51
หนว่ ย ชื่อหน่วย มฐ./ ตชว. สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก
ที่ (ช่วั โมง) คะแนน
๔ สุนทรยี กับ ศ ๒.๑
ทักษะทาง ม.๒/๑ • องค์ประกอบของดนตรีจากแหล่ง ๓ ๑๐
ดนตรี วัฒนธรรมตา่ ง ๆ
ม.๒/๒ • เครอ่ื งหมายและสญั ลักษณ์ทาง ๔ ๑๐
ดนตรี
- โน้ตจากเพลงไทยอัตราจังหวะ
สองชั้น
- โนต้ สากล (เครื่องหมายแปลง
เสียง)
ม.๒/๓ • ปจั จัยในการสรา้ งสรรค์บทเพลง ๓ ๑๐
- จนิ ตนาการในการสรา้ งสรรคบ์ ท
เพลง
- การถ่ายทอดเรอื่ งราวความคดิ
ในบทเพลง
รวม ๔๐ ๑๐๐
52
โครงสร้างรายวิชา
รหสั วิชา ศ ๒๒๑๐๒ ช่ือวิชา ศิลปศกึ ษา ๔ รายวิชา พื้นฐาน กล่มุ สาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ
ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ จำนวน ๑ หน่วยกิต ภาคเรียนท่ี ๒
หน่วย ชื่อหน่วย มฐ./ ตชว. สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก
ที่ (ชว่ั โมง) คะแนน
๑ เทคนิคการ ศ ๒.๑
ถา่ ยทอดกับ ม.๒/๔ • เทคนิค การร้องและบรรเลงดนตรี ๔ ๑๐
๒ ๕
การวเิ คราะห์ - การร้องและบรรเลงเดี่ยว
ทางดนตรี - การรอ้ งและบรรเลงเป็นวง
ม.๒/๕ • การบรรยายอารมณ์และความร้สู ึกใน
บทเพลง ๔๕
ม.๒/๖ • การประเมินความสามารถทาง
ดนตรี
- ความถกู ต้องในการบรรเลง
- ความแม่นยำในการอา่ น
เครือ่ งหมายและสญั ลักษณ์
- การควบคมุ คุณภาพเสยี งใน
การร้องและบรรเลง
๒ อาชีพและ ศ ๒.๑
วัฒนธรรม ม.๒/๗ • อาชีพทางดา้ นดนตรี ๓๕
อิทธพิ ลของ • บทบาทของดนตรีในธรุ กิจบนั เทิง
ดนตรี ศ ๒.๒
ม.๒/๑ • ดนตรใี นวัฒนธรรมต่างประเทศ ๓ ๑๐
- บทบาทของดนตรีใน
วฒั นธรรม
- อิทธิพลของดนตรใี น
วฒั นธรรม
53
หน่วย ช่อื หน่วย มฐ./ ตชว. สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก
ที่ (ช่ัวโมง) คะแนน
ม.๒/๒ • เหตกุ ารณป์ ระวตั ิศาสตรก์ ับการ ๔ ๑๐
เปลย่ี นแปลง ทางดนตรีในประเทศไทย
- การเปลย่ี นแปลงทางการเมือง
กบั งานดนตรี
- การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี
กบั งานดนตรี
๓ องค์ประกอบ ศ ๓.๑
การแสดงกับ ม.๒/๑ • ศิลปะแขนงอืน่ ๆ กับการแสดง ๒๕
การวิเคราะห์ - แสง สี เสยี ง
และการ - ฉาก
วิจารณ์ - เครือ่ งแต่งกาย
นาฏศิลป์
- อปุ กรณ์
ม.๒/๒ • หลกั และวิธกี ารสรา้ งสรรค์การ ๒๕
แสดง โดยใชอ้ งค์ประกอบนาฏศิลป์
และการละคร ๒ ๕
ม.๒/๓ • หลักและวธิ กี ารวเิ คราะหก์ ารแสดง
ม.๒/๔ • วิธีการวิเคราะห์ วิจารณก์ ารแสดง ๒ ๑๐
นาฏศลิ ป์ และการละคร
• รำวงมาตรฐาน
ม.๒/๕ • ความสมั พันธข์ องนาฏศลิ ป์หรือ ๒ ๕
การละครกบั สาระการเรยี นรู้อ่ืน ๆ
54
หน่วย ช่ือหน่วย มฐ./ ตชว. สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก
ท่ี (ช่ัวโมง) คะแนน
๔ ความงาม ศ ๓.๒ ๔ ๑๐
ทางนาฎศลิ ป์ ม.๒/๑ • นาฏศิลปพ์ น้ื เมือง ๔ ๑๐
- ความหมาย
- ทีม่ า ๒๕
- วฒั นธรรม ๔๐ ๑๐๐
- ลกั ษณะเฉพาะ
ม.๒/๒ • รูปแบบการแสดงประเภทต่าง ๆ
- นาฏศลิ ป์
- นาฏศิลปพ์ ืน้ เมือง
- ละครไทย
ม.๒/๓ - ละครพื้นบ้าน
• การละครสมัยต่าง ๆ
รวม
55
โครงสร้างรายวิชา
รหสั วิชา ศ ๒๓๑๐๑ ช่ือวิชา ศิลปศึกษา ๕รายวิชา พนื้ ฐานกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ
ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ จำนวน ๑ หนว่ ยกิต ภาคเรยี นท่ี ๑
หน่วย ชอื่ หน่วย มฐ./ ตชว. สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก
ที่ (ชัว่ โมง) คะแนน
๑ กระบวนการ ศ ๑.๑
ทางศลิ ปะ ม.๓/๑ • ทัศนธาตุ หลักการออกแบบใน ๒๕
สง่ิ แวดล้อม
และงานทัศนศิลป์ ๓๕
ม.๓/๒ • เทคนคิ วิธกี ารของศิลปนิ ในการ
สรา้ งงานทศั นศิลป์ ๒๕
ม.๓/๓ • วิธกี ารใชท้ ศั นธาตุและหลักการ
ออกแบบในการสรา้ งงานทัศนศิลป์ ๓๕
ม.๓/๗ • การประยุกตใ์ ช้ทัศนธาตุและ
หลักการออกแบบสร้างงานทัศนศิลป์
๒ สร้างสรรค์ ศ ๑.๑
งานศลิ ปะ ม.๓/๔ • การสร้างงานทัศนศลิ ป์ทั้งไทยและ ๒ ๕
๕
สากล ๕
ม.๓/๕ • การใช้หลักการออกแบบในการ ๓ ๕
สร้างงานสื่อผสม ๓
ม.๓/๖ • การสร้างงานทัศนศลิ ป์แบบ ๒ มิติ
และ ๓ มิติ เพ่ือถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ ๒
ม.๓/๙ • การใชเ้ ทคนิค วิธีการทห่ี ลากหลาย
สรา้ งงานทศั นศลิ ป์เพ่ือส่อื ความหมาย
56
หนว่ ย ชอื่ หน่วย มฐ./ ตชว. สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก
ที่ (ชัว่ โมง) คะแนน
๓ สนุ ทรยี ะกบั ศ ๑.๑
ศลิ ปะและ ม.๓/๘ • การวเิ คราะห์รปู แบบ เนอ้ื หา และ ๒ ๕
วัฒนธรรม คุณค่าในงานทัศนศลิ ป์
ภูมิปัญญา ม.๓/๑๐ • การประกอบอาชีพทางทัศนศิลป์ ๒ ๕
ไทยและ ม.๓/๑๑ • การจดั นทิ รรศการ ๒ ๕
สากล ศ ๑.๒
ม.๓/๑ • งานทัศนศลิ ป์กบั การสะท้อนคณุ ค่า ๒ ๕
ม.๓/๒ ของวัฒนธรรม ๒ ๑๐
• ความแตกต่างของงานทศั นศิลปใ์ น
แตล่ ะยุคสมยั ของวฒั นธรรมไทยและ
สากล
๔ รอบร้เู รื่อง ศ ๒.๑
ดนตรี ม.๓/๑ • การเปรยี บเทยี บองคป์ ระกอบใน ๓ ๑๐
งานศลิ ปะ
- การใช้องคป์ ระกอบในการ
สร้างสรรคง์ านดนตรีและ
ศลิ ปะแขนงอ่นื
เทคนคิ ทใ่ี ชใ้ นการสรา้ งสรรค์งานดนตรี
และศลิ ปะแขนงอืน่ ๕
ม.๓/๒ • เทคนิคและการแสดงออกในการขบั ๒
ร้องและบรรเลงดนตรเี ด่ียวและรวมวง
• อัตราจังหวะ ๒ และ ๔ ๒๕
ม.๓/๓ ๔ ๔
• การประพันธ์เพลงในอัตรา
จังหวะ ๒ และ ๔
๔๔
57
หนว่ ย ช่ือหน่วย มฐ./ ตชว. สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก
ที่ (ช่ัวโมง) คะแนน
ม.๓/๔ • การเลือกใช้องค์ประกอบในการ ๓ ๑๐
สรา้ งสรรค์บทเพลง
- การเลอื กจังหวะเพ่ือสร้างสรรค์
บทเพลง
- การเรยี บเรียงทำนองเพลง
รวม ๔๐ ๑๐๐
58
โครงสรา้ งรายวิชา
รหสั วิชา ศ ๒๓๑๐๒ ช่อื วิชา ศลิ ปศึกษา ๖ รายวิชา พืน้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ
ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๓ จำนวน ๑ หนว่ ยกติ ภาคเรยี นท่ี ๒
หน่วย ชอ่ื หน่วย มฐ. / ตชว. สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั
ที่ (ชวั่ โมง) คะแนน
๑ สนุ ทรียภาพ ศ ๒.๒
ทางดนตรี ม.๓/๕ • การเปรียบเทียบความแตกต่างของ ๔ ๑๐
บทเพลง
- สำเนยี ง
- อตั ราจังหวะ
- รูปแบบบทเพลง
- การประสานเสยี ง
ม.๓/๖ - เครอ่ื งดนตรีท่บี รรเลง ๔ ๑๐
• อิทธพิ ลของดนตรี
- อทิ ธิพลของดนตรีต่อบุคคล
ศ ๒.๒ - อิทธพิ ลของดนตรตี ่อสังคม
ม.๓/๑ ๘ ๒๐
• ประวัตดิ นตรีไทยยุคสมัยตา่ ง ๆ
• ประวตั ดิ นตรีตะวันตกยคุ สมยั ต่าง ๔ ๑๐
ม.๓/๒ ๆ
• ปัจจัยทท่ี ำให้งานดนตรไี ดร้ ับการ
ยอมรับ
๒ ทกั ษะการ ศ ๓.๑
แสดงออก
ทาง ม.๓/๑ • องคป์ ระกอบของบทละคร ๒๕
นาฏศิลป์
- โครงเร่อื ง
- ตัวละครและการวางลกั ษณะ
นิสยั ของ
ตัวละคร
- ความคดิ หรือแก่นของเร่อื ง
บทสนทนา
59
หนว่ ย ชื่อหน่วย มฐ. / ตชว. สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก
ท่ี (ช่วั โมง) คะแนน
ม.๓/๒ • ภาษาท่าหรือภาษาทางนาฏศิลป์ ๒ ๕
- ภาษาท่าท่มี าจากธรรมชาติ
- ภาษาท่าทมี่ าจากการ
ประดษิ ฐ์ ๒๕
ม.๓/๓ - รำวงมาตรฐาน
• รูปแบบการแสดง
- การแสดงเป็นหมู่
- การแสดงเด่ยี ว
ม.๓/๔ - การแสดงละคร ๒๕
- การแสดงเป็นชดุ เป็นตอน
• การประดษิ ฐ์ทา่ รำและท่าทาง
ประกอบ การแสดง
- ความหมาย
- ความเปน็ มา
- ทา่ ทางที่ใช้ในการประดษิ ฐ์
ท่ารำ
๓ องคป์ ระกอ ม.๓/๕ • องคป์ ระกอบนาฏศิลป์ ๒๕
บนาฏศิลป์ - จงั หวะทำนอง
- การเคลือ่ นไหว
- อารมณ์และความรู้สกึ
- ภาษาทา่ นาฎยศพั ท์
- รปู แบบของการแสดง
- การแตง่ กาย
60
หนว่ ย ชอื่ หน่วย มฐ. / ตชว. สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก
ที่ (ช่ัวโมง) คะแนน
ม.๓/๖ • วธิ ีการเลือกการแสดง ๒๕
- ประเภทของงาน
- ขนั้ ตอน
- ประโยชน์และคุณคา่ ของการ
ม.๓/๗ แสดง ๒๕
• ละครกับชีวิต
๔ สุนทรยี ภาพ ศ ๓.๒
ทาง ม.๓/๑ • การออกแบบและสร้างสรรค์ ๒๕
นาฏศลิ ป์ ๒๕
อุปกรณ์และ
ม.๓/๒ เครื่องแต่งกายเพ่ือการแสดง ๒๕
นาฏศิลป์
• ความสำคัญและบทบาทของ
ม.๓/๓ นาฏศิลป์ และการละครใน
ชวี ิตประจำวัน
• การอนุรักษน์ าฏศิลป์
รวม ๔๐ ๑๐๐
61
โครงสรา้ งรายวชิ า
รหัสวิชา ศ ๓๑๑๐๑ ชอ่ื วิชา ศิลปศกึ ษา ๑ รายวิชา พ้ืนฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ
ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๒๐ ช่วั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ภาคเรยี นที่ ๑
หน่วย ชอ่ื หน่วย สาระการเรยี นรู้ มาตรฐาน เวลา น้ำหนกั
ท่ี การเรยี นรู้ (ชั่วโมง) คะแนน
/ ตวั ชี้วดั
๑ พ้นื ฐานทาง • ทศั นธาตุและหลักการออกแบบ ศ ๑.๑ ๒ ๕
ทศั นศิลป์ ม.๔/๑
• ศัพท์ทางทัศนศลิ ป์ ศ ๑.๑ ๑ ๕
ม.๔/๒
• วัสดุ อุปกรณ์ และ ศ ๑.๑ ๒ ๑๐
เทคนคิ ของศลิ ปิน ม.๔/๓
ในการแสดงออก
ทางทศั นศิลป์
• เทคนิควสั ดุอุปกรณ์ ศ ๑.๑ ๒ ๑๐
กระบวนการ ม.๔/๔
๒ พ้ืนฐานทางดนตรี • การจัดวงดนตรี ศ ๒.๑ ๒ ๑๐
-การใช้เคร่ืองดนตรใี น ม.๔/๑
วงดนตรีประเภทต่างๆ
-บทเพลงที่บรรเลงโดย
วงดนตรีประเภทต่างๆ
• ประเภทของวงดนตรี ศ ๒.๑ ๓ ๑๐
-ประเภทของวงดนตรี ม.๔/๒
ไทย
-ประเภทของวงดนตรี
สากล
62
หน่วย ชื่อหน่วย สาระการเรียนรู้ มาตรฐาน เวลา น้ำหนัก
ที่ การเรียนรู้ (ช่วั โมง ) คะแนน
/ ตัวช้วี ัด
• ปจั จยั ในการ ศ ๒.๑ ๒ ๑๕
สร้างสรรคผ์ ลงาน
ดนตรใี นแตล่ ะ ม.๔/๓
วฒั นธรรม
ศ ๓.๑ ๒ ๑๕
- ความเช่อื กับการ ม.๔/๑
สร้างสรรค์งานดนตรี
-ศาสนากบั การ
สรา้ งสรรค์งานดนตรี
-วถิ ีชีวติ กบั การ
สร้างสรรคง์ านดนตรี
- เทคโนโลยกี บั การ
สร้างสรรคง์ านดนตรี
๓ ระบำ รำ ฟ้อน • รูปแบบของการ
แสดง
- ระบำ รำ ฟ้อน
- การแสดงพืน้ เมอื ง
ภาคตา่ ง ๆ
- การละครไทย
- การละครสากล
• การประดิษฐ์ท่ารำที่ ศ ๓.๑ ๒ ๑๐
เปน็ คูแ่ ละหมู่ ม.๔/๓
- ความหมาย
- ประวัตคิ วามเปน็ มา
- ทา่ ทางทีใ่ ช้ในการ
ประดิษฐ์ทา่ รำ
- เพลงท่ีใช้
-
63
หน่วย ช่อื หน่วย สาระการเรยี นรู้ มาตรฐาน เวลา นำ้ หนัก
ท่ี การเรยี นรู้ (ชัว่ โมง ) คะแนน
/ ตัวชี้วดั
• หลกั การสรา้ งสรรค์ ศ ๓.๑ ๒ ๑๐
และการวจิ ารณ์ ม.๔/๔
• หลักการชมการ ๒๐ ๑๐๐
แสดงนาฏศิลปแ์ ละ
การละคร
รวม
64
รหัสวชิ า ศ ๓๑๑๐๒ โครงสร้างรายวชิ า
ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๔ ชอื่ วิชา ศลิ ปศึกษา ๒ รายวิชา พ้ืนฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ
เวลา ๒๐ ชั่วโมงจำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ภาคเรยี นที่ ๒
หน่วย ชื่อหน่วย สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการ เวลา น้ำหนัก
ท่ี เรยี นรู้ / (ชัว่ โมง ) คะแนน
ตวั ชีว้ ดั
๑ ความแตกต่างของ • งานทัศนศิลป์ ศ ๑.๒ ๒ ๑๐
ม.๔/๑
งานทศั นศลิ ป์ รปู แบบตะวนั ออก
และตะวนั ตก
• งานทัศนศลิ ป์ของ ศ ๑.๒ ๓ ๑๐
ศลิ ปนิ ทีม่ ชี ื่อเสียง ม.๔/๒
• อิทธิพลของ ศ ๑.๒ ๒ ๑๐
วัฒนธรรม ม.๔/๓
ระหวา่ งประเทศท่มี ี
ผลต่องานทัศนศิลป์
๒ บทเพลงสานฝัน • รปู แบบบทเพลงและ ศ ๒.๒ ๔ ๒๐
วงดนตรีไทยแตล่ ะ ยุคสมยั ม.๔/๑
• รปู แบบบทเพลงและวง
ดนตรีสากลแตล่ ะ ยคุ สมยั
• ประวัตสิ งั คีตกวี ศ ๒.๑ ๓ ๑๕
ม.๔/๒
๓ การอนรุ ักษ์ • การแสดงนาฏศิลป์ ศ ๓.๑ ๓ ๒๐
นาฏศิลป์ไทย ในโอกาส ตา่ งๆ ม.๔/๑
• การอนุรักษ์ ศ ๓.๑ ๓ ๑๕
นาฏศลิ ป์ ภมู ปิ ญั ญา ม.๔/๔ ๒๐ ๑๐๐
ท้องถิ่น
รวม
65
รหสั วิชา ศ ๓๒๑๐๒ โครงสรา้ งรายวชิ า
ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๕ ชื่อวิชา ศิลปศกึ ษา ๑ รายวิชา พนื้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ
เวลา ๒๐ ช่ัวโมงจำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ภาคเรียนที่ ๑
หน่วย ชือ่ หน่วย สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการ เวลา น้ำหนกั
ที่ เรียนรู้ / (ช่วั โมง ) คะแนน
ตวั ชีว้ ดั
๑ ทศั นศลิ ป์ • หลักการออกแบบ และการ ศ ๑.๑ ๓ ๑๕
สรา้ งสรรค์
จัดองคป์ ระกอบศลิ ป์ดว้ ย ม.๕/๕
เทคโนโลยี
• การออกแบบงาน ศ ๑.๑ ๒ ๑๐
ทศั นศิลป์ ม.๕/๖
• จดุ ม่งุ หมายของ ศลิ ปนิ ใน ศ ๑.๑ ๒ ๑๐
การ เลือกใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ ม.๕/๗
เทคนคิ และเนื้อหา ในการ
สรา้ งงานทัศนศิลป์
๒ สญั ลักษณ์ตัวโนต๊ • เคร่อื งหมายและสญั ลกั ษณ์ทาง ศ ๒.๑ ๓ ๑๐
กับคณุ ค่าของ ดนตรี ม.๕/๔ ๒ ๑๐
ผลงานดนตรี
- เครอ่ื งหมายกำหนดอตั รา
จงั หวะ
- เครือ่ งหมาย กำหนดบนั ได
เสยี ง
• โน้ตบทเพลงไทยอัตรา
จังหวะ
2 ช้นั และ 3 ช้นั
• เทคนคิ และ การถ่ายทอด ศ ๒.๑
อารมณ์ เพลงด้วยการร้อง ม.๕/๕
บรรเลงเคร่อื งดนตรีเดย่ี ว
และรวมวง
66
หน่วย ชื่อหน่วยการ สาระสำคัญ มาตรฐาน จำนวน น้ำหนัก
ท่ี เรียนรู้ / เวลา คะแนน
(ชั่วโมง)
• เกณฑ์ในการประเมินผล ตวั ชวี้ ัด ๑๐
งานดนตรี ศ ๒.๑ ๒
- คุณภาพของผลงาน
ทางดนตรี ม.๕/๖ ๓ ๒๐
- คุณค่าของผลงาน
ทางดนตรี ศ ๓.๑ ...
ม.๕/๒
๓ ละครสร้างสรรคก์ ับ * ละครสร้างสรรค์ ๓ ๑๕
เทคนคิ การจดั การ - ความเปน็ มา ศ ๓.๑ ๒๐ ๑๐๐
แสดง - องคป์ ระกอบของ ม.๕/๖
ละครสร้างสรรค์
- ละครพูด
* ละครโศกนาฏกรรม
* ละครสขุ นาฏกรรม
* ละครแนวเหมอื นจริง
* ละครแนวไม่เหมอื นจริง
• เทคนคิ การจดั การ
แสดง
- แสงสเี สยี ง
- ฉาก
- อปุ กรณ์
- สถานที่
- เครื่องแตง่ กาย
รวม
67
โครงสรา้ งรายวชิ า
รหสั วชิ า ศ ๓๒๑๐๒ ชื่อวิชา ศลิ ปศึกษา ๒รายวิชา พน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ
ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๕
เวลา ๒๐ ชั่วโมงจำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ภาคเรยี นที่ ๒
หน่วย ชือ่ หน่วยการ สาระสำคัญ มาตรฐานการ จำนวน น้ำหนกั
ท่ี เรยี นรู้ เรยี นรู้ เวลา คะแนน
/ (ชั่วโมง)
ตัวชี้วัด
๑ หลากหลายงาน • งานทศั นศิลป์ ศ ๑.๒ ๒ ๑๕
ศิลป์
รปู แบบตะวันออก ม.๕/๑
และตะวันตก
• งานทัศนศิลป์ของ ศ ๑.๒ ๓ ๑๐
ศิลปินที่มีชอ่ื เสยี ง ม.๕/๒
• อิทธพิ ลของ วฒั นธรรม ศ ๑.๒ ๒ ๑๐
ระหวา่ งประเทศทม่ี ผี ลต่อ ม.๕/๓
งานทัศนศิลป์
๒ ดนตรีกบั สังคมและ • ลักษณะเดน่ ของดนตรใี นแต่ ศ ๒.๒ ๔ ๒๐
๓ ๑๐
วฒั นธรรม ละวัฒนธรรม ม.๕/๓
- เครอื่ งดนตรี
- วงดนตรี
- ภาษา เนอื้ รอ้ ง
- สำเนียง
- องค์ประกอบบทเพลง
• บทบาทดนตรีในการ ศ ๒.๒
สะท้อนสงั คม ม.๕/๔
- ค่านิยมของสงั คม.ใน
ผลงานดนตรี
- ความเชอ่ื ของสังคมใน
งาน ดนตรี
68
หนว่ ย ช่อื หน่วยการ สาระสำคัญ มาตรฐานการ จำนวน นำ้ หนัก
ท่ี เรยี นรู้ เรียนรู้ เวลา คะแนน
/ (ชัว่ โมง)
๓ เรียนรู้ อนรุ ักษ์ • บคุ คลสำคัญใน ตวั ชีว้ ัด ๓
นาฏศิลปไ์ ทย วงการนาฏศลิ ป์ ๓
และ การละคร ศ ๓.๒
ของไทยในยุค ม.๕/๒
สมยั ตา่ ง ๆ
ศ ๓.๒ ๓๓
• การอนุรักษ์ ม.๕/๔ ๒๐ ๑๐๐
นาฏศิลป์ ภูมิ
ปญั ญาทอ้ งถิ่น
รวม
69
รหัสวชิ า ศ ๓๓๑๐๑ โครงสร้างรายวิชา
ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ ชือ่ วิชา ศลิ ปศึกษา ๑รายวิชา พ้นื ฐาน กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ
เวลา ๒๐ ชว่ั โมงจำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ภาคเรียนท่ี ๑
หนว่ ย ช่ือหน่วยการ สาระสำคัญ มาตรฐาน จำนวน นำ้ หนกั
ท่ี เรียนรู้ / เวลา คะแนน
(ชว่ั โมง)
ตวั ชวี้ ัด
๑ สรา้ งสรรคง์ านศิลป์ • ทฤษฎีการวิจารณ์ ศลิ ปะ ศ ๑.๑ ๒๕
ม.๖/๘
• การจดั ทำแฟ้ม สะสมงาน ศ ๑.๑ ๑๕
ทัศนศิลป์ ม.๖/๙
• การสรา้ งงาน ทัศนศิลป์ ศ ๑.๑ ๒ ๑๕
จากแนวคิดและวิธกี ารของ ม.๖/๑๐
ศิลปิน
• การวาดภาพลอ้ เลยี นหรือ ศ ๑.๑ ๒ ๑๐
ภาพการต์ ูน ม.๖/๑๑
๒ คุณค่าทางดนตรี • เกณฑใ์ นการ ประเมนิ ผล ศ ๒.๑ ๒ ๑๐
งาน ดนตรี ม.๖/๖
- คุณภาพของผลงาน ทาง
ดนตรี
- คุณคา่ ของผลงาน ทาง
ดนตรี
• การถา่ ยทอด อารมณ์ ศ ๒.๑ ๒ ๑๐
ความรู้สึก ของงานดนตรจี าก ม.๖/๗
แต่ละวัฒนธรรม
70
หน่วย ชอ่ื หน่วยการ สาระสำคัญ มาตรฐาน จำนวน น้ำหนัก
ท่ี เรียนรู้ / เวลา คะแนน
(ช่ัวโมง)
ตัวชีว้ ัด ๑๕
๓
• ดนตรกี บั การผ่อน คลาย ศ ๒.๑
• ดนตรีกับการ พฒั นามนุษย์ ม.๖/๘
• ดนตรกี บั การxระชาสมั พันธ์
• ดนตรีกบั การ บำบัดรักษา
• ดนตรีกบั ธุรกจิ
• ดนตรกี บั การศึกษา
๓ ร้ปู ระวตั คิ วาม • ประวตั คิ วามเป็นมาของ ศ ๓.๑ ๒ ๑๐
เปน็ มา นาฏศลิ ป์ และการ ละคร ม.๖/๕ ๒ ๑๐
รปู้ ระเมนิ คา่ รู้
สร้างสรรค์ ววิ ฒั นาการความงามและ ๒ ๑๐
๒๐ ๑๐๐
คณุ ค่า
• การประเมิน คุณภาพของ ศ ๓.๑
การ แสดง ม.๖/๗
- คณุ ภาพดา้ นการ แสดง
- คณุ ภาพ องคป์ ระกอบ
การแสดง
• การสร้างสรรค์ ผลงาน ศ ๓.๑
การจัดการ แสดงในวันสำคัญ ม.๖/๘
ของโรงเรียน ชุดการแสดง
ประจำโรงเรยี น
รวม
71
โครงสร้างรายวิช
รหัสวิชา ศ ๓๓๑๐๒ ชอื่ วิชา ศลิ ปศึกษา ๒รายวิชา พน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศิลปะร
ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๖ เวลา ๒๐ ช่ัวโมงจำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ ภาคเรยี นท่ี ๒
หนว่ ย ชอื่ หน่วยการ สาระสำคญั มาตรฐาน จำนวน น้ำหนกั
ที่ เรยี นรู้ / เวลา คะแนน
(ช่วั โมง)
ตัวชว้ี ดั
๑ รอบรู้งานทัศนศิลป์ • งานทศั นศลิ ป์ ศ ๑.๒ ๒ ๑๐
รูปแบบตะวนั ออก ม.๖/๑
และตะวันตก
• งานทัศนศลิ ป์ของ ศ ๑.๒ ๓ ๑๕
ศลิ ปนิ ทมี่ ีชอ่ื เสยี ง ม.๖/๒
• อิทธิพลของ วฒั นธรรม ศ ๑.๒ ๒ ๑๐
ระหว่างประเทศ ทีม่ ีผลต่อ ม.๖/๓
งาน ทัศนศิลป์
๒ ลักษณะเด่นของ • ลักษณะเดน่ ของ ศ ๒.๒ ๒ ๑๐
ม.๖/๓
ดนตรกี บั การ ดนตรีในแต่ละ
อนรุ ักษ์ดนตรไี ทย วัฒนธรรม
- เคร่ืองดนตรี
- วงดนตรี
- ภาษา เนอื้ ร้อง
- สำเนยี ง
- องค์ประกอบบทเพลง
• บทบาทดนตรีในการ ศ ๒.๑ ๓ ๑๕
สะท้อนสงั คม ม.๖/๔
- ค่านยิ มของสังคมใน
ผลงานดนตรี
- ความเช่ือของสังคมใน งาน
ดนตรี
72
หน่วย ช่ือหน่วยการ สาระสำคัญ มาตรฐาน จำนวน น้ำหนัก
ท่ี เรียนรู้ / เวลา คะแนน
(ชัว่ โมง)
ตัวชี้วดั ๑๐
๒
• แนวทางและวิธกี าร ศ ๒.๑
๓ เห็ณคุณ รคู้ ่า ในการส่งเสริม ม.๖/๕ ๒ ๑๐
นาฏศลิ ปไ์ ทย อนรุ กั ษ์ดนตรีไทย
ศ ๓.๒
• บุคคลสำคัญใน วงการ ม.๖/๒ ๒ ๑๐
นาฏศิลปแ์ ละการละคร ของ
ไทยในยุคสมยั ต่าง ๆ ศ ๓.๒ ๒ ๑๐
ม.๖/๓ ๒๐ ๑๐๐
• ววิ ัฒนาการของนาฏศิลป์
และการละครไทย ต้งั แต่อดีต ศ ๓.๒
จนถึงปัจจุบนั ม.๖/๔
• การอนรุ ักษน์ าฏศิลป์ ภมู ิ
ปญั ญาท้องถน่ิ
รวม
73
อภธิ านศัพท์
ทัศนศลิ ป์
โครงสรา้ งเคลอ่ื นไหว (mobile)
เป็นงานประติมากรรมทมี่ โี ครงสร้างบอบบางจัดสมดุลดว้ ยเส้นลวดแข็งบาง ๆ ทม่ี วี ตั ถรุ ูปรา่ ง รปู ทรงต่าง ๆ ท่ี
ออกแบบเชื่อมติดกับเสน้ ลวด เปน็ เครื่องแขวนที่เคลื่อนไหวได้ด้วยกระแสลมเพียงเบา ๆ
งานส่อื ผสม (mixed media)
เป็นงานออกแบบทางทศั นศลิ ป์ทีป่ ระกอบด้วยหลายส่อื โดยใชว้ ัสดุหลาย ๆ แบบ เช่น กระดาษ ไม้ โลหะ สรา้ ง
ความผสมกลมกลืนดว้ ยการสร้างสรรค์
จงั หวะ (rhythm)
เป็นความสัมพันธ์ของทัศนธาตุ เช่น เส้น สี รูปร่าง รูปทรง น้ำหนักในลักษณะของการซ้ำกัน สลับไปมา หรือ
ลักษณะลืน่ ไหล เคลอ่ื นไหวไม่ขาดระยะจังหวะทม่ี ีความสัมพันธ์ต่อเน่ืองกันจะช่วยเน้นใหเ้ กิดความเด่น หรือทางดนตรีก็
คอื การซำ้ กนั ของเสียงในช่วงเทา่ กนั หรอื แตกตา่ งกนั จังหวะให้ความรสู้ ึกหรอื ความพอใจทางสุนทรียภาพในงานศิลปะ
ทัศนธาตุ (visual elements)
สิ่งที่เป็นปัจจัยของการมองเห็นเป็นส่วนต่าง ๆ ที่ประกอบกันเป็นภาพ ได้แก่ เส้น น้ำหนัก ที่ว่าง รูปร่าง
รูปทรง สี และลักษณะพนื้ ผิว
ทัศนียภาพ (perspective)
วธิ ีเขยี นภาพของวตั ถุใหม้ องเหน็ ว่ามรี ะยะใกล้ไกล
ทศั นศลิ ป์ (visual art)
ศิลปะที่รับรู้ได้ด้วยการเห็น ได้แก่ จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ และงานสร้างสรรค์อื่น ๆ ที่รับรู้ด้วยการ
เห็น
ภาพปะตดิ (collage)
เป็นภาพที่ทำขึ้นด้วยการใช้วัสดุต่าง ๆ เช่น กระดาษ ผ้า เศษวัสดุธรรมชาติ ฯลฯ ปะติดลงบนแผ่นภาพ
ดว้ ยกาวหรือแปง้ เปยี ก
วงสธี รรมชาติ (color circle)
คือวงกลมซ่ึงจดั ระบบสใี นแสงสีรุ้งท่ีเรียงกันอยู่ในธรรมชาติ สวี รรณะอุน่ จะอยู่ในซกี ทม่ี สี ีแดงและเหลือง ส่วนสี
วรรณะเย็นอยใู่ นซกี ท่ีมีสีเขียว และสีมว่ ง สีคู่ตรงข้ามกันจะอยูต่ รงกันข้ามในวงสี
74
วรรณะสี (tone)
ลักษณะของสีที่แบ่งตามความรู้สึกอุ่นหรือเย็น เช่น สีแดง อยู่ในวรรณะอุ่น (warm tone) สีเขียวอยู่ใน
วรรณะเยน็ (cool tone)
สคี ู่ตรงข้าม (complementary colors)
สที อี่ ยู่ตรงกันข้ามกนั ในวงสีธรรมชาตเิ ปน็ คู่สีกนั คือ สีคู่ที่ตัดกันหรือตา่ งจากกนั มากทีส่ ดุ เช่น สีแดงกับสีเขียว
สีเหลอื งกับสีม่วง สนี ้ำเงินกับสสี ้ม
องคป์ ระกอบศิลป์ (composition of art)
วิชาหรอื ทฤษฎีทเ่ี กย่ี วกับการสร้างรปู ทรงในงานทัศนศิลป์
ดนตรี
การดำเนินทำนอง (melodic progression)
๑. การก้าวเดนิ ไปข้างหน้าของทำนอง
๒. กระบวนการดำเนินคอรด์ ซง่ึ แนวทำนองขยบั ทีละขน้ั
ความเข้มของเสยี ง (dynamic)
เสยี งเบา เสยี งดงั เสียงทีม่ ีความเข้มเสยี งมากก็ยิ่งดังมากเหมอื นกับ loudness
ด้นสด
เป็นการเล่นดนตรีหรือขับร้อง โดยไม่ได้เตรียมซ้อมตามโน้ตเพลงมาก่อน ผู้เล่นมีอิสระในการกำหนดวิธีปฏิบัติ
เครื่องดนตรีและขับร้อง บนพื้นฐานของเนื้อหาดนตรีที่เหมาะสม เช่น การบรรเลง ในอัตราความเร็วที่ยืดหยุ่น การ
บรรเลงดว้ ยการเพิม่ หรือตดั โนต้ บางตัว
บทเพลงไลเ่ ลียน (canon)
แคนอน มาจากภาษากรีก แปลว่า กฎเกณฑ์ หมายถึงรูปแบบบทเพลงท่ีมหี ลายแนวหรือดนตรีหลายแนว แต่ละ
แนวมที ำนองเหมือนกัน แต่เรม่ิ ไม่พร้อมกันแต่ละแนว จงึ มที ำนองท่ีไล่เลียนกันไปเป็นระยะเวลายาวกว่าการเลียนท่ัวไป
โดยทั่วไปไม่ควรต่ำกว่า ๓ ห้อง ระยะขั้นคู่ระหว่างสองแนว ที่เลียนกันจะห่างกันเป็นระยะเท่าใดก็ได้ เช่น แคนอนคู่
สอง หมายถึง แคนอนที่แนวทั้งสอง เริ่มท่ีโน้ตหา่ งกันเป็นระยะคู่ ๕ และรักษาระยะคู่ ๕ ไปโดยตลอดถือเป็นประเภท
ของลีลาสอดประสานแนวทำนองแบบเลียนทีม่ กี ฎเกณฑ์เข้มงวดทสี่ ุด
ประโยคเพลง (phrase)
กลุ่มทำนอง จงั หวะทเ่ี รยี บเรยี งเชอ่ื มโยงกนั เป็นหนว่ ยของเพลงท่ีมีความคดิ จบสมบรู ณ์ในตัวเอง มักลงทา้ ย
ดว้ ยเคเดนซ์ เปน็ หน่วยสำคัญของเพลง
ประโยคเพลงถาม - ตอบ
เป็นประโยคเพลง ๒ ประโยคที่ต่อเนื่องกันลีลาในการตอบรับ – ส่งล้อ – ล้อเลียนกัน อย่างสอดคล้อง เป็น
ลกั ษณะคล้ายกนั กบั บทเพลงรูปแบบ AB แต่เป็นประโยคเพลงสั้น ๆ ซึ่งมักจะมีอัตราความเรว็ เทา่ กันระหวา่ ง ๒ ประโยค
75
และความยาวเทา่ กัน เช่น ประโยคเพลงที่ ๑ (ถาม) มีความยาว ๒ ห้องเพลง ประโยคเพลงที่ ๒ (ตอบ) ก็จะมีความยาว
๒ หอ้ งเพลง ซง่ึ จะมีลลี าตา่ งกนั แตส่ อดรบั กนั ได้กลมกลืน
ผลงานดนตรี
ผลงานที่สร้างสรรคข์ ึ้นมาโดยมคี วามเก่ยี วข้องกบั การนำเสนองานทางดนตรี เชน่ บทเพลง การแสดงดนตรี
เพลงทำนองวน (round)
เพลงทปี่ ระกอบดว้ ยทำนองอยา่ งน้อย ๒ แนว ไลเ่ ลียนทำนองเดียวกนั แตต่ ่างเวลาหรือจงั หวะ สามารถไล่เลียน
กันไปได้อยา่ งตอ่ เนอ่ื งจนกลับมาเรม่ิ ตน้ ใหม่ได้อีกไม่มีวนั จบ
รูปร่างทำนอง (melodic contour)
รปู ร่างการข้ึนลงของทำนอง ทำนองท่ีสมดุลจะมีทศิ ทางการขึ้นลงทเี่ หมาะสม
สีสันของเสียง
ลกั ษณะเฉพาะของเสียงแตล่ ะชนิดทม่ี ีเอกลักษณ์เฉพาะต่างกนั เช่น ลกั ษณะเฉพาะของสีสันของเสียงผู้ชายจะ
มีความทุ้มต่ำแตกต่างจากสีสันของเสียงผู้หญิง ลักษณะเฉพาะของสีสันของเสียง ของเด็กผู้ชายคนหนึ่งจะมีความ
แตกต่างจากเสียงเดก็ ผ้ชู ายคนอืน่ ๆ
องคป์ ระกอบดนตรี (elements of music)
สว่ นประกอบสำคัญท่ที ำใหเ้ กดิ เสยี งดนตรี ไดแ้ ก่ทำนอง จังหวะ เสยี งประสาน สสี ันของเสยี ง และเน้อื ดนตรี
อัตราความเร็ว (tempo)
ความชา้ ความเรว็ ของเพลง เชน่ อัลเลโกร(allegero) เลนโต (lento)
ABA
สัญลกั ษณบ์ อกรปู แบบวรรณกรรมดนตรแี บบตรีบท หรือเทอรน์ ารี (ternary)
ternary form
สังคีตลักษณ์สามตอน โครงสร้างของบทเพลงทีม่ ีส่วนสำคัญขยบั ทีละขั้นอยู่ ๓ ตอน ตอนแรกและตอนที่ ๓ คือ
ตอน A จะเหมือนหรือคล้ายคลงึ กันทัง้ ในแง่ของทำนองและกุญแจเสียง ส่วนตอนท่ี ๒ คือ ตอน B เป็นตอนที่แตกตา่ ง
ออกไป ความสำคัญของสังคีตลักษณ์นี้ คือ การกลับมา ของตอน A ซึ่งนำทำนองของส่วนแรกกลับมาในกุญแจเสียง
เดิมเป็นสังคีตลกั ษณ์ที่ใชม้ ากทส่ี ุดโดยเฉพาะในเพลงร้อง จงึ อาจเรยี กวา่ สงั คีตลกั ษณ์เพลงร้อง (song form) ก็ได้
นาฏศลิ ป์
การตีบท
การแสดงทา่ รำตามบทรอ้ ง บทเจรจาหรือบทพากย์ควรคำนงึ ถึงความหมายของบท แบง่ เป็นการตีบท ธรรมชาติ
และการตีบทแบบละคร
76
การประดิษฐท์ ่า
การนำภาษาทา่ ภาษานาฎศิลป์ หรอื นาฏยศพั ท์มาออกแบบ ให้สอดคลอ้ งสัมพนั ธ์กับจังหวะทำนอง บท
เพลง บทรอ้ ง ลีลา ความสวยงาม
นาฏยศัพท์
ศัพทเ์ ฉพาะทางนาฎศลิ ป์ ท่ใี ชเ้ กยี่ วกับการเรยี กท่ารำ กิรยิ าท่ีแสดงมีสว่ นศรี ษะใบหนา้ และไหล่ ส่วนแขนและ
มอื ส่วนของลำตวั ส่วนขาและเทา้
บคุ คลสำคญั ในวงการนาฎศลิ ป์
เป็นผู้เชย่ี วชาญทางนาฎศิลป์ และภูมปิ ญั ญาท้องถิ่นทีส่ รา้ งผลงาน
ภาษาท่า
การแสดงท่าทางแทนคำพดู ใชแ้ สดงกิริยาหรอื อิริยาบถ และใชแ้ สดงถึงอารมณภ์ ายใน
ส่วนขาและเทา้
กริ ยิ าแสดง เช่น กระทบ ยดื ยบุ ประเท้า กระดกเท้า กระทุ้ง จรด ขยับ ซอย วางส้น ยกเทา้ ถดั เทา้
ส่วนแขนและมือ
กิรยิ าท่ีแสดง เช่น จีบ ต้งั วง ลอ่ แกว้ มว้ นมือ สะบดั มอื กรายมือ สา่ ยมือ
ส่วนลำตัว
กิริยาทแ่ี สดง เชน่ ยักตัว โยต้ วั โยกตวั
ส่วนศีรษะใบหนา้ และไหล่
กริ ยิ าทแี่ สดง เช่น เอยี งศีรษะ เอยี งไหล่ กดไหล่ กล่อมไหล่ กล่อมหน้า
สง่ิ ท่เี คารพ
ในสาระนาฎศิลป์มีสิ่งที่เคารพสืบทอดมา คือ พ่อแก่ หรือพระพรตฤษี ซึ่งผู้เรียนจะต้อง แสดงความเคารพ
เมื่อเริ่มเรียนและกอ่ นแสดง
องคป์ ระกอบนาฎศลิ ป์
จังหวะและทำนองการเคลอื่ นไหว อารมณแ์ ละความรูส้ ึก ภาษาท่า นาฎยศพั ท์ รปู แบบของการแสดง การแต่ง
กาย
องคป์ ระกอบละคร
การเลือกและแต่งบท การเลือกผู้แสดง การกำหนดบุคลิกของผู้แสดง การพัฒนารูปแบบของการแสดง การ
ปฏิบตั ติ นของผู้แสดงและผ้ชู ม
77
1.2 การจดั การเรียนรู้
1.2.1 การออกแบบหนว่ ยกาเรยี นรู้
มกี ารประเมนิ ผลการใช้หน่วยการเรียนรู้
และนำผลการประเมนิ มาปรบั ปรงุ
78
79
ผลงานนักเรียน
80
81
82
83
84
85
86
87
88
1.2.2 การจัดทำแผนการจดั การเรียนรู้/แผนการจดั การศึกษาเฉพาะบคุ คล(IEP)
/แผนการสอนรายบุคคล(IIP)/แผนการจดั ประสบการณ์
89
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 เร่อื ง ความรู้เบอื้ งต้นเกีย่ วกับทศั นศิลป์
รหสั วชิ า ศลิ ปะ ช่อื วชิ า ศิลปะ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศิลปะ
ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 คะแนน 15 คะแนน เวลา 3 ช่ัวโมง
มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 1.1 ม.1/1 สรา้ งสรรค์งานทัศนศลิ ปต์ ามจนิ ตนาการ และความคดิ สร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์
คณุ ค่างานทัศนศลิ ป์ ถา่ ยทอดความรู้สึกความคิดต่องานศิลปะอย่างอสิ ระ ชนื่ ชม และประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวัน
ตัวชีว้ ดั
ม 1.1 บรรยายความแตกต่างและความคลา้ ยคลงึ กันของงานทศั นศลิ ป์และส่งิ แวดล้อม โดยใช้
ความร้เู รื่องทศั นธาตุ
สาระสำคญั
การสร้างสรรคง์ านศิลปะน้ัน จำเป็นจะตอ้ งมคี วามรู้เบื้องต้นเก่ยี วกับงานทัศนศลิ ป์ และความสัมพันธร์ ะหวา่ งศิลปะกับ
มนษุ ย์
สาระการเรยี นรู้
- ความรู้ (นักเรียนตอ้ งรู้อะไรหรอื เนอื้ หาที่สอนตามตวั ชว้ี ดั )
สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
- ความแตกตา่ งและความคล้ายคลงึ กนั ของทศั นธาตุในงานทัศนศิลป์และส่ิงแวดล้อม
สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิน่
- ความหมายของศิลปะและทศั นศิลป์
- ความสมั พันธ์ระหวา่ งศลิ ปะกับมนุษย์
- ประเภทของงานทัศนศิลป์
- ทกั ษะ/กระบวนการ (นักเรียนสามารถปฏบิ ตั ิอะไรได้บ้างตามตัวช้วี ดั )
- นักเรยี นบอกความหมายของความหมายของศลิ ปะและทัศนศลิ ป์ความสมั พันธ์ระหว่างศิลปะกับมนษุ ย์ และประเภท
ของงานทศั นศลิ ปไ์ ด้
- คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (นกั เรยี นแสดงพฤติกรรมอะไรบ้างตามตวั ชวี้ ดั )
- มวี นิ ัย
- ใฝเ่ รียนรู้
- ม่งุ มนั่ ในการทำงาน
90
สมรรถนะสำคัญ (นักเรยี นเกิดสมรรถนะอะไรบา้ ง)
✓ ความสามารถในการสื่อสาร
ความสามารถในการคดิ
- ตัวชี้วัด 2.1 คิดพื้นฐาน
ความสามารถในการแก้ปญั หา
ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
ทักษะในศตวรรษท่ี 21
3R
Reading (อา่ นออก) ✓) Writing (เขียนได้) Arithmetic (มที กั ษะในการคำนวณ)
8C
✓ Critical Thinking and Problem Solving : มีทักษะในการคดิ วเิ คราะห์ การคดิ อย่างมวี ิจารณญาณและแกไ้ ข
ปัญหาได้
Creativity and Innovation : คดิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ คิดเชิงนวัตกรรม
✓ Collaboration Teamwork and Leadership : ความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ ำ
Communication Information and Media Literacy : ทักษะในการส่ือสาร และการรเู้ ทา่ ทนั สอื่
Cross-cultural Understanding : ความเขา้ ใจความแตกตา่ งทางวัฒนธรรม กระบวนการคิดข้ามวฒั นธรรม
Computing and ICT Literacy : ทกั ษะการใชค้ อมพิวเตอร์ และการรู้เทา่ ทันเทคโนโลยี ซึ่งเยาวชนฃนในยคุ
ปจั จบุ ันมคี วามสามารถด้านคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยอี ย่างมากหรือเปน็ Native Digital สว่ นคนรนุ่ เกา่ หรือผู้สูงอายุ
เปรยี บเสมือนเป็น Immigrant Digital แต่เราตอ้ งไม่อายท่ีจะเรียนรแู้ มว้ า่ จะสงู อายแุ ล้วกต็ าม
Career and Learning Skills : ทักษะทางอาชพี และการเรยี นรู้
Compassion : มคี ณุ ธรรม มีเมตตา กรณุ า มรี ะเบียบวนิ ยั ซ่งึ เปน็ คณุ ลักษณะพื้นฐานสำคัญของทักษะข้นั ตน้
ท้ังหมด และเปน็ คุณลักษณะที่เดก็ ไทยจำเป็นต้องมี
โรงเรยี นคณุ ธรรม
✓ วินยั สุภาพ ซ่อื สัตย์ จิตอาสา
การประเมินระหว่างจัดกจิ กรรม (ประเมินเพื่อพัฒนา)
ส่งิ ทีป่ ระเมิน วธิ กี าร เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมนิ
-ความสัมพันธ์ ตรวจความถูกต้องของ -ใบงานที่ ความสมั พันธร์ ะหว่าง ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ 70
ระหว่างศิลปะกบั แบบฝึกหัด ศิลปะกบั มนุษย์
มนุษย์ -ใบงานที่ ประเภทของงาน
-ประเภทของงาน ทศั นศลิ ป์
ทัศนศลิ ป์ -แบบทดสอบ
-แบบทดสอบ
91
กิจกรรมการเรียนรู้ (จดั กิจกรรมการเรียนรู โดยใชรูปแบบวฎั จักรการเรยี นรูแบบ 4MAT)
ตัวชี้วัด
ศ 1.1 ม.1/1 บรรยายความแตกตา่ งและความคล้ายคลึงกันของงานทศั นศลิ ป์และสิ่งแวดลอ้ ม โดยใชค้ วามรเู้ รื่อง
ทศั นธาตุ
การบรู ณาการประสบการณดวยตนเอง (WHY)
ขนั้ ที่ 1 : ขั้นสรางประสบการณ
ศลิ ปะและทศั นศิลป์
- ครูนำภาพงานทัศนศิลปป์ ระเภทต่างๆ มาให้นักเรยี นดู แล้วให้นักเรยี นสงั เกตและแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกบั ความงาม
และคณุ ค่าของงานดังกล่าว
- ครยู กตัวอยา่ งงานศลิ ปะท่ชี ่ืนชอบ 1 ผลงาน พร้อมบอกเหตผุ ลที่ช่นื ชอบ แล้วตงั้ คำถามเพื่อใหน้ กั เรียนคิด
วเิ คราะหค์ วามหมายของศิลปะ ซง่ึ นักเรยี นสามารถตอบได้อย่างหลากหลาย
ประเภทของงานทัศนศลิ ป์
- ครแู บง่ นักเรียนเป็นกลมุ่ กลุ่มละ 4 คน คละกนั ตามความสามารถ แลว้ ครูแจกภาพงานทศั นศลิ ปใ์ หน้ ักเรียน
กลุ่มละ 1 ชดุ แล้วใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลุม่ ชว่ ยกันพจิ ารณาภาพท่ีกลุ่มของตนไดร้ ับว่า เปน็ ผลงานทศั นศิลปป์ ระเภทใดบา้ ง
- ครูสมุ่ นกั เรยี นแต่ละกล่มุ บอกประเภทของงานทศั นศลิ ป์ในบัตรภาพท่ีกลมุ่ ของตนได้รับ โดยครูและเพ่ือน
กลมุ่ อื่นร่วมกนั ตรวจสอบความถูกต้อง
สิง่ แวดล้อมและงานทศั นศลิ ป์
- ครใู หน้ ักเรยี นดภู าพผลงานทศั นศิลป์ แล้วใหน้ ักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเหน็ ว่า ผลงานดังกลา่ วมคี วาม
สวยงามหรอื ไม่ พร้อมอธิบายเหตผุ ลประกอบ
- ครอู ธิบายใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจว่า สิง่ สวยงามในธรรมชาติท่มี นษุ ย์ประทับใจและบันทึกไว้เป็นผลงานทศั นศิลป์
สาขาต่างๆ ซ่งึ แต่ละคนมคี วามพึงพอใจที่แตกต่างกัน แสดงให้เห็นว่าความสวยงามนั้นเป็นความคิดเฉพาะตัวของบุคคล
และถา้ มีความลึกซึ้งยง่ิ ข้นึ ในระดบั ท่ีเรยี กว่า “สนุ ทรยี ภาพ” นกั เรยี นจะต้องสัง่ สมประสบการณใ์ นการพิจารณาผลงาน
ทศั นศิลป์ไปทลี ะเล็กทีละน้อยพรอ้ มทั้งต้องมีความรคู้ วามเข้าใจ ในศิลปะอีกดว้ ย
ขั้นท่ี 2 : ขัน้ วเิ คราะหประสบการณ
ศิลปะและทศั นศลิ ป์
- ครใู หนักเรียนแตละคนในหองเรียนชวยกนั คดิ แสดงความคิดเห็นเกยี่ วกบั ความงาม และคณุ ค่าของงาน
ดงั กลา่ ว และนกั เรียนคดิ วเิ คราะห์ความหมายของศิลปะ ซง่ึ นกั เรียนสามารถตอบไดอ้ ยา่ งหลากหลาย
ประเภทของงานทศั นศิลป์
- ครูแบ่งนกั เรียนเป็นกลุม่ กลุ่มละ 4 คน คละกนั ตามความสามารถ แลว้ ครูแจกภาพงานทัศนศลิ ปใ์ ห้นักเรียน
กลุม่ ละ 1 ชดุ แลว้ ใหน้ ักเรียนแต่ละกลุม่ ชว่ ยกนั พจิ ารณาภาพทกี่ ลุ่มของตนไดร้ บั ว่า เปน็ ผลงานทัศนศิลปป์ ระเภทใดบา้ ง
- ครสู ุ่มนกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มบอกประเภทของงานทศั นศลิ ปใ์ นบตั รภาพท่ีกลุ่มของตนไดร้ บั โดยครูและเพ่ือน
กลุ่มอนื่ ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
92
สงิ่ แวดล้อมและงานทศั นศิลป์
- ครูให้นกั เรียนดูภาพผลงานทศั นศลิ ป์ แลว้ ใหน้ ักเรยี นร่วมกันแสดงความคดิ เห็นวา่ ผลงานดงั กล่าวมคี วาม
สวยงามหรอื ไม่ พรอ้ มอธิบายเหตผุ ลประกอบ
- ครอู ธิบายให้นักเรียนเข้าใจวา่ ส่งิ สวยงามในธรรมชาตทิ ่ีมนษุ ยป์ ระทบั ใจและบนั ทึกไว้เปน็ ผลงานทัศนศิลป์
สาขาตา่ งๆ ซ่งึ แต่ละคนมคี วามพงึ พอใจที่แตกต่างกนั แสดงใหเ้ ห็นวา่ ความสวยงามน้ันเปน็ ความคดิ เฉพาะตัวของบุคคล
และถ้ามีความลึกซงึ้ ยงิ่ ข้นึ ในระดับทีเ่ รยี กว่า “สนุ ทรยี ภาพ” นกั เรียนจะต้องสั่งสมประสบการณ์ในการพิจารณาผลงาน
ทศั นศลิ ป์ไปทีละเล็กทลี ะน้อยพรอ้ มทงั้ ต้องมีความรคู้ วามเข้าใจ ในศิลปะอีกดว้ ย
การพฒั นาความคิดรวบยอด (WHAT)
ขัน้ ท่ี 3 : บรู ณาการการสงั เกตไปเปนความคิดรวบยอด
ศิลปะและทัศนศลิ ป์
1.นกั เรียนสรุปความหมายของศิลปะ แลว้ อธิบาย มนุษย์เป็นผู้สร้างสรรค์งานศลิ ปะ โดยไดร้ บั แรงบนั ดาลใจมา
จากการเลียนแบบธรรมชาติ การแสดงออกของบคุ ลิกภาพทางอารมณ์ของมนษุ ย์ การสื่อสาร ความต้องการของศลิ ปิน
เป็นต้น และงานศิลปะที่มนษุ ยส์ ร้างสรรคข์ ึ้นน้ี เราสามารถรบั ร้คู วามงามด้วยการมองเห็นและสมั ผัสไดด้ ว้ ยการจบั ตอ้ ง
2.นักเรียนชว่ ยกันยกตัวอย่างภาพที่แสดงถงึ ความสมั พันธ์ระหวา่ งมนุษย์และศิลปะ นกั เรียนสามารถยกตวั อยา่ ง
ภาพที่เห็น และภาพดงั กล่าวสื่อความหมายอยา่ งไรบา้ ง
4.นักเรยี นแต่ละคชู่ ่วยกันทำใบงานท่ี 1.1 เรอ่ื ง ความสมั พันธร์ ะหว่างศิลปะกบั มนษุ ย์
ประเภทของงานทศั นศิลป์
1.นกั เรยี นสามารถนำความรู้ทีไ่ ดจ้ ากการศึกษามาเล่าใหเ้ พื่อนในกล่มุ ฟัง ผลดั กนั ซกั ถามขอ้ สงสัยและอธบิ ายจน
ทุกคนมคี วามเขา้ ใจชดั เจนตรงกัน
2.นกั เรยี นแตล่ ะคนทำใบงานท่ี 1.2 เรือ่ ง ประเภทของงานทศั นศลิ ป์
สิง่ แวดล้อมและงานทัศนศลิ ป์
2.นกั เรียนวิเคราะห์ภาพผลงานทศั นศลิ ปท์ ีส่ นใจ แลว้ ตอบคำถามในประเด็นท่ีกำหนด
3.ตัวแทนแตล่ ะกลุม่ ออกมานำเสนอผลการวเิ คราะหภ์ าพหน้าชัน้ เรียน
ขั้นที่ 4 : ขน้ั พฒั นาความคิดรวบยอด
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรเู้ กยี่ วกับความหมายของศลิ ปะและทัศนศลิ ป์ และความสมั พันธร์ ะหวา่ งศิลปะกบั
มนุษย์ ประเภทของงานทัศนศิลป์ และสรุปความรูเ้ ก่ียวกบั งานทศั นศิลป์
การปฎิบตั แิ ละปรบั แตงเปนความคิด (HOW)
ขัน้ ที่ 5 : ข้ันปฎิบัตติ ามความคิดรวบยอด
- ครูใหนกั เรยี นทํากิจกรรมตา่ งๆทีค่ รุได้จัดเตรียมให้เพ่ือทดสอบความรูความเขาใจของแตละคน และความชํานาญใน
การแกไขปญหา โดยครคู อยกํากับดแู ล
ขั้นท่ี 6: ปรับแตงเปนความคดิ ของตนเอง
- ครสู ุมถามักเรียนจากการทำกจิ กรรมและครจู ะคอยชวยแกไขสวนท่ีผิดและแนะนําใหถูกตอง
93
การบรู ณาการและประยุกตประสบการณ(WHAT…IF)
ขัน้ ที่ 7: วเิ คราะหเพ่ือนําไปประยกุ ตใช
- ครใู หนกั เรยี นแตละกลุมพจิ ารณาหวั ขอทเ่ี รียนและปฎบิ ตั ิมาในวนั นี้ หากมจี ดุ ใดทีย่ งั เขาใจไมชัดเจน ครูจะช
วยอธิบายเพ่ิมเติม
ขั้นท่ี 8: แลกเปลี่ยนความรูตนเองกบั ผูอนื่
- ใหนกั เรียนแตละกลุมแลกเปล่ียนความรูกันในแตละกลุม พรอมทั้งตรวจสอบความถูกตอง โดยครชู วยกัน
อภปิ ราย
ส่ือ/แหลง่ การเรียนรู้ รายการส่อื
ประเภทสอื่
-
1. บุคคล/ภมู ปิ ัญญา
2. วสั ด/ุ อปุ กรณ์ 1. กระดาษปรู๊ฟ
2. ปากกาเคมี
3. ใบงาน/ใบความร/ู้ แบบบนั ทกึ 3. สี
แบบฝึกหัด
1.บัตรภาพ
4. สอ่ื /เทคโนโลยี 2.ใบงานท่ี 1.1 เรื่อง ความสมั พันธ์
ระหว่างศลิ ปะกบั มนุษย์
3. ใบงานท่ี 1.2 เรื่อง ประเภทของ
งานทศั นศลิ ป์
4.ตวั อยา่ งผลงานทศั นศลิ ป์
5.แบบทดสอบ
1. PowerPoint
2. หนังสอื เรยี น ทศั นศลิ ป์ ม.1
ความคิดเห็นของหัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้
.....นกั เรียนมคี วามสนใจในด้านเรียนและในความร่วมมือในการทำกิจกรรมไดด้ ี...........
ลงชอ่ื .....อนิ อาม...........
(นางสาวอินอาม เจ๊ะดอเลา๊ ะ)
...11../..มถิ นุ ายน../..2564...
ความคดิ เหน็ ของรองวิชาการ/ หัวหน้างานวิชาการ
............................................................................................................................. ..................
ลงชอ่ื ..................................
()
........../............................/.........
ความคดิ เนของผู้บรหิ าร............................................................................................................................. ..................
ลงชอื่ ..................................
()
........../............................/.........
94
บันทกึ ผลการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนหน่วยการเรยี นรู้ (แบบที่ 1)
ขัน้ วางแผน ( P ) เตรยี มการสอนตามแผ่นการสอนทจ่ี ัดเตรียมไว้
ข้นั ปฏบิ ัตกิ ารสอน ( A ) เขา้ ระบบ Zoom รอนักเรียนเข้าชัน้ เรียนพดู คุยเร่ือง รอบตัวดา้ นทศั นศลิ ป์ท่นี ักเรยี นรูจกั เช่น
ส่ิงแวดรอบตัว ชมุ ชน เมอื่ ง ป่า ทะล เปน็ ต้น ใหน้ กั เรียนเปิดหนังสอื เรยี นพร้อมกนั อา่ นและทำความเขา้ ใจเนื้อหาจาก
แชร์วดิ โี อการสอนใหน้ ักเรยี นดู เพ่ิมเตมิ
ขน้ั สงั เกต ( O ) การสอบถามนักเรยี น การตอบคำถาม ทำใบงาน
1. ผ้เู รยี นที่ผา่ นตวั ชี้วัดมจี ำนวน ..........30........ คน คดิ เปน็ ร้อยละ.........69.767.................
2. ผ้เู รยี นที่ไม่ผา่ นตัวชีว้ ดั มีจำนวน .......13...... คน คิดเปน็ ร้อยละ..........30.232.................
1) ................................................................สาเหตุ (ถ้าทราบ) .....................-........................
2) ................................................................สาเหตุ .......................................-.......................
3. ผู้เรยี นทีม่ ีความสามารถพิเศษ ได้แก่
1) ...................................................................
2) ..................................................................
แนวทางการพฒั นา / สง่ เสรมิ ................................................................................................
ข้ันนำไปสู่การปรับปรุงแกไ้ ข ( R)....................................................................................................
ลงชื่อ....................................................ครผู ู้สอน
()
95
บนั ทกึ ผลการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนหน่วยการเรียนรู้ (แบบท่ี 2)
1. ผลการเรยี นรู้
1.1ผ้เู รยี นท่ีผ่านตวั ชว้ี ดั
มีจำนวน ............30.......... คน คิดเปน็ รอ้ ยละ......... .........69.767...........................
1.2ผู้เรียนท่ีไมผ่ า่ นตวั ชี้วัด
มีจำนวน ..............13......................... คน คิดเปน็ ร้อยละ.... 30.232.............................
1) ..............................................สาเหตุ (ถา้ ทราบ) ......................................................
2) ............................................สาเหตุ .........................................................................
แนวทางแก้ปัญหา .............โทรติดตามผ่านเฟสบุ๊กไลน์ และผา่ นครทู ี่ปรกึ ษาชว่ ยติดตาม
............................................................................................................................. ..................
.............................................................................................................. .................................
............................................................................................................................. ..................
1.3ผู้เรยี นทม่ี คี วามสามารถพิเศษ ได้แก่
1) ................................................................... 2) .....................................................
แนวทางการพัฒนา / สง่ เสริม ........................................................................................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
.................................................................................................................................... ...........
1.4ผเู้ รยี นได้รบั ความรู้ .............ความสมั พนั ธ์ระหว่างศลิ ปะกบั มนุษย์....
1.5ผ้เู รยี นเกดิ ปฏบิ ตั ิอะไรได้ /ทักษะกระบวนการ .......ฟัง สงั เกต ปัฏิบตั ิ.......................
1.6ผเู้ รยี นมีคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ /คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิย...1,2,3,4,6................
2. ปัญหาอุปสรรค (ถ้าม)ี .........................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
3. ข้อเสนอแนะ (ถ้ามี)
............................................................................................................................. .........................
96
ภาคผนวก
1.เกณฑก์ ารประเมนิ ชน้ิ งานภาระงานรวบยอด
รายการประเมิน ดมี าก (4) คำอธิบายระดับคณุ ภาพ / ระดบั คะแนน ปรับปรงุ (1) คะ คะ
ดี (3) พอใช้ (2) แนน แนน
1.การอธบิ าย อธบิ ายความหมาย อธิบายความหมาย อธิบายความหมาย อธิบายความหมาย 4
ความหมายของ ของศิลปะและ ของศลิ ปะและ ของศิลปะและ ของศิลปะและ
ศิลปะและทศั นศิลป์ ทศั นศิลป์ไดถ้ ูกตอ้ ง ทศั นศิลป์ไดถ้ ูกตอ้ ง ทัศนศิลป์ได้ถูกต้อง ทัศนศลิ ป์ได้ถูกตอ้ ง
ชัดเจนเปน็ ส่วนใหญ่ ชดั เจนเป็นบางส่วน เพยี งสว่ นนอ้ ยและไม่
ละเอียด ชัดเจน ชดั เจน
2.การระบุประเภท ระบุประเภทของงาน ระบปุ ระเภทของงาน ระบปุ ระเภทของงาน ระบุประเภทของงาน 4
ของงานทัศนศิลป์ ทศั นศิลป์ไดถ้ ูกต้อง ทศั นศิลป์ไดถ้ ูกตอ้ ง ทศั นศลิ ป์ได้ถูกต้อง ทศั นศลิ ป์ได้ถูกต้อง
ทง้ั 4 ประเภท 3 ประเภท 2 ประเภท 1 ประเภท
3.การอธิบายความ อธิบายความแตกตา่ ง อธบิ ายความแตกต่าง อธบิ ายความแตกต่าง อธบิ ายความแตกตา่ ง 4
แตกตา่ งและความ และความคลา้ ยคลึง และความคล้ายคลึง และความคลา้ ยคลงึ และความคลา้ ยคลงึ
คล้ายคลึงกนั ของ กันของงานทัศนศิลป์ กันของงานทัศนศิลป์ กนั ของงานทัศนศิลป์ กันของงานทัศนศลิ ป์
งานทัศนศลิ ปแ์ ละ และส่งิ แวดลอ้ มได้ และสงิ่ แวดลอ้ มได้ และสง่ิ แวดล้อมได้ และสิ่งแวดลอ้ มได้
ส่ิงแวดล้อม ถกู ต้อง สมเหตุสมผล ถกู ต้อง เป็นสว่ นใหญ่ ถกู ต้อง ค่อนข้าง แตไ่ มส่ มเหตสุ มผล
พรอ้ มยกตัวอยา่ ง สมเหตสุ มผล พรอ้ ม สมเหตสุ มผล พร้อม ไมม่ ตี วั อย่างประกอบ
ประกอบ ยกตัวอยา่ งประกอบ ยกตัวอยา่ งประกอบ
4.การอธิบายคุณค่า อธบิ ายคุณค่าของ อธิบายคุณคา่ ของ อธบิ ายคณุ คา่ ของ อธิบายคุณค่าของ 4
ของงานทัศนศิลป์ งานทศั นศิลป์ได้ งานทศั นศลิ ป์ได้ งานทัศนศิลป์ได้ งานทัศนศิลป์ได้
ถูกต้อง 2-3 ขอ้ ถกู ต้อง 1 ขอ้
ถกู ต้อง ชดั เจน 6 ขอ้ ถกู ต้อง 4-5 ขอ้
ข้นึ ไป
97
2. เกณฑก์ ารประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คณุ ลกั ษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน
อนั พงึ ประสงคด์ า้ น 321
/
1. รักชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเมื่อไดย้ ินเพลงชาติ รอ้ งเพลงชาติได้ และบอกความหมายของ /
กษตั ริย์ เพลงชาติ /
/
1.2 ปฏิบตั ติ นตามสิทธิและหนา้ ที่ของนักเรียน ให้ความรว่ มมือ ร่วมใจ ใน /
การทำงานกบั สมาชิกในหอ้ งเรียน
/
1.3 เขา้ รว่ มกจิ กรรมท่สี ร้างความสามคั คี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อ /
/
โรงเรียนและชุมชน /
1.4 เข้ารว่ มกจิ กรรมทางศาสนาท่ีตนนับถอื ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา /
และเป็นตวั อยา่ งที่ดขี องศาสนิกชน /
/
1.5 เขา้ รว่ มกิจกรรมและมสี ว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมทเี่ กีย่ วกบั สถาบัน /
พระมหากษัตรยิ ์ตามทโ่ี รงเรียนและชมุ ชนจัดขนึ้ ชื่นชมในพระราช
/
กรณยี กจิ /
พระปรีชาสามารถของพระมหากษัตรยิ ์และพระราชวงศ์
2. ซ่อื สัตย์ สจุ ริต 2.1 ให้ขอ้ มูลทีถ่ ูกตอ้ ง และเปน็ จริง
2.2 ปฏิบตั ิในส่งิ ท่ีถูกตอ้ ง ละอาย และเกรงกลัวท่จี ะทำความผิด ทำตาม
สญั ญาท่ีตนให้ไว้กบั พ่อแม่หรือผปู้ กครอง และครู
2.3 ปฏิบตั ิตนต่อผอู้ ื่นด้วยความซื่อตรง และเป็นแบบอย่างท่ีดีแกเ่ พ่ือนด้าน
ความซ่ือสตั ย์
3. มวี นิ ัย 3.1 ปฏิบัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครวั และ
รบั ผดิ ชอบ โรงเรยี น มีความตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัติกจิ กรรมต่างๆ ใน
ชวี ติ ประจำวนั
มีความรับผิดชอบ
4. ใฝเ่ รียนรู้ 4.1 ตง้ั ใจเรยี น
4.2 เอาใจใสใ่ นการเรยี น และมคี วามเพยี รพยายามในการเรยี น
4.3 เขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรียนร้ตู า่ งๆ
4.4 ศกึ ษาคน้ คว้า หาความรูจ้ ากหนังสอื เอกสาร สิง่ พมิ พ์ สื่อเทคโนโลยี
ต่างๆ
แหลง่ การเรยี นรทู้ ง้ั ภายในและภายนอกโรงเรียน และเลือกใชส้ ือ่ ได้
อยา่ ง
เหมาะสม
4.5 บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบบางสิง่ ที่เรียนรู้ สรปุ เป็นองค์ความรู้
4.6 แลกเปล่ยี นความรู้ ดว้ ยวธิ กี ารต่างๆ และนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั
98
5. อยู่อยา่ งพอเพียง 5.1 ใชท้ รพั ยส์ นิ และสง่ิ ของของโรงเรยี นอย่างประหยดั /
/
5.2 ใชอ้ ุปกรณ์การเรยี นอยา่ งประหยัดและรู้คุณคา่ /
5.3 ใชจ้ ่ายอย่างประหยดั และมีการเก็บออมเงนิ /
6. มุง่ ม่นั ในการ 6.1 มีความต้งั ใจและพยายามในการทำงานที่ไดร้ ับมอบหมาย /
/
ทำงาน 6.2 มคี วามอดทนและไมท่ ้อแท้ต่ออปุ สรรคเพื่อให้งานสำเรจ็ /
7. รักความเปน็ ไทย 7.1 มจี ิตสำนกึ ในการอนรุ ักษ์วฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาไทย /
/
7.2 เห็นคณุ ค่าและปฏิบัตติ นตามวฒั นธรรมไทย /
8. มจี ิตสาธารณะ 8.1 รูจ้ ักช่วยพอ่ แม่ ผปู้ กครอง และครทู ำงาน
/
8.2 อาสาทำงาน ช่วยคิด ช่วยทำ และแบ่งปันสง่ิ ของให้ผ้อู ่ืน
8.3 รูจ้ ักการดแู ล รกั ษาทรัพย์สมบตั แิ ละสง่ิ แวดลอ้ มของห้องเรียน
โรงเรียนชุมชน
8.4 เข้ารว่ มกจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชนข์ องโรงเรียน
3. เกณฑก์ ารประเมินสมรรถนะสำคญั
สมรรถนะด้าน รายการประเมิน ดีมาก ระดับคณุ ภาพ
(3) ดี พอใช้ ปรับปรุ
(2) (1) ง
1.ความสามารถในการส่ือสาร 1.1 มีความสามารถในการรับ-สง่ สาร /
2.ความสามารถในการคิด / (0)
1.2 มีความสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ /
ความคดิ ความเขา้ ใจของตนเอง โดยใช้ / /
ภาษาอยา่ งเหมาะสม / /
/
1.3 ใช้วธิ กี ารส่ือสารทเี่ หมาะสม มี / /
ประสทิ ธิภาพ
1.4 เจรจาตอ่ รอง เพื่อขจดั และลดปัญหา
ความขดั แย้งตา่ ง ๆ ได้
1.5 เลอื กรบั และไมร่ บั ข้อมลู ขา่ วสารด้วย
เหตผุ ลและถกู ต้อง
2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์
2.2 มที กั ษะในการคดิ นอกกรอบอยา่ ง
สร้างสรรค์
2.3 สามารถคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ
2.4 มคี วามสามารถในการสรา้ งองค์ความรู้
2.5 ตดั สินใจแก้ปญั หาเกี่ยวกับตนเองได้
อยา่ งเหมาะสม
99
3.ความสามารถใน 3.1 สามารถแกป้ ัญหาและอุปสรรคตา่ ง ๆ /
การแก้ปัญหา ท่เี ผชญิ ได้
3.2 ใช้เหตุผลในการแก้ปญั หา /
4.ความสามารถใน 3.3 เขา้ ใจความสมั พันธแ์ ละการ /
การใชท้ ักษะชวี ิต เปลยี่ นแปลงในสังคม
3.4 แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรู้มาใช้ /
5.ความสามารถใน ในการปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหา
การใชเ้ ทคโนโลยี 3.5 สามารถตัดสนิ ใจได้เหมาะสมตามวยั /
4.1 เรียนรดู้ ้วยตนเองได้เหมาะสมตามวยั /
4.2 สามารถทำงานกลุ่มร่วมกับผ้อู ื่นได้ / 4
4.3 นำความรู้ทไ่ี ดไ้ ปใชป้ ระโยชน์ใน /
ชวี ติ ประจำวัน
4.4 จัดการปัญหาและความขัดแย้งได้ /
เหมาะสม
4.5 หลีกเล่ียงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ /
ส่งผลกระทบต่อตนเอง
/
5.1 เลือกและใช้เทคโนโลยีไดเ้ หมาะสมตาม
วยั /
5.2 มที ักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี /
5.3 สามารถนำเทคโนโลยีไปใชพ้ ัฒนา /
ตนเอง
5.4 ใช้เทคโนโลยีในการแกป้ ัญหาอย่าง /
สร้างสรรค์
5.5 มีคณุ ธรรม จริยธรรมในการใช้ 25
เทคโนโลยี
สรปุ ผลการประเมนิ
100
แบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1
คำชแี้ จง ให้นักเรยี นเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. การสรา้ งสรรคง์ านทัศนศลิ ปจ์ ะต้องประกอบดว้ ยส่ิงใด 6. ประติมากรรม หมายถึง การสรา้ งสรรค์งาน
ต่อไปน้ี ดว้ ยวธิ ีใด
ก. สง่ิ แวดลอ้ ม ธรรมชาติ จินตนาการ ก. การขูด ขดี ลาก
ข. การรับรู้ จินตนาการ ประสบการณ์ ข. การตกแตง่ ลวดลาย
ค. องค์ประกอบศลิ ป์ การรบั รู้ วธิ กี ารสรา้ งสรรค์ ค. การปั้น การแกะสลัก การหลอ่
ง. ประสบการณ์ ความคดิ สร้างสรรค์ จินตนาการ ง. การออกแบบก่อสร้างอาคารต่างๆ
2. สุนทรียภาพท่เี กิดจากการชมผลงานทางทัศนศลิ ปต์ รงกบั ขอ้ ใด 7. ขอ้ ใดตอ่ ไปนี้เปน็ สถาปตั ยกรรมแบบปดิ ท่ี
ก. จดจำรายละเอยี ดของงานทัศนศิลปไ์ ด้อยา่ งดี สร้างขึ้น - เพ่อื ตอบสนองความเช่ือความศรทั ธา
ข. เกดิ แรงบนั ดาลใจในการสร้างสรรคผ์ ลงาน ทางศาสนา
ค. ช่วยให้ประมาณคุณคา่ ของผลงานได้ ก. พระธาตุดอยสเุ ทพ ข. ศาลาการเปรยี ญ
ง. ชว่ ยลดความแขง็ กระด้างภายในใจ ค. เทวรูป ง. โบสถ์
3. ขอ้ ใดไม่ใช่คุณคา่ ของงานทัศนศิลป์ 8. ปราสาทหนิ นครวัด นครธม เปน็
ก. สรา้ งความพึงพอใจให้กับอารมณ์ของมนุษย์ สถาปัตยกรรมขนาดใหญส่ ร้างขนึ้ จากอิทธพิ ล
ข. พฒั นาเทคโนโลยตี ่างๆ ให้มคี วามทันสมยั ความเชอ่ื และความศรัทธา ตง้ั อยใู่ นประเทศใด
ค. ถา่ ยทอดความรสู้ ึกที่เป็นสากล ก. อนิ โดนีเซยี ข. กัมพชู า
ง. ช่วยอนุรักษธ์ รรมชาติ ค. ไทย ง. พมา่
4. ขอ้ ใดกล่าวถึงความหมายของศิลปะไดถ้ ูกตอ้ ง 9. จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม
ก. สง่ิ ท่ีมนุษยส์ ร้างขน้ึ จากความพึงพอใจ และภาพพมิ พ์ จดั อยูใ่ นศลิ ปะสาขาใด
ข. สิง่ ทมี่ นุษย์สร้างขึน้ ก. อตุ สาหกรรมศิลป์
ค. การสร้างสรรค์ ข. ประยกุ ต์ศลิ ป์
ง. สิ่งทส่ี วยงาม ค. ทัศนศิลป์
5. ผู้สรา้ งสรรคผ์ ลงานสถาปตั ยกรรม เรียกชอ่ื ตามขอ้ ใด ง. โสตศิลป์
ก. สถาปัตยกรรม 10. ภาพพมิ พ์พน้ื ราบ มีลกั ษณะอยา่ งไร
ข. ประตมิ ากร ก. เปน็ กระบวนการสรา้ งแม่พมิ พ์โดยการ
ค. สถาปนิก สรา้ งภาพหรอื ริ้วรอยลงบนแมพ่ ิมพ์
ง. จิตรกร ข. เป็นกระบวนการสร้างแม่พิมพโ์ ดยการทำ
ใหเ้ กดิ สว่ นลึกและส่วนนูน
ค. เปน็ กระบวนการพมิ พท์ น่ี ำเอาแผน่ หนิ มา
ไดค้ ะแนน คะแนน เปน็ แมพ่ ิมพ์
ง. เป็นกระบวนการพมิ พท์ ่ีได้ภาพพิมพ์ตรง
10 กับแม่พิมพ์
เฉลย
1. ข 2. ง 3. ข 4. ก 5. ค 6. ค 7. ก 8. ข 9. ค 10. ค