The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kasama.sur090, 2021-09-18 23:39:49

ประเมิน

ประเมิน

1

2

สารบัญ หน้า

เร่อื ง 3
ดา้ นการจัดการเรียนการสอน
- การสร้างและหรอื พัฒนาหลักสูตร 77
การจดั การเรยี นรู้ 88

- การออกแบบหนว่ ยกาเรียนรู้ 108
- การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้/แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล(IEP)
/แผนการสอนรายบุคคล(IIP)/แผนการจดั ประสบการณ์ 109
กลยุทธใ์ นการจัดการเรียนรู้ 150
คุณภาพผเู้ รียน 121

- ผลสมั ฤทธทิ์ างวชิ าการของผเู้ รยี น 146
- คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงคข์ องผู้เรียน
ศึกษา วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ และหรอื วจิ ัย เพ่ือแกป้ ัญหา หรือพัฒนาการเรยี นรู้ 199
ท่สี ง่ ผลตอ่ คุณภาพผู้เรียน 200
ด้านการบริหารจดั การชน้ั เรียน 204
- การบริหารจดั การชนั้ เรียน และการจดั ทำข้อมลู สารสนเทศ 241
ด้านการพฒั นาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ
- การพฒั นาตนเอง
- การพฒั นาวชิ าชีพ
งานอ่ืนที่ได้รับมอบหมาย งานอืน่ ที่ไดร้ ับมอบหมาย
การประเมนิ การปฏบิ ตั ติ นในการรักษาวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพ

3

แบบบันทึกการประเมินตอนท่ี 1
การประเมนิ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลการปฏิบตั งิ าน สายงาน

การสอน

1. ด้านการจดั การเรียนการสอน

1.1 การสรา้ งและหรอื พัฒนาหลกั สูตร
ระดบั 5 มกี ารบันทึกผลการใชห้ ลักสตู ร เพื่อนำผลไปปรับปรุงและพัฒนาหลกั สูตร

4

หลักสูตรสถานศกึ ษา
โรงเรยี นจะนะวิทยา
พุทธศักราช ๒๕๖๔
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ
ระดับมธั ยมศึกษา

สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๑๖
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

5

บนั ทกึ ขอ้ ความ 28 เมษายน ๒๕๖4
สว่ นราชการ โรงเรยี นจะนะวทิ ยา
ที่ วนั ท่ี
เรอ่ื ง ปรับปรุงหลักสูตร กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ

เรียน ผ้อู ำนวยการโรงเรียนจะนะวทิ ยา

ด้วยข้าพเจ้านางสาวอินอาม เจ๊ะดอเล๊าะ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ได้มีการประชุมวางแผน
และปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะตามหลักสูตรใหม่แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พ.ศ. ๒๕๕๑ ณ โรงเรียนจะนะวทิ ยา อำเภอจะนะ จงั หวัดสงขลา นน้ั

ในการน้ี ขา้ พเจ้า จงึ ขอนำส่งหลักสตู รท่ีได้ปรบั ปรงุ แก้ไขแล้ว เพอ่ื ขออนุมัตกิ ารใช้หลกั สูตรดงั เอกสารทแ่ี นบ
เพือ่ ใชใ้ นการจดั การเรียนการสอนต่อไป

จงึ เรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ

ลงชอื่ ......................................... ลงช่อื .........................................
(นางสาวอนิ อาม เจะ๊ ดอเลา๊ ะ) (นางอาภาภรณ์ ประยูรช่วย)
หวั หนา้ กลุม่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ฝ่ายบริหารวชิ าการ

ความเห็นผู้อำนวยการ
............................................................................................................................. ...............................................................
................................................................................................................................. ......................

ลงชือ่ .........................................
( อดุ ม สขุ มี )

ผู้อำนวยการโรงเรยี นจะนะวิทยา

6

กรอบสาระการเรียนร้ศู ิลปะ
บทนำ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจินตนาการ
ทางศลิ ปะ ชน่ื ชมความงาม มสี ุนทรยี ภาพ ความมีคณุ ค่า ซ่งึ มผี ลตอ่ คุณภาพชวี ติ มนษุ ย์ กจิ กรรมทางศิลปะช่วยพัฒนา
ผู้เรียนท้ังด้านรา่ งกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจน การนำไปสู่การพัฒนาสิ่งแวดล้อม ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนมี
ความเชื่อมนั่ ในตนเอง อันเปน็ พื้นฐาน ในการศกึ ษาต่อหรือประกอบอาชีพได้

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ม่งุ พฒั นาผเู้ รยี นให้เปน็ คนดี มปี ัญญา มีความสุข
มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้สามารถ
อยูร่ ่วมกับผู้อ่นื ในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสุข ในฐานะเปน็ พลเมอื งไทยและพลเมืองโลก คอื รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซือ่ สัตย์
สจุ รติ มีวินยั ใฝเ่ รยี นรู้ อย่อู ย่างพอเพียง มงุ่ ม่ันในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจติ สาธารณะในการพฒั นา เพ่ือให้
ผเู้ รยี นเกดิ คณุ ลกั ษณะดังกล่าวนอกจากจะสอดแทรกในการเรยี นรู้แต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรู้แลว้ ยังไดก้ ำหนดไว้ในกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ศิลปะมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรูค้ วามเข้าใจ มีทักษะวิธีการทางศิลปะเกิดความซาบซึ้งในคุณค่าของ
ศลิ ปะ เปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นแสดงออกอย่างอิสระในศลิ ปะแขนงตา่ ง ๆ ประกอบด้วยสาระสำคญั คือ

• ทศั นศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบศิลป์ ทัศนธาตุ สร้างและนำเสนอผลงาน ทางทัศนศิลป์จาก
จินตนาการ โดยสามารถใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสม รวมทั้งสามารถใช้เทคนิค วิธีการของศิลปินในการสร้างงานได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ วิเคราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณค์ ณุ คา่ งานทัศนศิลป์เข้าใจความสมั พันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวตั ิศาสตร์ และ
วัฒนธรรม เห็นคุณค่างานศิลปะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ชื่นชม
ประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวนั

• ดนตรี มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบดนตรีแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์
วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ทางดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เข้าใจ
ความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าดนตรี ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล ร้องเพลง และเล่นดนตรี ในรูปแบบต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี
แสดงความรสู้ ึกท่ีมีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับประเพณีวัฒนธรรม และเหตุการณ์ใน
ประวตั ิศาสตร์

• นาฏศลิ ป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบนาฏศิลป์ แสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ ใช้ศัพท์
เบอ้ื งต้นทางนาฏศลิ ป์ วิเคราะห์วิพากษ์ วจิ ารณ์คณุ คา่ นาฏศลิ ป์ ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคดิ อยา่ งอสิ ระ สร้างสรรค์การ
เคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ ประยุกต์ใช้นาฏศิลป์ ในชีวิตประจำวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์กับ
ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และ
สากล

7

ธรรมชาติ / ลกั ษณะเฉพาะ กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะ

การเรียนรู้ศิลปะ มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ความเข้าใจ การคิดที่เป็นเหตุเป็นผลถึง วิธีการทางศิลปะ
ความเป็นมาของรูปแบบ ภูมิปัญญาท้องถิ่นและรากฐานทางวัฒนธรรม ค้นหาว่าผลงานศิลปะ สื่อความหมายต่อตนเอง
คน้ หาศกั ยภาพ ความสนใจส่วนตัว ฝึกการเรยี นรู้ การสังเกตที่ละเอียดอ่อน อันนำไปสคู่ วามรกั เห็นคณุ ค่าและเกิดความ
ซาบซึ้งในคุณค่าของศิลปะและสิ่งรอบตัว พัฒนาเจตคติ สมาธิ รสนิยมส่วนตัว มีทักษะกระบวนการ วิธีการแสดงออก
การคิดสร้างสรรค์ ส่งเสริมให้ผู้เรียนตระหนักถึงบทบาทศิลปกรรม เป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการส่งเสริมให้มี
ความคิดวัฒนธรรมอื่น พิจารณาว่าผู้คนในวัฒนธรรมของตน มีปฏิกิริยาตอบสนองต่องานศิลปะ ช่วยให้มีมุมมองและ
เข้าใจโลกทัศน์กว้างไกล ช่วยเสริมความรู้ ความเข้าใจ มโนทัศน์ด้านอื่นสะท้อนให้เห็นมุมมองของชีวิต สภาพเศรษฐกจิ
สังคม การเมือง การปกครองและความเชื่อ ความศรัทธาทางศาสนา ด้วยลักษณะธรรมชาติของกลุ่มสาระการเรียนรู้
ศิลปะ การเรียนเทคนิค วิธีการทำงาน ตลอดจนการเปิดโอกาสให้แสดงออกอย่างอิสระ ทำให้ผู้เรียนได้รับการส่งเสริม
สนบั สนนุ ให้คดิ รเิ ร่มิ สร้างสรรค์ ดดั แปลง จินตนาการ มีสนุ ทรียภาพ และเห็นคุณคา่ ของศลิ ปวฒั นธรรมไทยและสากล

กลุม่ สาระการเรยี นร้ศู ิลปะเสริมสรา้ งใหช้ วี ติ มนษุ ย์เปล่ยี นแปลงไปทางที่ดขี นึ้ ชว่ ยใหม้ ีจติ ใจทง่ี ดงามสมาธทิ ่แี น่วแน่
สุขกายและสุขภาพจิต มีความสมดุลย์ เป็นรากฐานของการพัฒนาชีวิตที่สมบรูณ์เป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตของ
มนุษย์ชาตสิ ร้างงานและสง่ ผลต่อการยกระดับคณุ ภาพชวี ิตของสงั คมโดยรวม

วสิ ยั ทศั น์ หลกั การ จดุ หมายของหลักสตู ร

วิสยั ทัศน์

การเรียนรู้ศิลปะ มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ความเข้าใจ การคิดที่เป็นเหตุเป็นผลถึง วิธีการทางศิลปะ
ความเป็นมาของรูปแบบ ภูมิปัญญาท้องถิ่นและรากฐานทางวัฒนธรรม ค้นหาว่าผลงานศิลปะ สื่อความหมายต่อตนเอง
คน้ หาศักยภาพ ความสนใจสว่ นตัว ฝกึ การเรยี นรู้ การสงั เกตทลี่ ะเอยี ดอ่อน อันนำไปสคู่ วามรัก เห็นคุณค่าและเกิดความ
ซาบซึ้งในคุณค่าของศิลปะและสิ่งรอบตัว พัฒนาเจตคติ สมาธิ รสนิยมส่วนตัว มีทักษะกระบวนการ วิธีการแสดงออก
การคิดสร้างสรรค์ ส่งเสริมให้ผู้เรียนตระหนักถึงบทบาทศิลปกรรม เป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการส่งเสริมให้มี
ความคิดวัฒนธรรมอื่น พิจารณาว่าผู้คนในวัฒนธรรมของตน มีปฏิกิริยาตอบสนองต่องานศิลปะ ช่วยให้มีมุมมองและ
เข้าใจโลกทัศน์กว้างไกล ช่วยเสริมความรู้ ความเข้าใจ มโนทัศน์ด้านอื่นสะท้อนให้เห็นมุมมองของชีวิต สภาพเศรษฐกิจ
สังคม การเมือง การปกครองและความเชื่อ ความศรัทธาทางศาสนา ด้วยลักษณะธรรมชาติของกลุ่มสาระการเรียนรู้
ศิลปะ การเรียนเทคนิค วิธีการทำงาน ตลอดจนการเปิดโอกาสให้แสดงออกอย่างอิสระ ทำให้ผู้เรียนได้รับการส่งเสริม
สนับสนุนให้คิดริเริ่ม สร้างสรรค์ ดัดแปลง จินตนาการ มีสุนทรียภาพ และเห็นคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมไทยและ
สากล

กล่มุ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะเสรมิ สรา้ งให้ชีวติ มนุษย์เปล่ยี นแปลงไปทางทด่ี ีข้ึน ช่วยให้มจี ติ ใจท่ีงดงามสมาธิท่ีแน่ว
แน่ สุขกายและสุขภาพจิต มีความสมดุล เป็นรากฐานของการพัฒนาชีวิตที่สมบรูณ์เป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตของ
มนษุ ย์ชาตสิ ร้างงานและสง่ ผลตอ่ การยกระดับคุณภาพชวี ติ ของสังคมโดยรวม

8

หลักการ
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน มีหลกั การที่สำคัญ ดงั น้ี
๑. เปน็ หลักสตู รการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจดุ หมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมาย

สำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรม บนพื้นฐาน ของความเป็นไทยควบคู่กับความ
เป็นสากล

๒. เปน็ หลักสตู รการศึกษาเพื่อปวงชน ท่ปี ระชาชนทุกคนมโี อกาสไดร้ ับการศึกษาอยา่ งเสมอภาค และมีคุณภาพ
๓. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับ
สภาพและความตอ้ งการของทอ้ งถน่ิ
๔. เปน็ หลักสตู รการศึกษาท่ีมีโครงสร้างยืดหยนุ่ ท้งั ด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัด การเรยี นรู้
๕. เปน็ หลักสูตรการศึกษาทเ่ี น้นผ้เู รยี นเป็นสำคญั
๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กล่มุ เป้าหมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์

จดุ หมาย

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข
มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน ดงั น้ี

๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม
หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทตี่ นนับถือ ยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

๒. มีความรู้ ความสามารถในการส่อื สาร การคดิ การแก้ปัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทักษะชวี ิต
๓. มสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ที่ดี มสี ขุ นสิ ัย และรักการออกกำลงั กาย
๔. มคี วามรักชาติ มีจติ สำนกึ ในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถชี วี ติ และ การปกครอง
ตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข
๕. มจี ิตสำนึกในการอนุรกั ษ์วฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย การอนรุ ักษแ์ ละพัฒนาสงิ่ แวดลอ้ ม มจี ิตสาธารณะ
ทีม่ ุง่ ทำประโยชน์และสร้างสิ่งท่ดี ีงามในสงั คม และอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมอย่างมคี วามสุข

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตาม
มาตรฐานทก่ี ำหนด ซ่ึงจะช่วยใหผ้ ู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ดังน้ี

9

สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน

หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน มุ่งให้ผู้เรยี นเกิดสมรรถนะสำคญั ๕ ประการ ดงั นี้
๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอด
ความคดิ ความรู้ความเข้าใจ ความรสู้ กึ และทศั นะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็น
ประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือก
รับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดย
คำนึงถึงผลกระทบทม่ี ตี อ่ ตนเองและสงั คม
๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
เก่ยี วกบั ตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลง
ของเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความร้มู าใช้ในการป้องกันและแก้ไขปญั หา และมกี ารตัดสินใจท่ี
มีประสทิ ธภิ าพโดยคำนึงถึงผลกระทบทเี่ กิดขึน้ ตอ่ ตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนิน
ชีวิตประจำวัน การเรียนรดู้ ้วยตนเอง การเรยี นร้อู ย่างตอ่ เน่ือง การทำงาน และการอย่รู ว่ มกนั ในสังคมด้วยการสร้างเสริม
ความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการ
เปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและ
ผู้อนื่
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะ
กระบวนการทางเทคโนโลยี เพอื่ การพัฒนาตนเองและสังคม ในดา้ นการเรยี นรู้ การสอื่ สาร การทำงาน การแก้ปัญหาอย่าง
สร้างสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม

10

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่
รว่ มกบั ผู้อน่ื ในสังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี

๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
๒. ซ่อื สัตย์สจุ รติ
๓. มีวนิ ยั
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อยู่อยา่ งพอเพยี ง
๖. มุ่งมั่นในการทำงาน
๗. รกั ความเป็นไทย
๘. มจี ติ สาธารณะ

11

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้

สาระที่ ๑ ทัศนศลิ ป์
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรคง์ านทัศนศิลปต์ ามจินตนาการ และความคดิ สรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์

วจิ ารณ์คุณค่างานทัศนศลิ ป์ ถา่ ยทอดความรู้สึก ความคดิ ตอ่ งานศิลปะอย่างอิสระ
ชน่ื ชม และประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวัน
มาตรฐาน ศ ๑.๒ เขา้ ใจความสมั พันธร์ ะหว่างทัศนศลิ ป์ ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างาน
ทศั นศิลปท์ ่เี ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ ภมู ิปญั ญาไทย และสากล

สาระที่ ๒ ดนตรี
มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอด

ความรู้สกึ ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชืน่ ชม และประยุกตใ์ ช้ ในชวี ิต ประจำวัน
มาตรฐาน ศ ๒.๒ เขา้ ใจความสัมพันธร์ ะหวา่ งดนตรี ประวัตศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคณุ คา่ ของดนตรี

ที่ เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล

สาระท่ี ๓ นาฏศิลป์
มาตรฐาน ศ ๓.๑ เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ปอ์ ยา่ งสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วิจารณ์คณุ คา่

นาฏศิลป์ถา่ ยทอดความรู้สกึ ความคิดอย่างอสิ ระ ชนื่ ชม และประยุกตใ์ ช้ ในชีวิตประจำวัน
มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของนาฏศิลป์ที่เป็น
มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน ภูมิปัญญาไทยและสากล

12

คณุ ภาพผ้เู รยี น

จบชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓
• รู้และเข้าใจเรื่องทัศนธาตุและหลักการออกแบบและเทคนิคที่หลากหลายในการสร้างงานทัศนศิลป์ ๒ มิติ
และ ๓ มิติ เพื่อสื่อความหมายและเรื่องราวต่าง ๆ ได้อย่างมีคุณภาพ วิเคราะห์รูปแบบเนื้อหาและประเมินคุณค่างาน
ทัศนศิลป์ของตนเองและผู้อื่น สามารถเลือกงานทัศนศิลป์โดยใช้เกณฑ์ที่กำหนดขึ้นอย่างเหมาะสม สามารถออกแบบ
รูปภาพ สัญลกั ษณ์ กราฟกิ ในการนำเสนอขอ้ มลู และมคี วามรู้ ทักษะทีจ่ ำเปน็ ดา้ นอาชีพทเ่ี กยี่ วข้องกันกบั งานทศั นศลิ ป์
• รู้และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของงานทัศนศิลป์ของชาติและท้องถิ่น แต่ละยุคสมัย เห็น
คุณคา่ งานทศั นศลิ ป์ทสี่ ะท้อนวฒั นธรรมและสามารถเปรยี บเทยี บงานทัศนศิลป์ ท่ีมาจากยุคสมัยและวฒั นธรรมต่าง ๆ
• รู้และเข้าใจถึงความแตกต่างทางด้านเสียง องค์ประกอบ อารมณ์ ความรู้สึก ของบทเพลงจากวัฒนธรรม
ต่าง ๆ มีทักษะในการร้อง บรรเลงเครื่องดนตรี ทั้งเดี่ยวและเป็นวงโดยเน้นเทคนิคการร้องบรรเลงอย่างมีคุณภาพ มี
ทักษะในการสร้างสรรค์บทเพลงอย่างง่าย อ่านเขียนโน้ต ในบันไดเสียงที่มีเครื่องหมาย แปลงเสียงเบื้องต้นได้ รู้และ
เข้าใจถงึ ปจั จัยที่มีผลต่อรปู แบบของผลงานทางดนตรี องคป์ ระกอบของผลงานด้านดนตรีกับศลิ ปะแขนงอนื่ แสดงความ
คิดเห็นและบรรยายอารมณค์ วามร้สู กึ ทมี่ ตี ่อบทเพลง สามารถนำเสนอบทเพลงทีช่ ่ืนชอบได้อย่างมีเหตุผล มีทกั ษะในการ
ประเมินคุณภาพของบทเพลงและการแสดงดนตรี รู้ถึงอาชีพต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับดนตรีและบทบาทของดนตรีในธรุ กิจ
บันเทิง เขา้ ใจถงึ อทิ ธพิ ลของดนตรที ี่มีต่อบคุ คลและสังคม
• รู้และเข้าใจที่มา ความสัมพันธ์ อิทธิพลและบทบาทของดนตรีแต่ละวัฒนธรรมในยคุ สมัยต่าง ๆ วิเคราะห์ปัจจยั
ท่ีทำให้งานดนตรีได้รับการยอมรับ
• รู้และเข้าใจการใช้นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครในการแปลความและสื่อสารผ่านการแสดง รวมท้ัง
พัฒนารูปแบบการแสดง สามารถใช้เกณฑ์ง่าย ๆ ในการพิจารณาคณุ ภาพ การแสดง วิจารณ์เปรียบเทยี บงานนาฏศลิ ป์
โดยใช้ความรู้เร่ืององค์ประกอบทางนาฏศิลป์ รว่ มจดั การแสดง นำแนวคดิ ของการแสดงไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน
• รู้และเข้าใจประเภทละครไทยในแต่ละยุคสมัย ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ของนาฏศิลป์ไทย
นาฏศิลป์พืน้ บา้ น ละครไทย และละครพ้ืนบ้าน เปรยี บเทยี บลักษณะเฉพาะ ของการแสดงนาฏศลิ ป์จากวัฒนธรรมตา่ ง ๆ
รวมทั้งสามารถออกแบบและสร้างสรรค์อุปกรณ์ เครื่องแต่งกายในการแสดงนาฏศิลป์และละคร มีความเข้าใจ
ความสำคัญ บทบาทของนาฏศิลป์ และละครในชวี ิตประจำวัน

13

จบชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖

• รู้และเข้าใจเกี่ยวกับทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมาย สามารถใช้ศัพท์ทางทัศนศิลป์
อธิบายจุดประสงค์และเนื้อหาของงานทัศนศิลป์ มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์และกระบวนการที่สูงขึ้นใน
การสร้างงานทัศนศลิ ป์ วิเคราะหเ์ นือ้ หาและแนวคดิ เทคนคิ วิธกี าร การแสดงออกของศิลปินท้ังไทยและสากล ตลอดจน
การใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ในการออกแบบสร้างสรรค์งานทเ่ี หมาะสมกับโอกาส สถานที่ รวมทัง้ แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับ
สภาพสังคมด้วยภาพล้อเลียนหรือการ์ตูน ตลอดจนประเมินและวิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ด้วยหลักทฤษฎีวิจารณ์
ศลิ ปะ

• วเิ คราะห์เปรยี บเทียบงานทัศนศิลป์ในรูปแบบตะวนั ออกและรูปแบบตะวันตก เข้าใจอิทธิพลของมรดกทาง
วฒั นธรรมภมู ิปญั ญาระหว่างประเทศที่มผี ลตอ่ การสรา้ งสรรค์ งานทศั นศิลป์ในสังคม

• ร้แู ละเขา้ ใจรูปแบบบทเพลงและวงดนตรีแตล่ ะประเภท และจำแนกรูปแบบ ของวงดนตรีท้ังไทยและสากล
เข้าใจอิทธิพลของวัฒนธรรมต่อการสร้างสรรค์ดนตรี เปรียบเทียบอารมณ์และความรู้สึกที่ได้รับจากดนตรีที่มาจาก
วัฒนธรรมต่างกัน อ่าน เขียน โน้ตดนตรีไทยและสากล ในอัตราจังหวะต่าง ๆ มีทักษะในการร้องเพลงหรือเล่นดนตรี
เดี่ยวและรวมวงโดยเน้นเทคนิค การแสดงออกและคุณภาพของการแสดง สร้างเกณฑ์สำหรับประเมินคุณภาพการ
ประพันธ์ การเลน่ ดนตรีของตนเองและผอู้ น่ื ไดอ้ ย่างเหมาะสม สามารถนำดนตรีไประยุกตใ์ ช้ในงานอ่ืน ๆ

• วิเคราะห์ เปรียบเทียบรูปแบบ ลักษณะเด่นของดนตรีไทยและสากลในวัฒนธรรมต่าง ๆ เข้าใจบทบาทของ
ดนตรีที่สะท้อนแนวความคิดและค่านิยมของคนในสังคม สถานะทางสังคม ของนักดนตรีในวัฒนธรรมต่าง ๆ สร้าง
แนวทางและมสี ว่ นร่วมในการสง่ เสริมและอนุรกั ษด์ นตรี

• มีทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ มีความคิดริเริ่มในการแสดงนาฏศิลป์เป็นคู่ และเป็นหมู่
สร้างสรรค์ละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ สามารถวิเคราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิ ลป์และละครที่ต้องการสื่อ
ความหมายในการแสดง อทิ ธพิ ลของเครื่องแตง่ กาย แสง สี เสียง ฉาก อุปกรณ์ และสถานทีท่ ีม่ ีผลตอ่ การแสดง วิจารณ์
การแสดงนาฏศิลป์และละคร พัฒนาและใช้เกณฑ์การประเมินในการประเมินการแสดง และสามารถวิเคราะห์ท่าทาง
การเคลือ่ นไหวของผคู้ นในชีวิตประจำวนั และนำมาประยุกต์ใชใ้ นการแสดง

• เขา้ ใจววิ ัฒนาการของนาฏศิลปแ์ ละการแสดงละครไทย และบทบาทของบุคคลสำคัญ ในวงการนาฏศลิ ปะ
และการละครของประเทศไทยในยคุ สมัยต่าง ๆ สามารถเปรียบเทยี บ การนำการแสดงไปใชใ้ นโอกาสตา่ ง ๆ และเสนอ
แนวคดิ ในการอนุรักษ์นาฏศลิ ป์ไทย

14

ตัวช้ีวัดและสาระการเรยี นรู้

สาระที่ ๑ ทศั นศิลป์
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างาน
ทศั นศลิ ป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ ต่องานศิลปะอยา่ งอิสระชน่ื ชม และประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั

ช้นั ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้
ม.๑ ๑. บรรยายความแตกต่างและความ • ความแตกตา่ งและความคลา้ ยคลึงกันของทัศนธาตใุ นงาน
ทศั นศลิ ป์ และสิ่งแวดลอ้ ม
คลา้ ยคลึงกนั ของงานทัศนศลิ ป์

และสิง่ แวดล้อมโดยใช้ความรู้เร่อื งทศั นธาตุ

๒. ระบุ และบรรยายหลักการออกแบบ • ความเป็นเอกภาพ ความกลมกลนื ความสมดลุ
งานทัศนศลิ ป์ โดยเน้นความเป็นเอกภาพ

ความกลมกลนื และความสมดุล

๓. วาดภาพทัศนยี ภาพแสดงใหเ้ ห็น • หลกั การวาดภาพแสดงทศั นยี ภาพ
ระยะไกลใกล้ เป็น ๓ มติ ิ

๔. รวบรวมงานป้นั หรือสอื่ ผสมมาสร้าง • เอกภาพความกลมกลนื ของเรอื่ งราวในงานป้ันหรืองาน
เปน็ เรื่องราว ๓ มิติโดยเนน้ ความเปน็ เอกภาพ ส่ือผสม
ความกลมกลืน และการส่อื ถงึ เรื่องราว

ของงาน

๕. ออกแบบรปู ภาพ สญั ลักษณ์ • การออกแบบรปู ภาพ สญั ลกั ษณ์ หรืองานกราฟิก
หรือกราฟกิ อืน่ ๆ ในการนำเสนอ

ความคดิ และข้อมลู

๖. ประเมินงานทัศนศิลป์ และบรรยาย • การประเมินงานทัศนศิลป์
ถงึ วธิ ีการปรบั ปรงุ งานของตนเองและ

ผอู้ ื่นโดยใชเ้ กณฑท์ ีก่ ำหนดให้

ม.๒ ๑. อภปิ รายเกี่ยวกบั ทัศนธาตุในด้านรูปแบบ • รูปแบบของทศั นธาตุและแนวคิดในงานทัศนศิลป์
และแนวคิดของงานทัศนศิลป์ท่ีเลอื กมา

๒. บรรยายเกยี่ วกับความเหมอื นและ • ความเหมอื นและความแตกต่างของรูปแบบการใช้วัสดุ
ความแตกต่างของรปู แบบการใชว้ ัสดุ อุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ของศิลปิน
อปุ กรณ์ในงานทัศนศลิ ป์ของศิลปนิ

15

ช้นั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้

ม.๒ ๓. วาดภาพด้วยเทคนคิ ท่ีหลากหลาย • เทคนคิ ในการวาดภาพส่ือความหมาย

ในการสอื่ ความหมายและเร่ืองราวตา่ ง ๆ

๔. สรา้ งเกณฑ์ในการประเมิน • การประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์
และวจิ ารณง์ านทัศนศลิ ป์

๕. นำผลการวิจารณ์ไปปรบั ปรงุ แก้ไข • การพฒั นางานทศั นศลิ ป์
และพฒั นางาน • การจัดทำแฟ้มสะสมงานทศั นศลิ ป์

๖. วาดภาพแสดงบคุ ลิกลักษณะ • การวาดภาพถ่ายทอดบุคลกิ ลักษณะ ของตัวละคร
ของตัวละคร

๗. บรรยายวิธีการใชง้ านทศั นศลิ ป์ • งานทัศนศลิ ป์ในการโฆษณา
ในการโฆษณาเพ่ือโน้มน้าวใจ

และนำเสนอตัวอย่างประกอบ

ม.๓ ๑. บรรยายสิ่งแวดลอ้ ม และงานทัศนศิลป์ • ทัศนธาตุ หลกั การออกแบบในสง่ิ แวดล้อม
ท่เี ลือกมาโดยใชค้ วามรเู้ ร่ืองทัศนธาตุ และงานทัศนศลิ ป์
และหลกั การออกแบบ

๒. ระบุ และบรรยายเทคนคิ วธิ ีการ • เทคนิควิธกี ารของศิลปนิ ในการสรา้ งงานทัศนศลิ ป์
ของศลิ ปนิ ในการสร้างงาน ทัศนศลิ ป์

๓. วิเคราะห์ และบรรยายวิธกี ารใช้ ทศั น • วธิ ีการใชท้ ัศนธาตุและหลกั การออกแบบในการสรา้ ง
ธาตุ และหลักการออกแบบในการสร้าง งานทัศนศลิ ป์
งานทัศนศิลป์ของตนเอง

ใหม้ คี ุณภาพ

๔. มที กั ษะในการสรา้ งงานทศั นศิลป์ • การสร้างงานทัศนศลิ ปท์ ้ังไทยและสากล
อย่างน้อย ๓ ประเภท

๕. มีทกั ษะในการผสมผสานวสั ดตุ ่าง ๆ • การใชห้ ลักการออกแบบในการสรา้ งงานสื่อผสม
ในการสรา้ งงานทศั นศิลป์โดยใช้หลักการ

ออกแบบ

๖. สรา้ งงานทัศนศิลป์ ทง้ั ๒ มติ ิ และ • การสร้างงานทัศนศลิ ป์แบบ ๒ มิติ และ ๓ มติ ิ เพื่อ
๓ มิติ เพอื่ ถา่ ยทอดประสบการณแ์ ละ ถา่ ยทอดประสบการณ์ และจินตนาการ
จนิ ตนาการ

16

ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรู้

ม.๓ ๗. สร้างสรรคง์ านทัศนศลิ ปส์ ื่อความหมาย • การประยุกตใ์ ช้ทัศนธาตุและหลกั การออกแบบสรา้ ง
เปน็ เร่อื งราว โดยประยกุ ต์ใชท้ ศั นธาตุ งานทัศนศลิ ป์
และหลกั การออกแบบ

๘. วเิ คราะห์และอภปิ รายรูปแบบ เนอ้ื หา • การวิเคราะหร์ ูปแบบ เนอื้ หา และคณุ ค่า ในงาน
และคณุ คา่ ในงานทัศนศิลป์ ของ ทัศนศิลป์
ตนเอง และผู้อืน่ หรือของศลิ ปนิ

๙. สร้างสรรค์งานทัศนศิลปเ์ พื่อบรรยาย • การใช้เทคนิค วธิ กี ารทีห่ ลากหลายสรา้ งงานทัศนศิลป์
เหตุการณ์ต่าง ๆ โดยใช้เทคนิค เพอื่ ส่ือความหมาย
ทหี่ ลากหลาย

๑๐.ระบุอาชพี ท่เี กีย่ วข้องกบั งานทศั นศิลป์ • การประกอบอาชีพทางทัศนศิลป์
และทกั ษะท่ีจำเปน็ ในการประกอบอาชีพ

น้นั ๆ

๑๑.เลอื กงานทัศนศลิ ปโ์ ดยใช้เกณฑ์ท่ี • การจดั นทิ รรศการ
กำหนดขึ้นอยา่ งเหมาะสม และนำไป

จดั นิทรรศการ

ม.๔- ๖ ๑. วิเคราะหก์ ารใชท้ ัศนธาตุ และหลักการ • ทศั นธาตแุ ละหลักการออกแบบ
ออกแบบในการสอื่ ความหมายในรปู แบบ

ต่าง ๆ

๒. บรรยายจดุ ประสงค์และเน้ือหาของ • ศัพท์ทางทัศนศิลป์
งานทัศนศิลป์ โดยใชศ้ ัพท์ทางทัศนศิลป์

๓. วิเคราะห์การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ และ • วัสดุ อปุ กรณ์ และเทคนิคของศลิ ปิน ในการ
เทคนคิ ของศิลปินในการแสดงออกทาง แสดงออกทางทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์

๔. มที ักษะและเทคนิคในการใช้วสั ดุ • เทคนคิ วสั ดุ อุปกรณ์ กระบวนการในการสรา้ งงาน
อุปกรณ์ และกระบวนการทีส่ ูงขนึ้ ทศั นศิลป์
ในการสรา้ งงานทศั นศิลป์
๕. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ด้วยเทคโนโลยี • หลกั การออกแบบและการจัดองคป์ ระกอบศิลปด์ ้วย
ต่าง ๆ โดยเน้นหลกั การออกแบบและการ เทคโนโลยี
จัดองค์ประกอบศลิ ป์

17

ช้นั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง

ม.๔- ๖ ๖. ออกแบบงานทศั นศิลป์ได้เหมาะกับ • การออกแบบงานทัศนศิลป์
โอกาสและสถานท่ี

๗. วิเคราะหแ์ ละอธบิ ายจุดมุ่งหมาย • จดุ มุ่งหมายของศิลปินในการเลอื กใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์
ของศลิ ปินในการเลือกใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ เทคนิคและเนื้อหา ในการสร้างงานทศั นศิลป์
เทคนิคและเน้ือหา เพ่ือสรา้ งสรรคง์ าน

ทศั นศิลป์

๘. ประเมินและวจิ ารณง์ านทัศนศลิ ป์ • ทฤษฎกี ารวจิ ารณ์ศลิ ปะ
โดยใชท้ ฤษฎกี ารวจิ ารณ์ศลิ ปะ

๙. จดั กลมุ่ งานทัศนศิลป์เพ่ือสะท้อน • การจัดทำแฟ้มสะสมงานทัศนศิลป์
พฒั นาการและความกา้ วหน้าของตนเอง

๑๐.สร้างสรรคง์ านทัศนศลิ ปไ์ ทย สากล • การสรา้ งงานทัศนศิลปจ์ ากแนวคิดและวธิ ีการของ

โดยศึกษาจากแนวคิดและวิธีการ ศิลปนิ

สร้างงานของศลิ ปินท่ตี นชนื่ ชอบ

๑๑.วาดภาพ ระบายสเี ปน็ ภาพลอ้ เลียน • การวาดภาพล้อเลียนหรือภาพการต์ นู
หรือภาพการ์ตูนเพื่อแสดงความคิดเหน็

เกย่ี วกับสภาพสังคมในปจั จบุ ัน

.

18

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
มาตรฐาน ศ ๑.๒ เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหว่างทศั นศลิ ป์ ประวัตศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คณุ ค่า

งานทัศนศิลป์ทเ่ี ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น ภมู ปิ ญั ญาไทย และสากล

ชั้น ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้

ม.๑ ๑. ระบุ และบรรยายเกย่ี วกับลกั ษณะ รูปแบบ • ลักษณะ รูปแบบงานทศั นศิลป์ของชาตแิ ละท้องถิน่
งานทัศนศิลป์ของชาติและของท้องถนิ่ ตนเอง

จากอดตี จนถึงปจั จบุ นั

๒. ระบุ และเปรียบเทยี บงานทัศนศลิ ปข์ อง • งานทัศนศลิ ปภ์ าคตา่ ง ๆ ในประเทศไทย
ภาคตา่ ง ๆ ในประเทศไทย

๓. เปรยี บเทยี บความแตกต่างของจุดประสงค์ • ความแตกตา่ งของงานทัศนศิลป์ ในวัฒนธรรมไทย
ในการสร้างสรรคง์ านทศั นศิลป์ของวัฒนธรรม และสากล
ไทยและสากล

ม.๒ ๑. ระบุ และบรรยายเก่ียวกับวัฒนธรรมตา่ ง ๆ ท่ี • วฒั นธรรมท่สี ะทอ้ นในงานทัศนศิลป์ปจั จบุ ัน
สะทอ้ นถึงงานทศั นศิลปใ์ นปัจจบุ นั

๒. บรรยายถึงการเปลย่ี นแปลงของ • งานทศั นศลิ ป์ของไทยในแตล่ ะยุคสมยั

งานทศั นศลิ ป์ของไทยในแตล่ ะยคุ สมัยโดยเนน้

ถึงแนวคิดและเนอื้ หาของงาน

๓. เปรียบเทยี บแนวคดิ ในการออกแบบงาน • การออกแบบงานทัศนศลิ ปใ์ นวฒั นธรรมไทยและ
ทัศนศิลป์ที่มาจาก วัฒนธรรมไทยและสากล สากล

ม.๓ ๑. ศึกษาและอภิปรายเก่ียวกบั งานทัศนศลิ ป์ ท่ี • งานทัศนศิลป์กับการสะท้อนคณุ คา่ ของวัฒนธรรม
สะทอ้ นคณุ ค่าของวัฒนธรรม

๒. เปรียบเทยี บความแตกตา่ งของ • ความแตกต่างของงานทัศนศิลปใ์ นแต่ละยคุ สมัย
งานทัศนศลิ ป์ในแต่ละยุคสมยั ของวัฒนธรรมไทยและสากล
ของวฒั นธรรมไทยและสากล

ม. ๔- ๖ ๑. วิเคราะห์ และเปรยี บเทยี บงานทศั นศลิ ป์ใน • งานทศั นศลิ ป์รูปแบบตะวันออกและตะวันตก
รปู แบบตะวนั ออกและรูปแบบตะวันตก

๒. ระบงุ านทัศนศิลปข์ องศลิ ปนิ ทมี่ ีช่อื เสียง • งานทศั นศิลป์ของศิลปนิ ท่ีมีชอื่ เสียง
และบรรยายผลตอบรบั ของสังคม

19

ชน้ั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง
ม.๔- ๖ ๓. อภิปรายเก่ยี วกับอทิ ธพิ ลของวัฒนธรรม
• อิทธิพลของวัฒนธรรมระหว่างประเทศ ที่มีผลต่อ
ระหวา่ งประเทศท่ีมผี ลตอ่ งานทศั นศิลปใ์ น งานทัศนศิลป์
สังคม

20

สาระที่ ๒ ดนตรี
มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษว์ ิจารณค์ ณุ คา่ ดนตรี

ถ่ายทอดความร้สู ึก ความคดิ ตอ่ ดนตรีอย่างอสิ ระ ชน่ื ชม และประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจำวนั

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้

ม.๑ ๑. อา่ น เขยี น ร้องโน้ตไทย และโนต้ สากล • เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี

- โน้ตบทเพลงไทย อัตราจงั หวะสองชน้ั

- โนต้ สากล ในกญุ แจซอลและฟา ในบนั ไดเสียง

C Major

๒. เปรยี บเทียบเสยี งรอ้ งและเสยี ง • เสยี งรอ้ งและเสยี งของเครื่องดนตรี ในบทเพลงจาก

ของเคร่ืองดนตรที ่ีมาจากวัฒนธรรม วัฒนธรรมตา่ ง ๆ

ทต่ี ่างกนั - วิธกี ารขบั ร้อง

- เคร่ืองดนตรีทีใ่ ช้

๓. รอ้ งเพลงและใช้เครอื่ งดนตรีบรรเลง • การร้องและการบรรเลงเครื่องดนตรีประกอบการรอ้ ง
ประกอบการร้องเพลงด้วยบทเพลง - บทเพลงพืน้ บา้ น บทเพลงปลุกใจ
ท่ีหลากหลายรูปแบบ - บทเพลงไทยเดิม
- บทเพลงประสานเสยี ง ๒ แนว
๔. จัดประเภทของวงดนตรีไทยและ - บทเพลงรูปแบบ ABA
วงดนตรที มี่ าจากวัฒนธรรมต่าง ๆ - บทเพลงประกอบการเต้นรำ

๕. แสดงความคิดเหน็ ทีม่ ีต่ออารมณ์ของ • วงดนตรีพ้ืนเมือง
บทเพลงท่ีมคี วามเร็วของจงั หวะ • วงดนตรไี ทย
และความดัง - เบา แตกต่างกัน • วงดนตรีสากล
๖. เปรยี บเทยี บอารมณ์ ความรสู้ ึกในการ • การถ่ายทอดอารมณข์ องบทเพลง
ฟงั ดนตรีแตล่ ะประเภท
๗. นำเสนอตวั อย่างเพลงที่ตนเองชืน่ ชอบ - จังหวะกับอารมณ์เพลง
และอภิปรายลกั ษณะเดน่ ท่ีทำใหง้ านนั้น - ความดัง-เบากับอารมณเ์ พลง
น่าช่ืนชม - ความแตกตา่ งของอารมณเ์ พลง

• การนำเสนอบทเพลงท่ีตนสนใจ

21

๘. ใชเ้ กณฑส์ ำหรบั ประเมนิ คณุ ภาพ • การประเมนิ คุณภาพของบทเพลง
งานดนตรหี รือเพลงท่ีฟัง - คุณภาพดา้ นเนอื้ หา
- คณุ ภาพดา้ นเสียง
- คุณภาพดา้ นองคป์ ระกอบดนตรี

๙. ใชแ้ ละบำรุงรกั ษาเครื่องดนตรี • การใชแ้ ละบำรุงรักษาเคร่ืองดนตรขี องตน

อยา่ งระมดั ระวงั และรบั ผิดชอบ

ม.๒ ๑. เปรยี บเทยี บการใช้องคป์ ระกอบดนตรี • องคป์ ระกอบของดนตรีจากแหลง่ วัฒนธรรมต่าง ๆ

ทม่ี าจากวฒั นธรรมต่างกนั

๒. อา่ น เขยี นร้องโน้ตไทย และโน้ตสากลท่ี • เครอ่ื งหมายและสญั ลักษณ์ทางดนตรี

มเี คร่อื งหมายแปลงเสียง - โนต้ จากเพลงไทยอตั ราจงั หวะสองช้ัน

- โน้ตสากล (เครื่องหมายแปลงเสียง)

๓. ระบุปัจจัยสำคญั ท่ีมีอิทธพิ ลต่อการ • ปัจจยั ในการสร้างสรรคบ์ ทเพลง

สร้างสรรค์งานดนตรี - จินตนาการในการสรา้ งสรรคบ์ ทเพลง

- การถ่ายทอดเรื่องราวความคิด ในบทเพลง

๔. รอ้ งเพลง และเล่นดนตรเี ด่ียวและรวมวง • เทคนิคการรอ้ งและบรรเลงดนตรี

- การร้องและบรรเลงเด่ยี ว

- การร้องและบรรเลงเป็นวง

๕. บรรยายอารมณข์ องเพลงและความรสู้ ึกที่ • การบรรยายอารมณ์และความรสู้ ึกในบทเพลง

มตี ่อบทเพลงที่ฟัง

.๖. ประเมนิ พัฒนาการทักษะทางดนตรี • การประเมนิ ความสามารถทางดนตรี

ของตนเอง หลังจากการฝึกปฏิบตั ิ - ความถกู ต้องในการบรรเลง

- ความแมน่ ยำในการอา่ นเคร่ืองหมายและสัญลักษณ์

- การควบคุมคุณภาพเสียงในการรอ้ งและบรรเลง
๗. ระบงุ านอาชีพต่าง ๆ ทเ่ี กี่ยวข้องกบั • อาชพี ทางด้านดนตรี

ดนตรแี ละบทบาทของดนตรีในธรุ กจิ บนั เทิง • บทบาทของดนตรีในธรุ กิจบนั เทิง

22

ช้นั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้
ม.๓ ๑. เปรยี บเทยี บองค์ประกอบท่ใี ชใ้ นงาน
• การเปรยี บเทียบองคป์ ระกอบในงานศลิ ปะ
ดนตรแี ละงานศิลปะอน่ื - การใช้องค์ประกอบในการสร้างสรรค์งานดนตรี
และศลิ ปะแขนงอ่ืน
๒. รอ้ งเพลง เลน่ ดนตรีเด่ียว และรวมวง - เทคนคิ ทใี่ ช้ในการสร้างสรรค์งานดนตรีและศลิ ปะ
โดยเนน้ เทคนคิ การร้อง การเลน่ การ แขนงอื่น
แสดงออก และคณุ ภาพสยี ง
๓. แตง่ เพลงสนั้ ๆ จังหวะง่าย ๆ • เทคนิคและการแสดงออกในการขบั ร้องและบรรเลง
ดนตรเี ดยี่ วและรวมวง
๔. อธบิ ายเหตุผลในการเลือกใช้
องคป์ ระกอบดนตรใี นการสรา้ งสรรค์ • อัตราจังหวะ ๒ และ ๔ ๔
งานดนตรีของตนเอง ๔๔

• การประพันธเ์ พลงในอัตราจังหวะ ๒ และ ๔


• การเลือกใช้องคป์ ระกอบในการสร้างสรรคบ์ ทเพลง

- การเลอื กจงั หวะเพือ่ สรา้ งสรรค์ บทเพลง

- การเรียบเรยี งทำนองเพลง

๕. เปรยี บเทยี บความแตกตา่ งระหวา่ ง • การเปรียบเทียบความแตกต่างของบทเพลง
งานดนตรขี องตนเองและผู้อืน่ - สำเนียง
- อตั ราจังหวะ
๖. อธบิ ายเก่ียวกับอิทธิพลของดนตรี - รูปแบบบทเพลง
ที่มีต่อบุคคลและสังคม - การประสานเสยี ง
- เคร่อื งดนตรีที่บรรเลง

• อิทธพิ ลของดนตรี
- อทิ ธพิ ลของดนตรตี อ่ บุคคล
- อิทธิพลของดนตรตี ่อสังคม

23

ชน้ั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้
ม.๓ ๗. นำเสนอหรอื จดั การแสดงดนตรี
• การจดั การแสดงดนตรใี นวาระต่าง ๆ
ท่ีเหมาะสมโดยการบูรณาการกบั สาระ
การเรียนรู้อ่ืนในกล่มุ ศลิ ปะ - การเลือกวงดนตรี

ม.๔-๖ ๑. เปรียบเทยี บรปู แบบของบทเพลงและ - การเลอื กบทเพลง
วงดนตรแี ต่ละประเภท
๒. จำแนกประเภทและรูปแบบของ - การเลอื กและจัดเตรยี มสถานท่ี
วงดนตรที ัง้ ไทยและสากล
๓. อธิบายเหตผุ ลทค่ี นต่างวัฒนธรรม - การเตรยี มบุคลากร
สรา้ งสรรค์งานดนตรแี ตกตา่ งกนั
- การเตรยี มอปุ กรณ์เคร่ืองมือ
๔. อ่าน เขยี น โน้ตดนตรีไทยและสากล
ในอัตราจังหวะต่าง ๆ - การจัดรายการแสดง

• การจัดวงดนตรี
- การใชเ้ ครอื่ งดนตรใี นวงดนตรีประเภทต่างๆ
- บทเพลงท่บี รรเลงโดยวงดนตรปี ระเภทตา่ งๆ

• ประเภทของวงดนตรี
- ประเภทของวงดนตรีไทย
- ประเภทของวงดนตรีสากล

• ปัจจัยในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานดนตรี ในแตล่ ะวฒั นธรรม
- ความเชอื่ กับการสรา้ งสรรค์งานดนตรี
- ศาสนากบั การสรา้ งสรรค์งานดนตรี
- วถิ ชี วี ติ กับการสร้างสรรค์งานดนตรี
- เทคโนโลยกี บั การสรา้ งสรรคง์ านดนตรี

• เคร่ืองหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี
- เครื่องหมายกำหนดอตั ราจงั หวะ
- เครอ่ื งหมายกำหนดบนั ไดเสียง

• โน้ตบทเพลงไทยอัตราจงั หวะ ๒ ชัน้ และ ๓ ชั้น

24

ชน้ั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
• เทคนิค และ การถ่ายทอดอารมณเ์ พลงดว้ ยการรอ้ ง
ม.๔-๖ ๕. ร้องเพลง หรือเลน่ ดนตรีเด่ียวและ บรรเลงเครอ่ื งดนตรีเดยี่ วและรวมวง
รวมวงโดยเนน้ เทคนคิ การแสดงออก
และคุณภาพของการแสดง • เกณฑ์ในการประเมนิ ผลงานดนตรี
๖. สร้างเกณฑ์สำหรับประเมินคุณภาพ - คณุ ภาพของผลงานทางดนตรี
การประพันธแ์ ละการเล่นดนตรี - คุณค่าของผลงานทางดนตรี
ของตนเองและผ้อู น่ื ได้อย่างเหมาะสม
๗. เปรยี บเทียบอารมณ์ และความร้สู ึก • การถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึกของงานดนตรจี ากแตล่ ะ
ทไ่ี ด้รบั จากงานดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรม วฒั นธรรม
ตา่ งกัน
๘. นำดนตรีไปประยกุ ต์ใช้ในงานอน่ื ๆ • ดนตรกี ับการผ่อนคลาย
• ดนตรกี ับการพฒั นามนุษย์
• ดนตรีกบั การประชาสัมพันธ์
• ดนตรกี ับการบำบดั รกั ษา
• ดนตรีกบั ธรุ กิจ
• ดนตรกี บั การศึกษา

25

สาระที่ ๒ ดนตรี เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ระหว่างดนตรี ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณคา่
มาตรฐาน ศ ๒.๒
ของดนตรีท่เี ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล
ชน้ั
ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้

ม.๑ ๑. อธิบายบทบาทความสัมพันธแ์ ละ • บทบาทและอิทธิพลของดนตรี
อทิ ธิพลของดนตรีทม่ี ีต่อสงั คมไทย - บทบาทดนตรีในสังคม
- อิทธิพลของดนตรใี นสงั คม
๒. ระบุความหลากหลายขององค์ประกอบ
ดนตรใี นวฒั นธรรมต่างกนั • องคป์ ระกอบของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ม.๒ ๑. บรรยายบทบาท และอทิ ธิพลของดนตรี
ในวัฒนธรรมของประเทศต่าง ๆ • ดนตรใี นวฒั นธรรมต่างประเทศ
- บทบาทของดนตรีในวัฒนธรรม
๒. บรรยายอิทธพิ ลของวฒั นธรรม - อิทธิพลของดนตรใี นวัฒนธรรม
และเหตกุ ารณ์ในประวัตศิ าสตรท์ ่ีมีต่อ
รปู แบบของดนตรีในประเทศไทย • เหตกุ ารณ์ประวัติศาสตร์กับการเปล่ียนแปลง ทางดนตรีใน
ประเทศไทย

- การเปล่ียนแปลงทางการเมืองกับงานดนตรี

- การเปล่ยี นแปลงทางเทคโนโลยีกับงานดนตรี

ม.๓ ๑. บรรยายววิ ฒั นาการของดนตรแี ตล่ ะ ยคุ • ประวตั ดิ นตรไี ทยยุคสมัยต่าง ๆ
สมยั • ประวตั ดิ นตรีตะวันตกยุคสมัยต่าง ๆ

๒. อภิปรายลักษณะเดน่ ทที่ ำให้งานดนตรี • ปจั จัยทที่ ำใหง้ านดนตรีได้รับการยอมรับ
นนั้ ไดร้ ับการยอมรับ

ม . ๔ - ๑. วเิ คราะห์รปู แบบของดนตรีไทยและ • รูปแบบบทเพลงและวงดนตรีไทยแตล่ ะยคุ สมยั
๖ ดนตรสี ากลในยคุ สมยั ต่าง ๆ • รปู แบบบทเพลงและวงดนตรีสากลแต่ละยคุ สมยั

๒. วิเคราะห์สถานะทางสังคมของ • ประวัติสังคีตกวี
นกั ดนตรใี นวฒั นธรรมตา่ ง ๆ

๓. เปรยี บเทยี บลกั ษณะเด่นของดนตรี • ลักษณะเดน่ ของดนตรีในแตล่ ะวฒั นธรรม
ในวัฒนธรรมตา่ งๆ
- เครือ่ งดนตรี
- วงดนตรี
- ภาษา เน้อื ร้อง
- สำเนียง

26

ช้นั ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรู้
- องคป์ ระกอบบทเพลง

๔.อธบิ ายบทบาทของดนตรีในการสะท้อน • บทบาทดนตรีในการสะท้อนสังคม
แนวความคิดและคา่ นิยม - ค่านิยมของสังคมในผลงานดนตรี
ท่ีเปลีย่ นไปของคนในสงั คม - ความเชอ่ื ของสังคมในงานดนตรี

๕.นำเสนอแนวทางในการสง่ เสรมิ และ • แนวทางและวธิ กี ารในการสง่ เสรมิ อนุรักษ์ดนตรีไทย
อนุรกั ษ์ดนตรใี นฐานะมรดกของชาติ

สาระท่ี ๓ นาฏศิลป์
มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ปอ์ ยา่ งสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษว์ ิจารณ์

คุณคา่ นาฏศลิ ป์ ถา่ ยทอดความร้สู กึ ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจำวนั

ชน้ั ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรู้

ม.๑ ๑. อธบิ ายอทิ ธิพลของนักแสดงช่ือดัง • การปฏบิ ตั ขิ องผแู้ สดงและผชู้ ม
ทม่ี ีผลต่อการโน้มน้าวอารมณ์หรอื • ประวตั นิ กั แสดงท่ีชืน่ ชอบ
ความคดิ ของผู้ชม • การพฒั นารูปแบบของการแสดง

• อิทธพิ ลของนักแสดงท่ีมผี ลต่อพฤติกรรมของผูช้ ม

๒. ใช้นาฏยศพั ทห์ รือศัพทท์ างการละคร • นาฏยศัพท์หรือศัพทท์ างการละคร ในการแสดง

ในการแสดง • ภาษาทา่ และการตบี ท

• ทา่ ทางเคล่ือนไหวทีแ่ สดงส่อื ทางอารมณ์

• ระบำเบด็ เตลด็

• รำวงมาตรฐาน

๓. แสดงนาฏศิลปแ์ ละละครในรปู แบบงา่ ย • รปู แบบการแสดงนาฏศิลป์
ๆ - นาฏศิลป์

- นาฏศิลปพ์ น้ื บ้าน

- นาฏศิลปน์ านาชาติ

๔. ใช้ทกั ษะการทำงานเป็นกลุ่ม • บทบาทและหนา้ ทีข่ องฝา่ ยต่าง ๆ ในการจดั การแสดง
ในกระบวนการผลิตการแสดง

27

ชน้ั ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้

๕. ใช้เกณฑ์ง่าย ๆ ทกี่ ำหนดให้ในการ • การสร้างสรรค์กิจกรรมการแสดงท่ีสนใจ
พจิ ารณาคุณภาพการแสดงท่ีชม โดยแบง่ ฝ่ายและหนา้ ท่ีให้ชดั เจน
โดยเนน้ เรอ่ื งการใชเ้ สยี งการแสดงท่า
และการเคลอ่ื นไหว • หลกั ในการชมการแสดง

ม.๒ ๑. อธิบายการบรู ณาการศิลปะแขนงอืน่ • ศลิ ปะแขนงอน่ื ๆ กบั การแสดง

ๆ กบั การแสดง - แสง สี เสยี ง

- ฉาก

- เครื่องแต่งกาย

- อปุ กรณ์

๒. สร้างสรรคก์ ารแสดงโดยใช้ • หลักและวิธกี ารสรา้ งสรรคก์ ารแสดง โดยใชอ้ งค์ประกอบ
องค์ประกอบนาฏศลิ ป์และการละคร นาฏศิลปแ์ ละการละคร

๓. วิเคราะห์การแสดงของตนเองและ • หลกั และวิธีการวิเคราะห์การแสดง
ผู้อืน่ โดยใช้นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการ
ละคร ทเี่ หมาะสม • วิธกี ารวเิ คราะห์ วิจารณ์การแสดง นาฏศิลป์ และการ
๔. เสนอขอ้ คดิ เหน็ ในการปรับปรุง ละคร
การแสดง

• รำวงมาตรฐาน

๕. เชือ่ มโยงการเรยี นรู้ระหวา่ งนาฏศิลป์ • ความสัมพันธข์ องนาฏศลิ ป์หรือ การละครกบั สาระการ

และการละครกับสาระการเรียนรูอ้ ื่น ๆ เรียนรูอ้ ่นื ๆ

ม.๓ ๑. ระบุโครงสร้างของบทละครโดยใช้ • องค์ประกอบของบทละคร

ศพั ท์ทางการละคร - โครงเร่ือง

- ตวั ละครและการวางลักษณะนสิ ัย

ของตัวละคร

- ความคดิ หรือแกน่ ของเรื่อง

- บทสนทนา

๒. ใช้นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละคร • ภาษาท่าหรอื ภาษาทางนาฏศิลป์
ทีเ่ หมาะสมบรรยายเปรียบเทียบการแสดง - ภาษาท่าทม่ี าจากธรรมชาติ

28

ชัน้ ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้

อากปั กิรยิ าของผู้คนในชีวิตประจำวนั และ - ภาษาทา่ ท่ีมาจากการประดิษฐ์
ในการแสดง - รำวงมาตรฐาน

๓. มีทกั ษะในการใช้ความคดิ ในการ • รูปแบบการแสดง
พัฒนารูปแบบการแสดง - การแสดงเปน็ หมู่

ม.๓ - การแสดงเดีย่ ว
- การแสดงละคร
๔. มีทกั ษะในการแปลความและ - การแสดงเป็นชุดเปน็ ตอน
การส่อื สารผ่านการแสดง
• การประดิษฐ์ทา่ รำและทา่ ทางประกอบ การแสดง
- ความหมาย
- ความเป็นมา
- ทา่ ทางที่ใชใ้ นการประดษิ ฐ์ท่ารำ

๕. วิจารณเ์ ปรียบเทียบงานนาฏศิลป์ • องคป์ ระกอบนาฏศิลป์
ทมี่ คี วามแตกตา่ งกนั โดยใช้ความรู้ - จังหวะทำนอง
เรอ่ื งองค์ประกอบนาฏศลิ ป์ - การเคลอ่ื นไหว

- อารมณ์และความรสู้ ึก

- ภาษาทา่ นาฎยศพั ท์

- รปู แบบของการแสดง

๖. ร่วมจดั งานการแสดงในบทบาทหน้าที่ - การแต่งกาย
ตา่ ง ๆ
• วิธกี ารเลือกการแสดง
- ประเภทของงาน
- ขัน้ ตอน
- ประโยชน์และคุณคา่ ของการแสดง

๗. นำเสนอแนวคิดจากเนอื้ เร่ือง • ละครกับชวี ติ
ของการแสดงท่สี ามารถนำไปปรบั ใช้
ในชีวิตประจำวัน

ม.๔- ๖ ๑. มีทักษะในการแสดงหลากหลาย • รปู แบบของการแสดง
รูปแบบ - ระบำ รำ ฟ้อน
- การแสดงพน้ื เมืองภาคตา่ ง ๆ
- การละครไทย

29

ชน้ั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรู้

- การละครสากล

๒. สร้างสรรค์ละครสั้นในรูปแบบ • ละครสร้างสรรค์
ทีช่ ืน่ ชอบ - ความเปน็ มา
- องค์ประกอบของละครสร้างสรรค์
๓. ใช้ความคดิ รเิ ริม่ ในการแสดงนาฏศลิ ป์ - ละครพดู
เปน็ คู่ และหมู่
ม. ๔- ๖ o ละครโศกนาฏกรรม
๔. วจิ ารณก์ ารแสดงตามหลกั นาฏศิลป์
และการละคร o ละครสุขนาฏกรรม
๕. วเิ คราะห์แก่นของการแสดงนาฏศลิ ป์
และการละครที่ต้องการสื่อความหมาย o ละครแนวเหมือนจรงิ
ในการแสดง
o ละครแนวไมเ่ หมือนจริง

• การประดิษฐ์ท่ารำที่เป็นค่แู ละหมู่
- ความหมาย
- ประวตั คิ วามเปน็ มา
- ทา่ ทางที่ใช้ในการประดิษฐ์ท่ารำ
- เพลงท่ใี ช้

• หลักการสรา้ งสรรคแ์ ละการวิจารณ์

• หลกั การชมการแสดงนาฏศลิ ป์และละคร

• ประวตั คิ วามเป็นมาของนาฏศิลป์ และการละคร
- ววิ ฒั นาการ
- ความงามและคุณคา่

๖. บรรยาย และวิเคราะห์ อิทธพิ ลของ • เทคนคิ การจดั การแสดง

เครอ่ื งแต่งกาย แสง สี เสียง ฉากอปุ กรณ์ - แสงสีเสียง

และสถานท่ีท่มี ีผลตอ่ การแสดง - ฉาก

- อปุ กรณ์

- สถานท่ี

- เครอื่ งแต่งกาย

๗. พัฒนาและใช้เกณฑก์ ารประเมินในการ • การประเมินคณุ ภาพของการแสดง

ประเมินการแสดง - คุณภาพด้านการแสดง

- คณุ ภาพองค์ประกอบการแสดง

๘. วเิ คราะหท์ ่าทาง และการเคล่ือนไหว • การสรา้ งสรรค์ผลงาน
ของผคู้ นในชีวิตประจำวนั และนำมา - การจดั การแสดงในวนั สำคญั ของโรงเรยี น
ประยุกตใ์ ช้ในการแสดง - ชุดการแสดงประจำโรงเรียน

30

สาระท่ี ๓ นาฏศิลป์ เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศลิ ป์ ประวัตศิ าสตรแ์ ละวัฒนธรรม
มาตรฐาน ศ ๓.๒
เห็นคณุ คา่ ของนาฏศิลปท์ ่ีเปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล
ชัน้
ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้

ม.๑ ๑. ระบปุ ัจจยั ที่มีผลต่อการเปล่ียนแปลง • ปจั จยั ทม่ี ผี ลต่อการเปลี่ยนแปลง ของนาฏศิลป์

ของนาฏศลิ ป์ นาฏศลิ ป์พน้ื บ้าน ละคร นาฏศลิ ปพ์ ้ืนบ้าน ละครไทย และละครพ้นื บา้ น

ไทย

และละครพ้นื บ้าน

๒. บรรยายประเภทของละครไทย • ประเภทของละครไทยในแต่ละยคุ สมัย

ในแตล่ ะยุคสมยั

ม.๒ ๑. เปรียบเทยี บลกั ษณะเฉพาะของ • นาฏศิลป์พ้นื เมือง

การแสดงนาฏศลิ ปจ์ ากวัฒนธรรมต่างๆ - ความหมาย

- ทมี่ า

- วฒั นธรรม

- ลกั ษณะเฉพาะ

๒. ระบหุ รือแสดงนาฏศลิ ป์ นาฏศลิ ป์ • รูปแบบการแสดงประเภทต่าง ๆ

พน้ื บา้ น ละครไทย ละครพ้นื บ้าน - นาฏศลิ ป์

หรอื มหรสพอ่ืนท่เี คยนยิ มกันในอดีต - นาฏศิลป์พ้ืนเมือง

- ละครไทย

- ละครพ้ืนบ้าน

๓. อธบิ ายอทิ ธิพลของวัฒนธรรมทีม่ ีผล • การละครสมัยตา่ ง ๆ

ตอ่ เนื้อหาของละคร

ม.๓ ๑. ออกแบบ และสรา้ งสรรคอ์ ปุ กรณ์ • การออกแบบและสร้างสรรค์อุปกรณแ์ ละ

และเคร่ืองแตง่ กาย เพอ่ื แสดงนาฏศลิ ป์ เครือ่ งแตง่ กายเพื่อการแสดงนาฏศลิ ป์

และละครทีม่ าจากวัฒนธรรมตา่ ง ๆ

๒. อธบิ ายความสำคัญและบทบาทของ • ความสำคัญและบทบาทของนาฏศลิ ป์ และการละครใน
นาฏศลิ ป์และการละครในชวี ิตประจำวัน ชีวิตประจำวัน

๓. แสดงความคดิ เหน็ ในการอนรุ ักษ์ • การอนุรักษน์ าฏศลิ ป์

ม.๔- ๖ ๑. เปรียบเทยี บการนำการแสดงไปใชใ้ น • การแสดงนาฏศลิ ป์ในโอกาสต่างๆ
โอกาสตา่ ง ๆ

31

ช้ัน ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรู้

๒. อภิปรายบทบาทของบคุ คลสำคญั • บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ และการละครของไทย
ในวงการนาฏศิลป์และการละคร ในยุคสมัยต่าง ๆ

ของประเทศไทยในยคุ สมยั ต่างๆ

๓. บรรยายววิ ัฒนาการของนาฏศลิ ป์และ • ววิ ัฒนาการของนาฏศิลป์และการละครไทยตงั้ แต่อดตี

การละครไทย ต้ังแต่อดีตจนถึงปจั จบุ นั จนถงึ ปัจจบุ นั

๔. นำเสนอแนวคิดในการอนรุ กั ษ์ • การอนรุ ักษ์นาฏศลิ ป์ ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน

นาฏศลิ ปไ์ ทย

32

โครงสรา้ งกลุม่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ
ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษา

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ สาระการเรียนรูพ้ น้ื ฐาน

ศ ๒๑๑๐๑ ศิลปศึกษา ๑ ๒ ชว่ั โมง/สัปดาห/์ ภาค ๑.๐ หน่วยกจิ
๒ ชว่ั โมง/สปั ดาห์/ภาค ๑.๐ หน่วยกจิ
ศ ๒๑๑๐๒ ศิลปศึกษา ๒
๒ ชวั่ โมง/สปั ดาห์/ภาค ๑.๐ หน่วยกจิ
ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ ๒ ชว่ั โมง/สปั ดาห/์ ภาค ๑.๐ หน่วยกจิ

ศ ๒๒๑๐๑ ศลิ ปศกึ ษา ๓ ๒ ชวั่ โมง/สปั ดาห/์ ภาค ๑.๐ หน่วยกจิ
๒ ชว่ั โมง/สปั ดาห์/ภาค ๑.๐ หนว่ ยกจิ
ศ ๒๒๑๐๒ ศลิ ปศึกษา ๔
๐.๕ หนว่ ยกจิ
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ๐.๕ หน่วยกิจ

ศ ๒๓๑๐๑ ศิลปศึกษา ๕ ๐.๕ หน่วยกจิ
๐.๕ หนว่ ยกิจ
ศ ๒๓๑๐๒ ศลิ ปศกึ ษา ๖
๐.๕ หน่วยกจิ
ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๔ ๐.๕ หนว่ ยกิจ

ศ ๓๑๑๐๑ ศลิ ปศึกษา ๑ ๑ ช่วั โมง/สปั ดาห/์ ภาค
๑ ชวั่ โมง/สัปดาห/์ ภาค
ศ ๓๑๑๐๒ ศิลปศึกษา ๒
๑ ชว่ั โมง/สัปดาห์/ภาค
ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๕ ๑ ชว่ั โมง/สัปดาห/์ ภาค

ศ ๓๒๑๐๑ ศลิ ปศกึ ษา ๑ ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์/ภาค
๑ ชั่วโมง/สปั ดาห/์ ภาค
ศ ๓๒๑๐๒ ศลิ ปศึกษา ๒

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖

ศ ๓๓๑๐๑ ศิลปศกึ ษา ๑

ศ ๓๓๑๐๒ ศิลปศึกษา ๒

33

รหัสวิชา ศ ๒๑๑๐๑ คำอธบิ ายรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ศิลปะ
ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑เวลา ชอื่ วิชา ศิลปศึกษา ๑รายวิชา พื้นฐาน ภาคเรียนที่ ๑
๔๐ ชัว่ โมงจำนวน ๑ หนว่ ยกิต

ศึกษาทัศนศิลป์ ทัศนธาตุ หลักการออกแบบ และเทคนิคที่หลากหลายในการสร้างงาน ทัศนศิลป์ ๒ มิติ
และ ๓ มิติ สามารถเลือกงานทัศนศิลป์โดยใชเ้ กณฑท์ ่ีกำหนดข้ึนอย่างเหมาะสมบรู ณการกับการสร้างทักษะ ๑ อาชีพ
การสร้างชิ้นงาน ที่เป็นมรดกทาง วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นภูมิปัญญาไทยและสากล ชื่นชม ประยุกต์ใช้ใน
ชีวติ ประจำวนั

แสดงออกทางด้านดนตรี ความแตกต่างทางด้านเสียง องค์ประกอบ อารมณ์ ความรู้สึกของบทเพลงจาก
วัฒนธรรมต่างๆ มีทักษะในการขับร้อง บรรเลงเครื่องดนตรี ทั้งเดี่ยวและเป็นวง มีทักษะในการสร้างสรรค์บทเพลง
อย่างง่าย อ่านเขียนเขียนโน้ตในบันไดเสียงที่มีเครื่องหมายแปลงเสียงเบื้องต้นได้ เห็นคุณค่าดนตรีที่เป็นมรดกทาง
วัฒนธรรม ภมู ิปัญญาท้องถิน่ ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล และประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจำวัน

โดยใชก้ ระบวนการ ศกึ ษาค้นควา้ วิเคราะห์ ฝึกปฏบิ ัติ และการนำเสนอ ถา่ ยทอดผลงาน
ช่นื ชมและเห็นคุณคา่ ของงานทศั นศิลป์ และดนตรสี ากลที่ปฏบิ ตั ิ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
บรรลตุ ามพระราโชบายด้านการศึกษาในสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั รัชการท่ี ๑๐

ขอ้ ที่ 1 นักเรยี นมที ัศนคติที่ดี และถูกต้อง
ข้อที่ 2 มีพ้ืนฐานชวี ิตทีม่ นั่ คงเขม้ แข็ง
ขอ้ ท่ี 4 เปน็ พลเมืองทด่ี ี มีระเบยี บวินัย

รหสั วิชา ศ ๒๑๑๐๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖
มฐ. ศ ๑.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓
มฐ. ศ ๑.๒ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔
มฐ. ศ ๒.๑

รวม ๑๓ ตัวชี้วัด

34

คำอธิบายรายวชิ า

รหสั วชิ า ศ ๒๑๑๐๒ วิชา ศลิ ปศกึ ษา ๒ รายวิชา พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ
ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑
เวลา ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑ หนว่ ยกิต ภาคเรยี นท่ี ๒

แสดงออกทางด้านดนตรี หลักการเป่าที่ถูกต้อง เทคนิคพิเศษมาใช้ในการเป่า การปฏิบัติการบรรเลงเดี่ยว
และเล่นรวมวง การไล่เสยี ง อ่านโนต้ สากล เสียงดนตรตี ามบทเพลง หรือตามโนต้ สากล

แสดงออกทางด้านนาฏศิลป์ องค์ประกอบนาฏศิลป์ การใช้นาฏยศัพท์พื้นฐานการขับร้องเพลงรำวงเพลง
พืน้ เมือง เพลงประกอบการฟ้อนรำ และการฟ้อนรำอย่างง่าย แสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ สร้างสรรค์การ
เคลอื่ นไหวในรูปแบบตา่ งๆ เหน็ คุณค่าของนาฏศิลป์ทีเ่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น ภูมิปัญญาไทยและ
สากล ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวัน

โดยใช้กระบวนการ ศกึ ษาคน้ คว้า วเิ คราะห์ ฝกึ ปฏบิ ตั ิ และการนำเสนอ ถา่ ยทอดผลงาน
ชนื่ ชมและเห็นคุณค่าของดนตรสี ากล และนาฏศลิ ปท์ ่ปี ฏบิ ัติ ประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจำวัน
บรรลตุ ามพระราโชบายดา้ นการศกึ ษาในสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว รชั การท่ี ๑๐

ขอ้ ท่ี 1 นักเรยี นมที ัศนคติที่ดี และถูกตอ้ ง
ข้อที่ 2 มีพื้นฐานชวี ติ ทีม่ ัน่ คงเขม้ แข็ง
ข้อท่ี 4 เปน็ พลเมืองที่ดี มีระเบียบวินยั

รหัสวชิ า ศ ๒๑๑๐๒ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗ ม.๑/๘ ม.๑/๙
มฐ. ศ ๒.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒
มฐ. ศ ๒.๒ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕
มฐ. ศ ๓.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒
มฐ. ศ ๓.๒

รวม ๑๔ ตัวชี้วัด

35

รหัสวิชา ศ ๒๒๑๐๑ คำอธบิ ายรายวิชา
ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ชื่อวิชา ศิลปศกึ ษา ๓ รายวชิ า พ้ืนฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ

เวลา ๔๐ ช่วั โมงจำนวน ๑ หน่วยกิต ภาคเรยี นท่ี ๑

ศึกษาทัศนศิลป์ ทัศนธาตุและหลักการออกแบบและเทคนิคที่หลากหลายในการสร้างงานทัศนศิลป์ ๒ มิติ
และ ๓ มิติ สามารถเลือกงานทัศนศิลป์โดยใช้เกณฑ์ที่กำหนดขึ้นอย่างเหมาะสม บูรณการกับการสร้างทักษะ ๑
อาชีพการสร้างชิ้นงาน เห็นคุณค่าเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนวัฒนธรรมแต่ละยุคสมัย ที่เป็นมรดกทาง
วฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล ช่ืนชม ประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวัน

แสดงออกทางด้านดนตรี ศกึ ษาองค์ประกอบ อารมณ์ ความรสู้ กึ ของบทเพลงจากวฒั นธรรมต่างๆ มีทักษะ
ในการขบั รอ้ ง บรรเลงเคร่อื งดนตรี มีทักษะในการสร้างสรรคบ์ ทเพลง ประเมินผลงานการปฏบิ ัติทางดนตรี ปฏบิ ตั กิ าร
ดูแลรักษาเครื่องดนตรีอย่างปลอดภัย เห็นคุณค่าดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย
และสากล และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวัน

โดยใชก้ ระบวนการ ศกึ ษาค้นคว้า วเิ คราะห์ ปฏิบตั ิ สามารถนำเสนอถ่ายทอดผลงาน
ชื่นชมและเห็นคุณค่าของดนตรสี ากลและนาฏศิลปท์ ่ปี ฏิบัติ ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวนั
บรรลตุ ามพระราโชบายดา้ นการศกึ ษาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รชั การที่ ๑๐

ข้อท่ี 1 นักเรียนมีทัศนคติท่ีดี และถูกตอ้ ง
ข้อที่ 2 มีพ้ืนฐานชีวิตทมี่ ัน่ คงเข้มแข็ง
ข้อที่ 4 เปน็ พลเมืองที่ดี มรี ะเบียบวนิ ัย

รหสั วชิ า ศ ๒๒๑๐๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ม.๒/๗
มฐ. ศ ๑.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓
มฐ. ศ ๑.๒ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓
มฐ. ศ ๒.๑

รวม ๑๓ ตัวช้ีวัด

36

คำอธบิ ายรายวิชา

รหสั วชิ า ศ ๒๒๑๐๒ ชือ่ วิชา ศลิ ปศึกษา ๔ รายวิชา พนื้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ

ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑ หน่วยกิต ภาคเรียนที่ ๒

แสดงออกทางดา้ นดนตรี เสียงเครอ่ื งดนตรี และทฤษฎกี ารดนตรีหลกั การฝึกหัดเบื้องตน้ ประเภทของเคร่ือง
ดนตรี หลกั การบำรงุ รักษาเคร่อื งดนตรแี ละฝกึ ปฏบิ ตั เิ ครอื่ งดนตรีสากลทถี่ นัด สรา้ งสรรค์ทางดนตรีและประยกุ ตใ์ ช้

แสดงออกทางด้านนาฏศิลป์ ศึกษาองค์ประกอบนาฏศิลป์ในยุคมัยต่างๆ การใช้นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการ
ละคร มีทักษะการขับร้องและแสดงนาฏศิลป์ การแสดงพื้นเมืองในแต่ละท้าองถิ่น ใช้เกณฑ์ง่ายๆในการพิจารณา
คุณภาพการแสดง วิจารณ์ เปรียบเทียบงานนาฏศิลป์ เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญา
ทอ้ งถ่นิ ภูมิปัญญาไทยและสากล ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวัน

โดยใช้กระบวนการ ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ ปฏิบัติ สามารถนำเสนอถ่ายทอดผลงาน
ช่นื ชมและเหน็ คณุ คา่ ของดนตรสี ากลและนาฏศิลป์ทปี่ ฏิบตั ิ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวัน
บรรลตุ ามพระราโชบายดา้ นการศกึ ษาในสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั รชั การท่ี ๑๐

ข้อที่ 1 นักเรยี นมีทัศนคติท่ดี ี และถูกต้อง
ข้อท่ี 2 มีพื้นฐานชีวิตทีม่ ัน่ คงเข้มแข็ง
ขอ้ ท่ี 4 เปน็ พลเมืองทด่ี ี มรี ะเบยี บวินยั

รหสั วชิ า ศ ๒๒๑๐๒ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ม.๒/๗
มฐ. ศ ๒.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒
มฐ. ศ ๒.๒ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕
มฐ. ศ ๓.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓
มฐ. ศ ๓.๒

รวม ๑๔ ตัวช้ีวดั

37

คำอธบิ ายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ
รหสั วชิ า ศ ๒๓๑๐๑ ชือ่ วิชา ศิลปศึกษา ๕รายวิชา พื้นฐา ภาคเรยี นที่ ๑
ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๓ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑ หน่วยกิต

ทัศนศิลป์ ศึกษาและฝึกปฏิบัติทัศนศิลป์รูแบบต่างๆ สามารถออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ กราฟิก ในการ
นำเสนอขอ้ มูลท่เี กย่ี วขอ้ งกับงานทัศนศลิ ป์ เปรียบเทียบงานทศั นศิลปท์ ม่ี าจากยุคสมัยตา่ ง ๆ ทเี่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม
ภูมิปัญญาท้องถ่ินภูมิปัญญาไทยและสากลบรู ณการกบั การสร้างทักษะ ๑ อาชีพการสร้างชิ้นงาน ชื่นชม ประยุกต์ใชใ้ น
ชวี ติ ประจำวนั

ดนตรี ศึกษาองค์ประกอบของดนตรี มีทักษะในการขับร้อง บรรเลงเครื่องดนตรีโดยเน้นเทคนิคทางดนตรี
วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อรูปแบบของผลงานทางดนตรี องค์ประกอบของผลงานด้านดนตรีกับศิลปะแขนงอื่น เห็น
คณุ คา่ ดนตรีทเี่ ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาท้องถิน่ ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล และประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน

บรรลตุ ามพระราโชบายดา้ นการศกึ ษาในสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั รัชการที่ ๑๐
ข้อท่ี 1 นักเรยี นมีทัศนคติท่ีดี และถูกต้อง
ขอ้ ที่ 2 มีพ้นื ฐานชวี ิตทม่ี ่ันคงเข้มแข็ง
ข้อท่ี 4 เปน็ พลเมืองที่ดี มรี ะเบยี บวนิ ัย

รหัสวชิ า ศ ๒๓๑๐๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ม.๓/๗ ม.๓/๘
มฐ. ศ ๑.๑ ม.๓/๙ ม.๓/๑๐ม.๓/๑๑
ม.๓/๑ ม.๓/๒
มฐ. ศ ๑.๒ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔
มฐ. ศ ๒.๑

รวม ๑๗ ตัวช้ีวดั

38

คำอธบิ ายรายวิชา

รหัสวิชา ศ ๒๓๑๐๒ ชอื่ วิชา ศลิ ปศกึ ษา ๖รายวชิ า พนื้ ฐาน กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ

ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑ หน่วยกิต ภาคเรยี นท่ี ๒

แสดงออกทางด้านดนตรี เสียงของดนตรีสากล ทฤษฎีดนตรีสากล หลักการฝึกเบื้องต้น ประเภทของเครื่อง
ดนตรีสากล การปฏิบัติเครื่องดนตรีตามถนัด หลักการบำรุงดูแลรักษาเครื่องดนตรีสากล สร้างสรรค์ผลงานทางดนตรี
และประยุกตใ์ ชใ้ นการนำเสนอหรือการจดั แสดงดนตรีในวาระต่างๆ

แสดงออกทางดา้ นนาฏศลิ ป์ ศึกษาประเภทละครไทยในแตล่ ะยุคสมัย มีทักษะการขับร้องและแสดงนาฏศิลป์
การแสดงพื้นเมือง วิจารณ์ เปรียบเทียบงานนาฏศิลป์โดยใช้ความรู้เรื่ององค์ประกอบทางนาฏศิลป์ร่วมจัดการแสดง
เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ประยุกต์ใช้ใน
ชีวติ ประจำวัน

โดยใช้กระบวนการ ศึกษาค้นควา้ วิเคราะห์ ปฏบิ ตั ิ สามารถนำเสนอถ่ายทอดผลงาน
ชน่ื ชมและเห็นคุณค่าของดนตรีสากลและนาฏศลิ ป์ทป่ี ฏบิ ตั ิ และประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวันได้
บรรลตุ ามพระราโชบายด้านการศกึ ษาในสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว รชั การที่ ๑๐

ข้อที่ 1 นักเรียนมที ัศนคติที่ดี และถูกต้อง
ข้อท่ี 2 มีพน้ื ฐานชีวติ ที่ม่นั คงเข้มแข็ง
ขอ้ ที่ 3 มีงานทำ มีอาชีพ
ข้อที่ 4 เปน็ พลเมืองท่ดี ี มรี ะเบยี บวนิ ัย

รหัสวชิ า ศ ๒๓๑๐๒ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ม.๓/๗
มฐ. ศ ๒.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒
มฐ. ศ ๒.๒ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ม.๓/๗
มฐ. ศ ๓.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓
มฐ. ศ ๓.๒

รวม ๑๕ ตัวช้ีวดั

39

คำอธบิ ายรายวชิ า

รหสั วชิ า ศ ๓๑๑๐๑ ช่อื วิชา ศิลปศกึ ษา ๑รายวิชา พืน้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ศิลปะ
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔
เวลา ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต ภาคเรยี นท่ี ๑

ทัศนศิลป์ ศึกษาและฝกึ ปฏิบตั เิ พือ่ ให้มีความรู้ และความสามารถเกยี่ วกบั การสร้างสรรค์งานทศั นศิลป์ ตาม
จินตนาการ และความคิดสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์ วิจารณค์ ุณคา่ งานทศั นศิลป์ ถา่ ยทอดความร้สู กึ ความคิดต่องาน
ศิลปะอย่างอสิ ระบูรณการกบั การสร้างทักษะ ๑ อาชพี การสรา้ งช้นิ งาน ช่นื ชม และประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวัน เขา้ ใจ
ความสมั พันธร์ ะหวา่ งทัศนศิลป์ ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คุณค่างานทัศนศิลป์ ที่เปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิ
ปัญญาท้องถน่ิ ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล

ดนตรี เข้าใจและแสดงออกทางดนตรอี ย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วิจารณ์คุณค่างานดนตรี ถา่ ยทอด
ความรสู้ ึกความคดิ ต่องานดนตรอี ย่างอสิ ระ ชืน่ ชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวนั เขา้ ใจความสมั พันธร์ ะหวา่ งดนตรี
ประวัติศาสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คุณคา่ งานดนตรีท่เี ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ ภมู ิปัญญาไทยและ
สากล

นาฏศิลป์ เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศิลปอ์ ย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณค์ ณุ ค่านาฏศลิ ป์ ถ่ายทอด
ความรู้สึกความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์
ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศลิ ป์ที่เปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ภูมิปัญญาไทยและ
สากล

โดยประเมินจากผลงาน กระบวนการทำงาน ทักษะการปฏบิ ตั ิ แบบทดสอบ และเจตคติ เพ่ือให้เกดิ ความรู้
ความคิด ความเขา้ ใจ เหน็ คุณคา่ ของการนำความรู้และการปฏิบตั ไิ ปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจำวัน มีจิตศิลปะ คุณธรรม
จริยธรรมและคา่ นิยมทด่ี ีงาม

บรรลตุ ามพระราโชบายด้านการศึกษาในสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว รัชการที่ ๑๐
ข้อที่ 1 นักเรียนมีทัศนคติท่ีดี และถูกต้อง
ขอ้ ที่ 2 มีพื้นฐานชีวติ ท่ีมน่ั คงเข้มแข็ง
ขอ้ ท่ี 4 เป็นพลเมืองทีด่ ี มรี ะเบยี บวนิ ยั

รหสั ตัวช้ีวดั ศ ๓๑๑๐๑
มฐ. ศ ๑.๑ ม.๔/๑, ม.๔/๒, ม.๔/๓, ม.๔/๔
มฐ. ศ ๒.๑ ม.๔/๑, ม.๔/๒, ม.๔/๓
มฐ. ศ ๓.๑ ม.๔/๑, ม.๔/๓, ม.๔/๔

รวม ๑๐ ตัวช้ีวัด

40

คำอธบิ ายรายวิชา

รหัสวชิ า ศ ๓๑๑๐๒ ชอ่ื วิชา ศิลปศกึ ษา ๒รายวิชา พ้นื ฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ศิลปะ
ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๔
เวลา ๒๐ ช่วั โมงจำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ภาคเรยี นที่ ๒

ทศั นศิลป์ ศึกษาและฝกึ ปฏิบัติเพ่อื ใหม้ คี วามรู้ และความสามารถเก่ยี วกับการสรา้ งสรรคง์ านทศั นศิลป์ ตาม
จนิ ตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณค์ ณุ ค่างานทศั นศิลป์ ถ่ายทอดความรสู้ ึกความคดิ ต่องาน
ศลิ ปะอย่างอิสระบรู ณการกับการสร้างทักษะ ๑ อาชพี การสร้างช้ินงาน ชน่ื ชม และประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำวนั เข้าใจ
ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งทัศนศิลป์ ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานทัศนศลิ ป์ ท่ีเปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิ
ปัญญาท้องถิน่ ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล

ดนตรี เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษว์ ิจารณ์คุณค่างานดนตรี ถ่ายทอด
ความร้สู กึ ความคิดต่องานดนตรีอย่างอสิ ระชืน่ ชมและประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวนั เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหวา่ งดนตรี
ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คุณคา่ งานดนตรที ่เี ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาท้องถิ่น ภมู ิปัญญาไทยและ
สากล

นาฏศิลป์ เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์
ถ่ายทอดความรู้สึกความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์
ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คุณคา่ ของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปัญญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทยและ
สากล

โดยประเมนิ จากผลงาน กระบวนการทำงาน ทักษะการปฏิบัติ แบบทดสอบ และเจตคติ เพื่อให้เกดิ ความรู้
ความคดิ ความเขา้ ใจ เห็นคณุ ค่าของการนำความรแู้ ละการปฏบิ ัติไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวนั มจี ติ สาธารณะ
คณุ ธรรมจริยธรรมและคา่ นิยมทีด่ งี าม

บรรลตุ ามพระราโชบายดา้ นการศกึ ษาในสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว รชั การที่ ๑๐
ขอ้ ที่ 1 นักเรยี นมีทัศนคติท่ีดี และถูกตอ้ ง
ข้อที่ 2 มีพน้ื ฐานชวี ิตที่มั่นคงเข้มแข็ง
ขอ้ ที่ 4 เปน็ พลเมืองท่ีดี มีระเบียบวนิ ยั
รหสั ตัวชี้วัด ศ ๓๑๑๐๒
มฐ. ศ ๑.๒ ม๔/๑, ม.๔/๒, ม.๔/๓
มฐ. ศ ๒.๒ ม๔/๑, ม.๔/๒
มฐ. ศ ๓.๒ ม.๔/๑, ม.๔/๔

รวม ๗ ตัวชี้วัด

41

รหัสวิชา ศ ๓๒๑๐๑ คำอธิบายรายวชิ า
ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๕ ชื่อวิชา ศลิ ปศกึ ษา ๑รายวิชา พื้นฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ศิลปะ
เวลา ๒๐ ชัว่ โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ ภาคเรยี นท่ี ๑

ทัศนศลิ ป์ ศึกษาและฝึกปฏิบัตเิ พ่ือให้มีความรู้ และความสามารถเกย่ี วกับการสรา้ งสรรคง์ านทัศนศลิ ป์ ตาม
จินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณค์ ณุ ค่างานทัศนศิลป์ ถา่ ยทอดความรู้สึกความคดิ ต่องาน
ศลิ ปะอย่างอสิ ระบูรณการกับการสรา้ งทักษะ ๑ อาชีพการสร้างช้ินงาน ช่นื ชม และประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั เข้าใจ
ความสมั พันธร์ ะหวา่ งทัศนศลิ ป์ ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คุณค่างานทัศนศลิ ป์ ทีเ่ ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิ
ปญั ญาท้องถิ่น ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล

ดนตรี เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรอี ย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วจิ ารณ์คุณค่างานดนตรี ถ่ายทอด
ความรูส้ กึ ความคิดต่องานดนตรอี ย่างอสิ ระ ชืน่ ชม และประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวนั เข้าใจความสัมพันธ์ระหวา่ งดนตรี
ประวตั ิศาสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คณุ ค่างานดนตรที เ่ี ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น ภูมปิ ัญญาไทยและ
สากล

นาฏศิลป์ เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์
ถ่ายทอดความรู้สึกความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์
ประวัตศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณคา่ ของนาฏศิลป์ท่ีเปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ภูมิปัญญาไทยและ
สากล

โดยประเมินจากผลงาน กระบวนการทำงาน ทักษะการปฏิบตั ิ แบบทดสอบ และเจตคติ เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้
ความคิด ความเข้าใจ เหน็ คุณค่าของการนำความรู้และการปฏบิ ตั ิไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจำวัน มีจติ ศลิ ปะ คุณธรรม
จริยธรรมและคา่ นิยมท่ดี งี าม

บรรลตุ ามพระราโชบายด้านการศึกษาในสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว รัชการท่ี ๑๐
ข้อท่ี 1 นักเรยี นมที ัศนคติท่ีดี และถูกตอ้ ง
ขอ้ ที่ 2 มีพ้ืนฐานชีวิตทม่ี ั่นคงเขม้ แข็ง
ขอ้ ท่ี 4 เปน็ พลเมืองที่ดี มีระเบียบวนิ ยั

รหสั ตวั ชี้วัด ศ ๓๒๑๐๑
มฐ. ศ ๑.๑ ม.๕/๕, ม.๕/๖, ม.๕/๗
มฐ. ศ ๒.๑ ม.๕/๔, ม.๕/๕, ม.๕/๖
มฐ. ศ ๓.๑ ม.๕/๒, ม.๕/๖

รวม ๘ ตัวช้ีวัด

42

คำอธบิ ายรายวชิ า

รหัสวชิ า ศ ๓๒๑๐๒ ช่อื วิชา ศลิ ปศกึ ษา ๒รายวิชา พื้นฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ศิลปะ
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๕
เวลา ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต ภาคเรยี นที่ ๒

ทศั นศลิ ป์ ศึกษาและฝึกปฏิบัติเพ่อื ใหม้ คี วามรู้ และความสามารถเกยี่ วกบั การสร้างสรรคง์ านทัศนศลิ ป์ ตาม
จินตนาการ และความคิดสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถา่ ยทอดความรูส้ กึ ความคิดต่องาน
ศลิ ปะอย่างอิสระบูรณการกบั การสรา้ งทักษะ ๑ อาชพี การสรา้ งช้นิ งาน ช่นื ชม และประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั เข้าใจ
ความสัมพันธ์ระหว่างทศั นศลิ ป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คุณค่างานทัศนศลิ ป์ ทเี่ ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิ
ปญั ญาท้องถิ่น ภูมปิ ัญญาไทยและสากล

ดนตรี เข้าใจและแสดงออกทางดนตรอี ย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วจิ ารณ์คุณค่างานดนตรี ถา่ ยทอด
ความรสู้ กึ ความคิดต่องานดนตรอี ย่างอิสระ ชืน่ ชม และประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจำวัน เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหว่างดนตรี
ประวัติศาสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คณุ ค่างานดนตรีท่เี ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน ภมู ิปัญญาไทยและ
สากล

นาฏศิลป์ เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์
ถ่ายทอดความรู้สึกความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์
ประวัตศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคณุ ค่าของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ ภูมิปัญญาไทยและ
สากล

โดยประเมนิ จากผลงาน กระบวนการทำงาน ทักษะการปฏบิ ัติ แบบทดสอบ และเจตคติ เพื่อให้เกิดความรู้
ความคดิ ความเขา้ ใจ เห็นคุณค่าของการนำความรู้และการปฏิบตั ไิ ปใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจำวัน มจี ติ ศิลปะ คุณธรรม
จรยิ ธรรมและคา่ นิยมทดี่ งี าม

บรรลุตามพระราโชบายดา้ นการศึกษาในสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว รัชการท่ี ๑๐
ข้อที่ 1 นักเรยี นมที ัศนคติทด่ี ี และถูกตอ้ ง
ข้อที่ 2 มีพน้ื ฐานชีวิตท่ีม่ันคงเข้มแข็ง
ข้อที่ 4 เปน็ พลเมืองท่ดี ี มีระเบียบวินยั

รหัสตัวชี้วัด ศ ๓๒๑๐๒
มฐ. ศ ๑.๒ ม.๕/๑, ม.๕/๒, ม.๕/๓
มฐ. ศ ๒.๒ ม.๕/๓, ม.๕/๔
มฐ. ศ ๓.๒ ม.๕/๒, ม.๕/๓
รวม ๗ ตวั ชว้ี ัด

43

คำอธบิ ายรายวิชา

รหัสวชิ า ศ ๓๓๑๐๑ ชอ่ื วิชา ศลิ ปศึกษา ๑รายวิชา พื้นฐาน กลุม่ สาระการเรียนรู้ ศิลปะ
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖
เวลา ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ภาคเรยี นที่ ๑

ทัศนศลิ ป์ ศึกษาและฝึกปฏบิ ัตเิ พ่อื ใหม้ ีความรู้ และความสามารถเกีย่ วกับการสร้างสรรคง์ านทัศนศิลป์ ตาม
จินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณค์ ุณค่างานทัศนศลิ ป์ ถา่ ยทอดความรู้สึกความคดิ ต่องาน
ศลิ ปะอย่างอิสระบูรณการกบั การสร้างทกั ษะ ๑ อาชีพการสร้างชนิ้ งาน ชน่ื ชม และประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั เข้าใจ
ความสมั พันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวตั ศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณคา่ งานทัศนศลิ ป์ ทเี่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิ
ปญั ญาท้องถิ่น ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล

ดนตรี เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษว์ จิ ารณ์คุณคา่ งานดนตรี ถ่ายทอด
ความรสู้ ึกความคดิ ต่องานดนตรอี ยา่ งอสิ ระ ชื่นชม และประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั เขา้ ใจความสัมพนั ธร์ ะหว่างดนตรี
ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณคา่ งานดนตรที ี่เปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภมู ิปญั ญาไทยและ
สากล

นาฏศลิ ป์ เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศลิ ปอ์ ย่างสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศลิ ป์ ถ่ายทอด
ความรู้สึกความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์
ประวตั ศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศลิ ปท์ ่ีเปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น ภูมิปัญญาไทยและ
สากล

โดยประเมินจากผลงาน กระบวนการทำงาน ทักษะการปฏิบัติ แบบทดสอบ และเจตคติ เพื่อใหเ้ กดิ ความรู้
ความคดิ ความเขา้ ใจ เห็นคุณค่าของการนำความรู้และการปฏบิ ัติไปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจำวัน มีจิตศิลปะ คุณธรรม
จริยธรรมและค่านยิ มทดี่ งี าม

บรรลุตามพระราโชบายดา้ นการศึกษาในสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว รชั การที่ ๑๐
ข้อท่ี 1 นักเรยี นมที ัศนคติทีด่ ี และถูกตอ้ ง
ขอ้ ที่ 2 มีพื้นฐานชวี ิตท่ีมั่นคงเข้มแข็ง
ขอ้ ที่ 4 เป็นพลเมืองทีด่ ี มีระเบียบวนิ ยั
รหัสตวั ช้ีวดั ศ ๓๓๑๐๑
มฐ. ศ ๑.๑ ม.๖/๘, ม.๖/๙, ม.๖/๑๐, ม.๖/๑๑
มฐ. ศ ๒.๑ ม.๖/๖, ม.๖/๗, ม.๖/๘
มฐ. ศ ๓.๑ ม.๖/๕, ม.๖/๗, ม.๖/๘

รวม ๑๐ ตัวช้ีวัด

44

รหสั วชิ า ศ ๓๓๑๐๒ คำอธบิ ายรายวชิ า
ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๖ ช่อื วิชา ศิลปศึกษา ๒รายวิชา พ้นื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศิลปะ

เวลา ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต ภาคเรียนท่ี ๒

ทัศนศิลป์ ศึกษาและฝึกปฏิบตั ิเพื่อให้มีความรู้ และความสามารถเก่ียวกับการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตาม
จินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์ วจิ ารณ์คณุ ค่างานทศั นศลิ ป์ ถ่ายทอดความร้สู กึ ความคิดต่องาน
ศลิ ปะอย่างอิสระบูรณการกับการสรา้ งทกั ษะ ๑ อาชพี การสร้างชิน้ งาน ช่ืนชม และประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจำวัน เขา้ ใจ
ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คุณค่างานทัศนศิลป์ ทเี่ ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิ
ปญั ญาท้องถนิ่ ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล

ดนตรี เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณค์ ุณค่างานดนตรี ถา่ ยทอด
ความรู้สกึ ความคิดต่องานดนตรอี ย่างอสิ ระ ชนื่ ชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวนั เข้าใจความสัมพันธร์ ะหวา่ งดนตรี
ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคณุ ค่างานดนตรที ี่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ ภูมิปญั ญาไทยและ
สากล

นาฏศิลป์ เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์
ถ่ายทอดความรู้สึกความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์
ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คุณค่าของนาฏศลิ ป์ที่เปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญั ญาท้องถิ่น ภมู ิปัญญาไทยและ
สากล

โดยประเมนิ จากผลงาน กระบวนการทำงาน ทักษะการปฏบิ ัติ แบบทดสอบ และเจตคติ เพื่อใหเ้ กิดความรู้
ความคิด ความเข้าใจ เห็นคุณคา่ ของการนำความรู้และการปฏิบัตไิ ปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจำวัน มจี ิตศลิ ปะ คุณธรรม
จริยธรรมและคา่ นยิ มที่ดีงาม

บรรลตุ ามพระราโชบายด้านการศกึ ษาในสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั รัชการที่ ๑๐
ข้อท่ี 1 นักเรยี นมที ัศนคติท่ดี ี และถูกตอ้ ง
ขอ้ ที่ 2 มีพืน้ ฐานชวี ติ ท่ีมน่ั คงเขม้ แข็ง
ขอ้ ที่ 3 มีงานทำมอี าชีพ
ข้อที่ 4 เปน็ พลเมืองทด่ี ี มีระเบียบวินัย
รหสั ตวั ช้ีวัด ศ ๓๓๑๐๒
มฐ. ศ ๑.๒ ม.๖/๑, ม.๖/๒ , ม.๖/๓
มฐ. ศ ๒.๒ ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๕
มฐ. ศ ๓.๒ ม.๖/๒, ม.๖/๓, ม.๖/๔

รวม ๙ ตัวช้ีวัด

45

โครงสรา้ งรายวชิ า

รหัสวิชา ศ ๒๑๑๐๑ ชื่อวิชา ศลิ ปศึกษา ๑ รายวิชา พืน้ ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศิลปะ
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑
จำนวน ๑ หนว่ ยกิต ภาคเรยี นที่ ๑

หน่วย ชอ่ื หน่วย มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก
ท่ี การเรียนรู้ / (ชั่วโมง) คะแนน

ตัวชีว้ ดั

๑ องค์ประกอบ ศ ๑.๑ • ความแตกต่างและความคลา้ ยคลงึ ๓ ๑๐
กบั งานศลิ ป์ ม.๑/๑ กนั ของทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์ และ
ม.๑/๒

ส่งิ แวดลอ้ ม ๓ ๕
• ความเปน็ เอกภาพ ความกลมกลืน

ความสมดลุ ๔ ๑๐
ม.๑/๓ • หลกั การวาดภาพแสดงทศั นียภาพ

๒ รสู้ ร้าง ม.๑/๔ • เอกภาพความกลมกลนื ของเรือ่ งราวใน ๓ ๑๐
รูป้ ระเมนิ
งานปั้นหรืองานสือ่ ผสม
ม.๑/๕ • การออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ ๔ ๑๐

หรืองานกราฟิก ๓๕
ม.๑/๖ • การประเมนิ งานทัศนศิลป์

๓ ศลิ ปะกบั ศ ๑.๒

วัฒนธรรม ม.๑/๑ • ลกั ษณะ รปู แบบงานทัศนศลิ ปข์ อง ๔ ๑๐
๓ ๕
และภูมปิ ัญญา ม.๑/๒ ชาตแิ ละท้องถนิ่ ๓ ๕

ไทย • งานทศั นศลิ ป์ภาคตา่ ง ๆ ใน
ม.๑/๓ ประเทศไทย

• ความแตกตา่ งของงานทศั นศิลป์

ในวฒั นธรรมไทยและสากล

46

หนว่ ย มาตรฐาน เวลา น้ำหนัก
ท่ี (ช่วั โมง) คะแนน
ชื่อหน่วย การเรียนรู้ / สาระสำคญั
๒ ๕
ตวั ชี้วัด
๒ ๕
๔ พื้นฐานทาง ศ ๒.๑ ๒ ๑๐
ดนตรี
ม.๑/๑ • เครอ่ื งหมายและสญั ลักษณ์ทาง ๔ ๑๐

ดนตรี

- โน้ตบทเพลงไทย อตั ราจังหวะ

สองชน้ั

โนต้ สากล ในกญุ แจซอล

- และฟา ในบนั ไดเสียง

C Major
ม.๑/๒ • เสยี งร้องและเสยี งของเคร่ืองดนตรี

ในบทเพลงจากวฒั นธรรมตา่ ง ๆ

- วิธีการขบั รอ้ ง

ม.๑/๓ - เครื่องดนตรีทใี่ ช้
• การรอ้ งและการบรรเลงเครื่องดนตรี

ประกอบการร้อง
- บทเพลงพนื้ บ้าน บทเพลง

ปลกุ ใจ
- บทเพลงไทยเดมิ

- บทเพลงประสานเสยี ง ๒ แนว
- บทเพลงรปู แบบ ABA
- บทเพลงประกอบการเตน้ รำ

ม.๑/๔ • วงดนตรีพ้ืนเมือง
• วงดนตรไี ทย

• วงดนตรีสากล

รวม ๔๐ ๑๐๐

47

โครงสร้างรายวชิ า

รหัสวิชา ศ ๒๑๑๐๒ ชือ่ วิชา ศลิ ปศึกษา ๒ รายวิชา พืน้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ
ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๑
จำนวน ๑ หน่วยกิต ภาคเรยี นที่ ๒
หนว่ ยท่ี ชื่อหน่วย
๑ สุนทรยี ภาพ มาตรฐาน เวลา นำ้ หนกั
ทางดนตรี (ชัว่ โมง) คะแนน
การเรียนรู้ / สาระสำคญั
๒ บทบาทของ ๔ ๑๐
ดนตรกี บั ตัวช้วี ดั
ดูแลรกั ษา ๓ ๑๐
ศ ๒.๑ ๓ ๕

ม.๑/๕ • การถา่ ยทอดอารมณข์ องบทเพลง ๓ ๕

ม.๑/๖ - จังหวะกับอารมณ์เพลง

- ความดงั -เบากับอารมณเ์ พลง

ความแตกตา่ งของอารมณ์เพลง
ม.๑/๗ • การนำเสนอบทเพลงทต่ี นสนใจ
ม.๑/๘ • การประเมินคณุ ภาพของบทเพลง

- คณุ ภาพดา้ นเน้อื หา

- คุณภาพด้านเสยี ง

ศ ๒.๑

ม.๑/๙ • การใช้และบำรุงรักษาเครื่องดนตรี

ของตน

ศ ๒.๒

ม.๑/๑ • บทบาทและอิทธิพลของดนตรี ๔ ๑๐

ม.๑/๒ - บทบาทดนตรใี นสังคม
- อทิ ธพิ ลของดนตรใี นสังคม

• องคป์ ระกอบของดนตรีในแต่ละ ๓ ๑๐

วัฒนธรรม

48

มาตรฐาน เวลา น้ำหนัก
(ชัว่ โมง) คะแนน
หน่วยท่ี ช่อื หน่วย การเรยี นรู้ / สาระสำคญั
๓ ๒ ๕
พนื้ ฐานทาง ตัวชวี้ ดั ๔ ๑๐
นาฏศิลป์
ศ ๓.๑ ๒ ๕

ม.๑/๑ • การปฏิบัติของผูแ้ สดงและผ้ชู ม ๒ ๕

• ประวตั นิ กั แสดงท่ชี ืน่ ชอบ

• การพฒั นารูปแบบของการแสดง

• อทิ ธพิ ลของนักแสดงท่ีมผี ลต่อของ

ม.๑/๒ ผชู้ ม
• นาฏยศัพท์หรือศัพทท์ างการละคร

ในการแสดง

• ภาษาทา่ และการตบี ท

• ท่าทางเคล่ือนไหวท่ีแสดงส่อื ทาง

อารมณ์

• ระบำเบ็ดเตล็ด

• รำวงมาตรฐาน
ม.๑/๔

• บทบาทและหนา้ ทข่ี องฝา่ ยต่าง ๆ

ในการจัดการแสดง

• การสร้างสรรค์กิจกรรมการแสดงท่ี
สนใจ โดยแบง่ ฝา่ ยและหนา้ ท่ีให้

ม.๑/๕ ชัดเจน

• หลักในการชมการแสดง

49

มาตรฐาน เวลา นำ้ หนัก
(ชั่วโมง) คะแนน
หน่วยที่ ช่ือหน่วย การเรียนรู้ / สาระสำคญั
๔ ๔ ๑๐
ตวั ชีว้ ดั
๓ ๕
การ ศ ๓.๑
๓ ๑๐
เปล่ยี นแปลง ม.๑/๓ • รปู แบบการแสดงนาฏศลิ ป์

ของนาฏศลิ ป์ - นาฏศิลป์

- นาฏศลิ ป์พืน้ บา้ น

ศ ๓.๒ - นาฏศลิ ปน์ านาชาติ
ม.๑/๑
• ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
ของนาฏศลิ ป์ นาฏศลิ ป์พนื้ บ้าน ละคร

ไทย และละครพนื้ บ้าน

ม.๑/๒ • ประเภทของละครไทยในแต่ละยุค
สมัย

50

โครงสร้างรายวชิ า

รหสั วิชา ศ ๒๒๑๐๑ ชอื่ วิชา ศลิ ปศึกษา ๓ รายวิชา พน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศิลปะ

ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ จำนวน ๑ หนว่ ยกิต ภาคเรียนท่ี ๑

หนว่ ย ชือ่ หน่วย มฐ./ ตชว. สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก
ท่ี (ชัว่ โมง) คะแนน

๑ พืน้ ฐานดา้ น ศ ๑.๑
ม.๒/๑
ศลิ ปะ ม.๒/๒ • รปู แบบของทศั นธาตุและแนวคิดใน ๓ ๕
งานทศั นศลิ ป์ ๓ ๕
๒ การวจิ ารณ์ ม.๒/๓
งานศลิ ปะ • ความเหมือนและความแตกต่างของ ๔ ๑๐
ม.๒/๔ รปู แบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในงาน ๒ ๕
๓ ศิลปะและ ม.๒/๕ ทัศนศิลป์ ของศิลปิน ๔ ๑๐
วฒั นธรรม
ภมู ิปญั ญา • เทคนิคในการวาดภาพส่ือ
ไทยและ ความหมาย
สากล
• การประเมนิ และวจิ ารณ์งาน
ทัศนศิลป์

• การพฒั นางานทัศนศิลป์

ม.๒/๖ • การจดั ทำแฟม้ สะสมงานทัศนศิลป์ ๒ ๕
• การวาดภาพถ่ายทอด ๒ ๕
ม.๒/๗ บุคลกิ ลกั ษณะของตัวละคร
ศ ๑.๒ • งานทัศนศิลป์ในการโฆษณา ๒ ๕
๔ ๑๐
ม.๒/๑ • วัฒนธรรมที่สะท้อนในงาน ๔ ๑๐
ทศั นศิลป์ปัจจบุ ัน
ม.๒/๒ • งานทศั นศิลป์ของไทยในแตล่ ะยคุ
สมัย
ม.๒/๓ • การออกแบบงานทัศนศลิ ปใ์ น
วัฒนธรรมไทยและสากล


Click to View FlipBook Version