The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานวิจัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานวิจัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID)

รายงานวิจัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID)

91

3. วางแผนการดาํ เนินงานรว มกัน
การวางแผนการดําเนินงานรวมกัน ออกแบบและพัฒนากลยุทธในการเฝาระวังและปองกัน

การแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ออกแบบวิธีการจัดการเรียนรู การสรางสื่อการเรียน
การสอน สรางนวัตกรรมการเรียนรูที่เหมาะสมกับการพัฒนาคุณภาพผูเรียนภายใตสถานการณการแพร
ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 เพ่อื ใหสอดคลอ งกับบริบทสถานศึกษา และการจัดการสอนในแต
ละรปู แบบ

4. ดาํ เนินการ
การดําเนินการตามแผน โดยสงเสริมใหครูผูสอนออกแบบการจัดการเรียนรูดวยรูปแบบและ

วิธีการท่ีหลากหลาย มีการรวมกลุมกันทํางานและแบงปนประสบการณการจัดการเรียนรูสรางเปนชุมชน
การเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) นําขอมลู ทีว่ ิเคราะหไดจากกระบวนการ PLC มาวิเคราะหเ ปนแนวทางในการ
ออกแบบการจดั การเรยี นรู การสรางนวัตกรรมการจัดเรียนรู ใหเหมาะสมกับระดับช้ันหรอื วิชา/กลุมสาระ
การเรียนรูที่รับผิดชอบ ระดับความรูความสามารถของผูเรียน และมีการดําเนินการตามระบบดูแล
ชว ยเหลอื นักเรยี นอยางเปนระบบ เหมาะสม และเปนรูปธรรม

5. นเิ ทศ กาํ กับ ติดตาม ผลการปฏบิ ัตงิ าน
การนิเทศ กํากับ ติดตาม ผลการปฏิบัติงาน ดําเนินการโดยการจัดทําคูมือการนิเทศติดตาม

ผลการปฏิบัติงาน การจัดทําปฏิทินการนิเทศติดตาม โดยแตงต้ังผูบริหาร/ผูที่ไดรับมอบหมาย นิเทศ
กํากับ ติดตาม การดําเนนิ งานและการจัดการเรยี นการสอนอยางสมํ่าเสมอ นําผลการนเิ ทศมาเปนแนวทาง
ในการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนอยางเหมาะสม และจัดทําเปน รปู แบบรายงานผล ปญหา อปุ สรรค
และขอ เสนอแนะ เพอ่ื นําไปเผยแพรและวางแผนการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาตอไป

6. รายงานผลการดําเนนิ งาน
การรายงานผลการดําเนินงาน โดยมอบหมายใหครูผูรับผิดชอบกิจกรรมการเรียนรูแตละ

ระดับช้ัน แตละรายวิชา รายงานผลการจัดการเรียนรู ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะ เสนอผูบริหาร
ทราบเปนประจําทุกวันที่มีการจัดการเรียนรู ผูบริหารสถานศึกษาวิเคราะหและสรุปขอมูลผลการจัดการ
เรยี นรูรายงานไปยงั หนว ยงานตนสังกัด

ปญ หา/อปุ สรรค
การดําเนนิ งานดานบุคลากรพบปญหาอปุ สรรคบางประการ ดงั น้ี
การจัดการเรียนการสอนรูปแบบตาง ๆ บางครั้งตองใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีขั้นสูง ทําใหครู
บางทาน ไมสามารถดําเนินการจัดการเรียนรูไดตามแผนการสอนที่วางไว และดวยสถานการณการแพร
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 การดําเนินการพัฒนาครูและบุคลากรในดานการพัฒนาทักษะ
ความรู และแลกเปล่ียนประสบการณเพิ่มเติมในการจัดการเรียนรู ยังไมสามารถดําเนินการแบบ Onsite
ไดอยางเตม็ ท่ี เนื่องดวยความผันผวนของสถานการณ นอกจากน้ียังพบวาครูบางทานยังขาดทักษะ ความรู
และประสบการณในการจัดการเรียนรูรูปแบบตาง ๆ เพราะยังเปนรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ
ใหม การจัดการเรยี นรู การดูแลเอาใจใสนกั เรียนอาจยังไมท ่วั ถงึ และเหมาะสมเทา ที่ควร

M2 (Money) ดานงบประมาณ การบริหารจดั การดา นงบประมาณ ดาํ เนินการภาพรวม ดังนี้

1. สรางความตระหนักรวมกัน
การประชุมวางแผน ชี้แจง และเสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการดานงบประมาณ

สถานศึกษาในการดําเนินการใชจายงบประมาณในการบริหารจัดการทุกดานในชวงสถานการณการแพร

92

ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 เพื่อใหถูกตอง เหมาะสม เปนไปตามระเบียบ ฯ ของทางราชการ
และตามนโยบายของหนวยงานตนสงั กัด

2. วเิ คราะหส ถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
การวิเคราะหสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ดําเนินการโดย

วางแผน กําหนดแนวทาง วิธีการในการจัดสรรงบประมาณอยางเหมาะสมและท่ัวถึง โดยมุงเนนให
งบประมาณถูกนําไปใชเพื่อประโยชนสูงสุดตอตัวผูเรียนในทุกรูปแบบการจัดการเรียนรู บนพ้ืนฐานความ
ประหยัด คุมคา โปรงใส ตรวจสอบได ตามหลกั ธรรมาภบิ าล

3. วางแผนการดาํ เนินงานรวมกนั
การวางแผนการดําเนินงานรวมกันของคณะกรรมการในการจัดทําแผนงบประมาณประจําป

โดยจัดทําแผนการใชจายงบประมาณใหสอดคลองและเหมาะสมกับแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
แผนงานโครงการ/กจิ กรรมในแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ป

4. ดาํ เนินการตามแผน
การดําเนินการตามแผนดําเนินการตามข้ันตอนการเบิกจายงบประมาณ ในเรื่องโครงการ

อาหารกลางวนั โครงการอาหารเสริม (นม) และวสั ดุ อปุ กรณอื่น ๆ ในการจดั การเรยี นรูรปู แบบตา ง ๆ
5. นิเทศ กํากบั ติดตาม ผลการปฏิบัตงิ าน
การวางแผนนิเทศ กํากบั ติดตาม การดําเนนิ การตามปฏทิ ินการนิเทศ การใชจายงบประมาณ

เรื่องโครงการอาหารกลางวัน โครงการอาหารเสริม (นม) และวัสดุ อุปกรณอ่ืน ๆ ในการจัดการเรียนรู
รปู แบบตาง ๆ ใหเปน ไปตามระเบยี บและแนวปฏบิ ัตขิ องทางราชการ

6. รายงานผลการดําเนินงาน
ผรู บั ผิดชอบโครงการ/กจิ กรรม รายงานผลการใชจา ยงบประมาณเรอ่ื งโครงการอาหารกลางวัน

โครงการอาหารเสริม (นม) วัสดุ อุปกรณอื่น ๆ ในการจัดการเรียนรูรูปแบบตาง ๆ ใหเปนไปตามระเบียบ
และแนวปฏิบตั ิตอ ผบู ริหารสถานศึกษา และแนวปฏิบตั ขิ องทางราชการ

ปญหา/อปุ สรรค
การดาํ เนินงานดา นงบประมาณ พบปญหาอปุ สรรคบางประการ ดังน้ี
จากผลการวิเคราะหขอมูลการวิจัยพบวา งบประมาณไมเพียงพอตอการบริหารจัดการเพื่อพัฒนา
คุณภาพผูเรียนในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 การวางแผนจายเงิน
การติดตอประสานงานกับผูปกครองเพื่อมารับงบประมาณคาอาหารกลางวัน หรือเงินเยียวยาชวยเหลือ
จากรัฐบาล ผูปกครองบางทานไมสามารถเดินทางมารับเงินสดท่ีโรงเรียนได ทางโรงเรียนจึงใชวิธีการโอน
เงินผานระบบบัญชีธนาคาร แตก็ยังมีผูปกครองนักเรียนบางทานไมมีบัญชีธนาคาร โรงเรียนจึงตอง
ดําเนินการจายเงินในรูปแบบอื่น โดยการไปมอบเงินใหท่ีบานซ่ึงเปนภาวะเส่ียงสําหรับคณะครูที่ตองเดิน
ทางเขา ไปในชุมชน

M3 (Material) ดา นวสั ด/ุ อปุ กรณ การบริหารจดั การดานวสั ดุ/อุปกรณ ดาํ เนนิ การ ดงั นี้
1. สรา งความตระหนกั รวมกัน

การสรางความตระหนักรวมกันของทุกฝายท่ีเก่ียวของ โดยดําเนินการประชุมชี้แจงสรางความ
เขาใจกับคณะครู บุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผูปกครอง และนักเรียน

93

เพื่อใหการใชวัสดุอุปกรณใหเกิดความประหยัด คุมคา สะดวก เหมาะสม และเกิดประโยชนตอการพัฒนา
ทักษะและการเรียนรขู องผูเ รยี นมากทีส่ ุด

2. วิเคราะหส ถานการณการแพรร ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019
การวิเคราะหสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยวิเคราะห

สภาพปญหา อุปสรรค แนวทางการใชส ื่อและผลิตส่ือท่ีเหมาะสมกับระดับความสามารถของผูเรียน การใช
เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู การใชวัสดุอุปกรณในการจัดการเรียนรูใหเหมาะสมกับ
รปู แบบการจัดการเรยี นรูแบบตา ง ๆ ของสถานศึกษา

3. วางแผนการดําเนนิ งานรวมกัน
การวางแผนการดําเนินงานรวมกัน โดยสํารวจสภาพปจจุบัน สภาพปญหาและอุปสรรคที่พบ

จากการใชสือ่ และอุปกรณ ความตอ งการจาํ เปนในการใชวสั ดุ และการจัดสรรส่อื เทคโนโลยี วัสดุ อุปกรณ
ใหทั่วถึงโดยมุงเนนใหเกิดประโยชน มีความคุมคา และเหมาะสมกับการพัฒนาคุณภาพของผูเรียนมาก
ทีส่ ดุ ในสถานการณป จจุบนั

4. ดาํ เนนิ การตามแผน
การดําเนินการตามแผน โดยคํานึงถึงความความเหมาะสม ความตองการ ความจําเปนในการ

ใชส่ือ เทคโนโลยี วัสดุอุปกรณ และดําเนินการจัดสรรวัสดุอุปกรณตามแผนท่ีวางไว โดยเนนใหทั่วถึง เกิด
ประโยชน มีความคุมคา มากที่สุดตอการพัฒนาคณุ ภาพผเู รยี น

5. นิเทศ กาํ กบั ติดตาม ผลการปฏบิ ัติงาน
การนิเทศ กํากับ ติดตาม การใชส่ือ เทคโนโลยี วัสดุ อุปกรณ ในการจัดการเรียนรู ตามแผน

และปฏิทินการนิเทศใหเ ปนตามเปาหมายท่กี าํ หนด
6. รายงานผลการดาํ เนนิ งาน
ผรู ับผดิ ชอบโครงการ/กิจกรรม รายงานผลการใชสื่อ วสั ดุ อุปกรณ ในการจัดการเรียนรู เสนอ

ปญ หา อุปสรรค และขอ เสนอแนะใหเปนตามเปาหมายทก่ี าํ หนด
ปญหา/อปุ สรรค
การดําเนินงานดานวสั ดุ/อุปกรณ พบปญหาอุปสรรคบางประการ ดังน้ี
สื่อ เทคโนโลยี เครื่องมือในการติดตอส่ือสารท่ีจําเปนตอการเรียนของนักเรียนในสถานการณการ

แพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ในรูปแบบการเรียนตาง ๆ เชน โทรศัพท คอมพิวเตอร
โทรทัศน ระบบสัญญาณดาวเทียม เครือขายสัญญาณอินเทอรเน็ต ระบบยังขาดความเสถียรของสัญญาณ
สรา งความไมสะดวก ความไมพรอ ม และไมเพียงพอตอ ความตองการของผูเรยี น

M4 (Management) ดานการบริหารจัดการ การบริหารดานการบริหารจัดการ ดําเนินการ
ดงั นี้

1. สรางความตระหนกั รวมกัน
การสรางความตระหนัก รับรูรวมกัน โดยดําเนินการประชุมและวางแผน ช้ีแจงสรางความ

เขาใจ รวมกันระหวางโรงเรียนกับครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผูปกครอง และชุมชน
คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน หนวยงานอ่ืนที่เก่ียวของ เพื่อวางแผนการบริหารจัดการศึกษาที่
เหมาะสมในสถานการณเรงดวน ปฏิบัติตามมาตรการปองกันการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
2019 อยางเหมาะสม และมแี ผนในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาและพฒั นาคุณภาพผเู รยี นตอไป

94

2. วิเคราะหส ถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019
การวิเคราะหสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ดําเนินการโดย

การจัดทําประกาศ การเผยแพรขาวประชาสัมพันธ วารสารของหนวยงาน แจงขาวสารและแนวปฏิบัติ
โดยแจงทุกหนวยงาน ทุกฝายใหทราบและเขาใจตรงกันในชองทางตาง ๆ ท้ังชองทางปกติและชองทาง
ออนไลน เพื่อใหการดําเนินการปฏิบัติเปนไปในแนวทางเดียวกัน รวมท้ังการรายงานสถานการณเรงดวน
เมื่อเกิดเหตุการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในเขตพ้ืนท่ีบรกิ ารและพ้ืนที่ใกลเคียง
ของโรงเรียนตอหนวยงานตนสังกัด เพื่อใหตนสังกัดทราบและรวมกันหาแนวทางปองกันแกไขไดอยาง
ทันทว งที

3. วางแผนการดาํ เนนิ งานรว มกนั
การวางแผนการดําเนินงานรวมกัน ระหวาง ผูบริหาร คณะครู บุคลากร และผูเกี่ยวของ

ในการวางแผนและบริหารงานอยางเปนระบบ ประสานงานกับหนวยงานอ่ืน ๆ เพ่ือพัฒนาโรงเรียน
ตลอดจนพฒั นาระบบดูแลชวยเหลอื นกั เรยี นทีเ่ หมาะสมกบั สถานการณ สง เสริม สนับสนนุ ครแู ละบุคลากร
ใหมกี ารพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง และจัดหางบประมาณ วสั ดุอุปกรณเพ่ือนํามาใชในการพัฒนากิจกรรม
การเรยี นการสอนในโรงเรียนใหเกดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สุดตอการพฒั นาคุณภาพผูเรียน

4. ดําเนนิ การตามแผน
การดําเนินการตามแผน โดยเลง็ เห็นวาปจจยั การบริหารเปนตวั แปรสาํ คัญท่ชี วยใหส ถานศึกษา

พัฒนาไปในทิศทางท่ีตองการ โดยที่ผูปกครอง ชุมชนและคณะกรรมการสถานศึกษามีบทบาทสําคัญเปน
อยางมากตอการดําเนินงานหรือการจัดการบริหารใหมีความยืดหยุนตามสถานการณ โดยเนนการทํางาน
เปนทีม และมีเปาหมายรวมกัน โดยใชกระบวนการแลกเปล่ียนเรียนรูแกปญหาแบบ PLC และดําเนินการ
จดั ทําแผนการแกปญหาอยางเหมาะสมตามสถานการณ

5. นเิ ทศ กํากบั ติดตาม ผลการปฏบิ ตั งิ าน
รายงานผลการนิเทศ กํากบั ติดตาม อยา งเปนระบบ มีปฏิทินการนิเทศตดิ ตาม การนิเทศตาม

แผนการนิเทศ โดยการนิเทศในดานการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู และการดูแลชวยเหลือนักเรียน
ของโรงเรยี น

6. รายงานผลการดําเนนิ งาน
ครูผูรับผิดชอบการจัดการเรียนรูจัดทํารายงานผล ประเมินผล ปญหา อุปสรรค และ

ขอเสนอแนะ จากการจัดการเรียนการสอนทุกวัน และรายสัปดาห โดยเสนอผูบริหารทราบ ผูบริหาร
วเิ คราะห และสรปุ ผลการดาํ เนนิ กจิ กรรมเสนอหนวยงานตน สังกัด

ปญ หา/อุปสรรค
การดาํ เนนิ งานดานการบริหารจัดการ พบปญหาอุปสรรคบางประการ ดงั นี้
ความลาชาของระบบราชการ ท่ีมีข้ันตอนการทํางานซับซอน และใชเวลาในการดําเนินการท่ี
คอนขางนาน กลายเปนอุปสรรคสําคัญในการบริหารจัดการสถานศึกษาในสถานการณเรงดวน ในกรณีท่ี
โรงเรียนตองการใชงบประมาณและวัสดุอุปกรณในเวลาเรงดวน การดําเนินการในสวนของการจัดหา
ทรัพยากร การจัดซ้ือจัดจาง สงผลใหตองซ้ือวัสดุในราคาสูง เนื่องจากการจัดทําเอกสารมีกฎระเบียบไม
คลองตัว ตางจากภาคเอกชนกระบวนการในการจัดซ้ือจัดจางไมซับซอนทําใหสามารถบริการจัดการได
รวดเร็ว ทนั เวลา มคี ณุ ภาพ คุมคา และคุมราคากบั งบประมาณทีเ่ สยี ไปในการบริการ

2.2 ผลการวิเคราะหส ภาพการจดั การศึกษาของโรงเรียน สงั กัดสํานักงา
ตารางท่ี 4.2 ผลการวเิ คราะหส ภาพการจดั การศึกษาของโรงเรยี น ส

ดานการจัดการเรยี นรู

ท่ี

ขนาดโรงเรยี น S (Strengths) W (Wea

จุดแขง็ หรอื ขอดี จุดออ นห

1 โรงเรียนขนาดเลก็ 1. มีนักเรยี นนอ ยดา นการบริหาร 1. เนือ่ งจากทา

จัดการทั่วถึง ครเู ขาถงึ ตวั นกั เรยี น จดั การเรียนกา

แตล ะคน วันมาเรียน ในว

2. ครูมกี ารพฒั นารปู แบบในการ ตอ งเรียนที่บา น

จัดการเรยี นการสอนทหี่ ลากหลาย บางสวนขาดอุป

3. การจดั การเรยี นรูท ่ีผสมผสาน (โทรศัพท) ในก

ใหเหมาะสมกับบริบทแตละวิชา ออนไลน

4. มีความยืดหยนุ สําหรบั การจัดการ 2. ปญหาไมมีอ

เรยี นการสอนและความหลากหลาย ทางโรงเรียนขา

ในการวัดและประเมนิ ผล ชั้น

5. ผบู รหิ ารมคี วามเขม แขง็ เตรียม 3. ขาดผูบริหาร

ความพรอม ประสานงานกบั ชุมชน ตองทํางานสอง

และอาํ นวยความสะดวกในการ พรอ มๆกนั

ดาํ เนินงานทกุ ดา น

95

านเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2 ดา นการจดั การเรยี นรู
สงั กดั สํานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2

การจดั การเรยี นรู

aknesses) O (Opportunities) T (Threats)
อปุ สรรค
หรือขอเสยี โอกาส
1. นักเรียนสวนใหญอ ยกู บั ปูยา
างโรงเรียน 1. การจัดการเรยี นรูแ บบ on ตายาย
2. ขาดแคลนงบประมาณ
ารสอนแบบสลับ hand และ on air ทําให 3. ผปู กครองบางสวนขาด
ความรูความเขาใจในการ
วนั ท่นี กั เรียน นักเรยี นมคี วามรับผดิ ชอบมาก จัดการเรียนการสอน
4. ผเู รยี นทกุ คนมีความ
น นักเรยี น ขึ้น นกั เรยี น ครแู ละผูป กครอง แตกตาง พัฒนาการของ
นักเรียนไมเ ทา กนั
ปกรณ สามารถเรยี นรรู ว มกันได 5. โรงเรียนยงั ขาดเทคโนโลยีใน
การคัดกรองนักเรยี นให
การเรยี น 2. ผูปกครองและชมุ ชนเขาใจ ปลอดภัยจากโรคโควดิ 19
6. นักเรียนบางสว นขาด
ตอ สถานการณโรคตดิ ตอท่ี อปุ กรณการเรียนออนไลน

อินเทอรเ น็ต รุนแรง เปน ผลใหโรงเรยี นตอง

าดครู ครูไมครบ หยดุ เรยี น

3. ครู นกั เรียนไดปรบั ตวั ดาน

รทําใหครผู ูส อน ดํารงชีวิต ใหเ ขากับ

งอยา งไป สถานการณที่ไมมมี ากอ น

ท่ี ขนาดโรงเรียน

S (Strengths) W (Wea

จดุ แข็งหรือขอดี จุดออนห

6. คณะกรรมการการศึกษาขั้น 4. ครูไมตรงเอก

พื้นฐานมสี วนรวมวางแผนการจัด 5. มนี โยบายงา

การศึกษา สง ผลกระทบกับ

7. ชุมชนมรี ะบบการคดั กรองผเู ดนิ เรียนการสอน

ทางเขาออก และระบบการสง ตอ 6. โรงเรยี นยงั ข

เพอ่ื รับการกักตัวและสงตวั รักษาท่ดี ี หองปฏบิ ัตกิ าร

ชดั เจน เพียงพอตอจาํ น

8. โรงเรยี นมกี ารติดตามสถานการณ

ทุกระยะ และประสานกับภาคสวน

ของชมุ ชน ประชาสัมพนั ธไ ดโดยเรว็

2 โรงเรยี นขนาดกลาง 1. ครบู คุ ลากรไดรับวคั ซนี ครบทุกคน 1. ผูปกครองวิต

2. โรงเรยี นจัดการบรหิ ารงานเปน เกยี่ วกบั ความป

เอกเทศกําหนดวสิ ยั ทัศนพนั ธกิจ นักเรียน ทาํ ใหน

ชัดเจน ขาดเรยี น จงึ ทํา

3. คดั กรอง เวน ระยะหาง ลางมือ แกปญหาดวยก

บอ ย ๆ มีสถานท่ีบรกิ ารทุกจุดใน งาน และแบบฝ

สถานศกึ ษา นักเรียน

96

การจัดการเรยี นรู

aknesses) O (Opportunities) T (Threats)
อปุ สรรค
หรือขอเสยี โอกาส
7. ปญ หาทางดา นการเงินของ
ก 4.ระบบการติดตอสื่อสารกับ นักเรียนและการบรหิ ารจัดการ
เวลา กับการบา นหลายวชิ า
านเรงดว นบอย นักเรียนและผปู กครองมหี ลาย 8. ปญหาในเร่อื งความพรอม
ของอปุ กรณการเรียนแบบ
บการจดั การ ชองทางและรวดเรว็ ยิ่งขนึ้ ออนไลน
9. สัญญาณอนิ เตอรเนต็ และ
5. สภาพแวดลอ มของโรงเรยี น อุปกรณไมพรอ ม
10.ไมสามารถจดั การเรยี นรูได
ขาด ตั้งอยูใ นชมุ ชนที่แยกหา งกนั ตามที่วางแผนไว

รและอุปกรณไม จากหมบู า นอื่น สามารถ

นวนนักเรยี น ควบคุมบรหิ ารจดั การตดิ ตาม

นกั เรยี นไดงา ย

ตกกงั วล 1. มีการอบรมพฒั นาครูในการ 1.ยงั มีการแพรร ะบาดของโรค
ปลอดภัยของ จัดทํา สอ่ื นวัตกรรมในการ ในชมุ ชน
หนกั เรยี นบางคน จดั การเรียนการสอนออนไลน 2.นกั เรียนขาดแคลนอปุ กรณ
าใหครูผสู อน ทําใหครูไดเ รียนรูเ กย่ี วกบั การ และสญั ญาณอนิ เทอรเนต็ ใน
การจดั ทาํ ใบ ใชส อื่ สอื่ /application ใหมๆ การเรียนออนไลน
ฝกหัดให

ท่ี ขนาดโรงเรยี น

S (Strengths) W (Wea

จดุ แขง็ หรอื ขอดี จุดออ นห

4. โรงเรยี นมีโครงสรางการบริหารที่ 2. มผี ูปกครองเ

ชดั เจน มคี วามคลอ งตวั ในการ พืน้ ทเ่ี สยี งสูง

บรหิ าร 3. ปญ หาดานอ

5. โรงเรียนมีการวางแผนดาํ เนินการ อเิ ล็กทรอนิกส

จัดการศกึ ษาในชว งในสถานการณ 4. สัญญาณอิน

การแพรร ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โปรแกรมท่ใี ชส

โคโรนา 2019 อยา งเปน ระบบ แบบออนไลน ส

8. การทํา Google from ในการ อินเทอรเ น็ตที่ไ

สอบถามความพึงพอใจกับผปู กครอง การสอ่ื สารระห

เปน ระยะๆ เพ่ือนาํ มาปรับใชในการ การสอนไมต อเ

จัดการเรียนการสอน ราบรื่น

9. มีการจดั การเรียนรูท ี่ผสมผสาน 5.ปญหานกั เรยี

ใหเ หมาะสมกบั บริบทแตละวิชา คอมพิวเตอร เค

10.โรงเรียนเนน การทาํ งานเปนทมี ท่ใี ชในการเรียน

การมีสว นรวมจากทุกภาคสวน ดวย 6. สื่อสารทางเ

ความรว มมอื ของคณะกรรมการ 7. สภาพแวดล

สถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน เรียนไมคอยเออื้

97

การจดั การเรียนรู

aknesses) O (Opportunities) T (Threats)

หรือขอเสีย โอกาส อุปสรรค

เดินทางมาจาก 2. นกั เรยี นมและผูปกครองมี 3.นกั เรียนบริหารจดั การเวลา

การพฒั นาระบบการ ไมเปน ทาํ ใหก ารทําใบงานไม

อุปกรณ ติดตอส่อื สารหลากหลาย เสรจ็ ตามเวลาท่ีกาํ หนด

ชอ งทางและรวดเรว็ ย่งิ ขึ้น 4.การเรยี นออนไลนนกั เรียน

นเทอรเ นต็ และ 3. นักเรียนมีความตงั้ ใจเรยี น เขาเรียนจํานวนนอ ยมาก

สาํ หรบั การเรียน และครูมีการพัฒนาความรู 5. การจดั การเรยี นการสอน

สญั ญาณ ตอ เนือ่ ง ในชว งสถานการณการแพร

ไมเสถียรทํา ให 4. ชมุ ชน และรพ.สต.ท่เี ขมแขง็ ระบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา

หวางการเรยี น รวมมือกนั สอดสอ งดแู ล และ 2019 ไมเ ปน ตามแผนทีว่ างไว

เนือ่ งและไม ปอ งกนั เปนอยางดี 6. การบรหิ ารจัดการชั้นเรียน

5. ชมุ ชนใหความรวมมือในการ จํานวนครูไมเพียงพอตอจํานวน

ยนไมม ีโทรศัพท พัฒนาคุณภาพการศึกษาเปน หองเรยี น

ครือ่ งปรินเตอร อยางดี 7. ผูปกครองรายไดน อยไม

นแบบออนไลน 6. ผเู รียนเกิดกระบวนการคิด เพียงพอตอการสนบั สนนุ

เดียว แกปญหาไดอ ยางเปน ระบบ เทคโนโลยที ีจ่ าํ เปน ตอนักเรยี น

ลอ มดานอาคาร 7. องคก รปกครองสวนทองถิ่น 8. ไมส ามารถกาํ หนดทิศทาง

ออํานวย ใหก ารสนบั สนุน และเปา หมายทีแ่ นน อนได

ที่ ขนาดโรงเรยี น

S (Strengths) W (Wea

จดุ แข็งหรอื ขอดี จดุ ออ นห

3 โรงเรยี นขนาดใหญ 1. มกี ารประชมุ ช้ีแจง แนวทางการ 1. อินเทอรเน็ต

ดําเนินงาน จดั ทาํ ประกาศ เปนราย ที่ใชส าํ หรับการ

สัปดาห และมกี ารรายงานการ ออนไลน สัญญ

จัดการเรียนการสอนออนไลน แบบ อินเทอรเ น็ตท่ีไ

ผสมผสาน ทกุ วัน ตั้งแตเ วลา 16.30 การสือ่ สารระห

น. เปน รปู ภาพ ใบงาน คลิปวดิ ีโอ การสอนไมตอเ

สั้นๆ ราบรน่ื

2. มีการพฒั นารูปแบบการเรียนการ 2.ปญหาไมมีอ

สอนที่หลากหลาย การใชง านทาํ ให

3. มกี ารจัดการเรียนรทู ผี่ สมผสาน การบา นไมท ันเ

ใหเ หมาะสมกับบริบทแตล ะวิชา 3.ปญ หาการท

4. เปน การควบคุมการแพรร ะบาด ชนั ไลน (GGM)

ของเชื่อโรคไวรสั โคโรนา 2019 กิจกรรมการเรยี

5. ไดพ ฒั นารูปแบบการจดั การ นกั เรยี นบางคน

เรยี นรแู บบออนไลนท ห่ี ลากหลาย แอพลิเคชนั หรอื

จะอัพเดต หนว

โทรศพั ทมือถอื

การอัพเดตเวอ

98

การจัดการเรียนรู

aknesses) O (Opportunities) T (Threats)

หรือขอเสีย โอกาส อุปสรรค

ตและโปรแกรม 1.มีการอบรมพัฒนาครูในการ 1.ปญหาทางดานการเงินของ

รเรียนแบบ จัดทาํ ส่ือนวตั กรรมในการ นกั เรยี นและการบรหิ ารจดั การ

ญาณ จดั การเรียนการสอนออนไลน เวลากบั การบานหลายวชิ า

ไมเสถียรทาํ ให ทําใหครูไดเ รยี นรูเ กย่ี วกับการ 2.ปญหาในเร่อื งความพรอม

หวางการเรียน ใชส ื่อ/application ใหมๆ ของอุปกรณการเรียนแบบ

เนอ่ื งและไม 2.การดแู ลและการไดป รบั ตัว ออนไลนน ้ันเปน จํานวนนอย

ตามสถานการณรวู ิธีการดแู ล 3. สัญญาณอินเตอรเนต็ และ

อนิ เทอรเ น็ตใน ตวั เองในการปอ งกันตนเองจาก อปุ กรณไมพรอม

หเ รยี นและทํา โรคโควิด 19 4. การจดั การเรียนการสอน

เพื่อน 3.การไดรับการสนบั สนุนการ แบบ On line นักเรียนไม

ที่ใชแอพลเิ ค จดั การเรียนการสอน แบบ สามารถเขาเรียน ผาน Google

) ในการจดั ผสมผสาน จาก ผปู กครอง ใน meet ไดค รบทกุ คน เนอื่ งจาก

ยนการสอน การดแู ลการ ขอจํากดั ในการเขา เรียนไมเกิน

นไมไดอัพเดต เรยี นของนักเรยี นทบี่ า น 100 คน

อเม่ือตองการ 4. ไดรบั การเอาใจใสใ นการ 5. ไมส ามารถจัดการเรยี นรูได

วยความจําของ ดูแลนกั เรยี นจากผปู กครองใน ตามท่วี างแผนไว

อไมเ พียงพอใน การเรียนแบบออนไลน

อรช น่ั ลา สุด ผสมผสาน

ท่ี ขนาดโรงเรยี น

S (Strengths) W (Wea

จดุ แขง็ หรอื ขอดี จดุ ออ นห

6. มคี วามยดื หยุนสําหรับการจดั การ 4.ปญหานักเรีย

เรียนการสอนและความหลากหลาย คอมพิวเตอร เค

ในการวดั และประเมินผล เพื่อไมให ที่ใชในการเรยี น

เด็กเกดิ ความเครยี ด ส่ือสารทางเดีย

7. การทาํ Google from ในการ

สอบถามความพงึ พอใจกับผูปกครอง

เปนระยะๆ เพื่อนํามาปรับใชในการ

จดั การเรยี นการสอน

จากตารางที่ 4.2 พบวา จากการวเิ คราะห SWOT การวจิ ัยขอเสนอเชงิ นโยบ
(COVID – 19) ของสาํ นกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2 สรปุ ไ

ดา นจดุ แขง็ หรอื ขอดี ( S : Strengths)

โรงเรยี นขนาดเลก็ มนี ักเรยี นนอ ยดา นการบรหิ ารจัดการทั่วถงึ ครเู ขา ถึงตวั
การจัดการเรียนรูทีผ่ สมผสานใหเหมาะสมกับบรบิ ทแตล ะวิชา มีความยดื หยุนสาํ หรบั ก
ความเขม แขง็ เตรยี มความพรอม ประสานงานกับชมุ ชนและอํานวยความสะดวกในกา
การศึกษา ชมุ ชนมีระบบการคัดกรองผเู ดินทางเขา ออก และระบบการสง ตอเพื่อรับการ
ประสานกับภาคสวนของชุมชน ประชาสัมพันธไ ดโ ดยเรว็

โรงเรียนขนาดกลาง ครบู คุ ลากรไดรับวคั ซีนครบทุกคน โรงเรียนจดั การบรหิ
บอ ย ๆ มสี ถานท่บี รกิ ารทุกจุดในสถานศึกษา โรงเรยี นมีโครงสรา งการบริหารทช่ี ัดเจน
ชว งในสถานการณการแพรระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 อยางเปนระบบ

การจดั การเรยี นรู 99

aknesses) O (Opportunities) T (Threats)
อปุ สรรค
หรือขอเสยี โอกาส
6. ระบบเครือขายอาจมปี ญ หา
ยนไมมีโทรศัพท บา งในบางครั้งและความขาด
แคลนอปุ กรณของนักเรียนเอง
คร่อื งปร้นิ เตอร

นแบบออนไลน

ยว

บายการจดั การศกึ ษาในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
ไดดงั น้ี

วนักเรยี นแตละคน ครมู กี ารพัฒนารูปแบบในการจดั การเรียนการสอนทหี่ ลากหลาย
การจัดการเรยี นการสอนและความหลากหลายในการวัดและประเมนิ ผล ผูบรหิ ารมี
ารดําเนินงานทุกดาน คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานมสี วนรวมวางแผนการจัด
ารกักตัวและสง ตวั รักษาท่ีดี ชัดเจน โรงเรยี นมีการติดตามสถานการณท ุกระยะ และ

หารงานเปน เอกเทศกําหนดวสิ ยั ทัศนพันธกิจชัดเจน คัดกรอง เวนระยะหาง ลา งมอื
มีความคลอ งตัวในการบริหาร โรงเรยี นมีการวางแผนดําเนนิ การจดั การศึกษาใน
การทาํ Google from ในการสอบถามความพงึ พอใจกบั ผูปกครองเปนระยะๆ

เพอ่ื นํามาปรับใชในการจัดการเรยี นการสอน มกี ารจดั การเรียนรทู ี่ผสมผสาน ใหเ หมาะ
ทกุ ภาคสวนดวยความรวมมือของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

โรงเรยี นขนาดใหญ มกี ารประชุม ชีแ้ จง แนวทางการดําเนนิ งาน จดั ทาํ ประก
แบบผสมผสาน ทุกวัน ต้ังแตเวลา 16.30น. เปนรูปภาพ ใบงาน คลิปวดิ ีโอส้นั ๆ มกี า
ใหเ หมาะสมกับบรบิ ทแตล ะวิชา เปนการควบคมุ การแพรระบาดของเชื่อโรคไวรัสโคโร
มีความยืดหยุน สําหรับการจดั การเรยี นการสอนและความหลากหลายในการวดั และปร
ความพงึ พอใจกับผปู กครองเปนระยะๆ เพอื่ นํามาปรับใชใ นการจดั การเรียนการสอน

ดานจดุ ออ นหรือขอ เสีย (W : Weaknesses)

โรงเรยี นขนาดเลก็ เนื่องจากทางโรงเรียนจัดการเรียนการสอนแบบสลบั วนั มา
ในการเรียนออนไลน ปญ หาไมมอี ินเทอรเ น็ต โรงเรียนขาดครู ครไู มครบชั้น ขาดผบู ร
งานเรง ดว นบอย สง ผลกระทบกับการจดั การเรียนการสอน โรงเรียนยงั ขาดหอ งปฏบิ ตั

โรงเรยี นขนาดกลาง ผูป กครองวิตกกงั วลเกยี่ วกับความปลอดภยั ของนักเรยี น
และแบบฝกหดั ใหน กั เรยี น มผี ูปกครองเดนิ ทางมาจากพืน้ ทีเ่ สียงสงู ปญหาดา นอุปกรณ
ออนไลน สญั ญาณอนิ เทอรเน็ตทีไ่ มเ สถยี รทาํ ใหการสอ่ื สารระหวางการเรยี นการสอนไ
ที่ใชใ นการเรยี นแบบออนไลน สื่อสารทางเดยี ว สภาพแวดลอ มดา นอาคารเรียนไมคอ

โรงเรียนขนาดใหญ อนิ เทอรเน็ตและโปรแกรมทใ่ี ชส ําหรับการเรียนแบบออ
ไมต อเน่ืองและไมราบรื่น ปญหาไมมีอินเทอรเนต็ ในการใชง านทําใหเ รยี นและทาํ การบ
การสอน นกั เรยี นบางคนไมไ ดอพั เดตแอพลเิ คชนั หรือเม่ือตองการจะอัพเดต หนวยควา
โทรศัพท คอมพิวเตอร เครื่องปริน้ เตอรท ่ีใชใ นการเรยี นแบบออนไลนส อ่ื สารทางเดยี ว

ดา นโอกาส (O : Opportunities)

โรงเรยี นขนาดเล็ก การจดั การเรียนรแู บบ on hand และ on air ทําใหน ักเร
ผปู กครองและชมุ ชนเขาใจตอ สถานการณโรคติดตอที่รุนแรง เปนผลใหโ รงเรียนตอ งหย

100

ะสมกบั บรบิ ทแตละวิชา โรงเรียนเนน การทาํ งานเปน ทมี และการมสี วนรวมจาก

กาศ เปนรายสปั ดาห และมีการรายงานการจดั การเรยี นการสอนออนไลน
ารพัฒนารปู แบบการเรียนการสอนที่หลากหลาย มีการจดั การเรยี นรทู ีผ่ สมผสาน
รนา 2019 ไดพัฒนารปู แบบการจัดการเรยี นรแู บบออนไลนท ่ีหลากหลาย
ระเมินผล เพอื่ ไมใ หเด็กเกิดความเครยี ด การทํา Google from ในการสอบถาม

าเรียน ในวันท่ีนักเรียนตองเรียนทีบ่ าน นักเรยี นบางสวนขาดอุปกรณ(โทรศัพท)
ริหารทําใหครูผสู อนตองทํางานสองอยางไปพรอมๆกัน ครไู มต รงเอก มีนโยบาย
ติการและอปุ กรณไมเพียงพอตอจํานวนนกั เรียน
น ทําใหน ักเรียนบางคนขาดเรียน จึงทาํ ใหครผู ูสอนแกปญหาดวยการจดั ทําใบงาน
ณอเิ ลก็ ทรอนิกส สัญญาณอนิ เทอรเ น็ตและโปรแกรมที่ใชส าํ หรบั การเรยี นแบบ
ไมตอเนอ่ื งและไมราบรนื่ ปญหานกั เรยี นไมมีโทรศัพท คอมพวิ เตอร เคร่ืองปรนิ เตอร
อยเอ้ืออาํ นวย
อนไลน สัญญาณอินเทอรเ น็ตที่ไมเสถยี รทําใหก ารส่ือสารระหวา งการเรียนการสอน
บานไมทันเพอื่ น ปญ หาการท่ีใชแอพลเิ คชันไลน (GGM) ในการจัดกิจกรรมการเรยี น
ามจาํ ของโทรศพั ทมือถือไมเพียงพอในการอพั เดตเวอรช่ันลา สุด ปญหานกั เรยี นไมมี

รียนมีความรับผิดชอบมากขึน้ นักเรียน ครูและผปู กครองสามารถเรยี นรูรวมกันได
ยุดเรียน ครู นกั เรยี นไดป รบั ตัวดานดาํ รงชีวิต ใหเขากบั สถานการณท ่ีไมมีมากอน

ระบบการติดตอสื่อสารกับนักเรยี นและผูปกครองมหี ลายชอ งทางและรวดเรว็ ยงิ่ ขึ้น ส
ควบคุมบริหารจัดการติดตามนักเรียนไดง าย

โรงเรยี นขนาดกลาง มีการอบรมพฒั นาครใู นการจัดทาํ สอ่ื นวตั กรรมในการ
ใหมๆ 2. นักเรยี นมและผูป กครองมีการพัฒนาระบบการตดิ ตอ สอ่ื สารหลากหลายชองท
ชุมชน และรพ.สต.ทเี่ ขมแขง็ รวมมือกันสอดสองดูแล และปองกนั เปน อยางดี ชุมชนให
แกป ญหาไดอยางเปนระบบ องคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ ใหการสนบั สนนุ

โรงเรยี นขนาดใหญ มีการอบรมพัฒนาครูในการจัดทําส่อื นวตั กรรมในการจัด
การดูแลและการไดป รบั ตวั ตามสถานการณรวู ิธีการดแู ลตัวเองในการปอ งกันตนเองจาก
ผูปกครอง ในการดูแลการเรียนของนักเรียนที่บาน ไดรับการเอาใจใสใ นการดูแลนักเรยี

ดานอุปสรรค (T : Threats)

โรงเรยี นขนาดเลก็ นักเรียนสวนใหญอ ยกู ับปยู า ตายาย ขาดแคลนงบประมา
ทกุ คนมคี วามแตกตา ง พัฒนาการของนักเรยี นไมเ ทากนั โรงเรยี นยังขาดเทคโนโลยใี น
การเรยี นออนไลน ปญ หาทางดา นการเงินของนกั เรียนและการบริหารจดั การเวลา กบั
สญั ญาณอนิ เตอรเ นต็ และอปุ กรณไมพ รอม และมส ามารถจัดการเรยี นรไู ดต ามท่วี างแผ

โรงเรยี นขนาดกลาง ยงั มีการแพรระบาดของโรคในชมุ ชน นกั เรียนขาดแคล
เวลาไมเ ปน ทาํ ใหการทาํ ใบงานไมเสรจ็ ตามเวลาท่ีกาํ หนด การเรยี นออนไลนน ักเรยี นเข
ของเช้ือไวรสั โคโรนา2019 ไมเปนตามแผนท่ีวางไว การบริหารจดั การช้นั เรียน จาํ นวน
เทคโนโลยที ี่จาํ เปน ตอนักเรียน ไมสามารถกาํ หนดทิศทางและเปาหมายท่แี นนอนได

โรงเรียนขนาดใหญ ปญ หาทางดานการเงินของนกั เรียนและการบรหิ ารจดั ก
ออนไลนน นั้ เปน จํานวนนอย สัญญาณอินเตอรเ น็ต และอปุ กรณไ มพ รอม การจัดการ
ครบทุกคน เนอ่ื งจากขอจํากัด ในการเขา เรยี นไมเกิน 100 คน ไมส ามารถจดั การเรยี น
อุปกรณของนักเรียนเอง

101

สภาพแวดลอ มของโรงเรยี นตง้ั อยูในชมุ ชนท่แี ยกหา งกนั จากหมบู านอนื่ สามารถ

รจดั การเรียนการสอนออนไลน ทําใหครูไดเรยี นรูเกยี่ วกบั การใชสือ่ สื่อ /application
ทางและรวดเร็วย่ิงข้นึ นกั เรยี นมีความต้งั ใจเรยี นและครมู ีการพัฒนาความรูต อเน่ือง
ใหค วามรว มมือในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาเปนอยา งดี ผูเรยี นเกดิ กระบวนการคดิ

ดการเรยี นการสอนออนไลน ทําใหครูไดเ รยี นรเู ก่ยี วกับการใชสื่อ/application ใหมๆ
กโรคโควิด 19 การไดร ับการสนบั สนุนการจดั การเรียนการสอน แบบผสมผสาน จาก
ยนจากผูปกครองในการเรยี นแบบออนไลนผ สมผสาน

าณ ผูป กครองบางสวนขาดความรคู วามเขาใจในการจดั การเรียนการสอน ผูเรียน
นการคัดกรองนกั เรียนใหป ลอดภัยจากโรคโควดิ 19 นักเรียนบางสว นขาดอุปกรณ
บการบานหลายวิชา ปญ หาในเร่ืองความพรอมของอุปกรณก ารเรียนแบบออนไลน
ผนไว
ลนอปุ กรณแ ละสญั ญาณอินเทอรเนต็ ในการเรยี นออนไลน นกั เรยี นบริหารจัดการ
ขา เรียนจํานวนนอ ยมาก การจัดการเรยี นการสอนในชวงสถานการณการแพรร ะบาด
นครไู มเพยี งพอตอจาํ นวนหอ งเรียน ผูปกครองรายไดน อยไมเพียงพอตอการสนับสนนุ

การเวลากบั การบานหลายวิชา ปญ หาในเร่ืองความพรอมของอุปกรณก ารเรยี นแบบ
รเรียนการสอนแบบ On line นกั เรียนไมส ามารถเขาเรยี น ผาน Google meet ได
นรูไดต ามที่วางแผนไว ระบบเครือขา ยอาจมปี ญหาบางในบางครั้งและความขาดแคลน

102

2.3 ผลการวิเคราะหสภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ดานการดแู ลชว ยเหลือ

จากการเก็บขอมูลการวิจัย โดยใชเครื่องมือการวิจัยกับกลุมตัวอยาง คือโรงเรียนในสังกัด
สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๒ ท้ังสามขนาด คือ ทั้งขนาดเล็ก ขนาดกลาง
และขนาดใหญ จํานวน 179 โรงเรียน ผลการวิเคราะหสภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน สังกัด
สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2 ดานการดแู ลชวยเหลือ สรุปผลดังนี้

1. การจัดการเรียนรูท่ีโรงเรียนดําเนินการและการดูแลชวยเหลือนักเรียนในสถานการณ โควิดใน
ปจจุบัน เพียงพอและเหมาะสม ควรจะเพ่ิมมาตรการในการดูแลนักเรียนอยางเขมขน ในชวงการกลับมา
เรียน On site ที่โรงเรียน และในดานการเรียนการสอนทุกวิชา ในสัปดาหแรกในการเรียน On site ควร
จะสรปุ และทบทวนความรนู ักเรยี นท่ผี า นมา ในการเรียนแบบผสมผสาน

2. ชแี้ จงสรา งความเขา ใจกับผปู กครอง ในการทําใบงาน
3. ติดตามเยี่ยมบา นนักเรยี นเปน รายบคุ คล
4. สรา งแรงจงู ใจเชนใหรางวลั นการสง ใบงานตามเวลาที่กําหนด
5. ตดิ ตอสอ่ื สารตามชอ งทางตางๆตามความพรอมของนักเรียนและผปู กครอง
6. บริหารจัดการใหมีระบบการดแู ลชวยเหลอื นกั เรียนของสถานศกึ ษาใหมีประสิทธิภาพ
7. การดําเนินการดา นการชวยเหลอื นกั เรียนดา นการเรยี นรู หากนักเรยี นมปี ญ หาดา นการเรยี นรู
นักเรียนสามารถติดตอสอบถามคณุ ครูประจาํ วิชาคุณครปู ระจําชนั้ ไดต ลอดเวลา ไดหลายชองทางการ
สอ่ื สาร เชน messenger line และสามารถโทรสอบถามไดโ ดยตรง
8. คัดเลือกครใู หเหมาะสมกบั รายวชิ า
9. ครแู ละบคุ ลากรติดตามดูแลนกั เรียนอยา งตอเน่ือง
10. ประชมุ แตง ต้ังคณะทาํ งานพัฒนาชวยเหลอื
11. สนบั สนุนวสั ดุอปุ กรณส ือ่ การเรียนการสอน และอํานวยความสะดวก ใหกบั ครูผูสอน อยาง
เตม็ ท่ี
สอนตามตาราง สอนซอมเสริมในคาบสดุ ทาย
12. สรางความเขา ใจกับครู ผูปกครอง และนักเรียนในสถาณการณการการระบาดของเชอื้ ไวรัสโค
โรนา 2019 ( COVID – 19)
13. ผูบริหารสถานศึกษามีการจัดหลกั สูตรทองถิน่ ใหผ เู รยี นนําไปใชในชีวติ ประจาํ วนั ได ตลอดจน
จดั กจิ กรรมเสรมิ ดานคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
14. นาํ ผลการเรียนรมู าปรับปรงุ พฒั นา
15. มกี ําหนดการนิเทศติดตามระบบดูแลชวยเหลือใหเขม แข็ง
16. สรา งกลมุ ไลนในแตล ะช้ัน เพอื่ ตดิ ตอส่ือสารกัน
17. กระชับหลกั สูตร ปรบั ใหสอดคลองกับสถานการณโควิด-19 และสอ่ื สารใหผูเ กยี่ วของทกุ ภาค
สวนไดร บั รู หลกั สตู รการศกึ ษาพน้ื ฐานของไทยในปจจบุ นั เนนเน้อื หามาก ครจู ําเปน ตองใชเวลาเพ่ือสอนได
ครบถวน และไมเอ้อื ใหน ักเรียนมสี วนรว ม
18. เพ่มิ ความยืดหยุนของโครงสรา งเวลาเรียนและความหลากหลายของรูปแบบการเรยี นรู

103

19. ออกแบบหนวยการเรยี นรู และสอนอยางมแี ผนทีเ่ หมาะสม ในสถานการณที่เปลี่ยนไปครู
จะตอ งเตรียมความพรอมกอนการสอนแบบใหม

20. สรา งความเขา ใจใหก ับครูและบคุ ลากร ผปู กครอง นักเรียน ชุมชน ใหเขามามีสว นรวม
21. จัดการเรยี นการสอนแบบผสมผสานใหเหมาะสมกบั ชว งวยั ศกั ยภาพ และสถานการณ
Covid-19
22. มีการดูแลชว ยเหลือนกั เรยี นอยา งเขมงวดในชว งเปดการเรียนการสอนแบบ On – site และ
เพ่ิมมาตรการควบคุม Covid-19
23. ทบทวนพรอมสรุปเนื้อหาวชิ าทีผ่ านมาใหกับนกั เรียนกอนทจี่ ะทําการเรยี นการสอนแบบปกติ
24. ประชุมคณะครูและจดั กิจกรรม PLC ระหวา งผูบ ริหารและคณะครูประจาํ ชั้นเปน รายเดอื น
เพอ่ื หาแนวทางสนบั สนนุ และสง เสรมิ นกั เรียนดา นการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน
25. โรงเรียนจัดสรรงบประมาณสนบั สนนุ การจัดทําใบงาน เอกสารประกอบการเรียนและสอ่ื
ตา งๆ ในชวงเวลาการจดั การเรยี นการสอนในรูปแบบ On-hand
26. ชว ยเหลอื ดานใหใบงานเพ่มิ ความเรียนรู
27. ครเู ย่ียมบานนกั เรยี นเพื่อทาํ ความเขาใจการจัดการเรียนการสอน
28. มกี ารประชมุ วางแผนรว มกันในการชว ยเหลือนักเรียน และใหผ ูส อนดําเนินการสรางกลมุ
ผปู กครอง และนกั เรียน เพ่ือประชาสัมพนั ธข า วสาร
29. ดําเนนิ การดานการชว ยเหลือนักเรยี นดานการเรยี นรู ใหท กุ คนสามารถเรียนรไู ดเ หมาะสมกับ
สถานการณ
30. จดั ระบบดแู ลชว ยเหลือนักเรียน มอบหมายครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ใหด ูแลรับผิดชอบ
พบปะนักเรียน
31. ตดิ ตาม ตรวจ สอบ กาํ กับ ติดตาม ผเู รียนสม่ําเสมอ
32. สนับสนุนวสั ดอุ ปุ กรณสื่อการเรียนการสอน และอาํ นวยความสะดวก ใหกบั ครูผสู อน อยา ง
เตม็ ที่
33. จัดการคัดกรองนักเรียน เพือ่ ชวยเหลือ และจัดการเรยี นรูตามศกั ยภาพนกั เรียน
34. ต้งั คณะกรรมการดําเนนิ งาน มอบหมายหนาที่ ปฏิบตั กิ ารชวยเหลอื นักเรียนตามปญ หาท่ี
ปรากฏเหลือสงเสริมนักเรียนทม่ี ศี ักยภาพ
35. จดั หาทนุ การศึกษาจากองคก รภายนอกและหนวยงานอน่ื ระดมทนุ เพื่อพัฒนาอาคารสถานที่
และจัดหาอปุ กรณคอมพวิ เตอร และสอ่ื การเรยี นการสอนโดยการบริจาค
36. ประสานนักเรียน ผปู กครอง ครปู ระจาํ ชัน้ กาํ กบั ตดิ ตามชวยเหลอื เปนรายบคุ คล
37. มีระบบดูแลนักเรยี นและครูประจาํ ชัน้ รบั ผิดชอบติดตามดแู ลนักเรยี นมีการรายงาน
38. สง เสรมิ สนบั สนุน พัฒนา แกไขปญหานักเรียนที่ดอยโอกาส และนักเรยี นท่ีมปี ญญา
ครอบครัว
39. การสง เสริม พัฒนา ปองกนั และแกไขปญหา เพื่อใหน กั เรียนไดพัฒนาเตม็ ศกั ยภาพ
มคี ณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค มีภูมคิ ุมกันทางจิตใจท่เี ขมแข็ง คณุ ภาพชีวิตท่ดี ี มที ักษะในการดํารงชีวติ
40. ดําเนนิ การตามข้ันตอน รจู กั คดั กรอง สงเสรมิ ปองกัน แกไ ข และสงตอ

104

41. สรา งความตะหนักใหครูทุกคนและบคุ คลที่เก่ียวของเห็นคุณคา และความจําเปนของระบบ
การดูแลชวยเหลือนักเรยี น กําหนดโครงสรา งการบริหารระบบการดแู ลชวยเหลอื นกั เรยี นใหเหมาะสมกับ
สถานศกึ ษา

42. แตง ตงั้ คณะกรรมการในการดาํ เนินงานตามความเหมาะสม
43. ประชุมคณะกรรมการและกําหนดเกณฑจาํ แนกกลุมนักเรียน
44. สง เสริมใหครูทกุ คนและบุคคลที่เก่ียวขอ งไดรบั ความรูเพมิ่ เตมิ มีทักษะเกีย่ วกบั ระบบการดูแล
ชวยเหลือนักเรียนอยางตอเน่ือง
45. มีการสอนซอมเสริมเม่ือเปด On – site
46. มรี ะบบดูแลชวยเหลือนักเรยี น โดยครูประจาํ ช้ันติดตาม ดแู ล และรายงาน มีการสอนซอ มเสริม
กิจกรรมลดเวลาเรยี นเพิ่มเวลารู
47. การรจู กั นักเรยี นเปน รายบคุ คล ดา นการคัดกรองนักเรียน ดานการสงเสรมิ และพัฒนานกั เรียน
ดานการปองกันและชวยเหลือนักเรียน และดา นการสงตอนักเรียน
48. ใหครูผูส อนจัดการเรยี นรูแบบผสมผสาน การวดั ผลและประเมนิ ท่ีหลากหลายและยืดหยุน
ในชว งสถานการณการแพรระบาดของเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 เพื่อเปนการชวยเหลือนักเรียนในดาน
การเรยี นรู

ตอนที่ 2 ผลการพัฒนาแนวทางการจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาโรงเรยี นทกุ ลักษณะในการบรหิ ารจัดการ
การจัดการเรียนรู และการดูแลชว ยเหลือนักเรียน

1. การจัดการเรียนรูของสถานศึกษาที่ใชในสถานการณการแพรระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโค
โรนา 2019 ในชวงกอนเปดภาคเรียน

การจัดการเรียนรูของสถานศึกษาที่ใชในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา 2019 ใชรูปแบบการจัดการเรียนรู 6 รูปแบบหลัก คือ การเย่ียมบานนักเรียน มีเอกสาร ใบงาน
และใหคําแนะนํา (On hand), การเรียนท่ีโรงเรียน (On-Site), การจัดการเรียนรูผานออนไลน (Online),
การจัดการเรยี นรูผา นโทรทัศน เรียนผานมลู นธิ กิ ารศึกษาทางไกลผา นดาวเทียมในพระบรมราชูปถัมภ หรือ
DLTV (On-air), การเรียนผานแอปพลิเคช่ันตางๆ (On-Demand) และเรียนแบบผสมผสาน (Hybrid) ซึ่ง
สวนใหญใชการเย่ียมบานเปนหลัก โดยผสมผสานกับรูปแบบอ่ืน ๆ เชน รูปแบบการเย่ียมบานกับการ
จัดการเรียนรูผานโทรทัศนการเย่ียมบานกับ การจัดการเรียนรูผานออนไลน เปนตน โดยสถานศึกษาสวน
ใหญมีการ ดําเนินการวิเคราะหหลักสูตร/จัดทําโครงสรางหลักสูตรใหเหมาะสม การปรับแผนการจัดการ
เรียนรใู หเ หมาะสม สอดคลอ งกบั เน้ือหาและรปู แบบการจัดการเรียนรู การจัดลาํ ดับความสําคัญของเนื้อหา
ใหเหมาะสมกับรูปแบบการจัดการเรียนรู การเชื่อมโยงเน้ือหาใหเหมาะสมกับรูปแบบการจัดการเรียนรู
การนิเทศ กํากับ ติดตามการจัดการเรียนรูและการวัดและประเมินผล การเรียนรูมีการชีแ้ จงนโยบายใหครู
รับทราบ มีการอบรมใหความรูครู เสริมทักษะการจัดการเรียนรูเก่ียวกับการใช สื่อเทคโนโลยี และการ
สํารวจความพรอมของนักเรียน การปรับเนื้อหา/ กิจกรรมเสริมการเรียนรูใหสอดคลองกับรูปแบบการ
จัดการเรียนรู มีการใชใบความรู/ใบงานประกอบการเรียนรูและสอนเสริมใหกับผูเรียน กรณีการจัดการ
เรียนรูผานชองทางออนไลน มีใชการใชแพลตฟอรมตาง ๆ ในการจัดการเรียนรูใหกับผูเรียน เชน Google
Meet, Zoom, MST การใชส่ือ Social Media จนประสบผลสําเร็จเปนที่พึงพอใจตอตัวนักเรียน
ผูป กครอง และผมู สี ว นเกย่ี วของ

105

2. การจดั การเรยี นรขู องสถานศึกษาทใี่ ชใ นสถานการณการแพรร ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โค
โรนา 2019 ในชวงหลงั เปด ภาคเรียน

การจัดการเรียนรูของสถานศึกษาที่ใชในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 มีรูปแบบการจัดการเรียนรู ดังนี้ การจัดการเรียนรู ในช้ันเรียน (On-site) โดยผสมกับ
รปู แบบอน่ื ๆ คือ การจัดการเรียนรูผานโทรทัศน (On-air) การจัดการเรียนรูผา นออนไลน (On-line) การ
จัดการเรียนรู โดยการเย่ียมบาน (On-hand) การเรียนรูตามความตองการของนักเรียน (On-Demand)
โดยลักษณะการจัดการเรยี นรูอาจจะแตกตางกัน ตามสภาพพ้ืนที่ บริบทและความเสี่ยงในการติดเชือ้ โดย
ดําเนินการ ดังนี้ 1) ในพ้ืนท่ีท่ีไมมีความเส่ียงการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ใชรูปแบบ
การจัดการเรียนรูในลักษณะปกติแตมีการรักษาระยะหางและดําเนินการตามมาตรการปองกันของศูนย
บริหารสถานการณแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรือ สบค. มาตรการของกระทรวง
สาธารณสุข และมาตรการของรัฐบาล 2) สถานศึกษาขนาดใหญที่มีนักเรียนจํานวนมากใชวิธีการสลับวัน
เรียน โดยในวันท่ีนักเรียนไมไดมาเรียน ใชรูปแบบการจัดการเรียนรูผานออนไลน หรือการจัดการเรียนรู
ผานโทรทัศน 3) สถานศึกษาบางแหงใชการลดจํานวนนักเรียนในแตละหองซึ่งในบางหอง อาจใชการ
จัดการเรียนรูผานโทรทัศนและการจัดการเรียนรูผานออนไลน โดยสถานศึกษาสวนใหญมีการดําเนินการ
วเิ คราะหหลักสูตร/จัดทํา โครงสรา งหลักสูตรใหเหมาะสม การปรบั แผนการจดั การเรียนรใู ห สอดคลอ งกับ
เนื้อหาและรูปแบบการจัดการเรียนรูการจัดลําดับความ สําคัญของเนื้อหาใหเหมาะสมกับรูปแบบการ
จัดการเรียนรูการเชื่อมโยง เน้ือหาใหเหมาะสมกับรูปแบบการจัดการเรียนรูการนิเทศ กํากับ ติดตาม การ
จัดการเรียนรูและการวัดและประเมินผลการเรียนรูมีการเตรียม อาคารสถานท่ี และอุปกรณตาง ๆ กอน
เปด ภาคเรียนโดยเฉพาะในกรณีที่ ตองขยายเพ่มิ หองเรยี น การปรับเนือ้ หา การจัดกิจกรรมการเรียนรแู บบ
บูรณาการ การใชใบความรู/ใบงานประกอบการเรียนรู การจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู การลด
กิจกรรมเพ่ือหลีกเล่ียงการสัมผัสทางรางกาย เชน พลศึกษา การงานอาชีพ สําหรับ การจัดการเรียนรูผาน
ออนไลน มีใชการใชแพลตฟอรมตาง ๆ เชน Google Meet, Zoom, MST การใชส่ือ Social Media ใน
การจัดการเรียนรูในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 นอกจากน้ียังพบวา
สถานศึกษาบางแหงมีการปรับรูปแบบการวัดสอบประเมินผลการเรยี นรูผา นระบบออนไลน และมีการปรับ
รูปแบบวัดผลประเมินผลที่มีความหยืดหยุนและมีวิธีการท่ีหลายหลาย สนองนโยบายสํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน และนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ โดยยึดประโยชนของผูเรียนเปน
สาํ คญั

3. ผลกระทบของสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ท่ีมีตอการ
จัดการเรียนรู ในสถานศึกษาระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน จากผลการวิเคราะหขอ มลู เชิงคุณภาพ ดังน้ี

ผลกระทบทางบวก

ผลกระทบทางบวกตอการจัดการเรียนรูของสถานศึกษา พบวา 1) โรงเรียนมีการปรับเปลี่ยน
แผนและเปาหมายในการจัดการศึกษา 2) ปรับรูปแบบ วิธีการนิเทศ กํากับ ติดตาม และการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรูใหมใหเหมาะสมกับสถานการณ 3) มีการปรับปรุงระบบเครือขายสัญญาณ
อินเทอรเน็ต ใหมีคุณภาพสูงขึ้น และสถานศึกษาบางแหง/บางสังกัดไดรับงบประมาณ เพื่อการจัด
การศึกษามากข้ึน สถานศึกษาควรไดรับงบประมาณสนับสนุนการปรับปรุงระบบอินเทอรเน็ตและพัฒนา
ส่ือไอซีที 4) มีการปรบั ลดขนาดหองเรียน และ 5) มกี ารใชรูปแบบการจัดการเรยี นรู และเทคโนโลยีใหม ๆ

106

ทาํ ใหก ารจัดการเรียนรูนา สนใจย่ิงขึน้ และมีการใช วิธกี ารวัดและประเมินผลการเรียนรใู หม ๆ และมีความ
หลากหลายมากยิ่งข้ึน โดยเนนประโยชนของผูเรยี นเปนสําคญั

ผลกระทบทางบวกตอการปฏิบัติงานของผูบ รหิ ารและครพู บวา 1) ผูบริหารพัฒนาตนเองใหมี
ความรูและทักษะการบริหารสถานศึกษารูปแบบตาง ๆ 2) ผูบริหารและครูพัฒนาตนเองใหมีความรูและ
ทกั ษะการจัดการเรียนรรู ูปแบบตาง ๆ 3) ครเู รยี นรูและพัฒนาทกั ษะการใชเทคโนโลยเี พ่มิ ข้ึน 4) ครเู ปล่ียน
วิธีสอน วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรูใหเหมาะสม 5) ครูมีความกระตือรือรนในการปรับใชรูปแบบ
การจัดการเรียนรูใหม โดยใชเทคโนโลยี อยางตอเนื่อง 6) ครูมีความสามัคคีรวมมือและชวยเหลือกันมาก
ขึ้น และ 7) ครูไดรับความช่ืนชมจากผูปกครองมากขึ้น เนื่องจากผูปกครองรับรูถึง ความวิริยะอุตสาหะใน
การทาํ งานของครู

ผลกระทบทางบวกตอผูเรียน พบวา 1) นักเรียนมีเวลาอยูกับครอบครัวมากข้ึน 2) นักเรียนมี
ความกระตือรือรนและมีความรับผดิ ชอบตอการเรียนมากขึ้น 3) นักเรียนมี โอกาสไดพ ัฒนาการเรียนรูผาน
เทคโนโลยี 4) นักเรียนมีพฤติกรรม ใฝเรียนรูมากขึ้น 5) นักเรียนเปล่ียนพฤติกรรมการเรียนรูจากออนไลน
และ แหลงเรียนรูอ่ืน ๆ มากข้ึน 6) นักเรียนสามารถลดเวลาความเสี่ยงและคาใชจายในการเดินทางไป
โรงเรียน 7) นักเรียนมีความสงบและมีสมาธิในการเรียนมากข้ึน และ 8) การเรียนออนไลนหรือผานทีวี
สามารถลดคา ใชจายในการเดินทางและคาใชจายอ่ืน ๆ ชวยลดภาระคาใชจายของผูปกครองในดาน
สาธารณปู โภคตา ง ๆ

ผลกระทบทางบวกตอผปู กครองชุมชน และสังคม พบวา 1) ผูปกครองมีการตดิ ตอ สื่อสารเพื่อ
รับขาวสารจากสถานศึกษามากขึ้น 2) ชมุ ชนและทองถนิ่ สนบั สนุนงบประมาณ และใหความรวมมือและให
ความชว ยเหลือสถานศกึ ษามากข้ึน และ 3) ผูปกครอง เขาใจและมีความสัมพันธอนั ดกี บั สถานศึกษาดขี ้ึน

ผลกระทบทางลบ

ผลกระทบทางลบตอระบบการจัดการเรียนรูในสถานศึกษา พบวา 1) เครือขายอินเทอรเน็ต
และการสื่อสารไมเพียงพอ และสัญญาณไมเสถียร 2) สถานศึกษาสวนมากไมไดรับเงินงบประมาณ
สนับสนุนจากหนวยงานตนสังกัด ทั้งที่ชวงสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
สถานศึกษา มีคาใชจายเพ่ิมขึ้น 3) คุณภาพการจัดการเรียนรูของครูลดลง 4) อาคาร สถานท่ีเพื่อการ
จัดการเรียนรูไมเพียงพอ วัสดุอุปกรณเพื่อปองกันการแพรเช้ือโรคไมเพียงพอ และ 5) หนวยงานตนสังกัด
และหนวยงานอ่ืน ๆ ขอขอมูล จํานวนมากจากสถานศึกษาทําใหเปนภาระงานและกระทบตอเวลา ในการ
จดั การเรยี นการสอน

ผลกระทบทางลบตอการปฏิบัติงานของครู พบวา 1) ครูมีภาระงานในการจัดการเรียนรูและ
การดูแลนักเรียนมากขึ้น 2) ครูมีความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน 3) ครูมีความวิตกกังวลเก่ียวกับการจัดการ
เรยี นรูในรูปแบบใหม และผลการเรียนของนักเรียนจะตกตํ่าลง 4) ครูขาดขวัญกําลังใจในการจดั การเรียนรู
และการปฏิบตั งิ าน

ผลกระทบทางลบตอผูเรียน พบวา 1) นักเรียนตองปรับเวลา สถานท่ีและวิธีการเรียนใหม
2) นักเรียนมีความวติ กกังวลเก่ียวกับผลการเรียน 3) นักเรียนไดรับการฝก ทักษะการปฏิบัตินอยลงและไม
สามารถทํากิจกรรมการเรยี นรวมกับเพ่ือน และเสียโอกาสในการเรียนรูจากแหลงเรียนรูภายนอกและการ
เรียนจากการปฏิบัติจริง 4) นักเรียนและผูปกครองตองเสียคาใชจายในการเตรียม จัดหาวสั ดุ อุปกรณ ส่ือ
เทคโนโลยีและอินเทอรเน็ตเพ่ือการเรียนรู 5) การเรียนออนไลน ทําใหนักเรียนขาดความกระตือรือรน

107

ขาดความรับผิดชอบ และมีความกังวลตอผลการเรียน และ 6) นักเรียนเหนื่อยลา เน่ืองจากตองมีการ
เรยี นชดเชยเวลาทขี่ าดหายไป

ผลกระทบทางลบตอผูปกครอง และชุมชน พบวา 1) ผูปกครองมีภาระในการชวยเหลือ การ
เรียนรูของบุตรหลานเพิ่มข้ึน 2) ผูปกครองตองเสียคาใชจายเพ่ือสราง ความพรอมในการเรียนใหกับบุตร
หลาน และคาใชจ ายเพ่ือปอ งกันการตดิ โรค ใหกบั บุตรหลานเพ่ิมขึ้น 3) ผปู กครองตองหาความรเู พ่ิมเติมใน
บทเรียน และ การใชเทคโนโลยีเพื่อใหสามารถชวยเหลือสงเสริมการเรียนรูของบุตรหลาน 4) ผูปกครองมี
ภาวะตงึ เครียดที่ตอ งดูแลบตุ รหลานและวิตกกงั วลเกีย่ วกับ การเรียนของบุตรหลาน และ 5) ผูป กครองรสู ึก
วาตนเองเสียเวลาและ เสยี โอกาสในการประกอบอาชีพ

ตอนท่ี 3 ผลการจดั ทําขอเสนอเชิงนโยบายการจดั การศกึ ษาในสถานการณการแพรร ะบาดของโรค
ตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ในระดบั เขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา
ความคิดเห็นตอการจัดการเรียนรูในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา

2019 ของผูบริหารสถานศึกษา ครู นักเรียน ผูปกครอง และกรรมการสถานศึกษาสถานศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
จากผลการวิเคราะหข อมูลเชงิ ปริมาณและเชิงคณุ ภาพ ไดผ ลการวิจยั สรปุ ดงั น้ี

1. ความคดิ เห็นเก่ียวกับนโยบาย และการดําเนินงานของ รฐั และหนวยงานตนสังกัด
1.1 รัฐ/หนวยงานตน สังกดั มนี โยบายและมีการ สือ่ สารสรา งความเขา ใจเก่ียวกับการจัดการ

เรียนรูที่ชัดเจนตรงกัน ทันตอ สถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และ
หนวยงานตนสังกัดกําหนดนโยบายการจัดการเรียนรูโดยคํานึงถึงการปฏิบัติไดจริงตามบริบทของ
สถานศึกษา เน่ืองจาก นโยบายของรัฐบาลและหนวยงานตนสังกัด อาจไมเหมาะสมกับทุกบริบท ทําให
การปฏบิ ตั ิตามนโยบายบางเรื่องไมสามารถปฏิบตั ไิ ด

1.2 หนวยงานตนสังกัดสงเสริมสนับสนุนและให คําแนะนําสถานศึกษาในกรณีท่ีพบปญหา
หรืออุปสรรคเก่ียวกับการจัด การเรียนรูชวยเหลือและสนับสนุนดานวิชาการ เชน การนิเทศ สื่อ อุปกรณ
เครื่องมือ อยางไรก็ตาม มีขอมูลเพิ่มเติมวา หนวยงานตนสังกัด ไมไดใหการสนับสนุนสถานศึกษาอยาง
จริงจงั

2. ความคิดเห็นเกี่ยวกับผูบรหิ ารสถานศึกษาและการปฏิบัตงิ านของผบู รหิ ารสถานศึกษา
2.1 ผูบริหารสถานศึกษาสื่อสารสรางความเขาใจ เก่ียวกับนโยบาย/แนวทางการจัดการ

เรียนรูในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 การวัดผลประเมินผลการเรียนรูท่ี
เหมาะสมกับสถานการณ มีความหลากหลาย เหมาะสมกับระดับความรูความสามารถของผูเรียน ผูเรียน
ไดรบั ประโยชนสงู สดุ โดยมอบแนวทางใหแก ครู นกั เรยี น และผูป กครองอยา งชดั เจน

2.2 ผูบริหารสถานศึกษาบริหารจัดการครูและบุคลากรใหจัดการเรียนรูตามนโยบายได
สงเสรมิ ใหครูเรียนรูเ พมิ่ เติม เก่ยี วกับวิธกี ารจัดการเรียนรูม ีการนเิ ทศและสรางขวัญกาํ ลงั ใจแกครู

2.3 ผูบริหารสถานศึกษาเตรียมความพรอมให นักเรียนกอนการเรียนการสอนใน
สถานการณการแพรร ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 มีการจดั อาคาร สถานที่/จัดการช้ันเรียนใหมี
ความพรอม จัดหาส่ือ อุปกรณ เครื่องมือ สนับสนุนการเรียนรูไดอยางเพียงพอ และเรงจัดการเรียนรูตาม
มาตรการอยางทันทวงทีอยางไรก็ตามมีขอมูลบงชี้วา สถานศึกษาไมไดสนับสนุน อุปกรณส่ือ และ
เทคโนโลยใี หนักเรียนทข่ี าดความพรอ ม

108

3. ความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั ครูและการปฏิบัตงิ านของครู
3.1 ครูมีความเขาใจวิธีการและสามารถจัดการเรียนรู จัดการชั้นเรียนใหมีความพรอมและ

เหมาะสม ติดตามนกั เรียนใหไดร บั การเรยี นรแู ละครมู ีการเรยี นรเู พ่ิมเติมเกี่ยวกับวิธีการจัดการเรียนรู
3.2 ครใู หก ําลงั ใจนกั เรียนในชว งเวลาการจัดการเรียนรู มกี ารชว ยเหลอื แนะนาํ อยางดกี รณีท่ี

พบปญหาการเรียนรูไดใหคาํ ปรกึ ษา แนะนําการปฏบิ ัตติ นของนกั เรยี น และใหคําปรึกษาแกผ ปู กครอง
๓.๓ ครูใชรูปแบบการเรียนรูท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับระดับความสามารถและความ

แตกตางของผูเรียน ใชวิธีการวัดผลประเมินผลท่ีเอ้ือตอผูเรียน และเหมาะกับความแตกตางของผูเรียนแต
ละบคุ คล

4. ความคิดเหน็ เกี่ยวกับนักเรยี น
4.1 นักเรียนปฏิบัติตนตามหลักเกณฑและวิธีการจัดการเรียนรูในสถานการณการแพร

ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ อยางเครงครัด มีความกระตือรือรน และรับผิดชอบตอการ
เรียนรปู ฏิบตั ิตนเพื่อดูแลสุขภาพ ติดตามขาวสาร และศึกษาคนควา ดวยตัวเองมากขนึ้

4.2 นักเรียนท่ีอยูพ้ืนที่หางไกลไดรับผลกระทบตอ คุณภาพการศึกษามากกวานักเรียนใน
เมืองทมี่ ีความพรอม

5. ความคดิ เหน็ เกย่ี วกับผูป กครองและชมุ ชน
ผปู กครองมกี ารประสานงานกับสถานศกึ ษาและครู การติดตอประสานงานทางไลน การสรา ง

กลุมเครือขายทางไลนเพ่ือรวมกันวางแผนและแกปญหาเก่ียวกับการเรียนรูของนักเรียน เพื่อใหผูปกครอง
ชุมชนมีความเขาใจสถานศกึ ษาและมคี วามสมั พันธอันดกี ับสถานศึกษามากขนึ้

6. ความคดิ เห็นเก่ยี วกบั การปฏบิ ตั ิงานของกรรมการ สถานศกึ ษา
6.1 กรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานสงเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรูโดยสนับสนุนส่ือ

อุปกรณเคร่ืองมือการเรียนรูใหความชวยเหลือ และสรางขวัญกําลังใจใหผูบริหารสถานศึกษา ครูนักเรียน
และผปู กครอง

6.2 กรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีสวนรวมในการสราง เครือขายความรวมมือระหวาง
ชมุ ชน โรงเรียน และหนวยงานทเ่ี กี่ยวของ รวมทง้ั มีการกํากับ ตดิ ตามการดาํ เนนิ งานการจัดการเรียนรู

7. ความตองการการจัดการเรียนรูในสถานการณวิกฤตของ ผูบริหารสถานศึกษา ครู
นักเรียน ผูปกครอง และกรรมการสถานศึกษา พบวา ผูใหขอมูลมีความ ตองการการจัดการเรียนรูใน
สถานการณว ิกฤตในระดบั มากถงึ มากทสี่ ดุ เม่ือสงั เคราะหขอ มลู เชงิ คณุ ภาพ ไดผลการวิจัยสรุป ดังนี้

7.1 ความตองการเกี่ยวกับนโยบาย แผน และมาตรการใน การดําเนินงานของรัฐและ
หนว ยงานตน สังกัด

7.1.1 รัฐควรมีนโยบาย แผน และมาตรการรองรับ การจัดการศึกษาในสถานการณ
วกิ ฤตท่ชี ัดเจน โดยควรมแี ผนในการจัดการ เรยี นรใู นวถิ ีใหม (New Normal Learning)

7.1.2 รัฐ/หนวยงานตนสังกัดควรมีนโยบาย และ มาตรการรองรับการจัดการศึกษาใน
สถานการณว ิกฤตท่ชี ัดเจน และ ประกาศนโยบายการจัดการเรียนรูใ หท นั ตอสถานการณ

7.1.3 รัฐ/หนวยงานตนสังกดั ควรสอื่ สารนโยบายท่ี เรงดว นสูผูปฏิบัติและประชาสัมพนั ธ
ขา วสารขอ มูลใหร วดเรว็ ดว ยวิธี การส่อื สารตามชองทางตาง ๆ ทหี่ ลากหลาย

7.2 ความตองการเก่ียวกบั ระบบและกลไกสนับสนุนจาก หนวยงานภาครัฐและหนวยงานตน
สงั กัด

109

7.2.1 รัฐบาลควรใหความสําคัญและติดตั้งเครือขาย อินเทอรเน็ตใหครอบคลุมท่ัวถึง
ควรจัดทีวีเพื่อการศึกษาเปน Free TV จัดใหมี Free WiFi เพ่ือสะดวกในการเรียนรูทุกที่ ทุกเวลา ทุก
โอกาส

7.2.2 หนวยงานตนสังกัดในระดับพื้นท่ีควรมีการจัดตั้ง หนวยงานกลางหรือศูนย
ประสานงานในสถานการณวิกฤตเพ่ือสื่อสาร ประสานงานกับสถานศึกษาอยางรวดเร็ว เพ่ือใหการบริหาร
จัดการเกิดความคลองตวั

7.2.3 รัฐ/หนวยงานตนสังกัดควรสนับสนุนงบประมาณ และส่ือวัสดุอุปกรณตาง ๆ ใน
การจัดการเรยี นรูใ นสถานการณว กิ ฤต

7.3 ความตอ งการเกย่ี วกบั การพฒั นาครแู ละบคุ ลากร ทางการศึกษา
7.3.1 ควรมกี ารพัฒนาอบรมครูใหส ามารถใชเ ทคโนโลยีในการจดั การเรียนรู
7.3.2 หนว ยงานท่ีเกยี่ วของควรมีการถอดบทเรยี นจากสถานศกึ ษาที่ประสบความสําเร็จ

ในการจดั การเรยี นรใู นสถานการณโควดิ –19 เพื่อพัฒนาเปนรปู แบบการจดั การเรยี นรใู นสถานการณวกิ ฤต
7.3.3 หนวยงานตนสังกัดควรมีการนิเทศ กํากับ ติดตามและใหความชวยเหลือการ

จดั การเรียนรูของครูในสถานการณว ิกฤต
7.3.4 ควรมีการพัฒนาสง เสรมิ ใหครูใชว ิธกี ารและรปู แบบการวัดผลประเมินผลท่ีมีความ

หลากหลาย เหมาะสมกับผูเรียนและสถานการณของโรคระบาดทั้งการวัดผลในระบบปกติและการวัดผล
ผานชอ งทางออนไลน

7.4 ความตอ งการเกี่ยวกบั การปฏบิ ัติงานของสถานศกึ ษา
7.4.1 สถานศึกษาควรช้ีแจงผูเกี่ยวของใหทราบถึง นโยบายของรัฐบาลในการจัดการ

เรียนรูและแนวทางการจัดกิจกรรม การเรียนรูของสถานศึกษาในสถานการณวิกฤตที่ชัดเจน ทันตอ
สถานการณ

7.4.2 หนวยงานระดับพ้ืนที่ควรสนับสนุนชวยเหลือการ จัดการเรียนรูและแกไขปญหา
ตาง ๆ และสรางความเขมแข็งใหสถานศกึ ษา บรหิ ารจดั การในสถานการณว กิ ฤตในบริบทของตนเอง

7.4.3 สถานศึกษาควรมีแผน/แนวทางการบริหาร สถานศกึ ษาในสถานการณวิกฤตอยา ง
ชัดเจน มขี อมูลพืน้ ฐานของผูเรียน เพื่อใชในการจัดการเรยี นรแู ละการติดตามผูเรียน

7.4.4 สถานศึกษาควรมีการเตรียมความพรอมใหแก ครู นักเรียน และผูปกครอง
สนับสนุนปจจัยตาง ๆ ท่ีจําเปนตอการจัด การเรียนรูทั้งชวงกอนและระหวางการเรียนรูในสถานการณ
วิกฤต

7.4.5 สถานศึกษาควรจัดทําคูมือนักเรียนเพื่อสงเสริม สนับสนุนการเรียนรูและการ
ปฏบิ ตั ติ นใหเ หมาะสมและปลอดภัย และ จัดอาคารสถานท่ีและส่งิ แวดลอ มภายในสถานศกึ ษาใหเ หมาะสม

7.4.6 สถานศึกษาควรอํานวยความสะดวกในการติดตอ ประสานงานและการเขารับการ
บริการ ตาง ๆ และควรติดตามการเรียนของ นักเรียนในระหวา งการจัดการเรยี นรู

7.4.7 สถานศึกษาควรสนับสนุนสวัสดิการตาง ๆ ใหกับ ครูในการปฏิบัติงาน
7.5 ความตอ งการเกีย่ วกับแนวทางการจดั การเรียนรแู ละ การปฏิบัติงานของครู

7.5.1 สถานศึกษาควรพัฒนาหลักสูตรและรูปแบบ การจัดการเรียนรูที่รองรับ
สถานการณว ิกฤต รวมท้ังพัฒนาชุดการเรยี น การสอน สอ่ื การสอนออนไลนเ พื่อสง เสริมการใชClassroom
online

110

7.5.2 ครูควรจัดการเรียนรูใหมีความยืดหยุนสอดคลอง กับความตองการของนักเรียน
โดยปรับเนื้อหาและเวลาการเรียนที่เหมาะสม กับสถานการณวิกฤต จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยคํานึงถึง
โอกาสในการเรียนรู ของนักเรียน ดูแลเอาใจใส ใหคําปรึกษา แนะนําการเรียนใหกับนักเรียน และ
ผปู กครอง

7.5.3 สถานศึกษาควรสรางความตระหนัก และเตรียม ความพรอมใหนักเรียน ควรเพิ่ม
ชองทางและวิธกี ารเรยี นรทู ห่ี ลากหลาย มีวิธกี ารจัดการเรียนรทู ชี่ วยใหนกั เรียนเรียนรไู ดด ี

7.5.4 สถานศึกษาควรใหการสนับสนุนสื่อ อุปกรณ และเทคโนโลยีท่ีจําเปนในระหวาง
การจดั การเรียนรสู าํ หรับครูและนักเรียน ที่ไมม ีความพรอ ม

7.5.5 ครูควรเสริมสรางเจตคติตอการเรียนรูแบบพึ่งพา ตนเองใหแกนักเรียนและ
ผปู กครอง และเรียนรูเพ่มิ เตมิ เกีย่ วกบั วิธีการ จดั การเรยี นรใู นสถานการณว กิ ฤต

7.5.6 ครูควรสรางขวัญและกําลังใจใหนักเรียนระหวาง การจัดการเรียนรูควรติดตามให
นกั เรยี นไดรับการเรียนรูอยางเหมาะสม และใหคาํ ปรกึ ษาแนะนาํ การเรียนและการปฏิบัติตนใหเ หมาะสม

7.6 ความตอ งการความรวมมือกับผปู กครองและชุมชน
7.6.1 สถานศึกษาควรรวมมือกันระหวางครู และ ผูปกครองในการเสริมสรางนิสัยใฝ

เรียนรดู ว ยตนเองของนักเรยี น และ รว มมอื ในการจัดการเรยี นรขู องครแู ละสถานศกึ ษาอยางตอเนื่อง
7.6.2 สถานศึกษาควรสรางเครือขายความรวมมือกับ ชุมชนหรือหนวยงานในพื้นท่ีเพื่อ

ขอรับการสนับสนุนการจัดการเรียนรู และการปฏิบัติงานของสถานศึกษาทั้งดานงบประมาณ ส่ือ วัสดุ
อปุ กรณ รวมท้ังการกระจายสญั ญาณอนิ เทอรเนต็

8. ขอเสนอเชิงนโยบายการสงเสริมการจัดการเรียนรูของ สถานศึกษาในระดับการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐานในสถานการณวิกฤต เปนขอเสนอท่ีไดมาจาก ผลการศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอน
ในชว งสถานการณก ารแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 การศึกษาผลกระทบและความคดิ เห็น
ที่มีตอการจัดการศึกษาใน สถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 รวมท้ังความ
ตองการการจัดการเรียนรูในสถานการณวิกฤตเพื่อมาจัดทําขอเสนอเชิงนโยบายซ่ึงผานการวิพากษเชิง
ประเมินจาก ผูทรงคุณวุฒิท่ีเกี่ยวของและมีการปรับปรุงใหมีความครอบคลุมชัดเจน และมีความสมบูรณ
มากขนึ้ แลว ไดขอเสนอเชิงนโยบาย 7 ดา น ประกอบดว ย

8.1 การกาํ หนดนโยบายและการส่อื สารนโยบายในสถานการณวิกฤต
8.1.1 รัฐ/กระทรวงศึกษาธิการหรือหนวยงานตนสังกัด ควรกําหนดนโยบาย แผน

มาตรการสงเสริมการจัดการเรียนรูอยางเปน ระบบ มีความชัดเจน ทันตอสถานการณวิกฤต และควรเปน
นโยบายที่เอ้ือ ใหสถานศกึ ษาสามารถปรบั ไดต ามบรบิ ทของสถานศึกษา

8.1.2 กระทรวงศึกษาธิการหรือหนวยงานตนสังกัดควร ส่ือสารนโยบายและแนวทางการ
ปฏบิ ตั ิในสง เสรมิ การจัดการเรียนรทู ี่ สามารถใชเปนกรอบในการดําเนินการท่ีชัดเจน ควรมศี นู ยสือ่ สารและ
ประสานนโยบายใหเปนเอกภาพระหวา งหนว ยงานนโยบายและหนวยงาน ปฏิบตั ิ

8.1.3 หนวยงานตนสังกัดควรจัดทําแผนดําเนินการ ในระยะยาวเพ่ือเตรียมรับสถานการณ
วิกฤตและทําความเขาใจกับ ระดับปฏิบัติสําหรับการเตรียมความพรอมในการปรับใชตามบริบทของ
สถานศึกษา

8.2 การพัฒนาระบบและกลไกสง เสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรขู องสถานศึกษาในสถานการณ
วิกฤต

111

8.2.1 รัฐควรพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเพื่อสนับสนุน การใชเทคโนโลยีเพ่ือการจัดการเรียน
การสอนในสถานการณวิกฤต เชน เครอื ขายอินเทอรเ น็ตใหครอบคลุมพ้ืนท่ีสถานศึกษาทุกแหงอยางท่ัวถึง
มปี ระสทิ ธิภาพ และไมเสยี คา ใชจ าย

8.2.2 รัฐ/หนวยงานตนสังกัดควรจัดสรรอุปกรณและ/ หรือคลื่นความถี่เพ่ือใหสถานศึกษา
สามารถใชทวี ีเพอื่ การศึกษาได

8.2.3 หนวยงานตนสังกัด/หนวยงานระดับพ้ืนท่ีควรสนับสนุนใหมีการจัดตั้งศูนยสื่อ
อุปกรณ เทคโนโลยีทางการเรียนการสอน เพื่อสนับสนุนและชวยเหลือการจัดการเรียนการสอนของ
สถานศึกษา รวมท้ัง จัดระบบการนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนการสอนในสถานการณวิกฤต อยางมี
ประสทิ ธภิ าพ

8.2.4 หนวยงานตนสังกัดควรประสานงานกับหนวยงานอื่น ๆ ในการบูรณาการขอมูลที่
จําเปน และจัดทําเปนฐานขอมูลกลางเพื่อลด ภาระของสถานศึกษาท่ีมีภาระงานเพิ่มมากข้ึนอยูแลวใน
สถานการณว ิกฤต

8.2.5 หนวยงานตนสังกัดควรมีการศึกษาวิจัยการจัด การเรียนรูในสถานการณวิกฤต เพ่ือ
การวางแผนการจดั การเรยี นรูวิถีใหม (New Normal Learning) ท่เี หมาะสม

8.3 การสนบั สนุนชวยเหลือใหส ถานศึกษาดาํ เนนิ การจดั การเรียนรไู ดใ นสถานการณวิกฤต
8.3.1 หนว ยงานตนสงั กดั ควรจดั สรรงบประมาณและ สนบั สนุนทรัพยากรการจดั การเรียนรู

ใหเพียงพอเหมาะสมกับบริบท ความตองการจาํ เปนของสถานศึกษาใหครอบคลุมถงึ กลุมท่ีมคี วามตองการ
เปน พิเศษ เชน กลมุ เด็กพิเศษหรอื กลุมเดก็ ดอยโอกาส เพื่อลดความเหล่อื มลาํ้ ในการเขา ถึงการศึกษา

8.3.2 หนวยงานตนสังกัดควรมีการคํานวณคาใชจายรายหัวของนักเรียน และคาใชจาย
เพ่ิมเติมของผูปกครองของนักเรียน ซึ่งจําเปน ตองมกี ารเรียนรูโดยการใชออนไลนออนแอร เพื่อจะสามารถ
จัดสรรงบประมาณใหเ พียงพอและสอดคลองกับความตองการแทจรงิ

8.3.3 หนวยงานตนสังกัดควรมอบหมายหนวยงานระดับพื้นท่ีใหมีบทบาทหลักในการ
สนับสนุน อํานวยความสะดวก และ รวมแกปญหาตาง ๆ กับสถานศึกษาใหจัดการเรียนรูในสถานการณ
วิกฤตได

8.3.4 หนวยงานตนสังกัดควรมีนโยบายเสริมสรางความเขมแข็งใหสถานศึกษาสามารถ
บรหิ ารจัดการศกึ ษาในสถานการณวิกฤตได ตามบรบิ ทของตนเอง โดยใหบ ทบาทในการตัดสินใจ

8.3.5 หนวยงานตนสังกัด/หนวยงานระดับพ้ืนที่จัด ทีมงานชวยเหลือเชิงเทคนิคใหกับ
สถานศึกษา เพ่อื ชวยใหนกั เรียนสามารถ เขาถงึ การเรียนรูไ ดอ ยา งเทา เทียมกัน

8.3.6 หนวยงานระดับพื้นท่คี วรมีการถอดบทเรยี นจาก สถานศกึ ษาทีส่ ามารถจัดการเรียนรู
ไดดีในชวงสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เพ่ือสรางเปน COVID Model
แลวพัฒนาเปนรูปแบบการจัดการเรียนรสู ําหรบั การศึกษาข้ันพ้นื ฐานในสถานการณวิกฤตอืน่ ๆ

8.4 การจัดหลักสูตร การจัดการเรียนรูและการวัดและประเมินผลการเรียนรูในสถานการณ
วิกฤต

8.4.1 หนวยงานตน สังกัดควรปรับหลักสตู รใหเปน หลักสูตรฐานสมรรถนะทม่ี ีความยืดหยุน
ปรับโครงสรางเวลาเรียน ปรับลด เนื้อหาใหกระชับ และบูรณาการในการจัดการเรียนรูไดเหมาะสมกับ
สถานการณว ิกฤต

112

8.4.2 หนวยงานตน สังกัดหรอื หนวยงานระดับพื้นท่ีควร สงเสริมสนบั สนุนใหมกี ารรวบรวม
สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีโดยจัดเปน ศูนยสื่อ นวตั กรรมการเรียนการสอนท่ีครูสามารถนํามาเผยแพร
และนาํ ไป แลกเปล่ยี นและแบงปนกันใชใ นการจัดการเรยี นรูไ ดอ ยางกวางขวางตาม บริบทของสถานศกึ ษา

8.4.3 หนวยงานตนสังกัดควรมีมาตรการสงเสริมสนับสนุน ใหหนวยงานระดับพื้นท่ีและ
สถานศึกษารวมกันในการจัดการเรียนรู ทางไกล (Distance Education) ควบคูกับการจัดการเรียนในช้ัน
เรยี น

8.4.4 หนวยงานตนสังกัดกําหนดหลักเกณฑและวิธีการ วัดและประเมินผลการเรียนรูใหมี
ความยืดหยุนและสอดคลองกับวิธีการ จัดการเรียนรูในสถานการณวิกฤต โดยเนนการประเมินตามสภาพ
จรงิ เนนการใชผลงานและการทดสอบระหวางเรยี น

8.4.5 หนวยงานระดบั พ้ืนท่ี สถานศึกษา และผูปกครองควรรวมกนั สรางเครื่องมอื วัดและ
ประเมินผลการเรียนรทู ี่มีความหลากหลาย เหมาะสม และสอดคลองกับรูปแบบ วิธกี ารจัดการเรียนรูแ ละ
บรบิ ทของสถานศึกษา

8.4.6 สถานศึกษาควรสงเสริมใหครูผูสอนผลิตและสรางสรรคส่ือเทคโนโลยีชวยสอน เชน
บทเรียนคอมพิวเตอร, บทเรียนออนไลน (E-learning), หองเรียนออนไลน (Google Classroom) หรือ
สรา งหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส (E-Book) เปนตน

8.4.7 สถานศึกษาควรสงเสริมใหครูในรูปแบบการวัดผลประเมินแบบยืดหยุนและ
หลากหลาย ท้ังการวัดผลระบบปกติ และการวัดผลประเมินผลผานชองทางออนไลน โดยใหยึดความ
แตกตางของผูเรยี นเปนสําคญั และตอบสนองการเรยี นรูของผเู รยี นทกุ ที่ ทกุ เวลา

8.5 การพฒั นาและสง เสริมศกั ยภาพครูสําหรบั การจัดการเรียนรใู นสถานการณวิกฤต
8.5.1 สถาบันผลิตครูควรมุงเนนการผลิตครูใหมี สมรรถนะในการจัดการเรียนรูทางไกล

และการจัดการเรียนรใู นยคุ ดิจิทัล และมีความเปนสากล
8.5.2 หนวยงานตนสังกัดควรมีมาตรการในการพัฒนาครูใหมีสมรรถนะในการจัดการ

เรียนรูในการใชส อ่ื เทคโนโลยใี นยคุ ดิจิทลั ไดอ ยา งมีประสทิ ธิภาพ
8.5.3 หนวยงานในระดับพื้นที่และสถานศึกษาควร สงเสริมใหครูพัฒนาตนเองใหมี

สมรรถนะในการจัดการเรียนรูในสถานการณ วิกฤต และตองเสริมสรางเจตคติตอการเรียนรูแบบพึ่งพา
ตนเอง

8.5.4 สถานศึกษาจัดใหมีระบบการเสรมิ สรางขวัญ กําลังใจ สนับสนุนเคร่ืองมือหรอื ปจจัย
ใหกับครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาตามความเหมาะสม และจัดสวัสดิการในการประกนั ความปลอดภัย ทั้ง
จากการติดเชื้อโรคและอุบตั เิ หตใุ หก บั ครูทอ่ี อกปฏบิ ตั ิงานนอกพ้ืนท่ี

8.5.5 สถานศึกษาสงเสริมใหเกิดชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ หรือ PLC เพื่อใหเกิดการ
สรางเครือขายเพื่อพัฒนาการเรียนรูใหมีประสิทธิภาพ และเปล่ียนเรียนรูเพ่ือสรางสรรคนวัตกรรมในการ
พฒั นาคุณภาพผูเ รยี น

8.6 การบรหิ ารจดั การเพื่อสนับสนุนการจดั การเรียนรูข องสถานศึกษาในสถานการณว กิ ฤต
8.6.1 สถานศึกษาควรจัดอาคารสถานที่ หองเรียน วัสดุ อุปกรณใหเหมาะสม เพียงพอตอ

จัดการเรียนรใู นสถานการณวกิ ฤต

113

8.6.2 สถานศึกษาควรส่ือสารสรางความเขาใจเก่ียวกับ นโยบายและแนวปฏิบัติในการ
จัดการเรียนรูของครูและการจัดทําคูมือการจัดการเรียนรูสําหรับครูเพ่ือเปนแนวทางในการปฏิบัติใน
สถานการณวกิ ฤต

8.6.3 สถานศึกษาเปดโอกาสใหคณะกรรมการสถาน ศึกษาเขามารวมมีบทบาทในการ
จัดการและแกไขปญหาในสถานการณ วิกฤต และควรสรางเครือขายความรวมมือกับภาครัฐ หนวยงาน
เอกชน ผปู กครอง ชุมชนเพอื่ การสนับสนุนการจัดการเรยี นรูใ นสถานการณว กิ ฤต

8.6.4 สถานศกึ ษาควรสนบั สนนุ ใหค รูพัฒนาเทคนคิ การจัดการเรียนรโู ดยใชเ ทคโนโลยีใหมี
ความนา สนใจ เพ่อื สรา งแรงจงู ใจในการเรยี นของนักเรยี น

8.7 การสนับสนุนชวยเหลือนักเรียนและผูปกครอง เพื่อการเรียนรูของนักเรียนในสถานการณ
วิกฤต

8.7.1 หนวยงานตนสังกัดควรประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน ศูนย
ชวยเหลือเด็กและเยาวชนในภาวะวิกฤตทางการศึกษา กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย
กระทรวงมหาดไทย และหนวยงานในระดับจังหวัด เพ่ือสํารวจความตองการความชวยเหลือสําหรับกลุม
เด็กที่ไดรับผลกระทบจากสถานการณวิกฤตอยางรุนแรง และกลุมเด็กดอยโอกาสตาง ๆ ใหไดรับความ
ชวยเหลือเปนพเิ ศษเพื่อลดความเหลือ่ มลํ้าทางโอกาสในการเขา ถงึ การศกึ ษา

8.7.2 สถานศึกษาควรช้ีแจงทําความเขาใจกับผูปกครอง ในการจัดการเรียนรูใน
สถานการณวิกฤตและจัดทําคูมือการเรียนและการปฏิบัติตนสําหรับนักเรียนและผูปกครอง เพ่ือเปน
แนวทางในการปฏิบัติ ในสถานการณวิกฤต

8.7.3 สถานศึกษาควรสงเสริมใหนักเรียนมีวินัยในการเรียนรูดวยตนเอง เสริมสรางเจตคติ
ตอการเรียนรูแบบพ่ึงพาตนเอง เสริมสรางนักเรียนมีอิสระทางความคิด และสามารถออกแบบการจัดการ
เรียนรไู ดด วยตนเอง

8.7.4 สถานศึกษาควรสงเสริมใหนักเรียนมีความฉลาดรู ในการใชส่ือเทคโนโลยี (Digital
Literacy) เพ่ือการแสวงหาความรูใหเกิดประสิทธิภาพ โดยการสอนใหมีความรูความเขาใจในการใชและ
การเขาถึง สื่อเทคโนโลยรี วมท้งั สิทธแิ ละความปลอดภัยในการใชสอื่ เทคโนโลยี

8.7.5 สถานศึกษาควรสรางเครือขายความรวมมือกับชุมชนในการวางแผนปองกันการแพร
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการสรางเครือขายกับหนวยงานสุขภาพในชุมชน เครือขาย
ผูนําชุมชน และผูปกครอง เพ่ือรวมกันหาแนวทางปองกันแกไขปญหาไดอยางทันสถานการณ และรว มกัน
วางแผนการจัดการเรียนรูโดยใชกิจกรรมที่มีความหลากหลายเนนการปฏิบัติจริง จากสถานท่ีจริงมากกวา
การจัดกิจกรรมการเรียนรูในช้ันเรียน ตามบริบทของสถานการณ การเชิญวิทยากรทองถ่ินมาใหความรทู ้ัง
แบบ Onsite และแบบ On line การจัดกิจกรรมสงเสริมทักษะชีวิต การสงเสริมทักษะอาชีพซึ่งนักเรียน
สามารถเรียนรูไดจริงทุกสถานท่ี ทุกเวลา แมในสถานการณท่ีโรงเรียนไมสามารถเปดทําการไดตามปกติ
นักเรยี นก็สามารถพฒั นาและเรียนรูไดอยา งตอเนื่อง

114

บทท่ี 5

สรุปผล อภิปรายผล และขอ เสนอแนะ

การวิจัย เรอื่ ง ขอเสนอเชงิ นโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) สํานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ผูวิจยั ได
ขอสรปุ ผลการวจิ ัย ดังนี้

ตอนท่ี 1 สภาพการจดั การศึกษาของโรงเรียนลกั ษณะตา ง ๆ ดานขอดี ขอเสีย โอกาส อุปสรรค
(SWOT) ในการบรหิ ารจัดการ การจดั การเรียนรู และการดูแลชว ยเหลอื นักเรยี น

ตอนท่ี 2 แนวทางการจดั การศกึ ษา เพ่ือพัฒนาโรงเรยี นทุกลกั ษณะในการบรหิ ารจดั การ
การจัดการเรยี นรู และการดูแลชว ยเหลอื นกั เรยี น

ตอนท่ี 3 ขอเสนอเชงิ นโยบายการจัดการศกึ ษาในสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัส
โคโรนา 2019 ในระดับสาํ นักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2

สรปุ ผลการวจิ ัย

ตอนท่ี 1 สภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนลักษณะตาง ๆ ดา นขอ ดี ขอเสีย โอกาส อุปสรรค
(SWOT) ในการบรหิ ารจดั การ การจัดการเรยี นรู และการดูแลชวยเหลือนักเรยี น

1. สภาพขอมูลพื้นฐานของโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ
เขต 2 ดานขนาด ลักษณะ และรปู แบบการจัดการเรียนการสอนในสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคติด
เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 สรุป
ไดด ังนี้

1.1 สถานศกึ ษาทั้งหมด 179 แหง จาํ แนกเปน ขนาดเล็ก 117 แหง ขนาดกลาง 61 แหง
และขนาดใหญ 1 แหง

1.2 ลกั ษณะของสถานศกึ ษา จาํ แนกไดด ังน้ี
1.2.1 สถานศึกษาทว่ั ไป 172 แหง
1.2.2 สถานศึกษาที่เปนโรงเรียนคุณภาพตําบลระดับประถมศึกษา จํานวน 1 แหง คือ

โรงเรียนบานเพียมาต(รัฐราษฎรว ทิ ยาคาร) ตั้งอยใู นตาํ บลหนองแค อาํ เภอราษไี ศล จังหวัดศรสี ะเกษ
1.2.4 สถานศกึ ษาท่ใี ชเ ปนที่พักคอย จาํ นวน 6 แหง เปนโรงเรยี นขนาดเลก็ 6 แหง

1.3 การจดั การเรียนการสอนของสถานศึกษาลักษณะตางๆ ในสถานการณการแพรร ะบาดของ
ของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19)

1.3.1 สถานศกึ ษาขนาดเล็ก
1) สถานศึกษาทีจ่ ัดการเรียนการสอนแบบ ON – site จํานวน 75 แหง
2) สถานศึกษาท่ีจัดการเรยี นการสอนแบบ ON – hand จาํ นวน 31 แหง
3) สถานศึกษาท่ีจัดการเรยี นการสอนแบบ ON – air จํานวน 2 แหง
4) ไมมสี ถานศึกษาทีจ่ ดั การเรียนการสอนแบบ ON – demand
5) สถานศึกษาทจ่ี ัดการเรยี นการสอนแบบ ON – line จํานวน 25 แหง

115

1.3.2 สถานศึกษาขนาดกลาง จาํ นวน 61 แหง
1) สถานศึกษาทีจ่ ัดการเรยี นการสอนแบบ ON – site จํานวน 19 แหง
2) สถานศึกษาท่จี ัดการเรยี นการสอนแบบ ON – hand จาํ นวน 13 แหง
3) สถานศึกษาทจ่ี ัดการเรยี นการสอนแบบ ON – air จํานวน 1 แหง
4) ไมมสี ถานศึกษาท่ีจดั การเรียนการสอนแบบ ON – demand
5) สถานศึกษาท่จี ัดการเรียนการสอนแบบ ON – line จาํ นวน 11 แหง

1.3.3 สถานศกึ ษาขนาดใหญ จาํ นวน 1 แหง
มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน 3 รูปแบบ คือ On-Hand,

On-Line และ On-Demand ไมม กี ารจดั การเรยี นการสอนแบบ ON – site และ ON – air

2. สภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ศรีสะเกษ เขต 2 ในสถานการณก ารแพรร ะบาดของของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)

สรปุ ไดดงั นี้
2.1 การบริหารจดั การของสถานศกึ ษา โดยยดึ หลักการบริหาร 4 M (Man, Money,

Material, Management)
2.2.1 ดานบุคคล (Man) สถานศึกษาทุกแหงมีแนวทางในการบริหารจัดการดานบุคคล

ตามบริบทโดยเนน ความปลอดภัยเปนสําคัญ
2.2.1 ดา นงบประมาณ (Money) สถานศึกษาทุกแหง มีแนวทางในการบริหารจัดการดา น

งบประมาณโครงการเงินอุดหนุน และกํากับติดตามการใชจายงบประมาณใหเปนไปตามวัตถุประสงคและ
คมุ คาทีส่ ุด

2.2.1 ดานวัสดุ อุปกรณ และส่ิงอํานวยความสะดวก (Material) สถานศึกษาทุกแหงมี
แนวทางในการบริหารจดั การโดยการจดั หาส่ือ วสั ดุ อปุ กรณเกีย่ วกบั การจัดการเรียนการสอนเทา ทจ่ี าํ เปน

2.2.1 ดานการบริหารจัดการ (Management) สถานศึกษาทุกแหงมีการบริหารจัดการ
ตามมาตรการและนโยบายหนวยงานตนสังกัด

2.2 การจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา สวนใหญจัดการเรียนการสอนแบบ On-Site
จํานวน 94 แหง จัดการเรียนการสอนแบบ On-Hand จํานวน 45 แหง จัดการเรียนการสอนแบบ
On-Line จํานวน 37 แหง และ จัดการเรียนการสอนแบบ On-Demand จาํ นวน 1 แหง โดยเปนรปู แบบ
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน 3 รูปแบบ คือ On-Hand, On-Line และ On-Demand
จาํ นวน 1 แหง

2.3 การดูแลชวยเหลือนักเรียน พบวา สถานศึกษาทุกแหงดําเนินการดูแลชวยเหลือนักเรียน
ท่ีเหมือนกัน คือ สถานศึกษาดําเนินการแตงตั้งคณะทํางานเพื่อเยี่ยมบานนักเรียน กํากับ ติดตามเพื่อให
ความชว ยเหลือนักเรียนผา นครผู ูสอน ครูประจาํ ช้ัน ผูป กครอง สือ่ ตางๆ เชน โทรศพั ท ส่ืออเิ ล็กทรอนกิ ส
มกี ารประสานงานระหวา งครู นกั เรียน ผปู กครอง และชุมชน เปน ตน

116

ตอนที่ 2 แนวทางการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาโรงเรียนทุกลักษณะในการบริหารจัดการ การจดั การเรียนรู
และการดูแลชวยเหลอื นกั เรียน

1. แนวทางการบริหารจัดการ โดยยึดหลักการบริหาร 4 M (Man, Money, Material,
Management) ดงั น้ี

1.1 ดา นบุคคล (Man)
1.1.1 สรางความตระหนักรวมกัน โดยการประชุมชี้แจงสรางความเขาใจกับคณะครู

บุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ผูนําชุมชน หนวยงานสาธารณสุขในชุมชน
ผูปกครอง และนักเรียน

1.1.2 วิเคราะหสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID – 19) โดยการศึกษาขอมูลทั่วไป วิเคราะหสถานการณการแพรระบาดของโรคต้ังแตสถานการณ
การระบาดทั่วโลก ประเทศ ภูมิภาค จังหวัด เขตพื้นที่ อําเภอ ตําบล และเขตพ้ืนที่บริการของโรงเรียน
วเิ คราะหความพรอมของสถานศกึ ษา ความพรอมของครผู ูสอน และระบบการดแู ลนักเรยี นในสถานการณ
การแพรร ะบาดของโรค และการรักษาความปลอดภยั ในสถานศึกษา

1.1.3 วางแผนการดําเนินงานรวมกัน ออกแบบวิธีการจัดการเรียนรู การสรางสื่อ
การเรียนการสอน สรา งนวัตกรรมการเรียนรทู เี่ หมาะสมกับการพัฒนาคณุ ภาพผูเ รียน เพื่อใหส อดคลองกับ
บริบทสถานศึกษา และการจัดการเรียนการสอนในแตละรูปแบบรวมกัน รวมท้ังรวมกันออกแบบและ
พัฒนากลยทุ ธในการเฝา ระวังและปอ งกนั การแพรระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019(COVID – 19)

1.1.4 ดําเนินการ สงเสริมใหครูผูสอนรวมกลุมกันทํางานและแบงปนประสบการณการ
จัดการเรียนรูสรางเปนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) วิเคราะหขอมูลจากกระบวนการ PLC นํามา
ออกแบบการจัดการเรียนรู สรางนวัตกรรมการจัดการเรียนรูใหเหมาะสมกับระดับชั้น สาระการเรียนรู
และระดับความรูค วามสามารถของผเู รียน

1.1.5 นิเทศ กํากับ ติดตาม ผลการปฏิบัติงาน โดยการจัดทําคูมือการนิเทศ กํากับ
ติดตามการปฏิบัติงาน จัดทําปฏิทินการนิเทศติดตามการปฏิบัติงาน และแตงตั้งคณะทํางานเพ่ือนิเทศ
กาํ กับ ติดตาม การปฏบิ ตั ิงานของครู และบุคลากรในสถานศึกษา

1.1.6 รายงานผลการดําเนินงาน ครูและบุคลากรในสถานศึกษา รายงานผลการ
ปฏิบัติงาน ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะ ตอผูบริหารสถานศึกษา และนํารายงานผลนน้ั มาวางแผน
เพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน และการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ผบู รหิ ารสถานศกึ ษาสรุปขอ มลู รายงานไปยงั หนวยงานตนสังกัด

1.1.7 ปญหา/อุปสรรค ครู และบุคลากรทางการศึกษาขาดทักษะในดานความรู ความ
เขาใจ และประสบการณในการจัดการเรียนรูในรูปแบบตาง ๆ เนื่องจากเปนรูปแบบการจัดการเรียนการ
สอนแบบใหม ครูบางทานขาดทักษะ ในการใชนวัตกรรมและเทคโนโลยี การใชสื่อออนไลนตางๆในการ
จดั การเรยี นการสอน ทําใหไมสามารถดําเนินการจัดการเรียนการสอนไดต ามแผนการสอนท่ีวางไว และดวย
สถานการณ การแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) การดําเนินการพัฒนาครู
และบุคลากรในดานการพัฒนาทักษะ ความรู และแลกเปลี่ยนประสบการณเพ่ิมเติมในการจัดการเรียนรู
ยงั ไมสามารถดําเนินการแบบ Onsite ไดอยางเตม็ ที่

117

1.2 ดา นงบประมาณ (Money)

1.2.1 สรางความตระหนักรวมกัน สถานศึกษาจัดประชุมเพ่ือชี้แจง วางแผน และ
เสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการใชจายงบประมาณในทุกดาน ในชวงสถานการณการแพรระบาดของ
โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) เพื่อใหถูกตอง เหมาะสม เปนไปตามระเบียบของทาง
ราชการ และตามนโยบายของหนวยงานตน สังกดั

1.2.2 วิเคราะหสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID – 19) ดําเนินการโดยวางแผน กําหนดแนวทาง วิธีการในการจัดสรรงบประมาณอยางเหมาะสม
และท่ัวถึง มุงเนนใหนํางบประมาณไปใชเพื่อประโยชนสูงสุดตอตัวผูเรียนในทุกรูปแบบการจัดการเรียนรู
บนพ้ืนฐานความประหยัด คมุ คา โปรง ใส ตรวจสอบได ตามหลักธรรมาภิบาล

1.2.3 วางแผนการดําเนินงานรวมกนั โดยการรวมกันจัดทําแผนการใชจา ยงบประมาณ
ใหสอดคลองและเหมาะสมกับแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา แผนงานโครงการ/กิจกรรมในแผนปฏิบัติ
การประจาํ ป

1.2.4 ดําเนินการตามแผน ดาํ เนนิ การตามข้ันตอนการเบิกจายงบประมาณ เก่ียวกบั
โครงการอาหารกลางวัน โครงการอาหารเสริม(นม) และวสั ดุอุปกรณอืน่ ๆ ในการจัดการเรียนรรู ปู แบบตาง ๆ

1.2.5 นิเทศ กาํ กบั ติดตาม ผลการปฏบิ ัติงาน วางแผนนิเทศ กาํ กบั ติดตามการใชจา ย
งบประมาณเกย่ี วกับโครงการอาหารกลางวัน โครงการอาหารเสรมิ (นม) และวสั ดุ อปุ กรณอื่นๆ ในการจัด
การเรียนรรู ปู แบบตางๆ ใหเ ปนไปตามระเบียบและแนวปฏิบัติของทางราชการ

1.2.6 รายงานผลการดําเนินงาน รายงานผลการใชจายงบประมาณเก่ียวกับโครงการ
อาหารกลางวัน โครงการอาหารเสริม(นม) วัสดุ อุปกรณอื่นๆ ในการจัดการเรียนรูรูปแบบตางๆ ใหเปนไป
ตามระเบยี บและแนวปฏิบตั ิตอ ผูบรหิ ารสถานศกึ ษา และแนวปฏิบตั ิของทางราชการ

1.2.7 ปญหา/อปุ สรรค งบประมาณไมเพียงพอตอการบริหารจัดการเพ่ือพัฒนา
คุณภาพผูเรียนในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) การวางแผน
จายเงิน การติดตอประสานงานกับผูปกครองเพ่ือมารับงบประมาณคาอาหารกลางวัน หรือเงินเยียวยา
ชวยเหลือจากรัฐบาล ผูปกครองบางทานไมสามารถเดินทางมารับเงินสดที่โรงเรียนได ทางโรงเรียนจึงใช
วิธีการโอนเงินผานระบบบัญชีธนาคาร แตก็ยังมีผูปกครองนักเรียนบางทานไมมีบัญชีธนาคาร โรงเรียน
จงึ ตองดาํ เนินการจายเงินในรูปแบบอื่น โดยการไปมอบเงนิ ใหท่ีบา นซ่ึงเปนภาวะเสี่ยงสําหรับคณะครทู ่ีตอง
เดินทางเขาไปในชมุ ชน

1.3 ดา นวสั ดุ อปุ กรณ และส่ิงอาํ นวยความสะดวก (Material)

1.3.1 สรา งความตระหนักรวมกนั ดาํ เนนิ การโดยประชุมชี้แจงสรา งความเขาใจกบั
คณะครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผูปกครอง ชุมชน และคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน
เพ่ือใหก ารใชวสั ดุอปุ กรณใหเกิดความประหยัด คุมคา สะดวก เหมาะสม และเกิดประโยชนต อการพัฒนา
ทกั ษะและการเรียนรูข องผเู รียนมากท่สี ดุ

1.3.2 วิเคราะหสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID – 19) โดยวิเคราะหสภาพปญหา อุปสรรค แนวทางการใชส่ือ และการผลิตส่ือท่ีเหมาะสมกับ
ระดับความสามารถของผูเรียน การใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู การใชว ัสดุอุปกรณใน
การจดั การเรียนรใู หเ หมาะสมกับรปู แบบการจดั การเรียนรแู บบตาง ๆ ของสถานศึกษา

118

1.3.3 วางแผนการดําเนินงานรวมกัน สถานศึกษาสํารวจสภาพปจจุบัน ปญหาและ
อุปสรรคทีพ่ บจากการใชส่ือและอปุ กรณ ความตองการจําเปนในการใชวัสดุ และการจัดสรรส่ือ เทคโนโลยี
วัสดุ อุปกรณใหท่ัวถึงโดยมุงเนนใหเกิดประโยชน มีความคุมคา และเหมาะสมกับการพัฒนาคุณภาพของ
ผเู รยี นมากท่ีสุดในสถานการณป จ จบุ ัน

1.3.4 ดําเนินการตามแผน สถานศึกษาดําเนินการโดยคํานึงถึงความความเหมาะสม
ความตองการ ความจําเปนในการใชส่ือ เทคโนโลยี วัสดุอุปกรณ และดําเนินการจัดสรรวัสดุอุปกรณตาม
แผนทวี่ างไวใหท ัว่ ถึง เกดิ ประโยชน มีความคมุ คา มากที่สดุ ตอ การพัฒนาคณุ ภาพผเู รยี น

1.3.5 นิเทศ กํากบั ติดตาม ผลการปฏิบัตงิ าน นเิ ทศ กํากับ ติดตาม การใชส่อื
เทคโนโลยี วัสดุ อปุ กรณ ในการจัดการเรยี นรู ตามแผนและปฏทิ นิ การนิเทศใหเปน ตามเปาหมายทก่ี ําหนด

1.3.6 รายงานผลการดําเนินงาน รายงานผลการใชสื่อ วัสดุ อุปกรณ ในการจัดการ
เรยี นรู เสนอปญหา อปุ สรรค และขอ เสนอแนะใหเปน ตามเปา หมายทก่ี ําหนด

1.3.7 ปญหา/อปุ สรรค ส่ือ เทคโนโลยี เคร่ืองมือในการติดตอส่ือสารท่ีจําเปนตอ
การเรียนรูของนักเรียนในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)
ในรูปแบบการเรียนตางๆ เชน โทรศัพท คอมพิวเตอร โทรทัศน ระบบสัญญาณดาวเทียม เครือขาย
สัญญาณอินเทอรเน็ต ระบบยังขาดความเสถียรของสัญญาณ สรางความไมสะดวก ความไมพรอม
และไมเพยี งพอตอ ความตองการของผูเ รยี น

1.4 ดานการบริหารจัดการ (Management)

1.4.1 สรางความตระหนักรวมกัน ดําเนินการโดยประชุมชี้แจง วางแผน สรางความ
เขาใจรวมกันระหวางโรงเรียนกับครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผูปกครอง ชุมชน คณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และหนวยงานอื่นท่ีเกี่ยวของ เพ่ือวางแผนการบริหารจัดการศึกษาท่ีเหมาะสม
ในสถานการณเรงดวน ปฏิบัติตามมาตรการปองกันการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID – 19) อยางเหมาะสม จัดทําแผนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและพัฒนาคุณภาพผูเรียน
รวมกัน

1.4.2 วิเคราะหสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID – 19) โดยการจัดทําประกาศ การเผยแพรขาวประชาสัมพันธ วารสารของหนว ยงาน แจงขาวสาร
และแนวปฏิบัติทุกหนวยงาน ใหเขาใจตรงกันในชองทางตางๆ ท้ังชองทางปกติและชองทางออนไลน
รวมท้งั การรายงานสถานการณเรงดวนเมื่อเกิดเหตุการณก ารแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID – 19) ในเขตพ้ืนที่บรกิ ารและพน้ื ท่ีใกลเคยี งของสถานศึกษาตอหนว ยงานตน สังกัด เพ่ือรว มกันหา
แนวทางปอ งกนั แกไ ขไดอยางทันทวงที

1.4.3 วางแผนการดําเนินงานรวมกัน วางแผนและบริหารงานรวมกันอยางเปนระบบ
ระหวาง ผูบริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และผูท่ีเกี่ยวของ ประสานงานกับหนวยงานอื่นๆ เพ่ือสงเสริม
สนับสนุนครู และบุคลากรทางการศึกษาใหมีการพัฒนาตนเอง จัดหางบประมาณ วัสดุอุปกรณเพ่ือนํามา
ใชในการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนในสถานศึกษาใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดตอการพัฒนาคุณภาพ
ผูเรียน

1.4.4 ดําเนินการตามแผน สถานศึกษาดําเนินการโดยคํานึงถึงผูปกครอง ชุมชนและ
คณะกรรมการสถานศึกษา ซึ่งมีบทบาทสําคัญตอการดําเนินงานหรือการจัดการบริหารใหมีความยืดหยุน

119

ตามสถานการณ โดยเนนการทํางานเปนทีม และมีเปาหมายรวมกัน ใชกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู
แกปญหาแบบ PLC และดําเนินการจดั ทําแผนการแกป ญ หาอยางเหมาะสมตามสถานการณ

1.4.5 นิเทศ กํากับ ติดตาม ผลการปฏิบัติงาน สถานศึกษานิเทศ กํากับ ติดตาม
อยางเปนระบบ มีปฏิทินการนิเทศติดตาม นิเทศตามแผนการนิเทศ และรายงานผลการนิเทศ กํากับ
ติดตามในดานการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู และการดแู ลชว ยเหลอื นักเรยี นของโรงเรยี น

1.4.6 รายงานผลการดําเนินงาน ครูผูรับผิดชอบการจัดการเรียนรูประเมินผล
จดั ทํารายงานผล ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะ จากการจัดการเรยี นการสอนรายวัน และรายสัปดาห
เสนอผูบริหารสถานศึกษา เพื่อให ผูบริหารสถานศึกษาวิเคราะห และสรุปผลการดําเนินกิจกรรมเสนอ
หนว ยงานตนสังกดั

1.4.7 ปญหา/อุปสรรค ระบบราชการมีข้ันตอนการทํางานซับซอน ใชเวลาในการ
ดําเนินการท่ีคอนขางนาน ทําใหเกิดความลาชา เปนอุปสรรคสําคัญในการบริหารจัดการสถานศึกษา
ในสถานการณเ รง ดว น เชน การจดั ซือ้ จัดจาง เปนตน

2. แนวทางการจดั การเรยี นรูของสถานศึกษา

2.1 การจัดการเรียนรูของสถานศึกษาที่ใชในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019(COVID – 19) ในชวงกอนเปดภาคเรยี น สว นใหญใชการเยี่ยมบานเปนหลัก โดยผสมผสาน
กับรูปแบบอ่ืนๆ เชน รูปแบบการเยี่ยมบานกับการจัดการเรียนรูผานโทรทัศน(On-air) การเย่ียมบาน
กับการจัดการเรียนรูผานออนไลน(Online) เปนตน สถานศึกษาสวนใหญมีการอบรมใหความรูครู
เสริมทักษะการจัดการเรียนรูเก่ียวกับการใช สื่อเทคโนโลยี และการสํารวจความพรอมของนักเรียน
การปรับเนื้อหาและกิจกรรมเสริมการเรียนรูใหสอดคลองกับรูปแบบการจัดการเรียนรู มีการเตรยี มอาคาร
สถานท่ี และอุปกรณตางๆ กอนเปดภาคเรียนโดยเฉพาะในกรณีท่ีตองขยายเพ่ิมหองเรียน การปรับเน้ือหา
การจัดกิจกรรม การเรยี นรแู บบบูรณาการ การใชใบความรู และใบงานประกอบการเรยี นรู

2.2 การจัดการเรียนรูของสถานศึกษาที่ใชในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019(COVID – 19) ในชวงเปดภาคเรียน สถานศึกษาใชรูปแบบการจัดการเรียนรู 2 รูปแบบ
ดังน้ี รูปแบบท่ี 1 การจัดการเรียนรู ในชั้นเรียน (On-site) ผสมกับรูปแบบอ่ืน ๆ คือ การจัดการเรียนรู
ผานโทรทัศน (On-air) และการจัดการเรียนรูผานออนไลน (Online) รูปแบบท่ี 2 การจัดการเรียนรู
โดยการเยี่ยมบาน (On hand) ลักษณะการจัดการเรยี นรูแตกตางกันตามสภาพพ้ืนที่บริบทและความเส่ียง
ในการตดิ เช้ือ ดงั น้ี

2.2.1 ในพ้ืนที่ที่ไมมีความเสี่ยงการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID – 19) ใชรูปแบบการจัดการเรียนรูในลักษณะปกติ แตมีการรักษาระยะหางและดําเนินการ
ตามมาตรการปองกันของศูนยบริหารสถานการณแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID – 19) หรอื ศบค. มาตรการของกระทรวงสาธารณสุข และมาตรการของรัฐบาล

2.2.2 สถานศึกษาขนาดใหญที่มีนักเรยี นจํานวนมาก 1 แหง คือ โรงเรียนอนบุ าลอุทุมพร
พิสัย ใชวิธีการสลับวันเรียน โดยในวันที่นักเรียนไมไดมาเรียน ใชรูปแบบการจัดการเรียนรูผานออนไลน
(Online) หรอื การจดั การเรยี นรผู านโทรทศั น( On-air)

2.2.3 สถานศึกษาบางแหงใชการลดจํานวนนักเรียนในแตละหอง ใชการจัดการเรียนรู
ผานโทรทัศน (On-air) และการจัดการเรยี นรูผานออนไลน (Online)

120

2.2.4 สถานศึกษาลดกิจกรรมเพื่อหลีกเล่ียงการสัมผัสทางรางกาย เชน พลศึกษา
การงานอาชพี สําหรบั การจัดการเรียนรูผานออนไลน ใชแ พลตฟอรมตาง ๆ เชน Google Meet, Zoom,
MST การใชส่ือ Social Media ในการจดั การเรียนรู

2.2.5 สถานศึกษาบางแหงมีการปรับรูปแบบการวัดและประเมินผลการเรยี นรูผานระบบ
ออนไลน( Online) และมีการปรับรปู แบบวดั ผลประเมนิ ผลท่ีมีความหยืดหยุนและมีวิธกี ารที่หลากหลาย

2.3 ผลกระทบของสถานการณการแพรระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19)
ที่มีตอ การจัดการเรยี นรู สรุปไดดงั นี้

2.3.1 ผลกระทบทางบวก
1) ผลกระ ท บ ท างบวกต อการจัดการเรียน รูของสถาน ศึ กษา พบวา

มีการปรับเปล่ียนแผนและเปาหมายในการจัดการศึกษา มีการปรับรูปแบบการนิเทศ กํากับ ติดตาม
และการวัดและประเมินผลการเรียนรูใหมใหเหมาะสมกับสถานการณ มีการปรับปรุงระบบเครือขาย
สัญญาณอินเทอรเน็ต ใหมีคุณภาพสูงข้ึน มีการปรับลดขนาดหองเรียน มีการใชรูปแบบการจัดการเรียนรู
และเทคโนโลยใี หม ๆ และมกี ารใชวิธกี ารวัดและประเมนิ ผลการเรียนรูใหมท ี่มคี วามหลากหลายมากยิ่งขน้ึ

2) ผลกระทบทางบวกตอการปฏิบัติงานของผูบริหารและครู พบวา ผูบริหาร
พัฒนาตนเองใหมีความรูและทักษะการบรหิ ารสถานศึกษารูปแบบตาง ผูบริหารและครูพัฒนาตนเองใหมี
ความรูและทักษะการจัดการเรียนรูรูปแบบตางๆ ครูเรียนรูและพัฒนาทักษะการใชเทคโนโลยีเพ่ิมขึ้น
ครูเปลี่ยนวิธีสอน วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรูท่ีหลากหลาย ครูปรับใชรูปแบบการจัดการเรียนรู
โดย ใชเทคโนโลยี ครูมีความสามัคคีและชวยเหลือกันมากขึ้น และครูไดรับความชื่นชมจากผูปกครองมาก
ข้นึ

3) ผลกระทบทางบวกตอผูเรียน พบวา นักเรียนมีเวลาอยูกับครอบครัวมากขึ้น
มีความรับผิดชอบตอการเรียนมากขึ้น มีโอกาสไดพัฒนาการเรียนรูผานเทคโนโลยี มีพฤติกรรมใฝเรียนรู
ลดเวลาความเส่ียงและคาใชจายในการเดินทางไปโรงเรียนและคาใชจายอื่นๆ มีความสงบและมีสมาธิ
ในการเรียนมากขึ้น

4) ผลกระทบทางบวกตอผูปกครองชุมชน และสังคม พบวา ผูปกครองมีการติดตอ
ส่ือสารเพื่อรับขาวสารจากสถานศึกษามากข้ึน ชุมชนและทองถ่ินสนับสนุนงบประมาณ ใหความรวมมือ
และใหค วามชว ยเหลือสถานศึกษามากขึน้ และผูปกครองเขา ใจและมคี วามสัมพันธอ นั ดกี ับสถานศึกษา

2.3.2 ผลกระทบทางลบ
1) ผลกระทบทางลบตอการจัดการเรียนรูของสถานศึกษา พบวา เครือขาย

อินเทอรเน็ต การสื่อสารไมเพียงพอ และสัญญาณไมเสถียร สถานศึกษาไมไดรับเงินงบประมาณสนับสนุน
จากหนวยงานตนสังกัด คุณภาพการจัดการเรียนรูของครูลดลง อาคารสถานท่ีเพ่ือการจัดการเรียนรูไม
เพียงพอ วัสดุอุปกรณเพื่อปองกันการติดเช้ือโรคไมเพียงพอ และหนวยงานตนสังกัดและหนวยงานอื่น ๆ
ตอ งการขอมูลสถานศกึ ษาทําใหเปนภาระงานและกระทบตอเวลาในการจัดการเรียนการสอน

2) ผลกระทบทางลบตอการปฏบิ ตั งิ านของครู พบวา ครูมีภาระงานในการจัดการ
เรียนรูและการดูแลนักเรียนมากข้ึน มีความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน มีความวิตกกังวลเก่ียวกับการจัดการ
เรยี นรูในรูปแบบใหม และขาดขวญั กาํ ลงั ใจในการจดั การเรยี นรแู ละการปฏบิ ตั งิ าน

3) ผลกระทบทางลบตอผูเรียน พบวา นักเรียนตองปรับเวลาสถานท่ีและวิธีการ
เรียนใหม มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับผลการเรียน ไดรับการฝกทักษะการปฏิบัตินอยลง ไมสามารถทํา

121

กิจกรรมการเรยี นรวมกับเพ่ือน เสียโอกาสในการเรียนรจู ากแหลงเรียนรูภายนอกและการเรยี นจากการปฏิบัติ
จริง เสียคาใชจาย ในการเตรียม จัดหาวัสดุ อุปกรณ ส่ือ เทคโนโลยีและอินเทอรเน็ตเพื่อการเรียนรู
และผลการเรียนตํา่ ลง

4) ผลกระทบทางลบตอผูปกครองและชุมชน พบวา ผูปกครองมีภาระในการชวยเหลือ
การเรียนรูของบุตรหลานเพิ่มข้ึน เสียคาใชจายเพื่อสรางความพรอมในการเรียนใหกับบุตรหลาน ตองหา
ความรูเพ่ิมเติมในบทเรียนและการใชเทคโนโลยีเพื่อใหสามารถชวยเหลือสงเสริมการเรียนรขู องบุตรหลาน
มภี าวะตึงเครียดท่ีตองดูแลบุตรหลาน วติ กกังวลเกี่ยวกับการเรยี นของบุตรหลาน และเสียเวลาและโอกาส
ในการประกอบอาชีพ

3. แนวทางการดแู ลชวยเหลือนักเรียนของสถานศึกษา

3.1 รูปแบบหรือแนวทางในการใหค วามชว ยเหลอื นกั เรยี นดานการเรียนรโู ดยการพฒั นา
ระบบคัดกรองนักเรียน กําหนดแนวทางการชวยเหลือนักเรียนเปนรายบุคคล และสงเสริมสนับสนุนทุน
และปจจัยพ้ืนฐานท่ีจําเปนเพื่อชวยเหลือนักเรียน รวมท้ังกํากับติดตาม และชวยเหลือนักเรียนอยาง
ตอเนอื่ ง

3.2 ระบบติดตามชวยเหลือนักเรียนกลุมที่มีปญหาในการเขาเรียนโดยติดตามชวยเหลือ
นกั เรียนกลุมทม่ี ีปญ หาตามบริบทของสถานศึกษา

3.3 รูปแบบหรือแนวทางในการติดตามสงตอการเรียนรูจากระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา
ตอนตน และมธั ยมศึกษาตอนปลาย โดยการพัฒนาระบบแนะแนว การศกึ ษาตอสรางเครอื ขายศิษยเกา และ
กําหนดแนวทางการติดตามนกั เรยี น

3.4 มาตรการดานความปลอดภัยของสถานศึกษา โดยจัดทํามาตรการดานความปลอดภัย
ในชวงสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ใหสอดคลองกับ
มาตรการของศูนยควบคุมโรคติดตอจังหวัดประชาสัมพันธแนวปฏิบัติพัฒนาสภาพแวดลอมและแหลง
เรียนรูในสถานศึกษา และจัดหาอุปกรณในการระวังปองกันการติดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID - 19) ใหเ พียงพอ

3.5 แนวทางในการติดตามชวยเหลือนักเรียนที่ผูปกครองหรือญาติท่ีใกลชิดเปนกลุม
ผูสัมผัสโรค กลุมเส่ียงหรือติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) โดยการเยี่ยมบานและประสาน
หนวยงานท่ีเกีย่ วขอ งเพอื่ ใหคําแนะนาํ ในการดูแลความปลอดภยั

3.6 แนวทางหรือนโยบายใหเครือขายผูปกครอง หรือญาติท่ีใกลชิดของนักเรียนมีสวนรวมใน
การสังเกตพฤติกรรมการเรียน และประเมินผลการเรียนรูรวมกันโดยการเยี่ยมบานนักเรียน ประสานงาน
กบั ผปู กครอง และขอความรวมมอื

ตอนที่ 3 ขอเสนอเชิงนโยบายการจดั การศกึ ษาในสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั
โคโรนา 2019 ในระดบั สาํ นักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2

3.1 ขอ เสนอแนะเชงิ นโยบาย ดา นการบรหิ ารจัดการ ในสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรค
ติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19) ของสาํ นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ
เขต 2 มดี ังน้ี

122

3.1.1 กําหนดนโยบาย แผนงาน และมาตรการ ในการจัดทําระบบและกลไกสนับสนุน
ทรพั ยากรตางๆ ในการจัดการศึกษาของหนวยงานภาครัฐและหนวยงานตน สงั กดั

3.1.2 หนวยงานตนสังกัด พัฒนาและสงเสริมศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาใหมี
ความรูความเขาใจแนวทางการจัดการศึกษาในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID – 19) ผลิตครูใหม ีสมรรถนะในการจัดการเรยี นรูทางไกลและการจัดการเรียนรูใ นยคุ ดิจทิ ัล
ใชสอ่ื เทคโนโลยไี ดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพ และมีความเปนสากล

3.1.3 หนว ยงานตนสังกัดควรจดั สรรอปุ กรณและ/หรอื คล่ืนความถเ่ี พอ่ื ใหสถานศึกษา
สามารถใชท ีวีเพื่อการศกึ ษาได

3.1.4 จัดสรรงบประมาณใหเพยี งพอและสอดคลองกับความตองการแทจริง โดยการคาํ นวณ
คาใชจายรายหัวของนักเรียน และคาใชจายเพ่ิมเติมของผูปกครองของนักเรียนในสถานการณการแพร
ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)

3.2 ขอ เสนอแนะเชงิ นโยบาย ดานการจัดการเรียนรู ในสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคติด
เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ของสํานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 2
มดี ังนี้

3.2.1 กําหนดนโยบาย แผน มาตรการสงเสริมการจัดการเรียนรูอยางเปนระบบ มีความชัดเจน
ทันตอ สถานการณวิกฤต และควรเปน นโยบายท่เี อ้ือใหสถานศึกษาสามารถปรับไดตามบริบทของสถานศึกษา

3.2.2 หนวยงานตนสังกัดควรปรับหลักสูตรการจัดการเรียนรูและการวัดและประเมินผล
การเรยี นรใู นสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ใหเ ปน หลักสูตร
ฐานสมรรถนะท่ีมีความยืดหยุน ปรับโครงสรางเวลาเรียน ปรับลด เนื้อหาใหกระชับ และบูรณาการใน
การจดั การเรยี นรูไดเหมาะสมกับสถานการณ

3.2.3 สงเสริมใหครูพัฒนาตนเองใหมีสมรรถนะในการจัดการเรียนรูในสถานการณวิกฤต
และเสริมสรางเจตคติตอการเรียนรูแบบพ่ึงพาตนเอง สามารถผลิตและสรางสรรคสื่อเทคโนโลยีชว ยสอน
เชน บทเรียนคอมพิวเตอร, บทเรียนออนไลน (E-learning), หองเรียนออนไลน (Google Classroom)
หรือสรางหนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส (E-Book) เปนตน

3.2.4 สรางเครือขายเพ่ือพัฒนาการเรียนรูใหมีประสิทธิภาพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู
เพื่อสรา งสรรคนวตั กรรมในการพัฒนาคุณภาพผเู รยี น

3.2.5 หนวยงานตนสังกัดควรสนับสนุนใหมีการจัดต้ังศูนยสื่อ อุปกรณ เทคโนโลยี
ทางการเรียนการสอน เพ่ือสนับสนนุ และชวยเหลือการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา

3.2.6 กําหนดนโยบายการนิเทศ ติดตามการจดั การเรียนการสอนในสถานการณการแพร
ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)อยางเปน ระบบ ชัดเจน และมคี วามตอเน่ือง

3.3 ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย ดา นการดแู ลชว ยเหลอื นักเรยี น ในสถานการณการแพรระบาด
ของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ของสํานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา
ศรสี ะเกษ เขต 2 มดี งั นี้

3.3.1 หนวยงานตนสังกัดสนับสนุนชวยเหลือนักเรียนและผูปกครอง โดยควรประสาน
ความรวมมือกับหนวยงานท่ีเกี่ยวของ เชน ศูนยชวยเหลือเด็กและเยาวชนในภาวะวิกฤตทางการศึกษา

123

กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยกระทรวงมหาดไทย และหนวยงานในระดับจังหวัด
เพ่ือสํารวจความตองการความชวยเหลือสําหรับกลุมเด็กที่ไดรับผลกระทบจากสถานการณวิกฤตอยาง
รุนแรง และกลุมเด็กดอยโอกาสตาง ๆ ใหไดรับความชวยเหลือเปนพิเศษเพื่อลดความเหล่ือมลํ้า
ทาง โอกาสในการเขาถงึ การศกึ ษา

3.3.2 สงเสริมใหนักเรียนใชสื่อเทคโนโลยี (Digital Literacy) เพื่อการแสวงหาความรูใหเกิด
ประสิทธิภาพ มีความรคู วามเขา ใจในการใชและการเขาถึงสื่อเทคโนโลยีรวมทั้งสิทธิและความปลอดภัยใน
การใชสอ่ื เทคโนโลยี

3.3.3 จัดทํามาตรการดานความปลอดภัยในชวงสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ใหสอดคลองกับมาตรการของศูนยควบคุมโรคติดตอจังหวัดประชาสัมพันธ
แนวปฏิบัติ พัฒนาสภาพแวดลอมและแหลงเรียนรูในสถานศึกษา และจัดหาอุปกรณในการระวังปองกัน
การตดิ ของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ใหเ พยี งพอ

3.3.4 สรางเครือขายความรวมมือกับผูปกครอง และชุมชนในการวางแผนปองกันการแพร
ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 COVID - 19)

อภปิ รายผล

จากผลการวจิ ยั สามารถอภิปรายผลได ดังนี้
1.การจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา ในสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ
เขต 2 ในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) พบวา สถานศึกษา
ในสังกัดประกอบดวย โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดใหญ และมโี รงเรียนท่ใี ช
เปนที่พักคอย จํานวน 6 แหง ในการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา พบวา สถานศึกษาสวนใหญ
จัดการเรียนการสอนแบบ On-Site ซ่ึงการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบใดขึ้นอยูกับสภาพบริบทและ
สถานการณการแพรระบาดหรือความเส่ียงของจังหวัดเปนหลัก ดังน้ันการท่ีสถานศึกษาสวนใหญในสังกัด
สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 สามารถเปดการเรียนการสอนในรูปแบบปกติ
(On-Site) อาจเนื่องมาจากจังหวัดศรีสะเกษเปนจังหวัดท่ีมีสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) เปนพื้นท่ีควบคุม(สีสม) (ศูนยบริหารสถานการณการแพรระบาดของ
โรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (ศบค.) : ออนไลน) สถานการณก ารแพรระบาดมกี ารแพรร ะบาดในบางพนื้ ท่ี
เทาน้ัน พ้ืนที่บางสวนยังไมการแพรระบาด หรอื หากมกี ารแพรร ะบาดก็ไมรุนแรง จึงทําใหสถานศกึ ษาสวน
ใหญในสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 สามารถเปดการเรียนการสอนใน
รูปแบบปกติ (On-Site) ได สวนสถานศึกษาที่มีผูปกครองหรือประชาชนเดินทางมาจากจังหวัดที่เปนพื้นที่
ควบคุมสูงสุดและเขมงวด (พ้ืนท่ีสีแดงเลือดหมู หรือแดงเขม) และจังหวัดที่เปนพ้ืนที่ควบคุมสูงสุด (พื้นที่
สแี ดง) รวมท้ังผทู ่ีติดเชื้อไวรัสโคโรนา มคี วามเสี่ยงในการแพรกระจายเชือ้ โรคสูงจําเปนตองใหน ักเรียนเปด
เรียนในรูปแบบอ่ืน (On-Hand , On-Line , On-air , On-demand) ท้ังนี้สถานศึกษาท่ีเปดการเรียน
การสอนในรูปแบบอ่ืนจะตองปฏิบัติตามมาตรการและแนวทางการดําเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ
ที่รัฐมนตรีวา การกระทรวงศึกษาธกิ ารกลาวไววา "การเรียนรนู ําการศึกษา โรงเรียนอาจหยุดได แตการ
เรียนรูหยุดไมได” โดยการจัดการเรียนการสอนสามารถเกิดขึ้นไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด
เทาท่ีสภาพแวดลอมจะอํานวยบนพื้นฐาน 6 ขอ คือ 1)การจัดการเรียนการสอนคํานึงถึงความปลอดภัย
สูงสุดของทุกคนท่ีเก่ียวของ “การเปดเทอม” หมายถึง การเรียนที่โรงเรียนหรือท่ีบาน 2) อํานวยการให

124

นกั เรยี นทุกคนสามารถเขาถึงการเรยี นการสอนได แมจ ะไมส ามารถไปโรงเรียนได 3) ใชสง่ิ ทีม่ อี ยแู ลว ใหเ กิด
ประโยชนสูงสุด เชน การเสนอขอชองดิจิทัล TV จากคณะกรรมการกิจการการกระจายเสียง และกิจการ
โทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) ทั้ง 17 ชอง 4) ตัดสินใจนโยบายตางๆ บนพื้นฐานของการสํารวจความ
ตองการ ท้ังจากนักเรียน ครู และโรงเรียน 5) ปรับปฏิทินการศึกษาของไทยใหเอ้ือตอการ “เรียนเพ่ือรู”
ของเด็กมากขึ้น และ6) บุคลากรทางการศึกษาทุกทานจะไดรับการดูแลอยางตอเน่ือง (คณะกรรมาธิการ
การศึกษา วุฒิสภา : 2563 , 28 – 29) สอดคลองกับงานวิจัยของของ จิรกิติ์ ทองปรีชา (2563 :
บทคัดยอ) ท่ีพบวา การบริหารจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนเปนไปตามนโยบายและแนวทางของ
รฐั บาลในการเตรียมความพรอมในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน และมาตรการปองกันการ
แพรระบาดในสถานศึกษา เพ่ือความปลอดภัยสูงสุดของนักเรียนและบุคลากรทางการศึกษา
และสอดคลองกับคณะกรรมาธิการการศึกษา วุฒิสภา (2563 : บทสรุปผูบริหาร) ที่ไดเสนอแนะเชิง
นโยบายเรงดวน วา ดว ยการบรหิ ารการจัดการศกึ ษาในชวงสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID – 19) ท่ีเหมาะสมกับสังคมไทยวาสถานศึกษาที่ต้ังอยูในพื้นท่ีเสี่ยงหากเปดการ
เรียนการสอนในชวงสถานการณที่เปนอยูในขณะนี้ อาจสงผลใหเกิดปญหาการติดเชื้อ และ
การแพรกระจายของเช้อื เปน ไปอยางกวางขวางมากข้นึ

แตจากการศึกษาพบวามีโรงเรียนบางแหงท่ีไมสามารถใชการจัดการเรียนการสอนผานการใช
เทคโนโลยีได หลายแหงมปี ญหาในเร่อื งเครือขายอนิ เทอรเ น็ต และหลายแหงไมม ีทวี ีท่สี ามารถรบั สัญญาณ
DLTV ได ผูปกครองและนักเรียนยังขาดทกั ษะในการใชเทคโนโลยี ซึ่งปญหาดังกลาวนเ้ี ปน อปุ สรรคสําคัญ
สําหรบั การจดั การเรียนการสอนรูปแบบ On-line ปญหาการขาดเทคโนโลยใี นการเรียนการสอนทั้งในสวน
ของครแู ละนักเรียน รวมท้ังปญหาผูปกครองและนักเรียนยังขาดทักษะในการใชเทคโนโลยี สอดคลองกับ
สภาพการณของบางประเทศ เชน ประเทศญี่ปุน พบวา ครู นักเรียน รวมถึงประชากรของญี่ปุนยังมีทักษะ
การใชเทคโนโลยีในระดับต่ํา โรงเรียนรัฐบาลของญ่ีปุนยังขาดความพรอมในการจัดการดานเทคโนโลยี
เชน กัน (สาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา : 2563)

2. แนวทางการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาโรงเรียนทุกลักษณะในการบริหารจัดการ การจัดการ
เรยี นรู และการดแู ลชว ยเหลอื นักเรียน พบวา แนวทางการจัดการศึกษา ท้งั 3 ดาน ประกอบดวย ดา นการ
บริหารจัดการ ดานการจัดการเรียนรู และดานการดูแลชวยเหลือนักเรียน เปนไปในแนวทางเดียวกันทุก
ลักษณะสถานศึกษา ซ่ึงบุคลากรทั้งในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา ตางมีความตระหนักถึงอันตราย
และความปลอดภัยในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงไดให
ความรวมมือในการบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุด สถานศึกษาได
ปรับเปลี่ยนแผนการใชงบประมาณ ปรับรูปแบบการเรียนการสอน และใหการดูแลชวยเหลือนักเรยี นและ
ผูปกครองเทาที่จําเปนตามงบประมาณเงินอุดหนุนของสถานศึกษาท่ีมีอยู และหนวยงานภายนอกก็ให
การสนับสนุนวัสดุอุปกรณในการระวังปองกันโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สอดคลองกับ
ชาญชัย อาจินสมาจาร (2545, อางถึงใน พระครูและบุคลากรสังฆรักษไชย รัตนชยรตโน, 2558 : 324)
ไดกลาววา ผูบริหารจะตองสามารถใชทรัพยากรหรือปจจยั ทางการบรหิ าร (Administrative Resources)
ท่ีสําคัญมีอยูอยางนอย 4 ประการ คือ คน (Man)เงิน (Money)วัสดุ (Materials)และวิธีปฏิบัติงาน (Management)
ไมวาจะเปนองคกรใดๆ ยอมมีความจําเปนตองใชทรัพยากรหรือปจจัยนี้เปนเคร่ืองมือในการบริหารหรือ
จัดการซึ่งนิยมเรียกวา หลัก 4M’s และยังสอดคลองกับ เสกสิฐ เลากิจเจริญ (2550 : 7 – 8) กลาวไววา

125

หลักการ 4M’s เปนปจจัยที่สําคัญตอการบรหิ ารจัดการศึกษา ไดแก 1) ดานบุคลากร 2) ดานงบประมาณ
3) ดานวสั ดุ และ 4) ดา นการจัดการ

นอกจากนี้ในดานการจัดการเรยี นรู สถานศึกษาที่อยูในพื้นที่ท่ีไมมคี วามเส่ยี งการแพรระบาดของ
โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ท่ีใชรูปแบบการจัดการเรียนรูในลักษณะปกติ(On-Site)
แตตองมีการรักษาระยะหางและดําเนินการ ตามมาตรการปองกันของศูนยบริหารสถานการณแพรระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) มาตรการของกระทรวงสาธารณสุข และมาตรการของรัฐบาล
และสถานศึกษาที่อยูในพื้นท่ีท่ีมีความเสี่ยงสูง ตองเปดทําการเรียนการสอนในรูปแบบอ่ืน (On-Hand ,
On-Line , On-air , On-demand) นั้น ในสถานการณที่นักเรียนบางสวนเรียนตามปกติ แตนักเรียน
บางสวนตองปรับเปล่ียนใหทุกๆ สถานที่กลายเปนโรงเรียน เพราะการเรียนรูยังตองดําเนินอยูแมนักเรียน
ไมสามารถไปโรงเรียนไดตามปกติ มาตรการการเรียนรูของไทยจึงไมควรปรับแคกระบวนการเรียนรูใน
หองเรียน แตตองปรับใหมท้ังระบบการเรียนรูที่ตองสอดคลองกันและเช่ือมโยงกับการเรียนรูของเด็ก
โดยควรดําเนินการ ดังนี้ 1) กระชับหลักสูตร ปรับใหสอดคลองกับสถานการณโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) และสื่อสารใหทุกภาคสวนทราบ 2) เพิ่มความยืดหยุนของโครงสราง เวลาเรียนและ
ความหลากหลายของรูปแบบการเรียนรู 3) ออกแบบหนวยการเรียนรู และสอนอยางมีแผนที่เหมาะสม
4) ยกระดับการประเมินเพือ่ การพัฒนา (formative assessment) และ 5) การประเมินเพ่ือรับผิดรับชอบ
(assessment for accountability) คณะกรรมาธิการการศึกษา วุฒสิ ภา (2563 : 26 – 28)

สถานศึกษาควรมีแนวทางในการจัดการศึกษาทั้งในชวงกอนเปด ภาคเรียนและในชวงเปดภาคเรยี น
โดยใชเทคโนโลยีเปนฐานในการดําเนินการ จัดสรรอุปกรณและ/หรือคล่ืนความถ่ีเพ่ือใหครูสามารถใชทีวี
เพื่อการศึกษาได สอดคลองกับผลการวิจัยของ มนธิชา ทองหัตถา (2563 : บทคัดยอ) พบวา ปญหาครูท่ี
พบในการจัดการเรียนรูแบบออนไลน คือ ปญหาดานอุปกรณอิเล็กทรอนิกส สัญญาณอินทอรเน็ตและ
โปรแกรมที่ใชสําหรับการเรียนแบบออนไลนพบมากที่สุด ปญหาดานการเงิน ปญหาดานพฤติกรรมของ
นักเรียน เชน การบริหารจัดการเวลาและความรับผิดชอบตอตนเองของนักเรียน นอกจากน้ันปญหาดาน
ครอบครัว ยังทําใหนักเรียนบางสวนตองทํางานเพื่อแบงเบาภาระครอบครัวขณะอยูบาน ซึ่งสอดคลองกับ
งานวิจัยของ ศูนยวิจัยกสิกรไทย (2564 : บทคัดยอ) ที่พบวาความไมพรอมของอุปกรณการเรียนออนไลน
เชน คอมพวิ เตอร/แทบ็ เล็ต และอินเทอรเน็ต เปนปญหาสสําหรับการเรียน Online และนักเรียนสวนใหญ
เรียนออนไลนผานโทรศัพท เคลื่อนท่ีสมารทโฟน (คิดเปน 50.90 %) ซึ่งการเรียนออนไลนผาน
โทรศัพทเคลื่อนท่ีสมารทโฟนมีขอจํากัด อาทิ ขนาดหนาจอที่เล็ก ขอจํากัดของโทรศัพทในการลง
แอปพลิเคช่ันเพื่อการทําการบานสงออนไลน และการเรียนเปนระยะเวลานานจะสงผลตอสุขภาพ
ของนักเรียน นอกจากนี้ ผูปกครองที่มีบุตรหลานในวัยเรียนมากกวา 1 คน ตองแบงปนการใชอุปกรณใน
การเรียนและคาใชจายในการซ้ืออุปกรณเพ่ือการเรียนออนไลน รวมถึงตองมภี าระรายจายคาอินเทอรเน็ต
ที่เพ่ิมขึ้น(จากขอมูลเบื้องตนพบวาคนไทยใชโทรศัพทเคล่ือนที่สวนใหญสวนใหญใชระบบเติมเงิน ขณะที่
การใชอินเทอรเน็ตความเร็วสูงมีเพียง 9 – 10 ลานคน) และผลสํารวจยังสะทอนวา กลุมผูปกครองผูมี
รายไดนอยจะเผชิญกับขอ จาํ กดั ทส่ี ูงกวาเม่ือบุตรหลานตอ งเรยี นออนไลน ดงั น้นั สถานศึกษาจึงควรจัดสรร
อุปกรณและ/หรือคล่ืนความถ่ีเพื่อใหครูสามารถใชทีวีเพ่ือการศึกษาได สงเสริมใหครูประจําช้ัน หรือครูท่ี
ปรึกษาพัฒนาตนเองใหมีสมรรถนะในการจัดการเรียนรูในสถานการณวิกฤต สามารถผลิตและสรางสรรค
ส่ือเทคโนโลยีชวยสอน เชน บทเรียนคอมพิวเตอร, บทเรียนออนไลน (E-learning), หองเรียนออนไลน
(Google Classroom) หรือสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกส (E-Book) เปนตน เพ่ือใหครูมีความรูความเขาใจ

126

และสามารถจัดการเรียนรูในรูปแบบตางๆ ใหกับนักเรียนไดอยางสมบูรณ และเหมาะสมกับศักยภาพของ
นักเรียน อีกท้ังครูจะไดดูแลชวยเหลือนักเรียนและผูปกครอง ใหสามารถใชส่ือเทคโนโลยี (Digital
Literacy) เพื่อการแสวงหาความรูใหเกิดประสิทธิภาพ มีความรูความเขาใจในการใชและการเขาถึงส่ือ
เทคโนโลยรี วมท้ังสทิ ธแิ ละความปลอดภัยในการใชสอ่ื เทคโนโลยี

3. ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย การจัดการศึกษาในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) ของสํานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2 พบวา
ควรกําหนดนโยบาย แผนงาน และมาตรการ ในการจัดทําระบบและกลไกสนับสนุนทรัพยากรตางๆ
ในการจัดการศึกษาของหนวยงานภาครัฐและหนวยงานตนสังกัด พัฒนาและสงเสริมศักยภาพครูและ
บุคลากรทางการศึกษาใหมีความรูความเขาใจแนวทางการจัดการศึกษาในสถานการณการแพรระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ควรจัดสรรอุปกรณและ/หรือคลื่นความถ่ีเพอ่ื ใหสถานศึกษา
สามารถใชทีวีเพื่อการศึกษาได รวมทั้งจัดสรรงบประมาณใหเพียงพอและสอดคลองกับความตองการ
แทจริง สอดคลองกับ คณะกรรมาธิการการศึกษา วุฒิสภา (2563 : 24 – 26) กลาววา ชวงการระบาดของโรค
ติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) หลายประเทศใชวิธีสอนทางไกลไมวาจะเปนการสอนออนไลน
ผาน Massive Open Online Courseware (MOOC) หรือแอปพลิเคช่ันท่ีชวยใหครูสอนในหองเรียน
เสมอื น (Virtual Classroom) หรือใชก ารถายทอดการสอนผา นสญั ญาณโทรทัศนเพื่อใหเ ด็กเรียนตอทบี่ าน
ไดขณะเปดโรงเรียน แตก ารใชวธิ ีการดงั กลาวทาํ ใหเ ด็กบางกลุม โดยเฉพาะเด็กในครอบครัวทีม่ ฐี านะยากจน
เสียเปรียบเพราะไมมีอุปกรณดิจิทัลที่บาน นอกจากนี้ในการเรียนระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐานเด็กจําเปนตอง
ไดร บั การเอาใจใสการเรียนทบี่ านจึงเปนการผลักภาระใหผ ปู กครอง อาจทาํ ใหเหลือ่ มลาํ้ ทางการศึกษาเพิ่ม
มากข้ึน หากผูปกครองไมพรอมในการชวยเหลือบุตรหลานของตนในการเรยี น เพอื่ ปองกันไมใหเด็กที่ไมมี
ความพรอมเสียโอกาส รัฐบาลของหลายประเทศไดจัดหาอุปกรณการเรียนใหแกเด็กกลุมดังกลาว รวมท้ัง
ออกคูมือใหผูปกครองสามารถชวยเหลือเด็กในการใชอุปกรณ ในสวนของประเทศไทยนั้นยังมีขอจํากัดใน
การเรียนทางไกลคอนขางสูง ขอมูลของสหภาพโทรคมนาคมระหวางประเทศ (ITU) บงชี้วา สัดสวนของ
ครัวเรือนท่ีมีคอมพิวเตอรคอนขางต่ําเมื่อเปรียบเทียบกับคาเฉล่ียของประเทศที่พัฒนาแลว นอกจากนี้
การสํารวจของสํานักงานสถิติแหงชาติยังสะทอนใหเห็นความเหลื่อมลํ้าสูงในการเขาถึงอุปกรณดิจิทัล
โดยเฉพาะครัวเรอื นที่มีฐานะยากจน และครัวเรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ยิ่งไปกวาน้ันยังมีนกั เรยี นกวา
8 หมื่นคน อยูในพ้ืนที่ท่ีไฟฟาเขาไมถึง ดังน้ัน รัฐบาลตองสํารวจความพรอมของครัวเรือนเด็ก และมี
มาตรการที่หลากหลายเพ่ือเตรียมความพรอมในการเขาถึงการเรียนทางไกลของเด็กท่ีสภาพความขาด
แคลนตางกัน เตรียมอุปกรณหรือสื่อการเรียนใหเหมาะสมกับบริบทของครอบครัวท่ีแตกตางกัน
โดยดําเนินการใน 6 ประการดงั น้ี 1) กําหนดมาตรการเปด-ปดโรงเรียนใหสอคลอง และยืดหยุนตามความ
รุนแรงของการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) 2) ปรับปรุงหองเรียนใหเปน
“หองเรียนปลอดภัย หางไกลโควิด-19” 3) สํารวจความพรอมการเรียนการสอนทางไกลของเด็กเพ่ือ
ประเมินความเสี่ยง 4) จัดเตรียมอุปกรณใหแกนักเรียนท่ีมีความเส่ียงที่จะเสียโอกาสจากการเรียนทางไกล
ในกรณีโรงเรียนตองปดเพราะพ้ืนที่มีการระบาดรุนแรง 5) ใชมาตรการทางสาธารณสุข และมาตรการทาง
สังคมเพื่อปองกันการแพรระบาดในโรงเรียนทีเ่ ปดการเรยี นการสอนในกรณีท่ีโรงเรียนสามารถจัดการเรียน
การสอนได 6) สื่อสารใหผูปกครองทราบความจําเปนของมาตรการเปด - ปดโรงเรียน รวมท้ังใหคูมือ
สนบั สนุนเดก็ สาํ หรบั การเรียนทางไกล

127

ขอเสนอแนะ

1. ขอ เสนอแนะของการนําผลการวิจยั ไปใช

1.1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สามารถนําขอเสนอเชิงนโยบายไปปรับ
กลยุทธการบริหารจัดการศึกษาใหสอดคลอง และเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาในสถานการณ
การแพรร ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)

1.2 สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 สามารถนําขอเสนอ
เชิงนโยบายไปปรับกลยุทธการบริหารจัดการศึกษาสถานศึกษาในสังกัดใหสอดคลอง และเหมาะสม
กบั บรบิ ทของสถานศกึ ษาในสถานการณการแพรร ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19)

1.3 ผูบริหารสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2
สามารถนําผลการวิจัยไปใชในการวางแผนการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาใหสอดคลอง
และ เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID - 19)

2. ขอ เสนอแนะสาํ หรับการทําวจิ ยั ครัง้ ตอไป

2.1 สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ควรมีการศึกษารูปแบบ
การบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัด ในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID – 19)

2.2 ผูบริหารสถานศึกษา ควรมีการศึกษาและจัดทําขอเสนอเชิงนโยบายในการจัดการศึกษา
ในสถานการณการแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19) ในระดับสถานศึกษา

128

บรรณานุกรม

129

บรรณานุกรม

กานต เนตรกลาง (2555). การพัฒนาขอ เสนอเชิงนโยบายเพื่อดําเนิน การเปนผูนาํ จัดการศึกษาของ
โรงเรยี นสาธติ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสมี า.วิทยานิพนธ ปร.ด. ขอนแกน:
มหาวิทยาลัยขอนแกน.

กง่ิ พร ทองใบ. (2547). กลยุทธแ ละนโยบายธุรกิจ. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช
กลา ทองขาว. (2548). การนํานโยบายและแผนการศึกษาไปปฏิบัติ : แนวคิด ทฤษฎแี ละแนวการ

ดําเนินงาน (พิมพครง้ั ที่ 1). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช.
คนึง สายแกว . (2549). ขอเสนอเชงิ นโยบายการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัยในจงั หวัด สุรนิ ทร.

วิทยานิพนธ ปร.ด. ขอนแกน : มหาวิทยาลยั ขอนแกน.
จมุ พล หนิมพานิช. (2552). การประเมินผลนโยบาย: หลกั การแนวคดิ และการประยกุ ตใช. นนทบรุ ี :

มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.
ดุสติ สมศรี. (2551). การพฒั นาตวั แบบการบริหารแผนยุทธศาสตรข องสถานศกึ ษา ข้ันพ้นื ฐาน

ในบรบิ ทการกระจายอาํ นาจทางการศกึ ษา. วทิ ยานพิ นธศษ.ด. ขอนแกน :
มหาวิทยาลยั ขอนแกน.
วโิ รจน สารรตั นะ. (2548). ผบู ริหารโรงเรียน: สามมติ กิ ารพฒั นาวชิ าชีพสคู วามเปน ผบู รหิ ารท่มี ี
ประสิทธิภาพ. กรงุ เทพมหานคร: ทพิ ยวสุทธิ์.
ทวีป ศริ ริ ัศม.ี (2545). การวางแผนพฒั นาและประเมนิ โครงการ. กรงุ เทพฯ: สํานักงานกองทนุ
สนบั สนนุ การวจิ ยั .
นภดล พลู สวสั ดิ์. (2551). ยุทธศาสตรการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษาทองถิน่ ของ
มหาวิทยาลัยราชภฎสุรินทร. วทิ ยานิพนธศกึ ษาศาสตรดษฎีบัณฑติ สาขาการบริหาร
การศึกษา, มหาวทิ ยาลัยขอนแกน.
ไชยา ภาวะบุตร (2549). ขอเสนอเชงิ นโยบายเพื่อการพัฒนาการจัดการศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. วทิ ยานพิ นธด ุษฎีบัณฑิต. ขอนแกน : มหาวิทยาลยั ขอนแกน.
ประชุม รอดประเสรฐิ . (2543). นโยบายและการวางแผนหลกั การและทฤษฎ.ี (พมิ พค รั้งท่ี 4).
กรุงเทพฯ: เนติกลุ การพิมพ.
พิธาน พนื้ ทอง.(2548). ขอ เสนอเชิงนโยบายเพื่อพฒั นาศักยภาพโรงเรยี นขนาดเล็ก ในภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื .ขอนแกน : มหาวทิ ยาลัยขอนแกน .
พงษศกั ดิ์ ภูกาบขาว. (2553). ขอเสนอเชงิ นโยบายเพือ่ ความมีประสิทธผิ ลของโรงเรียน เรียนรว ม
จงั หวดั ขอนแกน . วทิ ยานิพนธ ศษ.ด. ขอนแกน : มหาวทิ ยาลัยขอนแกน .
พรม้ิ เพรา วราพันธพุ ิพธิ . (2556). ขอ เสนอเชิงนโยบายเพ่ือความเปน เลศิ ของสถานศกึ ษา ขั้นพ้ืนฐาน
สังกดั องคก รปกครองสวนทองถิน่ . วทิ ยานิพนธ ปร.ด. ขอนแกน: มหาวิทยาลยั ขอนแกน.
พชั รกฤษฎิ์ พวงนิล. (2553). กลยุทธก ารระดมทรัพยากรทางการศกึ ษาเพอื่ พฒั นาสถานศึกษา
ข้นั พืน้ ฐานของรัฐในจงั หวัดมหาสารคาม. วทิ ยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตร ดุษฎบี ณั ฑิต
มหาวิทยาลยั ขอนแกน .

130

สมภาร ศิโล. (2552). ขอเสนอเชงิ นโยบายเพ่ือพัฒนาวิชาการในสถาบันอุดมศกึ ษา : กรณศี ึกษา
มหาวิทยาลัยราชภฏั ชยั ภูม.ิ วิทยานิพนธป ริญญาศึกษาศาสตรดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวิชาการ
บริหารการศึกษา.

เรืองวิทย เกษสวุ รรณ (2550). ความรเู บอื้ งตน เก่ียวกับรัฐประศาสนศาสตร. กรงุ เพทฯ:บพิธการพิมพ.

Hambleton, R. (1983). Planning systems and policy implementation. Journal of
Public policy, 3(4),397- 419

Hogwood, B. W. & Gunn, L. (1984). Policy Analysis for the Real World. Oxford: Oxford
University Press.

Alberta, K. W. (1994). Conflict and conflict management:The superintendents’
perspective. EDD Dissertation. Administration Education. University .

Anderson, J.A. (2000). Explanatory roles of mission and culture: Organizational
effectiveness in Tenessee’s community colleges. Memphis: The University
of Memphis.

Banghart , Frank W. and Trull Albert Jr. (1973). Educational Planning. New York :
Macmillan.

Choi, Y, S. (2000). An empirical study of factors affecting successful
implementation of knowledge management. Doctoral Dissertation, University
of Nebraska, Lincoln, NE. U.S.A Unpublished.

David, William N. (2000). Public Policy Analysis. N.J.: Prentice-Hall
Lowi , Theodore J. (1968). “American Business, Public Policy, Case Studies, and Political

Theory.” , World Politics. XVI July.
Lineburry, Robert L. (1971). Urban Politics and Publicy. New York : Harpers Row.
Sharkansky, Ira. (1971). Policy Analysis in Political Science. Chicago : Markham.
Majchrzak, M. (1984). Methods for policy research : Applied social research

methods series vol. 3. Newbury Park : sage.
Molony (2010). A comparison of traditional test blueprinting and item

development to assessment engineering in a licensure context. Retrieved
from https://libres.uncg.edu/ir/uncg/f/Masters_uncg_0154D_10377.pdf
Wheelen, T. L. & Hunger, J. D. (2006). Strategic Management and Business Policy.
(10th ed). New Jersey : Pearson Prentice Hall.
Oaks, & Avolio, B. (2003). Improving organizational effectiveness through
transformational leadership. CA: Sage.
Rendell, F., Tamba, S. and Cisse, I. 2003. Properties of cement – rice husk mixture.
Construction and Building Materials. 17, 239-243.

131

ภาคผนวก

132

ภาคผนวก ก
รายชอื่ ผเู ช่ียวชาญ

133

รายช่อื ผูเ ช่ียวชาญดา นบรหิ ารจดั การศึกษา

1 นายชูชาติ ชยั วงศ ตําแหนง ผูอํานวยการโรงเรียนบานพงสิม
2 นางรสรินทร ดาแกว วทิ ยฐานะ ผอู ํานวยการโรงเรียนเชยี่ วชาญ
ตําแหนง ผอู าํ นวยการโรงเรียนสระกําแพงวทิ ยาคม
วทิ ยฐานะ ผูอํานวยการโรงเรียนเชี่ยวชาญ

รายช่ือผูเช่ียวชาญดา นการจดั การเรยี นรู

1 ดร.สมนกึ แซอ ึ้ง ตําแหนง ผูอ าํ นวยการกลมุ นเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจดั
2 ดร.นพรัตน ใจสวา ง การศกึ ษา
วิทยฐานะ ศกึ ษานเิ ทศกช าํ นาญการพเิ ศษ
ตําแหนง ศกึ ษานเิ ทศก
วิทยฐานะ ศกึ ษานิเทศกชานาญการพเิ ศษ

รายช่ือผเู ชี่ยวชาญดา นการดูแลชว ยเหลือนกั เรียน

1 ดร.สัมฤทธ์ิ พรหมพิทกั ษ ตาํ แหนง ศึกษานิเทศก
วทิ ยฐานะ ศกึ ษานิเทศกช านาญการพเิ ศษ


Click to View FlipBook Version