The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Khorat Geopark is amazing diversity land of flora and fungi.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Khorat Geopark, 2020-05-19 02:12:35

Flora and Fungi of Khorat Geopark

Khorat Geopark is amazing diversity land of flora and fungi.

Keywords: Khoratgeopark,Flora,Fungi,Biodiversity

พืชพรรณและเห็ดราธรรมชาติ
ในอุทยานธรณโี คราช



ค�ำปรารภ

หนังสอื กึง่ สารานุกรม ฉบับน้ี มีความรู้สารพดั อยา่ ง จะช่วยแก้
ปัญหาของการขาดแคลน แหล่งความรู้ ด้านพืชพรรณ ท่ีพบในพ้ืนท่ี
อทุ ยานธรณโี คราช การใชป้ ระโยชนส์ ารพดั อยา่ งเกยี่ วกบั พชื อนั ไดแ้ ก่
ดา้ นอาหาร ทอี่ ยอู่ าศยั เครอื่ งนงุ่ หม่ ยารกั ษาโรค นอกจากนยี้ งั ใหค้ วาม
รู้ด้านการน�ำพืชมาใช้ในเป็นไม้ดอกไม้ประดับ และพืชพรรณหายาก
เส่ียงตอ่ การสญู พันธ์ุ เป็นเบื้องตน้ รวมทัง้ เห็ดทีพ่ บในพ้นื ทสี่ ำ� รวจ จดั
ท�ำข้ึนภายใต้โครงการส�ำรวจความหลากหลายของพืชพรรณ และ
เห็ดราธรรมชาติในพื้นท่ีอุทยานธรณีโคราช โดยสถาบันวิจัยไม้กลาย
เป็นหินฯ เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการน�ำเสนอข้อมูลทรัพยากรชีวภาพ
ด้านพืช ให้ผู้สนใจได้รู้จักทรัพยากรธรรมชาติทีม่ ีอยู่ ใช้เปน็ ฐานขอ้ มูล
ที่จะน�ำไปใช้ขยายผลสู่การพัฒนา และการใช้ประโยชน์จากการใช้
ทรัพยากรฯ อย่างย่ังยืนต่อไป ภาพทุกภาพในเอกสารฉบับนี้เป็น
ลิขสิทธ์ิของโครงการอุทยานธรณีโคราช มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครราชสีมา ขอ้ มลู อาจปรบั และเพ่มิ เติมใหเ้ ป็นปจั จบุ ันได้ โดยอาศัย
ชุมชนท่ีอยู่ในพ้ืนที่นั้น จะท�ำให้ชุมชนสามารถบันทึกเรื่องราวของ
ตนเองไดด้ ว้ ยตนเอง ทจ่ี ะสามารถนำ� ไปใชเ้ ปรยี บเทยี บกบั ขอ้ มลู ในอดตี
และอนาคตต่อไป

คณะผูจ้ ัดทำ�
ตลุ าคม 2560

มอี ะไรอยู่ในเล่ม

อทุ ยานธรณีโคราช......................7 นมนอ้ ย......................... 59 ปีบ.............................. 119
มะขามป้อม.................. 61 สกณุ ี........................... 123
งานส�ำรวจพืชพรรณและเห็ดราใน มะเมา่ ........................... 63 สะแกนา..................... 125
พน้ื ท่ีอุทยานธรณีโคราช..........9 เลบ็ เหย่ยี ว.................... 67 กระทกรกตน้ .............. 127
หว้า.............................. 69 กระทุ่มนา................... 129
พน้ื ทีเ่ ป้าหมายในการส�ำรวจ.......9

จุดพิกัดและสภาพป่าของแปลง พชื พรรณ ไมส้ รา้ งทอ่ี ยอู่ าศยั และไม้ คำ� มอกหลวง.............. 131
ตวั อย่าง............................... 10 ใช้สอย................................. 71 พืชพรรณ หายาก เสยี่ งตอ่ การสูญ
จามจรุ ี.......................... 73 พนั ธุ.์ ................................. 133
ตะครองไม้ภูมินาม ที่มาแห่งชื่อ ปอสา............................ 75 แจง............................. 135
ล�ำน้�ำตะคอง ไมป้ ระจ�ำถนิ่ จาก ตะโกนา........................ 77 ธนนไชย...................... 137
อดีตสู่ปัจจุบนั ...................... 21 ตบั เต่าตน้ ..................... 79 นมแมวซอ้ น................ 139
ถอ่ น.............................. 81
พชื พรรณเดน่ ของป่าเต็งรงั ...... 24 ท้งุ ฟ้า............................ 83 เหด็ ในอุทยานธรณีโคราช...... 141
เตง็ ............................... 27 พิมาน........................... 85 เหด็ ขอนแดง............... 142
รัง................................. 29 มะเกลือ........................ 87 เหด็ ไขเ่ หลอื ง............... 143
พลวง............................ 31 มะค่าแต้....................... 89 เหด็ แครง.................... 144
ยางกราด...................... 33 มะค่าโมง...................... 91 เห็ดโคน...................... 146
แดง.............................. 35 ยา่ นลเิ ภา...................... 93 เหด็ แดงน้ำ� หมาก........ 147
ปอบดิ ........................... 37 หนามแทง่ .................... 95 เห็ดผ้งึ ขม.................... 148
ประดู่ป่า....................... 39 เหด็ ตะไคลเขียว.......... 149
เห็ดถ่านเล็ก................ 150
พชื อาหาร : พรรณไม้ที่เป็นผกั ปา่ . หม่หี มเี หมน็ .................. 97
41 บทสรปุ ความโดดเดน่ ของสงั คมพชื
กุม่ บก........................... 43 พชื พรรณไม้ดอก ไมป้ ระดบั ..... 99 ในอุทยานธรณีโคราช......... 153
แขยง............................ 45 กนั ภยั ......................... 101
ตูบหมบู ........................ 47 ชงโค........................... 103 ดชั นคี ้นค�ำเรยี งช่อื วิทยาศาสตร.1์ 56
ล้ินฟา้ ........................... 49 ทองพนั ดุล.................. 105 ดชั นคี น้ ค�ำ............................. 156
พนมสวรรค.์ ............... 107 บรรณานุกรม......................... 158
พืชอาหาร : พรรณไม้ท่ีเป็นผลไม้ มะกล่ำ� ตาหน.ู............. 109
ปา่ ....................................... 51
ตะคร้อ.......................... 53 พชื พรรณ สมนุ ไพร................ 111
ตาล.............................. 55 ขันทองพยาบาท......... 113
นมควาย....................... 57 ขีเ้ หลก็ ........................ 115
ดองดงึ ........................ 117



พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 6

ลกั ษณะเขาสนั อีโต้ (cuesta) บรเิ วณลำ� ตะคอง

อุทยานธรณโี คราช พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 7

อทุ ยานธรณโี คราช

อุทยานธรณีโคราช เป็นพื้นที่ทาง
ภูมิศาสตร์บริเวณลุ่มน�้ำล�ำตะคอง
ตอนกลาง–ตอนล่าง มีพน้ื ทค่ี รอบคลมุ 5 อำ� เภอ
ของจังหวัดนครราชสีมา จากด้านตะวันตกถึง
ตะวันออก ได้แก่ อ�ำเภอสีคิ้ว อ�ำเภอสูงเนิน
อ�ำเภอขามทะเลสอ อ�ำเภอเมืองนครราชสีมา
และอ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ จ�ำนวนพื้นที่รวม
3,167 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 1 ใน 6
ของพ้ืนท่ีจังหวัดนครราชสีมา พ้ืนที่ในทาง
ธรณีวิทยา เป็นตัวแทนของพื้นที่ในบริเวณขอบ
ที่ราบสูงโคราช ที่แสดงสัณฐาน ภูมิประเทศ
ผาชันอันเกิดจากการยกตัวของแผ่นดินอีสาน
และสัณฐาน ภูมิประเทศเขาเควสตา หรือเขา
สนั อโี ต้ “เขาสนั อโี ต้ (cuesta) เกดิ จากการยกตวั
ของเปลือกโลกไม่สม�่ำเสมอ ด้านหนึ่งยกตัวสูง
กว่าอีกด้านหนึ่ง ด้านที่สูงกว่าจะมีการสึกกร่อน
มากกวา่ ทำ� ใหม้ คี วามชนั สว่ นอกี ดา้ นมคี วามลาด
มากกว่ารูปร่างคล้ายมีดอีโต้ พบมากบริเวณท่ี
เป็นหินทรายทางตะวันตกและทางใต้ของภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น บริเวณอ่างเก็บน�้ำ
ล�ำตะคอง อ�ำเภอสคี ้วิ อำ� เภอปากชอ่ ง จงั หวดั
นครราชสมี า”

ืพชพรรณและเ ็หดราธรรมชา ิต ในอุทยานธรณีโคราช 8 สภาพทั่วไปของพน้ื ที่อุทยานธรณโี คราช และแปลงตัวอยา่ งของแตล่ ะอ�ำเภอ
แสดงแหล่งธรณี นิเวศวิทยา และวฒั นธรรมในอทุ ยานธรณีโคราช จังหวดั นครราชสมี า

งานส�ำรวจพชื พรรณและเหด็ ราในพน้ื ทอี่ ทุ ยานธรณีโคราช
อุทยานธรณีโคราชมีลักษณะทางธรณีวิทยา เสน้ ทาง เป็นระยะทาง 1 กโิ ลเมตร ในแต่ละพื้นทสี่ �ำรวจ
โดดเด่นตรงท่ีมีลักษณะภูมิประเทศ เป็นส่วนหนึ่งของ บันทึกลักษณะของพื้นที่ ชนิดพืชที่พบท้ังไม้ต้น ไม้หนุ่ม
ขอบที่ราบสูงโคราช และแสดงสัณฐานเขาเควสตา และพืชคลุมดิน บันทึกภาพ และลักษณะพื้นที่เก็บ
หินทรายและช่องเขาน้�ำกัด (water gap) อันเนื่องจาก ตัวอยา่ ง พรอ้ มทงั้ เกบ็ ตวั อยา่ งมาเพ่อื จัดจำ� แนกชนดิ
การกัดกร่อนของธารน้�ำล�ำตะคองบรรพกาล ล�ำตะคอง
มีความยาวของสายน�้ำนับจาก “อุทยานแห่งชาติเขา
ใหญ”่ อำ� เภอปากชอ่ ง ไหลผา่ น อำ� เภอสคี ว้ิ อำ� เภอสงู เนนิ พื้นทเี่ ปา้ หมายในการส�ำรวจ
อ�ำเภอขามทะเลสอ อ�ำเภอเมอื งนครราชสีมา ระยะทาง ในงานส�ำรวจพืชพรรณและเห็ดราในธรรมชาติ
ประมาณ 220 กิโลเมตร โดยในช่วงท่ีไหลผ่านอ�ำเภอ ของโครงการอุทยานธรณีโคราช ไดค้ ดั เลอื กพ้ืนทีแ่ ปลง
ขามทะเลสอ เข้าสู่อ�ำเภอเมือง จะไหลแยกออกเป็น ตัวอย่าง เป็นพ้ืนที่อนุรักษ์ป่าไม้ตามธรรมชาติ ทั้ง 5
2 ลำ� น้�ำ คือ ลำ� บรบิ รู ณ์ ไหลผ่านชว่ งตอนบนของอ�ำเภอ อำ� เภอดังน้ี
เมืองนครราชสีมา มีความยาวประมาณ 35 กิโลเมตร 1. อ�ำเภอสีคิ้ว ป่าเขาจันทน์งาม ป่าวัด
ล�ำตะคองไหลผ่านตัวอ�ำเภอเมืองนครราชสีมา ในเขต ถำ�้ นำ้� หยดและบรเิ วณใกล้เคยี ง พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 9
เทศบาลนครนครราชสมี า ลำ� ตะคองและลำ� บริบรู ณ์ไหล 2. อำ� เภอสงู เนนิ ปา่ เขาสามสบิ สา่ งและเขาเขยี ว
3. อำ� เภอขามทะเลสอ ปา่ ตำ� บลโปง่ แดง และปา่
มาบรรจบกันทบ่ี า้ นกันผม อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ ก่อน
ที่จะไหลลงสู่ “แม่น�้ำมูล” ระยะทางประมาณอีก 3 หนองกระทมุ่ -กุ่มพะยา
กโิ ลเมตร 4. อ�ำเภอเมืองนครราชสีมา ป่าต�ำบลสุรนารี
และตำ� บลหนองไขน่ �้ำ
5. อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ ป่าหนองเต็ง และ
งานส�ำรวจพืชพรรณและเหด็ รา แนวรมิ แม่น�้ำมูล ต�ำบลช้างทอง
ในพ้นื ทีอ่ ุทยานธรณโี คราช
งานส�ำรวจพืชพรรณและเห็ดรา ในอุทยานธรณี
โคราช ป่าท่ีส�ำรวจในเขตพ้ืนท่ีอุทยานธรณีโคราช 5
อำ� เภอ ของจงั หวดั นคราชสมี า คอื อำ� เภอสคี ้วิ อ�ำเภอ
สงู เนนิ อำ� เภอขามทะเลสอ อำ� เภอเมอื งนครราชสมี า และ
อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ ด้วยวิธีการส�ำรวจแบบ “Line
Transect Sampling” หรือ “LTS” ลักษณะของป่าที่
ส�ำรวจส่วนใหญ่เป็นป่าเต็งรัง ไม้ดัชนีประกอบด้วยไม้
ในวงศ์ไม้ยาง (DIPTEROCARPACEAE) ท่ีมีการผลัดใบ
ในช่วงฤดูแล้ง ได้แก่ เต็ง (Shorea obtusa) รัง
(S. siamensis) เหียง (Dipterocarpus obtusifolius)
พลวง (D. tuberculatus) และยางกราด (D. intricatus)
ใชว้ ธิ กี ารเดนิ สำ� รวจตามเสน้ ทางเดนิ ศกึ ษาธรรมชาติ เสน้
ทางท่ชี ุมชนเข้าไปเกบ็ ของปา่ และแยกออกจากแนวเส้น
ทางหลักไปทางซ้ายและขวาข้างละ 40 เมตร ตลอดท้ัง

ืพชพรรณและเ ็หดราธรรมชา ิต ในอุทยานธรณีโคราช 10 จุดพกิ ดั และสภาพป่าของแปลงตวั อยา่ ง

1. อำ� เภอสคี วิ้ ปา่ เขาจนั ทนง์ าม ปา่ วดั ถำ้� นำ�้ หยด

สภาพปา่ วัดถ้ำ� น�้ำหยด

จุดพกิ ดั และสภาพป่าของแปลงตัวอยา่ ง พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 11
ลกั ษณะภมู ิประเทศและสภาพปา่ เขาจันทน์งาม

บรเิ วณพืน้ ที่สำ� รวจป่าเขาจนั ทนง์ าม

ืพชพรรณและเ ็หดราธรรมชา ิต ในอุทยานธรณีโคราช 12 2. อำ� เภอสงู เนนิ ปา่ เขาสามสบิ สา่ งและเขาเขยี ว
บริเวณพืน้ ที่ส�ำรวจป่าเขาสามสบิ สา่ ง

ลกั ษณะภมู ิประเทศเขาสามสิบส่าง ทมี่ ีหินทรายแทรกตวั อยู่ท่วั ไป

จุดพกิ ัดและสภาพป่าของแปลงตวั อยา่ ง พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 13
3. อ�ำเภอขามทะเลสอ ป่าต�ำบลโป่งแดง และปา่ หนองกระท่มุ -กมุ่ พะยา

บริเวณพ้ืนที่ส�ำรวจปา่ ต�ำบลโปง่ แดง
ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ ป่าตำ� บลโป่งแดง

ืพชพรรณและเ ็หดราธรรมชา ิต ในอุทยานธรณีโคราช 14 บรเิ วณพน้ื ที่ส�ำรวจป่าหนองกระท่มุ -กุ่มพะยา
ลักษณะภูมปิ ระเทศ ปา่ หนองกระทมุ่ -กมุ่ พะยา

จดุ พิกดั และสภาพปา่ ของแปลงตวั อยา่ ง พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 15
4. อำ� เภอเมอื งนครราชสีมา ป่าต�ำบลสรุ นารี และตำ� บลหนองไข่นำ้�

บรเิ วณพนื้ ทส่ี ำ� รวจปา่ ต�ำบลสุรนารี
ลกั ษณะภูมิประเทศ ปา่ ตำ� บลสรุ นารี

ืพชพรรณและเ ็หดราธรรมชา ิต ในอุทยานธรณีโคราช 16 บรเิ วณพนื้ ทีส่ �ำรวจปา่ ต�ำบลหนองไขน่ ้�ำ
ลักษณะภมู ิประเทศ ป่าต�ำบลหนองไขน่ ้ำ�

จดุ พกิ ัดและสภาพปา่ ของแปลงตัวอย่าง พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 17
5. อำ� เภอเฉลิมพระเกียรติ ปา่ หนองเตง็ และแนวริมแมน่ �้ำมูล ต�ำบลช้างทอง

ภาพที่ 18 บรเิ วณพ้นื ท่สี �ำรวจปา่ หนองเตง็ บริเวณที่ 1
ภาพท่ี 19 ลกั ษณภูมปิ ระเทศปา่ หนองเต็ง บรเิ วณท่ี 1

ืพชพรรณและเ ็หดราธรรมชา ิต ในอุทยานธรณีโคราช 18 ภาพที่ 20 บริเวณพื้นทีส่ ำ� รวจปา่ หนองเตง็ บรเิ วณที่ 2
ภาพท่ี 21 ลักษณะภมู ิประเทศ ปา่ หนองเตง็ บรเิ วณท่ี 2

จุดพิกดั และสภาพปา่ ของแปลงตวั อยา่ ง พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 19
ภาพที่ 22 บรเิ วณพืน้ ทส่ี �ำรวจริมแมน่ ้�ำมูล ต�ำบลชา้ งทอง อ.เฉลมิ พระเกียรติ
ภาพท่ี 23 ลักษณะภมู ิประเทศ ริมแมน่ ำ้� มูล ต�ำบลช้างทอง อ.เฉลมิ พระเกียรติ

พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 20

ตะครองไมภ้ มู ินาม ท่มี าแหง่ ชือ่ ลำ� นำ้� ตะคอง ไม้ประจำ� ถน่ิ จากอดีตสู่ปจั จุบนั

ตะครองไม้ภมู ินาม ท่มี าแห่งช่อื ล�ำน�้ำตะคอง ไมป้ ระจ�ำถ่นิ
จากอดตี สู่ปัจจบุ ัน

เม่ือเอ่ยช่ือล�ำตะคอง คนท่ัวไปคิดถึงช่ือโคราช คนในท้องถ่ินนั้นได้ ที่จะสะท้อนถึงความเข้าใจเกี่ยวกับ
เชน่ เดยี วกนั เมอื่ เอย่ ชอื่ โคราช กค็ ดิ ถงึ ชอ่ื ลำ� ตะคอง เพราะ ภมู ศิ าสตร์ ทใ่ี ชเ้ ปน็ ฐานคดิ ในการตงั้ ชอื่ หมบู่ า้ นหรอื สถาน
เปน็ ช่ือคูก่ นั ขาดกนั ไมไ่ ด้ “ลำ� ตะคอง” เป็นแมน่ ำ�้ สาย ที่ส�ำคัญในท้องถ่ิน อันเป็นท่ีมาของช่ือของหมู่บ้าน วัด
ส�ำคัญอีกสายหน่ึงท่ีเปรียบเสมือนสายเลือดท่ีไหล ภูเขา ป่าไม้ แม่น�้ำ ล�ำหว้ ย หนอง คลอง บึง)
หล่อเลี้ยงชาวโคราช มีต้นก�ำเนิดอยู่บริเวณทิวเขา
ดงพญาเยน็ กบั ทวิ เขาสนั กำ� แพง ในทอ้ งทอ่ี ำ� เภอปากชอ่ ง ตะครองไม้ภมู ินาม พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 21
จังหวัดนครราชสีมา ไหลผ่าน อำ� เภอต่าง ๆ ดงั น้ี สคี ว้ิ จากการคน้ ควา้ สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ไทยมลั ตพิ ลาย
สูงเนิน ขามทะเลสอ เมืองนครราชสมี า และไปบรรจบ เขียนโดย “เม้ง” กลา่ ววา่ ลำ� ตะคอง หมายถงึ หรอื มีที่มา
กับ “แมน่ �ำ้ มลู ” ที่ ตำ� บลทา่ ชา้ ง อ�ำเภอเฉลิมพระเกยี รติ อยา่ งไร จากการสอบถามพดู คยุ กบั ชาวบา้ นและผสู้ งู อายุ
ระยะทางประมาณ 220 กิโลเมตร ทีอ่ ยู่ใกล้อุทยานแหง่ ชาติเขาใหญ่ ซ่ึงเป็นจดุ แหล่งก�ำเนิด
ของตน้ นำ้� พอจะสรปุ ไดว้ า่ นา่ จะมที ม่ี าจาก 2 เรอ่ื ง 1).มา
งานส�ำรวจพืชพรรณและเห็ดรา ในอุทยานธรณี จากคำ� วา่ ลำ� +ตน้ ไม้ ชอ่ื ตน้ ตะครอง กลา่ วคอื คำ� วา่ “ลำ� ”
โคราช หมายถึง พื้นท่ีทางภูมิศาสตร์ บริเวณลุ่มน�้ำ หมายถงึ ลำ� น้ำ� หรือแมน่ �้ำ ส่วนค�ำวา่ “ตะคอง” หมายถงึ
ลำ� ตะคองตอนกลาง–ตอนลา่ ง มพี น้ื ทคี่ รอบคลมุ 5 อำ� เภอ ช่ือของต้นไม้ชนดิ หนง่ึ ช่ือ “ตน้ ตะครอง” ซ่ึงมีลักษณะ
ของจังหวัดนครราชสีมา จากด้านตะวันตกถึงตะวนั ออก คลา้ ยต้นพุทรา จากคำ� พูดว่า “ลำ� ตะครอง” ในสมัยก่อน
คอื อำ� เภอสคี วิ้ อำ� เภอสงู เนนิ อำ� เภอขามทะเลสอ อำ� เภอ ซึ่งอาจพูดออกเสียงควบกล้�ำไม่ชัดเจน ต่อมาอาจจะฟัง
เมืองนครราชสีมา และอ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ จ�ำนวน และเขียนเพ้ยี นเป็นค�ำว่า “ล�ำตะคอง” ซ่งึ สอดคล้องกบั
พนื้ ทรี่ วม 3,167 ตารางกิโลเมตร หรอื ประมาณ 1 ใน 6 งานส�ำรวจพีชพรรณ ในอทุ ยานธรณโี คราช ดงั กล่าวมา
ของพ้ืนท่ีจังหวัดนครราชสีมา ผลจากการส�ำรวจ แล้วขา้ งตน้ 2).มาจากค�ำว่า ลำ� +คลอง กลา่ วคอื ภาษา
พืชพรรณในอุทยานธรณโี คราชพบว่า ตะครอง ส�ำรวจ ท้องถิ่นโคราช ค�ำว่า “ล�ำ” หมายถึงยาว ส่วนค�ำว่า
พบท้งั 5 อำ� เภอ ท่ีลำ� ตะคองไหลผา่ น ต้นตะครองจึง “คลอง” หมายถงึ แคบและลกึ ซงึ่ ตอ่ มาอาจจะเรยี กเพย้ี น
เป็นไม้พื้นถ่ินในพ้ืนที่อุทยานธรณีโคราช ซ่ึงมีการ จากคำ� ว่าล�ำคลอง มาเป็นล�ำตะคลอง หรือล�ำตะคอง 
สมมติฐานว่า “ล�ำตะคอง” น่าจะมีท่ีมาจากช่ือต้น ตะครอง ไมป้ ระจ�ำถ่นิ จากอดีตสปู่ จั จุบัน
ตะครองท่ีพบเห็นได้ทั่วไป จัดเป็นไม้ภูมินาม หรือช่ือ ตะครอง เป็นไม้ในสกุล Ziziphus มีช่ือ
บา้ นนามเมอื ง (“ภมู นิ าม” เปน็ ระบบวธิ คี ดิ ทางวฒั นธรรม วทิ ยาศาสตร์ ว่า Ziziphus cambodiana Pierre จาก
ของชมุ ชนทมี่ คี วามหมาย และสมั พนั ธอ์ ยา่ งแนบแนน่ กบั เอกสารเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั ของสถาบนั วจิ ยั ไมก้ ลายเปน็
การตงั้ ถน่ิ ฐานทอ่ี ยอู่ าศยั เพราะชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจลกั ษณะดา้ น หินและทรัพยากรธรณี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตา่ ง ๆ ของทอ้ งถนิ่ เนอ่ื งจากภมู นิ าม ของหมบู่ า้ นสามารถ เฉลมิ พระเกยี รติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า เกย่ี ว
แสดงให้เห็นลักษณะทางกายภาพ เป็นต้นว่า ลักษณะ กับการค้นพบและทรัพยากรซากดึกด�ำบรรพ์ สายพันธุ์
ทางธรรมชาติ ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ พรรณพืช และ ใหม่ ของโลก ในพืน้ ท่ีจงั หวัดนครราชสีมา จำ� นวน 10
พรรณสัตว์ รวมไป ถึงสภาพสังคมและวัฒนธรรมของ ชนิด แต่พืชในสกุลนี้เป็นซากดึกด�ำบรรพ์ ท่ีค้นพบใน

ต�ำบลโคกสูง อ�ำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัด
นครราชสมี า มีอายปุ ระมาณ 200,000 ปกี ่อน คือตน้
ตะครองโบราณ (Ziziphus khoksunggenis Grote,
2007) ตะครองจึงเป็นสกุลไม้ประจ�ำถ่ินอุทยานธรณี
โคราชท่ีมีหลักฐานการคงอยู่มานานแล้วผู้คนที่อาศัยใน
พน้ื ที่ นำ� ตะครองไปใชป้ ระโยชน์ เป็นไม้ฟนื ส�ำหรบั การ
อยไู่ ฟของคณุ แมห่ ลงั คลอดบตุ ร รว่ มกบั ไมช้ นดิ อน่ื ๆ โดย
เฉพาะไมม้ ะขามกบั ไมต้ ะคร้อจะใชม้ ากท่สี ุด เพราะเปน็
ไมท้ ใ่ี หไ้ ฟแรง หากหาไมต้ ะครอ้ ไมไ่ ดใ้ หใ้ ชไ้ มต้ ระกลู พทุ รา
แทนได้ ส่วนไม้อ่ืน ๆ ใชแ้ คเ่ ป็นเคลด็ ตามความเช่อื เชน่
ไมจ้ ากต้นตะครอง เช่อื วา่ จะประคองชีวิตแมใ่ ห้สามารถ
มชี วี ติ อยรู่ อดสามารถดแู ลลกู นอ้ ยได้ ไมฟ้ นื เหลา่ นจ้ี ะตอ้ ง
ืพชพรรณและเ ็หดราธรรมชา ิต ในอุทยานธรณีโคราช 22 ถากเอาเปลอื กออกใหห้ มด ไฟจะไดไ้ มล่ กุ โพลง แคใ่ หไ้ หม้
เป็นถ่านแดง ๆ เทา่ น้ัน
นอกจากนี้ตะครองยังจัดเป็นไม้มงคล ซึ่งเป็น
ความเช่ือของสังคมไทยเกี่ยวกับการน�ำไม้ท่ีมีช่ือสื่อ ถึง
ความหมายตา่ ง ๆ ท่ีเป็นมงคลมาทำ� เปน็ วัตถมุ งคล (ไม้
มงคล 9 อย่าง, 2560 : ออนไลน์) ชดุ ไม้มงคล 9 อยา่ ง
ประกอบดว้ ย 1).ไมต้ ะคำ้� -คำ�้ จนุ 2).มะรมุ -รกั ใครน่ ยิ มชม ดอกออกเปน็ ชอ่ กระจกุ ทซ่ี อกใบ มขี นาดเลก็ สเี ขยี วออ่ น
ชอบ 3).คนู -เพม่ิ ทรพั ยส์ นิ 4).มะยม-นยิ มชมชอบ 5).ขนนุ - กลบี เลย้ี งและกลบี ดอกอยา่ งละ 5 กลบี ผลสด เมลด็ เดยี ว
สนับสนุน เก้ือกูล 6).ยอ-สรรเสริญเยินยอ 7).รัก-รักษา รูปค่อนข้างกลม
8).กาหลง-เมตตารักใคร่หลงใหล 9).ตะคอง-คุ้มครอง
รกั ษาแคลว้ คลาดปลอดภยั โดยมคี วามเชอื่ วา่ ไมช้ อื่ มงคล บรเิ วณทีพ่ บในเขตอทุ ยาน ทกุ อำ� เภอ
นี้เมื่อน�ำมารวมกันและเข้าพิธีปลุกเสกโดยเกจิอาจารย์
ผมู้ บี ารมแี ละพลงั เวทย์ ยอ่ มทำ� ใหม้ คี วามศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ มพี ลงั ประโยชน์ของตะครอง
อำ� นาจในตวั เหมอื นดงั่ วตั ถมุ งคลอนื่ ๆ ชว่ ยใหค้ า้ ขายดี มี 1. ด้านสมุนไพร ราก เปลือกต้น รสจืดเฝื่อน
คนนิยมชมชอบ พกติดตัวเป็นมงคลเมตตามหาเสน่ห์ เลก็ น้อย ต้มดม่ื เปน็ ยาขับระดขู าว ขับปัสสาวะ แก้มดลกู
อยา่ งยง่ิ พิการ แกฝ้ ีมุตกดิ แก้ฝีในมดลูกและแก้โรคเบาหวาน ผล
รสเปรี้ยวหวาน ฝาดเย็น แก้เสมหะ แก้ไอ ท�ำให้ชุ่มคอ
ผลสกุ รับประทานได้ มรี สเปรีย้ วอมหวาน เปน็ ยาระบาย
นเิ วศนวสิ ัย พบขึ้นตามป่าทางภาคอีสาน และ ล�ำต้นหรือราก ผสมล�ำต้นก�ำลังช้างสาร ต้มน�้ำดื่ม
ภาคเหนือ แกผ้ ดิ กะบูน (ผดิ สำ� แดง)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมพ้ ุ่มรอเล้ือย สูงได้ 2. ด้านใชส้ อย ผลมลี กั ษณะกลม ใชเ้ ป็นกระสุน
ถงึ 6 เมตร ลำ� ต้นมหี นาม ใบเดยี่ ว เรยี งสลบั แผ่นใบรูป ใชส้ ําหรบั ยิงหนังสติ๊ก
ไขห่ รือรูปรแี กมรปู ไข่ ยาว 4-8 ซม. กว้าง 2.5-5 ซม. โคน 3. ด้านความเช่ือ ไม้ใช้ท�ำฟืนอยู่ไฟ เชื่อว่าจะ
ใบมน ขอบใบเรียบ ปลายแหลมมน มีเส้นใบ 3 เส้นท่ี ประคองแม่ลูกใหอ้ ยู่รอด ปลอดภยั
เด่น ออกจากโคนใบจรดปลายใบ ล�ำต้นและกิ่งมีหนาม

ตะครองไม้ภมู นิ าม ที่มาแหง่ ช่อื ลำ� นำ�้ ตะคอง ไม้ประจ�ำถ่นิ จากอดตี สปู่ ัจจบุ ัน พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 23

ตะครอง

ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Ziziphus cambodiana Pierre
ชอื่ วงศ์ RHAMNACEAE
ช่อื อ่ืน หมากกะทนั ช้าง หนามมา

พืชพรรณเดน่ ของป่าเต็งรงั

หากเราไล่เรียงป่าตามระดับความสูงจากระดับ ตลุ าคม ระยะเวลาดงั กล่าว เตง็ และรงั ไม่ออกดอก จงึ ไม่
น้�ำทะเล โดยเรียงจากน้อยไปหามากก็จะได้ ดังนี้คือ ปา่ สามารถนำ� ดอกและผล (ฝกั ) ของตน้ เตง็ และรงั มาเปรยี บ
ชายเลน ปา่ ดิบช้นื ป่าดิบแล้ง ปา่ เบญจพรรณ ป่าเต็งรงั เทียบได้ แต่เราสามารถจ�ำแนกเต็งและรังได้จากเปลือก
และป่าดิบเขา ล�ำตน้ และลกั ษณะของใบนิยามส้ัน ๆ ที่ชว่ ยจดจำ� “เตง็
ประเทศไทยพบป่าเต็งรังมากในภาคอิสาน เต่ง รงั เว้า”
บริเวณท่ีราบสูงโคราช ลักษณะเป็นป่าโปร่ง มีดัชนี เป็นนิยามท่ีเจ้าหน้าท่ีป่าไม้บอกกล่าวถึงวิธีการ
ประกอบด้วยไม้ในไม้วงศ์ยาง (DIPTEROCARPACEAE) สังเกต ท่ีสามารถบอกความแตกต่างของต้นเต็งและต้น
ชนดิ ทีผ่ ลัดใบในช่วงฤดแู ล้ง ได้แก่ คือ เต็ง รงั พลวง และ รงั ในเบ้อื งตน้ ได้
ไมย้ างไม่ผลัดใบ คอื ยางกราด ส่วนไม้พมุ่ ท่ที นต่อไฟป่า เมื่อเข้าป่าเตง็ รัง ค�ำนยิ ามขา้ งตน้ ชว่ ยได้จรงิ โดย
คอื ปอบดิ ปกตจิ ะไมพ่ บไผใ่ นปา่ ชนดิ นี้ ยกเวน้ ไผเ่ พก็ โจด สงั เกตจากลกั ษณะของฐานใบ (โคนใบ) ทแี่ ตกตา่ งกนั เตง็
ืพชพรรณและเ ็หดราธรรมชา ิต ในอุทยานธรณีโคราช 24 งานสำ� รวจพชื พรรณ โครงการอทุ ยานธรณโี คราช มโี คนใบทเี่ ตง่ เตม็ ไมม่ รี อยหยกั สว่ นรงั มโี คนใบ หยกั เวา้
ในชว่ งเวลาการสำ� รวจ ตัง้ แตเ่ ดอื นสงิ หาคม – ต้นเดอื น เป็นรปู หวั ใจ (ดูภาพประกอบ)

ใบเตง็ ใบรงั

พชื พรรณเดน่ ของปา่ เตง็ รัง พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 25
ใช่ว่าจะเป็นดังนิยามข้างต้นทั้งหมดทุกต้นทุกใบ แต่น่ัน ขา้ งแหลม นอกจากใชล้ กั ษณะใบแลว้ ยงั ใชเ้ ปลอื กตน้ ชว่ ย
คอื สว่ นมาก หากดลู กั ษณะใบ พบวา่ ใบเตง็ เปน็ รปู ไขก่ ลบั เสรมิ ใหก้ ารจำ� แนกถูกต้องมากขน้ึ โดยตน้ เต็งเปลอื กตน้
โคนและปลายมน เนอื้ ใบหนา เกลีย้ งเป็นมัน สว่ นใบรัง จะไมแ่ ตกเปน็ รอยลึก แตต่ ้นรังจะมีรอยแตกเปน็ รอ่ งลึก
ใบเป็นรูปไข่ โคนใบหยักเว้าเป็นรูปหัวใจ ปลายใบค่อน

เปลือกตน้ เต็งสนี �้ำตาลปนเทา แตกเปน็ ร่องตามความยาวลำ� ต้น ร่องเปลอื กไม่ลกึ

เปลอื กตน้ รงั หนา มักแตกเปน็ รอ่ งลึกและเปน็ สะเกด็ ล่อน

เตง็ รงั
โคนใบไมเ่ ว้า โคนใบเว้า
ร่องเปลอื กไมล่ กึ รอ่ งเปลอื กลึก

พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 26

พืชพรรณเดน่ ของป่าเต็งรัง

เตง็

ชื่อวิทยาศาสตร์ Shorea obtusa Wall. ex Blume
ชื่อวงศ์ DIPTEROCARPACEAE
ชอ่ื อน่ื เตง็ ขาว ชันตก เนา่ ใน

นิเวศนวิสัย กระจายพันธุ์เป็นกลุ่มใหญ่ในป่าเต็งรัง ประโยชนข์ องเต็ง พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 27
และปา่ เบญจพรรณ ดนิ ลกู รงั และเขาหนิ ทราย ทค่ี วามสงู 1. ดา้ นใชส้ อย ชนั ยางจากตน้ ใชผ้ สมนำ้� มนั ทาไม้
จากระดับทะเลปานกลาง 150–1,300 เมตร ออกดอก ใช้ยาแนวเรือ เคร่ืองใช้ต่าง ๆ เน้ือไม้สีน้�ำตาลอ่อนถึงสี
เดือนกุมภาพันธ์–พฤษภาคม ผลแก่เดือนเมษายน– น�้ำตาลแกมแดง สามารถน�ำไปใช้ในงานก่อสร้างท่ี
กรกฎาคม สถานะเปน็ ไมห้ วงหา้ มประเภท ก ต้องการความแขง็ แรงทนทานได้ดี เช่น เสา รอด ตง ขื่อ
กระดานพื้น โครงเรือเดนิ ทะเล ไม้หมอนรถไฟ ฯลฯ
บริเวณที่พบในเขตอุทยาน อ�ำเภอสูงเนิน อ�ำเภอเมือง 2. ด้านสมุนไพร ไม้และเปลือก ให้น�้ำฝาดชนิด
นครราชสีมา และอำ� เภอเฉลิมพระเกียรติ
Pyrogallol ใช้เปน็ ยาสมานแผล ห้ามโลหติ เปลือก ใช้
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมต้ น้ ผลัดใบ สูง 10 – 20 ฝนกับน้�ำปูนใส เป็นยาสมานแผลเรื้อรังและแผลพุพอง
เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกว้าง เปลือกสีน้�ำตาลปนเทา ราก แกท้ ้องรว่ ง แกบ้ ดิ เปน็ ยาหา้ มโลหติ ยาสมานทอ้ ง
แตกเป็นรอ่ งและสะเกด็ หนา ใบเด่ียว เรยี งสลับ รปู ขอบ แก่น แก้กระษัย แก้เลอื ดลม ยาง แกบ้ ิด ปิดธาตุ แกฝ้ ใี น
ขนาน หรอื รปู ไขก่ ลบั โคนและปลายมน เนอ้ื ใบหนา เปน็ ทอ้ ง สมานบาดแผล แกน้ ้ำ� เหลืองเสยี ใบ รักษาบาดแผล
มัน ใบอ่อนมีขนประปราย เน้ือใบอ่อนสีน�้ำตาลแดง แผลพพุ องของเดก็
ใบแก่เกลี้ยงเป็นมัน ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย 3. ฤทธทิ์ างเภสชั วทิ ยา ยบั ย้ัง HIV -1 reverse
ดอกสขี าว ออกเปน็ ชอ่ ตามปลายกง่ิ กา้ นชอ่ ดอกมขี นนมุ่ transcriptase
กลบี ดอก และกลีบรองกลบี ดอกมอี ย่างละ 5 กลีบ ขอบ
โคนกลีบซ้อนกัน เวียนกันตามเข้มนาฬิกาเป็นรูปกังหัน
เกสรตวั ผู้มี 20-25 อัน รงั ไข่ รปู รี ผลรปู ไข่เล็ก ๆ ซ่อนตวั
อย่ใู นกระพุ้งโคนปกี ผล ปกี ยาว 3 ปีก ปกี สั้น 2 ปีก ปีก
ยาวรปู ขอบขนานแกมไขก่ ลบั ยาวประมาณ 6 เซนตเิ มตร
ผลออ่ นสเี ขยี ว ผลแก่สีน�ำ้ ตาลแดง

พชื พพรรืชณพแรรลณะเแหลด็ ะรเาหธด็ รรามชในาตอิทุ ใยนาอนุทธยราณนีโธครรณาีโชคร2า8ช 28

พชื พรรณเด่นของป่าเต็งรงั

รัง

ช่ือวิทยาศาสตร์ Shorea siamensis Miq.
ชื่อวงศ์ DIPTEROCARPACEAE
ชอ่ื อน่ื เปาดอกแดง เรียงพนม

นเิ วศนวิสัย มถี นิ่ ก�ำเนิดในประเทศไทย พม่า ลาว เขมร จากไมไ้ ผ่ หรอื เคร่อื งจักสานต่าง ๆ เน้ือไม้ ใชใ้ นงานการ พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 29
และเวยี ดนาม ในประเทศไทยพบมากท่ีสดุ ในภาคตะวนั ก่อสร้างบ้านเรือนที่ต้องการความแข็งแรงทนทานมาก
ออกเฉยี งเหนอื ขนึ้ ตามปา่ เตง็ รงั ปา่ เตง็ รงั ผสมกอ่ และสน เป็นพเิ ศษ เชน่ คาน เสา รอด ตง พื้น พืน้ ชานเรอื นท่ีอยู่
ตามเขาหินปูน ต้ังแต่ใกล้ระดับน้�ำทะเลจนถึงที่ความสูง กลางแจง้ สะพาน ไมห้ มอนรถไฟ เรอื สว่ นประกอบของ
ประมาณ 1,300 เมตร ยานพาหนะ เครอื่ งมือกสิกรรม บางแห่งใช้ทำ� ฟืน เปน็ ไม้
ประดบั และให้รม่ เงา
บริเวณท่ีพบในเขตอุทยาน พบทุกพื้นที่ในอุทยานธรณี 2. ด้านสมุนไพร ใบต้มกับน�้ำอาบเป็นยาแก้
โคราช ยกเว้นอ�ำเภอสีคว้ิ
อาการวงิ เวียนศรี ษะ เปลือกแก้โรคทอ้ งร่วง และใช้ใบนำ�
ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมต้ น้ ผลดั ใบ สงู 10-25 เมตร มาตำ� พอกรกั ษาแผลพพุ อง
เรอื นยอดเปน็ พมุ่ โปรง่ เปลอื กต้นเป็นสีเทาหรือสนี �้ำตาล 3. ดา้ นความเชื่อ เปน็ ไมม้ งคล “คนเกดิ ปีมะเส็ง
อมเทา แข็งและหนามาก แตกเป็นร่องลึกตามยาวของ มิง่ ขวญั อย่ทู ี่ต้นไผแ่ ละตน้ รงั ”
ล�ำต้น น้�ำยางสเี หลอื งออ่ นถึงสนี �้ำตาล ใบเด่ียว เรียงสลบั
รูปไข่กว้างถึงรูปขอบขนาน ปลายใบเรียวแหลมหรือมน
โคนใบเป็นรูปหัวใจ ส่วนขอบใบเรียบ ขอบเป็นคล่ืนขึ้น
ลง หูใบรูปไข่แกมรปู เคยี ว ใบออ่ นแตกใหมเ่ ปน็ สนี ำ�้ ตาล
แดง ดอกเปน็ ช่อ ยาวได้ถึง 15 เซนติเมตร ออกก่อนแตก
ใบอ่อน ดอกย่อยสีเหลือง มีกล่ินหอมอ่อน ๆ กลุ่มละ
5-20 ดอก ปลายบิดเปน็ เกลยี ว คลา้ ยกงั หัน ปลายกลีบ
โคง้ ไปด้านหลัง โคนกลีบเชอื่ มกัน ดอกหลุดรว่ งง่าย

ประโยชน์ของรงั
1. ดา้ นใชส้ อย ชนั ยางจากตน้ รงั ใชผ้ สมกบั นำ้� มนั

ทาไม้หรือน้�ำมันยาง ใช้ส�ำหรับยาแนวเรือ ภาชนะท่ีท�ำ

พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 30

พืชพรรณเด่นของปา่ เต็งรัง

พลวง

ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Dipterocarpus tuberculatus Roxb
ชื่อวงศ์ DIPTEROCARPACEAE
ช่ืออ่ืน ใบตองกุง ตองตงึ

นเิ วศนวสิ ยั ชอบขน้ึ ตามทลี่ าดตำ่� ใกลช้ ายหว้ ยหรอื ใกลท้ ี่ 2. ดา้ นสมนุ ไพร ใบใชเ้ ผาไฟแทรกนำ้� ปนู ใสแกบ้ ดิ พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 31
ชุ่มชื้น ท่ีระดับความสูง 100-1,000 เมตร จากระดับ มูกเลอื ด
นำ้� ทะเล ผลแก่ ช่วงเดอื นมกราคม ถึง พฤษภาคม
บนั ทกึ นกั สงั เกต เราสามารถใชใ้ บ แยกพลวงจาก
บริเวณที่พบในเขตอุทยาน อ�ำเภอเมืองนครราชสีมา เตง็ รงั ได้ ด้วยใบที่มขี นาดใหญ่มาก
และอำ� เภอเฉลิมพระเกียรติ

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมต้ น้ ผลดั ใบ สงู 20-30 เมตร
ลำ� ต้นเปลาตรง เปลือกตน้ หนาแตกเป็นร่อง หลุดลอ่ น สี
นำ้� ตาลปนสเี ทาออ่ น ใบเดยี่ ว รูปไข่ ขนาดใหญ่ ปลายใบ
มนกว้าง โคนใบหยักเว้าลึก ขอบใบเรียบหรือเป็นคล่ืน
ปลายใบสอบ เน้ือใบเกลี้ยงหรือมีขน มีหูใบขนาดใหญ่
หมุ้ ยอดออ่ น ดอกออกเปน็ ช่อ สีมว่ งแดง โคนดอกเช่อื ม
กันเป็นรปู ถว้ ย กลีบดอกมี 5 กลบี เรียงเวียนสลับคลา้ ย
กงั หัน ผลเดีย่ ว รูปไข่กลบั มีปีกรูปกรวย ปีกยาว 2 ปีก
ปกี ส้ัน 3 ปีก เปลือกผลตดิ แนน่ กับเมล็ด ใบพลวง เม่อื เปรียบเทยี บกับใบรงั ใบเตง็ ตามล�ำดบั

ประโยชนข์ องพลวง ใบพลวง
1. ด้านใช้สอย ใบใช้ห่อของ เช่น ข้าวเหนียว

ยาสบู ใชม้ งุ หลงั คาและฝากนั้ หอ้ ง ผทู้ อี่ าศยั ในทอ้ งถนิ่ ได้
อาศัยใบพลวง มาสร้างเป็นเสนาสนะกุฏิพักอาศัยถวาย
ใหพ้ ระสงฆท์ อี่ อกปฏบิ ตั อิ ยใู่ นปา่ ดงโดยจะเกบ็ ใบชว่ งฤดู
รอ้ น มีนาคม–เมษายน ต้นอายุ 12 ปีขน้ึ ไป จะมีชัน นำ�
มาใชย้ าเรอื ทาเครอื่ งจกั สาน

พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 32

พชื พรรณเดน่ ของป่าเตง็ รงั

ยางกราด

ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Dipterocarpus intricatus Dyer.
ช่ือวงศ์ DIPTEROCARPACEAE
ช่อื อนื่ สะแบง ซาด

นิเวศนวสิ ัย พบตามป่าเต็งรงั ป่าเบญจพรรณ ทส่ี งู จาก ยางกราดออกดอกเดือนมกราคมถึงกุมภาพันธ์ ติดผล พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 33
ระดับน้ำ� ทะเล 200-500 เมตร เดือนกุมภาพันธ์ถึงพฤษภาคม แต่จากการส�ำรวจป่าใน
พนื้ ทต่ี ำ� บลหนองไขน่ ำ้� อำ� เภอเมอื งนครราชสมี า ออกดอก
บริเวณท่ีพบในเขตอุทยาน อ�ำเภอเมืองนครราชสีมา และตดิ ผล ชว่ งเดือนสงิ หาคม ถงึ เดอื นตลุ าคม ทงั้ น้อี าจ
อำ� เภอขามทะเลสอ และอ�ำเภอเฉลมิ พระเกียรติ จะเกดิ จากสภาพภมู ิประเทศ และภูมอิ ากาศของพื้นท่ี

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมต้ น้ สงู 15–30 เมตร ลำ� ตน้
เปลาตรง เรือนยอดเป็นพุ่มกลมหนา เปลอื กต้นสีน้ำ� ตาล
ปนเทา แตกสะเกด็ หนาหรอื เปน็ รอ่ งลกึ ตามยาว ใบเดย่ี ว
รปู ไขถ่ งึ รปู ไข่ขอบขนาน โคนใบมน หรอื หยักลกึ เป็นรูป
หวั ใจ ผวิ ใบมขี นสนั้ สาก ใบออ่ นและยอดออ่ นมหี ใู บสแี ดง
หุม้ ดอกออกเปน็ ช่อ กลีบดอกบดิ เวยี นรปู กังหัน สีขาว
แซมสชี มพเู ปน็ แถบตรงกลางกลบี ผลค่อนข้างกลม แข็ง
เปน็ จีบพบั สีแดง มปี กี 5 ปีก ปีกยาวใหญ่ 2 ปีก และปีก
สน้ั 3 ปกี เมลด็ แข็ง 1 เมล็ด

ประโยชนข์ องยางกราด
ด้านใช้สอย เนื้อไม้ นิยมน�ำมาใช้ท�ำเครื่องเรือน

เครื่องใช้ สว่ นขซ้ี ี (ยางชนั ) ใช้เป็นเช้ือจุดไฟ (ไต้) ให้แสง
สวา่ ง ใช้ยาเรอื เพอื่ อดุ รอยร่ัวซึม เครื่องจกั สาน ผลนำ� ไป
ใช้เป็นไม้ประดับแห้ง ช่วยให้เกิดความหลากหลายทาง
ชีวภาพ คอื ช่วยให้เหด็ ข้นึ ในบรเิ วณพื้นทีใ่ ต้โคนตน้ เชน่
เห็ดระโงก เหด็ เผาะ

บันทึกนักสงั เกต ต�ำราพฤกษศาสตรห์ ลายเลม่ กล่าวว่า

พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 34

พชื พรรณเด่นของปา่ เตง็ รัง

แดง

ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Xylia kerrii Craib & Hutch
ชอ่ื วงศ์ FABACEAE
ชื่ออื่น จาลาน ตะกรอ้ ม

นิเวศนวสิ ัย พบไดท้ วั่ ไปตามป่าเบญจพรรณแลง้ และชื้น ประโยชน์ของต้นแดง พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 35
ป่าเต็งรัง ที่ราบและบนเขา ภูเขาที่มีความลาดชันน้อย 1. ดา้ นใชส้ อย ใชใ้ นการกอ่ สรา้ งอาคารบา้ นเรอื น
และในหบุ เขาทมี่ กี ารระบายน้ำ� ได้ดี ดินร่วนปนทรายทีม่ ี เชน่ ใช้ท�ำเสาบ้าน รอด ตง ขื่อ กระดานพนื้ ฝา ฯลฯ ใช้
ทง้ั ความชน้ื และการระบายนำ�้ ทดี่ ี ไมแ้ ดงมี 2 ชนดิ Xylia ท�ำด้ามเคร่ืองมือต่าง ๆ ท�ำหูกและกระสวย
xylocarpa (Roxb.) Taub และ Xylia kerrii Craib & ไมค้ าน ไมส้ ำ� หรบั กลงึ ทำ� คนั ไถ คราด ครก สาก กระเดอื่ ง
Hutch. หรือน�ำมาใชใ้ นงานแกะสลัก ท�ำเครอื่ งเรอื น ปลูกเพื่อใช้
ตกแต่งบริเวณอาคารสถานที่เป็นไม้ประดับ ลดการพัง
บริเวณทพ่ี บในเขตอทุ ยาน พบทุกป่า ทกุ อ�ำเภอ เป็นไม้ ทลายของหนา้ ดนิ รักษาความสมบรู ณ์ของดนิ
เดน่ ในปา่ หนองเต็ง อ�ำเภอเฉลมิ พระเกียรติ และปา่ เขา
สามสิบสา่ ง 2. ดา้ นอาหาร เมลด็ รบั ประทานได้
3. ดา้ นสมนุ ไพร เปลอื กมรี สฝาด แกอ้ าการท้อง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 30 รว่ ง ดอกบำ� รงุ หวั ใจ แกไ้ ข้ แกน่ บำ� รงุ โลหติ ผสมยาแกซ้ าง
เมตร โลหติ แกโ้ รคกษยั แกพ้ ษิ โลหติ ชว่ ยดบั พษิ แกไ้ ขก้ าฬ แก้
ลำ� ตน้ เปลาตรงหรอื เปน็ ปมุ่ ปม เรอื นยอดรปู ทรง ไขท้ อ้ งเสีย แกอ้ าการปวดอักเสบของฝีชนดิ ต่าง ๆ
กลมหรอื เกง้ ก้าง เปลือกต้นเรียบสีเทาอมแดง มสี ะเก็ด
ใบประกอบแบบขนนกสองช้นั มใี บย่อย 4-5 คู่
ดอกสีเหลืองขนาดเลก็ กล่ินหอมออ่ น ๆ ขนึ้ อดั
กนั แนน่ เป็นชอ่ กลม
ผลเป็นฝักแบนแข็ง รูปขอบขนานเรียวและโค้ง
งอท่ีส่วนปลาย ผิวฝักเรียบมีสีน�้ำตาลอมเทา ฝักแก่จะ
แตก มกั จะม้วนบดิ งอ ฝกั จะแก่ในชว่ งเดือนตุลาคม ถึง
เดอื นธันวาคม
เมล็ด แบนเรียวแหลม ยาวรีหรือเกือบกลม สี
นำ้� ตาลเปน็ มนั

พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 36

พชื พรรณเด่นของปา่ เตง็ รงั

ปอบิด

ช่อื วทิ ยาศาสตร์ Helicteres isora L.
ช่อื วงศ์ MALVACEAE
ช่อื อ่ืน ขอี้ น้ ใหญ่ ปอทับ มะบิด

นเิ วศนวสิ ยั พบตามปา่ เตง็ รงั ปา่ เบญจพรรณ ชายปา่ ดบิ น้�ำตม้ ฝกั ปอบิด บรรเทาอาการปวดเมือ่ ย ปวดหลงั ปวด พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 37
ทรี่ กรา้ ง ความสงู จากระดบั นำ�้ ทะเล 100-400 เมตร เปน็ ข้อ ปวดเขา่ ราก ใช้ต้มเอาน�้ำกนิ รสฝาดเฝ่อื น บำ� รุงธาตุ
ไมด้ อกทช่ี ว่ ยสรา้ งสสี นั ใหก้ บั ปา่ ไมพ้ มุ่ ทนไฟ ในปา่ เตง็ รงั แก้ท้องรว่ ง แก้บดิ ขบั เสมหะ เปลือกต้น ต้มเปน็ ยาแก้
โรคบิด ท้องร่วง และเป็นยาบ�ำรุงธาตุ แก่น บ�ำรุง
บริเวณท่ีพบในเขตอุทยาน อ�ำเภอสูงเนิน และอ�ำเภอ น�้ำเหลือง บำ� รุงกำ� ลัง แก้เสมหะ แก้น�้ำเหลืองเสยี
เฉลมิ พระเกยี รติ
2. ด้านใช้สอย เปลือกต้นและกิ่ง ให้เส้นใย
ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมพ้ มุ่ ขนาดเลก็ สงู 1-3 เมตร เหนยี วและขาดยาก ใช้ท�ำเชอื ก กระสอบ กระดาษ
ทุกสว่ นมขี นสนี ้�ำตาลปกคลมุ ใบเดย่ี ว ปลายใบเปน็ แฉก
3-5 แฉก โคนใบกลมหรอื รปู หวั ใจ ขอบหยกั คลา้ ยฟนั ปลา บนั ทึกนกั สังเกต
ดา้ นบนมขี นสากคาย ดา้ นลา่ งมขี นสนั้ หนานมุ่ . ดอกออก มกี ารอา้ งสรรพคณุ วา่ นำ� มาใชร้ กั ษาโรคเบาหวาน
เปน็ ชอ่ สน้ั ๆ แบบช่อกระจกุ ออกทซ่ี อกใบ กา้ นช่อดอก แต่พบผู้ป่วยบางรายมีอาการไตวาย มีงานวิจัยพบว่า
สนั้ กลบี เลย้ี งมสี เี หลอื งอมเขยี วออ่ น. กลบี ดอกสฟี า้ แลว้ ปอบิดมีผลในการรักษาเบาหวาน สามารถลดน�้ำตาลใน
เปลีย่ นเปน็ สีแดงอมสม้ มี 5 กลีบ ขนาดไมเ่ ทา่ กนั กลีบ หนูทดลองได้ ผลข้างเคียงคือท�ำลายตับหนูและเกิดการ
ค่บู นมขี นาดใหญ่กวา่ กลีบอนื่ ปลายกลบี มน เกสรเพศผู้ กระตุ้นหัวใจในกบ งานวิจัยด้านเภสัชศาสตร์ พบว่า
และเพศเมยี มกี ้านชูยืน่ ยาว โผล่พ้นกลีบดอก เกสรเพศ ปอบิดมีผลลดน้�ำตาลในเลือดได้ ใกล้เคียงกับยาแผน
ผสู้ เี หลอื ง โคนเชอื่ มกนั เปน็ หลอด ผลเปน็ ฝกั กลมยาวบดิ ปจั จบุ ัน แตไ่ มส่ ามารถทดแทนยารกั ษาเบาหวานได้จรงิ
เป็นเกลยี วเหมือนเกลียวเชอื ก แ ล ะ ผู ้ ท่ี จ ะ ใช ้

ประโยชนข์ องปอบดิ ตรวจภาวะการ
1. ดา้ นสมุนไพร ฝกั มีฤทธ์ิระงับบิด แกท้ ้องรว่ ง ท�ำงานของตับไต
แก้ปวดท้องอันเนื่องจากท้องอืดท้องเฟ้อ แก้โรคล�ำไส้ อย่างสม่�ำเสมอ
ในเดก็ รวมทง้ั ชว่ ยแกอ้ นั ตงั และอนั ตคณุ งั พกิ าร (กระเพาะ ทกุ 3 เดอื น
ล�ำไส้ใหญ่ (อันตัง) และล�ำไส้เล็ก (อันตคุณัง) อักเสบ
(พิการ) ฝักสด (ไม่อ่อนหรือแก่จัด) ต�ำพอกบริเวณท่ีมี
อาการเคลด็ ขดั ยอก ปวดบวมทวั่ ไปหรอื เกดิ จากโรคเกาต์

พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 38

พืชพรรณเด่นของป่าเต็งรงั

ประด่ปู ่า

ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Pterocarpus macrocarpus Kurz
ชื่อวงศ์ FABACEAE
ช่ืออ่นื ประด่เู สน

นิเวศนวิสัย ขึ้นท่ัวไปในป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง ประโยชนข์ องประดู่ป่า พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 39
ยกเว้นทางภาคใต้ สามารถขึ้นได้ตามไหล่เขา ท่ีราบ 1. ดา้ นสมนุ ไพร เปลอื กตน้ ชว่ ยลดระดบั นำ�้ ตาล
ยอดเขาเต้ยี ๆ ใกลบ้ ริเวณแหล่งน�้ำ บนลาดเขาทส่ี งู จาก ในเลอื ด ยาบำ� รงุ รา่ งกาย ยาแกท้ อ้ งเสยี ยาสมานบาดแผล
ระดบั นำ�้ ทะเล 100–750 เมตร ดนิ ตะกอน หรอื ดนิ ทเ่ี กดิ แก่น บำ� รงุ กำ� ลงั บ�ำรุงโลหิต แก้โลหิตจาง แกก้ ษยั แกไ้ ข้
จากภูเขาไฟ มีความลึกและระบายน�้ำได้ดี หากเป็นดิน แกเ้ สมหะ แกโ้ ลหติ และกำ� เดา ขบั ปสั สาวะ แกผ้ นื่ คนั แก้
รว่ นปนทรายจะพบประดปู่ า่ เกดิ ขนึ้ มากทส่ี ดุ บางครง้ั พบ คดุ ทะราด ยาแกพ้ ิษเมาเบ่อื ผล แกอ้ าเจียน แกท้ อ้ งรว่ ง
ข้ึนในบรเิ วณทม่ี หี นิ โผลด่ นิ เป็นลกู รงั ใบ ลดระดับน้ำ� ตาลในเลอื ด รักษาฝี พอกบาดแผล แก้
ผดผื่นคันรักษาบาดแผล แก้ผดผื่นคัน ปุ่มประดู่ รสขม
บรเิ วณท่ีพบในเขตอทุ ยาน พบทกุ อำ� เภอ ฝาดรอ้ นเมา เผาแลว้ ใช้ควนั รมหวั ริดสีดวงให้ฝ่อแห้ง ตม้

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ต้น สูง 20–30 เมตร น�้ำดม่ื บำ� รงุ โลหิต
เรือนยอดเปน็ รูปเจดีย์ เปลอื กสีน�้ำตาลปนเทา หนา แตก 2. ดา้ นใชส้ อย เน้อื ไมใ้ ช้ในการก่อสร้างทว่ั ๆ ไป
เป็นร่อง มียางสีแดง เน้ือไม้แข็งสีขาวอมเหลือง แก่นสี ใช้ได้ทั้งภายในและภายนอก รับน�้ำหนักได้มาก เหมาะ
น้�ำตาลแกมแดง ใบประกอบขนนกเรียงสลับ ใบย่อย ส�ำหรบั ท�ำคาน ท�ำตงในงานก่อสร้าง เนื้อไมส้ ีสวยงาม สี
8–10 ใบ ปลายใบเรียวแหลม ผลัดใบในช่วงเดือน แดงอมเหลืองถึงสีแดงอิฐ เป็นร้ิว ไสกบ ตกแต่งได้ดี
กมุ ภาพนั ธ–์ มนี าคม และเรม่ิ ผลใิ บใหมใ่ นเดอื นเมษายน– ปลวกไม่ท�ำลาย เหมาะในการท�ำเฟอร์นิเจอร์ราคาแพง
พฤษภาคม ดอกออกเป็นช่อตามง่ามใบใกล้ปลายก่ิง สี ท�ำเคร่อื งมอื เครอ่ื งใช้ เปลือกไมป้ ระด่ใู ช้ยอ้ มผา้ และให้
เหลือง ออกดอกเต็มต้น มีกล่ินหอม ในระหว่างเดือน น�ำ้ ฝาดส�ำหรบั ฟอกหนงั
มนี าคม–เมษายน ผลเป็นฝักแบนรูปทรงรคี ลา้ ยโล่ มีปีก
รอบ ๆ คล้ายแผ่นหนังลักษณะกลม ตอนกลางเป็นผล ผลคอ่ นขา้ ง
พองหนา ปีกของผลจะมีสีเขียวเม่ือยังอ่อนอยู่ และจะ กลมแบน เมือ่
กลายเป็นสีน้�ำตาล เมื่อแก่จัด ผลจะแก่ประมาณเดือน หลดุ จากข้วั จะ
ตลุ าคม–พฤศจิกายน ปลวิ ไปตามลม
เพ่ือการ
กระจายพนั ธุ์

พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 40

พชื อาหาร : พรรณไมท้ ่เี ป็นผกั ป่า พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 41

พชื อาหาร : พรรณไม้ทีเ่ ปน็ ผักปา่

พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 42

พืชอาหาร : พรรณไม้ที่เป็นผักป่า

ก่มุ บก

ชอื่ วิทยาศาสตร์ Crateva adansonii DC.
ชือ่ วงศ์ CAPPARACEAE
ชอ่ื อืน่ ผักก่าม ผกั กุ่ม

นิเวศนวิสัย ถิ่นก�ำเนิดในประเทศญี่ปุ่น ออสเตรเลีย รบั ประทานเปน็ ผกั จม้ิ นำ�้ พรกิ ชว่ ยทำ� ใหเ้ จรญิ อาหาร แก้ พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 43
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เกาะในมหาสมุทร แปซิฟิกใต้ เจ็บตา เจบ็ คอ
เปน็ ไมย้ นื ตน้ ขนาดกลาง ประเทศไทยพบมากทางตะวนั 3. ด้านไม้ประดับ ดอกสวยงาม ปลูกเป็นไม้
ออกเฉยี งเหนือ ภาคใต้ และภาคกลาง ประดับ มีความเชื่อว่าเปน็ ไมม้ งคล

บริเวณท่ีพบในเขตอุทยาน อ�ำเภอเมืองนครราชสีมา เรื่องเล่าเกย่ี วกบั กุ่มบก
และอำ� เภอขามทะเลสอ ตน้ กมุ่ บก ในภาษาบาลจี ะเรยี กวา่ “ตน้ กกั กธุ ะ”

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ต้น แตกกิ่งก้านโปร่ง หรอื “ตน้ กกธุ ะ” ส่วนชาวฮนิ ดูจะเรียกว่า “มารนิ า” ซึง่
เปลือกสีน้�ำตาลอ่อนค่อนข้างเรียบหรือมีรอยแตก ตาม ตามพุทธประวัติกล่าวไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้ทรงน�ำผ้า
ขวาง ใบประกอบแบบน้วิ มือ มใี บย่อย 3 ใบ ออกเรียง บังสุกุลท่ีห่อศพนางมณพาสีในป่าช้าผีดิบ (อามกสุสาน)
สลับ ใบรปู ไข่ ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ดอก เปน็ ช่อ ไปซกั แล้วนำ� ผ้าบงั สกุ ุลดงั กลา่ วไปตากที่ตน้ กมุ่ บก โดย
กระจกุ ตามซอกใบใกลป้ ลายยอด ดอกสขี าวแลว้ เปลย่ี น พฤกษเทวดาทีส่ ถติ อยู่ ณ ต้นกมุ่ บก กไ็ ดน้ ้อมกิ่งของต้น
เปน็ สีเหลอื งหรือชมพู กลบี ดอกรูปรี ปลายมนโคนสอบ ใหต้ �ำ่ ลงเพอ่ื ใหพ้ ระพทุ ธเจ้าทรงตากจวี ร
เรยี ว กลีบเล้ียงพอแหง้ เปลีย่ นเป็นสสี ้ม ผลกลม ผวิ มจี ดุ
สีน้�ำตาลอมแดง เปลือกแข็ง ผลอ่อนมีสีเขียวพอสุกมีสี
แดง

ประโยชน์ของก่มุ บก
1. ดา้ นสมนุ ไพร ราก แกบ้ วม แกอ้ าเจยี น ขบั ลม

แก้มานกษัยอันเกิดแต่กองลม เป็นยาช่วยบ�ำรุงธาตุ
เปลอื ก ขบั ลม แกน้ วิ่ ชว่ ยเจรญิ อาหาร แกบ้ วม รกั ษาโรค
ผิวหนงั แก่น รกั ษารดิ สดี วง แก้น่ิว ชว่ ยบ�ำรุงเลอื ด ใบ
ขบั ลม ขบั เหงอ่ื ขบั พยาธิ รกั ษากลาก ชว่ ยบำ� รงุ หวั ใจ ผล
แกไ้ ข้

2. ด้านอาหาร ดอกและยอดอ่อนน�ำมาดอง ใช้

พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 44

พชื อาหาร : พรรณไมท้ ่ีเป็นผกั ป่า

แขยง

ช่ือวิทยาศาสตร์ Limnophila aromatica (Lam.)
Merr.

ช่ือวงศ์ PLANTAGINACEAE
ชือ่ อน่ื ผักพา คะแยง ผักกะออม

นเิ วศนวสิ ยั ไมล้ ม้ ลกุ เนอ้ื ออ่ น เปน็ วชั พชื ในนาขา้ ว เจรญิ 2. ด้านอาหาร ล�ำต้นและใบท่ีเป็นยอด หรือ พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 45
เตบิ โตไดด้ ใี นดนิ ชน้ื แฉะ มกั ขน้ึ ตามรมิ คหู รอื คนั นาบรเิ วณ ล�ำต้นออ่ น นยิ มน�ำมาประกอบอาหาร อาทิ ใสแ่ กงปลา
ทม่ี ีน้�ำขังเลก็ น้อย แกงลยี ง ตม้ แซ่บ รวมถึงใช้รับประทานเปน็ ผักกบั อาหาร
จำ� พวกลาบ ซปุ หนอ่ ไม้ สม้ ต�ำ และน�้ำพริก ซง่ึ เป็นท่นี ยิ ม
บริเวณท่ีพบในเขตอุทยาน อ�ำเภอเมืองนครราชสีมา มากในชาวอีสานและชาวเหนือ เน่ืองจาก ผักชนิดน้ีให้
อำ� เภอขามทะเลสอ และอำ� เภอเฉลมิ พระเกยี รติ กลิ่นหอมฉุน และสามารถดับกล่ินคาวของเนื้อสัตว์

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ พืชล้มลุกปีเดียว ล�ำต้น ตา่ ง ๆ ได้ดมี าก
อวบนำ้� ต้ังตรงหรือทอดเลอื้ ย ผวิ เกลยี้ งหรือมีตอ่ ม แตก
รากจากขอ้ สงู 20-35 เซนติเมตร ผิวลำ� ต้นมีสเี ขยี วอ่อน ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของผกั แขยง
และมขี นปกคลมุ ดา้ นในล�ำต้นกลวง มกี ลิน่ ฉุนแรง และ ผักแขยง มีน้�ำมันหอมระเหย (มีกลิ่นคล้ายกับ
ใหร้ สเผด็ ใบเด่ยี ว รูปใบหอก ปลายใบแหลม โคนใบหอ่
ติดกับล�ำต้น ขอบใบจักเป็นฟันเลื่อย ออกเรียงตรงข้าม น้�ำมันสน) มีฤทธ์ิต่อต้านจุลินทรีย์ มีคุณสมบัติเป็น
ยาฆ่าแมลงในกลมุ่ ทำ� ลายผลไม้

กนั เป็นคู่ ดอกออกดอกเดี่ยวตามซอกใบ สีม่วง ออกเปน็ บนั ทกึ นักสงั เกต ตน้ ใดเปน็ ผักแขยง และตน้ ใดเป็นผัก
ชอ่ กระจะตรงส่วนยอดของตน้ ดอกเป็นรูปกรวย ปลาย กะออม
บานออกเล็กน้อย ออกดอกและติดผลในช่วงประมาณ ผักกะออมและผักแขยง ลำ� ต้นคล้ายกนั มีความ
เดือนมีนาคมถงึ เดอื นกนั ยายน สูงใกลเ้ คยี งกัน แตล่ ำ� ตน้ ผักกะออมมีสีแดงอมมว่ ง และ
เรียวเล็กกว่าผักแขยง ใบของผักกะออมแผ่นใบกางแผ่
ประโยชนข์ องผักแขยง ไม้โคง้ งอเขา้ กลางใบ โคนใบสอบแคบ ขณะทผ่ี กั แขยงมี
1. ด้านสมุนไพร ท�ำให้เจริญอาหาร ป้องกัน โคนใบกว้างและแผ่นใบผักกะออมมีสีแดง รวมถึงผัก
กะออมมีขอบใบที่หยักน้อยกว่าผักแขยง ส่วนดอกมี
เส้นเลือดตีบตันและไข้ร้อนใน แก้ไข้ ลดไข้ แก้ไข้หัวลม ลกั ษณะเปน็ กรวยคลา้ ยกนั แตก่ รวยของโคนกลบี ของผกั
ขบั ลมและเปน็ ยาระบายทอ้ ง อาการคนั กลาก และฝี แก้ กะออมมสี แี ดงอมมว่ ง กลีบดอกมี 4 กลีบ แต่ผกั แขยงมี
อาการบวม แกพ้ ษิ งู ขบั นำ้� นมของสตรี หลงั จากการคลอด 5 กลบี กลีบดอกผักกะออมมสี มี ่วงเขม้ กวา่ มาก จำ� นวน
บตุ ร ผกั แขยงจดั เปน็ ผกั พน้ื บา้ นในกลมุ่ ทมี่ สี ารตา้ นอนมุ ลู ชอ่ ดอกและดอกย่อยมมี ากกวา่ ผักแขยง
อสิ ระสงู จงึ ชว่ ยในการตา้ นมะเรง็ และตา้ นการเจรญิ ของ
เช้ือโรคตา่ ง ๆ ได้

พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 46

พืชอาหาร : พรรณไมท้ ่ีเป็นผักปา่ พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 47

ตบู หมบู

ชือ่ วิทยาศาสตร์ Kaempferia rotunda L.
ช่ือวงศ์ ZINGIBERACEAE
ชอ่ื อืน่ เปราะป่า เปราะหอม ว่านสม้

นิเวศนวิสัย สามารถพบได้ท่ัวทุกภาคของประเทศไทย
มักขึน้ ตามพนื้ ดินหรือเกาะตามโขดหนิ โดยเกดิ ตามทลี่ ุ่ม
ช้ืนแฉะในป่าโคกหรือป่าเตง็ รงั ป่าเบญจพรรณท่ัว ๆ ไป
บรเิ วณทพ่ี บในเขตอทุ ยาน พบทกุ ปา่ ทกุ อำ� เภอทสี่ ำ� รวจ
ยกเว้นป่าในอ�ำเภอขามทะเลสอ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ พืชหัวขนาดเล็ก สูง 3-5
เซนติเมตร มีเหง้าส้ัน มีกลิ่นหอม รูปทรงกลมสีน�้ำตาล
รากเป็นกระจุกออกจากเหง้าหลักเป็นเส้นกลมยาว ใบ
เดี่ยวไม่มีก้านใบ ใบออ่ นจะม้วนเปน็ กระบอกตัง้ ข้ึน เมือ่
แก่จะแผ่ราบบนหน้าดิน หน่ึงต้น 2 ใบ ใบมีสีเขียวเข้ม
ขอบใบมีสีม่วงแดง รูปทรงกลมหรือเป็นรูปรี ปลายใบ
แหลม โคนใบเป็นรูปลม่ิ ดอก สีขาว เป็นช่อออกมาจาก
ตรงกลาง ระหว่างกาบใบท้ังสอง มีกลีบดอกเป็นหลอด
ยาวประมาณ 4 เซนตเิ มตร กลบี หลงั ยาวและมขี นาดกวา้ ง
กวา่ กลบี ข้างใบประดบั สขี าวอมเขยี ว รูปหอก กลีบปาก
มีสีมว่ ง
ประโยชน์ของผักแขยง

1. ด้านสมนุ ไพร หวั หรือเหง้า เป็นยาขับลม ใช้
น้�ำมันหอมระเหยจากหัว ดมบรรเทาอาการวิงเวียน
ปัจจุบันมีการประยุกต์สกัดน�้ำมันดังกล่าวผลิตเป็น
น้ำ� หอม เปน็ อุตสาหกรรมอีกด้วย

2. ด้านอาหาร ต้น ใบอ่อนและเหง้า ปรุงเป็น
อาหาร

พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 48

พชื อาหาร : พรรณไมท้ ีเ่ ป็นผักป่า

ลนิ้ ฟา้

ชื่อวิทยาศาสตร์ Oroxylum indicum (L.) ex Kurz
ชื่อวงศ์ BIGNONIACEAE
ช่อื อื่น เพกา มะลิน้ ไม้ กาโด้โด้ง

นิเวศนวิสัย พบบริเวณป่าเต็งรัง ป่าทุ่ง ป่าผสมผลัดใบ ตา้ นอนมุ ลู อสิ ระในรา่ งกาย ชะลอการเสอื่ มของเซลล์ การ พชื พรรณและเหด็ ราธรรมชาติ ในอุทยานธรณโี คราช 49
บรเิ วณ ไร่ สวน ออกดอกชว่ งเดือนมนี าคม ถงึ กรกฎาคม เกิดร้ิวรอยแห่งวัยและช่วยชะลอวัย บ�ำรุง และรักษา
ดอกจะทยอยบานจากดา้ นลา่ งไปถงึ ดอกทป่ี ลายชอ่ บาน สายตา ลดความเสี่ยงการเกิดโรคมะเร็ง รักษาโรค
ในชว่ งกลางคนื จนถงึ กอ่ นรงุ่ สาง และร่วงตอนสาย ๆ มี เบาหวาน ลดระดบั คอเลสเตอรอล เปลอื กตน้ บำ� รงุ โลหติ
เพยี งประเทศไทยเทา่ นนั้ ทน่ี ำ� เพกามารบั ประทานเปน็ ผกั ขบั เลอื ด ดบั พษิ ในโลหติ อาเจยี นไมห่ ยดุ แกพ้ ษิ สุนขั บา้
กดั แกโ้ รคงสู วัด ราก แกไ้ ข้สันนบิ าต
บริเวณท่ีพบในเขตอุทยาน อ�ำเภอขามทะเลสอ และ หญิงต้ังครรภ์ไม่ควรรับประทานฝักอ่อน ของ
อำ� เภอเฉลิมพระเกียรติ
เพกา เพราะอาจท�ำใหแ้ ทง้ เนือ่ งจากฝกั ของเพกามฤี ทธิ์
ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ลำ� ตน้ ขนาดเลก็ และเรยี วยาว รอ้ นมาก
แตกกง่ิ กา้ นนอ้ ยจนถงึ ไมแ่ ตกกง่ิ ใบแตกออกเฉพาะปลาย
ยอด ถ้าเตบิ โตในท่ีมีความชนื้ เพยี งพอจะไม่ผลดั ใบ หาก
เติบโตบนพ้ืนท่ีค่อนข้างแห้งแล้ง จะผลัดใบจนเหลือกิ่ง รอยแผลที่เกิดจาก
กา้ น เปลอื กลำ� ตน้ ขรขุ ระและแตกสะเกด็ เปลอื กตน้ สคี รมี การหลุดร่วงของ
มรี อยแผลจากการหลุดร่วงของก้านใบ ใบประกอบแบบ ก้านใบ
ขนนก 3 ชั้น ดอกออกเป็นชอ่ บริเวณปลายยอด ดอกตมู
เปน็ หลอดของกลบี เลยี้ งและกลบี ดอกสเี ขยี วทห่ี มุ้ ไว้ เมอื่
แก่ปลายกลีบดอกจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงและพองตัวใหญ่
ขึน้ มกี ลิ่นสาบ ผลเป็นฝกั บนยาวคล้ายดาบ เปลือกฝัก
หนา ฝกั ออ่ นมสี ีเขยี วสด ฝักเร่มิ แกม่ ีสเี ขียวอมด�ำ ฝักแก่
เต็มท่ี แห้งสีด�ำและปริแตกออกเป็น 2 ซกี ภายในเมล็ด
แบน สขี าว มปี ีกบางโปรง่

ประโยชน์ของล้ินฟ้า
ด้านสมุนไพร ใช้ส่วนต่าง ๆ ของต้นตั้งแต่ราก

เปลือกตน้ ฝกั ใบ เรยี กวา่ “เพกาทัง้ 5” เช่น ฝกั ออ่ น


Click to View FlipBook Version