The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนวิชาทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nongnarko, 2022-05-27 04:18:01

แผนวิชาทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย

แผนวิชาทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย

1

แผนการจัดการเรยี นรู้
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551

สาระทักษะการเรียนรู้
วชิ า ทักษะการเรียนรู้ (ทร31001) 5 หน่วยกิต

จานวน 200 ชว่ั โมง
ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

โดย
นางสุวพร วรรณทอง
ครู กศน.ตาบลสระแจง

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางระจัน
สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั สงิ ห์บุรี

สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ
กระทรวงศึกษาธกิ าร

2

คานา

แผนการจดั การเรยี นรู้ เป็นเคร่ืองมือสาคัญสาหรบั ครูทจ่ี ะทาให้การจัดการเรียนรู้
บรรลเุ ปูาหมายตามตัวชว้ี ัด แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ า ทกั ษะการเรียนรู้ รหัส ทร31001 ระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย เลม่ น้ี จัดทาขึน้ เพอ่ื เป็นแนวทางในการเรยี นการสอน สาหรบั ครูผู้สอน และบุคคล
ทเ่ี ก่ยี วข้อง สามารถนาไปใช้ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ โดยมีเน้ือหา จานวน ๖ บท ๒๔ เรื่อง ประกอบด้วย

บทที่ 1 การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง
เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย ความสาคัญ และกระบวนการของการเรียนร้ดู ้วยตนเอง
เรอื่ งที่ 2 ทกั ษะพน้ื ฐานทางการศกึ ษาหาความรู้ ทักษะการแก้ปัญหา และเทคนิคใน
การเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง
เรื่องที่ 3 การทาแผนผังความคิด
เรื่องท่ี ๔ ปจั จัยท่ที าให้การเรียนรู้ดว้ ยตนเองประสบความสาเรจ็

บทท่ี 2 การใช้แหลง่ เรียนรู้
เรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย ความสาคัญ ประเภทของแหล่งเรียนรู้
เรื่องที่ 2 แหลง่ เรยี นรู้ประเภทห้องสมดุ
เรื่องที่ ๓ ทักษะการเข้าถึงสารสนเทศของหอ้ งสมดุ
เรอ่ื งที่ ๔ การใช้แหล่งเรียนรู้สาคญั ๆ ในประเทศ
เรอ่ื งที่ ๕ การใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ผา่ นเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็

บทที่ 3 การจัดการความรู้
เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย ความสาคญั หลกั การ
เร่ืองท่ี 2 กระบวนการในการจดั การความรู้ การรวมกลุม่ เพื่อต่อยอดความรู้ และการ
จัดทาสารสนเทศเพื่อเผยแพร่ความรู้
เร่ืองที่ 3 ทกั ษะกระบวนการจดั การความรู้

บทท่ี 4 การคิดเปน็
เรอ่ื งที่ 1 ความเชื่อพน้ื ฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่ กับกระบวนการคิดเปน็ การ
เชือ่ มโยงสู่ปรชั ญาคิดเปน็ และการคดิ การตัดสินใจแกป้ ัญหาอยา่ งเปน็ ระบบแบบคน
คดิ เป็น
เรื่องที่ 2 ระบบข้อมลู การจาแนกลักษณะขอ้ มูล การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์
สงั เคราะห์ ข้อมูลทั้งด้านวิชาการ ด้านตนเอง และสังคมสภาวะแวดล้อม โดยเน้นไปท่ี
ข้อมูลดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรมท่ีเก่ียวข้องกับบุคคล ครอบครัวและชมุ ชน เพือ่ นามาใช้
ประกอบการตัดสนิ ใจแกป้ ัญหาตามแบบอย่างของคนคดิ เป็น
เร่ืองที่ ๓ กรณีตวั อย่าง และสถานการณจ์ ริงในการฝึกปฏบิ ัตเิ พอื่ การคดิ การ
แกป้ ญั หา แบบคนคดิ เปน็

บทท่ี 5 การวิจัยอยา่ งงา่ ย
เรอื่ งท่ี 1 ความหมาย ความสาคญั ของการวิจัย
เรื่องที่ 2 กระบวนการและขั้นตอนการทาวจิ ัยอยา่ งงา่ ย
เรอ่ื งท่ี 3 สถติ ิงา่ ยๆ เพื่อการวิจัย
เรอ่ื งที่ 4 การสร้างเครื่องมอื การวิจยั

3

เรื่องที่ 5 การเขียนโครงงานวิจยั
เรื่องท่ี 6 การเขยี นรายงานการวจิ ัยอยา่ งงา่ ยและการเผยแพร่ผลงานการวจิ ัย
บทที่ ๖ ทักษะการเรียนรูแ้ ละศกั ยภาพหลกั ของพื้นทใ่ี นการพฒั นาอาชีพ
เรือ่ งท่ี ๑ ความหมาย ความสาคัญของศักยภาพหลกั ของพื้นที่
เรื่องที่ ๒ กลมุ่ อาชพี ใหม่ ๕ ด้าน และศักยภาพหลกั ของพืน้ ท่ี ๕ ประการ
เร่ืองที่ ๓ ตวั อย่างการวิเคราะหศ์ กั ยภาพหลักของพืน้ ท่ี
ผ้จู ดั ทาขอขอบคุณผทู้ ่ีเกี่ยวข้องทกุ คนท่มี สี ว่ นในการจัดทาแผนการเรียนรู้เลม่ น้ี หากมี
ข้อพกพร่องประการใดขอความกรณุ าใหข้ ้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะ เพอ่ื จะนาไปสู่การปรับปรุง ในการจดั ทา
แผนการเรยี นรู้ รายวชิ า ทกั ษะการเรยี นรู้ รหัส ทร31001 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ให้ดยี ่ิงข้นึ ตอ่ ไป
และหวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ ว่าแผนการจดั การเรยี นรเู้ ล่มนจี้ ะเป็นประโยชน์ต่อครูผูส้ อน นกั ศึกษา ตลอดจนบุคคลท่ี
เกย่ี วขอ้ งตอ่ ไป

นางสวุ พร วรรณทอง
วนั ท่ี 22 เดือน ธนั วาคม พ.ศ. 256๔

4

สารบัญ หน้า
1
เรือ่ ง ๒
คาอธบิ ายรายวชิ า 5
รายละเอียดคาอธบิ ายรายวิชา 8
ตารางวิเคราะหห์ ลักสูตรรายวชิ า
แผนการจดั การเรยี นรู้คร้ังท่ี 1 ๑๐

การปฐมนเิ ทศนักศึกษา 2๑
แผนการจัดการเรียนรู้ครง้ั ที่ 2
34
ความหมาย ความสาคญั และกระบวนการของการเรยี นรู้ด้วยตนเอง
แผนการจดั การเรียนรู้ครั้งท่ี 3 55

กระบวนการในการเรียนรู้ด้วยตนเอง 6๒
แผนการจัดการเรยี นรู้ครง้ั ที่ 4
69
ความหมายและความสาคัญของแหล่งเรียนรู้
แผนการจัดการเรยี นรู้ครัง้ ที่ 5 7๔

การใช้แหล่งเรียนรู้ผา่ นเครอื ค่ายอนิ เทอร์เนต็ 7๙
แผนการจดั การเรียนรู้ครงั้ ที่ 6
8๖
ความหมาย ความสาคญั และหลกั การในการจัดการความรู้
แผนการจัดการเรยี นรู้ครั้งที่ 7 9๙

รปู แบบและกระบวนการในการจดั การความรู้ 10๖
แผนการจดั การเรยี นรู้ครัง้ ท่ี 8
11๖
การรวมกล่มุ เพ่อื ต่อยอดความรู้

แผนการจัดการเรียนรู้ครัง้ ที่ 9
ทักษะกระบวนการจัดการความรู้

แผนการจดั การเรยี นรู้คร้ังท่ี 10
ความเชือ่ พน้ื ฐานทางการศึกษาผ้ใู หญ่ฯ

แผนการจัดการเรียนรู้ครง้ั ที่ 11
ระบบข้อมูล ฯ

แผนการจัดการเรยี นรู้ครงั้ ท่ี 12
ความหมายของงานวิจัย

แผนการจดั การเรยี นรู้ครัง้ ที่ 13
ขั้นตอนทาวิจยั อย่างง่าย

สารบญั (ต่อ) 5

เรอื่ ง หน้า
1๒๑
แผนการจดั การเรียนรู้ครง้ั ที่ 14 12๖
การเขยี นโครงการวิจัยอย่างง่าย 1๓๑
13๖
แผนการจดั การเรียนรู้ครง้ั ที่ 15 1๔๓
สถิตงิ า่ ยเพ่อื การวจิ ยั 1๕๒
1๕๖
แผนการจดั การเรยี นรู้ครง้ั ที่ 16 1๖๗
การสรา้ งเคร่ืองมือการวิจยั

แผนการจัดการเรียนรู้ครั้งท่ี 17
การวจิ ัยอยา่ งง่าย

แผนการจัดการเรียนรู้ครงั้ ท่ี 18
ทักษะการเรยี นรู้และศกั ยภาพหลักของพ้ืนทใี่ นการพัฒนาอาชีพ

แผนการจัดการเรียนรู้ครั้งท่ี 19
ตวั อยา่ งอาชีพทส่ี อดคล้องกบั ศักยภาพหลักของพ้ืนท่ี

แผนการจดั การเรียนรู้ครั้งท่ี 20
ปัจฉมิ นิเทศ

คณะผจู้ ดั ทา

6

บันทึกขอ้ ความ

ส่วนราชการ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางระจัน

ที่ ศธ.0210.๗๙๐๔/ว๑๕๕๐ วันที่ ๒๒ ธันวาคม 256๔

เรื่อง การตรวจคุณภาพแผนการจดั การเรยี นรู้

เรยี น ผอู้ านวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางระจัน

ด้วย งานการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
อาเภอบางระจนั ไดจ้ ัดทาแผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชา ทกั ษะการเรยี นรู้รหัส ทร31001
ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย เพ่อื ใช้ในการจดั การเรยี นรู้ ภาคเรยี นท่ี ๒ ปกี ารศึกษา 256๔ เรียบร้อย
แล้ว จึงขอเสนอแผนการจัดการเรียนร้มู าเพ่ือตรวจสอบคุณภาพก่อนนาไปจัดการเรียนรู้ รายละเอยี ดดัง
แนบมาพร้อมนี้

จงึ เรียนมาเพื่อโปรดพจิ ารณา

(นางสาววิจิตรา กองแก้ว)
ครผู ้ชู ว่ ย

หวั หนา้ งานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ผลการตรวจสอบ

 องคป์ ระกอบของแผนครบถว้ น
 การจดั การเรียนรู้เปน็ ไปตามเปูาหมายของสถานศึกษา
 เน้อื หาสาระตรงตามโครงสรา้ ง
 ใช้กระบวนการจัดการเรียนรูท้ เ่ี นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั
 ส่อื ทีใ่ ช้เรยี นรู้เหมาะสม

 อนมุ ัติใหด้ าเนนิ การได้  ไม่อนมุ ัติ

ขอ้ เสนอแนะ
......................................................................................... .......................................................................
............................................................................................................................. ...........................
(นางสาวปรารถนา ชีโพธ์ิ)
ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางระจนั
วันท่ี เดอื น ธนั วาคม พ.ศ. 256๔

1

คาอธบิ ายรายวิชา ทร31001 ทกั ษะการเรยี นรูจ้ านวน 5 หน่วยกติ

สาระทกั ษะการเรียนรู้ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับ

มีความร้คู วามเข้าใจ เกยี่ วกบั การพัฒนาทักษะการเรยี นร้ขู องนักเรียนในด้านการเรียนรู้ด้วยตนเองการ
ใช้แหลง่ เรียนรู้ การจัดการความรู้ การคดิ เปน็ และการวจิ ยั อย่างง่าย โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พื่อใหผ้ ู้เรยี นสามารถ
กาหนดเปูาหมาย วางแผนการเรียนรูด้ ้วยตนเอง เขา้ ถึงและเลอื กใชแ้ หลง่ เรยี นรู้จดั การความรู้ กระบวนการ
แก้ปญั หาและตัดสนิ ใจอย่างมีเหตผุ ล ทีจ่ ะสามารถเลือกใช้เครอื่ งมือชีน้ าตนเองในการเรยี นรู้ และการป
ประกอบอาชีพให้สอดคล้องกับหลักการพน้ื ฐาน และการพัฒนา ๕ ศกั ยภาพหลักของพืน้ ที่ ใน ๕ กล่มุ อาชีพ
ด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พณิชกรรม ความคดิ สรา้ งสรรค์ การบริหารจดั การ ตามยุทธศาสตร์ ๒๕๕๕
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ได้อยา่ งตอ่ เนือ่ งตลอดชวี ิต

การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้
เนน้ มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ มีคุณธรรม จริยธรรม เกยี่ วกับการพัฒนาทักษะการเรยี นรขู้ องนักเรียนในด้าน

การเรียนรู้ด้วยตนเองการใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ การจัดการความรู้ การคิดเป็นและการวิจัยอย่างงา่ ย โดยมี
วตั ถุประสงคเ์ พ่ือใหผ้ ้เู รียนสามารถกาหนดเปูาหมาย วางแผนการเรียนรดู้ ้วยตนเอง เข้าถึงและเลือกใช้แหล่ง
เรยี นรูจ้ ัดการความรู้ กระบวนการแก้ปัญหาและตัดสนิ ใจอย่างมีเหตผุ ล ทจ่ี ะสามารถเลอื กใชเ้ ครอื่ งมือชน้ี า
ตนเองในการเรยี นรู้ และการปประกอบอาชพี ใหส้ อดคลอ้ งกับหลักการพนื้ ฐาน และการพฒั นา ๕ ศักยภาพ
หลกั ของพนื้ ที่ ใน ๕ กลุ่มอาชีพด้าน้เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม พณชิ กรรม ความคิดสรา้ งสรรค์ การบรหิ าร
จัดการ ตามยุทธศาสตร์ ๒๕๕๕ กระทรวงศึกษาธิการ ได้อย่างเมาะสม

การวัดและประเมนิ ผล

การเรียนรู้ด้วยตนเองใชก้ ารประเมินจากผลงานของผเู้ รียนท่ีแสดงออกเก่ียวกบั การกาหนดเปูาหมาย
และวางแผนการเรียนรู้ รวมทักษะพื้นฐานและเทคนิคในการเรียนรู้ต่าง ๆ ตลอดจนปัจจัยท่ีทาให้การเรียนรู้
ประสบความสาเร็จ

2

รายละเอียดคาอธบิ ายรายวชิ า ทร31001 ทักษะการเรียนรู้จานวน 5 หน่วยกิต

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

มาตรฐานการเรยี นร้รู ะดบั

1. สามารถวเิ คราะห์ เหน็ ความสาคัญ และปฏิบัติการแสวงหาความร้จู ากการอา่ น ฟัง และสรุปได้
ถูกต้องตามหลักวิชาการ

2. สามารถจาแนก จัดลาดบั ความสาคญั และเลอื กใชแ้ หล่งเรยี นรู้ไดอ้ ย่างเหมาะสม
3. สามารถจาแนกผลท่เี กดิ ขึ้นจากขอบเขตความรู้ ตดั สนิ คุณค่า กาหนดแนวทางพฒั นา
4. ความสามารถในการศึกษา เลือกสรร จัดเก็บ และการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลทั้งสามประการ
และการใช้เทคนคิ ในการฝกึ ทักษะ การคิดเปน็ เพื่อใช้ประกอบการตัดสนิ ใจแกป้ ญั หา
5. สามารถวิเคราะห์ปญั หา ความจาเปน็ เหน็ ความสมั พันธ์ของกระบวนการวิจัยกับการนาไปใช้ใน
ชวี ติ และดาเนินการวจิ ยั ทดลองตามขั้นตอน
๖. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจทกั ษะการเรยี นรู้และการวิเคราะห์ศักยภาพหลักของพืน้ ที่ในการพัฒนาอาชีพ

ที่ หวั เรื่อง ตัวชีว้ ัด จานวน
เนื้อหา

(ชว่ั โมง)

1 การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ๑. อธบิ ายความหมาย ๑. ความหมาย ความสาคัญ ๕
2 การใช้แหล่งเรยี นรู้ ๑๐
ความสาคญั และกระบวนการของ และกระบวนการของการ
๑๕
การเรยี นรู้ดว้ ย ตนเอง เรยี นรดู้ ้วยตนเอง ๑๐
๑๐
๒. ปฏบิ ัตกิ ารฝึกทักษะพน้ื ฐาน ๒. ทกั ษะพนื้ ฐานทางการศึกษา

ทาง การศึกษาหาความรู้ ทักษะ หาความรู้ ทกั ษะการแกปญั หา ้

การ แกปญั หา และเทคนคิ ในการ และเทคนิคในการเรียนรู้ด้วย

เรยี นรู้ ้ ด้วยตนเอง และการวาง ตนเอง รวมทง้ั การวางแผนการ

แผนการ เรียนรู้ และการ เรียนรู้ และการประเมินผลการ

ประเมนิ ผลการ เรียนรู้ ดว้ ยตนเอง เรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง

๓. ฝึกปฏิบัติทักษะการพูด และ ๓. ทกั ษะการพูด และการทา

การทาแผนผงั ความคดิ แผนผังความคิด

๔. อธิบายปัจจัย ทท่ี าให้การ ๔. ปจั จัยทที่ าใหก้ ารเรียนรู้ดว้ ย

เรียนรู้ ด้วยตนเองประสบ ตนเองประสบความสาเร็จ

ความสาเรจ็

๑. อธิบายความหมาย ๑. ความหมาย ความสาคญั

ความสาคญั ประเภทแหล่งเรียนรู้ ประเภทแหล่งเรยี นรู้ เขา้ ถึง

การใชห้ อ้ งสมดุ และ แหล่งเรียนรู้ สารสนเทศ แหลง่ เรียนร้อู นื่ ๆ ท่ี

อน่ื ๆ ท่ีสาคญั รวมท้ัง การใช้ สาคญั รวมทัง้ การใช้

อินเทอรเ์ นต็ เพ่ือการเรยี นร้ขู อง อินเทอรเ์ นต็ เพื่อการเรียนรู้ ของ

ตนเอง ตนเอง

3

ท่ี หัวเร่อื ง ตวั ชวี้ ัด จานวน
3 การจดั การความรู้ เนอื้ หา

4 การ (ช่วั โมง)
คิดเป็น
๒. บ่งชขี้ ้อดีขอ้ เสยี ของแหล่ง ๒. ขอ้ ควรคานงึ ในการศึกษา ๒๐
๑๐
เรยี นรู้ เรยี นรกู้ ับแหล่งข้อมูลตา่ ง ๆ
15
๓. ปฏบิ ัตกิ ารเรยี นรูก้ บั แหลง่ รวมทั้งนวตั กรรมและ 15

เรียนรู้ ตา่ งๆได้เหมาะสม เทคโนโลยี ๖

๑. อธบิ ายความหมาย ๑. ความหมาย ความสาคัญ ๘

ความสาคัญ หลกั การ หลกั การ กระบวนการจัดการ ๑๐

กระบวนการจัดการความรู้ การ ความรู้ การรวมกลุม่ เพื่อต่อ

รวมกลุ่มเพื่อต่อยอดความรู้ การ ยอดความรู้ การพัฒนาขอบข่าย

พฒั นาขอบข่ายความรูข้ องกลุ่ม ความร้ขู องกลุ่ม การจดั ทา

การ จดั ทาสารสนเทศเผยแพร่ สารสนเทศเผยแพร่ความรู้

ความรู้ ๒. ทกั ษะกระบวนการจัดการ

๒. ปฏบิ ัตกิ ารด้านทกั ษะ ความรดู้ ว้ ยตนเองและดว้ ยการ

กระบวนการ จดั การความรูด้ ้วย รวมกลุ่มปฏิบัติการ

ตนเองและดว้ ยการ รวมกลมุ่ ๓. สรุปองค์ความรู้ของกลุ่ม

ปฏิบตั กิ าร จัดทาสารสนเทศองค์ความรู้ใน

๓. สรปุ องค์ความร้ขู องกลุ่ม จดั ทา การพัฒนาตนเอง ครอบครัว

สารสนเทศองคค์ วามรู้ในการ

พัฒนา ตนเอง ครอบครวั

๑. อธบิ ายความหมาย ๑. ความเชื่อพืน้ ฐานทาง

ความสาคัญ ของการคิดเปน็ การศกึ ษาผู้ใหญ/่ การศึกษา

๒. รวบรวมและวเิ คราะห์ สภาพ นอกระบบ ทเี่ ชอื่ มโยงมาสู่

ปญั หา ของตนเอง ครอบครัว ปรชั ญา คิดเปน็

ชุมชน และคิด วิเคราะห์ โดยใช้ ๒. ความหมาย ความสาคัญของ

ข้อมลู ดา้ น ตนเอง ด้านวชิ าการ การคดิ เป็น

และด้าน สงั คม สงิ่ แวดล้อม ๓. การรวบรวมและวิเคราะห์

๓. กาหนดแนวทางทางเลือก ที่ สภาพปญั หา ของตนเอง

หลากหลายในการแกป้ ัญหา อย่าง ครอบครวั ชุมชน และคิด

มเี หตผุ ล มีคุณธรรม จริยธรรม วิเคราะห์ โดยใช้ขอ้ มลู ดา้ น

และมีความสุข การประยกุ ต์ใช้ ตนเอง ด้านวชิ าการ และ ดา้ น

อย่างมเี หตุผล เหมาะสมกับตนเอง สังคมสิ่งแวดล้อม

ครอบครวั และชุมชน/สังคม ๔. กระบวนการและเทคนิคการ

เก็บข้อมูล การวิเคราะห์ และ

สงั เคราะห์ข้อมูล ทั้ง ๓ ประการ

ของบุคคล ครอบครัว และ

ชุมชน เพื่อประกอบการคิด การ

4

ท่ี หัวเร่ือง ตัวช้ีวัด จานวน
เนือ้ หา

(ชวั่ โมง)

ตัดสนิ ใจ

๕. การกาหนดแนวทาง

ทางเลอื กทห่ี ลากหลาย ในการ ๑๐

แกปญั หาอย่าง มเี หตุผล มี ๕

คุณธรรม จริยธรรม และมี ๕
๑๐
ความสุขอยางย่ังยืน การ 1๐

ประยุกต์ใช้อย่างมีเหตุผล 1๐

เหมาะสมกบั ตนเอง ครอบครัว ๕

และ ชุมชน/สังคม

5 การวิจัย ๑. อธิบายความหมาย ๑. ความหมาย ความสาคญั การ
อย่างงา่ ย
ความสาคญั การ วิจยั อย่างงา่ ย วิจัยอยา่ งงา่ ย กระบวนการและ

กระบวนการและข้ันตอน ของการ ขนั้ ตอน ของการดาเนินงาน

ดาเนนิ งาน ๒. สถติ งิ ่าย ๆ เพ่ือการวิจัย

๒. อธบิ าย และฝึกปฏบิ ตั เิ กี่ยวกับ ๓. การสรา้ งเครื่องมือการวิจัย

สถติ ิงา่ ย ๆ เพ่ือการวิจยั ๔. การเขียนโครงการวิจยั อย่าง

๓. สรา้ งเครอื่ งมือการวจิ ัยอย่าง ง่าย ๆ

งา่ ย ๆ ๕. ทกั ษะการวจิ ัยในอาชีพ การ

๔. ปฏิบตั กิ ารเขียนโครงการวิจัยอ เขียน รายงานวิจัย การนาเสนอ

ยาง่ ง่าย ๆ และมีทักษะการวิจัย และเผยแพร่ งานวจิ ัย

ในอาชพี การเขยี นรายงานวจิ ยั

การนาเสนอ และเผยแพร่งานวิจัย

๖ ทกั ษะการเรียนรู้และ 1 อธบิ ายความหมาย ความสาคญั ๑ ความหมายความสาคญั ของ

ศักยภาพหลกั ของพนื้ ที่ ของทกั ษะการเรยี นรู้ และ ศกั ยภาพหลักในการพัฒนา

ในการพัฒนาอาชีพ ศักยภาพกลกั ของพื้นท่ีท่แี ตกต่าง อาชีพ

กนั ได้ ๒ การวิเคราะห์ศักยภาพหลัก
๒ ยกตัวอยา่ งศักยภาพหลกั ของ ของพื้นท่ีในการพัฒนาอาชีพ
พน้ื ทท่ี ่ีแตกต่างกนั ได้

๓ ยกตัวอย่างอาชีพที่ใชห้ ลกั การ ๓ ตัวอย่างอาชีพที่สอดคล้องกบั
พื้นฐานของศักยภาพหลกั ในการ ศักยภาพหลกั ของพื้นที่
ประกอบอาชีพในกลุม่ อาชีพใหม่

ได้

การวิเคราะห์ตารางการจัดการเรยี นรู้รายวชิ า ทัก
ระดับมธั ยม

เรือ่ ง ตัวช้ีวัด เนื้อหา

๑. การ ๑. อธิบายความหมาย ความสาคญั และ ๑. ความหมาย ความสาคัญ และ

เรยี นรูด้ ้วย กระบวนการของการเรยี นรู้ด้วย ตนเอง กระบวนการของการ เรียนร้ดู ว้ ยตน

ตนเอง ๒. ปฏิบัติการฝกึ ทกั ษะพ้นื ฐานทาง การศึกษา ๒. ทกั ษะพื้นฐานทางการศึกษา หาค

หาความรู้ ทกั ษะการ แกปัญหา และเทคนิคใน ทักษะการแกปัญหา ้ และเทคนคิ ใน

การเรียนรู้ ้ ด้วยตนเอง และการวางแผนการ เรียนรู้ด้วย ตนเอง รวมทั้งการวางแผ

เรียนรู้ และการประเมินผลการ เรยี นรู้ ด้วย เรยี นรู้ และการประเมนิ ผลการ เรียน

ตนเอง ตนเอง

๓. ฝกึ ปฏิบัติทกั ษะการพูด และการทาแผนผงั ๓. ทักษะการพูด และการทาแผนผงั

ความคดิ ๔. ปัจจัยท่ีทาใหก้ ารเรียนรูด้ ว้ ย ตนเ

๔. อธิบายปจั จัย ท่ที าให้การเรยี นรู้ ดว้ ยตนเอง ประสบความสาเร็จ

ประสบความสาเรจ็

๒.การใช้ ๑. อธิบายความหมาย ความสาคญั ประเภท ๑. ความหมาย ความสาคัญ ประเภท

แหล่ง แหลง่ เรียนรู้ การใชห้ อ้ งสมุด และ แหลง่ เรยี นรู้ เรยี นรู้ เขา้ ถงึ สารสนเทศ แหลง่ เรีย

เรียนรู้ อื่น ๆ ทส่ี าคญั รวมทั้ง การใช้อนิ เทอรเ์ น็ตเพื่อ ท่ีสาคญั รวมทัง้ การใช้ อินเทอรเ์ น็ต

การเรยี นรขู้ อง ตนเอง เรยี นรู้ ของตนเอง

๒. บง่ ช้ีข้อดขี อ้ เสยี ของแหลง่ เรียนรู้ ๒. ข้อควรคานงึ ในการศึกษา เรยี นร

๓. ปฏบิ ัตกิ ารเรียนรกู้ บั แหล่งเรียนรู้ ต่างๆได้ แหล่งข้อมลู ต่าง ๆ รวมทั้งนวัตกรรม

เหมาะสม เทคโนโลยี

3.การ ๑. อธิบายความหมาย ความสาคัญ หลักการ ๑. ความหมาย ความสาคัญ หลักกา

จัดการ กระบวนการจัดการความรู้ การรวมกลมุ่ เพื่อ กระบวนการจัดการ ความรู้ การรวม

5

กษะการเรียนรู้ รหสั ทร31001 จานวน 5 หนว่ ยกิต
มศึกษาตอนปลาย

วิเคราะหเ์ นื้อหา จานวน รปู แบบการจัดการเรยี นรู้

ง่าย ปานกลาง ยาก ช่ัวโมง ตนเอง รายงาน พบกลุ่ม เข้าค่าย อบรม

 ๕

นเอง  1๐ 
ความรู้
นการ
ผนการ
นรู้ดว้ ย

งความคดิ  ๑๕ 
เอง  ๑๐ 

ทแหลง่  ๑๐ 
ยนรู้อ่ืน ๆ ๒๐ 
ตเพื่อการ ๑๐ 

รกู้ ับ 
มและ

าร 
มกลุม่ เพื่อ

เร่อื ง ตัวชีว้ ัด เน้อื หา
ความรู้
ต่อยอดความรู้ การ พัฒนาขอบขา่ ยความรู้ของ ตอ่ ยอดความรู้ การพฒั นาขอบข่าย

กลมุ่ การ จัดทาสารสนเทศเผยแพร่ความรู้ ของกลุ่ม การจดั ทา สารสนเทศเผยแ

๒. ปฏบิ ตั กิ ารดา้ นทักษะกระบวนการ จดั การ ความรู้

ความรู้ด้วยตนเองและดว้ ยการ รวมกลมุ่ ๒. ทกั ษะกระบวนการจัดการ ความ

ปฏบิ ตั ิการ ตนเองและด้วยการ รวมกลมุ่ ปฏิบตั

๓. สรปุ องค์ความรู้ของกลุ่ม จดั ทา สารสนเทศ ๓. สรปุ องค์ความรู้ของกลุ่ม จดั ทาส

องค์ความรู้ในการพัฒนา ตนเอง ครอบครัว องค์ความรู้ใน การพฒั นาตนเอง คร

4. การ ๑. อธบิ ายความหมาย ความสาคัญ ของการคิด ๑. ความเช่อื พนื้ ฐานทางการศึกษาผ

คิดเปน็ เป็น การศกึ ษานอกระบบ ที่เชือ่ มโยงมาส

๒. รวบรวมและวิเคราะห์ สภาพปัญหา ของ คดิ เป็น

ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน และคดิ วเิ คราะห์ ๒. ความหมาย ความสาคัญของ การ

โดยใชข้ ้อมลู ดา้ น ตนเอง ด้านวิชาการ และ ๓. การรวบรวมและวิเคราะห์สภาพป

ดา้ น สงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม ของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และค

๓. กาหนดแนวทางทางเลือก ทห่ี ลากหลายใน วเิ คราะห์ โดยใช้ข้อมูลดา้ นตนเอง ด

การแก้ปัญหา อย่างมีเหตผุ ล มคี ณุ ธรรม วิชาการ และ ด้านสงั คมสงิ่ แวดลอ้ ม

จรยิ ธรรม และมีความสขุ การประยุกตใ์ ช้อย่าง ๔. กระบวนการและเทคนคิ การเกบ็

มีเหตผุ ล เหมาะสมกับตนเอง ครอบครวั และ การวิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูล

ชมุ ชน/สังคม ประการ ของบุคคล ครอบครัว และ

เพอ่ื ประกอบการคิด การตดั สินใจ

๕. การกาหนดแนวทางทางเลือกที่

หลากหลาย ในการแกปัญหาอยา่ ง ม

มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และมีความส

ยั่งยนื การประยุกต์ใช้อย่างมีเหตผุ ล

6

วิเคราะหเ์ นื้อหา จานวน รปู แบบการจัดการเรยี นรู้

ง่าย ปานกลาง ยาก ชัว่ โมง ตนเอง รายงาน พบกลุ่ม เข้าคา่ ย อบรม

ย ความรู้ 15
แพร่

มรู้ด้วย  15 
ตกิ าร
สารสนเทศ  
รอบครัว

ผู้ใหญ่/  ๖ 
สู่ปรชั ญา

รคดิ เปน็   ๖ 
ปัญหา  ๘ 
คิด
ด้าน ๑๐

บข้อมลู
ท้ัง ๓
ะชุมชน

 ๑๐ 

มีเหตผุ ล
สุขอยาง


เรือ่ ง ตัวชี้วดั เนอื้ หา

เหมาะสมกบั ตนเอง ครอบครัวและ
สังคม

5.การวิจยั ๑. อธิบายความหมาย ความสาคัญการ วจิ ัย ๑. ความหมาย ความสาคัญการวิจัย

อย่างงา่ ย อย่างงา่ ย กระบวนการและขั้นตอน ของการ กระบวนการและขั้นตอน ของการด

ดาเนินงาน ๒. สถิตงิ า่ ย ๆ เพอ่ื การวิจัย

๒. อธบิ าย และฝึกปฏบิ ัตเิ กี่ยวกับสถติ ิง่าย ๆ ๓. การสรา้ งเคร่อื งมือการวิจัย

เพอ่ื การวิจยั ๔. การเขยี นโครงการวิจยั อย่างง่าย

๓. สรา้ งเครอื่ งมือการวิจัยอย่างงา่ ย ๆ ๕. ทักษะการวิจัยในอาชีพ การเขยี น

๔. ปฏิบัติการเขียนโครงการวิจยั อยาง่ ง่าย ๆ รายงานวจิ ยั การนาเสนอและเผยแพ

และมีทักษะการวิจยั ในอาชพี การเขยี น งานวจิ ัย

รายงานวจิ ยั การนาเสนอ และเผยแพรง่ านวจิ ยั

๖.ทกั ษะ 1 อธบิ ายความหมาย ความสาคญั ของทักษะ ๑ ความหมายความสาคัญของศกั ยภ

การเรียนรู้ การเรียนรู้ และศักยภาพกลกั ของพืน้ ทท่ี ่ี ในการพฒั นาอาชีพ

และ แตกตา่ งกนั ได้ ๒ การวิเคราะหศ์ ักยภาพหลกั ของพ
ศักยภาพ ๒ ยกตวั อย่างศักยภาพหลักของพ้ืนท่ีท่แี ตกต่าง การพฒั นาอาชพี
หลักใน กันได้

พ้ืนท่ีการ ๓ ยกตัวอยา่ งอาชพี ท่ีใชห้ ลักการพ้นื ฐานของ ๓ ตัวอยา่ งอาชพี ที่สอดคล้องกบั ศกั ย
พัฒนา ศกั ยภาพหลักในการประกอบอาชีพในกลมุ่ หลักของพืน้ ท่ี
อาชพี อาชีพใหม่ได้

7

วเิ คราะห์เนอ้ื หา จานวน รูปแบบการจัดการเรยี นรู้

งา่ ย ปานกลาง ยาก ช่ัวโมง ตนเอง รายงาน พบกลุ่ม เขา้ คา่ ย อบรม

ชมุ ชน/

ยอย่างงา่ ย  ๕ 
ดาเนินงาน ๕
๕ 
ๆ  ๑๐ 
น  1๐ 
พร่ 

ภาพหลัก  1๐ 

พน้ื ทีใ่ น  ๕
ยภาพ  ๕

8

แผนการจดั การเรียนรคู้ ร้ังท่ี 1 (ปฐมนิเทศ)

กลุ่มสาระทักษะการเรยี นรู้ รายวชิ า ทักษะการเรียนรู้ ทร31001 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

แผนการจัดการเรยี นรู้ เรือ่ ง ปฐมนิเทศนักศึกษา เวลาสอน 3 ชั่วโมง

สอนวนั ท่.ี .........เดือน...................................พ.ศ. ...................ภาคเรียนที่.............ปกี ารศกึ ษา....................

มาตรฐานการเรียนรู้
ความรเู้ ก่ยี วกับการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน

ตวั ชวี้ ดั
1.มคี วามรู้และเข้าใจในการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551
2.มีความรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกับวิธเี รยี น กศน. รปู แบบการเรียนรู้ ตลอดจนภารกิจกจิ กรรม กศน.
3.นกั ศกึ ษาสามารถปฏบิ ตั ิตน ในการเรยี น กศน.

เน้ือหา
1.โครงสรา้ งหลักสตู ร
2.กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชวี ิต (กพช.)
3.เกณฑก์ ารจบหลักสตู ร
4.การจัดการเรียนการสอน

คณุ ธรรม
1.เข้าใจหลักการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551
2.มีเจตคตทิ ่ีดีและเห็นความสาคัญของการศึกษา

กระบวนการจดั การเรียนรู้
- ครใู หค้ วามรู้ความเข้าใจการปฏิบัติตนในการเป็นนักศึกษา กศน.

สอื่ การเรียนการสอน
- คู่มือนักศึกษา
- ตารางพบกลมุ่

การวดั ผลประเมนิ
- การรว่ มกิจกรรมกลมุ่

ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา

พิจารณาแล้ว.................................................................................................................. ........................
......................................................................................................... ......................................................

ลงช่อื
(นางสาวปรารถนา ชโี พธิ์)

ผอู้ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางระจนั
วนั ท่ี ........... เดอื น ................. พ.ศ. ...........

9

บนั ทึกหลังการสอน
ความสาเรจ็ ในการจดั การเรียนการสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................................................ ..
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................................. ............
ปญั หา / อุปสรรค ในการจดั การเรยี นการสอน
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
แนวทางการแกป้ ัญหา
............................................................................................................................. .................................................
..................................................................................................................................................................... .........
.......................................................................................................................... ....................................................
............................................................................................................................. .................................................
........................................................................................................................................................... ...................

ลงช่อื .............................................ครผู สู้ อน
(..............................................)
คร.ู ...........................................

วันที่..........เดอื น...........................พ.ศ. ........................
ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ารสถานศึกษา
............................................................................................................................................................ ..................
................................................................................................................. .............................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................. ............................
....................................................................................................... .......................................................................

ลงชือ่ ผ้บู งั คบั บัญชา
(นางสาวปรารถนา ชโี พธิ์)

ผ้อู านวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางระจัน

10

แผนการจัดการเรยี นรูค้ รั้งที่ 2 (เรยี นรูด้ ้วยตนเอง)

กลมุ่ สาระทกั ษะการเรียนรู้ รายวิชา ทักษะการเรยี นรู้ ทร31001 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง

แผนการจัดการเรียนรู้ เร่อื ง ความหมายและความสาคัญของการเรียนรดู้ ้วยตนเอง เวลาสอน 6 ช่ัวโมง

สอนวนั ท.ี่ ........... เดอื น..............................พ.ศ. .....................ภาคเรยี นท.ี่ ............ปกี ารศึกษา.....................

มาตรฐานการเรียนรู้
มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติที่ดตี อ่ การเรียนร้ดู ้วยตนเอง

ตัวชว้ี ัด
1.สามารถวิเคราะห์ความรู้จากาการอ่าน การฟงั การสงั เกต และสรปุ ไดถ้ ูกต้อง
2.สามารถจัดระบบการแสวงหาความรู้ให้กบั ตนเอง
3.ปฏบิ ัติตามข้ันตอนในการแสวงหาความรเู้ กยี่ วกบั ทักษะการอา่ น ทกั ษะการฟงั และทักษะการจดบนั ทึก

สาระสาคญั
การเรยี นรูด้ ว้ ยตนเองเป็นกระบวนการเรียนรทู้ ผี่ ู้เรยี นรเิ รม่ิ การเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง ตามความสนใจ

ความตอ้ งการ และความถนัดมเี ปาู หมาย รู้จกั แสวงหาแหลง่ ทรพั ยากรของการเรียนรู้ เลอื กวิธีการเรยี นรู้
จนถงึ การประเมินความ ก้าวหนา้ ของการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง โดยจะดาเนินการดว้ ยตนเองหรอื ร่วมมอื ช่วยเหลือ
กับผูอ้ ื่นหรอื ไม่ก็ได้ ซง่ึ การแสวงหาการศกึ ษาระดบั ทีส่ ูงข้ึน จาเป็นตอ้ งร้วู ธิ ีวินจิ ฉัยความตอ้ งการในการเรียน
ของตนเอง สามารถกาหนดเปาู หมายในการเรียนรู้ของตนเอง สามารถระบคุ วามรู้ทีต่ อ้ งการ และวางแผน
การใช้ยทุ ธวิธี สื่อการเรยี น และแหลง่ เรยี นรู้เหลา่ น้นั หรอื แมแ้ ตป่ ระเมินและตรวจสอบความถกู ตอ้ งของผล
การเรยี นรขู้ องตนเอง

เนอ้ื หา
ความหมายและความสาคญั ของการเรียนร้ดู ้วยตนเอง

คณุ ธรรม
1. เพื่อการพฒั นาตน
2. เพอื่ การพฒั นาการทางาน
3. เพ่อื การพฒั นาการอย่รู ว่ มกันในสังคม
4. เพ่ือการพัฒนาประเทศชาติ

11

กระบวนการจดั การเรยี นรู้
ขั้นนา
- การนาเข้าสู่บทเรียนด้วยวธิ กี าร ทักทายผู้เรียน และชแ้ี จงบอกวตั ถุประสงค์การเรียนรูเ้ ร่ือง

ความหมายและความสาคัญของการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง
- ครใู หผ้ เู้ รยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี น คร้งั ท่ี 1
ขั้นสอน
- ครอู ธบิ ายความหมายและความสาคัญของการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองและเปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นซกั ถาม
- ผเู้ รยี นใชแ้ บบเรียนวชิ าทักษะการเรียนรู้ เปิดเนื้อหา บทที่ 1 การเรียนรู้ด้วยตนเอง เรอื่ งความหมาย

และความสาคัญของการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง
- ครูให้ผเู้ รยี นสแกน QR Code ใบความรเู้ ร่อื งการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง(เพ่ิมเตมิ )

-ใหผ้ ูเ้ รยี นแบ่งกลุ่ม 2-3 คน เพ่ือทากิจกรรม “บณั ฑิตสูงวัย” ซึง่ มวี ตั ถปุ ระสงค์เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนทราบ
และเขา้ ใจในแนวคิดการเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง และความพร้อมในการ เรียนร้ดู ว้ ยตนเองและเพ่ือนาไปสลู่ กั ษณะ
การเรยี นรดู้ ้วยตนเองที่ใฝุเรียนรู้ เหน็ คณุ ค่าของการเรียนรู้ ความสามารถท่ีจะเรยี นร้ดู ้วยตนเองมีความ
รับผิดชอบในการเรยี นรู้ การมองอนาคตในแงด่ ี รวมท้ังเห็นความสาคัญ และตระหนักในความพร้อมในการ
เรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง

- ครสู ุ่มผู้เรยี นใหน้ าเสนอผลจาการทากจิ กรรม “บัณฑิตสูงวยั ” หนา้ ช้ันเรียน และฟังการนาเสนอ
ผลงานของทุกกลุ่มพร้อมทาการสรุปเนอ้ื หาสาระท่ีไดน้ าเสนอ

- ครใู หผ้ ู้เรยี นทาใบงาน เรื่องความหมายและความสาคัญของการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง
- ครใู ห้ผเู้ รยี นทาแบบทดสอบหลงั เรียน คร้งั ท่ี 1
- ครแู ละผ้เู รียนรว่ มกนั เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น-หลังเรียน ครัง้ ที่ 1
ขัน้ สรปุ
- ครแู ละผ้เู รียนรว่ มกนั สรปุ หลงั จากทกุ กลุ่มนาเสนอผลงานหน้าชนั้ เรียน
- ครใู ห้ความร้เู พิ่มเตมิ ในส่วนท่ียงั ไม่สมบรู ณ์
- ครเู ชอื่ มโยงกิจกรรมทผ่ี ู้เรยี นไดป้ ฏิบตั กิ บั เน้ือหาในเรื่องของปัจจัยทที่ าให้การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง
ประสบความสาเร็จ
ส่อื และแหล่งเรียนรู้
1. หนังสอื แบบเรียน
2. ใบความรู้
3. ใบงาน

12

การวดั และประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมระหว่างการเรยี นรู้
2. วัดความรู้จากการทากิจกรรมในใบงาน
3. การนาเสนอผลการเรียนรู้
4. แบบทดสอบ

แหล่งการเรียนรู้/สืบค้นขอ้ มูลเพม่ิ เติม
1. ห้องสมุดประชาชน
2. กศน.ตาบล
3. แหล่งข้อมลู สารสนเทศ
4. Internet
5. ภูมิปญั ญา / แหลง่ เรยี นรู้

ความคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา

พจิ ารณาแลว้ ..........................................................................................................................................
......................................................................................................... ......................................................

ลงชอ่ื
(นางสาวปรารถนา ชีโพธิ์)

ผู้อานวยการศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางระจนั
วนั ท่ี ........... เดอื น ................. พ.ศ. ...........

13

บนั ทกึ หลังการสอน
ความสาเรจ็ ในการจัดการเรียนการสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................................. .................
.................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................... ...........................
ปัญหา / อุปสรรค ในการจัดการเรยี นการสอน
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
แนวทางการแกป้ ัญหา
............................................................................................................................. .................................................
...................................................................................................................................................... ........................
........................................................................................................... ...................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................ ..................................

ลงช่อื .............................................ครผู ้สู อน
(..............................................)
ครู............................................

วนั ท.ี่ .........เดือน...........................พ.ศ. ........................
ขอ้ เสนอแนะของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา
....................................................................................................................................................................... .......
............................................................................................................................ ..................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................................. .................
.................................................................................................................. ............................................................

ลงชอื่ ผบู้ งั คับบัญชา
(นางสาวปรารถนา ชโี พธิ์)

ผ้อู านวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางระจัน

14

แบบทดสอบกอ่ นเรียน-หลงั เรียน คร้ังท่ี 1

1. ข้อใดไมใ่ ช่ความสาคัญของการเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง

ก. ทาใหผ้ เู้ รียนมีความต้ังใจและมแี รงใจสงู ข. ทาใหเ้ ปน็ คนมีความคดิ รเิ ริ่มสร้างสรรค์

ค. มเี หตผุ ลและทางานรว่ มกับผอู้ น่ื ได้ ง. มีระเบียบวนิ ัยในตนเองสงู

2. การเรียนรู้ดว้ ยตนเองมีก่ลี ักษณะ

ก.2 ข.3 ค.4 ง. 5

3. สิ่งทเี่ ปน็ ตวั ควบคุมทีส่ าคัญท่ีสดุ ตอ่ การเรยี นรู้ดว้ ยตนเองคืออะไร

ก. ความเชอื่ มนั่ ในตัวเอง ข. ความซอื่ สตั ยต์ ่อตนเอง

ค. ความอยากร้อู ยากเหน็ ง. ความรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง

4. ข้อใดคือการเรียนร้ดู ้วยตนเอง

ก.น้อยชอบลอกการบา้ นเพื่อน ข. นิดทานา้ สม้ ป่นั ตามทีค่ รูแนะนา

ค.หนอ่ ยชอบดูสาระคดชี ีวติ สตั วโ์ ลกทางอนิ เตอร์เนต็ ง. นุชสอนนอ้ งใหร้ จู้ ักวิธสี ืบค้นข้อมลู จากอินเตอร์เนต็

5. การเรยี นรู้ด้วยตนเองแบบ กศน.คอื การเรยี นในข้อใด

ก. มแี รงจูงใจอยากเรยี นก็เรยี น ข. แสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเองท้ังหมด

ค. มกี ารวางแผนและใชส้ ญั ญาการเรียนรู้ ง. ผเู้ รยี นต้องบรหิ ารเวลารับผิดชอบตนเองทง้ั หมด

6.ขอ้ ใดไมใ่ ช่องคป์ ระกอบของการเรยี นรู้

ก.วางแผนการเรียน ข.วิเคราะห์ความต้องการ

ค.ตรวจสอบและตดิ ตามผล ง.กาหนดจดุ มุ่งหมายในการเรียน

7. เหตุใดจึงต้องมีการทาสัญญาการเรียนรู้

ก.เพอื่ ให้ผเู้ รียนควบคุมตนเองได้

ข.เพ่ือควบคุมความประพฤติของผเู้ รียน

ค.เพ่ือกาหนดใหผ้ ู้เรยี นมีแนวทางในการเรยี น

ง.เพื่อควบคมุ คุณภาพของผู้เรียนใหม้ ีมาตรฐานตามท่สี งั คมยอมรับ

8. สงิ่ หน่ึงที่นามาใชใ้ นการประเมนิ ผลการเรียนแบบการเรียนรดู้ ้วยตนเอง คือข้อใด

ก.การสงั เกต ข.การมีส่วนรว่ ม

ค.แฟมู สะสมงาน ง.พฤตกิ รรมกลุ่ม

9.ขอ้ ใดคือ“ การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง ”

ก. ลนิ ดาโทรศพั ทส์ อบถามอาจารย์ ข. กนกจ้างครูมาสอน

ค. อุษาสืบคน้ ข้อมูลทางอนิ เทอรเ์ น็ต ง. โสพายืมหนังสอื เพื่อนมาอ่าน

10. การเรยี นร้ดู ้วยตนเองขนั้ ตอนแรกคือขอ้ ใด

ก. การออกแบบการเรยี น

ข. การกาหนดจดุ มุ่งหมาย

ค. จดั หาแหลง่ เรียนรู้

ง. การวิเคราะหค์ วามต้องการในการเรียน

15

ใบความรู้ เร่อื งการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง

ในปัจจุบันโลกมีความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีความรู้ต่างๆได้เพ่ิมข้ึนเป็นอันมาก
การเรยี นรูจ้ ากสถาบนั การศกึ ษาไมอ่ าจทาให้บคุ คลศกึ ษาความรไู้ ดค้ รบทง้ั หมดการไขว่คว้าหาความรู้ด้วยตนเอง
จงึ เป็นอีกวิธีหน่ึงที่จะสนองความต้องการของบุคคลได้เพราะเมื่อใดก็ตามที่บุคคลมีใจรักที่จะศึกษาค้นคว้าส่ิงท่ี
ตนต้องการจะรู้บุคคลนั้นก็จะดาเนินการศึกษาเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองโดยไม่มีใครต้องบอกประกอบกับระบบ
การศึกษาและปรัชญาการศึกษาเพ่ือเตรียมคนให้สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิตแสวงหาความรู้ด้วยตนเองใฝุหา
ความรรู้ ูแ้ หลง่ ทรพั ยากรการเรยี นรวู้ ธิ กี ารหาความรู้มีความสามารถในการคิดเป็นทาเป็นแก้ปัญหาเป็นมีนิสัยใน
การทางานและการดารงชีวติ และมีส่วนรว่ มในการปกครองประเทศ

การเรียนรดู้ ว้ ยตนเองสามารถชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นพัฒนาและเพ่ิมศกั ยภาพของตนเองโดยการค้นพบความสามารถ
และสงิ่ ท่มี ีคณุ ค่าในตนเองทเี่ คยมองข้ามไป (“...it is possible to help learners expand their potential
by discovered thatwhich is yet untapped…”) (Brockett &Hiemstra, 1991)

ความหมายและความสาคญั ของการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง
การเรียนรู้เป็นเร่ืองของทุกคนศักดิ์ศรีของผู้เรียนจะมีได้เม่ือมีโอกาสในการเลือกเรียนในเร่ืองที่

หลากหลายและมีความหมายแก่ตนเองการเรียนรู้มีองค์ประกอบ 2 ด้านคือองค์ประกอบภายนอกได้แก่
สภา พแว ดล้ อมโ รง เรีย นส ถาน ศึกษาสิ่ งอานว ยความสะด วกแ ละครู องค์ปร ะกอบภ ายในได้แก่กา รคิด เป็ น
พึ่งตนเองได้มีอิสรภาพใฝุรู้ ใฝุสร้างสรรค์มีความคิดเชิงเหตุผลมีจิตสานึกในการเรียนรู้มีเจตคติเชิงบวกต่อการ
เรียนรู้การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นมิได้เกิดขึ้นจากการฟังคาบรรยายหรือทาตามที่ครูผู้สอนบอกแต่อาจเกิดข้ึนได้ใน
สถานการณ์ต่าง ๆ ตอ่ ไปน้ี

1. การเรียนรู้โดยบงั เอิญการเรียนรู้แบบนเี้ กิดข้นึ โดยบงั เอิญมไิ ดเ้ กิดจากความต้ังใจ
2. การเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นการเรียนรู้ด้วยความตั้งใจของผู้เรียนซึ่งมีความปรารถนาจะรู้ในเรื่องน้ัน
ผู้เรียนจึงคิดหาวิธีการเรียนด้วยวิธีการต่าง ๆ หลังจากนั้นจะมีการประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเองจะเป็น
รปู แบบการเรียนรู้ที่ทวีความสาคัญในโลกยุคโลกาภิวัฒน์บุคคลซ่ึงสามารถปรับตนเองให้ตามทันความก้าวหน้า
ของโลกโดยใช้สอื่ อุปกรณ์ยุคใหม่ไดจ้ ะทาใหเ้ ป็นคนท่ีมคี ุณคา่ และประสบความสาเรจ็ ได้อย่างดี

ความพร้อมในการเรยี นรู้ด้วยตนเอง
ในการเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นบุคลิกลักษณะส่วนบุคคลของผู้เรียนที่ต้องการให้เกิดขึ้นในตัวผู้เรียนตาม

เปูาหมายของการศึกษาผู้เรียนท่ีมีความพร้อมในการเรียนด้วยตนเองจะมีความรับผิดชอบส่วนบุคคลความ
รับผดิ ชอบตอ่ ความคิดและการกระทาของตนเองสามารถควบคุมและโตต้ อบสถานการณ์สามารถควบคุมตนเอง
ให้เปน็ ไปในทศิ ทางท่ีตนเลือกโดยยอมรบั ผลที่เกิดข้ึนจากการกระทาที่มาจากความคิดตัดสนิ ใจของตนเอง

3. การเรียนรู้โดยกลุ่มการเรียนรู้แบบนี้เกิดจากการท่ีผู้เรียนรวมกลุ่มกันแล้วเชิญผู้ทรงคุณวุฒิมา
บรรยายใหก้ บั สมาชกิ ทาให้สมาชิกมคี วามรเู้ รอ่ื งท่วี ทิ ยากรพดู

4. การเรียนรู้จากสถาบันการศึกษาเป็นการเรียนแบบเป็นทางการมีหลักสูตรการประเมินผลมี
ระเบียบการเข้าศึกษาทีชัดเจนผู้เรียนต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบทีกาหนดเมื่อปฏิบัติครบถ้วนตามเกณฑ์ที่
กาหนดก็จะได้รับปริญญาหรือประกาศนียบัตรจากสถานการณ์การเรียนรู้ดังกล่าวจะเห็นได้ว่าการเรียนรู้อาจ
เกิดได้หลายวธิ แี ละการเรียนร้นู นั้ ไม่จาเป็นต้องเกิดข้ึนในสถาบันการศึกษาเสมอไปการเรียนรู้อาจเกิดข้ึนได้จาก

16

การเรยี นร้ดู ้วยตนเองหรือจากการเรียนโดยกลุ่มก็ได้และการที่บุคคลมีความตระหนักเรียนรู้อยู่ภายในจิตสานึก
ของบุคคลน้ันการเรียนรู้ด้วยตนเองจึงเป็นตัวอย่างของการเรียนรู้ในลักษณะท่ีเป็นการเรียนรู้ท่ีทาให้เกิดการ
เรยี นรตู้ ลอดชวี ิตซ่งึ มคี วามสาคญั สอดคลอ้ งกบั กาเปลยี่ นแปลงของโลกปัจจุบันและสนับสนุนสภาพ “สังคมแห่ง
การเรยี นรู้” ได้เปน็ อย่างดี

การเรียนรูด้ ้วยตนเองคอื อะไร
เมื่อกล่าวถงึ การเรยี นดว้ ยตนเองแลว้ บุคคลโดยท่ัวไปมักจะเข้าใจว่าเป็นการเรียนท่ีผู้เรียนทาการศึกษา

ค้นคว้าด้วยตนเองตามลาพังโดยไม่ต้องพ่ึงพาผู้สอนแต่แท้ที่จริงแล้วการเรียนด้วยตนเองท่ีต้องการให้เกิดขึ้นใน
ตวั ผเู้ รียนน้นั เป็นกระบวนการเรียนรทู้ ผี่ เู้ รยี นริเริ่มการเรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจความต้องการและความ
ถนดั มเี ปูาหมายรจู้ กั แสวงหาแหลง่ ทรัพยากรของการเรียนรู้เลือกวิธีการเรียนรู้จนถึงการประเมินความก้าวหน้า
ของการเรยี นรู้ของตนเองโดยจะดาเนนิ การดว้ ยตนเองหรือร่วมมือช่วยเหลือกับผู้อื่นหรือไม่ก็ได้ซ่ึงผู้เรียนจะต้อง
มีความรับผิดชอบและเป็นผู้ควบคุมการเรียนของตนเองท้ังนี้การเรียนด้วยตนเองน้ันมีแนวคิดพื้นฐานมาจาก
แนวคิดทฤษฎีกลุ่มมนุษย์นิยมท่ีมีความเชื่อในเรื่องความเป็นอิสระและความเป็นตัวของตัวเองของมนุษย์ว่า
มนุษย์ทุกคนเกิดมาพร้อมกับความดีมีความเป็นอิสระเป็นตัวของตัวเองสามารถหาท างเลือกของตนเองมี
ศักยภาพและสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองได้อย่างไม่มีขีดจากัดรวมท้ังมีความรับผิดชอบต่อตนเองและ
ผูอ้ ่นื ซงึ่ การเรียนดว้ ยตนเองก่อให้เกิดผลในทางบวกต่อการเรียนโดยจะส่งผลให้ผู้เรียนมีความเชื่อม่ันในตนเองมี
แรงจงู ใจในการเรยี นมากข้ึนมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนสูงข้นึ และมกี ารใช้วิธีการเรียนที่หลากหลายการเรียนด้วย
ตนเองจงึ เป็นมาตรฐานการศึกษาทีค่ วรสง่ เสริมให้เกดิ ขน้ึ ในตัวผู้เรียนทุกคนเพราะเม่ือใดก็ตามท่ีผู้เรียนมีใจรักที่
จะศึกษาคน้ คว้าจากความตอ้ งการของตนเองผู้เรียนก็จะมีการศึกษาค้นคว้าอย่างต่อเนื่องต่อไปโดยไม่ต้องมีใคร
บอกหรือ“การเรียนรู้เป็นเพื่อนที่ดีที่สุดของมนุษย์”(LEARNING makes a man fit company for himself)
... (Young)...

การเรียนด้วยตนเองมีอยู่ 2 ลักษณะคือลักษณะท่ีเป็นการจัดการเรียนรู้ที่ม่ีจุดเน้นให้ผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลางในการเรียนโดยเป็นผู้รับผิดชอบและควบคุมการเรียนของตนเองโดยการวางแผนปฏิบัติการเรียนรู้
และประเมินการเรียนรู้ด้วยตนเองซ่ึงไม่จาเป็นจะต้องเรียนด้วยตนเองเพียงคนเดียวตามลาพังและผู้เรียน
สามารถถ่ายโอนการเรียนรู้และทักษะท่ีได้จากสถานการณ์หนึ่งไปยังอีกสถานการณ์หน่ึงได้ในอีกลักษณะหน่ึง
เป็นลักษณะทางบุคลิกภาพที่มีอยู่ในตัวผู้ท่ีเรียนด้วยตนเองทุกคนซ่ึงมีอยู่ในระดับที่ไม่เท่ากันในแต่ละ
สถานการณก์ ารเรยี นโดยเป็นลักษณะที่สามารถพัฒนาให้สูงขึ้นได้และจะพัฒนาได้สูงสุดเมื่อมีการจัดสภาพการ
จดั การเรียนรูท้ ี่เอื้อกัน

การเรยี นรู้ด้วยตนเองมคี วามสาคัญอยา่ งไร
การเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Directed Learning) เป็นแนวทางการเรียนรู้หนึ่งที่สอดคล้องกับการ

เปล่ียนแปลงของสภาพปัจจุบันและเป็นแนวคิดที่สนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิตของสมาชิกในสังคมสู่การเป็น
สังคมแห่งการเรียนรู้โดยการเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นการเรียนรู้ท่ีทาให้บุคคลมีการริเริ่ มการเรียนรู้ด้วยตนเองมี
เปูาหมายในการเรียนรู้ท่ีแน่นอนมีความรับผิดชอบในชีวิตของตนเองไม่พึ่งคนอ่ืนมีแรงจูงใจทาให้ผู้เรียนเป็น
บคุ คลที่ใฝรุ ใู้ ฝเุ รียนท่ีมกี ารเรียนรตู้ ลอดชวี ิตเรียนรู้วิธีเรียนสามารถเรียนรู้เรื่องราวต่าง ๆ ได้มากกว่าการเรียนท่ี
มีครปู ูอนความรู้ให้เพยี งอย่างเดยี วการเรยี นรู้ด้วยตนเองได้นับว่าเป็นคุณลักษณะที่ดีท่ีสุดซ่ึงมีอยู่ในตัวบุคคลทุก
คนผ้เู รยี นควรจะมีคุณลกั ษณะของการเรียนรู้ด้วยตนเองการเรียนรู้ด้วยตนเองจัดเป็นกระบวนการเรียนรู้ตลอด
ชีวิตยอมรับในศักยภาพของผู้เรียนว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถท่ีจะเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ ได้ด้วยตนเองเพ่ือท่ี

17

ตนเองสามารถท่ีดารงชีวิตอยใู่ นสังคมท่มี กี ารเปลีย่ นแปลงอยู่ตลอดเวลาได้อย่างมีความสุขดังน้ันการเรียนรู้ด้วย
ตนเองมีความสาคญั ดังน้ี

1. บุคคลท่ีเรียนรู้ด้วยการริเริ่มของตนเองจะเรียนได้มากกว่าดีกว่ามีความตั้งใจมีจุดมุ่งหมายและมี
แรงจูงใจสูงกว่าสามารถนาประโยชน์จากการเรียนรู้ไปใช้ได้ดีกว่าและยาวนานกว่าคนที่เรียนโดยเป็นเพียงผู้รับ
หรือรอการถ่ายทอดจากครูการเรียนด้วยตนเอง(Self-Directed Learning) เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียน
ริเร่ิมการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองตามความสนใจความต้องการและความถนัดมีเปูาหมายรู้จักแสวงหาแหล่งทรัพยากร
ของการเรียนรู้เลือกวิธีการเรียนรู้จนถึงการประเมินความก้าวหน้าของการเรียนรู้ของตนเองโดยจะดาเนินการ
ด้วยตนเองหรือร่วมมือช่วยเหลือกับผู้อ่ืนหรือไม่ก็ได้ซ่ึงผู้เรียนจะต้องมีความรับผิดชอบและเป็นผู้ควบคุมการ
เรียนของตนเอง

2. การเรียนรู้ด้วยตนเองสอดคล้องกับพัฒนาการทางจิตวิทยาและกระบวนการทางธรรมชาติทาให้
บุคคลมีทิศทางของการบรรลุวุฒิภาวะจากลักษณะหนึ่งไปสู่อีกลักษณะหน่ึงคือเมื่อตอนเด็ก ๆ เป็นธรรมชาติท่ี
จะตอ้ งพ่ึงพงิ ผูอ้ น่ื ตอ้ งการผ้ปู กครองปกปอู งเลย้ี งดูและตดั สินใจแทนใหเ้ มื่อเติบโตมพี ัฒนาการขึ้นเรื่อย ๆ พัฒนา
ตนเองไปสคู่ วามเป็นอิสระไม่ต้องพ่ึงพิงผู้ปกครองครูและผู้อื่นการพัฒนาเป็นไปในสภาพท่ีเพิ่มความเป็นตัวของ
ตัวเอง

3. การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองทาใหผ้ ู้เรียนมีความรับผดิ ชอบซึง่ เป็นลักษณะที่สอดคล้องกบั พัฒนาการใหม่ๆ
ทางการศึกษาเชน่ หลกั สตู รหอ้ งเรียนแบบเปิดศูนย์บริการวชิ าการการศึกษาอย่างอิสระมหาวิทยาลยั เปิดล้วน
เน้นใหผ้ เู้ รยี นรับผิดชอบการเรียนรู้เอง

4. การเรียนรู้ด้วยตนเองทาให้มนุษย์อยู่รอดการมีความเปล่ียนแปลงใหม่ๆเกิดข้ึนเสมอทาให้มีความ
จาเปน็ ที่จะต้องศกึ ษาเรยี นรกู้ ารเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองจึงเปน็ กระบวนการต่อเนอ่ื งตลอดชีวิต

การเรยี นรู้ด้วยตนเองมลี กั ษณะอยา่ งไร
การเรยี นรู้ด้วยตนเองสามารถจาแนกออกเปน็ 2 ลักษณะสาคัญดังน้ี

1. ลักษณะที่เป็นบุคลิกคุณลักษณะส่วนบุคคลของผู้เรียนในการเรียนด้วยตนเองจัดเป็นองค์ประกอบ
ภายในทจี่ ะทาให้ผู้เรียนมีแรงจูงใจอยากเรียนต่อไปโดยผู้เรียนท่ีมีคุณลักษณะในการเรียนด้วยตนเองจะมีความ
รับผิดชอบต่อความคิดและการกระทาเกี่ยวกับการเรียนรวมทั้งรับผิดชอบในการบริหา รจัดการตนเองซ่ึงมี
โอกาสเกิดขนึ้ ไดส้ งู สดุ เมอื่ มีการจดั สภาพการเรยี นรทู้ ส่ี ง่ เสรมิ กัน

2. ลักษณะท่ีเป็นการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนด้วยตนเองประกอบด้วยขั้นตอนการวางแผนการ
เรียนการปฏิบัติตามแผนและการประเมินผลการเรียนจัดเป็นองค์ประกอบภายนอกที่ส่งผลต่อการเ รียนด้วย
ตนเองของผู้เรียนซึ่งการจัดการเรียนรู้แบบน้ีผู้เรียนจะได้ประโยชน์จากการเรียนมากท่ีสุด Knowles (1975)
เสนอให้ใช้สัญญาการเรียน (Learning contracts) เป็นการมอบหมายภาระงานให้แก่ผู้เรียนว่าจะต้องทา
อะไรบ้างเพอ่ื ให้ไดร้ บั ความรู้ตามเปูาประสงค์และผเู้ รียนจะปฏบิ ตั ติ ามเงื่อนไขนัน้

องคป์ ระกอบของการเรยี นรู้ด้วยตนเองมีอะไรบา้ ง
การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองเป็นคณุ ลกั ษณะท่สี าคญั ต่อการดาเนินชีวติ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพช่วยให้ผู้เรียนมีความ

ตง้ั ใจและมีแรงจูงใจสูงมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์มีความยืดหยุ่นมากข้ึนมีการปรับพฤติกรรมการทางานร่วมกับ
ผ้อู ืน่ ได้รจู้ กั เหตผุ ลรจู้ กั คิดวิเคราะห์ปรบั และประยุกต์ใช้วิธีการแก้ปัญหาของตนเองจัดการกับปัญหาได้ดีขึ้นและ
สามารถนาประโยชน์ของการเรยี นรู้ไปใช้ไดด้ ีและยาวนานขึน้ ทาให้ผเู้ รยี นประสบความสาเรจ็ ในการเรยี น

18

องค์ประกอบของการเรียนร้ดู ว้ ยตนเองมีดงั นี้
1. การวิเคราะห์ความต้องการของตนเองจะเริ่มจากให้ผู้เรียนแต่ละคนบอกความต้องการและความ

สนใจของตนในการเรียนกับเพ่ือนอีกคนทาหน้าท่ีเป็นที่ปรึกษาแนะนาและเพื่อนอีกคนทาหน้าท่ีจดบันทึกและ
ให้กระทาเช่นน้ีหมุนเวียนท้ัง 3 คนแสดงบทบาทครบทั้ง 3 ด้านคือผู้เสนอความต้องการผู้ให้คาปรึกษาและผู้
คอยจดบันทึกการสังเกตการณ์เพ่อื ประโยชน์ในการเรียนรว่ มกนั และชว่ ยเหลือซึ่งกันและกันในทุกๆดา้ น

2. การกาหนดจุดมุ่งหมายในการเรียนโดยเร่ิมจากบทบาทของผู้เรียนเป็นสาคัญผู้เรียนควรศึกษา
จุดมุ่งหมายของวิชาแล้วเขียนจุดมุ่งหมายในการเรียนของตนให้ชัดเจนเน้นพฤติ กรรมท่ีคาดหวังวัดได้มีความ
แตกต่างของจดุ มงุ่ หมายในแต่ละระดบั

3. การวางแผนการเรียนให้ผู้เรียนกาหนดแนวทางการเรียนตามวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้จัดเนื้อหาให้
เหมาะสมกับสภาพความต้องการและความสนใจของตนระบุการจัดการเรยี นรู้ใหเ้ หมาะสมกบั ตนเองมากทส่ี ุด

4. การแสวงหาแหล่งวิทยาการทงั้ ทเี่ ปน็ วสั ดแุ ละบุคคล
4.1 แหลง่ วิทยาการที่เป็นประโยชน์ในการศึกษาคน้ ควา้ เชน่ หอ้ งสมุดพิพธิ ภัณฑ์เป็นต้น
4.2 ทักษะต่าง ๆ ที่มสี ว่ นช่วยในการแสวงแหลง่ วิทยาการได้อยา่ งสะดวกรวดเร็วเชน่ ทักษะการตั้ง

คาถามทักษะการอ่านเป็นตน้
5. การประเมนิ ผลควรประเมินผลการเรยี นด้วยตนเองตามทกี่ าหนดจดุ มุง่ หมายของการเรียนไว้และให้

สอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงค์เก่ยี วกับความรู้ความเข้าใจทักษะทศั นคตคิ า่ นิยมมขี ้ันตอนในการประเมนิ คือ
5.1 กาหนดเปูาหมายวัตถุประสงคใ์ หช้ ดั เจน
5.2 ดาเนินการให้บรรลวุ ัตถุประสงค์ซ่ึงเป็นสิง่ สาคัญ
5.3 รวบรวมหลักฐานจากผลการประเมนิ เพอ่ื ตัดสนิ ใจซึ่งตอ้ งตง้ั อยู่บนพื้นฐานของข้อมูลทีส่ มบรู ณ์

และเชื่อถือได้
5.4 เปรยี บเทยี บขอ้ มูลกอ่ นเรียนกบั หลงั เรยี นเพื่อดูวา่ ผูเ้ รยี นมคี วามกา้ วหน้าเพยี งใด
5.5 ใชแ้ หลง่ ข้อมลู จากครูและผู้เรยี นเป็นหลักในการประเมิน

องค์ประกอบของการเรียนรู้ด้วยตนเองผู้เรียนควรมีการวิเคราะห์ความต้องการวิเคราะห์เนื้อหากาหนด
จุดมุ่งหมายและการวางแผนในการเรียนมีความสามารถในการแสวงหาแหล่งวิทยาการและมีวิธีในการ
ประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเองโดยมีเพ่ือนเป็นผู้ร่วมเรียนรู้ไปพร้อมกั นและมีครูเป็นผู้ช้ีแนะอานวยความ
สะดวกและให้คาปรึกษาท้ังน้ีครูอาจต้องมีการวิเคราะห์ความพร้อมหรือทักษะที่จาเป็นของผู้เรียนในการก้าวสู่
การเปน็ ผู้เรียนรู้ดว้ ยตนเองได้

กระบวนการของการเรยี นรู้ด้วยตนเอง
กระบวนการของการเรียนรู้ด้วยตนเองความรับผิดชอบในการเรียนรู้ด้ วยตนเองของผู้เรียนเป็นส่ิง

สาคญั ท่ีจะนาผ้เู รยี นไปสู่การเรยี นร้ดู ้วยตนเองเพราะความรับผิดชอบในการเรียนรู้ด้วยตนเองนั้นหมายถึงการท่ี
ผู้เรียนควบคุมเน้ือหากระบวนการองค์ประกอบของสภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ของตนเองได้แก่การวาง
แผนการเรียนของตนเองโดยอาศัยแหล่งทรัพยากรทางความรู้ต่าง ๆ ที่จะช่วยนาแผนสู่การปฏิบัติแต่ภายใต้
ความรับผิดชอบของผู้เรียนผู้เรียนรู้ด้วยตนเองต้องเตรียมการวางแผนการเรียนรู้ของตนและเลือกส่ิงที่จะเรียน
จากทางเลือกที่กาหนดไว้รวมท้ังวางโครงสร้างของแผนการเรียนรู้ของตนอีกด้วยในการวางแผนการเรียนรู้
ผเู้ รยี นต้องสามารถปฏบิ ัติงานท่กี าหนดวินจิ ฉัยความช่วยเหลือทีต่ ้องการและทาให้ไดค้ วามชว่ ยเหลอื น้ันสามารถ
เลอื กแหล่งความรู้วเิ คราะห์และวางแผนการการเรียนทั้งหมดรวมท้ังประเมินความก้าวหน้าในการเรียนของตน

19

กระบวนการในการเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นวิธีการที่ผู้เรียนต้องจัดกระบวนการเรี ยนรู้ด้วยตนเองโดยดาเนินการ
ดงั นี้

1. การวินิจฉยั ความต้องการในการเรยี น
2. การกาหนดจุดมุ่งหมายในการเรยี น
3. การออกแบบแผนการเรียน
4. การดาเนินการเรยี นรจู้ ากแหล่งวทิ ยาการ
5. การประเมินผล

20

ใบงาน เรือ่ ง ความหมายและความสาคัญของการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง

1ใหอ้ ธิบายความหมายของคาว่า “การเรียนรู้ด้วยตนเอง”
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________

2ใหอ้ ธิบาย “ความสาคัญของการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง”
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________

3ให้สรปุ สาระสาคญั “ลักษณะการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง”
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
4. “องคป์ ระกอบของการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง” มีอะไรบา้ ง
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________

ชือ่ นามสกุ ล รหสั นักศกึ ษา

21

การทาสญั ญาการเรยี นรู้
กระบวนการเรียนรูด้ ้วยตนเองประกอบด้วยขั้นตอนวินิจฉัยความตอ้ งการในการเรียนรขู้ องผู้เรียน

กาหนดจดุ มุ่งหมายในการเรยี นวางแผนการเรยี นโดยใชส้ ัญญาการเรยี นเขยี นโครงการเรียนรู้ดาเนนิ การเรียนรู้
และประเมินผลการเรยี นรู้นั้นผู้เรียนจะได้ประโยชน์จากการเรยี นมากทสี่ ุด “สญั ญาการเรียน (Learning
Contract)” เป็นการมอบหมายภาระงานใหก้ ับผเู้ รยี นว่าจะตอ้ งทาอะไรบ้างเพอื่ ใหไ้ ดร้ ับความรตู้ าม
เปูาประสงค์และผูเ้ รยี นจะปฏิบตั ติ ามเง่ือนไขนัน้
สัญญาการเรียน (Learning Contract)

คาวา่ สญั ญาโดยทวั่ ไปหมายถึงขอ้ ตกลงระหว่างบุคคล 2 ฝุายหรอื หลายฝุายว่าจะทาการหรอื งดเวน้
กระทาการอย่างใดอย่างหน่ึงความจริงนัน้ ในระบบการจดั การเรยี นร้กู ม็ กี ารทาสญั ญากันระหว่างครูกับผเู้ รยี น
แตส่ ว่ นมากไม่ได้เป็นลายลกั ษณ์อักษรวา่ ถ้าผเู้ รยี นทาได้อยา่ งนั้นแลว้ ผเู้ รยี นจะได้รับอะไรบ้างตามข้อตกลง

สัญญาการเรยี นจะเป็นเคร่ืองมือทีช่ ่วยให้ผู้เรียนสามารถกาหนดแนวการเรยี นของตัวเองได้ดยี ่งิ ขึน้
ทาใหป้ ระสบผลสาเร็จตามจุดมุ่งหมายและเป็นเครื่องยนื ยนั ทเ่ี ปน็ รปู ธรรม ท่านคงแปลกใจท่ีได้ยินคาวา่
“สัญญา” เพราะคาน้เี ป็นคาท่ีคนุ้ หกู นั ดีอยู่แต่ไม่แนใ่ จวา่ ท่านเคยไดย้ นิ คาวา่ “สัญญาการเรยี น” หรอื ยงั คาว่า
สญั ญาการเรียนมีผเู้ รม่ิ ใชเ้ ป็นคนแรกคือ Dr. M.S. Knowles ศาสตราจารย์สอนวิชาการศกึ ษาผูใ้ หญ่
มหาวทิ ยาลยั North Carolina State ในสหรฐั อเมรกิ า 24 คาวา่ สญั ญาแปลตามพจนานุกรมฉบบั
ราชบณั ฑิตยสถานแปลวา่ “ข้อตกลงกัน” ดงั น้ันสญั ญาการเรียนกค็ ือข้อตกลงทผี่ ู้เรียนได้ทาไว้กับครูว่าเขาจะ
ปฏิบัตอิ ยา่ งไรบ้างในกระบวนการเรยี นรูเ้ พ่ือให้บรรลจุ ดุ มุ่งหมายของหลักสูตรสัญญาการเรียนเปน็ รปู แบบของ
การเรยี นรทู้ ่ีแสดงหลกั ฐานของการเรยี นร้โู ดยใช้แฟูมสะสมผลงาน
หรอื Portfolio

1. แนวคิด การจัดการเรียนรูใ้ นระบบเปน็ การเรยี นรทู้ คี่ รเู ปน็ ผ้กู าหนดรูปแบบเนื้อหากจิ กรรมเป็น
ส่วนใหญ่ผเู้ รยี นเปน็ แตเ่ พียงผู้ปฏบิ ัติตามไม่ไดม้ โี อกาสในการมสี ว่ นรว่ มในการวางแผนการเรียนนกั การศึกษาทงั้
ในตะวันตกและแอฟริกามองเห็นว่าระบบการศึกษาแบบนี้เป็นระบบการศกึ ษาของพวกจักรพรรดินิยมหรือเปน็
การศกึ ษาของพวกชนชั้นสูงบา้ งเปน็ ระบบการศึกษาของผู้ถูกกดขี่บ้างสรุปแล้วกค็ ือระบบการศึกษาแบบนี้ไม่ได้
ฝึกคนใหเ้ ปน็ ตัวของตวั เองไมไ่ ด้ฝึกใหค้ นรู้จกั พง่ึ ตนเองจึงมผี พู้ ยายามท่จี ะเปล่ียนแนวคิดทางการศึกษาใหม่
อยา่ งเช่นระบบการศึกษาทีเ่ น้นการฝกึ ใหค้ นไดร้ ้จู ักพึ่งตนเองในประเทศแทนซาเนียการศึกษาท่ีใหค้ นคิดเปน็ ใน
ประเทศไทยเราเหลา่ นี้เปน็ ต้นรูปแบบของการศกึ ษาในอนาคตควรจะมุ่งไปสู่ตวั ผเู้ รยี นมากกวา่ ตวั ผสู้ อน
เพราะวา่ ในโลกปัจจบุ ันวิทยาการใหมๆ่ ได้เจรญิ ก้าวหนา้ ไปอย่างรวดเรว็ มหี ลายสงิ่ หลายอย่างท่ีมนษุ ยจ์ ะตอ้ ง
เรียนรู้ถ้าจะให้แต่มาคอยบอกกนั คงทาไม่ไดด้ งั น้ันในการเรยี นจะต้องมีการฝึกฝนให้คิดใหร้ ู้จักการหาวิธีการท่ีได้
ศึกษาสิ่งทคี่ นต้องการกล่าวง่ายๆกค็ ือผเู้ รียนที่ได้รับการศึกษาแบบท่เี รียกว่าเรยี นรเู้ พื่อการเรยี นในอนาคต

2. ทาไมจะต้องมกี ารทาสัญญาการเรยี น ผลจากการวิจยั เกีย่ วกบั การเรียนรู้ของผู้ใหญพ่ บว่าผใู้ หญ่
จะเรยี นไดด้ ีทสี่ ุดก็ต่อเมื่อการเรยี นรดู้ ้วยตนเองไมใ่ ช่การบอกหรอื การสอนแบบท่ีเป็นโรงเรยี นและผลจากการ
วจิ ัยทางด้านจติ วิทยายังพบอีกวา่ ผู้ใหญ่มลี ักษณะทเ่ี ด่นชดั ในเร่อื งความต้องการท่ีจะทาอะไรด้วยตนเองโดยไม่
ตอ้ งมีการสอนหรือการชแี้ นะมากนกั อย่างไรกด็ ีเมอื่ พดู ถงึ ระบบการศึกษากย็ ่อมจะตอ้ งมีการกลา่ วถงึ คณุ ภาพ
ของบุคคลทเี่ ข้ามาอยูใ่ นระบบการศกึ ษาจึงมีความจาเปน็ ทจี่ ะตอ้ งกาหนดกฎเกณฑ์ขนึ้ มาเพ่ือเป็นมาตรฐาน
ดงั น้นั ถึงแม้จะใหผ้ ูเ้ รียนเรียนรดู้ ว้ ยตนเองกต็ ามก็จาเปน็ จะตอ้ งสร้างมาตรการขนึ้ มาเพื่อการควบคุมคุณภาพ
ของผเู้ รียนเพอ่ื ใหม้ มี าตรฐานตามที่สังคมยอมรบั
เหตนุ ้ีสญั ญาการเรยี นจงึ เข้ามามบี ทบาทในการเรียนการสอนเปน็ การวางแผนการเรียนที่เป็นระบบข้อดขี อง
สญั ญา-การเรยี นคือเป็นการประสานความคิดท่ีว่าการเรียนรูค้ วรให้ผูเ้ รยี นกาหนดและการศึกษาจะต้องมเี กณฑ์

22

มาตรฐานเข้าดว้ ยกนั เพราะในสัญญาการเรียนจะบง่ ระบวุ า่ ผู้เรียนต้องการเรยี นเร่ืองอะไรและจะวัดว่าได้บรรลุ

ตามความมุ่งหมายแลว้ น้นั หรือไม่อย่างไรมหี ลักฐานการเรียนรู้อะไรบา้ งทบ่ี ่งบอกวา่ ผูเ้ รียนมผี ลการเรียนรู้

อย่างไร

3. การเขยี นสัญญาการเรียน การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองซึ่งเร่ิมจากการจัดทาสัญญาการเรยี นจะมีลาดบั

การดาเนินการดังน้ี

ขนั้ ที่ 1 แจกหลกั สตู รให้กับผู้เรยี นในหลกั สตู รจะต้องระบุ

จุดประสงคข์ องรายวิชาน้ี

รายชื่อหนังสอื อ้างอิงหรือหนังสอื สาหรับท่ีจะศึกษาค้นคว้า

หนว่ ยการเรียนย่อยพร้อมรายช่ือหนงั สืออ้างอิง

ครูอธิบายและทาความเข้าใจกับผู้เรยี นในเร่ืองหลกั สตู รจุดมุง่ หมายและหน่วยการเรยี นยอ่ ย

ข้นั ที่ 2 แจกแบบฟอรม์ ของสัญญาการเรียน

จดุ ม่งุ หมาย แหล่งวิทยาการ/วิธีการ หลักฐาน การประเมินผล

เปน็ ส่วนท่ีระบุวา่ ผู้เรียน เป็นส่วนท่รี ะบวุ า่ ผู้เรียน เปน็ สว่ นที่มสี งิ่ อา้ งองิ หรือยนื ยนั ทเ่ี ปน็ เปน็ ส่วนท่ีระบุวา่ ผูเ้ รยี น
ต้องการบรรลุผลสาเรจ็ จะเรยี นรูไ้ ด้อยา่ งไร รปู ธรรมทแ่ี สดงใหเ้ หน็ วา่ ผเู้ รียนไดเ้ กิด สามารถเกดิ การเรียนรู้
ในเรื่องอะไร อย่างไร จากแหล่งความร้ใู ด การเรยี นรู้แล้วโดยเกบ็ รวบรวมเป็น ในระดับใด
แฟูมสะสมงาน

ข้ันที่ 3 อธิบายวธิ กี ารเขยี นข้อตกลงในแบบฟอร์มแต่ละช่องโดยเรม่ิ จาก
จดุ มงุ่ หมาย
วิธกี ารเรยี นรหู้ รือแหลง่ วทิ ยาการ
หลักฐาน
การประเมินผล

ข้นั ที่ 4 ถามปัญหาและขอ้ สงสัย
ข้นั ที่ 5 แจกตวั อยา่ งสัญญาการเรยี นให้ผเู้ รียนคนละ 1 ชุด
ขั้นที่ 6 อธิบายถงึ การเขียนสัญญาการเรียน
ผู้เรียนลงมือเขียนขอ้ ตกลงโดยผู้เรยี นเองโดยเขยี นรายละเอียดทั้ง 4 ช่องในแบบฟอรม์ สัญญาการเรียน
นอกจากนผ้ี ู้เรียนยงั สามารถระบรุ ะดบั การเรียนท้ังในระดับดีดเี ย่ยี มหรือปานกลางซ่ึงผูเ้ รียนมีความตง้ั ใจทีจ่ ะบรรลุ
การเรยี นในระดับดเี ยย่ี มหรือมีความตง้ั ใจทจ่ี ะเรยี นรู้ในระดับดีหรอื พอใจผู้เรยี นก็ตอ้ งแสดงรายละเอยี ดผ้เู รียน
ตอ้ งการแตร่ ะดับดีคือผูเ้ รยี นต้องแสดงความสามารถตามวัตถุประสงค์ทกี่ ล่าวไว้ในหลักสตู รให้ครบถว้ นการทาสญั ญา
ระดับดเี ย่ียมนอกจากผูเ้ รยี นจะบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคต์ ามหลกั สูตรแล้วผเู้ รียนจะต้องแสดงความสามารถพิเศษเร่ืองใด
เรื่องหน่ึงโดยเฉพาะอันมีส่วนเก่ยี วข้องกับหลักสตู ร
ขน้ั ที่ 7 ใหผ้ ู้เรียนและเพื่อนพิจารณาสัญญาการเรยี นใหเ้ รียบรอ้ ยต่อไปให้ผูเ้ รียนเลือกเพื่อนในกลุม่ 1
คนเพ่ือจะได้ช่วยกันพจิ ารณาสัญญาการเรียนรู้ของท้ัง 2 คน ในการพิจารณาสญั ญาการเรียนให้พจิ ารณาตาม
หัวข้อตอ่ ไปนี้

1. จดุ มงุ่ หมายมคี วามแจ่มชดั หรอื ไม่เข้าใจหรือไมเ่ ป็นไปได้จริงหรือไม่บอกพฤตกิ รรมทจ่ี ะให้
เกดิ จริง ๆ หรือไม่

23

2. มจี ดุ ประสงค์อ่นื ทพี่ อจะนามากลา่ วเพ่ิมเตมิ ได้อกี หรอื ไม่

3. แหลง่ วิชาการและวิธกี ารหาขอ้ มลู เหมาะสมเพยี งใดมปี ระสิทธภิ าพเพียงใด

4. มีวิธีการอืน่ อกี หรือไมท่ ่ีสามารถนามาใชเ้ พ่ือการเรยี นรู้

5. หลักฐานการเรียนรู้มีความสอดคลอ้ งกบั จดุ มงุ่ หมายเพยี งใด

6. มหี ลกั ฐานอ่นื ทพี่ อจะนามาแสดงได้อีกหรือไม่

7. วิธีการประเมินผลหรอื มาตรการที่ใช้วัดมคี วามเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใด

8. มีวิธกี ารประเมินผลหรือมาตรการอ่ืนอกี บา้ งหรือไมใ่ นการวัดผลและประเมนิ ผลการเรียนรู้

ขั้นท่ี 8 ใหผ้ ู้เรียนนาสญั ญาการเรียนไปปรับปรุงใหเ้ หมาะสมอีกคร้ังหนงึ่

ขั้นที่ 9 ใหผ้ ู้เรียนทาสัญญาการเรยี นท่ีปรับปรงุ แลว้ ให้ครแู ละที่ปรึกษาตรวจดูอีกคร้งั หน่ึงฉบบั ท่ี

เรียบรอ้ ยใหด้ าเนินการได้ตามท่ีเขียนไว้ในสัญญาการเรียน

ขนั้ ท่ี 10 การเรยี นก่อนที่จะจบเทอม 2 อาทติ ย์ใหผ้ ูเ้ รียนนาแฟูมสะสมงาน (แฟูมเก็บข้อมูล

Portfolio) ตามท่ีระบุไว้ในสัญญาการเรยี นมาแสดง

ขน้ั ที่ 11 ครแู ละผู้เรียนจะตัง้ คณะกรรมการในการพิจารณาแฟูมสะสมงานทผ่ี เู้ รยี นนามาส่งและ

ส่งคนื ผูเ้ รยี นก่อนสิ้นภาคเรียน

(ตัวอย่าง)

การวางแผนการเรยี นโดยใช้สัญญาการเรียน

จดุ มุ่งหมาย วิธีการเรียนรู/้ หลกั ฐาน การประเมนิ ผล
แหล่งวิทยาการ

1. สามารถอธบิ ายความ 1. อา่ นเอกสารอา้ งอิง 1. ทารายงานย่อ ใหผ้ เู้ รยี น 2-5 คน

ต้องการความสนใจ ทเ่ี สนอแนะในหลักสตู ร ขอ้ คิดเห็นจากหนังสือ ประเมิน

แรงจูงใจ ความสามารถ 2. อ่านเอกสารท่ี ท่อี ่าน รายงานและบันทึกการ

และความสนใจของผู้ใหญ่ เกี่ยวขอ้ งอื่น ๆ 2. บันทึกการอภปิ ราย อภิปรายการประเมนิ ให้

ได้ 3. รวมกลุม่ รายงานและ 3. ทารายงานและ ประเมินตามหัวขอ้

อภิปรายกับผู้เรยี นอ่ืน เสนอแนะเกี่ยวกับทฤษฎี ต่อไปน้ี

หรือกลุม่ การเรยี นอื่น การเรยี นรู้เพื่อนาไป 1. รายงานครอบคลุม

ใชก้ ับผูเ้ รยี นผู้ใหญ่ เน้ือหาตามความม่งุ หมาย

(โดยจัดทาในรูปแบบ เพยี งใด

แฟมู สะสมงาน) 54321

2. รายงานมีความชัดเจน

เพยี งใด

54321

3. รายงานมีประโยชน์

ในการเรยี นของผ้เู รียน

ผู้ใหญเ่ พียงใด

54321

โดยข้าพเจ้าจะเรมิ่ ปฏบิ ตั ติ ้ังแต่วันท่ี.....เดือน.................พ.ศ. .........ถึงวนั ท่ี.......เดอื น................พ.ศ. .......

24

ลงช่ือ............................................................ผ้ทู าสัญญา
(.......................................................... )

ลงชื่อ.............................................................พยาน
(.......................................................... )
ลงชอ่ื ............................................................พยาน
(.......................................................... )
ลงช่ือ............................................................ครผู ้สู อน

(.......................................................)

แฟ้มสะสมงาน
การประเมนิ ผลการเรยี นโดยใช้แฟ้มสะสมงาน

การจดั ทาแฟมู สะสมงาน (Portfolio) เป็นวิธกี ารสาคญั ทน่ี ามาใช้ในการวัดผลและประเมินผลการ
เรยี นรู้ที่ใหผ้ ู้เรียนเรยี นรู้ด้วยตนเองโดยการจัดทาแฟมู สะสมงานที่มีความเชื่อพื้นฐานทสี่ าคญั มาจากการให้
ผเู้ รยี นเรยี นรูจ้ ากสภาพจรงิ (Authentic Learning) ซ่ึงมสี าระสาคญั ท่ีพอสรุปไดด้ ังน้ี
1. ความเชอ่ื พ้ืนฐานของการเรยี นรตู้ ามสภาพจรงิ (Authentic Learning)

1.1 ความเชอ่ื เกี่ยวกบั การจัดการศึกษา
- มนษุ ยม์ สี ญั ชาตญาณทีจ่ ะเรียนรมู้ คี วามสามารถและมีความกระหายทจี่ ะเรยี นรู้
- ภายใต้บรรยากาศของสภาพแวดล้อมที่เออ้ื อานวยและการสนับสนุนจะทาใหม้ นุษยส์ ามารถทจี่ ะรเิ รม่ิ
และเกดิ การเรียนรขู้ องตนเองได้
- มนษุ ยส์ ามารถท่จี ะสรา้ งองคค์ วามรจู้ ากการปฏิสัมพันธ์กับคนอืน่ และจากสื่อท่ีมี
ความหมายต่อชวี ิต
- มนษุ ยม์ ีพัฒนาการด้านร่างกายดา้ นอารมณด์ ้านสงั คมและดา้ นสติปัญญาแตกตา่ งกนั
1.2 ความเช่อื เกย่ี วกับการเรียนรู้
- การเรยี นรจู้ ะเรม่ิ จากสิง่ ท่ีเป็นรปู ธรรมไปสนู่ ามธรรมโดยผ่านกระบวนการการสารวจตนเองการ
เสรมิ สร้างบรรยากาศของการเรยี นรู้และการสร้างบริบทของสงั คมให้ผ้เู รียนได้ปฏิสมั พันธ์กับผเู้ รยี นอืน่
- การเรียนรู้มีองค์ประกอบทางด้านปัญญาหลายด้านท้ังในด้านภาษาคานวณพน้ื ทดี่ นตรีการ
เคลอื่ นไหวความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลและอ่นื ๆ
- การแสวงหาความร้จู ะมีประสิทธภิ าพมากยิง่ ขึ้นถ้าอยใู่ นบรบิ ทท่มี คี วามหมายต่อชวี ติ
- การแสวงหาความร้เู ป็นกระบวนการท่ีเกดิ ข้นึ ตลอดชวี ติ
1.3 ความเชื่อเก่ยี วกับการสอน
- การสอนจะต้องยึดผู้เรียนเป็นศูนยก์ ลาง
- การสอนจะเป็นทงั้ รายบคุ คลและรายกลุม่
- การสอนจะยอมรับวฒั นธรรมท่ีแตกต่างกนั และวธิ กี ารเรียนรู้ทเ่ี ปน็ เอกลกั ษณ์ของผู้เรียนแตล่ ะคน
- การสอนกบั การประเมินเป็นกระบวนการต่อเนื่องและเก่ียวข้องซง่ึ กนั และกัน
- การสอนจะต้องตอบสนองต่อการขยายความรู้ทไี่ ม่มีทสี่ ิน้ สุดของหลักสตู รสาขาตา่ งๆ

1.4 ความเชือ่ เกีย่ วกบั การประเมนิ

25

- การประเมินแบบนาคะแนนของผู้เรยี นจานวนมากมาเปรียบเทียบกันมีคุณคา่ น้อยต่อการพฒั นา
ศักยภาพของผูเ้ รยี น

- การประเมนิ ตามสภาพจรงิ (Authentic Assessment) ไม่ใชส่ ่ิงสะทอ้ นความสามารถทมี่ ีอยู่ในตวั
ผูเ้ รยี นแตจ่ ะสะทอ้ นถงึ การปฏิสมั พันธร์ ะหว่างบคุ คลกับสิง่ แวดลอ้ มและความสามารถท่ีแสดงออกมา

- การประเมินตามสภาพจรงิ จะใหข้ ้อมลู และข่าวสารที่เทีย่ งตรงเกี่ยวกับผู้เรียนและกระบวนการ
ทางการศึกษา
2. ความหมายของการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment)

การประเมนิ ตามสภาพจริงเป็นกระบวนการของการสังเกตการณบ์ ันทึกการจัดทาเอกสารท่เี กี่ยวกบั
งานหรอื ภารกจิ ที่ผู้เรียนได้ทารวมท้ังแสดงวิธีการวา่ ได้ทาอย่างไรเพ่ือใช้เป็นข้อมูลพืน้ ฐานเกีย่ วกับการตัดสินใจ
ทางการศกึ ษาของผู้เรยี นน้นั การประเมินตามสภาพจรงิ มีความแตกต่างจากการประเมินโครงการตรงทีก่ าร
ประเมินแบบนี้ไดใ้ ห้ความสาคัญกบั ผู้เรยี นมากกวา่ การใหค้ วามสาคญั กับผลอันทีจ่ ะเกิดขน้ึ จากการดูคะแนน
ของกลมุ่ ผ้เู รยี นและแตกตา่ งจากการทดสอบเนื่องจากเปน็ การวัดผลการปฏิบัติจริง (Authentic Assessment)
การประเมนิ ตามสภาพจรงิ จะไดข้ ้อมูลสารสนเทศเชงิ คณุ ภาพอย่างต่อเน่ืองทส่ี ามารถนามาใชใ้ นการแนะแนว
การเรยี นสาหรับผเู้ รียนแตล่ ะคนได้เป็นอย่างดี
3. ลักษณะท่สี าคัญของการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment)

-ใหค้ วามสาคัญขอบการพัฒนาและการเรียนรู้
-เน้นการค้นหาศักยภาพนาเอามาเปดิ เผย
-ใหค้ วามสาคญั กับจดุ เด่นของผูเ้ รียน
-ยืดถือเหตุการณใ์ นชวี ิตจรงิ
-เน้นการปฏบิ ตั จิ ริง
-จะตอ้ งเช่ือมโยงกบั การเรยี นการสอน
-มงุ่ เน้นการเรยี นรู้อย่างมเี ปาู หมาย
-เปน็ กระบวนการเกดิ ขึน้ อย่างต่อเน่ืองในทุกบรบิ ท
-ช่วยใหม้ คี วามเข้าใจในความสามารถของผู้เรียนและวธิ ีการเรยี นรู้
-ชว่ ยใหเ้ กิดความร่วมมอื ทัง้ ผู้ปกครองพ่อแม่ครูผูเ้ รียนและบคุ คลอื่น ๆ
4. การประเมนิ ผลการเรียนโดยใช้แฟม้ สะสมงาน
แฟูมสะสมงานเป็นวิธีการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ตามสภาพจรงิ ซง่ึ เป็นวธิ ีการทค่ี รูได้นาวิธกี ารมาจาก
ศลิ ปนิ (artist) มาใช้ในทางการศึกษาเพ่ือการประเมินความก้าวหนา้ ในการเรยี นรู้ของผเู้ รียนโดยแฟูมสะสมงาน
มีประโยชนท์ ส่ี าคญั คือ
-ผเู้ รยี นสามารถแสดงความสามารถในการทางานโดยท่ีการสอบทาไม่ได้
-เป็นการวดั ความสามารถในการเรียนรู้ของผเู้ รยี น
-ช่วยใหผ้ ู้เรยี นสามารถแสดงใหเ้ ห็นกระบวนการเรียนรู้ (Process) และผลงาน (Product)
-ช่วยให้สามารถแสดงให้เหน็ การเรยี นรูท้ ี่เป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรม
แฟูมสะสมงานไมใ่ ชแ่ นวคิดใหม่เป็นเรอ่ื งท่มี มี านานแล้วใชโ้ ดยกลุ่มเขียนภาพศลิ ปินสถาปนิกนกั แสดงและ
นักออกแบบโดยแฟูมสะสมงานได้ถูกนามาใช้ในทางการศึกษาในการเรียนการสอนทางด้านภาษาคณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์และวิชาอื่น ๆ ท้ังนี้แฟูมสะสมงานเป็นวิธีการท่ีสะท้อนถึงวิธีการประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพ
จริง (Authentic Assessment) ซึ่งเป็นกระบวนการของการรวบรวมหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าผู้เรียนสามารถ
ทาอะไรได้บ้างและเป็นกระบวนการของการแปลความจากหลักฐานที่ได้และมีการตัดสินใจหรือให้คุณค่าการ

26

ประเมินผลตามสภาพจริงเป็นกระบวนการที่ใช้เพอ่ื อธบิ ายถึงภาระงานท่ีแท้จริงหรือ real task ที่ผู้เรียนจะต้อง
ปฏิบัติหรือสร้างความรู้ไม่ใช่สร้างแต่เพียงข้อมูลสารสนเทศ การประเมินโดยใช้แฟูมสะสมงานเป็นวิธีการของ
การประเมินท่มี อี งคป์ ระกอบสาคัญคือ

-ให้ผเู้ รยี นไดแ้ สดงการกระทา - ลงมือปฏบิ ัติ
-สาธิตหรอื แสดงทักษะออกมาให้เห็น
-แสดงกระบวนการเรยี นรู้
-ผลิตช้ินงานหรือหลักฐานว่าเขาไดร้ ้แู ละเขาทาได้
ซึ่งการประเมินโดยใชแ้ ฟมู สะสมงานหรอื การประเมินตามสภาพจริงโดยวิธีการดังกล่าวนี้จะมลี กั ษณะที่สาคญั คือ
-ชน้ิ งานทมี่ คี วามหมาย (meaningful tasks)
-มมี าตรฐานทช่ี ัดเจน (clear standard)
-มีการให้สะท้อนความคดิ ความรูส้ กึ (reflections)
-มีการเช่อื มโยงกบั ชวี ติ จริง (transfer)
-เป็นการปรับปรุงและบูรณาการ (formative integrative)
-เกยี่ วข้องกับการคิดในลาดบั ที่สงู ขึน้ ไป (high – order thinking)
-เน้นการปฏิบตั ิท่ีมีคุณภาพ (quality performance)
-ได้ผลงานทม่ี คี ุณภาพ (quality product)
5. ลกั ษณะของแฟ้มสะสมงาน
นกั การศกึ ษาบางทา่ นได้กลา่ ววา่ แฟมู สะสมงานมีลักษณะเหมือนกับจานผสมสีซ่ึงจะเห็นได้ว่าจานผสม
สีเป็นส่วนที่รวมเร่ืองสีต่าง ๆ ทั้งน้ีแฟูมสะสมงานเป็นส่ิงที่รวมการประเมินแบบต่าง ๆ เพื่อการวาดภาพให้เห็น
ว่าผู้เรียนเป็นอย่างไรแฟูมสะสมงานไม่ใช่ถังบรรจุส่ิงของ (Container) ท่ีเป็นที่รวมของส่ิงต่าง ๆ ที่จะเอาอะไร
มากองรวมไว้หรอื เอามาใส่ไวใ้ นทเี่ ดียวกันแตแ่ ฟูมสะสมงานเปน็ การรวบรวมหลกั ฐานที่มีระบบและมีการจัดการ
โดยครูและผู้เรียนเพื่อการตรวจสอบความก้าวหน้าหรือการเรียนรู้ด้านความรู้ทักษะและเจตคติในเร่ืองเฉพาะ
วชิ าใดวิชาหน่งึ
6. จุดมุง่ หมายของการประเมินโดยใชแ้ ฟม้ สะสมงานมีดงั น้ี
-ช่วยให้ครไู ดร้ วบรวมงานท่สี ะทอ้ นถึงความสาคัญของนักเรียนในวัตถปุ ระสงคใ์ หญข่ องการเรยี นรู้
-ช่วยกระตุน้ ใหผ้ ้เู รียนสามารถจดั การเรียนรู้ของตนเอง
-ชว่ ยใหค้ รูไดเ้ กดิ ความเขา้ ใจอย่างแจม่ แจ้งในความก้าวหน้าของผเู้ รยี น
-ชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ ขา้ ใจตนเองมากย่ิงขึน้
-ช่วยใหท้ ราบการเปลี่ยนแปลงและความกา้ วหนา้ ตลอดช่วงระหว่างการเรียนรู้
-ชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นได้ตระหนักถึงประวัติการเรยี นรู้ของตนเอง
-ช่วยทาใหเ้ กดิ ความสมั พันธ์ระหวา่ งการสอนกบั การประเมิน

7. กระบวนการของการจดั ทาแฟ้มสะสมงาน
การจดั ทาแฟมู สะสมงานมีกระบวนการหรือขั้นตอนอยู่หลายขัน้ ตอนแตท่ งั้ น้ีกส็ ามารถปรับปรงุ ได้อยา่ ง

เหมาะสม Kay Burke (1994) และคณะไดก้ าหนดข้นั ตอนของการทาแฟูมสะสมงานไว้ 10 ขั้นตอนดงั นี้
-ข้นั การรวบรวมและจัดระบบของผลงาน
-ขน้ั การเลือกผลงานหลกั ตามเกณฑ์ที่กาหนด
-ข้นั การสร้างสรรคแ์ ฟูมสะสมผลงาน

27

กลา่ วโดยทวั่ ไปแฟูมสะสมงานจะมีลักษณะทีส่ าคญั 2 ประการคอื
- เปน็ เหมอื นสง่ิ ทรี่ วบรวมหลกั ฐานท่ีแสดงความรู้และทักษะของผเู้ รยี น
- เป็นภาพทแ่ี สดงพฒั นาการของผู้เรยี นในการเรียนรู้ตลอดช่วงเวลาของการเรยี น
-ขัน้ การสะท้อนความคิดหรือความรสู้ ึกต่อผลงาน
-ข้นั การตรวจสอบเพ่ือประเมินตนเอง
-ขั้นการประเมนิ ผลประเมินค่าของผลงาน
-ขัน้ การแลกเปลยี่ นประสบการณ์กับบุคคลอน่ื
-ข้นั การคดั สรรค์และปรับเปลี่ยนผลงานเพื่อให้ทนั สมยั
-ขนั้ การประชาสัมพนั ธ์หรือจัดนทิ รรศการแฟูมสะสมงาน

8. รปู แบบ (Model) ของการทาแฟ้มสะสมงานสามารถดาเนินการได้ดงั นี้
-สาหรับผเู้ รม่ิ ทาไม่มีประสบการณม์ าก่อนควรใช้ 3 ขน้ั ตอน
ข้นั ที่ 1 การรวบรวมผลงาน
ขัน้ ท่ี 2 การคัดเลือกผลงาน
ข้ันท่ี 3 การสะท้อนความคิดความรู้สึกในผลงาน
-สาหรับผู้ท่มี ีประสบการณ์ใหมๆ่ ควรใช้ 6 ข้ันตอน
ขั้นที่ 1 กาหนดจดุ มงุ่ หมาย
ข้นั ท่ี 2 การรวบรวม
ข้นั ที่ 3 การคัดเลือกผลงาน
ขั้นที่ 4 การสะท้อนความคดิ ในผลงาน
ขั้นที่ 5 การประเมินผลงาน
ข้นั ที่ 6 การแลกเปลีย่ นกับผู้เรียน
-สาหรบั ผู้ที่มปี ระสบการณพ์ อสมควรควรใช้ 10 ขนั้ ตอนดังที่กลา่ วขา้ งต้น

9. การวางแผนทาแฟ้มสะสมงาน
- การวางแผนและการกาหนดจุดมงุ่ หมายคาถามหลักทจ่ี ะต้องทาให้ชัดเจน ทาไมจะต้องใหผ้ ู้เรียน

รวบรวมผลงาน ทาแฟูมสะสมงานเพ่ืออะไร จดุ มงุ่ หมายทแี่ ท้จริงของการทาแฟมู สะสมงานคืออะไร
การใช้แฟูมสะสมงานในการประเมินมีข้อดีข้อเสีย อย่างไร

- แฟมู สะสมงานไมใ่ ชเ่ ป็นเพยี งการเรยี นการสอนหรอื การประเมินผลแตเ่ ปน็ ทั้งกระบวนการเรยี นการ
สอนและการวดั ผลประเมินผล

- แฟูมสะสมงานเป็นกระบวนการทท่ี าใหผ้ ้เู รยี นเป็นผทู้ ่ลี งมือปฏิบัติเองและเรียนรู้ด้วยตนเอง
- การใชแ้ ฟูมสะสมงานในการประเมนิ จะมหี ลักสาคญั 3 ประการเนือ้ หาต้องเก่ียวกับเน้ือหาท่ีสาคัญใน
หลักสูตรการเรียนรู้ผู้เรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติเองโดยมีการบูรณาการท่ีจะต้องสะท้อน กระบวนการเรียนรู้ทั้งใน
เรอื่ งการอ่านการเขยี นการฟงั การแก้ปญั หาและการคดิ ระดบั ทสี่ งู กวา่ ปกติ
10. การเก็บรวบรวมชิน้ งานและการจัดแฟ้มสะสมงาน
- ความหมายของแฟูมสะสมงานคอื การรวบรวมผลงานของผเู้ รยี นอย่างมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อการแสดงให้
เหน็ ความพยายามความกา้ วหน้าและความสาเร็จของผู้เรียนในเร่ืองใดเรอ่ื งหนง่ึ
- วธิ กี ารเก็บรวบรวมสามารถจดั ให้อยใู่ นรปู แบบของสง่ิ ต่อไปนแี้ ฟูมงานสมุดบันทึกตู้เก็บเอกสารกล่อง
อลั บ้มั แผน่ ดิสก์

28

- วธิ ีการดาเนินการเพื่อการรวบรวมจัดทาได้โดยวธิ กี ารดงั นี้รวบรวมผลงานทุกชิน้ ทจ่ี ัดทาเป็นแฟมู
สะสมงานคัดเร่ืองผลงานเพือ่ ใช้ในแฟูมสะสมงานสะทอ้ นความคดิ ในผลงานที่คัดเรื่องไว้

- รูปแบบของแฟูมสะสมงานอาจมอี งค์ประกอบดังนี้
สารบัญและแสดงประวัตผิ ทู้ าแฟูมสะสมงาน
สว่ นท่ีแสดงวัตถุประสงค์/จดุ มงุ่ หมาย
สว่ นที่แสดงช้นิ งานหรอื ผลงาน
สว่ นท่สี ะทอ้ นความคิดเห็นหรอื ความรสู้ ึก
สว่ นทีแ่ สดงการประเมนิ ผลงานดว้ ยตนเอง
สว่ นทแ่ี สดงการประเมินผล
สว่ นที่เป็นภาคผนวกขอ้ มลู ประกอบอืน่ ๆ

29

ใบงาน เร่อื ง กระบวนการในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง

1.ให้สรุปบทบาทของผู้เรยี นในการเรียนรดู้ ้วยตนเอง มาพอสงั เขป
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
2.ให้สรุปบทบาทของครใู นการเรยี นรู้ด้วยตนเอง มาพอสังเขป
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
3.ให้เปรียบเทียบบทบาทของผ้เู รยี นและครูในการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง มาพอสังเขป
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
4.ให้สรปุ สาระสาคัญของ กระบวนการเรียนรดู้ ้วยตนเอง มาพอสงั เขป
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________

ชอ่ื นามสกุ ล รหสั นักศึกษา

30

แผนการจัดการเรียนรู้ครั้งท่ี 3 (การเรียนรู้ด้วยตนเอง)

กลมุ่ สาระทักษะการเรยี นรู้ รายวิชา ทักษะการเรยี นรู้ ทร31001 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 เร่ือง การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง

แผนการจัดการเรยี นรู้ เรอ่ื ง ทักษะพนื้ ฐานทางการศกึ ษาหาความรู้ทักษะการแกปญั หาและเทคนคิ ในการ

เรยี นรู้ ดว้ ยตนเอง เวลาสอน ๑๕ ช่ัวโมง

สอนวนั ท่.ี ........เดือน...............................พ.ศ. .....................ภาคเรยี นท.่ี ............ปีการศกึ ษา........................

มาตรฐานการเรยี นรู้
มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติที่ดตี อ่ การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง

ตวั ชว้ี ัด
1.สามารถวิเคราะห์ความรูจ้ ากาการอ่าน การฟัง การสังเกต และสรุปไดถ้ ูกต้อง
2.สามารถจดั ระบบการแสวงหาความรใู้ หก้ บั ตนเอง
3.ปฏบิ ตั ติ ามข้นั ตอนในการแสวงหาความรู้เก่ียวกับทักษะการอา่ น ทักษะการฟัง และทักษะการจดบันทึก

สาระสาคัญ
การเรยี นร้ดู ว้ ยตนเองเป็นกระบวนการเรียนรู้ท่ผี เู้ รียนรเิ ริ่มการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง ตามความสนใจ ความ

ตอ้ งการ และความถนดั มีเปาู หมาย รจู้ ักแสวงหาแหล่งทรัพยากรของการเรียนรู้ เลอื กวิธกี ารเรยี นรู้ จนถึงการ
ประเมนิ ความกา้ วหน้าของการเรียนร้ดู ้วยตนเอง โดยจะดาเนินการดว้ ยตนเองหรือรว่ มมือชว่ ยเหลือกบั ผอู้ น่ื หรือไม่
ก็ได้ ซง่ึ การแสวงหาการศกึ ษาระดบั ทีส่ งู ขึ้น จาเป็นต้องรวู้ ิธวี นิ จิ ฉัยความตอ้ งการในการเรยี นของตนเอง สามารถ
กาหนดเปาู หมายในการเรยี นรู้ของตนเอง สามารถระบุความร้ทู ีต่ อ้ งการ และวางแผนการใชย้ ุทธวิธี ส่อื การเรียน
และแหล่งเรียนรูเ้ หล่านน้ั หรือแม้แต่ประเมนิ และตรวจสอบความถูกตอ้ งของผลการเรียนรู้ของตนเอง มาตรฐาน
การเรยี นรู้สามารถวเิ คราะหเ์ ห็นความสาคญั และปฏิบตั ิการแสวงหาความรจู้ ากการอา่ น ฟงั และสรปุ ได้ถูกตอ้ ง
ตามหลกั วชิ าการ

เนอ้ื หา
ทักษะพื้นฐานทางการศกึ ษาหาความรทู้ ักษะการแกปญั หาและเทคนิคในการเรียนรู้ ดว้ ยตนเอง

คุณธรรม
1. เพ่ือการพฒั นาตน
2. เพ่อื การพัฒนาการทางาน
3. เพื่อการพฒั นาการอย่รู ่วมกันในสงั คม
4.เพอ่ื การพัฒนาประเทศชาติ

31

กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ขัน้ นา
- การนาเขา้ สบู่ ทเรียนดว้ ยวธิ ีการ ทกั ทายผู้เรียน และชแี้ จงบอกวัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้เรื่อง

กระบวนการในการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง
ขั้นสอน
- ครูอธิบายกระบวนการในการเรียนร้ดู ้วยตนเองและเปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นซกั ถาม
- ผู้เรยี นใชแ้ บบเรยี นเปดิ เนือ้ หาบทท่ี 1 การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง เรอ่ื งทักษะพนื้ ฐานทางการศึกษาหา

ความรูท้ กั ษะการแกปญั หาและเทคนิคในการเรยี นรู้ ดว้ ยตนเอง
- ครใู หผ้ เู้ รยี นสแกน QR Code ใบความรู้ เรื่องกระบวนการในการเรียนรู้ด้วยตนเอง(เพิ่มเติม)

- ครูใหผ้ ู้เรียนทาใบงาน เร่ืองกระบวนการในการเรยี นรู้ด้วยตนเอง

ขน้ั สรปุ
- ครแู ละผูเ้ รยี นรว่ มกนั สรุปหลงั จากทุกกลุ่มนาเสนอผลงานหนา้ ชั้นเรยี น
-ครูใหค้ วามรูเ้ พิ่มเตมิ ในส่วนท่ียงั ไมส่ มบรู ณ์
- ครเู ชื่อมโยงกิจกรรมทีผ่ เู้ รยี นได้ปฏิบัติกบั เนื้อหาในเรื่องของปจั จัยทท่ี าใหก้ ารเรยี นรดู้ ้วยตนเอง
ประสบความสาเร็จ
สอ่ื และแหล่งเรยี นรู้
1. หนังสอื แบบเรียน
2. ใบความรู้
3. ใบงาน

32

การวัดและประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมระหวา่ งการเรียนรู้
2. วดั ความรูจ้ ากการทากิจกรรมในใบงาน
3. การนาเสนอผลการเรยี นรู้

แหล่งการเรยี นร/ู้ สืบค้นขอ้ มูลเพมิ่ เติม
1.ห้องสมุดประชาชน
2.กศน.ตาบล
3. แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ
4. Internet
5. ภูมิปญั ญา / แหลง่ เรยี นรู้

ความคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา

พิจารณาแลว้ ..........................................................................................................................................
......................................................................................................... ......................................................

ลงชอื่
(นางสาวปรารถนา ชโี พธ์ิ)
ผูอ้ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางระจนั
วนั ที่ ........... เดอื น ................. พ.ศ. ...........

33

บนั ทึกหลังการสอน
ความสาเร็จในการจดั การเรยี นการสอน
............................................................................................................................. .................................................
........................................................................................................................................................... ...................
................................................................................................................ ..............................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................. .............................
ปญั หา / อปุ สรรค ในการจัดการเรยี นการสอน
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
แนวทางการแก้ปญั หา
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................... ..........................
......................................................................................................... .....................................................................
............................................................................................................................. .................................................
.......................................................................................................................................... ....................................

ลงช่ือ.............................................ครูผสู้ อน
(..............................................)
ครู............................................

วันที.่ .........เดอื น...........................พ.ศ. ........................
ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ารสถานศึกษา
..................................................................................................................................................................... .........
.......................................................................................................................... ....................................................
............................................................................................................................. .................................................
........................................................................................................................................................... ...................
................................................................................................................ ..............................................................

ลงช่อื ผ้บู งั คบั บญั ชา
(นางสาวปรารถนา ชโี พธ์ิ)

ผูอ้ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอบางระจัน

34

ใบความรู้ เร่ืองทักษะพื้นฐานทางการศึกษาหาความรทู้ ักษะการแกปัญหาและเทคนิคในการเรียนรู้
ดว้ ยตนเอง

คาถามธรรมดา ๆ ท่เี ราเคยได้ยินได้ฟังกันอยูบ่ ่อย ๆ ก็คือ ทาอยา่ งไรเราจึงจะสามารถฟังอย่างรู้เรอ่ื ง
และคดิ ได้อย่างปราดเปร่ืองอ่านไดอ้ ย่างรวดเร็ว ตลอดจนเขียนได้อยา่ งมืออาชพี ทั้งน้ีก็เพราะเราเข้าใจกันดีว่า
ทัง้ หมดนเ้ี ป็นทักษะพืน้ ฐาน (basic skills) ทีส่ าคัญ และเป็นความสามารถ (competencies) ทจี่ าเปน็ สาหรบั
การดารงชวี ติท้ังในโลกแห่งการทางาน และในโลกแหง่ การเรยี นรู้

การฟัง เป็นการรบั รู้ความหมายจากเสียงที่ได้ยิน เปน็ การรบั สารทางหู การได้ยนิ เปน็ การเริ่มตน้ ของ
การฟังและเปน็ เพียงการกระทบกนขั องเสียงกับประสาทตามปกตจิ งึ เป็นการใช้ความสามารถทาง
ร่างกายโดยตรง ส่วนการฟังเป็นกระบวนการทา งานของสมองอกี หลายขน้ ั ตอนต่อเน่ืองจากการได้ยินเป็น
ความสามารถทจ่ี ะไดร้ ับรสู้ ิ่งที่ไดย้ นิ ตคี วามและจบั ความสิ่งทรี่ บั รูน้ ้ัน เขา้ ใจและจดจาไวซ้ ่ึงเป็นความสามารถ
ทางสติปัญญา

การพูด เป็นพฤติกรรมการสอ่ื สารที่ใช้กนั แพรห่ ลายทวั่ ไป ผูพ้ ดู สามารถใชท้ ง้ั วจนะภาษาและอวจนั ะ
ภาษาในการสง่ สารติดต่อไปยังผฟู้ งั ได้ชัดเจนและรวดเร็ว

การพดู หมายถงึ การสื่อความหมายของมนษุ ย์โดยการใช้เสียง และกิรยิ าทา่ ทางเป็นเคร่อื งถา่ ยทอด
ความรูค้ วามคิด และความรสู้ กึ จากผูพ้ ูดไปส่ผู ฟู้ ัง

การอา่ น เปน็ พฤติกรรมการรับสารที่สาคัญไม่ย่ิงหย่อนไปกวา่ การฟัง ปัจจบุ ันมีผู้รนู้ กั วชิ าการ
และนักเขียนนาเสนอความรู้ ข้อมูลขา่ วสารและงานสร้างสรรค์ตพี ิมพใ์ นหนงัสือและส่ิงพิมพ์อน่ื ๆ มาก
นอกจากน้แี ล้วข่าวสารสาคญั ๆ หลังจากนาเสนอด้วยการพูด หรืออ่านให้ฟังผ่านส่ือตา่ ง ๆ สว่ นใหญ่จะตพี ิมพ์
รกั ษาไวเ้ ปน็ หลักฐานแก่ผู้อา่ นในชัน้ หลัง ๆ ความสามารถในการอา่ นจึงสาคัญ และจาเป็นย่งิ ตอ่ การเป็น
พลเมอื งท่มี ีคณุ ภาพในสังคมปัจจุบัน

การเขยี น เป็นการถ่ายทอดความรสู้ ึกนกึ คดิ และความตอง้ การของบุคคลออกมาเปน็ สญั ลักษณ์
คอื ตัวอักษร เพ่ือส่ือความหมายใหผ้ ู้อืน่ เขา้ ใจจากความขา้ งตน้ ทาใหม้ องเหน็ ความหมายของการเขยี นวา่ มี
ความจาเปน็ อย่างยิง่ ต่อการส่ือสารในชีวิตประจาวัน เชน่ นกั เรียนใชก้ ารเขียนบันทกึ ความรู้ทาแบบฝึกหัดและ
ตอบข้อสอบบุคคลทว่ั ไป ใช้การเขียนจดหมาย ทาสญั ญา พินยั กรรมและคา้ ประกนั เป็นต้น พอ่ ค้าใช้การเขียน
เพื่อโฆษณาสินค้า ทาบัญชใี บส่ังของทาใบเสรจ็ รบั เงนิ แพทย์ใช้บนั ทึก ประวตั คิ นไข้เขียนใบสั่งยาและอืน่
ๆ เปน็ ต้น

35

ใบงาน เรอื่ ง คณุ เปน็ ผู้ฟงั ทด่ี ีหรอื เปล่า

36

37

แผนการจดั การเรยี นรู้คร้ังที่ ๔ (พบกลมุ่ )

กลมุ่ สาระทักษะการเรยี นรู้ รายวิชา ทักษะการเรยี นรู้ ทร31001 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 เร่ือง การใช้แหล่งเรียนรู้

แผนการจดั การเรยี นรู้ เรอื่ ง ความหมายและความสาคัญของแหล่งเรยี นรู้ เวลาสอน 6 ชั่วโมง

สอนวันท.่ี .......เดอื น...................................พ.ศ. .....................ภาคเรยี นที่.............ปกี ารศกึ ษา.....................

มาตรฐานการเรยี นรู้
มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะและเจตคติท่ีดีตอ่ การใช้แหล่งเรียนรู้

ตวั ช้ีวดั
1.จาแนกความแตกตา่ งของแหล่งเรียนรู้ และตดั สนิ ใจเลอื กใช้แหลง่ เรยี นรู้
2.เรียงลาดับความสาคญั ของแหลง่ เรียนรู้ และจดั ทาระบบในการใช้แหลง่ เรียนร้ขู องตนเอง
3.สามารถปฏิบัติการใชแ้ หล่งเรียนรู้ ตามข้นั ตอนได้อย่างถูกต้อง

สาระสาคญั
แหล่งเรยี นรู้มีความสาคัญในการพฒั นาความรู้ของมนษุ ย์ให้สมบรู ณม์ ากย่ิงขึ้น นอกเหนือจากการ

เรยี นรู้ในชั้นเรียน และเปน็ แหล่งที่อยใู่ ห้สังคมชุมชนล้อมรอบตวั ผู้เรยี น สามารถเข้าไปศกึ ษาค้นควา้ เพ่อื การ
เรยี นร้ไู ดต้ ลอดชวี ติ

เนอื้ หา
ความหมายและความสาคญั ของแหล่งเรียนรู้

คณุ ธรรม
1. เพื่อการพัฒนาตน
2. เพ่ือการพฒั นาการทางาน
3. เพ่ือการพฒั นาการอยรู่ ว่ มกันในสังคม
4. เพ่อื การพฒั นาประเทศชาติ

กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ขน้ั นา
- การนาเขา้ สู่บทเรยี นด้วยวิธีการ ทักทายผูเ้ รยี น และช้แี จงบอกวัตถปุ ระสงค์การเรยี นรเู้ ร่ือง

ความหมายและความสาคญั ของแหล่งเรยี นรู้
- ครูใหผ้ ู้เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียน คร้ังท่ี 3

38
ขนั้ สอน
- ครูอธิบายความหมายและความสาคญั ของแหลง่ เรียนรู้และเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นซกั ถาม
- ผูเ้ รียนใชแ้ บบเรยี นวิชาทักษะการเรยี นรู้ เปดิ เนื้อหา บทท่ี 2 การใช้แหล่งเรยี นรู้ เรอื่ งความหมาย
และความสาคญั ของแหลง่ เรยี นรู้
- ครใู ห้ผเู้ รยี นสแกน QR Code ใบความรู้เรือ่ งการใชแ้ หล่งเรยี นรู้ (เพิม่ เติม)

- ครูใหผ้ ู้เรยี นทาใบงาน เร่ืองความหมายและความสาคัญของแหล่งเรียนรู้

ขน้ั สรปุ
- ครูและผู้เรยี นรว่ มกนั สรปุ หลงั จากทุกกลมุ่ นาเสนอผลงานหนา้ ชน้ั เรียน
- ครใู หค้ วามรเู้ พิ่มเติมในสว่ นที่ยงั ไมส่ มบรู ณ์
สื่อและแหล่งเรยี นรู้
1. หนังสือแบบเรยี น
2. ใบความรู้
3. ใบงาน
การวดั และประเมนิ ผล
1. สังเกตพฤติกรรมระหวา่ งการเรียนรู้
2. วดั ความรจู้ ากการทากิจกรรมในใบงาน
3. การนาเสนอผลการเรยี นรู้
4. แบบทดสอบ
แหล่งการเรยี นร/ู้ สืบคน้ ข้อมูลเพ่มิ เติม
1. หอ้ งสมดุ ประชาชน
2. กศน.ตาบล

39

3. แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ
4. Internet
5. ภมู ิปญั ญา / แหลง่ เรยี นรู้

ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศกึ ษา

พิจารณาแลว้ ..........................................................................................................................................
......................................................................................................... ......................................................

ลงช่อื
(นางสาวปรารถนา ชโี พธ์ิ)

ผอู้ านวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางระจนั
วนั ท่ี ........... เดอื น ................. พ.ศ. ...........

40

บนั ทึกหลังการสอน
ความสาเรจ็ ในการจดั การเรียนการสอน
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................... ..........................
......................................................................................................... .....................................................................
............................................................................................................................. .................................................
.......................................................................................................................................... ....................................
............................................................................................... ...............................................................................
ปญั หา / อุปสรรค ในการจดั การเรยี นการสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.......................................................................................................................................................................... ....
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................................ ..............
แนวทางการแก้ปัญหา
.................................................................................................. ............................................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................... ...........................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่ือ............................................ครผู สู้ อน
(..............................................)
ครู............................................

วันที่..........เดือน..........................พ.ศ. ........................
ข้อเสนอแนะของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชื่อ ผบู้ ังคับบญั ชา
(นางสาวปรารถนา ชโี พธิ์)

ผูอ้ านวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางระจัน

41

แบบทดสอบก่อนเรียน เรอื่ งการใชแ้ หล่งเรยี นรู้

1.หอ้ งสมุดประชานมีความสาคญั กับนักศึกษาในขอ้ ใดมากที่สดุ

ก. การศึกษาตามอธั ยาศัย

ข. สรา้ งเสริมประสบการณภ์ าคปฏบิ ตั ิ

ค. แหลง่ สง่ เสรมิ ความรู้ ความคิด วิทยาการ

ง. แหล่งปลูกฝงั รกั การอ่าน การศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเอง

2. หลงั จากศกึ ษาเลา่ เรียนแล้ว ถา้ ตอ้ งการเขา้ ถึงสารสนเทศของหอ้ งสมุดประชาชนเพื่อคน้ ควา้ ควรใชว้ ธิ ใี ด

ก. ถามเพ่ือน ข. ศกึ ษาจากผู้ปกครอง

ค. ยมื หนงั สอื จากเพื่อนคนอ่นื มาอ่าน ง. ศกึ ษาจากแหล่งเรียนรู้ ทางอนิ เทอร์เนต็

3. ขอ้ ใดเรยี งขัน้ ตอนโปรแกรมค้นหา ได้ถูกต้อง

ก. เปิดโปรแกรม – พิมพช์ ือ่ เว็ปไซต์ – เปดิ หน้าต่างเวป็ ไซต์ – พิมพส์ งิ่ ท่ีตอ้ งการคน้ หา

ข. เปิดโปรแกรม – เปดิ หน้าต่างเวป็ ไซต์ – พมิ พช์ ื่อเว็ปไซต์ - พมิ พส์ ิ่งทีต่ ้องการค้นหา

ค. เปดิ โปรแกรม – พมิ พช์ ือ่ เว็ปไซต์ – พมิ พส์ ่ิงที่ตอ้ งการค้นหา - เปิดหนา้ ต่างเวป็ ไซต์

ง. เปดิ โปรแกรม – พมิ พ์ส่งิ ท่ีตอ้ งการค้นหา – พมิ พช์ ่ือเว็ปไซต์ - เปดิ หนา้ ต่างเว็ปไซต์

4. ข้อใดเป็นแหลง่ เรียนรทู้ ี่จดั อย่ใู นประเภทเดยี วกนั

ก. พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ ศนู ย์การเรยี นรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง

ข. อทุ ยานการศกึ ษา กลมุ่ ออมทรพั ย์

ค. วนอทุ ยาน สวนพฤกษศาสตร์

ง. แพทย์แผนไทย หอศิลป์

5. ขอ้ ใดคือการแสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเองจากแหล่งเรยี นรู้ในทอ้ งถิน่

ก. นศิ าชล ไปอ่านหนังสือคมู่ ือฟิสิกส์ทีศ่ นู ยว์ ชิ าวทิ ยาศาสตร์

ข. ธนั ยา ไปเรียนทาขนมไทยจากกลมุ่ แมบ่ า้ นวัดนวลจันทร์

ค. กมลและเพอ่ื น ไปหอ้ งคอมพวิ เตอร์ เพ่ือสืบค้นข้อมูลมาทารายงาน

ง. กมลา ไปศึกษาคน้ คว้าเร่ืองประโยชน์ของพชื สมนุ ไพรท่ีสวนสมุนไพรของโรงเรยี น

6. ห้องสมดุ ประเภทใดทใี่ หค้ วามรูค้ ้นคว้าวจิ ัยมากท่สี ุด

ก. หอ้ งสมุดเฉพาะ ข. หอ้ งสมดุ โรงเรยี น

ค. หอ้ งสมุดประชาชน ง. หอ้ งสมดุ มหาวทิ ยาลัย

7.บคุ คลใดใช้บริการแหล่งเรยี นรูไ้ ดถ้ กู ตอ้ งทีส่ ุด

ก. เอวา ใชแ้ หลง่ เรียนรู้เป็นสถานที่ฝึกงานของตนโดยตรง

ข. พวิ า รบั ข้อมูล ข่าวสาร ความร้ทู ีต่ นเองตอ้ งการโดยตรงจากผ้รู ู้

ค. พิกุล ใช้อินเตอรเ์ นต็ เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ใกล้ตวั ค้นคว้าหางา่ ย รวดเรว็

ง. พิมพา ศึกษาหาความรู้จากหอ้ งสมุดประชาชนเพอ่ื ให้เกิดประสบการณ์จริง

8. . ข้อใดคอื ความหมาย www

ก. Word wide web

ข. Work wide web

ค.Word widk web

ง.Word walk web


Click to View FlipBook Version