ขอ้ เสนอเชิงนโยบายการจดั การศึกษาในช่วงสถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19)
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2
กลมุ่ นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษา
สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2
2564
ก
กิตตกิ รรมประกาศ
รายงานการวิจัย ขอ้ เสนอเชิงนโยบายจัดการศึกษาในชว่ งสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติด
เช้ือไวรสั โคโรนา่ 2019 (COVID - 19) สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2 เลม่ น้สี ำเรจ็
ได้ด้วยความกรุณาของนายสุริภาศ สีหะวงษ์ ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ศรีสะ
เกษ เขต 2 ผู้ซึ่งให้คำปรึกษา แนะนำและให้ความอนุเคราะห์ทุกด้าน ในรายงานผลการวิจัยครั้งนี้ ด้วย
ความเอาใจใสด่ ว้ ยดีเสมอมา ผวู้ จิ ัยขอกราบขอบพระคุณเป็นอยา่ งสงู ไว้ทีน่ ี้
ขอขอบพระคุณผู้เชี่ยวชาญทุกท่านที่กรุณาให้คำแนะนําและเป็นผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบแก้ไข
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ขอขอบคุณคณะศึกษานิเทศก์ คณะผู้อํานวยการโรงเรียน คณะครู สำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ที่ให้ความอนุเคราะห์และให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูล
จนสำเร็จลุลว่ งเปน็ อยา่ งดี
ขอขอบคุณบุคลากร สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2 ทกุ ท่าน ทีไ่ ด้ให้
กำลงั ใจและให้ความช่วยเหลอื เป็นอย่างดีตลอดระยะเวลาทที่ ำการวิจัย
ประโยชน์ที่พึงได้รับจากรายงานผลการวิจัยฉบับน้ี ผู้วิจัยขอมอบให้แก่ทุกท่านที่มีความสำคัญ
ต่อความสำเรจ็ ในครงั้ นี้ และหวังว่าวิจัยฉบับน้ี จะเป็นประโยชนต์ อ่ ผเู้ กย่ี วข้องตอ่ ไป
กลุม่ นิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
กนั ยายน 2564
ชื่อเรอื่ ง ข
ผูว ิจยั ขอเสนอเชงิ นโยบายจดั การศึกษาในชว งสถานการณการแพรระบาดของโรค
หนวยงาน ติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ในสาํ นกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา
ปท่พี มิ พ ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2
กลมุ นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา
สํานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2
2564
บทคัดยอ
การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค 1) เพ่ือวิเคราะหสภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนลักษณะตาง ๆ
ดานขอดี ขอเสีย โอกาส อุปสรรค (SWOT) ในการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู และการดูแล
ชวยเหลือนักเรียน 2) เพื่อพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาโรงเรียนทุกลักษณะในการบริหาร
จัดการ การจัดการเรียนรู และการดูแลชวยเหลือนักเรียน 3) เพื่อจัดทําขอเสนอเชิงนโยบายการจัด
การศึกษาในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ของสํานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 มีขั้นตอนการดําเนินการวิจัย 3 ขั้นตอน คือ ข้ันที่ 1
การวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และอุปสรรค นําขอมูลการสัมภาษณเชิงลึกมาวิเคราะห ข้ันที่ 2
การประชุมระดมความคิด (Brainstorming) นําผลการวิเคราะหมาประชุมระดมความคิด และข้ันท่ี 3
การสัมมนาอิงผูเช่ียวชาญ (Connoisseurship) เพื่อจัดทําขอเสนอเชิงนโยบายในสถานการณการแพร
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVD - 19) ในระดับสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ประชากรและกลุมตัวอยาง ไดแก ผูบริหารโรงเรียน จํานวน 179 คน
ครู จํานวน 179 คน ผูใหขอมูลจํานวน 37 คน และผูเช่ียวชาญ จํานวน 40 คน วิเคราะหเนื้อหา
(Content Analysis) เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย ขั้นท่ี 1 ไดแก แบบสัมภาษณ เชิงลึกผูบริหาร
แบบสัมภาษณเชิงลึกครูผูสอน และแบบวิเคราะห (SWOT Analysis)ขั้นท่ี 2 ประเด็นประชุมระดมความ
คดิ เห็น และแบบวิเคราะหแ นวทางการจัดการศึกษา ขนั้ ท่ี 3 แบบวิเคราะห ผลการสัมมนาอา งอิงผเู ช่ยี วชาญ
ผลการวิจยั พบวา
1. การจดั การศึกษาของสถานศึกษา ในสังกดั สํานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ
เขต 2 ในสถานการณการแพรระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) พบวา สถานศกึ ษา
ในสังกัดประกอบดว ย โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรยี นขนาดกลาง และโรงเรยี นขนาดใหญ และมโี รงเรยี นที่ใช
เปน ทีพ่ ักคอย จาํ นวน 6 แหง ในการจดั การเรยี นการสอนของสถานศึกษา พบวา สถานศกึ ษาสว นใหญ
จดั การเรยี นการสอนแบบ On-Site
2. แนวทางการจัดการศึกษา เพ่ือพัฒนาโรงเรียนทุกลักษณะในการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู
และการดูแลชว ยเหลอื นักเรยี น พบวา แนวทางการจดั การศกึ ษา ทัง้ 3 ดา น ประกอบดว ย ดานการบริหาร
จัดการ ดานการจัดการเรยี นรู และดานการดูแลชวยเหลือนักเรียน เปนไปในแนวทางเดียวกันทุกลักษณะ
สถานศึกษายึดหลักการบริหาร 4 M (Man, Money, Material, Management) โดยมีขั้นตอนดังนี้
1) สรางความตระหนักรวมกนั 2) วิเคราะหสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ค
(COVID – 19) 3) วางแผนการดําเนินงานรวมกัน จัดทําแผน 4) ดําเนินการ 5) นิเทศ กํากับ ติดตาม
ผลการปฏิบตั ิงาน 6) รายงานผลการดาํ เนินงาน 7) ปญหาและอุปสรรค
แนวทางการจัดการเรียนรู สถานศึกษาที่อยูในพ้ืนท่ีท่ีไมมีความเส่ียงการแพรระบาดของโรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ใชรูปแบบการจัดการเรียนรูในลักษณะปกติ(On-Site) มีการรักษา
ระยะหางและดําเนินการตามมาตรการปองกันของศูนยบริหารสถานการณแพรระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) มาตรการของกระทรวงสาธารณสุข และมาตรการของรัฐบาล และตองไดรับ
การพิจารณาจากคณะกรรมการควบคมุ โรคจังหวดั ศรีสะเกษ สว นสถานศึกษาที่อยใู นพื้นทท่ี ่ีมีความเสีย่ งสูง
ใหเปดทาํ การเรยี นการสอนในรปู แบบอน่ื (On-Hand, On-Line, On-air, On-demand)
แนวทางในการดูแลชวยเหลือนักเรียน มีดังนี้ 1) การพัฒนาระบบคัดกรองนักเรียน กําหนด
แนวทางการชวยเหลือนักเรียนเปนรายบุคคล 2) จัดระบบติดตามชวยเหลือนักเรียนกลุมที่มีปญหา
ในการเขา เรียน 3)พฒั นาระบบแนะแนว 4) จดั ทํามาตรการดานความปลอดภัยในชวงสถานการณก ารแพร
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) 5) การเย่ียมบานและประสานหนวยงานที่เก่ียวของ
เพื่อใหคําแนะนําในการดูแลความปลอดภัย 6) สรางเครือขายผูปกครอง ใหมีสวนรวมในการสังเกต
พฤตกิ รรมการเรียน และประเมนิ ผลการเรียนรูรวมกบั สถานศกึ ษา
3. ขอเสนอเชิงนโยบาย การจัดการศึกษาในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID - 19) ในระดับสาํ นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2 พบวา
ควรกําหนดนโยบาย แผนงาน และมาตรการ ในการจัดทําระบบและกลไกสนับสนุนทรัพยากรตางๆ
ในการจัดการศึกษาของหนวยงานภาครัฐและหนวยงานตนสังกัด พัฒนาและสงเสริมศักยภาพครูและ
บุคลากรทางการศึกษาใหมีความรูความเขาใจแนวทางการจัดการศึกษาในสถานการณการแพรระบาดของ
โรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ควรจัดสรรอุปกรณและ/หรอื คลื่นความถ่เี พือ่ ใหสถานศึกษา
สามารถใชทีวีเพ่ือการศึกษาได รวมท้ังจัดสรรงบประมาณใหเพียงพอและสอดคลองกับความตองการ
แทจ ริง
ง
Tile : Policy Recommendation for Educational Management in the situation of
infectious disease epidemic Coronavirus 2019 (COVID-19) in Primary Sisaket
Author Educational Service Area Office 2
Agency Supervision, Monitoring and Evaluation for Educational Provision Group.
Year : The Primary Sisaket Educational Service Area Office 2
: 2021
ABSTRACT
The purposes of this research were to study 1) to analyze the conditions of
educational management of schools in various aspects, advantages, disadvantages,
opportunities, obstacles (SWOT) in management, learning management and helping
students. 2) to develop educational management guidelines schools in all aspects of
management- learning management and helping students. 3) to do the policy proposal
for education management in the situation of the epidemic of the coronavirus disease
2019 (COVID – 19) in Primary Sisaket Educational Service Area Office 2 There were 3 steps
for conducting research. The first step was strengths, weaknesses, opportunities, obstacle
and in-depth interview data was analyzed. The second step was brainstorming meeting-
bringing the analysis results to a brainstorming meeting. The third step was seminar based
on experts to do the policy proposals in the situation of the coronavirus disease 2019
(COVD - 19) in Primary Sisaket Educational Service Area Office 2. The Sample were the
directors totally 179, the teachers totally 179, the informants totally 37 and the experts
totally 40, to analysis content research. The research instruments were the first step
were directors’ depth-interview, the teachers’ depth-interview and SWOT Analysis. The
second were brainstorming sessions and educational management guidelines analysis
form. The third was analytical forms, results of expert reference seminars.
The Research finding were as flows:
1. Educational management of school at Primary Sisaket Educational Service Area
Office 2 in the situation of the coronavirus disease 2019 (COVD - 19) were found that the
school affiliation consisted of small school, medium school, big school and the school
used as a boarding house totally 6. In the teaching and learning management of school,
it was found that most of the provided On-Site.
2. Educational management guidelines to develop schools in all aspects of
management learning management and helping students, found that
จ
Guidelines for educational management in 3 areas: management learning, management
and helping students. It is in the same direction in all aspects. The schools attach to
the principles of management 4 M-Man, Money, Material and Management. With the
following steps; 1) Creating the common awareness altogether. 2) Analyzing of the
epidemic situation of the coronavirus disease 2019 (COVID-19). 3) Planning the
operation and doing a plan together. 4) To operate. 5) To supervise and follow up on
performance results. 6) To performance report. 7) The problems and trouble.
Learning management approach, to have a learning management model in a
normal manner (On-Site) at educational institutions located in areas that are not at risk
of spreading the disease infected with coronavirus 2019 (COVID-19). Distancing is
maintained and preventive measures are taken of Center for Covid-19 Situation
Administration (CCSA). Also there are the Measures of the Ministry of Health and
government measures, and must be considered by the Sisaket Provincial Disease
Control Committee. For the located in high-risk areas to open for teaching in other
formats. (On-Hand, On-Line, On-air, On-demand)
The Guidelines for caring and helping students are as follows: 1) the development
of student screening system and to set guidelines for helping students individually.
2) There is a tracking system to help students who have difficulty attending school.
3) To Develop a guidance system 4) Establishing safety measures during the coronavirus
disease 2019 (COVID-19) epidemic situation. 5) Home visiting and coordinating with
relevant departments to provide advice on how to take care of safety. 6) Building a
parent network to participate in observing learning behavior and evaluating learning
outcomes together with the schools.
3. Policy Recommendation; for education management in the situation of the
epidemic of the coronavirus disease 2019 (COVID – 19) in Primary Sisaket Educational
Service Area Office 2 Policies, should be formulated plans, and measures in the
preparation of systems and mechanisms to support resources in the education of
government agencies and affiliated agencies; to develop and promote the potential of
teachers and educational personnel having knowledge and understanding of educational
management practices in the situation of the Coronavirus Disease 2019 (COVID-19).
Should be allocated Equipment and/or frequencies to enable educational institutions to
use TV for educational purposes; as well as allocating sufficient budgets and in
accordance with actual needs
ฉ
สารบัญ
กติ ติกรรมประกาศ หนา
บทคดั ยอ ก
สารบัญ ข
สารบญั ตาราง ฉ
สารบญั ภาพ ซ
บทที่ 1 บทนํา ฌ
ความเปน มาและความสําคญั ของปญหา 1
วัตถุประสงคการวจิ ยั 4
ขอบเขตของการวิจัย 4
นยิ ามศัพทเฉพาะ 5
ประโยชนท่ีไดร ับจาการวิจัย 7
บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กย่ี วของ 9
แนวคิดและหลักการเกยี่ วกบั กลยทุ ธและวิจัยเชงิ นโยบาย 41
แนวคดิ และทฤษฏเี ก่ียวกบั ผลกระทบของ COVID – 19 ในประเทศไทย
สถานการณการแพรระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) 47
กบั แนวทางการจัดการศกึ ษา 53
มาตรการและแนวทางดาํ เนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ 68
บรบิ ทของสาํ นักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 71
เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กีย่ วของ
บทท่ี 3 วธิ กี ารดาํ เนินการวิจยั
ขน้ั ที่ 1 การวิเคราะหส ภาพการจัดการศึกษาในสถานศึกษา สังกัดสาํ นกั งานเขตพืน้ ที่
การศึกษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 2 ในสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) 79
ขนั้ ที่ 2 การพฒั นาแนวทางการจดั การศึกษาในสถานศึกษาสังกดั สํานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา
ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชือ้
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19 82
ขั้นที่ 3 การจดั ทาํ ขอเสนอเชงิ นโยบายการจดั การศึกษาในระดบั สงั กดั สํานักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ในสถานการณก ารแพรระบาดของโรคตดิ เชอ้ื
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19 85
ช
สารบัญ (ตอ)
หนา
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข อมูล
ตอนที่ 1 ผลการวเิ คราะหสภาพการจัดการศึกษาของโรงเรยี นลกั ษณะตางๆ ดา นขอดี
ขอ เสยี โอกาส อุปสรรค (SWOT) ในการบริหารจดั การ การจัดการเรยี นรู และการดูแล
ชว ยเหลือนักเรยี น 89
ตอนท่ี 2 ผลการพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษา เพ่ือพัฒนาโรงเรยี นทุกลกั ษณะในการ
บรหิ ารจัดการ การจัดการเรียนรแู ละการดูแลชว ยเหลอื นักเรยี น. 104
ตอนท่ี 3 ผลการจดั ทําขอ เสนอเชงิ นโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ การแพรระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ในระดับเขตพ้นื ที่การศึกษา 107
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ
ตอนที่ 1 สภาพการจดั การศึกษาของโรงเรยี นลักษณะตางๆ ดา นขอดี ขอเสีย โอกาส
อปุ สรรค (SWOT) ในการบริหารจัดการ การจดั การเรยี นรู และการดแู ลชวยเหลือ
นกั เรียน 114
ตอนที่ 2 แนวทางการจัดการศกึ ษา เพ่ือพัฒนาโรงเรยี นทกุ ลกั ษณะในการบรหิ ารจดั การ
การจดั การเรียนรแู ละการดูแลชว ยเหลอื นักเรียน. 116
ตอนท่ี 3 ขอเสนอเชงิ นโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ การแพรระบาด 121
ของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 ในระดบั เขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา 123
อภิปรายผล
ขอเสนอแนะ 127
บรรณานุกรม 128
ภาคผนวก 132
ภาคผนวก ก รายชือ่ ผเู ชีย่ วชาญในการตรวจสอบคณุ ภาพเครอื่ งมือ 134
ภาคผนวก ข เครือ่ งมือทใ่ี ชใ นการวิจยั
ภาคผนวก ค หนงั สือราชการทเี่ กย่ี วของ 153
ซ
สารบญั ตาราง
หนา
ตารางที่
3.1 การวจิ ัยเชงิ นโยบายเพอ่ื จดั ทาํ ขอ เสนอเชิงนโยบาย 78
4.1 ผลการวิเคราะหสภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนลักษณะตา งๆ 89
4.2 ผลการวเิ คราะหสภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นสังกัด สาํ นักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 2 ดานการจดั การเรียนรู 95
สารบัญภาพ ฌ
หนา
ภาพที่
1 ความสมั พนั ธร ะหวางนโยบายกับยุทธศาสตร 24
2 ความสมั พันธเชงิ เหตุผลของจุดมุงหมายการวจิ ัยเชิงนโยบาย 26
3 ข้ันตอนการวิจัยเชงิ นโยบาย ปรบั จากทศั นะของมาจชเชค 35
4 ขน้ั ตอนการวจิ ยั เชงิ นโยบาย 36
5 คานิยมในการวางแผนตามทัศนะของ แบงฮารท และทรลั ล 37
6 ขน้ั ตอนการวางแผนตามทัศนะของแบงฮารทและทรลั ล. .............................................................38
7 จาํ นวนแรงงานกลมุ เปราะบางท่ีมคี วามเสย่ี งตอ การถูกลดชว่ั โมงการทาํ งาน 43
8 แนวทางการเปด – ปดภาคเรยี นในสถานการณฉ ุกเฉนิ 55
9 การจัดการเรียนการสอนดวยเทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกล 56
10 รูปแบบการจดั การเรยี นการสอน 58
1
บทท่ี 1
บทนาํ
ความเปนมาและความสาํ คญั ของปญ หา
พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพ.ศ. 2542 ท่ีแกไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 และ
(ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 ไดนิยามความหมายคําไวในมาตรา 4 วา “การศึกษา” คือ กระบวนการเรียนรูเพื่อความ
เจริญงอกงามของบุคคลและสังคม โดยการ ถายทอดความรูการฝก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม
การสรางสรรคจรรโลงความกาวหนาทางวิชาการ การสรางองคความรูอันเกดิ จากการจัดสภาพแวดลอม สังคมการ
เรียนรูและปจจัยเกื้อหนุนใหบุคคลเรียนรู อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ประกอบกับมาตรา 10 บัญญัติไวความตอน
หนึ่งวา การจดั การศึกษา ตองจัดใหบุคคล มีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานไมนอยกวาสิบ
สองปที่รัฐตองจัดใหอยางท่ัวถึงและ มีคุณภาพ โดยไมเก็บคาใชจาย สวนมาตรา 22 บัญญัติวา การจัดการศึกษา
ตองยึดหลักวา ผูเรียนทุกคน มีความสามารถเรียนรู และพัฒนาตนเองไดและถือวาผูเรียนมีความสําคัญท่ีสุด
กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริม ใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ มาตรา 25
บัญญัติวา รัฐตองสงเสริมการดําเนินงาน และการจัดตั้งแหลงการเรียนรูตลอดชีวิตทุกรูปแบบ ไดแก หองสมุด
ประชาชน พิพิธภัณฑ หอศิลปสวนสัตว สวนสาธารณะสวนพฤกษศาสตรอุทยานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีศูนย
การกีฬาและนันทนาการแหลงขอมูล และแหลงการเรียนรูอื่นอยางเพียงพอและมีประสิทธิภาพ และมาตรา 31
ไดกําหนดใหกระทรวงมีอํานาจหนาที่ เก่ียวกับการสงเสริมและกํากับดูแลการศึกษาทุกระดับทุกประเภท
กาํ หนดนโยบายแผน และมาตรฐานการศึกษา สนับสนนุ ทรัพยากรเพ่ือการศกึ ษา สงเสริมและประสานงานการ
ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และการกีฬา ท้ังน้ี ในสวนท่ีเกี่ยวกับการศึกษา รวมท้ังการติดตาม ตรวจสอบและ
ประเมินผลการจดั การศึกษา และราชการอ่นื ตาม ที่มีกฎหมายกาํ หนดใหเปนอํานาจหนาที่ของกระทรวงหรือสวน
ราชการที่สังกัดกระทรวง โดยหลักการของ พระราชบัญญัติดังกลาวนั้น คือ รัฐตองจัดการศึกษาใหกับประชาชน
ไดเขาถึงการเรียนรูตลอดชีวิต รวมทั้งการ จัดสภาพแวดลอมที่เหมาะสม ใหเอื้อตอการเรียนรูของทุกคน โดยเนน
ความเทาเทียม ท่ัวถึงและเปนธรรม ซ่ึงหลักการดังกลาวสอดคลองกับหลักยุทธศาสตรชาติ พ.ศ. 2561 - 2580
ท่ีไดกําหนดวิสัยทัศน“ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ย่ังยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เพ่ือความสุขของคนไทยทุกคน โดยเปาหมายการพัฒนาประเทศ คือ
“ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอยางตอเนื่องสังคมเปนธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติ
ย่ังยืน” โดยยกระดับศักยภาพของประเทศ ในหลากหลายมิติพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกชวงวัยใหเปนคนดี เกง
และมีคุณภาพ สรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับ
สิ่งแวดลอม และมีภาครัฐของประชาชน เพ่ือประชาชน และประโยชนสวนรวม แนวทางในการปฏิรูปการศึกษา
ของประเทศไทยเห็นไดชัดเจนย่ิงขึ้นเม่ือมีการประกาศใชพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 อันถือ
เปนกฎหมายแมบทในการปฏิรูปการศึกษาท้ังระบบฉบับแรกของประเทศไทย โดยมีเจตนารมณใหการจัด
การศึกษาตองเปนไปเพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณท้ังรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรม
2
มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข (พระราชบัญญัติการศึกษา
แหงชาติ พ.ศ. 2542)
กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ใหเปน
หลักสูตรแกนกลางของประเทศ เพ่ือเปนเปาหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผูเรียน โดยมีจุดหมาย
เพ่ือมุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่พึงประสงคเห็นคุณคาของตนเอง
มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง มีความรู ความสามารถในการคิด การแกปญหา และมีทักษะชีวิต มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความ
เปนพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิตและการปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย
ทรงเปนประมุข มีจิตสาธารณะท่ีมุงทําประโยชนและสรางส่ิงที่ดีงามในสังคม และอยูรวมกันในสังคมอยางมี
ความสุข ท้ังน้ี ในการพัฒนาผูเรียนตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุงเนนพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพ
ตามมาตรฐานทกี่ ําหนด (กระทรวงศกึ ษาธิการ : 2551)
จากสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) “โรงเรียน”
เปนสถานท่ีอันดับแรก ๆ ที่ถูกประกาศปด สงผลใหนักเรียนและครูหลายพันลานคนท่ัวโลกตองปรับวิธีการ
เรียนเปล่ียนวิธีการสอนรูปแบบใหม โดยแนวทางการเรียนการสอนในรูปแบบใหมตองใชระบบเทคโนโลยีเขา
มาชวยอํานวยความสะดวก “การเรียนการสอนออนไลน” จึงกลายเปนเคร่ืองมือสําคัญที่ระบบการศึกษาใน
หลายประเทศท่ัวโลกนํามาใชในสถานการณการแพรระบาดของเช้ือไวรัสดังกลาว ซ่ึงประเทศไทยเองก็นํา
วิธีการเรียนการสอนออนไลนมาใชเพื่อใหโรงเรียนตาง ๆ สามารถดําเนิน การจัดการเรียนการสอนตาม
หลักสูตรท่ีกระทรวงศึกษาธิการ ไดวางไวแมจะเปนวิธีการแกไขปญหาที่ชวยใหนักเรียนสามารถศึกษาหา
ความรูตอไปไดโดยไมเส่ียงตอการติดเช้ือไวรัสก็ตาม แตการจัดการเรียน การสอนแบบออนไลนก็ถูกต้ังคําถาม
ถึงประสิทธิภาพและความพรอมของระบบ การศึกษาไทยท่ีไมเพียงจะเพ่ิมภาระใหกับผูปกครองที่ตองจัดหา
วัสดุอุปกรณ หรือการดูแลบุตรหลานในขณะทม่ี ีการเรียนการสอนออนไลนซ่ึงเรื่องดังกลาวยังเปนการสะทอน
และตอกยํ้าภาพความเหลื่อมล้ําของสังคมไทยอีกดวยโดยเฉพาะการเขาถึงสื่อการเรียนการสอนของนักเรียนที่
ชี้ใหเห็นถึงความไมพรอมในหลายดาน ในการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลนอาจจะตองพิจารณาถึงความ
เหมาะสมวาผูเรียนในชวงชั้นใดท่ีเหมาะกับ การเรียนในรูปแบบดังกลาว ซ่ึงในระดับปฐมวัยและระดับ
ประถมศึกษานั้นยังคงเปนเร่ืองใหมและผูเรียนจะยังไมพรอ มท่ีจะรับการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลนซึ่ง
ในชวงวัยน้ีควรจะตองไดรับ การเรียนการสอนจากครูโดยตรงในลักษณะ On-Site มากกวา On-Line
นอกจากนี้ ในสวนของสื่อการเรียนการสอนและครูผูท่ีทําหนาท่ี ในการจัดการศึกษาผานระบบออนไลน
ดงั กลา วก็ควรตองเปนส่ือการเรยี นการสอนทท่ี ันสมัย มีความถกู ตอ ง ทง้ั ในเรอื่ งของเนื้อหาสาระการเรียนรแู ละ
มคี วามเหมาะสมในแตละชวงวัยดวย
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน แจงใหทุกโรงเรียนและทุกสํานักงานเขตพ้ืนท่ี
ไดออกแบบในเรื่องการติดตาม ตรวจสอบ และรายงานผลสภาพจริงของแตละพื้นที่ โดยใหรายงาน
เปนรายวัน หรือตามสถานการณท่ีเกิดข้ึนจริง เพ่ือใหเกิดความปลอดภัยและทันตอสถานการณ สวนในเร่ือง
การเผชิญเหตุหรือเตรียมพรอมสําหรับการเผชิญเหตุ ในจังหวัดที่ถูกประกาศใหเปนพ้ืนท่ีสีแดง สีสม
3
หรือสีเหลือง หากมีเหตุจําเปนตองปดเรียนทุกโรงเรียนในจังหวัดพ้ืนท่ีสีแดง แจงสถานศึกษาใหดําเนิน
การจดั การเรียนการสอน ใน 5 รปู แบบ ไดแ ก
1. On-Site คอื ใหมาเรียนตามปกตไิ ดในพื้นท่ีท่ีไมใชสีแดง แตตองเวนระยะ หรือลดจํานวน
นกั เรียนตอหองลง สาํ หรับจงั หวดั พนื้ ท่สี ีเขียว สามารถจัดการเรยี นการสอนในโรงเรียนไดตามปกติ
2. On-Air คือ การออกอากาศผาน DLTV เปนตัวหลักในการกระจายการสอน โดยใช
โรงเรียนวังไกลกังวลเปนฐานในการจัดการเรียนการสอน ซ่ึงสามารถดูไดท้ังรายการท่ีออกตามตาราง และ
รายการท่ดี ยู อนหลัง
3. On-Line ใหครูเปนผูจัดการเรียนการสอน ผานเครื่องมือท่ีทางโรงเรียนกระจายไปสู
นักเรียน เปน รูปแบบทถ่ี ูกใชใ นการจัดการเรียนการสอนจํานวนมากท่ีสุด
4. On-Demand เปน การใชงานผานแอปพลเิ คช่ันตาง ๆ ทค่ี รูกบั นกั เรยี นใชร วมกัน
5. On-Hand หากจัดในรูปแบบอ่ืน ๆ ทก่ี ลาวมาไมได ใหโรงเรยี นจัดแบบ On-Hand คอื จัด
ใบงานใหกับนักเรียน เปนลกั ษณะแบบเรียนสาํ เร็จรปู ใหนักเรียนรบั ไปเปนชุดไปเรียนดวยตัวเองทบี่ า น โดยมี
ครอู อกไปเย่ียมเปนคร้งั คราว หรอื ใหผูปกครองทาํ หนา ทเ่ี ปนครูคอยชวยเหลอื เพือ่ ใหนักเรยี นสามารถเรียนได
อยางตอเน่ือง ถงึ แมโ รงเรียนจะปดแตตองไมห ยุดการเรียนรู (https://www.obec.go.th/archives/363188.
สืบคนวันที่ 20 สงิ หาคม 2564)
จากขอมูลการจัดการเรียนรูของสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ศรีสะเกษ เขต 2 จํานวน 179 โรงเรียน มีขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จํานวน 1,573 คน
นกั เรียน จํานวน 19,717 คน ในวันแรกของการเปดภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2564 ในวนั ที่ 14 มิถุนายน
2564 พบวา โรงเรียนมีความตองการเปดเรียนในรูปแบบปกติ On-Site มากที่สุด โดยในวันเปดเทอมวันแรก
สามารถเปดเรียนแบบ On-Site ไดจํานวน 173 โรงเรียนคิดเปนรอยละ 96.64 เปดเรียนแบบ
On-Hand 5 โรงเรียน คิดเปนรอ ยละ 2.80 เปดเรียนแบบผสมผสานจํานวน 1 โรงเรียน คิดเปนรอยละ 0.56
แตในระยะเวลาตอมาสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ไดเพิ่มความ
รุนแรงขึน้ และสงผลกระทบตอระบบการจดั การศึกษาของสถานศึกษาในสงั กัดอยางมาก ทําใหไมสามารถจดั การ
เรียนการสอนแบบปกติ On-Site ได ดังจะเห็นไดจากขอมูล ณ วันท่ี 26 สิงหาคม 2564 พบวา โรงเรียนท่ี
สามารถเปดเรียนในรูปแบบปกติ On-Site ไดเพียง 53 โรงเรียน คิดเปนรอยละ 29.61 เปดเรียนแบบอ่ืนๆ
คือ On-Hand On-Air On-Line และ On-Demand จํานวน 126 โรงเรียน คิดเปนรอยละ 70.39 จะเห็น
ไดวาการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สงผลกระทบตอระบบการจัดการศึกษาของ
สถานศกึ ษาในสังกัดอยางมาก
สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ไดตระหนักและเล็งเห็นถึงความสําคัญของ
ปญหาการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ท่ีสงผลกระทบตอระบบการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษาในสังกัดอยางมาก ซ่ึงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ดังกลาวไดสงผล
ตอระบบการศึกษาและกระบวนการในการจัดการศึกษาเปนอยางมาก โดยสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ไดพบครูและบุคลากรติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตั้งแตเดือนเมษายน
2564 เปน ตนมา จึงไดท บทวนบทเรยี นจากทั้งตา งประเทศและในประเทศ ทั้งหนวยงานการศึกษาหนวยงานตาง ๆท่ีมีสวน
4
เกีย่ วของในการจัดการศกึ ษาและสํานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาตางๆ อีกท้ังเพือ่ เตรียมตัวใหพรอมในการจดั การ
เรียนการสอนรูปแบบใหมท่ีสอดรับกับมาตรการปองกันการระบาดพรอ มกับเตรียมมาตรการตางๆ เพ่ือรองรับ
และปองกันไมใหผูเรียนไดรับผลกระทบจากรูปแบบการเรียนการสอนท่ีเปล่ียนไปอีกท้ังสถานศึกษา
ครู ผูปกครอง และภาคสวนตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนท่ีเก่ียวของไดเขามามีสวนรวมในการแกไขปญหา
ดงั กลาว เพ่ือใหการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ
เขต 2 ในชวงสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สามารถเดินหนาไป
ไดอยางเปนรูปธรรมมากที่สุด พรอมท้ังรวมกันพิจารณาถึงความเหมาะสมวาสถานศึกษาใดมีความพรอมใน
การจัดการศึกษาและไมมีการแพรระบาดของเช้ือไวรัสดังกลาวก็สามารถจัดการศึกษาไดตามความเหมาะสม
แตทั้งน้ีตองอยูภายใตเงื่อนไขและหลักการตามท่ีกระทรวงสาธารณสุขกําหนด โดยเฉพาะในเรื่องของ Social
Distancing และชีวติ วิถีใหม (New Normal) ท่ีตองมีการใหความรูกบั ครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน
และผูป กครองในเรอ่ื งดังกลาวพรอ มกันไปดวย
จากสถานการณขางตนและสภาพปญหาที่เกิดขึ้นกับการจัดการเรียนการสอนในชวงปจจุบัน
คณะผูวิจัยสํานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ไดรวมกันพิจารณาเห็นวาเพื่อใหปญหา
ดังกลาวไดรับการแกไขไดอยางเปนรูปธรรมท้ังในลักษณะของผูปฏิบัติและผูจัดทํานโยบายในระดับสวนงาน
ตาง ๆ จึงไดจัดทําวิจัย เรื่อง ขอเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณการแพรระบาดของโรคติด
เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 เพื่อใหไดมา
ซ่ึงขอเสนอแนะเชิงนโยบาย อันจะเปนกลไกสําคัญในการแกไขปญหาในการบริหาร การจัดการศึกษา การจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน และการดูแลชวยเหลือนักเรียนในชวงสถานการณ การแพรระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่เหมาะสมกับสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ตอไป
วัตถุประสงคการวจิ ยั
1. เพือ่ วเิ คราะหสภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนลักษณะตาง ๆ ดา นขอดี ขอ เสีย โอกาส อปุ สรรค
(SWOT) ในการบรหิ ารจัดการ การจัดการเรียนรู และการดูแลชวยเหลือนักเรยี น
2. เพ่ือพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาเพอื่ พฒั นาโรงเรียนทุกลกั ษณะในการบรหิ ารจัดการ
การจัดการเรียนรู และการดูแลชวยเหลือนักเรียน
3. เพอ่ื จัดทําขอ เสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั
โคโรนา 2019 ในระดับสํานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2
ขอบเขตการวิจัย
ในการพิจารณาศึกษาจัดทําขอเสนอแนะเชิงนโยบายเรงดวน วาดวยการบริหารจัดการ การจัดการ
เรียนรู และการดูแลชวยเหลือนักเรียนในชวงสถานการณการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ท่ีเหมาะสมกับสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2
โดยเปนการพิจารณาศึกษาแนวคิด ทมี่ า สภาพปญหาและผลกระทบจากสถานการณ การแพรร ะบาดของโรค
5
ติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ท่ีมีตอระบบการศึกษาของสถานศึกษา ในสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 เพื่อนําขอมูลที่ไดมาศึกษา วิเคราะห และสังเคราะหเพื่อหาแนวทาง
ในการจัดทําขอเสนอแนะเชิงนโยบายอันนําไปสูการแกไขปญหา ในการบริหารการจัดการศึกษา และการ
จัดการเรียนการสอนในชวงสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ที่เหมาะสมกับสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 อันจะสงผลไป
ยังหนวยงานท่ีเก่ียวของเพื่อใชขับเคล่ือน และดําเนินการใหเ กิดผลอยางเปนรูปธรรมตอไป โดยมีขอบเขตการ
วิจยั ดงั นี้
1. ขอบเขตดา นเนอื้ หา
การวิจัยในคร้ังน้ีคณะวิจัย ผูวิจัยใชรูปแบบวิจัยเชิงนโยบาย (Policy Research) ท่ีมีกระบวนการเก็บ
รวบรวมขอมูลและการวิเคราะหขอมูลอยางมีระบบ โดยมีขอบเขตการวิจัยประกอบดวย การบริหารการจัด
การศึกษาของผูบริหารสถานศึกษา การจัดการเรียนการสอนของครูและบุคลากรทางการศึกษา และการดูแล
ชวยเหลือนักเรียน
2. ขอบเขตดานแหลงขอมูล
2.1 ประชากร
แหลงขอมูลในการวิจัยคร้ังน้ี ประกอบดวย ผูมีสวนเกี่ยวของกับการจัดการศึกษาของผูบริหาร
สถานศึกษา การจัดการเรียนการสอนของครูและบุคลากรทางการศึกษา และการดูแลชวยเหลือนักเรียน
ของโรงเรียนในสงั กัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2 ดังน้ี
2.1.1 ผบู รหิ ารโรงเรยี น จํานวน 179 คน
2.1.2 ครู จํานวน 179 คน
2.2 กลมุ ตัวอยา ง (Purposive sampling)
กลุมเปาหมายที่ใชในการวิจัยครั้งน้ี เปนตัวแทนเขารวมดําเนินการวิจัยและใหขอมูล โดยผานการ
ประชุมสรุปขอมูลกับผูมีสวนเก่ียวของทุกทานภายในสถานศึกษา สามารถจําแนกได ดังน้ี โรงเรียนที่เขารวม
นําเสนอขอมูลกลุมเครือขายฯละ 2 โรงเรียน จํานวน 18 กลุมเครือขายฯ รวมทั้งหมด 36 โรงเรียน ไดมาโดย
การเลือกแบบเจาะจง
3. ขอบเขตดานระยะเวลา
ระยะเวลาที่ใชในการดําเนินการวิจัยครั้งน้ี คอื เดอื นสิงหาคม ถึง เดือนตลุ าคม พ.ศ. 2564
นยิ ามศพั ทเฉพาะ
1. ขอ เสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาระดับเขตพน้ื ท่ีการศึกษา หมายถึง การกําหนดนโยบาย
การจัดการศึกษา ในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปการศึกษา
2565 ของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ดานการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู และการดูแลชวยเหลือ
นักเรียน ออกเปนโครงการหรือแผนงานยอย ใหมีลักษณะเฉพาะเจาะจงของหลักการเหตุผล วัตถุประสงค กล
ยทุ ธการดําเนินงาน งบประมาณ และผลทีค่ าดวาจะไดร ับ
6
2. การบริหารจัดการ หมายถึง การอํานวยการ กํากับทิศทาง และควบคุม ใหโรงเรียนสามารถ
ขับเคล่ือนดําเนินการ จัดการศึกษาไปดวยดีท้ังดานบุคลากร (Man) วิธีการ (Management) วัสดุอุปกรณสิ่ง
อํานวยความสะดวก (Material) และงบประมาณ (Money)
3. การจัดการเรียนรู หมายถึง กระบวนการ เทคนิค หรือวิธีการที่ครูนํามาใชเพ่ือใหผูเรียน
เกิดการเรยี นรู ในรูปแบบตาง ๆ ดังน้ี
3.1 On-Site หมายถึง การจดั การเรียนการสอนแบบใหมาเรียนตามปกติไดในพื้นท่ี ท่ีไมใชสี
แดง แตตองเวนระยะหรือลดจํานวนนักเรียนตอหองลง สําหรับจังหวัดพ้ืนที่สีเขียว สามารถจัดการเรียนการ
สอนในโรงเรียนไดตามปกติ
3.2 On-Air หมายถึง การออกอากาศผาน DLTV เปนตัวหลักในการกระจายการสอน
โดยใชโรงเรียนวังไกลกังวลเปนฐานในการจัดการเรียนการสอน สามารถดูไดท้ังรายการที่ออกตามตาราง และ
รายการท่ีดูยอ นหลัง
3.3 On-Line หมายถึง การจัดการเรียนการสอนใหครูเปนผูจัดการเรียนการสอนผาน
เคร่อื งมอื ทท่ี างโรงเรียนกระจายไปสูนักเรียน เปน รปู แบบทถ่ี กู ใชใ นการจัดการเรียนการสอนจํานวนมากท่ีสุด
3.4 On-Demand หมายถงึ การจดั การเรยี นการสอนโดยใชง านผา นแอปพลเิ คช่ันตา ง ๆ
ที่ครกู ับนกั เรียนใชรว มกัน
3.5 On-Hand หมายถึง รปู แบบการจัดการเรียนการสอนท่ีหากจัดในรูปแบบอื่น ๆ ที่กลาว
มาไมได ใหโรงเรียนจัดแบบ On-Hand คือจัดใบงานใหกับนักเรียน เปนลักษณะแบบเรียนสําเร็จรูป
ใหนักเรียนรับไปเปนชุดไปเรียนดวยตัวเองท่ีบาน โดยมีครูออกไปเยี่ยมเปนครั้งคราว หรือใหผูปกครองทํา
หนา ท่ีเปนครูคอยชว ยเหลือ เพือ่ ใหนกั เรียนสามารถเรียนไดอยา งตอเน่ือง
3.6 รปู แบบอื่น ๆ หมายถงึ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนในรปู แบบอ่ืนๆ
ที่นอกเหนือจาก 5 รปู แบบขา งตน เพอ่ื พฒั นาความรู ทกั ษะ คุณลักษณะ การวัดผลประเมนิ ผล ในสถานการณ
การแพรร ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
4. การดูแลชวยเหลือนักเรียน หมายถึง การสงเสริม สนับสนุน การปองกัน และการแกปญหา
ใหแกนักเรียนใหไดรับ การเรียนรู พัฒนาความรู ทักษะและคุณลักษณะ การวัดประเมินผล การสงผานผูเรยี น
เรียนตอในระดับสูงข้ึน และความปลอดภัยในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)
5. COVID-19 หมายถึง ไวรัสโคโรนา (Coronavirus) เปนไวรัสท่ีถูกพบครั้งแรก ในป 1960 สามารถ
ติดเชื้อไดทงั้ ในมนษุ ยและสัตวป จ จุบัน มกี ารคนพบไวรสั สายพันธุนี้แลวทัง้ หมด 6 สายพนั ธุ สว นสายพนั ธุ
ทีก่ ําลังแพรระบาดหนักทั่วโลกตอนน้ีเปนสายพันธุท่ียังไมเคยพบมากอน คือ สายพันธุท่ี 7 จึงถูก เรียกวาเปน
“ไวรสั โคโรนาสายพันธใุ หม” และในภายหลังถกู ต้ังชื่ออยางเปนทางการวา “โควิด-19” (COVID-19)
6. สถานการณ หมายถึง สถานการณก ารแพรระบาดจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ของสถานศึกษาในสังกัดสาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ระหวา ง เดือนสงิ หาคม
- ตลุ าคม 2564 (ปก ารศึกษา 2564)
7
7. Social Distancing หมายถึง การเวนระยะทางกายภาพกับบุคคลอ่นื ๆ ในสงั คม หรอื การอยูหาง
จากคนอ่ืน ๆ ในสังคมเพียงพอท่ีจะทําใหเกิดการแพรเชื้อของโรคนอยลงหรือชาลง เปนหน่ึงในมาตรการลด
การแพรระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซ่ึงสามารถใชไดกับโรคอ่ืน ๆ ที่เกิดจากการติดเชื้อ
ทางเดินหายใจหรือจากการสัมผัสอ่ืน ๆ อีกดวย อาทิ การยืนนั่งหางกันอยางนอย 1.5 - 2 เมตร การปด
โรงเรียน หรือหันมาเรียนออนไลน งดการรวมตัวกันในสถานศึกษาหรือที่ทํางาน การเปลี่ยนระบบการทํางาน
โดยใชการติดตอทางโทรศัพท การปรับเวลาการมาทํางานใหยืดหยุน หลีกเลี่ยงการเดินทางดวยขนสงที่มีคน
หนาแนน การทํางานที่บานแทนท่ีทํางาน (work from home) ทาํ ใหลดการเดินทางมาทาํ งาน และการพบปะ
คนอนื่ ในท่ที ํางาน ซ่งึ เพม่ิ ทั้งโอกาสการรบั และแพรกระจายของเชอื้ เปน ตน
8. New Normal หมายถึง ความปกติใหม ฐานวิถีชีวิตใหมซึ่งหมายถึงรูปแบบ การดําเนินชีวิต
อยางใหมที่แตกตางจากอดีต อันเน่ืองจากมีบางส่ิงมากระทบจนแบบแผนและแนวทางปฏิบัติท่ีคนในสังคม
คุน เคยอยางเปน ปกติและเคยคาดหมายลวงหนาได ตองเปลี่ยนแปลงไปสูวิถีใหมภายใตหลักมาตรฐานใหมท่ีไม
คุนเคย รูปแบบวิถีชีวิตใหมนี้ประกอบดวย วิธีคิด วิธีเรียนรู วิธีส่ือสาร วิธีปฏิบัติและการจัดการ การใชชีวิตใน
รูปแบบใหมเกิดขนึ้ หลังจากเกิดการเปล่ียนแปลงอยางใหญหลวงและรุนแรงอยางใดอยา งหน่ึง ทําใหมนุษยต อง
ปรบั ตวั เพ่ือรบั มือกับสถานการณป จจุบันมากกวาจะธาํ รงรักษาวถิ ีดง้ั เดมิ หรือหวนหาถงึ อดีต
9. สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา หมายถึง สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ
เขต 2
10. ครูและบุคลากรทางการศึกษา หมายถึง ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ปฏิบัติหนาท่ีอยูใน
สถานศึกษาหรือหนวยงานตา ง ๆ ในสงั กัดสํานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2
11. นักเรียน หมายถึง นักเรยี นท่ีอยูในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ศรสี ะเกษ เขต 2 ในภาคเรยี นที่ 1 ปการศกึ ษา 2564
ประโยชนท ่ีไดรับจากการวิจัย
1. สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ไดรับทราบสภาพปญหา อุปสรรค
และผลกระทบจากสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่มีตอ
การบริหารจัดการ การจดั การเรยี นรู และการดแู ลชว ยเหลือนักเรียนของสถานศึกษาในสังกัดสาํ นักงาน
เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2
2. ผลจากการศึกษาสามารถใชเปนขอมูลพ้ืนฐานในการกําหนดนโยบายสนับสนุนและการนํานโยบาย
ไปปฏิบัติ อันนําไปสูการแกไขปญหาในการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู และการดูแลชวยเหลือนักเรียน
ในชวงสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่เหมาะสมกับสถานศึกษา
ในสังกดั สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ใหเ กดิ ผลอยา งเปนรูปธรรมตอไป
3. ไดขอมูลและขอเสนอแนะเพ่ิมเติม ซึ่งจะนําไปสูแนวทางในการปรับปรุงการบริหารจัดการ
การจัดการเรียนรู และการดูแลชวยเหลือนักเรียนในระดับตาง ๆ ของสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 และหนวยงานการศึกษาตาง ๆ ท่ีเก่ียวของในชวงสถานการณการ
8
แพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่เหมาะสม มีคุณภาพและรองรับสถานการณ
โรคระบาดตาง ๆ ท่อี าจจะเกิดขึ้นในอนาคตตอไป
4. สํานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ไดนโยบายและแนวทางการบรหิ ารจัดการการศึกษา
ของโรงเรยี น
5. สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ไดนโยบายและแนวทางการจดั การเรียนรูเพอื่ พฒั นา
คุณภาพผูเรียนรปู แบบตา ง ๆ
6. สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ไดนโยบายและแนวทางการดูแลชวยเหลือนักเรียน
ดา นการเรียนรู การสง ตอนักเรียน และความปลอดภยั
9
บทท่ี 2
เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ ง
การวิจัยเรื่อง ขอเสนอเชิงนโยบายการจัดการศกึ ษาในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 สาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 คณะวิจัยได ดาํ เนินการศึกษา
คน ควาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวขอ ง ดังตอไปนี้
1. แนวคิดและหลักการเก่ียวกับกลยุทธและการวิจัยเชิงนโยบาย
2. แนวคิดและทฤษฎเี ก่ยี วกับ ผลกระทบของ COVID19 ในประเทศไทย
3. สถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กบั แนวทาง
การจัดการศึกษา
4. มาตรการและแนวทางการดําเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ
5. บรบิ ทสาํ นกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2
6. เอกสารและงานวิจัยท่เี กี่ยวของ
แนวคดิ และหลักการเกยี่ วกบั กลยทุ ธแ ละการวิจัยเชงิ นโยบาย
1. ความหมายของนโยบาย
ตามพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542 (2542) ใหความหมายวา นโยบาย คือ หลัก
และวิธีปฏิบัติซ่ึงถือเปนแนวดําเนินการ สวนปทานุกรมออกฟอรด (Oxford English Dictionary) (จุมพล
หนิมพานิช. 2552 : 4-5) ไดใหคําจํากัดความนโยบาย หมายถึง ความฉลาดและการใชดุลยพินิจที่หลักแหลม
ในทางการเมือง ศิลปะแหงการดําเนินกิจการของบานเมือง การดําเนินการที่ฉลาดรอบคอบ แนวทางการ
ดําเนินการของรัฐบาล หรือพรรคการเมือง เปนตน และความหมายของคําวา นโยบาย (Policy) ยังมี
หลากหลายทัศนะ จุมพล หนิมพานิช (2552 : 10-12) ไดเรียบเรียงวา นโยบาย คือ หลักและวธิ ีการปฏิบัติซึ่ง
ถือเปนแนวทางดําเนินการที่ผูบริหารใชในการตัดสินใจเพ่ือใหการปฏิบัติงานเปนไปโดยถูกตองและบรรลุตาม
วัตถุประสงคที่กําหนดไว และแจนสสัน (Jansson : 1994) ใหความหมายนโยบายวา เปนกลยุทธท่ีเลือกสรร
แลวนําไปสูการแกปญหา นโยบายจึงเปรียบเสมือนแนวทางการแกปญหา การกําหนดนโยบายจึงเปนความ
พยายามขององคกรเพื่อนําไปสูกระบวนการแกปญหา และตอบสนองตอความตองการของบุคคลในองคกร
ซ่ึงสอดคลองกับนิยามที่ วิโรจน สารรัตนะ (2548 : 142) ไดกลาวถึงนโยบาย วาหมายถึง ขอความท่ีบอกให
ทราบถึงทิศทางของการเปลี่ยนแปลงองคการหรือของสังคม ทิศทาง ดังกลาวอาจจะอธิบายถึงเรื่องอะไร เพื่อ
อะไร อยางไร และเพียงใดของความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดข้ึนได ขณะเดียวกันไดจําแนกความหมายของ
นโยบายออกเปน 3 กลมุ ไดแ ก
ความหมายโดยกลมุ แรก หมายถึง ขอ ความท่ีบอกใหทราบถงึ กิจกรรมหรอื การกระทาํ
(Activity or Action) อยา งใดอยา งหนงึ่ หรือหลายอยา ง ซ่ึงในที่สุดจะแปรรูปออกมาเปนแผนงาน โครงการ
10
ท่ีกําหนดขึ้น ขอ ความเชงิ นโยบายในความหมายน้ีจะบอกถึงเปาหมายปลายทางของกิจกรรม แนวทางการ
ปฏบิ ัติ และคณุ ประโยชนของกจิ กรรมหรือการกระทําท่กี ําหนดน้ัน
กลุมความหมายท่ีสอง หมายถึง ขอความทบี่ อกใหทราบถึงแนวทางหรือวธิ ีการ (Strategy or
Means) อยา งใดอยางหนึง่ หรือหลายอยา ง เพ่ือเปนเคร่ืองชี้นําและกาํ หนดแนวทางปฏบิ ัติจากปจจุบนั สู
อนาคต
กลุมความหมายที่สาม หมายถึง ขอ ความท่ีบอกใหท ราบถงึ คณุ คาและการตัดสินใจ (Value
and Decision) ทไี่ ดเลือกสรรแลว ซ่งึ นโยบายประเภทน้ีจะบง บอกทางเลือกทีม่ หี ลายทางวา ทางเลอื กใดดีท่ีสุด
หรือเหมาะสมที่สุด
นอกจากความหมายทีก่ ลา วมาแลวน้ันยังสามารถมองนโยบายไดใน 10 ทศั นะ ดังนี้
1. นโยบายในฐานะปา ยประกาศกิจกรรมของรฐั บาล
2. นโยบายในฐานะเปาหมายทั่วไปของกิจกรรมของรัฐทพี่ ึงปรารถนา
3. นโยบายในฐานะขอ เสนอที่เฉพาะเจาะจง
4. นโยบายในฐานะทหี่ มายถึงการตัดสินใจของรัฐบาล
5. นโยบายในฐานะการใหอํานาจอยางเปนทางการ
6. นโยบายในฐานะแผนงาน
7. นโยบายในฐานะผลผลิต
8. นโยบายในฐานะผลลัพธ ซึ่งเปนผลกระทบจากผลผลิตของนโยบาย
9. นโยบายในฐานะทฤษฎีหรอื ตวั แบบ ซง่ึ สามารถแสดงนัยทางทฤษฎีหรอื ตัวแบบในเชงิ เหตุ
และผลได
10. นโยบายในฐานะกระบวนการ ซึ่งมีขั้นตอนมีระบบ และตองใชเวลานานพอสมควรตาม
ทัศนะของฮ็อกวูดและกันน (Hogwood & Gunn, 1991 : 13-19)
ดงั นั้น นิยามนโยบายสําหรบั การวิจัยน้ี จึงเปนเครื่องมือเพ่ือใหผ ูบ ริหารใชใ นการตัดสินใจหรอื ให
ผูเก่ียวของใชเปนกรอบแนวคดิ หรือเปนแนวทางในการดําเนินการเพือ่ ใหบ รรลุเปาหมายหลกั ของสํานักงานเขต
พน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2 โดยนโยบายอาจจะเปน กรอบกวา ง ๆหรืออาจมีความชัดเจนเพอ่ื
การปฏิบัติท่ีประกอบดวยแผนงาน โครงการหรอื กิจกรรมเพอื่ เปนแนวทางไปสูการปฏบิ ัติในแตละองคป ระกอบ
ทเ่ี ก่ียวของนั้น นโยบาย จึงหมายถึง แนวทางดําเนินการที่เปนวิธีการปฏิบัติ (Means) เพอ่ื นําไปสูการบรรลุ
เปาหมาย (End) ของขอเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 กรณศี ึกษา : สํานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2
2. ความสําคัญของนโยบาย
ตามท่ีทวปี ศริ ริ ศั มี (2545 : 2-3) และไชยา ภาวะบุตร (2549 : 8-9) ไดเ รียบเรียงความสาํ คัญของ
นโยบายไววา นโยบายเปนกรอบชี้นาํ การปฏบิ ัติ (Course of Action) และเปรียบเปนเครอ่ื งมือสําหรับ
ผูบริหารเพ่อื ใชเปนแนวทางในการกาํ หนดทิศทางและเปาหมายเพ่ือการพัฒนา องคการ นโยบายอาจเปน
แนวทางดําเนินงานท้ังในระดับกวา ง และในระดบั องคการ ซ่ึงมีความสาํ คัญตอการใชดุลพนิ ิจของผูบ รหิ ารและ
ผูปฏบิ ัตงิ านในระดับตาง ๆ เพอ่ื ใหการดาํ เนินงานเปนไปอยางมีประสทิ ธภิ าพและบรรลุตามวัตถปุ ระสงค
11
การบรหิ ารและนโยบายมีความสัมพันธกัน เพราะนโยบายเปน เคร่อื งบงชี้ทิศทางการบริหารงาน และเปน
ขอมูลท่ีผูบ ริหารพิจารณาใชเพอ่ื การตัดสินใจส่งั การ ดงั น้ันนโยบายมีความสําคญั ตอการบรหิ ารในลักษณะดงั นี้
1. นโยบายชวยใหผบู ริหารทราบวาใครจะทําอะไร เมื่อไร อยางไร (Who get what, When
and how) และใชปจจัยอะไรบาง นโยบายชวยใหผ ูบ ริหารปฏบิ ตั ิงานตาง ๆ อยางม่ันใจเพราะนโยบายเปนทงั้
แผนงาน เคร่ืองช้ที ิศทางและหลกั ประกันที่ผูบริหารทกุ ระดับชั้นตอ งยึดถือ
2. นโยบายชวยใหบุคลากรทุกระดับชั้นในองคการเขาใจภารกจิ ของหนวยงานที่ตนสงั กัด
รวมทั้งวิธกี ารท่ีจะปฏิบัติภารกิจใหประสบผลสําเร็จ โดยไมซาํ้ ภาระหนา ท่ขี องหนวยงานอื่น ๆ ในองคการ
เดียวกัน
3. นโยบายกอใหเกิดเปา หมายในการปฏิบัตงิ าน การบริหารงานโดยมีเปาหมายทําให
ประหยัดเงิน เวลา บุคลากร รวมถึงความสามารถหรือศกั ยภาพ (Potential) ของบุคลากรเปน ไปอยางมี
ประสิทธภิ าพ และบรรลุเปา หมายขององคก ารหรือหนวยงานอยางมีประสทิ ธิผล
4. นโยบายท่ีดีจะชวยสนับสนุน สง เสรมิ การใชอาํ นาจของผูบรหิ ารใหเปน ไปโดยถูกตองอยาง
มีเหตุผลและมคี วามยุติธรรม อันนาํ มาซ่ึงความเชื่อถือ ความจงรักภกั ดี และความมีนาํ้ ใจในการปฏิบัติงานของ
ผูใตบงั คับบัญชา
5. นโยบายชวยใหเกิดการพฒั นาการทางการบรหิ ารเพราะนโยบายจะพัฒนาผูบ รหิ าร ให
รจู ักคิดทํานโยบายข้ึน (Think for) แทนการคิดปฏิบัติตาม (Think by)
นอกจากนีป้ ระชมุ รอดประเสรฐิ (2543 : 16-18) และสมภาร ศิโล (2550 : 13) ไดเรียบเรียงความ
สาํ คัญของนโยบายกับการบริหารในทศั นะท่ีตรงกันหลายประการ ดงั นี้
1. นโยบายเปนส่ิงทีก่ ําหนดลวงหนา ชวยลดการใชความคิดท่ีจะพิจารณาถงึ ปจจยั ตา ง ๆ
มากมายใหลดนอยลง ชว ยประหยัดเวลา
2. ชวยใหการประสานงาน การตัดสินใจของผูบริหารในฝายตาง ๆ ขององคก ารใหเ ปนไปใน
ทศิ ทางเดียวกัน
3. ชว ยใหเ กิดความมั่นใจในองคการ ลดความสับสนของสมาชิกเพราะสมาชกิ เขาใจเปา หมาย
และทิศทางการปฏบิ ัติงาน
4. ชว ยกระตุนใหการตัดสินใจของผูบ ริหารเปนไปอยางมพี ลัง ลดความไมแนใจวา การ
ตัดสินใจสอดคลองกบั แนวคิดของผบู รหิ ารระดับสูงหรือไม
5. เปนกรอบการตัดสินใจของผใู ตบงั คับบัญชา ชว ยใหการมอบหมายอํานาจทําไดดีขึ้น
6. ชว ยใหเกิดความเสมอภาค ยุติธรรม เท่ียงธรรม ความถูกตอง และมคี วามชัดเจนมากข้ึน
เนื่องจากมกี ารตัดสินใจท่ีสอดคลองกัน
สามารถสรุปไดวา นโยบายมีความสาํ คัญตอการบริหารจัดการขององคก ารในการกําหนด เปา หมาย
ขององคการลว งหนา ฝายบริหารและฝายปฏิบัตมิ ีทิศทางการดาํ เนินงานที่ชัดเจนสอดคลองกัน กอ ใหเกิดการ
พฒั นาองคก ารในดา นตาง ๆ ชว ยสงเสรมิ อาํ นาจของฝา ยบรหิ ารใหถ ูกตองเปนธรรมและชว ยใหส ามารถ
นําปจจัยทางการบริหารมาใชไดอยางประหยัดและมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน
12
3. ระดับของนโยบาย
ทวีป ศิริรัศมี (2545 : 1-2) และไชยา ภาวะบุตร (2549 : 8) ไดเรียบเรียงแนวคิดของนโยบายวามี
ระดับตาง ๆ กัน ซึ่งในแตละระดับน้ันมีขอบเขตครอบคลุมเปาหมายปลายทางผูที่เกี่ยวของในการนํานโยบาย
ไปใชหรือปฏิบัติ ผูท่ีไดรับผลการปฏิบัติ และความละเอียดชัดเจนของขอความลดหล่ันแตกตางกันไปในแตละ
ระดับนั้น จะตองมีความเก่ียวเน่ืองและสอดคลองกันโดยตลอด ซ่ึงสามารถจําแนกเพื่อพิจารณาระดับของ
นโยบาย ดงั นี้
สําหรบั กลมุ นโยบายในการบรหิ ารประเทศ สามารถจําแนกไดเ ปน 3 ระดับ คอื
3.1 นโยบายหลักหรือนโยบายระดับชาติ (National Policy) เปนนโยบายท่ีมีลักษณะเปน
แนวทางกวา ง ๆ ทใ่ี ชเปนพื้นฐานหรอื กรอบในการกําหนดนโยบายระดับอ่ืน ๆ ตอไปเปนนโยบายท่คี ณะรฐั บาล
คณะรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีกําหนดข้ึน โดยแสดงถึงเจตนารมณในการดําเนินการหรือ พัฒนาประเทศ เพ่ือ
ความอยูดีมีสุขของประชาชน ความเจรญิ กา วหนา และความมั่นคงหรือความมี เสถยี รภาพของประเทศ
3.2 นโยบายการบริหาร (Administrative Policy) เปนนโยบายระดับกระทรวง ทบวง กรม
โดยผูบริหารระดับกระทรวงและอธิการบดีเปนผูกําหนดขึ้น ตามกรอบของนโยบายหลัก หรือ นโยบาย
ระดับชาติ แตมีขอบเขตท่ีแคบลง (ความครอบคลุมของนโยบาย) มีความละเอียดและจําเพาะเจาะจงมากข้ึน
ตามบทบาทหนาท่ีความรับผิดชอบและภารกิจของหนว ยงาน โดยคาํ นึงถึงทรพั ยากรหรือบรบิ ทตา ง ๆ
ท่เี กีย่ วของในการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติ ท้งั น้เี พ่ือใหไ ดผลตามวัตถุประสงคท ี่กาํ หนดไว
3.3 นโยบายเฉพาะกิจ (Specific Policy) เปนนโยบายระดับลางสุด ซ่ึงกําหนดโดย ผูบริหาร
ระดับกอง หรือระดับฝาย โดยยึดถือนโยบายหลักหรือนโยบายระดับชาติและนโยบาย การบริหารท่ีหนวยงาน
สังกัดเปนเกณฑ เพื่อใหการปฏิบัติภารกิจของหนวยงานเปนไปตามเปาหมายและเจตนารมณแหงนโยบาย
ระดับชาติ และนโยบายการบริหารในเวลาเดียวกัน หรืออาจจะเปนนโยบายท่ีกําหนดข้ึนอยางปจจุบันทันดวน
เพื่อแกปญหาเฉพาะหนา เมื่อปญหาดังกลาวไดรับการแกไขแลว นโยบายก็จะสิ้นสุดไปโดยปริยาย นโยบาย
เฉพาะกิจจะมขี อบเขตรายละเอียดท่ีชัดเจน และจาํ เพาะเจาะจง ชแี้ นวปฏิบัตทิ เ่ี ปน รปู ธรรมมากข้ึน
3.4 กลุมนโยบายการบริหารองคการ (Institutional Policy) เปนกลุมนโยบายท่ีจําแนกตาม
ระดบั ชั้นของผูบริหารองคก าร ซงึ่ แบง ออกเปน 3 ระดบั คือ
3.4.1 นโยบายพ้นื ฐาน (Basic Policy) เปนนโยบายระดับบนหรอื ระดับสงู (Top
executives) เพอื่ ใชเ ปนกรอบและฐานในการกาํ หนดนโยบายระดบั อื่น ๆ ตอ ไป
3.4.2 นโยบายท่ัวไป (General Policy) เปนนโยบายระดับกลาง ซง่ึ กําหนดข้ึนโดย
ผูบ ริหารระดับกลาง (Middle Managers) โดยใชนโยบายพื้นฐานเปนกรอบ แตมีความชัดเจนมากขึ้น
3.4.3 นโยบายเฉพาะแผนกงาน (Department Policy) เปนนโยบายระดับลาง
ซ่งึ กาํ หนดข้ึนโดยผูบริหารระดบั ลางหรือระดับหวั หนา งาน (Supervisors) เปนนโยบายท่ีมีความละเอียด
เฉพาะเจาะจงเฉพาะเร่ืองเฉพาะกิจกรรม โดยอาศัยนโยบายท่ัวไปและนโยบายพื้นฐานเปนกรอบและทศิ ทาง
ในการกาํ หนด
กลา วโดยสรุป ระดบั ของนโยบายแบง เปน 4 ระดับ ดังนี้ 1) นโยบายระดบั ชาติ 2) นโยบาย ระดับ
กระทรวง ทบวง กรม 3) นโยบายระดับกองหรือฝาย 4) นโยบายระดับองคกร สาํ หรับขอ เสนอเชงิ นโยบาย
13
ในการวิจัยน้ีถือเปนนโยบายการบริหาร (Administrative Policy) เปนนโยบายระดับสํานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 หรือเลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเปนผู
ตัดสินใจในการรวมกําหนดขึ้น รวมถึงการนําไปสูการเปนนโยบายขององคกรหรือการบังคับใช ทั้งนี้เพื่อให
เปน ไปตามกรอบของนโยบายหลัก หรือนโยบายระดับชาติ แตม ีขอบเขตความครอบคลุมของนโยบายทีแ่ คบลง
เฉพาะดานการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู และการดูแลชวยเหลือนักเรียน ของสถานศึกษาในสังกัด
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ซึ่งเปนภารกิจหลักท่ีสําคัญอีกดานหนึ่งของ
สาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2 และสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
มคี วามละเอียด และจาํ เพาะเจาะจงตามบทบาทหนาที่ความรับผิดชอบและภารกิจของหนวยงาน โดยคํานึงถึง
ทรัพยากร หรือบริบทตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของในการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติ ทั้งนเี้ พื่อใหไดผลตามวัตถุประสงคที่
กําหนดไวตามงานวิจัย เรื่อง ขอเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณการแพรระบาดของโรคติด
เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กรณีศึกษา : สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2 เพ่ือใหไดมา
ซึ่งขอเสนอแนะเชงิ นโยบาย อันจะเปนกลไกสําคัญในการแกไขปญหาในการบรหิ าร การจัดการศึกษา การจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน และการดูแลชวยเหลือนักเรียนในชวงสถานการณ การแพรระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ท่ีเหมาะสมกับสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ตอไป และในการศึกษาครั้งนี้จัดเปนการวิจัยนโยบายเพราะมีกระบวนการ
ศึกษาคนควา เก็บรวบรวมขอมูล ตลอดจนการวิเคราะห สังเคราะหและรายงานผลสูขอเสนอเชิงนโยบาย
อยา งเปนระบบ 4. ประเภทของนโยบาย
ทวีป ศิริรัศมี (2545 : 6-10) และไชยา ภาวะบุตร (2549 : 11-13) ไดเ รียบเรียง ประเภทของการ
จําแนกนโยบายไวห ลายวิธี และแตละวิธีก็มีหลักเกณฑใ นการจาํ แนกแตกตางกันไป ในที่นี้จะกลาวถึงวิธีจําแนก
ประเภทนโยบาย ดังนี้
4.1 การจําแนกตามระดับช้ันของการบรหิ ารองคการ (Organizational) ซึ่งจําแนก ออกเปน
3 ประเภท คือ
4.1.1 นโยบายพ้ืนฐาน (Basic Policy) เปนนโยบายระดับบนหรือระดับสูง (Top
Executives) เพื่อช้ีนําหรือใชเปนแนวทางหรือเปนฐานสําหรับการกําหนดนโยบาย และการบริหารงานของ
องคการในระดับรอง ๆ ลงไป นโยบายประเภทนี้มีลักษณะเปนแนวคิดกวาง ๆ โดยอาจจะระบุทิศทางการ
บริหารและกลยทุ ธในการบรรลุวัตถุประสงคไวกวาง ๆ และมีความยืดหยุนสูง ทั้งน้ีเพ่ือใหผูบริหารระดับรอง ๆ
ลงไปสามารถนําไปตีความ และปรับใชใหสอดคลองกับสถานการณเฉพาะตาง ๆ ได นโยบายพื้นฐานบางคร้ัง
อาจเรียกวา “นโยบายหลัก” หรือถา หากเปนนโยบายของรฐั ก็อาจเรียกนโยบายประเภทน้ีวา “นโยบายการ
บริหาร” (Administrative Policy) ซึ่งเปนนโยบายท่ีรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี หรือรัฐบาลเปนผูจัดทําข้ึน โดย
แสดงถึงเจตนารมณในการดําเนินการเพื่อความอยูดีมีสุขของประชาชน เมื่อรัฐสภาเห็นชอบจึงเปนนโยบายที่
แทจรงิ นาํ ไปใชเ ปนแนวหรือเปนหลกั ในการดาํ เนินงานได
4.1.2 นโยบายท่ัวไป (General Policy) เปนนโยบายระดับกลาง ซึ่งกําหนดข้ึนโดย
ผูบริหารระดับกลาง (Middle Managers) ซ่ึงกําหนดข้ึนตามเจตนารมณของนโยบายขั้นพ้ืนฐาน นโยบาย
ท่ัวไปมักเนนในเรื่องวิธีการบริหารท่ัว ๆ ไป เชน อาจกําหนดขึ้นเปนระเบียบวิธีปฏิบัติงานตาง ๆ สําหรับ
14
ผูปฏิบัติงานเฉพาะดานในหนวยงานระดับลางไดถือปฏิบัติรวมกัน นโยบายทั่วไปทําใหนโยบายพ้ืนฐานมี
ความหมายชัดเจนย่ิงขึ้น งายตอความเขาใจของผูปฏิบัติ นโยบายทั่วไปบางคร้ังเรียกวา “นโยบายการบริหาร”
(Administrative Policy) เปนนโยบายระดับหนวยงาน เชน กระทรวง ทบวง กรม โดยผูบริหารระดับ
ปลัดกระทรวงและอธิบดีเปนผูจดั ทําขึ้น โดยจํากัดกรอบ หรือปรบั ปรุงเสรมิ แตงใหม ีความละเอียดชัดเจนย่ิงขนึ้
เพื่อความเหมาะสมและสอดคลองกับหนาที่ และภารกิจความรับผิดขอบของหนวยงานหรือผูปฏิบัติงาน โดย
คํานึงทรัพยากรและบริบทตาง ๆ เพ่ือใหการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติเปนไปอยางราบรื่น เรียบรอย บรรลุ
ตามวตั ถปุ ระสงคท ่ีกาํ หนดไว
4.1.3 นโยบายเฉพาะแผนกงาน (Department Policy) เปนนโยบายระดับลาง ซึ่ง
กําหนดข้ึนโดยผูบริหารระดับลางหรือระดับหัวหนางาน (Supervisors) ในแผนกตาง ๆ ซึ่งเปนหนวย
ปฏิบัติงานเฉพาะดาน มีความละเอียดชัดเจนเฉพาะเร่ือง เฉพาะกิจการ ลักษณะของนโยบายประเภทน้ี มัก
ประกอบอยูในแผนงานของหนวยงาน ซึ่งแสดงใหเห็นถึงแนวทางและวิธีการปฏิบัติงานในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง
อยางชัดเจน นโยบายเฉพาะแผนกงานบางครั้งเรียกวา นโยบายเฉพาะกิจ (Specific Policy) ซึ่งเปน
หนวยงานระดับกอง หรือระดับแผนกเปนผูจัดทําขึ้นเฉพาะกิจ ตามบทบาทหนาท่ีของหนวยงานนั้น
โดยยึดถือนโยบายพ้ืนฐานหรือนโยบายหลักและนโยบายท่ัวไป หรือนโยบายการบริหารเปนกรอบในการ
กําหนด เพ่ือการใหปฏิบัติภารกิจของหนวยงานเปนไปตามเปาหมาย นอกจากน้ันนโยบายเฉพาะกิจยังอาจ
จัดทําข้ึนเพ่ือแกปญหาเฉพาะหนา ซ่ึงเกิดข้ึนอยางปจจุบันทันดวน เชน นโยบายแกปญหาอุทกภัย นโยบาย
แกปญหาการประทวงของชาวประมงขนาดเล็ก เปนตน เม่ือปญหาดังกลาวไดรับการแกไขแลว นโยบายก็อาจ
ส้ินสุดไปโดยปริยาย ซึ่งโดยหลักการแลวนโยบายทั้ง 3 ระดับดังกลาวนี้จะมีความสัมพันธสอดคลอง สนับสนุน
กันและกันโดยตลอด
ในการวิจัยครัง้ น้ีจัดเปนการกําหนดนโยบายทั่วไป (General Policy) ซึ่งกําหนดขึ้นเพ่ือใหไดนโยบาย
ในการดําเนินงานใหมีการพัฒนาในทิศทางท่ีเหมาะสมและสอดคลองกับหนาที่และภารกิจความรับผิดชอบ
โดยคํานึงถึงทรัพยากรและบริบทตาง ๆ อันจะสงผลใหการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติเปนไปอยางราบรื่น
มปี ระสิทธภิ าพและบรรลุตามวัตถุประสงคท่ีกําหนดไวตามเจตนารมณของการจัดการศึกษาในสถานการณการ
แพรร ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019
4.2 จําแนกตามลักษณะเนื้อหาของนโยบาย จําแนกออกเปน 4 ระดับตามแนวคิด
ทธ่ี โี อดอร ลอว่ี (Lowi. 1964 : 677-715) ทจ่ี มุ พล หนมิ พานิช (2552 : 14-17) ไดเ รียบเรยี งไว ดังน้ี
4.2.1 นโยบายเก่ียวกับการจัดระเบียบกฎเกณฑ ไดแก นโยบายที่เปนระเบียบ
ขอ บังคบั ตา ง ๆ ภายในองคการ เชน ระเบียบเกยี่ วกับการปฏิบัติงานดานตา ง ๆ ระเบยี บการลากจิ ลาปวยของ
ผูปฏิบัติงาน ระเบียบการรักษาความสงบเรียบรอยภายในสถานท่ีทํางาน ระเบียบวาดวยการลงโทษ
ผปู ฏิบัติงานทก่ี ระทําผิดระเบียบขององคก าร เปนตน
4.2.2 นโยบายเก่ียวกับการจัดสรรทรัพยากร ไดแก นโยบายที่กําหนดลักษณะ
การจัดสรรหรือการกระจายทรัพยากรขององคการในระหวางบุคคลและหนวยงานตาง ๆ เชน งบประมาณ
อัตรากําลัง และปจจัยการผลิตอ่ืน ๆ รวมท้ังทรัพยากรที่เปนนามธรรม เชน ความรู ขาวสาร ขอมูล
เทคโนโลยี เกียรติยศชื่อเสียง หรือส่ิงอื่นใดที่บุคคลในองคการถือกันวาเปนส่ิงท่ีมีคุณคาสําหรับผูท่ีได
15
ครอบครองเปนเจาของ นโยบายเก่ียวกับการจัดสรรทรัพยากร หรือองคการ โดยทว่ั ๆ ไปมักจะปรากฏออกมา
ในรูปของคําสั่ง หรือระเบียบที่ระบุถึงอํานาจหนาที่ หรือความรับผิดชอบในการดําเนินงานขององคการหรือ
บุคคลในองคการ การใหบุคคล หรือองคการ สามารถจัดหาทรัพยากรตาง ๆ มาใชในการดําเนินงาน เปนตน
ในกรณีที่นโยบายของรัฐหรือ นโยบายสาธารณะ นโยบาย การจัดสรรทรัพยากรอาจอยูในรูปของ
กฎหมาย หรือการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ของรัฐบาลที่สงเสริมสนับสนุนหรือใหการยอมรับใหความชอบธรรม
ในสิทธิอํานาจ ในการถือครองสิทธิ์ในทรัพยสิน หรือวิธี การไดมาของทรัพยสิน หรือการยอมรับ หรือ
สงเสริมประเพณีวัฒนธรรม หรือคานิยมเก่ียวกับการจัดสรร และการกระจายทรัพยสินที่มีในสังคมนั้น ๆ
เชน นโยบายเก่ียวกับสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนในทางเศรษฐกิจ การเมืองและทางสังคมนโยบายท่ีจัดสรร
บริการสาธารณะของรัฐในดานตา ง ๆ แกประชาชน นโยบายการอนุรักษ วัฒนธรรม คา นยิ มในสังคม
4.2.3 นโยบายเก่ียวกับการจัดสรรทรัพยากรเสียใหม นโยบายประเภทน้ีเปนเรื่อง
ของการปรับปรงุ เปล่ียนแปลงลักษณะการจัดสรรทรัพยากรท่ีมีอยูกอนเสียใหมใหเหมาะสม หรือวัตถุประสงค
อยางใดอยางหน่ึงโดยเฉพาะ เชน นโยบายการปรับปรุงวิธีการดําเนินงานกิจกรรมของหนวยงาน นโยบายการ
ขยายงานบางดาน ในกรณีของหนวยงานภาครัฐ เชน นโยบายเกี่ยวกับ การปฏิรูปที่ดิน นโยบายการปฏิรูป
ระบบราชการ นโยบายการปรบั ปรงุ โครงสรางภาษอี ากร นโยบายการปฏิรปู การเมอื ง เปนตน
4.2.4 นโยบายเก่ียวกับระบบงานและโครงสรางขององคการ เปนนโยบายหลัก
ขององคการท่ีแสดงถึงวัตถุประสงคหลัก และระบบการปฏิบัติงานในระดับมหาภาคขององคการ
โดยถือเปนนโยบายตน ท่ีจะช้ีนําการกําหนดนโยบายเฉพาะดานในระดับตาง ๆ ชี้นําการบริหาร และการ
ปฏิบัติงานประจํา นโยบายประเภทน้ีมีความสําคัญท่ีสุดในองคการตาง ๆ ซ่ึงถือวาเปนปณิธาน อุดมการณ
หรือวัตถุประสงคหลักของการดําเนินงานขององคการ ในกรณีขององคการในภาครัฐ ไดแก นโยบายเกี่ยวกับ
การจัดระบบและสถาบันทางการเมืองการปกครองหรือนโยบายหลักระดับชาติที่แสดงถึงอุดมการณทาง
การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจและสังคมชาติ และเปนนโยบายตนแบบท่ีกําหนดวิธีการ กําหนดนโยบายทุก
ประเภทท่ีกลาวมาขางตน เชน กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายวาดวยพรรคการเมือง กฎหมายวาดวยการ
เลือกตัง้ เปน ตน
การจําแนกประเภทของนโยบาย ยังอาจจําแนกตามแหลงที่มาตามลกั ษณะการเกิด ตามหนาที่ภารกิจ
ของหนวยงาน เปนตน แตเม่ือพิจารณาโดยทั่วไปแลว นโยบายแตละประเภทจะมีภาพรวมของประเภทของ
นโยบายทแ่ี ตกตา งกัน คอื นโยบายหลัก นโยบายสงเสรมิ หรือนโยบายสนบั สนุนและนโยบายรวม
ในการวิจัยครั้งนี้ ขอเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณการแพรระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กรณีศึกษา : สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ที่ได
เม่ือพิจารณาโดยทั่วไปในภาพรวม จะเปนนโยบายการสงเสริมหรือนโยบายสนับสนุน หรือเมื่อพิจารณา ใน
สวนของลักษณะเน้ือหาของขอเสนอเชิงนโยบาย จะไดนโยบายท่ีเปนเน้ือหา นโยบายเกี่ยวกับแนวทางการจัด
การศึกษาเพื่อพัฒนาโรงเรียนทุกลักษณะในการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู และการดูแลชวยเหลือ
นกั เรียน
16
5. องคป ระกอบของนโยบาย
ในการแบงองคประกอบของนโยบายออกเปนกี่สวนนั้นมหี ลายแนวคิดที่เสนอไว ซง่ึ แตกตางกนั ไปตาม
หลักเกณฑที่แตละแนวคิดใชในการแบงสวนที่แตกตางกันน้ัน สวนใหญเปนรายละเอียดปลีกยอยของแตละ
แนวคิด สําหรับการวิจัยครั้งน้ีกระบวนการจะส้ินสุดท่ีขอเสนอเชิงนโยบาย ไมไดศึกษาถึงผลทางการตัดสินใจ
จึงขอกลา วถึงแนวคิดเก่ียวกับองคประกอบของนโยบาย ดงั น้ี
ทวีป ศิรริ ัศมี (2545 : 3-6) และสมภาร ศิโล (2550 : 17) ไดเรียบเรียงการแบงองคประกอบของ
นโยบายจากแนวคิดของนักวิชาการดานนโยบาย สามารถจัดเปน 4 องคประกอบ ดงั น้ี
1. เหตุผลของการกาํ หนดนโยบาย (Rational) เปนเหตผุ ลและสาเหตุที่มาของการกาํ หนด
นโยบายในเร่ืองตาง ๆ ทีร่ ฐั กําหนดข้ึน หากนโยบายท่กี ําหนดขึ้นมีเหตุผลเพียงพอ สาธารณชนก็ยอมรับได
ดงั น้ันตัวนโยบายตองอางอิงถึงสาเหตุทม่ี าและเหตุผลในการกาํ หนดนโยบายดวย
2. เปาหมายของนโยบายหรอื ผลที่คาดวาจะไดร ับจากนโยบาย (Targets or Ended Result)
เปนการกําหนดเปาหมายของนโยบายถือเปนจุดหมายปลายทางที่รัฐบาลมุงไปใหถึง แตขอสําคัญเปาหมาย
ตองมคี วามชัดเจนเพ่ือใหผปู ฏบิ ัติตามนโยบายมหี ลักยึดถือท่ีชัดเจน
3. วิธีการหรือกลวิธีที่จะทําใหนโยบายบรรลุเปาหมาย (Means or Strategies) เปนวิธีการ
ปฏิบัติ (Means) เพ่ือนําไปสูการบรรลุเปาหมาย (End) ของนโยบายตามท่ีกําหนดไว นโยบายหนึ่ง ๆ อาจ
ประกอบดว ยกลวิธหี ลายกลวิธีท่ีผูปฏบิ ัติตองเลือกกลวิธีท่ีดีท่เี หมาะสมไปใช
4. ทรัพยากรหรือปจจัยท่ีสนับสนุนการดําเนินนโยบาย (Resources) หมายถึง ทรัพยากรท่ี
เปนปจจัยสนับสนุนใหการดําเนินนโยบาย ตามวิธีการที่กําหนดบรรลุผล ทรัพยากรที่เปนองคประกอบของ
นโยบาย เชน คน เงิน วสั ดุ เครอื่ งมือ เครอื่ งจกั ร ฯลฯ
ประชุม รอดประเสริฐ (2543 : 23-27) ไดเรียบเรียงนําเสนอองคประกอบของนโยบายท่อี าจพิจารณา
ไดจ ากปจ จัยท่ีเปนองคป ระกอบของนโยบาย สามารถจาํ แนกได 2 ประเภท ไดแ ก
1. ปจจัยท่ีเปนองคประกอบพ้ืนฐาน (Fundamental Factor) หมายถึง สิ่งตาง ๆท่ีผูกําหนด
นโยบาย ตองคํานึงถึงอยูตลอดเวลา หากไมคํานึงถึงอาจทําใหนโยบายขาดความสมบูรณ และไมสามารถ
ปฏิบตั ิได เชน ปจ จยั ที่เกย่ี วกับผลประโยชน ปจจัยที่เกีย่ วกับผกู ําหนดนโยบาย วิธีการ หรือกระบวนการในการ
ดําเนินนโยบาย ปจ จยั ทเี่ ก่ียวกับขอมูลและเอกสารตาง ๆ
2. ปจจัยท่ีเปนส่ิงแวดลอม (Environmental Factors) หมายถึงส่ิงแวดลอมในสังคมท่ีผู
กําหนดนโยบายตองคํานึงถึง เพราะส่ิงแวดลอมในสังคมมีผลกระทบตอการกําหนดนโยบาย เชน ปจจัยทาง
การเมืองและ วัฒนธรรมการเมือง ปจจัยทางดานเศรษฐกิจ ปจจัยทางสังคม ปจจัยทางภูมิศาสตรและ
ประวตั ิศาสตร เปนตน
จากการสังเคราะหอ งคประกอบของนโยบายที่ไดกลาวมาแลว ขา งตน ประกอบกบั แนวความคิดท่ีเจม
แอนเดอรสัน (Anderson, 2000) และแนวความคิดของไลนเบอรรีและชารคันสกี (Lineburry &
Sharkansky, 1971) จากการเรียบเรียงของจุมพล หนิมพานิช (2552 : น.13-14) จําแนกองคประกอบของ
นโยบายที่สอดคลองกันไว 5 องคประกอบ ไดแก 1) การมีเปาหมาย หรือวัตถุประสงคที่ชัดเจน แนนอน
2) เปนแนวทางการปฏิบัติงานหรือเปนแผนลําดับข้ันตอนท่ีจะนําไปสูการบรรลุเปาหมายท่ีกําหนดไว
17
3) เปนกิจกรรมหรือหนาที่ที่ควรกระทําและสามารถเลือกมาปฏิบัติได 4) เปนกิจกรรมการตัดสินใจที่มีลําดับ
ข้ันตอนในการจะกระทําหรืองดเวนการกระทํา 5) เปนเอกสารที่มีผลทางกฎหมายจึงตองประกาศให
ผูเ ก่ียวขอ งทราบโดยทว่ั ถึง
วิโรจน สารรัตนะ (2550 : 26) และสมภาร ศิโล (2550 : 17) ไดศึกษาวิเคราะหแนวคิดเก่ียวกับ
นโยบาย และแนวการวิจัยเชิงนโยบายตามทัศนะของมารชเชค (Majchrzak, 1984) และไดกลาวถึง
องคประกอบของนโยบายไว ดังน้ี คือ นโยบาย (Policy) เปนขอความที่บอกใหทราบถึงทิศทางการ
เปล่ียนแปลงขององคการ หรือของสังคม ทิศทางดังกลาวอาจจะอธิบายถึงเร่ืองอะไร เพื่ออะไร อยางไร และ
เพียงใด ของความเปลี่ยนแปลงท่ีจะเกิดข้ึนได โดยมีองคประกอบสําคัญ 2 สว น คือ วัตถุประสงคของนโยบาย
(Policy Objective) และแนวทางของนโยบาย (Policy Means) นโยบายจะขาดองคประกอบสําคัญสวนใด
สวนหนึ่งน้ีมิได เชน มีเพียงวัตถุประสงคไมบอกแนวทาง สิ่งที่กําหนดน้ันก็ไมเปนนโยบาย จะมีคาเพียงเปน
ความปรารถนาเทานั้น เปนตน และบางครั้งนโยบายท่ีดีอาจจําเปนตองมีองคประกอบสวนที่ 2 คือ กลไกของ
นโยบาย (Policy Mechanism) กลไกของนโยบายจะชวยใหเห็นวาการจะบรรลุวัตถุประสงคท่ีกําหนดตาม
แนวทางที่ช้ีนําไวจะตองมีกลไกอะไรบางเปนเครื่องมือ กลไกนโยบายน้ีหมายรวมถึงต้ังแตระเบียบ กฎหมาย
ทรี่ องรบั การปฏบิ ตั ิ หนว ยงานทป่ี ฏิบัติ ตลอดจนทรพั ยากรตาง ๆ ทใ่ี ชปฏิบตั ิ
สวนในการวิจัยครั้งน้ีเน่ืองจากผลการวิจัย คือ ขอเสนอเชิงนโยบาย ซึ่งไมไดศึกษาถึงข้ันของการ
นําไปสูการตัดสินใจของผูบริหาร รวมถึงไมไดศึกษาถึงผลการนําไปใชในทางปฏิบัติ จึงจัดองคประกอบของ
ขอเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ในระดับเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 เปนโครงการหรือแผนงานยอย โดยกําหนดใหมีลักษณะ
เฉพาะเจาะจงของหลักการและเหตุผล วัตถุประสงค กลยุทธการดําเนินงาน งบประมาณ และผลที่คาดวาจะ
ไดรับ
6. กระบวนการกําหนดนโยบาย
การกําหนดนโยบายเปนกระบวนการท่ีตอเนื่องซ่ึงเริ่มต้ังแตการนําขอมูล สภาพปญ หา
และความตองการเขาสูกระบวนการกําหนดนโยบาย การรางและการพัฒนานโยบาย การใหความเห็นชอบ
หรือการอนุมัตินโยบาย การนํานโยบายสูการปฏิบัติ และการประเมินผลนโยบายเพื่อน ขอสรุปและ
ขอเสนอแนะตาง ๆ เขาสูกระบวนการกําหนดนโยบายในรอบปตอไป กระบวนการกําหนดนโยบายมีข้ันตอน
ตามทที่ วีป ศริ ริ ศั มี (2544 : 13-19) ไดเรยี บเรยี งไว ดงั น้ี
6.1 ขนั้ ตอนท่ี 1 การกาํ หนดประเด็นปญ หาและความตองการ
บริบทตาง ๆ ท้ังเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม สิ่งเหลาน้ีมีผลตอการกําหนดนโยบายของ
หนวยงานและองคการท้ังสิ้น ซ่ึงจะตอ งวิเคราะหบริบทดังกลาวมีปมปญหาอะไรบาง อยูในบทบาทหนาที่หรือ
ความรับผิดชอบขององคการท่ีจะตองเขาไปเกี่ยวของกับการกําหนด ประเด็นปญหา และความตองการ
เจาหนาที่วิเคราะหน โยบายหรือเจา หนาที่วางแผนขององคการ สามารถดําเนนิ การ ไดด ังนี้
6.1.1 ศึกษาคนควา รวบรวมขอมูลขาวสาร เศรษฐกิจ การเมืองและสังคม หรือ
ขอมูลท้ังภายนอกและภายในองคการใหกวางขวางเพียงพอท่ีจะนํามาเปนขอมูลพ้ืนฐานในการกําหนดปญหา
18
และความตองการโดยวิธีการตา ง ๆ ที่จะไดมาซ่ึงขอมูลดังกลาว เชน การวจิ ัย การสํารวจประชามติ การสํารวจ
ตลาด การวเิ คราะหเอกสาร ฯลฯ
6.1.2 การวิเคราะห แปลความหมาย หรือตีความและสรุปประเด็นปญหา และ
ความตอ งการของสังคมและองคก าร เพ่ือนาํ เขาสูก ระบวนการกาํ หนดนโยบาย
6.1.3 การคัดเลือก จัดระบบ และจัดลําดับความสําคัญของปญหา และความ
ตอ งการเพื่อนาํ เขาสูกระบวนการพัฒนานโยบาย ซึ่งผูปฏิบัติหนาท่ีนจ้ี ะตองพยายามระบุ ประเดน็ ปญหาใหเปน
รูปธรรมโดยเฉพาะการวิเคราะหแยกแยะประเภทของปญหาอยางเปนเหตุ เปนผล เพ่ือใหเขาใจสภาพปญหา
และเขา ถงึ สาเหตุของปญ หาทแ่ี ทจริง โดยอาจจะใชการวิเคราะห โครงสรา งของปญ หา ดงั น้ี
(1) ตรวจสอบความเบี่ยงเบนสภาพท่คี วรจะเปนกบั สภาพทแ่ี ทจริง
(2) กําหนดขอบเขตของปญหา ความเบ่ียงเบนระหวางสภาพที่ควรจะเปน
กบั สภาพทีแ่ ทจ ริง เปน ส่งิ ทีส่ ะทอนใหปญหาของเรื่องที่ตรวจสอบ ซึ่งนักพัฒนานโยบายจะตองกาํ หนดขอบเขต
ของปญหาใหชัดเจน เพราะบางเร่ืองเปนประเด็นที่เกี่ยวของกับหลายเร่ือง การพิจารณาขอบเขตของปญหาจึง
ควรมองในภาพรวมใหเ หน็ ทุกดานของปญ หามากกวา ที่จะพจิ ารณาทีละปญหา
(3) การวิเคราะหสาเหตุของปญหาซึ่งอาจเร่ิมจากการตั้งสมมติฐานเบื้องตน
กอนวาปญหานาจะมาจากสาเหตุใด แลวหาขอมูลและเหตุผลมาสนับสนุนและยืนยันสมมติฐานน้ัน ๆ ซ่ึง
จะตองระมดั ระวงั เพราะการตั้งสมมตฐิ านท่ผี ิดพลาดก็จะนําไปสูการแกปญ หาทีผ่ ิดพลาด
(4) ระบุปญหา ผลจากการตรวจสอบสมมติฐาน ซึ่งอาจดําเนินการโดยการ
ศึกษาวจิ ัย การสาํ รวจ หรอื การศึกษาขอมูลในรูปแบบตา ง ๆ แลวจะยนื ยนั ไดวาอะไรคือปญหาทีแ่ ทจ ริง เพราะ
การระบุปญหาถือเปนหัวใจของการแกไขปญหา ซึ่งจะทําใหนโยบายมีความชัดเจนและสามารถนําไป
ดําเนินการเพอ่ื แกไ ขปญหาไดอยางถูกจุด
หลังจากการวิเคราะหปญหาตาง ๆ ท่ีไดรับรูมาท้ังหมดดังท่ีกลาวมา นักพัฒนา
นโยบายตอง คัดเลือกปญหา นําปญหาที่อยูในกรอบนโยบายไปจัดทํารางนโยบายตอไป สวนปญหาท่ีไมอยูใน
กรอบหรือเร่อื งทีไ่ มสาํ คญั เรงดวนเพียงพอก็อาจละไวกอน
6.2 ขั้นตอนที่ 2 การกาํ หนดเคาโครงนโยบายเบ้อื งตนและการพัฒนานโยบาย
เม่ือกําหนดนโยบายปญหาใหมีความชัดเจนในลักษณะของปญหานโยบายแลว ขั้นตอนตอไป
นักพัฒนานโยบายจะตองดําเนินการ คือ การกําหนดเคาโครงนโยบายเบื้องตนและการพัฒนานโยบาย ซ่ึงมี
กจิ กรรมท่ีจะตองดําเนินการตามลาํ ดบั คือ
6.2.1 การกําหนดทางเลือกหรือวิธีการแกปญหา โดยอาศัยความรูทางวิชาการท่ี
เกี่ยวขอ ง ประกอบกับประสบการณแ ละจนิ ตนาการของนกั พัฒนานโยบาย โดยมุงแกที่สาเหตุของปญหา ซ่ึงใน
บางกรณีอาจมีการสรางแบบจําลองทางเลือกแตละทาง เพื่อแสดงใหเห็นวาทางเลือกน้ัน ๆ จะมีสวนชวย
แกปญหาในลักษณะใด และจะสงผลกระทบอยางไรตอสถานการณของปญหานั้น ๆ เพ่ือประกอบการ
วเิ คราะหใ นขั้นตอไป
6.2.2 การวิเคราะหทางเลือก หรือวิธีการแกปญหา ในขั้นตอนน้ีเปนการวิเคราะห
ตนทุน และผลตอบแทนทางเลือกการแกปญหาแตละทาง โดยใชหลักเกณฑในการพิจารณาซึ่งมักจะเปนเรอื่ ง
19
เกี่ยวกับวิธีการวัด การคํานวณคาใชจายหรือตนทุน ผลกระทบในทางลบ ผลตอบแทนหรือประโยชนที่คาดวา
จะไดรับ ตลอดจนเงื่อนไขตาง ๆ เกี่ยวของกับการนําทางเลือกไปปฏิบัติ เชน เง่ือนไขดานการเมือง การบริหาร
และบริบทหรือสภาวะแวดลอมอื่น ๆ ท่ีเก่ียวของ นักพัฒนานโยบายจะคัดเลือกทางเลือกท่ีอยูในเกณฑดีและ
มีความเปนไปไดสูงจํานวนหนึ่ง เพอื่ จัดทํารางนโยบายเบอ้ื งตนตอไป สว นทางเลือกอื่น ๆ ก็จะถูกตัดทิ้งไป
6.2.3 การจัดทําเคาโครงนโยบายเบ้ืองตน เปนการนําทางเลือกการแกปญหาท่ีผาน
การพจิ ารณาคัดเลือกแลว มาจัดทาํ รายละเอียดในรูปของแผนงาน โครงการและกิจกรรมตาง ๆ ตามกรณี และ
ประมวลเปนเคา โครงนโยบายในเร่ืองนั้น ๆ เพอื่ เสนอขอความเห็นชอบและขอรบั การจัดสรรงบประมาณจากผู
มอี ํานาจอนุมัติตามลําดบั ตอไป
6.2.4 การพิจารณากล่ันกรองและการอนมุ ัตินโยบาย จะมี
(1) การพิจารณากลั่นกรองนโยบาย หนวยงานระดับสูงข้ึนไปจะทําหนาที่
กลั่นกรองตามความเหมาะสมของเคาโครงรางนโยบายที่หนวยงานระดับลางเสนอข้ึนไป และทําหนาที่
ประสานแนวนโยบายของหนวยงานตาง ๆ ท่ีเก่ียวของกันใหสอดคลองสนับสนุนซ่ึงกันและกัน เพ่ือใหการวาง
นโยบายในเรอื่ งตา ง ๆ ผสมผสานกันและมเี อกภาพ
(2) การพิจารณาอนุมัตินโยบาย การอนุมัตินโยบายที่ผานการกล่ันกรอง
และประสาน แนวนโยบายแลวนั้นจะครอบคลุมถึงการอนุมัติงบประมาณ และทรพั ยากร อนื่ ๆ เพื่อสนับสนุน
การดาํ เนนิ นโยบายเรอื่ งน้ัน ๆ โดยอัตโนมัติ
(3) การประกาศใชนโยบายหลังจากที่เคาโครงหรือรางนโยบายเร่ือง ใด ๆ
ผานการพิจารณาอนุมัติแลวก็จะประกาศใชนโยบายเร่ืองนั้น ๆ โดยท่ัวไปซึ่งอาจปรากฏออกมาในลักษณะของ
ระเบียบวิธีการดําเนินงาน ประกาศ คําสั่ง พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง แผนงานโครงการ
อ่ืน ๆ ตามแตกรณี ซึ่งสามารถกระทําไดหลายวิธี ตามแตลักษณะของนโยบายนั้น ๆ เชน การประกาศในราช
กจิ จานเุ บกษา การประกาศทางสถานีวทิ ยุโทรทัศน การประกาศในหนังสือส่งั การหรือหนังสือราชการ เอกสาร
แผนงบประมาณประจําป เปนตน
6.3 ข้นั ตอนที่ 3 การนาํ นโยบายไปปฏบิ ัติ
ข้ันน้ีเปนการนํานโยบายไปใช เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของนโยบายที่กําหนดไว
โดยองคการ หรือหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ในกรณีของนโยบายสาธารณะ ผูที่จะนําไปปฏิบัติ คือ
สวนราชการตาง ๆ ไดแก กระทรวง ทบวง กรม ตลอดจนหนวยงานรัฐวิสาหกิจตาง ๆ และในปจจุบัน
ภาคเอกชนกไ็ ดเ ขามามีบทบาทในการนํานโยบายไปปฏิบัตทิ ่ีมคี วามสาํ คัญพอ ๆ กับภาครัฐ การนาํ นโยบายไป
ปฏบิ ัตจิ ะตองอาศัยระยะเวลา และดาํ เนินการอยางเปนกระบวนการ คือ เปน ขนั้ ตอนท่ีตอเนื่องกัน ไดแก
6.3.1 การแปลความหมายของนโยบาย
6.3.2 การรวบรวมทรพั ยากรเพอื่ ปฏิบตั ิตามนโยบาย
6.3.3 การวางแผนเพ่ือปฏบิ ัติตามนโยบาย
6.3.4 การเตรียมการเพ่ือนํานโยบายไปปฏิบัติ เชน การจัดองคการ การพัฒนา
องคการ การพัฒนาวิธีการบริหารงานขององคการ การพัฒนาระบบการส่ือสาร การพัฒนาบุคลากรเปนตน
ทัง้ น้เี พื่อใหส อดคลอ งสนบั สนนุ การดาํ เนนิ งานจากนโยบาย
20
6.3.5 การปฏิบัติตามนโยบาย เปนการดําเนินงานตามแผนงานโครงการท่ีกาํ หนดไว
เชน การดําเนินการเก่ียวกับการเบิกจายงบประมาณ การดําเนินการเก่ียวกับการจัดซื้อจัดจาง การบริการ
สาธารณะแกประชาชน การรักษาระเบียบกฎหมายบานเมือง โดยตลอดระยะเวลาท่ีปฏิบัติตามนโยบาย
หนวยงานระดับสูงข้ึนไปก็จะกระตุนหรือผลักดันใหหนวยงานระดับลาง ดําเนินการตามแผนงาน โครงการหรือ
กจิ กรรมทก่ี ําหนดไว ซง่ึ เรยี กลักษณะการดําเนินการดงั กลาวน้ีวา การบริหารนโยบาย
6.3.6 การติดตามผลการปฏิบัติตามนโยบาย เพ่ือใหการปฏิบัติตามนโยบาย บรรลุ
ตามเปาหมายท่ีกําหนดไว การติดตามผลการปฏิบัติงานของหนวยงานตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ นับวามีความสําคัญ
เปนอยางยิง่ ซึ่งมีหลายลักษณะ เชน การรายงานผลการปฏิบัตงิ าน การตรวจเยย่ี ม และติดตามโดยสวนกลาง
ในรปู ของผตู รวจราชการ
6.4 ขั้นตอนที่ 4 การประเมนิ ผลนโยบาย
การประเมินนโยบายเปนสวนหนึ่งของการบริหารนโยบายท่ีผูบริหารนโยบาย จะตองกําหนด
ไวกอนลวงหนาเพ่ือการตัดสินใจวานโยบายท่ีกําลังดําเนินการอยูนั้นยังเหมาะสมท่ีจะตองใชตอไป หรือตอง
ปรบั ปรงุ เปลี่ยนแปลง หรอื ยกเลกิ การประเมินผลนโยบายเปนการประเมินใน 2 ลกั ษณะ คอื
6.4.1 การประเมินผลระบบ หรือกระบวนการกําหนดนโยบาย เปนการประเมินเพ่ือ
หาขอสรุปวา ระบบหรือกระบวนการกําหนดนโยบายท่ีสรางข้ึนน้ันมีความเปนไปได มีประสิทธิผล และมี
ปญหาอุปสรรคมากนอยเพียงใด ซึ่งมีจุดเนนท่ีสําคัญ คือ การตรวจสอบระบบของนโยบายใน 3 สวน คือ
สงิ่ ปอ นเขา หรือขอมูลนําเขา กระบวนการและผลผลิต
6.4.2 การประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบาย ประกอบดวยการประเมินแผน
กลยุทธ การประเมินสัมฤทธ์ิผลของนโยบายเฉพาะดา น
6.5 ขอควรคาํ นึงในการกําหนดนโยบาย
การกาํ หนดนโยบายหลักเปนหนาที่ของผูบริหารระดับสูง แลวผบู ริหารระดับรองลงมาเปน
ผูนํานโยบายนั้นไปปฏิบัติอยา งรอบคอบและเตม็ ความสามารถ เพอ่ื ใหนโยบายน้ันบรรลุเปา หมายทีก่ ําหนดไว
อยางไรก็ตามการท่ีจะใหเปนไปตามความคาดหวงั ดงั กลาว ผูที่กาํ หนดนโยบายจะตองคํานึงถงึ ส่ิงตอไปนี้
6.5.1 ความรอบคอบ ครบถวนสมบรู ณ ความถูกตอง และความเปนปจจบุ ันของ
ขอ มูล และสารสนเทศตา ง ๆ ที่นํามาใชใ นการกําหนดนโยบาย
6.5.2 วสิ ัยทศั น บทบาท หนาที่ และภารกิจ หรอื พันธกิจขององคการหรอื หนวยงาน
6.5.3 ผลประโยชนขององคก าร หรือหนวยงาน
6.5.4 ความตองการของสังคมหรอื คนสวนใหญที่จะไดรบั ผลกระทบจากการนํา
นโยบายนั้นไปใช
6.5.5 เหตุผลและความเปนไปไดในการนํานโยบายไปปฏิบัติ ซ่ึงเปนการพิจารณา
ถึงปจจัยท่ีมีผลกระทบหรือมีอิทธิพลตอการนํานโยบายไปปฏิบัติ นับตั้งแตความรูความสามารถของผูปฏิบัติ
ฐานะทางเศรษฐกิจขององคการหรือหนวยงาน ระเบียบและกฎหมายของสังคม วัฒนธรรม โดยเฉพาะอยางย่ิง
ในดานคานิยมและความเชื่อของสังคม ตลอดจนบริบททางการเมือง การปกครองของประเทศ และสภาพ
ปจจบุ นั ทางภูมิศาสตรนบั ต้ังแต สถานที่ตงั้ พืน้ ท่ี อาณาเขต สภาพภมู อิ ากาศขององคการหรอื หนวยงาน
21
กลาวโดยสรุปกระบวนการกําหนดนโยบาย ประกอบดวยขั้นตอนในการกําหนดประเดน็ ปญหา และ
ความตองการ ข้ันตอนการกําหนดเคาโครงนโยบายเบ้ืองตนและการพัฒนานโยบาย ข้ันตอนการนํานโยบาย
ไปปฏิบัติ และขั้นตอนการประเมินผลนโยบาย สําหรับการวิจัยครั้งนี้ไดมีการนําแนวคิดในสวนที่จะเปน
ประโยชนตอการนาํ มาประยุกตใชก ับการวิจยั คอื ขั้นตอนในการกําหนดประเดน็ ปญหา และความตองการ กับ
ข้ันตอนการกําหนดเคาโครงนโยบายเบื้องตน และการพัฒนานโยบาย สวนขั้นตอนการนํานโยบายไปปฏิบัติ
และขน้ั ตอนการประเมินผลนโยบาย ยังไมไ ดนํามาใชในการวิจัยคร้งั น้ี
7. รูปแบบการกําหนดนโยบาย
ตามทเ่ี รืองวิทย เกษสุวรรณ (2550 : 160-162) ไดกลาวถึงผทู เ่ี กี่ยวของในการกําหนดนโยบายอยู
4 กลุมใหญ ดังนี้
7.1 ระบบราชการ (Public bureucracy) เปนตัวแสดงทส่ี ําคัญในการสรา งขอเสนอที่เปน
รปู ธรรมเพราะระบบราชการเปนศูนยกลางของการกําหนดนโยบาย
7.2 กลุมมันสมองและรัฐมนตรีเงา (Think tanks and shadow cabinets) กลุมคน เหลานี้
อาจอยูในตําแหนงท่ีปรึกษา หรืออนุกรรมการในการรางนโยบาย จึงมีอิทธิพลคอนขางมากท้ังยังอาจมีสวนได
เสียกับนโยบาย เปนกลุมผเู ชีย่ วชาญท่ีสนบั สนุนผูนาํ เขาสูตําแหนง
7.3 กลุมผลประโยชน (Interest groups) เปน กลมุ ผบู รโิ ภคกลุมตา ง ๆ จะเสนอปญหา และ
ผลักดันสูนโยบาย มุงเนนการปฏริ ูปเปลี่ยนแปลงนโยบาย
7.4 สมาชิกสภา (Congressmen) ฝายบริหารตองแถลงนโยบายตอสภา สมาชิกสภาจึงมี
บทบาทในการพิจารณาใหความเห็นชอบหรือเสนอแนะนโยบายตอฝายบริหารเปนคณะกรรมาธิการในการ
กํากับตดิ ตามนโยบายรัฐบาลในดา นตาง ๆ ดวย
จากรูปแบบการกําหนดนโยบายตาง ๆ ดังกลาวขางตน เมื่อพิจารณาถึงการกําหนดรูปแบบ นโยบาย
ในการวิจัยในคร้ังนี้ จัดไดวาผูกําหนดนโยบายเปนกลุมผูมีสวนไดสวนเสียกับการบริหารการจัดการศึกษา การ
จัดการเรียนการสอนในชวงสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และ
การดูแลชวยเหลือนักเรียน ของสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ
เขต 2 ที่จะเสนอปญหาและผลักดันสูนโยบาย มุงเนนการปฏิรูป เปลี่ยนแปลงนโยบายรูปแบบการกําาหนด
นโยบายในรูปแบบกลุม ท่เี นน ใชหลกั การมีสวนรวม
8. ลักษณะของนโยบายที่ดี
ประชุม รอดประเสริฐ (2543 : 18-21) ใหทัศนะไววา นโยบายท่ีกําหนดออกมาน้ัน จะถือวาเปน
นโยบายท่ีดีในระดับใดนั้น ขน้ึ อยกู ับเงอื่ นไขและปจจัยตา ง ๆ ท่ีเกี่ยวของ และแตกตางกันไปหลายประการของ
แตละองคการ ดังเชน ความสามารถของผูกําหนดนโยบาย กระบวนการในการกําหนดนโยบาย ความเขาใจ
และความสามารถของผูนาํ นโยบายไปปฏิบตั ิ การประเมินผล นโยบายท่ีเท่ียงตรงและนาเชื่อถือ การจัดระบบ
บริหารท่ีมีประสิทธิภาพของหนวยงาน ตลอดจนเจตคติของผูท่ีเกี่ยวของท่ีมีตอนโยบายนั้นดวย นโยบายท่ีดี
ควรมีลักษณะ ดังน้ี
8.1 นโยบายที่ดีตองมีความสอดคลองกับวัตถุประสงคขององคการและสามารถชวยใหการ
ดําเนินงานบรรลุถึงเปา ประสงคได
22
8.2 นโยบายทีด่ ีตองกาํ หนดขึ้นจากฐานขอมูลท่ีเปนจริง
8.3 นโยบายที่ดีตองไดรบั การกําหนดข้ึนกอนท่จี ะมีการดาํ เนินงานและกําหนดกลวิธี
ตลอดจนจัดสรรทรัพยากรท่เี หมาะสมแกการดําเนินงาน
8.4 นโยบายท่ีดีควรกําหนดข้ึนเพื่อสนองผลประโยชนตอบุคคลโดยสวนรวม และตองมกี าร
ประสานงานรว มกัน
8.5 นโยบายท่ีดตี องเปนถอยคาํ ที่กะทัดรัด ใชภาษาเขา ใจงา ย และเปน ลายลักษณอักษร
8.6 นโยบายตองมขี อบเขตและระยะเวลาการใช และควรมีความยืดหยุนแตม ่ันคงอยบู น
หลักการและสอดคลองกับระเบียบท่ีถูกตอง
8.7 นโยบายท่ีดีตองครอบคลุมถึงสถานการณที่จะเกิดข้ึนในอนาคต
8.8 นโยบายที่ดีตองสอดคลองกบั ปจจัยภายนอกองคก าร
8.9 นโยบายตองสามารถเปลี่ยนแปลงไดตามความจาํ เปนและอยางมเี หตุผล
8.10 นโยบายตองเปนเหตุเปนผล สามารถนําไปปฏบิ ัติไดและตองไดรับการตรวจสอบและ
ทบทวนเปนระยะ ๆ
ขณะท่ีทวปี ศริ ิรัศมี (2545 : 10-11) ไดกลาวถึงลักษณะของนโยบายท่ีดีไว ดงั นี้
1. จะตองกําเนิดข้ึนจากขอมูลท่ีเปนจริง มิใชความคิดเห็นสวนตัวของผูกําหนดนโยบาย แต
ทั้งนี้ ความคิดเห็น ขอเสนอแนะหรือปฏิกิรยิ าตา ง ๆ จากภายนอกกค็ วรนํามาพิจารณาในการกําหนด นโยบาย
ดวยเชน กัน
2. จะตองสอดคลองกับวัตถุประสงคของหนวยงานและสามารถที่จะชวยใหการดําเนินงาน
บรรลุเปาประสงคได
3. จะตองไดรับการกําหนดขึ้นกอนที่จะมีการดําเนินงาน โดยการกําหนดกลวิธีไวกวาง ๆ
เพ่อื ใหผูปฏิบัติสามารถพิจารณาตีความแลวนาํ ไปปฏบิ ัตติ ามความสามารถสอดคลอ งกับสถานการณในขณะนัน้
และเหมาะสมกับทรพั ยากรทมี่ ีอยู
4. จะตองมุงสนองประโยชนใหกับบุคคลโดยสวนรวม จัดลําดับตามความสําคัญ และความ
จําเปนกอนหลงั ในการปฏบิ ัติ
5. จะตองเปนถอยคําหรือขอความท่ีกะทัดรัด ใชภาษาที่เขาใจงาย แถลงไวเปนลายลักษณ
อักษร เพือ่ ใหสมาชิกทกุ คน และทุกระดับชั้นในหนวยงานสามารถเขาใจไดอยางชัดแจง
6. จะตองอยูภายในขอบเขตของวัตถุประสงค และมีความยืดหยุน สามารถท่ีจะปรับปรุง
เปลย่ี นแปลงใหท ันตอเหตุการณใหม ๆ เสมอ
7. จะตองเปนจุดรวม หรือศูนยประชาสัมพันธของหนวยงาน สามารถใชนโยบายเปน
หลักการในการปฏิบัติภารกิจของตน และใชเปนแนวทางในการประชาสัมพันธกับหนวยงานอื่น ซึ่งมีภารกิจท่ี
แตกตางกันออกไปได
8. จะตองครอบคลุมไปถึงสถานการณที่จะเกิดข้ึนในอนาคตดวย โดยอาศัยขอมูลที่ผานการ
วิเคราะห อยางละเอียดรอบคอบแลว การกําหนดนโยบายในลักษณะดังกลาว จะชวยใหการดําเนินงาน
23
ที่เปนอยูในปจจุบันและงานท่ีจะดําเนินการในอนาคตอันใกลกับงานท่ีจะตองดําเนินการในอนาคตมีความ
สอดคลอ งและตอเนื่องกัน
9. จะตองสอดคลองกับปจจยั ภายนอกองคการ กลาวคือตองสอดคลองกับระเบียบ กฎหมาย
และขอบงั คบั ตาง ๆ ของสังคมโดยสวนรวม ตลอดจนความสนใจหรือความคิดเห็นของสาธารณชน
จากท่ีกลาวมาขางตนสามารถสรุปไดวา นโยบายท่ีดีจะชวยใหผูปฏิบัติตัดสินใจในการปฏิบัติงานได
อยางมีทิศทางและมีประสิทธิภาพ ไมจําเปนตองรอการวินิจฉัยส่ังการจากผูบังคับบัญชาอยูตลอดไป ทั้งนี้
เพราะเขาใจในนโยบาย เขาถึงการนําไปสูการปฏิบัติ และครอบคลุมถึงการแกปญหาในอนาคตท่ีจะเกิดขึ้นไว
ลวงหนาแลว นโยบายที่ดีจงึ ตองมีความชัดเจน กําหนดขนึ้ จากขอมูลที่เปนจริง ใชภาษางาย ๆ ท่ีทุกคนเขาใจ
ตรงกัน มีการกําหนดระยะเวลาการใช สามารถตอบสนองความตองการของประชาชน และสังคมโดยรวม
สอดคลองกับแนวโนมการเปล่ียนแปลงและมีความเปนไปไดในการนําไปปฏบิ ัติ
9. การนํานโยบายไปสูการปฏบิ ตั ิ
สําหรับการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติอยางมีประสิทธิผลน้ัน วิโรจน สารรัตนะ (2546 : 75) ไดให
ขอเสนอยุทธศาสตรในการนํานโยบายทางการศึกษาไปปฏิบัติใหบรรลุผล โดยไดกําหนดขอเสนอเปน
13 ยุทธศาสตรในการนาํ นโยบายไปปฏิบัติ ดังน้ี
9.1 วเิ คราะหแ ละสง ตอนโยบาย
9.2 เรยี นรปู ญ หาเพ่ือแกไขและปอ งกัน
9.3 ใชผลการวิจัยใหเ ปนประโยชน
9.4 นําทฤษฎมี าประยกุ ตใช
9.5 พัฒนาปจจัยท่ีสง ผลตอนโยบาย
9.6 ติดตาม ประเมินและวิจัยเพอ่ื พัฒนา
9.7 มุงชนะส่ิงตอตานการเปล่ียนแปลง
9.8 มุง เปนผูนําการเปล่ียนแปลง
9.9 ศกึ ษาอนาคตเพื่อวิสัยทัศน รเิ รม่ิ และสรางสรรค
9.10 ทบทวนขอวิจารณตอ การศกึ ษา
9.11 ทบทวนขอเสนอเพอ่ื ปฏิรปู การศึกษา
9.12 ทบทวนเพือ่ เขาใจในนโยบาย
9.13 พฒั นาตัวแบบกระบวนการนโยบายของหนวยงาน
ในขณะที่วีเลน และฮังเกอร (Wheelen & Hunger) ไดกําหนดแนวทางที่มีประสิทธิภาพในการนํา
นโยบายไปปฏบิ ัตไิ ว 4 ประการ ไดแก
1. การระบุภารกิจหลัก
2. การกําหนดวัตถุประสงค
3. การพัฒนายุทธศาสตรห รือกลยุทธ
4. การกาํ หนดนโยบาย
24
สวนกลา ทองขาว (2548 : 78) ไดกลาวถึงองคประกอบของการนํากลยุทธไปสูความสําเร็จ ในการ
ปฏิบตั ิน้นั ประกอบดวย
1. วสิ ัยทัศน
2. พนั ธกิจ
3. เปา หมาย
4. ยุทธศาสตรหรือกลยทุ ธ
5. มาตรการดาํ เนินการ
6. การประเมินผล
ส รุ ป ส า ร ะ ใน ก า ร นํ า น โ ย บ า ย ไป สู ก า ร ป ฏิ บั ติ อ ย า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล ใน ภ า พ ร ว ม จึ ง ป ร ะ ก อ บ ด ว ย
การวิเคราะหนโยบายหรือการกําหนดวัตถุประสงคหรือสรางวิสัยทัศน การระบุภารกิจหลักหรือทบทวนพันธ
กิจ การพัฒนายุทธศาสตรหรือกลยุทธการปฏิบัติการ การสงตอนโยบายหรือมาตรการ ดําเนินการ และการ
ประเมินผลหรือตัวช้วี ัดความสําเร็จ
10. ความสัมพันธระหวางนโยบายกับยทุ ธศาสตร
จากการศึกษาองคประกอบของนโยบายอาจกลา วไดวานโยบายและยุทธศาสตรตางเปนประเภทของ
แผนงาน (Types of Plan) อันเปนผลท่ีไดจากกระบวนการวางแผน (Planning) ดังที่ ก่ิงพร ทองใบ (2547 :
น.86) กลา ววา การวางแผนเปน หนาที่ทางการบริหาร (Managerial Functions) หมายถงึ กระบวนการใน
การกาํ หนดเปาหมายหรอื วัตถุประสงคใ นอนาคตขององคการ เพอ่ื ใหเ ปน แนวทางในการหาวิธีดําเนินงานให
บรรลเุ ปาหมายหรือวัตถปุ ระสงคที่ต้งั ไว ซึ่งประกอบดวยองคประกอบ 3 ประการ คือ
1. จะตองเปนเร่ืองเกี่ยวกับอนาคต
2. จะตองเปนการกระทาํ
3. จะตองเปนการกระทําที่ตอ เน่ืองจนสําเร็จตามเปาหมาย
สรุปไดวา การวางแผนจึงเปนกระบวนการวิเคราะหเพ่ือเชื่อมโยงระหวางปจจุบันเขากับอนาคตดวย
การพิจารณากําหนดวัตถุประสงคและการเลือกแนวทางการดําเนินงานเพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงคเรียกวา
ยุทธศาสตร สวนแนวทางในการตัดสินใจดําเนินงานระหวางทางเลือกท้ังหลาย เรียกวา นโยบาย ดังนั้น
ยุทธศาสตรและนโยบายจึงเปนแผนระยะยาวขององคการที่กําหนดข้ึนเพ่ือใหการดําเนินงานบรรลุเปาหมายท่ี
กําหนดไว ความสัมพนั ธข องยุทธศาสตรแ ละนโยบายแสดงไดดังภาพที่ 2
ภาพท่ี 1 ความสมั พนั ธร ะหวางนโยบายกับยทุ ธศาสตร
(คนงึ สายแกว . 2549 : 16)
25
จากภาพท่ี 1 จะเห็นวา นโยบายเปนกรอบทกี่ ําหนดแนวทางสําหรับการดําเนินยุทธศาสตร หรอื กล
ยุทธเพ่ือการบรรลุวัตถุประสงคขององคการ และนโยบายจะมีความชัดเจนมากข้ึนเร่ือย ๆ ตามลําดับการ
บริหารของผูบริหาร ดังท่ี เดวิด (David, 2000) กลาววา การบริหารเชิงยุทธศาสตร หรือกลยุทธเปนท้ัง
ศาสตรและศิลปของการกําหนดยุทธศาสตร การนํายุทธศาสตรหรือกลยุทธไปปฏิบัติและการประเมิน
ยุทธศาสตรหรือกลยุทธที่มุงเนนการบูรณาการหนาที่ทางการจัดการ ไดแก การวางแผน การจัดการองคการ
การนําและการควบคุมประเมินผล จึงตองมีการพัฒนาแผนระยะยาวขององคการบนพื้นฐานการวิเคราะห
โอกาสและอุปสรรคจากการประเมิน สภาพแวดลอมภายนอกและประเมินจุดแข็ง จุดออน จากการวิเคราะห
สภาพแวดลอ มภายในการตัดสินใจวางแผนยุทธศาสตรห รือกลยุทธท ่ีดตี องมองระยะยาว 5-10 ป และเปนแผน
ที่มงุ การปรบั ตัวและเปล่ียนแปลงใหสอดคลองกบั สภาพแวดลอมท่ีเปล่ียนแปลงไป
11. แนวคิดและหลักการเกี่ยวกับการวิจัยเชิงนโยบาย
การวิจัยครั้งน้ีเปนการวิจัยเชิงนโยบาย (Policy Research) ผูวิจัยจึงไดนําเสนอถึงแนวคิดในการ
จัดประเภทของการวิจัยเชิงนโยบาย และลักษณะสําคัญของการวิจัยเชิงนโยบายจากแนวคิดและบทวิเคราะห
ของนักวิชาการในเอกสารตา ง ๆ ทเ่ี ก่ียวของ ดงั นี้
11.1 ประเภทของการวิจัยเชงิ นโยบาย
โอคส (Oaks. 2003) และคนึง สายแกว (2549 : 24) ไดแบงประเภทของการวิจัย
เชงิ นโยบาย ออกเปน 4 ประเภท คือ
11.1.1 การวจิ ัยพื้นฐาน (Basic Research) เปนการออกแบบเพื่อสํารวจความรูใหม
ๆ อาจจะมีผลหรือไมมีผลกระทบตอปญ หาสังคมในทันทีทันใด
11.1.2 การวิจัยทางเทคนิค (Technical Research) เปนการออกแบบเพ่ือการ
แกปญ หาเฉพาะ
11.1.3 การวิเคราะห นโยบาย (Policy Analysis) เปน การปฏิบัติเพ่ือศึกษา ถึงการ
นาํ มาใชแ ละผลของกระบวนการในการสรางนโยบาย
11.1.4 การวิจัยเชิงนโยบาย (Policy Research) เปนการศึกษาเก่ียวกับแนวโนม
การปฏบิ ัตเิ พอ่ื การแกป ญ หาสงั คมพื้นฐาน
มาจชเซค (Majchrzak. 1984) จากการเรียบเรียงของคะนึง สายแกว (2549 : 24)
ไดแบง ประเภทของการวิจัยเชิงนโยบายท่ีผันแปรตามแหลง ขอมูล ดงั น้ี
1. การวิจัยเชิงนโยบ ายถูกกํ าห นดดวยแห ล งขอมูลที่ แตกตางกัน เชน
จากหนวยงานราชการ ความสนใจของกลมุ เขตเลือกตง้ั หรือองคการการกุศล
2. การวิจัยอาจผันแปรตามจุดสนใจ ซ่ึงเปนการนิยามปญ หาหรือเปนการแกปญหา
3. การวิจัยอาจผันแปรตามสภาพแวดลอม อาจดําเนินการในสภาพแวดลอมของ
องคการที่มีความหลากหลาย เชน สํานักงานจัดทําการวางแผนการวิเคราะหนโยบายการวัดผลประเมิน
ผลการวิจัยหรอื พัฒนา
26
4. การวิจัยอาจผันแปรตามขอกําหนดทางวิชาการของผูวิจัย เชน ทางจิตวิทยา
สงั คมศาสตร กฎหมาย สังคมวิทยา มานุษยวทิ ยา เศรษฐศาสตรและการบริหารระบบราชการสําหรับการวิจัย
ในครง้ั น้ี จดั เปน ประเภทการวิจัยเชิงนโยบาย (Policy Research)
11.2 แนวคิดและลักษณะสําคัญของการวิจัยเชิงนโยบาย
นโยบาย (Policy) เปนขอความท่ีบอกใหทราบถึงทิศทางการเปลี่ยนแปลงขององคการ หรือ
ของสังคม ทิศทางดังกลาวอาจจะอธิบายถึงเร่ืองอะไร เพ่ืออะไร อยางไร และเพียงใด ของความเปลยี่ นแปลงที่
จะเกิดขึ้นได โดยมีองคประกอบสําคัญ 2 สวน คือ วัตถุประสงคของนโยบาย (Policy Objective) และ
แนวทางของนโยบาย (Policy Means) นโยบายจะขาดองคประกอบสําคัญสวนใดสวนหนึ่งนี้มิได เชน มีเพียง
วัตถุประสงคไมบอกแนวทาง ส่ิงที่กําหนดน้ันก็ไมเปนนโยบาย จะมีคาเพียงเปนความปรารถนาเทานั้น เปนตน
และบางคร้ังนโยบายท่ีดีอาจจําเปนตองมีองคประกอบสวนที่ 2 คือ กลไกของนโยบาย (Policy Mechanism)
อีกดวย กลไกของนโยบายจะชวยใหเห็นวาการจะบรรลุวัตถุประสงคท่ีกําหนดตามแนวทางที่ชี้นําไวจะตองมี
กลไกอะไรบางเปนเคร่ืองมือ กลไกนโยบายน้ีหมายรวมถึงตั้งแตระเบียบ กฎหมายท่ีรองรับการปฏิบัติ
หนวยงานท่ีปฏิบัติ ตลอดจนทรพั ยากรตาง ๆ ท่ีใชปฏิบัติการวิจัยเชิงนโยบายสามารถกระทําไดดวยระเบียบวิธี
วิจัยที่หลากหลาย อาจเปนการวิจัยพื้นฐาน (Basic Research) การวิจัยประยุกต (Applied Research) หรือ
การวิจัยผสม (Mixed) อยางไรก็ตามจุดมุงหมายในการวิจัยจะเปนสิ่งเดียวกัน นั่นคือ การใหไดมาซ่ึงขอเสนอท่ี
เนนการปฏิบัติที่เปนไปได เพื่อการแกปญหาพ้ืนฐานทางสังคมที่นํามาเปนประเด็นในการศึกษาวิจัย ดูลําดับ
ความสัมพนั ธเชิงเหตุผล ดังภาพที่ 2
ภาพที่ 2 ความสัมพันธเ ชิงเหตุผลของจุดมุงหมายในการวิจัยเชิงนโยบาย
(วโิ รจน สารรัตนะ, 2550, น.27)
การวิจัยเชิงนโยบายมีขอควรตระหนักหลายประการ เชน ผลจากการวิจัยเปนเพียงสวนหนึ่ง
ของบรรดาปจจัยปอนเขา (Inputs) ท่ีจะนําเขาสูการตัดสินใจเชิงนโยบาย (Policy Decision) ยังมีปจจัย
ปอ นเขาอ่ืน ๆ ที่จะตองนํามาประกอบการตัดสินใจอื่น ๆ อีก เชน นโยบายที่มีอยูเดิม ทัศนะ ความปรารถนา
หรือความเห็นของผูเกีย่ วขอ งหรือของสถาบัน หรอื แมแตทัศนคติของผูคนท่ีมีมากอนหนา เปนตน นอกจากนน้ั
ในกระบวนการตัดสนิ ใจนโยบายยังตองอาศยั ความเห็นพองตองกัน และการประนีประนอมดวย ดังนั้น “ความ
จริงอาจจะไมไดหมายถึงความดีที่จะไดรับการยอมรับ” หากความปรารถนาของสถาบันขัดแยงกับ
ขอเสนอแนะจากผลการวิจัย ย่ิงกวาน้ันยังมีสินคาท่ีจะเปนตัวเลือกใหกับผูตัดสินใจนโยบายอีกหลายตัว
เพ่ือนํามาจัดลําดบั ความสําคัญ จึงเปนบทบาทของผูวิจยั ที่จะตองชี้ใหเห็นไดว า ขอ เสนอแนะจากผลการวิจัยจะ
ใหผลประโยชนดีกวาสินคาท่ีเปนตัวเลือกอ่ืน ๆ อีกประการหนึ่งก็คือ การวิจัยเชิงนโยบายเปนเร่ืองท่ีเกี่ยวของ
27
กับปญ หาทางสงั คมที่มีความซับซอนและยากจะแกไข ตองอาศยั กระบวนการวางแผน การปฏิบัติ การประเมิน
และการมีขอมูลปอนกลับ และตองคํานึงถึงบริบทท่ีเปนจริงประกอบอีกดวย ดังนั้นผูวิจัยและผูตัดสินใจ
นโยบายจะตอ งตระหนกั วา การวิจัยเชิงนโยบายไมใชเปนยาครอบจกั รวาลท่ีจะรักษาไดทุกโรคในการแกปญหา
สังคมนั้น ส่ิงที่สามารถกระทําไดก็คือ การแสวงหาขอมูลสารสนเทศท่ีมีคุณคาเพื่อประกอบการตัดสินใจ โดย
คาดหวังวาจะชวยให การแกปญหาเปนไปดวยดี และคาดหวังวา สิ่งนั้นอาจจะชวยแกไขหรือปองกันการ
เกิดข้ึนของปญหา บางปญหาได และประการสุดทาย คือ กระบวนการนโยบายจะมีความซับซอนย่ิงข้ึน
หากปญหาที่ศกึ ษาน้ันมีความซับซอน ผวู ิจยั จึงจะตองเขาใจในสวนของผูท่ีเกี่ยวขอ งท่ีมีอยางมากมาย ตลอดจน
กลไกสนับสนุนตาง ๆ ใหดี มิฉะนั้นก็อาจจะไมสามารถนําเสนอใหขอมูลสารสนเทศที่เปนประโยชนตอผู
กาํ หนดนโยบายไดอยา งท่ีคาดหวัง
แมการวิจัยเชิงนโยบายจะผันแปรแตกตางกันไปตามประเด็นตาง ๆ ดังกลาวขางตน แตก็มีผูกําหนด
ลกั ษณะสําคัญของการวิจัยเชงิ นโยบายไว ดงั นี้
1. เปนพหุมิติ (Multidimension) มองปญหาท่ีศึกษาดว ยหลากหลายแงมมุ
2. เฉพาะกรณีและเชิงประจักษ (Empirico - inductive Approach) ในลักษณะเปนทฤษฎี
ฐานราก (Grounded Theory) ไมก ําหนดเหตแุ ละผลของปญหา ตามทฤษฎีไวลวงหนา เพือ่ ทดสอบสมมุติฐาน
3. ใหค วามสาํ คญั ทั้งอดีต ปจจบุ ัน และอนาคต ไมกาํ หนดกรอบตัวแปรไวอ ยางตายตัว แต
เปด กวางตอ อทิ ธพิ ลและตัวแปรแทรกซอนตา ง ๆ
4. ตอบสนองตอความตองการของผใู ชผลงานวิจัยหรือแหลงทุนสนับสนุน
5. แสดงคานิยม หรอื แนวคิดใหเห็นชัดเจนในนิยามของปญหา ปญหาการวิจัย การพัฒนา
ขอเสนอแนะจากผลการวิจัย และการเผยแพรผลการวิจัย
11.3 ขน้ั ตอนการวิจัยเชงิ นโยบาย
มาจชเชค (Majchrzak) ไดเสนอข้ันตอนการวิจัยเชงิ นโยบาย 5 ข้นั ตอน ดงั นี้
1) การเตรียมการ (Preparation) เปนการศึกษาสภาพในอดีตและในปจจุบัน ของบริบท
นโยบายในปญหาท่ีศึกษา เพื่อใหเกิดความชัดเจนในการท่ีจะกําหนดทิศทางการวิจัยท่ีจะทําใหไดผลการวิจยั ที่
เปนประโยชน โดยท่ัวไปจะใหความสําคญั ในประเด็นตาง ๆ ดงั นี้
1.1 บริบทการกําหนดนโยบายในปญหาที่ศึกษาทั้งในอดีต ปจจุบันและแนวโนมใน
อนาคต รวมถึงกลไกสนับสนุน (Supportive Mechanism) ความหมายเดียวกับคําวากลไกของนโยบาย
(Policy Mechanism) ท่ีกลาวถึงขางตน ที่นํานโยบายไปสูการปฏิบัติใหบรรลุผล การระบุกลุมผูมสี วนไดสวน
เสียท่ีสําคัญ (Key Stakeholders) ในกระบวนการกําหนดนโยบายหรือที่จะไดรับผลกระทบจากการตัดสินใจ
ในปญหาที่ศึกษา และการทําความเขาใจโครงสรางอํานาจ (Power Structure) ในกระบวนการกําหนด
นโยบายดวยวาใครเปนผูมีอํานาจในการตัดสินใจหลัก ใครเปนผูมีอิทธิพลตอการตัดสินใจ และใครท่ีไมมี
อทิ ธิพล
1.2 นิยาม ขอตกลงเบื้องตน และคานิยมของผูมีสวนไดเสียท่ีมีตอปญหาที่ศึกษาวา
เปนอยางไร เห็นดวยหรือไมเห็นดวย เห็นวาเปนปญหา หรือไมเปนปญหา เห็นตรงกันหรือแตกตางกัน ความ
28
เชื่อในสาเหตุหรือทางแกไขเปนอยางไร ทั้งนี้เพ่ือใหการกําหนดคานิยมหรือแนวคิด ตลอดจนขอตกลงเบื้องตน
ของการวจิ ยั มีความชัดเจน
1.3 ประเภทของขอเสนอแนะท่ีเปนไปไดเกี่ยวกับปญหาที่ศึกษาอยางไรท่ีจะเปนท่ี
ยอมรับอยางไรที่จะกอใหเกิดการเปล่ียนแปลง เกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงนี้มีประเด็นท่ีเปนขอชี้แนะ การให
ขอเสนอแนะจากผลการวิจัยในลักษณะท่ีเปนเสนตอเนื่อง (Continuum) ระหวางขอเสนอแนะเพ่ือการ
เปล่ียนแปลงแบบคอยเปนคอยไปจากท่ีมีอยูเดิม (Incremental Change) ในประเด็นเล็ก ๆ และใชร ะยะเวลา
สั้น ไปถึงขอเสนอแนะเพ่ือการเปลี่ยนแปลงใหเกิดส่ิงใหม (Fundamental Change) ท่ีตองใชเวลาและความ
พยายามสูง และขอเสนอแนะแบบผสม (Mixed Scanning) ท่ีใหขอเสนอแนะใหเกิดสิ่งใหมจากการ
เปลย่ี นแปลงในส่ิงท่ีมีอยเู ดิม
1.4 ทรัพยากรท่ีตองการและจําเปนสําหรับการวิจัย ไมเฉพาะดานการเงิน
แตรวมถึงสิ่งอํานวยความสะดวก บุคลากร และวัสดุอุปกรณดวย เพ่ือใหการศึกษาในขั้นตอนนี้เปนไปอยางมี
ประสิทธิภาพ มขี อเสนอแนะขั้นตอนการดาํ เนนิ งานไวเ ปนแนวทาง ดงั น้ี
1.4.1 เลอื กและกาํ หนดปญหาทจ่ี ะศึกษาวิจัย
1.4.2 กาํ หนดประเด็นนโยบายที่สาํ คญั
1.4.3 วเิ คราะหความเปน มาของประเด็นนโยบาย
1.4.4 สืบคนงานวิจัยที่มมี ากอ นหนาและผลทีม่ ีตอการเปล่ียนแปลง
1.4.5 จัดหาแผนภูมิองคการ และผูมีอํานาจในการตัดสินใจ
1.4.6 กาํ หนดรูปแบบกระบวนการตัดสนิ ใจ
1.4.7 สัมภาษณผูมีสว นไดเสีย
1.4.8 สังเคราะหขอมูลที่ไดรับโดยพยายามตอบคําถามวาใครคือผูใชผล
วจิ ัย ในบรรดาผูใชผลการวจิ ัยน้ัน ใครเปนผูมีอํานาจในการตัดสินใจ เขามีอํานาจในการตัดสินใจอยางเพียงพอ
หรือไม เขามีความผูกพันและมีความคาดหวังที่จะนําผลการวิจัยไปสูการปฏิบัติ เพ่ือบรรลุผลมากนอยเพียงใด
บริบททางวัฒนธรรมสังคมไดเอ้ือตอการเปลี่ยนแปลงหรือไม มากนอยเพียงใด และทรัพยากรที่จําเปนตองใชมี
อะไรบางสามารถหามาไดเพียงพอหรือไม เปนตน ซ่ึงจากผลการสังเคราะหขอมูลดังกลาว จะนําไปสูการ
ตัดสินใจวาจะทําการวิจัยตอไปหรือไม หากสามารถตอบไดวา ผูใชประโยชนจากผลการวิจัยที่กําหนด บริบท
ทางวัฒนธรรมสังคม และทรัพยากรท่ีจัดหามาได มีความเปนไปไดท่ีจะทําการวิจัยที่มีคุณคา และตนเองมี
ความเหมาะสมทีจ่ ะทําวิจัย กต็ ดั สินใจทจ่ี ะทําวิจัยน้ันได
2. ข้นั กําหนดกรอบแนวคิด (Conceptualizing) เปน ขั้นตอนดําเนินงานใน 3 กิจกรรมหลกั
ไดแ ก
2.1 พัฒนาตัวแบบเบื้องตนของปญหาที่ศึกษา (Developing a Preliminary
Model of the Social) ในอดีตมักนิยมวิพากษวิจารณถึงการขาดความชัดเจนและขาดความเขาใจ
ในประเด็นท่ศี ึกษา มีการวิเคราะหอยางงาย แคบ และกําหนดจุดเนนท่ีไมชัดเจน ในปจจุบันเปนการวิเคราะห
ถึงนิยามของปญหา สาเหตุของปญหา สรางตัวแบบ กําหนดคานิยมและขอตกลง เบ้ืองตนท่ีจะนําไปสูการ
กําหนดคําถามการวิจัย (Research Questions) ซ่ึงการพัฒนาตัวแบบ เบ้ืองตนของปญหาท่ีศึกษานี้จะอาศัย
29
ขอมูลท่ีศึกษาไดในระยะเตรียมการ และจากการศึกษา วรรณกรรมที่เกี่ยวของ (Literature Review) มีขอ
เตือนใจวาตัวแบบเบ้ืองตนที่แตกตางกันจะนําไปสูคําถามการวิจัยที่แตกตางกัน ดังนั้นจะตองพัฒนาขึ้นดวย
ความรอบคอบ มีขอ มูลประกอบการพิจารณาอยางเพยี งพอ
2.2 คําถามการวิจัย (Formulating Specific Research Questions) กําหนดขึ้น
หลังการพัฒนาตวั แบบเบ้ืองตน ซง่ึ เนื่องจากคําถามการวิจยั จะนําไปสูการวางแผน ระเบียบวิธีวิจัยท่ีจะใช และ
การนําผลการวิจัยไปใชประโยชน ดังน้ันจะตองกําหนดข้ึนอยางรอบคอบและระมัดระวังคําถามการวิจัยควร
คาํ นึงถึงขั้นตอน ดงั น้ี
2.2.1 กําหนดวาผลที่คาดหวังจากการวิจัยคืออะไร เปนไปในรูปแบบใด
แบบคอ ยเปน คอยไป หรือแบบสงิ่ ใหม ๆ หรือแบบผสม (Incremental/ Fundamental/Mixed)
2.2.2 กําหนดประเด็นของปญหาที่ศึกษา ควรคํานึงถึงความเปนพหุมิติ
(Multi-dimension) ซ่ึงจะทําใหไดผลการวิจัยที่ครอบคลุมและมีความหมาย แตก็ควรมีแนวหรือเกณฑใน
การเลอื กประเดน็ ที่จะศึกษาดว ย
2.2.3 กําหนดตัวแปรที่สามารถจัดกระทําเพื่อการเปลี่ยนแปลงได
(Malleable Variables) โดยพิจารณาจากผลท่ีคาดหวงั และประเด็นของปญหาท่ีกําหนด
2.2.4 กําหนดคําถามการวิจัยขึ้นจากตัวแปรท่ีกําหนดท่ีจะนําไปสูผลที่
คาดหวงั จากประเด็นปญหาท่กี าํ หนด คาํ ถามการวิจยั มีเกณฑท ี่ควรคํานงึ ถึง ดงั นี้
2.2.4.1 ควรสะทอนใหเ ห็นถึงประเด็นของปญหา
2.2.4.2 สามารถศึกษาหาคําตอบได
2.2.4.3 เหมาะสมกับเวลาที่จะเปนประโยชนตอการตัดสินใจ
นโยบายท้ังในปจจบุ ัน และอนาคต
2.2.4.4 เปนผลจากการสังเคราะหห ลากหลายมุมมอง สะทอนให
เห็นถึงผลการวิจัยท่เี ปนไปอยางครอบคลมุ และบรู ณาการ
2.2.4.5 ควรแสดงถึงนัยเชิงนโยบาย โดยกําหนดประเด็น
ในลักษณะทจ่ี ะชว ยใหผูตัดสินใจใชในการแกปญ หาได
2.3 การเลือกผูดาํ เนินการวิจัย (Selecting Research Investigators) มีประเด็น
การตัดสินใจใน 3 กรณี ดงั น้ี
2.3.1 การศึกษาเปนทีมหรือเด่ียว หากเรื่องท่ีวิจัยไมใหญโตมากนัก
ก็ควรศึกษาเด่ียว แตหากเปนเร่ืองใหญ มีผลกระทบมาก ควรศึกษาเปนทีม และควรคํานึงถึงหลักการ
สหวทิ ยาการ (Interdisciplinary)
2.3.2 การเลือกภูมิหลงั ของผูวิจัย โดยเฉพาะภมู หิ ลังในเชงิ วิชาการ
2.3.3 ที่ปรึกษาในการวิจัย ซ่ึงอาจเปนทีมท่ีปรึกษาหรือเปนคณะกรรมการ
อํานวยการ
3. ข้ันการวิเคราะหเชิงเทคนิค (Technical Analysis) เปนการตรวจสอบถึงปจจัย (Factors)
ท่ีอาจเปนสาเหตุของปญหา โดยมขี ้ันตอนหลักเชนเดียวกับการวิจัยโดยท่ัวไป ดงั นี้
30
3.1 การนิยามศัพทเชิงปฏิบัติการของตัวแปร (Operationalization of Variables)
เปนการกําหนดนิยามตัวแปรท่ีสามารถจัดกระทําเพื่อการเปล่ียนแปลงได (Malleable Variables) ท่ีกําหนด
ในข้ันตอนกําหนดคําถามการวิจัยใหอยูในรูปของดัชนีชี้วัด (Indicators) ท่ีมีความเฉพาะเจาะจง และสามารถ
วดั ได
3.2 การออกแบบระเบียบวิธีวิจัย (Design of Study Methodology) ซึ่งเน่ืองจาก
การวจิ ัยเชิงนโยบายมงุ เนนหาขอเสนอเพอ่ื การตัดสินใจนโยบายมากกวาเหตุผลในเชงิ วชิ าการ
ดังน้ัน ระเบียบวิธีวิจัยเชิงนโยบายจึงสามารถจะดัดแปลง (Adapting) ผสม (Combining)
หรือปรับปรุง (Improvising) ใหมีความเหมาะสมได สวนมากแลวจะไมใชระเบียบวิธีวิจัยเด่ียว แตจะเปนแบบ
ผสม จากระเบียบวิธีวิจัยประเภทตาง ๆ ซึ่งจะเปนประเภทใดบางน้ันข้ึนอยูกับคําถามการวิจัย (ไมใชกําหนด
คาํ ถามการวิจัยใหสอดคลองกับระเบียบวิธีวจิ ัย) เชน
1. การสังเคราะหประเด็น (Focused Synthesis) จากขอมูลหลากหลายแหลง อาจ
จากการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญหรือผูมีสวนไดเสียจากการประชาพิจารณ จากผูวิจัยท่ีมีประสบการณ มากอน
และส่ิงพมิ พตา ง ๆ
2. การวิเคราะหขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Analysis) จากฐานขอมูลแหลงตาง ๆ
เพ่ือสรางฐานขอมูลใหมข้ึนมาในประเด็นท่ีศึกษา
3. การทดลองภาคสนาม (Field Experiments) ซึ่งอาจเปนการทดลองโดยใช
หลกั การสุม (Randomized Field Experiment) หรอื แบบกึง่ ทดลอง (Quasi - experiment)
4. วิธีการเชิงคุณ ภ าพ (Qualitative Methods) อาจเปนการสนท นากลุม
(Focused Group Discussion) การสัมภาษณเชิงลึก (In - depth Interview) การสังเกตแบบมีสวนรวม
(Participant Observation)
5. การสาํ รวจ (Survey) จากกลุมตัวอยางของประชากร
6. กรณีศึกษา (Case Study) ซ่ึงสามารถเก็บขอมูลไดทั้งเชิงคุณภาพและเชิง
ปรมิ าณ
7. การวิเคราะหตนทุน-กําไร และตนทุน-ประสิทธิผล (Cost Benefit and Cost -
effectiveness Analysis)
3. การวิเคราะหขอมูล และสรุปผล (Results and Conclusion) ซ่ึงควรคํานึงถึงความ
เหมาะสมของขอมูล ความสามารถตอบคําถามการวจิ ัย โดยอาจเปนการวิเคราะหหาคาสัมประสิทธิ์สหสมั พันธ
การวิเคราะหความแปรปรวนแบบพหุคูณการวิเคราะหโครงสรางสัมพันธเชิงเหตุผล เปนตน และการสรุป
ผลการวจิ ยั ควรนาํ เสนออยางงายทีค่ นท่ัวไปสามารถจะเขาใจได และเนนผลการวิจัยท่ีสาํ คัญ
4. การพัฒนารา งขอ เสนอแนะ (Developing Tentative Policy Recommendations)
ซง่ึ นอกจากจะพิจารณาจากผลการวิเคราะหขอมูลท่สี รปุ ผลไวแลวควรพจิ ารณาความรูเก่ียวกบั บรบิ ททางสงั คม
การเมือง (Sociopolitical Context) จากผลการศึกษาในระยะเตรียมการดวยการใหขอเสนอแนะควร
หลากหลายทางเลอื ก ไมค วรเนนเฉพาะทางเลอื กเดียว ควรคาํ นงึ ถึงท้ังขอเสนอแนะเพอ่ื การปฏบิ ตั ิ ท้งั ในระยะ
31
สั้นและระยะยาว และขอเสนอแนะนั้นอาจจะเกี่ยวกับกลไกสนบั สนุน (Supportive Mechanisms) ที่จะชวย
สนับสนุนการนาํ ขอ เสนอเชงิ นโยบายไปสูการปฏิบัติท่ีมปี ระสิทธภิ าพไดดวย
4. ขั้นวิเคราะหขอเสนอแนะ (Analysis of Recommendations) งานวิจัยสวนใหญจะจบลงตรงที่
การสรุปผลและการใหขอเสนอแนะจากผลการวิจัย แตการวิจัยเชิงนโยบาย จะไมหยุดลงเพียงขอเสนอแนะที่
ไดมาเทานั้น แตจะศึกษาตอเน่ืองเพื่อคาดคะเนถึงโอกาสในการปฏิบัติ (Estimating the Probability of
Implementation) ของขอเสนอแนะน้ันอีกดวย โดยมีกจิ กรรม ดงั น้ี
4.1 การวิเคราะหผูมีสวนไดเสีย (Analysis of Stakeholders) ท่ีจะมีผลตอการตัดสินใจ
นโยบาย โดยวิเคราะหจากผูมีสวนไดเสียท่ีกําหนดไวในขั้นตอนการเตรียมการที่อาจกําหนดลดลง หรือ
เพ่ิมเติมไดโดยจําแนกผูมีสวนไดเสียเหลานั้นออกเปนกลุมผูตัดสินใจนโยบาย (Decision Makers) ตอการนํา
ขอเสนอไปสูการปฏิบัติ และกลุมผูมีอิทธิพล (Influencers) ตอการตัดสินใจนโยบาย เพื่อวิเคราะหอํานาจของ
ผูมีสว นไดเสียที่จะมีอิทธพิ ลตอการตัดสินใจนโยบายในสามมิติ คอื
4.1.1 ปริมาณของทรพั ยากรที่จะสามารถจัดหามาได เชน เงิน อาสาสมัคร การ
ประสานงานขอมูลสารสนเทศ เปน ตน
4.1.2 คุณลักษณะที่จะชวยใหผูมีสวนไดสวนเสียมีความสามารถในการระดม
ทรพั ยากรมาใช เชน ความเกาะเก่ียวกันเปนกลุม ความเห็นพอ งตอ งกัน และภาวะความเปนผูนํา เปนตน
4.1.3 ความสามารถของผูมีสวนไดเสียที่จะเขาถึงกลุมผูตัดสินใจนโยบายได ซ่ึงยิ่ง
กลุมผูตัดสินใจนโยบายรับฟงขอคิดเห็นของกลุมผูมีสวนไดเสียมากเพียงใด ก็แสดงวา กลุมผูมีสวนไดเสียมี
อิทธิพลท่ีจะชวยผลักดันใหขอเสนอเชิงนโยบายสูการปฏิบัติไดมากเทาน้ัน และหลังจากนั้นจึงเปนการศึกษา
ความเห็น (Opinion) ของผูมีสวนไดเสียเหลาน้ันแตละราย วาสนับสนุนหรือคัดคานขอเสนอแนะนั้น ดวย
เหตุผลใด ซ่ึงหากสนับสนุนมากการนําเสนอขอเสนอแนะนั้นก็มีความเปนไปไดส ูง
4.2 การวิเคราะหองคการ (Analysis of Organization) เฉพาะการวิเคราะหผูมีสวนไดเสีย
อาจไมเพียงพอ อาจจําเปนตองวิเคราะหองคการที่จะเปนผูนําเอาแตละขอเสนอแนะไปปฏิบัติดวย
ในประเด็นตา ง ๆ ดงั นี้
4.2.1 โครงสรา งองคการเพอื่ การปฏิบตั ิ
4.2.2 ทรพั ยากรท่ีจะใช
4.2.3 กลไกเชงิ นโยบายท่ีจะสนบั สนุนการปฏิบัติ
4.3 การคาดการณถึงผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึน (Predict Potential Consequences of
Recommendations) การคาดการณถึงผลกระทบท่ีจะเกิดขึ้นจากขอเสนอแนะในแตละประเด็นนั้น
ซ่ึงแหลงขอมูลอาจไดมาจากหลายแหลง เชน จากการสัมภาษณ ผูมีสวนไดเสีย การใชเทคนิคเดลฟาย
หรอื เทคนิคการวเิ คราะหความเส่ียง เปน ตน อาจพจิ ารณาในสามกรณี ดังน้ี
4.3.1 ผลกระทบที่คาดหวังและไมไดคาดหวัง
4.3.2 ผลกระทบโดยรวมที่มีตอนโยบายอ่ืนหรือแผนงานอ่ืน
4.3.3 สง่ิ ท่ีอาจจะเกิดข้ึน หากขอเสนอแนะนั้นไมไดนาํ ไปปฏิบตั ิ
32
4.4 ก า ร ค า ด ค ะ เน โ อ ก า ส ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ (Estimating the Probability of
Implementation) จากผลการวิเคราะหศักยภาพของผูมีสวนไดเสีย ศักยภาพขององคการ และผลกระทบที่
คาดวาจะเกิดขึ้นพอท่ีจะทําใหผูวิจัยคาดคะเนไดถึงโอกาสในการปฏิบัติ ท้ังในแงของ ความเปนไปได
(Feasible) และการยอมรับ (Acceptable) ในลักษณะคาดคะเน (Subjective) จากการแปลผลขอมูลของ
ผูวิจัย ซ่ึงหากขอเสนอแนะมีโอกาสท่ีจะเปนไปไดประมาณ 20-40 % ก็ถือวาเพียงพอแลว อยางไรก็ตาม
ดังกลาวในตอนตนวา ขอเสนอแนะจากผลการวิจัยควรมีหลากหลายทางเลือก ดังน้ันอาจจะแสดงคาเฉล่ียเพื่อ
เปรียบเทียบขอเสนอทางเลอื ก (Alternative Recommendations) แตล ะทางเลอื กเหลาน้ันดวยได
4.5 การจัดเตรียมใหขอเสนอแนะ สุดทาย (Preparation of Final Recommendations)
เปนขั้นตอนทผ่ี ูวิจัยจะต้ังคําถามวาขอเสนอแนะนั้นจะมีผลตอปญหาท่ีศึกษามากนอยเพียงใด ซึ่งหากประเมิน
ไดต ่ํากวา 60% กม็ ขี อแนะนาํ ใน 3 กรณี ดังน้ี
4.5.1 ยอมรบั ในความเปนไปไดที่ตํ่าน้ัน
4.5.2 เปลี่ยนแปลงเปาหมายของขอ เสนอแนะ
4.5.3 ปรบั แกขอเสนอแนะใหม โดยพิจารณาประเด็นการเปลี่ยนแปลงแบบคอยเปน
คอยไปกับการเปล่ียนแปลงพื้นฐานดังกลาวในตอนตน และอาจมีการวิเคราะหผูมีสวนไดเสีย และหรือ
วเิ คราะหองคการประกอบดวย
5 . ส่ื อ ส า ร ผ ล ก าร วิจั ย ต อ ผู ตั ด สิ น ใจ น โย บ าย (Communicating Policy Research to
Policymakers) การวิจัยเชิงนโยบายหากไมมีการสื่อสารผลงานวิจัยนั้นตอผูตัดสินใจนโยบาย ถือวายังไม
ส้ินสุด ผูวิจัยจะตองดําเนินการขั้นตอไปเพื่อใหมั่นใจวาผลงานวิจัยน้ันไดรับการพิจารณา และมีโอกาส ที่จะ
นําไปสูการปฏิบัติ โดยการสื่อสารน้ันควรเปนการสื่อสารแบบสองทาง (Two-way communication) และ
ควรเลือกใชวิธีการและสื่อที่เหมาะสม ที่จะทําใหผูตัดสินใจนโยบายไดรับรู เขาใจ และเกิดการยอมรับใน
ผลการวิจัยน้ัน อยางไรก็ตามมีขอแนะนําวา การส่ือสารดวยการพูด (Oral Communication) จะใหผลดีกวา
การสอ่ื สารดวยการเขียน (Written Communication)
อยางไรก็ตามในการวิจัยเชิงนโยบาย นักวิจัยนิยมเรียกขอเสนอแนะท่ีไดจากการวิจัยวา ขอเสนอเชิง
นโยบาย (Proposed Policy) หรือขอเสนอเชิงยุทธศาสตรหรือกลยุทธ (Proposed Strategy) ดังน้ัน จึงอาจ
เรียกข้ันตอนแรกเปนขั้นตอนการกําหนดขอเสนอเชิงนโยบาย และขั้นตอนท่ีสองเปนขั้นตอนการคาดคะเน
โอกาสในการปฏิบัติของขอเสนอเชิงนโยบาย สําหรับเอกสารท่ีแสดงถึงสวนประกอบ ของการวิจัยคง
ประกอบดวย 5 บท เหมอื นกับการวิจยั ท่ัวไป คอื
บทที่ 1 บทนาํ ประกอบดวย การศกึ ษาวิเคราะหความเปนมาของปญหาการวิจัย
การกําหนดคาํ ถามการวิจัย การกําหนดขอบเขตการวิจัย การนิยามศพั ทเชงิ ปฏิบัติ และการกาํ หนด ประโยชน
ที่คาดวา จะไดร บั จากการวิจัย
บทที่ 2 การศึกษาวรรณกรรมที่เก่ียวของ (Related Literature) ควรเปนการวิเคราะห
สังเคราะหทฤษฎี แผน/นโยบาย และผลงานวิจัยในองคประกอบของนโยบายท่ีศึกษา 2 สวน คือ
วัตถุประสงคของนโยบาย (Policy Objective) และแนวทางของนโยบาย (Policy means) (อาจวิเคราะห
สังเคราะหกลไกนโยบายดวยก็ได) เพื่อนําไปสูการกําหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย เพื่อใหไดขอสรุป
33
และเพ่ือใหเกิดความไวเชิงทฤษฎี (Theoretical Sensitivity) ที่จะนําไปใชใหเปน ประโยชนทั้งตอการกําหนด
สาระ การอางองิ หรือการอภปิ รายผลในหัวขอตาง ๆ ในทุกบท
บทที่ 3 วิธีดาํ เนินการวจิ ัย อาจจาํ แนกออกเปนสองขั้นตอน คือ ขั้นตอนการกาํ หนด ขอเสนอ
เชิงนโยบาย และข้ันตอนการคาดคะเนโอกาสในการปฏิบัติของขอเสนอเชิงนโยบาย โดยในข้ันตอนแรกนั้น
ควรออกแบบเปนการวิธีวิจัยแบบผสม (Mixed Methodology) เพื่อใหไดขอมูลจากหลากหลายแหลงตาม
หลักการตรวจสอบสามเสา (Triangulation) ซ่ึงในทศั นะของผูเขียนเห็นวา นาจะมมี าจากสามแหลง คอื
1. ขอมูลจากการศึกษาบริบท (Contextual Study) อาจเปนการวิจัยเชิงสํารวจ
เพื่อใหทราบสภาพอดีต ปจจุบัน ปญหา และขอเสนอแนะ โดยใชเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลที่
หลากหลาย เชน แบบสอบถาม แบบสัมภาษณเชิงลึก แบบสัมภาษณกลุม แบบสังเกต แบบวิเคราะหเอกสาร
เปน ตน
2. ขอมูลจากการศึกษากรณีตัวอยางท่ีประสบผลสําเร็จ (Outstanding/Best
Practice) อาจเปนการศึกษาเฉพาะกรณี (Case Study) เพื่อหาขอสรุปรูปแบบการพัฒนาท่ีประสบผลสําเร็จ
นั้นวามีวัตถุประสงคของนโยบาย (Policy Objective) และแนวทางของนโยบาย (Policy Means) อะไรและ
อยางไร ซงึ่ หากจะใหม คี วามหลากหลายควรเปนการศกึ ษาพหุกรณี (Multi - case Study)
3. ขอมูลเชิงวิชาการจากผลการวิเคราะห สังเคราะหทฤษฎี นโยบาย/แผน และ
ผลงานวิจัย จากบทท่ี 2 ซ่ึงจะทาํ ใหไดแหลงขอมูลจากท้ังบริบทท่ีเปนจริง จากกรณีตัวอยางท่ีประสบผลสําเร็จ
และจากเชิงวิชาการ แตหากจะเพิ่มแหลงขอมูลจากผูเช่ียวชาญหรือผูทรงคุณวุฒิทางวิชาการ/ทางปฏิบัติ
ประกอบดว ยอีกก็ได ซึง่ อาจไดม าโดยการสมั ภาษณเชิงลึก
ขอมูลจาก 3-4 แหลงดังกลาว ผูวิจัยจะนํามาสังเคราะหเพ่ือกําหนดเปนขอเสนอเชิงนโยบาย
มุงตอบคําถาม 2 คําถาม คือ วัตถุประสงคของนโยบายที่คาดหวังใหเกิดข้ึนคืออะไร และเพ่ือใหบรรลุ
วัตถุประสงคนั้นควรทําอะไรและอยางไร ซ่ึงหากมีเทคนิคเชิงปริมาณใด ๆ ท่ีสามารถนํามาใชเพ่ือการ
สังเคราะหขอมูลจากแหลงตาง ๆ ไดดี และนาเชื่อถือก็อาจใชเทคนิควิธีนั้นได แตในการกําหนดขอเสนอเชิง
นโยบายนั้นมีคานิยม (Value) หรือแนวคิด (Concept) ของบุคคลมาเก่ียวของดวย ประกอบกับหลักการ
บริหารปจจุบันที่เนนการตัดสินใจรวม (Shared Decision Making) เห็นวาหากจะจัดใหมีกิจกรรมใด ๆ ท่ีจะ
เปนการระดมสมองของผูเกี่ยวของหรือผูมีสวนไดเสียท่ีหลากหลายมารวมกนั กําหนดขอเสนอเชิงนโยบาย โดย
อาศัยขอมูลจากแหลงตาง ๆ เหลาน้ัน นาจะทําใหไดขอเสนอเชิงนโยบายท่ีไดรับการยอมรับและเปนไปไดเปน
เบือ้ งตน
สําหรบั ข้ันตอนที่สอง คือ ข้ันตอนการคาดคะเนโอกาสในการปฏิบัติของขอเสนอเชิงนโยบาย ท้ังในแง
ของการยอมรับ (Acceptable) และความเปนไปได (Feasible) หากพจิ ารณาจากทัศนะ มาจชเชค
(Majchrzak) ทนี่ าํ มากลาวขางตน ผูวิจัยดําเนินการ ดังน้ี
1. การวิเคราะหอํานาจของผูมีสวนไดเสียท่ีจะมีอิทธิพลตอการตัดสินใจนโยบายเก่ียวกับ
ปริมาณของทรัพยากรที่จะสามารถจัดหามาได คุณลักษณะท่ีจะชวยใหผูมีสวนไดเสียมีความสามารถในการ
ระดมทรัพยากรมาใช และความสามารถของผูมีสวนไดเสียท่ีจะเขาถึงกลุมผูตัดสินใจนโยบาย รวมทั้งวิเคราะห
ทาทีสนบั สนนุ หรือการคัดคาน
34
2. การวิเคราะห ศักยภ าพ ขององคการในป ระเด็น เก่ี ยวกับ โค รงสรางองคการ
เพ่อื การปฏบิ ัติ ทรัพยากรทจ่ี ะใช และกลไกเชิงนโยบายอื่น ๆ ทจี่ ะสนับสนุนการปฏิบัติ
3. การคาดการณถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้น ท้ังผลกระทบท่ีคาดหวังและไมไดคาดหวัง
ผลกระทบโดยรวมท่ีมีตอนโยบายอื่นหรือแผนงานอ่ืน และสิ่งท่ีอาจจะเกิดขึ้นหากขอเสนอแนะนั้นไมไดนําไป
ปฏิบัติ
จากผลการวิเคราะหทั้งสามประเด็นดังกลาว พอท่ีจะทําใหผูวิจัยคาดคะเนไดถึงโอกาสในการปฏิบัติ
ของขอเสนอเชิงนโยบายทั้งในแงของการยอมรับ (Acceptable) และความเปนไปได(Feasible) ในลักษณะ
คาดคะเน (Subjective) จากการแปลผลขอมูลของผูวิจัย ซ่ึงหากขอเสนอแนะ มีโอกาสในการปฏิบัติมี
ประมาณ 20-40% ก็ถือวาเพียงพอแลว อยางไรก็ตามดังกลาวในตอนตนวา ขอเสนอเชิงนโยบายจาก
ผลการวิจัยควรมีหลากหลายทางเลือก ดังน้ันอาจจะแสดงคาเฉล่ียเพ่ือเปรียบเทียบขอเสนอทางเลือกแตละ
ทางเลือกเหลา นั้นดวย
ในข้ันตอนสุดทาย เปนการจัดเตรียมใหขอเสนอแนะสุดทาย เปนขั้นตอนท่ีผูวิจัยจะตั้งคําถามวา
ขอเสนอแนะน้ันจะมีผลตอปญหาท่ีศึกษามากนอยเพียงใด ซึ่งหากประเมินไดตํ่ากวา 60 % ก็มีขอแนะนําใน
สามกรณี ดงั น้ี
1. ยอมรบั ในความเปนไปไดท่ีตํา่ นั้น
2. เปลี่ยนแปลงเปา หมายของขอ เสนอแนะน้ัน
3. ปรับแกข อ เสนอแนะใหม โดยอาจทบทวนการวิเคราะหผูมีสวนไดเสียและหรือวิเคราะห
องคการประกอบดวย
บทท่ี 4 แสดงผลการวิเคราะหขอมูล ซ่ึงจากท่ีกลาวในบทท่ี 3 จําแนกการวิจัยออกเปนสอง
ขั้นตอน ดังน้ันการนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลจะนําเสนอตามลําดับขั้นตอนน้ัน โดยในขั้นตอน แรกจะ
นําเสนอผลการศึกษาบริบท (ขอมูลจากหลากหลายแหลง) ผลการศึกษาเฉพาะกรณีหรือพหุกรณี และผล
การศึกษาผูเช่ียวชาญ/ผูทรงคุณวุฒิ (ถามี) สวนผลการวิเคราะหและสังเคราะห ทฤษฎีนโยบาย/แผน
ผลงานวิจัยปรากฏในบทท่ี 2 แลว และผลการสังเคราะหเพ่ือกําหนดเปนขอเสนอ เชิงนโยบาย ในข้ันตอนที่
สองนําเสนอผลการวิเคราะหผูมีสวนไดเสีย ผลการวิเคราะหองคการ ผลการคาดคะเนผลกระทบที่จะเกิดข้ึน
และผลการคาดคะเนโอกาสในการปฏิบัติของขอเสนอนโยบาย และสุดทาย คือ ขอเสนอแนะสุดทายของ
ขอเสนอเชิงนโยบาย
บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะจากผลการวิจัย เปนการสรุปผลสุดทาย
ของขอเสนอเชิงนโยบาย การอภิปรายผลโดยเทียบเคียงกับทฤษฎี นโยบาย/แผน และผลงานวิจัยท่ีวิเคราะห
สงั เคราะหไ วในบทที่ 2 และการใหข อ เสนอแนะจากผลการวิจัย และเพอ่ื การวิจัยครง้ั ตอไป
จากที่กลาวมาในการวิจยั เชิงนโยบายมีข้ันตอนที่แตกตางจากการวิจยั โดยท่ัวไปในข้ันตอนที่สอง คอื มี
ขั้นตอนการคาดคะเนโอกาสในการปฏิบัติของขอเสนอเชิงนโยบายที่วิจัยตอเน่ืองจากข้ันตอนแรก ในขณะที่
การวิจัยท่ัวไปจะจบลงท่ีการไดขอเสนอแนะจากขั้นตอนแรกเทาน้ัน ซ่ึงขั้นตอนการวิจัยเชิงนโยบายท่ีปรับจาก
ทัศนะของมาจชเชค (Majchrzak) ขางตน ดงั ภาพท่ี 3
35
ภาพท่ี 3 ข้ันตอนการวิจัยเชิงนโยบาย ปรับจากทัศนะของมาจชเชค (Majchrzak)
(วิโรจน สารรัตนะ, 2550, น.36)
จากข้ันตอนการวจิ ัยเชิงนโยบาย ที่ปรับจากทัศนะของมาจชเชค (Majchrzak) ดังกลาว มีนักศึกษาใน
หลักสูตรดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัย ขอนแกน ไดนําไปปรับ
อีกในขั้นตอนท่ีสอง โดยปรับจากที่ผูวิจัยเปนผูวิเคราะหในองคประกอบ ดานตาง ๆ ดวยตนเองไปเปนใช
หลักการมีสวนรวม โดยใหผูมีสวนไดเสียมารวมกันคิดรวมกัน วิเคราะห และรวมกันใหขอเสนอแนะแทน โดย
ใชขอมูลท่ีไดจากการวิจัยในขั้นตอนแรกมาใชประกอบการพิจารณาในข้ันตอนหลัง ๆ ดวย เสมือนเปน
การศึกษาวิเคราะหอิทธิพลและทาที การใหการสนับสนุนของผูมีสวนไดเสียไปดวยในตัว ขณะเดียวกันก็
พจิ ารณาถึงความเปน ไปไดไ ปดว ย จากเกณฑที่กาํ หนดใชประกอบ การพจิ ารณา ดังงานวิจยั เรอ่ื ง “ขอเสนอเชิง
นโยบายเพื่อพัฒนาการศึกษาปฐมวัยในจังหวัดสุรินทร” ของคนึง สายแกว (2549) มีการกําหนดข้ันตอนการ
วิจัย 3 ข้ันตอน มีการใชผูมีสวนไดเสียมารวมในกิจกรรมการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ และการประชาพิจารณ
และมีการใชเ กณฑ 4 เกณฑ ประกอบ การพิจารณาในการตรวจสอบรางขอ เสนอเชิงนโยบาย คอื เกณฑความ
เหมาะสม (Propriety) ความเปนไปได (Feasibility) ความสอดคลอง (Congruity) และความเปนประโยชน
(Utility) ดงั ภาพที่ 4
36
ภาพที่ 4 ขั้นตอนการวิจัยเชิงนโยบาย ของคนงึ สายแกว
(วิโรจน สารรัตนะ. 2550 : 37)
จากบทศึกษาวิเคราะหของวิโรจน สารรัตนะ (2550 : 37-38) ดังที่นํามากลาวถึงขางตน จะเห็นไดวา
งานวิจัยสวนใหญจะจบลงตรงท่ีการสรุปผลและการใหขอเสนอแนะจากผลการวิจัยแตการวิจัยเชิงนโยบายจะ
ไมหยุดลงเพียงขอเสนอแนะที่ไดมาเทานั้น จะศึกษาตอเน่ืองเพื่อคาดคะเน ถึงโอกาส ในการปฏิบัติของ
ขอเสนอแนะนั้นอีกดวย และกระบวนการนโยบายจะมีความซับซอนยิ่งขึ้น หากปญหา ที่ศึกษานั้นมีความ
ซับซอน ผูวิจัยจึงจะตองเขาใจในสวนของผูท่ีเก่ียวของที่มีอยางมากมาย ตลอดจนกลไกสนับสนุนตาง ๆ ใหดี
มิฉะน้ันก็อาจจะไมสามารถนําเสนอใหขอมูลสารสนเทศที่เปนประโยชนตอผูกําหนดนโยบายไดอยา งที่คาดหวัง
นอกจากน้ันแนวการวิจัยเชิงนโยบายสามารถปรับเปล่ียนได โดยยึดหลักการท่ีวาแนวคิดทางสงั คมศาสตรและ
การวิจัยเชิงประยุกตไมไดเปนสูตรสําเร็จรูปตายตัวแนนอน อาจปรับเปลี่ยนผันแปรไปตามระบบคิดของผูวิจัย
ในอีกระบบสังคมหน่ึงหรือระบบองคการหน่ึงได ดังกรณีการนําไปประยุกตของ คนึง สายแกว ดังนั้น เพื่อให
การออกแบบแนวการวิจัยเชิงนโยบายของผูวิจัยมีความสมบูรณข้ึน จึงขอนําเอาแนวคิดรูปแบบการวางแผน
ทางการศึกษา ซึ่งผูวิจัยเห็นวามีข้ันตอน และมีแนวคิดที่จะเปนประโยชนตอการประยุกตเขากับรูปแบบการ
วิจยั เชิงนโยบายดังกลา วขางตนไดจงึ ขอนํามากลาวถึงดงั ตอไปนี้
37
คาฟแมน (Kaufman) จากผลการเรยี บเรียงของวิโรจน สารรัตนะ (2550 : 38) ไดพ ัฒนา รูปแบบการ
วางแผนทางการศึกษา โดยเนนการกําหนดจุดหมายหรือวัตถปุ ระสงค (End) กอนการกําหนดวิถีทาง (Means)
เพ่ือใหบรรลุจุดหมายหรือวัตถุประสงคนั้น เปนการกําหนด “สิ่งท่ีจะทํา” (What to do?) กอนการกําหนด
“วิธีการทีจ่ ะทํา” (How to do?) โดยมีข้นั ตอน ดังนี้
1. การกาํ หนดปญ หา
2. การกาํ หนดแนวทางแกปญหา
3. การเลือกแนวทางแกป ญหา
4. การนําแนวทางแกป ญ หาไปปฏิบัติ
5. การตรวจสอบประสทิ ธภิ าพการปฏิบตั ิ
6. การปรบั ปรุงแกไขผลการปฏิบัติ
แบงฮารทและทรัลล (Banghart & Trull. 1973) จากการเรียบเรียงของวิโรจน สารรัตนะ (2550 :
26-40) กลา วถึงนยิ ามการวางแผนทางการศึกษาสีแ่ งมุม ดงั น้ี
1. นิยามท่ัวไป หมายถึง การวิจัย การพัฒนาทฤษฎีและเทคนิค การจัดทําแผนของรัฐ
ของภูมภิ าคและสถานศกึ ษาในเชงิ ปรมิ าณ
2. นิยามเชิงกายภาพ หมายถึง การจัดทําแผนระยะปานกลางและระยะยาว (5-, 10-
15- หรือ 20 ป) เก่ียวกับการจัดตั้งสถานศึกษา อาคารสถานที่ อาคารประกอบและอื่น ๆ เกณฑเก่ียวกับ
กจิ กรรมการเรียนรแู ละการวิจัยทางเทคโนโลยี
3. นิยามเชิงสังคม หมายถึง การสํารวจความตองการของประชาชน การวางแผนหลักสูตร
ยุทธศาสตรการสอน การสํารวจความตองการกําลังคนและสังคม การออกแบบทางกายภาพ เพื่อสรางความมี
ปฏิสมั พนั ธระหวางบุคคลกบั สังคม
4. นิยามเชิงบริหาร หมายถึง การควบคุมเชิงพัฒนา การตัดสินใจ การบริหาร และการ
ปฏิบัตกิ าร การควบคุมรายการส่งิ ของการวางแผนระบบการขนสง และการสํารวจอาคารสถานท่ี สถานศึกษา
อีกท้ังแบงฮารทและทรัลล (Banghart & Trull, 1973) ใหขอคิดวา นักวางแผนท่ีฉลาดจะเร่ิมตน
คําถามวา “ทําไมฉันจึงตองวางแผน?” กอนที่จะถามตอไปวา “ฉันจะวางแผนอะไร?” นอกจากน้ัน
ยังใหทัศนะวา การวางแผนมิไดเปนวิทยาศาสตรบริสุทธิ์ที่มุงจะยึดถือแตขอมูลสารสนเทศเทาน้ัน
แตการวางแผนเปนกระบวนการทางสังคม โครงสรางและพฤติกรรมทางสังคม มีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ
ดังน้ัน คานิยม (Values) จะมีบทบาทและมีอทิ ธิพลตอการวางแผนดวย ดงั ภาพที่ 5
38
ภาพท่ี 5 คานิยมในการวางแผนตามทศั นะของแบงฮารทและทรลั ล (Banghart & Trull)
(วิโรจน สารรัตนะ. 2550 : 38)
นอกจากน้ันแบงฮารทและทรัลล (Banghart & Trull, 1973) ยังกลาวถึงการวางแผน (Planning)
และแผน (Plan) วาการวางแผนเปนการเตรียมการเพ่ือที่จะทํา (Preparing to do) สวนแผนเปนการสื่อสาร
ถึงสิ่งที่จะทํา (Communicating what is to be done) โดยมีขั้นตอนการวางแผนที่ประกอบดวยกิจกรรม
หลักตอเน่ืองกัน 7 กิจกรรม แตละกิจกรรมประกอบดวย กิจกรรมยอยอีกจํานวนหน่ึง กรณีกิจกรรมหลัก
7 กิจกรรมน้ัน ประกอบดวยการกําหนดปญหาการวิเคราะหปญหา การกําหนดกรอบความคิดและออกแบบ
แผน การประเมินแผนการจัดทําแผนใหมีความเฉพาะเจาะจง การนําแผนไปปฏิบัติ และการมีขอมูลยอนกลับ
ดงั ภาพท่ี 6
ภาพที่ 6 ขน้ั ตอนการวางแผนตามทัศนะของแบงฮารทและทรัลล (Banghart & Trull)
(วิโรจน สารรัตนะ. 2550 : 39)
39
การวิจัยเชิงนโยบายมีลักษณะผันแปรตามแหลงขอมูลท่ีแตกตางกันไปตามประเด็นตาง ๆ ที่กลาว
มาแลว แตก ็จะมีลกั ษณะท่ีสาํ คัญ ดงั ท่วี ิโรจน สารรัตนะ (2550 : 28) ไดแ สดงทศั นะไว 5 ประการ คอื
1. เปนพหุมิติ (Multidimension) มองปญหาและศึกษาท่ีหลากหลายแงมมุ
2. เฉพาะกรณีและเชงิ ประจักษ (Empirico – inductive Approach) ในลักษณะ
การวิจัยฐานราก (Grounded Theory) ไมกําหนดเหตุและผลของปญ หาตามทฤษฎไี วลวงหนา เพื่อทดสอบ
สมมุติฐาน
3. ใหความสาํ คัญทั้งอดีต ปจจุบนั และอนาคต ไมกําหนดกรอบตัวแปรไวอ ยางตายตัวแตเ ปด
กวางตอ อิทธิพลและตัวแปรแทรกซอนตา ง ๆ
4. ตอบสนองความตองการของผูใชผ ลงานวิจัยหรือแหลง ทุนสนบั สนุน
5. แสดงคานิยมหรือแนวคิดใหเห็นชัดในนิยามของปญหาการวิจัย การพัฒนาขอเสนอแนะ
จากผลการวิจยั และการเผยแพรผลการวิจัย
สวนมาจชเซค (Majchrzak) กลาววาลกั ษณะสําคัญของการวิจัยเชงิ นโยบายมีลักษณะ ดังน้ี
1. การวิจัยเชิงนโยบายเปนมิติท่ีหลากหลาย แนวนโยบายของรัฐ โดยพ้ืนฐานพยายามที่จะ
แกปญหาของสังคมท่ีซับซอน จึงประกอบดวยจํานวนของมิติปญหา ปจจัยผลกระทบ สาเหตุการวิจัยเชิง
นโยบายจะตองศึกษามิติความหลากหลายในธรรมชาตขิ องปญ หาทง้ั หมด
2. การวิจัยเชิงนโยบายใชประสบการณเปนตัวช้ีนํา (Empirico–inductive Approach)
โดยเร่ิมจากปญหาสังคมและความพยายามในการกําหนดแนวคิดจากประสบการณ ทฤษฎีที่เปนมูลเหตุของ
ปญ หาสงั คม
3. การวจิ ยั เชิงนโยบายใหความสําคญั กับตัวแปรทเี่ ปลี่ยนแปลง (Malleable)
4. การวิจัยเชิงนโยบายเปนการตอบสนองผูศึกษาวิจัย เพราะลักษณะเฉพาะของการวิจัย
คือ การวนิ จิ ฉยั ของผูทาํ การวิจัย ถอื เปน กระบวนการแรกในกระบวนการวิจัยเชิงนโยบาย
5. การวจิ ัยเชิงนโยบาย เปนกระบวนการรวบรวมการตัดสินใจท่ีมีคุณคาทางการศึกษาความ
พยายามของผูวิจัย คุณคาของการศึกษาจะเขาสูกระบวนการอธิบายปญหาสังคม การกําหนดคําถามการวิจัย
การพฒั นาขอ เสนอแนะและการเผยแพรผ ลการวิจัยตอผสู นใจ
จากแนวคิดการวิจัยเชิงนโยบายดังกลาว สรุปไดวา การวิจัยเชิงนโยบายมี 4 ประเภท คือ การวิจัย
พื้นฐาน (Basic Research) การวิจัยทางเทคนิค (Technical Research) การวิเคราะหนโยบาย (Policy
Analysis) และการวิจัยเชิงนโยบาย (Policy Research) โดยการวิจัยเชิงนโยบายมีลักษณะสําคัญ คือ เปนพหุ
มติ ิ มองปญหาที่ศกึ ษาดวยหลากหลายแงมมุ เปนเฉพาะกรณีและเชิงฐานราก ไมกําหนดเหตแุ ละผลของปญหา
ตามทฤษฎีไวลวงหนาเพ่ือทดสอบสมมุติฐาน ใหความสําคัญท้ังอดีต ปจจุบัน และอนาคต ไมกําหนดกรอบตัว
แปรไวอยางตายตัว แตเปดกวางตออิทธิพลและตัวแปรแทรกซอนตาง ๆ เปนการตอบสนองตอความตองการ
ของผูใชผลงานวิจยั หรือแหลงทุนสนับสนุน และแสดงคา นิยมหรือแนวคดิ สาํ หรับข้ันตอนการวิจัยเชงิ นโยบาย
ประกอบดวยขน้ั การกําหนดขอเสนอเชิงนโยบาย และข้ันการคาดคะเนความเปนไปไดของขอ เสนอเชิงนโยบาย
สําหรับการวิจัยในครั้งน้ี จัดเปนประเภทการวิจัยเชิงนโยบาย (Policy Research) ท้ังนี้เพื่อเสนอแนวทางและ
ขอเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
40
กรณีศึกษา : สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ในการบริหารจัดการ การจัดการ
เรียนรู และการดูแลชวยเหลือนักเรียน ใหบรรลุวัตถุประสงคของนโยบายได ซ่ึงใหความสําคัญท้ังอดีต
ปจจุบัน และอนาคต ไมกําหนดกรอบตัวแปรไวอยางคงตัว จึงสามารถเพ่ิมหรือตดั ลดตัวแปรแทรกซอนตาง ๆ
ไดใ นแตล ะขั้นของการวิจัย
12. องคประกอบของขอเสนอจากงานวิจัยเชิงนโยบาย
องคประกอบของขอเสนอจากงานวิจัยเชิงนโยบายท่ีไดจากการศึกษาผลงานวิจัย ซ่ึงมีการนําเสนอใน
องคประกอบที่แตกตางกันไปบางตามแนวคิดและองคประกอบของขอเสนอเชิงนโยบายของแตล ะหนวยงานที่
กําหนดนโยบาย ซง่ึ มีองคประกอบท่คี ลายกันในภาพรวม ดงั น้ี
สําหรับองคประกอบของขอเสนอจากงานวิจัยเชิงนโยบายท่ีมีการกําหนดวัตถุประสงคของนโยบาย
หรือยุทธศาสตรหรือกลยุทธเปนองคประกอบแรกน้ัน จากการศึกษาผลงานวิจัยที่นําเสนอวัตถุประสงคเปน
องคประกอบ คือ การศึกษาของไชยา ภาวะบุตร (2549) ไดศึกษาขอเสนอเชิงนโยบายเพ่ือพัฒนาการจัด
การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ไดเสนอผลการวิจัย ใน 7 ดาน แตละดาน
ประกอบดวย จุดมุงหมาย และแนวทางปฏิบัติ สวนดุสิต สมศรี (2551) ไดศึกษา การพัฒนาตัวแบบการ
บริหารแผนยุทธศาสตรของสถานศึกษาข้ันพื้นฐานในบริบทการกระจายอํานาจ ทางการศึกษา ไดเสนอ
ผลการวิจัยที่เปนตัวแบบยุทธศาสตรการบริหารแผนยุทธศาสตรของสถานศึกษา ใน 3 สวน โดยในสวนท่ี 1
วา ดวยสวนนํา ประกอบดวย วัตถุประสงคของตัวแบบ ลักษณะการกระจายอํานาจทางการศึกษา แนวคิดและ
หลกั การท่ีนํามาใช ในการออกแบบ และสมภาร ศิโล (2552) ไดศึกษาขอเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาวิชาการ
ในสถาบัน อุดมศึกษา : กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ พบวา ไดนําเสนอผลการวิจัยที่เปนขอเสนอเชิง
นโยบายใน 3 องคประกอบ ไดแก วตั ถุประสงค เปาหมาย และแนวทางการดาํ เนินงาน
สําหรับองคประกอบของขอเสนอจากงานวิจัยเชิงนโยบายที่กําหนดเปาหมายของนโยบาย หรือ
ยุทธศาสตรหรือกลยุทธเปนองคประกอบดวยน้ัน จากการศึกษาผลงานวิจัยท่ีนําเสนอเปาหมายเปน
องคประกอบที่ 3 ของขอเสนอ คือ ผลการศึกษาของพิธาน พื้นทอง (2548) ไดศึกษาขอเสนอเชิงนโยบาย
เพื่อพัฒนาศักยภาพโรงเรียนขนาดเล็กในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สอดคลองกันกับ คนึง สายแกว (2549)
ที่ไดศึกษาขอเสนอเชิงนโยบายการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัยในจังหวัดสุรินทร และผลการศึกษาของ
พงษศักดิ์ ภูกาบขาว (2553) ไดศึกษาขอเสนอเชิงนโยบายเพื่อความมีประสิทธิผลของโรงเรียนเรียนรวม
จังหวัดขอนแกน นอกจากนี้ยังมีผลการศึกษาของสมภาร ศิโล (2552) ท่ีไดศึกษาขอเสนอเชิงนโยบายเพ่ือ
พัฒนาวิชาการในสถาบันอุดมศึกษา : กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ผลการวิจัย พบวา ไดนําเสนอ
ผลการวจิ ยั ทเ่ี ปนขอเสนอเชิงนโยบายเปนเปา หมายในองคประกอบที่ 2 ดวย สําห รับ องค ป ระก อบ ข อง
ขอเสนอจากงานวิจัยเชิงนโยบายที่กําหนดตัวชี้วัดของนโยบายหรือยุทธศาสตรหรือกลยุทธเปนองคประกอบ
เพ่ือการประเมินผลดวยน้ัน จากการศึกษาผลงานวิจัยที่นําเสนอตัวชี้วัดเปนองคประกอบสุดทายของขอเสนอ
คือ ผลการศึกษาของพิฐาน พื้นทอง (2548) ไดศึกษาขอเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาศักยภาพโรงเรียนขนาด
เล็กในภาคตะวันออกเฉียงเหนือไดเสนอผลการวิจัยที่เปน ขอเสนอเชิงนโยบายใน 5 องคประกอบ มีตัวชี้วดั เปน
องคประกอบสุดทาย สอดคลองกบั ผลการศึกษาของคนึง สายแกว (2549) ท่ไี ดศ ึกษาขอเสนอเชิงนโยบายการ