โครงการศกึ ษาผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มเบือ้ งต้น อา่ งเก็บน้าเหมอื งตะก่ัว สารบญั
อันเน่ืองมาจากพระราชดา้ ริ จังหวดั พัทลุง
รายงานความกา้ วหน้า (Progress Report) หน้า
โครงการศึกษาผลกระทบส่งิ แวดล้อมเบือ้ งต้น อา่ งเกบ็ นา้ เหมืองตะกว่ั -ก-
-ง-
อนั เนอ่ื งมาจากพระราชด้าริ จงั หวดั พัทลงุ -ช-
สารบญั 1-1
1-1
สารบัญ 1-1
สารบญั ตาราง 1-3
สารบัญรปู 1-3
1-3
บทท่ี 1 สรุปความก้าวหน้าของการดา้ เนนิ งาน 1-3
1.1 ผลการดาเนนิ งานโครงการ 1-5
1.1.1 การศกึ ษาทบทวนความเหมาะสม
1.1.2 การศกึ ษาผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มเบอ้ื งต้น 2-1
1.1.3 การประชาสัมพนั ธ์ มวลชนสมั พนั ธ์ และการมสี ่วนรว่ มของประชาชน 2-2
1.2 ผลการดาเนนิ การเบิกจา่ ยเงินโครงการ 2-3
1.3 ปญั หาอุปสรรคในการดาเนนิ งานและแนวทางการแกไ้ ข 2-3
1.3.1 ปญั หาอปุ สรรคในการดาเนนิ งาน 2-5
1.4 วตั ถปุ ระสงคข์ องรายงานความกา้ วหน้า 2-10
2-11
บทท่ี 2 การศกึ ษาทบทวนความเหมาะสม 2-11
2.1 การรวบรวมข้อมลู และเอกสารทเ่ี กีย่ วขอ้ ง 2-16
2.2 การศึกษาสภาพปญั หา และความจาเปน็ ในการพฒั นาโครงการ
2.3 การศึกษาทบทวนความเหมาะสมด้านวชิ าการ
2.3.1 การศกึ ษาด้านอตุ นุ ิยมวทิ ยาและอุทกวิทยา
2.3.2 การศึกษาปรมิ าณความต้องการใชน้ า้
2.3.3 การศกึ ษาดา้ นการเกษตรและปศุสตั ว์
2.3.4 การศกึ ษาดา้ นดิน และการใช้ประโยชนท์ ่ีดิน
2.3.5 การศึกษาดา้ นเศรษฐกิจ-สงั คม
2.3.6 การศกึ ษาดา้ นการชดเชยท่ดี นิ และทรพั ย์สนิ
บรษิ ัท เอช ทู โอ คอนซัลท์ จ้ากัด -ก- รายงานความก้าวหน้า
บริษทั เอ็นริช คอนซัลแตนท์ จา้ กัด (Progress Report)
โครงการศึกษาผลกระทบสิง่ แวดล้อมเบอื้ งตน้ อา่ งเก็บน้าเหมืองตะก่วั สารบญั
อันเนอ่ื งมาจากพระราชด้าริ จังหวัดพัทลุง
สารบญั (ต่อ) หนา้
2-18
2.4 การศึกษาทบทวนทางเลอื กในการพฒั นาโครงการ 2-18
2-25
2.4.1 แนวทางเลอื กในการพฒั นาโครงการ 2-38
2-42
2.4.2 การคดั เลือกทต่ี งั้ หัวงานและความจุอ่างเก็บนา้ ท่เี หมาะสม 2-43
2-43
2.4.3 การกาหนดทางเลือกชนิดเขอื่ นท่ีเหมาะสม 2-44
2-45
2.4.4 สรุปองค์ประกอบของโครงการจากผลการศกึ ษาเดมิ 2-60
2.5 การออกแบบและการประมาณราคาค่าก่อสรา้ งเบื้องตน้ 3-1
3-1
2.5.1 ข้อมูลสาหรับการพจิ ารณาออกแบบ 3-1
3-2
2.5.2 การสารวจด้านวศิ วกรรม
3-5
2.5.3 การออกแบบเบ้อื งต้น 3-5
3-5
2.5.4 การประมาณราคาค่าก่อสรา้ งเบอื้ งตน้
3-8
บทท่ี 3 การศึกษาผลกระทบสง่ิ แวดล้อมเบ้อื งต้น 3-8
3-10
3.1 เหตุผลและความจาเปน็ 3-18
3.2 การรวบรวมขอ้ มูลและเอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง 3-26
3-38
3.2.1 การศึกษาข้อกฎหมายและขอ้ จากัดด้านสงิ่ แวดล้อม 3-42
3.2.2 มตคิ ณะรัฐมนตรี วนั ที่ 10 มีนาคม 2535 เร่อื ง การจาแนกเขตการใช้ประโยชน์ 3-45
3-57
ทรพั ยากรและที่ดนิ
3.3 ข้นั ตอนและวธิ กี ารศึกษา
3.3.1 การสารวจและเก็บตวั อย่างในภาคสนาม
3.3.2 ดาเนนิ การขออนญุ าตเขา้ ทาการศกึ ษาตามพน้ื ท่รี บั ผิดชอบของแตล่ ะหน่วยงาน
ใหส้ อดคล้องกบั แผนการศกึ ษาของโครงการ
3.4 การศึกษาทรพั ยากรทางกายภาพ
3.4.1 สภาพภมู ปิ ระเทศ
3.4.2 สภาพภมู อิ ากาศ/อตุ นุ ยิ มวิทยา
3.4.3 ทรัพยากรดนิ
3.4.4 ธรณวี ิทยา แผน่ ดนิ ไหว และวสั ดทุ ใี่ ช้ในการกอ่ สร้าง
3.4.5 แหลง่ แร่
3.4.6 การกัดเซาะ และการตกตะกอน
3.4.7 อทุ กวิทยานา้ ผวิ ดนิ
3.4.8 คณุ ภาพนา้ ผิวดนิ
บรษิ ทั เอช ทู โอ คอนซัลท์ จา้ กัด -ข- รายงานความกา้ วหน้า
บริษทั เอ็นริช คอนซลั แตนท์ จา้ กดั (Progress Report)
โครงการศึกษาผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ มเบ้อื งต้น อ่างเกบ็ น้าเหมอื งตะกัว่ สารบัญ
อันเนอื่ งมาจากพระราชด้าริ จงั หวัดพัทลงุ
สารบญั (ตอ่ ) หนา้
3.4.9 น้าใตด้ นิ 3-60
3.5 การศกึ ษาทรพั ยากรชวี ภาพ
3-63
3.5.1 ป่าไม้ 3-70
3.5.2 สตั ว์ปา่ 3-71
3.5.3 นเิ วศวทิ ยาทางนา้
3.6 การศกึ ษาคณุ ค่าการใชป้ ระโยชน์ของมนุษย์ 3-73
3.6.1 การชลประทาน 3-76
3.6.2 เกษตรกรรม ปศสุ ตั ว์ และการเพาะเล้ยี งสัตวน์ า้ 3-83
3.6.3 การใช้นา้ 3-84
3.6.4 การระบายนา้ และการบรรเทาอุทกภัย 3-89
3.6.5 การใช้ประโยชนท์ ีด่ ิน 3- 102
3.6.6 การคมนาคมขนสง่ 3-103
3.7 การศึกษาคณุ คา่ ต่อคุณภาพชวี ติ 3-103
3.7.1 เศรษฐกิจ สังคม 3-105
3.7.2 สขุ ภาพอนามยั และการบรกิ ารสาธารณสุข 3-113
3.7.3 การท่องเทีย่ ว กฬี า แหล่งนนั ทนาการ และสนุ ทรยี ภาพ 3-117
3.7.4 โบราณคดแี ละประวตั ศิ าสตร์ 3-119
3.7.5 การชดเชยทรัพย์สนิ
บทท่ี 4 การประชาสัมพันธ์ มวลชนสัมพนั ธ์ และการมีส่วนร่วมของประชาชน 4-1
4-1
4.1 วตั ถุประสงค์การประชาสัมพนั ธ์ มวลชนสมั พนั ธ์ และการมสี ่วนร่วมของประชาชน 4-1
4.2 พื้นทดี่ าเนินงานและกลุ่มเปา้ หมาย 4-3
4.3 การดาเนินงานการประชาสมั พนั ธ์ มวลชนสัมพนั ธ์ และการมีสว่ นรว่ ม 4-3
4.4 ความก้าวหนา้ ของการดาเนนิ งาน 4-5
4-14
4.4.1 การเข้าพบและประสานงานหนว่ ยงาน/ผนู้ าชมุ ชน 4-14
4.4.2 การประชุมสมั มนาคร้ังท่ี 1 (การประชุมปฐมนิเทศโครงการ) 4-14
4.4.3 การประชาสัมพนั ธแ์ ละใหข้ อ้ มลู ข่าวสาร ทผ่ี า่ นมา 4-15
4.5 แผนการดาเนนิ งานขั้นต่อไป
4.5.1 แผนการประชุมกลุ่มยอ่ ย 5-1
4.5.2 แผนการประชาสัมพันธ์
บทท่ี 5 แผนการดา้ เนินงานในข้นั ถดั ไป
ภาคผนวก ก การประชาสมั พันธ์ มวลชนสัมพันธ์ และการมีส่วนร่วม
บรษิ ัท เอช ทู โอ คอนซัลท์ จ้ากัด -ค- รายงานความก้าวหน้า
บริษัท เอ็นรชิ คอนซลั แตนท์ จา้ กดั (Progress Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสงิ่ แวดล้อมเบือ้ งต้น อ่างเกบ็ น้าเหมอื งตะกว่ั สารบญั
อนั เนอื่ งมาจากพระราชด้าริ จงั หวัดพัทลุง
รูปที่ สารบัญรปู หน้า
1.1-1 แผนการปฏบิ ตั งิ านและการสง่ มอบงาน 1-2
2.4.1-1 ทางเลอื กในการพฒั นาโครงการ ทางเลอื กท่ี 1 ปรับปรุงฝายเดิมและกอ่ สร้างฝายทดนา้ เพ่มิ เติม 2-19
2.4.1-2 รูปตัดตามยาว แนวทางการพัฒนาฝายบริเวณลานา้ คลองเหมืองตะกัว่ 2-20
2.4.1-3 แผนท่ีแสดง แหลง่ นา้ สระสาธารณะ ในพืน้ ทรี่ บั ประโยชน์ 2-22
2.4.1-4 ทางเลอื กการพฒั นาโครงการ ทางเลือกท่ี 3 กอ่ สร้างอา่ งเกบ็ นา้ พรอ้ มปรับปรงุ ฝายเดิม 2-23
2.4.2-1 แสดงทต่ี ้งั หวั งานอา่ งเก็บนา้ 3 ทางเลือก 2-28
2.4.2-2 (ก) ที่ตัง้ หัวงานอา่ งเก็บนา้ ทางเลือกท่ี 1 2-29
2.4.2-2 (ข) ทต่ี ้ังหวั งานอ่างเกบ็ นา้ ทางเลือกท่ี 1 2-29
2.4.2-3 (ก) ทต่ี ง้ั หัวงานอ่างเก็บนา้ ทางเลอื กที่ 2 2-30
2.4.2-3 (ข) ท่ีตัง้ หัวงานอ่างเกบ็ นา้ ทางเลือกท่ี 2 2-30
2.4.2-4 (ก) ที่ต้ังหัวงานอ่างเก็บนา้ ทางเลือกที่ 3 2-31
2.4.2-4 (ข) ทต่ี ้ังหัวงานอ่างเกบ็ นา้ ทางเลอื กท่ี 3 2-31
2.4.2-5 (ก) ระดับเกบ็ กกั ทางเลอื กที่ 1 2-34
2.4.2-5 (ข) ระดบั เกบ็ กัก ทางเลอื กที่ 1 2-34
2.4.2-6 (ก) ระดับเกบ็ กัก ทางเลือกที่ 2 2-35
2.4.2-6 (ข) ระดับเก็บกกั ทางเลือกท่ี 2 2-35
2.4.2-7 (ก) ระดับเก็บกัก ทางเลือกท่ี 3 2-36
2.4.2-7 (ข) ระดบั เก็บกกั ทางเลอื กที่ 3 2-36
2.4.3-1 ลักษณะทว่ั ไปของเข่อื นดิน 2-39
2.4.3-2 ลักษณะทวั่ ไปของเขื่อนหินแกนดนิ เหนยี ว 2-40
2.4.3-3 ลกั ษณะทั่วไปของเขอ่ื นคอนกรีตบดอัด (RCC) 2-40
2.5.2-1 แผนทบ่ี ริเวณอ่างเก็บน้า 2-47
2.5.2-2 แผนทบี่ ริเวณหัวงานเขอื่ น 2-48
2.5.2-3 แผนที่บอ่ ยืมดนิ 2-49
2.5.2-4 แปลนตาแหน่งธรณีวทิ ยาฐานราก 2-50
2.5.2-5 รปู ตัดธรณวี ทิ ยาฐานรากตามแนวศูนย์กลางเขอ่ื น 2-51
2.5.2-6 รปู ตดั ธรณีวทิ ยาฐานรากตามแนวศนู ยก์ ลางอาคารทางระบายน้าลน้ 2-52
2.5.2-7 รปู ตดั ธรณีวทิ ยาฐานรากตามแนวศูนย์กลางอาคารทอ่ สง่ นา้ 2-53
2.5.3-1 แผนทแ่ี สดงขอบเขตอา่ งเก็บน้าและทต่ี ้งั เข่ือน 2-54
2.5.3-2 ผังบริเวณหัวงานเขื่อนและอาคารประกอบ 2-55
2.5.3-3 รปู ตดั ตามแนวศนู ยก์ ลางเขื่อน 2-56
บริษัท เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จา้ กัด -ง- รายงานความก้าวหน้า
บริษัท เอ็นรชิ คอนซัลแตนท์ จ้ากัด (Progress Report)
โครงการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดลอ้ มเบ้ืองต้น อ่างเกบ็ น้าเหมืองตะกวั่ สารบัญ
อนั เนอื่ งมาจากพระราชด้าริ จงั หวัดพทั ลงุ
สารบัญรูป (ต่อ) หนา้
รปู ท่ี 2-57
2-58
2.5.3-4 รูปตัดขวางเข่อื นดนิ 2-59
2.5.3-5 แปลนและรปู ตัดตามแนวศนู ย์กลางอาคารทางระบายนา้ ลน้ 3-7
2.5.3-6 แปลนและรูปตัดตามแนวศนู ย์กลางอาคารทอ่ สง่ นา้ 3-9
3.3-1 ขนั้ ตอนการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดล้อมเบ้ืองตน้ 3-11
3.4.1-1 สภาพภมู ิประเทศบริเวณพ้ืนทศี่ กึ ษา 3-13
3.4.2-1 ทิศทางและชว่ งเวลาการเกดิ ของลมมรสุมและพายจุ รท่พี ัดเข้าสปู่ ระเทศไทย 3-15
3.4.2-2 การผนั แปรรายเดอื นเฉลี่ยของตวั แปรภมู อิ ากาศท่ีสาคัญ ของสถานีตรวจอากาศพทั ลงุ 3-22
3.4.2-3 การผันแปรรายเดือนเฉลย่ี ของตวั แปรภูมิอากาศทีส่ าคัญ ของสถานีตรวจอากาศสงขลา 3-31
3.4.3-1 การแพรก่ ระจายของกลุม่ ชดุ ดนิ ในบรเิ วณพ้ืนทศี่ ึกษาของโครงการ 3-32
3.4.4-1 แผนท่ธี รณวี ิทยาจงั หวดั พทั ลงุ 3-33
3.4.4-2 แผนที่ธรณวี ิทยาพนื้ ท่ีโครงการ 3-34
3.4.4-3 แผนทร่ี อยเลอื่ นมพี ลงั ในประเทศไทย 3-40
3.4.4-4 แผนที่ภยั พบิ ตั ิแผ่นดนิ ไหวประเทศไทย 3-44
3.4.5-1 แผนที่จาแนกเขตสงวน เขตอนรุ กั ษ์ และเขตพัฒนาทรัพยากรแร่ จังหวดั พัทลุง 3-46
3.4.6-1 กราฟความสมั พนั ธ์ระหว่างปริมาณตะกอนแขวนลอยรายปีเฉลยี่ และพ้นื ทีร่ บั นา้ ฝน 3-47
3.4.7-1 ตาแหนง่ ทต่ี ั้งของสถานวี ดั น้าฝนทีไ่ ดท้ าการคดั เลอื ก ในพืน้ ทีศ่ กึ ษาและบริเวณใกล้เคียง 3-48
3.4.7-2 แผนทเ่ี สน้ ชน้ั นา้ ฝนรายปเี ฉลย่ี ในพน้ื ทีศ่ กึ ษาและบริเวณใกลเ้ คียง 3-51
3.4.7-3 โครงขา่ ยรูปเหลย่ี มธีเอสเสน ในพนื้ ทศี่ ึกษาและบริเวณใกลเ้ คียง 3-52
3.4.7-4 ตาแหน่งทต่ี ง้ั ของสถานวี ดั นา้ ทา่ ในพน้ื ที่ศึกษาและบริเวณใกล้เคยี ง
3.4.7-5 กราฟความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งปริมาณนา้ ท่ารายปีเฉลี่ยและพ้ืนทีร่ ับน้า 3-52
3-53
ของสถานีวดั นา้ ทา่ ในพนื้ ทีโ่ ครงการและบริเวณใกล้เคียง 3-56
3.4.7-6 การผันแปรรายปีของปรมิ าณนา้ ท่าทไ่ี หลเขา้ อา่ งเกบ็ นา้ เหมืองตะกว่ั
3.4.7-7 การกระจายรายเดอื นของปริมาณน้าทา่ เฉลยี่ ทไ่ี หลเข้าอา่ งเกบ็ นา้ เหมอื งตะกวั่ 3-58
3.4.7-8 กราฟความสมั พนั ธ์ระหว่างปริมาณนา้ นองสงู สดุ รายปีเฉลี่ยและพืน้ ทรี่ บั น้า 3-61
3-65
ของสถานวี ัดนา้ ในพนื้ ทีโ่ ครงการและบริเวณใกลเ้ คยี ง
3.4.8-1 สถานีเก็บตวั อยา่ งคุณภาพน้าผิวดนิ และนเิ วศวิทยาทางนา้ ของโครงการ 3-66
3.4.9-1 สถานเี ก็บตัวอยา่ งคุณภาพน้าใตด้ ินของโครงการ 3-69
3.5.1-1 แผนที่พนื้ ท่ีปา่ สงวนแหง่ ชาตปิ า่ เทือกเขาบรรทดั (โซน C) และ 3-74
เขตรักษาพนั ธุส์ ตั วป์ า่ เขาบรรทดั บริเวณพน้ื ทโ่ี ครงการ
3.5.1-2 แผนท่ตี าแหน่งแปลงสารวจทรพั ยากรป่าไม้บริเวณพื้นท่โี ครงการ
3.5.1-3 แผนทช่ี นั้ คณุ ภาพล่มุ นา้ บรเิ วณพน้ื ทโี่ ครงการ
3.6.1-1 โครงการพัฒนาแหล่งนา้ ในปจั จบุ ันของพน้ื ทลี่ มุ่ นา้ ทะเลหลวง
บรษิ ทั เอช ทู โอ คอนซัลท์ จ้ากัด -จ- รายงานความกา้ วหน้า
บริษทั เอน็ ริช คอนซลั แตนท์ จา้ กดั (Progress Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสง่ิ แวดล้อมเบ้อื งตน้ อ่างเก็บน้าเหมอื งตะกว่ั สารบญั
อันเนอ่ื งมาจากพระราชด้าริ จงั หวดั พัทลงุ
สารบญั รูป (ต่อ) หนา้
รปู ท่ี 3-75
3.6.1-2 พบประชาชนในพื้นท่ีและตรวจสอบพืน้ ทโี่ ครงการเบ้ืองต้น 3-79
3.6.2-1 ปฏทิ นิ การผลิตพชื เศรษฐกิจท่ีสาคัญของจงั หวัดพัทลงุ 3-85
3.6.4-1 ลักษณะพ้นื ทีล่ ุ่มน้าและระบบคลองธรรมชาติของโครงการ 3-86
3.6.4-2 พ้ืนท่เี ส่ียงตอ่ การเกิดภัยแล้ง บรเิ วณพ้ืนทโ่ี ครงการและข้างเคียง 3-88
3.6.4-3 แนวคดิ ของโครงการเสนอเป็นแผนพฒั นาปี 60 3-92
3.6.5-1 แสดงการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ ในพนื้ ท่ีโครงการ ปี พ.ศ.2550 3-93
3.6.5-2 แสดงการใช้ประโยชนท์ ี่ดนิ ในพน้ื ทโี่ ครงการ (ปี พ.ศ.2561) 3-113
3.7.3-1 แหล่งทอ่ งเที่ยวบรเิ วณพนื้ ทศ่ี กึ ษาโครงการ 3-115
3.7.3-2 จุดทตี่ ้งั แหล่งท่องเทย่ี วบรเิ วณพื้นทศี่ กึ ษาโครงการและพนื้ ท่ใี กลเ้ คียง 3-123
3.7.5-1 กิจกรรมการสารวจสภาพพน้ื ทบี่ รเิ วณพืน้ ทหี่ ัวงาน พนื้ ท่ีอา่ งเกบ็ นา้ และพน้ื ท่ถี นนเขา้ หวั งาน
3-128
โครงการอา่ งเกบ็ นา้ เหมอื งตะกวั่ (อนั เน่อื งมาจากพระราชดาร)ิ อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
3.7.5 -1 แปลงพ้นื ทท่ี ากินของราษฎรทไี่ ดร้ บั ผลกระทบบริเวณพน้ื ทโ่ี ครงการอา่ งเกบ็ นา้ เหมอื งตะกั่ว 4-2
4-3
อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ จงั หวดั พัทลงุ 4-4
4.3-1 กระบวนการดาเนินงานประชาสมั พันธ์ มวลชนสัมพนั ธ์ และการมสี ่วนร่วมของประชาชน 4-5
4-6
4.4-1 กลุ่มบริษัททป่ี รึกษาฯ เข้าพบนายหมัดยู่นาน หวาเอยี ด ผใู้ หญบ่ า้ นหมู่ที่ 1 ตาบลหนองธง
4.4-2 ผู้เช่ยี วชาญด้านการมสี ่วนร่วมของประชนเขา้ พบผนู้ าชุมชน
4.4-3 เข้าพบผวู้ า่ ราชการจงั หวดั พทั ลงุ
4.4-4 การประชมุ ปฐมนเิ ทศโครงการ วนั พฤหสั บดีที่ 10 ตลุ าคม 2562 ณ ศาลาประชาคมอาเภอปา่ บอน
อาเภอปา่ บอน จังหวัดพัทลุง
บริษัท เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จ้ากัด -ฉ- รายงานความก้าวหน้า
บริษทั เอ็นริช คอนซัลแตนท์ จา้ กัด (Progress Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบส่ิงแวดลอ้ มเบื้องตน้ อ่างเกบ็ นา้ เหมอื งตะกวั่ สารบญั
อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดา้ ริ จังหวดั พทั ลงุ
สารบญั ตาราง
ตารางท่ี หนา้
1.1-1 แผนการปฏบิ ัติงานและการส่งมอบงาน 1-2
1.2-1 การเบกิ จา่ ยค่าจา้ งส่วนที่เหมาจา่ ย 1-4
2.3.2-1 อตั ราการใช้นา้ ต่อหนว่ ยพนื้ ทปี่ ระกอบการของโรงงานอุตสาหกรรมประเภทตา่ งๆ 2-9
2.4.1-1 สรปุ ขอ้ ดีขอ้ เสียแนวทางเลือกการพฒั นาแหลง่ นา้ ของโครงการ 2-24
2.4.2-1 ขอ้ มูลเปรียบเทียบทางเลอื กท่ีตง้ั หัวงานอ่างเกบ็ น้า 2-32
2.4.2-2 วเิ คราะห์เปรยี บเทยี บทางเลอื กทีต่ งั้ เขือ่ น 2-33
2.4.2-3 ขอ้ มลู เปรยี บเทยี บความจทุ ี่เหมาะสม 2-37
2.4.2-4 การวิเคราะห์เปรยี บเทียบทางเลือกระดับเก็กกกั ที่เหมาะสม 2-38
2.4.3-1 การเปรยี บเทยี บขอ้ ดีและขอ้ เสยี ของรูปแบบเขื่อนแต่ละประเภท 2-41
2.5.4-1 ราคาคา่ ก่อสรา้ งองคป์ ระกอบโครงการเบอื้ งต้น 2-62
3.3-1 แผนการศึกษาและจดั ทารายงานผลกระทบส่งิ แวดลอ้ ม โครงการศกึ ษาผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มเบ้ืองต้น 3-6
อา่ งเก็บนา้ เหมืองตะกัว่ อนั เนือ่ งมาจากพระราชดาริ จังหวดั พัทลุง
3.4.2-1 สถติ ขิ อ้ มูลภมู ิอากาศเฉล่ยี ในคาบ 11 ปี (พ.ศ.2549-พ.ศ.2559) ของสถานีตรวจวัดอากาศพทั ลงุ 3-12
3.4.2-2 สถิตขิ อ้ มูลภมู ิอากาศเฉล่ียในคาบ 30 ปี (พ.ศ.2530-พ.ศ.2559) ของสถานตี รวจวัดอากาศสงขลา 3-14
3.4.2-3 ปริมาณการคายระเหยของพืชอา้ งองิ ในพื้นทศ่ี กึ ษาและบริเวณใกล้เคยี ง 3-17
3.4.3-1 แสดงชนดิ และพนื้ ทข่ี องกลมุ่ ชดุ ดนิ ในบรเิ วณพน้ื ทศ่ี กึ ษาของโครงการ สว่ นประกอบดว้ ยพื้นที่ 3-21
อ่างเก็บนา้ เหมอื งตะก่ัว พื้นทหี่ ัวงาน พน้ื ท่ีถนนเขา้ หัวงาน พืน้ ท่ีบ่อยืมด้านท้ายน้า และพนื้ ทีร่ บั ประโยชน์
3.4.3-2 ลักษณะและสมบัตบิ างประการของดินของแต่ละกลุ่มชดุ ดนิ ในพืน้ ท่ีลุม่ 3-25
ในบรเิ วณพน้ื ท่ศี กึ ษาของโครงการ
3.4.3-3 ลักษณะและสมบัตบิ างประการของดินของแตล่ ะกลุ่มชุดดนิ ในพน้ื ท่ีดอน 3-25
ในบริเวณพื้นทศ่ี ึกษาของโครงการ
3.4.4-1 สถติ กิ ารเกดิ แผ่นดินไหวของกรมอุตุนยิ มวทิ ยา ปี พ.ศ.2550-2560 3-35
3.4.4-2 แหล่งวสั ดุกอ่ สร้าง บรเิ วณพน้ื ทศ่ี กึ ษาโครงการและใกลเ้ คยี ง 3-37
3.4.5-1 พืน้ ทแี่ หลง่ แรใ่ นจงั หวดั พัทลุง 3-38
3.4.5-2 เขตสงวนทรพั ยากรแร่ จงั หวดั พทั ลงุ 3-39
3.4.5-3 เขตอนรุ ักษ์ทรัพยากรแร่ จงั หวัดพัทลงุ 3-39
3.4.5-4 เขตพฒั นาทรพั ยากรแร่ จงั หวัดพัทลุง 3-41
ของสถานีวัดตะกอนในพืน้ ทโี่ ครงการและบริเวณใกล้เคยี ง
3.4.6-1 รายชือ่ สถานวี ัดตะกอนและสถติ ิปริมาณตะกอนแขวนลอยรายปเี ฉล่ยี 3-43
ในพนื้ ทโ่ี ครงการและบรเิ วณใกลเ้ คียง
3.4.7-1 ขอ้ มลู สถานีวัดน้าฝนทไ่ี ด้ทาการคดั เลือก ในพนื้ ที่ศกึ ษาและบริเวณใกลเ้ คยี ง 3-45
3.4.7-2 สถานวี ดั น้าท่า ตาแหนง่ ที่ตง้ั และปริมาณนา้ ท่ารายปีเฉลย่ี ในพนื้ ทีศ่ ึกษาและบรเิ วณใกล้เคียง 3-50
บริษัท เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จา้ กัด -ช- รายงานความก้าวหน้า
บริษทั เอ็นรชิ คอนซัลแตนท์ จา้ กดั (Progress Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบส่ิงแวดลอ้ มเบือ้ งตน้ อา่ งเก็บน้าเหมืองตะกว่ั สารบญั
อันเนอ่ื งมาจากพระราชด้าริ จังหวัดพัทลุง
สารบญั ตาราง (ต่อ)
ตารางที่ หน้า
3.4.7-3 ปรมิ าณนา้ ทา่ รายเดือนและรายปชี ว่ งปี พ.ศ.2532-2561 ทไี่ หลเข้าอา่ งเกบ็ น้าเหมืองตะก่วั 3-54
3.4.7-4 สถานวี ดั น้า ตาแหน่งทตี่ ้งั และปรมิ าณนา้ นองสูงสุดรายปเี ฉลีย่ ในพืน้ ทีศ่ ึกษาและบรเิ วณใกลเ้ คยี ง 3-55
3.4.8-1 ดัชนีคุณภาพนา้ ท่ที าการวิเคราะห์บริเวณพื้นทีโ่ ครงการ 3-59
3.4.9-1 ลกั ษณะคณุ สมบตั ิของนา้ ใตด้ นิ และวิธกี ารท่ีใช้ในการศึกษาวิเคราะห์ 3-62
3.5.1-1 พื้นที่โครงการอ่างเก็บน้าเหมอื งตะกั่ว อันเนอื่ งมาพระราชดาริ อยใู่ นเขตพื้นทีอ่ นุรกั ษ์ 3-68
3.5.1-2 พืน้ ท่ีชน้ั คุณภาพลุ่มนา้ บรเิ วณพน้ื ท่โี ครงการ 3-68
3.6.2-1 จานวนครัวเรือนเกษตรกรและจานวนแรงงานภาคเกษตรของจังหวดั พัทลุง 3-76
3.6.2-2 การใช้ท่ีดินเพ่อื การเกษตรแยกตามรายอาเภอจงั หวัดพทั ลุง ปี 2560 3-77
3.6.2-3 จานวนเกษตรกร เนอื้ ทีป่ ลูก เนอ้ื ท่เี ก็บเกีย่ ว ผลผลติ ผลผลติ ต่อไร่ และมลู คา่ ผลผลติ พชื เศรษฐกจิ 3-79
ของจงั หวดั พัทลุง ปีการผลติ 2561 3-80
3.6.2-4 ช้นั ความเหมาะสมของดินสาหรับการปลูกพชื เศรษฐกจิ ในจังหวดั พทั ลุง 3-81
3.6.2-5 จานวนเกษตรกร ปรมิ าณการเลย้ี ง ผลผลติ ราคาผลผลิต และมลู ค่าผลผลิตดา้ นการผลิตสัตว์
3-82
ของจังหวดั พทั ลงุ ปี 2561 3-83
3.6.2-6 จานวนเกษตรกร พ้ืนท่ีเลย้ี ง ผลผลติ ราคาผลผลิต และมูลค่าผลผลิตด้านการประมงของ 3-91
3.6.3-1 ความตอ้ งการใช้นา้ ในพนื้ ที่ลุ่มนา้ ยอ่ ยคลองป่าบอน
3.6.5-1 แสดงการใชป้ ระโยชน์ท่ีดนิ แตล่ ะชนดิ ในบริเวณพน้ื ทอี่ า่ งเกบ็ นา้ เหมอื งตะกัว่ พนื้ ทีห่ วั งาน 3-97
3-104
พนื้ ทถี่ นนเข้าหัวงาน และพนื้ ทบี่ อ่ ยืมดินทา้ ยนา้ ของโครงการ 3-105
3.6.5-2 แสดงการใชป้ ระโยชนท์ ี่ดนิ แตล่ ะประเภท/ชนิด ในบรเิ วณพน้ื ทร่ี บั ประโยชน์ของโครงการ 3-107
3.6.6-1 ปริมาณจราจรตอ่ วนั ตลอดปี (AADT) บนทางหลวงสายหลักทางหลวงหมายเลข 4 ปี 2561 3-108
3.7.2-1 บุคลากรด้านสาธารรสุขบริเวณพน้ื ทโี่ ครงการ 3-109
3.7.2-2 จานวนผปู้ ว่ ยตามกลมุ่ สาเหตกุ ารปว่ ย 21 กล่มุ โรค จังหวัดพทั ลงุ ปี พ.ศ.2558 – 2562 3-110
3.7.2-3 จานวนผ้ปู ว่ ยตามกลุ่มสาเหตุการป่วย 21 กลมุ่ โรค โรงพยาบาลป่าบอน ปี พ.ศ.2558 – 2562 3-111
3.7.2-4 จานวนผปู้ ่วยตามกลุม่ สาเหตุการปว่ ย 21 กลมุ่ โรค โรงพยาบาลตะโหมด ปี พ.ศ.2557 – 25561 3-111
3.7.2-5 โรคท่เี ฝา้ ระวงั ทางระบาดวิทยา (รง.506) จังหวดั พัทลงุ ปี พ.ศ.2558–2562 3-112
3.7.2-6 โรคทีเ่ ฝา้ ระวังทางระบาดวิทยา (รง.506) โรงพยาบาลปา่ บอน ปี พ.ศ.2558–2562 3-112
3.7.2-7 โรคทเ่ี ฝ้าระวงั ทางระบาดวิทยา (รง.506) โรงพยาบาลตะโหมด ปี พ.ศ.2559–2562 3-113
3.7.2-8 อัตราการเกิด-อัตราการตาย จังหวดั พทั ลุง ปี พ.ศ.2558 – 2562 3-116
3.7.2-9 อัตราการเกดิ -อตั ราการตาย โรงพยาบาลป่าบอน ปี พ.ศ.2558 – 2562 3-125
3.7.2-10 อตั ราการเกดิ -อตั ราการตาย โรงพยาบาลตะโหมด ปี พ.ศ.2558 – 2562
3.7.3-1 รายละเอียดสถานที่ท่องเท่ยี วพนื้ ทศี่ กึ ษาโครงการ
3.7.5-1 รายชื่อผทู้ ่ีได้รับผลกระทบในบรเิ วณพื้นท่หี ัวงาน พน้ื ทีอ่ ่างเกบ็ นา้ และพน้ื ทถ่ี นนเขา้ หวั งาน
โครงการอา่ งเก็บนา้ เหมอื งตะกัว่ อนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ จงั หวัดพทั ลุง
บรษิ ทั เอช ทู โอ คอนซัลท์ จา้ กัด -ซ- รายงานความก้าวหน้า
บริษัท เอ็นรชิ คอนซลั แตนท์ จ้ากัด (Progress Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสิ่งแวดลอ้ มเบ้ืองตน้ อ่างเกบ็ น้าเหมืองตะกั่ว สารบญั
อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดา้ ริ จงั หวดั พทั ลงุ
หน้า
สารบญั ตาราง (ต่อ) 4-2
ตารางท่ี 4-9
4.3–1 แผนดาเนนิ การดา้ นการประชาสัมพันธ์ มวลชนสัมพนั ธ์ และการมสี ่วนร่วมของโครงการ
4.4.2-1 จานวนผ้เู ข้ารว่ มประชมุ ปฐมนิเทศโครงการ แยกตามหน่วยงาน
บริษทั เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จา้ กัด -ฌ- รายงานความกา้ วหน้า
บริษัท เอ็นรชิ คอนซลั แตนท์ จ้ากดั (Progress Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบือ้ งตน้ อา่ งเกบ็ น้ำเหมอื งตะกวั่ บทที่ 1
อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำริ จงั หวัดพัทลงุ สรปุ ความก้าวหน้าของการดำเนินงาน
บทที่ 1
สรุปความก้าวหนา้ ของการดำเนินงาน
1.1 ผลการดำเนนิ งานโครงการ
การปฏิบัติงานโครงการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดล้อมเบ้ืองต้น โครงการอ่างเก็บน้ำเหมืองตะก่ัวอันเนื่องมาจาก
พระราชดำริ จังหวัดพัทลุง ได้ดำเนินการต้ังแต่วันท่ี 18 ตุลาคม พ.ศ.2562 จนถึงวันท่ี 16 ธันวาคม พ.ศ.2562
มีแผนงานท่ีจะต้องดำเนินการคิดเป็นร้อยละ 41.90 ของปริมาณงานทั้งหมด ดังแสดงในตารางที่ 1.1-1 ขณะนี้ได้ดำเนินการไป
แล้วร้อยละ 40.90 ซ่ึงช้ากว่าแผนงานที่กำหนดไว้ เน่ืองจากการขออนุญาตเข้าศึกษาวิจัยในพื้นท่ีป่าสงวนแห่งชาติ
ป่าเทือกเขาบรรทัดแปลงที่ 1 ตอนที่ 3 และเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าเขาบรรทัด อยู่ระหว่างการขออนุญาตเข้าพ้ืนที่
ยงั ไม่ไดร้ บั การอนญุ าต จากกรมปา่ ไม้และกรมอทุ ยานแหง่ ชาติ โดยสรุปความก้าวหนา้ ของกิจกรรมทดี่ ำเนินการในช่วง
ทีผ่ า่ นมาดังนี้
รายการ ปริมาณงาน แผนงานสะสม ความกา้ วหน้า คดิ เปน็ รอ้ ยละ
(ร้อยละ) (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) ของงาน
1. การศึกษาทบทวนความเหมาะสม 40.00 28.00 28.00 70.00
2. การศึกษาผลกระทบส่งิ แวดลอ้ มเบอื้ งต้น (IEE) 50.00 10.40 8.90 17.80
3. มวลชนสัมพันธ์ ประชาสัมพันธแ์ ละการมีส่วนร่วม 10.00 3.50 4.00 40.00
100.00 41.90 40.90
รวม
กิจกรรมการดำเนินงานศึกษาโครงการมีกิจกรรมหลัก 3 กิจกรรม ประกอบด้วย การศึกษาทบทวนความ
เหมาะสม การศึกษาผลกระทบส่ิงแวดล้อมเบ้ืองต้น และมวลชนสัมพันธ์ ประชาสัมพันธ์ และการมีส่วนร่วม
มีรายละเอียดในแต่ละกิจกรรมดงั นี้
1.1.1 การศึกษาทบทวนความเหมาะสม
งานการศกึ ษาทบทวนความเหมาะสมมแี ผนดำเนนิ การใหแ้ ลว้ เสร็จภายใน 270 วัน (9 เดือน) นบั จากวันทเี่ ริ่ม
ปฏบิ ตั ิงาน ดังแสดงรายละเอียดในตารางที่ 1.1-1 โดยมีปริมาณงานทัง้ หมดรอ้ ยละ 40 จากแผนปฏิบัติงานจนถึงเดอื น
ธันวาคม 2562 มีแผนงานที่ต้องดำเนินการแล้วเสร็จร้อยละ 28.00 ขณะนี้ได้ดำเนินการไปแล้วร้อยละ 28.00
คดิ เป็นรอ้ ยละ 70.00 ของงานการศกึ ษาทบทวนความเหมาะสม ซง่ึ เปน็ ไปตามแผนทว่ี างไว้
1.1.2 การศึกษาผลกระทบส่ิงแวดลอ้ มเบื้องตน้ (IEE)
งานการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดล้อมเบ้ืองต้นมีแผนดำเนินงาน ดังแสดงไว้ในตารางท่ี 1.1-1 โดยจะ
ทำการศึกษาควบคู่ไปกับการศึกษาทบทวนความเหมาะสม มีปริมาณงานท้ังหมดร้อยละ 50.00 จากแผนปฏิบัติงาน
จนถึงเดอื นธนั วาคม 2562 มีแผนงานท่ตี ้องดำเนนิ การแล้วเสรจ็ ร้อยละ 10.40 ขณะนไี้ ด้ดำเนนิ การไปแลว้ รอ้ ยละ 8.90
คิดเป็นร้อยละ 17.80 ของงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบ้ืองต้น ซึ่งช้ากว่าแผนท่ีวางไว้ เน่ืองจากการขออนุญาต
เข้าศึกษาวิจัยในพ้ืนที่ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าเทือกเขาบรรทัดแปลงที่ 1 ตอนท่ี 3 และเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าเขาบรรทัด
อย่รู ะหวา่ งการขออนญุ าตเขา้ พ้ืนที่ยงั ไมไ่ ด้รบั การอนุญาตจากกรมป่าไม้และกรมอทุ ยาน
บริษทั เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จำกัด 1-1 รายงานความก้าวหน้า
บริษัท เอน็ ริช คอนซัลแตนท์ จำกดั (Progress Report)
บรษิ ทั เอช ทู โอ คอนซัลท์ จำกัด ตารางท่ี 1.1-1 แผนการปฏบิ ตั งิ านและการสง่ มอบงาน
บริษัท เอ็นริช คอนซลั แตนท์ จำกดั
สัญญาเลขที่ จ.46/2562 (สพด.) ลงวนั ท่ี 13 สิงหาคม 2562
วันเริ่มปฏิบตั ิงาน 19 สิงหาคม 2562 วันส้ินสุดสัญญา 13 กรกฎาคม 2563 ระยะเวลาการปฏิบตั ิงาน 330 วนั
ความกา้ วหนา้ พ.ศ.2562 พ.ศ.2563 โครงการศกึ ษาผลกระทบสง่ิ แวดล้อมเบ้ืองตน้ อ่างเก็บน้ำเหมอื งตะก่วั
อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จงั หวัดพทั ลงุ
งาน งาน แผนงาน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 %
หลกั ที่ ยอ่ ย 100
ที่ กจิ กรรม และ รอ้ ยละ 30 60 90 120 150 180 210 240 270 300 330
ผลงาน 19 ส.ค. 62 18 ก.ย. 62 18 ต.ค. 62 17 พ.ย. 62 17 ธ.ค. 62 16 ม.ค. 63 15 ก.พ. 63 16 มี.ค. 63 15 เม.ย. 63 15 พ.ค. 63 14 มิ.ย. 63
17 ก.ย. 62 17 ต.ค. 62 16 พ.ย. 62 16 ธ.ค. 62 15 ม.ค. 63 14 ก.พ. 63 15 มี.ค. 63 14 เม.ย. 63 14 พ.ค. 63 13 มิ.ย. 63 13 ก.ค. 63
1 การศึกษาทบทวนผลการศึกษาความเหมาะสม แผนงาน 40.00
ผลงาน 28.00
1.1 รวบรวมข้อมูลในระดับพื้นที่โครงการเพ่ิมเติม แผนงาน 1.50 0.50 0.50 0.50
ผลงาน 1.50 0.50 0.50 0.50
1.2 สารวจข้อมูลเพ่ิมเติม แผนงาน 0.50 0.25 0.25
1) สารวจภูมิประเทศ
ผลงาน 0.50 0.25 0.25
2) สารวจธรณวี ทิ ยาฐานราก/ปฐพกี ลศาสตร/์ วสั ดกุ อ่ สรา้ ง แผนงาน 0.50 0.25 0.25
ผลงาน 0.50 0.25 0.25
3) สารวจดา้ นดนิ /การใช้ที่ดนิ แผนงาน 0.50 0.25 0.25
ผลงาน 0.50 0.25 0.25
4) สารวจ/สอบถามดา้ นเศรษฐกจิ -สงั คม แผนงาน 0.50 0.25 0.25
ผลงาน 0.50 0.25 0.25
5) สารวจ/สอบถามดา้ นการชดเชยท่ีดนิ /ทรพั ยส์ นิ แผนงาน 0.50 0.25 0.25
ผลงาน 0.50 0.25 0.25
1.3 ศึกษา/วิเคราะห์ข้อมูลด้านวิชาการในระดับโครงการ แผนงาน 4.00 2.00 2.00
ผลงาน 4.00 1.00 1.00 2.00
1.4 ศึกษาทางเผ่ือเลือกโครงการ/แนวทางท่ีเหมาะสม แผนงาน 4.00 2.00 2.00
ผลงาน 4.00 2.00 2.00
1.5 วิเคราะห์ระบบแหล่งนา้ และศักยภาพในการพัฒนาโครงการ แผนงาน 4.00 2.00 2.00
ผลงาน 4.00 2.00 2.00
เ ิ่รมป ิ ับติงาน 19 ส.ค. 2
1.6 วิเคราะห์นา้ หลากและความสามารถระบายนา้ แผนงาน 4.00 ัวนส้ินสุดการป ิ ับติงาน 1 ก.ค.2.00 2.00
ผลงาน 4.00 2.00 2.00
1.7 วางโครงการ กาหนดรปู แบบ และขนาดโครงการที่เหมาะสม แผนงาน 4.00 2.00 2.00
ผลงาน 4.00 2.00 2.00
1.8 การออกแบบและประมาณราคาเบ้ืองต้น แผนงาน 4.00 2.00 2.00 75
ผลงาน 4.00 2.00 2.00 2.00
1.9 วิเคราะห์ทางด้านเศรษฐศาสตรข์ องโครงการ แผนงาน 4.00 1.00 1.00
1-2 ผลงาน 0.00
1.10 จดั ทาแผนดาเนนิ โครงการ/แผนก่อสรา้ ง แผนงาน 4.00 2.00 2.00
ผลงาน 0.00
1.11 ศึกษาด้านการบรหิ ารจดั การนา้ และองค์กร แผนงาน 4.00 2.00 2.00
ผลงาน 0.00
2 การศกึ ษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น (IEE) แผนงาน 50.00
ผลงาน 8.90
2.1 รวบรวมข้อมูลและเอกสารท่ีเก่ียวข้องระดับพ้ืนท่ีโครงการเพิ่มเติม แผนงาน 7.00 1.00 3.00 3.00
และการขออนุญาตเิ ขา้ ศกึ ษาวจิ ัยในพนื้ ที่ป่าสงวนแห่งชาต/ิ อทุ ยานแห่งชาติ ผลงาน 5.50 1.00 3.00 1.50
2.2 สารวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม
แผนงาน 1.50 0.20 0.30 0.50 0.50
1) คุณภาพนา้ ผิวดิน/นเิ วศวิทยาทางนา้ ผลงาน 0.20 0.20 0.50
แผนงาน 1.00 0.10 0.20 0.20
2) คุณภาพนา้ ใต้ดิน ผลงาน 0.10 0.10
3) ทรพั ยากรป่าไม้
4) ทรพั ยากรสัตว์ป่า แผนงาน 1.50 0.20 0.30 0.50 0.50
5) การคมนาคมขนส่ง
6) เศรษฐกิจ-สังคม ผลงาน 0.20 0.20 50
7) การชดเชยที่ดินและทรพั ย์สิน
8) สาธารณสุข แผนงาน 1.50 0.20 0.30 0.50 0.50
9) การท่องเที่ยวและสุนทรยี ภาพ
10) โบราณสถาน/โบราณคดี/ประวัติศาสตร์ ผลงาน 0.20 0.20
2.3 วิเคราะห์ข้อมูลสภาพทรพั ยากรส่ิงแวดล้อมในปัจจบุ ันและในอนาคต
2.4 ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม แผนงาน 1.00 0.50 0.50
2.5 จดั ทามาตรการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม
2.6 จดั ทามาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลงาน 0.50 0.50
2.7 จัดทาและปรบั ปรงุ รายงาน
3 มวลชนสัมพนั ธ์ ประชาสัมพนั ธ์และการมสี ่วนร่วม แผนงาน 1.50 0.20 0.30 0.50 0.50
3.1 การประชุมปฐมนเิ ทศโครงการ
3.2 ประชุมกลุม่ ย่อย ผลงาน 0.20 0.20
3.3 การประชุมปัจฉิมนเิ ทศโครงการ
5 การส่งมอบรายงานการศึกษา แผนงาน 1.00 0.50 0.50
5.1 รายงานการเรมิ่ งาน (Inception Report)
5.2 รายงานความก้าวหนา้ (Progress Report) ผลงาน 0.00
5.3 รายงานฉบับกลาง (Interim Report)
5.4 รา่ งรายงานฉบับสุดท้าย (Draft Final Report) แผนงาน 1.00 0.25 0.25 0.50
5.5 รายงานฉบับสุดท้าย (Final Report)
5.6 รายงานผลการดาเนินงานประจาเดอื น ผลงาน 0.00
แผนงาน (ร้อยละ)
ผลงาน (ร้อยละ) แผนงาน 1.00 0.50 0.50
แผนงานสะสม (ร้อยละ)
ผลงานสะสม(ร้อยละ) ผลงาน 0.00
แผนงาน 1.00 0.50 0.50
ผลงาน 0.00
แผนงาน 10.00 2.00 2.00 3.00 3.00
ผลงาน 2.00 2.00
แผนงาน 7.00 2.00 2.00 3.00
ผลงาน 0.00 25
แผนงาน 6.00 แผนงาน 1.00 2.00 3.00
ผลงาน 0.00
แผนงาน 6.00 ผลงาน 1.00 2.00 3.00
ผลงาน 0.00
แผนงาน 2.00 1.00 1.00
ผลงาน 0.00
แผนงาน 10.00
ผลงาน 4.00
แผนงาน 4.00 1.50 2.00 0.50
ผลงาน 4.00 1.50 2.50
แผนงาน 2.00 1.00 1.00
ผลงาน 0.00
แผนงาน 4.00 2.00 2.00
ผลงาน 0.00
1 ต.ค. 2
2 ก.ย. 2 1 .ค. 2
1 .ค. 2 14 ก. .
บทที่ 1
สรปุ ความกา้ วหนา้ ของการดำเนินงาน14 .ค.
รายงานความกา้ วหน้า 1 ก.ค.
(Progress Report)
0 1.50 6.75 18.25 15.40 10.65 14.45 8.50 10.50 10.00 3.00 1.00
0 4.00 8.25 15.25 13.40
0 1.50 8.25 26.50 41.90 52.55 67.00 75.50 86.00 96.00 99.00 100.00
0 4.00 12.25 27.50 40.90
โครงการศกึ ษาผลกระทบสิง่ แวดล้อมเบือ้ งตน้ อ่างเก็บน้ำเหมืองตะกั่ว บทท่ี 1
อันเนอ่ื งมาจากพระราชดำริ จังหวัดพัทลุง สรปุ ความก้าวหน้าของการดำเนินงาน
1.1. มวลชนสัม ัน ์ ประชาสมั ัน ์และการมสี ่วนรว่ ม
งานมวลชนสัมพันธ์ ประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วม ดำเนินการอย่างต่อเน่ืองตลอดการศึกษา มีปริมาณ
งานท้ังหมดร้อยละ 10.00 จากแผนปฏิบัติงานจนถึงเดือนธันวาคม 2562 ขณะน้ีได้ดำเนินการไปแล้วร้อยละ 4.00
คดิ เป็นร้อยละ 40.00 ของงานมวลชนสัมพันธ์ ประชาสัมพันธ์และการมีส่วนรว่ ม ผลการดำเนินงานเร็วกว่าแผนรายละเอียด
แผนงานดังแสดงในตารางท่ี 1.1-1 มกี ิจกรรมการดำเนนิ งานดังน้ี
กิจกรรม เดอื น/ปี
1. การประชมุ ปฐมนิเทศโครงการ 10 ตลุ าคม 2562
2. การประชุมกลุ่มย่อย กมุ ภาพันธ์ 2563
3. การประชุมปัจฉิมนเิ ทศโครงการ พฤษภาคม 2563
1.2 ผลการดำเนนิ การเบิกจ่ายเงินโครงการ
กลุ่มบริษัทที่ปรึกษาได้ดำเนินการขออนุมัติเบิกค่าจ้างงานในส่วนของเงินที่เหมาจ่าย 1 งวด ได้แก่ งวดท่ี 1
รายละเอียดแสดงดงั ตารางท่ี 1.2-1
1. ปญั หาอปุ สรรคในการดำเนินงานและแนวทางการแกไ้ ข
1. .1 ปญั หาอุปสรรคในการดำเนนิ งาน
สืบเนื่องจากพ้ืนท่ีอ่างเก็บน้ำและหัวงานต้ังอยู่ในเขตพ้ืนที่ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าเทือกเขาบรรทัดแปลงที่ 1
ตอนท่ี 3 และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด ทำให้ไม่สามารถเข้าไปดำเนินการสำรวจและเก็บตัวอย่างข้อมูล
บางหัวข้อการศึกษาในพื้นท่ีดังกล่าวได้ตามแผนงานที่กำหนดไว้ แนวทางแก้ไข คือ ที่ปรึกษาจะเร่งดำเนินการสำรวจ
และเกบ็ ตัวอย่างให้เรว็ ทสี่ ดุ หลงั จากได้รบั อนญุ าตเขา้ พ้ืนท่ี
บรษิ ทั เอช ทู โอ คอนซัลท์ จำกดั 1-3 รายงานความก้าวหน้า
บริษัท เอน็ ริช คอนซลั แตนท์ จำกดั (Progress Report)
บรษิ ทั เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จำกัด ตารางท่ี 1.2-1 การเบกิ จา่ ยคา่ จา้ งส่วนทีเ่ หมาจ่าย
บริษทั เอ็นรชิ คอนซลั แตนท์ จำกดั
งวดการจา่ ยเงิน จานวนเงินรวม จานวนเงินท่ี วันทข่ี ออนุมัติ จานวนเงินท่ี สถานะการ
ภาษีมูลค่าเพ่มิ (บาท) ขอเบกิ (บาท) เบกิ จา่ ย ไดร้ ับ (บาท) เบกิ จา่ ย
โครงการศกึ ษาผลกระทบส่งิ แวดล้อมเบ้ืองตน้ อ่างเกบ็ น้ำเหมืองตะกวั่
1-4 งวดท่ี ๑ จ่ายเมอื่ ที่ปรึกษาได้ส่ง 798,332.89 798,332.89 10 กนั ยายน 2562 อันเนอื่ งมาจากพระราชดำริ จังหวัดพัทลงุ
- รายงานการเรมิ่ งาน (Inception Report) จานวน ๑๕ ชุด ภายใน ๖๐ วัน และคณะกรรมการตรวจรบั พัสดุฯได้ตรวจรบั ไว้ถูกต้องเรยี บรอ้ ยแล้ว 1,596,665.77
งวดท่ี 2 จ่ายเมอื่ ที่ปรึกษาได้ส่ง 2,394,998.65
- รายงานความก้าวหนา้ (Progress Report) จานวน 15 ชุด ภายใน 120 วัน และคณะกรรมการตรวจรบั พัสดุฯได้ตรวจรบั ไว้ถูกต้องเรยี บรอ้ ยแล้ว 2,394,998.65
งวดที่ 3 จ่ายเมอ่ื ที่ปรึกษาได้ส่ง
- รายงานฉบับกลาง (Interim Report) จานวน 20 ชุด ภายใน 180 วัน และคณะกรรมการตรวจรบั พัสดุฯได้ตรวจรบั ไว้ถูกต้องเรยี บรอ้ ยแล้ว 798,332.89
งวดที่ 4 จ่ายเมอ่ื ท่ีปรึกษาได้ส่ง
- รา่ งรายงานฉบับสุดท้าย (Draft Final Report) ภายใน 270 วัน ประกอบด้วย
- รา่ งรายงานสรปุ สาหรบั ผู้บรหิ าร (ภาษาไทย) จานวน 30 เล่ม
- รา่ งรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น จานวน 30 เล่ม
- รา่ งรายงานภาคผนวก จานวน 30 เล่ม
และคณะกรรมการตรวจรบั พัสดุฯได้ตรวจรบั ไว้ถูกต้องเรยี บรอ้ ยแล้ว
งวดที่ 5 จ่ายเมอ่ื ที่ปรึกษาได้ส่ง
1) รายงานฉบับสุดท้าย (Final Report) ภายใน 330 วัน ประกอบด้วย
- รายงานสรปุ สาหรบั ผู้บรหิ าร (ภาษาไทย) จานวน 60 เล่ม
- รายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น จานวน 60 เล่ม
- รายงานภาคผนวก จานวน 60 เล่ม
รายงานความก้าวหน้า 2) รายงานต้นฉบับ พรอ้ มไฟล์นาเสนอท่ีแก้ไขแล้ว ตามข้อ 3.11.1 (1) ถึง (5) ในรปู แบบหนงั สืออิเล็กทรอนคิ ส์ (E-Book) ให้บัญทึกลงในเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ 7,983,328.85 798,332.89 บทท่ี 1
(Progress Report) แบบหนา้ จอสัมผัส (Tablet) จานวน 2 ชุด และ CD หรอื DVD ในรปู แบบ Text file (word และ pdf) ท่ีสามารถใช้ในการอ่านและแก้ไขได้อย่างสะดวก สรุปความก้าวหนา้ ของการดำเนนิ งาน
3) รายงานต้นฉบับตามข้อ 3.11.1 (5) ไม่เย็บเล่ม จานวน 1 ชุด
4) รายงานประจาเดือน จานวนครงั้ ละ 15 ชุด ทุกๆ 30 วัน
5) รายงานปิดโครงการ จานวน 15 ชุด ภายใน 330 วัน
6) ฐานข้อมลู โครงการ จานวน 10 ชุด
7) เอกสารส่งมอบอ่ืนๆ ตามระบุในข้อ 3.11.2 (1) (2) (3) ในลักษณะ Digital Form บันทึกลงใน External Hard disk ขนาด Capacity ไมน่ อ้ ยกว่า 2 TB
จานวน 10 ชุด ส่งภายในวันที่ 330 วัน และคณะกรรมการตรวจรบั พัสดุฯได้ตรวจรบั ไว้ถูกต้องเรยี บรอ้ ยแล้ว
รวมคา่ จา้ งสว่ นทเ่ี หมาจา่ ย
โครงการศกึ ษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องตน้ อา่ งเก็บน้ำเหมอื งตะกว่ั บทท่ี 1
อนั เนือ่ งมาจากพระราชดำริ จังหวดั พัทลุง สรปุ ความกา้ วหน้าของการดำเนินงาน
1.4 วัตถปุ ระสงค์ของรายงานความกา้ วหน้า
รายงานความกา้ วหนา้ มวี ัตถุประสงคเ์ พื่อนำเสนอความกา้ วหนา้ ของแผนปฏิบตั ิงาน ประเด็นการศึกษาในแต่
ละดา้ น ปัญหา อุปสรรคและความเหน็ ในการแก้ไขปญั หา รวมท้ังสรปุ ความกา้ วหนา้ ของกจิ กรรมของผู้เชี่ยวชาญแตล่ ะ
ราย โดยมอี งคป์ ระกอบของรายงานประกอบด้วย 5 บท ดงั นี้
บทท่ี 1 สรุปความก้าวหน้าของการดำเนินงาน : เป็นการนำเสนอเพื่อให้ทราบถึงความก้าวหน้าของการ
ดำเนินงาน ประกอบด้วย ผลการดำเนินงานโครงการ ผลการดำเนินการเบิกจ่ายเงินโครงการ ปัญหาอุปสรรค
ในการดำเนนิ งานและแนวทางการแกไ้ ข และองคป์ ระกอบของรายงานความกา้ วหน้า
บทท่ี 2 ความก้าวหน้าของการศึกษาทบทวนความเหมาะสม : เป็นการนำเสนอความก้าวหน้าของ
การศึกษา ประกอบด้วย การรวบรวมข้อมูลและเอกสารท่ีเก่ียวข้อง การศึกษาทบทวนสภาพปัญหาและความจำเป็น
ในการพัฒนาโครงการ การศึกษาทบทวนทางเลือกในการพัฒนาโครงการ ได้แก่ การทบทวนทางเลือกรูปแบบการพัฒนา
โครงการ และการทบทวนระบบส่งน้ำชลประทานท่ีเหมาะสม รวมถึงทำการการศึกษาทบทวนความเหมาะสม
ด้านวิชาการท่ีเก่ียวข้อง ได้แก่ ข้อมูลการศึกษาด้านอุตุนิยมวิทยาและอุทกวิทยา ทรัพยากรดิน การใช้ประโยชน์ที่ดิน
ความตอ้ งการใช้น้ำ เปน็ ตน้
บทที่ ความก้าวหน้าของการศึกษาวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม : เป็นการนำเสนอความก้าวหน้า
การศกึ ษาวิเคราะห์ผลกระทบสง่ิ แวดล้อมที่ไดด้ ำเนนิ การในชว่ งท่ผี ่านมา ประกอบดว้ ย การรวบรวบและทบทวนข้อมูล
และการวเิ คราะห์ข้อมลู ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
บทท่ี 4 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานด้านการประชาสัม ัน ์ มวลชนสัม ัน ์ และการมีส่วนร่วม :
ประกอบด้วย ความก้าวหน้าการดำเนินงานในช่วงท่ีผ่านมา รวมถึงผลการจัดประชุมปฐมนิเทศโครงการ เม่ือ
วันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2562 ณ หอประชมุ ท่วี า่ การอำเภอป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวดั พทั ลุง
บทที่ 5 แผนการดำเนินงานในข้ันถัดไป : เป็นการนำเสนอแผนการดำเนินงานในข้ันถัดไป
บริษทั เอช ทู โอ คอนซัลท์ จำกัด 1-5 รายงานความกา้ วหน้า
บริษทั เอน็ ริช คอนซลั แตนท์ จำกัด (Progress Report)
โครงการศึกษาผลกระทบส่งิ แวดลอ้ มเบอื้ งต้น อา่ งเก็บนา้ เหมอื งตะก่วั บทที่ 2
อนั เนอื่ งมาจากพระราชด้าริ จังหวัดพทั ลุง การศึกษาทบทวนความเหมาะสม
บทที่ 2
การศกึ ษาทบทวนความเหมาะสม
2.1 การรวบรวมข้อมลู และเอกสารทเี่ กีย่ วข้อง
กลุ่มบริษัทที่ปรึกษาได้ทาการรวบรวมและทบทวนข้อมูล/เอกสารรายงานที่เก่ียวข้อง ซ่ึงข้อมลู และเอกสารท่ีได้
ทาการรวบรวมแล้ว มีดังน้ี
(1) รายงานการศึกษาวางโครงการ (Pre-Feasibility Study) โครงการอ่างเก็บน้าเหมืองตะกั่วอนั เน่ืองมาจาก
พระราชดาริ อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จัดทาโดยกลุ่มงานวางโครงการ 3 ส่วนวางโครงการ สานักบริหารโครงการ
มถิ ุนายน พ.ศ.2552
(2) รายงานการสารวจธรณีวิทยาฐานรากโครงการอ่างเก็บน้าบ้านเหมืองตะก่ัว อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
MEMO G.3/2550 ของส่วนธรณวี ทิ ยา สานกั สารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา 1 พฤษภาคม พ.ศ.2550
(3) รายงานการสารวจธรณีวิทยาฐานรากโครงการอ่างเก็บน้าบ้านเหมืองตะกั่วอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ
อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง ของสว่ นธรณีวทิ ยา สานักสารวจด้านวศิ วกรรมและธรณีวทิ ยา ธนั วาคม พ.ศ.2552
(4) แผนท่ีธรณีวิทยาวิศวกรรมบริเวณพ้ืนท่ีก่อสร้างโครงการอ่างเก็บน้าบ้านเหมืองตะกั่ว อาเภอป่าบอน
จงั หวัดพัทลงุ ของสว่ นธรณวี ทิ ยา สานกั สารวจดา้ นวศิ วกรรมและธรณีวทิ ยา ตลุ าคม พ.ศ.2553
(5) รายงานผลการสารวจปฐพีกลศาสตร์ โครงการอ่างเก็บน้าบ้านเหมืองตะก่ัว อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
ของส่วนปฐพกี ลศาสตร์ สานักสารวจด้านวศิ วกรรมและธรณีวิทยา
(6) รายงานผลการทดสอบตัวอย่างดิน โครงการอ่างเก็บน้าบ้านเหมืองตะก่ัว อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
สานักสารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา ของกลุ่มงานดินด้านวิทยาศาสตร์ ส่วนวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์
สานักวจิ ัยและพัฒนา กรมชลประทาน พ.ศ.2550
(7) แผนท่ีภูมิประเทศมาตรส่วน 1:50,000 ของกรมแผนที่ทหารบริเวณพ้ืนท่ีโครงการและบริเวณใกล้เคียง
(8) แผนท่ภี าพถา่ ยดาวเทียมครอบคลมุ บริเวณพืน้ ทโ่ี ครงการและใกล้เคียง
(9) ข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ ได้แก่ แผนที่ภูมิประเทศ เส้นชั้นความสูง เส้นลาน้า แหล่งน้า เส้นทาง
คมนาคม ตาแหน่งหมู่บ้าน ตาแหน่งหัวงานโครงการพัฒนาแหล่งน้า แผนที่ดินและการใช้ประโยชน์ท่ีดิน
แผนท่ีอุทกธรณีวิทยา แผนที่น้าบาดาล แผนที่ธรณีวิทยา แผนท่ีป่าไม้/เขตอุทยานแห่งชาติ ตาแหน่งสถานีตรวจวัด
ปรมิ าณน้าฝน ปรมิ าณนา้ ท่า เป็นต้น
บริษัท เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จ้ากัด 2-1 รายงานความก้าวหน้า
บริษัท เอน็ ริช คอนซลั แตนท์ จา้ กดั (Progress Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มเบอ้ื งต้น อา่ งเกบ็ น้าเหมืองตะก่ัว บทที่ 2
อนั เนื่องมาจากพระราชดา้ ริ จังหวดั พทั ลุง การศึกษาทบทวนความเหมาะสม
2.2 การศกึ ษาสภาพปญั หา และความจาเป็นในการพัฒนาโครงการ
สภาพภูมิประเทศบริเวณพื้นท่ีโครงการประกอบด้วยพื้นท่ีรับน้าของโครงการ ซึ่งเป็นพื้นที่ต้นน้าบริเวณ
เทือกเขาบรรทัด มีความลาดชนั สูงและคอ่ ยๆ ลาดเทลงส่พู น้ื ที่ราบเชิงเขาและพน้ื ท่ีราบทางด้านท้ายนา้ ซึ่งส่วนใหญเ่ ป็น
พื้นท่ีเพาะปลูกหรือพ้ืนท่ีรับประโยชน์ของโครงการ โดยลาน้าท่ีไหลผ่านพ้ืนท่ีโครงการและพื้นที่ใกล้เคียงเป็นลาน้า
สายสั้นๆ มีพ้ืนที่รับน้าฝนไม่มากนัก จึงมีน้าไหลเฉพาะในฤดูฝนเท่านั้น โดยเม่ือฝนตก ปริมาณน้าจะมาเร็วไปเร็ว
ด้วยสภาพพนื้ ทดี่ งั กล่าว จึงทาใหป้ ระสบกบั ปญั หาการขาดแคลนนา้ และปัญหานา้ หลากอยเู่ ปน็ ประจา ถงึ แม้ปัจจุบันได้มี
การพัฒนาแหล่งน้าในพ้ืนที่น้ีบ้างแล้วก็ตาม แต่ ส่วนใหญ่เป็นประเภทฝายทดน้า และเป็นโครงการขนาดเล็ก
จึงมีพ้ืนที่ได้รับประโยชน์เพียงเล็กน้อย ราษฎรไม่สามารถนาน้าไปใช้ประโยชน์เพื่อทาการเกษตรได้เท่าท่ีควร ประกอบกับ
พื้นท่ีโครงการเป็นท่ีราบเชิงเขาและเป็นลูกคลื่น และลักษณะเน้ือดินเป็นดินร่วนปนทรายท่ีมีความสามารถในการอุ้มน้าต่า
จึงมักเกดิ ปัญหาการขาดแคลนน้าในฤดแู ล้งหรอื ในระยะฝนทงิ้ ชว่ งเป็นประจา
ปจั จุบันราษฎรท่ีอยู่อาศัยบรเิ วณดังกล่าว ตอ้ งประสบปญั หาการขาดแคลนน้าเป็นประจาทกุ ปี ทาใหไ้ ด้รับความ
เดือดร้อน มีฐานะความเป็นอยู่ฝืดเคือง ราษฎรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมแบบอาศัยน้าฝน ปลูกข้าวในฤดูฝน
บริเวณที่ราบลุ่มริมลาห้วย ราษฎรจะทาการสูบน้าจากคลองตะกั่วและลาน้าสาขาเข้าพ้ืนท่ีเพาะปลูกบริเวณใกล้ๆ ลาห้วย
ด้วยเครื่องสูบน้าขนาดเล็ก ในขณะท่ีพ้ืนท่ีเพาะปลูกท่ีอยู่ห่างจากลาห้วยต้องอาศัยน้าฝนเพียงอย่างเดียว ประกอบกับ
คลองตะกว่ั เปน็ ลาน้าสายสน้ั ๆ มีน้าไหลเฉพาะฤดูฝนเทา่ นัน้ และสภาพทอ้ งน้าค่อนข้างชัน นา้ จึงไหลลงสู่ลาน้าตอนลา่ ง
อย่างรวดเร็ว ทาให้ราษฎรไม่สามารถใช้น้าจากคลองตะกั่วได้มากนัก นอกจากน้ีในบางปีเกิดภาวะฝนแล้งและปริมาณ
น้าฝนไม่เพยี งพอก็ทาให้พ้ืนท่ีเพาะปลูกได้รับความเสียหายและผลผลิตตกต่า ดังนั้นด้วยสภาพปัญหาดงั กล่าว จงึ มคี วาม
จาเป็นในการพฒั นาแหล่งน้าเพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดรอ้ นท่ีเกดิ ข้ึน โดยแนวทางการแก้ไขท่ีเหมาะสมกับพืน้ ท่ีดงั กลา่ ว
จะเป็นการพัฒนาแหลง่ เก็บกักน้าไว้ในบริเวณพ้ืนที่ตอนบนหรือต้นน้า เพ่ือชะลอปริมาณน้าท่ีมมี ากเกินความต้องการใน
ฤดูฝน และนามาจัดสรรใชใ้ นช่วงฤดูแล้ง ซึ่งเปน็ การแกไ้ ขปญั หาอทุ กภัยและภัยแล้งได้ในคราวเดียวกนั
บรษิ ทั เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จ้ากัด 2-2 รายงานความก้าวหน้า
บริษทั เอ็นริช คอนซัลแตนท์ จา้ กดั (Progress Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบส่ิงแวดลอ้ มเบอื้ งตน้ อา่ งเกบ็ น้าเหมอื งตะกวั่ บทท่ี 2
อันเนอื่ งมาจากพระราชด้าริ จังหวดั พทั ลงุ การศกึ ษาทบทวนความเหมาะสม
2.3 การศึกษาทบทวนความเหมาะสมด้านวชิ าการ
2.3.1 การศกึ ษาดา้ นอุตนุ ิยมวิทยาและอทุ กวิทยา (ผู้เชี่ยวชาญด้านอทุ กวิทยา : นายไชยาพงษ์ เทพประสิทธ์ิ)
การศึกษาด้านอุตุนิยมวิทยาและอุทกวิทยา ประกอบด้วย การรวบรวมข้อมูลและทบทวนข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
ต่างๆ การวิเคราะห์ข้อมูลภูมิอากาศ การวิเคราะห์ปริมาณฝน การวิเคราะห์ปริมาณน้าท่า การศึกษาปริมาณน้านอง
สูงสุด การศึกษาระดับน้าสูงสุดและการศึกษาด้านตะกอนในลาน้า ซึ่งงานด้านอุตุนิยมวิทยาและอุทกวิทยาจะเป็นงาน
ทตี่ ้องดาเนนิ การในช่วงตน้ ของการศึกษาเพ่ือนาผลไปใชก้ บั งานการศึกษาด้านอืน่ ๆ โดยมรี ายละเอียดในบทที่ 3
1) การศึกษาดา้ นอตุ นุ ยิ มวทิ ยา
(1) การวิเคราะห์ข้อมูลภูมิอากาศ : จากการรวบรวมและทบทวนข้อมูลภูมิอากาศ กลุ่มบริษัทที่
ปรึกษาจะนามาทาการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ประกอบด้วยการคานวณค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด และต่าสุด ของตัวแปร
ภูมิอากาศรายเดือนและรายปี การกระจายรายเดือน การคานวณปริมาณการคายระเหยของพืชอ้างอิง ซ่ึงมีแนวทางใน
การดาเนินการศกึ ษาดงั น้ี
1. สรุปข้อมูลภูมิอากาศ ทั้งค่าเฉล่ีย ค่าสูงสุด และค่าต่าสุดรายเดือนและรายปีท่ีสถานีตรวจวัด
อากาศในบริเวณพ้นื ที่โครงการ
2. คานวณปริมาณการคายระเหยของพืชอ้างอิงโดยใช้วิธี Penman Monteith โดยใช้ข้อมูล
ภูมิอากาศรายเดอื นเฉล่ีย ของสถานตี รวจอากาศในพื้นทีโ่ ครงการ คอื จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
(2) การวิเคราะหป์ ริมาณฝน : การวิเคราะห์ปริมาณฝน แยกออกเป็นการศึกษาสภาพฝนท่วั ไปในพ้ืนท่ี
ศกึ ษาโครงการ และการออกแบบปริมาณฝน การวิเคราะห์กรณีแรกเก่ียวขอ้ งกับปริมาณฝนรายปี การผันแปรตามฤดูกาล
การกระจายของปริมาณฝนรายเดือนเฉลี่ย และจานวนวันที่ฝนตกรายเดือนเฉลี่ย สาหรับการออกแบบปริมาณฝนจะ
เกยี่ วขอ้ งกับการวเิ คราะห์ปรมิ าณฝนรายเดือน ปรมิ าณฝนรายวนั ปรมิ าณฝนสูงสดุ รายปี ช่วงเวลา 1 วนั ถึง 5 วนั เปอรเ์ ซ็นต์การ
กระจายรายชั่วโมงของปรมิ าณฝนสงู สดุ 24 ชว่ั โมง ซ่งึ มีแนวทางในการดาเนินการศึกษาดงั น้ี
1. การวิเคราะห์ปริมาณฝนรายเดือนและรายปี เพ่ือหาค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุดและค่าต่าสุดรายเดือน
และรายปี การสร้างแผนที่เส้นชั้นปริมาณฝนรายปีเฉล่ีย (Isohyetal Map of Mean Annual Rainfall) การผันแปรรายปี
การกระจายรายเดือนและฤดูกาล โดยศึกษาทั้งระดบั สถานหี ลกั และปรมิ าณฝนสาหรับแตล่ ะลุ่มน้ายอ่ ย
2. สาหรับข้อมูลปริมาณฝนรายเดือนก่อนท่ีจะนาไปใช้ในการศึกษาต่อไป จะทาการตรวจสอบความ
ถูกตอ้ งของข้อมูลเบื้องตน้ โดยจะทาการตดั ขอ้ มูลทไี่ มน่ า่ เช่ือถอื บางค่าทง้ิ ไป และจะทาการตรวจสอบความนา่ เชอื่ ถือของ
ข้อมูลปริมาณฝนของสถานีหลัก โดยใช้วิธีท่ีนิยมกันท่ัวไป คือ Double Mass Curve หากตรวจสอบพบว่าข้อมูลมี
ปริมาณนา้ ฝนมีความไมน่ ่าเช่อื ถือก็จะทาการปรบั คา่ บางสว่ นที่ไมน่ า่ เช่อื ถอื เสยี ใหม่ หรอื ยกเลกิ การใช้ขอ้ มลู ของสถานีนั้น
3. ในกรณีที่ข้อมูลปริมาณฝนรายเดือนของสถานีหลักมีช่วงปีสถิติข้อมูลสั้นเกินไปหรอื มีข้อมูล ขาด
หายไปจะทาการต่อขยายและเติมข้อมูลปริมาณฝนรายเดือนท่ีขาดหายไปให้ครบสมบูรณ์และมีช่วงปีสถิติ ข้อมูลยาว
เพียงพอดว้ ยแบบจาลอง HEC-4
4. การศกึ ษาจานวนวนั ฝนตกรายเดือนและรายปีเฉลย่ี ในบริเวณพ้นื ท่ีศึกษาโครงการ
บริษทั เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จ้ากัด 2-3 รายงานความก้าวหน้า
บริษัท เอ็นรชิ คอนซลั แตนท์ จา้ กัด (Progress Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบส่งิ แวดล้อมเบ้อื งตน้ อา่ งเกบ็ น้าเหมืองตะกว่ั บทท่ี 2
อนั เนือ่ งมาจากพระราชด้าริ จังหวัดพัทลุง การศึกษาทบทวนความเหมาะสม
2) การศกึ ษาดา้ นอทุ กวทิ ยา
(1) การวิเคราะห์ปริมาณนาท่า : จะทาการรวบรวมข้อมูลปริมาณน้าท่ารายเดือนและรายปีท่ีมีการ
ตรวจวัดท่ีสถานีวัดน้าท่าและที่หัวงานของอาคารชลประทานต่างๆ โดยจะนาข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์หาปริมาณน้าท่า
รายเดือนของแตล่ ะลมุ่ นา้ ย่อยท่ศี ึกษา ในกรณีทีข่ อ้ มูลปรมิ าณนา้ ท่ารายเดอื นของสถานีหลักมสี ถิตสิ ั้นและไม่สมบรู ณจ์ ะทา
การต่อขยายข้อมูลให้ครบสมบูรณ์และมชี ่วงปีขอ้ มูลยาวพอเพยี งกอ่ นท่ีจะนาไปใช้ในการศึกษาปรมิ าณน้าท่ารายเดือนของ
ลุ่มนา้ ย่อยและสาขายอ่ ย
(2) การวิเคราะห์ปริมาณนานองสูงสุด : การวิเคราะห์ปริมาณน้านองสูงสุด ประกอบด้วย
การวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณน้านองสูงสุดท่ีเคยเกดิ ขึ้นในอดีต โดยศึกษาจากข้อมูลปรมิ าณนา้ นองสูงสุดและระดบั น้าสงู สุด
รายปีของสถานวี ดั น้าท่าต่างๆ โดยมแี นวทางในการดาเนนิ การศกึ ษาดังน้ี
1. รวบรวมขอ้ มูลปรมิ าณน้านองสูงสุดรายปจี ากหน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้อง จากข้อมูลทร่ี วบรวมได้จะทา
การวิเคราะห์แจกแจงความถ่ปี รมิ าณนา้ นองสงู สุดดว้ ยวธิ กี ัมเบล
2. สาหรับค่าปริมาณฝนสูงสุดรายปี ช่วงเวลา 1 วันถึง 5 วัน ของสถานีวัดน้าฝนต่างๆ จะนามา
วิเคราะห์แจกแจงความถ่ีด้วยวิธีกัมเบล แล้วจึงทาการวิเคราะห์ปริมาณฝนสูงสุดรายปีช่วงเวลา 1 วัน ถึง 5 วันที่ความถ่ี
ของการเกิดต่างๆ ตั้งแต่ 2 5 10 20 50 100 200 500 และ 1,000 ปี สาหรับลุ่มน้าย่อย โดยพิจารณาใช้ข้อมูลจาก
สถานีท่ีเก่ียวข้องต่าง ๆ และแฟคเตอร์ถ่วงน้าหนักธีเอสเซ่น (Thiessen Weighting Factors) และปรับค่าด้วยแฟคเตอร์
ลดปรมิ าณฝนตามขนาดพื้นที่รับนา้ ฝน (Area Reduction Factors)
3. ในการศึกษาปรมิ าณน้าหลากท่ีเกิดจากพายุฝน หรือจากปริมาณฝนสูงสุดรายปี ช่วงเวลา 1 ถึง
5 วัน จะใช้วิธีการคานวณด้วยเทคนิคกราฟหนึ่งหน่วยน้าท่า และสาหรับการวิเคราะห์น้าท่าหรือน้าหลากจากข้อมูล
ปรมิ าณฝนรายวนั ในช่วงที่เกิดพายุฝนท่ีสาคัญ สามารถคานวณโดยใช้แบบจาลอง NAM MODEL ซึ่งเป็นแบบจาลองย่อย
ของแบบจาลอง MIKE 11
4. ในการศึกษาการจัดการน้าหลากและการระบายน้าหลากด้วยระบบคลองผันน้าและลาน้า
ธรรมชาติ จะใชแ้ บบจาลอง MIKE 11 โดยศึกษาสภาพนา้ หลากท่ีเกดิ จากสภาวะฝนวิกฤตต่างๆ
(3) การศึกษาระดับนาสูงสุด : ประกอบด้วย การศึกษาระดับน้าสูงสุดท่ีตรวจวัดหรือบันทึกตาม
สถานแี ละอาคารบงั คับน้าต่างๆ โดยการศึกษาระดับน้าเฉลย่ี สงู สุด และตา่ สุด ท้ังรายเดือนและรายปี การวิเคราะห์แจกแจง
ความถรี่ ะดับน้าสูงสดุ รายปีด้วยวธิ ีกัมเบลเพ่ือหาค่าระดับน้าสูงสุดที่คาบความถ่ขี องการเกิดต่างๆ ตั้งแต่ 2 ถึง 1,000 ปี
เปน็ ต้น
(4) การศึกษาปริมาณตะกอน : ประกอบด้วย การรวบรวมข้อมูลปริมาณตะกอนแขวนลอยรายเดือน
การวิเคราะห์ความสมั พันธ์ระหวา่ งปริมาณตะกอนแขวนลอยรายปีเฉลี่ย และพ้ืนท่ีรบั น้าเพ่ือนาไปใช้ในการประเมินปริมาณ
ตะกอนท่ีไหลลงอ่างเกบ็ นา้ ปจั จุบนั และศักยภาพ และท่ีบริเวณจดุ พิจารณาต่างๆ
บริษัท เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จ้ากัด 2-4 รายงานความก้าวหน้า
บริษัท เอน็ รชิ คอนซลั แตนท์ จา้ กัด (Progress Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสิง่ แวดลอ้ มเบื้องต้น อ่างเกบ็ น้าเหมอื งตะก่ัว บทที่ 2
อนั เนอื่ งมาจากพระราชดา้ ริ จังหวัดพทั ลงุ การศกึ ษาทบทวนความเหมาะสม
2.3.2 การศกึ ษาดา้ นความต้องการใชน้ า (ผู้เช่ียวชาญด้านอทุ กวิทยา : นายไชยาพงษ์ เทพประสทิ ธ์ิ)
การตอบสนองความต้องการน้าเพื่อกิจการต่างๆ ในพื้นที่โครงการ จะเป็นเป้าหมายหลักของการพัฒนาแหล่งน้า
ของกรมชลประทาน เนื่องจากวัตถุประสงค์สาคัญ คือ การพัฒนาแหล่งน้าเพ่ือใช้ในการอุปโภค-บริโภค การเกษตร-
ชลประทาน อุตสาหกรรม ท่องเท่ียวและกิจการอื่นๆ ผลการวเิ คราะห์ความต้องการใช้น้าแสดงในบทที่ 3 การประเมิน
ความตอ้ งการใช้น้าเพอ่ื กจิ การตา่ งๆ มรี ายละเอียดดงั น้ี
1. ความตอ้ งการนาเพอื่ การเกษตรและชลประทาน
การศึกษาวเิ คราะห์ประเมินปริมาณความต้องการใช้นา้ เพ่ือการเกษตรและชลประทานในพื้นท่ีโครงการ
เป็นส่วนที่มีความสาคัญต่อการพิจารณาวางแผนพัฒนาและบริหารจัดการน้าเป็นอย่างยิ่ง เน่ืองจากปรมิ าณน้าที่ส่งให้กับ
พื้นท่ีการเกษตรต้องมีปริมาณที่เพียงพอต่อความต้องการของพืชและอยู่ในช่วงเวลาที่พืชต้องการ จึงจะทาให้พืชได้รับ
ประโยชน์อย่างแท้จริง ดังนั้นการประเมินความต้องการใช้น้าของพืชจึงต้องทาอย่างรอบคอบและมีความสอดคล้องกับ
สภาพการเพาะปลกู ในพ้นื ท่ีจรงิ มากทส่ี ุด เพ่อื ใหไ้ ด้ปริมาณความตอ้ งการใช้น้าท่ีใกล้เคยี งกบั สภาพท่ีแทจ้ รงิ มากทส่ี ดุ โดย
ข้อมูลท่ีนามาประเมินความต้องการใช้น้าของพืชจะเป็นท้ังข้อมูลในส่วนของข้อมูลทุติยภูมิและข้อมูลจากการสารวจใน
ภาคสนาม ทั้งน้ีความต้องการใช้น้าของพืชจะเป็นข้อมูลที่สาคัญในการนาไปวิเคราะห์สมดุลน้า เพื่อประเมินหาพ้ืนท่ี
การเกษตรที่เหมาะสมกับปรมิ าณนา้ ทีม่ ขี องพื้นที่โครงการ ในการประเมินปรมิ าณความตอ้ งการใชน้ า้ ของพืชดงั กล่าวจะ
ใช้แบบจาลองทางคณิตศาสตร์ WUSMO (Water Uses Study Model) และใช้ข้อมูลการใช้ประโยชน์ท่ีดินของ
กรมพัฒนาท่ีดิน ข้อมูลแผนที่การปลูกพืช ข้อมูลสถิติการเพาะปลูก ข้อมูลปฎิทินการเพาะปลูก และจากการสารวจ
เก็บข้อมูลภาคสนามเพ่ิมเติม สาหรับแนวทางการประเมินหาความต้องการใช้น้าของพืชและการวิเคราะห์สมดุลน้าของ
แตล่ ะลุ่มนา้ ย่อยมีรายละเอียดดงั น้ี
1) การประเมนิ ความต้องการใช้นาเพ่ือการเพาะปลูก โดยแบบจาลองคณิตศาสตร์ WUSMO
(1) การประเมินความต้องการใช้น้าของพืชใดๆ (ETo) การประเมินความต้องการใช้น้าของพืช โดย
พจิ ารณาจากคา่ สัมประสิทธ์ิการใชน้ ้าของพชื (Kc) และ Potential Evapotranspiration (ETp) ดังน้ี
ETo = Kc x Etp
เม่อื ETo = ความตอ้ งการใชน้ า้ ของพชื (มม./วัน)
Kc = สัมประสทิ ธิ์การใช้น้าของพืช
ETp = Potential Evapotranspiration (มม./วัน)
โดยพิจารณากาหนดค่าสัมประสิทธ์ิการใช้น้าของพืช (Kc) จากพืชตัวแทนในพ้ืนที่ศึกษาและ
พิจารณากาหนดค่า ETp (Potential Evapotranspiration) สาหรับพื้นท่ีโครงการโดยวิธี Modified Penman แบบ
Penman-Monteith ซึ่งมีข้อมูลนาเข้าที่สาคัญ ได้แก่ ค่าพิกัดตาแหน่งของพ้ืนท่ีศึกษา อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์
ลักษณะเมฆ ความเร็วลม โดยสาหรับการประเมินความต้องการใช้น้าชลประทาน พิจารณาจากหลักการส่งน้า
ชลประทานกล่าวคือ การจัดหาน้าและส่งลาเลียงไปยังพื้นที่เพาะปลูกตรงตามปริมาณและช่วงเวลาท่ีพืชต้องการหรือ
เพ่ิมเติมจากปริมาณ ฝนใช้การ โดยค่าประสิทธิภาพการชลปร ะทาน (Irrigation Efficiency : IE) ควรมีค่า
ทเ่ี หมาะสมตามประเภทของระบบส่งน้าชลประทาน
บริษัท เอช ทู โอ คอนซัลท์ จา้ กัด 2-5 รายงานความก้าวหน้า
บริษัท เอน็ รชิ คอนซัลแตนท์ จา้ กดั (Progress Report)
โครงการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดล้อมเบ้ืองต้น อ่างเกบ็ นา้ เหมืองตะก่วั บทที่ 2
อันเนือ่ งมาจากพระราชดา้ ริ จังหวดั พัทลงุ การศึกษาทบทวนความเหมาะสม
(2) แบบจาลองปริมาณฝนใช้การ (Effective Rainfall Model) ฝนใช้การ หมายถึง ฝนที่พืชสามารถ
นาไปใช้ประโยชน์ได้ ปริมาณฝนใช้การของพืชแต่ละชนิดจะแตกต่างกันตามชนิดของพืชและวิธีการ ให้น้า
เช่น ฝนใช้การของข้าวเป็นส่วนของปริมาณนา้ ฝนที่ขังอยู่ในแปลงนาในระดับที่ไม่เป็นอันตรายแก่ต้นข้าว สว่ นฝนใชก้ าร
ของพืชไร่หรือพืชอ่ืนเป็นส่วนของปริมาณนา้ ฝนที่ซมึ อยู่ในเขตรากพืชและพืชสามารถดดู ไปใช้ได้ แบบจาลองปริมาณฝน
ใช้การเป็นแบบจาลองที่ใช้วิเคราะห์ประเมินปริมาณฝนที่สามารถนามาใช้แทนน้าชลประทาน ซ่ึงข้ึนอยู่กับปัจจัย
ท่ีสาคัญคือ ปริมาณฝนตกในแต่ละช่วงเวลา ปริมาณการใช้น้าของพืช พฤติกรรมของเกษตรกรต่อการเก็บกักน้า
ชลประทานไว้ในแปลงนาและความสูงของคันนา กล่าวคือ หากเกษตรกรนิยมเก็บน้าชลประทานไว้ในแปลงนาที่ระดับต่า
เมื่อฝนตกลงมากจะสามารถทีจ่ ะเก็บน้าฝนไวใ้ นแปลงนาได้มาก เป็นต้น นอกจากน้ี จะเห็นว่าในสัปดาหท์ ่ีมีปริมาณฝนตกน้อย
เปอร์เซ็นต์ของฝนใช้การจะสงู กวา่ สปั ดาหท์ ่มี ีฝนตกมากและยังขึ้นอยกู่ บั ปรมิ าณฝนทต่ี กในสปั ดาห์กอ่ นๆ อีกด้วย
ผลการประเมินปรมิ าณฝนใช้การโดยแบบจาลองดังกลา่ ว มีค่าปริมาณน้าฝนใช้การรายวันแล้วจึง
นามารวมกันเป็นรายสัปดาห์ เพื่อใช้เป็นข้อมูลนาเข้าแบบจาลองความต้องการน้าชลประทาน ซ่ึงจากข้อมูลปริมาณฝน
เฉลี่ยบริเวณพื้นที่ศึกษา สามารถนามาวเิ คราะห์ถ่วงนา้ หนัก (Weighted Rainfall) ได้ โดยใช้ขอ้ มูลฝนรายวันจากสถานี
ที่อยบู่ ริเวณใกลเ้ คยี ง
แบบจาลองปริมาณ ฝนใช้การ กาหนด ให้มีค่าระดับน้าฝนใช้การสามารถถึงระดับน้า
ในแปลงเพาะปลกู สาหรบั ชว่ งฝนตกและกาหนดระดับน้าในแปลงออกเป็น 3 ระดับ คอื
- ระดบั น้าในแปลงทคี่ วามจุต่าสดุ (STMIN) = 45 มม.
- ระดบั นา้ ในแปลงนาท่ีความจปุ านกลาง (STO) = 90 มม.
- ระดับน้าในแปลงนาท่คี วามจุสูงสุด (STMAX) = 135 มม.
เง่อื นไขและขอ้ กาหนดการประยกุ ตใ์ ช้แบบจาลองฯ WUSMO
ถา้ Stn > STMAX
Re = STMAX + Ax + St(n-1)
Stn = RTMAX
ถา้ Stn <= STMAX
Re = Rn
Stn = St(n-1) + Rn – Am
ถา้ Stn < STMIN
Re = Rn
Stn = STO
บรษิ ทั เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จ้ากัด 2-6 รายงานความก้าวหน้า
บริษัท เอ็นริช คอนซัลแตนท์ จา้ กดั (Progress Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสง่ิ แวดล้อมเบื้องตน้ อ่างเก็บนา้ เหมืองตะกัว่ บทที่ 2
อนั เนือ่ งมาจากพระราชด้าริ จังหวดั พทั ลุง การศกึ ษาทบทวนความเหมาะสม
เมือ่ Rn = ปรมิ าณน้าฝนทตี่ กในวนั ท่ี n เปน็ มลิ ลิเมตร
Re = ปริมาณนา้ ฝนใช้การ เป็น มิลลิเมตร
St(n-1) = ระดบั นา้ ในแปลงเพาะปลกู ทีเ่ ริ่มตน้ ของวนั ท่ี n
Stn = ระดับนา้ ในแปลงเพาะปลกู ท่ีสิน้ สุดของวนั ท่ี n
Am = ปรมิ าณน้าที่พืชตอ้ งการเป็นมลิ ลิเมตร/วนั ของเดือนท่ีมี N วัน
= (Kc x Etp + OR) / N
เมื่อ Kc = สมั ประสิทธ์ิพืชในเดอื นที่ m
Etp = Potential Evapotranspiration ในเดอื นท่ี m
OR = ความตอ้ งการนา้ อืน่ ๆ ในเดือนที่ m (โดยทัว่ ไปเป็นปริมาณนา้ ใช้
ในการเตรยี มแปลง) เปน็ มิลลิเมตร
N = จานวนวันในเดอื น m
คา่ Stn คานวณไดจ้ าก
Stn = St(n-1) + Rn – Am
2) ปรมิ าณนาเตรียมแปลง การปลูกข้าวตอ้ งการปรมิ าณน้าจานวนหนึ่ง เพอ่ื ใช้ในการเตรียมแปลงท้งั ในฤดู
ฝน และฤดูแล้ง ซึ่งการป ลูกพื ชชนิ ดอื่น ต้องการน้ อยมาก และ ป ริมาณ น้ าส่วน น้ีจะแป รผัน กับ ปั จจัย
ท่ีสาคัญได้แก่ คุณสมบัติทางกายภาพของดิน ความชื้นของดิน ชนิดของดิน ความสามารถการระเหยของน้า วิธีและ
ระยะเวลาในการเตรียมแปลง โดยกาหนดใหป้ ริมาณนา้ เตรียมแปลงมีคา่ ประมาณ 200 มม.
3) ปรมิ าณนาซมึ ลงไปในดนิ การปลูกข้าวจาเปน็ ตอ้ งมีน้าขงั อย่ใู นแปลงนาในระดบั ที่เหมาะสม ดงั นัน้ จะมี
ปริมาณน้าส่วนหน่ึงที่ซึมเลยเขตรากพืชลงไปในดิน ซ่ึงพืชไม่สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ ปริมาณน้าซึม
ลงในดินข้ึนอยู่กับองค์ประกอบและปัจจัยที่สาคัญได้แก่ คุณสมบัติของดิน วิธีการเตรียมแปลง ความสู งของน้าท่ีขัง
ในแปลงนา และระดับนา้ ใต้ดนิ ซ่ึงพิจารณากาหนดให้ปริมาณน้าท่ีซึมลงในดินประมาณ 1.5 มม./วัน
4) ประสิทธิภาพการชลประทาน ประสิทธิภาพการชลประทานเป็นค่าดัชนีชี้วัดปริมาณน้าชลประทานท่ี
ต้องการ ซึ่งปริมาณน้าชลประทานดังกล่าวควรมากกว่าปริมาณความต้องการใช้น้าของพืชท่ีแปลงเพาะปลูก ท้ังน้ี เพ่ือ
ทดแทนปริมาณนา้ ทส่ี ูญเสยี ระหว่างทางลาเลยี งนา้ และท่ีสญู เสยี ในกระบวนการใชน้ า้ โดยกาหนดค่าการสญู เสยี ในระบบ
การชลประทานดงั ตอ่ ไปนี้
(1) ประสิทธิภาพการส่งน้า หมายถึง การสูญ เสียปริมาณ น้าในระบบลาเลียงน้า/ส่งน้า
โดยเบ้ืองต้นระบบลาเลียงนา้ /สง่ นา้
(2) ประสทิ ธิภาพการให้นา้ หรอื การสญู เสียของนา้ ท่เี กดิ ขึน้ ในแปลงนา เกิดขึ้นเนื่องจากการระเหยและ
การรั่วซมึ ขณะที่นา้ ขังอยใู่ นแปลงนา ซึ่งอยกู่ บั ปจั จยั ทส่ี าคัญไดแ้ ก่ ลกั ษณะดิน พชื ทป่ี ลูก ฤดูกาลทาการชลประทาน
บรษิ ัท เอช ทู โอ คอนซัลท์ จา้ กัด 2-7 รายงานความก้าวหน้า
บริษทั เอ็นริช คอนซลั แตนท์ จ้ากัด (Progress Report)
โครงการศึกษาผลกระทบสิง่ แวดลอ้ มเบื้องตน้ อา่ งเกบ็ น้าเหมอื งตะกว่ั บทที่ 2
อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดา้ ริ จังหวดั พทั ลงุ การศกึ ษาทบทวนความเหมาะสม
5) แบบจาลองความต้องการนาชลประทาน (Irrigation Demand Model) แบบจาลองความต้องการ
นา้ ชลประทาน (Irrigation Demand Model) ใช้วิเคราะหป์ ระเมินและจาลองความตอ้ งการน้าชลประทานรายสัปดาห์
หรือปรมิ าณนา้ ท่ีต้องการน้าบริเวณอาคารบังคับน้าปากคลองส่งน้า เพื่อให้สามารถลาเลียงน้าไปถึงแปลงเพาะปลูกด้วย
ปรมิ าณนา้ ที่เพยี งพอ สาหรบั การเพาะปลูกขา้ ว พชื ไรพ่ ืชผัก หรืออนื่ ๆ ตามคาจากดั ความดงั นี้
ปรมิ าณความต้องการนา้ ชลประทาน = ปรมิ าณการใช้น้าของพชื + การรวั่ ซมึ บนแปลง – ฝนใชก้ าร
ประสทิ ธิภาพชลประทาน
2. ความต้องการนาเพือ่ การอปุ โภคบรโิ ภค
การวิเคราะห์ปริมาณความต้องการใช้น้าเพ่ือการอุปโภคบริโภคจาแนกตามขอบเขตพ้ืนท่ีศึกษา
มีวธิ กี ารศกึ ษาดังน้ี
1) รวบรวมข้อมูลประชากรของตาบลท่ีอยู่ในพ้ืนที่โครงการในปัจจบุ ันและย้อนหลังไปไม่น้อยกว่า 10 ปี
เพ่อื ใชใ้ นการคานวณอตั ราการเพิ่มขึน้ ของประชากรในพ้นื ทโี่ ครงการและพื้นที่ที่เกยี่ วข้อง
2) คาดการณ์จานวนประชากรในพ้ืนที่ท่ีเพ่ิมข้ึนในอนาคตเป็นเวลา 20 ปี จากอัตราการเพ่ิมของ
ประชากรทคี่ านวณได้
3) ประเมินอัตราการใช้น้าของชุมชนในพื้นที่ศึกษา จากระบบประปาหมู่บ้านท่ีมีอยู่ในพ้ืนที่ สาหรับ
บรเิ วณทไ่ี ม่มรี ะบบประปาจะใช้อัตราการใชน้ า้ ตามความจาเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) ประมาณ 50 ลิตรต่อคนตอ่ วัน
4) คานวณอัตราการใช้น้าของประชากรในปัจจุบันและในอนาคตเป็นเวลา 20 ปี โดยใช้อัตราการใช้
น้าของชมุ ชนท่ปี ระเมนิ ไดข้ ้างต้น
3. ความต้องการใช้นาเพ่ือการปศุสตั ว์
การประเมินปริมาณความต้องการน้าเพ่ือการปศุสัตว์ คานวณได้จากอัตราการใช้น้าคูณกับจานวนสัตว์
เล้ยี ง โดยอาศยั ข้อมลู จานวนสตั ว์เลี้ยงในแตล่ ะตาบล จากสานักงานปศุสัตว์ จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี
4. ปริมาณความต้องการใชน้ าเพื่อการอตุ สาหกรรม
1) รวบรวมข้อมูลโรงงานอุตสาหกรรมในระดับอาเภอจากหน่วยงาน หรือองค์กรท่ีเกี่ยวข้องทั้งส่วน
ราชการและเอกชน เช่น รายงานข้อมูลโรงงานอุตสาหกรรม จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม ปริมาณน้าที่ใช้ในการผลิตจาก
โรงงาน เปน็ ตน้ รวบรวมขอ้ มลู ย้อนหลงั 10 ปี เพือ่ เปน็ ข้อมลู พืน้ ฐานใช้วเิ คราะห์หาแนวโนม้ ของการพัฒนาอุตสาหกรรม
ในปี 20 ปี ขา้ งหน้า และประเมินและพยากรณ์จานวนโรงงานภาคอุตสาหกรรมในอนาคตดว้ ยวธิ กี ารประเมินเชิงตวั เลข
2) จาแนกประเภทของกิจการอุตสาหกรรมตามประเภทของอัตราการใช้น้าต่อหน่วยพ้ืนที่
ประกอบการของโรงงานอุตสาหกรรมประเภทตา่ งๆ ของกรมโรงงานอุตสาหกรรมดังตารางท่ี 2.3.2-1
3) จากตารางที่ 2.3.2-1 ประเมินความต้องการน้าเพ่ือการอตุ สาหกรรมในปจั จุบนั ของอุตสาหกรรม
ประเภทตา่ งๆ
บรษิ ทั เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จา้ กัด 2-8 รายงานความก้าวหน้า
บริษทั เอ็นรชิ คอนซลั แตนท์ จ้ากัด (Progress Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสง่ิ แวดล้อมเบือ้ งต้น อา่ งเกบ็ นา้ เหมอื งตะกว่ั บทท่ี 2
อันเนื่องมาจากพระราชดา้ ริ จงั หวดั พัทลุง การศกึ ษาทบทวนความเหมาะสม
4) รวบรวมข้อมูล GPP ของภาคอุตสาหกรรมย้อนหลัง 10 ปี เพ่ือหาอัตราการเจริญเติบโตของ
ภาคอุตสาหกรรม เพ่ื อใช้เปรียบเทียบกับแน้วโน้มการเจริญเติ บโตของโรงงานอุตสาหกรรมที่หาจากข้อ 1.
5) จากข้อมูลพื้นท่ีประกอบการหรือพื้นที่โรงงานและการคาดการณ์การเพ่ิมขึ้นของพ้ืนที่ประกอบการของ
โรงงานอุตสาหกรรมในอนาคต โดยใช้อัตราการเพ่ิมที่คานวณได้ (จากข้อ 1. และ 4.) และจากอัตราการใช้น้าต่อหน่วย
พื้นท่ีประกอบการอุตสาหกรรมแยกตามประเภทโรงงานต่างๆ สามารถคานวณปริมาณความต้องการน้าสาหรับการ
อตุ สาหกรรมในอนาคตได้
ตารางที่ 2.3.2-1 อัตราการใชน้ าตอ่ หนว่ ยพนื ทป่ี ระกอบการของโรงงานอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ
รหัส ประเภท รายละเอียด ปริมาณความ
ต้องการน้า
01 Accessory อุตสาหกรรมผลติ ชิ้นสว่ น อุปกรณต์ ่างๆ (ลบ.ม./ไร่/วัน)
02 Chemical อตุ สาหกรรมเคมีภัณฑ์
03 Food อตุ สาหกรรมอาหาร เครอ่ื งดื่ม 6.00
04 Metal อตุ สาหกรมมถลุง หล่อ โลหะ 8.00
05 Other อุตสาหกรรมท่ัวไป 12.00
06 Outside อตุ สาหกรรมกลางแจง้ เช่น โม่ บดดิน ดูดทราย เผาถ่าน หีบฝา้ ย อบเมลด็ พืช ฯลฯ 5.00
07 Paper อุตสาหกรรมกระดาษ เช่น ผลิตเยื่อกระดาษ ภาชนะจากกระดาษ ฯลฯ 7.00
08 Textile อตุ สาหกรรมส่ิงทอ ฟอกหนัง ย้อมสี 4.00
09 Unmetal ผลิตภัณฑโ์ ลหะ เช่น แกว้ กระเบื้องเคลือบ ปูน ฯลฯ 4.00
10 Wood ผลติ ภัณฑไ์ ม้ เคร่ืองเรือน 5.00
8.00
3.00
5. ปรมิ าณความตอ้ งการใช้นาเพื่อการทอ่ งเทยี่ ว
รายละเอียดการศกึ ษาปรมิ าณความตอ้ งการนา้ เพอื่ การท่องเท่ยี วมีดังนี้
1) รวบรวมข้อมูลสถิติจานวนนักท่องเที่ยวและผู้เย่ียมเยือน (นักทัศนาจร) ในปัจจุบัน และข้อมูล
ยอ้ นหลงั 10 ปี
2) คาดการณ์จานวนนักท่องเท่ียวและผู้เย่ียมเยือน (นักทัศนาจร) ในอนาคต เช่นเดียวกับการศึกษา
ประชากร
3) กาหนดฤดกู าลท่องเทย่ี วในพน้ื ท่โี ครงการว่าเป็นจานวนกีว่ นั ใน 1 ปี โดยมีอัตราการใช้น้าเฉลย่ี ของ
นักท่องเท่ียวเท่ากับท่ีประชาชนใช้ในพ้ืนท่ี ส่วนนักทัศนาจร ให้อัตราการใช้น้าเฉล่ีย 100 ลิตร/คน/วัน จะสามารถ
ประเมนิ ปริมาณความตอ้ งการนา้ เพอ่ื การท่องเท่ียวในปัจจุบันและอนาคตได้
6. ความต้องการใชน้ าเพ่ือรกั ษาระบบนิเวศทา้ ยนา
ในลาน้าสายหลักซ่ึงมีปริมาณน้าในฤดูแล้งน้อยจะเกิดปัญหาทางด้านคุณภาพน้าอยู่เสมอ จาเป็นท่ี
จะต้องมีการควบคุมปริมาณน้ารักษาระบบนิเวศท้ายน้าให้อยู่ในระดับมาตรฐาน ดังน้ันในการศึกษาจึงต้องคานึงถึง
ปรมิ าณน้าที่จะปล่อยเพ่ือรกั ษาสมดลุ ของระบบนิเวศท้ายน้าเอาไว้ดว้ ย โดยท่ีปรกึ ษาจะทาการประเมนิ จากสถิติปริมาณ
น้าท่าท่ี 90% Dependable Flow ของสถานีวัดน้าท่าที่อยู่ใกล้เคียงกับอาคารชลประทาน เพ่ือรักษาสภาพการไหลใน
ลาน้าให้อยู่ในสภาพเดมิ และไม่เกิดความเดือดร้อนต่อกล่มุ ผู้ใช้น้าด้านทา้ ยน้า แต่หากในบริเวณพื้นทที่ ้ายนา้ มีปัญหาใน
ดา้ นคุณภาพนา้ อาจตอ้ งพิจารณาเปน็ พิเศษ
บริษทั เอช ทู โอ คอนซัลท์ จา้ กัด 2-9 รายงานความก้าวหน้า
บริษทั เอ็นริช คอนซลั แตนท์ จ้ากดั (Progress Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ มเบ้อื งต้น อ่างเก็บน้าเหมอื งตะกัว่ บทท่ี 2
อันเน่ืองมาจากพระราชดา้ ริ จงั หวัดพัทลงุ การศกึ ษาทบทวนความเหมาะสม
2.3.3 การศกึ ษาด้านเกษตรและปศสุ ัตว์ (ผูเ้ ชีย่ วชาญดา้ นการเกษตร : ดร.เอจ็ สโรบล)
อา่ งเก็บน้าเหมอื งตะกั่วอันเน่ืองมาจากพระราชดาริจงั หวัดพัทลุง มีพ้ืนท่ศี ึกษาครอบคลมุ พ้ืนท่ีลุ่มนา้ ทะเลหลวง
สาหรับรายละเอียดผลการรวบรวมและวเิ คราะห์ข้อมูลด้านการเกษตร ปศุสัตว์ ประมงและการเลย้ี งสัตวไ์ ด้นาเสนอไวใ้ น
บทท่ี 3 โดยสรปุ ไดด้ งั นี้
1) ครวั เรือนเกษตรกรและแรงงานภาคเกษตร
จังหวัดพัทลุงมีจานวนครัวเรือน 192,087 ครัวเรือน แบ่งเป็นครัวเรือนเกษตรกรจานวน 87,093 ครัวเรือน
คิดเป็นร้อยละ 45.34 ของจานวนครัวเรือนทั้งหมด เมื่อคิดเป็นจานวนแรงงานในภาคเกษตรแล้วมีจานวนทั้งสิ้น
250,398 ราย
2) การใชท้ ี่ดนิ เพอ่ื การเกษตร
จากข้อมูลของสานักงานเกษตรจังหวัดพัทลุงในปี 2560 มีการใช้ท่ีดินเพื่อการเกษตรจานวน
1,555,363 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 72.67 ของพ้ืนท่ีทั้งหมด ส่วนใหญ่ใช้ในการปลูกไม้ผล/ไม้ยืนต้น 1,005,186 ไร่
(รอ้ ยละ 64.64) รองลงมาคือ ทนี่ า 130,438 ไร่ (ร้อยละ 8.39) พ้ืนที่เกษตรอ่ืนๆ 35,087 ไร่ (ร้อยละ 2.25) และ พืชไร่/
พืชผัก/ไม้ดอก 20,055 ไร่ (ร้อยละ 1.28) นอกจากน้ียังมีเน้ือท่ีถือครองที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ จานวน 364,598 ไร่
(รอ้ ยละ 23.45)
3) การผลิตพืช
จากข้อมูลของสานักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง (2561) ในพ้ืนที่ศึกษาโครงการ พบว่า พ้ืนท่ีการเกษตร
ส่วนใหญ่เป็นพื้นท่ีปลูกยางพารา 1,001,904 ไร่ รองลงมาคือพื้นท่ีปลูกข้าวนาปี 136,392 ไร่ และปาล์มน้ามัน
72,449 ไร่ นอกจากนี้ยังมีพ้นื ท่ปี ลกู ไมผ้ ล ไดแ้ ก่ มงั คดุ ลองกอง เงาะ และทเุ รียน
4) ชันความเหมาะสมของดนิ สาหรับการปลูกพชื จากขอ้ มลู แผนที่เกษตรเพือ่ การบริหารจัดการเชิงรกุ
จากข้อมูลแผนท่ีเกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri Map) ของจังหวัดพัทลุงมีช้ันความเหมาะสม
ของดินสาหรับการปลูกยางพารา ข้าว ปาล์มน้ามัน ทุเรียน เงาะ และมังคุด รวมจานวน 3,804,846 ไร่ ซึ่งพืชดังกล่าว
เป็นพืชเศรษฐกิจท่ีสาคัญของจังหวัดพัทลุงและเป็นพืชท่ีสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรในจังหวัดและสร้างรายได้ให้กับ
ประเทศ เม่ือพจิ ารณาตามชนิดพืชและระดับชั้นความเหมาะสมของดนิ สาหรบั การเพาะปลูก พบว่า พื้นทปี่ ลูกยางพารา
ขา้ ว ปาลม์ น้ามัน ทเุ รยี น เงาะ และมงั คุด มีความเหมาะสม ซึ่งถกู จดั อยูใ่ นชนั้ ความเหมาะสมมาก และเหมาะสมปานกลาง
5) การปศสุ ัตว์
จากข้อมูลของสานักงานปศสุ ัตว์จังหวดั พัทลุง (2561) พบว่า กิจกรรมการเล้ียงสัตว์ในพื้นท่ีศึกษาโครงการ
ส่วนใหญ่คือ สุกร โคเน้ือ โคนม ไก่เน้ือ และไก่ไข่ โดยประเภทสัตว์ท่ีสร้างมูลค่าให้เกษตรกรในพื้นที่มากท่ีสุด
คือ สุกร 2,158.43 ล้านบาท รองลงมาคือโคเน้ือ ไก่ไข่ ไก่เนื้อ และโคนม มีมูลค่า 2,149.03 969.66 676.75 และ
91.12 ลา้ นบาท ตามลาดบั
บริษัท เอช ทู โอ คอนซัลท์ จ้ากัด 2-10 รายงานความก้าวหน้า
บริษทั เอน็ รชิ คอนซลั แตนท์ จา้ กัด (Progress Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสิ่งแวดลอ้ มเบือ้ งตน้ อา่ งเก็บน้าเหมอื งตะกัว่ บทท่ี 2
อนั เนือ่ งมาจากพระราชดา้ ริ จังหวัดพทั ลงุ การศกึ ษาทบทวนความเหมาะสม
6) การประมงและการเลียงสัตว์นา
จากข้อมูลของสานักงานประมงจังหวัดพัทลุง (2561) พบว่ากิจกรรมการเล้ียงสัตว์น้าส่วนใหญ่ในพื้นที่
ศกึ ษาโครงการคือ ปลานิล ปลาดุกลูกผสม ปลากะพงขาว กุ้งขาว และกุง้ กา้ มกราม โดยประเภทสัตว์น้าท่ีสร้างมลู ค่าให้
เกษตรกรในพื้นท่ีมากท่ีสุดคือ กุ้งขาว 163.09 ล้านบาท รองลงมาคือ ปลานิล ปลาดุกลูกผสม กุ้งก้ามกราม
และปลากะพงขาว มมี ูลคา่ 112.97 96.82 77 และ 5.33 ล้านบาท ตามลาดบั
2.3.4 การศึกษาดา้ นดิน และการใชป้ ระโยชน์ทดี่ นิ
(ผูเ้ ช่ียวชาญด้านดินและการใชป้ ระโยชน์ทดี่ นิ : ผศ.ดร.ชยั ฤกษ์ สุวรรณรตั น์)
อา่ งเก็บน้าเหมืองตะกั่วอันเน่ืองมาจากพระราชดาริจังหวัดพัทลุง มีพ้ืนทศ่ี ึกษาครอบคลมุ พื้นท่ีลุ่มนา้ ทะเลหลวง
สาหรับรายละเอียดผลการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลด้านดิน และการใช้ประโยชน์ท่ีดินได้นาเสนอไว้ในบทที่ 3
โดยสรุปความกา้ วหน้าไดด้ งั นี้
2.3.4.1การศกึ ษาด้านดนิ
(1) ทาการศึกษาทบทวนขอ้ มลู ทางดา้ นดิน
(2) ทาการสารวจดินและเก็บตัวอย่างดนิ ที่เปน็ ตวั แทนของดนิ ชนดิ ต่างๆ ในบริเวณพ้ืนทศี่ กึ ษาของโครงการนามา
ทาการวิเคราะห์สมบัติบางประการในห้องปฏิบัติการ โดยนามาวิเคราะห์ถึงปัญหาและความอุดมสมบูรณ์ของดินที่เป็น
ปจั จุบัน และจัดเตรียมแผนที่ดนิ
2.3.4.2การศึกษาด้านการใช้ประโยชนท์ ีด่ ิน
(1) ทาการศึกษาข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดินปีล่าสุด (ปี พ.ศ.2561) ในบริเวณพ้ืนท่ีศึกษาของโครงการนาโดย
กรมพฒั นาท่ดี นิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ร่วมกับการสารวจสภาพการรใช้ประโยชนท์ ดี่ ินในภาคสนาม
(2) ทาการจัดเตรยี มแผนท่ีการใช้ประโยชนท์ ดี่ นิ
2.3.5 การศึกษาด้านเศรษฐกจิ สงั คม
(ผเู้ ชีย่ วชาญด้านเศรษฐกจิ สงั คม และองคก์ ร : นางกาญจนา จันทรว์ ิเมลือง)
พื้นท่ีโครงการตั้งอยู่บริเวณพ้ืนท่ีตาบลหนองธง อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง และมีบริเวณพื้นทีรับ
ประโยชน์ได้แก่ บริเวณพ้ืนที่ตาบลหนองธง อาเภอป่าบอน พ้ืนที่ตาบลแม่ขรี และตาบลคลองใหญ่ อาเภอตะ
โหมด จงั หวัดพัทลงุ จากการทบทวนขอ้ มลู ด้านเศรษฐกจิ สังคมของพ้ืนที่ท้ัง 3 ตาบล 2 อาเภอ สรุปไดด้ งั น้ี
บริษทั เอช ทู โอ คอนซัลท์ จา้ กัด 2-11 รายงานความก้าวหน้า
บริษัท เอ็นริช คอนซัลแตนท์ จ้ากดั (Progress Report)
โครงการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดล้อมเบอื้ งตน้ อา่ งเกบ็ นา้ เหมืองตะกว่ั บทที่ 2
อนั เนื่องมาจากพระราชดา้ ริ จงั หวดั พัทลุง การศึกษาทบทวนความเหมาะสม
1) องค์การบริหารส่วนตาบลหนองธง
(1) เขตปกครองและประชากร
องค์การบริหารส่วนตาบลหนองธง มีเนื้อที่มีเนื้อที่ท้ังหมดประมาณ 75.792 ตารางกิโลเมตร
หรือประมาณ 47,370 ไร่ ครอบคลุม จานวนหมู่บ้าน 9 หมู่ หมู่บ้านในเขต อบต. เต็มท้ังหมู่บ้าน จานวน 6 หมู่
ได้แก่ หมู่ที่ 1,2,4,5,6 และ 9 และหมู่บ้านในเขต อบต. บางส่วน 3 หมู่ ได้แก่ หมู่ที่ 3,7,8 มีประชากร ทั้งส้ิน
จานวน 8,599 คน เป็นเพศชาย จานวน 4,288 คน และ เพศหญิง จานวน 4,311 คน (ธันวาคม 2561) มีความ
หนาแน่นประชากร ประมาณ 113.46 คนต่อ ตร.กม.
(2) สภาพทางเศรษฐกิจ
ประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลหนองธง ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เป็น
หลัก รองลงมามีอาชีพรับจ้างทางการเกษตร อาชีพค้าขาย รับจ้างทั่วไป และรับราชการบ้างเล็กน้อย อาชีพทาง
การเกษตรที่สาคัญ คือการทาสวนยางพารา ทานา ทาสวนผลไม้ และพืชไร่ ประเภทของพืชท่ีปลูก ได้แก่
ยางพารา ปาล์ม (เล็กน้อย) และผลไม้ เช่น สละ ทุเรียบ มังคุด เป็นต้น มีการประกอบอาชีพการค้าขายภายใน
หมู่บ้าน เช่น ร้านขายของชา รา้ นซอ่ มรถ โรงสีขา้ ว รา้ นตัดผม ร้านเสริมสวย เปน็ ต้น
(3) การศึกษา
ในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลหนองธง มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จานวน 5 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็ก
เล็กบ้านเหมืองตะก่ัว ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองธง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหลักสิบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้าน
ทุ่งค่าย และศูนยอ์ บรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจามัสยิดบา้ นหนองธง
มีโรงเรียนระดับประถมศึกษา จานวน 3 โรงเรียน คือ โรงเรียนบ้านเหมืองตะก่ัว (ขยายโอกาส
การศึกษา) หมู่ที่ 1 บ้านเหมืองตะกั่ว โรงเรียนบ้านหนองธง (ขยายโอกาสการศึกษา) หมู่ที่ 2 บ้านหนองธง และ
โรงเรยี นมิตรมวลชน 1 หมู่ท่ี 6 บา้ นเขาจันทร์
มีโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา จานวน 3 แห่ง คือ โรงเรียนนูรุลอิสลามหนองธง หมู่ที่ 2 บ้านหนองธง
โรงเรยี นภักดีอนุสรณ์ หมู่ที่ 2 บา้ นหนองธง และโรงเรียนอะมาดิยะห์ หมทู่ ่ี 6 บ้านเขาจันทร์
(4) การนับถือศาสนา
ประชากร ส่วนใหญ่ ประมาณร้อยละ 60 นับถือศาสนาพุทธ รองลงมา ร้อยละ 40 นับถือ
ศาสนาอิสลาม ร้อยละ 40 ศาสนสถาน มีวัด จานวน 1 แห่ง คือ วัดหลักสิบ มัสยิด จานวน 7 แห่ง ต้ังอยู่
หม่ทู ่ี 1,2 และ 6 มบี าลาเสาะฮ์ จานวน 2 แหง่ ต้ังอยหู่ มทู่ ่ี 1 และ 2
(5) การสาธารณสุข
โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลหนองธง 1 แห่ง ตั้งอยู่ทห่ี มทู่ ี่ 2 และมศี ูนยส์ าธารณสุขมลู ฐาน
ชมุ ชนในทุกหมูบ่ ้าน
(6) ความปลอดภัยในชีวิตและทรพั ย์สนิ
มีปอ้ มสายตรวจตารวจ 1 แห่ง ต้งั อยู่หมู่ท่ี 1 และชดุ รกั ษาความปลอดภยั หม่บู ้านทกุ หมูบ่ า้ น
(7) การบริการดา้ นพ้ืนฐาน
บริษัท เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จา้ กัด 2-12 รายงานความก้าวหน้า
บริษัท เอน็ รชิ คอนซลั แตนท์ จา้ กดั (Progress Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสิง่ แวดล้อมเบ้ืองตน้ อา่ งเกบ็ น้าเหมืองตะก่ัว บทที่ 2
อนั เน่อื งมาจากพระราชด้าริ จังหวดั พัทลุง การศึกษาทบทวนความเหมาะสม
การคมนาคม มีทางหลวงชนบท หมายเลข 4122 บ้านป่าบอน – โล๊ะจังกระ ส่วนเส้นทาง
คมนาคมทใ่ี ชส้ ัญจรภายในหมบู่ า้ นหรอื ระหว่างหมู่บา้ น ส่วนใหญ่จะเปน็ ถนนลกู รังและหินคลุก จะมีบางหมู่บ้านท่ี
ไดม้ กี ารก่อสร้างถนนคอนกรตี ภายในหมู่บ้าน
การโทรคมนาคมสื่อสาร มีการให้บริการโทรคมนาคมส่ือสาร แต่ยังไม่ครอบคลุมพื้นที่ท้ังหมด
ของตาบล มหี อกระจายขา่ วประจาหมู่บา้ น จานวน 9 หมบู่ า้ น
การไฟฟ้า มีการให้บริการไฟฟ้าครัวเรือนครอบคลุมเกือบทั้งตาบล จะมีบางครัวเรือนที่ยังไม่มี
ไฟฟา้ ใช้สาหรับการอุปโภคบรโิ ภค แตไ่ ด้ดาเนินการประสานงานกับสานกั งานการไฟฟ้าเพอื่ ดาเนินการแก้ไขต่อไป
และนอกจากน้ียังไดม้ กี ารขยายเขตไฟฟ้าสาธารณะ (ไฟสอ่ งสว่าง) ครอบคลมุ ทกุ หมู่บา้ น
การประปา มีการให้บริการประปาหมู่บ้าน มีถังกักเก็บน้าประจาหมู่บ้านทุกหมู่บ้าน ประปา
ภเู ขา ได้ใชป้ ระโยชน์
แหลง่ นา มีสระน้า รพช. 1 แห่ง ต้งั อยหู่ มู่ท่ี 6 บา้ นเขาจันทร์
(8) การรวมกลุ่มของประชาชน
กลุ่มออมทรัพย์ 11 กลมุ่ ได้แก่
1. กลุ่มสจั จะออมทรัพย์ หมทู่ ี่ 1
2. กลุ่มสจั จะออมทรพั ย์ หม่ทู ่ี 2
3. กลุม่ ออมทรัพย์ หม่ทู ่ี 3
4. กลมุ่ ออมทรพั ย์ หมทู่ ี่ 4
5. กล่มุ ออมทรัพย์บา้ นกอยออก หม่ทู ี่ 4
6. กลุม่ ออมทรพั ย์ ห้วยไทร หมทู่ ่ี 5
7. กลุ่มออมทรัพยห์ ลักสิบ หมูท่ ่ี 5
8. กลุ่มออมทรพั ย์ เพ่ือการผลติ หม่ทู ่ี 6
9. กลมุ่ ออมทรัพย์แมบ่ ้านเกษตร หม่ทู ่ี 8
10. กลมุ่ ออมทรพั ย์ เพ่อื การผลติ สายกลาง หม่ทู ่ี 9
11. กลมุ่ ออมทรัพย์สหกรณก์ ารค้าในกอย หมทู่ ี่ 9
กลุ่มอาชีพ จานวน 6 กลมุ่
1. กลุ่มไม้ผล ตาบลหนองธง
2. กลุ่มนวดแผนโบราณ สถานอี นามยั หนองธง
3. กลุ่มแม่บ้าน
4. กลุม่ เลย้ี งแพะ
5. กลุ่มจักรสาน
6. กลุม่ เยาวชน เคร่ืองหนังและบาตกิ
7. กลุ่มประยุกตศ์ ิลป์
บริษัท เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จา้ กัด 2-13 รายงานความก้าวหน้า
บริษัท เอ็นริช คอนซลั แตนท์ จ้ากดั (Progress Report)
โครงการศึกษาผลกระทบสิง่ แวดลอ้ มเบอ้ื งต้น อา่ งเกบ็ น้าเหมืองตะกั่ว บทท่ี 2
อนั เนื่องมาจากพระราชด้าริ จงั หวัดพัทลุง การศกึ ษาทบทวนความเหมาะสม
กองทุนหมบู่ ้าน 8 กลุ่ม
1. กลุ่มกองทุนหมู่บา้ นเหมืองตะก่วั หมทู่ ่ี 1
2. กลุ่มกองทุนหมู่บ้านหนองธง หมู่ที่ 2
3. กล่มุ กองทุนหม่บู า้ นทงุ่ คา่ ย หมทู่ ่ี 3
4. กลมุ่ กองทนุ หมบู่ ้านทุ่งลานชา้ ง หมู่ท่ี 4
5. กลมุ่ กองทุนหมบู่ ้านหลักสิบ หมทู่ ี่ 5
6. กลมุ่ กองทนุ หมู่บา้ นเขาจนั ทร์ หมทู่ ่ี 6
7. กลมุ่ กองทนุ หมบู่ า้ นหอยโข่ง หมทู่ ่ี 8
8. กลมุ่ กองทนุ หมู่บ้านสายกลาง หมทู่ ี่ 9
2) เทศบาลตาบลคลองใหญ่
(1) เขตการปกครองและประชากร
เทศบาลตาบลคลองใหญ่ อาเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง มีเน้ือท่ีโดยประมาณ 51.52 ตร.กม.
หรอื ประมาณ 32,200 ไร่ แบ่งการปกครองออกเป็น 10 หมบู่ า้ น หมู่บ้านในเขตเทศบาลฯ เต็มท้ังหมบู่ า้ น จานวน
7 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 3,4,5,6,7,8 และ 10 และหมูบ่ ้านในเขตเทศบาลฯ บางส่วน 3 หมู่ ไดแ้ ก่ หมู่ท่ี 1,2 และ 9
มีประชากรรวม 6,672 คน เป็นเพศชาย จานวน 3,326 คน และเพศหญิง จานวน 3,346 คน มีความหนาแน่น
ประชากร ประมาณ 113.46 คนต่อ ตร.กม. (ธันวาคม 2561)
(2) สภาพทางเศรษฐกจิ
สภาพทั่วไปของเทศบาลตาบลคลองใหญ่ เหมาะแก่การประกอบอาชีพทางการเกษตรพ้ืนทเ่ี ป็น
เนินสูง และราบลุ่มในบางพื้นที่ ราษฎรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการทาสวนยางพารา ทานา สวนผลไม้ และปศุสัตว์
หน่วยธุรกิจในเขตเทศบาลฯ ได้แก่ ป๊ัมน้ามันและก๊าซ 4 แห่ง โรงสี 5 แห่ง โรงเลื่อย 2 แห่ง และโรงอบยางแผ่น
8 แหง่
(3) การศึกษา
ในเขตเทศบาลตาบลคลองใหญ่ มีโรงเรียนประถมศึกษา จานวน 4 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนบ้าน
คลองใหญ่ ต้ังอยู่ในหมู่ที่ 1 โรงเรียนทุ่งหนองสิบบาท ต้ังอยู่ในหมู่ที่ 6 โรงเรียนบ้านพรุนายขาว ต้ังอยู่ในหมู่ท่ี 7
และโรงเรียนบ้านทา่ เชยี ด ต้งั อย่ใู นหม่ทู ี่ 10 และมีศูนย์พฒั นาเด็กเล็ก มี 4 แหง่ (หมูท่ ี่ 1,3,4 และ 6)
(4) สถาบันและองคก์ รศาสนา
ในเขตเทศบาลตาบลคลองใหญ่
วัด จานวน 1 แห่ง ไดแ้ ก่ วดั พรุนายขาว ตัง้ อยู่หมทู่ ่ี 6
สานักสงฆ์ จานวน 2 แห่ง ได้แก่ สานักสงฆ์ต้นข้ีกวาง ตั้งอยู่หมู่ท่ี 6 และสานักสงฆ์ทุ่ง
หนองสบิ บาท ต้งั อยหู่ มู่ที่ 6
มัสยดิ มีจานวน 5 แหง่
- มัสยดิ นุรุลฮดู ้าห์ ตัง้ อยู่หมู่ท่ี 3
บริษทั เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จา้ กัด 2-14 รายงานความก้าวหน้า
บริษทั เอ็นรชิ คอนซลั แตนท์ จ้ากดั (Progress Report)
โครงการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดล้อมเบื้องต้น อา่ งเกบ็ น้าเหมืองตะกั่ว บทท่ี 2
อันเนอ่ื งมาจากพระราชด้าริ จงั หวัดพัทลงุ การศกึ ษาทบทวนความเหมาะสม
- มสั ยิดมฮู ายรี นี ตงั้ อยหู่ มทู่ ี่ 3
- มัสยิดโหละ๊ บา้ ตั้งอยู่หมูท่ ่ี 4
- มัสยดิ ยามีอุสสอละฮ์ ตงั้ อยู่หมทู่ ่ี 5
- มสั ยิดดารุลมาอารฟี ตงั้ อยู่หมู่ที่ 9
และบาลาเซาะฮ์ (บา้ นโหล๊ะบ้า) ตงั้ อยู่หมู่ที่ 4
(5) การสาธารณสุข
มโี รงพยาบาลสง่ เสรอมสุขภาพของตาบล 5 แหง่ ต้ังอย่หู มู่ท่ี 1,4,7,8 และ 10)
(6) ความปลอดภยั ในชีวิตและทรัพยส์ นิ
มปี ้อมสายตรวจ 2 แห่ง
(7) การบริการพื้นฐาน
การคมนาคม
การคมนาคมในเขตเทศบาลตาาบลคลองใหญ่ มกี ารคมนาคมทางบก ซ่งึ มีถนนสายสาคญั ที่ตัดผ่าน
คือ ทางหลวงจังหวัดหมายเลข 4122 (สายป่าบอน–คลองหมวย) เป็นถนนลาดยางสภาพถนนอย่างดี แยกจาก
ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 ที่หมู่ 7 บ้านหนองนก ตาบลหนองธง อาเภอป่าบอน ไปทางทิศตะวันตกเฉียง
เหนือสามารถคมนาคมติดต่อกับองค์การบริหารส่วนตาบลหนองธง อาเภอป่าบอน และเทศบาลตาบลตะโหมด
ถนนสายหลักอีกสาย คือ ถนนหมายเลข 4025 (สายแม่ขรี – บ้านท่าเชียด) เป็นถนนลาดยาง สภาพดี ระยะทาง
ประมาณ 13 กิโลเมตร และถนนภายในเขตเทศบาลตาบล มีประมาณ 34 สาย เป็นถนนลาดยาง 7 สาย ส่วนที่
เหลือเป็นถนนลูกรงั มีทง้ั สภาพใช้การได้ดแี ละทตี่ อ้ งปรบั ปรงุ ซ่อมแซม
การโทรคมนาคม หอกระจายขา่ วหมบู่ ้าน มี 9 แห่ง (หมู่ท่ี 1,3,4,5,6,7,8,9 และ 10)
แหลง่ นาธรรมชาติ
- คลองท่าเชียด หมทู่ ี่ 10
- คลองเหมืองตะกั่ว หมู่ที่ 5
- คลองวงั คราม หมูท่ ี่ 4
- คลองคลองใหญ่ หมูท่ ่ี 1
- หว้ ย 22 แห่ง ในทุกหมูบ่ ้าน
แหล่งนา้ าทีส่ รา้ งขึ้น
- ฝาย 15 แห่ง ได้แก่ หมู่ท่ี 2, 4 และ 5 หมู่บ้านละ 1 แห่ง หมู่ที่ 6, 7, 8 และ 10 หมู่บ้านละ 3 แห่ง
บอ่ น้าตน้ื 5 แหง่ บอ่ โยก 8 แหง่ และ บ่อบาดาล 10 แห่ง
(8) ศกั ยภาพของชุมชนและพ้นื ท่ี
การรวมกลุ่มของประชาชน มีกลุ่มอาชีพ 27 กลุ่ม กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 6 กลุ่ม และ
กองทุนหมู่บ้าน 10 กลมุ่
บรษิ ทั เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จ้ากัด 2-15 รายงานความก้าวหน้า
บริษัท เอน็ ริช คอนซัลแตนท์ จา้ กดั (Progress Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบส่งิ แวดลอ้ มเบ้อื งตน้ อา่ งเก็บน้าเหมืองตะก่ัว บทที่ 2
อนั เนอ่ื งมาจากพระราชด้าริ จงั หวัดพทั ลงุ การศึกษาทบทวนความเหมาะสม
2.3.6 การศกึ ษาดา้ นการชดเชยทด่ี ินและทรัพยส์ นิ
(ผ้เู ชี่ยวชาญด้านชดเชยทรัพยส์ นิ : นายสมพร จลุ สุทธ)ิ
การศกึ ษาด้านการชดเชยท่ีดนิ และทรัพย์สินมีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื สารวจทรัพย์สิน และจานวนผู้ท่ีได้รับผลกระทบ
ทท่ี ากนิ ในบริเวณพื้นที่องค์ประกอบโครงการ เพ่อื ประมาณการมูลคา่ ของทรัพยส์ ินที่ต้องทาการชดเชย ขนย้าย ทดแทน
หรอื รื้อย้าย ตลอดจนความยินยอมและความคิดเห็นของผู้ได้รับผลกระทบจากการพัฒนาโครงการ ในการศกึ ษาใชข้ ้อมูล
ทุติยภูมิ และข้อมูลปฐมภูมิต่างๆ มาประกอบ โดยใช้หลักเกณฑ์ และกรอบของกฎหมาย มาตรฐานการคิดราคา
ค่าชดเชย ขนย้าย ทดแทน หรือค่าร้ือย้ายจากหน่วยงานของรัฐ และความต้องการของราษฎรท่ีได้รับผลกระทบมา
ประกอบในการกาหนดคา่ ชดเชย ขนยา้ ย ทดแทน หรือค่าร้ือย้ายทรัพยส์ ิน
โดยจาแนกการสารวจออกเปน็ การสารวจทรพั ย์สิน เชน่ ท่ดี นิ สิ่งปลกู สรา้ ง พชื ผลและไม้ยืนตน้ และการสารวจ
ทัศนคติของราษฎรที่ได้รับผลกระทบโดยใช้แบบสอบถามด้านชดเชยทรัพย์สิน ซ่ึงข้อมูลที่สารวจสอบถามรายละเอียด
แบง่ เปน็ ข้อมูลทว่ั ไปของผู้ให้สมั ภาษณ์ ข้อมูลท่ัวไปด้านเศรษฐกิจ ข้อมลู การรบั รแู้ ละทัศนคติทมี่ ีตอ่ โครงการ และความ
คิดเห็นท่มี ตี อ่ การชดเชยทรัพย์สิน เปน็ ตน้
(1) ความก้าวหนา้ ของการศึกษา
ดาเนินการรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิและข้อมูลปฐมภูมิด้านการชดเชย หรือขนย้ายท่ีดินและทรัพย์สินเพ่ือนา
ขอ้ มูลมาประกอบในการศกึ ษาดงั น้ี
1) การรวบรวมขอ้ มูลปจั จุบนั
ในการศึกษาได้ดาเนินการรวบรวมข้อมูลด้านต่างๆ ที่เป็นปัจจุบัน เพ่ือนามาร่วมพิจารณาประกอบ
การศึกษาเพื่อให้ผลการศึกษาออกมาถูกต้องและครบถ้วน โดยทาการรวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานราชการใน
กรงุ เทพมหานคร และขอ้ มลู จากหนว่ ยงานราชการทอ่ี ยู่ในบรเิ วณพน้ื ที่โครงการ
2) แผนการดาเนนิ งานในขันถดั ไป
วางแผนและดาเนินการสารวจภาคสนามในช่วงเดือน กุมภาพันธ์ 2563 เพ่ือนาข้อมูลต่างๆ มา
วิเคราะห์และประเมินค่าชดเชย หรือค่าขนย้ายท่ีดินและทรัพย์สินของโครงการ โดยมีข้ันตอนการดาเนินการ
ประกอบดว้ ย
1. การชดเชย หรือขนย้ายทด่ี นิ
ก. ทาการสารวจท่ีดิน การถือครองกรรมสิทธิ์ท่ีดิน เอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ในพื้นท่ีองค์ประกอบ
ตา่ งๆ ของโครงการ เช่น พ้นื ทหี่ วั งาน พ้นื ท่ีอา่ งเก็บนา้ และพื้นท่ีองคป์ ระกอบอ่นื ๆ ของโครงการ
ข. สารวจรายละเอียดการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการชดเชยทรัพย์สิน และขอบเขตพ้ืนท่ีในการ
ชดเชยทรัพยส์ นิ
ค. สารวจรายละเอียดเก่ียวกับค่าพัฒนาที่ดิน ราคาซ้ือขายท่ีดินตามราคาท้องตลาดทั่วไป และ
ราคาที่ดินที่เจา้ ของท่ดี ินต้องการ หรือราคาค่าชดเชย หรือค่าขนย้ายที่ดินที่ราษฎรต้องการ (ทัศนคติของราษฎรจากการ
ทาแบบสอบถามผู้ท่ีได้รับผลกระทบ 100 เปอร์เซ็นต์) เพื่อนามาประเมินค่าชดเชย หรือค่าขนย้ายท่ีดินที่เหมาะสมเพ่ือ
จ่ายค่าชดเชย หรือคา่ ขนย้ายทดี่ นิ ใหก้ ับผทู้ ่ีได้รับผลกระทบด้วยความเป็นธรรมท้ังสองฝ่ายระหวา่ งหนว่ ยงานของรัฐ และ
ราษฎรเจ้าของพืน้ ท่ีทีจ่ ะตอ้ งโยกย้ายออกจากทดี่ ินทากนิ
บรษิ ทั เอช ทู โอ คอนซัลท์ จา้ กัด 2-16 รายงานความก้าวหน้า
บริษัท เอน็ ริช คอนซลั แตนท์ จา้ กัด (Progress Report)
โครงการศึกษาผลกระทบสิง่ แวดลอ้ มเบ้ืองต้น อ่างเก็บนา้ เหมืองตะกั่ว บทที่ 2
อนั เนือ่ งมาจากพระราชดา้ ริ จงั หวดั พัทลุง การศกึ ษาทบทวนความเหมาะสม
2. การทดแทน หรอื รื้อยา้ ยสิ่งปลกู สรา้ ง
ก. สารวจประเภทสิ่งปลูกสร้างของราษฎรทั้งหมด 100 เปอร์เซ็นต์ ในบริเวณพ้ืนท่ีหัวงาน พ้ืนที่
อ่างเกบ็ นา้ และพ้นื ท่ีองคป์ ระกอบโครงการอื่นๆ (ถา้ ม)ี โดยประสานงานกบั ผนู้ าชุมชน และหรอื ราษฎรทีไ่ ด้รับผลกระทบ
ข. กาหนดกลุ่มประเภทสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ของราษฎร และหน่วยงานของรัฐที่อยู่ในบริเวณพ้ืนท่ี
ศกึ ษาของโครงการ โดยพิจารณาจากขนาด รูปแบบ และวัสดุก่อสร้างตามลักษณะแบบมาตรฐานการกาหนดค่ารื้อย้าย
อาคารบ้านเรือนและส่ิงปลูกสร้างของสานักออกแบบวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม กลุ่มงานออกแบบสถาปัตยกรรม
กรมชลประทาน และรูปแบบตามบัญชีกาหนดราคาประเมินทุนทรัพย์โรงเรือนสิ่งปลูกสร้างในการจดทะเบียนสิทธิและ
นิติกรรมเกย่ี วกบั อสงั หารมิ ทรพั ย์ ในรอบปี พ.ศ.2563–2566 ของกรมธนารกั ษ์ กระทรวงการคลงั
ค. คัดเลือกประเภทส่ิงปลูกสร้างด้วยการถ่ายรูปนามาถอดแบบและจาแนกวัสดุก่อสร้างเพื่อ
ประเมินราคาส่ิงปลูกสรา้ งในบริเวณพื้นที่ศึกษา
3. การทดแทน หรือรอ้ื ย้ายพืชผลและไม้ยืนตน้
ก. สารวจชนิด และแหล่งพน้ื ท่ีเพาะปลูกพืชผลและไม้ยืนต้นต่างๆ ที่มกี ารเพาะปลูกกันมาก หรือ
พืชเศรษฐกิจหลักในบริเวณพน้ื ทศี่ ึกษา โดยพจิ ารณาจากการใช้ประโยชนท์ ่ดี นิ เพอ่ื การเพาะปลกู
ข. สารวจรายละเอียดเก่ียวกับต้นทุนการปลูกพืชหลัก และมูลค่าราคาพืชผล และไม้ยืนต้นตาม
ราคาทั่วไปในท้องถิน่
ค. กาหนดประเภทพืชผลและไม้ยืนต้นที่ต้องทดแทนหรือร้ือย้าย โดยอาศัยหลักเกณฑ์พิจารณา
จ่ายค่าทดแทนพืชผลและไม้ยืนต้นเท่าน้ัน ส่วนธัญพืชและไม้ล้มลุกจะพิจารณาจ่ายเฉพาะกรณีจาเป็นต้องใช้พ้ืนท่ีหรือ
แปลงท่ีดินอยา่ งเรง่ ด่วนจนทาให้ไม่สามารถเก็บเก่ียวผลผลติ ทนั กอ่ นเร่ิมดาเนนิ ก่อสร้างโครงการ
4. สารวจสภาพเศรษฐกิจสังคม และความคิดเห็นของครัวเรือนราษฎรที่ได้รับผลกระทบจากการ
ชดเชย หรือขนยา้ ยที่ดินและทรพั ย์สินในพื้นที่ศึกษาที่คาดว่าอาจจะได้รับผลกระทบ ซึ่งจะดาเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มูล
ด้วยแบบสอบถามกับหัวหน้าครัวเรือนหรือตัวแทนครัวเรือนราษฎรที่อาศัยหรือมีที่ทากินและทรัพย์สินได้รับผลกระทบ
จากการพัฒนาโครงการ
ทั้งน้ี จะเก็บรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับรายละเอียดสภาพเศรษฐกิจและสังคมท่ัวไป การตั้งถิ่นฐาน
รปู แบบการและค่าทดแทนที่ต้องการขายให้กับโครงการ ราคาซือ้ ขายที่ดนิ ตามราคาท้องตลาดท่ัวไป รปู แบบการชดเชย
หรอื รอื้ ย้ายทรพั ยส์ ิน ความคิดเหน็ ต่อโครงการ โดยอาศยั ความตอ้ งการของผ้ไู ดร้ บั ผลกระทบและความเหมาะสมทางการ
ปฏบิ ตั เิ ป็นหลัก
บริษทั เอช ทู โอ คอนซัลท์ จา้ กัด 2-17 รายงานความก้าวหน้า
บริษทั เอ็นรชิ คอนซลั แตนท์ จา้ กดั (Progress Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบส่งิ แวดล้อมเบ้อื งตน้ อ่างเก็บน้าเหมอื งตะกั่ว บทท่ี 2
อันเน่อื งมาจากพระราชดา้ ริ จังหวดั พทั ลงุ การศึกษาทบทวนความเหมาะสม
2.4 การศกึ ษาทบทวนทางเลือกในการพัฒนาโครงการ
สภาพภูมิประเทศโดยท่ัวไปบริเวณด้านต้นน้าของโครงการมีลักษณะเป็นที่ราบค่อนข้างสูงเป็นลูกคล่ืน
ทิศตะวันตกเป็นเขตเทือกเขาบรรทัด บริเวณพื้นท่ีตอนกลางของพ้ืนท่ีเป็นที่ราบริมคลองเหมืองตะก่ัว ซ่ึงเป็นพื้นท่ี
เพาะปลูกและท่ีอยู่อาศัยของราษฏร โดยมีแหล่งน้าธรรมชาติท่ีสาคญั ได้แก่ คลองเหมืองตะก่ัว คลองยวน คลองบังพรวน
เป็นตน้ ทิศทางการลาดเทหลักของพื้นลาดเทจากทิศใต้ไปทางทศิ เหนอื ทอดยาวไปตามคลองเหมืองตะก่ัว
พื้นที่รับประโยชน์โครงการครอบคลุม 3 ตาบลได้แก่ พื้นที่ตาบลหนองธง อาเภอป่าบอน ตาบลคลองใหญ่
ตาบลแมข่ รี อาเภอตะโหมด ปัจจุบนั เกษตรกรนิยมปลกู ไม้ผลเศรษฐกจิ ที่สาคญั ได้แกส่ ละและมังคุด ในฤดแู ลง้ และในช่วง
ท่ีฝนทงิ้ ชว่ งมปี ญั หาขาดแคลนนา้ เนื่องจากไมม่ ีแหลง่ น้ากักเก็บน้าทพ่ี อเพยี ง
2.4.1 แนวทางเลือกในการพฒั นาโครงการ
แนวทางเลือกการพัฒนาเพ่ือแก้ไขปัญหาดังกล่าว ได้แก่ การปรับปรุงเหมืองฝายและระบบกระจายน้า
ทางเลือกการพัฒนาแหล่งน้าในรูปแบบอา่ งเก็บน้า หรอื ทางเลอื กการพัฒนาสระเก็กกกั นา้ รายละเอียดแต่ละทางเลือกมี
ดงั ตอ่ ไปนี้
1) ทางเลือกที่ 1 การพฒั นาโครงการโดยการปรับปรงุ ฝายเดมิ และกอ่ สรา้ งฝายทดนาเพม่ิ เตมิ
พ้ืนที่ศึกษาในส่วนพื้นที่รับประโยชน์อยู่ในเขตของ พ้ืนที่ตาบลหนองธง อาเภอป่าบอน ตาบลคลองใหญ่
ตาบลแม่ขรี อาเภอตะโหมด แนวทางในการพฒั นาแหลง่ น้าดว้ ยการปรับปรุงระบบเหมืองฝาย จะพิจารณาให้ครอบคลุม
พื้นท่ีรับประโยชน์โดยการปรับปรุ งฝายที่มีอยู่เดิมให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นและเสนอแนะก่อสร้างฝายน้าล้ นแห่งใหม่
เพมิ่ เตมิ ตามรายละเอียดดังน้ี
(1) ปรับปรุงฝายทดน้าคลองท่ายูง จานวน 1 แหง่
(2) ปรับปรุงฝายทดนา้ คลองบ้านใหม่ จานวน 1 แห่ง
(3) กอ่ สร้างฝายทดน้าแห่งใหม่ จานวน 4 แหง่
การปรับปรุงฝายเดิมและก่อสร้างฝายตามลาน้ารวม 6 แห่ง ซ่ึงมีความกว้างเฉลี่ย 15 เมตร ลึกประมาณ
3.00 เมตร รูปแบบตัวฝายเป็นฝายคอนกรีต สูง 2.00 เมตร ความจุเก็บกักน้าของฝายเก็บกักได้ประมาณ 0.34 ล้าน ลบ.ม ได้
แสดงผงั การปรับปรุงและกอ่ สร้างฝายในรูปท่ี 2.4.1-1 โดยสามารถส่งน้าให้แก่พืน้ ทรี่ ับประโยชน์ 6,188 ไร่ คดิ เป็นพนื้ ที่
ชลประทาน 3,800 ไรใ่ นฤดูฝน โดยได้แสดงรปู ตัดตามยาว แนวทางการพัฒนาฝายบริเวณคลองเหมอื งตะกัว่ ดังแสดงใน
รูปที่ 2.4.1-2
บรษิ ทั เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จา้ กัด 2-18 รายงานความก้าวหน้า
บริษทั เอน็ ริช คอนซัลแตนท์ จ้ากดั (Progress Report)
โครงการศึกษาผลกระทบสิง่ แวดลอ้ มเบื้องตน้ อา่ งเกบ็ น้าเหมอื งตะก่วั บทท่ี 2
อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ จงั หวดั พัทลงุ การศึกษาทบทวนความเหมาะสม
รปู ที่ 2.4.1-1 ทางเลือกในการพฒั นาโครงการ ทางเลือกท่ี 1 ปรับปรุงฝายเดิมและก่อสรา้ งฝายทดนาเพิ่มเตมิ
บรษิ ัท เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จ้ากัด 2-19 รายงานความก้าวหน้า
บริษทั เอน็ ริช คอนซลั แตนท์ จ้ากดั (Progress Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสง่ิ แวดล้อมเบ้ืองต้น อ่างเก็บนา้ เหมอื งตะกั่ว
อนั เน่อื งมาจากพระราชดา้ ริ จังหวดั พัทลงุ
120 อ่างเกบ็ นาเหมอื งตะกัว่
รนก. 114
115
110
105
Elev. (mSL)100
ฝายทดนา ร.ร.เหมืองตะ ั่กว95
ฝายทดนาคลองท่า ูยง
ฝายทดนา ้บานเกาะ ูยง90
ฝายทดนา ้บานใหม่
85
80
75
70
65
60
55
50
45
40
35
30
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
บรษิ ัท เอช ทู โอ คอนซัลท์ จา้ กัด รปู ที่ 2.4.1-2 รูปตัดตามยาว แนวทางการพ
บริษัท เอน็ ริช คอนซลั แตนท์ จา้ กดั 2-20
บทที่ 2
การศกึ ษาทบทวนความเหมาะสม
ฝายทดน้า ความจุหน้าฝายทดน้า
(ลบ.ม.)
ฝายทดน้าบา้ นเหมืองตะกว่ั 21,000
ฝายทดน้าคลองทา่ ยูง 14,625
ฝายทดนา้ บา้ นเกาะยูง 21,375
ฝายทดนา้ บา้ นใหม่ 33,750
ฝายทดน้าคลองบ้านใหม่ 42,750
ฝายทดน้าบา้ นสายคลอง 90,000
ฝายทดนา้ บา้ นคลองใหญ่ 125,775
349,275
ฝายทดนาคลอง ้บานใหม่
ฝายทดนา ้บานสายคลอง
13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25
สญั ลกั ษณ์ อา่ งเกบ็ น้า
ฝายทดน้าเดมิ ปรบั ปรงุ
พฒั นาฝายบรเิ วณลานา คลองเหมอื งตะก่วั ฝายทดนา้ กอ่ สร้างใหม่
รายงานความก้าวหน้า
(Progress Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบอื้ งต้น อ่างเก็บนา้ เหมอื งตะก่วั บทที่ 2
อนั เนื่องมาจากพระราชดา้ ริ จังหวดั พัทลุง การศึกษาทบทวนความเหมาะสม
2) ทางเลอื กที่ 2 ทางเลือกการพฒั นาโครงการโดยโครงการประเภทสระเกบ็ นา
สระเก็บน้าคือ แหล่งเก็กกัก น้าฝน น้าท่า น้านอง หรือน้าใต้ดิน โดยการขุดดินให้เป็นสระมีขนาด
ความยาว ความกว้าง และความลึกของสระตามปริมาณน้าท่ีตอ้ งการเกบ็ กักไวใ้ ชแ้ ละนาดินท่ขี ุดมาถมเป็นคนั รอบสระ
เพื่อทาเป็น Farm Pond สระเก็บน้าโดยส่วนใหญ่มีขนาดความจุน้อยจึงเหมาะท่ีจะก่อสร้างในพี่นท่ีที่ไม่สามารถ
ก่อสร้างงานกักเก็บน้าประเภทอ่ืนได้ ในพ้ืนที่ซ่ึงมีล้าน้าธรรมชาติหรือสภาพภูมิประเทศไม่อานวยให้ทาการก่อสร้าง
อ่างเก็บน้า ตลอดจนไม่มีหนองและบึงที่จะขุดลอกเพื่อเก็กกักน้าเพ่ิมเติม ในพื้นที่รับประโยชน์ของโครงการปัจจุบัน
หน่วยการส่วนท้องถ่ินได้ดาเนนิ การพัฒนาอยู่แล้ว ซ่ึงโดยปกติสระเก็บน้าที่มีความจไุ ม่มากนัน้ หนว่ ยงานระดบั ท้องถิ่น
หรือเกษตรกรเจ้าของพื้นที่สามารถดาเนินการได้เอง ส่วนการพัฒนาสระเก็บน้าขนาดกลาง หรือให้มีความจุเก็บกัก
มากกว่า 0.5 ล้าน ลบ.ม ขึ้นไปมีข้อจากัดท่ีสาคัญประการหนึ่งคือ ที่ดินเพื่อการก่อสร้างขุดสระเก็บน้า ซ่ึงต้องใช้ท่ีดิน
ไม่น้อยกว่า 80-100 ไร่ จากการศึกษาแผนที่การใช้ท่ีดินเบื้องต้นพบว่าในพ้ืนท่ีรับประโยชน์ของโครงการไม่มี ที่
สาธารณะขนาดใหญ่ (รูปที่ 2.4.1-3) หรือที่ว่างเปล่าพอเพียงต่อการดาเนินการ รวมท้ังจากผลการศึกษาเบ้ืองต้น
พบว่า ปริมาณความต้องการน้าด้านการเกษตรด้านอุปโภคบริโภคในพื้นท่ี รับประโยชน์มี ปริมาณมากกว่า 9 ล้าน ลบ.ม
ทาให้ต้องรวบรวมที่ดินเพื่อการก่อสร้างมากกว่าหนึ่งพันไร่ เพื่อให้สามารถขุดสระเก็บกักน้าได้ความจุที่ต้องการ ดังนั้น
แนวทางในการพัฒนาโครงการประเภทสระเก็บน้าขนาดกลาง จึงไม่มคี วามเหมาะสมในการพัฒนาแหล่งเก็บน้าของพ้ืนที่
รบั ประโยชน์โครงการ
3) ทางเลอื กที่ 3 ทางเลือกการพัฒนาโครงการโดยการกอ่ สร้างอ่างเก็บนาพร้อมปรับปรุงฝายเดมิ
โดยก่อสรา้ งอ่างเก็บน้าเช่นเดียวกับการพัฒนาโครงการทางเลอื กที่ 1 แต่กระจายน้าให้พ้นื ที่รับประโยชน์
ตามแนวสองฝ่ังลาน้าเหมืองตะก่ัวโดยฝายเดิมที่ได้ก่อสร้างไว้แล้ว คือฝายทดน้าคลองท่ายูง และฝายทดน้าคลองบ้านใหม่
พร้อมปรับปรุงฝายทดน้าขา้ งต้นใหส้ ามารถกระจายน้าให้พ้ืนที่รบั ประโยชน์ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ โดยสามารถส่งน้า
ให้พน้ื ท่ีชลประทานฤดูฝน 7,500 ไร่ และฤดูแลง้ ประมาณ 2,000 ไร่ ดังแสดงในรปู ที่ 2.4.1-4
บริษัท เอช ทู โอ คอนซัลท์ จ้ากดั 2-21 รายงานความก้าวหน้า
บรษิ ัท เอน็ รชิ คอนซลั แตนท์ จ้ากดั (Progress Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสง่ิ แวดล้อมเบ้ืองตน้ อา่ งเก็บน้าเหมอื งตะก่วั บทท่ี 2
อนั เน่ืองมาจากพระราชด้าริ จงั หวดั พัทลุง การศึกษาทบทวนความเหมาะสม
รปู ท่ี 2.4.1-3 แผนท่ีแสดง แหลง่ นา สระสาธารณะ ในพืนที่รับประโยชน์
บรษิ ัท เอช ทู โอ คอนซัลท์ จ้ากดั 2-22 รายงานความก้าวหน้า
บรษิ ัท เอ็นรชิ คอนซัลแตนท์ จ้ากดั (Progress Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบส่งิ แวดล้อมเบอ้ื งตน้ อ่างเกบ็ นา้ เหมอื งตะก่ัว บทที่ 2
อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ จงั หวัดพทั ลงุ การศึกษาทบทวนความเหมาะสม
รูปท่ี 2.4.1-4 ทางเลือกการพัฒนาโครงการ ทางเลือกที่ 3 ก่อสร้างอ่างเกบ็ นาพรอ้ มปรบั ปรงุ ฝายเดิม
บรษิ ัท เอช ทู โอ คอนซัลท์ จา้ กัด 2-23 รายงานความก้าวหน้า
บริษัท เอน็ ริช คอนซัลแตนท์ จ้ากัด (Progress Report)
โครงการศึกษาผลกระทบสิง่ แวดลอ้ มเบอ้ื งต้น อ่างเกบ็ น้าเหมืองตะกวั่ บทที่ 2
อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ จงั หวดั พทั ลงุ การศกึ ษาทบทวนความเหมาะสม
ได้ดาเนินการเปรียบเทียบข้อดีข้อเสียของแนวทางเลือกขา้ งต้น โดยได้แสดงในตารางท่ี 2.4.1-1 สรุปได้ว่า
แนวทางเลอื กที่ 3 การพัฒนาโครงการประเภทอ่างเกบ็ น้าพรอ้ มปรับปรุงระบบฝายทดน้าเดิมมีความเหมาะสมมากกว่า
แนวทางเลือกอื่นๆ เน่ืองจากอ่างเก็บน้าสามารถเก็บกักปริมาณน้าได้ตามความจุในปริมาณท่ีมาก และมีความม่ันคง
ยั่งยืนของปริมาณน้า ท่ีจะได้รับการควบคุมการจัดสรรน้าได้อย่างแน่นอน กอร์ปกับมีความต้องการของผู้ใช้น้าและ
เกษตรกรในพ้ืนท่ีให้ดาเนินการส่วนใหญ่อีกทั้งโครงการอ่างเก็บน้าเหมืองตะก่ัว ทางกรมชลประทานยังเคยได้มีการศึกษา
และสารวจออกแบบไว้แล้ว จงึ ถอื วา่ มีความพร้อมมากกว่าโครงการประเภทอน่ื ๆ
ตารางท่ี 2.4.1-1 สรปุ ข้อดีข้อเสยี แนวทางเลือกการพฒั นาแหล่งนาของโครงการ
ประเด็น 1. ปรับปรุงฝายเดิม 2.ปรบั ปรุง/กอ่ สรา้ ง 3.โครงการอา่ งเกบ็ นาร่วมกับ
เปรยี บเทียบ ร่วมกบั กอ่ สรา้ งฝายใหม่ สระเก็บนา ปรบั ปรงุ ฝายนาลน้ เดิม
ความสามารถใน เกบ็ กักน้าได้นอ้ ย (ประมาณ เกบ็ น้าไดน้ ้อย (ประมาณ เกบ็ กักนา้ ได้
10.20 ลา้ น ลบ.ม.
การเกบ็ กกั น้า 0.35 ล้าน.ลบ.ม) 0.10 ล้าน.ลบ.ม)
ความมั่นคงยั่งยืน ไมม่ ีความมั่นคง ไม่มีความมั่นคงเนื่องจาก มีความมน่ั คงยงั่ ยนื กว่า
ของปริมาณนา้ เน่ืองจากเกบ็ กกั นา้ ไดน้ ้อย เกบ็ กักน้าได้นอ้ ย
พ้ืนที่รับประโยชน์ สามารถทดนา้ เข้าสพู่ น้ื ท่ี พ้ืนท่ีรับประโยชน์ ส า ม า ร ถ ท ด น้ า เข้ า สู่ พ้ื น ท่ี
ชลประทาน ไดป้ ระมาณ ได้เพยี งพนื้ ทรี่ อบๆ ชลประทาน ได้ประมาณ 7,500 ไร่
3,800 ไร่ ในฤดฝู นเทา่ น้ัน สระนา้ รวมประมาณ ในฤดูฝน และประมาณ 2,000 ไร่
2,000 ไร่ ในฤดูแลง้
ความต้องการของ มคี วามตอ้ งการรองลงมา มีความตอ้ งการน้อยที่สุด มีความต้องการ
ประชาชนในพ้ืนท่ี มากทีส่ ุด
บริษัท เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จ้ากดั 2-24 รายงานความก้าวหน้า
บรษิ ัท เอ็นรชิ คอนซัลแตนท์ จา้ กดั (Progress Report)
โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอ้ มเบอ้ื งตน้ อ่างเกบ็ น้าเหมอื งตะกว่ั บทท่ี 2
อันเน่อื งมาจากพระราชดา้ ริ จงั หวัดพทั ลุง การศึกษาทบทวนความเหมาะสม
2.4.2 การคัดเลือกท่ีตังหัวงานและความจอุ า่ งเกบ็ นาท่ีเหมาะสม
2.4.2.1 เกณฑ์การจัดลาดบั ความสาคัญในการคัดเลือกทต่ี งั หัวงานและความจอุ า่ งเกบ็ นาทเ่ี หมาะสม
การเปรยี บเทียบที่ตั้งหัวงานและความจุอ่างเก็บน้าที่เหมาะสม ได้พิจารณาปจั จัยที่ส่งผลกระทบท้งั ด้านบวกและ
ด้านลบต่อการพัฒนาโครงการ โดยกลุ่มปัจจัยท่ีสาคัญท่ีจะส่งผลต่อการพัฒนาโครงการ ประกอบด้วย กลุ่มปัจจัย
ด้านวิศวกรรม กลุ่มปัจจัยด้านผลกระทบส่ิงแวดล้อมและสังคม และกลุ่มปัจจัยด้านเศรษฐศาสตร์ โดยมีสัดส่วนของ
คะแนนในแต่ละกลุ่มปัจจยั เทา่ กับ 30:50:20 ตามลาดับ โดยมปี จั จยั และเกณฑก์ ารพิจารณาตัวคูณการให้คะแนน ดงั นี้
ปัจจัย/เกณฑ์การ พิจาร ณาตัวคูณ ตัวคูณ คะแนน
1. ด้านวิศวกร ร ม
1.1 ความจุเก็บกักน้า 1 15
ความจุอ่างฯ มากกว่า 10.00 ลา้ นลูกบาศกเ์ มตร 0.75
ความจุอา่ งฯ 8.00 - 10.00 ล้านลกู บาศก์เมตร 0.5
ความจุอา่ งฯ 6.00 - 8.00 ล้านลกู บาศก์เมตร 0.25
ความจุอ่างฯ น้อยกว่า 6.00 ลา้ นลกู บาศก์เมตร
1.2 อัตร าส่วนปริ มาณน้าเก็บกักต่อปริ มาณน้าไหลลงอ่างฯ 1 15
อตั ราสว่ นมากกวา่ 1.00 0.75
อตั ราส่วนอยู่ระหว่าง 0.81-1.00 0.5
อตั ราสว่ นอยู่ระหวา่ ง 0.60-0.80 0.25
อตั ราส่วนน้อยกวา่ 0.60
- 30
คะแนนรวม
2. ด้านผลกร ะทบสิ่งแวดล้อมและสังคม 1 10
2.1 ผลกร ะทบต่อพืนที่เขตรั กษาพันธ์ุสัตว์ป่า 0.75
สญู เสียพน้ื ทนี่ ้อยกวา่ 10 ไร่ 0.5
สูญเสยี พน้ื ทรี่ ะหวา่ ง 10-20 ไร่ 0.25
สญู เสยี พนื้ ทร่ี ะหว่าง 21-30 ไร่
สญู เสยี พนื้ ทมี่ ากกวา่ 30 ไร่ 1 10
2.2 ผลกร ะทบต่อพืนที่ป่าสงวนแห่งชาติ (ป่า C) 0.75
สูญเสยี พน้ื ทน่ี ้อยกวา่ 100 ไร่ 0.5
สญู เสยี พนื้ ทร่ี ะหวา่ ง 100-150 ไร่ 0.25
สญู เสยี พนื้ ทร่ี ะหวา่ ง 151-200 ไร่
สญู เสียพนื้ ทม่ี ากกวา่ 200 ไร่ 15
2.3 ผลกร ะทบต่อพืนท่ีป่าไม้ อื่นๆ 0.75
สญู เสียพน้ื ทนี่ ้อยกว่า 100 ไร่ 0.5
สูญเสยี พนื้ ทร่ี ะหว่าง 100-150 ไร่ 0.25
สูญเสียพนื้ ทร่ี ะหว่าง 151-200 ไร่
สูญเสียพนื้ ทมี่ ากกวา่ 200 ไร่
บริษัท เอช ทู โอ คอนซัลท์ จา้ กดั 2-25 รายงานความก้าวหน้า
บริษทั เอน็ ริช คอนซลั แตนท์ จ้ากดั (Progress Report)
โครงการศึกษาผลกระทบส่งิ แวดล้อมเบือ้ งตน้ อา่ งเก็บน้าเหมืองตะกัว่ บทท่ี 2
อันเน่ืองมาจากพระราชดา้ ริ จงั หวดั พัทลุง การศึกษาทบทวนความเหมาะสม
ปัจจัย/เกณฑ์การ พิจาร ณาตัวคูณ ตัวคูณ คะแนน
2.4 ผลกร ะทบต่อพืนท่ีท้ากินของร าษฎร
พน้ื ทที่ ้ากินถูกน้าทว่ มน้อยกวา่ 300 ไร่ 1 10
พนื้ ทท่ี ้ากินถูกน้าทว่ มระหว่าง 300 - 600 ไร่ 0.75
พนื้ ทท่ี ้ากินถูกน้าท่วมระหวา่ ง 601 - 900 ไร่ 0.5
พนื้ ทท่ี ้ากินถูกน้าทว่ มมากกวา่ 900 ไร่ 0.25
2.5 ผลกร ะทบต่อจ้านวนครั วเรื อนท่ีถูกน้าท่วม
จ้านวนครัวเรือนไดร้ ับผลกระทบน้อยกว่า 10 15
จ้านวนครัวเรือนไดร้ ับผลกระทบระหวา่ ง 10-15 0.75
จ้านวนครัวเรือนไดร้ ับผลกระทบระหว่าง 16-20 0.5
จ้านวนครัวเรือนไดร้ ับผลกระทบมากกวา่ 20 0.25
2.6 พืนที่รั บปร ะโยชน์
พน้ื ทรี่ ับประโยชน์มากกว่า 7,000 ไร่ 1 10
พนื้ ทรี่ ับประโยชน์อยู่ระหว่าง 5,001 - 7,000 ไร่ 0.75
พนื้ ทรี่ ับประโยชน์อยู่ระหวา่ ง 3,000 - 5,000 ไร่ 0.5
พนื้ ทร่ี ับประโยชน์น้อยกวา่ 3,000 ไร่ 0.25
คะแนนรวม - 50
3. ด้านเศร ษฐศาสตร์
3.1 ค่าลงทุนโคร งการ 18
คา่ ลงทนุ น้อยกวา่ 400 ล้านบาท 0.75
คา่ ลงทุนระหวา่ ง 400 - 700 ลา้ นบาท 0.5
คา่ ลงทนุ ระหว่าง 701 - 800 ลา้ นบาท 0.25
คา่ ลงทุนมากกวา่ 800 ล้านบาท
3.2 ค่าลงทุนต่อปริ มาตร เก็บกัก 1 12
คา่ ลงทนุ น้อยกว่า 100 บาทตอ่ ลบ.ม 0.75
คา่ ลงทนุ ระหวา่ ง 101 - 125 บาทตอ่ ลบ.ม 0.5
คา่ ลงทนุ ระหวา่ ง 126 - 150 บาทตอ่ ลบ.ม 0.25
คา่ ลงทนุ มากกวา่ 150 บาทตอ่ ลบ.ม
- 20
คะแนนรวม
บริษัท เอช ทู โอ คอนซัลท์ จ้ากัด 2-26 รายงานความก้าวหน้า
บรษิ ัท เอน็ รชิ คอนซลั แตนท์ จา้ กดั (Progress Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบอื้ งต้น อ่างเกบ็ นา้ เหมอื งตะกัว่ บทท่ี 2
อันเน่ืองมาจากพระราชด้าริ จงั หวดั พทั ลงุ การศึกษาทบทวนความเหมาะสม
2.4.2.2 การกาหนดทางเลือกทตี่ งั หวั งานอ่างเกบ็ นา
ผลการศึกษาจากรายงานการศึกษาวางโครงการอ่างเก็บน้าเหมืองตะกั่ว โดยกรมชลประทาน (ปี พ.ศ.2552)
กาหนดท่ีต้ังโครงการอยู่ที่บ้านเหมืองตะก่ัว หมู่ท่ี 1 ตาบลหนองธง อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลงุ ในการศึกษาทบทวน
ความเหมาะสมโครงการได้พิจารณาในทุกมิติ ซ่ึงรวมถึงที่ตั้งของหัวงานและขนาดความจุอ่างเก็บน้าท่ีเหมาะสม
โดยทาการเปรยี บเทยี บทางเลือกไว้ 3 ทางเลือก ดังน้ี
1) ทางเลือกท่ี 1ที่ตั้งหัวงานต้ังอยู่ท่ีพิกัดและแผนท่ีชุด L7018 โซน 47P ระวาง 5023 III พิกัด 618,859
E 796,159N ดังรูปที่ 2.4.2-1 ซึ่งจะเก็บกักน้าที่ ระดับเก็บกักปกติ +100.00 ม.รทก. ปริมาตรกักเก็บปกติ
5.51 ลา้ นลูกบาศก์เมตร ดังแสดงในรปู ท่ี 2.4.2-2 (ก) ถึงรปู ที่ 2.4.2-2 (ข)
2) ทางเลือกท่ี 2 (ตาแหน่งที่ต้ังเดิมตามผลการศึกษาจากรายงานการศึกษาวางโครงการอ่างเก็บน้าเหมืองตะก่ัว
โดยกรมชลประทาน ปี พ.ศ.2552) โดยที่ต้ังหัวงานตั้งอยู่ที่บ้านเหมืองตะก่ัว หมู่ที่ 1 ตาบลหนองธง อาเภอป่าบอน
จังหวัดพัทลุง หรือที่พิกัดและแผนท่ีชุด L7018 โซน 47P ระวาง 5023 III พิกัด 618,472E 795,885N ดังรูปท่ี 2.4.2-1
ซึ่งจะเก็บกักน้าที่ระดับเก็บกักปกติ +110.00 ม.รทก. ปริมาตรกักเก็บปกติ 10.14 ล้านลูกบาศก์เมตร ดังแสดงใน
รปู ที่ 2.4.2-3 (ก) ถึงรปู ที่ 2.4.2-3 (ข)
3) ทางเลอื กที่ 3 ท่ีตั้งหัวงานต้ังอยู่ที่พิกัดและแผนที่ชุด L7018 โซน 47P ระวาง 5023 III พิกัด 617,140
E 795,515N ดังรูปท่ี 2.4.2-1 ซ่ึงจะเก็บกักน้าที่ระดับเก็บกักปกติ +200.00 ม.รทก. ปริมาตรกักเก็บปกติ
10.01 ล้านลูกบาศก์เมตร ดังแสดงในรปู ที่ 2.4.2-4 (ก) ถงึ รปู ท่ี 2.4.2-4 (ข)
ข้อมลู ประกอบการพิจารณาได้ ดังแสดงในตารางที่ 2.4.2-1
บรษิ ัท เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จา้ กดั 2-27 รายงานความก้าวหน้า
บรษิ ทั เอ็นริช คอนซลั แตนท์ จา้ กดั (Progress Report)
โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอ้ มเบือ้ งตน้ อา่ งเกบ็ นา้ เหมืองตะก่วั บทที่ 2
อันเนอ่ื งมาจากพระราชดา้ ริ จงั หวดั พทั ลุง การศกึ ษาทบทวนความเหมาะสม
รูปที่ 2.4.2-1 แสดงท่ี ัตง ัหวงาน ่อางเ ็กบนา 3 ทางเ ืลอก
บริษัท เอช ทู โอ คอนซัลท์ จา้ กดั 2-28 รายงานความก้าวหน้า
บรษิ ัท เอ็นริช คอนซลั แตนท์ จา้ กดั (Progress Report)
โครงการศึกษาผลกระทบสงิ่ แวดล้อมเบอ้ื งตน้ อา่ งเก็บน้าเหมืองตะกั่ว บทท่ี 2
อนั เนื่องมาจากพระราชด้าริ จังหวัดพัทลงุ การศกึ ษาทบทวนความเหมาะสม
รปู ท่ี 2.4.2-2 (ก) ท่ตี งั หัวงานอ่างเกบ็ นา ทางเลอื กท่ี 1
รูปท่ี 2.4.2-2 (ข) ที่ตงั หัวงานอา่ งเก็บนา ทางเลือกที่ 1
บรษิ ัท เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จ้ากดั 2-29 รายงานความก้าวหน้า
บริษัท เอน็ รชิ คอนซัลแตนท์ จ้ากัด (Progress Report)
โครงการศึกษาผลกระทบสงิ่ แวดล้อมเบ้ืองตน้ อ่างเก็บน้าเหมืองตะกั่ว บทท่ี 2
อนั เนื่องมาจากพระราชด้าริ จังหวัดพัทลุง การศกึ ษาทบทวนความเหมาะสม
รปู ท่ี 2.4.2-3 (ก) ทต่ี ังหัวงานอ่างเกบ็ นา ทางเลอื กท่ี 2
รูปท่ี 2.4.2-3 (ข) ทตี่ งั หัวงานอา่ งเก็บนา ทางเลือกที่ 2
บรษิ ัท เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จ้ากดั 2-30 รายงานความก้าวหน้า
บริษัท เอน็ รชิ คอนซัลแตนท์ จ้ากัด (Progress Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบส่งิ แวดล้อมเบ้ืองต้น อ่างเก็บน้าเหมืองตะกวั่ บทท่ี 2
อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ จงั หวดั พัทลุง การศึกษาทบทวนความเหมาะสม
รูปที่ 2.4.2-4 (ก) ทตี่ ังหวั งานอา่ งเกบ็ นา ทางเลอื กที่ 3
รปู ท่ี 2.4.2-4 (ข) ท่ตี ังหวั งานอ่างเก็บนา ทางเลือกท่ี 3
บริษัท เอช ทู โอ คอนซัลท์ จ้ากัด 2-31 รายงานความก้าวหน้า
บริษัท เอน็ รชิ คอนซัลแตนท์ จ้ากัด (Progress Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ มเบ้ืองต้น อ่างเก็บน้าเหมอื งตะกวั่ บทที่ 2
อนั เน่อื งมาจากพระราชด้าริ จงั หวดั พัทลุง การศึกษาทบทวนความเหมาะสม
ตารางที่ 2.4.2-1 ขอ้ มูลเปรียบเทยี บทางเลือกที่ตงั หวั งานอา่ งเกบ็ นา
ทางเลอื กท่ี
ลกั ษณะท่ีสา้ คญั ทางเลอื ก 1 ทางเลอื ก 2 ทางเลอื ก 3
+100 ม.รทก. +110 ม.รทก. +200 ม.รทก.
ดา้ นวศิ วกรรม
1. พน้ื ท่ีรบั น้าฝน (ตร.กม.) 20.92 20.27 17.30
2. ปริมาณน้าท่ารายปเี ฉลย่ี ที่ไหลลงอา่ งเกบ็ น้า (ลา้ น ลบ.ม.) 19.15 19.15 19.15
3. ความจุอา่ งเกบ็ น้าท่ีระดบั เกบ็ กกั (ลา้ น ลบ.ม.) 5.51 10.14 10.01
4. ระดบั น้าเกบ็ กกั ปกติ (ม.รทก.) +100.00 +110.00 +200.00
5. ระดบั นา้ สงู สดุ (ม.รทก.) +101.50 +111.65 +201.50
6. ระดบั สนั เข่ือน (ม.รทก.) +104.00 +114.00 +204.00
7. ความยาวสนั เข่ือน (ม.) 590.00 474.00 755.00
8. ความสงู เขื่อนท่ีสงู ที่สดุ (ม.) 34.00 48.00 74.00
9. อตั ราสว่ นความจุเกบ็ กกั ตอ่ ปรมิ าณนา้ ทา่ รายปเี ฉลี่ย 0.29 0.53 0.52
10. พน้ื ท่ีผวิ อา่ งเกบ็ นา้ ที่ระดบั เกบ็ กกั (ตร.กม.) 0.41 0.55 0.31
(ไร่) 255 344 193
11. พน้ื ท่ีผวิ อา่ งเกบ็ นา้ ที่ระดบั น้าสงู สดุ (ตร.กม.) 0.43 0.56 0.32
(ไร่) 269 350 200
ดา้ นผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม
1. ผลกระทบตอ่ พนื้ ท่ีปา่ เพอ่ื การอนุรกั ษ์ (ป่าโซน C) (ไร)่ ไม่มีผลกระทบ 16 186
2. ผลกระทบตอ่ พนื้ ท่ีเขตรกั ษาพนั ธุ์สตั วป์ ่า (ไร)่ 0.44 26 192
3. ผลกระทบตอ่ พน้ื ท่ีป่าไม้ อนื่ ๆ (ไร)่ - - -
4. ผลกระทบตอ่ ชั้นคณุ ภาพลุม่ น้าช้ัน 1 (ไร)่ ไม่มีผลกระทบ ไม่มีผลกระทบ ไม่มีผลกระทบ
ผลการให้คะแนนปัจจัยต่างๆ ในทุกทางเลือกดังแสดงในตารางที่ 2.4.2-2 สรุปได้ว่าทางเลือกที่ 2
มีความเหมาะสมท่ีสุดโดยท่ีตั้งหัวงานต้ังอยู่ท่ีบ้านเหมืองตะก่ัว หมู่ที่ 1 ตาบลหนองธง อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
หรอื ท่พี ิกัดและแผนท่ีชดุ L7018 โซน 47P ระวาง 5023 III พกิ ดั 618,472E 795,885N
บรษิ ัท เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จา้ กดั 2-32 รายงานความก้าวหน้า
บริษัท เอน็ รชิ คอนซัลแตนท์ จา้ กัด (Progress Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสงิ่ แวดล้อมเบ้อื งตน้ อ่างเก็บนา้ เหมอื งตะกัว่ บทที่ 2
อันเน่ืองมาจากพระราชดา้ ริ จงั หวัดพทั ลุง การศึกษาทบทวนความเหมาะสม
ตารางที่ 2.4.2-2 วเิ คราะห์เปรียบเทยี บทางเลอื กที่ตังเขอื่ น
ปัจจัย ทางเลือก 1 ทางเลือก ท่ีตังหัวงาน ทางเลือก 3
ค่า ตัวคูณ คะแนน ทางเลือก 2 ค่า ตัวคูณ คะแนน
1. ด้านวิศวกรรม
1.1 ความจุเก็บกกั น้า ค่า ตัวคูณ คะแนน
1.2 อัตราสว่ นปริมาณน้าเกบ็ กักตอ่ ปริมาณน้าไหลลงอ่างฯ
2. ด้านผลกระทบส่ิงแวดล้อมและสังคม 5.510 0.25 3.75 10.140 1.00 15 10.010 1.00 15
2.1 ผลกระทบตอ่ พน้ื ทเี่ ขตรักษาพนั ธ์ุสตั วป์ ่า 0.288 0.25 3.75 0.530 0.25 4 0.523 0.25 4
2.2 ผลกระทบตอ่ พนื้ ทป่ี ่าสงวนแห่งชาติ (ป่า C)
2.3 ผลกระทบตอ่ พนื้ ทปี่ ่าไม้ 0.25 1 10 164 0.25 3 193 0.25 3
2.4 ผลกระทบตอ่ พนื้ ทท่ี ้ากินของราษฎร
2.5 ผลกระทบตอ่ จ้านวนครัวเรือนทถี่ ูกน้าท่วม 0 1 10 131 0.75 8 189 0.50 5
2.6 พน้ื ทร่ี ับประโยชน์
3. ด้านเศรษฐศาสตร์ 172 0.5 5 550 0.25 3 193 0.25 3
3.1 คา่ ลงทนุ โครงการ
3.2 อตั ราส่วนคา่ ลงทุนตอ่ ปริมาตรเก็บกักน้า 172 1 10 295 1.00 10 0 1.0 10
65 0.25 2.5 89 0.25 3 0 1.00 10
4,075 0.75 7,500 1.00 10.0 7,500 1.00 10.00
871.3 0.25 2.5 700 0.75 8 1,115 0.25 3
158 0.25 2.5 69 1.00 10 111 0.75 8
รวม 50.00 71.25 68.75
2.4.2.3 การกาหนดทางเลอื กระดับเกบ็ กกั
ในการศึกษาทบทวนความเหมาะสมโครงการได้พิจารณาในทุกมิติ ซ่ึงรวมถึงความจุอ่างเก็บน้าที่เหมาะสม
โดยทาการเปรียบเทยี บทางเลือกไว้ 3 ทางเลือก ดังน้ี
1) ทางเลอื กที่ 1 กาหนดที่ตั้งหัวงานอ่างเก็บน้าตามทางเลือกท่ี 2 ของทางเลือกท่ีตั้งหัวงานอ่างเก็บน้า โดย
ที่ตั้งหัวงานอยู่ที่บ้านเหมืองตะกั่ว หมู่ที่ 1 ตาบลหนองธง อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง หรือท่ีพิกัดและแผนที่ชุด
L7018 โซน 47P ระวาง 5023 III พิกัด 618,859E 795,885N แต่ลดระดับเก็บกักประมาณร้อยละ 10 ลงมาอยู่ที่
ระดบั เก็บกักปกติ +105.00 ม.รทก. (รูปท่ี 2.4.2-5 (ก) ถึง รปู ที่ 2.4.2-5 (ข))
2) ทางเลือกที่ 2 กาหนดท่ีตั้งหัวงานอ่างเก็บน้าตามทางเลือกที่ 2 ของทางเลือกที่ตั้งหัวงานอ่างเก็บน้า
(ท่ีต้ังและระดับเก็บกักเดิมตามผลการศึกษาจากรายงานการศึกษาวางโครงการอ่างเก็บน้าเหมืองตะกั่ว โดย
กรมชลประทาน ปี พ.ศ.2552) ซ่ึงสามารถเก็บกักน้าที่ระดับเก็บกักปกติ +110.00 ม.รทก. (รูปท่ี 2.4.2-6 (ก) ถึง
รูปท่ี 2.4.2-6 (ข))
3) ทางเลือกท่ี 3 กาหนดท่ีตั้งหัวงานอ่างเก็บน้าตามทางเลือกที่ 2 ของทางเลือกที่ตั้งหัวงานอ่างเก็บน้า
เชน่ เดยี วกับทางเลือกระดบั เก็บกกั ทางเลอื กท่ี 2 แต่เพ่ิมระดบั เก็บกักประมาณรอ้ ยละ 10 ขนึ้ มาอยู่ท่ีระดับเก็บกกั ปกติ
+115.00 ม.รทก. (รูปท่ี 2.4.2-7 (ก) ถงึ รูปที่ 2.4.2-7 (ข))
ขอ้ มูลประกอบการพิจารณาได้ ดงั แสดงในตารางท่ี 2.4.2-3
บริษัท เอช ทู โอ คอนซัลท์ จ้ากัด 2-33 รายงานความก้าวหน้า
บรษิ ัท เอน็ รชิ คอนซลั แตนท์ จ้ากดั (Progress Report)