิดการเปลี่ยนแปลงในการนิเทศ ไดBเรียกกระบวนการว/า Harris’Polca ซึ่งมี 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การประเมินสภาพการทำงาน (Assessing) เปZนกระบวนการศึกษาถึงสภาพต/าง ๆ เพื่อใหBไดB ขBอมูลเพื่อเปZนตัวกำหนดการเปลี่ยนแปลงมีกระบวนการย/อย ๆ ดังนี้ 1.1 การวิเคราะหXขBอมูล เพื่อจะศึกษาถึงธรรมชาติและความสัมพันธXของเรื่องต/าง ๆ 1.2 การสังเกตเปZนการมองสิ่งรอบตัวดBวยความละเอียดถี่ถBวน 1.3 การทบทวนเปZนการตรวจสอบสิ่งรอบตัวอย/างตั้งใจ 1.4 การวัดพฤติกรรมการทำงาน 1.5 การเปรียบเทียบพฤติกรรมการทำงาน 2. การจัดลำดับความสำคัญของงาน (Prioritizing) เปZนกระบวนการกำหนดความสำคัญของงาน ตามเป{าหมายวัตถุประสงคXและกิจกรรมตามลำดับความสำคัญ ซึ่งประกอบดBวยหัวขBอ ต/อไปนี้ 2.1 การกำหนดเป{าหมาย 2.2 การกำหนดวัตถุประสงคXเฉพาะ 2.3 การกำหนดทางเลือก 2.4 การจัดลำดับความสำคัญของงาน


22 3. การออกแบบวิธีการทำงาน (Designing) เปZนกระบวนการวางแผนหรือกำหนดโครงการต/าง ๆ เพื่อก/อใหBเกิดการเปลี่ยนแปลง โดยประกอบดBวยกระบวนการย/อย ๆ ดังนี้ 3.1 การจัดสายงานเปZนการจัดส/วนประกอบต/าง ๆ ของงานใหBสัมพันธXกัน 3.2 การหาวิธีการนำเอาทฤษฎีหรือหลักการไปสู/การปฏิบัติ 3.3 การเตรียมการต/าง ๆ ใหBพรBอมที่จะทำงาน 3.4 การจัดระบบการทำงาน 3.5 การกำหนดแผนในการทำงาน 4. การจัดสรรทรัพยากร (Allocating Resources) เปZนกระบวนการกำหนดทรัพยากรต/าง ๆ ใหBเกิดประโยชนXสูงสุดในการทำงาน ซึ่งประกอบดBวยกระบวนการย/อย ๆ ดังนี้ 4.1 การกำหนดทรัพยากร ที่ตBองใชBความตBองการของหน/วยงานต/าง ๆ 4.2 การจัดสรรทรัพยากรไปใหBหน/วยงานต/าง ๆ 4.3 การกำหนดทรัพยากรที่จำเปZนจะตBองใชBสำหรับความมุ/งหมายเฉพาะอย/าง 4.4 การมอบหมายบุคลากร ใหBทำงานในแต/ละโครงการหรือแต/ละเป{าหมาย 5. การประสานงาน (Coordination) เปZนกระบวนการที่เกี่ยวขBองกับงาน เวลา วัสดุอุปกรณX และ สิ่งอำนวยความสะดวกทุก ๆ อย/าง เพื่อใหBการเปลี่ยนแปลงบรรลุผล ซึ่งประกอบดBวยกระบวนการย/อย ๆ ดังนี้ 5.1 การประสานการปฏิบัติงานในฝÑายต/าง ๆ ใหBดำเนินการไปดBวยความราบรื่น 5.2 การสรBางความกลมกลืนและความพรBอมเพรียงกัน 5.3 การปรับการทำงานในส/วนต/าง ๆ ใหBมีประสิทธิภาพใหBมากที่สุด 5.4 การกำหนดเวลาในการทำงานในแต/ละช/วง 5.5 การสรBางความสัมพันธXใหBเกิดขึ้น 6. การอำนวยการ (Directing) เปZนกระบวนการที่มีอิทธิพลต/อการปฏิบัติ เพื่อใหBเกิดสภาพ ที่เหมาะสมที่จะสามารถบรรลุผลแห/งการเปลี่ยนแปลงใหBมากที่สุด มีกระบวนการย/อย ๆ ดังนี้ 6.1 การแต/งตั้งบุคลากร 6.2 การกำหนดแนวทางหรือกฎเกณฑXในการทำงาน 6.3 การกำหนดระเบียบแบบแผนเกี่ยวกับเวลาปริมาณ หรืออัตราเร/งในการทำงาน 6.4 การแนะนำการปฏิบัติงาน 6.5 การตัดสินใจเกี่ยวกับทางเลือกในการปฏิบัติงาน แฮริส (Harris, 1990 อBาง ถึงใน วัชรา เล/าเรียนดี, 2556) ไดBนำเสนอกระบวนการนิเทศการศึกษา ดังนี้


23 ขั้นที่ 1 ขั้นวางแผน (Planning) ไดBแก/ การคิด การตั้งวัตถุประสงคX การคาดการณXล/วงหนBา การกำหนดตารางงาน การคBนหาวิธีปฏิบัติงาน และการวางโปรแกรมงาน ขั้นที่ 2 ขั้นการจัดโครงการ (Organizing) ไดBแก/ การตั้งเกณฑXมาตรฐาน การรวบรวม ทรัพยากรที่มีอยู/ทั้งคนและวัสดุอุปกรณXความสัมพันธXแต/ละขั้น การมอบหมายงาน การประสานงาน การกระจายอำนาจตามหนBาที่ โครงสรBางขององคXการ และการพัฒนานโยบาย ขั้นที่ 3 ขั้นการนำเขBาสู/การปฏิบัติ (Leading) ไดBแก/ การตัดสินใจ การเลือกสรรบุคคล การเรBาจูงใจใหBมีกำลังใจคิดริเริ่มอะไรใหม/ ๆ การสาธิต การจูงใจ และใหBคำแนะนำ การสื่อสาร การกระตุBน ส/งเสริมกำลังใจ การแนะนำนวัตกรรมใหม/ ๆ และใหBความสะดวกในการทำงาน ขั้นที่ 4 ขั้นการควบคุม (Controlling) ไดBแก/ การสั่งการ การใหBรางวัล การลงโทษ การใหBโอกาสการตำหนิ การไล/ออก และการบังคับใหBกระทำตาม ขั้นที่ 5 ขั้นประเมินผล (Appraising) ไดBแก/ การตัดสินการปฏิบัติงาน การวิจัย และการวัดผล การปฏิบัติงาน กิจกรรมที่สำคัญ คือ พิจารณาผลงานในเชิงปฏิบัติว/าไดBผลมากนBอยเพียงใด และวัดผล ดBวยการประเมินอย/างมีแบบแผน มีความเที่ยงตรง ทั้งนี้ควรจะมีการวิจัยดBวย กลิ๊กแมน และคณะ( Glickman and other, 1995) ไดBนำเสนอ กระบวนการนิเทศการศึกษา ดังนี้ ขั้นที่ 1 ประชุมก/อนการสังเกตการสอน ขั้นที่ 2 สังเกตการสอนในชั้นเรียน ขั้นที่ 3 วิเคราะหXผลการสังเกตและกำหนดยุทธวิธีการประชุม ขั้นที่ 4 ประชุมเพื่อการนิเทศ ขั้นที่ 5 ประชุมเสนอผลการวิเคราะหXการสังเกตการสอน สงัด อุทรานันทX (2530: 44) มีความเห็นว/ากระบวนการนิเทศการสอนจะประสบผลสำเร็จไดB จำเปZนตBองดำเนินการอย/างเปZนขั้นตอนและต/อเนื่องกัน ดังนี้ ขั้นที่ 1 วางแผนการนิเทศ (Planning) เปZนขั้นตอนที่ผูBบริหาร ผูBนิเทศและผูBรับการนิเทศ จะทำการประชุมปรึกษาหารือ เพื่อใหBไดBมาซึ่งป\ญหาและความตBองการจำเปZนที่จะตBองมีการนิเทศ รวมทั้งวางแผนถึงขั้นตอนปฏิบัติงานเกี่ยวกับการนิเทศที่จะจัดขึ้นอีกดBวย ขั้นที่ 2 ใหBความรูBในสิ่งที่จะทำ (Informing) เปZนขั้นตอนของการใหBความรูBความเขBาใจถึงสิ่งที่ จะดำเนินการว/าจะตBองอาศัยความรูBความสามารถอย/างไรบBาง จะมีขั้นตอนในการดำเนินงานอย/างไร และจะทำอย/างไรจึงจะทำใหBไดBผลงานออกมาอย/างมีคุณภาพ ขั้นนี้จำเปZนทุกครั้งสำหรับการเริ่มการนิเทศ ที่จัดขึ้นใหม/ ไม/ว/าจะเปZนเรื่องใดก็ตาม และมีความจำเปZนสำหรับการนิเทศที่ยังเปZนไปอย/างไม/ไดBผลหรือ ไดBผลยังไม/ถึงขั้นที่พอใจ ซึ่งจำเปZนจะตBองทำการทบทวนใหBความรูBในการปฏิบัติงาน ที่ถูกตBองอีกครั้งหนึ่ง


24 ขั้นที่ 3 การปฏิบัติงาน (Doing) ประกอบดBวยการปฏิบัติงาน 3 ลักษณะคือ 1) การปฏิบัติงานของผูBรับการนิเทศ เปZนขั้นที่ผูBรับการนิเทศลงมือปฏิบัติงานตามความรูB ความสามารถที่ไดBรับมาจากการดำเนินงานในขั้นที่ 2 2) การปฏิบัติงานของผูBใหBการนิเทศ ขั้นนี้ผูBใหBการนิเทศจะทำการนิเทศและควบคุม คุณภาพใหBงานสำเร็จออกมาทันตามกำหนดเวลาและมีคุณภาพสูง 3) การปฏิบัติงานของผูBสนับสนุนการนิเทศ ผูBบริหารก็จะใหBการสนับสนุนในเรื่องวัสดุ อุปกรณXตลอดจนเครื่องใชBต/าง ๆ ที่จะช/วยใหBการปฏิบัติงานเปZนไปอย/างไดBผล ขั้นที่ 4 การสรBางขวัญและกำลังใจ (Reinforcing) ในขั้นนี้ เปZนขั้นของการเสริมกำลังใจ ของผูBบริหารเพื่อใหBผูBรับการนิเทศมีความมั่นใจและบังเกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ขั้นนี้ อาจดำเนินการไปพรBอม ๆ กับผูBรับการนิเทศกำลังปฏิบัติงานหรือการปฏิบัติงานไดBเสร็จสิ้นลงไปแลBวก็ไดB ขั้นที่ 5 การประเมินผลการดำเนินงาน (Evaluating) เปZนขั้นที่ผูBนิเทศทำการประเมินผล การดำเนินงานซึ่งผ/านไปแลBวว/าเปZนอย/างไร หลังจากการประเมินผลการนิเทศ หากพบว/ามีป\ญหาหรือ อุปสรรคอย/างหนึ่งอย/างใด ก็สมควรจะตBองทำการปรับปรุงแกBไข เสน/หX กรแกBว (2542, หนBา 25) ไดBเสนอกระบวนการนิเทศการสอนไวB 5 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 การศึกษาสภาพป\จจุบัน ป\ญหาและความตBองการ ขั้นที่ 2 การวางแผนและกำหนดทางเลือก ขั้นที่ 3 การสรBางสื่อและเครื่องมือ ขั้นที่ 4 การปฏิบัติการนิเทศ ขั้นที่ 5 การประเมินผลและรายงานผล วัชรา เล/าเรียนดี (2553 หนBา 27-28) ไดBนำเสนอกระบวนการนิเทศการสอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 การวางแผนร/วมกันระหว/างผูBนิเทศและผูBรับการนิเทศ ขั้นที่ 2 การเลือกประเด็นหรือเรื่องที่สนใจจะปรับปรุงพัฒนา ขั้นที่ 3 การนำเสนอโครงการพัฒนาและขั้นตอนการปฏิบัติ ขั้นที่ 4 การใหBความรูBหรือหาความรูBจากเอกสารต/าง ๆ และการฝïกอบรมเชิงปฏิบัติการ ขั้นที่ 5 การจัดทำแผนการนิเทศ ขั้นที่ 6 การดำเนินการตามแผน ขั้นที่ 7 การสรุปผล ประเมินผล การปรับปรุงและพัฒนา


25 วัชรา เล/าเรียนดี(2556) ไดBกำหนดไวBดังนี้ 1) ขั้นวางแผน (Planning) ประกอบดBวย การศึกษาสภาพป\ญหา ความตBองการ การตั้งวัตถุประสงคXการคาดการณXล/วงหนBา การคิดหาวิธีการปฏิบัติกำหนดปฏิทินปฏิบัติงาน และวางแผน ดำเนินงาน 2) ขั้นการพัฒนาการดำเนินการ (Organizing) ประกอบดBวย การตั้งเกณฑXมาตรฐาน การรวบรวมทรัพยากรดBานบุคลากร ขBอมูล และวัสดุอุปกรณXที่มีอยู/ การดำเนินงาน การประสานงานและ การพัฒนานโยบาย 3) ขั้นการนำเขBาสู/การปฏิบัติ(Leading) ประกอบดBวย การร/วมตัดสินใจ การเลือกสรรบุคคล การจูงใจใหBมีกำลังใจคิดริเริ่มสรBางสรรคXงานใหม/ การสาธิต การจูงใจ และใหBคำแนะนำ การสื่อสาร การกระตุBนส/งเสริมกำลังใจ การแนะนำนวัตกรรมและอำนวยความสะดวกในการทำงาน 4) ขั้นการควบคุม (Controlling) ประกอบดBวย การสั่งการ การใหBรางวัล การใหBโอกาส ตำหนิ และการบังคับใหBทำตาม 5) ขั้นการประเมิน (Appraising) ไดBแก/การตัดสินการปฏิบัติงาน การวิจัย และการวัดผล การปฏิบัติงาน กิจกรรมที่สำคัญ คือ พิจารณาผลงานในเชิงปฏิบัติว/าไดBผลเพียงใด และวัดผลดBวย การประเมินอย/างมีแบบแผนและเปZนระบบ กระทรวงศึกษาธิการ (2554 หนBา 7) กล/าวถึง การพัฒนารูปแบบการนิเทศ ดังนี้ 1) การสรBางเอกภาพการนิเทศ ดBวยการกำหนดเป{าหมาย และมาตรฐานดBานคุณภาพ การศึกษาขั้นพื้นฐานใหBเปZนบรรทัดฐานเดียวกันในการพัฒนางานนิเทศการศึกษาระดับประเทศ สอดคลBอง กับนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) พัฒนาเครือข/ายการนิเทศแบบมีส/วนร/วม ใหBเกิดความร/วมมือกันในดBานต/าง ๆ ดังนี้ 2.1) ดBานการวางแผนปฏิบัติ และการติดตามผลการนิเทศ 2.2) ดBานความร/วมมือกันจัดกิจกรรมการนิเทศการศึกษา อาทิ การพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การพัฒนาหลักสูตรระดับ ทBองถิ่น การพัฒนาสื่อประกอบการนิเทศ การวิจัยพัฒนาคุณภาพการศึกษาแบบมีส/วนร/วม การจัดประชุมสัมมนา เพื่อการพัฒนาคุณภาพครูและคุณภาพการศึกษา เปZนตBน 2.3) ดBานการใชBทรัพยากรร/วมกัน เพื่อร/วมมือกันแกBป\ญหาดBานความพรBอม ความขาดแคลนศึกษานิเทศกXและการใชBศักยภาพส/วนบุคคลของศึกษานิเทศกX ในการนิเทศการศึกษา ในเขตพื้นที่การศึกษาและต/างเขตพื้นที่การศึกษา


26 3) ใชBกระบวนการวิจัยและพัฒนาอย/างต/อเนื่อง ดังนี้ 3.1) มีการกำหนดสภาพป\ญหา และความตBองการจำเปZนในการพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษาร/วมกัน 3.2) กำหนดมาตรฐานคุณภาพออกแบบกิจกรรมและการดำเนินการนิเทศเพื่อพัฒนา 3.3) ดำเนินการนิเทศติดตามผลโดยใชBรูปแบบการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษา 3.4) จัดใหBมีการรายงานผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในภาพรวมในระดับเขตพื้นที่ การศึกษา ระดับจังหวัด ระดับกลุ/มจังหวัด และระดับประเทศ สรุปได7ว+า กระบวนการนิเทศเปZนขั้นตอนการดำเนินงานร/วมกันระหว/างผูBนิเทศและ ผูBรับการนิเทศที่จะทำงานร/วมกัน มีความไวBวางใจต/อกัน เคารพนับถือและใหBการยอมรับกัน โดยผูBนิเทศ จะอยู/ในฐานะผูBนำในการเตรียมการต/าง ๆ อย/างพรBอมเพรียงและร/วมกันวางแผนปรับปรุงการสอน การพัฒนาการจัดการศึกษาอย/างชัดเจน มีประสิทธิภาพในเชิงปฏิบัติ และปฏิบัติการนิเทศที่ผูBรับการนิเทศ ใหBการยอมรับดBวยความเต็มใจ หลังการนิเทศสิ้นสุดลงก็จะร/วมกันสะทBอนผล และประเมินผล อย/างเปZนระบบ เพื่อใหBไดBขBอมูลผลสัมฤทธิ์ในการนิเทศการสอน เพื่อใชBเตรียมการวางแผนพัฒนาต/อไป จากการศึกษาและสังเคราะหXกระบวนการนิเทศ เพื่อใหBไดBกระบวนการนิเทศที่เหมาะสมกับ การส/งเสริมความสามารถของครูในการพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน ดังนี้


27 ตารางที่ 1 การสังเคราะห`กระบวนการนิเทศ เพื่อให7ได7กระบวนการนิเทศที่เหมาะสมกับ การส+งเสริมความสามารถของครูในการพัฒนาทักษะแห+งศตวรรษที่ 21 ให7กับ ผู7เรียน กระบวนการนิเทศ สงัด อุทรานันท,(2530) เสน4ห, กรแก8ว (2542) วัชรา เล4าเรียนดี (2556) โกลด,แฮมเมอร, (2523) 0 3 5 2 ,( ท ัน น า ร ุท อ ัด ง ส โบยานและโคพแลนด, (2521) 0 3 5 2 ,( ท ัน น า ร ุท อ ัด ง ส แฮรริส (2533) 0 3 5 2 ,( ท ัน น า ร ุท อ ัด ง ส กลิ๊กแมน และคณะ (2538) 0 3 5 2 ,( ท ัน น า ร ุท อ ัด ง ส กระทรวงศึกษาธิการ (2554) 0 3 5 2 ,( ท ัน น า ร ุท อ ัด ง ส การศึกษาสภาพป\จจุบัน ป\ญหาและความตBองการ / เตรียมความรูBก/อนการนิเทศ ü ü ประชุม/วางแผนการนิเทศ ü ü ü ü ü ü ü สรBางสื่อและเครื่องมือ ü ü ใหBความรูBความเขBาใจในการทำงาน / เรียนรูBและแลกเปลี่ยนในการปฏิบัติงาน ü ü ü การเลือกประเด็นหรือเรื่องที่สนใจจะปรับปรุงพัฒนา ü ü ü ü การจัดทำแผนการนิเทศ / การนำเสนอโครงการ พัฒนาและขั้นตอนการปฏิบัติ ü ü ลงมือปฏิบัติ/ดำเนินการตามแผน ü ü ü ü ü ü ü ü ขั้นการควบคุม /สรBางเสริมกำลังใจ ü ü การสรุปผล ประเมินผล การปรับปรุงและพัฒนา / สะทBอนคิดหลังการนิเทศ ü ü ü ü ü ü ü


28 จากการสังเคราะหXกระบวนการนิเทศจากนักวิชาการและผูBศึกษาวิจัยเกี่ยวกับกระบวนการ นิเทศการจัดการเรียนการสอน จึงไดBกระบวนการนิเทศที่เหมาะสมกับการส/งเสริมความสามารถของครู ในการพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน ดังนี้ 1. การรวบรวมความรูB (Knowledge) คือ การสรBางองคXความรูBของผูBนิเทศโดยการศึกษา เอกสารที่เกี่ยวขBองกับการจัดกิจกรรมการเรียนรูBการพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน 2. การจัดทำสารสนเทศ (Information) คือ การนำขBอมูลและความรูBที่รวบรวมไดB มาประมวลผล จัดลำดับขั้นตอน จัดทำเปZนเอกสารคู/มือแนวทางการดำเนินงานใหBสถานศึกษา ใชBในการวางแผนการดำเนินงาน 3. การออกแบบการนิเทศ (Design) คือ การกำหนดแนวทางการนิเทศ วิธีการนิเทศ จัดทำ แผนการนิเทศ กำหนดปฏิทินการนิเทศ และการประชุมวางแผนการดำเนินการนิเทศร/วมกันของผูBนิเทศ 4. การนิเทศแบบหลากหลาย (Multiple Supervision) คือ วิธีการนิเทศที่ผูBนิเทศใชB ในการส/งเสริมความสามารถของครู ไดBแก/ การนิเทศแบบชุมชนการเรียนรูB(PLC) การนิเทศ แบบออนไลนX(Online) การนิเทศแบบใหBคำแนะนำปรึกษา (Coaching and Mentoring) และการนิเทศ แบบมีส/วนร/วม 5. การประเมินผลการนิเทศ (Evaluation) คือ การประเมินความเหมาะสมของกระบวนการ นิเทศและความสามารถของครูในการจัดการเรียนรูBเพื่อพัฒนาทักษะแห/งศตวรรษ ที่ 21 ใหBกับผูBเรียน สรุปได7ว+า กระบวนการนิเทศที่เหมาะสมกับการส/งเสริมความสามารถของครูในการพัฒนา ทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ใหBกับผูBเรียน ประกอบดBวยการรวบรวมความรูB การจัดทำสารสนเทศ การออกแบบการนิเทศ การนิเทศแบบหลากหลาย และการประเมินผลการนิเทศ


29 2. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข7องกับทักษะศตวรรษที่ 21 2.1 ความหมาย และความสำคัญของทักษะในศตวรรษที่ 21 จากการศึกษาคBนควBาไดBมีผูBอธิบายความหมายของทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 ไวBดังนี้ Partnership for 21st Century Skills (2006) กล/าวว/า ทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 คือ ทักษะ ที่จำเปZนต/อนักเรียนสำหรับการใชBชีวิตในยุคของการเติบโตทางเศรษฐกิจของโลกป\จจุบัน ETS (2007) กล/าวว/า ทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 คือ ความสามารถในการสะสม หรือเก็บขBอมูล ในการสรBางและจัดการขBอมูล ประเมินคุณภาพ ความสัมพันธX และประโยชนXของขBอมูล เพื่อใหBขBอมูล ที่ถูกตBองจากการใชBทรัพยกรที่มีอยู/ พรทิพยX ศิริภัทราชัย (2556, หนBา 49 - 56) กล/าวว/า ความเจริญกBาวหนBาทางวิทยาศาสตรX และเทคโนโลยีผลการวิจัยเกี่ยวกับสมอง และการเสนอแนวคิดเกี่ยวกับทักษะที่จำเปZนในศตวรรษที่ 21 ส/งผลใหBกระบวนทัศนXทางการศึกษาเปลี่ยนแปลงไป การจัดการศึกษาทุกระดับเนBนใหBผูBเรียน เกิดการพัฒนาทักษะการคิดชั้นสูง เช/น การคิดสรBางสรรคX การคิดแกBป\ญหา การคิดแบบวิจารญาณ ฯลฯ รวมทั้งการพัฒนาทักษะการสื่อสาร การใชBเทคโนโลยีเปZนเครืองมือแสวงหาความรูB และการมีทักษะทางสังคม วิจารณX พานิช (2556, หนBา 4) กล/าวว/า ทักษะในศตวรรษที่ 21 ผูBเรียนตBองเนBนสรBางความรูBขึ้น ภายในตนเอง เปZนความรูBที่งอกงามภายในตนเอง จากการลงมือทำกิจกรรมแลBวเกิดความรูB แลBวเนBนใหB เกิดทักษะจากการสัมผัสของตนเอง ไม/ใช/รับถ/ายทอดความรูBสำเร็จรูปจากครูหรือตำรา สมเกียรติ ตังกิจวานิชยX และคณะ (2556, หนBา 13) กล/าวว/า ทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 จำเปZน อย/างยิ่งต/อการดำรงชีวิตในศตวรรษใหม/ นั่นคือ รูปแบบเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไปการพึ่งพาอาศัยในระดับโลก ที่เพิ่มมากขึ้นและภูมิทัศนXในการเรียนรูBที่เปลี่ยนไป ราชบัณฑิตยสถาน (2557) ไดBอธิบายไวBว/า ทักษะแห/งศตวรรษที 21 (21st century skills; transversal skills) หมายถึง กลุ/มความรูB ทักษะ และนิสัยการทำงาน ที่เชื่อว/ามีความสำคัญยิ่งต/อ ความสำเร็จในการเรียนรูBตลอดชีวิต น้ำทิพยX องอาจวาณิช (2559) กล/าวว/า ทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 คือ คุณลักษณะและ ความสามารถของบุคคลที่นอกเหนือจากความรูBในวิชาเรียน ที่จะทำใหBนักเรียนประสบความสำเร็จ ในการทำงานและการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สุวิธิดา จรุงเกียรติกุล (2561) กล/าวว/า ทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 หมายถึง กลุ/มความรูBทักษะ และนิสัยการทำงานที่เชื่อว/ามีความสำคัญยิ่งต/อความสำเร็จในการเรียนรูBตลอดชีวิต


30 สรุปได7ว+า ทักษะแห/งศตวรรษที่ 21 คือ ความรูB ทักษะ และคุณลักษณะที่มีความจำเปZนตBอง ส/งเสริมใหBผูBเรียนไดBรับการพัฒนา เพื่อใชBในการดำรงชีวิตในป\จจุบัน ซึ่งเปZนยุคของการเปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี 2.2 กรอบแนวคิดการเรียนรูBในศตวรรษที่ 21 ดิเรก วรรณเศียร (2557) กล/าวว/า แนวคิดการจัดการเรียนรูBในศตวรรษที่ 21 ไดBแก/ การเรียน การสอนที่เนBนผูBเรียนเปZนสำคัญ คือแนวการจัดการเรียนการสอนที่เนBนใหBผูBเรียนสรBางความรูBใหม/ และสิ่งประดิษฐXใหม/โดยการใชBกระบวนการทางป\ญญา (กระบวนการคิด) กระบวนการทางสังคม (กระบวนการกลุ/ม) และใหBผูBเรียนมีปฏิสัมพันธXและมีส/วนร/วมในการเรียนสามารถนำความรูBไปประยุกตX ใชBไดBโดยผูBสอนมีบทบาทเปZนผูBอำนวยความสะดวก จัดประสบการณXการเรียนรูBใหBผูBเรียน การจัดการเรียน การสอนที่เนBนผูBเรียนเปZนสำคัญตBองจัดใหBสอดคลBองกับความสนใจ ความสามารถ และความถนัด เนBนการบูรณาการความรูBในศาสตรXสาขาต/าง ๆ ใชBหลากหลายวิธีการสอน หลากหลายแหล/ง ความรูB สามารถพัฒนาป\ญญาอย/างหลากหลายคือ พหุป\ญญา รวมทั้งเนBนการวัดผลอย/างหลากหลายวิธี การเรียน การสอนที่เนBนผูBเรียนเปZนสำคัญเปZนการจัดกระบวนการเรียนรูBที่มีลักษณะ ดังนี้ 1) ผูBเรียนมีบทบาทรับผิดชอบต/อการเรียนรูBของตน ผูBเรียนเปZนผูBเรียนรูBบทบาทของผูBสอน คือ ผูBสนับสนุน (Supporter) และเปZนแหล/งความรูB(Resource Person) ของผูBเรียน ผูBเรียนจะรับผิดชอบ ตั้งแต/เลือกและวางแผนสิ่งที่ตนจะเรียนหรือเขBาไปมีส/วนร/วมในการเลือกและจะเริ่มตBนการเรียนรูB ดBวยตนเองดBวยการศึกษาคBนควBารับผิดชอบการเรียนตลอดจนประเมินผลการเรียนรูBดBวยตนเอง 2) เนื้อหาวิชามีความสำคัญและมีความหมายต/อการเรียนรูBในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูB ป\จจัยสำคัญที่จะตBองนำมาพิจารณาประกอบดBวย เนื้อหาวิชา ประสบการณXเดิม และความตBองการ ของผูBเรียน การเรียนรูBที่สำคัญและมีความหมาย จึงขึ้นอยู/กับสิ่งที่สอน (เนื้อหา) และวิธีที่ใชBสอน (เทคนิคการสอน) 3) การเรียนรูBจะประสบผลสำเร็จหากผูBเรียนมีส/วนร/วมในกิจกรรมการเรียนการสอน ผูBเรียนจะไดBรับความสนุกสนานจากการเรียน หากไดBเขBาไปมีส/วนร/วมในการเรียนรูBไดBทำงานร/วมกัน กับเพื่อน ๆ ไดBคBนพบขBอคำถามและคำตอบใหม/ ๆ สิ่งใหม/ ๆ ประเด็นที่ทBาทาย และความสามารถ ในเรื่องใหม/ ๆ ที่เกิดขึ้นรวมทั้งการบรรลุผลสำเร็จของงานที่พวกเขาริเริ่มดBวยตนเอง 4) สัมพันธภาพระหว/างผูBเรียน การมีสัมพันธภาพในกลุ/มจะช/วยส/งเสริมความเจริญงอกงาม การพัฒนาความเปZนผูBใหญ/ การปรับปรุงการทำงานและการจัดการกับชีวิตของแต/ละบุคคล สัมพันธภาพ ระหว/างสมาชิกในกลุ/มจึงเปZนสิ่งสำคัญที่จะช/วยส/งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรูBซึ่งกันและกันของผูBเรียน


31 5) ผูBสอนคือผูBอำนวยความสะดวกและเปZนแหล/งความรูBในการจัดการเรียนการสอนแบบ เนBนผูBเรียนเปZนสำคัญ ผูBสอนจะตBองมีความสามารถที่จะคBนพบความตBองการที่แทBจริงของผูBเรียน เปZนแหล/งความรูBที่ทรงคุณค/าของผูBเรียนและสามารถคBนควBาหาสื่อวัสดุอุปกรณXที่เหมาะสมกับผูBเรียน สิ่งที่สำคัญที่สุด คือ ความเต็มใจของผูBสอนที่จะช/วยเหลือโดยไม/มีเงื่อนไข ผูBสอนจะใหBทุกอย/างแก/ผูBเรียน ไม/ว/าจะเปZนความเชี่ยวชาญความรูBเจตคติและการฝïกฝน โดยผูBเรียนมีอิสระที่จะรับหรือไม/รับการใหBนั้นก็ไดB 6) ผูBเรียนมีโอกาสเห็นตนเองในแง/มุมที่แตกต/างจากเดิม การจัดการเรียนการสอนที่เนBนผูBเรียน เปZนสำคัญมุ/งใหBผูBเรียนมองเห็นตนเองในแง/มุมที่แตกต/างออกไป ผูBเรียนจะมีความมั่นใจในตนเอง และควบคุมตนเองไดBมากขึ้นสามารถเปZนในสิ่งที่อยากเปZนมีวุฒิภาวะสูงมากขึ้นปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตน ใหBสอดคลBองกับสิ่งแวดลBอม และมีส/วนร/วมกับเหตุการณXต/าง ๆ มากขึ้น 7) การศึกษา คือ การพัฒนาประสบการณXการเรียนรูBของผูBเรียนหลาย ๆ ดBานพรBอมกันไป การเรียนรูBที่เนBนผูBเรียนเปZนสำคัญเปZนจุดเริ่มของการพัฒนาผูBเรียนหลาย ๆ ดBาน เช/น คุณลักษณะ ดBานความรูBความคิด ดBานการปฏิบัติและดBานอารมณXความรูBสึก จะไดBรับการพัฒนาไปพรBอม ๆ กัน สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย (2560, หนBา 9-16) กล/าวว/า กรอบความคิด เพื่อการเรียนรูBในศตวรรษที่ 21 มีเป{าหมายไปที่ผูBเรียนเกิดคุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 โดยผูBเรียนจะใชB ความรูBในสาระหลักไปบูรณาการสั่งสมประสบการณXกับทักษะ 3 ทักษะ เพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 คือ ทักษะดBานการเรียนรูBและนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี และทักษะชีวิตและอาชีพ ซึ่งการจัดการศึกษาจะใชBระบบส/งเสริมการเรียนรูBในศตวรรษที่ 21 จำนวน 5 ระบบ คือ ระบบมาตรฐาน การเรียนรูBระบบการประเมินผลทักษะการเรียนรูBระบบหลักสูตรและวิธีการสอน ระบบการพัฒนางานอาชีพ และระบบแหล/งเรียนรูBและบรรยากาศการเรียนรูBการปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนรูBของนักเรียน เพื่อใหBบรรลุ ผลลัพธXที่สำคัญ และจำเปZนต/อตัวนักเรียนอย/างแทBจริง มุ/งไปที่ใหBนักเรียนสรBางองคXความรูBดBวยตนเอง ตBองกBาวขBามสาระวิชาไปสู/การเรียนรูBเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ครูตBองไม/สอนหนังสือไม/นำสาระ ที่มีในตำรามาบอกบรรยายใหBนักเรียนจดจำแลBวนำไปสอบวัดความรูBครูตBองสอนคนใหBเปZนมนุษยXที่เรียนรูB การใชBทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 เปZนผูBออกแบบการเรียนรูBและอำนวยความสะดวก (facilitate) ในการเรียนรูBใหBนักเรียน เรียนรูBจากการเรียนแบบลงมือทำ โดยมีประเด็นคำถามอยากรูB เปZนตัวกระตุBนสรBางแรงบันดาลใจใหBอยากเรียน ที่จะนำไปสู/การกระตือรือรBนที่จะสืบคBนรวบรวมความรูB จากแหล/งต/าง ๆ มาสนับสนุน หรือโตBแยBงขBอสมมติฐาน คำตอบที่คุBนเคยพบเจอจากประสบการณXเดิมใกลBตัว สรBางเปZนกระบวนทัศนXใหม/แทนของเดิม การเรียนรูBแบบนี้เรียกว/า Project-Based Learning: PBL ทักษะ การรูBสาระเนื้อหา


32 1) พื้นฐานการเรียนรูBสาระวิชาหลัก ทักษะการอ/าน (Reading) ทักษะการเขียน (Writing) และ ทักษะการคำนวณ (Arithmetic) ถือเปZนทักษะพื้นฐานที่มีความจำเปZนที่จะทำใหBรูBและเขBาใจใน สาระเนื้อหาของ 8 กลุ/มสาระการเรียนรูBที่แสดงความเปZนสาระวิชาหลักของทักษะ เพื่อดำรงชีวิตใน ศตวรรษที่ 21 ไดBแก/ ภาษาแม/และภาษาโลก ศิลปะ คณิตศาสตรXเศรษฐศาสตรX วิทยาศาสตรXภูมิศาสตรX ประวัติศาสตรX และรัฐ ความเปZนพลเมืองดี ซึ่งหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานไดBจัดทำสาระเนื้อหา ไดBครอบคลุมทั้ง 8 กลุ/มสาระการเรียนรูBแลBว 2) ความรูBเชิงบูรณาการสำหรับศตวรรษที่ 21 ถึงแมBนักเรียนจะสอบวัดความรูBความสามารถ ไดBตามเกณฑXการจบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานว/าดBวยระเบียบการวัดผลประเมินผลตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐานไดBแลBวก็ตามคงไม/เพียงพอในโลกยุคศตวรรษที่ 21 จึงตBองมีการสอดแทรกความรูB เชิงบูรณาการเขBาไปในสาระเนื้อหาของ 8 กลุ/มสาระการเรียนรูBเพื่อใชBเปZนพื้นฐานความรูBทักษะ เพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ดังนี้ 2.1) ความรูBเกี่ยวกับโลก (Global Awareness) เปZนการสรBางความรูBความเขBาใจ และกำหนด ประเด็นสำคัญต/อการสรBางความเปZนสังคมโลก การขับเคลื่อนเชิงวัฒนธรรม ศาสนา และวิถีชีวิต ที่อยู/ร/วมกันไดBอย/างเหมาะสมในบริบททางสังคมที่ต/างกันรอบดBาน และสรBางเขBาใจความเปZนมนุษยXดBวยกัน ในดBานเชื้อชาติและวัฒนธรรมการใชBวัฒนธรรมทางภาษาที่ต/างกันไดBอย/างลงตัว 2.2) ความรูBดBานการเงิน เศรษฐกิจ ธุรกิจและการเปZนผูBประกอบการ (Financial, Economic, Business and Entrepreneurial Literacy) เปZนการสรBางความรูBและวิธีการที่เหมาะสมสำหรับการสรBาง ตัวเลือกเชิงเศรษฐศาสตรX หรือเศรษฐกิจมีความเขBาใจบทบาทในเชิงเศรษฐศาสตรXที่มีต/อสังคมและ ใชBทักษะการเปZนผูBประกอบการในการยกระดับ และเพิ่มประสิทธิผลดBานอาชีพ 2.3) ความรูBดBานการเปZนพลเมืองที่ดี(Civil Literacy) เปZนการสรBางประสิทธิภาพการมีส/วนร/วม ทางสังคมผ/านวิธีสรBางองคXความรูBและความเขBาใจในกระบวนการทางการเมืองการปกครองที่ถูกตBอง และ นำวิถีแห/งความเปZนประชาธิปไตยไปสู/สังคมในระดับต/าง ๆ ที่เขBาใจต/อวิถีการปฏิบัติทางสังคมแห/ง ความเปZนพลเมืองทั้งระดับทBองถิ่นและสากล 2.4) ความรูBดBานสุขภาพ (Health Literacy) เปZนการสรBางความรูBความเขBาใจ ขBอมูลสารสนเทศ ภาวะสุขภาพอนามัย และนำไปใชBในการพัฒนาคุณภาพชีวิตใหBเขBาใจวิธีป{องกันแกBไข และเสริมสรBาง ภูมิคุBมกันที่มีต/อภาวะสุขอนามัย ห/างไกลจากภาวะความเสี่ยงจากโรคภัยไขBเจ็บ ใชBประโยชนXขBอมูล สารสนเทศในการเสริมสรBางความเขBมแข็งทางดBานสุขภาพอนามัยไดBอย/างเหมาะสมกับบุคคล เฝ{าระวัง ดBานสุขภาพอนามัยส/วนบุคคลและครอบครัวใหBเกิดความเขBมแข็ง รูBและเขBาใจในประเด็นสำคัญของ การเสริมสรBางสุขภาวะที่ดีระดับชาติและสากล


33 2.5) ความรูBดBานสิ่งแวดลBอม (Environmental Literacy) เปZนการสรBางภูมิรูBและเขBาใจ การอนุรักษXและป{องกันสภาพแวดลBอม และมีส/วนร/วมอนุรักษXและป{องกันสภาพแวดลBอม มีภูมิรูBและ เขBาใจผลกระทบจากธรรมชาติที่ส/งผลต/อสังคม สามารถวิเคราะหXประเด็นสำคัญดBานสภาพแวดลBอม ทางธรรมชาติ และกำหนดวิธีการป{องกันแกBไข และอนุรักษXรักษาสภาพแวดลBอม สรBางสังคมโดยรอบใหB เกิดความร/วมมือในการอนุรักษXและพัฒนาทรัพยากรสิ่งแวดลBอม ทักษะเพื่อดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 1) ทักษะการเรียนรูBและนวัตกรรมโลกยุคศตวรรษที่ 21 มีการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว พลิกผันรุนแรงและคาดไม/ถึงต/อการดำรงชีวิต ดังนั้น คนในยุคศตวรรษที่ 21 จึงตBองมีทักษะสูง ในการเรียนรูBและปรับตัว การสรBางทักษะการเรียนรูBและนวัตกรรมจะใชBกระบวนการ Project - Based Learning : PBL โดยเริ่มจากการนำบริบทสภาพแวดลBอมเปZนตัวการสรBางแรงกดดันใหBนักเรียนตั้งคำถาม อยากรูBใหBมากตามประสบการณXพื้นฐานความรูBที่สั่งสมมา และตั้งสมมติฐานคำตอบตามพื้นฐานความรูBและ ประสบการณXของตนเองที่ไม/มีคำว/าถูกหรือผิด นำไปสู/การแลกเปลี่ยนประเด็นความคิดเห็นกับกลุ/มเพื่อน เพื่อสรุปหาสมมติฐานคำตอบที่มีความน/าจะเปZนไปไดBมากที่สุด โดยมีการพิสูจนXยืนยันสมมติฐานคำตอบ จากการไปสืบคBนรวบรวมความรูBจากแหล/งอBางอิงที่เชื่อถือไดBมาสนับสนุน หรือโตBแยBงไดBเปZนคำตอบ ที่เรียกว/าองคXความรูB เรียกว/า การเรียนแก/นวิชาซึ่งไม/ใช/เปZนการจดจำแบบผิวเผิน แต/การรูBแก/นวิชาหรือ ทฤษฎีความรูBจะสามารถเอาไปเชื่อมโยงกับวิชาอื่น ๆ เกิดแรงบันดาลใจอยากพัฒนางานสรBางผลงาน ที่เกี่ยวกับการการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เรียกว/าความคิดเชิงสรBางสรรคX นำทฤษฎีความรูBมาสรBาง กระบวนการและวิธีการผลิตสรBางผลงานใหม/ที่เปZนประโยชนXต/อบุคคล และสังคมที่ เรียกว/า “พัฒนานวัตกรรม” 1.1) การคิดอย/างมีวิจารณญาณและการแกBป\ญหา (Critical Thinking and Problem Solving) เปZนการสรBางทักษะการคิดในแบบต/าง ๆ ดังนี้ (1) แบบเปZนเหตุเปZนผล ทั้งแบบอุปนัย (inductive) และแบบอนุมาน (deductive) (2) แบบใชBการคิดกระบวนการระบบ (systems thinking) โดยวิเคราะหXป\จจัยย/อย มีปฏิสัมพันธXกันอย/างไรจนเกิดผลในภาพรวม (3) แบบใชBวิจารณญาณและการตัดสินใจ ที่สามารถวิเคราะหXและประเมินขBอมูลหลักฐาน การโตBแยBงการกล/าวอBางอิงและความน/าเชื่อถือ วิเคราะหXเปรียบเทียบและประเมินความเห็น ประเด็นหลัก ๆ สังเคราะหXและเชื่อมโยงระหว/างสารสนเทศกับขBอโตBแยBง แปลความหมายของสารสนเทศ และสรุปบนฐานของการวิเคราะหX และตีความและทบทวนอย/างจริงจังในดBานความรูBและกระบวนการ


34 (4) แบบแกBป\ญหาในรูปแบบการฝïกแกBป\ญหาที่ไม/คุBนเคยหลากหลายในแนวทางที่ยอมรับ กันทั่วไป และแนวทางที่แตกต/างจากการยอมรับ รูปแบบการตั้งคำถามสำคัญที่ช/วยทำความกระจ/าง ในมุมมองต/าง ๆ เพื่อนำไปสู/ทางออกที่ดีกว/า 1.2) การสื่อสารและความร/วมมือ (Communication and Collaboration) ความเจริญกBาวหนBา ของเทคโนโลยีดิจิตอล และเทคโนโลยีการสื่อสาร (digital and communication technology) ทำใหBโลกศตวรรษที่ 21ตBองการทักษะของการสื่อสารและความร/วมมือที่กวBางขวาง และลึกซึ้ง ดังนี้ (1) ทักษะในการสื่อสารอย/างชัดเจน ตั้งแต/การเรียบเรียงความคิดและมุมมอง (idea) สื่อสาร เขBาใจง/ายในหลายแบบทั้งการพูด การเขียน และกิริยาท/าทาง การฟ\งอย/างมีประสิทธิภาพ นำไปถ/ายทอด สื่อสารความหมายและความรูB แสดงคุณค/าทัศนคติและความตั้งใจ การสื่อสารเพื่อการบรรลุเป{าหมาย การทำงาน การสื่อสารดBวยหลากหลายภาษาและสภาพแวดลBอมที่หลากหลายอย/างไดBผล (2) ทักษะความร/วมมือกับผูBอื่นตั้งแต/การทำงานใหBไดBผลที่ราบรื่นเคารพและใหBเกียรติ ผูBร/วมงานมีความยืดหยุ/นและช/วยเหลือประนีประนอมเพื่อการบรรลุเป{าหมายร/วมกัน มีความรับผิดชอบ ร/วมกับผูBร/วมงานและเห็นคุณค/าของบทบาทของผูBร/วมงาน 1.3) ความคิดสรBางสรรคXและนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะทางดBานนี้ เปZนเรื่องของการจินตนาการมาสรBางขั้นตอนกระบวนการ โดยอBางอิงจากทฤษฎีความรูBเพื่อนำไปสู/ การคBนพบใหม/เกิดเปZนนวัตกรรม ที่ใชBตอบสนองความตBองการในการดำรงชีวิตที่ลงตัว และนำไปสู/ การเปZนผูBผลิตและผูBประกอบการต/อไป ทักษะดBานนี้ไดBแก/ (1) การคิดอย/างสรBางสรรคX ที่ใชBเทคนิคสรBางมุมมองอย/างหลากหลาย มีการสรBางมุมมอง ที่แปลกใหม/อาจเปZนการปรับปรุงพัฒนาเพียงเล็กนBอย หรือทำใหม/ที่แหวกแนวโดนสิ้นเชิงที่เปÅดกวBาง ในความคิดเห็นที่ร/วมกันสรBางความเขBาใจ ปรับปรุง วิเคราะหX และประเมินมุมมอง เพื่อพัฒนาความเขBาใจ เกี่ยวกับความคิดอย/างสรBางสรรคX (2) การทำงานร/วมกับผูBอื่นอย/างสรBางสรรคXในการพัฒนา ลงมือปฏิบัติและสื่อสารมุมมอง ใหม/กับผูBอื่นอยู/เสมอ มีการเปÅดใจและตอบสนองมุมมองใหม/ ๆ รับฟ\งขBอคิดเห็น และร/วมประเมินผลงาน จากกลุ/มคณะทำงาน เพื่อนำไปปรับปรุงพัฒนามีการทำงานดBวยแนวคิดหรือวิธีการใหม/ ๆ และเขBาใจ ขBอจำกัดของโลกในการยอมรับมุมมองใหม/ และใหBมองความลBมเหลวเปZนโอกาสการเรียนรูB (3) การประยุกตXสู/นวัตกรรมที่มีการลงมือปฏิบัติตามความคิดสรBางสรรคXใหBไดBผลสำเร็จ ที่เปZนรูปธรรม


35 ทักษะชีวิตและงานอาชีพ การเรียนรูBที่จะปรับตัวไดBอย/างดีในสภาวะการเปลี่ยนแปลง หรือมีภัยคุกคามไดBอย/างชาญฉลาด ถือเปZนเรื่องสำคัญในการดำรงชีวิตที่มีทักษะชีวิตในโลกศตวรรษที่ 21 และการคิดสรBางผลิตภัณฑXใหม/ เพื่อตอบสนองการดำรงชีวิตเฉพาะบริบทสภาพแวดลBอมที่ต/างกันไป นำไปสู/การเผยแพร/เทคนิควิธี การใชBและพัฒนาทักษะใชBเกิดเปZนกลยุทธXการขายเกิดผูBประกอบการในงานอาชีพต/าง ๆ ซึ่งเปZนทักษะ งานอาชีพที่ตBองมีการส/งเสริมใหBมีเท/าทันในยุคต/อการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21 ทักษะชีวิตและ ทักษะงานอาชีพจึงควรมีการพัฒนาสิ่งต/อไปนี้ 1) ความยืดหยุ/นและความสามารถในการปรับตัว (Flexibility and Adaptability) เปZนทักษะ เพื่อการเรียนรูBการทำงานและการเปZนพลเมืองในศตวรรษที่ 21 ซึ่งตBองทำเพื่อการบรรลุเป{าหมาย แบบมีหลักการและไม/เลื่อนลอยภายใตBการเปลี่ยนแปลงอย/างรวดเร็ว และไม/คาดคิดทั้งมีขBอจำกัด ดBานทรัพยากร เวลา และการมีคู/แข/ง โดยใชBวิกฤตใหBเปZนโอกาสในดBานการปรับตัวต/อการเปลี่ยนแปลง เปZนการปรับตัวใหBเขBากับบทบาทที่แตกต/างไปงานที่มีกำหนดการที่เปลี่ยนไป และบริบทที่เปลี่ยนไป ในดBานความยืดหยุ/น เปZนการนำเอาผลลัพธXที่เกิดขึ้นมาใชBประโยชนXอย/างไดBผล มีการจัดการ 30 เชิงบวกต/อคำชม คำตำหนิ และความผิดพลาด สามารถนำความคิดเห็นและความเชื่อที่แตกต/าง หลากหลาย ทั้งของคณะทำงาน หรือขBามวัฒนธรรมคณะทำงาน มาทำความเขBาใจ ต/อรอง สรBางดุลยภาพ และทำใหBงานลุล/วง ดังนั้น ความยืดหยุ/นจึงทำเพื่อการบรรลุผลงานไม/ใช/เพื่อใหBทุกคนสบายใจ 2) การริเริ่มสรBางสรรคXและกำกับดูแลตนเองไดB (Initiative and Self-Direction) เปZนทักษะ ที่สำคัญมากในการทำงานและดำรงชีวิตในโลกศตวรรษที่ 21 ที่ตBองมีการกำหนดเป{าหมายโดยมีเกณฑX ความสำเร็จที่เปZนรูปธรรมและนามธรรม มีความสมดุลระหว/างเป{าหมายระยะสั้นที่เปZนเชิงยุทธวิธี และ เป{าหมายระยะยาวที่เปZนเชิงยุทธศาสตรX มีการคำนวณประสิทธิภาพการใชBเวลากับการจัดการภาระงาน การทำงานตBองทำงานสำเร็จไดBดBวยตนเอง โดยกำหนดตัวงานติดตามผลงานและลำดับความสำคัญของ งานไดBเอง นอกจากนั้นการทำงานยังตBองฝïกทักษะการเปZนผูBเรียนรูBไดBดBวยตนเองที่มีการมองเห็นโอกาส เรียนรูBสิ่งใหม/ ๆ เพื่อขยายความเชี่ยวชาญในงานของตนเองมีการริเริ่มการพัฒนาทักษะไปสู/ระดับอาชีพ แสดงความเอาใจใส/จริงจังต/อการเรียนรูB และทบทวนประสบการณXในอดีตเพื่อคิดหาทางพัฒนาในอนาคต 3) ทักษะสังคมและสังคมขBามวัฒนธรรม (Social and Cross-Cultural Skills) เปZนทักษะที่ ทำใหBคนในศตวรรษที่ 21 สามารถทำงานและดำรงชีวิตอยู/ในสภาพแวดลBอมและผูBคนที่มีความแตกต/าง หลากหลายไดBอย/างไม/แปลกแยกทำใหBงานสำเร็จการพัฒนาทักษะนี้จะทำใหBเกิดปฏิสัมพันธXกับผูBอื่น อย/างเกิดผลดีในเรื่องกาลเทศะ เกิดการทำงานในทีมที่แตกต/างหลากหลาย อย/างไดBผลดีที่มีการเคารพ


36 ความแตกต/างทางวัฒนธรรม ตอบสนองความเห็นและคุณค/าที่แตกต/างอย/างใจกวBางเพื่อยกระดับ ความแตกต/างทางสังคมและวัฒนธรรมสู/การสรBางแนวความคิดวิธีทำงานใหม/สู/คุณภาพของผลงาน 4) การเปZนผูBสรBางผลงานหรือผลผลิตและความรับผิดชอบเชื่อถือไดB(Productivity and Accountability) เปZนการกำหนดขั้นตอนวิธีการทำงานในการสรBางชิ้นงานผลงานหรือผลิตภัณฑX อย/างมีหลักการตามทฤษฎีความรูBที่ตBองมีทักษะความชำนาญการ ซึ่งเปZนเรื่องของการจัดการโครงการที่มี การกำหนดเป{าหมายและวิธีการบรรลุเป{าหมายภายใตBขBอจำกัดที่มีอยู/ โดยการกำหนดลำดับความสำคัญ วางแผน และการจัดการผลิตภัณฑX และผลงานที่ไดBจากการผลิต ตBองมีคุณภาพเพื่อแสดงถึงทักษะ การทำงานอย/างเปZนระบบจากผูBที่มีความเชี่ยวชาญการผลิต นำไปใชBประโยชนXแก/บุคคล ชุมชนไดBอย/าง ไม/มีผลกระทบทางลบ แต/ถBามีจะตBองออกมายอมรับขBอบกพร/องอย/างไม/ปÅดบังอันนำไปสู/การปรับแกBไข หรือยกเลิก เพื่อแสดงจริยธรรมที่เปZนบรรทัดฐานทางสังคม 5) ภาวะผูBนำและความรับผิดชอบ (Leadership and Responsibility) ในศตวรรษที่ 21 มีความตBองการภาวะผูBนำและความรับผิดชอบแบบกระจายบทบาท จากการรับผิดชอบต/อตนเอง รับผิดชอบการทำงานแบบประสานสอดคลBองเปZนคณะทำงาน และรับผิดชอบแบบสรBางเครือข/ายร/วมมือ แบบพันธมิตรการทำงาน เพื่อไปสู/เป{าหมายของผลงานร/วมกัน ซึ่งตBองพัฒนาทักษะมนุษยสัมพันธXและ ทักษะการแกBป\ญหาในการชักนำผูBอื่นใหBเห็นเป{าหมายร/วมกัน และทำใหBผูBอื่นเกิดพลังในการทำงาน ใหBบรรลุผลสำเร็จร/วมกัน เกิดแรงบันดาลใจใหBผูBอื่นใชBศักยภาพหรือความสามารถสูงสุด โดยการ ทำตัวอย/างที่ไม/ถือผลประโยชนXของตนเองเปZนที่ตั้ง และไม/ใชBอำนาจโดยขาดจริยธรรม และคุณธรรม ถือประโยชนXส/วนรวมเปZนที่ตั้ง ทักษะดBานสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี การรับรูBสิ่งต/างๆ ที่เกิดขึ้นแลBวตอบสนองรับสิ่งที่รับรูBมาเปZนกระบวนทัศนXใหม/ทันที แสดงถึงการขาดทักษะการคิดแบบขาดวิจารณญาณ ผลที่เกิดขึ้นก็จะตกอยู/ภายใตBการชวนเชื่อ และ ไม/สามารถกำหนดตนเองไดB การสรBางทักษะดBานสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี เพื่อใหBเกิดการเท/าทัน ไม/ตกอยู/ภายใตBการถูกชักจูงชวนเชื่อ 1) การรูBเท/าทันสารสนเทศ (Information Literacy) การรับรูBคำบอกเล/าจากเพื่อนผูBอื่นรวมถึง ครูผูBสอนหรือแมBนแต/สมมติฐานคำตอบที่หารือกันในกลุ/มอภิปราย เปZนเพียงความคิดเห็นที่รอการพิสูจนX ยืนยันคำตอบที่เปZนจริง จากสารสนเทศที่ไดBจากการสืบคBนรวบรวมจากแหล/งอBางอิงที่เชื่อถือไดB มาผ/านกระบวนการคิดแบบขาดวิจารณญาณ สนับสนุน หรือโตBแยBงพิสูจนXความเปZนจริง สรBางเปZนความรูB และองคXความรูBที่ไดBจากการเรียนรูB ซึ่งตBองใชBทักษะในการเขBาถึงแหล/งความรูBไดBอย/างรวดเร็วและ กวBางขวาง มีทักษะการประเมินความน/าเชื่อถือของขBอมูลสารสนเทศ และทักษะในการใชBอย/างสรBางสรรคX


37 2) การรูBเท/าทันสื่อ (Media Literacy) การรับสารจากสื่อ และสื่อสารออกไปในยุค media คนในศตวรรษที่ 21 จะตBองมีความสามารถใชBเครื่องมือผลิตสื่อ และสื่อสารออกไป หรือแมBแต/ การรับเขBามาในรูปวิดีโอ (video) ออดิโอ (audio) พอดคาสXท (podcast) เว็บไซดX (website) และอื่น ๆ อีกมากมาย แต/การรับรูBจากแหล/งสื่อเหล/านั้นถBาขาดการเท/าทัน ขาดการคิดอย/างมีวิจารณญาณ ก็จะตก อยู/ภายใตBการถูกชักจูงชวนเชื่อไดBเช/นกัน จึงตBองสรBางทักษะการวิเคราะหXสื่อใหBเท/าทัน วัตถุประสงคXของตัวสื่อและผลิตสื่อนั้น อย/างไรมีการตรวจสอบแหล/งอBางอิงที่เชื่อถือไดB และเท/าทัน ต/อการมีอิทธิพล ต/อความเชื่อและพฤติกรรมอย/างไร และมีขBอขัดแยBงต/อจริยธรรมและกฎหมาย ที่เกี่ยวขBองหรือไม/อย/างไร ในเรื่องการสรBางผลิตภัณฑXสื่อ ตBองมีความเท/าทันต/อการเลือกใชBเครื่องมือ ที่พอเพียงพอเหมาะกับวัตถุประสงคXการใชBงาน และเหมาะสมกับสภาพแวดลBอมความแตกต/างหลากหลาย ดBานวัฒนธรรม 3) การรูBทันเทคโนโลยี(ICT: Information, Communication and Technology Literacy) ในโลกยุคศตวรรษที่ 21 เปZนโลกเทคโนโลยีที่มีการแข/งขันกันผลิต และนำมาสู/การสรBางกลยุทธXการขาย สู/กลุ/มผูBบริโภคที่ตBองการความทันสมัยอยู/ตลอดเวลา ซึ่งถBาขาดความเท/าทันการใชBเทคโนโลยีจะกลายเปZน ผูBซื้อแต/ไม/อยากจะเรียนรูBการเปZนผูBผลิต เพื่อนำไปใชBงานที่พอเพียงเหมาะสมกับงาน การถูกชักจูงชวนเชื่อ ใหBเปZนผูBซื้อก็จะง/ายขึ้นผลการสูญเสียงบประมาณและการขาดดุลทางเศรษฐกิจจะตามมา ดังนั้น ทักษะความเท/าทันดBานเทคโนโลยีจึงเปZนทักษะที่จำเปZนในศตวรรษที่ 21 ทำใหBคนรูBจักผลิตใชBและ นำไปแลกเปลี่ยนใชBในเวทีการคBาเกิดการสรBางงานสรBางรายไดBรวมถึงการใชBเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรูB ใหBเกิดการสืบคBนรวบรวมความรูBพิสูจนXสมมติฐานคำตอบ ในการใชBทักษะการคิดแบบมีวิจารณญาณ มากกว/าที่จะใชBเพื่อการบันเทิงในแบบสังคมกBมหนBา จึงควรใชBเทคโนโลยีเพื่อการวิจัยจัดระบบประเมิน และสื่อสารสารสนเทศ ใชBสื่อสารเชื่อมโยงเครือข/าย และ Social network อย/างถูกตBองเหมาะสม เพื่อการเขBาถึง การจัดการ การผสมผสาน การประเมิน และการสรBางสารสนเทศ เพื่อทำหนBาที่ ในเศรษฐกิจฐานความรูB ทั้งนี้ตBองคำนึงถึงการปฏิบัติตามคุณธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวขBองกับการเขBาถึง และใชBเทคโนโลยีสารสนเทศ สุวิธิดา จรุงเกียรติกุล (2561) กล/าวว/า การพัฒนาทักษะการเรียนรูBในศตวรรษที่ 21 ภาคส/วน ต/าง ๆ ในสังคม อาทิ ครอบครัว สถาบันการศึกษา องคXกร ชุมชน จำเปZนตBองปรับหลักคิดและ หลักปฏิบัติในการพัฒนาคุณภาพบุตรหลาน ผูBเรียน บุคลากร และประชาชนใหBเปZนผูBที่มีทักษะการเรียนรูB ในศตวรรษที่ 21 เพื่อการดำเนินชีวิตและการทำงานที่ประสบความสำเร็จและมีความสุข โดยมุ/งที่ การส/งเสริมการเรียนรูBเพื่อรูB (Learning to Know) เนBนองคXความรูB การเรียนรูBเพื่อปฏิบัติจริง (Learning to Do) เนBนการพัฒนาทักษะ พัฒนาสมรรถนะ และศักยภาพตนเอง การเรียนรูBเพื่อชีวิต


38 (Learning to Be) เปZนการพัฒนาทักษะชีวิตอย/างเปZนองคXรวม และการปรับตัวอยู/ในสังคมไดB อย/างมีความสุข การเรียนรูBที่จะอยู/ร/วมกัน (Learning to Live Together) เนBนการเรียนรูB ในการอยู/ร/วมกันอย/างสันติพึ่งพากันและกัน การเรียนรูBที่จะเปลี่ยนแปลง (Learning to Change) พัฒนาศักยภาพทางความคิด การตัดสินใจ และการเรียนรูBดBวยตนเอง การเรียนรูBเพื่อความยั่งยืน (Learning for Sustainable) สามารถประยุกตXใชBความรูB ทักษะ และประสบการณXใหBเกิดประโยชนXต/อ ตนเองและผูBอื่นไดBอย/างสอดคลBองและเหมาะสม 2.3 คุณลักษณะของผูBเรียนในศตวรรษที่ 21 สถาบันรักลูก (2553) กล/าวว/า ลักษณะที่พึงประสงคXของเด็กไทยในศตวรรษที่ 21 ดังนี้ 1) Self Realization รูBจักตัวเอง รูBจุดแข็งจุดอ/อน รูBจักอารมณXตนเอง และสาเหตุของ การเกิดอารมณXนั้น ๆ รูBศักยภาพของตนเอง รูBวิธีจัดการตนเอง 2) Humanity เห็นคุณค/าในความเปZนมนุษยX เคารพเพื่อนมนุษยX เอาใจเขามาใส/ใจเรา 3) Social Connection มีสัมพันธภาพที่ดีกับคนอื่น ไม/ว/าคนในครอบครัว เพื่อน เพื่อนร/วมงาน คนในสังคม ชุมชน 4) Creativity คิดสรBางสรรคX ไม/ติดกรอบเดิม ๆ กลBาคิดในสิ่งที่ทBาทาย และนำไปสู/ การแกBป\ญหาหรือสรBางสรรคXสิ่งใหม/ ใหBเกิดประโยชนXต/อตนเองและเพื่อนมนุษยX 5) Resilience มีความสามารถในการลBมแลBวลุก ผิดพลาดแลBวแกBไขปรับปรุงไดB มีกำลังใจ ที่จะฝÑาฟ\น ทำใหBกBาวผ/านอุปสรรคจนไปสู/ความสำเร็จไดB 6) Learning Person ใฝÑเรียน ใฝÑรูB มีกระบวนการ วิธีการในการเรียนรูBที่ดี สามารถ วิเคราะหXสังเคราะหXสิ่งต/าง ๆ ไดB ทำใหBปรับตัวไปกับโลกที่เปลี่ยนแปลงไม/หยุดไดB 7) Respect to Nature เห็นความสำคัญของธรรมชาติและสิ่งแวดลBอม พยายาม ดูแลรักษาและอยู/กับสิ่งแวดลBอมธรรมชาติอย/างสรBางสรรคX จากคุณลักษณะที่รวบรวมมา วิจารณXพานิช (2555 หนBา 16-21) กล/าวว/า ทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ดังนี้ 1) ทักษะดBานการเรียนรูBและนวัตกรรม จะเปZนตัวกำหนดความพรBอมของนักเรียนเขBาสู/โลก การทำงานที่มีความซับซBอนมากขึ้นในป\จจุบัน ไดBแก/ ความริเริ่มสรBางสรรคXและนวัตกรรมการคิดอย/างมี วิจารณญาณและการแกBป\ญหา และการสื่อสารและการร/วมมือ 2) ทักษะดBานสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี เนื่องดBวยในป\จจุบันมีการเผยแพร/ขBอมูล ข/าวสารผ/านทางสื่อและเทคโนโลยีมากมาย ผูBเรียนจึงตBองมีความสามารถในการแสดงทักษะการคิด อย/างมีวิจารณญาณและปฏิบัติงานไดBหลากหลาย โดยอาศัยความรูBในหลายดBาน ไดBแก/ ความรูB ดBานสารสนเทศ ความรูBเกี่ยวกับสื่อและความรูBดBานเทคโนโลยี


Click to View FlipBook Version