The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kasama.sur090, 2021-09-18 23:39:49

ประเมิน

ประเมิน

101

บตั รภาพ

ภาพวัดพระศรรี ัตนศาสดาราม ภาพพระพุทธรูป

ภาพจติ รกรรมฝาผนัง ภาพทิวทัศน์ทะเล

ภาพอนุสาวรยี ป์ ระชาธปิ ไตย ภาพโอง่ มังกร

ท่ีมา : ภาพท่ี 1-4สุชาติ เถาทอง และคณะ. [ม.ป.ป.]. หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ทศั นศิลป์ ม.1. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 9.

1 2 กรุงเทพมหานคร : อกั ษรเจรญิ ทศั น์.

34

5 6ภาพท่ี 5 http://travel.upyim.com/2011/11/19/อนุสาวรยี ป์ ระชาธปิ ไตย-2/
ภาพท่ี 6 http://www.oknation.net/blog/print.php?id=138590

102

ใบงานที่
1.1 ความสมั พนั ธ์ระหว่างศิลปะกบั มนุษย์

คำช้แี จง ให้นกั เรียนดูภาพ แลว้ เขียนบรรยายความสัมพนั ธร์ ะหว่างศิลปะกบั มนุษย์

ภาพท่ี 1
ทมี่ า : http://storyofast.wordpress.com/category/prehistoric-art/

ภาพที่ 2
ท่ีมา : http://www.travel-is.com/forum/view.php?qID=14

ใบงานท่ี 103
1.1 ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งศิลปะกบั มนษุ ย์ (ตวั อยา่ ง)

คำชีแ้ จง ให้นกั เรียนดภู าพ แล้วเขียนบรรยายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งศิลปะกบั มนุษย์

ภาพท่ี 1

ท่ีมา : http://storyofast.wordpress.com/category/prehistoric-art/
ภาพวัวไบซัน เปน็ ศลิ ปะสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ยุคหนิ เก่าทีแ่ สดงใหเ้ หน็ ถึงวิถีชวี ติ ของคนในการทำ
เกษตรกรรม
และความใกลช้ ิดของคนกับสัตว์

ภาพที่ 2

ทมี่ า : http://www.travel-is.com/forum/view.php?qID=14
ภาพเขยี นสีรปู ปลาท่ีถ้ำผีหัวโต เปน็ ภาพท่ตี ้องการบอกเลา่ ถึงสิง่ ที่พบเห็น และสภาพความเปน็ อยู่ที่อดุ ม
สมบูรณ์
ด้วยอาหารการกินที่มีในธรรมชาติ

(พจิ ารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยูใ่ นดลุ ยพินจิ ของครูผสู้ อน)

104

บตั รภาพ

ภาพเขยี นสนี ำ้ มนั บนผ้าใบ ภาพงานจำหลักไม้

ภาพพระธาตดุ อยสุเทพ ภาพพิมพบ์ นกระดาษ

105

ใบงานที่ 3.
1.2 ประเภทของงานทัศนศิลป์

คำชแ้ี จง

ใหน้ กั เรียนดูภาพ แล้วบอกประเภทของงานทศั นศลิ ป์ใหถ้ ูกตอ้ ง

1. 2.

……………………………...............
4. 5. 6.

…………………………………….……
7. 8. 9.

..........................................
10. 11. 12.

……………………………………………. ……………………………………………….. ………………………………………

106

ใบงานที่ ประเภทของงานทัศนศิลป์

ใบงานที่ 1.2

คำช้แี จงให้นกั เรียนดูภาพ แล้วบอกประเภทของงานทัศนศิลป์ใหถ้ ูกต้อง 3.
1. 2.

ภาพพิมพ์ สถาปัตยกรรม ประติมากรรม

4. 5. 6.

จิตรกรรม ประตมิ ากรรม สถาปตั ยกรรม

7. 8. 9.

ภาพพมิ พ์ ประติมากรรม จติ รกรรม

10. 11. 12.

ภาพพิมพ์ จติ รกรรม สถาปัตยกรรม

107

บัตร

ภาพพลังแหง่ สเี หลือง ของสมโภช สิงห์ทอง

108

1.2.3 กลยุทธใ์ นการจดั การเรียนรู้

- แบบบันทึกโฮมรูม (ข้อมลู หน้า 145)

1.2.4 คณุ ภาพผูเ้ รียน 109

1.2.4.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน

ผลการประเมนิ ผลสัมฤทธท์ิ างวิชาการของผเู้ รยี นภาคเรยี นท่ี 1

วิชา ชน้ั จำนวนนกั เรยี น ผลการประเมิน(คน)
(คน)
ศิลปะ ม.1 ดีเยี่ยม ดี ผา่ น ไมผ่ า่ น
ม.2 43 -- --
ศิลปะ ม.3 39
ม.4 33 ----
ศลิ ปะ ม.5 30
ม.6 29 ----
ศลิ ปะ ม.4 14
7 ----
ศลิ ปะ ม.5
----
ศลิ ปะ ม.6
----
ภาษาไทยเพอื่
การสือ่ สาร 29
วทิ ยาศาสตร์
พน้ื ฐาน 14
โลกดาราศาสตร์
และอวกาศ

รวม

รอ้ ยละ

110

1.2.4.2 คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ของผู้เรยี น

ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคภ์ าคเรยี นที่ 1

วิชา ช้นั จำนวนนกั เรยี น ผลการประเมนิ (คน) ไมผ่ า่ น
ศลิ ปะ (คน) ดีเย่ยี ม -
ดี ผ่าน -
ม.1 43 - -- -
-- -
ศิลปะ ม.2 39 - -- -
-- -
ศลิ ปะ ม.3 33 - --
--
ศลิ ปะ ม.4 30 -

ศิลปะ ม.5 29 -

ศิลปะ ม.6 14 -

ภาษาไทยเพื่อ ม.4 7
การส่ือสาร ม.5 29
ม.6 14
วทิ ยาศาสตร์
พ้ืนฐาน

โลกดาราศาสตร์
และอวกาศ

รวม

รอ้ ยละ

111

1.3 การสร้างและหรือ พฒั นา ส่อื นวตั กรรมเทคโนโลยที าง
การศกึ ษาและแหลง่ เรยี นรู้

112

1.4 การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรียนรู้

ระดับผลการเรียนหรือรูปแบบการตัดสินที่โรงเรียนใช้ในการตัดสินผลการเรียน รายวิชา กิจกรรม

พัฒนาผูเ้ รยี น การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ เช่น

เกณฑ์การจบระดบั ประถมศึกษา

๑) ผู้เรียนต้องเรียนทุกรายวชิ าพื้นฐานและมีผลการประเมินระดับ ๑.๐ ขึ้นไป จึงจะถือว่าผ่านการ

ประเมินรายวิชาพืน้ ฐาน

๒) ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ได้รับระดับคุณภาพดีเยี่ยม หรือดี

หรอื ผา่ น

๓) ผู้เรียนตอ้ งมผี ลการประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ไดร้ บั ระดับคุณภาพดีเยย่ี ม หรือดี หรอื ผ่าน

๔) ผูเ้ รยี นตอ้ งปฏบิ ตั กิ จิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี นและมีผลการประเมินกิจกรรม "ผ" ในทุกกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น

คำอธิบายระดับผลการเรยี นรายวิชา (กรณีโรงเรยี นใหผ้ ลการเรียน เป็น ๘ ระดบั )

๔ หมายถึง ดเี ยยี่ ม ๒ หมายถึง ปานกลาง

๓.๕ หมายถงึ ดีมาก ๑.๕ หมายถึง พอใช้

๓ หมายถงึ ดี ๑ หมายถึง ผ่านเกณฑ์ขั้นตำ่

๒.๕ หมายถงึ ค่อนข้างดี ๐ หมายถงึ ต่ำกวา่ เกณฑ์

หมายเหตุ
ใหก้ รอกขอ้ มูลจำนวนหน่วยน้ำหนัก หรอื จำนวนช่วั โมงการเทียบโอนผลการเรยี นจากโรงเรียน

113

ตวั ชวี้ ัดการประเมิน

114

115

116

117

118

119

การวิเคราะห์แบบทดสอบเพื่อหาคา่ ดัชนคี วามสอดคลอ้ งระหวา่ งขอ้ คำถามกับผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวงั (IOC)

ตารางแสดงการคำนวณหาคา่ ดชั นคี วามสอดคล้องระหวา่ งขอ้ คำถามกับผลการเรียนรูท้ ่ีคาดหวัง (IOC) ของ

แบบทดสอบ กลางภาค วิชาประวตั ศิ าสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564

คะแนนของผเู้ ช่ยี วชาญคนที่

คำถามขอ้ ที่ 1 2 3 รวม คา่ เฉลีย่ ผล

(ครูอาภาภรณ์) (ครูซฟั วานี) (ครูฐติ าภรณ์)

1 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

2 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

3 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

4 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

5 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

6 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้

7 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้

8 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้

9 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้

10 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้

11 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้

12 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

13 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

14 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

15 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

16 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

17 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

18 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

19 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้

20 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้

21 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

22 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

23 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

24 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

25 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้

26 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้

27 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

28 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้

29 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้

30 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

120

31 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้
32 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้
33 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้
34 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้
35 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

IOC=
เมือ่ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้องระหวา่ งข้อคำถามกบั ผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวัง

แทน ผลรวมของคะแนนความคดิ เหน็ ของผ้เู ชย่ี วชาญเชิงเน้อื หาทัง้ หมด
N แทน จำนวนผเู้ ชีย่ วชาญเชิงเน้ือหาทงั้ หมด
*********** พจิ ารณาคดั เลือกดชั นีความสอดคลอ้ งที่มคี ่าเท่ากับ 1 ใช้ได้

121

1.5 ศึกษา วิเคราะห์ สงั เคราะห์ และหรือวิจัย เพ่ือแกป้ ญั หา
หรือพฒั นาการเรียนรทู้ ่ีสง่ ผลต่อคุณภาพผู้เรยี น

การวจิ ัยในชั้นเรียน
เร่ืองการสง่ เสรมิ ศกั ยภาพของนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ ด้านศิลปะ

การวาดภาพลายเส้น

ผู้วจิ ยั
นางสาวอินอาม เจะ๊ ดอเล๊าะ

122

กลุม่ สาระการเรยี นรูก้ ารศลิ ปะ โรงเรียนจะะวิทยาสำนกั งานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษามธั ยมศึกษา สงขลา-สตูล

กติ ตกิ รรมประกาศ
งานวจิ ยั ฉบบั นสี้ ำเรจ็ ลลุ ่วงไปดว้ ยดี ด้วยความชว่ ยเหลือของคณะเพ่ือนครู ซ่ึงไดใ้ ห้คำแนะน และข้อคิดเห็น
ต่าง ๆ อันเปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งยิ่งในการทำวิจัย อีกทั้งยังช่วยแกป้ ัญหาตา่ ง ๆ ทเี่ กิดขนึ้ ระหว่างการดำเนินงานอีก
ดว้ ยขอขอบคุณครูผใู้ หญ่ทกุ ท่านสำหรับข้อแนะนำและความชว่ ยเหลือในทุก ๆ ด้านในการทำวิจยั และใหค้ วาม
ชว่ ยเหลือในการท าวจิ ัยเร่ืองนีส้ ดุ ท้ายนี้ขอขอบคณุ นักเรียนที่ตัง้ ใจเรียนและสรา้ งสรรคง์ านอยา่ งเต็มความสามารถ
เพอื่ ใหง้ านวิจยั ลุล่วงไปด้วยดีซง่ึ เปน็ แบบอย่างในการท าวิจัยในครัง้ ตอ่ ไปได้

ผวู้ ิจยั
นางสาวอินอาม เจะ๊ ดอเลา๊ ะ

123

การสง่ เสริมศักยภาพของนักเรยี นทม่ี คี วามสามารถพิเศษ ดา้ นศลิ ปะการวาดภาพลายเสน้

นกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษา ท่ีมีความสามารถพิเศษดา้ นการวาดภาพลายเสน้ ท่ีไดผ้ ่านการฝึกเขม้ จากแบบฝึกการ วาด
ภาพลายเสน้ ตงั้ แต่ขนั้ ตน้ ถึงขนั้ สดุ ทา้ ยตามการฝึก มีการพฒั นาดา้ นทกั ษะในการวาดลายเสน้ เทคนิคการใชส้ ีประเภทต่าง ๆ
และมีการแกไ้ ขปัญหาท่ีเกิดจากการทางานไดด้ ีขึน้ นกั เรียนท่ีไดร้ บั คดั เลอื กสามารถ สรา้ งผลงานศิลปะวาดภาพดว้ ยเทคนิควธิ ี
ต่างๆ ไดต้ ามท่ีไดร้ บั การฝึกเขม้ จากแบบฝึก นกั เรียนตงั้ ใจในการฝึกมา ตรงเวลา เม่ือมีปัญหาก็ปรกึ ษาครู ครูตอ้ งคอยชแี้ นะให้
นกั เรียนอย่างใกลช้ ิดเม่ือนกั เรียนเรียนรูเ้ ทคนิคต่างๆของการ วาดภาพลายเสน้ แลว้ ครูจะฝึกฝนทางดา้ นทกั ษะการสรา้ งสรรค์
ผลงาน ความคดิ สรา้ งสรรค์ ทกั ษะการแกป้ ัญหา ในการฝึกฝนทกั ษะนตี้ อ้ งใชเ้ วลาเยอะพอสมควร และเปิดโอกาสใหน้ กั เรียนได้
ใชค้ วามคดิ สรา้ งสรรค์ และ ความสามารถในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานดว้ ยตนเองโดยครูคอยสงั เกตการฝึกอยหู่ ่างๆ ในการฝึกจาก
การสังเกต นักเรียนสนุกกับการเรียนรู้ มีความเต็มใจท่ีจะสรา้ งสรรคผ์ ลงาน สรรคห์ าความรูแ้ บบใหม่ๆอยู่เสมอ จากการ
ประเมินผลงานศิลปะระหว่างก่อน-หลังเข้ารับการฝึกฝน ผลงานหลังการฝึก สะท้องให้เห็นไดว้ ่านักเรียนมีรูปแบบ การ
สรา้ งสรรคง์ านศลิ ปะดีขึน้ มีทกั ษะเพ่ิมขึน้ ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบภาพ การจดั องคป์ ระกอบ การลงสี เทคนิค ในการวาดภาพ
การคิดหวั ขอ้ เร่อื งราวในการวาดภาพ การส่ือความหมายของภาพ กลา้ คิดกลา้ แสดงออกมากขึน้ สรุปไดว้ ่า นกั เรียนท่ีไดร้ บั การ
ส่งเสรมิ ศกั ยภาพความสามารถพิเศษดา้ นศิลปะการวาดภาพลายไทยมีศกั ยภาพใน การสรา้ งงานศิลปะดีขึน้ และสรา้ งสรรค์
ผลงานศิลปะนาไปแข่งขนั ศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี นไดอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพ

124

บทท1่ี
บทนำ
1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ศิลปะหมายถึงการกระทำหรือขัน้ ตอนของการสร้างชิน้ งาน
ศิลปะโดยมนุษย์ คำแปลในภาษาอังกฤษทต่ี รง ท่สี ุดคอื Art ศิลปะเปน็ คำท่ีมคี วามหมายกวา้ ง แตส่ ่วนใหญ่แล้วจะมี
ความหมายเกี่ยวกับการสร้างสรรค์, สนุ ทรียภาพ, หรือการสร้างอารมณต์ า่ ง ๆ ในการดำรงชวี ติ ประจำวันของมนุษย์
ได้สัมผัสกับศิลปะทุกแขนงใน ลักษณะต่างๆกัน คือมนุษย์เป็นทั้งผู้สร้าง และผู้รับงานศิลปะ ศิลปะเป็นผลงานอัน
เกิดจากการพากเพียรพยายาม ของมนุษย์เพื่อสนองความต้องการของตนเองและสังคม รูปแบบของผลงานจึง
สะท้อนถึงแนวคิด ความเชื่อ สภาพ ความเป็นอยู่ สภาพสังคมและประเพณีของคนกลุ่มนั้น ยุคนั้น เพื่อเป็นเครื่อง
ยืนยันความมีวัฒนธรรม ด้วยการศึกษาในปัจจุบันเน้นให้นักเรียนเป็นผู้กล้าแสดงออกทางความสามารถ และ
ความคิดสร้างสรรค์ และในนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินก็สนใจด้านงานศิลปะการวาดภาพเป็นพิเศษ
โดยเฉพาะงานศิลปะ การวาดภาพสามารถสัมผัสได้ด้วยการมองเห็นนักเรียนจึงสนุกกับการเรียนรู้ และในกลุ่ม
นักเรียนบกพร่องทางการ ได้ยินก็มีนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษในการวาดภาพ ดังนั้นเพื่อเป็นการส่งเสริม
ศักยภาพของผ้เู รยี นทมี่ ี ความสามารถพิเศษด้านศิลปะวาดภาพจึงได้ท าการคัดเลือกนักเรียนที่มีความสนใจ และมี
ความสามารถพิเศษใน การสร้างสรรค์งานศิลปะวาดภาพเข้าร่วมการฝึกฝน เพิ่มเติมด้านเทคนิควิธีการสร้างงาน
และวิธีการเขียนภาพแบบ ต่างๆ นอกเหนือเวลาเรียนปกติ เพื่อเสริมสร้างความชำนาญ และประสบการณ์เพื่อให้
ผู้เรียนพัฒนาความสามารถ ของตน และเป็นผู้สร้างสรรค์งานศิลปะที่มีคุณภาพได้ ทั้งนี้ในการฝึกฝนผู้เรียนที่มี
ความสามารถพเิ ศษด้านศิลการวาดภาพลายเส้น เพ่ือเตรียมความพร้อมในการแขง่ ขันศลิ ปหัตถกรรมในคร้ังต่อๆไป
ด้วย
1.2 วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย เพื่อสง่ เสริมศกั ยภาพของนกั เรียนทม่ี ีความสามารถพิเศษด้านศลิ ปะการการ
วาดภาพลายเส้น
1.3 ความส าคัญของการวิจัย เพื่อให้นักเรียนสร้างสรรค์งานศิลปะที่มีคุณภาพ และมีความสามารถใน
การน าไปแข่งขนั ศิลปหัตถกรรม
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากงานวิจัย ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านศิลปะวาดภาพศิลปะ
ลายเสน้

125

บทท2่ี
1. เอกสารทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การเรียนทศั นศิลป์

1.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเป็นกลุ่ม
สาระที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มี จินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ
ความมคี ณุ ค่า ซงึ่ มผี ลตอ่ คุณภาพชีวติ มนุษย์ กิจกรรมทาง ศลิ ปะชว่ ยพฒั นาผู้เรียนท้ังด้านรา่ งกาย จิตใจ สติปัญญา
อารมณ์ สังคม ตลอดจน การนำไปสู่การพัฒนา สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง อันเป็น
พื้นฐานในการศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพได้และมุ่ง พัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะวิธีการทาง
ศิลปะ เกิดความซาบซึ้งในคุณค่าของศิลปะ เปิดโอกาส ให้ผู้เรียนแสดงออกอย่างอิสระในศิลปะแขนงต่างๆ
ประกอบไปด้วย สาระ ได้ แก่3

ทศั นศลิ ป์ 1สาระ, ดนตรี2 สาระ ทศั นศลิ ป์ มใี จความดังนี้ 1 นาทศิลป์ แต่ในงานวจิ ัยน้ีจะเน้นไป
ทส่ี าระที่ 3

สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิด
สร้างสรรค์วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่น
ชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวัน

ความหมายของทัศนศลิ ป์ทศั นศลิ ป์ เป็นศัพท์บญั ญัตทิ นี่ ำมาใช้กนั ในวงการศิลปะของประเทศไทย
มาจากภาษาอังกฤษว่า Visual art โดยต้องการจะแยกลักษณะการรับรู้ทางศิลปะมีนักวิชาการได้ให้ความหมายไว้
มากมายดงั น้ี

1.2.ส่ือการเรียนร้แู ละการจัดการเรยี นการสอน
1.2.1 การสอนศิลปะในระดับมัธยมศึกษา การเรียนรู้ทางการศึกษาในศาสตร์ใดศาสตร์หนึ่ง จำเป็น
จะต้องพงึ ตระหนักถงึ เป้าหมายของผเู้ รียนดว้ ย เพ่ือที่จะเปน็ ส่วนหนึ่งของการนำไปใช้ในการดำรงชวี ติ
การให้การศึกษาทางด้านศิลปะก็เช่นกัน นอกจากจะให้ผู้เรียนสร้างสรรค์งานอย่างมีคุณภาพแล้วยัง
คำนงึ ถงึ คุณภาพที่เกดิ ขน้ึ ในตวั บุคคลทางด้านบคุ ลิกภาพด้วยและยงั มีผลนำไปสู่การใช้ชีวิตอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
วิชาทัศนศิลป์ คือศิลปะที่รับรู้หรือสัมผัสด้วยประสาทตา โดยทั่วไปจะหมายถึง งานประเภท จิตรกรรม
ประติมากรรม สถาปตั ยกรรม ภาพพิมพ์ แต่ในหลักสูตรมธั ยมตอนตน้ และมธั ยมตอนปลาย จะรวมไป ด้วยการเขยี น
ภาพ การปั้น การแกะสลัก การประดษิ ฐ์ การออกแบบ เปน็ ต้น
การสร้างสรรค์งานศิลปะนอกจากจะเป็นการเรียนรู้ที่จะพัฒนาไปสู่ความเหมาะสมและสังคมอารย ธรรม
ยังรวมถึงเป็นการเรียนการสอนยังจะต้องเน้นให้ผู้เรียนเข้าใจถึงจิตวิทยาและมานุษยวิทยาไปพร้อมกัน การ
แสดงออกและการชื่นชมศิลปะเด็ก ย่อมสัมพันธ์กับความแตกต่างเฉพาะตัวบุคคลในการรับรู้ การสร้างสรรค์ และ
การเจรญิ เติบโต
ทัศนศิลป์สำหรับมัธยมศึกษาตอนต้น ตามหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช ซึ่ง 2551ถือ ปทิบัติ

กันอยู่ในขณะน้ไี ดก้ ำหนดคุณภาพผเู้ รยี นของวิชา ทศั นศิลป์ ไว้ดงั นี้

เมอื่ นักเรียนจบช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ นักเรยี นสามารถรู้และเข้าใจเรื่องทัศนธาตุและหลักการออกแบบ 3 มิติ

เพือ่ ส่ือความหมายและ 3 มิติ และ 2 และเทคนิคท่ีหลากหลายในการ สรา้ งงานทัศนศิลป์เรื่องราวต่าง ๆ ได้ อย่างมี

126

คุณภาพ วิเคราะห์รูปแบบเน้ือหาและประเมินคุณค่างานทัศนศลิ ป์ของตนเองและผ้อู ่ืน สามารถเลอื กงาน ทัศนศิลป์
โดยใชเ้ กณฑท์ ี่ก าหนดขึ้นอยา่ งเหมาะสม สามารถออกแบบรปู ภาพ สญั ลักษณ์ กราฟิก ในการนำเสนอ ขอ้ มลู และมี
ความรู้ ทักษะที่จำเป็นด้านอาชีพที่เกี่ยวข้องกันกับงานทัศนศิลป์และยังมีความรู้และความเข้าใจการ เปลี่ยนแปลง
และพัฒนาการของงานทัศนศิลป์ของชาติและท้องถิ่น แต่ละยุคสมัย เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ท่ี สะท้อนวัฒนธรรม
และสามารถเปรียบเทยี บงานทศั นศิลป์ ทมี่ าจากยคุ สมยั และวัฒนธรรมต่าง ๆ

จะเหน็ ได้วา่ การออกแบบหลักสูตรยังมุ่งเน้นให้ผู้เรยี นไดเ้ ห็นคุณคา่ ของภูมิปัญญาท้องถ่ินท่ีมีรากเหงา ทาง
วัฒนธรรมทส่ี บื ทอดจากบรรพบุรุษและเรียนร้ถู ึงความเปน็ มาในแต่ละยุคดว้ ย

1.2.2 ด้านความพร้อมของผู้เรียน. ความพร้อมของผู้เรียนเป็นองค์ประกอบสำคัญอย่างยิ่งที่จะทำให้การ
เรยี นรูเ้ ป็นไปอยา่ งสำเรจ็ จำเป็นจะตอ้ งคำนงึ ถงึ หลักต่อไปนี้

วุฒิภาวะ ความพร้อมของผู้เรียนเป็นเงื่อนไขสำคัญทางการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางวิชา ทัศนศิลป์
เพราะจำเป็นจะต้องจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับวัยหรือแต่ลักลุ่ม จำเป็นจะต้องพิจารณาถึง ความพร้อม
ตามวุฒภิ าวะของผู้เรยี นเพ่ือจะไดฝ้ ึกปทบิ ัตติ ามความเหมาะสม และพฒั นาอย่างคอ่ ยเป็นค่อยไป

ประสบการณ์ ในการแสดงออกทางศิลปะ ประสบการณ์ถือว่าเป็นการชว่ ยให้การแสดงออกเปน็ ไป อย่างมี
ประสทิ ธิภาพมากขึน้ ท้ังมพี ิจารณไ์ ด้ ด้าน 3

1. ประสบการณท์ ี่ไดฝ้ กึ ปทิบัติ เป็นการเรยี นรโู้ ดยการสร้างงานฝกึ ฝนอยา่ งตอ่ เน่ือง ประสบการณท์ ีฝ่ ังแน่น
ท่เี กิดขึน้ โดยตัวผูส้ รา้ งสรรคป์ ทิบตั ิเอง

2. ประสบการณจ์ ากการศึกษาผลงานศิลปะ การศึกษาผลงานศิลปะผ่านทางการอ่าน การฟงั หรือการช่ืน
ชมผลงานภาพศิลปะ โดยผ่านการดูอยา่ งคิดวเิ คราะห์ จะเป็นประสบการณท์ มี่ ีค่าตอ่ การเรยี นรู้

3.ประสบการณ์จากสภาพแวดล้อม เป็นประสบการณ์ที่มาจากสภาพแวดล้อม ทั้งที่เป็น ธรรมชาติ หรือที่
มนุษย์สร้างขึ้น และเหตุการณ์ต่างๆที่ได้รู้ได้เห็นมา น ามาสร้างผลงานทัง้ ในแง่รูปแบบหรือ ความคิด วัสดุอุปกรณ์
การสรา้ งสรรคง์ านศิลปะ อุปกรณเ์ ปน็ ส่ิงทีส่ าคัญ หากขาดส่ิงใดสิ่งหนึ่งจะท าให้เกดิ ปญั หา ในการปทบิ ตั งิ าน

1.2.3 การจัดกิจกรรมทัศนศิลป์ ลักษณะกิจกรรม การที่เราจะจัดกิจกรรมศิลปะให้แก่ผู้เรียนเราต้อง
เข้าใจถึงวุฒิภาวะของผูเ้ รยี นกอ่ น เพื่อกำหนดความยากง่ายของกิจกรรมให้เหมาะสมกับเด็กแต่ละดา้ น จากนั้นเรา
ก็ควรที่จะพิจารณาถึงเป้าหมายที่สอดคล้องกับจุดประสงค์ของหลักสูตร ทั้งจุดประสงค์ในทางผลงานศิลปะ การ
สร้างเสริมบุคลกิ ภาพ และพฤติกรรมทางสงั คม เพือ่ ใหเ้ ป็นไปตามเป้าหมายของหลกั สตู ร

สื่อการสอน การเรียนรู้จำเปน็ ต้องมีส่ือการเรียนรู้เพื่อเป็นสื่อดลใจในการเรียนรู้ของเดก็ นักเรียน
เพื่อความเข้าใจ และการเรียนการสอนแบบมีประสิทธิภาพ สื่อการสอนที่ดีจะเป็นตัวสำคัญที่ทำให้ผู้เรียนมีความ
กระตอื รอื ร้นในการเรยี น

อุปกรณ์การสอนวิชาทัศนศิลป์อุปกรณ์ เป็นสิ่งที่ช่วยการสอนหรือนำ มาเป็นสื่อการสอน โดยนำ
อปุ กรณ์ต่างๆมาชว่ ยในการเรยี นการสอน อปุ กรณใ์ นการสอนในท่นี ไ้ี ด้แก่ เคร่อื งฉายภาพ คอมพิวเตอร์ แผ่นใส เป็น
ตน้

1.2.4 วธิ กี ารเรยี นรู้ในงานทศั นศิลป์ วธิ กี าร ที่ใชเ้ ป็นส่อื การสอน หมายถึง การสาธติ การทดลอง กิจกรรม
กระบวนการต่างๆ ที่ครูจัดขึ้น เพื่อเป็นการสาธิตในการเรียนการสอน ในบางกรณีวิธีการอาจจะช่วยสร้าง ความรู้
ความเขา้ ใจต่อเร่อื งใดเรอ่ื งหน่งึ ได้ดกี วา่ ส่ือการสอนทเี่ ป็นวตั ถุกไ็ ด้

127

สำหรับวิธีการที่จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนวิชาทัศนศิลป์ แบ่งออกได้ แบบ คือ 3 1 .
การสาธิต การเรียนการสอนวิชาทัศนศิลป์มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และให้
ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น และแก้ปัญหาเป็น การสอนวิชาทัศนศิลป์ด้วยการสาธิตการปฏิบัติงาน
ครูผู้สอนที่ทำการสาธิตก็จะเปรียบเสมือนต้นแบบ ซึ่งนักเรียนที่เป็นผู้ดูการสาธิตก็จะเลียนแบบ
ผลงานของครผู สู้ อน ฉะนน้ั การสาธติ บางคร้งั กค็ วรทจ่ี ะเปดิ โอกาสให้ผูเ้ รยี นได้ลงมือปทิบตั บิ า้ ง
2. การทดลอง เป็นการค้นคว้าในลักษณะที่เป็นสื่อการสอนอย่างหนึ่งของวิชาทัศนศิลป์ ผู้เรียน
อาจจะทำการค้นคว้ากลวิธีต่างๆ ขึ้นมาเองโดยการฝึกปทิบัติกิจกรรม เช่น ทดลองกลวิธีในการ
เขียนภาพดว้ ยสนี ้ำเปน็ ต้น
3. กิจกรรม การเรียนรู้โดยการจัดกิจกรรม เพื่อมุ่งเน้นถึงความหลากหลายทั้งรูปแบบ เนื้อหา
และ กลวิธี การปทิบัติ และการแก้ปัญหา เน้นถึงกิจกรรมที่ส่งเสริมการแสดงออก จินตนาการ
และ ความคิดสรา้ งสรรค์ เพื่อใหผ้ ู้เรียนได้รบั ผลอยา่ งกว้างขวาง
1 3.จิตวิทยาสำหรับการเรยี นศิลปะ
การเรียนรู้ (Learning ) เปน็ กระบวนการ (Process) เป็นกระบวนการเรียนรู้ทีเ่ ป็นการสร้างมโนภาพ
) ศน์แก่ของความรู้ที่มีอยู่เดิมจะเห็นได้ว่าทางจิตวิทยามุ่งนิยามถึงกระบวนการที่ เปลี่ยนใหม่โดยถ่ายโยงมโนทั
พฤติกรรม เปน็ หัวใจส าคัญทางจติ วิทยาจงึ มีวิธปี ระที่จะประเมินหรือวัดผลวา่ การเรียนรูน้ ้ันเกิดขน้ึ ในตวั ของบุคคล
น้นั แลว้ หรือไม่ เกดิ ข้นึ ในทีน่ เ้ี ป็นการเกดิ ข้นึ ในระดบั ที่ต่างไปจากเดิมท่ีมีมาก่อน
ในทฤษฎี การศึกษา สไตน์เนอร์กระจายคำว่า การศึกษา (Educationว่าเป็นกระบวนการของการ )
เรียนการสอน ซึ่งหมายถึงระบบของการเรียนรู้ ประกอบไปดว้ ยหมวดยอ่ ย หมวด คอื 4
1.ครู คอื บุคคลท่พี ยายามแนะนำบุคคลอืน่ ใหเ้ กดิ การเรียนรู้
2.นกั เรียน คือ บคุ คลที่พยายามเรียนรู้ภายใตก้ ารแนะน าของบคุ คลอื่น
3.เน้อื หาวิชาเรียน คอื สิ่งท่โี ครงสร้างของจติ ใจ จะตอ้ งเกิดการสำนกึ
4.สิง่ แวดล้อมในการเรยี น คือ สิง่ แวดลอ้ มอ่ืนๆ
ตนเนอร์ให้ความหมายถึงระบบของการเรียนรู้ว่าเป็นระบบที่พัฒนาจิตใจ ซึ่งโดยสรุปแล้วจะเห็นได้ว่า สไ
จะก่อให้เกิดความสำนึกในด้านใดด้านหนึ่ง หรือมากกว่า หนึ่งด้านหรือทุกๆ ด้านระหว่างที่การรู้คิด ความจดจ่อมุ
มานะ หรือความรู้สึก ซึ่งอาจจะเป็นความสำนึก ของโครงสร้างจิตในลักษณะแหง่ คุณค่าก็ได้ ไม่เห็นคุณค่าก็ได้หรือ
เป็นกลางไม่มากไม่น้อยก็ได้ แต่ถา้ ในกรณีท่ีความสำนึก จติ ใจน้นั เห็นคณุ ค่าก็อาจจะเป็นได้ ในแง่เห็นคุณประโยชน์
หรือเห็นคุณงามความดแี งใ่ ดแง่หนึง่ หรือท้ังสองแงก่ ็ได้
ทฤษทีความรู้ของบลูมBloom , )1956ซึ่งมีชื่อทฤษทีว่า ระบบของวัตถุประสงค์ทางการศึกษา ทฤษที
ประเภทนี้มีมากมาย หลายทฤษที ซึ่งหลายทฤษทีมีบางส่วนในทฤษทีของบลูมเป็นรากฐาน หรือพยายามปรับปรุง
ทฤษทีของบลูม เช่นทฤษทีวัตถปุ ระสงค์ทางการศึกษา สกริเฟน ทฤษทคี วามสามารถในการเรยี นรู้ของ กานเย่ ด้าน
คือ พุทธิพิสัย จิต พฤติกรรมในตัวผู้เรียนบลูม ได้ให้ทฤษฎีทางการศึกษาที่เน้นการเปลี่ยนแปล ด้าน 3พิสัย และ
ทกั ษะพสิ ัย ซึ่งการศกึ ษาควรมุ่งให้ผู้เรยี นได้รบั โดยผ่านกระบวนการการสอน บลมู ระบุว่า ดา้ น ของวัตถุประสงค์น้ี
มคี วามแตกตา่ งกนั โดยสรุปคือ

128

1. พทุ ธพิ สิ ัย คอื แดนแห่งความรู้ความเข้าใจ เปน็ ด้านทเี่ นน้ ความจำ การจดจำและสามารถนกึ ย้อนนำเอา
สิ่งที่เรียนกลับมาใหม่ เพื่อที่จะใช้ได้อีกในภายหลับ หมายรวมไปถึงเชาว์ปัญญาในการแก้ปัญหา ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับ
การที่บุคคลที่สามารถพิจารณาถึงปัญหาที่เกิดขึ้นแล้วเปลี่ยนแปลงรับวธิ ีการ วัสดุที่ใช้อยู่เกิดเสียใหม่เพื่อแก้ปัญหา
นั้นๆ จุดมุ่งหมายในด้านนี้มีหลายระดับหลายขั้นตอนตั้งแต่ความสามารถจดจำสิ่งที่เรียนไปแล้ว ไปจนถึงระดับท่ี
สงู ขนึ้ เชน่ การสรา้ งสรรค์ หรือการนำความคิดทไ่ี ด้จากการเรียนรู้ไปแล้วมาผสมผสานให้เกิดความคิดใหมข่ ้ึน

ศิลปะส่งเสริมประสิทธิภาพทางด้านการรับรู้การทำงานศิลปะต้องอาศัยสื่อดลใจมาสู่การ
สร้างสรรค์ ขึ้นทั้งศิลปะของเด็กและของศิลปินก็ต้องเกี่ยวข้องกับการดูทั้งสองด้านคือ การดูสิ่งแวดล้อมและการดู
ศิลปะในช่วง การเรียนรู้รับรู้สิ่งแวดล้อม รูปทรงต่างๆ จะมีสภาพเป็นนามธรรม เมื่อสร้างสรรค์ศิลปะกระตุ้น
คุณภาพของรูปร่าง รูปทรง มวล ปริมาตร รวมทั้งพื้นผิวของสิ่งต่างๆ ตามวิถีทางของศิลปะ เมื่อการสร้างสรรค์
ศิลปะเกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมในฐานะที่สิ่งแวดล้อมและพื้นผิวของสิ่งนั้นสัมพันธ์กับการสร้างศิลปะของเรา
ประสิทธิภาพในการรับรู้ เช่นนี้ย่อมเป็นวิถีทางที่ดีที่สุดทางหนึ่งในการที่เด็กจะเรียนรู้โลก เพราะความรู้ทั้งหลาย
ยอ่ ยมาจากสง่ิ แวดลอ้ ม นั้นเอง

ศิลปะส่งเสริมประสิทธิภาพทางด้านการคิดสำหรับศิลปะของเด็กแล้ว กิจกรรมต่างๆจะช่วย
เพิ่มพูน ประสิทธิภาพทางด้านการคิดได้ ในขณะที่นักเรียนสร้างสรรค์ศิลปะนั้น จะช่วยให้จัดระบบความคิดอย่าง
รวดเร็ว และต่อเนื่องในอันที่จะควบคุมการแสดงออกใหเ้ ป็นไปอย่างที่เขาคิดคำนึง นกั เรยี นสว่ นใหญ่เมื่อเขียนภาพ
สิ่งใดสิ่ง หนึ่ง เขาจะสร้างสรรค์สัญลักษณ์โดยแปลความรูปทรงออกมาหลากหลายชนิด ภาพเขียนหรืองานศิลปะ
ของเดก็ จงึ เปลี่ยนไปตามแงม่ ุมความคิดต่างๆ นัน้

จากการรับรู้และการคิดพนื้ ฐานเช่นนี้ ยอ่ มเปน็ การปูพ้นื ฐานอนั สำคญั เป็นเสมือนการเพิ่มพลังและ
ทกั ษะทีจ่ ะแยกแยะสง่ิ ต่างๆไดช้ ัดเจน ยอ่ มเปน็ พืน้ ฐานสำหรบั การเรียนรู้ข้ันตา่ งๆ

ศิลปะส่งเสริมประสิทธิภาพทางด้านความรู้สึกเรื่องของอารมณ์ด้านความรู้สึก การที่เด็กเติบโต
ขึ้นมานั้น ก็ควรที่จะต้องรับรู้และทำความเข้าใจกับอารมณ์ความรู้สึกของบุคคลที่อยู่รอบตัว เทย์เลอร์ กล่าวว่า
การศึกษาทางการจัดระบบความเป็นจริงด้านกายภาพเท่านั้น สติปัญญาไม่ใช่สิ่งที่จะแบ่งแยกความสามารถ มันก็
เป็นกิจกรรมของอินทรีย์โดยส่วนรวม เป็นกิจกรรมซึง่ เร่ิมขึ้นในประสาทสัมผัส ประกอบกับประสบการณต์ รงความ
เปน็ จริง เหตกุ ารณ์ ความคดิ และยังรวมถึงอารมณค์ วามรู้สึกอีกดว้ ยโดยรวมแลว้ ศิลปะ ก็คอื การสนับสนุนให้เด็ก
แสดออกซึ่งอารมณ์ความรู้สึก และให้เด็กนักเรียนได้เผชิญกับอารมณ์ความรู้สึงในแง่ของผลงานศิลปะ และ
เกยี่ วขอ้ งกับส่งิ ตา่ งๆ ด้วยสสี นั รูปทรง น้ าหนัก บรเิ วณทีว่ ่าง พ้นื ผิว ปรมิ าตร รวิ้ รอยของสที ม่ี าจากพ่กู ัน เป็นต้น

1.4 สุนทรียภาพทางศิลปะ
สุนทรียภาพหมายถึง ความรู้สึกในการรับรู้ถึงคุณค่าของสิ่งที่เห็นว่างาม ดูเป็นระเบียบไปถึงการได้ยินได้
ฟังเสียงและถ้อยค าที่ไพเราะต่าง ๆ ผลงานทัศนศิลป์มีจุดมุ่งหมายสร้างสรรค์ขึ้นเพื่อให้เกิดความงาม ผลงานจึง
ก่อให้เกิดสุนทรียภาพด้วยการสัมผัสได้จากการมองเห็น มนุษย์แต่ละคนจะรับรู้ความงามและคุณค่าของศิลปะ
แตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ รสนิยม การรับรู้ การจดจำสติปัญญา ความรู้สึกนึกคิด เป็นต้น การฝึกฝน
พัฒนาตนเองให้มีสนุ ทรียภาพ มีความร้สู กึ รับรู้คุณค่าความงามไดน้ น้ั ตอ้ งขยันหมนั่ ฝึกฝน สงั เกต เรียนรู้ จดจำ คิด
วิเคราะห์ บ่มเพาะประสบการณ์ไปทีละเล็กที่ละน้อยหลักเกณฑ์ง่ายๆ ในการฝึกฝนให้มีสุนทรียภาพในการศึกษา
เรียนรศู้ ลิ ปะ ได้แก่

129

1.พิจารณาที่จุดเด่นของศิลปะนั้นๆ ก่อนเป็นอันดับแรกว่าสามารถสื่อได้ตรงตามความหมายของเรื่อง ท่ี
ต้องการส่ือหรอื ไม่

2.พิจารณาดอู งค์ประกอบโดยรวมในภาพตามหลกั การจัดภาพองค์ประกอบศลิ ป์
3.พจิ ารณาลงรายละเอยี ดของทัศนธาตุ ดูเสน้ (/สี/แสงเงา/รูปร่างรปู ทรง
4. พิจารณาการจัดวางเนื้อหาเรื่องราวโดยดูความสำเร็จของผลงานศิลปะนั้นๆ คุณค่าความงามในงาน
ทัศนศิลป์เปรียบเป็นความนิยมชมชอบ ค่านิยม คตินิยม เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นในจิตใจ เป็นความรู้สึก เป็นความพึง
พอใจ ความงามและคุณค่าในงานทัศนศิลป์นั้นๆ จึงขึ้นอยู่กับทัศนศิลป์ของแต่ละคน เช่น พื้นฐานทางสภาพสังคม
สิง่ แวดลอ้ มทีห่ ล่อหลอมมา และวัฒนธรรมแหง่ ยคุ สมัยนนั้ ๆ เป็นปัจจยั คุณคา่ ความ งามในงานทัศนศิลปอ์ าจมองได้
ลักษณะ ดังน้ี2
1.งามมคี ุณค่าในรปู ทรงท่ปี รากท ใหค้ วามรสู้ กึ กับสายตา
2.งามมีคุณค่าในเนื้อหาที่น เสนอ เนื้อหาเป็นเรื่องขยายความให้รับรู้ศิลปะโดยส่งผ่านรูปทรงให้ ปรากท
เปน็ ภาพหรอื ผลงานนน้ั ๆ
การทเี่ ราจะเหน็ คณุ ค่าและรูส้ ึกชื่นชมความงามในงานทศั นศิลป์ได้นน้ั เราต้องมีความเข้าใจเร่ืองราวที่ แอบ
แฝงอยู่ในงานศิลปะนั้นๆ ด้วย เช่น เรื่องราวในงานน าเสนอแบบใด เกี่ยวกับอะไร เช่น ศาสนา นิยาย นิทาน
ธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม จินตนาการ
2.ชุดกิจกรรมการสอน
2 1.ความหมายของชุดกิจกรรม
ชุดกิจกรรม เป็นสิ่งที่มีความสำคัญทางการศึกษาอย่างหนึ่งที่มีชื่อเรียกต่างๆกันไม่ว่าจะเป็น ชุดการสอน
ชุดการเรียน หรือ ชุดการเรียนสำเร็จรูป เป็นสื่อการสอนที่สามารถช่วยแก้ปญั หาความแตกต่างระหว่างผู้เรียนหรอื
ระหว่างบุคคล และส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เต็มความสามารถ ในการวิจัยครั้งนี้มีนักการศึกษา หลายท่านได้คำ
จำกดั ความซึ่งมคี วามสอดคล้องกันดังนี้
สุวิทย์ มูลคำ และ อรทัย มูลคำ (สุวิทย์ มูลคำ และ อรทัย มูลคำ,2545: 51) ได้ให้ความหมายของชุด
กจิ กรรมไวว้ า่ ชุดกจิ กรรม หมายถงึ สอื่ การสอนชนิดหน่ึงที่เปน็ ลักษณะของสื่อประสม และเป็นการใช้สื่อต้ังแต่สอง
ชนิดขึ้นไปร่วมกัน เพื่อให้นักเรียนได้รับความต้องการ โดยอาจจัดขึ้นสำหรับหน่วยการเรียนตามหัวข้อเรื่องและ
ประสบการณ์ของแต่ละหน่วยที่ต้องการให้นักเรียน ได้เรียนรู้อาจจัดไว้เป็นชุดในกล่อง ซองกระเป๋า ชุดกิจกรรม
อาจประกอบด้วยเนื้อหาสาระ คำสั่ง ใบงาน ในการทำกิจกรรม วัสดุอุปกรณ์ เอกสาร ความรู้เครื่องมือ หรือส่ือ
จำเป็นสำหรับกจิ กรรมตา่ ง ๆ รวมท้งั แบบวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้
วาสนา ชาวหา (วาสนา ชาวหา. 2525: 138) ได้ให้ความหมายของชดุ กจิ กรรมไว้ว่า ชุดการสอนหรือชดุ
กิจกรรม หมายถึง การใช้สื่อประสม เพื่อสร้างประสบการณ์ในการเรียนรู้อย่างกว้างขวางและเป็นไปตามจุดหมาย
สอื่ การ เรียนการสอนบางชนิดไม่สามารถบรรจุไวใ้ นซองหรือกล่องได้ เน่อื งจากเป็นส่ิงมชี วี ิต แตกหกั เสียหายง่าย ก็
จะ กำหนดรายชื่อไว้ในคู่มอื การใช้ชดุ การสอนเทา่ นัน้ ส่วนส่อื ชน้ิ นั้นจะถูกจัดไว้ในห้องปทิบัตกิ าร
กู๊ด (Good. 1973: 306) ได้ให้ความหมายของชุดกิจกรรมไว้ว่า เป็นโปรแกรมการสอนทุกอย่างที่จัดไว้
เฉพาะท้งั อุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการเรียนการสอน เนอ้ื หา คู่มอื ครู แบบฝึกหัดมกี ารก าหนดจุดประสงค์ของการเรียนอย่าง
ครบถ้วน ชุดการสอนน้ันนกั เรยี นจะไดศ้ กึ ษาดว้ ยตนเอง โดยครูเป็นผู้จัดให้และเป็นผแู้ นะนำเท่าน้ัน

130

กรองกาญจน์อรุณรัตน์(กรองกาญจน์อรณุ รตั น์. 2536: 193) ได้ให้ความหมายของชุดกิจกรรมไว้ว่า เป็น
ชุดของสื่อประสม (Multimedia) ที่สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาและประสบการณ์ในการเรียนรู้ของผู้เรียนให้บรรลุ
ตามจุดหมายท่ีวางไว้และช่วยใหก้ ารสอนของครูดำเนนิ ไปอย่างสะดวกและมปี ระสทิ ธภิ าพ

จากดังที่กล่าวมาข้างต้นพอจะสรุปได้ว่า ชุดของสื่อการสอนหลายๆชนิดที่นำมาใช้ร่วมกันในเนื้อหา
เดียวกันวัตถุประสงค์เดียวกัน โดยที่สื่อแต่ละชนิดทำหน้าที่ต่างกัน บางชนิดใช้เร้าความสนใจ สื่อประสมที่มีการ
นำเสนอเนื้อหา วัตถุประสงค์โดยอาศัยสื่อที่หลากหลายซึ่งทำหน้าที่ต่างๆ กัน ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ให้ผเู้ รยี นได้ศกึ ษาดว้ ยตนเองหรือเป็นกลุ่ม โดยมผี ูส้ อนเป็นผอู้ ำนวยความสะดวก และคอยให้คำปรึกษา

2 2.หลักในการสรา้ งชุดกจิ กรรม
หลกั การในการสรา้ งชุดชุดกิจกรรม มีผู้เสนอไวห้ ลายท่าน ดงั น้ี
บราวน์ Brown1973 :2522 .อ้างในไชยยศ เรอื งสวุ รรณ 503: )199ได้ เสนอหลักการในการสร้าง ชุด
การสอนไว้ ประการ ดงั นี้2
ประการที่ หลักการเกี่ยวกับสื่อประสม ชุดการสอน หมายถึง การใช้สื่อหลายอย่างอย่างมี 1 ระบบ มาใช้
เป็นแนวทางการเรียนร้ขู องกิจกรรมการเรยี นทำให้ผเู้ รียนได้เรียนร้จู ากสือ่
ประการที่ หลักการวิเคราะห์ระบบ ชุดการสอนจัดทำโดยอาศัยวิธีวิเคราะห์ระบบ มีการ 2 ทดลองสอน
และปรับปรงุ แก้ไขจนเป็นทนี่ ่าเชือ่ ถอื ได้ จงึ นำออกมาใช้เผยแพร่
เสาวนยี ์ สกิ ขาบัณฑติ เสาวนยี ์ สกิ ขาบณั ฑติ (,2528: )292ไดเ้ สนอหลักการสร้างชดุ การสอนไว้ ดังน้ี
1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Differencesนักการศึกษาได้นำหลักการ ) จิตวิทยาด้าน
ความแตกต่างระหวา่ งบุคคลมาใช้ เพราะถือว่าการสอนนัน้ ไมส่ ามารถปั้นผเู้ รยี นให้เป็นพมิ พ์เดียวกัน ได้ในช่วงเวลา
ที่เท่ากัน เพราะผู้เรียนแต่ละคนจะเรียนรู้ตามวิถีทางของตนเอง และใช้เวลาในแต่ละเรื่องแตกต่างกัน ไป ซึ่งเป็น
ความแตกต่างดา้ นสติปัญญา (Intelligence) ความสามารถ (Ability) ความต้องการ (Need)ความสนใจ (Interest
)ร่างกาย (Physical) อารมณ์ (Emotion ) และสงั คม (Social)ดว้ ยเหตุผลของความแตกต่างดังกล่าว ผู้สร้างชุดการ
สอนจึงได้พยายามหาวิธีการที่เหมาะสมที่สุด เพื่อทำให้ผู้เรียนบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่วาง ไว้ในชุดการ
สอนนั้นๆ ซึ่งวิธีที่เหมาะสมที่สุดคือ การจัดการสอนรายบุคคล หรือจัดการสอนตามเอกัตภาพ หรือ การศึกษาด้วย
ตนเอง ซึง่ ล้วนเปน็ วิธกี ารสอนทีใ่ หผ้ เู้ รยี นมอี สิ ระในการเรียนตามความแตกต่างของแต่ละคน
2.การนำส่อื ประสมมาใช้ (Multi-Media Approach)เปน็ การนำส่ือการเรียนการสอน หลาย ) ประเภทมา
ใช้อย่างมีระบบ ซึ่งเป็นความพยายามเพื่อเปลี่ยนแปลงจากการสอนแบบเดิมที่ยึดครูเป็นแหล่งให้ความรู้ หลักมา
เป็นการจัดประสบการณใ์ ห้ผ้เู รยี นเรยี นโดยใชแ้ หล่งความรู้จากสอ่ื ต่างๆ
3.ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning Theoryที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเรียนโดยการเข้าร่วมกิจกร )รมการ เรียน
การสอนดว้ ยตนเอง
4.การใช้วิธีวิเคราะห์ระบบ (Systems Analysisโดยการจัดเนื้อหาวิชาให้สอดคล้องกับ ) สภาพแวดล้อม
และวัยของผู้เรียน ทุกสิ่งที่จัดไว้ในชุดการสอนจะสร้างขึ้นอย่างมีระบบ มีการตรวจทุกขั้นตอน และ รุงจนมี
ประสทิ ธิภาพอยู่ใทุกอย่างจะต้องสัมพนั ธ์กันอย่างสอดคล้อง มกี ารพฒั นาปรับปนเกณฑ์มาตรฐานทเ่ี ชื่อถือ ได้จึงนำ
ใช้

131

สรุปได้ว่า หลักการในการสร้างชุดการสอน ควรคำนึงถึงหลักจิตวิทยา หลักการเกี่ยวกับสื่อประสม การ
วิเคราะห์ระบบ การเลือกใช้โสตทัศนปู กรณ์ท่ีเหมาะสม และการใช้กระบวนกลุม่ เพื่อพัฒนาทักษะทางสงั คม ให้กับ
ผเู้ รยี น

132

บทที่ 3
วธิ ีการดำเนนิ การวจิ ยั
3.1 กลุ่มเปา้ หมาย
นักเรยี นที่แข่งขันศลิ ปหตั ถกรรม ม.ต้น ม.ปลาย
3.2 ระยะเวลาท่ีใช้ในการวิจัย
ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย 1 ช่วั โมง หลังเลกิ เรียน จำนวน ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564
3.3 เครือ่ งมอื ทใี่ ช้ในการวิจยั
แบบฝกึ เพือ่ การพัฒนาความสามารถดา้ นการสรา้ งงานศิลปะวาดภาพลายเสน้
3.4 การดำเนินการวิจัย
1 นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านศิลปะ โดยพิจารณาจากผลงานที่นักเรียนสร้างสรรค์ในชั่วโมงเรียน
วชิ าทศั นศลิ ป์ จ านวน 3 ช้นิ นกั เรยี นทม่ี คี วามสนใจและเต็มใจในการท ากจิ กรรมพิเศษหลงั เลกิ เรยี น
2. เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นการวิจัย : แบบฝกึ เพ่ือการพัฒนาความสามารถด้านศิลปะวาดภาพลายไทยวาดตัวพระ
นางลายไทย
3. ขน้ั ตอนการปฏิบัติต่อผเู้ รียน
3.1 สรา้ งแบบฝกึ : ครทู ี่สอนศลิ ปศึกษาชว่ ยกนั สร้างแบบฝกึ
3.2 แจ้งขั้นตอนการปฏิบัติต่อผู้เรียน ทำการฝึกระหว่างเวลา 15.30 – 16.30 นของทุกวัน .
อังคาร พธุ และวันพฤหสั บดี
3.3 ผเู้ รยี นฝกึ การเขียนภาพตามขั้นตอนโดยใชเ้ วลาหลังเลิกเรียน
3.4 ผเู้ รียนจดั ทำผลงานสรปุ ของตนเอง

133

บทท่ี 4
ผลการวจิ ยั และอภิปรายข้อมลู

134

135

136

137

138

139

140

141

142

143

144

บทที่ 5
สรุปผลการวจิ ัยและข้อเสนอแนะ
5.1 สรุปผลการวิจัย
วัตถุประสงค์ของการวิจยั
เพ่ือสง่ เสริมศักยภาพของผเู้ รียนท่มี ีความสามารถพิเศษด้านศิลปะวาดภาพศิลปะลายไทย ในการวาด
ปากและใบหนา้ ตวั พระตัวนางลายไทยได้อยา่ งถูกต้อง
ประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง
ประชากร นักเรียน :ท่แี ขง่ ขันศิลปหตั ถกรรม ประเภท วาดภาพไทยประเพณจี านวน 4 คน
เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นการวิจัย
แบบฝกึ เพอ่ื การพฒั นาความสามารถดา้ นการสร้างงานศลิ ปะวาดภาพลายไทยวาดตัวพระนางลาย
ไทย
การเก็บรวบรวมข้อมลู
1 นักเรียนท่มี คี วามสามารถพเิ ศษด้านศิลปะ โดยพจิ ารณาจากผลงานทีน่ ักเรยี นสร้างสรรคใ์ น
ชั่วโมงเรียนวิชาทัศนศิลป์ จ านวน 3 ชิ้น นักเรียนที่มีความสนใจและเต็มใจในการท ากิจกรรมพิเศษหลัง
เลิกเรียน
2. เครื่องมอื ทใี่ ชใ้ นการวิจัย : แบบฝกึ เพื่อการพัฒนาความสามารถด้านศิลปะวาดภาพลายไทย
วาดตวั พระนางลายไทย
3. ข้ันตอนการปทิบตั ิต่อผเู้ รยี น
3.1 สร้างแบบฝกึ : ครูท่สี อนศิลปศึกษาชว่ ยกนั สรา้ งแบบฝกึ
3.2 แจ้งขนั้ ตอนการปทิบตั ติ ่อผ้เู รยี น ท าการฝกึ ระหวา่ งเวลา 15.30 – 16.30 นของทุกวัน .
อังคาร พธุ และวันพฤหัสบดี
3.3 ผู้เรียนฝึกการเขียนภาพตามขนั้ ตอนโดยใช้เวลา 2 อาทติ ย์ ปกี ารศกึ ษา 2 ภาคเรียนท่ี
(2561) และมีครูผู้ฝกึ สอนคอยแนะน าใหค้ าปรึกษา
3.4 ตรวจสอบคุณภาพผลงาน
3.5 ผเู้ รยี นจัดท าผลงานสรุปของตนเอง 2 ช้ิน

145

ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล
นกั เรียนทไี่ ด้รับการสง่ เสรมิ ศักยภาพความสามารถพเิ ศษด้านศิลปะการวาดภาพมีศกั ยภาพในการ
สรา้ งงานศลิ ปะลายไทยในการวาดตัวพระนางลายไทยดีขน้ึ และสรา้ งสรรคผ์ ลงานศิลปะไดอ้ ย่างมีคณุ ภาพ
สรุปผลการวจิ ัย
นักเรียนที่ได้คัดเลือกใหแ้ ข่งขนั งานศิลปหัตกรรม ที่มีความสามารถพิเศษด้านศิลปะวาดภาพลายไทย ที่ได้
ผ่านการฝึกเข้มจากแบบฝึกการวาดลายเส้นมือและเทา้ และฝกึ การระบายสตี ั้งแตข่ ั้นตน้ ถึงข้ันสดุ ทา้ ยตามการฝึก มี
การพัฒนาดา้ นทกั ษะในการวาดภาพ เทคนิคการใช้สปี ระเภทตา่ ง ๆ และมีการแก้ไขปญั หาท่ีเกดิ จากการท างานได้
ดขี ้ึน นักเรียนทไ่ี ด้รบั คัดเลือกสามารถสร้างผลงานศิลปะวาดภาพด้วยเทคนิควธิ ีต่างๆ ได้ตามท่ไี ด้รับการฝึกเข้มจาก
แบบฝึก นักเรียนตัง้ ใจในการฝึกมาตรงเวลา เมื่อมีปัญหาก็ปรกึ ษาครู ครูต้องคอยชี้แนะให้นกั เรยี นอย่างใกล้ชิดเมือ่
นักเรียนเรียนรู้เทคนิคต่างๆของการวาดภาพแล้ว ครูจะฝึกฝนทางด้านทักษะการสร้างสรรค์ผลงาน ความคิด
สร้างสรรค์ ทักษะการแก้ปัญหา ในการฝึกฝนทักษะนี้ต้องใช้เวลาเยอะพอสมควร และเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ใช้
ความคิดสร้างสรรค์ และความสามารถในการสร้างสรรคผ์ ลงานด้วยตนเองโดยครคู อยสังเกตการฝกึ อยู่ห่างๆ ในการ
ฝึกจากการสังเกตนักเรียนสนุกกับการเรียนรู้ มีความเต็มใจที่จะสร้างสรรค์ผลงาน สรรค์หาความรู้แบบใหม่ๆอยู่
เสมอ จากการประเมินผลงานศิลปะระหว่างก่อน-หลังเข้ารับการฝึกฝน ผลงานหลังการฝึก สะท้องให้เห็นได้ว่า
นกั เรียนมีรูปแบบการสร้างสรรค์งานศลิ ปะดขี ึ้น มที กั ษะเพิ่มข้ึนไมว่ า่ จะเป็นการออกแบบภาพ การจัดองค์ประกอบ
การลงสี เทคนิคในการวาดภาพ การคิดหัวข้อเรื่องราวในการวาดภาพ การสื่อความหมายของภาพกล้าคิดกล้า
แสดงออกมากขึ้น สรุปได้ว่า นักเรียนที่ได้รับการส่งเสริมศักยภาพความสามารถพิเศษด้านศิลปะการวาดภาพมี
ศกั ยภาพในการสร้างงานศิลปะดขี ้ึน และสร้างสรรคผ์ ลงานศลิ ปะไดอ้ ย่างมคี ุณภาพ
ขอ้ เสนอแนะ
ปัญหาในการฝึกนักเรียนไม่ค่อยมีเวลาในการเรียนกจิ กรรมไดเ้ ต็มท่ี : เนื่องจากต้องกลับบ้านตรงเวลา และ
ต้องไปทำกิจกรรมอืน่ ๆ เวลาในการฝึกฝนจึงจ ากดั อยู่เพียง 2 ครงั้ ต่อ 1 สปั ดาหถ์ า้ มกี ารขยายเวลาในการฝกึ ใหม้ าก
ขนึ้ จะสามารถพฒั นาทักษะได้มากข้ึน

146

2 ด้านการบรหิ ารจัดการชั้นเรียน
2.1 การบริหารจดั การชั้นเรยี น และการจดั ทำข้อมูลสารสนเทศ

147

แบบบันทึกการมาเรียนและการโฮมรูม สปั ดาหท์ ่ี …1....
ตัง้ แต่วนั ท่ี 1 เดอื นมิถุนายน พ.ศ. 2564 ถึงวนั ท่ี 4 เดอื น มิถนุ ายน พ.ศ. 2564

วัน เดือน ปี รายการโฮมรูม

วันจันทรท์ ่ี …………………………………………………………………………………………………………………………………
……………… …………………………………………………………………………………………………………………………………
………... ………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ รตั ตกิ ร ด๊ะเหล็ม
ลงช่อื อินอาม เจ๊ะดอเล๊าะ

ครูทีป่ รกึ ษา

วันองั คารท่ี เชค็ คช่อื นักเรยี น ม3-2 เพ่อื เตรียมความพร้อมก่อนเรยี น
02/06/25 พดู คยุ ถึงความพรอ้ มในการเรียน นักเรยี นมคี วามพรอ้ มกบั การเรยี นหรอื ไม่มปี ัยหาดา้ น

64 ใดบ้าง เคร่ืองสอื หรือ อปุ กรณ์ ไมว่ ่าเป็นมือถือ หรือระบบอินเตอร์เนต็
ลงชอ่ื รัตตกิ ร ดะ๊ เหลม็

ลงชอ่ื อินอาม เจ๊ะดอเล๊าะ
ครูท่ปี รึกษา

วันพธุ ที่ เช็คคช่อื นักเรยี น ม3-2 เพ่อื เตรียมความพรอ้ มก่อนเรียน
03/06/25 นักเรียนเร่ิมเรียนโดยพยายามพดู คุยให้นักเรียนเข้าเรยี นให้ครบ 100% เจอปญั หานกั เรยี น

64 บางคนต้องทำงานเข้าเรียนออนไลน์ไมไ่ ด้
ลงชื่อ รัตตกิ ร ดะ๊ เหล็ม

ลงชอ่ื อินอาม เจะ๊ ดอเล๊าะ
ครูทีป่ รึกษา

วนั พฤหัสบดี เช็คคชอ่ื นกั เรียน ม3-2 เพ่ือเตรยี มความพรอ้ มก่อนเรียน
ท่ี พูดคยุ เร่ืองการเรียนใหน้ ักเรยี นเขา้ เรยี นตรงเวลา มวี นิ ยั ในการเข้าเรียน มีความรับผดิ ชอบ

05/06/25 บังคบั ตัวให้สนใจเรียนออนไลน์ แตน่ ักเรยี นสะท้อนถึงปญั หาเรือ่ งสญั ญาณอินเตอร์เนต็ เสยี ง
64 ไม่ชัด วดี ีโอภาพไมช่ ดั
ลงชือ่ รัตติกร ดะ๊ เหล็ม
ลงช่อื อนิ อาม เจะ๊ ดอเลา๊ ะ
ครูทป่ี รกึ ษา

148

แบบบนั ทึกการมาเรียนและการโฮมรูม สัปดาหท์ ่ี ……2….
ต้ังแต่วนั ที่ 7 เดอื น มิถนุ ายน พ.ศ. 2564 ถึงวนั ที่ 11 เดือน มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564

วัน เดือน ปี รายการโฮมรมู

วันจนั ทรท์ ี่ เช็คคช่ือนกั เรียน ม3-2 เพ่ือเตรยี มความพร้อมก่อนเรยี น

07/06/2564. ติดตามสอบถามนักเรยี นเกยี่ วกับการเรยี น ผลตอบรับถือว่าอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง

ลงช่ือ รัตติกร ดะ๊ เหล็ม

ลงช่อื อนิ อาม เจะ๊ ดอเล๊าะ

ครูทปี่ รกึ ษา

วนั องั คารที่ เช็คคชอื่ นักเรียน ม3-2 เพอื่ เตรียมความพร้อมก่อนเรียน

08/06/2564 ติดตามนกั เรียนโดยครตู ามผ่านเพอ่ื นให้นักเรียนเขา้ เรียนใหค้ รบไมว่ ่าผา่ นไลน์ เฟสบกุ๊ พดู ใน

แตล่ ะวชิ าท่ีนกั เรียนได้เรยี นผ่านระบบออนไลน์

ลงชื่อ รัตติกร ดะ๊ เหล็ม

ลงชอ่ื อนิ อาม เจ๊ะดอเล๊าะ

ครทู ปี่ รึกษา

วันพธุ ท่ี เชค็ คชอื่ นกั เรยี น ม3-2 เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มก่อนเรียน ตดิ ตามการสง่ งานตามท่ีครู
09/06/2564 ประจำวชิ าไดม้ อบหมายใหน้ กั เรยี นไดท้ ำใหส้ ่งตรงเวลาทคี่ รูกำหนดส่ง

ลงชือ่ รตั ติกร ดะ๊ เหล็ม
ลงชือ่ อนิ อาม เจะ๊ ดอเลา๊ ะ

ครทู ี่ปรกึ ษา

วันพฤหัสบดีท่ี เชค็ คช่ือนักเรียน ม3-2 เพอ่ื เตรียมความพร้อมก่อนเรียน
10/06/2564 ตดิ ตามการส่งงานตามที่ครปู ระจำวชิ าไดม้ อบหมายใหน้ กั เรียนได้ทำใหส้ ง่ ตรงเวลาทคี่ รู

กำหนดสง่ และการเข้าเรยี นให้ครบตามตรางเรียน
ลงชอ่ื รัตติกร ด๊ะเหล็ม

ลงชอื่ อินอาม เจ๊ะดอเล๊าะ
ครูที่ปรกึ ษา

วนั ศุกรท์ ่ี เช็คคชื่อนกั เรียน ม3-2 เพื่อเตรยี มความพรอ้ มก่อนเรียน นักเรยี นแจง้ สภาพปญั หาว่า

11/06/2564 เรยี นไม่ค่อยเขา้ ใจ สับสนในการเรียนเพราะหลายวิชาหลาย ชอ่ งทางการสอน เฟสบ้าง ไลน์

บ้าง นกั เรยี นอยากให้ทางโรงเรียนสอนเพ่ิมเติม ในรายวิชาทีไ่ ดเ้ รียนออนไลน์มาแลว้

ลงชื่อ รัตตกิ ร ด๊ะเหล็ม

ลงชื่อ อนิ อาม เจ๊ะดอเล๊าะ

ครทู ี่ปรึกษา

149

สรปุ ปัญหานกั เรยี นและขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ ในรอบสัปดาห์
นักเรยี นเสนอให้เรียนเพ่มิ เติมเนอื้ หาทไี่ ดเ้ รียนในชว่ งเรียนออนไลน์ ตอนเปิดเทอมเพราะบางรายวิชายงั

ไม่เข้าใจ เพราะเกดิ การขัดข้องในการรบั สญั ญาณในขณะทีเ่ รียน

ลงชื่อ อินอาม เจะ๊ ดอเล๊าะ ครูที่ปรกึ ษา
(.....นางสาวอินอาม เจ๊ะดอเล๊า........)

ลงช่ือ รัตติกร ด๊ะเหลม็ ครูทป่ี รึกษา
(......นางรัตติกร ดะ๊ เหล็ม .......)

ความคิดเห็นของหัวหน้าระดับ
……รบั ทราบ ครทู ป่ี รึกดูแลตดิ ตามดแู ลนักเรียนของห้องตวั เองอย่างต่อเน่อื ง ทำให้รับทราบถึงปัญหาท่ีเกิดขึน้ กบั
ผเู้ รยี นได้เปน็ อย่างดี ขอให้ดูแลและตดิ ตามอยา่ งน้ีใหด้ ี
ตอ่ ไป…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


ลงชื่อ หวั หนา้ ระดับ
(.....นายอับดนเลา๊ ะ...เหมและ......)

ความคดิ เหน็ ของรองผู้อำนวยการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชือ่
(นายอุดม สขุ มี)

ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนจะนะวทิ ย

150

แบบบนั ทึกการมาเรียนและการโฮมรมู สปั ดาห์ที่ 3
ต้ังแต่วนั ท่ี 14 เดือน มถิ ุนายน พ.ศ. 2564 ถงึ วนั ที่ 18 เดือน มิถนุ ายน พ.ศ. 2564

วนั เดอื น รายการโฮมรมู
ปี

วนั จนั ทรท์ ่ี ช็คคชือ่ นักเรยี น ม3-2 เพ่ือเตรยี มความพรอ้ มก่อนเรยี น
14 ม.ิ ย. การเข้าช้ันเรยี นของนักเรยี นแต่ละคนให้เข้าเรียนตรงเวลาและการสง่ งานของนักเรียน

64 ลงชื่อ รตั ติกร ดะ๊ เหล็ม
ลงชื่อ อินอาม เจะ๊ ดอเลา๊ ะ
ครูที่ปรกึ ษา

วันอังคารท่ี เช็คคชอ่ื นกั เรยี น ม3-2 เพื่อเตรยี มความพรอ้ มก่อนเรียน

15 มิ.ย. ตดิ ตามนกั เรยี นโดยครตู ามผ่านเพอื่ นให้นกั เรียนเข้าเรียนให้ครบไมว่ ่าผา่ นไลน์ เฟสบุ๊ก พูดในแต่ละ

64 วชิ าที่นกั เรยี นได้เรยี นผ่านระบบออนไลน์

ลงช่อื รัตติกร ด๊ะเหลม็

ลงชอ่ื อนิ อาม เจะ๊ ดอเลา๊ ะ

ครทู ี่ปรกึ ษา

วันพุธท่ี ช็คคช่อื นักเรียน ม3-2 เพือ่ เตรยี มความพร้อมก่อนเรยี น
16 มิ.ย. นกั เรียนเริม่ เรียนโดยพยายามพดู คุยให้นักเรยี นเข้าเรยี นให้ครบ 100% เจอปญั หานักเรียนบางคน
ต้องทำงานเขา้ เรยี นออนไลน์ไม่ได้
64
ลงช่อื รัตติกร ด๊ะเหลม็
ลงชอื่ อนิ อาม เจ๊ะดอเล๊าะ

ครูทป่ี รกึ ษา

วัน ชค็ คชือ่ นักเรียน ม3-2 เพื่อเตรยี มความพร้อมก่อนเรียน

พฤหัสบดที ี่ การเข้าชั้นเรยี นของนักเรียนแต่ละคนใหเ้ ข้าเรยี นตรงเวลาและการส่งงานของนักเรยี น

17 มิ.ย. ลงช่ือ รตั ติกร ด๊ะเหล็ม

64 ลงชอ่ื อนิ อาม เจะ๊ ดอเลา๊ ะ

ครทู ปี่ รกึ ษา

วันศุกรท์ ่ี ช็คคช่ือนักเรียน ม3-2 เพอื่ เตรยี มความพร้อมกอ่ นเรยี น
18 มิ.ย. พูดคุยเร่ืองการเรยี นใหน้ กั เรยี นเขา้ เรียนตรงเวลา มีวินัยในการเข้าเรียน มคี วามรบั ผดิ ชอบ บงั คบั
ตวั ให้สนใจเรยี นออนไลน์ แต่นกั เรยี นสะท้อนถึงปญั หาเร่อื งสญั ญาณอนิ เตอรเ์ น็ต เสยี งไม่ชดั วีดโี อ
64 ภาพไม่ชัด

ลงชือ่ รตั ตกิ ร ดะ๊ เหลม็
ลงชอื่ อนิ อาม เจ๊ะดอเล๊าะ

ครทู ีป่ รกึ ษา


Click to View FlipBook Version