The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานวิจัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานวิจัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID)

รายงานวิจัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID)

41

บรหิ ารจัดการศึกษาปฐมวยั ในจังหวัดสุรนิ ทร ซ่ึงสอดคลอ งกับพงษศกั ด์ิ ภกู าบขาว (2553) ท่ีไดศ ึกษาขอเสนอ
เชิงนโยบายเพ่ือความมีประสิทธิผลของโรงเรียนเรียนรวมจังหวัดขอนแกน และพัชรกฤษฎ์ิ พวงนิล (2553)
ท่ีไดศึกษากลยุทธการระดมทรัพยากรทางการศึกษาเพื่อพัฒนาสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐในจังหวัด
มหาสารคาม โดยไดนําเสนอผลการวิจัยท่ีเปนประเด็นตัวช้ีวัด เชนเดียวกันกับนภดล พูลสวัสดิ์ (2551)
ไดศึกษายุทธศาสตร กลไกสูการปฏิบัติและการประเมินผล การจัดการศึกษาเพ่ือการพัฒนาทองถ่ินของ
มหาวิทยาลัยราชภัฏ : กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร ไดเสนอผลการวิจัยท่ีเปนตัวชี้วัดดวย

ดั ง นั้ น ใน ก า ร กํ า ห น ด อ ง ค ป ร ะก อ บ ข อ ง ข อ เส น อ เชิ ง น โ ย บ า ย ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ใน ส ถ า น ก า ร ณ
การแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กรณีศึกษา : สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา
ศรีสะเกษ เขต 2 เพื่อใหการดําเนินงานบรรลุวตั ถุประสงคของการวิจยั ใหสอดคลองกับนโยบาย และเปาหมาย
ของการบริหารการจัดการศึกษา การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และการดูแลชวยเหลือนักเรียนในชวง
สถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยมีแนวทางสูการปฏิบัติท่ี
ชัดเจน สามารถวัดและประเมินผลของนโยบายได ในการวิจัยครั้งนี้จึงกําหนดองคประกอบของขอเสนอ
เชิงนโยบายท่ีประกอบดวยวัตถุประสงค เปาหมาย แนวทางสูการปฏิบัติ และตัวช้ีวัด เพื่อใหไดมาซ่ึง
ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย อันจะเปนกลไกสําคัญในการแกไขปญหาที่เหมาะสมกับสถานศึกษาในสังกัด
สาํ นกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2 ตอไป

แนวคดิ และทฤษฎเี ก่ยี วกบั COVID-19 และผลกระทบของ COVID19 ในประเทศไทย

(สํานักกรรมาธิการ 3 สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา: 2563) โคโรนาไวรัส หรือCOVID-19 เปนกลุม
ไวรัสที่สามารถทําใหเกิดโรคทางเดินหายใจในมนุษย โดยชื่อของเช้ือไวรัสชนิดน้ีน้ันมาจากลักษณะหนาม
แหลมคลายมงกุฎ COVID-19 นั้นเปนเช้ือไวรัสในกลุมเดียวกับกลุมอาการทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง
Velavan, T. P., & Meyer, C. G. (2020) ประชาชนท่ัวโลกไดรับการรายงานเก่ียวกับการมีอยูของไวรัส
ครั้งแรกเมื่อปลายเดือน ธันวาคม พ.ศ.2562 โดยเชื่อกันวาไวรัสชนิดนี้ มีตนกําเนิดมาจากเมืองอูฮั่น
ประเทศจีน และไดแพรกระจายไปท่ัวโลกภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว เช้ือไวรัส COVID-19 นั้นสามารถเขาสู
รางกายมนุษยผานทางจมูกปาก หรือตา เชน การสัมผัสเชื้อโรคแลวนําไปสัมผัสกับบริเวณหนาโดยตรง ไวรัส
จะเดินทางไปที่ดานหลังของทางเดินจมูก และเยื่อบุจมูกและจะเคล่ือนท่ีเขาสูปอดในเวลาตอมา จากนั้นไวรัส
จะสามารถแพรกระจายไปยังเนื้อเย่ือสวนอื่น ๆ ของรางกาย ผูติดเชื้อไวรัสน้ันอาจมีไขสูง หายใจถ่ีหรือหายใจ
ลําบาก ไอแหง ปวดเมื่อยตามรางกาย และการสูญเสียความสามารถในการไดกล่ินหรือลิ้มรสอาหาร เปนตน
หนวยงานอนามัยโลก และผูใหบริการดานสุขภาพตางทํางานรวมกัน เพื่อพัฒนานโยบาย และขั้นตอน
จะลดอัตราการแพรร ะบาดของเช้ือไวรัสชนิดนที้ ัง้ ในระดับสากลจนไปถึงรายบุคคล

องคกรอนามัยโลกไดแบงกลมุ เสี่ยงตอเช้ือไวรัสนเี้ ปน 3 ประเภท
1. ผูท่ีอาศัย หรือมีประวัติการเดินทางไปยังพ้ืนที่สุมเส่ียงโดยเฉพาะสถานท่ีท่ียากตอ

การรกั ษาระยะหางระหวางบคุ คล (Social distancing)

42

2. ผูท่ีเคยสัมผัสใกลชิดกับผูท่ีไดรับการตรวจเช้ืออยางใกลชิดเปนเวลา 15 นาที ภายใน 24
ชวั่ โมง

3. ผูสูงอายุท่ีอยูในวัย 60 ปข้ึนไป ท่ีมีโรคประจําตัว หรือระบบภูมิคุมกันที่ออนแอ องคการ
อนามัยโลกไดกลาวถึงวิธีปองกันการแพรระบาดของเชื้อไวรัสชนิดนี้โดยแนะนําใหประชาชน สวมหนากาก
อนามัยในพื้นที่สาธารณะ และสวมใสตลอดเวลโดยเฉพาะพ้ืนที่ท่ียากตอการรักษาระยะหางอยางนอย 1 เมตร
เนือ่ งจากผทู ่ีติดเชื้อไวรัสน้ันอาจจะแสดงอาการ หรือไมแ สดงอาการอะไรเลยโดยท้ัง 2 กลมุ นนี้ ั้นสามารถแพร
เช้อื ไวรัสไปยังผูอ ื่นได

ผลกระทบของการระบาดนั้นสงผลกระทบในหลายประเทศท่ัวโลกรวมไปถึงประเทศไทยสําหรับผล
กระทําท่ีเกิดข้ึนในประเทศไทยน้ัน สํานักงานสถิติแหงชาติในป พ.ศ. 2562 ช้ีใหเห็นวาประชากรชาวไทยกวา
21 ลานครัวเรือน มีเงินสํารองสะสมนอยกวา 3 เดือนขอคาใชจายกวาปกติคิดเปนกวา 60 เปอรเซ็นตของ
จํานวนครัวเรือนท้ังหมด นอกจากนั้น COVID-19 ยังสง ผลใหเกิดผลกระทบดังตอไปน้ี

1. ผลกระทบดานเศรษฐกิจ
ในการระบาดระลอกแรกนั้น ผลกระทบจากมาตรการตาง ๆ ที่ภาครัฐท่ีออกมา ไมวาจะเปนมาตรการ

Lockdown หรือการหยุดชะงักลง แมวาจะมีการใชจายภาครัฐผานมาตรการเยียวยาเพื่อประคับประคอง
เศรษฐกิจก็ตาม ซ่ึงสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ประเมินวาการระบาดของ
โรคโควิด-19 กระทบตอการจางงานแรงงานใน 9 สาขาการผลิต ครอบคลุมแรงงานมากกวา 8 ลานคน ซ่ึงยัง
ไมรวมผลกระทบแรงงานในภาคเกษตรอีกหลายลานคน โดยแรงงานในภาคการทองเท่ียวและภาคบริการท่ี
เกี่ยวเนื่อง เชน การคาภัตตาคารและโรงแรม คอนขางไดรับผลกระทบ ที่รุนแรง โดยแรงงานสวนใหญอยูปด
เมือง มาตรการเวนระยะหางทางสังคม การจํากัดเวลาปด-เปด และน่ังในรานอาหาร สงผลใหธุรกิจหลาย
ประเภทตองนอกระบบประกันสังคม จึงไมไดรับสิทธิประโยชนกรณีวางงานจากระบบประกันสังคม
ตามมาตรา33

43

ภาพที่ 7 จาํ นวนแรงงานกลุมเปราะบางทีม่ ีความเสี่ยงตอการถูกลดชั่วโมงการทาํ งาน ออกจากงาน หรือ กลุม
วา งงานชั่วคราว จากมาตรการเวนระยะหา งทางสงั คม จําแนกตามสาขาการผลิต

นอกจากนี้จากรายงานการสํารวจผลกระทบจากสถานการณการแพรร ะบาดของโรคโควิด 19
ดานเศรษฐกิจ (23 เมษายน – 17 พฤษภาคม 2563) ของสาํ นกั งานสถิติแหง ชาติ พบวา มากกวา ครึง่ มี
รายไดลดลง และรอยละ 33 มคี า ใชจา ยเพม่ิ ข้ึน รอยละ 14 มหี นี้สินในระบบเพ่ิมขึ้น รอยละ 14.5 ตกงาน
เลิกจาง รอ ยละ 69.7 ไดร ับผลกระทบดา นอาชีพและการจางงาน อีกทง้ั ผูประกอบการรายเล็กไดรบั
ผลกระทบโดยยอดขายลดนอยลงรอยละ 21.8 และรอ ยละ 12.6 ตองปดกิจการ ในขณะท่ี รอ ยละ 12.9
โดนพักงาน หรือเลิกจาง โดยไมไ ดเ งิน นอกจากนัน้ ผลกระทบทางเศรษฐกิจตอครัวเรอื นท่ีมีตอ กลมุ
เปราะบางทุกกลุม ไดแก เด็กเล็ก คนพิการและคนปวย ไดรับผลกระทบมากกวากลุมอ่ืน ซึ่งครัวเรือนท่ีมีกลุม
เปราะบางมาก จะไดรบั ผลกระทบดานรายไดที่ลดลงมากกวากลมุ ทีเ่ ปราะบางนอย มีรายจา ยเพ่ิมขนึ้ มากกวา มี
หนี้สินมากกวา อยางไรก็ตาม กลุมเปราะบางมากจะมีหนี้นอกระบบนอยกวาครัวเรอื นที่ไมมีกลุมเปราะบางแม
ภาพรวมเศรษฐกิจมหภาคของชวงปลายป 2563 จะดูดี แตเม่ือพิจารณาในบางกลุมธุรกิจ พบวายังคงมี
ผลกระทบท่ีมีความรุนแรงตอเนื่อง โดยเฉพาะ อุตสาหกรรมทองเท่ียวจากตางประเทศ แมวาภาครัฐจะมีการ
สนับสนุนมาตรการการทองเท่ียวในประเทศ แตยังคอนขางจํากัด และพบวาธุรกิจท่ีเก่ียวของกับการทองเท่ียว
เริ่มปดกิจการ ซึ่งมากกวารอยละ 50 ของคนท่ีทํางานในภาคการทองเท่ียวเปนแรงงานนอกระบบโดยมากกวา
รอยละ 70 ของการจางงาน ในภาคการทองเท่ียวอยูในกลุมอาหารและเคร่ืองด่ืม ซึ่งเปนภาคยอยที่ไดรับ
ผลกระทบอยางรุนแรงจากการปดกิจการ สวนแบง ของภาคการทองเท่ียวในการจา งงาน รวมมสี ัดสวนสูงขึน้ ใน
เขตเมอื ง ดังนน้ั จึงมแี นวโนมเผชิญการวางงานสูงกวา ทําใหค าใชจา ยเพ่ือการบรโิ ภคออนตัวลงโดยธนาคารแหง
ประเทศไทยไดประมาณการวาการระบาดระลอกสองจะกระทบแรงงาน จํานวน 4.7 ลานคน โดยในจํานวนน้ี
1.1 ลานคนมีความเส่ียงท่ีจะตกงาน และอีก 3.6 ลานคนมีความเสี่ยงที่รายไดจะลดลงอยางมาก นอกจากน้ียัง

44

พบวา เงินออมโดยรวมที่เคยเพิ่มข้ึนหลังการระบาดระลอกแรก(สวนหน่ึงอาจมาจากการไดรับเงินชวยเหลือ
จากภาครัฐ) มีแนวโนมลดลงทามกลางการระบาดระลอกใหม(ระลอกสอง) ซึ่งอาจแสดงถึงความสามารถใน
การรองรับผลกระทบนอยลงสําหรับประชาชนบางกลุม

ภาคการสงออก มูลคาการสงออกของไทยท้ังป 2563 หดตัวรอยละ 6 ซึ่งต่ําสุดในรอบกวา 10 ป
นับตั้งแตวิกฤต hamburger ในป 2552 แตจากตัวเลขเดือนธันวาคม 2563 พบวา มูลคาการสงออกกลับมา
ขยายตัวไดอีกครั้งรอยละ 4.7 ซึ่งนับเปนการขยายตัวสูงสุดในรอบ 22 เดือน นอกจากนี้ การสงออกเดือน
เมษายน 2564 ขยายตัวรอยละ 13.1 เม่ือเทียบกับเดือนเดียวกันของป 2563 การนําเขาขยายตัวรอยละ 29.8
สง ผลใหภาพรวมการสงออก 4 เดือนแรกของป 2564 ขยายตัวรอยละ 4.78 การนําเขาขยายตัว 13.85% โดย
เปนการขยายตัวจากกลุมสินคาเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร ไดแก ยางพารา ผัก/ผลไมสด ผลิตภัณฑ
มันสาํ ปะหลงั เปนตน

การระบาดของโรคโควิด-19 ระลอกสาม ตั้งแตเดือนเมษายน 2564 เปนตนมาน้ัน มีความรุนแรง
อยา งมาก ธนาคารโลกไดประเมินการเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยในป พ.ศ. 2564 คาดวา นาจะปรับลดลงจาก
รอยละ 3.4 ท่ีเคยคาดการณไวในเดือนมีนาคม ลงมาเปนรอยละ 2.2 โดยศูนยวิจัยกสิกรไทยคาดการณวา
นักทองเท่ียวตางชาติที่จะเดินทางเขามาทองเที่ยวในไทยในชวงครึ่งปหลัง 2564 จากประมาณ 2.5-6.5 แสน
คน จะเหลือเพียง 1.5 แสนคน เน่ืองจากสถานการณการระบาดของโรคโควิดในประเทศท่ียังพบจํานวนผูติด
เช้ือสูง ทําใหรัฐบาลไทยจําเปนตองใชมาตรการควบคุมการการระบาดในประเทศ ซึ่งไมเอ้ือตอกิจกรรมการ
ทอ งเที่ยว

สอดคลองกับขอมูลของสาํ นักงานสภาพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ รายงานวา ผลกระทบ
จากโควิด-19 ระบาดในระลอกที่ 3 ทําใหกิจกรรมทางเศรษฐกิจภายในประเทศลดลงอีกคร้ัง โดยเฉพาะการ
บรโิ ภค และการลงทุนของภาคเอกชนท่ีลดลงรอยลง 2.5 ถึงแม GDP ไตรมาสที่ 2/2564 ขยายตัวรอยละ 7.5
จากการลดลงรอยละ 2.6 ในไตรมาสท่ี 1/2564 ก็ตาม (20) และชวงไตรมาส 3 สถานการณโควิด-19 มีความ
รนุ แรง และกระจายไปในวงกวางมากขึ้น ทําใหมีการบังคับใชมาตรการลอ็ คดาวนในพ้ืนที่สีแดงเขมจาํ นวน 29
จังหวัด ซ่ึงคิดเปนมูลคาเศรษฐกิจรวมกวารอยละ 77 ของ GDP ท้ังประเทศ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ จึงไดรับ
ผลกระทบ และทรดุ ตัวลงไปดวย

นอกจากนี้ การจางงานไดรับผลกระทบรุนแรง โดยเฉพาะกิจการในภาคบริการและกิจการ โดยขอมูล
การจางงานในไตรมาสท่ี 2 ของป 2564 ไดแก 1) ผูวางงาน/เสมือนวางงาน (ผูมีงานทําไมถึง 4 ชม ตอวัน) มี
จํานวน 3.0 ลานคน และคาดวาจะเพิ่มเปน 3.4 ลานคนในสิ้นป 2564 ซ่ึงเพิ่มขึ้นกวาชวงกอนการระบาดกวา
1 ลานคน 2) ผูวางงานระยะยาว (เกิน 1 ป) 1.7 แสนคน เพิ่มข้ึนกวาชวงกอนการระบาดถึงกวา 3 เทาตัว 3)
ตัวเลขผูวางงานท่ีไมเคยทํางานมากอนมีจํานวน 2.9 แสนคน เพิ่มขึ้นจากชวงกอนการระบาดถึง 8.5 หม่ืนคน
และ 4) แรงงานยายถน่ิ กลับภูมลิ ําเนาทีเ่ พิ่มขนึ้ จากภาคบรกิ าร/อุตสาหกรรมในเขตเมือง กลับไปยังภาคเกษตร
ท่ีมผี ลติ ภาพตา่ํ กวา จาํ นวน 1.6 ลานคน สูงกวา คา เฉลี่ยชวงกอนการระบาดกวา 1 ลา นคน

45

2. ผลกระทบดานสังคม
สําหรบั ผูทีไ่ ดร ับผลกระทบรุนแรงมากทส่ี ุดในการระบาดของโรคโควิด-19 ตัง้ แตเดือนมีนาคม 2563

เปน ตนมา คือ กลุมประชาชนที่มรี ายไดนอย รวมถึงกลุม เปราะบางอ่ืน ไดแ ก เด็ก ผูสูงอายุ คนพิการ และคน
เจ็บปวย ซ่ึงเปนผลมาจากการสูญเสียรายได ทั้งจากการถูกเลกิ จา ง งานนอ ยลง และกลายเปน ผลกระทบลกู โซ
ไปถึงการลดลงของคุณภาพชีวิต การไมสามารถเขาถงึ การศกึ ษาไดอยางตอเนือ่ ง หรอื การไมสามารถเขาถงึ
บริการสาธารณสุขได ซงึ่ เปนการสะทอนถงึ ผลจากการมีตนทุนทางสังคมและเศรษฐกิจท่ีแตกตางกัน

ผลการสํารวจผลกระทบท่ีเกิดจากการแพรระบาดและมาตรการควบคุมโรคระบาด เกี่ยวกับ
ผลกระทบทางสังคมสังคม ภายใตค วามรวมมือของสํานักงานสถิตแิ หงชาติ สถาบันวิจัยเพอ่ื การพัฒนาประเทศ
ไทย และองคการทุนเพื่อเด็กแหงสหประชาชาติ หรือ ยูนิเซฟ ประเทศไทย พบวามากกวารอยละ 80 ของ
ครัวเรอื นเปราะบางไดรับผลกระทบจากการแพรร ะบาดและมาตรการควบคุมของรัฐ โดยปญหาทพ่ี บมากท่ีสุด
คือการเดินทางเขารับบริการทางการแพทยท่ียากข้ึน ซึ่งคาดวาเกิดไดจากหลายสาเหตุ เชน ความหวั่นเกรง
ความเส่ียงในการเดินทางออกนอกท่ีพักอาศัย ตนทุนที่เพิ่มขึ้นจากการโดยสารรถรับจางแทนรถสาธารณะ
รวมทั้งการปดใหบริการของสถานพยาบาลบางแหงท่ีตองรองรับผูติดเชื้อโควิด-19 เปนตน นอกจากนี้ในกลุม
ครัวเรือนท่ีมีเด็กเล็กจะมีปญหาท่ีเพ่ิมเติมคือการไมมีเวลาดูแลของผูปกครองหรือขาดผูดูแลเด็กเล็กจากการ
ทโ่ี รงเรียนหรือศูนยเด็กเล็กปดใหบ ริการ อกี ท้ังความคิดเหน็ เก่ียวกับการจัดการเรียนการสอนออนไลนพ บวา
เกือบครึ่งหน่ึงของผูตอบ (รอยละ 46.2) ไมพรอมเรียนในระบบออนไลนเ นือ่ งจากขาดแคลนอปุ กรณ
ในการเรียน เชน คอมพิวเตอร โนต บคุ หรอื แทบ็ เล็ต (คิดเปน รอยละ 23.5 ของครัวเรือนท่ีไมมคี วามพรอม)
และจากการท่ีผปู กครองไมมีเวลาในการชวยเหลือในการเรียนออนไลน (คดิ เปนรอยละ 18.6)

การระบาดท่ีลากยาวและรุนแรงมากขนึ้ ในระลอกใหม (ระลอกสอง) สง ผลกระทบดานสงั คมซาํ้ อกี คร้ัง
กับคนบางกลุม โดยเฉพาะในประชาชนกลุมเปราะบาง โดยกลุมเปราะบางไดรับผลกระทบทางเศรษฐกิจและ
สังคมมากกวากลุมอื่นต้ังแตระลอกแรก โดยสวนหนึ่งเปนเพราะผูหารายไดหลักในครอบครัวของกลุม
เปราะบางมักทํางานนอกระบบ ขาดความมั่นคงของการทํางานและรายไดอยูแลวตั้งแตกอนเกิดการระบาด
จึงมักเปนกลุมแรก ๆ ที่ถูกกระทบรุนแรงในแงการสูญเสียรายไดสวนดานสังคมก็ถูกกระทบรุนแรงกวากลมุ อื่น
เชน เด็กในครอบครัวยากจนมีความสามารถในการเรียนรูออนไลนนอยกวาเด็กฐานะดี ผูปกครองก็มีความ
พรอมและความสามารถในการเรียนรวมกับลูกนอยกวา ผูสูงอายุที่มีโรคประจําตัวในครอบครัวเปราะบางทุก
ประเภทก็เขาถึงบริการทางการแพทยลดลงมากกวา เปนตน

นอกจากนี้ การสํารวจกลุมคนไรบานในพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานคร ชวงสถานการณการแพรระบาดของ
โรคโควิด-19 พบวามีแนวโนมเกิดคนไรบานหนาใหมเพ่ิมขึ้นรอยละ 20-30 หรือประมาณ 300-400คน จาก
เดิมที่มีคนไรบานอยูราว 1,500 -1,600คน โดยสาเหตุหลักมาจากภาวะเศรษฐกิจท่ีไดรับผลกระทบตอเน่ือง
จากการแพรระบาดของโรคโควิด-19ผูประกอบการปดกิจการ เลิกจาง ซ่ึงกลุมท่ีมีรายไดนอย หาเชากินคํ่า
เมื่อถูกเลิกจางไมมีรายได ก็ไมมีเงินจายคาที่อยูอาศัย ทําใหบางสวนตองกลายมาเปนคนไรบาน สอดคลองกับ
ขอมูลของมูลนิธิกระจกเงา ท่ีพบวากลุมคนไรบานทั้งหนาเกาและหนาใหม สวนใหญเขาไมถึงการชวยเหลือ

46

เยียวยาจากภาครัฐ สวนการชวยเหลือท่ีมีกอนหนาน้ี เชน การเปดศูนยพักพิงใหกับคนไรบาน ไมมีความ
ตอเน่ืองและไมตรงกับความตองการท่ีแทจรงิ ของพวกเขา การมีขอจํากัดเรื่องเวลาเขา-ออก, มีปญหาจากอยู
รวมกันเปนกลุม และไมไดสงเสริมใหมีการจางงาน เพราะสําหรับคนไรบาน ส่ิงตองการเปนอันดับแรกคือการ
จางงาน เพื่อมีรายไดเล้ียงชีพและเชาที่อยูอาศัย ทําใหคนที่เคยเขาไปอยูในศูนยพักพิง ตัดสินใจออกมาเปนคน
ไรบานอีกคร้ัง เพ่ือออกจากขอจํากัด และผลักดันตัวเองออกจากการเปนคนไรบานได นอกจากนี้ การเก็บ
ขอมูลคนไรบ านของแผนงานสนบั สนุนองคค วามรู
เพื่อการสรางเสริมสุขภาวะและคุณภาพชีวิตคนไรบ า น ในชวงการระบาดระลอกสาม ระหวางวันท่ี 3–8
พฤษภาคม 2564 ใน 4 จังหวัด พบวาคนไรบาน กวารอยละ 43 เลอื กท่ีจะใชสิทธิการรกั ษานอกระบบ ซง่ึ สวน
หนงึ่ มาจากการไมม ีสถานะ
ทจ่ี ะเขาถึงระบบประกนั สุขภาพได และมากกวารอยละ 58 ไมเ คยเขาถึงโครงการท่รี ัฐออกมาตรการมาเยียวยา
ไดเ ลย

กลุมผูสูงอายุไดร ับผลกระทบในหลายเรอื่ งเชนการดูแลตนเอง (การตัดผม การออกกําลังกาย) การซอ้ื
ขาวของเครอื่ งใช การจา ยตลาด การเดินทางไปยังสถานที่ตาง ๆ การเขา รับบริการทางการแพทยกรณเี จ็บปวย
โดยสัดสวนของผูสงู อายุที่ไดรับผลกระทบดงั กลา วในภาพรวมคิดเปน รอยละ 70.1 –91.8 และสัดสวนของ
ผูสงู อายุ ท่ีไดร บั ผลกระทบดังกลาวในระดบั “มาก”คิดเปนรอยละ 28.2 –40.9 นอกจากนม้ี าตรการปดสถาน
ดูแลผูสูงอายุสง ผลตอการดูแลผูสูงอายุโดยเฉพาะกลุมผูมีภาวะพึ่งพงิ ท่ีตองไดร ับการดูแลเปนพิเศษอยางใกลชิด
ทําใหผูสงู อายุอาจไมไ ดร บั การดูแลอยา งตอเน่ืองและสรา งภาระการดูแลใหแกครอบครวั ผูสงู อายไุ ด

เด็กและเยาวชน เปนหน่ึงในกลุมเปราะบางท่ีไดรับผลกระทบมากท่ีสุดกลุมหน่ึง ขอมูลจาก
สถาบันวิจัยเพื่อความเสมอภาคทางศึกษา ไดติดตามศึกษาปรากฎการณ ‘การสูญเสียการเรียนรู’ (Learning
Loss) หรือ ‘Covid Slide’ เปนปรากฏการณการสูญเสียการเรียนรูในชวงโควิดของเด็กนักเรียน การสํารวจ
ผลกระทบจากสถานการณโควิด กรณีปดเรียนเปนระยะเวลานานจะพบวาเด็กขาดการเรียนรูท้ังในรูปแบบ
นามธรรมและรูปธรรม ย่ิงจะทําใหพัฒนาการของเด็กชามากขึ้น นอกจากนี้ พบวาการระบาดระลอกใหม
(ระลอกสอง) จะกอใหเกิดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาใน 2 ประเด็น คือ ปญหาการหลุดออกจากระบบ
การศึกษา และ ภาวะถดถอยดา นการเรียนรูโดยจะยิ่งขยายชองวา งความเหล่ือมล้ําทางการศึกษาระหวางเมือง
และชนบทอีกมากกวา 2 ปการศึกษาและจากขอมูลขององคการยูนิเซฟ รายงานวาเดก็ ที่อาศัยอยูโดยไมมีพอ
แมใชเวลากบั โซเชียลมีเดีย กิจกรรมออนไลน (รอ ยละ 88) ดูทีวี (รอยละ 85) เลนเกมทั้งออฟไลนและออนไลน
(รอ ยละ 52) มากกวาชวงกอ นโรคโควิด-19 จะระบาด เทยี บกับเด็กทมี่ ีชวี ิตอยูกับผปู กครองอยา งนอ ยหนึ่งคน

จากขอมูลดังกลาว กลุมเปราะบางเปนกลุมท่ีสะทอนใหเหน็ ผลความเหล่ือมล้ําทางสังคม ปญ หาความ
ยากจน ปญหาความรุนแรงในครอบครัว และการท่ีไมสามารถเขาถึงหลักประกันหรือสวัสดิการใดๆ มารองรับ
โดยเฉพาะอยางย่ิงในสถานการณระบาดโควิด-19 นอกจากน้ี โครงการวิจัยคนจนเมืองที่เปล่ียนไปในสังคม
เมืองท่ีกําลังเปลี่ยนแปลงภายใตการสนับสนุนของสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมวิทยาศาสตร วิจัยและ
นวัตกรรม (สกสว.) ไดทําการศึกษาในเดือนเมษายน 2563 พบวา ผูท่ไี ดร ับผลกระทบอยา งรุนแรงจากนโยบาย

47

และมาตรการของรัฐคอื กลุมลูกจาง แรงงานอิสระ โดยเฉพาะอยางย่ิง กลุมคนจนเมืองซึ่งตองตกงานแตไมได
รับการชวยเหลือหรือเยียวยาจากทางภาครัฐอยางทันทวงที และผูประกอบการรายยอยเปนอีกสวนที่ไดรับ
ผลกระทบอยา งรุนแรงดวยเชนกัน

3. ผลกระทบตอภาคการศึกษา
การใชมาตรการรักษาระยะหางภายในสถานศกึ ษานั้นเปนเรื่องยากเพราะเปนจุดรวมตวั ท่ีมคี วามเส่ียง
ตอการแพรของโรคระบาด เพ่ือควบคุมโรคระบาดทางรัฐบาลไดมีการเล่ือนการเปดภาคเรียนตลอดจนถึงการ
สง่ั ปดสถานศึกษาเปนระยะเวลาหน่ึง โรงเรียนตาง ๆ ไดมีการดําเนินการสอนผานทางส่ือออนไลนแทนการเขา
คลาสเรียนหรือแมแตสลับใหเด็กมาเรียนในวันคูแทนเพื่อลดความแอดในสถานศึกษาลง การปดการศึกษาน้ัน
จะทําใหความเหลื่อมลํ้าของการศึกษาในเด็กไทยกวา งและมีแนวโนมจะหลุดออกจากระบบการศึกษามากข้ึน
ผลเนื่องมาจากการที่รายไดตอครัวเรือนนอยลงจากผลกระทบทางระบบเศรษฐกิจการลดภาระคาใชจายใน
การศึกษาเลาเรียนจึงเปนตัวเลือกสําหรับครัวเรือนยากจนท่ีจะสามารถดํารงชีพตอไปภายใตเศรษฐกิจ ณ
ขณะนี้ ยิ่งไปกวานั้นการปดภาคเรียนเปนเวลานานสงผลใหผลการเรียนเฉลี่ยของนักเรียนน้ันแยลง จาก
ผลการวิจัยของ เทื้อน ทองแกว (2563) พบวา การปดโรงเรียนเปนระยะเวลา : สัปดาห มีแนวโนมท่ีจําทําให
ความรูของนักเรียนหายไปถึงคร่ึงปการศึกษา ซ่ึงอาจจะสงผลกระทบตอการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ
ในอนาคตอีกดวย การเรียนผานระบบออนไลน แสดงใหเห็นชัดถึงปญหาการเหลื่อมล้ําทางดานสังคม
เนื่องจากการเรียนออนไลนจําเปนที่จะตองมีอุปกรณที่ รองรับสัญญาณอินเตอรเน็ต หรือคอมพิวเตอร ทําให
รัฐบาลน้ันตองออกมาตรการเยียวยา สนับสนุนอุปกรณการเรียนใหกับเด็กท่ีอยูในครัวเรือนที่มีรายไดนอย
เพือ่ ท่ีนักเรียนทุกคนสามารถเขาถึงบทเรียน และลดชวงวา งความเหลอ่ื มลํา้ ในระบบการศกึ ษา

สถานการณการแพรระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) กับแนวทางการ
จัดการศกึ ษา

(สํานักกรรมาธิการ 3 สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา: 2563) ไดกลาววา จากสถานการณการ
แพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) “โรงเรียน” เปนสถานที่อันดับแรก ๆ ที่ถูก
ประกาศปด สงผลใหนักเรียนและครูหลายพันลานคนทั่วโลกตองปรับวิธีการเรียนเปล่ียนวิธีการสอนรูปแบบ
ใหม โดยแนวทางการเรียนการสอนในรปู แบบใหมตอ งใชระบบเทคโนโลยีเขามาชวยอํานวยความสะดวก “การ
เรียนการสอนออนไลน” จึงกลายเปนเครื่องมือสําคัญที่ระบบการศึกษาในหลายประเทศท่ัวโลกนํามาใชใน
สถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัสดังกลาว ซึ่งประเทศไทยเองก็นําวิธีการเรียนการสอนออนไลนมาใช
เพื่อใหโรงเรียนตางๆสามารถดําเนินการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรที่กระทรวงศึกษาธิการไดวางไวแม
จะเปนวิธีการแกไขปญหาที่ชวยใหนักเรียนสามารถศึกษาหาความรูตอไปไดโดยไมเส่ียงตอการติดเชื้อไวรัสก็
ตาม แตการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลนก็ถูกต้ังคําถามถึงประสิทธิภาพและความพรอมของระบบ
การศึกษาไทยท่ีไมเ พียงจะเพ่มิ ภาระใหกับผูปกครองท่ีตองจัดหาวัสดุอุปกรณ หรือการดูแลบุตรหลานในขณะที่

48

มีการเรียนการสอนออนไลนซ่ึงเรื่องดังกลาวยังเปนการสะทอนและตอกย้ําภาพความเหล่ือมลํ้าของสังคมไทย
อีกดวยโดยเฉพาะการเขาถึงสื่อการเรียนการสอนของนักเรียนท่ีช้ีใหเห็นถึงความไมพรอมในหลายดาน ในการ
จัดการเรียนการสอนแบบออนไลนอาจจะตองพิจารณาถึงความเหมาะสมวาผูเรียนในชวงชนั้ ใดที่เหมาะกับการ
เรียนในรูปแบบดังกลาว ซ่ึงในระดับปฐมวัยและระดับประถมศึกษาน้ันยังคงเปนเร่ืองใหมและผูเรียนจะยังไม
พรอ มท่จี ะรับการจดั การเรียนการสอนแบบออนไลนซึ่งในชว งวัยน้ีควรจะตอ งไดร บั การเรียนการสอนจากครู
โดยตรงในลักษณะ Onsite มากกวา Online นอกจากน้ีในสวนของสอ่ื การเรียนการสอนและครูผทู ่ีทําหนาท่ี
ในการจัดการศึกษาผา นระบบออนไลนดงั กลาวก็ควรตอ งเปนสอ่ื การเรียนการสอนท่ีทันสมัย มคี วามถูกตอง
ทัง้ ในเร่อื งของเนื้อหาสาระการเรียนรแู ละมีความเหมาะสมในแตละชวงวัยดวย

ขอมูลสถานการณการจัดการศึกษาในชวงของการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) โดยนายพงศทัศ วนิชานันท นักวิจัยนโยบายดาน
การปฏิรูปการศึกษา ไดใหขอมูลโดยสรุปวา สิ่งแรกที่รัฐตองตัดสินใจ คือ การเปด-ปดโรงเรียน แตผลของการ
ปดโรงเรียนอาจไดไมคุมเสียโดยมาตรการเรง ดวนที่รัฐบาลหลายประเทศใชเพื่อปองกันการแพรกระจายของ
เชื้อไวรัสคือ มาตรการกึ่งปดเมือง (Semi-lockdown)และมาตรการเวนระยะหางทางสังคม (Social
Distancing) โรงเรียนจึงจําเปนตองถูกปดไปดวยเพ่ือลดชองทางการแพรเช้ือไวรัส อยางไรก็ตาม งานวิจัย
ศึกษาผลของการปดโรงเรียนในประเทศจีน ฮองกง และสิงคโปรประกอบกับบทเรียนในอดีตจากสถานการณ
การแพรระบาดของเชื้อไวรัส SARs บงช้ีวา การปดโรงเรียนอยางเดียวสงผลนอยมากตอการลดจํานวนของผู
ติดเชื้อ เมื่อเทียบกับมาตรการอ่ืน นอกจากน้ีธนาคารโลกยังแสดงความเปนหวงตอสถานการณปดโรงเรียนวา
จะสง ผลใหนักเรยี นสว นใหญเสยี โอกาสในการเรียนรูโ ดยเฉพาะนักเรียนในครอบครัวที่มีฐานะยากจน เน่ืองจาก
ไมมีรายไดมากพอที่จะนํามาใชสนับสนุนการเรียนของบุตรหลานเพิ่มเติม ท่ีรายแรงที่สุดการปดโรงเรียนอาจ
ผลักใหนักเรียนกลุมน้ีหลุดออกจากระบบการศึกษา ซึ่งจะกอใหเกิดผลเสียตอชีวิตเด็กในระยะยาวดังนั้น ส่ิงท่ี
จําเปนคือการวางแนวทางเปดโรงเรียนเพื่อใหเด็กไดไปโรงเรียนอีกครั้ง โดยใหสอดคลองกับความรุนแรงของ
สถานการณค วบคกู ับการใชมาตรการทางดา นสาธารณสุขและมาตรการทางสงั คมอยางเครงครัดในโรงเรียน

ชวงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หลายประเทศใชวิธีการสอน
ท างไก ล ไมวาจะเป นก ารสอนออนไลน ผาน Massive Open Online Courseware (MOOC) ห รือ
แอปพลิเคชันท่ีชวยใหครูสอนในหองเรียนเสมือน (Virtual Classroom) หรือใชการถายทอดการสอนผาน
สัญญาณโทรทัศน เพ่ือใหเด็กเรียนตอที่บานไดขณะปดโรงเรียน แตการใชวิธีดังกลาวทําใหเด็กบางกลุม
โดยเฉพาะเด็กในครอบครัวท่ีมีฐานะยากจนเสียเปรียบ เพราะไมมีอุปกรณดิจิทัลที่บาน นอกจากน้ีในการเรียน
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเด็กจําเปนตองไดรับการเอาใจใส การเรียนท่ีบานจงึ เปนการผลักภาระใหผูปกครอง
อาจทําใหเหล่ือมลํ้าทางการศึกษาเพิ่มมากขึ้น หากผูปกครองไมมีความพรอมในการชวยเหลือบุตรหลานของ
ตนในการเรียน เพื่อปองกันไมใหเด็กที่ไมมีความพรอมเสียโอกาส รัฐบาลของหลายประเทศไดจัดหาอุปกรณ
การเรียนใหแกเด็กกลุมดังกลาวเชน รัฐบาลฮองกงใหโรงเรียนสํารวจความพรอมนักเรียน และจัดหา
คอมพิวเตอรใหนักเรียนยืมเรียน รัฐนิวยอรก เตรียม iPad พรอมอินเทอรเน็ตใหนักเรียนยืมกวา 3 แสนเครือ่ ง
และรัฐแคลิฟอรเนียรวมมือกับบริษัท Google จัดหา Chromebooks และ Mobile Hotspot ใหนักเรียน
รวมทั้งออกคูมือใหผูปกครองสามารถชวยเหลือเด็กในการใชอุปกรณ ในสวนของประเทศไทยนั้นยังมีขอจํากัด

49

ในการเรียนทางไกลคอนขางสูง ขอมูลของสหภาพโทรคมนาคมระหวางประเทศ (ITU) บงช้ีวา สัดสวนของ
ครัวเรือนที่มีคอมพวิ เตอรคอ นขางตาํ่ เมอ่ื เปรียบเทียบกับคา เฉลีย่ ของประเทศพัฒนาแลว นอกจากนกี้ ารสาํ รวจ
ของสํานักงานสถิติแหงชาติยังสะทอนใหเห็นความเหลื่อมลํ้าสูงในการเขาถึงอปุ กรณดิจิทัลโดยเฉพาะครัวเรือน
ท่ีมีฐานะยากจน และครัวเรือนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ยิ่งไปกวาน้ันยังมีนักเรียนกวา 8 หม่ืนคน อยูในพื้นท่ี
ที่ไฟฟาเขาไมถึง ดังนั้น รัฐบาลตองสํารวจความพรอมของครัวเรือนเด็ก และมีมาตรการท่ีหลากหลายเพ่ือ
เตรยี มความพรอมในการเขาถงึ การเรียนทางไกลของเด็กทม่ี ีสภาพความขาดแคลนแตกตา งกัน

จากบทเรียนขา งตน รัฐบาลไทยควรมมี าตรการเปด-ปด โรงเรยี นใหสอดรบั กับความรุนแรงของ
การระบาดของโรค มีความยืดหยุนในแตละพ้ืนที่และใชมาตรการดา นอ่ืนควบคูในกรณีเปดโรงเรียน อกี ท้ังยัง
ควรเรงสํารวจความพรอมในการเขาถึงการเรียนทางไกลของเด็ก เพื่อเตรียมอุปกรณหรือสื่อการเรียนให
เหมาะสมกับบริบทของครอบครวั เด็กท่ีแตกตา งกัน โดยดาํ เนนิ การ 6 ประการ ดังนี้

ประการที่ 1 กําหนดมาตรการเปด-ปดโรงเรียนใหสอดคลอง และยืดหยุนตามความรุนแรงของการ
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยวางแนวทางใหพื้นที่ท่ีพบผูติดเชื้อรายใหมอยาง
ตอเนื่องในชวง 2 สัปดาหที่ผานมาตองปดโรงเรียน และใหเด็กเรียนทางไกลที่บานมีฐานะยากจน สถานการณ
ลดความรนุ แรงลงจนสามารถกลบั มาเปดโรงเรียนไดในกรณีพ้ืนที่ที่พบผูติดเช้ือรายใหมประปรายหรอื ไมมีผูติด
เช้ือรายใหมในชวง 2 สัปดาหที่ผานมา ใหพิจารณาเปดโรงเรียนไดภายใตขอจํากัดความพรอมของหองเรียน
และความพรอมในการเรียนทางไกลของเด็ก ท้ังนี้ควรกําหนดใหแนวทางการเปด-ปดโรงเรียนยืดหยุนตาม
สถานการณ สามารถเปลย่ี นแปลงไดท ง้ั ในกรณีที่สถานการณร ะบาดรุนแรงขึ้นและสถานการณผอนคลายลง

ประการที่ 2 ปรับปรุงหองเรียนใหเปน “หองเรียนปลอดภัย หางไกลโควิด-19” โดยกําหนดแนวทาง
ใหโรงเรียนทุกแหงสํารวจความพรอมของหองเรียน โดยกระทรวงศึกษาธิการควรประสานงานกับหนวยงาน ที่
เช่ียวชาญดานระบาดวิทยา กําหนดลักษณะของหองเรียนท่ีเหมาะสม เชน จัดระยะหางระหวางนักเรียนอยาง
นอ ย 1 เมตรและมีอากาศหมุนเวียนอยางนอ ย 10 เทาของปริมาณอากาศในหอ งเรียน เปนตน เพือ่ ใหโ รงเรียน
ทุกแหง ไดมีการประเมินความพรอมดานกายภาพของตน ท้ังน้ีกระทรวงศึกษาธิการควรสื่อสารอยางชัดเจน
โดยกําหนด แนวทางท่ีอิงกับแบบแปลนอาคารเรียนมาตรฐาน หรือในกรณีท่ีโรงเรียนไมไดใชแบบแปลน
มาตรฐานควรแจง ให โรงเรยี นทราบถึงมาตรฐานของการระบายอากาศอยางชัดเจน

ประการท่ี 3 สํารวจความพรอมการเรียนการสอนทางไกลของเด็ก เพื่อประเมินความเสี่ยง
กระทรวงศึกษาธิการหรือหนวยงานตนสังกัดโรงเรียนควรประสานกับหนวยงานอื่นที่เก่ียวของ เพื่อนําขอมูล
พ้ืนฐานครัวเรือนนักเรียนมาบูรณาการรวมกันเพ่ือจัดกลุมตามระดับความเส่ียงในการเขาถึงการเรียนทางไกล
โดยแบง เด็กเปน 3 กลุม ไดแก กลุมท่ีมีความพรอ ม ไดแก เดก็ มีอุปกรณดิจทิ ัล พรอมอินเทอรเน็ตที่บาน กลุม
ที่มีความเส่ียง ไดแก เด็กที่ไมมีอุปกรณดิจทิ ัลและอินเทอรเ น็ตท่ีบาน แตเขาถงึ ไฟฟาไดและกลุมท่ีมีความ เสี่ยง
สงู ไดแ ก เด็กทไี่ มมีอปุ กรณดิจทิ ัลและอินเทอรเ น็ตที่บาน และไมมีไฟฟาใชทง้ั น้ีควรใชขอมูลเพื่อประเมิน ความ
พรอมของผูปกครองดวยเชน เปนเด็กอยูกับพอแมหรือไม เพ่ือวางแผนใหการสนับสนุนเพิ่มเติมแกครอบครัว
ทผี่ ปู กครองไมพ รอมสนับสนุนบุตรหลาน ในกรณีท่ตี อ งเรียนที่บา น

50

ในกรณีพื้นที่ท่พี บผูติดเชอื้ รายใหมประปราย และพ้ืนทที่ ่ีไมมีผูติดเช้ือรายใหมในชวง 2 สัปดาห
ที่ผานมา โรงเรียนควรเปดการเรียนการสอนตามปกติหากมีหองเรียนพรอมรองรับนักเรียนทุกคน โดยยัง
สามารถ รักษาระยะหางไดสวนโรงเรียนที่ไมสามารถจัดชั้นเรียนตามมาตรฐานรักษาระยะหางท่ีปลอดภัยได
ควรใชวิธี การสอนในโรงเรียนตามปกติผสมกับการสอนทางไกล เชน โรงเรียนประถมศึกษา หรือขยายโอกาส
ใหนักเรียน อนุบาลหรือในชวงชั้นท่ี 1 (ป.1 ถึง ป.3) มาเรียนท่ีโรงเรียนตามปกติแตใหนักเรียนระดับ ป.4
ขึ้นไปเรียนท่ีบาน สวนโรงเรียนมัธยมศึกษา ครูอาจประเมินนักเรียนตามผลการเรียน (เชน คะแนนสอบหรือ
พฤติกรรม เปน ตน) แลวใหเดก็ ท่ีจาํ เปนตองดแู ลใกลช ิดมาเรียนตามปกตินอกจากน้ันใหเรียนทีบ่ าน เปน ตน

ประการท่ี 4 จัดเตรียมอุปกรณใหแกนักเรียนที่มีความเส่ียงท่ีจะเสียโอกาสจากการเรียนทางไกล ใน
กรณีโรงเรยี นตองปดเพราะพ้ืนท่ีมีการระบาดรุนแรง หรือโรงเรียนท่ีไมสามารถจัดช้ันเรียนในหองเรียนแกเด็ก
ทุกคนไดกระทรวงศึกษาธิการและหนวยงานตนสงั กัดควรจดั เตรียมอุปกรณรวมท้ังส่ือการเรียนการสอนแกเ ด็ก
ที่อยูในกลุมเสี่ยงและกลุมเสี่ยงสูง เชน จัดเตรียมแท็บเล็ต (Tablet) พรอมเขาถึงอินเทอรเน็ตใหยืมเรียน แก
เด็กที่ขาดแคลนอุปกรณท่ีบาน แตสามารถเขาถึงไฟฟาไดเพื่อใหเด็กสามารถเรียนออนไลนไดและจัดเตรียม
“สื่อแหง ” ในรปู ชดุ สอื่ การเรียนรู(Learning Packages) สําหรับเดก็ ที่บา นไมม ีไฟฟา ใชเ ปนตน

ประการที่ 5 ใชมาตรการทางสาธารณสุข และมาตรการทางสังคมเพ่ือปองกันการแพรระบาด
ในโรงเรียนที่เปดการเรียนการสอน ในกรณีที่โรงเรียนสามารถจัดการสอนไดหรือใชการสอนแบบผสม
ควรบังคับ ใชมาตรการปองกันและควบคุมการแพรระบาดตาม “แนวทางปฏิบัติสําหรับสถานศึกษา
เพื่อปองกันและควบคุม การแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่กําหนดโดย
กระทรวงศึกษาธกิ าร รวมกับ องคกร UNICEFอยางเครงครดั เชน ไมใหนักเรียน ครูหรือเจาหนาทีท่ ี่เจ็บปวยมา
โรงเรยี น กาํ หนดใหม ีการลา งมอื ดวยสบเู ปน ประจํา และรณรงคสง เสริมใหใ สห นากากอนามัย เปนตน

ประการที่ 6 สื่อสารใหผูปกครองทราบความจําเปนของมาตรการเปด-ปดโรงเรียน รวมท้ังใหคูมือ
สนับสนุนเด็กสําหรับการเรียนทางไกล โดยใหผูปกครองทราบวารฐั บาลมแี นวทางการเปด-ปดโรงเรียนอยางไร
เพื่อใหผูปกครองสามารถประเมินสถานการณในอนาคตไดนอกจากนี้กระทรวงศึกษาธิการควรจัดทําคูมือ
สําหรับผูปกครองสําหรับสนับสนุนบุตรหลานในกรณีเรียนที่บาน เชน วิธีการใชอุปกรณดิจิทัลเพื่อเรียน
ออนไลนแ นวทางแกป ญหาเบือ้ งตน หรือคูมือการใชส่ือการเรียนรเู ปนตน

การเปด-ปดโรงเรียนเปนเพียงมาตรการหนึ่งเพื่อตอบโจทย“การศึกษาตองปรับตัวอยางไรในชวง
สถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)” เพื่อใหเด็กกลับมาเรียนตามปกติ
ใหไดเร็วท่ีสุดเทาน้ัน แตจะทําอยางไรใหเด็กสามารถเรียนไดอยางตอเน่ือง ในสถานการณที่อาจตองเรียนที่
บานชวงหน่ึง แลวสลับกลับมาเรียนตามปกติภายหลังสถานการณระบาดลดความรุนแรงลง รวมท้ังระบบ
การศึกษาทงั้ ระบบ จําเปนตองปรบั ตัวใหสอดคลองกับรูปแบบท่ซี บั ซอนมากข้ึน

ในชวงการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) นี้ควรจะตองเปล่ียนใหทุก ๆ ที่กลายเปน
โรงเรียน เพราะการเรียนรูยังตองดําเนินอยูแมนักเรียนไมสามารถไปโรงเรียนตามปกติในหลายประเทศที่
ประกาศมาตรการปดโรงเรียน รัฐบาลมักจะออกมาตรการดานการเรียนรูมารองรับดวยการเรียนทางไกล
รูปแบบตาง ๆ โดยพิจารณาจากเง่ือนไขความพรอมดานอุปกรณความพรอมของผูปกครองและความพรอม
ตามชวงวัยของเด็ก สําหรับประเทศไทย ความทาทายในการเปล่ียนคร้ังน้ีไมใชแคการแกไขปญหาเฉพาะหนา

51

ในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เทาน้ัน แตควรเปนการ
“เปลยี่ นวิกฤตใหเปน โอกาส” ในการพัฒนาคณุ ภาพการเรียนการสอนใหดีกวา เดิม ดังน้ัน มาตรการการเรียนรู
ของไทยจึงไมควรปรบั แคกระบวนการเรียนรูในหองเรียน แตตองปรับใหมท้ังระบบการเรียนรูท่ีตองสอดคลอ ง
กนั และเชอื่ มโยงกับการเรียนรูของเด็ก โดยควรดําเนินการ ดงั น้ี

1) กระชับหลักสูตร ปรบั ใหสอดคลองกบั สถานการณโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และ
ส่ือสารใหผูเกี่ยวของทุกภาคสวนทราบ หลักสูตรการศึกษาพ้ืนฐานของไทยในปจจุบันเนนเน้ือหามาก ครู
จําเปนตองใชเวลาคอนขางมากเพื่อสอนใหไดครบถวน และไมเอ้ือใหนักเรียนมีสวนรวม (Active Learning)
เทาที่ควรและหากยังใชหลักสูตรเดิมในการเรียนการสอนภายใตสถานการณการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโค
โรนา 2019 (COVID-19)ครูจะตองใชเวลาสอนมากขน้ึ เพื่อสอนใหครบถว น การปรับหลักสูตรใหกระชับควบคู
ไปกับจัดลําดับความสําคัญ รวมทั้งผอนคลายตัวชี้วัดเร่ืองโครงสรางเวลาเรียนจะสามารถชวยลดความกดดัน
โดยยงั คงคณุ ภาพขน้ั ตํ่าไวได

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานของไทยจัดประเภทตัวชี้วัดแลว แตตองเพ่ิมความชัดเจนใน
การสื่อสารแกครูและผูปกครอง หลักสูตรแกนกลางของไทยกําหนดตัวชี้วัด “ตองรู” และ “ควรรู” ในแตละ
สาระวิชาแลว แตตองเพ่ิมความชัดเจน โดยระบุเนื้อหาจําเปนของแตละชวงวัย และเปดใหครูมีอิสระในการ
จัดการเรียนรูเนื้อหาสวนอ่ืน ๆ ตามความเหมาะสม ในขณะเดียวกันกระทรวงศึกษาธิการควรใหศึกษานิเทศก
ทําหนาท่ีเปนโคชใหแกครูโดยใหคําแนะนําในการเลือกตัวชี้วัดและเนื้อหานอกเหนือจากสวนท่ีจําเปนเพื่อให
เหมาะกับบริบทและสถานการณของพื้นท่ี อีกท้ังกระทรวงศึกษาธิการควรออกคูมือหลักสูตรฉบับยอสําหรับ
ผูปกครองเพื่อใหผูป กครองเขาใจบทบาทใหม และสามารถติดตามการเรียนรขู องเดก็ ไดนอกจากนี้โรงเรียนตอ ง
ไมละเลยการใหความรูแกนักเรียนแตละชวงวัยในการปองกันตนเองจากโรคระบาด ซึ่งองคกรอนามัยโลกได
จดั ทาํ คมู อื ไวแลว

2) เพ่ิมความยืดหยุนของโครงสรา งเวลาเรียนและความหลากหลายของรปู แบบการเรียนรคู วาม
ยืดหยุนในการใชเวลาและการเลือกรูปแบบการเรียนจะทําใหครูสามารถออกแบบหนวยการเรียนรทู ่ีเหมาะสม
และสงเสริมการเรียนรูรายบุคคล(personalized learning) ไดสนับสนุนใหครูจัดการเรียนรูดวยแบบ
ผสมผสาน (blended learning) โดยแนะนาํ การกาํ หนดจํานวนชว่ั โมงการเรียนรูรูปแบบตาง ๆ ไดแก

• ชั่วโมงเรียนรูผา นจอสําหรับเด็กแตละชวงวัย โดยคํานงึ ถึงพัฒนาการดานรา งกาย (ปญ หาดา น
สายตา) และพัฒนาการดานสังคม (ปฏิสมั พันธกบั ผูอ ่ืน)

• ชั่วโมงการเรียนรูดวยตนเองท่ีบานจากการทาํ ใบงาน ช้ินงาน คนควาดวยตนเอง และ
• ช่ัวโมงที่ครูและนักเรียนทํากจิ กรรมการเรียนรรู ว มกัน
นอกจากนี้ยังเปดชองใหหนว ยงานอื่น ๆ และแหลงการเรียนรูในพื้นท่ี เชน พิพิธภัณฑ หองสมุดชุมชน
เขามามีสวนรวมในการสนับสนุนการเรียนรูของเด็ก ในขณะที่นิวซีแลนดเตรียมชุดการเรียนรูพ้ืนฐานให
นักเรียน ซ่ึงประกอบดวยคูมือออนไลนและชุดการเรียนรู(ส่ือแหง) เพ่ือใหนักเรียนทุกคน ทั้งท่ีสามารถเขาถึง
และไมสามารถเขาถึงระบบเรียนออนไลนสามารถใชเ รียนรูได
ในกรณีของประเทศไทยแมหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของไทยไดเปดใหมีความยืดหยุน
ในการกําหนดช่ัวโมงเรียน แตก็ยังมีขอกําหนดเกี่ยวกับโครงสรางเวลาเรียนท่ีคอนขางแข็งตัวและไมมีความ

52

ยืดหยุนเทาที่ควร ดังน้ัน หากกระทรวงศึกษาธิการชวยผอนคลายโครงสรางเวลาเรียนลง และเปดชองทางการ
สื่อสารใหครูไดสอบถามขอสงสัยตาง ๆ ก็จะเปนอีกแนวทางหน่ึงท่ีจะชวยสรางความมั่นใจใหแกครูในการ
ออกแบบการเรียนรูอยางยืดหยุน นอกจากนี้ กระทรวงศึกษาธิการยังสามารถเปดใหเอกชนและภาคประชา
สังคมที่มีความเชี่ยวชาญดานระบบการเรียนรูและส่ือการเรียนรูเขามามีสวนรวมพัฒนา แลกเปลี่ยนเครื่องมือ
และเทคนิคใหมๆ ซ่งึ จะชวยเพ่ิมทางเลือกทีห่ ลากหลายและเหมาะสมกบั เด็กมากข้ึน

3) ออกแบบหนวยการเรียนรู และสอนอยางมีแผนที่เหมาะสม ในสถานการณท่ีเปล่ียนไป ครูจะตอง
เตรียมความพรอมกอนการสอนแบบใหมวธิ ีการหน่ึงคือ การออกแบบหนวยการเรยี นรซู ่ึงจะนําไปสูการจัดการ
เรียนรูฐานสมรรถนะหลังการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส้ินสุดลง ทั้งน้ีควรเร่ิมตน
โดยการจัดกลุมตัวช้ีวัดใหเปนหนวยการเรียนรูซ่ึงจะทําใหแผนการเรียนรูมีความยืดหยุนตามสถานการณการ
ระบาด เชน ครูสามารถออกแบบหนวยการเรียนรูหนวยละ 2 สัปดาห เพื่อใหสอดคลองกับระยะเวลาการ
ประเมินสถานการณการระบาด ทั้งน้ีหากครูสามารถออกแบบหนวยการเรียนรูแตละหนวยใหรอยเรียงกัน
อยางเปนระบบทั้งเทอมหรือทั้งปก็จะชวยใหนักเรียนสามารถพัฒนาตนเองตามศักยภาพไดดีย่ิงข้ึน และได
พัฒนาทักษะการเรียนรูดวยตนเองซึ่งเปนทักษะจําเปนสําหรับการดํารงชีวิตในอนาคตสําหรับในทางปฏิบัตกิ าร
จัดหนวยการเรียนรูสามารถจัดตามเน้ือหาหรือตามประเด็นที่นาสนใจ และยังสามารถบูรณาการขามวิชาหรือ
ในวิชาเดียวกัน หลังจากน้ันครูควรกําหนดคําถามสําคัญของแตละหนวย และวางแผนการติดตามการเรียนรู
ตามตัวชี้วัดดานความรูทักษะ และเจตคติอยางชัดเจน เลือกส่ือการเรียนรูท่ีเหมาะสมกับเด็ก และส่ือสารกับ
พอ แมใ หทราบถงึ บทบาทที่จะเปล่ียนไป เน่ืองจากการเสริมทักษะออกแบบหนวยการเรียนรูตัง้ คําถาม เลือกใช
สื่ออยางเหมาะสมจะทําใหครูสามารถออกแบบหนวยการเรียนรูไดมีคุณ ภาพมากย่ิงขึ้น ดังนั้น
กระทรวงศึกษาธิการควรจะสนับสนุนการเพิ่มทักษะเหลาน้ีตามความตองการของครูในแตละพื้นท่ี โดยอาจจะ
เปดใหผูเชี่ยวชาญในภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมชวยพัฒนาศักยภาพครูใหตรงกับทักษะ
ทีต่ อ งการ และสนับสนุนใหมีการเพม่ิ ทักษะใหแ กศึกษานิเทศกเพื่อเปน “โคชหนางาน” ใหแกครูตอ ไป

4) ยกระดับการประเมินเพ่ือการพัฒนา (formative assessment) เพื่อไมใหผูเรียนเสียโอกาส
พัฒนาความรูและทักษะ เมื่อนักเรียนไปโรงเรียนตามปกติไมไดครูกับนักเรียนก็จะมีปฏิสมั พันธต อกันลดลง ทํา
ใหครูไมสามารถติดตามพัฒนาการของนักเรียนไดเต็มที่อาจทําใหไมสามารถรูปญหาของนักเรียนไดทันเวลา
โดยเฉพาะความรูดา นภาษาและการคํานวณ ซึง่ อาจจะสง ผลเสียตอการเรียนรูระยะยาวการประเมินเพื่อพัฒนา
จึงไมสามารถลดหรือละทิ้งในสวนน้ีไปไดทั้งการประเมินเพื่อการเรียนรู(assessment for learning) ของเด็ก
เพ่ือใหครูทราบถงึ กระบวนการเรียนรูของเด็ก โดยจะสามารถใหfeedback กับเด็กและปรับแผนการเรียนรูได
ตรงตามสถานการณและการประเมิน ซ่ึงทําใหเกดิ การเรียนรู (assessment as learning) ของเดก็ โดยครเู ปด
โอกาสใหเด็กยอนคิดถึงกระบวนการเรียนของตนเอง กระบวนการนี้จะทําใหเด็กมีความรับผิดชอบและเปน
เจาของการเรียนรูของตนเองมากขึ้น รวมถึงเม่ือเด็กเขาใจตนเองก็จะเปนโอกาสท่ีจะวางแผนการเรียนรูของ
ตนเองรวมกับผปู กครองและครูไดการประเมินเพ่ือพฒั นาทัง้ 2 ลักษณะจึงตองอาศัยการทาํ งานรว มกันระหวาง
เด็กผูปกครองและครูมากข้ึน วิธีหนึ่งที่ทําไดคือ การประเมินเพื่อพัฒนาอยางไมเปนทางการรายบุคคล
(personalized check-ins) เพื่อติดตามการเรียนรูสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียน โดยใหผูปกครอง

53

เขามามีสวนรวมดวย ในกรณีของเด็กโตอาจจะเพ่ิมการประเมินตนเองและการประเมินเพ่ือน (self & peer
assessment) เขาไปดว ย ซึ่งจะมปี ระโยชนในการชวยฝก ทักษะการสะทอนคิดใหเด็กไดอกี ทางหน่ึงดวย

การประเมินเพื่อพัฒนาจะประสบความสําเร็จไดก็ตอเมื่อมีสภาพแวดลอมที่เหมาะสม คือ (1) มีการ
เสริมศักยภาพครูในการใชแ ละออกแบบเครอ่ื งมือประเมนิ (2) มกี ารใหเ อกชน และภาคประชาสงั คม ทม่ี ีความ
เชย่ี วชาญดานการประเมินเขา มารวมพัฒนาเครื่องมือการประเมนิ ใหมๆและ (3) มีการเปด เวท(ี platform) การ
แลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางครูกบั ผูเช่ียวชาญ

5) การประเมินเพื่อรบั ผิดรับชอบ (assessment for accountability) ยังคงควรไวแ ตควรให
นํ้าหนักการประเมินโอกาสทางการเรียนของผูเรียนมากกวาการวัดความรูดวยคะแนนสอบ สถานการณโรค
ระบาดในปจจุบันทําใหตองใชรูปแบบการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย ดังนั้น คุณภาพการศึกษาท่ีผูเรียนจะ
ไดรับในแตละพื้นที่จะไมเหมือนกัน จึงไมสามารถใชคะแนนวัดความรูหรือทักษะแบบเดียวกันเพ่ือใหเกิดความ
รับผิดรับชอบได มิฉะน้ันก็อาจสงผลใหเกิดความเหลื่อมล้ํามากข้ึน กระทรวงศึกษาธิการจึงควรปรับเกณฑ
ขอสอบวัดความรู(test-based) มาสูการใหน้ําหนักกับตัวชี้วัดท่ีไมใชดานวิชาการ (non-academic
measure) มากข้ึน เชน อัตราการเขาเรียน (attendance rate) หรืออัตราการออกกลางคัน (drop-out
rate) เปนตน โดยการเก็บขอมูลตัวชี้วัดเหลาน้ีที่สามารถใชเทคโนโลยีเขามาชวยเพื่อลดภาระครูเชน ใชระบบ
Google Classroom บนั ทึกการใชงาน ซ่ึงจะชวยทําใหเขตพ้ืนที่สามารถติดตามและใหการสนับสนุนโรงเรียน
ไดตรงกบั ความตองการมากขึ้นดวย

มาตรการและแนวทางการดาํ เนินงานของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

จากสถานการณการแพรร ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่มกี ารระบาดไปท่ัว
โลก ทําใหตองหามาตรการรับมือที่ดีท่ีสุด ซ่ึงก็คือ มาตรการเวนระยะหางทางสังคมหรือ Social Distancing
จนนําไปสูการปดเมือง ปดเศรษฐกิจ และปดสถาบันการศึกษา ในเวลาตอมาจึงกลายเปนสาเหตุทําใหนักเรียน
จํานวนกวา 1.5 พันลานคน หรือมากกวารอยละ 90 ของนักเรียนทง้ั หมดในโลกไดรับผลกระทบไมสามารถไป
โรงเรียนไดตามปกติหนวยงานที่เก่ียวของกับการจัดการศึกษาตาง ๆ จึงตองเรงหาระบบการเรียนการสอนให
เหมาะสมกบั สถานการณใ นปจจบุ ัน เพื่อตอบสนองใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของโลกปจจุบัน

รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ ไดชี้แจงตอสังคมถึงวิธีการในการแกไขปญหามาโดยตลอด
เพราะตระหนักอยูเสมอไมวาสถานการณแวดลอมจะเลวรายและรุนแรงแคไหน การเรียนรูท่ีเขาถึงและมี
คุณภาพสําหรับเด็กไทยทุกคนเปนเปาหมายสูงสุดของเรา ตามแนวคิด “การเรียนรูนําการศึกษา โรงเรียน
อาจหยุดได แตการเรียนรูหยุดไมได” จึงมีความจําเปนที่จะตองทําทุกวิถีทาง เพ่ือใหการจัดการเรียนการ
สอนสามารถเกิดขึ้นไดอยา งมีประสทิ ธิภาพสงู สุด เทา ทสี่ ภาพแวดลอ มจะอาํ นวยบนพื้นฐาน 6 ขอ คอื

1) จัดการเรียนการสอน โดยคํานึงถึงความปลอดภัยสูงสุดของทุกคนที่เก่ียวของ“การเปดเทอม”
หมายถึงการเรียนท่ีโรงเรียนหรือการเรียนท่ีบาน ท้ังนี้การตัดสินใจจะข้ึนอยูกับผลการประเมินสถานการณ
อยางใกลชดิ

2) อํานวยการใหนักเรียนทุกคนสามารถเขาถงึ การเรียนการสอนได แมจะไมสามารถไปโรงเรยี นได

54

3) ใชส่ิงท่ีมีอยูแลวใหเกิดประโยชนสูงสุด เชน การเสนอขอชองดิจิทัล TV จากสํานักงาน
คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ(กสทช.) ทั้งหมด 17 ชอ ง
เพื่อใหนักเรียนทุกระดับชั้นสามารถเรียนผาน DLTV ไดทั้งน้ีไมมีการลงทุนเพ่ือจัดซื้ออุปกรณใด ๆ เพ่ิมเติมโดย
ไมจําเปนซึ่งสํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ
(กสทช.) อนุมัติแลวใหเร่ิมออกอากาศ ในวันที่ 16 พฤษภาคม 2563 น้ีเปนเวลาไมเกิน 6 เดือน หรือถา
สามารถกลับมาดําเนินการสอนไดตามปกติก็ใหหยุดทดลองออกอากาศ แบงเปนของสํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาพ้ืนฐาน (สพฐ.) จํานวน 15 ชอง เปนของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) จํานวน 1
ชอง และเปนของสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) จํานวน 1 ชอง
โดยใหออกอากาศแบบความคมชัดปกติ (SD)

4) ตัดสินใจนโยบายตาง ๆ บนพื้นฐานของการสํารวจความตองการ ท้ังจากนักเรียน ครูและโรงเรียน
ไมคิดเองเออเอง โดยใหการจัดการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพสูงสุดเปนท่ีต้ัง และกระทรวงจะสนับสนุน
เคร่อื งมือและอปุ กรณตามความเหมาะสมของแตละพน้ื ที่

5) ปรับปฏทิ นิ การศึกษาของไทยใหเ อ้อื ตอ การ “เรียนเพ่ือรู” ของเด็กมากขึ้น รวมทั้งมีการปรบั
ตารางเรยี นตามความเหมาะสม โดยเวลาท่ีชดเชยจะคํานึงถงึ ภาระของทุกคนและการไดรับความรูครบตามชว ง
วยั ของเด็ก

6) บุคลากรทางการศึกษาทุกทานจะไดรับการดูแลอยางตอเนื่อง และทําใหทานไดรับผลกระทบ
เชิงลบจากการเปลี่ยนแปลงนอยที่สุด

นอกจากนี้รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการใหขอมูลและยํ้าวา การเล่ือนเปดเทอมในมุมหน่ึงก็
เปนการตัดสินใจเพ่ือแกไขปญหาเฉพาะหนา แตในอีกมุมหนึ่งก็นับเปนโอกาสและชวงเวลาสําคัญในการ
ปรับปรุงระบบการศึกษาของประเทศใหมีความเขมแข็งมากย่ิงขึ้น เพื่อยกระดับการศึกษาไทย จึงไดออกแบบ
การเรียนการสอนในชวงการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยมีรายละเอียดใน
ภาพรวม ดังนี้

• รูปแบบการเรียนการสอนออกแบบใหสอดคลองกบั ความปลอดภัยของพื้นท่ี โดยมีการเรยี นรู
แบบ Onsite ในพ้ืนท่ีทม่ี คี วามปลอดภัยสามารถไปโรงเรียนไดข ณะที่พ้ืนท่ีไมป ลอดภัยจะมกี ารเรียนรหู ลัก
ผา นทางการ On Air ของมูลนิธกิ ารศึกษาทางไกลผา นดาวเทียมในพระบรมราชปู ถมั ภและมกี ารเรียนรูเสรมิ
ผานระบบ Online

• นโยบายหลักท่ีนํามาใชคือ เพิ่มเวลาพัก ลดการประเมินและงดกิจกรรมตาง ๆ ท่ีไมจําเปน โดยเนน
เรียนเฉพาะวิชากลุมสาระหลักเพื่อใหนักเรียนผอนคลายลงซ่ึงนักเรียนมีเวลาพักในภาคเรียนที่ 1/2563
จํานวน 17 วัน และในภาคเรียนท่ี 2/2563 จํานวน 37 วัน รวมท้ังส้ิน 54 วัน ฉะนั้น ภาคเรียนท่ี 1/2563
เรียนตั้งแต 1 กรกฎาคม 2563 – 13 พฤศจิกายน 2563 เปนเวลา 93 วัน แลวปดภาคเรียน 17 วัน
สวนภาคเรียนท่ี 2/2563 เรียนตั้งแต 1 ธันวาคม 2563 – 9 เมษายน 2563 เปนเวลา 88 วัน แลวปดภาค
เรียน 37 วัน ต้ังแตวันที่ 10 เมษายน 2564 ซ่ึงจะมีเวลาเรียนรวมท้ังส้ิน 181 วัน สวนเวลาที่ขาดหายไป
19 วัน จาก 200 วัน ใหแตละโรงเรียนสอนชดเชย ดังนั้นการเปดเทอมปการศึกษาหนาจะกลับมาปกติในวัน
จนั ทรท ี่ 17 พฤษภาคม 2564

55

ภาพท่ี 8 แนวทางการเปด – ปด ภาคเรียนในสถานการณฉ ุกเฉิน
• การเตรียมพรอมในดานระบบการเรียนรูท างไกลและระบบออนไลนจะเร่ิมทดสอบต้ังแตวันท่ี
18 พฤษภาคม 2563 เปนตนไป เพอื่ เตรียมความพรอ มใหม ากที่สุด ในกรณที ่ีวันท่ี 1 กรกฎาคม 2563
น้ี เน่อื งจากไมสามารถเปดเทอมที่โรงเรียนได
• กระทรวงศึกษาธิการจะเปนผูสนับสนุนการเรียนการสอนทางไกลในสัดสวน 80 % เพื่อใหทุกคน
สามารถเขาถึงการเรียนขั้นพ้ืนฐานไดอีก 20 % หรอื มากกวาใหทางโรงเรยี นและคุณครูในแตละพ้ืนท่ีพิจารณา
ออกแบบตามความเหมาะสม
• การเรียนผานการสอนทางไกลจะใชท ีวิดิจิทัลและ DLTV (DistanceLearningTelevision)
เปนหลัก ซึ่งไดรับการอนุเคราะหส่ือจากมูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียมในพระบรมราชูปถัมภ โดยมี
ดิจิทัลแพลตฟอรมของกระทรวงศึกษาธิการ หรือ DEEP และการเรียนการสอนแบบโตตอบออนไลนเปนส่ือ
เสริม
2. แนวทางการจัดการเรียนการสอนของสํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน (สพฐ.) ในชวงการ
แพรระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019

56

ภาพที่ 9 การจัดการเรียนการสอนดวยเทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกล
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานไดกําหนดแนวทางการจัดการเรียนการสอนในชวง การ
แพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในการจัดการเรียนการสอนระบบทางไกล โดย
แบง เปน 4 ระยะ คือ
ระยะท่ี 1 การเตรียมความพรอม (7 เมษายน – 17 พฤษภาคม 2563) สาํ รวจความพรอ ม
ในดานอุปกรณการเขาถึงอินเทอรเน็ตของนักเรียน ผูปกครองครูและระบบการบริหารจัดการการเรียนการ
สอนรวมถึงขออนุมัติใชชองรายการโทรทัศนในระบบดิจิทัลจากสํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ(กสทช.) เพื่อจัดการเรียนการสอนตั้งแตระดับปฐมวัยจนถึง
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พรอมขออนุมัติเผยแพรส่ือการเรียนการสอนจากหองเรียนตนทาง ในระดับ
ปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษาตอนตนของสถานีวิทยุโทรทัศนการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม (DLTV)
จากมูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียมในพระบรมราชูปถัมภจัดทําสื่อวีดิทัศนการสอนโดยครูตนแบบ
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 8 กลุมสาระการเรียนรูและรวบรวมส่ือการเรียนรูออนไลนใน OBEC
Content Center ชุดโปรแกรม และแพลตฟอรมการเรียนรูครบวงจรของกระทรวงศึกษาธิการ เชน Tutor

57

ติวฟรี.com, e-Book เปนตน รวมถึง เตรียมโครงสรางพ้ืนฐานดานระบบเครือขายเพื่อรองรับการใหบริการ
แพลตฟอรม การเรยี นรูใหเ ช่ือมโยงกบั ระบบDigital e-Learning ของกระทรวงศึกษาธกิ าร

ระยะท่ี 2 การทดลองจัดการเรียนการสอนทางไกล (18 พฤษภาคม - 30 มถิ ุนายน 2563)
จะทดลองจัดการเรียนการสอนทางไกล ในระดับปฐมวัยถึงระดบั มัธยมศึกษาตอนตน ผานชอ งรายการโทรทัศน
ในระบบดิจิทัล โดยการเผยแพรสัญญาณจากมูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียมในพระบรมราชูปถัมภ
(DLTV) ในระดับปฐมวัยเนนกิจกรรมเตรียมความพรอมเด็กและระดับประถมศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษา
ตอนตนจํานวน 8 กลุมสาระการเรยี นรูแ ละในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผานชองรายการโทรทัศนในระบบ
ดิจิทัล และระบบออนไลนโดยครูตนแบบ ดวยเครื่องมือการเรียนรูตามความเหมาะสมและบริบทของ
สถานศึกษา รวมท้ังเปดศูนยรับฟงความคิดเห็นการเรียนการสอนทางไกลจากผูปกครอง ประชาชน และ
ผูเกี่ยวของ เพื่อเปนแนวทางการปรับปรุงและพัฒนา และประชาสัมพันธสรางการรับรูความเขาใจ แนะนํา
ชอ งทางการเรยี นทางไกลใหกบั ผปู กครองและผเู ก่ียวของ

ระยะที่ 3 การจัดการเรียนการสอน (1 กรกฎาคม2563 - 30 เมษายน 2564) ไดวางแผนไว
สาํ หรบั 2 สถานการณนั่นคือ

สถานการณท ี่ 1 กรณีท่ีสถานการณก ารแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ยังไมคล่ีคลาย จะจัดการเรียนการสอนในระดับปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษาตอนตน ดวยระบบ
การเรียนการสอนทางไกลผาน DLTV สวนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจะจัดการเรียนการสอนดวยวีดิทัศน
การสอนโดยครูตนแบบ และระบบออนไลนดวยเครื่องมือการเรียนรูตามความเหมาะสมและบริบทของ
สถานศกึ ษา และ

สถานการณที่ 2กรณที ี่สถานการณก ารแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) คล่ีคลายลง จะดําเนินการจัดการเรียนการสอนแบบปกติในโรงเรียน โดยใหเวนระยะหางทาง
สังคม (Social Distancing)ยึดหลักตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขและมีแผนเตรียมการเพ่ือรองรับ
สถานการณฉุกเฉินตา งๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น โดยจะตองไดรบั การอนุมตั ิจากคณะกรรมการศึกษาธกิ ารจงั หวัดซ่ึงมี
ผูวา ราชการจงั หวัดเปนประธาน

ระยะท่ี 4 การทดสอบและการศึกษาตอ (1 เมษายน-15 พฤษภาคม 2564) จะประสานงาน
กบั หนวยงานทเ่ี กี่ยวของกับการทดสอบและคัดเลือกเขาศึกษาตอ นั่นคือ กระทรวงการอุดมศกึ ษา
วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม เก่ียวกับระบบคัดเลือกเขาศกึ ษาในสถาบันอุดมศกึ ษา (TCAS GAT PAT)
และสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติเกี่ยวกับการทดสอบ O-NET ช้ันประถมศึกษาปท ี่ 6 ชั้นมัธยมศกึ ษา
ปท ่ี 3 และชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 6

58

59
ภาพที่ 10 รปู แบบการจัดการเรียนการสอน

60

สาํ หรับการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการและผูดอยโอกาส ซง่ึ คุณหญงิ กลั ยา โสภณพนิช รัฐมนตรีชวย
วาการกระทรวงศึกษาธิการ ดูแลและรับผิดชอบในสวนดังกลาวนั้น ไดมีการจัดทํา Platform ของ
กระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือเปนเวทีเช่ือม 176 หนวยงาน และโยงคนพิการทั้งประเทศใหสามารถเขาถึงโอกาส
ทางการศึกษา การพัฒนาตนเองไดมากขึ้น ตามแนวทาง“ปรับบานเปนหองเรียน เปล่ียนพอแมเปนครู”โดย
Platform นี้จะสามารถทําใหพอแมผูปกครองเรียนรูวิธีการดูแล พัฒนาผูเรียนท่ีพิการตามแบบตางๆตอไปได
ทั้งยังสามารถบรรจุสื่อการเรียนการสอนออนไลนการใหคําปรึกษา แนะนํา และเร่ืองอ่ืน ๆ ไปยังหนวยงาน
สถานศึกษาในสังกัดของกระทรวงศึกษาธิการไดดวย ท้ังนี้Platform ของโรงเรยี นที่จัดการศึกษาพิเศษ คือเม่ือ
คนหาเขาไปก็จะทราบขอมูลวาจังหวัดน้ีมีคนพิการประเภทใดบาง มีก่ีคน บานอยูท่ีไหน เปนตน โดย
ดําเนินการไดแลว 3 จังหวดั และจะขยายผลใหครบทุกจังหวัด

3. การจัดการเรียนการสอนผา นเครือขายและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศรปู แบบตาง ๆ
การศึกษาในยุคปจจุบันเปนโลกที่ไรพรมแดน การเรียนรูในเรื่องตาง ๆ สามารถเรียนรูไดดวยตนเอง
ตลอดชีวิต ระบบการจัดการเรียนการสอนในยุคปจจุบันนอกเหนือจากการเรียนในหองเรียนมีอยูมากมาย
หลายรูปแบบ ซึ่งแตละรูปแบบก็ขึ้นอยูกับความจําเปนและความเหมาะสม ซ่ึงในสถานการณปจจุบันการนํา
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการจัดการศึกษานับวามีความสําคัญอยางมากในกระบวนการจัดการ
เรยี นรูหรอื ทีเ่ รียกวา การเรียนการสอนออนไลน
การเรยี นการสอนออนไลน (Online learning) จัดเปนนวัตกรรมทางการศึกษาในอีกรูปแบบหน่ึง ซ่ึง
สามารถเปล่ียนแปลงวิธีเรียนในรูปแบบเดิม ๆ ใหเปนการเรียนในรูปแบบใหมที่ใชเทคโนโลยีสารสนเทศเขามา
ชวยทําการสอน นอกจากนี้ความหมายอีกนัยหนึ่งยังหมายถึงการเรียนทางไกล การเรียนผานเว็บไซตอีกดวย
โดยท่ีการเรียนการสอนแบบออนไลน (Online learning) จะเปนการเรียนผานทางเครือขายอินเทอรเน็ต
โดยอยูในรูปแบบของคอมพิวเตอรโทรศัพทเคล่ือนท่ีแท็บเล็ต หรือไอแพดเปนการใชเทคโนโลยีสมัยใหมบวก
เขากับเครือขายอินเทอรเน็ต สรางการศึกษาท่ีมีปฏิสัมพันธคุณภาพสูง โดยไมจําเปนตองเดินทางไปยัง
สถานศึกษา เกิดความสะดวกและเขาถึงไดอยางรวดเร็ว ทุกสถานท่ี ทุกเวลา เปนการสรางการศึกษาตลอด
ชีวิตใหกับประชากร ผูเรียนสามารถเลือกเรียนไดตามความชอบและความสนใจของตนเองในสวนของเนื้อหา
ของบทเรียน ประกอบดวย ขอความ รูปภาพ เสียง VDO และ Multimedia อ่ืน ๆ ส่ิงเหลาน้ีจะถูกสงตรงไป
ยังผูเรียนผาน Web Browser ทั้งผูเรียน ผูสอน และเพ่ือนรวมชั้นทุกคน สามารถติดตอ ส่ือสาร ปรึกษา
แลกเปล่ียนความคิดเห็นแบบเดียวกับการเรียนในช้ันเรียนทั่วไป โดยการใช e-mail chat social network
line messenger เปนตน ดวยเหตุน้ี การเรียนรูแบบออนไลนจึงเหมาะสําหรับทุก ๆ คนท่ีจะไดเขาถึงส่ือและ
ไดเรยี นรูตลอดเวลา
ลักษณะสาํ คญั ของการเรียนการสอนแบบออนไลน(Online learning)
1) ผูเรียนเปนใครก็ไดอยูที่ใดก็ไดเรียนเวลาใดก็ไดตามความสะดวกของผูเรียนเปนสําคัญ เนื่องจาก
โรงเรยี นออนไลนไดเปดเว็บไซตใหบรกิ ารตลอด 24 ชั่วโมง
2) มีส่อื ทุกประเภทที่นาํ เสนอในเวบ็ ไซต ไมว าจะท้ังขอความ ภาพน่งิ ภาพเคล่ือนไหว เสียง VDO

61

ซึง่ จะชวยกระตุนความสนใจในการเรียนรขู องผูเรียนไดเปนอยางดีอีกทั้งยงั ทําใหเ หตภุ าพของเน้ือหาตาง ๆ
งา ยดายมากข้ึน

3) ผูเรยี นสามารถเลอื กวิชาเรยี นไดตามความตองการ
4) เนื่องจากเอกสารบนเว็บไซตท่มี ีLinks ตอไปยงั แหลง ความรูอ่ืน ๆ ทําใหข อบเขตการเรียนรูกวา ง
ออกไป และเรียนอยางรูลึกมากขึ้น

ประโยชนข องการเรียนการสอนแบบออนไลน( Online learning)
1) ชวยเพมิ่ ประสทิ ธิภาพในการเรยี นการสอน เนื่องจากไมไดจาํ กัดอยูในสถานท่ีเดียวเทา นั้น
2) เกดิ เครือขายความรโู ยงใยออกไปไกล
3) เนนการเรียนแบบผูเรียนเปนศูนยกลาง
4) ชว ยลดชองวา งระหวา งการเรยี นรใู นเมืองกับทองถิ่น
สรุปแลว การเรียนรูแ บบออนไลนเปน การเรยี นที่มีความยืดหยนุ สูง เพราะฉะน้ันผเู รียนจําตองมีความ
รับผิดชอบในการเรียนมากกวาปกติเนื่องจากเปนส่ือสังคมออนไลนที่ทุกคนสามารถเขาถึงไดหากสนใจในเร่ือง
ตา ง ๆ ทีต่ อ งการรบั รจู รงิ และมงุ มั่นอยา งใจจดใจจอแลว ก็จะสามารถซึมซับเรอ่ื งน้ัน ๆ ไดเอง

รูปแบบการจดั การศกึ ษาแบบออนไลนใ นปจ จบุ นั อาทิ

1. การศึกษาแบบ DLTV (Distance Learning Television) มูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม
ในพระบรมราชูปถัมภกอตั้งขึ้นในปพ.ศ. 2538 และเร่ิมออกอากาศการเรียนการสอนทางไกลผานดาวเทียม
(DistanceLearningTelevision: DLTV) เปนปฐมฤกษครั้งแรกในวันที่ 5 ธันวาคม 2538 เพ่ือเฉลิมพระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในวโรกาสทรงครองสิริ
ราชสมบัติครบ 50 ปในปกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539 โดยพระองคทรงพระราชทานทุนประเดิมและตรา
สญั ลกั ษณเฉลมิ ฉลองสิรริ าชสมบัติ50 ปใหเปน ตราของมลู นิธิฯ สบื มา

ดวยพระมหากรณุ าธคิ ุณของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร การศึกษาทางไกลผานดาวเทียมชวยแกปญหาขาดแคลนครูครูไมครบชั้น ครูไมตรงสาขาของ
โรงเรียนขนาดเล็กในพ้ืนที่หางไกล มีโรงเรียนขนาดเล็กและต้ังอยูในชนบทหางไกลอาทิโรงเรียนในสังกัด
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) กวา 15,000 แหง ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองคกร
ปกครองสวนทองถิ่น (อปท.)กวา 6,000 แหงและอื่น ๆ ทําใหครูและนักเรียนไดรับโอกาสเพิ่มขึ้นกวา
2,200,000 คน ใหสามารถเขาถึงการศึกษาที่มีคุณภาพไดอยางทั่วถึงและเทาเทียม นอกจากนี้มูลนิธิการศึกษา
ท า ง ไก ล ผ า น ด า วเ ที ยม ใน พ ร ะ บ ร ม ร า ชู ป ถั ม ภ ยั ง มี ส วน ช ว ย พั ฒ น า ค รู ป ล า ย ท า ง ทั่ ว ป ร ะ เท ศ ให มี ค ว า ม รู
ความสามารถในการปฏิบัติงานสอนไดอยางถูกตองและมีคุณภาพดวยการถายทอดสดการเรียนการสอนระดับ
ประถมศึกษาปท่ี 1 ถงึ มัธยมศึกษาปที่ 6 จากโรงเรยี นวังไกลกังวล ในพระบรมราชปู ถัมภอําเภอหัวหนิ จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ ตลอดจนการศึกษาสายอาชีพ อันเปนการชวยลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาใหกับคนที่อยู
ในพื้นทหี่ างไกลท่ีประสบความสําเร็จมาอยางตอเนื่องกวา 20 ป

ดวยพระอัจฉริยภาพและสายพระเนตรอันยาวไกลและพระราชปณิธานอันแนวแน ตามพระปฐมบรม

62

ราชโองการของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกลาเจาอยูหัว“เราจะสืบสาน รักษา และตอยอดและครองแผนดิน
โดยธรรม เพื่อประโยชนสุขแหงอาณาราษฎรตลอดไป” ทรงเห็นวาการพัฒนาการศึกษา คือการสรางความ
ม่ันคงของประเทศอีกท้ังยังทรงเขาพระทัยถึงความกาวหนาทางเทคโนโลยีในยุคปจจุบันอยางถองแทในปพ.ศ.
2560 ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯแตงต้ังคณะกรรมการบริหารมูลนิธิทางไกลผานดาวเทียมในพระบรม
ราชูปถัมภชุดใหม และพระราชทานพระบรมราชานุญาตใหพัฒนาตอยอดการดําเนินงานใหทันสมัย แตยังคง
ยดึ ถือแนวทางของพระราชบดิ าเพื่อแกปญ หาความเหลอ่ื มล้ําทางการศึกษาใหมีประสิทธิภาพมากย่งิ ขนึ้ โดยมุง
ใหการศึกษาสรางคนไทยใหมีคุณลักษณะสําคัญ 4 ประการ ไดแก มีทัศนคติที่ดีและถูกตอง มีพ้ืนฐานชีวิตที่
ม่ันคงเขมแข็ง มีอาชีพ มีงานทําและเปนพลเมืองดีมีระเบียบวินัยสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตท้ังสายสามัญ
และสายอาชพี อนั สอดคลองกับสภาวการณการศึกษาของโลกใหก บั ประชาชนทกุ กลมุ ทุกชว งวยั อกี ท้ังปรบั การ
ออกอากาศการเรียนการสอนทางไกลผานดาวเทียมจากโรงเรียนวังไกลกังวลในพระบรมราชูปถัมภเปน
3 ระดบั คืออนุบาล 1-3 ประถมศึกษาปที่ 1-6 และมัธยมศึกษาตอนตนปที่ 1-3

ภายใตการบริหารงานของคณะกรรมการบริหารมูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียมในพระบรม
ราชปู ถมั ภ นําโดยพลเอก ดาวพงษ รัตนสุวรรณ ประธานกรรมการบริหารมูลนิธฯิ ไดนอมนําพระราโชบายมา
ปฏิบัติมีการพัฒนาระบบการดําเนินงานรูปแบบใหมทั้งโครงสรางการบริหารงานภายในองคกร และระบบการ
ออกอากาศการเรียนการสอนทางไกลผานดาวเทียม (NEW DLTV) เพ่ือใหรองรับกับสถานการณของโลก และ
เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว โดยมีการพัฒนาและตอยอดการดําเนินงานใหบริการการศึกษา
ทางไกลผา นดาวเทียมอยา งตอเนือ่ งและเปนรูปธรรม แบงเปน การพฒั นาใน 3 ดา น ประกอบดวย

1) การพฒั นาระบบการจัดการศึกษาทางไกลผานดาวเทยี ม
1.1) การพัฒนาระบบการผลิตและการออกอากาศโดยการเปลี่ยนระบบการผลิตและการ

แพรภาพออกอากาศจากระบบมาตรฐาน Standard Definition (SD) เปนระบบความคมชัดสูง High
Definition (HD) เพื่อใหการถายทอดออกอากาศไปยังหองเรียนปลายทางมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน และ
รองรับเทคโนโลยีที่ทันสมัยในปจจุบัน โดยมีการปรับปรุงอาคารใหเปนอาคารสถานีวิทยุโทรทัศนการศึกษา
ทางไกลผานดาวเทียมติดต้ังอุปกรณระบบผลิตรายการในหองควบคุม (Control Room) หองตัดตอรายการ
(Edition Station) หองเรียนตนทาง หองบันทึกรายการฉากจริง (RealSetStudio)และหองบันทึกรายการ
ฉากเสมือนจริง (Virtual Studio) ติดต้ังระบบบีบอัดสัญญาณภาพและเสียงในหอง Present Room และหอง
Technical Operations Center ติดต้ังอุปกรณระบบออกอากาศอัตโนมัติในหอ ง Present Room

1.2) การพัฒนาหองเรียนท่ีใชออกอากาศ (Studio Room) โดยปรับปรุงอุปกรณและสิ่ง
อํานวยความสะดวกในการเรียนการสอนของหองเรียนตนทาง ณ โรงเรียนวังไกลกังวล เพ่ือใหครูสามารถใช
เทคโนโลยีประกอบการเรียนการสอน ทําใหนักเรียนโรงเรียนปลายทางมีความเขาใจมากยิ่งข้ึน นอกจากน้ียัง
ไดปรับปรุงหองเรียนตนทางที่ใชออกอากาศใหเหมาะสมกับการจัดการเรียนรูติดต้ังกระดานอัจฉริยะ
(Smartboard) เพ่ือใหครูและนักเรียนตนทางสามารถเขียนเนื้อหาการเรียนการสอนผานกระดานอัจฉริยะ
ติดตั้งกลอง Robot (Robot Camera) สําหรับจับภาพขณะนักเรียนทํากิจกรรม ทําใหนักเรียนปลายทาง
เรยี นรูเ นอื้ หาผานสื่อการสอนตา ง ๆ ไดม ากข้ึน

63

1.3) การพัฒนาเพิ่มชองทางการถายทอดสัญญาณตั้งแตป2538เปนตนมา มูลนิธิฯไดใชการ
ถายทอดสัญญาณจากดาวเทียมเปนชองทางหลักในการใหบริการมาถงึ ในปจ จุบัน มูลนิธิฯ ไดเพิ่มชองทางการ
ถายทอดสัญญาณเพื่อเพิ่มโอกาสในการเขา ถึงการจัดการเรียนการสอนใหไดมากย่ิงข้ึน และผใู ชบริการสามารถ
สบื คนรบั ชมรายการไดตามความตองการใชงาน (On Demand) อีกดวย

1.4) พฒั นารูปแบบการออกอากาศ มูลนิธิฯ ไดป รบั รปู แบบการผลิตจากการถา ยทอดสด
เปนการบันทึกเทปแลวนําไปออกอากาศ โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือใหสามารถเพ่ิมเติมส่ือการสอนที่นาสนใจและ
แกไขขอผิดพลาดไดหลังการบันทึกเทปแลว รวมท้ังจะไดนําเทปท่ีไดตัดตออยางสมบูรณแลวไปบันทึกไวใน
เว็บไซตของมูลนิธิฯ เพื่อใหครูโรงเรียนปลายทางสามารถศึกษาเนื้อหาและเตรียมสื่อและอุปกรณการสอนได
ลวงหนา

1.5) การปรับผังรายการใหมใหครอบคลุมการเรียนรูตลอดชีวิตตามวัตถุประสงคในการ
ดําเนินงานของมูลนิธิฯ ที่ดําเนินงานจัดการศึกษาทางไกลโดยใหครอบคลุมการจัดการศึกษาสําหรับ
ผูดอยโอกาสและบุคคลท่ีมีความตองการพิเศษ การสงเสริมโอกาสในการเขาถึงการศึกษาของประชาชนทุก
กลุมและทุกชวงวัย และตลอดจนสนับสนุนใหหนวยงานตาง ๆ ไดมีสวนรวมในการเผยแพรองคความรูดาน
การศึกษา การมงี านทาํ และการเรียนรตู ลอดชวี ิต

2) พัฒนารปู แบบการสอนออกอากาศใหเ ปนการเรียนการสอนแบบ Active Learning และพฒั นา
เจาหนา ท่เี ทคนิคใหถ ายทาํ รายการการเรียนการสอนอยา งมืออาชพี

2.1) การอบรมเชิงปฏิบัติการครูโรงเรียนตนทางดานการจัดการเรียนรูทั่วไปในหัวขอตาง ๆ

2.2) การพัฒนาศักยภาพการจัดการเรียนรูโรงเรียนตนทางเพื่อเสริมสรางผลการเรียนรูของ
ผูเรียนอยางมีประสิทธิภาพตามแนวคิดชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (ProfessionalLearning
Community:PLC)

2.3) การประชุมเชิงปฏิบัติการหลักการและเทคนิคการผลิตรายการโทรทัศนเพ่ือการเรียน
การสอนการเขียนบทโทรทศั นและการทํา Storyboard เพื่อใหค รูผูสอนออกอากาศ

2.4) การพัฒนาประสิทธิภาพการออกอากาศ เพื่อใหครูผูสอนออกอากาศโรงเรียนวังไกล
กังวลและเจา หนาทสี่ ถานีฯ ทปี่ ฏิบัติงานเกยี่ วกับการออกอากาศมีความรคู วามเขาใจ สามารถใชเ คร่ืองมือ และ
อุปกรณของระบบใหมไดอยางมีประสิทธิภาพ ซ่ึงจะสงผลใหสามารถจัดกระบวนการการเรียนการสอน และ
การถา ยทอดออกอากาศไดอยา งมีคณุ ภาพและนา สนใจ

2.5) การพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพ่ือใหบุคลากรของมูลนิธิการศึกษาทางไกลผาน
ดาวเทียมทั้งในสวนกลางและสถานีวิทยุโทรทัศนการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม รวมทั้งครูโรงเรียนวังไกล
กังวลในพระบรมราชูปถัมภสามารถปฏิบัติงานรวมกันอยางมีประสิทธิภาพ มีสัมพันธภาพอันดีรวมท้ังสราง
ความรูความเขาใจในวิสัยทัศนเปาประสงคแนวทางการดําเนินงานขององคกร และรวมสรางคานิยมเชิงบวก
รวมกัน อันจะนาํ ไปสกู ารเกิดความรสู ึกรวมในเปา หมายเดียวกัน เพอ่ื สรา งประสทิ ธผิ ลมากที่สุดในการทํางาน

3) สงเสริมและสนับสนุนกลุมเปาหมายปลายทางในการจัดการเรียนรูดวยระบบการศึกษาทางไกล
ผานดาวเทยี ม

64

3.1) อบรมแนวทางการนําระบบการศึกษาทางไกลผานดาวเทียมไปใชในการเรียนการสอน
ดว ยวธิ กี ารประชุมทางไกลระบบวีดิทัศน (DLTV TELETRAINING)

3.2) การสนับสนุนอุปกรณรับสัญญาณการศึกษาทางไกลผานดาวเทียมใหกับโรงเรียน
ปลายทางและจัดสรรอุปกรณสําหรับการจัดการศึกษาดวยระบบการศึกษาทางไกลผานดาวเทียมใหกับ
โรงเรียนปลายทางเปาหมายการประเมินที่ไมมีความพรอม ท้ังบุคลากร อุปกรณปลายทาง สื่อการเรียนรูเพื่อ
เพมิ่ ประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอน ปละ 1,500 แหง โดยเร่ิมในป2562 ประกอบดวยสถานศกึ ษาใน
สังกัดตาง ๆ ดังนี้ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) กองบัญชาการตํารวจตระเวน
ชายแดน (ตชด.) องคกรปกครองสวนทองถ่ิน (อปท.) สํานกั งานพระพุทธศาสนาแหงชาติ(พศ.) และสํานักงาน
สงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย (กศน.)

2. การเรียนออนไลนแบบ WBI หรือ Web Base Instruction เปนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ในรูปแบบของ Web Knowledge Based โดยใชเทคโนโลยีของทาง Webpage เปนศูนยกลางในการนําเสนอ
เนื้อหาหรือดําเนินกิจกรรม หรือท่ีเรานิยมเรียกกันติดปากวา “การเรียนการสอนแบบ Online” นั่นเอง
ปจ จุบันมีผูใหความสําคัญและมีการนําเอาเว็บมาใชประโยชนเพ่ือการศึกษา การจัดการเรียนการสอนผานเว็บ
(Web Based Instruction) นอกจากจะเรียกวา การจัดการเรียนการสอนผานเว็บ (Web Based Learning)
เว็บฝกอบรม (Web Based Training)อินเทอรเน็ตฝกอบรม (InterBased Training)และเวิลดไวดเว็บ
ชวยสอน(WWW Based Instruction) เปนตน

การเรียนการสอนผานเว็บเปนการจัดสภาพการเรียนการสอนที่ไดรับการออกแบบอยางมีระบบ โดย
อาศัยคุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลดไวดเว็บมาเปนส่ือกลางในการถายทอดเพื่อสงเสริมสนับสนุนการเรียน
การสอนใหมีประสิทธิภาพ โดยอาจจัดเปนการเรียนการสอนท้ังกระบวนการหรือนํามาใชเปนเพียงสวนหน่ึง
ของกระบวนการทงั้ หมด และชว ยขจัดปญหาอปุ สรรคของการเรียนการสอนทางดานสถานท่ีและเวลาอกี ดวย

การเรียนการสอนผานเครือขาย (Web Based Instruction) หมายถึง การผนวกคุณสมบัติไฮเปอร
มเี ดยี เขากับคุณสมบัติของเครือขาย เวิลดไวดเวบ็ เพ่ือเสริมสรางส่ิงแวดลอ มแหงการเรียนในมติ ิท่ีไมมีขอบเขต
จํากัดดวยระยะทางและเวลาท่ีแตกตางกันของผูเรียน (Learning without Boundry) การใชคุณสมบัติของ
ไฮเปอร-มีเดียในการเรียนการสอนผานเครือขายน้ัน หมายถึง การสนับสนุนศักยภาพการเรียนดวยตนเองตาม
ลําพัง (One Alone) กลาวคือผูเรียนสามารถเลือกสรรเน้ือหาบทเรยี นทีเ่ รียนอยใู นรูปแบบไฮเปอรมเี ดียซ่ึงเปน
เทคนิคการเช่ือมโยงเน้ือหาหลักดวยเน้ือหาอ่ืนที่เก่ียวของ รูปแบบการเช่ือมโยงนี้เปนไดท้ังการเช่ือมโยง
ขอความไปสูเนื้อหาท่ีมีความเกี่ยวของ หรือส่ือภาพ และเสียง การเช่ือมโยงดังกลาวจึงเปนการเปดโอกาสให
ผูเรียนสามารถควบคุมการเรียนดวยตนเองไดโ ดยเลือกลําดับเน้ือหาบทเรียนตามความตองการ และเรียนตาม
กาํ หนดเวลาทเ่ี หมาะสมและตนเองสะดวก

การเรียนการสอนผา นเว็บจะตองอาศัยเทคโนโลยเี ครือขายและการส่ือสารหรือระบบอินเทอรเ น็ต
เปนสาํ คญั ดงั น้นั ในการจัดการเรยี นการสอนผา นเวบ็ จะมีวิธีการใชใน 3 ลักษณะ คอื

1) การนํา เสนอ (Presentation) เปนไปในแบบเวบ็ ไซตที่ประกอบไปดวยขอความ ภาพ ภาพกราฟก
ซึ่งสามารถนําเสนอไดอยางเหมาะสมในลักษณะของส่ือ คือ การนําเสนอแบบส่ือทางเดียว เชน เปนขอความ
การนําเสนอแบบส่ือคู เชน ขอความ ภาพกราฟก บางครั้งจะอยใู นรูปแบบ PDFผูเรยี นสามารถดาวนโหลดไฟล

65

ไดการนําเสนอแบบมัลติมีเดีย คือ ประกอบดวยขอความ ภาพกราฟก ภาพเคลื่อนไหว เสียงและภาพยนตร
หรือวดิ โี อ (แตความเรว็ จะไมเร็วเทา กบั วิดีโอเทป)

2) การสื่อสาร (Communication) การส่ือสารเปนส่ิงจําเปนที่จะตองใชทุกวันในชีวิต ซึ่งเปนลักษณะ
สําคัญของอินเทอรเน็ต โดยมีการสื่อสารบนอินเทอรเน็ตหลายแบบ เชน การสื่อสารทางเดียว โดยดูจากเว็บ
เพจการสอ่ื สารสองทาง เชน การสง ไปรษณยี อิเล็กทรอนิกสโ ตตอบกัน

3) การกอใหเกดิ ปฏสิ มั พันธ (Dynamic Interaction) เปนคุณลกั ษณะสาํ คญั ของอินเทอรเ น็ต
ประกอบดวย 3 ลักษณะ คือ การสบื คน การหาวิธีการเขา สูเวบ็ และการตอบสนองของมนษุ ยในการใชเวบ็

การเรียนการสอนผานเครือขายอินเทอรเน็ต มีลักษณะการจัดการเรียนที่ผูเรียนจะเรียนผาน
จอคอมพิวเตอรท่ีเชื่อมตอกับเครือขายอินเทอรเน็ต และสามารถเขาสูระบบเครือขายเพื่อการศึกษาเนื้อหา
บทเรียนจากที่ใดก็ไดและผูเรียนแตละคนสามารถติดตอสื่อสารกับผูสอนหรือผูเรียนคนอื่น ๆ ไดทันทีทันใด
เหมือนการเผชิญหนากันจริงๆ หรือเปนการสงขอความฝากไวกับบริการไปรษณียอิเล็กทรอนิกสในการ
ตดิ ตอสอ่ื สารกบั ผูเรียนดวยกันเองหรือกบั ผสู อน

การเรียนรูบนเครือขายอินเทอรเน็ตหรือการเรียนรูบนเว็บกระทําไดหลายลักษณะ เชน การทํา
โครงการรวมกัน การแลกเปล่ียนความคิดรวมกันในกระดานขาว การแสดงความคิดเห็นในกระทูทางวิชาการ
การทาํ งานท่ีไดรับมอบหมายเปนกลุม การทําโครงงานรวมกัน เปนการรวมกนั สรางสรรคผ ลงานในเรื่องท่สี นใจ
รวมกัน นอกจากนี้วิธีการเรียนรูบนเว็บมีประสิทธิผล คือ การเรียนรูรวมกันบนเว็บ ซ่ึงเปนวิธีที่ผูเรียนทํางาน
ดวยกันเปนคูหรือเปนกลุมเล็ก เพื่อใหบรรลุจุดมุงหมายของงานรวมกัน ผูเรียนแตละคนรับผิดชอบการเรียนรู
ของผอู นื่ เทา กบั ของตนเอง

บทเรียนบนเครือขายหรือ WBI เปนรูปแบบการเรียนรูท่ีพัฒนามาจากรากฐานของคอมพิวเตอรชวย
สอน (CAI) ซ่ึงเปนกระบวนการเรียนรูท ยี่ ึดหลักการที่สาํ คัญทเี่ รียกวา 4 Is อนั ไดแ ก
• Information คือ ความเปนสารสนเทศในตนเอง
• Interactive คอื การมีปฏิสัมพันธกบั ผูเ รียน
• Individual คอื การเรียนรูดวยตนเอง
• Immediate Feedback คือ การตอบสนองโดยทันที

โดยลักษณะของบทเรียนบนเครือขาย WBI ที่พิเศษก็คอื WBI สามารถนําเสนอชอ งทางเรียนรูเพิ่มเติม
ไดทันทีโดยอาศัยคุณลักษณะของ Web Browser มีสวนท่ีเอ้ือตอการติดตอกันระหวางผูเรียนกับผูสอนได
โดยตรงครูผูสอนใชชองทางการสื่อสารออนไลนแนะนําสาระเน้ือหาเพิ่มเติม หรอื แนะนํา หรือสอนเพิ่มเติมเพิ่ม
มากขึ้นไดอยางรวดเร็ว บทเรียนสามารถแกไข เพิ่มเติม เปล่ียนแปลงสาระเน้ือหาไดงาย ทําใหรูปแบบของ
บทเรียนบนเครือขายเปนอีกวิธีการหนึ่งของการศึกษาทางไกล และนับไดวา WBI เปนรูปแบบการศึกษาที่มี
ความสาํ คญั มีบทบาทตอระบบการจัดการศึกษาในสงั คมการเรียนรผู านระบบสารสนเทศในปจจุบันมากยงิ่ ข้ึน

ปจจุบันรูปแบบการจดั การศึกษาหรือการเรียนการสอนบนเว็บท่ีเรียกวา WBI ไดมีการพัฒนาออกไป
หลากหลายรูปแบบ หลากหลายวิธีการ แตท้ังน้ียังอาศัยเทคโนโลยีเครือขายและการส่ือสารเปนหลัก โดย
นําไปใชกับกลุมเปาหมายหลากหลายกลุม แตละกลุมก็มีช่ือเรียกแตกตางกันไป อาทิการจัดการเรียนการสอน
ผานเว็บ (Web Based Learning: WBL) เว็บฝกอบรม (Web Based Training: WBT) อินเทอรเน็ตฝกอบรม

66

(Inter Based Training) เวิลดไวดเว็บชวยสอน (WWW Based Instruction) หรือช่ืออ่ืน ๆ อีกแตช่ือที่ไดรับ
ความนยิ มมากท่ีสุดกค็ ือ Web Based Instruction และ Web Based Training

การเรียนการสอนบนเว็บ (Web Based Instruction) เปนการบูรณาการกันระหวางเทคโนโลยี
ปจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอน เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียนรูและการแกปญหา
เรื่องขอจํากัดทางดานสถานท่ีและเวลา โดยการสอนบนเว็บจะประยุกตใชคุณสมบัติและทรัพยากรของ
เวิลดไวดเว็บในการจัดการสภาพแวดลอมท่ีสงเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งการเรียนการสอนที่จัด
ขน้ึ ผา นเว็บนี้ อาจเปนบางสวนหรือทั้งหมดของกระบวนการสอน การเรียน การสอนบนเวบ็ เปนการเปดโอกาส
ใหผูเรียนไดเรียนทุกสถานท่ี ทุกเวลา เปนการสงเสริมใหเกิดความเสมอภาคกันทางการศึกษาและสงเสริม
แนวคดิ ในเรือ่ งของการเรียนรูตลอดชีวิต เปน การเรยี นรูท ี่กระตือรือรนและผเู รียนเปนศูนยกลางของการเรียนรู

โดยสรุปแมวา WBI จะมีพัฒนาการมาจาก CAI ที่เปยมไปดวยกระบวนการ หลักการเรียนรูดวย
ตนเองเปนระบบท่ีมีขั้นตอน มีการโตตอบกับผูเรียนอยางตอเนื่อง แตปจจุบันพบวา Website ท่ีพัฒนา WBI
จริง ๆ มีนอยมากอันมีสาเหตุมาจาก WBI (ท่ีแทจริง)ตองพึ่งพาเทคโนโลยีเว็บที่หลากหลายรองรับการเรียนรู
จากผูเรียนท่ีมีความแตกตาง กระบวนการออกแบบที่ตองผนวกรวมกับจิตวิญญาณครูลงไปในตัวระบบ WBI
ตองออกแบบระบบการชวยเหลือ สวนสนับสนุนตาง ๆ ท่ีพรอมรองรับการรองขอ และองคประกอบอ่ืน ๆ อีก
ซ่ึงเปนเรื่องที่คอนขางยาก จึงทําใหผูพัฒนาบทเรียนรูปแบบ WBI แทๆ มักมีนอย สวนใหญที่พบน้ันจะอิง
หลักการบางสวนเทานั้น และดวยความยืดหยุนของe-Learningจึงทําใหมีผูพัฒนา e-Learning มากกวา WBI
และหากเทคโนโลยีของ LO (Learning Object) ไดมีการพัฒนาจนรองรับในการสราง content ไดงายข้ึน
LO ก็จะเปนสวนสําคัญท่ีจะผลักดันใหระบบ WBI กลับมาเปนฐานการศึกษาเรียนรูท่ีเปยมประสิทธิภาพอีกใน
อนาคต

3. ระบบ e-Learning (electronic learning) คอื การเรียนรูผานส่ืออเิ ลก็ ทรอนิกสความหมาย
ของ e-Learning ถูกตีความตางกันไปตามประสบการณของแตละคน แตมีสวนที่เหมือนกันคือใชเทคโนโลยี
เปนเคร่ืองมือในการเรียนรูโดยมีการพัฒนาตลอดเวลาตามความกาวหนาของเทคโนโลยีสําหรับผูเขียนให
ความหมายของ e-Learning วาเปน “การใชเทคโนโลยีโดยเฉพาะอินเทอรเน็ตเขามาสงเสริมการเรียนการ
สอนใหเกิดประสิทธิผล” e นั้นยอมาจาก electronic สวนคําวา learning มีความหมายตรงตัววาการเรียนรู
เม่ือนาํ มารวมกนั หมายถึง การศกึ ษาเรียนรูผานเครือขายคอมพิวเตอรอินเทอรเ น็ต (Internet) เปนการเรียนรู
ดวยตนเอง ผูเรียนจะไดเรียนตามความสามารถและความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรียนซึ่ง
ประกอบดวย ขอความ รูปภาพ เสียง วิดีโอ และมัลติมีเดียอ่ืน ๆ จะถูกสงไปยังผูเรียนผาน Web Browser
โดยผูเรียน ผูสอน และเพ่ือนรวมชั้นเรียนทุกคนสามารถติดตอ ปรึกษา แลกเปล่ียนความคิดเห็นระหวางกันได
เชนเดียวกับการเรียนในชั้นเรียนปกติโดยอาศัยเคร่ืองมือการติดตอส่ือสารท่ีทันสมัย (e-mail webboard
chat) จึงเปนการเรียนสําหรับทุกคน เรียนไดทุกเวลา และทุกสถานที่ (Learn for all: anyone, anywhere
and anytime)

การนาํ e-Learning ไปใชป ระกอบการเรยี นการสอน
(1) ส่ือเสรมิ (supplementary) นอกจากเนื้อหาที่ปรากฏในลกั ษณะ e-Learning แลว ผเู รียน

67

ยังสามารถศึกษาเนื้อหาเดียวกันนี้ในลักษณ ะอื่น ๆเชน จากเอกสารประกอบการสอน เปนตน
การใชe-Learningในลกั ษณะน้ีผูสอนเพียงตองการใหผูเ รียนมที างเลือกอีกทางหน่ึงสําหรบั การเขาถงึ เนื้อหา

(2) สอ่ื เตมิ (complementary) ผูสอนออกแบบเนื้อหาใหผูเ รียนเขา ไปศึกษาเนือ้ หาเพ่ิมเติมจาก
e-Learning

(3) ส่ือหลัก (comprehensive replacement) เปนการนํา e-Learning ไปใชในลักษณะแทนท่ีการ
บรรยายในหอ งเรียน ผเู รยี นจะตองศึกษาเน้อื หาออนไลนทง้ั หมด

องคป ระกอบของ e-Learning
(1) ระบบบริหารการเรียน หรือ LMS ซึ่งยอมาจาก e-Learning Management System ทําหนาท่ี
เปนศูนยกลางในการติดตอสื่อสารและการกําหนดลําดับของเน้ือหาในบทเรียน แลวนําสงผานเครือขาย
คอมพิวเตอรไปยังผูเรียน ซ่ึงรวมไปถึงข้ันตอนการประเมินผล ควบคุม และสนับสนุนการใหบริการท้ังหมดแก
ผูเรียน ระบบบริหารการเรียนจะทําหนาที่ต้ังแตผูเรียนเร่มิ เขามาเรียน โดยจัดเตรียมหลักสูตรบทเรียนทั้งหมด
เอาไวพรอมที่จะใหผูเรียนไดเขามาเรียน เม่ือผูเรียนไดเริ่มตนบทเรียนแลวระบบจะเร่ิมทํางานโดยสงบทเรียน
ตามคําขอของผูเรียนผานเครือขายคอมพิวเตอรไปแสดงที่ web browser ของผูเรียน จากนั้นระบบก็จะ
ติดตามและบันทึกความกาวหนา รวมทั้งสรางรายงานกิจกรรมและผลการเรียนของผูเรียนในทุกหนวยการ
เรียนอยางละเอียดจนกระทั่งจบหลักสูตร
(2) เน้ือหารายวิชาเปนบทและเปนขั้นตอน (Contents) หนาที่ของผูเชี่ยวชาญท่ีไดร บั มอบหมาย
ใหเ ปนผูสอน คอื การเขียนคาํ อธบิ ายรายวิชา วางแผนการสอนใหเหมาะสมกับเวลา ตรงกับความตอ งการ
ของสังคม สรางสอ่ื การสอนที่เหมาะสม แยกบทเรียนเปนบท มีการมอบหมายงานเม่ือจบบทเรยี น และทําสรุป
เนื้อหาไวตอนทา ยของแตละบท พรอมแนะนําแหลง อา งอิงเพมิ่ เติมใหไปศึกษาคนควา
(3) การติดตอส่ือสาร มีเครื่องมือท่ีจะชวยใหผูเรียนไดติดตอสอบถาม ปรึกษาหารือและแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นระหวางตัวผูเรียนกับครูอาจารยผูสอน และระหวางผูเรียนกับเพ่ือนรวมชั้นเรียนคนอื่น ๆ โดย
เคร่ืองมือที่ใชในการติดตอส่ือสารอาจแบงไดเปน 2 ประเภท คือ ประเภทชวงเวลาเดียวกัน (synchronous)
ไดแก chat และประเภทชวงเวลาตางกัน (asynchronous) ไดแ ก webboard, e-mail
(4) การสอบ/วัดผลการเรียน (Evaluation) โดยท่ัวไปแลวการเรียนไมวาจะเปนการเรียนในระดับใด
หรือเรียนวิธีใดก็ยอมตองมีการสอบ/การวัดผลการเรียนเปนสวนหน่ึงอยูเสมอ การสอบ/วัดผลการเรียนจึงเปน
สวนประกอบสําคัญที่จะทําใหการเรียนแบบ e-Learning เปนการเรียนท่ีสมบูรณ บางวชิ าจําเปนตองวัดระดับ
ความรกู อนสมัครเขาเรียน เพ่ือใหผเู รียนไดเลือกเรียนในบทเรยี น หลักสูตรที่เหมาะสมกับตนมากท่ีสุดซ่งึ จะทํา
ใหการเรียนที่จะเกิดขึ้นเปน การเรียนท่ีมีประสิทธภิ าพสูงสุด เม่ือเขาสูบทเรียนในแตละหลักสตู รก็จะมีการสอบ
ยอ ยทา ยบท และการสอบใหญก อ นท่ีจะจบหลกั สูตร
4. ระบบ Google Classroom เปนบริการสําหรับ Google Apps for Education ซึ่งเปนชุด
เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ ไดรับการออกแบบมาเพ่ือชวยใหผูสอนสามารถสรางและเก็บงานไดโดยไมตอง
สิ้นเปลืองกระดาษ มีคุณลักษณะท่ีชวยประหยัดเวลา เชน สามารถทําสําเนาของ Googleเอกสารสําหรับ
ผเู รียนแตละคนไดโดยอัตโนมัติโดยระบบจะสรางโฟลเดอรของไดรฟสําหรับแตละงานและผูเรียนแตละคนเพื่อ

68

ชวยจัดระเบียบใหผูเรียนสามารถติดตามวามีอะไรครบกําหนดบางในหนางาน และเร่ิมทํางานไดดว ยการคลิก
เพียงครั้งเดยี วผูสอนสามารถดูไดอยางรวดเรว็ วา ใครทาํ งานเสร็จหรือไมเ สร็จบางตลอดจนสามารถแสดงความ
คิดเห็นและใหคะแนนโดยตรงไดแ บบเรียลไทมใน Google Classroom

ประโยชนข องการใชง าน Google Classroom
1) ต้ังคาไดงายดาย ผูสอนสามารถเพ่ิมผูเรียนไดโดยตรง หรือแชรรหัสเพื่อใหผูเรียนเขาชั้นเรียนได
การตั้งคาใชเวลาเพียงครเู ดียว
2) ประหยัดเวลา กระบวนการของงานเรียบงาย ไมสิ้นเปลืองกระดาษ ทําใหผูสอนสราง ตรวจและ
ใหคะแนนงานไดอยางรวดเร็วในทเ่ี ดียวกัน
3) ชวยจัดระเบียบ ผูเรียนสามารถดูงานทั้งหมดของตนเองไดในหนางาน และเนื้อหาสําหรับช้ันเรียน
ท้ังหมดจะถกู จัดเก็บในโฟลเดอรภายใน Google ไดรฟโดยอัตโนมัติ
4) สื่อสารกันไดดีย่ิงขึ้น Classroom ทําใหผสู อนสามารถสงประกาศและเริ่มการพูดคุยในช้ันเรียนได
ทนั ที ผเู รยี นสามารถแชรแ หลง ขอมูลกันหรือตอบคาํ ถามในสตรีมได
5) ประหยัดและปลอดภัย เชนเดียวกบั บริการอ่ืน ๆ ของ Google Apps for Education คอื
Classroom จะไมแสดงโฆษณา ไมใ ชเนอ้ื หาหรอื ขอมลู ของผูเรียนในการโฆษณา และใหบรกิ ารฟรสี ําหรับ
มหาวทิ ยาลัย
นอกจากน้ียังมีระบบการเรียนการสอนออนไลนในรูปแบบอ่ืนอีกมากมายท่ีใชเปนเคร่ืองมือในการ
เรียนรูเชน Zoom Meeting หรือ Cisco Webex Meeting ซึ่งเปนระบบประชุมทางไกลท่ีสามารถนําเสนอ
เอกสารขอมูลและสื่อตาง ๆ ไดพรอมกับคําบรรยาย ซึ่งเปนระบบประชุมที่สามารถใชประยุกตในการจัด
การศึกษาท่ีผูเรียนสามารถสอบถามครูผูสอนไดตลอดเวลาหากมีประเด็นสงสัยหรือไมเขาใจเปนระบบที่
สามารถใชในการสรางปฏิสัมพันธระหวางครูผูสอนกับผูเรียนไดเปนอยางดีและในอนาคตอาจมีการพัฒนา
โปรแกรมหรือแอปพลิเคชนั ตา ง ๆ ขึ้นมารองรบั การเรียนรูไดอยางกวางขวางและหลากหลายมากยิง่ ข้ึน

บรบิ ทสํานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2

สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษ าประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ต้ังอยูเลขที่ 184 หมูที่ 7
ตําบล กําแพง อําเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ เปนหนวยงานภายใตการกํากับดูแลของสํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน แบงสวนราชการตามกฎกระทรวงวาดวยการกําหนดหลักเกณฑของการ
แบงสวนราชการภายในสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา พุทธศักราช 2546 ขอ 2 และขอ 3 เพื่อใหสอดคลองกับ
ภารกิจและการกระจายอํานาจจากบริหารจัดการศึกษาจากกระทรวงศึกษาธิการ และสํานกั งานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีเอกภาพในการบริหารจัดการ มุงมั่นผลสัมฤทธ์ิตามภารกิจเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษา
ตามหลักการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ 2 โดยแบงสวนราชการตามโครงสรางบริหารงานโดยองคคณะ
บคุ คลประกอบดว ย คณะกรรมการเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบประมวลผลและนเิ ทศ
การศึกษา และคณะอนุกรรมการขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษารับผิดชอบจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ใน อําเภอ ประกอบดวย อําเภออุทุมพรพสิ ยั อําเภอราษีไศล อําเภอหว ยทับทัน อําเภอโพธิศ์ รีสุวรรณ อําเภอ

69

เมืองจันทร อําเภอศิลาลาด และอําเภอบึงบูรพ มีโรงเรียนในความรับผิดชอบ จํานวน 179 โรงเรียนและได
บรหิ ารการจัดการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ใหประชากรวยั เรยี นไดรับการศึกษาอยา งทว่ั ถึง มีคุณภาพพฒั นาการศึกษา
ของโรงเรียนในสังกัด ใหไดมาตรฐานการศึกษา เพ่ือบรรลุผลตามเจตนารมณของพระราชบัญญัติการศึกษา
แหง ชาติ พ.ศ. 2542 และท่แี กไ ขเพม่ิ เติม และตามแนวทาง การพัฒนาหลักการปฏริ ูปการศึกษา

สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ไดสงเสริมสนับสนุนการพัฒนา
การศึกษาโดยมุงเนนคุณภาพของผูเรียนเปนสําคัญ ใหความสําคัญในเรื่องการอานออกเขียนได การพัฒนา
คุณภาพทางดานทักษะการคิดคํานวณ กระบวนการคิดสูหลักสูตรสถานศึกษาเนนการนําความรูประสบการณ
กลุมสาระการเรียนรูงานอาชีพ ไปประยุกตใ ชในชีวิตประจําวัน ใหมี การตรวจสอบคุณภาพการจัดการเรยี นรู
ควบคูไปกับการประเมินผล ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาใหได
มาตรฐานตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2,
2563 : - ) ไดกําหนดเปาหมายและนโยบายการขับเคลื่อนเพ่ือใหสอดคลองกับนโยบายของสํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานในรูปแบบ “สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีนสะเกษ เขต 2
วถิ ใี หม วถิ ีคุณภาพ” ประจาํ ปงบประมาณ 2564 เพื่อนาํ ไปสู “นักเรียนฉลาดรู” ดังน้ี

วิสยั ทศั น (VISION)

Smart Students : นักเรียนฉลาดรู (เปนคนดี มปี ญญา มที กั ษะในศตวรรษที่ 21)

พันธกิจ(MISSON)

1. สง เสรมิ และพฒั นาการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานใหท ่ัวถึง มีคุณภาพและไดม าตรฐาน และลด
ความเหล่ือมลาํ้ ทางการศกึ ษา

2. สงเสริมใหผูเรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงคตามหลักสูตร มีคานิยม
หลักของคนไทย 12 ประการ มที ักษะทีจ่ าํ เปน ในศตวรรษท่ี 21 และมีคณุ ภาพชีวติ ทเ่ี ปนมิตรกับส่ิงแวดลอม

3. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหเปนมืออาชีพ สามารถจัดการเรียนรู
สูศตวรรษที่ 21

4. พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การที่เนนการมีสวนรว ม การบูรณาการการจัดการศึกษาและ
เสริมสรา งความรับผิดชอบตอคณุ ภาพการศึกษา

เปา ประสงค( GOAL)

1. ประชากรวัยเรียนทุกคนไดรับโอกาสการศึกษาข้ันพื้นฐานอยางท่ัวถึง มีคุณภาพและเสมอ
ภาค มีคุณธรรม จริยธรรม คานิยมที่พึงประสงค มีจิตสาธารณะ ยึดม่ันในระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษตั รยิ ท รงเปนประมุข

2. สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศึกษาจัดการศึกษาใหแกผูเรียนระดับกอน
ประถมศึกษา และระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานทุกคน มีพัฒนาการเหมาะสมตามวัยมีคุณภาพชีวิตท่ีดี
มีจิตสํานึกรกั ษส่ิงแวดลอม และทกั ษะการเรยี นรใู นศตวรรษที่ 21

70

3. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะตรงตามสายงาน ตระหนักถึงบทบาทของครู
ยุคใหมในศตวรรษที่ 21 และมวี ัฒนธรรมการทํางานท่ีมุงเนนผลสัมฤทธิ์

4. สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และสถานศึกษามีประสิทธิภาพ และเปนกลไกขับเคล่ือน
การศึกษาข้นั พ้ืนฐานตามหลกั ของศาสตรพ ระราชา

5. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เนนการทํางานบูรณาการ มีเครือขาย
การบริหารจัดการ บริหารแบบมีสวนรวมจากทุกภาคสวนในการจัดการศึกษา กระจายอํานาจ และ ความ
รับผิดชอบสกู ลุมเครือขา ยพฒั นาคุณภาพการศึกษา และสถานศึกษา

6. สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และสถานศึกษา พัฒนาส่ือ เทคโนโลยี และระบบขอมูล
สารสนเทศเพ่อื การบริหารจัดการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ

กลยุทธ( STRATEGY)

1. การจัดการศึกษาเพอื่ ความม่นั คงของสังคมและประเทศชาติ
2. การจัดการศึกษาเพอื่ เพม่ิ ความสามารถในการแขงขันของประเทศ
3. การพฒั นาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย
4. การสรางโอกาสในการเขาถึงบริหารการศึกษาท่ีมีคุณภาพ มีมาตรฐานและลด
ความเหล่ือมล้ําทางการศึกษา
5. การจัดการศึกษาเพื่อพฒั นาคุณภาพชีวิตทเ่ี ปนมิตรกบั สงิ่ แวดลอม
6. การปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจัดการศึกษา

คานยิ มองคกร(VALUE)

“ SSK 2” งานมีมาตรฐาน บริการดวยใจ ใชองคความรู สูความเปนเลิศ

S : Standard งานมีมาตรฐาน

S : Service Mind บริการดว ยใจ

K : Knowledge Worker ใชองคความรู

2 : 2 Be 1 สูความเปนเลิศ

เปาหมายการจัดการศึกษา

“ 5 SMART” : คณุ ภาพเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
Smart Office : คุณภาพสถานศึกษา
Smart School : คณุ ภาพผูอ าํ นวยการ
Smart Director : คณุ ภาพครู
Smart Teacher : คุณภาพนักเรียน
Smart Student

จุดเนน (FOCUS)

71

“ SMART SSK 2”

S : Sustainability เปน คนดีมคี ุณธรรม

M : Mathematics เลศิ ลา้ํ คิดเลขเปน

A : Academic เดนดานวิชาการ

R : Reading คิด อาน เขียน กาวหนา

T : Technology นําพาเทคโนโลยี

S : Show & Share มีเวทีแลกเปลี่ยนสมรรถนะ

S : Skill มีทกั ษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21

K : Kindergarten ความสาํ เร็จปฐมวัย

2 : Second Language ใสใจในภาษาที่ 2 (ภาษาองั กฤษ)

เอกสารและงานวิจยั ทเี่ กยี่ วขอ ง

1. งานวิจัยในประเทศ
พิธาน พ้ืนทอง (2548 : ข - ค) ไดวิจัยเชิงนโยบาย เร่ือง ขอเสนอเชิงนโยบายเพ่ือพัฒนาศักยภาพ
ของโรงเรียนขนาดเล็กในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีขอเสนอแนะแกผูท่ีจะกําหนดนโยบายในการพัฒนา
โรงเรียนขนาดเล็กไว ดังนี้

1. โรงเรียนขนาดเล็กควรมีโครงสรางการบริหารที่ยืดหยนุ แตกตางจากโรงเรียนขนาดใหญซ่ึง
ชวยใหความเปนระบบราชการลดลง เพ่ือใหการบริหารสามารถปรับเปล่ียนไดตารมความเหมาะสมของ
สถานการณ ซึ่งจะทาํ ใหการดาํ เนินงานของโรงเรียนเกิดประสทิ ธภิ าพและมปี ระสทิ ธิผล

2. รูปแบบการบริหารงานในโรงเรียนขนาดเล็กจะตองมีความโปรงใส สามารถตรวจสอบได
โดยอาศยั ระบบขอมูลสารสนเทศท่ีทันสมัยและมปี ระสิทธิภาพ

3. การจําแนกงานภายในโรงเรียนควรเปนไปตามความจําเปนของแตละโรงเรียนการจัดการ
บริหารงานอยา งเปน ระบบและใหเ นนไปทก่ี ารบริหารการเรียนการสอนเปนสาํ คัญ

4. ควรมีการระดมทนุ จากชมุ ชน เพ่อื สนับสนนุ การดําเนินงานของโรงเรียนใหเ พียงพอ
5. ผูบริหารจะตองมีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติงานเปนแบบอยางแกครู สงเสริมและพัฒนา
คณุ ภาพการปฏบิ ัติงานของครู สนับสนนุ ใหมีการแลกเปลี่ยนประสบการณระหวา งครเู กา และครูใหม
6. ผูบริหารระดับสูงควรใหการสนับสนุนผูบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก เพ่ือใหมีขวัญกําลังให
การสนับสนุนในเร่ืองงบประมาณ และอัตรากําลัง ไมควรมีการโยกยายผูบริหารบอยเกินไป และใหชุมชนมี
สว นรวมในการพฒั นาผเู รียน
7. สนับสนุนใหโรงเรียนสามารถจัดหาทรัพยากรเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน และการ
จัดหาสื่อการเรียนการสอนที่เหมาะสม โดยการระดมทุนจากชุมชน สนับสนุนใหครูมีการทําวิจัยในชั้นเรียน
และนําผลการวิจัยไปใชในการพฒั นาผูเรียน
8. ควรมีการฝกอบรมครูผูสอนใหมีความรูและทักษะในการสอนใหเหมาะสมกับ การจัดการ
เรียนการสอนแบบใหม ซึ่งเปลี่ยนจากการสอนแบบครู 1 คน ตอนักเรียน 1 ชั้น มาเปนแบบกลุมยอยหรือ

72

รายบุคคล ควรมีการจัดแหลงเรียนรูในชุมชนหรือจากภูมิปญญาทองถ่ิน ใหผูเรียนไดเรียนรูอาชีพและ
วัฒนธรรมประเพณี มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ รวมท้ังจัดทาํ แฟมสะสมงาน

พริ้มเพรา วราพันธุพิพิธ (2556 : บทคัดยอ) ไดทําการวิจัย เรื่องขอเสนอเชิงนโยบายเพ่ือความเปน
เลิศของสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิน่ วตั ถุประสงค เพ่ือจัดทาํ ขอเสนอ เชิงนโยบาย
เพ่ือความเปนเลิศของสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตามองคประกอบ คือ จุดเดน
จุดดอย โอกาส และภาวะคุกคาม แนวทางของนโยบายกลไกของนโยบาย และกลไกของ นโยบาย ในดาน
โครงสราง ดานงาน ดานคน ดานวัฒนธรรม และดา นเทคโนโลยี กลุมตัวอยาง จํานวน 251 แหง เครอื่ งมือที่ใช
ในการวิจยั คือ แบบสอบถามมีลักษณะปลายเปด การวิเคราะหขอมูล คือการวิเคราะหขอมูลดังนี้ 1) วิเคราะห
ขอมูล ตอนท่ี 1 โดยหาคาความถี่ คารอยละเก่ียวกับสถานภาพทั่วไป ของผูตอบแบบสอบถาม 2) วิเคราะห
แบบสอบถาม ตอนท่ี 2 และตอนที่ 3 โดยใช วิธวี ิเคราะหเนื้อหา (content analysis) ท่ีเปนขอความซํ้าหรือ
คลายคลึงกัน แลวประมวลผลสรุปเปน ประเด็นสําคัญ ผลการวิจัย พบวา จุดเดนที่สําคัญ คือ มีอํานาจตาม
กฎหมายในการจัดการศึกษา ครอบคลุมทุกระดับการกําหนดภาระงาน ในสถานศึกษามีกฎหมายรองรับอยาง
ชัดเจนสงเสริมให บุคลากรเรียนตอในระดับสูงขึ้น มีนโยบายการสรางคานิยมของบุคลากรในสถานศึกษา
สนับสนุนใหม ระบบการเรียนการสอนแบบอิเล็กทรอนิกส จุดดอ ยที่สําคัญ คือ ขาดการนํานโยบายไปปฏิบัติที่
เปน รูปธรรมขาดระบบการบริหารจัดการที่ดีการสรรหาบุคคล เขาปฏิบัติงานยังไมมีประสิทธิภาพ ขาดความ
ชัดเจนในการกําหนดวัฒนธรรมองคการ ความไมพรอมในการใชเทคโนโลยีของครู สําคัญ คือ มีกฎหมายการ
กระจายอํานาจการจัดการศึกษามีขอบเขตความรับผิดชอบ ตอกลุมเปาหมายชัดเจน มีนโยบายการใหทุน
พัฒนาบุคลากรโดยทํา MOU กับมหาวิทยาลัยในการพัฒนา บุคลากร สถานศึกษาเปนศูนยกลางในการจัด
กิจกรรมสงเสริมและอนุรักษวัฒนธรรม บริบท สถานศึกษาเปนสังคมก่ึงเมือง และสังคมเมือง ภาวะคุกคามท่ี
สําคัญ คือ มีกฎ ระเบียบ หรือกฎหมาย ที่เปนอุปสรรคตอการบริหาร บทบาทหนฎท่ี ในการจัดการศึกษาไม
ชัดเจน ความไมพรอมของบุคลากร ฝายตาง ๆ ผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีทัศนคติ แบบอนุรักษ
นิยมปฏิเสธ หรือตอตานเทคโนโลยี มีขอเสนอแนะแนวทางของนโยบายท่ีสําคัญ คือ ควรสงเสริมการ
จัดรูปแบบการจัดการศึกษาทองถิ่นแบบบูรณาการท่ีเนนการบริหารจัดการโดยใชโรงเรียนเปนฐาน สงเสริม
สถานศึกษาในสังกัดใหความสําคัญกับการวางแผนพัฒนาสถานศึกษากระจาย อํานาจการสรรหาบุคลากรเชา
ปฏิบัติงานไปยังสถานศึกษา สรางวัฒนธรรมการแลกเปล่ียนเรียนรูนําเทคโนโลยีมาใชเพ่ิมประสิทธิภาพการ
ทาํ งาน และมีขอเสนอแนะกลไกของนโยบายที่สําคัญคือ สรางความเขมแข็งของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน จัดหลักสูตรการศึกษาในระบบใหมีโปรแกรมอยางหลากหลายมีแผนพัฒนาศักยภาพและวิชาชีพของ
บุคลากรอยางเปนระบบสรางวัฒนธรรมทองถ่ินใหมีการเรียนรูตลอดชีวิต และจัดต้ังศูนยพัฒนาทักษะการ
เรียนรูและนวัตกรรมสําหรับเปน แหลงเรียนรู อบรม และพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู ส่ือและนวัตกรรม
การเรียนรูที่สอดคลองกับแนวโนมหรือกระบวน ทัศนใหมในการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 และควรจัดตั้ง
กรมการศึกษาขององคกรปกครองสวน ทอ งถ่ินเปน การเฉพาะ

คนึง สายแกว (2549 : 289 - 290) ทาํ วิจัยเร่ือง ขอ เสนอเชิงนโยบายการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัย
ในจังหวัดสุรินทรโดยมี วัตถุประสงคครั้งน้ี เพ่ือพัฒนาขอเสนอเชิงนโยบายการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัย ใน
จังหวัดสุรินทรในองคประกอบ ดานวิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมายกลยุทธและตัวช้ีวัดของการบริหาร ทั้งโดย

73

ภาพรวมและในดานการบริหารวิชาการ การบริหารงานบุคคล การบริหารงาน งบประมาณ และการ
บริหารงานท่ัวไป กลุมตัวอยาง 380 คน ผูใหขอมูลคือ ผูบริหารสถานศึกษา ครู และกรรมการสถานศึกษา
เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยคือ แบบสอบถาม วิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติ SPSS หาคาเฉลี่ย หาคาเบี่ยงเบน
มาตรฐาน ผลการวิจัยพบวา ขอเสนอเชิงนโยบายที่กําหนดวิสัยทัศน วาภายในป 2554 จังหวัดสุรินทร จะเปน
จังหวัดช้ันนําในการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย ท่ีมีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย เพื่อตอบสนอง
ความตอ งการของทองถิ่นอยางหลากหลายและทั่วถึง และไดพันธกิจ 7 ประการ คอื 1 จัดระบบบริหารจัดการ
ทมี่ ีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสรางโอกาสใหเด็กกลุมเปาหมายไดเขาศึกษาในระดับปฐมวัยทุกคนสามารถ
สรา งและพัฒนาเด็กปฐมวัยใหมี คุณธรรมจริยธรรมและไดรับการเตรียมความพรอมในการพัฒนาทุกดาน ทั้ง
ดา นรางกาย อารมณ จิตใจ สังคมและสตปิ ญญา 4 สรางเครือขายแหลงเรียนรูและระบบสารสนเทศดวยการมี
สวนรวมของทุกฝาย 5 สรางความตระหนักใหผูปกครองและผูเก่ียวของเขามามีสวนรวม 6 สงเสริมหนวยงาน
ภ า ค รั ฐ เอ ก ช น แ ล ะอ ง ค ก า ร บ ริ ห า ร ส ว น ท อ ง ถิ่ น จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ร ะดั บ ป ฐ ม วั ย ท่ี มี คุ ณ ภ า พ ต า ม ม า ต ร ฐ า น
และ 7 พัฒนาบุคลากรและผูเก่ียวของใหมีศักยภาพในการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยรวมทั้งสรางและกําลังใจ
ท่ีดีในการปฏิบัติหนาที่

กานต เนตรกลาง (2555 : บทคัดยอ) ทําวิจัยเร่ือง การพัฒนาขอเสนอเชิงนโยบายเพื่อดําเนิน
การเปนผูนําจัดการศึกษาของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การวิจัยครั้งน้ี มีวัตถุประสงค
1) เพื่อศึกษาสภาพ ปจจุบัน ปญหา การดําเนินการจัดการศึกษาของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครราชสีมา 2) เพื่อศึกษาแนวทางการดําเนินการเพื่อความเปนผูนําในการจัดการศึกษา ของโรงเรียนสาธิต
สังกัดตา ง ๆ 3) เพื่อพัฒนาขอเสนอเชงิ นโยบายการดําเนนิ การเพ่ือเปนผูนําการจัดการการศึกษาของโรงเรียน
สาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 4) เพื่อตรวจสอบขอเสนอเชิงนโยบายการดําเนินการ เพื่อเปนผูนําใน
การจัดการการศึกษาของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา จํานวนกลุมตัวอยาง 132 คน
เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคือ แบบสอบถาม แบบสังเกต การวิเคราะหขอมูล หาคาเฉล่ีย หาคาเบี่ยงเบน
มาตรฐาน ผลการวิจัยพบวา 1) สภาพปจจุบันปญหา การดําเนินการจัดการศึกษาของโรงเรียนสาธิต
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา พบวา โดยรวมและรายดานมีการดําเนินการอยูในระดับมากและเมื่อ
พิจารณารายดาน พบวาทุกดานอยูในระดับมากในสวนของปญหาในการจัดการการศึกษาโดยรวม พบวา
มปี ญหาอยูในระดบั นอยและเม่ือพิจารณารายดานทุกดานอยูในระดับนอย 2) แนวทางการดําเนนิ การ เพื่อเปน
ผูนําในการจัดการศึกษาของโรงเรียนสาธิตสังกัด ตาง ๆ ไดแนวทางการดําเนินการจํานวน 48 ขอ
ประกอบดวยวิชาการ 12 ขอ ดานงบประมาณ 11 ขอ ดานบุคลากร 14 ขอ ดานบริหารท่ัวไป 11 ขอ
3) ผลการพัฒนาขอเสนอเชิงนโยบาย การดําเนินการเพ่ือเปนผูนําในการจัดการการศึกษาของ โรงเรียนสาธิต
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาไดขอเสนอเชิงนโยบายในการดําเนินการจํานวน 56 ขอ ประกอบดวยดาน
วิชาการจํานวน 12 ขอ ดานงบประมาณ จํานวน 11 ขอ ดานบุคลากร จํานวน 10 ขอ ดานบริหารทั่วไป
จํานวน 13 ขอ 4) ผลการตรวจสอบขอเสนอเชิงนโยบาย การดําเนินการเพ่ือเปนผูนําในการจัดการการศึกษา
ของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ดวยการประเมินของผูเชี่ยวชาญ พบวา ดานวิชาการ
มีความเหมาะสมและความเปนไปไดมากท่ีสุด สวนความเปนไปไดและและความสอดคลองอยูในระดับมาก
ในดานงบประมาณมีความเปนประโยชนมากท่ีสุด สวนความเหมาะสม ความเปนไปไดและความสอดคลองอยู

74

ในระดับมาก ในดานบุคลากร มีความเหมาะสมและความเปนประโยชนอยูในระดับมากที่สุดสวนความเปนไป
ไดและความสอดคลอง อยูในระดับมาก ดานบริหารทั่วไปมีความเหมาะสมความสอดคลองและความเปน
ประโยชนอยูใน ระดับมากท่ีสุด สวนความเปนไปได อยูในระดับมาก และกําหนดองคประกอบของขอเสนอ
เชงิ นโยบาย 2 องคป ระกอบ คือ วัตถุประสงค ของนโยบายและ (2) แนวทางของนโยบาย

จากการศึกษาวิจัยเชิงนโยบาย ดังกลาวขางตน จะเห็นไดวามักมีองคประกอบหลักเหมือนกัน
คือ อาจมี 2 องคประกอบ คือ 1) วัตถุประสงคของนโยบาย (Policy objective) และ (1) แนวทาง
ของนโยบาย (Policy means) หรืออาจมี 3 องคประกอบ คือ (1) วัตถุประสงคของนโยบาย objective)
และ (2) แนวทางของนโยบาย (Policy means) และ (3) กลไกขอ (Policy mechanism) บางคร้ังอาจ
เรียกวา การนํานโยบายไปใช แต "องคประกอบยอย"ของ "วัตถุประสงค" หรือ "แนวทาง" หรือ "กลไก"
อาจแตกตา งกัน ขนึ้ กบั วา ใครจะกาํ หนด องคป ระกอบเปนแบบใด

2. งานวิจัยตางประเทศ
Choi (1991 : 3057-A) ไดวิจัยเกี่ยวกับการเสนอทฤษฎีความไมเหมอื นกนั ในการนํานโยบายไปปฏิบัติ
จาก 4 กรณีศึกษาในประเทศเกาหลี โดยไดวิจัยถึงความแตกตางกันในปจจัยที่เก่ียวของกับกระบวนการนํา
นโยบายไปปฏิบัติของแตละนโยบายในเร่ืองของการสรางหรือการจัดกระบวนการในการนํานโยบายไปปฏิบัติ
ความสัมพันธระหวางการกําหนดนโยบายและการนํานโยบายไปปฏิบัติพบวานโยบายที่มีสาระ ของนโยบาย
และสภาพแวดลอมของนโยบายที่แตกตางกันควรนําไปปฏิบัติ ดวยรูปแบบท่ีไมเหมือนกัน ดวยปจจัยดานการ
บริหารงานของรูปแบบเฉพะของกรณีศึกษาที่แตกตางกันคือ 1) การใชวิธีควบคุม 2) การใชวิธีการ
ประนีประนอม 3) การดําเนนิ การแบบสขุ ุมรอบคอบ 4) การใชม าตรการควบคุมปองกัน
Alberta (1994 : 2981-A) ไดวิจัยการนํานโยบายไปปฏิบัติ โดยไมใชแนวคิดและผลการวิจัย
ที่เกี่ยวของกับการตัดสินใจของระบบราชการและการควบคุมตามสายการบังคับบัญชาโดยมุงใหความสําคัญ
กับแนวคิดท่ีวาการนํานโยบายสาธารณะไปปฏิบัติเปนกระบวนการทางสังคม ที่สามารถสรางข้ึนมาได
ในสภาพที่เปนจริงของสังคมซ่ึงใน ระหวางท่ีกระบวนการดังกลาวเกิดข้ึน กลุมผลประโยชนตาง ๆ จะเขามา
ปกปองเพื่อความเปนอยูที่ดีของสมาชิกในกลุมปฏิกริ ิยาที่เกิดขนึ้ อยางมปี ระสิทธิภาพนจี้ ะกลายเปนแนวปฏิบัติ
ของนโยบายและนําไปสูการเปลี่ยนบทบาทหนาท่ีของสังคมในการศึกษาดังกลาว ไดใชตัวแปรที่เกี่ยวของกับ
กระบวนการริเริ่มสรางสรรค คือ 1) สภาพแวดลอมของนโยบาย 2) ตัวนโยบาย 3) วิธีการที่ทําใหการมีสวน
รว มสงผลถึงตัวบุคคลเหลานั้นโดยนํากรอบความคิดนี้ไป ตรวจสอบกับกรณีศึกษาของการนํานโยบายไปปฏิบัติ
ทปี่ ระสบความสาํ เร็จกรณีหน่ึง
Hambleton (1983 : 397 - 418) ไดวิจัยพัฒนากรอบแนวคิดการศึกษาถึงความสัมพันธระหวางถึง
ระหวางระบบการวางแผนและการนํานโยบายไปปฏิบัติ โดยเขามีความเห็นวานอกเหนือจากปจจัยในเรื่องของ
ความหลากหลายของหนว ยงานที่นาํ นโยบายไปปฏิบัติ ปจ จัยดา นวสิ ัยทัศนและอุดมการณ และปจจัยของการ
เผยแพรขาวสารของนโยบายเปนปจจัยที่กําหนดถึงกระบวนการของการ นํานโยบายไปปฏิบัติที่สัมพันธกับ
ระบบการวางแผนนโยบายดวยเห็นวาการส่ือสารของนโยบาย (policy Message) เปนตัวแปรหน่ึงที่สําคัญท่ีมี
อิทธิพลตอการนํากระบวนการของนโยบายไปปฏิบัติในลักษณะท่ีสัมพันธกับระบบการวางแผน เขาเสนอใหมี

75

การแยกความแตกตางระหวางเน้ือหาของนโยบาย ออกจากวิธี การส่ือสารของนโยบายดวยเห็นวาความ
กาํ กวมในการตดิ ตอส่ือสารจาก รัฐบาลกลาง นําไปสูขอสงสัย และสรางผลกระทบตอการปฏิบัติงานในทองถ่ิน
ที่เกิดข้ึนไดโดยเฉพาะอยางยิ่งความสําคัญของการสื่อสารนโยบายจะมีมากข้ึนเนื่องจากเหตุผลที่สําคัญ 3
ประการ ประการแรกในบางสาขาของนโยบาย เปนการยากท่ีจะระบุใหมีมาตรฐานและวัตถุประสงคของ
นโยบายที่ชัดเจนได ประการที่สอง ความกํากวมในการกําหนดมาตรฐาน และวัตถุประสงคของนโยบาย อาจ
เกิดขึ้นเน่ืองจากมีการเผชิญกับความไมแนนอนของแตละสถานการณ ประการท่ีสาม ความกํากวมใน
มาตรฐานและวัตถุประสงคของนโยบายอาจเกิดจากมีผูกําหนดนโยบาย ตั้งใจที่จะให เกิดความขัดแยงใน
วัตถุประสงคระหวางผูท่ีเกี่ยวขอ งตาง ๆ ดังนั้นการใหความสําคัญตอการส่ือสารของนโยบาย ซึ่งเปนเรื่องทีต่ อง
ใหมีความสําคัญในกระบวนการนํานโยบายไปปฏิบัติดวยการศึกษาครั้งนี้ ไดนําเอาแนวคิดทฤษฎีดานการนํา
นโยบาย ไปปฏิบัติในสวนท่ีกลา วถงึ ปจจัยดา น และการผลักดันกิจกรรมมาประยกุ ตใ ชในสถานศึกษา

โมโลนี (Molony, 2010) ไดศึกษาความคาดหวังของบุคลากรทางการศึกษาในการนํานโยบาย
สูเปาหมาย ผลการศึกษา พบวา การดูแลเด็กกอนวัยเรียนและนโยบายทางการศึกษาจะไดรับการยอมรับตาม
อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยสิทธิเด็ก (UNCRC) ในประเทศสาธารณรัฐไอรแลนดไดใหความสําคัญตาม
อนุสัญญาน้ีโดยจะเห็นไดจากวาระแหงชาติเก่ียวกับเด็กปฐมวัย เชน มุมมองเด็กโดยรวมสะทอนใหเห็นอยาง
ชัดเจนขึ้น ในการริเร่ิมนโยบายการพัฒนาที่หลากหลายท่ีจะพัฒนาคุณภาพการดูแลเด็กที่สําคัญ ปจจุบันมี
คุณภาพแหงชาติ “โซลตา” ซึ่งมีเอกภาพทางนโยบายและหลากหลายทางปฏิบัติเชนเดียวกับกรอบมาตรฐาน
หลักสูตรเด็กกอนวัยเรียน นอกจากน้ียังมีการทบทวนระเบียบวาดวยการแกไขระเบียบการดูแลเด็กกอนวัย
เรียน สงผลใหมีการปรับปรุงแกไขระเบียบการใหบรกิ ารเด็กกอนวัยเรียนของแตละหลักสูตร การดําเนินการ
เหลานี้กระทบโครงสรางการใหบริการเด็กและหนวยงานท่ีเกี่ยวของ ฉะน้ันการศึกษาครั้งน้ีเปนการดําเนินการ
ระหวาง ป 2000 – 2006 โดยศึกษาถึงการปฏิบัติของ ECCE ความไมเพียงพอของครูและการใหบริการดูแล
เด็ก จํานวนโรงเรียนไมเพียงพอ (ขาดแคลนบุคลากรและสถานใหบริการเด็ก) ไมสอดคลองกับความคาดหวัง
ของการนาํ นโยบายสกู ารปฏิบัติ

เรนเดลล (Rendell, 2003) เสนอผลการวิจัยเร่ือง ขอเสนอเชิงนโยบายเพื่อการปฏิรูปการศึกษา
สํ า ห รั บ เด็ ก ป ฐม วั ย ข อ งรั ฐเพ น ซิ ล เวเนี ย (Pennsylvania Governor’s Education Reform Early
Childhood Education Proposed) โดย (Pennsylvania Partnerahips for Children) นโยบายการศึกษา
ของรัฐเพนซิลเวเนีย (Pennsylvania) เพ่ือการปฏิรูปการศึกษาสําหรับเด็กปฐมวัย โดยไดเสนอแนวนโยบายให
การจัดการศึกษาปฐมวัยควรผานความเห็นชอบรับรองจากสภานติ ิบัญญัติอนุมัติใหมี การจัดการศึกษาปฐมวัย
ในหลายรูปแบบท้ังแบบเต็มวัน ศูนยพัฒนาเด็ก และโรงเรียนอนุบาล และกําหนดใหมีการจัดหองเรียนขนาด
เล็กควรมีนักเรียนประมาณ 17 คนตอหองเรียน เสนอใหรัฐบาลจัดสรรเงินลงทุนเพื่อการจัดการศึกษาปฐมวัย
ในระยะตาง ๆ ใหมีการวางแผนงบประมาณเพ่ือการพัฒนาเด็ก ใหสมาชิกนิติบัญญัติมีการกําหนดแผนการ
พัฒนา และแผนการจัดการศึกษาสําหรบั เดก็ ใหมีการกําหนดนโยบายโดยหนวยงานทุกฝายรวมรับผิดชอบใน
การจัดการศึกษาเพ่ือเด็ก เสนอใหโรงเรียนท่ีจัดการศึกษาปฐมวัยตองคัดเลือกเด็กอยางนอย 35 เปอรเซ็นตให
เรียนฟรี ใหมีการจัดโครงการอาหารกลางวัน ใหกับโรงเรียนใน 501 เขต ใหมีการพัฒนาคุณภาพและจัด
โปรแกรมการเรยี นโดยใหเ ด็กสนุกกับการเรียนรู

76

จากการศึกษาเอกสาร งานวิจัยท่ีเกี่ยวของและแนวคิดที่เก่ียวกับแนวคิดการวิจัยเชิงนโยบายดังกลาว
สรุปไดวา การวิจัยเชิงนโยบายมี 4 ประเภท คือ การวิจัยพื้นฐาน (Basic Research) การวิจัยทางเทคนิค
(Technical Research) การวิเคราะหนโยบาย (Policy Analysis) และการวิจัยเชิงนโยบาย (Policy
Research) โดยการวิจัยเชิงนโยบายมีลักษณะสําคัญ คือ เปนพหุมิติ มองปญหาท่ีศึกษาดวยหลากหลายแงมุม
เปนเฉพาะกรณีและเชงิ ฐานราก ไมกําหนดเหตุและผลของปญหาตามทฤษฎีไวลวงหนาเพ่ือทดสอบสมมุติฐาน
ใหความสําคัญทั้งอดีต ปจจุบัน และอนาคต ไมกําหนดกรอบตัวแปรไวอยางตายตัว แตเปดกวางตออิทธิพล
และตัวแปรแทรกซอนตาง ๆ เปนการตอบสนองตอความตองการของผูใชผลงานวิจัยหรือแหลงทุนสนับสนุน
และแสดงคานิยมหรือแนวคิด สําหรับข้ันตอนการวิจัยเชิงนโยบาย ประกอบดวย ข้ันการกําหนดขอเสนอ
เชิงนโยบาย และข้ันการคาดคะเนความเปนไปไดของขอเสนอเชิงนโยบาย สําหรับการวิจัยในคร้ังน้ี จัดเปน
ประเภทการวิจัยเชิงนโยบาย (Policy Research) ทั้งน้ีเพ่ือเสนอแนวทาง และขอเสนอเชิงนโยบายการ
จดั การศกึ ษาในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 กรณศี ึกษา : สํานกั งานเขตพ้ืนที่
การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ในการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู และการดูแลชวยเหลือ
นักเรียนใหบรรลุวตั ถุประสงคของนโยบายได ซ่ึงใหความสําคัญทั้งอดีต ปจจุบัน และอนาคต ไมก ําหนดกรอบ
ตัวแปรไวอยางคงตัว จึงสามารถเพิ่มหรือตัดลดตัวแปรแทรกซอนตาง ๆ ไดในแตละข้ัน ของการวิจัย อีกท้ัง
การนํานโยบายไปปฏิบัติ น้ันข้ึนอยูกับปจจัยหลายประการ เชน สภาพแวดลอม ของนโยบาย ตัวนโยบาย
วิธีการท่ีสื่อสารนโยบายจากผูส่ังการถึงผูปฏิบัติการ พรอมทั้งการใหความรูแกคน ในหนวยงานผูปฏิบัติจน
บรรลวุ ัตถปุ ระสงคท ่ีตองการ

77

บทท่ี 3
วธิ ดี าํ เนนิ การวจิ ยั

การวิจัยครัง้ น้ี เปนการวิจัยเชิงนโยบายเพือ่ จัดทาํ ขอเสนอเชงิ นโยบายการจัดการศึกษาใน
สถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ระดับสํานกั งานเขต
พ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2 โดยแบง การดําเนินงานออกเปน 3 ขนั้ ตอน ดังน้ี

ขั้นท่ี 1 การวิเคราะหสภาพการจัดการศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ในสถานการณการแพรร ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVD - 19)
โดยผูวจิ ยั ดาํ เนินการสัมภาษณเชิงลึกครูผูสอนและผบู ริหารสถานศกึ ษา นําขอ มูลมาวเิ คราะห จดุ แขง็ จดุ ออน
โอกาส และอุปสรรค จัดทําเปนสารสนเทศการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ในเขตพื้นท่ีการศึกษา ดานการ
บริหารจัดการ การจัดการเรียนรู และการดูแลชวยเหลือนักเรียน แลวสรุปนําเสนอกรณีศึกษาของสถานศึกษา
ท่จี ัดการศกึ ษาโดดเดน และสถานศึกษาทมี่ ีปญหาอปุ สรรค

ข้ันที่ 2 การพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ในสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(COVD - 19)
โดยการประชุมระดมความคิด (Brainstorming) นําผลการวิเคราะหในขั้นท่ี 1 มาประชุมระดมความคิดของ
คณะวิจัย นักวิชาการ ผูบริหาร และครูผูเกี่ยวของ เพ่ือกําหนดแนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาถานศึกษา
ทกุ ลกั ษณะ ในดา นการบรหิ ารจัดการเรียนรู และการดูแลชวยเหลือนกั เรียน

ขั้นท่ี 3 การจัดทําขอเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในระดับสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019(COVD - 19)
โดยการสัมมนาอิงผูเช่ียวชาญ (Connoisseurship) จากผูเชี่ยวชาญดานการจัดทําแผนและนโยบาย
ดานหลักสูตรและการจัตการเรียน ดานเทคโนโลยีทางการศึกษา ดานการวัดประเมินผลและดานการพัฒนา
นวัตกรรมการเรียนรู เพ่ือจัดทําขอเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณการแพรระบาดของโรค
ติตเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 COVD - 19 ในระดับสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2
ใหเปนโครงการหรือแผนงานยอยที่มีลักษณะเฉพะเจาะจงของหลักการเหตุผล วัตถุประสงค กลยุทธการ
ดําเนนิ งาน งบประมาณ และผลที่คาดวา จะไดร ับผูวิจัยไดสรุปข้ันตอนในการดําเนินการวิจัย ดงั ตารางท่ี 3.1

78

ตารางท่ี 3.1 การวิจัยเชิงนโยบายเพ่ือจัดทําขอเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณการแพร
ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ระดับสํานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2

ขน้ั ตอน ผูวิจัยและผมู ี วิธีดําเนินการ ผลท่ีไดรับ

สวนรวม

ขน้ั ท่ี 1 การ 1. คณะผูวิจัย สมั ภาษณเชิงลึกกลุมผูใหขอมูล เพื่อนาํ สภาพการจัดการศึกษา

วเิ คราะหสภาพ 2. ผบู รหิ าร ขอมูลมาวเิ คราะหจ ุดแขง็ จุดออน โอกาส ของสถานศึกษาในสถาน

การจัด สถานศึกษา และอุปสรรค สรุปเปนขอ สารสนเทศใน การณก ารแพรร ะบาดของ

การศึกษาของ และครูผูสอน ดานการบริหารจัดการ ดานการจัดการ โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา

สถานศึกษา เรียนรู และดา นการดูแลชวยเหลอื 2019 (COVID - 19)

นกั เรยี น แลวสรุปนาํ เสนอ กรณศี กึ ษา

ของสถานศึกษาและสถานศึกษาทีม่ ี

ปญ หาอปุ สรรค

ขน้ั ท่ี 2 การ 1. คณะผูวิจัย ประชุมระดมความคิด (Brainstorming) แนวทางการจัดการศึกษา

พฒั นาแนว 2. นกั วชิ าการ นาํ ผลการ วเิ คราะห ใ นตอนท่ี 1 ของสถานศกึ ษาในสถาน

ทางการจัดการ ผูบรหิ าร มาประชุม ระดมความคิด เพื่อกําหนด การณการแพรระบาดของ

ศึกษาของ สถานศึกษา แนวทางการจัดการศึกษาเพอ่ื พัฒนา โรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา

สถานศึกษา และครูผูสอน สถานศึกษา 2019 (COVID - 19)

ขั้นท่ี 3 การ 1. คณะผูวจิ ยั การสัมมนาอิงผเู ช่ียวชาญ ขอเสนอเชงิ นโยบาย

จัดทําขอเสนอ 2. ผเู ช่ียวชาญ (Connoisseurship) เพือ่ จัดทําขอเสนอ การจัดการศึกษาใน

เชิงนโยบายการ เชงิ นโยบายการจัดการศึกษาในสถาน สถานการณการแพร

จดั การศกึ ษา การณก ารแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส ระบาดของโรคติดเชื้อ

ในระดบั โคโรนา 2019 (COVID - 19) ในระดบั ไวรัสโคโรนา 2019

สาํ นกั งานเขต สาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา (COVID - 19) ในระดบั

พื้นทก่ี ารศกึ ษา ประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2 สาํ นักงานเขตพื้นท่ี

การศึกษาประถมศกึ ษา

ศรีสะเกษ เขต 2

ผูวิจัยไดดําเนินการวิจัยเรื่องการวิจัยเชิงนโยบายเพ่ือจัดทําขอเสนอเชิงนโยบายการจัด การศึกษา
ในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ระดับสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2 มรี ายละเอียดแตละข้ันตอน ดังนี้

79

ข้นั ท่ี 1 การวเิ คราะหส ภาพการจดั การศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสํานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2 ในสถานการณการแพรระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา
2019 (COVID - 19)

การวิเคราะหสภาพการจดั การศกึ ษาในสถานศึกษาสงั กัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ศรสี ะเกษ เขต 2 ในสถานการณก ารแพรระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ผูวิจัยได
ดําเนินการดังน้ี

กลุมผใู หขอ มูลทใี่ ชใ นการวิเคราะหส ภาพการจัดการศกึ ษาในสถานศึกษาสังกัด สํานักงานเขต
พน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษา

กลุมผูใหขอมูลท่ีใชในการวิเคราะหสภาพการจัดการศึกษาในสถานศึกษาสังกัด สํานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 เปนผูบริหารสถานศึกษา จํานวน 179 คน และ ครูผูสอน จํานวน
179 คน รวมทัง้ สน้ิ จาํ นวน 358 คน รายละเอยี ดดังน้ี

1. ผบู รหิ ารสถานศกึ ษาในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษา
ศรีสะเกษ เขต 2 ที่เปนกลุมเปาหมายสถานศึกษากลุมตนแบบ จํานวน 12 คน โดยเลือกแบบเจาะจง
(Purposive Sampling) เปน กลมุ ผใู หขอ มูลสถานศึกษาละ 1 คน ตามคุณสมบตั ิไว ดังนี้

1.1 สถานศกึ ษาขนาดเล็ก จาํ นวน 5 คน
1.2 สถานศึกษาขนาดกลาง จํานวน 3 คน
1.3 สถานศึกษาขนาดใหญ จํานวน 1 คน
1.4 โรงเรยี นคุณภาพระดบั ประถมศกึ ษา จํานวน 1 คน
1.5 สถานศกึ ษาที่ใชพ ้ืนที่เปนสถานทก่ี ักตวั จํานวน 1 คน
1.6 สถานศกึ ษาทใ่ี ชพื้นทเี่ ปนสถานทพี่ กั คอย จาํ นวน 1 คน
2. ครูผูสอนในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2
กลุมเปาหมายสถานศึกษากลุมตนแบบ จํานวน 37 คน โดยเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling)
เปนกลมุ ผใู หข อ มูลระดับชวงช้ันละ 1 คน ตามคณุ สมบัตทิ ่ีกําหนดไวดงั นี้
2.1 ครูผูสอนในสถานศึกษาขนาดเล็ก จํานวน 9 คน ไดแก ระดับปฐมวัย
จํานวน 3 คน ประถมศึกษาตอนตน จาํ นวน 3 คน และประถมศึกษาตอนปลาย จํานวน 3 คน
2.2 ครูผูสอนในสถานศึกษาขนาดกลาง จํานวน 12 คน ไดแก ระดับปฐมวัย
จํานวน 3 คน ประถมศึกษาตอนตน จํานวน 3 คน ประถมศึกษาตอนปลาย จํานวน 3 คน และระดับ
มธั ยมศกึ ษาตอนตน จาํ นวน 3 คน
2.3 ครผู ูสอนในสถานศึกษาขนาดใหญ จํานวน 4 คน ไดแ ก ระดับปฐมวัย
จํานวน 1 คน ประถมศึกษาตอนตน จํานวน 1 คน ประถมศึกษาตอนปลาย จํานวน 1 คน และระดับ
มัธยมศกึ ษาตอนตน จํานวน 1 คน
2.4 ครูผูสอนในโรงเรียนคุณภาพชุมชน จํานวน 4 คน ไดแก ระดับปฐมวัย
จํานวน 1 คน ประถมศึกษาตอนตน จํานวน 1 คน ประถมศึกษาตอนปลาย จํานวน 1 คน และระดับ
มัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 1 คน

80

2.5 ครผู ูสอนในสถานศึกษาท่ีใชพืน้ ท่เี ปนสถานที่กกั ตัวและสถานทีพ่ ักคอย
จํานวน 8 คน ไดแ ก ระดับปฐมวัย จํานวน 2 คน ระดับประถมศกึ ษาตอนตน จํานวน 2 คน ระดบั
ประถมศึกษาตอนปลาย จาํ นวน 2 คน และระดบั มัธยมศึกษาตอนตน จาํ นวน 2 คน

2. ผูบ ริหารสถานศกึ ษาในสถานศกึ ษาสงั กัดสํานักงานเขคพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา
ศรีสะเกษ เขต 2 จํานวน 179 คน โดยเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เปนกลุมผูใหขอมูล
สถานศกึ ษาละ 1 คน

4. ครูสอนในสถานศึกษา สงั กัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2
เปนกลุมผูใหขอมูล จํานวน 142 คน โดยใชเกณฑของ Har, Black. Bartin,Anders on & Tathem (2010)
โดยกําหนดตัวอยา งแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Random
Sampling)

เคร่ืองมอื ทใ่ี ชในการวิจัย แบงเปน 3 ฉบับ ประกอบดวย
1 . แบบสัมภาษณเ ชงิ ลึกผบู รหิ ารสถานศกึ ษา ดา นการบริหารจัดการ ดานการจัดการเรียนรู
และดานการดแู ลชวยเหลอื นักเรยี น จํานวน 1 ฉบับ
2. แบบสมั ภาษณเชิงลึกครูผูสอน ดานการจัดการเรียนรู และดานการดูแลชวยเหลอื นักเรียน
จาํ นวน 1 ฉบับ
3 . แบบวิเคราะห จุดแข็ง จุดออน โอกาส และอุปสรรค ดานการบริหารจัดการ ดานการจัดการ
เรียนรู และดานการดูแลชวยเหลือนกั เรียน จํานวน 1 ฉบับ
การสรางและหาประสทิ ธภิ าพของเครอ่ื งมือท่ใี ชใ นการวิจยั

โดยผูวิจัยดําเนินการ ดังนี้
1. ศกึ ษาเอกสาร แนวคดิ และทฤษฎที ่ีเกย่ี วของกับการสรางแบบสมั ภาษณเ ชิงลึก
2. กําหนดกรอบโครงสรางและประเด็นความคิดเห็นเกี่ยวกับรางแบบสัมภาษณเชิงลึก
ในประเด็นดานการบริหารจัดการ ดานการจัดการเรียนรู และดานการดูแลชวยเหลือนักเรียนของสถานศึกษา
ลักษณะตาง ๆ
3. นํารางแบบสัมภาษณดังกลาวเสนอตอผูเช่ียวชาญพิจารณาตรวจสอบความตรงเชิงเน้ือหา
(Content Validity) และความเที่ยง (Reliability) ปรับเปลี่ยนภาษาในขอที่ซํ้าซอน ปรับสํานวนภาษา
ใหกระชับ และจัดหมวดหมูข องสมรรถนะและตัวบงช้ี ซ่ึงผูเชี่ยวชาญในการตรวจสอบ คุณภาพเคร่ืองมือวิจัย
มคี ณุ สมบตั ิดงั นี้

3.1 ผเู ช่ียวชาญดานการบรหิ ารจัดการศึกษา จํานวน 2 คน ซ่ึงเปนผูบรหิ าร
สถานศึกษาหรือศกึ ษานเิ ทศก และยินดีใหค วามรวมมอื ในการวิจัย ดงั น้ี

3.1.1 นายชูชาติ ชัยวงศ ตําแหนง ผอู ํานวยการโรงเรียนบา นพงสิม
วิทยฐานะเช่ียวชาญ

3.1.2 นางรสรินทร ดาแกว ตําแหนง ผูอาํ นวยการโรงเรียนสระกําแพง
วทิ ยาคม วิทยฐานะเชี่ยวชาญ

81

3.2 ผเู ช่ียวชาญดา นการจัดการเรียนรูจํานวน 2 คน ซง่ึ เปนผบู ริหารสถานศึกษา
ครผู ูสอน หรอื ศึกษานเิ ทศกท่ีมีประสบการณในการจัดการเรยี นรู และยินดีใหค วามรวมมือในการวิจัย ดังน้ี

3.2.1 ดร.สมนึก แซอ้ึง ตําแหนงผูอาํ นวยการกลุมนเิ ทศ ติดตามและ
ประเมินผลการจัดการศึกษา ศึกษานเิ ทศก วิทยฐานะชาํ นาญการพเิ ศษ

3.2.2 ดร.นพรัตน ใจสวา ง ตําแหนงศึกษานิเทศก วิทยฐานะ
ชาํ นาญการพิเศษ

3.3 ผเู ช่ียวชาญดานการดแู ลชวยเหลือนักเรียน จํานวน 1 คน ซ่ึงเปน
ศกึ ษานิเทศกหรือครูผูสอน และยินดีใหค วามรวมมือในการวิจัย ดงั นี้

3.3.1 ดร.สัมฤทธ์ิ พรหมพทิ กั ษ ตําแหนง ศึกษานิเทศก วทิ ยฐานะ
ชาํ นาญการพิเศษ

4. ปรับปรุงแกไขแบบสัมภาษณตามขอเสนอแนะของผูเช่ียวชาญ และจัดทําเปนแบบ
สัมภาษณเชงิ ลกึ ฉบบั สมบรู ณเ พื่อนําไปใชเกบ็ รวบรวมขอมูลตอไป

การก็บรวบรวมชอมูล โดยผูวจิ ัยดําเนนิ การสัมภาษณเชิงลึกผูบ ริหารสถานศึกษา เก่ยี วกับการบรหิ าร
จัดการ การจัดการเรียนรู และการดูแลชวยเหลือนักเรียนและสัมภาษณเชิงลึก ครูผูสอนเก่ียวกับการจัดการ
เรียนรูและการดูแลชว ยเหลือนักเรียน จากนั้นคณะวิจัยรวมกนั วิเคราะห จุดแข็ง จดุ ออน โอกาส และอุปสรรค
ของการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู และการดูแลชวยเหลือ นักเรียนของสถานศึกษาในสังกัดสํานักงาน
เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 โดยจําแนกลักษณะสถานศึกษาเปนสถานศึกษาขนาดเล็ก
ขนาดกลาง ขนาดใหญ และสถานศึกษาท่ีใชพืน้ ที่สถานทก่ี ักตวั และสถานทพี่ ักคอย จากนั้นสรุปเปนกรณีศึกษา
ของสถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาโดดเดน และสถานศึกษาที่มีปญหาอุปสรรคตอการบริหารจัดการ การจัดการ
เรยี นรู และการดูแลชวยเหลือนกั เรียน

การวิเคราะหข อมูล ผูวิจัยดําเนินการดังน้ี
1. วิเคราะหขอมูลสถานศึกษาจากการสัมภาษณเชิงลึกมาจัดทําเปนสารสนเทศการจัดการศึกษา

ของสถานศึกษาในเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2 ดังน้ี
1.1 สภาพขอมูลพ้ืนฐานของสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา

ศรีสะเกษ เขต 2 ดานขนาด ลักษณะ และรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในสถานการณแพรระบาดของโรค
ติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 COVID - 19)

1 2 สภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม
ศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ตาม
ลักษณะของสถานศึกษา ในดานการบริหารจัดการ ดานการจัดการเรียนการสอนและดานการดูแลชวยเหลือ
นักเรียน

2. วิเคราะห จุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรค ดานการบริหารจัดการ ดานการจัดการเรียนรู
และดา นการดูแลชวยเหลอื นักเรียน ตามลกั ษณะของสถานศกึ ษา

82

ข้นั ท่ี 2 การพฒั นาแนวทางการจัดการศึกษาในสถานศึกษาสงั กดั สํานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา
ประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 2 ในสถานการณการแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา
2019 (COVID - 19)

การพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ศรีสะเกษ เขต 2 ในสถานการณก ารแพรระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
ผูวจิ ัยดําเนินการดังน้ี

กลุมเปาหมายในการพฒั นาแนวทางการจัดการศึกษาในสถานศึกษาสังกัด
สํานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ผูวิจัยไดกาํ หนดกลุมเปาหมายที่มีสว นเก่ียวของ
กับการพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาในสถานศึกษา ไดแก คณะผูวิจัย นักวิชาการ ตัวแทนผบู ริหาร
สถานศึกษา และตัวแทนครูผูสอน จาํ นวน 45 คน ไดมาจากการเลอื กแบบเจาะจง (Purposive Sampling)
แบง เปนดังนี้

1. คณะผูวิจัย จํานวน 37 คน ประกอบดวย
1.1 นายสรุ ภิ าศ สีหะวงษ ผอู ํานวยการสาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา

ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2
1.2 นางวรรณภา บุตรวงศ รองผูอาํ นวยการสาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา

ประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2
1.3 นายทรงวฒุ ิ ศรลอม รองผูอาํ นวยการสาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

ประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2
1.4 นางสาวณฏั ฐิกา สมบรู ณ ผอู ํานวยการหนวยตรวจสอบภายใน สํานักงาน

เขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2
1.5 นางลัดดาวัลย ศริ ิสวัสดิ์ ผอู าํ นวยการกลุมอํานวยการ สาํ นักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2
1.6 ดร.สมนึก แซอ้ึง ผอ.กลุมนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา

สาํ นกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2
1.7 นางลําไพ พลสงคราม ผูอํานวยการกลุมบรหิ ารงานบุคคล สาํ นักงานเขตพ้ืนที่

การศกึ ษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2
1.8 นางนารรี ัตน แกว ศรี ผูอํานวยการกลุมนโยบายและแผน สํานักงานเขตพ้ืนท่ี

การศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2
1.9 นางดาราวัลย สุรเิ ตอร ผอู ํานวยการกลมุ สง เสริมการจัดการศกึ ษา สาํ นักงาน

เขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2
1.10 นางสาวกมนรัตน ปญ ญา ผูอํานวยการกลุมบริหารการเงินและสินทรัพย

สํานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2
1.11 นายสมยงค บญุ พบ รักษาการผอู ํานวยการกลมุ สง เสริมการศึกษาทางไกลฯ

สํานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2

83

1.12 นางชนาพร พรหมคณุ รักษาการ ผูอาํ นวยการกลุมพัฒนาครูฯ สาํ นักงานเขต
พน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2

1.13 นายภาคีนัย อาจสาลี รกั ษาการ ผูอํานวยการกลมุ กฎหมายและคดี
สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2

1.14 นายสาํ ราญ สงวนบญุ ศึกษานเิ ทศก สาํ นักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา
ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 วทิ ยฐานะ ชํานาญการพเิ ศษ

1.15 ดร.นพรตั น ใจสวาง ศึกษานเิ ทศก สาํ นักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา
ประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2 วิทยฐานะ ชาํ นาญการพเิ ศษ

1.16 วา ท่รี อยตรีชาตรี ไชยโยธา ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 วทิ ยฐานะ ชาํ นาญการ

1.17 ดร.ลําใย สายโงน ศึกษานิเทศก สํานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษา
ศรีสะเกษ เขต 2 วิทยฐานะ ชํานาญการพเิ ศษ

1.18 นางสาวธนิฏฐา นธีนาม ศึกษานเิ ทศก สาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา
ประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2 วทิ ยฐานะ ชํานาญการ

1.19 นายนพรัตน บญุ หลา ศกึ ษานิเทศก สาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา
ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 วิทยฐานะ ชํานาญการ

1.20 นางไพยวรรณ มะโนรัตน ศึกษานิเทศก สาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 วทิ ยฐานะ ชาํ นาญการพิเศษ

1.21 นางอัมราภสั ร จันทะแสงโรจน ศึกษานเิ ทศก สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2 วทิ ยฐานะ ชํานาญการพเิ ศษ

1.22 วา ท่ีรอยตรี ดร.สัมฤทธ์ิ พรหมพทิ กั ษ ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2 วทิ ยฐานะ ชํานาญการพเิ ศษ

1.23 นางสาวอษุ ณีย ศรีคราม ศึกษานิเทศก สาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา
ประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2 วทิ ยฐานะ ชาํ นาญการพเิ ศษ

1.24 นางสาวกฤติยา คําเพราะ ศกึ ษานเิ ทศก สํานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 วทิ ยฐานะ ชาํ นาญการพเิ ศษ

1.25 นายชูชาติ ชัยวงศ ผูอํานวยการโรงเรียนบา นพงสิม วิทยฐานะเช่ียวชาญ
1.26 นางรสรินทร ดาแกว ผูอาํ นวยการโรงเรียนสระกําแพงวทิ ยาคม
วทิ ยฐานะเชี่ยวชาญ
1.27 นายชัยสิทธิ์ หลาธรรม ผอู ํานวยการโรงเรียนบานผอื วิทยฐานะ
ชํานาญการพเิ ศษ
1.28 นายมานิต ทองขอน ผูอาํ นวยการโรงเรียนอนบุ าลศิลาลาด วิทยฐานะ
ชาํ นาญการพเิ ศษ

84

1.29 ดร.ประหยัด กองแกว ผูอํานวยการโรงเรียนบา นสม ปอ ย(สม ปอยวิทยาเสรมิ )

วิทยฐานะชํานาญการพิเศษ

1.30 นายวฒั นา โคตรเนตร ผอู ํานวยการโรงเรียนบานพะวร วิทยฐานะ

ชํานาญการพิเศษ

1.31 นายวรี ะวัฒน ธรรมแสง ผอู าํ นวยการโรงเรยี นอนุบาลหวยทบั ทัน วทิ ยฐานะ

ชาํ นาญการพิเศษ

1.32 นางเนาวรัตน ไตรยงค ผอู าํ นวยการโรงเรยี นบานปะหละ วิทยฐานะ

ชาํ นาญการพิเศษ

1.33 ดร.ธญั ญรัตน บัวพันธ ผูอํานวยการโรงเรียนบานอีสรอย วทิ ยฐานะ

ชํานาญการพิเศษ

1.34 นายกา นแกว พันอินทร ผอู ํานวยการโรงเรียนบานเพยี มาต

(รฐั ราษฏรพ ทิ ยาคม) วทิ ยฐานะ ชํานาญการพิเศษ

1.35 นางวรัชยา ประจํา ผอู ํานวยการ.โรงเรียนอนบุ าลอทุ ุมพรพิสัย

วทิ ยฐานะ ชาํ นาญการพเิ ศษ

1.36 นายเวโรจน ทองเถาว ผูอํานวยการโรงเรียนบา นกระเดาอุมแสง

วทิ ยฐานะ ชํานาญการพเิ ศษ

1.37 นางนิภาดา มุกดาดี รองผูอํานวยการโรงเรียนอนุบาลอุทุมพรพสิ ัย

วิทยฐานะ ชํานาญการพเิ ศษ

2. นกั วิชาการ จํานวน 2 คน ประกอบดวย

2.1 นางดาราวัลย สุรเิ ตอร ตําแหนง ผูอาํ นวยการกลุมสงเสรมิ การจัดการศึกษา

สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2

2.2 นายวัชระ ศรีวิพันธุ ตาํ แหนงครู โรงเรยี นบานพะวร วิทยฐานะ

ชํานาญการพิเศษ

3. ผบู ริหารสถานศึกษาที่เปน ตัวแทนจากสถานศกึ ษาท้ัง 4 ลักษณะ คือ สถานศึกษา

ขนาดเล็ก สถานศึกษาขนาดกลาง สถานศกึ ษาขนาดใหญ และสถานศึกษาท่มี กี ารจัดการศึกษาแบบพเิ ศษ

จาํ นวน 4 คน ประกอบดว ย

3.1 นายวิจารย อาจสาลี ผูอํานวยการโรงเรียนบา นโคกหลาม วทิ ยฐานะ

ชํานาญการพิเศษ

3.2 นางราํ ไพ พวงคาํ ผอู ํานวยการโรงเรียนบานโคก วิทยฐานะชํานาญการพเิ ศษ

3.3 นางวรัชยา ประจาํ ผูอํานวยการโรงเรียนอนุบาลอุทมุ พรพิสัย วิทยฐานะ

ชํานาญการพิเศษ

3.4 นายพงษศ ักด์ิ ดาสันทัด ผอู ํานวยการโรงเรียนบานอห่ี ลา่ํ ฯ วิทยฐานะ

ชาํ นาญการพเิ ศษ

85

4. ครูผูสอนเปนตัวแทนจากสถานศึกษาทัง้ 4 ลกั ษณะ สถานศึกษาขนาดเล็ก
สถานศกึ ษาขนาดกลาง สถานศึกษาขนาดใหญ และสถานศึกษาท่ีมีการจัดการศึกษาแบบพเิ ศษ จาํ นวน 4 คน
ประกอบดวย

4.1 นางกองแกว ทองนํา ครูโรงเรยี นบา นปะหละ วิทยฐานะชาํ นาญการพิเศษ
4.2 นางธนิษฐา แจมศรี ครโู รงเรียนบานคูสระ วิทยฐานะชาํ นาญการพเิ ศษ
4.3 นางมณี ประดบั ศรี ครโู รงเรยี นบานเพียมาต(รฐั ราษฏรพทิ ยาคม)
วิทยฐานะชํานาญการพิเศษ
4.4 นายศริ ิชัย สงผัด ครูโรงเรียนบา นเสียว วิทยฐานะชาํ นาญการพิเศษ
เคร่ืองมอื ทใ่ี ชใ นการวิจยั ประกอบดวย
1. ประเด็นการประชุมระดมความคิดเก่ียวกับการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู และการดูแล
ชว ยเหลือนักเรียน
2. แบบวิเคราะหแนวทางการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสถานศึกษาทุกลักษณะในดานการบริหาร
จดั การ ดา นการจดั การเรียนรู และดา นการดูแลชวยเหลือนักเรียน
การเก็บรวบรวมขอมูล โดยนําผลการวิเคราะหขอมูลในขั้นที่ 1 มาใชเปนแนวทางประกอบการ
ประชุมระดมความคิด (Brainstorming) จากคณะวิจัย นักวิชาการ ผบู ริหารสถานศึกษาและครูผูสอน
เพื่อกําหนดแนวทางการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสถานศึกษา ทุกลักษณะ ในดานการบริหารจัดการ ดานการ
จดั การเรียนรู และดา นการดแู ลชว ยเหลือนักเรียน
การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยใชแบบวิเคราะหเน้ือหา (Content Analysis) โดยการวิเคราะหแนว
ทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสถานศึกษาทุกลักษณะ ในดานการบริหารจัดการ ดานการจัดการเรียนรู และ
ดา นการดูแลชว ยเหลือนักเรียน โดยใชแบบวิเคราะหแ นวทางการจัดการศกึ ษา

ข้นั ที่ 3 การจัดทําขอ เสนอเชิงนโยบายการจดั การศกึ ษาในระดบั สํานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2 ในสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา
2019 (COVID-19)

การจัดทําขอเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในระดับสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ศรสี ะเกษ เขต 2 ในสถานการณก ารแพรระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) โดยการ
สัมมนาองิ ผเู ช่ียวชาญ (Connoisseurship) ผูวิจัยดําเนินการดังน้ี

กลุมผเู ชี่ยวชาญท่ีใชในการจัดทําขอ เสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในระดบั สํานกั งาน
เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 จํานวน 40 คน ไดมาจากการเลือกแบบเจาะจง
(Purposive Sampling) จากผเู ชี่ยวชาญดา นตาง ๆ และยินดเี ขารวมการศึกษาวิจัย ในครงั้ นี้ แบง
เปน 5 ดา น ดังนี้

1. ดานการจัดทําแผนและนโยบาย จํานวน 8 คน ประกอบดวย
1.1 นายสรุ ภิ าศ สหี ะวงษ ผูอํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา

ศรสี ะเกษ เขต 2

86

1.2 ดร.ประหยัด กองแกว ผอู ํานวยการโรงเรียนบานสม ปอย(สมปอยวิทยาเสริม)
วิทยฐานะชาํ นาญการพเิ ศษ

1.3 นายมานิต ทองขอน ผูอํานวยการโรงเรียนอนบุ าลศิลาลาด วิทยฐานะ
ชาํ นาญการพิเศษ

1.4 นายวรี ะวัฒน ธรรมแสง ผูอ าํ นวยการโรงเรียนอนบุ าลหวยทบั ทัน วิทยฐานะ
ชาํ นาญการพิเศษ

1.5 นายวัฒนา โคตรเนตร ผูอํานวยการโรงเรียนบานพะวร วทิ ยฐานะ ชํานาญการพเิ ศษ
1.6 นางลําไพ พลสงคราม ผูอ ํานวยการกลุมบรหิ ารงานบคุ คล สาํ นักงานเขตพน้ื ที่
การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2
1.7 นางนารรี ัตน แกว ศรี ผูอาํ นวยการกลุมนโยบายและแผน สํานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา
ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2
1.8 นายนพรัตน บุญหลา ศึกษานเิ ทศก สาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ศรีสะเกษ เขต 2 วทิ ยฐานะ ชาํ นาญการ
2. ดานหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน จํานวน 7 คน ประกอบดวย
2.1 นายทรงวฒุ ิ ศรลอม รองผอู ํานวยการสาํ นกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ศรสี ะเกษ เขต 2
2.2 นางรสรินทร ดาแกว ผูอํานวยการโรงเรียนสระกําแพงวทิ ยาคม วิทยฐานะเช่ียวชาญ
2.3 นายสาํ ราญ สงวนบญุ ศึกษานเิ ทศก สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา
ศรสี ะเกษ เขต 2 วิทยฐานะ ชํานาญการพเิ ศษ
2.4 นางอมั ราภัสร จันทะแสงโรจน ศกึ ษานเิ ทศก สํานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา
ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 วทิ ยฐานะ ชํานาญการพิเศษ
2.5 นางไพยวรรณ มะโนรัตน ศกึ ษานิเทศก สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา
ศรสี ะเกษ เขต 2 วทิ ยฐานะ ชํานาญการพเิ ศษ
2.6 นางดาราวัลย สรุ เิ ตอร ผูอํานวยการกลุม สงเสริมการจัดการศึกษา สาํ นักงานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2
2.7 นางสาวกมนรัตน ปญญา ผอู าํ นวยการกลมุ บรหิ ารการเงินและสินทรพั ย สาํ นักงาน
เขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2
3. ดานเทคโนโลยที างการศึกษา จํานวน 8 คน ประกอบดว ย
3.1 นายวริ ัตน กะตะศิลา รองผูอํานวยการสาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ศรสี ะเกษ เขต 2
3.2 ดร.ชูชาติ ชัยวงศ ผอู าํ นวยการโรงเรยี นบานพงสมิ วทิ ยฐานะเชี่ยวชาญ
3.3 นายชัยสิทธิ์ หลาธรรม ผูอาํ นวยการโรงเรียนบานผือ วิทยฐานะชํานาญการพเิ ศษ
3.4 นายเวโรจน ทองเถาว ผอู ํานวยการโรงเรียนบา นกระเดาอมุ แสง วทิ ยฐานะ
ชาํ นาญการพิเศษ

87

3.5 นายสมยงค บุญพบ รกั ษาการผูอํานวยการกลมุ สงเสริมการศึกษาทางไกลฯ สํานกั งาน
เขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2

3.6 นายภาคีนัย อาจสาลี รักษาการ ผูอาํ นวยการกลุมกฎหมายและคดี สาํ นักงานเขตพน้ื ที่
การศกึ ษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2

3.7 นางสาวอุษณีย ศรีคราม ศึกษานิเทศก สาํ นักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา
ศรสี ะเกษ เขต 2 วทิ ยฐานะ ชํานาญการพิเศษ

3.8 นางสาวกฤติยา คําเพราะศกึ ษานเิ ทศก สํานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา
ศรสี ะเกษ เขต 2 วิทยฐานะ ชํานาญการพิเศษ

4. ดานการวดั และประเมินผล จาํ นวน 4 คน ประกอบดวย
4.1 นางสาวประไพรินทร นธีนาม รองผอู าํ นวยการสํานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา

ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2
4.2 นางเนาวรัตน ไตรยงค ผูอาํ นวยการโรงเรียนบา นปะหละ วิทยฐานะ ชาํ นาญการพิเศษ
4.3 ดร.ธัญรัตน บัวพันธ ผูอํานวยการโรงเรียนบานอีสรอย วทิ ยฐานะ ชาํ นาญการพเิ ศษ
4.4 นางลัดดาวัลย ศิริสวัสดิ์ ผูอ าํ นวยการกลมุ อาํ นวยการ สํานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2
4.5 นางณัฏฐิกา สมบูรณ ผอู ํานวยการหนวยตรวจสอบภายใน สาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา

ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2
4.6 นางชนาพร พรหมคุณ รกั ษาการผูอํานวยการกลมุ พฒั นาครูฯ สํานักงานเขตพนื้ ที่

การศกึ ษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2
4.7 ดร.สมนกึ แซอ้ึง ผูอาํ นวยการกลุม นเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา

สาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2
4.8 ดร.ลําใย สายโงน ศึกษานิเทศก สาํ นกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ

เขต 2 วิทยฐานะ ชาํ นาญการพเิ ศษ
5. ดานการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู จาํ นวน 7 คน ประกอบดวย
5.1 นายกานแกว พนั อินทร ผอู าํ นวยการโรงเรยี นบานเพียมาต(รัฐราษฏรพทิ ยาคม)

วิทยฐานะ ชํานาญการพเิ ศษ
5.2 นางวรัชยา ประจํา ผอู ํานวยการโรงเรียนอนุบาลอุทุมพรพสิ ัย วิทยฐานะ

ชํานาญการพิเศษ
5.3 นางนิภาดา มกุ ดาดี รองผูอ ํานวยการโรงเรียนอนุบาลอุทุมพรพสิ ัย วทิ ยฐานะ

ชํานาญการพิเศษ
5.4 ดร.นพรัตน ใจสวา ง ศึกษานเิ ทศก สาํ นกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา

ศรสี ะเกษ เขต 2 วิทยฐานะ ชํานาญการพิเศษ
5.5 วา ทร่ี อยตรี ดร.สมั ฤทธ์ิ พรหมพิทกั ษ ศึกษานิเทศก สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา

ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 วทิ ยฐานะ ชาํ นาญการพเิ ศษ

88

5.6 วา ทร่ี อยตรีชาตรี ไชยโยธา ศกึ ษานิเทศก สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ศรีสะเกษ เขต 2 วิทยฐานะ ชํานาญการ

5.7 นางสาวธนฏิ ฐา นธีนาม ศึกษานิเทศก สาํ นักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา
ศรสี ะเกษ เขต 2 วิทยฐานะ ชํานาญการ

เคร่ืองมือที่ใชใ นการวิจัย ประกอบดวย
1. แบบวิเคราะหผลการสมั มนาองิ ผเู ชี่ยวชาญ และขอเสนอเชิงนโยบายการจัด การศึกษา

ในสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ในระดับ สํานกั งานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2

การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยดําเนินการสัมมนาอิงผูเชี่ยวชาญ โดยมีผูเช่ียวชาญดานการจัดทําแผน
และนโยบาย ดา นหลักสูตรและการจัดการเรียน ดานเทคโนโลยีทางการศึกษา ดา นการวัดประเมินผล และ
ดานการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู เพ่ือจัดทําขอเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณการแพร
ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ในระดบั สาํ นกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ศรีสะเกษ เขต 2

การวเิ คราะหขอ มูล ผวู จิ ยั ใชแ บบวเิ คราะหเน้ือหา (Content Analysis) เพ่อื กําหนดขอ เสนอ
เชงิ นโยบายการจัดการศึกษาในการแพรร ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ในระดับ
สาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2 เปน โครงการหรือแผนงานยอยใหมลี ักษณะเฉพาะ
เจาะจงของหลักการเหตุผล วัตถุประสงคกลยุทธการดําเนินงาน งบประมาณ และผลที่คาดวา จะไดร ับ

89

บทที่ 4
ผลการวิเคราะหขอ มูล

การวจิ ัย เรอื่ ง ขอเสนอเชิงนโยบายการจดั การศกึ ษาในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชอ้ื
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19) สํานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2 ผูว ิจยั ได
นาํ เสนอผลการวเิ คราะหขอมูล ดงั น้ี

ผลการวิเคราะหขอมลู

ผูวจิ ยั ไดน าํ เสนอผลการวจิ ัยเปน 3 ตอน ดงั น้ี
ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะหสภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนลักษณะตาง ๆ ดานขอดี ขอเสีย
โอกาส อุปสรรค (SWOT) ในการบรหิ ารจดั การ การจดั การเรียนรู และการดูแลชวยเหลือนักเรียน
ตอนท่ี 2 ผลการพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาโรงเรียนทุกลักษณะในการบริหาร
จดั การ การจัดการเรียนรู และการดแู ลชวยเหลือนักเรยี น
ตอนที่ 3 ผลการจัดทําขอเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณการแพรระบาดของ
โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ในระดบั เขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2

ตอนท่ี 1 ผลการวิเคราะหสภาพการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นลักษณะตาง ๆ ดา นขอดี ขอเสยี โอกาส
อปุ สรรค (SWOT) ในการบรหิ ารจัดการ การจัดการเรยี นรู และการดแู ลชว ยเหลอื นกั เรียน

ตารางท่ี 4.1 จํานวนโรงเรยี นในสงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2

จําแนกตามขนาด ลกั ษณะโรงเรียน และรปู แบบการจัดการเรียนการสอน

ในสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19)

ท่ี ขนาด จํานวน ลักษณะโรงเรียน รูปแบบการจัดการเรยี นการสอน

โรงเรียน โรงเรยี น โรงเรยี น โรงเรยี น สนาม อน่ื On- On- On- On- On-
ท่ัวไป คุณภาพ พกั คอย ๆ Hand Line Demand Site Air

1 ขนาดเล็ก 117 111 0 6 0 31 25 0 75 2

2 ขนาดกลาง 61 60 1 0 0 13 11 0 19 1

3 ขนาดใหญ 1 1 0 0 0 1 1 1 0 0

รวม 179 172 1 6 0 45 37 1 94 3

จากตารางท่ี 4.1 พบวาโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ
เขต 2 จําแนกตามขนาด ลักษณะโรงเรียน และรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในสถานการณการแพร
ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19)

โดยภาพรวม โรงเรียนขนาดเล็ก จํานวน 117 แหง โรงเรียนขนาดกลาง 61 แหง และโรงเรียน
ขนาดใหญ 1 แหง สวนใหญจัดการเรียนการสอนแบบ On-Site จํานวน 94 แหง จัดการเรียนการสอน
แบบ On-Hand จํานวน 45 แหง จัดการเรียนการสอนแบบ On-Line จํานวน 37 แหง และ จัดการเรียน

90

การสอนแบบ On-Demand จํานวน 1 แหง โดยเปนรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน 3
รปู แบบ คอื On-Hand, On-Line และ On-Demand จํานวน 1 แหง

จาํ แนกตามขนาดและการจดั การเรียนการสอน ดงั นี้
โรงเรยี นขนาดเลก็ จํานวน 117 โรงเรยี น แบงเปนโรงเรยี นทั่วไป จาํ นวน 111 โรงเรียน เปนสนาม
พักคอย จํานวน 6 โรงเรียน โดยมีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ On-hand จํานวน 31 โรงเรียน
On-Line จาํ นวน 25 โรงเรยี น On-Site จํานวน 75 โรงเรียน และ On-Air จาํ นวน 2 โรงเรยี น
โรงเรียนขนาดกลาง จํานวน 61 โรงเรียน แบงเปนโรงเรียนท่ัวไป จํานวน 60 โรงเรียน เปน
โรงเรียนคุณภาพประจําชุมชน จํานวน 1 โรงเรียน โดยมีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ On-hand
จํานวน 13 โรงเรียน On-Line จํานวน 11 โรงเรียน On-Site จํานวน 19 โรงเรียน และ On-Air จํานวน
1 โรงเรียน
โรงเรียนขนาดใหญ จํานวน 1 โรงเรียน มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
3 รูปแบบ คอื On-Hand, On-Line และ On-Demand
2. ผลการวเิ คราะหส ภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนลักษณะตาง ๆ ดานขอดี ขอเสีย โอกาส
อุปสรรค (SWOT) ในการบรหิ ารจดั การ การจดั การเรยี นรู และการดแู ลชว ยเหลือนักเรยี น

2.1 ผลการวเิ คราะหสภาพการจัดการศึกษาของโรงเรยี น สังกัดสาํ นกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา
ประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2 ดานการบริหารจดั การ

จากการเก็บขอ มูลการวิจัย โดยใชเคร่ืองมอื การวิจยั กับกลุมตัวอยาง คือ สถานศึกษาในสังกัด
สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๒ ทั้งสามขนาด คือ ทั้งขนาดเล็ก ขนาดกลาง
และขนาดใหญ จํานวน 179 แหง ผลการวิเคราะหสภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน สังกัดสํานักงาน
เขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2 ดา นการบรหิ ารจดั การ สรปุ ผลดังนี้

M1 (Man) ดานบคุ คล การบริหารจดั การดา นบคุ คล ดําเนนิ การในภาพรวม ดงั นี้

1. สรา งความตระหนกั รว มกนั
การสรางความตระหนักรวมกัน ดําเนินการโดยการประชุมชี้แจงสรางความเขาใจกับคณะครู

บุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผูนําชุมชน หนวยงานสาธารณสุขในชุมชน
ผูปกครอง และนักเรียน เพื่อสรางการรับรู สรางความตระหนัก และรวมวางแผนหาแนวทางปองกัน
เก่ียวกับอันตรายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 การปรับแนวทางในการจัดการเรียนการสอนให
เหมาะสมกับสถานการณ ปจจุบนั การสงเสรมิ ใหค รูและบุคลากรสรางสรรคนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู
มีการพัฒนาตนเองอยางตอเน่ือง ทั้งนี้เพื่อใหเกิดคุณภาพและประโยชนสูงสุดตอพัฒนาการการเรียนรขู อง
ผเู รียน

2. วิเคราะหส ถานการณการแพรร ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019
การวิเคราะหสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ดําเนินการโดย

การศึกษาขอมูลทั่วไป วิเคราะหสถานการณการแพรระบาดของโรคเพ่ือหาแนวทางปองกันและแกปญหา
รวมกัน วิเคราะหตั้งแตสถานการณการระบาดท่ัวโลก ประเทศ ภูมิภาค จังหวัด เขตพื้นท่ี อําเภอ ตําบล
และเขตพ้ืนที่บริการของโรงเรียน วิเคราะหความพรอมของสถานศึกษาในการจัดการศึกษาในรูปแบบตาง ๆ
ความพรอมของครูผูสอนในการออกแบบการจัดการเรียนรูใหเหมาะสมกับสถานการณ วิเคราะหระบบ
การดแู ลนกั เรียนในสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรค และการรักษาความปลอดภยั ในสถานศึกษา


Click to View FlipBook Version