The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงาน SAR มารีวิทยา ปี 64 ฉบับสมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pischapop Chamnij, 2022-09-14 04:46:51

รายงาน SAR มารีวิทยา ปี 64 ฉบับสมบูรณ์

รายงาน SAR มารีวิทยา ปี 64 ฉบับสมบูรณ์

Keywords: sar,mary,2564

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
(Self - Assessment Report : SAR)
ปการศกึ ษา 2564

โรงเรยี น มารวี ทิ ยา
รหัสโรงเรยี น 1125100003
66 หมูท่ี - ถนน แกวพจิ ติ ร ตาํ บล/แขวง หนา เมอื ง เขต/อําเภอ เมืองปราจีนบรุ ี จังหวดั ปราจีนบรุ ี 25000
โทรศพั ท 037-211-024 โทรสาร 037-212-662

สงั กัด
สํานกั งานคณะกรรมการสง เสริมการศึกษาเอกชน

กระทรวงศึกษาธิการ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self - Assessment Report : SAR)
ปก ารศึกษา 2564

สว นท่ี 1 : บทสรุปของผูบ ริหาร

ระดบั ปฐมวยั
ดานคุณภาพเดก็   การบรหิ ารงานภายใตสถานการณการแพรระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา( Covid - 19 )โรงเรียนกําหนดจดุ เนนใหเ ดก็ มีพัฒนาการทัง้ 4 ดานอยางสมดุล

เหมาะสมกับวัย ไดด าํ เนนิ โครงการทีส่ ําคัญ ๆ เชน โครงการสง เสริมพัฒนาการดา นรา งกาย ดานอารมณ - จติ ใจ ดา นสังคม และสติปญ ญา จากผลการดําเนนิ งาน พบวา เด็กมีความ
พรอ มทง้ั ดา นรางกาย จติ ใจ อารมณ สังคม และสตปิ ญญา เหมาะสมกบั วยั บรรลตุ ามเปา หมาย รอยละ 90 จากขอ มลู ดงั กลาวโรงเรยี นไดนําไปใชในการพัฒนาการเด็กทง้ั 4 ดานใหส ูง
ขึ้น

ดา นกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ การบริหารงานภายใตส ถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา ( Covid - 19 )โรงเรียนกําหนดจุดเนน สง เสริมการใช

สอื่ นวตั กรรม เพื่อการจัดประสบการณ ทัง้ ดา นการบริหารและดานการจัดประสบการณทเ่ี นน เด็กเปนสาํ คญั โดยจดั โครงการทีส่ ําคญั ๆ เชน โครงการพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา
และการจัดกระบวนการเรียนรรู ะดบั ปฐมวัย  โครงการพฒั นาศักยภาพครรู ะดับปฐมวยั   ในการใชสอ่ื นวัตกรรมเทคโนโลยี จากการดาํ เนนิ งานพบวา โรงเรียนมีสอ่ื เทคโนโลยี
นวตั กรรม ทีท่ ันสมยั เปนไปตามเปาหมายทกี่ ําหนดครูสามารถนาํ ไปใชใ นการจัดประสบการณไ ดท กุ หนวยการเรียนรู เดก็ ๆ มคี วามสนใจในการเรยี นรู และมีพัฒนาการสงู ขึน้ อยางมี
ประสิทธิภาพ

ดานการจัดประสบการณท ี่เนน เดก็ เปน สําคัญ  ภายใตสถานการณก ารแพรระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา ( Covid - 19 ) โรงเรียนกาํ หนดจุดเนนใหค รจู ดั ประสบการณ

ดว ยรปู แบบทห่ี ลากหลาย โดยครอู อกแบบจดั ประสบการณการเรยี นรทู ใี่ ชส ่ืออิเลก็ ทรอนิกสหรอื นวตั กรรม มกี ารประเมินพัฒนาการของเดก็ อยางรอบดา น ผลการดําเนนิ งานพบวา
ครสู ามารถจดั ประสบการณ โดยใชสื่อ นวตั กรรมทหี่ ลากหลายและมกี ารดาํ เนนิ โครงการกจิ กรรมทส่ี าํ คญั ๆ เชน โครงการสรา งสงั คมแหงการเรยี นรู โครงการพัฒนาบทบาทพอแมย ุค
ใหม หรอื นวตั กรรมตา ง ๆ การจัดประสบการณท เ่ี นน เดก็ เปน สําคัญไดบรรลตุ ามเปา หมาย รอยละ 90 สงผลใหเดก็ มพี ฒั นาการเปน ไปตามวยั และเกดิ การเรียนรอู ยางมีประสทิ ธิภาพ
ครูนําผลจากการนเิ ทศกาํ กับตดิ ตาม และกระบวนการแหง การเรยี นรทู างวิชาชีพ (PLC) มาใชพฒั นาตนเอง และพัฒนาการจดั ประสบการณใ หมปี ระสทิ ธิภาพย่งิ ขึน้

จากการดาํ เนินงานทั้ง 3 มาตรฐาน  ดังกลาว โรงเรยี นมารีวิทยา  ไดเผยแพรข า วสารใหผปู กครอง  นกั เรียน  ผูใชบริการ  สาธารณชน  หนวยงาน  ชุมชน  และผทู ่ีเกย่ี วขอ ง

รับทราบ  ผา นชอ งทางตางๆ  ของโครงการสื่อสมั พันธมารีฯสชู มุ ชน  เชน  การเยีย่ ม  ชน้ั เรยี น   แผน พับประชาสัมพนั ธ  วารสารมารีแมกกาซนี   สิง่ พมิ พป ระชาสัมพันธอ นื่ ๆ   เชน

 ไวนลิ   วารสาร  จลุ สาร  ส่งิ พมิ พร ายเดอื น  ฯลฯ   เวบ็ ไซตของโรงเรยี น  ไลนกลมุ ชั้นเรียน   ชุมชนออนไลน  facebook   เปน ตน

 

ระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
ดานคุณภาพของผเู รียน   การบริหารงานภายใตสถานการณการแพรระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา  ( Covid – 19 ) โรงเรยี นมารีวทิ ยา   พัฒนาคุณภาพการศึกษาของ

นักเรียน   ใหมผี ลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผเู รยี น และคณุ ลักษณะท่พี ึงประสงคของผูเ รียน  เปนคนดี คนเกง  และมคี วามสุข  โดยจัดกระบวนการเรียนการสอน  พัฒนาผเู รยี นดว ยวิธี

การท่หี ลากหลาย  โดยจัดการเรยี นรูทเี่ หมาะสมกบั ผูเรยี น  ใหเ ปน ไปตามศกั ยภาพของผูเรยี น

1.ผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผูเรยี น

              โรงเรียนกําหนดจุดเนนใหผ ูเ รียน มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นสูงขน้ึ   ตามเปาหมายทก่ี าํ หนดในการพัฒนาผเู รียน  รอยละ 90  โดยผรู บั ผิดชอบวางแผน กจิ กรรมที่หลาก
หลาย เชน โครงการยกผลสัมฤทธิ์การเรียนรใู นโรงเรยี น  โครงการสงเสริมการเรียนรแู บบ   STEM  Education  นาํ เสนอผลงานหรือชนิ้ งาน โครงการหองเรยี นนวัตกรรม พฒั นา
เทคโนโลย ี โครงการยกระดบั ทกั ษะความสามารถภาษาองั กฤษ ฯลฯ เปนตน เพอื่ พฒั นาผลสมั ฤทธขิ์ องผเู รียนใหส ูงขน้ึ ผลการดําเนินการโครงการ กิจกรรม พบวา ผูเรยี นมผี ล
สัมฤทธ์ิ ทางการเรียนสงู กวา เปาหมายทีท่ างโรงเรียนกําหนด  โรงเรียนไดนาํ ผลจากการพัฒนาไปใชเ ปนขอมูลในการพฒั นา ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นใหสงู ขึน้ อยา งตอ เน่ืองเปนระบบ

2.คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคของผูเรียน

                โรงเรยี นพฒั นาดานคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสาธารณะ บาํ เพ็ญประโยชน  กิจกรรมปลกู จติ สํานกึ ฝกจิตอาสา  กจิ กรรมแบง ปน ความสขุ  ผดู อยโอกาส  มีระบบการดแู ล

ชว ยเหลือนกั เรียน   การแนะแนว  การใหคําปรกึ ษา จัดทําโครงการตางๆ  ใหม ีคณุ ลกั ษณะและคา นิยมทีด่ ตี ามทส่ี ถานศกึ ษากําหนดและคานยิ มหลกั คณุ ธรรม   12  ประการ เชน

 โครงการคุณธรรมนําทาง  ศาสนธรรมนาํ ใจ  ใฝประพฤตดิ  ี นาํ ชวี มี ีสขุ   โครงการสงเสริม  อัตลกั ษณ – เอกลกั ษณโ รงเรียนมารวี ิทยา  โครงการสถานศึกษา สขี าว  ปลอดยาเสพตดิ

และอบายมขุ ( To  Be Number ) ฯลฯ  ปก ารศึกษา 2564  เนนดานความกตญั รู ูคุณตอ ผมู พี ระคุณ  ของนกั เรียนทกุ ระดบั ช้ัน  
ดา นกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ     การบรหิ ารงานภายใตสถานการณการแพรระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา ( Covid - 19 ) โรงเรยี นมารีวิทยา   บรหิ ารและ

จัดการศึกษา โดยใชก ระบวนการบริหารแบบมสี วนรวม  ระหวางบา น  โรงเรยี น    รว มคดิ รว มทํา  พัฒนาการศกึ ษา  พฒั นาโรงเรยี นตามวสิ ัยทัศน  ปรชั ญา จดุ เนน และ  พนั ธกจิ ที่

กําหนดชัดเจน   คุณภาพของนกั เรยี นแสดงถึงเอกลกั ษณ / อัตลกั ษณ / ปรชั ญาของโรงเรียน   และสอดคลอ งกับหลักสูตร นโยบายของตน สังกดั ของสํานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั

ปราจนี บรุ ี  ซง่ึ สอดคลอ งกบั มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ พ.ศ. 2561  โรงเรยี นพัฒนาสภาพแวดลอมใหร มรน่ื สวยงาม  กาํ หนดจุดเนน สงเสริมสนับสนนุ ครูใหจดั การเรียนรู  โดยใชสอื่

Page 2 of 84 ่

นวตั กรรม เทคโนโลยี เพอื่ การจดั การเรยี นรู ระดับยอดเย่ยี ม วางแผนจดั ทําโครงการท่ีสําคัญ ๆ เชน โครงการพฒั นาระบบประกนั คุณภาพการศกึ ษา  โครงการพัฒนาศักยภาพครู

มารวี ิทยา  งานนิเทศภายใน เปนตน    ผลการดําเนนิ งานพบวา การจัดการเรยี นการสอนในศตวรรษท่ี  21 พฒั นาทกั ษะการคิดและพัฒนาผูเรียนดว ยวิธีการที่หลากหลาย โรงเรียนมี
สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี สอดคลองกับการจดั การเรยี นรูท่ีทันสมยั อยา งครบถว น บรรลุเปาหมายทก่ี ําหนด และนําผลการดําเนินงานไปใชเ ปน ขอมูลสงเสริมในการจดั การเรียนรใู หมี
คณุ ภาพสูงยิ่งขนึ้     

ดา นกระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน ผเู รยี นเปนสําคญั     ภายใตสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ( Covid - 19 )  โรงเรียนมารวี ิทยา

 พัฒนากระบวนการเรียนการสอนของครู   และ  ผูเรียน  ไดค าํ นึงถงึ ความปลอดภัย  ซ่งึ ทุกคนไดปฎบิ ัตติ ามมาตรการการปอ งกัน ไดแก   6 มาตรการหลกั ( DMHT- RC )   6
มาตรการเสริม ( SSET-CQ )  และ 7 มาตรการเขม    กาํ หนดครูรอยละ 90  มกี ารวางแผนจัดการเรียนรู ครใู ชส ่ือ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส นวัตกรรม เทคโนโลยี ใหผเู รยี นมคี วามพรอ มดาน
วิทยาศาสตรค ณิตศาสตรและภาษาองั กฤษเสริมดว ยภาษาจนี และจัดใหมีหอ งเรยี นที่เนน ภาษาอังกฤษหองเรียนท่เี นน ดา นวิทยาศาสตรแ ละคณติ ศาสตรในระดับมัธยมศกึ ษา  การ
จัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน ผูเ รยี นเปน สาํ คญั การเรยี นการสอนในศตวรรษท่ี  21  และพฒั นาทกั ษะดาน coding  ดําเนินโครงการท่สี าํ คัญๆ เชน โครงการพฒั นาศกั ยภาพผูเ รียนและ
สง เสรมิ ความเปน เลศิ ทางวชิ าการ  โครงการสนองพระบรมราโชบายดา นการศึกษาของในหลวงรัชกาลท่ี 10  และเศรษฐกิจพอเพยี ง  เปน ตน จากการดําเนนิ งานดงั กลา วพบวา   ครู
สามารถจัดการเรยี นรูทเ่ี นน ผเู รียนเปนสาํ คญั ผานสือ่ อเิ ล็กทรอนกิ ส เทคโนโลยี และนวตั กรรม ไดอยา งมี ประสิทธิภาพและเปน ไปตามเปาหมายทกี่ าํ หนด นาํ ผลจากการดาํ เนินงานมา
ใชใ นการพฒั นาตนเองและพฒั นาการจดั การเรยี นรู สง ผลใหผเู รียนมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นสงู ขนึ้ พฒั นาการนเิ ทศภายใน เครอื่ งมอื   กํากบั ตดิ ตามตรวจสอบและนาํ ผลไปปรับปรุง
การเรียนการสอนอยา งสมาํ่ เสมอ   

จากการดําเนินงานท้ัง 3 มาตรฐาน  ดงั กลา ว โรงเรยี นมารีวทิ ยา  ไดเผยแพรขาวสารใหผปู กครอง  นักเรียน  ผูใ ชบ รกิ าร  สาธารณชน  หนว ยงาน  ชมุ ชน  และผทู เี่ กีย่ วขอ ง

รับทราบ  ผา นชอ งทางตา งๆ  ของโครงการสอื่ สมั พนั ธม ารีฯสูชมุ ชน  เชน  การเยี่ยม  ชน้ั เรยี น   แผนพบั ประชาสัมพันธ  วารสารมารแี กกาซีน    สิง่ พมิ พประชาสมั พนั ธอ น่ื ๆ     เชน
 ไวนลิ วารสาร จลุ สาร สิง่ พิมพร ายเดอื น  ฯลฯ  เว็บไซตของโรงเรียน ไลนก ลุมชนั้ เรียน  ชมุ ชนออนไลน  facebook   เปน ตน

 

ตอนท่ี 1 ขอมลู พน้ื ฐาน อาคาร (B ldg) : -
ตรอก (Alley) : -
โรงเรยี น (School Name) : มารีวทิ ยา ถนน (Street) : แกวพจิ ิตร
ประเภทโรงเรียน (School Type) : ในระบบ (สามัญปกติ) เขต/อาํ เภอ (District) : เมอื งปราจนี บุรี
รหสั โรงเรยี น : 1125100003 รหสั ไปรษณยี  (Post Code) : 25000
ที่อยู (Address) : 66 โทรสาร (Fax.) : 037-212-662
หมทู ่ี (Village No.) : -
ซอย (Lane) : - เฟซบุก (Facebook) : -
ตําบล/แขวง (Sub-district) : หนา เมอื ง
จงั หวัด (Province) : ปราจนี บรุ ี
โทรศัพท (Tel.) : 037-211-024
อเี มล (E-mail) : [email protected]
เวบ็ ไซต (Website) : www.maree.ac.th
ไลน (Line) : -

ระดบั ที่เปดสอน

ปกติ (สามญั ศึกษา) : เตรียมอนบุ าล, กอนประถมศึกษา, ประถมศกึ ษา, มธั ยมศึกษาตอนตน, มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

Page 3 of 84

ตอนที่ 2 การนําเสนอผลการประเมินตนเอง

ระดบั ปฐมวัย ระดบั คณุ ภาพ
1. มาตรฐานการศกึ ษา ยอดเยย่ี ม
ยอดเย่ยี ม
มาตรฐานการศกึ ษา ยอดเยี่ยม
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเดก็ ยอดเยีย่ ม
ยอดเยย่ี ม
1. มพี ฒั นาดานรางกาย แขง็ แรง มสี ุขนสิ ยั ทีด่ ี และดแู ลความปลอดภยั ของตนองได ยอดเยี่ยม
2. มีพฒั นาการดานอารมณ จติ ใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณได ยอดเยี่ยม
3. มพี ฒั นาการดานสังคม ชว ยเหลอื ตนเองและเปน สมาชกิ ทีด่ ขี องสงั คม ยอดเย่ียม
4. มพี ัฒนาการดานสตปิ ญ ญา ส่อื สารได มที กั ษะการคดิ พ้นื ฐาน และแสวงหาความรไู ด ยอดเย่ยี ม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยี่ยม
1. มหี ลกั สูตรครอบคลุมพัฒนาการท้งั สีด่ า น สอดคลองกบั บรบิ ทของทองถ่นิ ยอดเยย่ี ม
2. จดั ครใู หเ พยี งพอกับช้นั เรยี น ยอดเยย่ี ม
3. สงเสริมใหค รมู คี วามเชีย่ วชาญดานการจัดประสบการณ ยอดเยย่ี ม
4. จัดสภาพแวดลอมและสอื่ เพือ่ การเรยี นรอู ยางปลอดภยั และเพยี งพอ ยอดเยยี่ ม
5. ใหบริการสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือการเรียนรูเ พือ่ สนบั สนนุ การจัดประสบการณ ยอดเยย่ี ม
6. มีระบบบริหารคุณภาพที่เปด โอกาสใหผ เู กีย่ วขอ งทุกฝา ยมีสว นรว ม ยอดเยี่ยม
มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท่ีเนน เดก็ เปนสาํ คญั ยอดเยี่ยม
1. จดั ประสบการณท่สี งเสรมิ ใหเด็กมีพฒั นาการทุกดา น อยา งสมดลุ เตม็ ศกั ยภาพ ยอดเยี่ยม
2. สรางโอกาสใหเด็กไดร บั ประสบการณต รง เลนและปฏิบัติอยา งมีความสุข
3. จัดบรรยากาศทีเ่ อ้ือตอ การเรียนรู ใชสือ่ และเทคโนโลยที ่เี หมาะสมกบั วัย
4. ประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพจรงิ และนาํ ผลการประเมนิ พัฒนาการเด็กไปปรบั ปรงุ การจัดประสบการณแ ละพฒั นาเดก็
สรปุ ผลการประเมินระดบั ปฐมวัย

2. หลักฐานสนับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเองตามระดบั คุณภาพ

มาตรฐานท่ ี 1  คุณภาพของเดก็      ระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ียม   คิดเปนรอ ยละ  98.15

1. รายงานการประเมนิ โครงการสง เสริมพัฒนาการทงั้ 4 ดา น  คดิ เปน รอ ยละ   98.40 
2. ผลการประเมินพัฒนาการของเด็กระดบั ปฐมวยั ปท ่ี 1 – 3 ดา นรา งกาย  มผี ลการประเมนิ   ระดับดีขึน้ ไป คิดเปน รอ ยละ  97.01  สงผลใหเ ดก็       มรี า งกายแข็งแรง    มสี ขุ
นสิ ยั ทด่ี ี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได
3. ผลการประเมนิ พัฒนาการของเดก็ ระดับปฐมวยั ปท ่ี 1 – 3 ดา นอารมณ จติ ใจ    มผี ลการประเมิน  ระดับดขี นึ้ ไป คดิ เปน รอ ยละ 9818  สง ผล        ใหเ ดก็ สามารถควบคุม
และแสดงออกทางอารมณไ ด 
4. ผลการประเมินพัฒนาการของเด็กระดับปฐมวยั ปท ่ี 1 – 3 ดานสงั คม มผี ลการประเมิน  ระดบั ดขี ึ้นไป คิดเปน รอ ยละ  97.83  สงผลใหเดก็           สามารถ  ชว ยเหลอื
ตนเองและเปนสมาชกิ ท่ีดขี องสังคม
5. ผลการประเมนิ พัฒนาการของเด็กระดบั ปฐมวยั ปท ่ี 1 – 3 ดานสตปิ ญ ญา    มผี ลการประเมิน  ระดับดีขนึ้ ไป คิดเปนรอ ยละ 98.64 สงผลให          เดก็ สามารถสื่อสารได 
  มีทกั ษะการคดิ พืน้ ฐาน และแสวงหาความรไู ด

Page 4 of 84

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ  ระดับคุณภาพ ยอดเยยี่ ม   คิดเปนรอยละ  98.80

1. แผนพฒั นาการศกึ ษา ปการศกึ ษา 2560 – 2564  ( ปรบั แกไ ขแผนงาน โครงการ ป 2564 )
2. แผนปฏิบตั งิ าน / สารสนเทศ ประจาํ ปการศึกษา   2564
3. มาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวยั / มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
4. หลักสตู รสถานศกึ ษาระดับปฐมวยั โรงเรียนมารวี ิทยา
5. รายงานสรปุ ผลการประเมินโครงการดานบริหารและการจดั การ
6. เกยี รตบิ ัตร ในการศกึ ษาอบรมเกย่ี วกบั การศึกษาปฐมวยั
7. โลเ กียรตยิ ศ รางวัลชนะเลิศ

โลร างวัลเกียรตคิ ณุ ผทู ําคณุ ประโยชนใหก บั การศกึ ษาเอกชน ของภาคตะวันออก    โดย...นางกนกวรรณ   วลิ าวัลย รฐั มนตรีชวยวาการกระทรวง

ศกึ ษาธิการ  ในการประชุมเสวนาวิชาการการศกึ ษาเอกชน  ของสมาคมคณะกรรมการประสานและสงเสริมการศึกษาเอกชน  วนั ที่ 17 - 18  กุมภาพันธ  2565  ณ  โรงแรม
รอยลั พลาคลิฟฟบชี    อําเภอบา นฉาง  จังหวดั ระยอง                                                                                                                                               
                        

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนน ผูเรียนเปน สาํ คญั     ระดับคณุ ภาพ   ยอดเยี่ยม   รอ ยละ  98.91

1. แผนการจัดประสบการณตามหนวยการเรยี นรู และจัดทาํ แผนการจัดประสบการณก ิจกรรมเสริมหลักสตู ร แผนการจัดประสบการณ ซึ่งการจดั ประสบการณต ามแผน สง เสริม

ใหเดก็ มีพฒั นาการทัง้ 4 ดานอยางสมดลุ โดยไดรบั ความรว มมอื จากพอแม ผปู กครองและชมุ ชนแผนการจดั ประสบการณข องครู / แบบประเมินผลงานตา งๆ

2. ผลการประเมินความพรอ มพฒั นาการทงั้ 4 ดาน / แบบประเมินผลงานตา งๆ
3. การจัดการเรยี นรรู ูปแบบบรู ณาการ  
4. แหลงเรียนรูส ําหรบั เดก็ ทั้งภายในและภายนอกหองเรยี น เชน หอ งสมดุ ระดับปฐมวยั     หอ งคอมพิวเตอร หอ งวทิ ยาศาสตรส ําหรบั เดก็ ปฐมวัย หองดนตรี บอรด การเรียนรู

ตางๆ 

5. เกยี รตบิ ตั รครดู ีเดน ในการสรางชอื่ เสียงดา นตา งๆ ของระดบั ปฐมวัย 
6. โรงเรียนสง เสริมและสรา งโอกาสใหเ ด็กไดรบั ประสบการณต รง เรียนรูจ ากการลงมอื ปฏบิ ตั ิและสรางองคค วามรูดวยตนเองอยางมคี วามสขุ
7. โรงเรยี นจดั บรรยากาศการเรียนรทู ้งั ภายในและภายนอกหอ งเรียน เอื้อตอการเรียนรูข องเด็ก และสนบั สนนุ ใหเ ด็กไดมสี ว นรวมในการจดั บรรยากาศการเรียนรู

มาตรฐานที่ 4 การจดั การศกึ ษาของคาทอลิก      ระดบั คุณภาพ ยอดเยย่ี ม  รอยละ  98.50

1. โครงการสงเสริมอัตลักษณ - เอกลกั ษณ ระดบั ปฐมวัยของโรงเรียนมารวี ทิ ยา
2. งานกิจการคาทอลกิ ระดับปฐมวัย  มงุ เนน การจดั กิจกรรมแบบคาทอลกิ เพ่ือใหผเู รยี น มคี ณุ ลักษณะตามหลกั คุณคา ของ  พระวรสาร  ไดมีสว นรว มในพิธกี รรมทางศาสนาครสิ ต

นิกายโรมันคาทอลิก

3. โรงเรยี นมีแผนจะพัฒนาตนเองตอ ไปอยา งไรใหไดมาตรฐานที่ดีขนึ้ กวาเดมิ 1 ระดับ
3.1 แผนปฏบิ ัตงิ านท่ี 1  สง เสริมพัฒนาการท้งั 4 ดาน และพฒั นาทกั ษะชวี ติ ของเดก็ เปนรายบุคคลอยา งตอ เน่อื ง
3.2 แผนปฏบิ ตั งิ านที่ 2  สง เสรมิ การเรียนรภู าษาอังกฤษ  ภาษาจีน  มีทักษะในการฟง การพดู   การอา น  การเขยี น เพ่ือนําไปใชใน  การสอ่ื สาร
3.3 แผนปฏบิ ัตงิ านท่ี 3   พฒั นาทกั ษะกระบวนการเรยี นร ู และกระบวนการคดิ วิเคราะห  Project   Approach  /  STEM Education  อยางตอ เนอ่ื ง
3.4 แผนปฏิบตั งิ านท่ี 4   พฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา สงเสรมิ การจัดกระบวนการเรียนรอู ยางหลากหลายใหสอดคลอ งกับ  สถานการณป จจุบัน
3.5 แผนปฏิบตั งิ านท ่ี 5  สนบั สนนุ สืบสานวฒั นธรรมไทย  ประเพณไี ทย
3.6 แผนปฏิบตั งิ านท ่ี 6  เสริมสรา งความสมั พันธ ความเชื่อมั่นระหวางโรงเรียนกับชมุ ชนทอ งถิน่

4. นวตั กรรม/แบบอยางท่ดี ี (Innovation/Best Practice)

5. ความโดดเดน ของสถานศึกษา

Page 5 of 84

6. โรงเรยี นดาํ เนินงานตามนโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
- จดั การศึกษาทกุ ระดบั ทุกประเภท โดยใชหลกั สตู รฐานสมรรถนะ รวมทั้งแนวทางการจดั การเรยี นรเู ชิงรกุ และการวัดประเมนิ ผลเพือ่ พัฒนาผเู รยี น ท่ีสอดคลอ ง
กบั มาตรฐานการศกึ ษาแหง ชาติ
- สงเสริมการพฒั นากรอบหลกั สูตรระดบั ทอ งถ่ินและหลักสูตรสถานศึกษาตามความตองการจําเปนของกลุมเปาหมายและแตกตา งหลากหลายตามบริบทของ
พน้ื ที่
- พัฒนาผเู รียนใหมที ักษะการคดิ วเิ คราะห สามารถแกไ ขสถานการณเ ฉพาะหนาไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยจดั การเรยี นรูเชงิ รกุ (Active Learning) จาก
ประสบการณจ ริงหรอื จากสถานการณจาํ ลองผา นการลงมอื ปฏบิ ัติ ตลอดจนจดั การเรยี นการสอนในเชิงแสดงความคิดเหน็ เพอ่ื เปด โลกทัศนม ุมมองรวมกันของผู
เรยี นและครใู หม ากขึ้น
- พัฒนาผูเรียนใหม คี วามรอบรแู ละทกั ษะชีวิต เพ่ือเปน เครอื่ งมอื ในการดํารงชีวติ และสรา งอาชีพ อาทิ การใชเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล สขุ ภาวะและทศั นคตทิ ี่ดตี อการดแู ล
สุขภาพ
- พฒั นาครใู หม ที ักษะ ความรู และความชาํ นาญในการใชเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล ปญ ญาประดิษฐ และภาษาองั กฤษ รวมท้งั การจัดการเรยี นการสอนเพือ่ ฝกทกั ษะการ
คดิ วิเคราะหอ ยางเปนระบบและมีเหตุผลเปน ข้นั ตอน
- สง เสรมิ ใหใชภ าษาทองถิ่นรวมกบั ภาษาไทยเปนสอื่ จัดการเรยี นการสอนในพนื้ ท่ีที่ใชภาษาอยางหลากหลาย เพื่อวางรากฐานใหผ ูเรียนมพี ัฒนาการดา นการคิด
วิเคราะห รวมทง้ั มีทักษะการสื่อสารและใชภ าษาท่สี ามในการตอ ยอดการเรยี นรูไดอยา งมีประสทิ ธภิ าพ
- ปลูกฝงผเู รียนใหม ีหลกั คิดท่ีถูกตองดา นคณุ ธรรม จริยธรรม และเปนผมู คี วามพอเพยี ง วินัย สจุ ริต จิตอาสา โดยกระบวนการลูกเสือ และยุวกาชาด
- พัฒนาแพลตฟอรมดิจิทัลเพื่อการเรียนรู และใชด จิ ิทลั เปนเครือ่ งมือการเรยี นรู
- เสริมสรางการรบั รู ความเขาใจ ความตระหนัก และสง เสรมิ คณุ ลกั ษณะและพฤตกิ รรมทพี่ งึ ประสงคด านส่ิงแวดลอม
- สงเสริมการพัฒนาส่งิ ประดษิ ฐและนวัตกรรมท่ีเปน มติ รกับสงิ่ แวดลอม ใหสามารถเปน อาชีพและสรางรายได
- สนับสนนุ กิจกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ

Page 6 of 84

ระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ระดบั คุณภาพ
1. มาตรฐานการศกึ ษา ยอดเยย่ี ม

มาตรฐานการศึกษา ยอดเย่ียม
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผูเรยี น ยอดเยี่ยม
ผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการของผูเ รียน ยอดเยี่ยม
ยอดเยีย่ ม
1. มคี วามสามารถในการอา น การเขยี น การส่ือสาร และการคดิ คาํ นวณ ยอดเยี่ยม
2. มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห คิดอยา งมวี ิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ และแกปญ หา ยอดเยี่ยม
3. มคี วามสามารถในการสรางนวตั กรรม
4. มคี วามสามารถในการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอื่ สาร ยอดเยย่ี ม
5. มีผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นตามหลักสูตรสถานศกึ ษา ยอดเยี่ยม
6. มคี วามรทู ักษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ด่ี ตี องานอาชพี ยอดเยี่ยม
คุณลักษณะท่พี ึงประสงคของผเู รยี น ยอดเยย่ี ม
7. การมคี ณุ ลกั ษณะและคานยิ มทด่ี ีตามท่สี ถานศกึ ษากาํ หนด ยอดเยย่ี ม
8. ความภูมิใจในทองถิ่นและความเปนไทย ยอดเยย่ี ม
9. การยอมรบั ทจี่ ะอยรู วมกนั บนความแตกตางและหลากหลาย ยอดเยย่ี ม
10. สขุ ภาวะทางรา งกายและจติ สังคม ยอดเยี่ยม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเย่ยี ม
1. มีเปา หมายวิสัยทศั นแ ละพนั ธกจิ ทส่ี ถานศกึ ษากาํ หนดชดั เจน ยอดเย่ยี ม
2. มรี ะบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา ยอดเยย่ี ม
3. ดําเนินงานพฒั นาวิชาการท่ีเนนคณุ ภาพผูเรยี นรอบดานตามหลกั สตู รสถานศึกษาและทุกกลมุ เปาหมาย ยอดเยย่ี ม
4. พัฒนาครูและบุคลากรใหมคี วามเชย่ี วชาญทางวชิ าชพี ยอดเยย่ี ม
5. จดั สภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมทเ่ี ออื้ ตอการจัดการเรียนรูอ ยางมคี ุณภาพ ยอดเยย่ี ม
6. จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การและการจัดการเรียนรู ยอดเยี่ยม
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน ผูเ รียนเปนสาํ คัญ ยอดเยี่ยม
1. จัดการเรียนรผู า นกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ รงิ และสามารถนําไปประยกุ ตใชในชวี ิตได ยอดเยี่ยม
2. ใชส ่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลงเรียนรทู ีเ่ อ้อื ตอ การเรยี นรู ยอดเยี่ยม
3. มีการบริหารจดั การช้ันเรยี นเชิงบวก
4. ตรวจสอบและประเมินผเู รยี นอยา งเปน ระบบ และนาํ ผลมาพัฒนาผเู รียน
5. มกี ารแลกเปล่ยี นเรียนรแู ละใหขอ มลู สะทอ นกลับเพอื่ พฒั นาปรับปรุงการจัดการเรยี นรู
สรปุ ผลการประเมนิ ระดบั ข้ันพื้นฐาน

2. หลักฐานสนับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเองตามระดับคณุ ภาพ

Page 7 of 84

หลกั ฐานสนับสนนุ ผลการประเมินตนเองตามระดบั คุณภาพ
มาตรฐานที่  1  คุณภาพผูเรียน
ผลสัมฤทธ์ทิ างวชิ าการของผเู รยี น      ระดบั คุณภาพ  ยอดเยี่ยม  /  รอยละ  90.88

1. ผลการประเมนิ การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พน้ื ฐาน  ( O–NET )  ปการศึกษา  2564

      วทิ ยาศาสตร กลุมสาระการเรยี นรู สงั คมฯ คะแนนเฉลย่ี
ระดบั ชัน้ จํานวน จาํ นวนเขา
( คน ) ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ
สอบ คณิตศาสตร

ป.6 177 64 48.22 40.39 60.78 67.53 54.23

ประเทศ     36.83 34.31 50.38 39.22 40.19

ม.3 115 79 21.03 31.17 56.40 35.52   36.03

ประเทศ     24.47 31.45 51.19 31.11 34.56

ม.6 50 ไมสมัคร - - - -- -
สอบ

ประเทศ  - -  - - - -- -

2. ผลการประเมนิ ความสามารถ   ดานการอา นออกของผเู รียน ( Reading Test : RT)  ช้นั ประถมศึกษาปที่ 1 

    ปการศกึ ษา  2564    ยกเลิกการสอบ  เนอ่ื งจากสถานการณการแพรระบาด  Covid - 19

3. ผลการประเมนิ ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (National Test : NT) ชั้นประถมศกึ ษาปที่ 3     

    ปก ารศกึ ษา  2564     ยกเลกิ การสอบ  เนือ่ งจากสถานการณการแพรร ะบาด Covid - 19

4. ผลการทดสอบวดั ระดบั ความรภู าษาจีน ภาษาเชิงวชิ าการ และ ภาษาที่ใชเพอ่ื การประกอบอาชีพ  ระดับ ประถมศกึ ษา  Youth Chinese Test (YCT) / ระดบั มธั ยมศึกษา Hanyu
Shuping Kaoshi (HSK)         

     ปการศึกษา  2564    ยกเลกิ การสอบ  เนอ่ื งจากสถานการณการแพรระบาด Covid - 19

 

5. ผลการประเมิน ระดับชัน้  ป.1 – ม.6   มีผลการประเมิน   รอยละ  ระดับดีเยี่ยม  ระดบั ดี  ดงั นี้    

ผลการประเมนิ ระดับดเี ยี่ยม ระดับดี ปรับปรุง

5.1 ผลการประเมนิ สมรรถนะสําคญั   5  ดา นของผูเรียน   99.85 0.15 0.00
94.08 5.12 0.80
5.2 ผลการประเมนิ การอาน   คดิ วเิ คราะห   เขียน 99.82 0.09 0.09

5.3 ผลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงคของนกั เรียน
 
 

Page 8 of 84 ้่ ่ ่่ ์ ้้

6. รอ ยละของนกั เรียนระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี 1 ถงึ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 6 ปก ารศกึ ษา 2564  ท่ีมีเกรดเฉล่ยี   ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนตงั้ แต  3   ขน้ึ
ไป    ( รวมเฉลี่ยท้งั หมดระดับสายช้ัน )

  ป.1 - 6 จํานวนนักเรียนทไ่ี ดเ กรด 3   ขึ้นไป / ม.1 - ม.6  ภาคเรยี นท่ี  1 - 2  
กลุมสาระการเรียนร/ู รายวชิ า 956 รอ ยละ
  ม.1 - ม.3   ม.4 - ม.6
จํานวนนกั เรียนท้ังหมด รอ ยละ 317 รอั ยละ 201

ภาษาไทย 921 96.54 238 75.08 151 75.12

คณติ ศาสตร 839 87.76 222 70.03 169 84.08

วทิ ยาศาสตร 915 95.71 201 63.41 169 84.08

สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 939 98.22 292 92.11 177 88.06

ประวัตศิ าสตร 917 95.92 299 94.32 197 98.00

สุขศึกษา และพลศกึ ษา 956 100.00 262 82.65 110 88.00

ศลิ ปะ 956 100.00 298 94.01 187 93.03

การงานอาชพี และเทคโนโลยี 956 100.00 264 83.28 185 92.04

ภาษาอังกฤษ 802 83.89 218 68.77 178 88.56

รวมเฉลย่ี ทั้งหมด 912 95.34 255 80.41 169 87.89

 
คุณลกั ษณะอันพึงประสงค    ระดบั คณุ ภาพ  ยอดเยี่ยม  / รอยละ  92.34   

         1.โครงการคณุ ธรรมนาํ ทาง  ศาสนธรรมนําใจ  ใฝป ระพฤตดิ ี  นําชวี ีมีสุข
         2. โครงการอบรมคุณธรรมจริยธรรม  เร่ือง ความกตญั ู
         3. กิจกรรมปลูกจิตสาํ นึก  ฝก จิตอาสา / กจิ กรรมแบง ปน ความสุข  แกผูด อยโอกาส เดก็ กําพรา   เยยี่ มใหก ําลงั ใจนาํ ไปมอบใหต ามบานยากจน  โรงพยาบาล ฯลฯ
         4. โครงการสงเสริมอตั ลกั ษณ - เอกลักษณ  ของโรงเรียนมารีวทิ ยา                                                                                                          

มาตรฐานท่ี   2  กระบวนการบริหารและการจดั การ  ระดับคุณภาพ   ยอดเยี่ยม   รอยละ   95.14

1. แผนพฒั นาการศึกษา  ปการศกึ ษา  2560 – 2564  ( ปรบั แกไ ขแผนงาน โครงการ ป 2564 )
2. แผนปฏิบัติงานประจาํ ป /  สารสนเทศ  ประจําปก ารศกึ ษา  2564
3. มาตรฐานการศึกษา  /  มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
4. หลกั สูตรสถานศึกษา /  หลักสูตรรายวชิ าเพ่ิมเติม
5. รายงานสรปุ ผลการประเมนิ โครงการดานบริหารและการจัดการ
6. การจัดกิจกรรมบรู ณาการทุกกลม สาระการเรียนรู “ STEM  Education ” / ( Project  Approach & Project  Based  Learning )  ของนกั เรียนชน้ั อ.1 - ม.6  อยา งตอ

เนื่องและมีประสทิ ธภิ าพ

7. โลเ กียรตยิ ศ  รางวัลชนะเลศิ  ประจาํ ปการศึกษา  2564                                                                                                                           

 

Page 9 of 84

เกยี รตบิ ัตรนกั เรียนโครงการสอบออนไลน  ชงิ ทุนการศกึ ษาหัวขอ ความรูทว่ั ไปในภาษาจีน ระดับมธั ยมศกึ ษา ระดับกลาง- สงู  อนั ดบั ท่ี 42 คะแนน 78.73 %   

 ระดับตน  อนั ดับท่ี 15  คะแนน  73.23 %     ผา นระบบ  ZOOM  จดั โดย...เครอื ขา ยเยาวชนพุทธอาสา  ณ  วนั อาทติ ยท ี่ 12  กนั ยายน  2564 

เกยี รติบัตรดเี ดน รางวลั   “ สถานศึกษาปลอดภยั ” ประจําป  2564  ปท่ี 3  ติดตอกนั  โดยนายอภิญญา สจุ ริตตานันท อธบิ ดีกรมสวัสดกิ ารและคมุ ครอง

แรงงาน   ณ วันที่ 29 กรกฏาคม 2564  นางสาวอัจฉรา  สุขพบิ ูลย  ผอู ํานวยการโรงเรยี น รับเกียรตบิ ัตรดเี ดน  โดย...นายวรพนั ธุ  สวุ ัณณสุ ส  ผูว า ราชการจงั หวดั
ปราจนี บรุ  ี  วนั พฤหสั บดที ี่ 14 ตุลาคม 2564  ณ  หองประชุม 403 ( ทวารวดี ) ชั้น 4  ศูนยราชการจงั หวดั ปราจนี บุรี

ถวยรัฐมนตรีวา การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร นางสาวตรนี ขุ   เทยี นทอง   รางวลั รองชนะเลศิ   อนั ดับ 1 ระดบั มัธยมศึกษา  โครงการประกวดบรรเลงเพลงพระราช

นพิ นธ “อคั รศิลปน” คร้งั ที่ 2   ของสมาคมเมโลเดยี นรวมกบั สถาบนั สงเสริมศกั ยภาพเด็กและเยาวชนไทย สมาคมคนของแผนดิน สภาองคกรเยาวชนคนสรางสรรคพัฒนา
สงั คม สภาองคก รวฒั นธรรมไทย อาเซยี น   วันเสารท ี่  30  ตลุ าคม  2564                              

เกยี รตบิ ัตรการประกวดเรียงความและสุนทรพจน   หัวขอ ลอยกระทงออนไลน   อนุรกั ษวฒั นธรรมไทย  รวมใจรกั ษโ ลก ระดับประถมศึกษา รางวลั รองชนะ

เลิศ  อันดับ 1  การประกวดสุนทรพจน    ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษา  รางวัลรองชนะเลศิ  อันดบั 2  การประกวดเรียงความ  จัดโดย...เครือขายเยาวชนพทุ ธอาสา      ณ   วนั ศุกร
ท่ี 19  พฤศจกิ ายน  2564

     8. ซสิ เตอร ดร.อัจฉรา  สุขพบิ ลู ย     ผอู ํานวยการโรงเรียน  รับโลร างวัล  เข็ม  เกยี รติบัตร

เกียรตบิ ตั รรางวลั  ผูบ ริหารสถานศกึ ษาตน แบบจังหวดั ปราจนี บุรี  ของคุรุสภาจงั หวดั   สาํ นักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั ปราจนี บรุ ี  งานวนั คร ู  ครงั้ ที่ 66     "พลัง
ครยู ุคใหม สรา งคุณภาพคนไทยสูส ากล" ”ณ  โดย...นายวรพันธุ  สุวัณณุสส  ผวู าราชการจังหวดั ปราจนี บุรี  ณ บานสวนมารยี   วันที่ 16  มกราคม  2565             

                                                                                                                                    

เกียรติบตั รรางวลั  ผูบงั คับบัญชาลกู เสอื ดเี ดน ประจําป 2564  ของสาํ นักงานลกู เสือแหงชาต ิ  ประกาศ ณ  วันท่ี  3 ธนั วาคม   2564    ลงนาม   

โดย...นายสทุ ิน  แกว พนา  เลขาธกิ ารสาํ นกั งานลูกเสอื แหง ชาต ิ  และนายวรพันธุ  สุวณั ณุสส ผวู าราชการจงั หวดั ปราจนี บรุ ี  มอบเกยี รติบตั ร วันที่ 20 มกราคม 2565  ณ
หองประชุมชน้ั 4 ( หอ ง 401 สระมรกต ) ศาลากลางจังหวัดปราจีนบรุ ี                                                 

โลรางวลั เกยี รติคุณผทู าํ คุณประโยชนใ หก บั การศกึ ษาเอกชน  ของภาคตะวนั ออก   โดย...นางกนกวรรณ  วลิ าวัลย  รฐั มนตรีชวยวา การกระทรวง

ศึกษาธกิ าร  ในการประชุมเสวนาวิชาการการศกึ ษาเอกชน  ของสมาคมคณะกรรมการประสาน และสงเสริมการศกึ ษาเอกชน    วันท่ี 17 - 18  กมุ ภาพนั ธ  2565    ณ
 โรงแรมรอยัลพลาคลิฟฟบ ชี    อาํ เภอบานฉาง จงั หวดั ระยอง                                                               

มาตรฐานท ่ี  3   กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี นนผเู รยี นเปน สาํ คญั   ระดับคุณภาพ   ยอดเยี่ยม  รอ ยละ   91.85

1. แผนการจัดการเรยี นรูของครู  / แบบประเมินดานการเรียน / แบบ ป.พ.ตางๆ
2. ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น   ระดับชั้น ป.1-ป.6/ ม.1 –ม.6   /  ผล NT , ผล O - Net
3. โครงงาน ผลงาน นวตั กรรมนักเรยี นการสรางหนุ ยนต/ Project  Based  Learning
4. แหลง เรยี นรูและทันสมัย    *  หองปฏบิ ตั ิการคอมพวิ เตอร     *   หอ งวิทยาศาสตร      *   หอ งเรียน Smart  ClassRoom     *   หอ ง  IPST  ของ สสวท.     * หอ ง

พพิ ิธภัณฑเฉลมิ พระเกยี รติ    / ฯลฯ

5. สงเสรมิ การเรยี นรูร ายบุคคล  ผานโปรแกรมการเรยี น Learn  Education   พัฒนาทักษะภาษาองั กฤษ 4  ดา น  /  วิชาคณิตศาสตร  วิทยาศาสตร  เปนภาษาองั กฤษ     
6. เกียรตบิ ัตร  รางวัล “ ผบู รหิ ารและครูโรงเรียนเอกชนดีเดน ”( Private School Administrators andTeachersof the Year 2022 ) ประจาํ ป  2565 งานการศึกษาเอกชน

ภาคตะวนั ออก  ของสมาคมคณะกรรมการประสานและสง เสรมิ การศึกษาเอกชน  จํานวน  19  คน  วันศุกรท่ี  18  กุมภาพันธ   2565   ณ  จงั หวัดระยอง                       
                                                                                                                        

มาตรฐานที่  4  การจัดการศกึ ษาของคาทอลกิ      ระดบั คุณภาพ    ยอดเยย่ี มรอยละ    96.19

1. การจัดกจิ กรรมแบบคาทอลิก  ผูเรียนมคี ณุ ลักษณะตามหลักคุณคาของพระวรสาร
2. โครงการสงเสรมิ คณุ คาของพระวรสาร
3. โครงการสง เสรมิ อตั ลักษณ - เอกลกั ษณ  ของโรงเรยี นมารวี ิทยา

3. โรงเรยี นมีแผนจะพฒั นาตนเองตอ ไปอยา งไรใหไดม าตรฐานท่ีดขี ึน้ กวา เดมิ 1 ระดบั

Page 10 of 84 ่้

3. โรงเรียนมีแผนจะพฒั นาตนเองตอไปอยางไรใหไ ดร ะดบั คุณภาพทีด่ ีข้ึนกวา เดมิ 1 ระดบั

          3.1  แผนปฏบิ ัตงิ านท ี่  1  พฒั นาความสามารถในการอาน การเขียน  นักเรยี นเปนรายบคุ คลอยา งตอเน่อื ง
          3.2  แผนปฏิบตั ิงานท ่ี  2  สงเสริมการเรียนภาษาองั กฤษ ภาษาจนี มีทักษะในการฟง การพดู การอา น การเขยี น เพือ่ นําไปใชในการสือ่ สาร
          3.3  แผนปฏบิ ตั ิงานท่ี 3  พฒั นาทกั ษะกระบวนการเรยี นรู และกระบวนการคดิ วิเคราะห Project  Approach / STEM Education อยา งตอเน่อื ง
          3.4 แผนปฏบิ ตั งิ านที ่  4   สนบั สนุนสงเสริม ใชห อง  Smart  ClassRoom   เปน หองเรยี นในรูปแบบออนไลนในวชิ าตางๆ
          3.5 แผนปฏิบตั งิ านท ี่  5   สนบั สนุนสืบสานวัฒนธรรมไทย  ประเพณีไทย
          3.6 แผนปฏบิ ัติงานท ่ี  6  เสริมสรา งความสัมพนั ธ ความเชอ่ื ม่นั ระหวา งโรงเรียนกับชุมชนทอ งถนิ่

4. นวัตกรรม/แบบอยางทีด่ ี (Innovation/Best Practice)
- นวัตกรรม/แบบอยางที่ดี : STEM Education / ( Project Approach & Project Based Learning )

มาตรฐานดาน : มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู รียน
- นวตั กรรม/แบบอยา งทด่ี ี : H.F.P.B. (Hammock plastic bottles)

มาตรฐานดาน : มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเรยี น
- นวตั กรรม/แบบอยางที่ดี : ออกซเิ จนปลาไรไฟฟา

มาตรฐานดา น : มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู รยี น
- นวัตกรรม/แบบอยา งทด่ี ี : อบ อบ อมขยะ

มาตรฐานดาน : มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเรยี น
- นวตั กรรม/แบบอยา งท่ีดี : Pep-si Tank

มาตรฐานดาน : มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู รยี น
- นวตั กรรม/แบบอยา งทดี่ ี : Forklift Chair

มาตรฐานดาน : มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเรียน
- นวตั กรรม/แบบอยา งที่ดี : Post Box On - Line

มาตรฐานดาน : มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเรยี น
- นวัตกรรม/แบบอยา งที่ดี : พับ พับ พบั

มาตรฐานดา น : มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู รยี น
- นวตั กรรม/แบบอยา งที่ดี : CARs SIM

มาตรฐานดา น : มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเ รยี น
- นวัตกรรม/แบบอยางทด่ี ี : SENGARETTE

มาตรฐานดาน : มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู รยี น
- นวัตกรรม/แบบอยางที่ดี : Old PT innovation

มาตรฐานดา น : มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู รยี น

5. ความโดดเดน ของสถานศกึ ษา
- “ STEM Education ” / ( Project Approach & Project Based Learning )

6. โรงเรยี นไดดาํ เนินงานตามนโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ
- จัดการศึกษาทกุ ระดับ ทุกประเภท โดยใชหลักสูตรฐานสมรรถนะ รวมท้งั แนวทางการจดั การเรยี นรูเชงิ รุกและการวดั ประเมนิ ผลเพอ่ื พัฒนาผเู รียน ที่สอดคลอ ง
กับมาตรฐานการศกึ ษาแหง ชาติ

Page 11 of 84

- สง เสรมิ การพัฒนากรอบหลกั สตู รระดบั ทอ งถ่ินและหลกั สูตรสถานศึกษาตามความตอ งการจาํ เปน ของกลุมเปาหมายและแตกตางหลากหลายตามบรบิ ทของ
พ้นื ที่
- พัฒนาผเู รยี นใหม ที ักษะการคิดวิเคราะห สามารถแกไ ขสถานการณเ ฉพาะหนาไดอยางมปี ระสิทธภิ าพ โดยจดั การเรียนรูเชิงรุก (Active Learning) จาก
ประสบการณจรงิ หรอื จากสถานการณจําลองผา นการลงมือปฏบิ ัติ ตลอดจนจดั การเรียนการสอนในเชิงแสดงความคดิ เห็นเพอ่ื เปด โลกทัศนม ุมมองรวมกนั ของผู
เรียนและครูใหม ากขึ้น
- พฒั นาผูเรยี นใหมีความรอบรแู ละทักษะชวี ติ เพ่อื เปนเคร่อื งมือในการดาํ รงชีวิตและสรางอาชพี อาทิ การใชเ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั สขุ ภาวะและทัศนคติทดี่ ีตอ การดแู ล
สุขภาพ
- พัฒนาครูใหมีทักษะ ความรู และความชาํ นาญในการใชเ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ปญ ญาประดษิ ฐ และภาษาองั กฤษ รวมทงั้ การจัดการเรียนการสอนเพ่อื ฝก ทักษะการ
คดิ วิเคราะหอ ยา งเปนระบบและมเี หตุผลเปนขั้นตอน
- สงเสริมใหใชภาษาทอ งถ่ินรว มกบั ภาษาไทยเปน สือ่ จดั การเรียนการสอนในพ้นื ทีท่ ี่ใชภ าษาอยา งหลากหลาย เพ่ือวางรากฐานใหผ เู รียนมพี ฒั นาการดา นการคิด
วเิ คราะห รวมทงั้ มที กั ษะการสอ่ื สารและใชภาษาทีส่ ามในการตอ ยอดการเรยี นรไู ดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ
- ปลูกฝง ผเู รยี นใหม หี ลกั คิดทถี่ กู ตอ งดานคุณธรรม จรยิ ธรรม และเปน ผมู คี วามพอเพียง วนิ ยั สุจริต จิตอาสา โดยกระบวนการลูกเสือ และยุวกาชาด
- พฒั นาแพลตฟอรมดจิ ทิ ัลเพื่อการเรยี นรู และใชดจิ ิทลั เปน เครอ่ื งมือการเรยี นรู
- เสริมสรา งการรบั รู ความเขา ใจ ความตระหนัก และสงเสรมิ คณุ ลกั ษณะและพฤติกรรมทพ่ี งึ ประสงคดานสิ่งแวดลอ ม
- สง เสริมการพฒั นาสง่ิ ประดษิ ฐและนวตั กรรมที่เปน มิตรกับสิ่งแวดลอ ม ใหส ามารถเปนอาชพี และสรา งรายได
- สนับสนุนกิจกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ

ลงชอื่ ........................................
(........นางสาวอัจฉรา สุขพิบูลย. .......)

ตําแหนง ผูอาํ นวยการ

Page 12 of 84

สวนท่ี 2 : ขอ มูลพนื้ ฐาน

1. โรงเรียน (School Name) : มารีวทิ ยา (-) อาคาร (B ldg) : -
รหัสโรงเรยี น : 1125100003 ตรอก (Alley) : -
ทอี่ ยู (Address) : 66 ถนน (Street) : แกวพจิ ิตร
หมูท่ี (Village No.) : - เขต/อําเภอ (District) : เมืองปราจีนบุรี
ซอย (Lane) : - รหสั ไปรษณีย (Post Code) : 25000
ตาํ บล/แขวง (Sub-district) : หนา เมือง โทรสาร (Fax.) : 037-212-662
จังหวัด (Province) : ปราจนี บรุ ี
โทรศัพท (Tel.) : 037-211-024 เฟซบกุ (Facebook) : -
อเี มล (E-mail) : [email protected]
เว็บไซต (Website) : www.maree.ac.th
ไลน (Line) : -

2. ระดบั ท่ีเปดสอน
ปกติ (สามญั ศกึ ษา): : เตรียมอนบุ าล, กอ นประถมศึกษา, ประถมศึกษา, มัธยมศกึ ษาตอนตน , มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

Page 13 of 84

3. ขอมูลพ้ืนฐานแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
ปรัชญา

 

" คุณธรรมนาํ การศึกษา  เพอื่ พัฒนาตนเองและสงั คม "

วสิ ัยทัศน

            

โรงเรียนมารวี ิทยา มุง ม่ันพฒั นานกั เรียนใหเปนคนด ี มีคุณธรรม จริยธรรม  มีจิตสาํ นกึ ของการเปนพลเมืองไทย ดาํ เนินชวี ติ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ใสใจตอ สังคมและ
สงิ่ แวดลอ ม มคี วามเปน เลิศทางวิชาการ  เทคโนโลยี  และการใชภาษาตางประเทศในการส่ือสาร  พฒั นาตนเองไดเตม็ ศกั ยภาพ   สมู าตรฐานสากล    มีทักษะชวี ิตและดาํ รงตนได
อยางมีความสขุ

พันธกิจ
1. สง เสริมและพัฒนาผเู รียน ใหมคี ณุ ธรรม  จรยิ ธรรม ตามจติ ตารมณ  ของพระสงั ฆราช  ลัมแบรตเดอลามอ็ ต  มคี ุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค   และคานิยมหลกั ของคนไทย 12
ประการ
2. พฒั นาผลสัมฤทธิข์ องผเู รยี นใหม คี วามสามารถในการอาน  เขยี น  คิดคาํ นวณ  คดิ วเิ คราะหและใชภ าษาตางประเทศ   ในการสอื่ สาร
3. พัฒนาผูเ รยี นมศี กั ยภาพการเรยี นรสู ูม าตรฐานสากลรจู ักใชเ ทคโนโลยีและทักษะการเรยี นรใู นศตวรรษที่  21
4. สง เสริมและพัฒนาบุคลากรครแู ละผูเรียนใหมสี ุขภาวะทดี่ ีมีสุนทรยี ภาพ  มคี วามภูมิใจในทอ งถิ่นและความเปน ไทย
5. พัฒนาระบบการบรหิ าร  บรู ณาการจัดการศกึ ษา  การประกนั คณุ ภาพ และจดั การศึกษาที่เนนการมสี วนรวมของ  ผปู กครอง  ศษิ ยเ กา  ชุมชน   ใหม คี ณุ ภาพและไดมาตรฐาน
6. พฒั นาสภาพแวดลอ มของโรงเรยี น  จัดทาํ แหลง เรยี นรูมีบรรยากาศที่เอื้อตอ การเรยี นรู  และดําเนินชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7. พัฒนาคณุ ภาพครใู หสามารถจัดกระบวนการเรียนรูท่ีเนน ผเู รยี นเปนสาํ คญั ไดอยา งมีประสทิ ธภิ าพ
8. โรงเรยี นสงเสรมิ กจิ กรรมอตั ลักษณแ ละเอกลักษณโรงเรยี นมารีวทิ ยาตามคุณคา ของพระวรสาร
 

เปา หมาย
1. ผูเรยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม  มีคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค   และคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ
2. ผเู รียนมคี วามสามารถในการอา นเขียน สือ่ สาร การคดิ คาํ นวณ  การคิดวเิ คราะห   และใชภาษาตางประเทศในการ สื่อสารไดด ี
3. ผเู รียนมีศกั ยภาพการเรยี นรูสูม าตรฐานสากลรูจกั ใชเ ทคโนโลยี   และทกั ษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21
4. บคุ ลากรครแู ละผูเรียนมสี ขุ ภาวะท่ีดี    มีสุนทรียภาพ  มคี วามภมู ใิ จใน  ทอ งถ่นิ และความเปน ไทย
5. โรงเรียนมีระบบการบรหิ าร  บูรณาการจัดการศึกษาการประกันคุณภาพและจดั การศึกษาทเี่ นน การมสี ว นรวม  ของผปู กครอง  ศษิ ยเกา  ชมุ ชนใหม ีคุณภาพและไดมาตรฐาน
6. โรงเรยี นจดั สภาพแวดลอม จัดทําแหลงเรยี นรมู ีบรรยากาศที่เอ้อื ตอ   การเรยี นรู และดําเนนิ ชีวิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
7. ครูจัดกระบวนการเรยี นรูที่เนน ผเู รยี นเปน สาํ คญั
8. โรงเรยี นสงเสรมิ กิจกรรมอัตลกั ษณแ ละเอกลักษณโรงเรยี นมารีวิทยาตามคณุ คา ของพระวรสาร

ยุทธศาสตรห รอื กลยทุ ธ
1. พฒั นาคุณภาพผูเรยี น
2. พฒั นาคณุ ภาพกระบวนการและการจัดการศกึ ษาของผูบ ริหาสถานศึกษา
3. พัฒนากระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน ผเู รยี นเปนสําคญั
4. การจัดการศกึ ษาคาทอลกิ
 

Page 14 of 84

เอกลักษณ

“ คณุ ธรรมนาํ การศกึ ษา   เพ่อื พฒั นาตนเองและสงั คม ”  
คุณธรรม          หมายถงึ     การเปน บคุ คล   ทีม่ คี วามรัก - เมตตา   ซ่อื สัตย   และมภี มู คิ ุมกัน
การศกึ ษา         หมายถงึ     การแสวงหาความรูดานตา ง ๆ  พฒั นาทักษะทเ่ี ปน ประโยชนตอ ตนเอง  สังคมและสว นรวม  
พัฒนา              หมายถึง    การพัฒนาใหด ีและมมี ากขน้ึ  จากทีเ่ ปน อยู
สังคม                หมายถงึ     ทกุ สถาบนั เรมิ่ จากสถาบันครอบครัว  โรงเรยี นชมุ ชนและประเทศชาติ

อัตลกั ษณ

อตั ลักษณ. ..ผูเรยี น      วนิ ยั ดี   ศึกษาเยยี่ ม    เปยมคณุ ธรรม
วินัยดี                     หมายถงึ       มรี ะเบียบในตนเอง   ตรงตอ เวลา  รบั ผดิ ชอบ   รูจ ักบงั คบั ตนเอง
ศึกษาเยี่ยม            หมายถึง      รักการเรยี นรู   มกี ระบวนการคดิ   มที ักษะในการดาํ รงชวี ิต
เปย มคณุ ธรรม       หมายถึง      การเปน บคุ คล   ทีม่ ีความรัก - เมตตา  ซื่อสัตย  และมภี มู ิคมุ กนั

 

คตพิ จน  ( School  Motto )      รัก  -  เมตตา   ซือ่ สตั ย    มภี มู คิ มุ กนั
รกั – เมตตา           หมายถงึ   ใหเกียรตผิ อู นื่  เสียสละแบงปน  ใหอภัย  และมจี ิตอาสา
ซอื่ สตั ย                  หมายถงึ   พดู ความจริง  ยตุ ิธรรม กลา เผชญิ ความจริง ไมคดโกง / ไมห ลอกลวง
มีภูมคุมกนั             หมายถึง   วางแผน รอบคอบ  มธั ยสั ถ อยอู ยา งพอเพียง  ยดึ ม่นั ในหลกั ธรรมและคาํ สอนของศาสนา

Page 15 of 84

4. จํานวนนักเรียน

ระดบั ทเ่ี ปด สอน การจัดการเรียน จาํ นวนหอ งเรยี น จาํ นวนผูเรียนปกติ จาํ นวนผูเรยี นทม่ี คี วาม รวมจาํ นวนผู
การสอน ตอ งการพเิ ศษ เรยี น
ชาย หญิง
ชาย หญิง
27 13
ระดับกอ นประถมการศึกษา 72 69
--
เตรียมอนบุ าล หองเรียนปกติ 1 62 56 -- 40
--
อนุบาลปท่ี 1 หอ งเรียนปกติ 5 56 54 - - 141
หอ งเรียน EP - --
217 192 -- -

อนบุ าลปที่ 2 หองเรียนปกติ 4 88 63 - - 118
หองเรยี น EP - --
68 67 -- -
--
อนุบาลปท่ี 3 หองเรียนปกติ 4 81 84 - - 110
หองเรียน EP - --
82 94 -- -
--
รวม หอ งเรียนปกติ 14 หอ งเรยี น EP - 87 65 - - 409
--
ระดบั ประถมศึกษา 82 95
--
ประถมศกึ ษาปท ี่ 1 หองเรยี นปกติ 5 488 468 - - 151
หองเรยี น EP -
54 56 -- -
--
ประถมศกึ ษาปท ี่ 2 หองเรยี นปกติ 5 51 41 - - 135
หองเรียน EP - --
-- -

ประถมศึกษาปท ี่ 3 หองเรยี นปกติ 5 - - 165
หองเรียน EP -
-- -

ประถมศึกษาปท ่ี 4 หองเรียนปกติ 5 - - 176
หอ งเรยี น EP -
-- -

ประถมศึกษาปท่ี 5 หอ งเรียนปกติ 5 - - 152
หองเรยี น EP -
-- -

ประถมศึกษาปท ี่ 6 หอ งเรียนปกติ 5 - - 177
หอ งเรยี น EP -
-- -

รวม หองเรยี นปกติ 30 หองเรยี น EP - - - 956

ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน

มธั ยมศึกษาปท่ี 1 หองเรยี นปกติ 3 - - 110
หอ งเรียน EP -
-- -

มัธยมศึกษาปที่ 2 หองเรียนปกติ 3 -- 92
หอ งเรียน EP -
-- -

Page 16 of 84

ระดับทเ่ี ปดสอน การจัดการเรยี น จาํ นวนหอ งเรยี น จํานวนผเู รยี นปกติ จาํ นวนผูเรยี นทีม่ คี วาม รวมจาํ นวนผู
การสอน ตอ งการพเิ ศษ เรียน
ชาย หญงิ
มธั ยมศึกษาปท่ี 3 หอ งเรียนปกติ 3 65 50 ชาย หญงิ 115
หอ งเรียน EP - -- -
170 147 -- 317
รวม หองเรยี นปกติ 9 หองเรียน EP -
33 44 --
--
34 40 --
--
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 27 23
--
มธั ยมศึกษาปท ่ี 4 หองเรยี นปกติ 2 94 107 -- 77
หองเรยี น EP - 969 914
-- -

มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 5 หองเรยี นปกติ 2 -- 74
หองเรยี น EP -
-- -

มธั ยมศึกษาปท ่ี 6 หองเรียนปกติ 2 -- 50
หอ งเรียน EP -
-- -

รวม หองเรยี นปกติ 6 หอ งเรียน EP - - - 201

รวมท้งั ส้ิน หอ งเรยี นปกติ 59 หองเรยี น EP - - - 1,883

Page 17 of 84

5. จํานวนผบู รหิ ารสถานศึกษา ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
5.1 ผบู ริหารสถานศึกษา
- นางสาว อัจฉรา สุขพบิ ลู ย
ตาํ แหนง : ผูอ าํ นวยการโรงเรียน (Thai School Director)
ระดับการศกึ ษา : ปรญิ ญาเอก
- นางสาว ณัฐฐา สนิ บํารงุ
ตาํ แหนง : รองผอู าํ นวยการโรงเรยี น (Deputy Thai Director)
ระดับการศึกษา : ปรญิ ญาโท
- นางสาว เพช็ รรตั น สุขสาํ ราญ
ตาํ แหนง : รองผอู าํ นวยการโรงเรียน (Deputy Thai Director)
ระดับการศึกษา : ปรญิ ญาโท

5.2 จํานวนครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา (เฉพาะทบี่ รรจุเทา นน้ั )

5.2.1 สรปุ จํานวนครแู ละบุคลากรทางการศึกษา จาํ แนกวฒุ ิการศึกษาและประเภท/ตาํ แหนง

ประเภท/ตาํ แหนง ตํ่ากวา ป.ตรี จาํ นวนครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ป.เอก รวม
ป.ตรี ป.บณั ฑิต ป.โท

ผสู อนเตรียมอนบุ าล

1. ครไู ทย - - - - --

2. ครูชาวตา งชาติ - - - - --

ผสู อนการศกึ ษาปฐมวยั

1. ครไู ทย 1 19 2 2 - 24

2. ครชู าวตา งชาติ - 1 - - -1

ผสู อนการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน

ระดบั ประถมศกึ ษา

1. ครูไทย 2 22 15 5 - 44

2. ครูชาวตา งชาติ - 5 - - -5

ระดับมธั ยมศึกษา

1. ครูไทย - 17 8 10 1 36

2. ครชู าวตา งชาติ - 2 - 1 -3

รวม 3 66 25 18 1 113

บุคลากรทางการศกึ ษา

บุคลากรอน่ื ๆ - - - - --

รวม - - - - - -

Page 18 of 84

ประเภท/ตาํ แหนง ตํา่ กวา ป.ตรี จํานวนครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ป.เอก รวม
ป.ตรี ป.บัณฑติ ป.โท

รวมทั้งสิ้น 3 66 25 18 1 113

สรุปอัตราสว น จํานวนหอ ง จํานวนนักเรียน จาํ นวนครู จํานวนผูเรียนตอครู จํานวนผเู รียนตอ หอง
1 40 - ∞:1 40:1
สรปุ อัตราสว น 13 369 25 15:1 29:1
ผสู อนเตรยี มอนบุ าล
ผูสอนการศึกษาปฐมวัย 30 956 49 20:1 32:1
ผูสอนการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน 15 518 39 14:1 35:1
ระดับประถมศกึ ษา
ระดบั มัธยมศึกษา

Page 19 of 84

5.2.2 จาํ นวนครูจําแนกตามระดับและกลุมสาระการเรยี นรู

ระดบั /กลมุ สาระการเรียนรู ปฐมวัย จํานวนครผู ูสอน มัธยมศกึ ษา รวม
ตรงเอก ไมต รงเอก ประถมศึกษา ตรงเอก ไมตรงเอก
ปฐมวัย ตรงเอก ไมต รงเอก 19
ภาษาไทย 12 7 -- -- 12
คณิตศาสตร -- 35 22 8
วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี -- 14 12 19
สังคมศึกษา ศาสนา วฒั นธรรม 1- 71 91 13
สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา -- -8 32 7
ศลิ ปะ 2- 3- 2- 9
การงานอาชพี 2- 31 3- 5
ภาษาตา งประเทศ -- 13 1- 21
รวม 1- 68 42 113
18 7 24 30 25 9

5.2.3 ตารางสรปุ จํานวนครูท่ีสอนกจิ กรรมพัฒนาผเู รียน จาํ นวนครผู ูสอน รวม

กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษา

กจิ กรรมนกั เรยี น 8 11 19
- ลกู เสือ 45 24 69
- เนตรนารี - --
- ยวุ กาชาด - --
- ผูบาํ เพญ็ ประโยชน - --
- รกั ษาดนิ แดน (ร.ด.) 14 12 26
- กิจกรรมชุมนุม ชมรม - 22
- --
กิจกรรมแนะแนว 67 49 116
กจิ กรรมเพ่ือสงั คม และสาธารณประโยชน
รวม

Page 20 of 84

5.2.4 สรปุ จํานวนครูและบคุ ลากรทางการลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาดและผบู ําเพญ็ ประโยชน

ลูกเสือ/เนตรนารี /ยุวกาชาด/ผูบ ําเพญ็ ประโยชน จาํ นวนผูบังคบั บัญชา จํานวนวฒุ ิทางลูกเสอื สถานะการจัดต้งั กองลกู เสอื
มวี ฒุ ิ ไมม วี ฒุ ิ
ลกู เสอื เนตรนารี สาํ รอง 26 22 4 จดั ตั้ง
ลูกเสือ เนตรนารี สามัญ 27 26 1 จดั ตั้ง
ลูกเสอื เนตรนารี สามัญรุนใหญ 35 31 4 จัดต้งั
ลกู เสอื เนตรนารี วสิ ามัญ -
ยุวกาชาด - -- -
ผูบาํ เพ็ญประโยชน - -- -
รวม 88 -- -
79 9

5.2.5 สรุปจํานวนครูทที่ ําหนา ที่คดั กรอง และนักเรียนทีม่ คี วามตอ งการจาํ เปนพเิ ศษ (กรณีโรงเรยี นมนี กั เรียนพเิ ศษเรยี นรวม)

จํานวนครทู ่ที ําหนาที่คัดกรอง จํานวนนักเรียนพเิ ศษ

ครทู ไ่ี ดรับการข้นึ ทะเบียน เปน ผคู ัดกรองของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ครูท่ีมวี ฒุ ทิ างการศึกษาพิเศษ ทั้งหมด ขน้ึ ทะเบยี น ไมขึน้ ทะเบยี น

- - -- -

5.2.6 สรุปจํานวนครทู ี่เขา รบั การอบรมเกย่ี วกบั โรงเรียนคุณธรรม จาํ นวนครูทเี่ ขารบั การอบรม ปท่ีอบรม
- -
หนวยงานทเ่ี ขา รบั การอบรม
-

Page 21 of 84

สว นท่ี 3 : ผลการดาํ เนนิ งาน

1. ผลการดําเนนิ งานตามแผนปฏิบัตกิ ารประจาํ ปของสถานศกึ ษา

1.1 ระดับปฐมวัย

ยุทธศาสตรที่ 1
คุณภาพเดก็
โครงการ
1. โครงการสงเสริมพัฒนาการดา นรางกาย

คาเปา หมาย

90.00 : เดก็ ระดบั ปฐมวัยทกุ คน ไดร ับการสงเสรมิ ใหมีพัฒนาการดา นรางกายเจรญิ เติบโตตามวยั มีนํ้าหนักสว นสงู ตามเกณฑมาตรฐาน มที ักษะการ
เคลอ่ื นไหว สามารถดแู ลรกั ษาสุขภาพ ของตนเอง ตลอดจน รูจกั รกั ษาความปลอดภยั ของตนเองหลกี เลี่ยงตอ สภาวะทเ่ี สยี่ งตอโรค สิง่ เสพตดิ และ
ระวังภัยจากบุคคล สิ่งแวดลอ ม และสถานการณท ่ีเสีย่ งอนั ตรายไดอ ยา ง เหมาะสมตามวัย

ผลสําเรจ็

98.20 : เดก็ ระดับปฐมวยั ทุกคน ไดร บั การสง เสริมใหมีพฒั นาการดา นรางกายเจริญเตบิ โตตามวัย มนี ้าํ หนกั สวนสูงตามเกณฑมาตรฐาน มที กั ษะการ
เคล่อื นไหว สามารถดแู ลรักษาสขุ ภาพของตนเอง ตลอดจน รจู กั รกั ษาความปลอดภยั ของตนเองหลีกเลย่ี งตอ สภาวะทเ่ี ส่ียงตอ โรค สิง่ เสพตดิ และ
ระวังภัยจากบคุ คล ส่ิงแวดลอ ม และสถานการณท เี่ สย่ี งอนั ตรายไดอ ยางเหมาะสมตามวัย

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเดก็

สอดคลองกบั ยทุ ธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรที่ 1 การพัฒนาหลักสูตร การเรียนการสอน การวดั และประเมินผล
- ยุทธศาสตรท ่ี 3 การเสริมสรางประสทิ ธิภาพการจดั การศึกษาของโรงเรียนเอกชน
- ยุทธศาสตรท ี่ 4 การสง เสรมิ การมีสว นรว มในการจัดและสนบั สนุนการศึกษาเอกชน

สอดคลอ งกับตัวชว้ี ัดกระทรวง - สง เสรมิ การพฒั นากรอบหลกั สตู รระดับทอ งถนิ่ และหลกั สูตรสถานศกึ ษาตามความตอ งการจาํ เปนของกลมุ เปา หมายและแตก
ศึกษาธกิ าร ตางหลากหลายตามบรบิ ทของพ้ืนที่

- เสริมสรา งการรับรู ความเขาใจ ความตระหนัก และสงเสรมิ คุณลกั ษณะและพฤตกิ รรมทพ่ี งึ ประสงคดานส่งิ แวดลอม

2. โครงการสงเสริมพฒั นาการดานอารมณ- จติ ใจ

คาเปา หมาย

90.00 : เดก็ ปฐมวยั มพี ฒั นาการดา นอารมณ-จติ ใจทด่ี ี มีความรา เริงแจม ใส มคี วามรสู กึ ทด่ี ีตอ ตนเอง ยอมรบั และพอใจในความสามารถ ผลงาน
ของตนเองและผูอน่ื ได มีความมั่นใจในตนเอง กลาแสดงออก เคารพสิทธแิ ละมคี วามรบั ผดิ ชอบ และสามารถควบคุมอารมณตนเองได อยางเหมาะ
สมกับวัย อกี ทั้งชืน่ ชมและมคี วามสุขกบั ศิลปะ ดนตรี และการเคลอ่ื นไหว

ผลสาํ เรจ็

98.60 : เด็กปฐมวยั มพี ฒั นาการดานอารมณ- จิตใจท่ีดี มคี วามรา เรงิ แจม ใส มีความรสู ึกท่ดี ตี อ ตนเอง ยอมรับและพอใจในความสามารถ ผลงาน
ของตนเองและผูอ ่นื ได มคี วามม่นั ใจในตนเอง กลา แสดงออก เคารพสทิ ธิและมคี วามรับผิดชอบ และสามารถควบคมุ อารมณต นเองได อยางเหมาะ
สมกบั วยั อกี ทงั้ ชืน่ ชมและมีความสขุ กบั ศิลปะ ดนตรี และการเคลือ่ นไหว

มาตรฐานการ - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก
ศึกษา

สอดคลองกับ - ยุทธศาสตรที่ 1 การพฒั นาหลักสตู ร การเรียนการสอน การวดั และประเมนิ ผล
ยทุ ธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรท่ี 3 การเสริมสรา งประสทิ ธภิ าพการจัดการศึกษาของโรงเรยี นเอกชน

Page 22 of 84

สอดคลองกับตวั - จดั การศึกษาทุกระดับ ทกุ ประเภท โดยใชห ลักสตู รฐานสมรรถนะ รวมท้งั แนวทางการจดั การเรยี นรเู ชิงรกุ และการวดั ประเมินผลเพอ่ื พฒั นาผู
ช้วี ัดกระทรวง เรียน ท่สี อดคลอ งกับมาตรฐานการศกึ ษาแหง ชาติ
ศึกษาธกิ าร
- สง เสรมิ การพัฒนากรอบหลักสูตรระดับทองถิ่นและหลักสูตรสถานศึกษาตามความตอ งการจําเปน ของกลมุ เปา หมายและแตกตา งหลากหลาย
ตามบรบิ ทของพ้ืนที่

- พฒั นาผูเ รียนใหม ีทกั ษะการคดิ วิเคราะห สามารถแกไ ขสถานการณเฉพาะหนาไดอ ยางมปี ระสิทธิภาพ โดยจดั การเรียนรเู ชงิ รุก (Active
Learning) จากประสบการณจริงหรือจากสถานการณจ ําลองผานการลงมือปฏบิ ตั ิ ตลอดจนจดั การเรยี นการสอนในเชงิ แสดงความคดิ เหน็ เพื่อเปด
โลกทศั นมมุ มองรว มกันของผเู รียนและครใู หมากขึ้น

- ปลูกฝง ผเู รียนใหมีหลกั คิดที่ถกู ตอ งดานคุณธรรม จริยธรรม และเปน ผมู ีความพอเพียง วนิ ยั สจุ ริต จติ อาสา โดยกระบวนการลูกเสือ และยวุ
กาชาด

- เสริมสรา งการรับรู ความเขาใจ ความตระหนกั และสง เสรมิ คุณลกั ษณะและพฤติกรรมทพี่ งึ ประสงคด า นส่ิงแวดลอม

3. โครงการสง เสรมิ พัฒนาการดานสังคม

คาเปา หมาย

90.00 : เดก็ ระดับปฐมวัย มีพฒั นาการดานสังคมอยางเหมาะสมตามวยั สามารถชว ยเหลอื ตนเองในการปฏิบตั ิกจิ วตั รประจําวัน มีวนิ ยั ในตนเอง
ประหยดั และพอเพยี ง และมีสวนรว มดูแลรักษาสิ่งแวดลอมทง้ั ภายในและภายนอกหองเรยี น มมี ารยาทตามวฒั นธรรมไทย และยอมรับ ความแตก
ตางระหวา งบุคคล อกี ทง้ั เลน และทาํ งานรว มกับผอู ืน่ ไดอ ยางเหมาะสมตามวยั

ผลสาํ เร็จ

98.20 : เด็กระดับปฐมวัย มีพฒั นาการดานสงั คมอยา งเหมาะสมตามวยั สามารถชว ยเหลอื ตนเองในการปฏบิ ตั ิกิจวัตรประจําวนั มีวินัยในตนเอง
ประหยัดและพอเพยี ง และมีสวนรวมดแู ลรักษาสงิ่ แวดลอมทงั้ ภายในและภายนอกหอ งเรียน มมี ารยาทตามวฒั นธรรมไทย และยอมรบั ความแตก
ตางระหวางบุคคล อีกท้ังเลน และทาํ งานรวมกบั ผูอ ื่นไดอ ยางเหมาะสมตามวัย

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก

สอดคลองกับยุทธศาสตร - ยทุ ธศาสตรท ่ี 1 การพัฒนาหลกั สตู ร การเรียนการสอน การวดั และประเมนิ ผล
สช. - ยุทธศาสตรที่ 3 การเสริมสรางประสทิ ธภิ าพการจัดการศึกษาของโรงเรยี นเอกชน

สอดคลองกบั ตัวชีว้ ดั - จดั การศึกษาทกุ ระดับ ทุกประเภท โดยใชหลกั สตู รฐานสมรรถนะ รวมท้ังแนวทางการจดั การเรียนรเู ชิงรกุ และการวัดประเมินผล
กระทรวงศกึ ษาธิการ เพอ่ื พัฒนาผเู รยี น ทส่ี อดคลองกับมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ

- สงเสรมิ การพฒั นากรอบหลกั สูตรระดบั ทอ งถน่ิ และหลักสูตรสถานศึกษาตามความตองการจาํ เปนของกลุมเปาหมายและแตกตาง
หลากหลายตามบริบทของพ้ืนที่

- ปลกู ฝงผเู รียนใหมีหลักคดิ ทถ่ี ูกตองดานคุณธรรม จรยิ ธรรม และเปนผูม คี วามพอเพียง วินัย สุจรติ จติ อาสา โดยกระบวนการลกู เสอื
และยุวกาชาด

- เสรมิ สรางการรบั รู ความเขาใจ ความตระหนกั และสงเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมท่ีพงึ ประสงคด านสงิ่ แวดลอม

- สนบั สนุนกิจกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบ

4. โครงการสง เสริมพฒั นาการดานสติปญญา

คาเปา หมาย

90.00 : เด็กระดบั ปฐมวยั มพี ฒั นาการดานสตปิ ญ ญาดี มคี วามสนใจเรยี นรสู ่งิ รอบตวั ซกั ถาม อยางตั้งใจรักการเรียนรู มีความคดิ รวบยอดเกีย่ วกบั
สงิ่ ตางๆ ท่ีเกิดจากประสบการณก ารเรยี นรู มีทักษะทางภาษาท่เี หมาะสมกบั วัย มีทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและคณติ ศาสตร รวมท้ังมี
จนิ ตนาการและความคิดสรา งสรรค

ผลสาํ เร็จ

98.60 : เดก็ ระดบั ปฐมวัย มีพัฒนาการดา นสตปิ ญ ญาดี มคี วามสนใจเรยี นรูส ่ิงรอบตัว ซกั ถาม อยางตงั้ ใจรักการเรยี นรู มคี วามคิดรวบยอดเกยี่ วกับ
ส่งิ ตา งๆ ทเ่ี กิดจากประสบการณก ารเรยี นรู มีทกั ษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย มีทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรและคณิตศาสตร รวมทั้งมี
จินตนาการและความคิดสรา งสรรค

Page 23 of 84

มาตรฐานการ - มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก
ศึกษา

สอดคลองกับ - ยุทธศาสตรที่ 1 การพฒั นาหลกั สตู ร การเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
ยทุ ธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรที่ 3 การเสรมิ สรางประสทิ ธภิ าพการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนเอกชน
- ยุทธศาสตรท ี่ 4 การสงเสรมิ การมีสวนรวมในการจดั และสนับสนนุ การศึกษาเอกชน
- ยทุ ธศาสตรท ี่ 5 การสงเสรมิ การศึกษานอกระบบเพื่อสรา งสงั คมแหง การเรียนรู

สอดคลองกับตัว - จัดการศึกษาทกุ ระดบั ทุกประเภท โดยใชห ลักสูตรฐานสมรรถนะ รวมทง้ั แนวทางการจัดการเรียนรเู ชิงรุกและการวัดประเมนิ ผลเพื่อพฒั นาผู
ชีว้ ดั กระทรวง เรียน ทส่ี อดคลองกบั มาตรฐานการศึกษาแหงชาติ
ศึกษาธิการ
- สงเสริมการพฒั นากรอบหลกั สูตรระดับทองถิน่ และหลกั สตู รสถานศึกษาตามความตอ งการจาํ เปนของกลุมเปา หมายและแตกตางหลากหลาย
ตามบรบิ ทของพ้นื ที่

- พฒั นาผูเรยี นใหมที กั ษะการคิดวเิ คราะห สามารถแกไ ขสถานการณเ ฉพาะหนาไดอยา งมีประสิทธภิ าพ โดยจัดการเรยี นรูเชิงรกุ (Active
Learning) จากประสบการณจรงิ หรอื จากสถานการณจําลองผานการลงมอื ปฏิบัติ ตลอดจนจัดการเรียนการสอนในเชงิ แสดงความคดิ เหน็ เพอื่ เปด
โลกทัศนม ุมมองรว มกันของผเู รยี นและครใู หม ากข้ึน

- พฒั นาครใู หม ที ักษะ ความรู และความชํานาญในการใชเ ทคโนโลยดี จิ ิทัล ปญญาประดิษฐ และภาษาอังกฤษ รวมทั้งการจัดการเรยี นการสอน
เพือ่ ฝก ทักษะการคดิ วิเคราะหอ ยา งเปน ระบบและมีเหตุผลเปนขน้ั ตอน

ยทุ ธศาสตรท่ี 2
กระบวนการบริหารและจัดการ
โครงการ
1. โครงการพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษาและการจดั กระบวนการเรยี นรูระดับปฐมวัย

คา เปา หมาย

90.00 : ระดับปฐมวัย โรงเรยี นมารวี ทิ ยา พฒั นาหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัยของโรงเรยี นนําไปสกู ารปฏบิ ตั ไิ ดอยางมีประสิทธภิ าพ ผูมีสวนเกีย่ วขอ ง
อันไดแ ก ผูปกครอง ชมุ ชนและทองถนิ่ ไดตระหนกั และเขาใจถึงระบบการจัดการศึกษาปฐมวยั อีกท้งั โรงเรยี นจัดสงิ่ อาํ นวย ความสะดวกเพ่อื พัฒนา
เดก็ อยางรอบดาน เดก็ ไดรบั การพัฒนาดา นรางกาย ดานอารมณแ ละจิตใจ ดานสังคม และดานสติปญ ญาทเี่ หมาะสมกบั วัย

ผลสาํ เรจ็

98.80 : ระดบั ปฐมวยั โรงเรียนมารีวทิ ยา พัฒนาหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั ของโรงเรยี นนําไปสูก ารปฏบิ ตั ิไดอยา งมีประสิทธภิ าพ ผมู ีสว นเก่ยี วของ
อันไดแ ก ผปู กครอง ชมุ ชนและทอ งถนิ่ ไดต ระหนกั และเขา ใจถึงระบบการจัดการศึกษาปฐมวยั อีกทงั้ โรงเรยี นจดั สงิ่ อํานวย ความสะดวกเพ่ือพฒั นา
เด็กอยา งรอบดา น เด็กไดร ับการพัฒนาดา นรา งกาย ดานอารมณแ ละจติ ใจ ดา นสงั คม และดา นสติปญญาทเ่ี หมาะสมกับวัย

มาตรฐานการ - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
ศกึ ษา

สอดคลอ งกบั - ยทุ ธศาสตรท ่ี 1 การพฒั นาหลักสตู ร การเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
ยุทธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรท่ี 3 การเสริมสรางประสทิ ธิภาพการจดั การศึกษาของโรงเรียนเอกชน
- ยทุ ธศาสตรท ่ี 7 การพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การสง เสรมิ การศกึ ษาเอกชน

สอดคลอ งกับตัว - จัดการศึกษาทกุ ระดับ ทกุ ประเภท โดยใชห ลกั สูตรฐานสมรรถนะ รวมทั้งแนวทางการจดั การเรียนรเู ชิงรุกและการวัดประเมินผลเพือ่ พัฒนาผู
ชี้วัดกระทรวง เรียน ท่สี อดคลองกับมาตรฐานการศกึ ษาแหงชาติ
ศึกษาธกิ าร
- สง เสรมิ การพัฒนากรอบหลกั สูตรระดบั ทอ งถนิ่ และหลกั สูตรสถานศึกษาตามความตอ งการจําเปนของกลุมเปา หมายและแตกตางหลากหลาย
ตามบริบทของพืน้ ที่

- พฒั นาผูเรียนใหมที ักษะการคิดวิเคราะห สามารถแกไขสถานการณเฉพาะหนา ไดอ ยา งมีประสิทธภิ าพ โดยจดั การเรียนรูเชงิ รุก (Active
Learning) จากประสบการณจรงิ หรือจากสถานการณจ าํ ลองผานการลงมอื ปฏบิ ัติ ตลอดจนจดั การเรยี นการสอนในเชิงแสดงความคิดเห็นเพือ่ เปด
โลกทศั นม ุมมองรวมกนั ของผเู รยี นและครูใหมากข้นึ

Page 24 of 84

- พัฒนาผูเรยี นใหม คี วามรอบรูและทกั ษะชวี ติ เพ่ือเปน เครอ่ื งมือในการดาํ รงชีวติ และสรางอาชีพ อาทิ การใชเ ทคโนโลยดี ิจิทัล สขุ ภาวะและ
ทศั นคติที่ดตี อ การดแู ลสุขภาพ

- ปลูกฝง ผูเ รยี นใหม ีหลักคิดที่ถูกตอ งดา นคุณธรรม จริยธรรม และเปนผูมคี วามพอเพยี ง วนิ ัย สุจรติ จติ อาสา โดยกระบวนการลกู เสือ และยวุ
กาชาด

- เสรมิ สรา งการรับรู ความเขาใจ ความตระหนัก และสงเสรมิ คณุ ลักษณะและพฤติกรรมท่ีพึงประสงคด านสิ่งแวดลอ ม

2. งานจดั สรรครรู ะดับปฐมวัย

คาเปา หมาย

90.00 : ดําเนินการบรหิ ารจดั การ โดยจดั ครูใหเหมาะสมและครบทุกระดบั ชน้ั ตง้ั แตร ะดบั ช้นั ปฐมวยั ปท่ี 1 – 3 ตลอดจนจดั ครู สอนเดก็ เพมิ่ เตมิ ใน
กิจกรรมเสรมิ หลกั สตู ร อาทิเชน คอมพิวเตอร หองสมุด ภาษาองั กฤษ ภาษาจีน ดนตรี พลศกึ ษา วทิ ยาศาสตรสาํ หรับเดก็ เปนตน เพือ่ ใหเด็กได
เรียนรูอยา งหลากหลาย ผา นทางครทู ีจ่ ดั การเรียนรูใหเ หมาะสมสําหรบั เด็กระดบั ปฐมวัย

ผลสาํ เร็จ

100.00 : ดาํ เนนิ การบรหิ ารจดั การ โดยจัดครูใหเหมาะสมและครบทกุ ระดับชนั้ ตง้ั แตร ะดบั ช้ัน ปฐมวัยปที่ 1 – 3 ตลอดจนจดั ครู สอนเด็กเพ่ิมเตมิ
ในกจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตร อาทเิ ชน คอมพิวเตอร หองสมดุ ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ดนตรี พลศกึ ษา วทิ ยาศาสตรสาํ หรับเด็ก เปน ตน เพือ่ ใหเ ดก็ ได
เรียนรูอยา งหลากหลาย ผา นทางครูทจี่ ัดการเรยี นรูใหเ หมาะสมสําหรับเดก็ ระดบั ปฐมวยั

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

สอดคลอ งกับยทุ ธศาสตร - ยทุ ธศาสตรท่ี 1 การพฒั นาหลักสูตร การเรยี นการสอน การวัดและประเมินผล
สช. - ยุทธศาสตรท ี่ 4 การสงเสริมการมีสวนรวมในการจัดและสนับสนนุ การศกึ ษาเอกชน
- ยทุ ธศาสตรท ่ี 7 การพัฒนาระบบการบริหารจดั การสงเสริมการศกึ ษาเอกชน

สอดคลองกับตวั ช้วี ัด - จดั การศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใชหลกั สตู รฐานสมรรถนะ รวมท้ังแนวทางการจดั การเรียนรเู ชงิ รุกและการวดั ประเมนิ ผล
กระทรวงศึกษาธิการ เพอ่ื พัฒนาผเู รียน ทสี่ อดคลองกับมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ

- สง เสริมการพัฒนากรอบหลักสูตรระดับทองถ่ินและหลักสูตรสถานศกึ ษาตามความตอ งการจําเปน ของกลมุ เปา หมายและแตกตาง
หลากหลายตามบริบทของพืน้ ท่ี

3. โครงการพัฒนาศกั ยภาพระดบั ปฐมวยั

คาเปา หมาย

90.00 : คณะครรู ะดบั ปฐมวัยโรงเรยี นมารวี ิทยา ไดร บั การพัฒนาศักยภาพทางดา นวชิ าการ และดานคณุ ธรรม รว มกบั หนว ยงานภาครฐั และเอกชน
อยางตอเนอ่ื ง นาํ ความรแู ละประสบการณไ ดรับการพฒั นาปรับเปล่ียนรปู แบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน สงผลตอ ศักยภาพของผูเ รียน
พัฒนาขึน้

ผลสาํ เร็จ

98.40 : คณะครรู ะดับปฐมวัยโรงเรยี นมารีวทิ ยา ไดร ับการพัฒนาศกั ยภาพทางดา นวิชาการ และดา นคณุ ธรรม รวมกับหนว ยงานภาครฐั และเอกชน
อยางตอ เนอื่ ง นําความรูและประสบการณไดรับการพฒั นาปรับเปล่ียนรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน สงผลตอ ศักยภาพของผเู รียน
พัฒนาขึน้

มาตรฐานการ - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
ศกึ ษา

สอดคลองกบั - ยทุ ธศาสตรที่ 1 การพัฒนาหลกั สตู ร การเรียนการสอน การวัดและประเมนิ ผล
ยทุ ธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรท ี่ 3 การเสรมิ สรางประสิทธิภาพการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชน
- ยทุ ธศาสตรท ี่ 4 การสง เสริมการมสี วนรวมในการจัดและสนับสนุนการศึกษาเอกชน

สอดคลองกับตวั - พฒั นาผเู รยี นใหมีทักษะการคิดวิเคราะห สามารถแกไขสถานการณเฉพาะหนาไดอยา งมีประสิทธิภาพ โดยจดั การเรยี นรูเชงิ รกุ (Active

Learning) จากประสบการณจรงิ หรอื จากสถานการณจาํ ลองผานการลงมือปฏิบตั ิ ตลอดจนจดั การเรยี นการสอนในเชิงแสดงความคดิ เห็นเพื่อเปด

Page 25 of 84

ช้วี ดั กระทรวง โลกทัศนมุมมองรว มกันของผูเ รียนและครใู หม ากขึ้น
ศึกษาธิการ
- พฒั นาครใู หม ีทกั ษะ ความรู และความชาํ นาญในการใชเทคโนโลยีดิจทิ ลั ปญญาประดษิ ฐ และภาษาอังกฤษ รวมทัง้ การจัดการเรียนการสอน
เพอื่ ฝก ทกั ษะการคิดวิเคราะหอ ยา งเปน ระบบและมีเหตุผลเปน ขัน้ ตอน

- เสริมสรางการรบั รู ความเขา ใจ ความตระหนัก และสง เสริมคุณลกั ษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงคดา นสง่ิ แวดลอ ม

4. งานนิเทศการจัดการเรยี นรูร ะดับปฐมวัย

คาเปาหมาย

90.00 : ครูระดับปฐมวยั มีความเขา ใจการจัดการศกึ ษาปฐมวยั และนํามาประยุกตใ ช ในการบรหิ ารจดั การชั้นเรียน ครจู ัดทาํ แผนการจัด
ประสบการณที่สอดคลองกับหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย ครบู ริหารจัดการช้นั เรียนดวยการสรา งวินัยเชิงบวก จดั สิ่งแวดลอ มใหเ ด็ก เกิดการเรยี นรู
อยา งหลากหลาย ตลอดจนครนู าํ ผลการนเิ ทศมาปรับปรงุ และพัฒนาตนเอง ใหม ีประสิทธภิ าพมากย่งิ ขึน้

ผลสําเร็จ

98.40 : ครูระดับปฐมวัย มคี วามเขา ใจการจัดการศกึ ษาปฐมวัยและนํามาประยุกตใ ช ในการบริหารจดั การชัน้ เรียน ครูจัดทาํ แผนการจัด
ประสบการณท ส่ี อดคลอ งกบั หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย ครบู ริหารจดั การชัน้ เรียนดวยการสรา งวนิ ยั เชงิ บวก จัดสงิ่ แวดลอมใหเ ด็ก เกิดการเรยี นรู
อยางหลากหลาย ตลอดจนครูนาํ ผลการนเิ ทศมาปรบั ปรุงและพัฒนาตนเอง ใหมปี ระสิทธภิ าพมากย่งิ ขน้ึ

มาตรฐานการ - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
ศกึ ษา

สอดคลองกบั - ยุทธศาสตรท ่ี 1 การพัฒนาหลักสตู ร การเรียนการสอน การวดั และประเมินผล
ยทุ ธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 การเสริมสรา งประสทิ ธภิ าพการจัดการศกึ ษาของโรงเรียนเอกชน
- ยทุ ธศาสตรท ี่ 4 การสงเสรมิ การมสี วนรวมในการจัดและสนับสนุนการศกึ ษาเอกชน
- ยุทธศาสตรท่ี 7 การพฒั นาระบบการบริหารจัดการสงเสริมการศึกษาเอกชน

สอดคลอ งกบั ตวั - จดั การศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใชห ลักสตู รฐานสมรรถนะ รวมทั้งแนวทางการจดั การเรียนรเู ชงิ รุกและการวดั ประเมนิ ผลเพื่อพฒั นาผู
ชีว้ ัดกระทรวง เรยี น ที่สอดคลองกับมาตรฐานการศกึ ษาแหงชาติ
ศึกษาธกิ าร
- พฒั นาผเู รยี นใหมีทกั ษะการคิดวเิ คราะห สามารถแกไขสถานการณเ ฉพาะหนาไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยจดั การเรยี นรเู ชิงรุก (Active
Learning) จากประสบการณจรงิ หรือจากสถานการณจ ําลองผานการลงมือปฏิบตั ิ ตลอดจนจดั การเรยี นการสอนในเชงิ แสดงความคดิ เห็นเพ่อื เปด
โลกทศั นม ุมมองรว มกนั ของผเู รยี นและครูใหม ากขึ้น

- พัฒนาครูทุกระดับใหมีทักษะ ความรูทจ่ี าํ เปน เพ่อื ทาํ หนา ท่ีวิทยากรมอื อาชีพ (Train The Trainer) และขยายผลการพฒั นาผานศนู ยพ ัฒนา
ศักยภาพบคุ คลเพ่อื ความเปนเลิศ (Human Capital Excellence Center: HCEC)

5. งานอนุบาลนา อยู

คาเปา หมาย

90.00 : บุคลากรระดับปฐมวัยมคี วามรู ความเขา ใจและตระหนักถึงความสําคัญของการจัดสภาพแวดลอ มและบรรยากาศทีเ่ หมาะสมตอการเรยี นรู
ท้งั ภายในและภายนอกหอ งเรียน ปรบั ปรงุ และพัฒนาสภาพแวดลอม แหลง เรียนรใู หเหมาะสมกับการจดั กิจกรรม การเรยี นการสอนใหมีความ
สะดวก ปลอดภัย เพยี งพอกับความตอ งการ สรา งจติ สํานกึ ท่ีดีในการมีสวนรวมดแู ลรักษาสภาพแวดลอมและบรรยากาศภายในและนอกหอ งเรียน

ผลสําเรจ็

99.00 : บุคลากรระดบั ปฐมวยั มคี วามรู ความเขาใจและตระหนกั ถึงความสาํ คัญของการจัดสภาพแวดลอ มและบรรยากาศทีเ่ หมาะสมตอการเรยี นรู
ทั้งภายในและภายนอกหอ งเรียน ปรบั ปรุงและพัฒนาสภาพแวดลอ ม แหลง เรียนรใู หเหมาะสมกับการจัดกิจกรรม การเรยี นการสอนใหม คี วาม
สะดวก ปลอดภัย เพียงพอกับความตอ งการ สรางจิตสํานึกทด่ี ใี นการมีสว นรวมดูแลรกั ษาสภาพแวดลอ มและบรรยากาศภายในและนอกหองเรียน

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

สอดคลองกับยุทธศาสตร - ยทุ ธศาสตรท่ี 2 การปฏริ ปู ระบบทรัพยากรเพอื่ การศกึ ษาเอกชน
สช. - ยุทธศาสตรท่ี 3 การเสรมิ สรา งประสิทธิภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชน

Page 26 of 84

- ยุทธศาสตรท ี่ 4 การสงเสรมิ การมสี วนรวมในการจัดและสนับสนนุ การศึกษาเอกชน
- ยทุ ธศาสตรท่ี 5 การสง เสรมิ การศึกษานอกระบบเพอื่ สรา งสงั คมแหง การเรยี นรู
- ยุทธศาสตรท ี่ 7 การพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการสง เสริมการศกึ ษาเอกชน

สอดคลอ งกบั ตวั ชีว้ ดั - จดั การศกึ ษาทกุ ระดับ ทุกประเภท โดยใชห ลักสตู รฐานสมรรถนะ รวมทงั้ แนวทางการจดั การเรยี นรูเชิงรุกและการวดั ประเมินผล
กระทรวงศกึ ษาธิการ เพอื่ พัฒนาผูเรียน ทส่ี อดคลองกับมาตรฐานการศึกษาแหง ชาติ

- พัฒนาผูเรียนใหมคี วามรอบรแู ละทักษะชีวิต เพอ่ื เปน เครื่องมอื ในการดํารงชวี ิตและสรางอาชพี อาทิ การใชเทคโนโลยดี ิจิทลั สุข
ภาวะและทัศนคตทิ ่ดี ีตอ การดูแลสขุ ภาพ

- เสริมสรางการรับรู ความเขาใจ ความตระหนกั และสงเสริมคุณลักษณะและพฤตกิ รรมท่ีพึงประสงคดานสิง่ แวดลอ ม

6. งานสรา งสอ่ื สรางสรรค

คาเปา หมาย

90.00 : ครรู ะดับปฐมวัย พฒั นาการผลติ ส่ือการเรียนรูส าํ หรบั เด็กอยา งตอเนอ่ื ง ตระหนักถึงการใชส ื่อ ไดอ ยางคุมคา นําส่ือการเรยี นรูมาพัฒนาเดก็
อยางหลากหลาย เพอ่ื กระตุน ใหเ ด็กไดรบั ประสบการณตรง และมคี วามสนใจในการเรียนรโู ดยผา นทางสื่อสรางสรรคซ งึ่ ท่ีมีทงั้ ของจริงและทีค่ รผู ลติ
ขึน้

ผลสําเร็จ

98.60 : ครรู ะดับปฐมวัย พฒั นาการผลติ สอ่ื การเรียนรสู าํ หรบั เดก็ อยา งตอ เนอื่ ง ตระหนกั ถงึ การใชส ื่อ ไดอ ยา งคมุ คา นาํ สื่อการเรียนรูมาพฒั นาเดก็
อยา งหลากหลาย เพื่อกระตนุ ใหเดก็ ไดร ับประสบการณต รง และมีความสนใจในการเรียนรโู ดยผา นทางส่อื สรา งสรรคซึง่ ท่มี ีทงั้ ของจริงและทีค่ รผู ลติ
ขึ้น

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

สอดคลอ งกบั ยทุ ธศาสตร - ยทุ ธศาสตรที่ 1 การพัฒนาหลกั สูตร การเรียนการสอน การวดั และประเมนิ ผล
สช. - ยุทธศาสตรท ่ี 3 การเสรมิ สรางประสิทธภิ าพการจดั การศึกษาของโรงเรียนเอกชน
- ยุทธศาสตรท ่ี 7 การพฒั นาระบบการบริหารจดั การสงเสริมการศึกษาเอกชน

สอดคลอ งกับตวั ช้วี ัด - พฒั นาครใู หมีทกั ษะ ความรู และความชาํ นาญในการใชเทคโนโลยีดิจิทัล ปญญาประดษิ ฐ และภาษาองั กฤษ รวมทัง้ การจดั การเรียน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร การสอนเพื่อฝกทักษะการคิดวิเคราะหอยา งเปนระบบและมเี หตุผลเปน ขนั้ ตอน

- สงเสริมการพฒั นาสง่ิ ประดษิ ฐและนวตั กรรมท่เี ปนมติ รกบั ส่ิงแวดลอม ใหสามารถเปน อาชีพและสรางรายได

7. งานประกันคณุ ภาพ

คา เปาหมาย

90.00 : โรงเรียนตรวจสอบคณุ ภาพและผลการปฏิบัติงานของโรงเรียน นําผลการประเมนิ มาจัดทําขอ มูลพื้นฐานเกย่ี วกบั คุณภาพการจดั การศึกษา
ของโรงเรียน และนํามาใชใ นการตัดสินใจวางแผนพัฒนา และปรบั ปรงุ คุณภาพการศึกษาของโรงเรียน รายงานผลการพัฒนาคุณภาพ การจัดการ
ศึกษาของโรงเรียนตอหนวยงานตน สงั กัด และเตรียมความพรอมในการรบั การประเมิน จากองคกรภายนอกเพือ่ นําไปสูการรับรองคณุ ภาพการ
ศึกษา

ผลสําเร็จ

98.60 : โรงเรยี นตรวจสอบคณุ ภาพและผลการปฏบิ ตั ิงานของโรงเรยี น นําผลการประเมนิ มาจดั ทาํ ขอมลู พ้ืนฐานเกี่ยวกบั คณุ ภาพการจัดการศึกษา
ของโรงเรยี น และนํามาใชในการตัดสนิ ใจวางแผนพฒั นา และปรบั ปรงุ คุณภาพการศกึ ษาของโรงเรียน รายงานผลการพัฒนาคณุ ภาพ การจัดการ
ศึกษาของโรงเรียนตอหนว ยงานตน สงั กัด และเตรยี มความพรอ มในการรบั การประเมิน จากองคก รภายนอกเพอ่ื นําไปสกู ารรับรองคณุ ภาพการ
ศกึ ษา

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

สอดคลองกับยทุ ธศาสตร - ยทุ ธศาสตรท ี่ 1 การพฒั นาหลักสตู ร การเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล

Page 27 of 84

สช. - ยุทธศาสตรที่ 3 การเสรมิ สรา งประสิทธิภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชน

- ยทุ ธศาสตรที่ 4 การสงเสรมิ การมสี วนรว มในการจดั และสนบั สนุนการศกึ ษาเอกชน

- ยุทธศาสตรท ่ี 7 การพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การสง เสรมิ การศึกษาเอกชน

สอดคลอ งกบั ตวั ชว้ี ดั - จัดการศึกษาทุกระดบั ทุกประเภท โดยใชห ลักสตู รฐานสมรรถนะ รวมทง้ั แนวทางการจัดการเรยี นรเู ชิงรุกและการวดั ประเมนิ ผล
กระทรวงศกึ ษาธิการ เพ่อื พฒั นาผูเรยี น ท่ีสอดคลอ งกบั มาตรฐานการศึกษาแหงชาติ

- สงเสรมิ การพัฒนากรอบหลักสูตรระดบั ทองถิ่นและหลกั สูตรสถานศึกษาตามความตอ งการจาํ เปน ของกลมุ เปาหมายและแตกตาง
หลากหลายตามบริบทของพน้ื ท่ี

ยทุ ธศาสตรท่ี 3
การจดั ประสบการณท ีเ่ นนเด็กเปน สําคญั
โครงการ
1. โครงการสรางสังคมแหงการเรียนรู

คาเปา หมาย

90.00 : ครูและเด็ก ไดรบั การพัฒนาจากการไปเรยี นรใู นแหลงเรียนรูตา งๆ ทั้งภายในโรงเรียน และภายนอกโรงเรียน ตลอดจนชุมชน ทอ งถิน่ ท่ีอยู
ใกลเคยี งกบั โรงเรียน เพือ่ แลกเปลยี่ นเรียนรซู ่งึ กันและกัน

ผลสําเร็จ

98.20 : ครแู ละเดก็ ไดรับการพัฒนาจากการไปเรยี นรูในแหลง เรยี นรูต างๆ ทั้งภายในโรงเรียน และภายนอกโรงเรยี น ตลอดจนชมุ ชน ทอ งถนิ่ ที่อยู
ใกลเคยี งกบั โรงเรียน เพอ่ื แลกเปลยี่ นเรียนรูซ่งึ กันและกัน

มาตรฐานการ - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
ศกึ ษา - มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท ่เี นน เด็กเปน สาํ คญั

สอดคลอ งกบั - ยทุ ธศาสตรที่ 1 การพฒั นาหลักสตู ร การเรยี นการสอน การวัดและประเมินผล
ยุทธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรท่ี 3 การเสรมิ สรา งประสทิ ธภิ าพการจัดการศกึ ษาของโรงเรียนเอกชน
- ยทุ ธศาสตรท ่ี 5 การสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบเพอื่ สรางสังคมแหงการเรียนรู
- ยุทธศาสตรท่ี 7 การพฒั นาระบบการบริหารจดั การสง เสริมการศึกษาเอกชน

สอดคลอ งกับตวั - จดั การศกึ ษาทกุ ระดับ ทกุ ประเภท โดยใชหลกั สูตรฐานสมรรถนะ รวมทง้ั แนวทางการจัดการเรยี นรูเ ชิงรุกและการวัดประเมินผลเพ่ือพัฒนาผู
ชี้วัดกระทรวง เรียน ทส่ี อดคลองกบั มาตรฐานการศกึ ษาแหง ชาติ
ศึกษาธิการ
- สงเสรมิ การพัฒนากรอบหลักสตู รระดบั ทองถ่นิ และหลกั สูตรสถานศกึ ษาตามความตองการจาํ เปน ของกลมุ เปาหมายและแตกตางหลากหลาย
ตามบรบิ ทของพ้ืนท่ี

- พฒั นาผเู รียนใหมีทักษะการคิดวเิ คราะห สามารถแกไ ขสถานการณเฉพาะหนา ไดอยา งมีประสทิ ธิภาพ โดยจัดการเรียนรูเชิงรกุ (Active
Learning) จากประสบการณจ รงิ หรือจากสถานการณจ าํ ลองผานการลงมอื ปฏิบตั ิ ตลอดจนจัดการเรยี นการสอนในเชิงแสดงความคิดเห็นเพื่อเปด
โลกทศั นมุมมองรวมกันของผูเ รยี นและครใู หม ากข้นึ

- เสริมสรา งการรับรู ความเขา ใจ ความตระหนัก และสง เสรมิ คุณลกั ษณะและพฤตกิ รรมที่พึงประสงคด า นส่ิงแวดลอม

2. โครงการพัฒนาบทบาทพอแมยุคใหม

คาเปา หมาย

90.00 : สง เสรมิ และสนับสนุนใหผ ูปกครองมสี วนรว มในการจดั การเรยี นรขู องเดก็ สง เสริมใหผปู กครองมคี วามรู ความเขาใจในการจดั การศกึ ษา
ปฐมวยั อีกท้ังสง เสริมการแลกเปล่ียนเรียนรูซ งึ่ กันและกนั ระหวา งคุณครูและผูปกครอง

ผลสําเรจ็

98.60 : สง เสรมิ และสนับสนนุ ใหผปู กครองมสี วนรว มในการจดั การเรยี นรขู องเด็ก สงเสรมิ ใหผ ปู กครองมคี วามรู ความเขา ใจในการจดั การศกึ ษา
ปฐมวัย อกี ทง้ั สงเสรมิ การแลกเปลย่ี นเรยี นรูซึ่งกันและกันระหวา งคณุ ครูและผูปกครอง

Page 28 of 84

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
- มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท ี่เนนเด็กเปน สําคญั

สอดคลอ งกับยทุ ธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรท ี่ 1 การพัฒนาหลักสูตร การเรียนการสอน การวดั และประเมนิ ผล
- ยทุ ธศาสตรท ี่ 3 การเสริมสรางประสิทธภิ าพการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชน
- ยทุ ธศาสตรท ี่ 4 การสงเสรมิ การมสี ว นรว มในการจดั และสนบั สนุนการศกึ ษาเอกชน

สอดคลองกับตวั ชี้วดั กระทรวง - สง เสริมการพฒั นากรอบหลักสูตรระดบั ทอ งถิน่ และหลักสตู รสถานศึกษาตามความตอ งการจําเปนของกลมุ เปา หมายและแตก
ศึกษาธิการ ตางหลากหลายตามบรบิ ทของพน้ื ที่

- เสริมสรา งการรับรู ความเขาใจ ความตระหนกั และสง เสริมคณุ ลกั ษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงคด านสง่ิ แวดลอม

3. งานวจิ ยั ในช้ันเรยี นสูการพฒั นาเด็ก

คา เปา หมาย

90.00 : ครูระดบั ปฐมวัยสามารถแกไขปญหาทีเ่ กดิ ข้ึนกบั เดก็ ในช้นั เรียนไดอ ยางมีประสิทธิภาพ พัฒนาการเรยี นการสอนใหเกิดประโยชนส งู สดุ แกผ ู
เรียน ตลอดจนสามารถนาํ แนวทางทไ่ี ดจ ากการวิจยั มาอภิปรายแลกเปล่ียนความคดิ เห็นเพอ่ื รว มกนั พฒั นางานวิจยั ใหมีความกา วหนาย่งิ ขน้ึ

ผลสาํ เรจ็

98.20 : ครูระดบั ปฐมวยั สามารถแกไขปญหาที่เกิดข้ึนกับเดก็ ในชน้ั เรียนไดอ ยางมีประสทิ ธภิ าพ พฒั นาการเรียนการสอนใหเ กดิ ประโยชนส ูงสดุ แกผ ู
เรียน ตลอดจนสามารถนาํ แนวทางทไี่ ดจ ากการวิจัยมาอภปิ รายแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ เพื่อรวมกนั พฒั นางานวจิ ยั ใหม คี วามกาวหนา ยิ่งขน้ึ

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก
- มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
- มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท ีเ่ นน เดก็ เปนสําคญั

สอดคลองกับยทุ ธศาสตร - ยุทธศาสตรท่ี 1 การพัฒนาหลกั สตู ร การเรียนการสอน การวดั และประเมนิ ผล
สช. - ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 การเสรมิ สรา งประสิทธิภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชน
- ยทุ ธศาสตรท ่ี 4 การสงเสรมิ การมีสวนรวมในการจัดและสนบั สนนุ การศกึ ษาเอกชน
- ยุทธศาสตรท่ี 7 การพฒั นาระบบการบริหารจัดการสง เสรมิ การศกึ ษาเอกชน

สอดคลองกับตัวชวี้ ดั - จดั การศึกษาทกุ ระดบั ทุกประเภท โดยใชห ลกั สตู รฐานสมรรถนะ รวมทัง้ แนวทางการจดั การเรียนรูเชิงรกุ และการวัดประเมินผล
กระทรวงศึกษาธกิ าร เพอ่ื พฒั นาผเู รยี น ทีส่ อดคลอ งกับมาตรฐานการศกึ ษาแหงชาติ

- เสริมสรา งการรับรู ความเขาใจ ความตระหนกั และสงเสริมคณุ ลักษณะและพฤตกิ รรมทีพ่ งึ ประสงคด า นส่ิงแวดลอม

ยทุ ธศาสตรที่ 4
การจัดการศึกษาคาทอลกิ
โครงการ
1. โครงการสงเสริมอัตลกั ษณแ ละเอกลกั ษณร ะดบั ปฐมวัย

คา เปาหมาย

90.00 : ครแู ละนักเรยี นระดบั ปฐมวยั เปน ผมู คี ุณธรรม จรยิ ธรรม และสามารถปฏิบตั ิ ตามคณุ ลักษณะของเอกลักษณและอตั ลักษณของโรงเรียนได
อยางมคี วามสุข โรงเรียนมี บรรยากาศของความรัก-เมตตา ซือ่ สัตย และมภี มู คิ มุ กนั ท่ดี ี อีกทั้ง ผปู กครองและชุมชนให การยอมรบั และไววางใจให
ทางโรงเรียนเปน ผูอบรม ปลูกฝงนกั เรยี นใหเปน คนดีมีคุณภาพ ของสงั คม

ผลสําเรจ็

98.60 : ครูและนักเรยี นระดับปฐมวยั เปนผมู คี ุณธรรม จริยธรรม และสามารถปฏิบตั ิ ตามคณุ ลักษณะของเอกลักษณแ ละอัตลกั ษณของโรงเรยี นได
อยา งมคี วามสขุ โรงเรียนมี บรรยากาศของความรัก-เมตตา ซอื่ สตั ย และมีภมู ิคุมกนั ท่ดี ี อกี ทง้ั ผูป กครองและชมุ ชนให การยอมรบั และไวว างใจให
ทางโรงเรยี นเปนผูอบรม ปลกู ฝงนักเรยี นใหเ ปน คนดีมีคณุ ภาพ ของสงั คม

Page 29 of 84

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก
- มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
- มาตรฐานที่ 4 การจดั การศึกษาคาทอลกิ

สอดคลองกบั ยทุ ธศาสตร - ยุทธศาสตรท ี่ 3 การเสรมิ สรางประสทิ ธิภาพการจดั การศึกษาของโรงเรยี นเอกชน
สช. - ยุทธศาสตรท ่ี 7 การพฒั นาระบบการบริหารจัดการสง เสริมการศึกษาเอกชน

สอดคลองกับตวั ชี้วัด - จดั การศึกษาทกุ ระดับ ทุกประเภท โดยใชห ลกั สูตรฐานสมรรถนะ รวมทง้ั แนวทางการจดั การเรียนรูเชงิ รกุ และการวดั ประเมินผล
กระทรวงศกึ ษาธิการ เพอื่ พัฒนาผเู รยี น ทสี่ อดคลอ งกบั มาตรฐานการศกึ ษาแหง ชาติ

- ปลกู ฝงผูเรยี นใหม หี ลกั คิดทถ่ี ูกตองดานคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และเปนผูม ีความพอเพยี ง วนิ ยั สจุ รติ จติ อาสา โดยกระบวนการลูกเสอื
และยวุ กาชาด

2. งานกิจการคาทอลิกระดับปฐมวยั

คา เปาหมาย

90.00 : นกั เรียนทุกคนเห็นคณุ คาของพธิ ีกรรม ทางศาสนา และนําหลักคาํ สอน การปฏบิ ตั ติ ามหลักคําสอน การดาํ เนนิ ชีวิตตามคณุ คาพระวรสาร
มาปรบั ใชใ นชวี ติ ไดอ ยางมีความสขุ

ผลสาํ เร็จ

98.60 : นกั เรียนเหน็ คณุ คาของพธิ กี รรม ทางศาสนา และนําหลักคาํ สอน การปฏิบัตติ ามหลักคาํ สอน การดําเนนิ ชวี ติ ตามคุณคา พระวรสาร มาปรบั
ใชใ นชวี ติ ไดอ ยา งมคี วามสุข

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก
- มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
- มาตรฐานที่ 4 การจัดการศึกษาคาทอลกิ

สอดคลองกบั ยุทธศาสตร - ยุทธศาสตรท่ี 3 การเสริมสรา งประสิทธิภาพการจัดการศึกษาของโรงเรยี นเอกชน
สช.

สอดคลอ งกับตวั ชว้ี ัด - จัดการศกึ ษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใชห ลกั สูตรฐานสมรรถนะ รวมทัง้ แนวทางการจดั การเรยี นรเู ชิงรกุ และการวดั ประเมนิ ผล
กระทรวงศกึ ษาธิการ เพอ่ื พฒั นาผเู รียน ที่สอดคลอ งกบั มาตรฐานการศึกษาแหง ชาติ

- ปลูกฝง ผเู รยี นใหมีหลกั คิดที่ถกู ตอ งดานคณุ ธรรม จริยธรรม และเปนผูมคี วามพอเพียง วินัย สจุ รติ จิตอาสา โดยกระบวนการลูกเสือ
และยุวกาชาด

1.2 ระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน

ยุทธศาสตรท ี่ 1
พฒั นาคณุ ภาพผเู รียน 1.1 ผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของผเู รียน
โครงการ
1. 1.โครงการสง เสริมการอาน ออก เขยี นได รักการอาน

คา เปาหมาย

90.00 : นักเรยี นสามารถ อาน ฟง พดู เขยี น มาประยุกต ในชวี ติ ประจาํ วัน / มผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นดขี ้ึน

ผลสาํ เรจ็

93.26 : นักเรยี นชั้น ป.1 – ม.6 สามารถ อาน ฟง พดู เขียน ไดเตม็ ตามศกั ยภาพ และนาํ มาประยุกตในชวี ิตประจาํ วัน /มผี ลสัมฤทธิ์การเรียนดีขน้ึ

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเรยี น

- มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี นน ผูเ รียนเปนสําคญั

สอดคลอ งกับ - ยทุ ธศาสตรท ่ี 1 การพฒั นาหลกั สูตร การเรียนการสอน การวัดและประเมินผล

Page 30 of 84

ยุทธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรท ่ี 3 การเสรมิ สรางประสิทธภิ าพการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชน

สอดคลองกับตวั ชี้วัด - สงเสริมการพัฒนากรอบหลักสตู รระดบั ทองถ่นิ และหลักสูตรสถานศกึ ษาตามความตอ งการจาํ เปน ของกลมุ เปาหมายและแตกตา งหลาก
กระทรวงศึกษาธิการ หลายตามบรบิ ทของพนื้ ท่ี

- สง เสรมิ ใหใชภ าษาทอ งถ่นิ รวมกบั ภาษาไทยเปน สื่อจดั การเรยี นการสอนในพ้ืนท่ีท่ีใชภ าษาอยางหลากหลาย เพือ่ วางรากฐานใหผเู รียนมี
พฒั นาการดา นการคิดวเิ คราะห รวมท้ังมที กั ษะการส่ือสารและใชภาษาทสี่ ามในการตอ ยอดการเรียนรูไดอยา งมีประสิทธภิ าพ

2. 2. โครงการสงเสรมิ และ พัฒนาทกั ษะการคดิ คาํ นวณ

คา เปาหมาย

90.00 : นักเรยี นสามารถคดิ คาํ นวณแบบ ตาง ๆ ไดอ ยา งเปนระบบ

ผลสําเร็จ

90.52 : นักเรียนชน้ั ป.1 – ม.6 มีทักษะกระบวนการคิดคํานวณแบบตาง ๆ ไดอยา งเปน ระบบ

มาตรฐานการ - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู รยี น
ศึกษา - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี นน ผูเ รยี นเปน สําคัญ

สอดคลอ งกับ - ยุทธศาสตรที่ 1 การพัฒนาหลกั สตู ร การเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
ยุทธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรท่ี 3 การเสรมิ สรางประสทิ ธิภาพการจดั การศึกษาของโรงเรียนเอกชน

สอดคลอ งกบั ตัว - สงเสรมิ การพฒั นากรอบหลักสูตรระดับทองถนิ่ และหลกั สตู รสถานศกึ ษาตามความตองการจําเปน ของกลมุ เปา หมายและแตกตา งหลากหลาย
ชี้วดั กระทรวง ตามบรบิ ทของพน้ื ที่
ศกึ ษาธิการ
- พฒั นาผูเรยี นใหม ที ักษะการคิดวิเคราะห สามารถแกไขสถานการณเ ฉพาะหนาไดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพ โดยจดั การเรยี นรูเชิงรุก (Active
Learning) จากประสบการณจริงหรอื จากสถานการณจําลองผานการลงมือปฏิบตั ิ ตลอดจนจัดการเรียนการสอนในเชงิ แสดงความคิดเหน็ เพ่อื เปด
โลกทัศนมมุ มองรว มกนั ของผเู รยี นและครใู หมากขน้ึ

- สง เสรมิ ใหใชภาษาทอ งถิ่นรว มกบั ภาษาไทยเปนสือ่ จัดการเรียนการสอนในพน้ื ท่ที ่ใี ชภ าษาอยา งหลากหลาย เพอื่ วางรากฐานใหผเู รยี นมี
พฒั นาการดา นการคิดวิเคราะห รวมท้ังมีทกั ษะการสอื่ สารและใชภาษาทส่ี ามในการตอยอดการเรียนรูไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ

3. 3. โครงการยกระดับทกั ษะความสามารถภาษาองั กฤษ

คาเปา หมาย

90.00 : นกั เรยี นสามารถพูด ฟง อา น เขยี น ส่อื สารไดดี รอ งเพลงภาษาตางประเทศไดดี และนํามาประยุกตใ นชวี ิตประจําวนั

ผลสาํ เร็จ

95.46 : นักเรียนชน้ั ป.1 – ม.6 พูด ฟง อาน เขยี น สื่อสาร ไดด ี รองเพลงภาษาตางประเทศไดด ี และนาํ มาประยกุ ตใ นชวี ติ ประจาํ วัน

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเ รยี น

- มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน ผเู รยี นเปน สาํ คญั

สอดคลองกับ - ยุทธศาสตรท ่ี 1 การพัฒนาหลกั สูตร การเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล
ยุทธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรท่ี 3 การเสรมิ สรา งประสิทธภิ าพการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนเอกชน

สอดคลองกับตัวชี้วดั - สง เสรมิ การพัฒนากรอบหลกั สูตรระดบั ทองถิน่ และหลักสูตรสถานศกึ ษาตามความตอ งการจําเปนของกลุมเปา หมายและแตกตา งหลาก
กระทรวงศึกษาธกิ าร หลายตามบริบทของพนื้ ที่

- สงเสริมใหใชภาษาทอ งถน่ิ รว มกบั ภาษาไทยเปนสื่อจดั การเรียนการสอนในพืน้ ทท่ี ่ใี ชภาษาอยางหลากหลาย เพื่อวางรากฐานใหผเู รียนมี
พฒั นาการดา นการคดิ วเิ คราะห รวมทั้งมที ักษะการสอ่ื สารและใชภ าษาท่สี ามในการตอ ยอดการเรียนรูไ ดอยา งมีประสทิ ธภิ าพ

4. 4.โครงการอบรมเรียนรู วิทยาศาสตร คณติ ศาสตร เทคโนโลยี สะเตม็ ศึกษา

คาเปาหมาย

Page 31 of 84

90.00 : นักเรียนมีทกั ษะดานการคิดวเิ คราะห การคิดอยา งมวี จิ ารณญาณ การคดิ แกป ญหา การคิดสรา งสรรคไดอ ยา งมีประสิทธภิ าพ ใหความรว ม
มือในการทํางานเปน ทมี มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้นึ

ผลสําเร็จ

97.08 : นักเรียนระดบั ชั้น ป.1 – ม.6 มที ักษะดา นการคดิ วเิ คราะห การคิดอยางมวี ิจารณญาณ การคดิ แกปญหา การคดิ สรา งสรรคไดอ ยางมี
ประสทิ ธิภาพ ใหค วามรวมมือในการทํางานเปนทมี มผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนสูงขน้ึ

มาตรฐานการ - มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเ รียน
ศึกษา - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนน ผเู รยี นเปน สําคญั

สอดคลอ งกับ - ยุทธศาสตรที่ 1 การพฒั นาหลกั สูตร การเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
ยทุ ธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรท ่ี 3 การเสรมิ สรางประสทิ ธิภาพการจดั การศึกษาของโรงเรียนเอกชน

สอดคลองกบั ตัว - จัดการศกึ ษาทุกระดบั ทกุ ประเภท โดยใชห ลักสตู รฐานสมรรถนะ รวมท้งั แนวทางการจดั การเรียนรูเ ชงิ รกุ และการวดั ประเมินผลเพือ่ พฒั นาผู
ชี้วัดกระทรวง เรียน ทสี่ อดคลองกบั มาตรฐานการศึกษาแหง ชาติ
ศึกษาธกิ าร
- สง เสริมการพฒั นากรอบหลักสตู รระดบั ทองถ่ินและหลกั สูตรสถานศึกษาตามความตอ งการจําเปนของกลุมเปาหมายและแตกตางหลากหลาย
ตามบรบิ ทของพน้ื ท่ี

- พฒั นาผูเ รยี นใหมีทกั ษะการคดิ วเิ คราะห สามารถแกไ ขสถานการณเ ฉพาะหนาไดอ ยา งมีประสิทธภิ าพ โดยจัดการเรยี นรเู ชงิ รกุ (Active
Learning) จากประสบการณจรงิ หรือจากสถานการณจ ําลองผา นการลงมอื ปฏบิ ตั ิ ตลอดจนจดั การเรยี นการสอนในเชงิ แสดงความคดิ เหน็ เพ่ือเปด
โลกทัศนม มุ มองรว มกันของผเู รียนและครใู หม ากข้ึน

5. 6. โครงการสง เสรมิ การเรียนรูแบบ STEM Education

คา เปาหมาย

90.00 : นกั เรียนมที กั ษะ การคดิ แกป ญหา การคิดสรางสรรค ไดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ ทาํ งานเปน ทมี นําเสนอผลงานท่สี รา งสรรคใ หกบั ผูอ ืน่ และมี
ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นสงู ข้ึน

ผลสาํ เร็จ

91.40 : นกั เรยี นระดบั ชัน้ ป.1 – ม.6 มีทกั ษะ การคดิ แกปญ หา การคดิ สรา งสรรค ไดอยา งมปี ระสิทธภิ าพ ทาํ งานเปนทีม นาํ เสนอผลงานท่ี
สรางสรรคใหกบั ผูอน่ื และมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนสูงข้ึน

มาตรฐานการ - มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู รียน
ศกึ ษา - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน ผเู รยี นเปน สําคญั

สอดคลอ งกบั - ยทุ ธศาสตรที่ 1 การพฒั นาหลกั สตู ร การเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
ยทุ ธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 การเสริมสรา งประสทิ ธภิ าพการจดั การศึกษาของโรงเรียนเอกชน

สอดคลอ งกบั ตัว - พฒั นาผูเ รยี นใหมที ักษะการคดิ วิเคราะห สามารถแกไ ขสถานการณเ ฉพาะหนา ไดอยา งมีประสิทธิภาพ โดยจัดการเรยี นรูเชิงรกุ (Active
ชี้วัดกระทรวง Learning) จากประสบการณจ ริงหรือจากสถานการณจ ําลองผานการลงมอื ปฏิบตั ิ ตลอดจนจัดการเรียนการสอนในเชิงแสดงความคดิ เห็นเพือ่ เปด
ศกึ ษาธิการ โลกทศั นม ุมมองรวมกันของผูเ รียนและครใู หมากขน้ึ

- พฒั นาผเู รยี นใหม คี วามรอบรแู ละทักษะชวี ิต เพือ่ เปน เคร่อื งมือในการดาํ รงชีวิตและสรา งอาชพี อาทิ การใชเ ทคโนโลยีดิจทิ ลั สุขภาวะและ
ทัศนคตทิ ดี่ ีตอ การดแู ลสุขภาพ

- พฒั นาแพลตฟอรม ดจิ ิทลั เพอื่ การเรยี นรู และใชดจิ ิทัลเปน เครื่องมอื การเรยี นรู

- สงเสริมการพฒั นาส่ิงประดษิ ฐแ ละนวตั กรรมทเี่ ปน มติ รกับสง่ิ แวดลอ ม ใหส ามารถเปน อาชพี และสรางรายได

6. 7. โครงการหองเรียน นวตั กรรมพัฒนา เทคโนโลยี

คาเปา หมาย

90.00 : นักเรียนทกุ ระดบั ช้ันมีความสามารถในการคิด การสรางนวตั กรรมพฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศ ใชสอื่ เทคโนโลยี นาํ ความรู ไปตอยอดใน

Page 32 of 84

การประกอบอาชพี และสามารถนาํ ไปประยกุ ตใชใ นชวี ติ ประจาํ วนั ได

ผลสําเรจ็

88.54 : นักเรียนชัน้ ป.1 - ม.6 มคี วามสามารถในการคดิ การสรางนวัตกรรมพฒั นาเทคโนโลยสี ารสนเทศ ใชสอื่ เทคโนโลยี นําความรู ไปตอยอดใน
การประกอบอาชีพ และสามารถนาํ ไปประยกุ ตใชในชีวิตประจําวนั ได

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเรยี น
- มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนน ผูเ รียนเปน สาํ คญั

สอดคลองกับยทุ ธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรที่ 1 การพฒั นาหลกั สตู ร การเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล

- ยทุ ธศาสตรท ี่ 3 การเสรมิ สรา งประสทิ ธภิ าพการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนเอกชน

สอดคลองกับตัวช้วี ัดกระทรวง - พฒั นาผูเรียนใหมีความรอบรูและทักษะชวี ติ เพ่ือเปน เครอ่ื งมือในการดาํ รงชีวติ และสรางอาชพี อาทิ การใชเ ทคโนโลยดี จิ ทิ ัล สุข
ศกึ ษาธกิ าร ภาวะและทัศนคติทดี่ ตี อการดูแลสุขภาพ

- สงเสรมิ การพัฒนาสง่ิ ประดษิ ฐแ ละนวัตกรรมท่ีเปน มติ รกับส่งิ แวดลอม ใหส ามารถเปน อาชีพและสรา งรายได

7. 9. โครงการยกผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียนรูใ นโรงเรยี น

คา เปาหมาย

90.00 : นักเรยี นทุกระดบั ชัน้ มผี ลสมั ฤทธิ์การทดสอบทางการศกึ ษาสูงขึ้นทกุ กลุมสาระการเรยี นรู

ผลสําเรจ็

72.22 : นักเรียนชน้ั ป.1 - ม.6 มีผลสมั ฤทธกิ์ ารทดสอบทางการศกึ ษาสูงขน้ึ ทกุ กลมุ สาระการเรยี นรู

มาตรฐานการ - มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู รยี น
ศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นนผเู รยี นเปนสาํ คญั

สอดคลอ งกบั - ยทุ ธศาสตรท ี่ 1 การพัฒนาหลักสตู ร การเรียนการสอน การวดั และประเมนิ ผล
ยทุ ธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรท ี่ 3 การเสริมสรางประสทิ ธิภาพการจดั การศึกษาของโรงเรียนเอกชน

สอดคลองกบั ตัว - จดั การศกึ ษาทกุ ระดับ ทกุ ประเภท โดยใชหลักสูตรฐานสมรรถนะ รวมทัง้ แนวทางการจดั การเรียนรูเชิงรุกและการวัดประเมนิ ผลเพือ่ พัฒนาผู
ชีว้ ัดกระทรวง เรียน ท่สี อดคลอ งกบั มาตรฐานการศึกษาแหงชาติ
ศึกษาธกิ าร
- สงเสริมการพฒั นากรอบหลกั สตู รระดบั ทอ งถ่นิ และหลกั สูตรสถานศึกษาตามความตองการจาํ เปน ของกลุมเปา หมายและแตกตางหลากหลาย
ตามบรบิ ทของพนื้ ท่ี

- พัฒนาผูเรยี นใหม ที กั ษะการคิดวเิ คราะห สามารถแกไขสถานการณเฉพาะหนา ไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ โดยจดั การเรยี นรเู ชิงรุก (Active
Learning) จากประสบการณจริงหรอื จากสถานการณจําลองผา นการลงมือปฏิบัติ ตลอดจนจัดการเรียนการสอนในเชงิ แสดงความคิดเหน็ เพอื่ เปด
โลกทัศนมุมมองรว มกันของผูเรยี นและครใู หมากข้นึ

8. งานวัดผล - ประเมินผล

คาเปาหมาย

90.00 : นักเรียนมีผลสัมฤทธก์ิ ารทดสอบทางการศึกษาสูงข้ึนทุกกลุมสาระการเรียนรู

ผลสําเรจ็

97.30 : นกั เรยี นมีผลสมั ฤทธ์ิการทดสอบทางการศึกษาสูงข้นึ ทุกกลมุ สาระการเรียนรู

มาตรฐานการ - มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู รยี น
ศึกษา - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน ผเู รียนเปนสําคัญ

สอดคลอ งกบั - ยุทธศาสตรท่ี 1 การพฒั นาหลักสูตร การเรยี นการสอน การวัดและประเมินผล
ยุทธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรที่ 3 การเสริมสรา งประสทิ ธภิ าพการจดั การศึกษาของโรงเรียนเอกชน

Page 33 of 84

สอดคลอ งกับตัว - จัดการศกึ ษาทกุ ระดบั ทกุ ประเภท โดยใชหลกั สูตรฐานสมรรถนะ รวมทั้งแนวทางการจัดการเรียนรเู ชงิ รุกและการวดั ประเมนิ ผลเพื่อพัฒนาผู
ชีว้ ัดกระทรวง เรยี น ท่ีสอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาแหง ชาติ
ศึกษาธกิ าร
- สงเสริมการพฒั นากรอบหลักสูตรระดบั ทองถิ่นและหลักสตู รสถานศกึ ษาตามความตอ งการจําเปน ของกลุมเปาหมายและแตกตา งหลากหลาย
ตามบริบทของพ้นื ที่

- พฒั นาผเู รียนใหม ีทักษะการคดิ วิเคราะห สามารถแกไขสถานการณเฉพาะหนาไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยจดั การเรยี นรูเชงิ รุก (Active
Learning) จากประสบการณจริงหรอื จากสถานการณจ ําลองผานการลงมือปฏบิ ตั ิ ตลอดจนจดั การเรียนการสอนในเชิงแสดงความคิดเหน็ เพือ่ เปด
โลกทัศนม มุ มองรวมกันของผูเ รียนและครใู หมากขึน้

9. 10. โครงการสงเสรมิ การ จดั การศกึ ษาเพื่อมงี านทาํ

คา เปาหมาย

90.00 : นักเรยี นสามารถเรียนรตู ามหลักสูตรการจัดการศกึ ษาเพื่อการมีงานทําของจงั หวดั ปราจนี บรุ ี และใชสอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง
เรียนรทู ่ีเอ้ือตอการเรียนรู

ผลสาํ เร็จ

92.18 : นักเรียนระดับชนั้ ป. 1 – ม.6 ไดเ รยี นรตู ามหลกั สูตรการจัดการศกึ ษาเพอ่ื การมงี านทาํ ของจงั หวัดปราจนี บรุ ี และใชสอ่ื เทคโนโลยี
สารสนเทศ และแหลงเรยี นรทู เี่ ออื้ ตอการเรยี นรู

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเรียน
- มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผเู รียนเปน สาํ คัญ

สอดคลองกับยุทธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรท ี่ 1 การพฒั นาหลักสตู ร การเรียนการสอน การวดั และประเมนิ ผล

- ยุทธศาสตรท ี่ 3 การเสริมสรา งประสิทธภิ าพการจดั การศึกษาของโรงเรียนเอกชน

สอดคลองกบั ตวั ช้ีวดั กระทรวง - พัฒนาผูเรียนใหม ีความรอบรแู ละทกั ษะชีวิต เพอ่ื เปนเครอ่ื งมอื ในการดํารงชวี ิตและสรา งอาชพี อาทิ การใชเ ทคโนโลยีดิจทิ ัล สขุ
ศึกษาธกิ าร ภาวะและทศั นคติที่ดตี อการดแู ลสขุ ภาพ

- สงเสรมิ การพฒั นาสง่ิ ประดิษฐและนวตั กรรมที่เปนมติ รกบั ส่งิ แวดลอ ม ใหส ามารถเปนอาชพี และสรา งรายได

10. 11. โครงการคุณธรรม นาํ ทาง ศาสนธรรมนําใจ ใฝป ระพฤตดิ ี นําชวี มี สี ุข

คาเปาหมาย

90.00 : นักเรยี นท่ีเปนพทุ ธสาสนกิ ทุกคนมคี วามตระหนกั และเห็นคณุ คา ของการศึกษาและปฏบิ ัตติ ามหลักธรรมทางพทุ ธศาสนาศาสนา เปน ผมู ี
คุณธรรม จรยิ ธรรม เปด ใจยอมรับและเรียนรู สามารถนาํ มาปรบั ใชในชวี ติ ไดอ ยางมคี วามสขุ

ผลสําเรจ็

95.28 : นักเรยี นชั้น ป.1 - ม.6 ทเ่ี ปน พทุ ธสาสนกิ ทุกคนมคี วามตระหนกั และเห็นคณุ คาของการศกึ ษาและปฏิบตั ติ ามหลกั ธรรมทางพุทธศาสนา
ศาสนา เปนผูมีคุณธรรม จริยธรรม เปด ใจยอมรบั และเรยี นรู สามารถนํามาปรับใชในชีวิตไดอ ยางมีความสุข

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู รยี น
- มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนน ผเู รยี นเปน สําคญั

สอดคลอ งกบั ยทุ ธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรที่ 1 การพฒั นาหลกั สตู ร การเรียนการสอน การวดั และประเมนิ ผล
- ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 การเสริมสรา งประสทิ ธภิ าพการจดั การศึกษาของโรงเรยี นเอกชน

สอดคลอ งกับตัวช้วี ัดกระทรวง - ปลูกฝงผเู รียนใหม หี ลกั คดิ ท่ถี ูกตอ งดานคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และเปนผูมคี วามพอเพยี ง วนิ ัย สจุ ริต จิตอาสา โดย
ศึกษาธิการ กระบวนการลกู เสอื และยุวกาชาด

- สนบั สนนุ กิจกรรมการปองกนั และปราบปรามการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ

11. กิจกรรมปลูกจิตสาํ นึก ฝกจิตอาสา ( ระดบั ชัน้ ป.1 – ม.6 )

Page 34 of 84

คาเปา หมาย

90.00 : นกั เรยี นทุกคน มจี ติ อาสา จิตสาธารณะ มคี วามอดทน และยอมรบั ความคิดเห็นซึง่ กันและกนั ในการทํางานเปน ทีม ชว ยเหลอื ผอู ่ืน ดวย
ความเตม็ ใจ

ผลสําเรจ็

94.00 : นกั เรยี นทกุ คน ป.1 - ม.6 มจี ิตอาสา จติ สาธารณะ มคี วามอดทน และยอมรบั ความคดิ เหน็ ซ่งึ กนั และกนั ในการทํางานเปนทีม ชวยเหลือผู
อนื่ ดว ยความเตม็ ใจ

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู รยี น
- มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนนผูเ รยี นเปน สาํ คัญ

สอดคลอ งกับยทุ ธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรท่ี 1 การพัฒนาหลักสูตร การเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
- ยุทธศาสตรท ่ี 3 การเสริมสรา งประสทิ ธิภาพการจัดการศึกษาของโรงเรยี นเอกชน

สอดคลองกับตวั ช้วี ดั กระทรวง - ปลูกฝง ผูเ รยี นใหมีหลกั คิดทถ่ี ูกตอ งดานคุณธรรม จริยธรรม และเปน ผูมคี วามพอเพยี ง วินัย สจุ ริต จิตอาสา โดย
ศึกษาธิการ กระบวนการลูกเสอื และยวุ กาชาด

- สนับสนุนกจิ กรรมการปองกันและปราบปรามการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ

12. งานเยี่ยมบา นนักเรยี น ใหคําปรกึ ษา ระบบดแู ลชวยเหลอื

คา เปาหมาย

90.00 : นกั เรียนไดร ับการดแู ลชว ยเหลือและแกป ญ หาถูกตองตามสภาพของปญหารวมท้งั แกปญ หาไดทันทวงทีสมั พันธภาพที่ดีตอ กนั ระหวางครู ผู
ปกครอง สามารถเรียนรไู ดอ ยางมีความสขุ

ผลสําเรจ็

91.12 : นักเรยี นป.1 - ม.6 ไดรับการดแู ลชวยเหลอื และแกปญหาถูกตอ งตามสภาพของปญ หารวมทง้ั แกป ญหาไดท ันทว งทสี มั พันธภาพทดี่ ีตอกนั
ระหวา งครู ผูป กครอง สามารถเรียนรไู ดอ ยา งมคี วามสขุ

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเ รียน
- มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนนผูเรียนเปน สาํ คัญ

สอดคลอ งกบั ยุทธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรท่ี 1 การพัฒนาหลกั สตู ร การเรียนการสอน การวดั และประเมินผล
- ยทุ ธศาสตรท ี่ 3 การเสรมิ สรา งประสทิ ธภิ าพการจดั การศึกษาของโรงเรยี นเอกชน

สอดคลอ งกับตัวชี้วัดกระทรวง - ปลกู ฝงผูเรียนใหม หี ลกั คิดที่ถกู ตอ งดานคุณธรรม จริยธรรม และเปน ผมู คี วามพอเพียง วนิ ัย สจุ รติ จิตอาสา โดย
ศกึ ษาธกิ าร กระบวนการลกู เสือ และยวุ กาชาด

13. งานกจิ การนกั เรียน / วนั สําคญั / งานเทศกาล

คา เปา หมาย

90.00 : นกั เรยี นทุกระดับชน้ั เขารวมกิจกรรมวนั สําคญั ตา งๆ รวมกนั อนรุ กั ษว ฒั นธรรมไทย ดา นศาสนา และสถาบันทางพระมหากษตั ริย และมผี ู
ปกครอง ตลอดจนผสู นใจจากภายนอกทโ่ี รงเรยี นจดั ใหม ารวมกิจกรรมทกุ ครั้ง

ผลสําเร็จ

95.44 : นักเรียนป.1 - ม.6 รวมกิจกรรมวนั สําคญั ตางๆ รว มกันอนรุ ักษวฒั นธรรมไทย ดา นศาสนา และสถาบนั ทางพระมหากษตั ริย และมผี ู
ปกครอง ตลอดจนผสู นใจจากภายนอกทีโ่ รงเรียนจดั ใหมารว มกิจกรรมทกุ คร้งั

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเรยี น
- มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปน สําคัญ

Page 35 of 84

สอดคลอ งกบั ยทุ ธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรที่ 1 การพัฒนาหลักสูตร การเรยี นการสอน การวัดและประเมนิ ผล
- ยทุ ธศาสตรที่ 3 การเสรมิ สรางประสิทธิภาพการจัดการศึกษาของโรงเรยี นเอกชน

สอดคลองกับตัวช้ีวัดกระทรวง - ปลกู ฝง ผเู รยี นใหม หี ลกั คิดที่ถูกตอ งดา นคุณธรรม จริยธรรม และเปนผมู คี วามพอเพียง วินยั สจุ รติ จติ อาสา โดย
ศึกษาธิการ กระบวนการลกู เสอื และยวุ กาชาด

- สนบั สนุนกิจกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ

14. 12. โครงการสง เสริมความภาคภูมิใจในทอ งถนิ่ และความเปน ไทย

คา เปา หมาย

90.00 : นักเรียน มกี ารบูรณาการการเรียนการสอนเรยี นรูประเพณแี ละวัฒนธรรมอันดงี ามของไทยจากประสบการณจ รงิ และปฏิบตั ิตามประเพณี
วฒั นธรรมไทย ไดอยา งถกู ตองเหมาะสม

ผลสําเร็จ

80.00 : นักเรยี นทุกคนไดร บั ประสบการณจ ริง ปฏิบัติตามประเพณีวัฒนธรรมไทย ไดอยา งถูกตอ งเหมาะสม และรวมกิจกรรมในโอกาสวนั สาํ คญั
ตา งๆ ประเพณีและวัฒนธรรม อนั ดีงามของไทย

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเรียน

- มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน ผูเรยี นเปนสําคญั

สอดคลอ งกับ - ยุทธศาสตรท ่ี 1 การพฒั นาหลกั สูตร การเรยี นการสอน การวดั และประเมนิ ผล
ยทุ ธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรที่ 3 การเสรมิ สรา งประสทิ ธภิ าพการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชน

สอดคลองกับตัวช้ีวัด - สง เสรมิ ใหใชภ าษาทอ งถน่ิ รวมกบั ภาษาไทยเปน สอ่ื จัดการเรยี นการสอนในพนื้ ท่ีทีใ่ ชภ าษาอยางหลากหลาย เพ่อื วางรากฐานใหผูเรยี นมี
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พัฒนาการดา นการคดิ วเิ คราะห รวมท้ังมที กั ษะการสือ่ สารและใชภ าษาทีส่ ามในการตอยอดการเรียนรไู ดอยางมีประสทิ ธภิ าพ

- เสริมสรางการรบั รู ความเขา ใจ ความตระหนกั และสง เสรมิ คุณลกั ษณะและพฤติกรรมท่ีพงึ ประสงคดานสิ่งแวดลอม

15. 13. โครงการอบรมสง เสริม “ คุณธรรม จริยธรรม ” เรอ่ื งความกตัญู

คา เปา หมาย

90.00 : นักเรยี นระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 1 – ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 6 ปฏบิ ัติตนตามหลกั ธรรมเบื้องตน มคี วามซ่ือสัตย สจุ ริต มคี วามกตัญูกตเวที
มคี วามเมตตากรุณา เออื้ เฟอ เผื่อแผ และเสยี สละเพ่อื สว นรวม

ผลสาํ เรจ็

94.06 : นกั เรียนระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 1 – ชนั้ มธั ยมศึกษาปที่ 6 ปฏิบตั ติ นไดอยา งมีประสทิ ธภิ าพ ตามหลักธรรมเบอื้ งตน มีความซือ่ สัตย
สจุ รติ มคี วามกตญั กู ตเวที มคี วามเมตตากรุณา เอื้อเฟอเผื่อแผ และเสยี สละเพ่ือสว นรวม

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู รียน
- มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน ผูเ รยี นเปนสําคัญ

สอดคลองกับยุทธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรที่ 1 การพฒั นาหลกั สตู ร การเรียนการสอน การวดั และประเมนิ ผล
- ยทุ ธศาสตรท่ี 3 การเสริมสรา งประสทิ ธภิ าพการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชน

สอดคลอ งกับตวั ช้วี ัดกระทรวงศึกษาธิการ - เสรมิ สรางการรบั รู ความเขาใจ ความตระหนัก และสงเสรมิ คุณลกั ษณะและพฤติกรรมทพี่ งึ ประสงคดา นส่งิ แวดลอ ม

16. 14. โครงการสงเสริมประชาธปิ ไตยในโรงเรียน

คาเปา หมาย

90.00 : นักเรยี นรูจกั การวางแผน ทาํ งานรว มกันอยา งมรี ะบบ กลา แสดงออกอยา งเหมาะสม รูจ ักบทบาทหนา ท่ขี องตนเอง มคี วามรบั ผิดชอบตอ
ตนเอง และผูอ นื่ เห็นความสําคญั ของการปกครองแบบประชาธิปไตย

Page 36 of 84

ผลสําเรจ็

90.20 : นักเรียนช้นั ป.1 – ม.6 รูจกั บทบาทและหนา ท่ีของตนเอง มีระเบียบวินยั รจู ักการวางแผน มีความรับผิดชอบ เปนสมาชิกท่ดี ี รวมกัน
ทํางาน กลาแสดงออก ตามวิถปี ระชาธปิ ไตย อยา งเหมาะสม และภมู ิใจในผลงานของตนเอง

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเรียน
- มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ นนผเู รยี นเปนสําคญั

สอดคลอ งกับยุทธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรท่ี 1 การพฒั นาหลักสูตร การเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล
- ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 การเสริมสรา งประสทิ ธภิ าพการจดั การศึกษาของโรงเรยี นเอกชน

สอดคลอ งกับตัวชว้ี ัดกระทรวงศกึ ษาธิการ - เสรมิ สรางการรบั รู ความเขา ใจ ความตระหนกั และสง เสรมิ คณุ ลกั ษณะและพฤตกิ รรมทพ่ี งึ ประสงคด านสง่ิ แวดลอ ม

- สนับสนุนกจิ กรรมการปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ

17. 15. โครงการสง เสริมสขุ ภาพ อนามยั ท่ดี ี

คา เปาหมาย

90.00 : นกั เรยี นทกุ คนมนี ้าํ หนกั สว นสงู และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑม าตรฐาน และหลีกเล่ยี งตนเองจากสภาวะท่ีเส่ียงตอ โรคภยั ทางดา น
กฬี า เหน็ ประโยชนของการออกกาํ ลงั กายอยา งสมํา่ เสมอ สามารถนาํ ความรูทไี่ ดรบั ไปปฏบิ ตั ิในชีวติ ประจําวันได

ผลสําเร็จ

91.97 : นกั เรยี นช้นั ป.1 – ม.6 มีสขุ ภาพแขง็ แรง มนี าํ้ หนกั สว นสูง และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑมาตรฐาน หลกี เลย่ี งตนเองจากสภาวะที่
เสี่ยงตอ โรคภยั ดา นกีฬา เหน็ ประโยชนข องการออกกาํ ลังกายอยางสมํ่าเสมอ นาํ ความรูทีไ่ ดรับไปปฏบิ ัตใิ นชวี ติ ประจาํ วนั ได

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเ รียน
- มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ นนผเู รยี นเปนสําคัญ

สอดคลองกับยุทธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรท่ี 1 การพฒั นาหลักสตู ร การเรียนการสอน การวดั และประเมินผล

- ยุทธศาสตรท ี่ 3 การเสริมสรา งประสทิ ธภิ าพการจัดการศึกษาของโรงเรยี นเอกชน

สอดคลอ งกบั ตัวชี้วัดกระทรวง - พัฒนาผเู รยี นใหม ีความรอบรูแ ละทกั ษะชีวติ เพ่ือเปนเครอื่ งมอื ในการดาํ รงชวี ติ และสรา งอาชพี อาทิ การใชเ ทคโนโลยีดิจิทัล สุข

ศกึ ษาธิการ ภาวะและทศั นคตทิ ี่ดตี อการดแู ลสุขภาพ

18. 16. โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพติด และอบายมุข ( To Be Number )

คา เปา หมาย

90.00 : นกั เรยี นทุกคน ผปู กครอง ชุมชน รโู ทษภัยของบหุ รี่ สรุ า ยาเสพติด ปญหาการตัง้ ครรภก อนวยั อนั ควรการพนันตา งๆ ใหค วามรว มมือใน
การปอ งกันเพอ่ื ใหมคี ณุ ภาพชวี ิตทีด่ อี ยูรวมกนั ในสังคมไดอยางปกติสขุ

ผลสาํ เร็จ

95.30 : โรงเรียน และนกั เรียนชัน้ ป.1 – ม.6 ปลอดภัยจากปญ หา บุหรี่ สุรา ยาเสพตดิ สอ่ื ลามกอนาจาร ปญ หาโรคเอดส การตัง้ ครรภกอ นวัยอัน
ควร การพนนั และเหตทุ ะเลาะววิ าท มคี ณุ ภาพชีวติ ทดี่ ีเรียนรูอยางมีความสขุ

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู รียน
- มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน ผูเรยี นเปน สําคญั

สอดคลอ งกับยุทธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรที่ 1 การพฒั นาหลกั สตู ร การเรยี นการสอน การวัดและประเมนิ ผล
- ยุทธศาสตรท ่ี 3 การเสรมิ สรางประสิทธภิ าพการจัดการศึกษาของโรงเรียนเอกชน

สอดคลอ งกบั ตัวชว้ี ัดกระทรวง - ปลกู ฝงผเู รยี นใหมหี ลกั คดิ ท่ถี ูกตองดานคณุ ธรรม จริยธรรม และเปนผูมคี วามพอเพยี ง วนิ ัย สจุ ริต จิตอาสา โดย
ศกึ ษาธกิ าร กระบวนการลกู เสอื และยุวกาชาด

Page 37 of 84

- เสริมสรางการรับรู ความเขาใจ ความตระหนกั และสงเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมท่พี งึ ประสงคดานสิง่ แวดลอม
- สนับสนนุ กจิ กรรมการปอ งกันและปราบปรามการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ

19. กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี ป.1 - ม.2

คาเปา หมาย

90.00 : นักเรียนรวมกิจกรรมลกู เสือสํารอง ลูกเสือสามญั สามัญรนุ ใหญ

ผลสําเร็จ

96.03 : นกั เรยี นระดบั ช้ันป.1 - ม.2 รว มกจิ กรรมลกู เสอื สํารอง ลกู เสือสามัญ สามญั รนุ ใหญ รว มวางแผน การทํางานรว มกนั กลาแสดงออกอยาง
เหมาะสม

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเรียน
- มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนน ผูเรยี นเปนสําคัญ

สอดคลอ งกบั ยุทธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรท ี่ 1 การพัฒนาหลักสูตร การเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
- ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 การเสริมสรางประสทิ ธภิ าพการจัดการศกึ ษาของโรงเรียนเอกชน

สอดคลอ งกบั ตัวชี้วดั กระทรวง - ปลูกฝง ผูเรยี นใหม ีหลกั คิดท่ีถูกตอ งดา นคุณธรรม จรยิ ธรรม และเปน ผมู ีความพอเพียง วนิ ยั สจุ รติ จิตอาสา โดย
ศึกษาธิการ กระบวนการลกู เสือ และยวุ กาชาด

- สนับสนุนกิจกรรมการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ

ยุทธศาสตรท ่ี 2
พฒั นาคณุ ภาพกระบวนการและการจัดการศึกษาของผบู รหิ ารสถานศกึ ษา
โครงการ
1. 17. โครงการพฒั นาระบบประกันคุณภาพการศึกษา

คา เปา หมาย

90.00 : โรงเรียนดําเนนิ การจดั ระบบประกันคณุ ภาพภายในที่มีคณุ ภาพ ตามกฎกระทรวงศึกษาธิการ สง ผลตอคณุ ภาพผเู รียนอยา งเปนระบบและ
ตอ เนอื่ งจดั ทํารายงานการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาประจําป (SAR) สงสํานักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดปราจีนบุรี

ผลสําเร็จ

94.40 : โรงเรียนดําเนนิ การจัดระบบประกันคณุ ภาพภายในที่มีคุณภาพ ตามกฎกระทรวงศึกษาธิการ สงผลตอคณุ ภาพผูเรียนอยางเปนระบบและ
ตอเน่อื งจัดทํารายงานการประเมินคุณภาพการศกึ ษาประจําป (SAR) สง สํานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั ปราจีนบุรี

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

สอดคลองกบั ยุทธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรท ี่ 3 การเสริมสรางประสิทธภิ าพการจัดการศึกษาของโรงเรียนเอกชน
- ยทุ ธศาสตรท ี่ 7 การพฒั นาระบบการบริหารจดั การสง เสริมการศกึ ษาเอกชน

สอดคลอ งกบั ตัวชีว้ ัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

2. รายงานการวิจัยความพงึ พอใจของผูป กครอง

คา เปาหมาย

90.00 : โรงเรียนมีขอ มูลการประเมินความพึงพอใจ และความตอ งการของผูปกครอง

ผลสาํ เรจ็

92.00 : โรงเรียนมีขอมลู รายงานการประเมนิ ความพงึ พอใจ และความตองการของผปู กครอง

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

Page 38 of 84

สอดคลองกับยทุ ธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 การเสรมิ สรา งประสทิ ธภิ าพการจดั การศึกษาของโรงเรยี นเอกชน

สอดคลองกบั ตวั ช้วี ัดกระทรวงศกึ ษาธิการ

3. 18. โครงการส่อื สมั พันธมารีฯสชู มุ ชน

คาเปา หมาย

90.00 : บคุ ลากร ชุมชน หนว ยงาน คณะครู ผปู กครอง ไดร บั ขาวสารของโรงเรยี นผานทางวารสารมารแี มกกาซีน รบั ทราบความเคลื่อนไหวของ
โรงเรยี น ผานสอ่ื และชอ งทางตา งๆ มีทัศนคตเิ ชิงบวกตอ โรงเรียนและชุมชนมบี ทบาทกบั ทางโรงเรียนมากขึน้ มีปฏิสมั พันธท่ดี ีตอกนั

ผลสําเรจ็

90.72 : บคุ ลากร ชุมชน หนวยงาน คณะครู ผูปกครอง ไดร บั ขาวสารของโรงเรยี นผา นทางวารสารมารแี มกกาซนี รบั ทราบความเคลือ่ นไหวของ
โรงเรียน ผา นสอื่ และชอ งทางตา งๆ มีทศั นคตเิ ชิงบวกตอ โรงเรยี นและชมุ ชนมบี ทบาทกับทางโรงเรียนมากข้ึน มปี ฏสิ ัมพันธทด่ี ตี อ กัน

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

สอดคลอ งกับยุทธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรท ่ี 3 การเสรมิ สรา งประสิทธิภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชน

สอดคลองกบั ตวั ชี้วัดกระทรวงศึกษาธิการ

4. 19. โครงการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตครู

คา เปาหมาย

90.00 : คณะครูทกุ คนมขี วัญกําลังใจในการปฏิบัตหิ นาท่อี ยางเตม็ ศักยภาพ ไดร ับการดูแลเอาใจใสจ ากโรงเรียนตามตามเหมาะสม และชวยเสรมิ
สรางความสมั พนั ธอันดรี ะหวางคณะครแู ละผูบ รหิ าร

ผลสาํ เร็จ

96.53 : คณะครูโรงเรียนมารีวทิ ยา ทุกคนมีขวัญกาํ ลังใจในการปฏิบตั ิหนาที่อยา งเต็มศกั ยภาพ ไดรบั การดูแลเอาใจใสจ ากโรงเรยี นตามตามเหมาะ
สม และชวยเสริมสรา งความสมั พันธอันดรี ะหวา งคณะครูและผบู รหิ าร

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ

สอดคลอ งกับยุทธศาสตร สช.

สอดคลอ งกับตวั ชวี้ ัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

5. 20. โครงการทนุ พอลัมแบรต เพ่อื การศึกษา

คาเปา หมาย

90.00 : นกั เรยี นไดรับทนุ การศกึ ษา - ทุนเรียนดแี ตข าดแคลนทนุ ทรัพย - ทนุ สรา งชอ่ื เสยี งดานการเรียน - ทนุ ดานดนตรี กีฬา และศักยภาพดา น
อืน่ ๆ

ผลสําเรจ็

91.77 : นกั เรยี น จาํ นวน 135 คน ไดรบั ทุนการศึกษา มผี ลการเรยี นท่ดี ีและไมมีปญหาในการเรยี น

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

สอดคลองกับยุทธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรท ี่ 3 การเสรมิ สรา งประสิทธิภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนเอกชน

สอดคลอ งกบั ตัวชว้ี ัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

6. งานบรหิ ารธรุ การ – การเงนิ

คา เปา หมาย

90.00 : ระบบงานการเงนิ การบญั ชี และพสั ดุ ครภุ ณั ฑ ของโรงเรยี น ถกู ตองตามระเบียบเปน ปจจุบันระบบงานธนาคารโรงเรียน มกี ารบริการได

Page 39 of 84

อยา งรวดเร็ว และเปน ปจจบุ ัน ถกู ตอ งตามระเบยี บและมีประสิทธิภาพ สามารถตรวจสอบได

ผลสาํ เร็จ

92.20 : ระบบงานการเงิน การบัญชี และพัสดุ ครุภัณฑ ของโรงเรยี น ถกู ตองตามระเบยี บเปนปจ จุบนั ระบบงานธนาคารโรงเรียน มกี ารบรกิ ารได
อยา งรวดเรว็ และเปนปจจุบนั ถูกตองตามระเบียบและมีประสิทธิภาพ สามารถตรวจสอบได

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

สอดคลองกับยทุ ธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 การเสริมสรา งประสิทธิภาพการจดั การศึกษาของโรงเรยี นเอกชน

สอดคลองกับตวั ชีว้ ัดกระทรวงศกึ ษาธิการ

7. งานบคุ ลากร / งานรกั ษาความปลอดภยั

คา เปาหมาย

90.00 : นักเรยี น ผปู กครอง คณะครู และผูท ่ีเกย่ี วของ ไดรับความปลอดภยั ทางดานการจราจร การปองกันตนเองจากอุบตั ิภัยตา งๆ ปฏิบตั ิตาม
กฎหมายจราจรอยางเครง ครดั ตลอดปการศกึ ษา

ผลสาํ เรจ็

95.60 : นกั เรยี น ผูปกครอง คณะครู และผูท ี่เกย่ี วขอ ง ไดร ับความปลอดภยั ทางดานการจราจร การปองกนั ตนเองจากอบุ ัติภยั ตา งๆ ปฏิบัติตาม
กฎหมายจราจรอยา งเครงครดั ตลอดปการศกึ ษา

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

สอดคลองกบั ยทุ ธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรท่ี 3 การเสริมสรางประสทิ ธภิ าพการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชน

สอดคลอ งกับตวั ช้วี ดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

8. งานวชิ าการ - หลกั สูตร

คา เปาหมาย

90.00 : นกั เรยี นระดับชั้น ป. 1 – ชน้ั ม. 6 พัฒนาศักยภาพทางดานวชิ าการ – หลักสูตร

ผลสําเร็จ

100.00 : นักเรียนระดบั ชนั้ ป. 1 – ชั้น ม. 6 ไดรับการพัฒนาศกั ยภาพทางดานวชิ าการ – หลกั สูตร อยา งมปี ระสิทธภิ าพ

มาตรฐานการ - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
ศกึ ษา

สอดคลองกับ - ยุทธศาสตรท ี่ 1 การพฒั นาหลักสูตร การเรียนการสอน การวดั และประเมินผล
ยุทธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรท ่ี 3 การเสริมสรา งประสิทธภิ าพการจัดการศกึ ษาของโรงเรียนเอกชน

สอดคลอ งกับตัว - จัดการศึกษาทกุ ระดับ ทุกประเภท โดยใชห ลักสูตรฐานสมรรถนะ รวมทัง้ แนวทางการจดั การเรียนรเู ชิงรุกและการวัดประเมนิ ผลเพื่อพัฒนาผู
ช้วี ดั กระทรวง เรียน ที่สอดคลองกับมาตรฐานการศกึ ษาแหงชาติ
ศึกษาธิการ
- สงเสริมการพัฒนากรอบหลกั สตู รระดับทอ งถนิ่ และหลกั สตู รสถานศึกษาตามความตอ งการจําเปน ของกลมุ เปา หมายและแตกตา งหลากหลาย
ตามบรบิ ทของพ้ืนที่

- พัฒนาผเู รียนใหม ีทกั ษะการคิดวิเคราะห สามารถแกไ ขสถานการณเ ฉพาะหนา ไดอยา งมีประสิทธิภาพ โดยจดั การเรียนรูเชงิ รกุ (Active
Learning) จากประสบการณจ รงิ หรอื จากสถานการณจาํ ลองผานการลงมอื ปฏิบัติ ตลอดจนจดั การเรยี นการสอนในเชงิ แสดงความคิดเหน็ เพอ่ื เปด
โลกทศั นมุมมองรวมกันของผูเรยี นและครูใหมากขึน้

9. 21. โครงการพฒั นาศักยภาพครมู ารีวทิ ยา

คาเปาหมาย

Page 40 of 84

90.00 : คณะครโู รงเรียนมารีวทิ ยา ไดร ับการพฒั นาศักยภาพทางดา นวิชาการ และดานคณุ ธรรม รวมกบั หนว ยงานภาครฐั และเอกชนอยา งตอเน่อื ง
นาํ ความรแู ละประสบการณไดร ับการพฒั นาปรับเปลี่ยนรปู แบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน สงผลตอศักยภาพของผเู รยี นพัฒนาขนึ้

ผลสําเร็จ

95.80 : คณะครูโรงเรียนมารวี ิทยา ปฏิบัติงานไดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ พฒั นาตนเอง ทางดานวชิ าการ และดานคุณธรรมรวมกบั หนวยงานภาครัฐ
และเอกชนอยางตอเนื่อง นาํ ความรแู ละประสบการณมาปรบั เปลย่ี นรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน สง ผลตอศักยภาพของผูเรยี นพฒั นา
ขนึ้

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

สอดคลอ งกบั ยทุ ธศาสตร - ยุทธศาสตรท ี่ 3 การเสรมิ สรางประสิทธภิ าพการจัดการศึกษาของโรงเรยี นเอกชน
สช.

สอดคลอ งกับตวั ช้วี ัด - พฒั นาครใู หมที ักษะ ความรู และความชาํ นาญในการใชเ ทคโนโลยดี ิจทิ ัล ปญญาประดิษฐ และภาษาองั กฤษ รวมท้ังการจัดการเรยี น
กระทรวงศึกษาธิการ การสอนเพอื่ ฝก ทกั ษะการคดิ วิเคราะหอ ยา งเปนระบบและมีเหตุผลเปน ขัน้ ตอน

10. 22. โครงการอนุรกั ษส ิง่ แวดลอม สถานท่ี สะอาดปลอดภยั เสรมิ สรา งการเรียนรู ( 5 ส / 5R )

คาเปา หมาย

90.00 : โรงเรียนมารีวิทยา มีสภาพแวดลอมรมรื่น สะอาดและปลอดภัย มีสิ่งอาํ นวยความสะดวกพอเพียงอยูในสภาพใชการไดด ี และมแี หลงเรียนรู
สําหรับผูเรยี น

ผลสาํ เรจ็

97.49 : โรงเรียนมารวี ิทยา ไดรับการพฒั นาสภาพแวดลอม รม รนื่ สะอาด สวยงาม เออ้ื ประโยชนต อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และ
ปลอดภยั ตอผเู รยี นทุกคน มีสิง่ อํานวยความสะดวกพอเพียง อยูใ นสภาพใชการไดด ีและมีแหลงเรยี นรสู ําหรบั ผเู รียน

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ

สอดคลองกับยุทธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรท ี่ 3 การเสริมสรางประสทิ ธภิ าพการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชน

สอดคลองกบั ตวั ชี้วัดกระทรวงศึกษาธกิ าร - เสรมิ สรางการรับรู ความเขาใจ ความตระหนกั และสงเสริมคณุ ลักษณะและพฤตกิ รรมทีพ่ งึ ประสงคดา นส่งิ แวดลอม

11. งานระบบ IT / การใช ICT เพอ่ื การเรยี นรู

คาเปา หมาย

90.00 : โรงเรยี นพัฒนาระบบIT / การใช ICT เพ่ือการเรียนรไู ดเ รียนรใู ช ระบบIT / การใช ICT เพ่อื การเรยี นรู

ผลสาํ เร็จ

100.00 : - นักเรยี น ใชสื่อเทคโนโลยใี นการแสวงหาความรอู ยใู นระดับดีมาก - ครูผสู อน ใชส ่ือเทคโนโลยีในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนอยใู น
ระดบั ดมี าก

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ

สอดคลอ งกบั ยทุ ธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรท่ี 1 การพฒั นาหลกั สูตร การเรียนการสอน การวดั และประเมินผล

- ยทุ ธศาสตรที่ 3 การเสรมิ สรางประสิทธภิ าพการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชน

สอดคลองกบั ตัวชี้วัดกระทรวง - พัฒนาผเู รยี นใหม คี วามรอบรแู ละทักษะชีวิต เพ่ือเปนเครอ่ื งมือในการดาํ รงชวี ิตและสรางอาชพี อาทิ การใชเทคโนโลยีดิจทิ ลั สุข
ศกึ ษาธิการ ภาวะและทัศนคตทิ ด่ี ตี อการดแู ลสขุ ภาพ

- พัฒนาแพลตฟอรม ดจิ ทิ ลั เพ่ือการเรียนรู และใชด จิ ทิ ลั เปน เครอื่ งมอื การเรยี นรู

ยทุ ธศาสตรท ี่ 3
พัฒนากระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน ผเู รยี นเปนสําคญั

Page 41 of 84

โครงการ
1. 23. โครงการพัฒนาศักยภาพผเู รียนและสง เสรมิ ความเปน เลศิ ทางวชิ าการ

คา เปา หมาย

90.00 : นกั เรียนระดบั ช้นั ป. 1 – ชน้ั ม.6 พฒั นาศกั ยภาพทางดานวิชาการ สามารถสอ่ื สารภาษาตา งประเทศไดดี มคี วามสุขในการเรียน

ผลสาํ เรจ็

94.01 : นักเรียนระดับชนั้ ป. 1 – ช้ัน ม.6 ไดรับการพัฒนาศักยภาพทางดานวชิ าการ นักเรยี นไดเขารวมแขงขันทกั ษะวิชาการตางๆ ตามความถนดั
และความสนใจของตนเอง สามารถสื่อสารภาษาตา งประเทศไดด ี มีความสขุ ในการเรยี น

มาตรฐานการ - มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู รยี น
ศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน ผเู รียนเปน สําคญั

สอดคลองกับ - ยุทธศาสตรท ่ี 1 การพฒั นาหลกั สูตร การเรยี นการสอน การวดั และประเมนิ ผล
ยทุ ธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรท ี่ 3 การเสริมสรา งประสทิ ธิภาพการจัดการศึกษาของโรงเรยี นเอกชน

สอดคลอ งกบั ตัว - จดั การศกึ ษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใชห ลกั สตู รฐานสมรรถนะ รวมท้ังแนวทางการจดั การเรียนรเู ชิงรกุ และการวัดประเมนิ ผลเพื่อพฒั นาผู
ชว้ี ัดกระทรวง เรียน ท่ีสอดคลอ งกบั มาตรฐานการศึกษาแหง ชาติ
ศกึ ษาธกิ าร
- สงเสรมิ การพฒั นากรอบหลกั สตู รระดบั ทอ งถ่ินและหลักสตู รสถานศกึ ษาตามความตองการจาํ เปนของกลุม เปา หมายและแตกตางหลากหลาย
ตามบรบิ ทของพื้นท่ี

- พฒั นาผูเรียนใหมีทกั ษะการคิดวเิ คราะห สามารถแกไขสถานการณเฉพาะหนาไดอ ยา งมปี ระสทิ ธิภาพ โดยจดั การเรียนรูเชงิ รุก (Active
Learning) จากประสบการณจริงหรอื จากสถานการณจ ําลองผา นการลงมือปฏิบัติ ตลอดจนจดั การเรียนการสอนในเชิงแสดงความคิดเห็นเพอื่ เปด
โลกทัศนมมุ มองรว มกันของผูเรยี นและครใู หม ากข้นึ

2. 24. โครงการสนองพระบรมราโชบายดา นการศึกษาของในหลวง รชั กาลท่ี 10 และเศรษฐกจิ พอเพยี ง

คา เปาหมาย

90.00 : นักเรียนทกุ คน ไดเรยี นรู ทํากิจกรรม ตามพระบรมราโชบาย ดา นการศกึ ษา และ ทาํ งานเปนทีม มีความพอเพียง นําความรู ประสบการณ
ตอยอดในการประกอบอาชพี สามารถนาํ ไปประยุกตใชในชีวติ ประจําวัน

ผลสําเรจ็

85.44 : นกั เรยี นระดับชน้ั ป.1 - ม.6 ไดเ รียนรู ทํากจิ กรรม ตามพระบรมราโชบาย ดานการศกึ ษา และ ทํางานเปน ทมี มคี วามพอเพยี ง นาํ ความรู
ประสบการณ ตอยอดในการประกอบอาชีพ สามารถนําไปประยกุ ตใ ชในชีวติ ประจาํ วนั

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผูเ รยี น
- มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ นน ผเู รียนเปน สาํ คญั

สอดคลองกับยทุ ธศาสตร - ยทุ ธศาสตรท ี่ 1 การพฒั นาหลกั สตู ร การเรียนการสอน การวดั และประเมินผล
สช. - ยุทธศาสตรที่ 3 การเสริมสรา งประสทิ ธภิ าพการจัดการศกึ ษาของโรงเรียนเอกชน

สอดคลอ งกับตัวชวี้ ัด - จดั การศกึ ษาทกุ ระดบั ทกุ ประเภท โดยใชหลกั สูตรฐานสมรรถนะ รวมทั้งแนวทางการจัดการเรียนรเู ชงิ รกุ และการวัดประเมินผล
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เพ่อื พฒั นาผูเรยี น ทส่ี อดคลอ งกับมาตรฐานการศึกษาแหง ชาติ

- พฒั นาผูเ รียนใหม คี วามรอบรแู ละทกั ษะชวี ติ เพ่อื เปนเครื่องมือในการดํารงชีวิตและสรา งอาชพี อาทิ การใชเทคโนโลยดี ิจทิ ลั สุข
ภาวะและทศั นคติท่ดี ตี อการดูแลสขุ ภาพ

- ปลูกฝงผูเรยี นใหม หี ลักคิดทถ่ี กู ตอ งดานคณุ ธรรม จริยธรรม และเปน ผมู คี วามพอเพียง วินัย สุจรติ จิตอาสา โดยกระบวนการลูกเสอื
และยุวกาชาด

3. งานนิเทศการสอน

คา เปา หมาย

Page 42 of 84

90.00 : ครทู ุกคนไดร ับการนิเทศการเรียนการสอน และติดตามการจัดการเรียนการสอนของทกุ หอ งเรยี น

ผลสาํ เร็จ

92.39 : ครทู ุกคนไดร บั การนิเทศการเรยี นการสอน และตดิ ตามการจดั การเรียนการสอนของทุกหองเรียน

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผเู รียนเปน สาํ คัญ

สอดคลองกับยุทธศาสตร - ยุทธศาสตรท ี่ 1 การพัฒนาหลกั สูตร การเรยี นการสอน การวัดและประเมินผล
สช. - ยุทธศาสตรที่ 3 การเสรมิ สรางประสิทธิภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชน

สอดคลอ งกับตวั ช้ีวัด - จดั การศกึ ษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใชหลักสูตรฐานสมรรถนะ รวมท้ังแนวทางการจัดการเรียนรเู ชงิ รกุ และการวดั ประเมนิ ผลเพือ่
กระทรวงศกึ ษาธิการ พัฒนาผูเ รียน ที่สอดคลอ งกับมาตรฐานการศกึ ษาแหง ชาติ

- พฒั นาครูใหม ีทกั ษะ ความรู และความชํานาญในการใชเ ทคโนโลยดี ิจทิ ัล ปญ ญาประดิษฐ และภาษาองั กฤษ รวมทง้ั การจัดการเรียน
การสอนเพือ่ ฝก ทกั ษะการคิดวเิ คราะหอยางเปน ระบบและมเี หตุผลเปนขัน้ ตอน

4. งานแหลง เรียนรู

คา เปา หมาย

90.00 : นกั เรียนท้ังหมด มคี วามสนใจใชแ หลง เรียนรูสูก ลุมสาระการเรยี นรู และเปนแหลงเรียนรเู พ่อื คน ควาหาความรูท่หี ลากหลายแกน ักเรยี น

ผลสําเรจ็

95.56 : นักเรียนระดับชัน้ ป.1 - ม.6 มคี วามสนใจศึกษาหาความรู ใชแหลง เรยี นรูสูกลมุ สาระการเรียนรู และเปนแหลง เรียนรเู พ่อื คน ควาหาความรู
ทห่ี ลากหลายแกน ักเรยี น

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเรยี น
- มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนน ผเู รยี นเปน สาํ คญั

สอดคลองกับยทุ ธศาสตร - ยุทธศาสตรท ่ี 1 การพัฒนาหลกั สตู ร การเรยี นการสอน การวดั และประเมนิ ผล
สช. - ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 การเสริมสรา งประสิทธิภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรียนเอกชน

สอดคลอ งกบั ตัวชว้ี ดั - จดั การศึกษาทุกระดบั ทุกประเภท โดยใชหลกั สตู รฐานสมรรถนะ รวมทั้งแนวทางการจัดการเรียนรูเชงิ รกุ และการวดั ประเมินผลเพื่อ
กระทรวงศึกษาธกิ าร พฒั นาผูเรยี น ท่สี อดคลอ งกบั มาตรฐานการศกึ ษาแหง ชาติ

- พัฒนาผูเรยี นใหมคี วามรอบรแู ละทักษะชีวติ เพอื่ เปน เครอ่ื งมือในการดาํ รงชีวติ และสรางอาชีพ อาทิ การใชเทคโนโลยีดิจทิ ัล สขุ ภาวะ
และทศั นคติทด่ี ตี อ การดูแลสขุ ภาพ

- พฒั นาครใู หมีทกั ษะ ความรู และความชํานาญในการใชเ ทคโนโลยดี ิจิทลั ปญญาประดิษฐ และภาษาอังกฤษ รวมทงั้ การจัดการเรยี น
การสอนเพ่ือฝก ทักษะการคดิ วิเคราะหอยา งเปนระบบและมเี หตผุ ลเปน ข้ันตอน

ยทุ ธศาสตรที่ 4
การจัดการศกึ ษาคาทอลกิ
โครงการ
1. 25. โครงการสงเสริมอตั ลกั ษณและเอกลกั ษณโ รงเรยี นมารวี ิทยา

คา เปาหมาย

90.00 : นกั เรยี นและครเู ปนผมู คี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม สภาพแวดลอ มอยูรวมกนั ไดอยางสนั ติ บรรยากาศของ ความรกั เมตตา ซ่ือสัตย และมีภมู ิคุมกนั
ท่ดี ี ทกุ คนนําเอกลกั ษณ และ อตั ลกั ษณ มาปรบั ใชในชวี ติ ประจาํ วนั ไดอยา งมีความสุข

ผลสําเรจ็

96.02 : คณะครแู ลนกั เรยี นทกุ คน มีคณุ ธรรม จริยธรรม มีบรรยากาศของความรัก - เมตตา ซอ่ื สตั ย และมภี ูมิคมุ กันท่ดี ี สภาพแวดลอม ชวยเหลอื
แบง ปนทุกคน นาํ เอกลกั ษณ และ อตั ลักษณ มาปรับใชในชวี ติ ประจําวันไดอยางมคี วามสขุ

Page 43 of 84

มาตรฐานการ - มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน ผเู รยี นเปนสาํ คัญ
ศึกษา - มาตรฐานท่ี 4 การจดั การศกึ ษาคาทอลกิ

สอดคลอ งกบั - ยุทธศาสตรท ่ี 3 การเสริมสรางประสทิ ธภิ าพการจัดการศกึ ษาของโรงเรียนเอกชน
ยทุ ธศาสตร สช.

สอดคลอ งกบั ตวั - จดั การศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใชห ลักสูตรฐานสมรรถนะ รวมทงั้ แนวทางการจัดการเรยี นรูเ ชิงรุกและการวดั ประเมินผลเพอ่ื พฒั นาผู
ช้วี ดั กระทรวง เรยี น ทสี่ อดคลองกับมาตรฐานการศกึ ษาแหงชาติ
ศึกษาธิการ
- พัฒนาผูเรยี นใหมที ักษะการคดิ วิเคราะห สามารถแกไขสถานการณเฉพาะหนา ไดอยา งมีประสทิ ธภิ าพ โดยจัดการเรียนรูเชิงรกุ (Active
Learning) จากประสบการณจริงหรอื จากสถานการณจ าํ ลองผา นการลงมือปฏิบัติ ตลอดจนจดั การเรยี นการสอนในเชิงแสดงความคิดเห็นเพือ่ เปด
โลกทัศนม ุมมองรวมกนั ของผเู รยี นและครูใหม ากขน้ึ

- พัฒนาผูเรียนใหม คี วามรอบรูและทักษะชวี ติ เพ่อื เปนเครือ่ งมอื ในการดํารงชวี ติ และสรางอาชพี อาทิ การใชเ ทคโนโลยดี จิ ิทลั สขุ ภาวะและ
ทศั นคตทิ ด่ี ีตอการดแู ลสุขภาพ

- ปลกู ฝงผูเรยี นใหม ีหลกั คดิ ทีถ่ ูกตอ งดานคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และเปน ผมู คี วามพอเพียง วนิ ัย สุจรติ จิตอาสา โดยกระบวนการลกู เสือ และยุว
กาชาด

- เสริมสรา งการรบั รู ความเขาใจ ความตระหนกั และสง เสริมคณุ ลกั ษณะและพฤติกรรมทพ่ี ึงประสงคด า นส่งิ แวดลอ ม

2. 26.โครงการสง เสริมคณุ คา ของพระวรสาร

คาเปา หมาย

90.00 : นกั เรยี นทุกคนเหน็ คุณคา ของพิธีกรรม ทางศาสนา และนําหลักคาํ สอน การปฏบิ ตั ิตามหลักคําสอน การดําเนนิ ชีวติ ตามคุณคาพระวรสาร
มาปรบั ใชใ นชีวิตไดอยางมีความสขุ

ผลสําเร็จ

96.35 : นกั เรยี นทกุ คนเหน็ คณุ คาของพิธกี รรม ทางศาสนา และนําหลกั คาํ สอน การปฏิบตั ิตามหลกั คําสอน การดําเนินชีวติ ตามคณุ คา พระวรสาร
มาปรบั ใชในชีวติ ไดอยา งมคี วามสุข

มาตรฐานการ - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนน ผูเรยี นเปนสําคญั
ศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 4 การจัดการศึกษาคาทอลิก

สอดคลอ งกับ - ยทุ ธศาสตรท่ี 3 การเสริมสรา งประสิทธภิ าพการจดั การศึกษาของโรงเรยี นเอกชน
ยทุ ธศาสตร สช.

สอดคลองกบั ตัว - จดั การศึกษาทุกระดับ ทกุ ประเภท โดยใชห ลักสตู รฐานสมรรถนะ รวมทง้ั แนวทางการจัดการเรยี นรูเชิงรุกและการวัดประเมนิ ผลเพอื่ พฒั นาผู
ชีว้ ัดกระทรวง เรียน ทสี่ อดคลองกบั มาตรฐานการศกึ ษาแหงชาติ
ศึกษาธกิ าร
- พัฒนาผูเรยี นใหมีทกั ษะการคดิ วิเคราะห สามารถแกไ ขสถานการณเฉพาะหนา ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธิภาพ โดยจดั การเรียนรเู ชงิ รุก (Active
Learning) จากประสบการณจริงหรือจากสถานการณจําลองผา นการลงมอื ปฏบิ ตั ิ ตลอดจนจัดการเรยี นการสอนในเชงิ แสดงความคดิ เหน็ เพ่อื เปด
โลกทัศนมมุ มองรว มกันของผูเรยี นและครูใหมากข้นึ

- พฒั นาผเู รียนใหมคี วามรอบรูและทกั ษะชีวิต เพอ่ื เปน เคร่อื งมอื ในการดาํ รงชวี ติ และสรา งอาชีพ อาทิ การใชเทคโนโลยีดจิ ิทลั สขุ ภาวะและ
ทศั นคตทิ ีด่ ีตอ การดแู ลสขุ ภาพ

- ปลูกฝง ผูเรียนใหม ีหลักคิดทถ่ี กู ตอ งดา นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และเปน ผูมคี วามพอเพียง วินยั สจุ ริต จติ อาสา โดยกระบวนการลกู เสอื และยุว
กาชาด

- เสรมิ สรา งการรบั รู ความเขา ใจ ความตระหนกั และสงเสรมิ คณุ ลกั ษณะและพฤตกิ รรมทีพ่ งึ ประสงคด านสิง่ แวดลอม

Page 44 of 84

2. ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของผูเรยี น
2.1 ระดับปฐมวยั
ผลการพฒั นาเด็ก

รอ ยละของเด็กตามระดบั คณุ ภาพ

ผลพัฒนาการดาน จํานวนเด็กทงั้ หมด ดี พอใช ปรับปรุง

จํานวน รอ ยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

1. ดานรางกาย 369 360 97.56 9 2.44 0 0.00
2. ดา นอารมณ- จติ ใจ 369
3. ดานสงั คม 369 364 98.64 5 1.36 0 0.00
4. ดานสติปญญา 369
364 98.64 5 1.36 0 0.00

365 98.92 4 1.08 0 0.00

2.2 ระดบั การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

2.2.1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพื้นฐาน O-NET
เปรียบเทยี บผลการทดสอบระดบั ชาติขัน้ พ้นื ฐาน (O-NET) ของนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 6
จํานวนนักเรียนทง้ั หมด : 177

วิชา จาํ นวน คะแนนเฉลย่ี ระดบั คะแนนเฉล่ียผลการ ผลตางคะแนนเฉล่ีย รอยละของคะแนน แปลผลพัฒนาการ
นักเรียนทีเ่ ขา ประเทศป 2564 ทดสอบ O-NET ป 64 เทยี บป 63 เฉลย่ี ป 64 เทียบป 63 เทียบกับรอ ยละ 3

สอบ 2562 2563 2564

คณิตศาสตร 64 36.83 40.35 34.29 48.22 +13.93 40.62 มพี ัฒนาการ

วทิ ยาศาสตร 64 34.31 39.88 45.57 40.39 -5.18 -11.37 ไมมพี ฒั นาการ

ภาษาไทย 64 50.38 55.77 64.79 60.78 -4.01 -6.19 ไมม ีพฒั นาการ

ภาษา 64 39.22 49.26 62.10 67.53 +5.43 8.74 มพี ัฒนาการ
องั กฤษ

โรงเรียนไมสอบวัดผล หรอื สอบไมครบ
-

เปรียบเทยี บผลการทดสอบระดบั ชาติขัน้ พ้นื ฐาน (O-NET) ของนักเรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปที่ 3
จาํ นวนนกั เรยี นทงั้ หมด : 115

วชิ า จํานวน คะแนนเฉลี่ยระดับ คะแนนเฉลย่ี ผลการ ผลตางคะแนนเฉล่ยี รอ ยละของคะแนน แปลผลพัฒนาการ
นักเรยี นทเ่ี ขา ประเทศป 2564 ทดสอบ O-NET ป 64 เทยี บป 63 เฉลีย่ ป 64 เทียบป 63 เทยี บกับรอ ยละ 3

สอบ 2562 2563 2564

คณิตศาสตร 79 24.47 31.40 26.00 21.03 -4.97 -19.12 ไมม พี ฒั นาการ

วิทยาศาสตร 79 31.45 31.25 32.18 31.17 -1.01 -3.14 ไมมีพฒั นาการ

ภาษาไทย 79 51.19 59.66 61.54 56.40 -5.14 -8.35 ไมมีพฒั นาการ

Page 45 of 84

วชิ า จํานวน คะแนนเฉลีย่ ระดับ คะแนนเฉล่ยี ผลการ ผลตา งคะแนนเฉลี่ย รอยละของคะแนน แปลผลพฒั นาการ
นักเรียนที่เขา ประเทศป 2564 ทดสอบ O-NET ป 64 เทียบป 63 เฉลีย่ ป 64 เทียบป 63 เทียบกับรอ ยละ 3
ภาษา
อังกฤษ สอบ 2562 2563 2564

79 31.11 39.70 40.61 35.52 -5.09 -12.53 ไมมีพัฒนาการ

โรงเรียนไมส อบวดั ผล หรอื สอบไมค รบ
-

เปรียบเทียบผลการทดสอบระดบั ชาติขั้นพนื้ ฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 6
จาํ นวนนักเรยี นท้งั หมด : 50

วิชา จํานวน คะแนนเฉลยี่ ระดับ คะแนนเฉลย่ี ผลการ ผลตางคะแนน รอยละของคะแนน แปลผลพฒั นาการ
นกั เรยี นที่เขา ประเทศป 2564 ทดสอบ O-NET เฉล่ีย ป 64 เทยี บป เฉลยี่ ป 64 เทียบป เทยี บกับรอยละ 3

สอบ 2562 2563 2564 63 63

คณิตศาสตร - 21.28 23.86 25.60 - -25.60 - -

วทิ ยาศาสตร - 28.65 27.13 33.32 - -33.32 - -

ภาษาไทย - 46.40 37.83 43.65 - -43.65 - -

ภาษาองั กฤษ - 25.56 27.50 30.43 - -30.43 - -

สังคมศึกษา

ศาสนา และ - 36.87 34.88 36.64 - -36.64 - -

วัฒนธรรม

โรงเรียนไมส อบวัดผล หรอื สอบไมค รบ
โรงเรยี นไมไดสมัครสอบ เนือ่ งจากสถานการณก ารแพรระบาดของโรคไวรสั โคโรนา ( Covid - 19 )

Page 46 of 84

2.2.2 จาํ นวนและรอยละของนักเรียนท่มี ผี ลการเรียนระดับ 3 ข้ึนไป

ระดับประถมศึกษา

ระดบั ผลการเรียน

กลุม สาระการ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
เรยี นร/ู
รายวชิ า จํานวน นักเรยี น รอ ยละ จาํ นวน นักเรียน รอ ยละ จาํ นวน นักเรยี น รอ ยละ จํานวน นักเรียน รอย จาํ นวน นักเรยี น รอ ยละ จาํ นวน นกั เรยี น รอ ยละ
นักเรยี น ผลเรียน นกั เรยี น ผลเรยี น นกั เรยี น ผลเรยี น นกั เรียน ผลเรยี น ละ นักเรยี น ผลเรยี น นกั เรียน ผลเรียน
3 ขน้ึ ไป 3 ข้ึนไป 3 ขนึ้ ไป 3 ขนึ้ ไป 3 ขึน้ ไป 3 ขึ้นไป

ภาษาไทย 151 151 100.00 135 135 100.00 165 165 100.00 176 167 94.89 152 142 93.42 177 160 90.40

คณติ ศาสตร 151 151 100.00 135 135 100.00 165 165 100.00 176 141 80.11 152 119 78.29 177 127 71.75

วทิ ยาศาสตร
และ 151 151 100.00 135 135 100.00 165 165 100.00 176 164 93.18 152 151 99.34 177 148 83.62
เทคโนโลยี

สังคมศึกษา
ศาสนา และ 151 151 100.00 135 133 98.52 165 165 100.00 176 175 99.43 152 152 100.00 177 162 91.53
วัฒนธรรม

ประวัตศิ าสตร 151 151 100.00 135 135 100.00 165 165 100.00 176 172 97.73 152 152 100.00 177 141 79.66

สุขศึกษาและ 151 151 100.00 135 135 100.00 165 165 100.00 176 175 99.43 152 152 100.00 177 177 100.00
พลศกึ ษา

ศิลปะ 151 151 100.00 135 135 100.00 165 165 100.00 176 175 99.43 152 152 100.00 177 177 100.00

การงานอาชีพ 151 151 100.00 135 135 100.00 165 165 100.00 176 175 99.43 152 152 100.00 177 177 100.00

ภาษาตา ง 151 151 100.00 135 128 94.81 165 164 99.39 176 122 69.32 152 132 86.84 177 104 58.76
ประเทศ

Page 47 of 84

ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน ระดับผลการเรียน
เทอม 1
ม.1 ม.2 ม.3
กลุม สาระการเรียนรู/
รายวิชา จํานวน นกั เรยี นผลเรียน รอ ย จํานวน นักเรียนผลเรยี น รอ ย จํานวน นักเรยี นผลเรยี น รอย
นักเรียน 3 ขึ้นไป ละ นักเรยี น 3 ขนึ้ ไป ละ นักเรียน 3 ขนึ้ ไป ละ
ภาษาไทย
คณิตศาสตร 108 62 57.41 92 66 71.74 115 88 76.52
วิทยาศาสตรและ 108
เทคโนโลยี 96 88.89 92 55 59.78 115 104 90.43
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และ 108
วฒั นธรรม 51 47.22 92 51 55.43 115 60 52.17
ประวตั ิศาสตร 108
สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 100 92.59 92 79 85.87 115 108 93.91
ศลิ ปะ 108
การงานอาชีพ 108 90 83.33 92 82 89.13 115 105 91.30
ภาษาตา งประเทศ 108 105 97.22 92 88 95.65 115 89 77.39
108 93 86.11 92 76 82.61 115 111 96.52
108 68 62.96 92 65 70.65 115 89 77.39
55 50.93 92 46 50.00 115 96 83.48

Page 48 of 84

เทอม 2 ระดบั ผลการเรยี น

กลมุ สาระการเรียนร/ู ม.1 ม.2 ม.3
รายวิชา
จาํ นวน นกั เรียนผลเรยี น รอยละ จาํ นวน นักเรียนผลเรียน รอยละ จาํ นวน นักเรยี นผล รอยละ
ภาษาไทย นกั เรยี น 3 ข้นึ ไป นักเรียน 3 ข้ึนไป นักเรียน เรียน 3 ข้ึนไป
คณิตศาสตร
วทิ ยาศาสตรและ 110 86 78.18 92 79 85.87 115 95 82.61
เทคโนโลยี
สงั คมศกึ ษา ศาสนา 110 70 63.64 92 34 36.96 115 85 73.91
และวฒั นธรรม
ประวตั ศิ าสตร 110 70 63.64 92 57 61.96 115 112 97.39
สขุ ศึกษาและพลศึกษา
ศลิ ปะ 110 100 90.91 92 82 89.13 115 115 100.00
การงานอาชีพ
ภาษาตา งประเทศ 110 103 93.64 92 75 81.52 115 69 60.00
110 109 99.09 92 92 100.00 115 115 100.00
110 110 100.00 92 92 100.00 115 114 99.13
110 100 90.91 92 92 100.00 115 113 98.26
110 56 50.91 92 73 79.35 115 110 95.65

Page 49 of 84

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
เทอม 1

ระดับผลการเรียน

กลุมสาระการเรียนรู/ ม.4 ม.5 ม.6
รายวชิ า
จาํ นวน นกั เรียนผลเรียน รอยละ จํานวน นกั เรยี นผลเรียน รอยละ จํานวน นักเรยี นผล รอยละ
นักเรยี น 3 ข้นึ ไป นักเรยี น 3 ข้ึนไป นักเรยี น เรียน 3 ข้นึ ไป

ภาษาไทย 77 62 80.52 72 61 84.72 50 47 94.00

คณิตศาสตร 77 60 77.92 72 69 95.83 50 46 92.00

วิทยาศาสตรแ ละ 77 55 71.43 72 56 77.78 50 49 98.00
เทคโนโลยี

สังคมศกึ ษา ศาสนา 77 72 93.51 72 65 90.28 50 50 100.00
และวฒั นธรรม

ประวตั ศิ าสตร - - - 72 69 95.83 50 49 98.00

สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 77 77 100.00 72 66 91.67 50 50 100.00

ศิลปะ 77 52 67.53 72 72 100.00 50 50 100.00

การงานอาชพี 77 68 88.31 72 62 86.11 50 49 98.00

ภาษาตา งประเทศ 77 68 88.31 72 69 95.83 50 48 96.00

Page 50 of 84


Click to View FlipBook Version