92
บันทกึ หลังการสอน
ความสาเร็จในการจัดการเรียนการสอน
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ปญั หา / อุปสรรค ในการจัดการเรยี นการสอน
.................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................... ...........................
........................................................................................................ ......................................................................
............................................................................................................................. .................................................
แนวทางการแกป้ ัญหา
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงชอ่ื ..............................................ครูผู้สอน
(.............................................)
คร.ู ...........................................
วันที่..........เดอื น...........................พ.ศ. ........................
ข้อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ลงช่ือ ผู้บงั คบั บญั ชา
(นางสาวปรารถนา ชโี พธ์ิ)
ผ้อู านวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางระจัน
93
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ครง้ั ท่ี 5
1. ข้อใดถูกตอ้ งที่สุดในเร่ืองกระบวนการคดิ เป็น
ก. การทาความเขา้ ใจด้วยกระบวนการคิด
ข. สรา้ งความเขา้ ใจด้วยตนเองเป็นหลกั
ค. สรา้ งความเขา้ ใจดว้ ยการรวมกลุ่มเป็นหลัก
ง. การทาความเขา้ ใจด้วยกระบวนการคิดและสร้างความเข้าใจด้วยตนเองเป็นหลัก
2. คนจะอยู่ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุขต้องรูจ้ ักการปรบั ตัว และใชก้ ระบวนการคดิ เปน็ โดยยึดหลกั ใด
ก. หลักเหตผุ ล และ ความดี ข. หลักเท่ยี งธรรมและ ความดี
ค. หลกั คณุ ธรรมและจริยธรรม ง. หลักเหตผุ ลและเท่ยี งธรรม ภายใตก้ รอบแหง่ คุณธรรม จรยิ ธรรม
3. ข้อมูลตนเองหมายถึงขอ้ ใด
ก. ข้อมูลเกยี่ วกับตนเอง ทั้งทางดา้ นกายภาพ สขุ ภาพอนามัยความพร้อมต่าง ๆ และจิตสานกึ ของ
ตนเอง
ข. ซึง่ เปน็ ข้อมลู เก่ยี วกบั สภาพแวดล้อม ครอบครัว สงั คม วัฒนธรรม ความเชื่อ ประเพณี คา่ นยิ ม
ตลอดจนกรอบคุณธรรม จรยิ ธรรม
ค. คอื ความรู้ทเี่ กยี่ วข้องกบั เร่ืองท่ีต้องคิด ตัดสินใจน้นั ๆ วา่ มหี รือไมเ่ พียงพอท่จี ะนาไปใชห้ รอื ไม่
ง. ถกู ทกุ ข้อ
4. ลักษณะของคนคดิ เป็นตามปรัชญาคดิ เปน็ คือลักษณะใด
ก. ปญั หาทเ่ี กดิ ขึน้ เป็นสิ่งธรรมดา สามารถแกไ้ ขได้
ข. เข้าใจวา่ ขอ้ มูลทางวชิ าการเปล่ียนแปลงอยู่เสมอ
ค. แก้ปญั หาชีวิตประจาวันอย่างมีระบบ
ง. ถกู ทกุ ขอ้
5. ขอ้ มูลวชิ าการ หมายถงึ
ก. ข้อมูลเก่ยี วกับตนเอง ทงั้ ทางด้านกายภาพ สุขภาพอนามัยความพร้อมต่าง ๆ
ข. ขอ้ มลู เก่ียวกบั สภาพแวดล้อม ครอบครวั สังคม วัฒนธรรม
ค. ความร้ทู ่เี ก่ยี วข้องกับเรือ่ งทตี่ ้องคิด ตดั สินใจน้ัน ๆ วา่ มีหรอื ไม่เพียงพอทจ่ี ะนาไปใชห้ รือไม่
ง. ถกู ทุกขอ้
6. การใช้กระบวนการคิดเปน็ ตอ้ งกระทาโดยใคร เพ่ือแกไ้ ขและการตดั สินใจ
ก. ครู
ข. เพ่ือน
ค. ผู้นาชุมชน
ง. เจ้าของปัญหาเอง
7. เวลามปี ญั หาหรอื ขดั แยง้ กับเพอื่ นรว่ มงานอยา่ งแรกทเ่ี ราควรมองเป็นอันดับแรกคือ
ก. เพื่อนร่วมงาน ข. มองทตี่ วั เอง
ค. อาจารย์ผู้สอน ง. พอ่ แม่
94
8. หลักการแกป้ ัญหาท่ีดีคือ
ก. ระบุปัญหา ระบขุ ้อจากดั ของปัจจัย การพฒั นาทางเลอื ก
ข. การวเิ คราะหท์ างเลือก การเลือกทางเลือกท่ดี ีทส่ี ดุ
ค. การนาผลการตัดสนิ ใจไปปฏิบตั ิ การสรา้ งระบบควบคุมและประเมินผล
ง. ถูกทกุ ข้อ
9. ข้อใดที่แสดงความเป็นปญั ญาชนท่ีแทจ้ รงิ
ก. ความเปน็ ตวั ของตัวเอง
ข. ความมเี สรภี าพในการใชค้ วามคดิ
ค. การยอมรับความคดิ ผู้อ่นื
ง. ถูกทุกข้อ
10. ขอ้ ใดคือคณุ สมบตั ิทเี่ หมาะสมของข้อมลู
ก. ความถกู ต้อง
ข. ความหลากหลาย
ค. ความเปน็ ระเบยี บ
ง. ความเป็นสากล
95
ใบความรู้ เรอื่ งการคิดเป็น
“คิดเปน็ คืออะไรใครรบู้ า้ ง
มที ิศทางมาจากไหนใครเคยเหน็
จะเรยี นรา่ ทาอยา่ งไรให้ “คดิ เปน็ ”
ไม่ลอ้ เล่นใครตอบได้ขอบใจเอย”
ความเชื่อพ้ืนฐานทางการศึกษาผ้ใู หญ่
ทุกวนั น้นี อกจากเด็กและเยาวชนทค่ี รา่ เครง่ เรยี นหนงั สืออยู่ในโรงเรียนกันมากมายท่วั ประเทศแลว้ กย็ งั
มีเยาวชนและผู้ใหญ่จานวนไม่นอ้ ยที่สนใจใฝุร้ใู ฝุเรียนต่างก็ใชเ้ วลาวา่ งจากการทางานหรือวันหยุดไปเรียนรู้
เพมิ่ เติมทั้งวชิ าสามัญวชิ าอาชีพหรอื การฝึกทักษะการเรียนรู้ตา่ ง ๆ จากสือ่ และเทคโนโลยีท่แี พรห่ ลายมากมายที่
เรยี กวา่ การ ศกึ ษาผ้ใู หญ่การศึกษานอกโรงเรยี นการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยผู้เรียนเหลา่ น้ี
บางคนเป็นเยาวชนที่ยงั เรยี นไมจ่ บมธั ยมศึกษาตอนปลายแตต่ อ้ งออกมาทางานเพราะครอบครวั ยากจนมพี น่ี ้อง
หลายคนบางคนไม่ไดเ้ รยี นหนังสือแต่ทางานเปน็ เจา้ ของกจิ การใหญ่โตบางคนจบปรญิ ญาแล้วก็ยงั มาเรียนอีก
บางคนอายมุ ากแลว้ ก็ยงั สนใจมาฝึกวิชาชีพและวิชาทสี่ นใจเชน่ ร้องเพลงดนตรหี มอดูพระเครอ่ื งเป็นตน้ และมี
จานวนไมน่ ้อยที่เรียนรู้การทาร้านอาหารการทารา้ นขายทองหรอื การทาการเกษตรปลูกสม้ โอตามท่ีพ่อแมป่ ยูุ ่า
ตายายทามาหากนิ มาหลายช่ัวอายุคน
ความเปน็ มาของปรัชญาคดิ เปน็
คดิ เปน็ (khit pen) เป็นปรชั ญาพื้นฐานของการศกึ ษานอกโรงเรียน เป็นกระบวนการคดิ ทีเ่ กิดขึ้น
จากหลกั การและแนวคิดของนักการศึกษาไทย ผกู้ ่อต้ังทฤษฎกี ารคิดเปน็ คือ ดร.โกวิท วรพิพฒั น์ ท่านผู้นี้
เปน็ ผูน้ าแนวคดิ เร่อื งการคดิ เป็น และนามาเผยแพรจ่ นได้รบั การยอมรบั ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ ซึ่ง
คร้ังแรกไดน้ ามาใช้ในวงการศึกษานอกโรงเรยี นเมื่อราว พ.ศ. 2513 ดร.โกวิท วรพิพฒั นแ์ ละคณะ ได้
ประยกุ ตแ์ นวความคดิ คิดเป็น มาใช้ในการจดั การศึกษาผ้ใู หญแ่ บบเบ็ดเสรจ็ ขนั้ พืน้ ฐานระหวา่ งปี พ.ศ.
2518 – 2524 โครงการรณรงคเ์ พอื่ การรูห้ นงั สือ เป็นต้น ซึง่ ถือวา่ แนวคิด คิดเป็น เป็นปรัชญาที่
นามาใช้กับการพัฒนางานการศกึ ษาผใู้ หญ่ และต่อมาได้นามากาหนดเป็นจุดมงุ่ หมายที่สาคัญของการศึกษา
ไทยทุกระดบั และใช้เรือ่ ยมาจนถงึ ปจั จบุ นั ท่ีว่า“การจัดการศึกษาต้องการสอนคนให้ คิดเป็นทาเปน็
แกป้ ญั หาเป็น (อนุ่ ตา นพคุณ :19)
ปรชั ญาคิดเปน็ อยูบ่ นพนื้ ฐานความคดิ ท่ีว่า ความตอ้ งการของแตล่ ะบุคคลไมเ่ หมือนกัน แตท่ ุกคนมี
จดุ รวมของความต้องการท่เี หมอื นกัน คอื ทุกคนต้องการความสขุ คนเราจะมีความสขุ เม่ือเราและสงั คม
สง่ิ แวดลอ้ มประสมกลมกลนื กันได้ โดยการปรบั ปรงุ ตวั เราใหเ้ ข้ากับสงั คมหรือสงิ่ แวดล้อม หรือโดยการปรบั ปรุง
สงั คมและสิง่ แวดล้อมให้เข้ากับตวั เรา หรือปรบั ปรงุ ทง้ั ตัวเราและสังคมสิง่ แวดลอ้ มให้ประสมกลมกลนื กนั หรือ
เขา้ ไปอยู่ในสง่ิ แวดล้อมที่เหมาะสมกบั ตน คนทสี่ ามารถทาได้เช่นนี้ เพอ่ื ให้ตนเองมีความสุขน้ัน จาเป็นตอ้ งเป็น
ผมู้ ีความคิดสามารถคิดแกป้ ัญหา รจู้ กั ตนเองและธรรมชาติส่ิงแวดล้อม จงึ จะเรยี กไดว้ า่ ผูน้ ้นั เปน็ คนคดิ เปน็
หรืออีกนยั หน่งึ ปรัชญาคดิ เป็นมาจากความเชอ่ื พ้ืนฐานตามแนวพทุ ธศาสนา ทสี่ อนให้บคุ คลสามารถพน้ ทุกข์
และพบความสุขไดด้ ้วยการค้นหาสาเหตุของปัญหา สาเหตุของทกุ ข์ ซ่ึงส่งผลให้บุคคลผ้นู ั้นสามารถอยใู่ น
สงั คมได้อย่างมีความสุข
คิดเปน็ เชือ่ ว่ามนุษย์ทกุ คนมีพ้นื ฐานชวี ติ แตกต่างกันมวี ถิ ีการดาเนินชีวติ ทแ่ี ตกตา่ งกัน มีความ
ต้องการทีแ่ ตกตา่ งกนั แต่ทุกคนลว้ นมีความต้องการทจี่ ะมีความสขุ อย่างอัตภาพเหมือนกนั
96
เมอ่ื ทุกคนต้องการมคี วามสขุ เหมือนกนั จงึ ตอ้ งมีกระบวนการเพอ่ื ให้เกดิ ความสุขคือกระบวนการคดิ
เป็นโดยมีฐานขอ้ มูลทางวชิ าการ ทางสงั คมสิง่ แวดล้อมและขอ้ มลู ของตนเองมาเป็นตวั การในการชว่ ยตดั สนิ ใจ
เมื่อตดั สนิ ใจได้แลว้ จึงเลือกหนทางในการดาเนินชวี ิตกจ็ ะเกิดความสุขจากการตดั สนิ ใจถูกต้องเม่อื ดาเนนิ การ
แลว้ และยงั เกิดปัญหา หรือยังไม่เกดิ ความสุขจึงกลับมาย้อนดูความผิดพลาดจากข้อมูลว่าวิเคราะหข์ ้อมูลครบ
หรือยัง แลว้ จงึ ตัดสินใจใหม่วนเป็นวัฏจักร "คิดเปน็ "เพอ่ื การแก้ปัญหาทีย่ งั ยนื แล้วเกิดสขุ อยา่ งอัตภาพ
เปาู หมายสุดท้ายของการเป็นคน “คดิ เปน็ ” คือความสุข คนเราจะมีความสขุ เมอ่ื ตัวเราและสงั คมสิ่งแวดลอ้ ม
ประสมกลมกลืนกนั อย่างราบร่นื ทง้ั ทางด้านวตั ถุ กายและใจ
ความหมายของปรัชญาคดิ เปน็
ความหมายของ “คดิ เปน็ ”
ดร. โกวทิ วรพพิ ฒั น์ ได้ให้คาอธิบายเกย่ี วกบั “คิดเป็น” วา่ “บคุ คลทค่ี ิดเปน็ จะสามารถ
เผชิญปัญหาในชีวติ ประจาวันไดอ้ ย่างมีระบบ บุคคลผู้นจ้ี ะสามารถพนิ จิ พจิ ารณาสาเหตขุ องปัญหาท่ีเขากาลัง
เผชิญอยู่ และสามารถรวบรวมขอ้ มูลตา่ ง ๆ ได้อยา่ งกว้างขวางเกีย่ วกับทางเลือก เขาจะพจิ ารณาข้อดีข้อเสยี
ของแต่ละเร่ือง โดยใช้ความสามารถเฉพาะตวั คา่ นิยมของตนเอง และสถานการณ์ท่ตี นเองกาลงั เผชิญอยู่
ประกอบการพจิ ารณา”
การ “คดิ เปน็ ” เปน็ การคดิ เพื่อแกป้ ัญหา คอื มจี ดุ เรม่ิ ตน้ ที่ปัญหาแล้วพจิ ารณาย้อน ไตร่ตรองถึงข้อมลู
3 ประเภท คือ ข้อมลู ด้านตนเอง ชมุ ชน สงั คม ส่ิงแวดลอ้ ม และข้อมลู วิชาการ ต่อจากนนั้ กล็ งมือกระทา ถ้า
หากสามารถทาใหป้ ัญหาหายไป กระบวนการกย็ ุตลิ ง แต่หากบุคคลยงั ไม่พอใจแสดงว่ายังมปี ัญหาอยู่ บุคคลก็
จะเรมิ่ กระบวนการพิจารณาทางเลอื กใหมอ่ ีกคร้งั และกระบวนการนีย้ ตุ ิลงเมอื่ บุคคลพอใจและมีความสขุ
สรปุ ความหมายของ “คดิ เป็น”
การวเคราะหป์ ัญหาและแสวงหาคาตอบหรือทางเลือกเพื่อแก้ปญั หาและดบั ทุกข์
การคิดอย่างรอบคอบเพื่อการแกป้ ญั หาโดยอาศยั ขอ้ มูลตนเอง ข้อมูลสงั คมสง่ิ แวดล้อและขอ้ มลู วชิ าการ
หลกั การและแนวคิดของคนคดิ เปน็
1) หลักการของการคดิ เปน็
1. คดิ เปน็ เช่อื ว่า สังคมเปลีย่ นแปลงอย่ตู ลอดเวลา ก่อใหเ้ กดิ ปญั หาซงึ่ ปัญหานัน้ สามารถแก้ไขได้
2.คนเราจะแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมท่ีสุด โดยใช้ข้อมลู มาประกอบการตัดสินใจ
อยา่ งน้อย 3 ประการ คือ ข้อมลู เกีย่ วกบั ตนเอง สังคมและวิชาการ
3. เม่ือได้ตดั สินใจแก้ไขปญั หาดว้ ยการไตรต่ รองรอบคอบ โดยใช้ข้อมูลเกย่ี วกับตนเอง สังคมและ
วชิ าการ ท้งั 3 ด้านนแ้ี ลว้ ยอ่ มก่อใหเ้ กิดความพอใจในการตัดสินใจนน้ั และควรรบั ผดิ ชอบต่อการตัดสินใจนน้ั
4. แต่สงั คมเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลาการคดิ ตัดสนิ ใจอาจจะตอ้ งเปลยี่ นแปลงปรบั ปรงุ ใหม่ให้
เหมาะสมกับสภาพและสถานการณ์ที่เปลีย่ นไป
2) แนวคิดเรอ่ื ง คดิ เปน็ (Khit Pen)
ดังได้กล่าวมาแล้ววา่ “คดิ เปน็ ” เป็นกระบวนการคดิ ที่เกดิ ขึ้นจากหลักการและแนวคิดของ ดร.
โกวิท วรพิพัฒน์ ซึ่งเป็นนักการศึกษาไทย และอดีตอธิบดีกรมการศึกษานอกโรงเรียน และอดีต
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ อุ่นตา นพคณุ (อ้างองิ จากชีวติ พ่อเลา่ : ดร.โกวทิ วรพิพัฒน์. 2544 : 651 – 652)
กลา่ วถงึ แนวคดิ เรื่อง “คิดเป็น” วา่ ได้นามาใช้ในวงการศึกษานอกโรงเรียน แลว้ นามากาหนดเป็นจดุ มุ่งหมายที่
สาคญั ของการศึกษาไทยทกุ ระดับและใชเ้ รอ่ื ยมาจนถึงปัจจุบนั โดยนักการศกึ ษาไทยหลายทา่ นพยายามนา
97
เร่ือง“การคิดเป็น” มาพัฒนาการจดั การศึกษาไทยและสรา้ งเอกลักษณ์ความเปน็ ไทยจนเป็นที่ยอมรบั และเกิดเป็น
เปูาหมายของการจัดการศึกษาไทยท่ีว่า“การจัดการศึกษาต้องการสอนคนให้ คิดเป็นทาเปน็ แก้ปัญหา
เปน็ ”การคดิ เปน็ ของ ดร.โกวิท วรพพิ ัฒน์เป็นกระบวนการคิดและตัดสินใจแกป้ ัญหาดว้ ยการใชข้ อ้ มูล 3 ดา้ น
ไดแ้ ก่ข้อมูลตนเองข้อมูลสังคมและสิ่งแวดล้อมและขอ้ มูลวิชาการมาประกอบการคดิ และตดั สนิ ใจ
นอกจากน้ี ทองอยู่ แก้วไทรฮะ และจันทร์ ชุ่มเมืองปัก (อ้างอิงจากชีวิตพ่อเล่า: ดร.
โกวิท วรพิพัฒน์. 2544 : 654 – 655) อธิบายเพ่ิมเติมว่า คน “คิดเป็น”คือคนที่มีความสุขเม่ือได้
ปรับปรุงตนเองและสังคมส่ิงแวดล้อมให้ผสมกลมกลืนกันด้วยกระบวนการแก้ปัญหาหรือการตดั สินใจ
แก้ปัญหาโดยพจิ ารณาข้อมูลอยา่ งน้อย 3 ประการคือ
1) การรูจ้ กั ตนเองอยา่ งถ่องแทเ้ ทย่ี งธรรม หรือ ตน (Self) โดยพจิ ารณาความพร้อมในด้าน
การเงนิ สุขภาพอนามัย ความรู้ อายุ และวัย รวมทัง้ ความมีเพื่อนฝงู และอืน่ ๆ
2) สงั คมและสง่ิ แวดลอ้ ม (Society and Environment) หมายถงึ คนอื่นนอกเหนือ จากเรา
และครอบครวั จะเรยี กว่าบุคคลท่ี 3 ก็ได้ คือดูว่าสังคมเขาคิดอย่างไรกับการตัดสินใจของเรา เขาเดือดร้อนไหม
เขารังเกียจไหม เขาชื่นชมด้วยไหม เขามีใจปันให้เราไหม รวมตลอดถึงเศรษฐกิจและสังคมนั้น ๆ เหมาะ
กับเรื่องท่ีเราตัดสินใจหรือไม่ รวมท้ังขนบธรรมเนียมประเพณี คุณธรรมและค่านยิ มของสังคม
3) ความรทู้ างวิชาการ เป็นความรทู้ างวิทยาศาสตรห์ รือความรู้วชิ าการในเรอื่ งทีต่ รงกับการท่ีเรา
จะต้องตัดสินใจ ซึ่งถือเป็นหนังสือหลัก
แนวความคดิ เร่ืองคิดเป็นมอี งค์ประกอบท่ีสาคญั ในเชงิ ปรัชญา 3 ส่วน กล่าวคือ เปูาหมายสูงสุดของ
ชวี ติ มนุษย์ คือ ความสุข มนุษย์จงึ แสวงหาวิธีการต่าง ๆ เพ่ือทีจ่ ะมุ่งไปสู่ความสขุ น้นั แตเ่ นอ่ื งจากมนษุ ย์มีความ
แตกต่างกนั โดยพ้นื ฐานทั้งทางกายภาพ อารมณ์ สังคม จติ ใจและสภาวะแวดลอ้ ม ทาให้ความตอ้ งการของคน
แต่ละคนมีความแตต่ า่ งกัน การใหค้ ุณค่า และความหมายของความสขุ ของมนษุ ยจ์ ึงแตกตา่ งกนั การแสวงหา
ความสขุ ทีแ่ ตกต่างกนั นนั้ มนุษย์ตอ้ งปรับตวั ให้สอดคล้องกันสภาพแวดล้อมของตนเองซึ่งโดยหลักใหญ่ๆแลว้
วิธีการปรับตัวของมนุษย์ ไดแ้ ก่ การปรบั ตวั ให้เข้ากบั สภาพแวดลอ้ ม หรือไม่ก็ปรับสภาพแวดล้อมให้เข้ากับตนอง
หรอื อาจปรับทั้งตนเองและสภาพแวดล้อมเข้าหากัน จนทส่ี ุดแลว้
ไมส่ ามารถปรับตวั ได้มนษุ ยก์ ็จาเปน็ จะต้องหลกี ออกจากสภาพแวดล้อมนนั้ เพอ่ื ไปหาสภาพแวดล้อมใหม่
เพ่อื ที่จะปรับตวั ให้มีความสุขได้ใหม่ แตแ่ ท้จริงแล้ว การทีม่ นษุ ยจ์ ะเลือกปรบั ตัวอย่างใดอย่างหนึง่ น้นั ขึ้นอยูก่ บั
การตัดสินใจของคนแตล่ ะคน การตดั สินใจนัน้ จาเปน็ จะตอ้ งใช้ข้อมูลอย่างรอบด้าน ซ่งึ โดยหลกั การของการคิด
เป็นมนุษย์ควรจะใชข้ ้อมูลอย่างน้อย 3 ดา้ นคือ ข้อมลู ตนเอง ซึ่งเป็นขอ้ มูลเกย่ี วกบั ตนเอง ท้ังทางดา้ นกายภาพ
สขุ ภาพอนามัย ด้านจิตใจและความพร้อมต่าง ๆ ขอ้ มูลสังคม ซง่ึ เปน็ ข้อมูลเก่ยี วกับสภาพแวดลอ้ มครอบครัว
สงั คม วฒั นธรรม ความเชื่อ ประเพณี ค่านยิ มตลอดจนกรอบคณุ ธรรม จริยธรรม และข้อมูลวิชาการ คอื
ความรทู้ ีเ่ กย่ี วข้องกับเร่อื งท่ีต้องคดิ ตดั สนิ ใจนน้ั ๆ วา่ มหี รือไม่ เพยี งพอ ท่ีจะนาไปใช้หรือไม่ การใชข้ ้อมลู อย่าง
รอบดา้ นนจี้ ะช่วยใหก้ ารคิดตัดสนิ ใจเพื่อแสวงหาความสขุ ของมนุษย์เปน็ ไปอย่างรอบคอบ เรยี กวธิ ีการคิด
ตดั สนิ ใจนวี้ า่ “คดิ เปน็ ” และเปน็ ความคิดที่มีพลวตั คือ ปรับเปลี่ยนไดเ้ สมอ เม่ือข้อมลู เปล่ียนแปลงไป
เปาู หมายชีวิตเปลย่ี นไป
98
ลักษณะของคนคิดเปน็
ลกั ษณะของคนคิดเป็น มี 8 ประการ
1. มคี วามเชื่อว่าปัญหาท่เี กดิ ข้นึ เปน็ สง่ิ ธรรมดาสามารถแก้ไขได้
2. การคิดท่ีดตี ้องให้ข้อมูลหลายๆดา้ น (ตนเอง สงั คมวชิ าการ)
3. รวู้ ่าข้อมูลเปลีย่ นแปลงอยู่เสมอ
4. สนใจทจ่ี ะวเิ คราะห์ข้อมูลอยเู่ สมอ
5. รูว้ ่าการกระทาของตนมผี ลตอ่ สงั คม
6. ทาแล้วตดั สนิ ใจแลว้ สบายใจและเต็มใจรับผิดชอบ
7. แก้ปัญหาชีวติ ประจาวันอย่างมรี ะบบ
8. รจู้ ักชั่งนา้ หนกั คุณค่ากบั สิ่งรอบ ๆ ดา้ น
สมรรถภาพของคนคิดเป็น
1. เผชญิ ปญั หาในชวี ติ ประจาวนั อย่างมีระบบ
2. สามารถที่จะแสวงหาและใช้ข้อมูลหลายๆดา้ นในการคิดแก้ไขปญั หา
3. รูจ้ กั ชัง่ นา้ หนัก คุณค่าและตดั สินใจหาทางเลือกใหส้ อดคลอ้ งกับค่านิยมความสามารถและ
สถานการณ์หรือเงื่อนไขส่วนตัวและระดบั ความเป็นไปไดข้ องทางเลือกตา่ ง ๆ
กระบวนการคิดเปน็
กระบวนการคิดเปน็
กระบวนการคิดเปน็ อาจจาแนกให้เห็นขนั้ ตอนต่าง ๆ ท่ีประกอบกนั เขา้ เป็นกระบวนการคิดไดด้ งั น้ี
ข้นั ท่ี 1 ข้นั สารวจปญั หาเม่อื เกิดปญั หาย่อมต้องเกิดกระบวนการคิดแกป้ ัญหา นนั่ คือการ
รบั รู้ปัญหาที่กาลังเผชญิ อยูแ่ ละคดิ แสวงหาทางแกป้ ัญหานั้น ๆ
ข้ันที่ 2 ขน้ั หาสาเหตุของปัญหา เปน็ การศกึ ษารวบรวมข้อมูลเกยี่ วกับปญั หาเพ่อื ทาความ
เขา้ ใจปญั หา และสถานการณ์น้นั ๆ โดยจาแนกข้อมลู ออกเปน็ 3 ประเภทคอื
ขอ้ มูลสงั คม : ได้แกข่ ้อมลู เก่ียวกบั สภาพแวดลอ้ มท่อี ยรู่ อบ ๆ ตัว ปัญหาสภาพสังคมของแต่
ละบุคคล ต้งั แต่ครอบครวั ชมุ ชนและสงั คมท้ังในแงเ่ ศรษฐกิจ การเมอื งการปกครอง ส่ิงแวดลอ้ ม วฒั นธรรม
ประเพณี ความเช่ือ คา่ นิยม เป็นตน้
ขอ้ มูลตนเอง :ได้แก่ข้อมูลเก่ียวกบั ตวั บคุ คล ซึ่งจะเปน็ ผูต้ ดั สนิ ใจ เปน็ ข้อมูลทั้งทางดา้ น
กายภาพ พ้ืนฐานของชวี ิต ครอบครวั อาชพี ความพร้อมทงั้ ทางอารมณ์ จิตใจ เป็นตน้
ข้อมูลวิชาการ :ได้แก่ข้อมลู ด้านความรู้ในเชงิ วิชาการทจ่ี ะช่วยสนับสนุนในการคดิ การ
ดาเนินงาน ยงั ขาดวชิ าการความรู้ตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ียวข้องกบั ปัญหาในเรื่องใดบ้าง
ขั้นที่ 3 ข้ันวเิ คราะห์ หาทางแก้ปญั หา เปน็ การวิเคราะห์ทางเลือกในการแก้ปัญหา หรือการ
ประเมินค่าข้อมูลทงั้ 3 ด้าน คือ ข้อมูลด้านตนเอง สังคม วชิ าการ มาประกอบในการวเิ คราะห์ ช่วยในการ
คิดหาทางแกป้ ัญหาภายในกรอบแหง่ คุณธรรม ประเดน็ เด่นของข้นั ตอนนี้คอื ระดับของการตดั สนิ ใจท่จี ะ
แตกตา่ งกันไปแตล่ ะคนอนั เป็นผลเน่อื งมาจากข้อมลู ในขน้ั ท่ี 2 ความแตกต่างของตัดสินใจดงั กลา่ วมุ่งไปเพ่ือ
ความสขุ ของแต่ละคน
ขน้ั ที่ 4 ขัน้ ตัดสินใจเมื่อได้ทางเลือกแลว้ จงึ ตัดสนิ ใจเลอื กแกป้ ัญหาในทางท่มี ีขอ้ มลู ตา่ ง ๆ
พรอ้ มสมบรู ณ์ทส่ี ดุ การตดั สนิ ใจถอื เป็นข้นั ตอนสาคัญของแตล่ ะคนในการเลือกวธิ ีการหรอื ทางเลือกในการ
แก้ปญั หา ขน้ึ อยู่กับวา่ ผลของการตดั สินใจนน้ั พอใจหรือไม่ หากไม่พอใจกต็ ้องทบทวนใหม่
99
ข้ันท่ี 5 ขนั้ ตัดสนิ ใจไปสู่การปฏิบตั เิ มื่อตดั สนิ ใจเลือกทางใดแลว้ ต้องยอมรบั วา่ เป็นทางเลือกท่ี
ดที สี่ ุดในข้อมูลเท่าท่ีมีขณะน้ันในกาละน้ันและในเทศะน้ันเป็นการปฏิบัติตามสิง่ ที่ได้คิดและตดั สนิ ใจแล้ว หาก
พอใจยอมรับผลของการตดั สินใจ มีความสุขกเ็ รียกไดว้ า่ “คิดเป็น” แต่หากตดั สินใจแล้วไดผ้ ลออกมายังไม่
พอใจ ไม่มีความสุข อาจเป็นเพราะข้อมูลท่ีมี ไมร่ อบดา้ น ไม่มากพอ ต้องหาข้อมลู ใหม่คดิ ใหมต่ ัดสนิ ใจใหม่ แตไ่ ม่ถอื
วา่ คดิ ไม่เป็น
จากแผนภมู แิ สดงกระบวนการคิดเปน็ สรปุ ไดว้ ่า ความเชื่อพ้ืนฐานของการ “คิดเป็น”มาจาก
ธรรมชาติของมนุษยท์ ี่ต้องการความสขุ มนุษยจ์ ะมีความสุขเมือ่ ตัวเองและสงั คมส่งิ แวดลอ้ มประสมกลมกลืนกนั
อย่างราบรื่น ซ่ึงแต่ละคนแต่ละกลุ่มสามารถทาได้ ดังนี้
1) ปรับปรุงตนเองให้เข้ากับสังคมและส่ิงแวดล้อม
2) ปรับปรุงสังคมและส่ิงแวดล้อมใหเ้ ข้ากับตัวเอง
3) ปรับปรุงทงั้ ตัวเราและสังคมสิ่งแวดล้อมทัง้ สองด้านให้ประสมกลมกลืนซึ่งกันและกนั
4) หลกี สังคมและสิ่งแวดล้อมหน่งึ ไปสสู่ งั คมและสิง่ แวดล้อมท่ีเหมาะสมกับตน
เม่ือเกิดปัญหาขึ้น คนทคี่ ิดเป็น จะใช้กระบวนการแกป้ ัญหาด้วยการปรับตัวเอง สงั คมและ
สง่ิ แวดลอ้ มใหป้ ระสมกลมกลืนกัน โดยอาศยั ข้อมูลประกอบการคดิ 3 ดา้ น คอื ข้อมูลตนเองข้อมูลสงั คม
และสิ่งแวดล้อม และข้อมูลวิชาการ แล้วจงึ ตดั สนิ ใจ เมือ่ ตดั สินใจแลว้ ลงมอื ปฏบิ ัติ ดูวา่ ผลออกมาเป็นอยา่ งไร
ถา้ พอใจก็จะมีความสุข แตถ่ ้าไมพ่ อใจก็หาวธิ ใี หม่ในการแก้ปัญหาจนกว่าจะพอใจ
ขัน้ ที่ 1 แผนภมู แิ สดงกระบวนการคดิ 100
ขั้นที่ 2 เป็ น
มีความสุข
ปัญหา
ศึกษา รวบรวม
ข้อมูล
สังคม ตนเอง วิชากา
ร
ขัน้ ที่ 3 ตนเอง กรอบแหง่ คุณธรรม
สังคม วชิ ากา
ร
ขั้นที่ 4 ตัดสิน พอใจ
ไม่พอใจ สู่การปฏบิ ตั ิ
ขัน้ ที่ 5
101
ใบงาน
เรื่อง ทบทวนความเชื่อพื้นฐานทางการศกึ ษาผใู้ หญ/่ การศกึ ษานอกโรงเรียนและการเชื่อมโยงสู่ปรัชญาคดิ เปน็
1.อธิบายบทสรุปของการทบทวนปรชั ญาการคิดเป็นมาพอสงั เขป
.......................................................................................................................................................................... ....
............................................................................................................................................................ ..................
................................................................................................................. .............................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................. ............................
....................................................................................................... .......................................................................
............................................................................................................................. .................................................
2.ใหเ้ ขียนแผนภมู แิ สดงกระบวนการคิดเปน็
ชอ่ื ........................................... นามสกลุ ...................................................รหสั นกั ศกึ ษา.................................
102
แผนการจัดการเรยี นรู้ครั้งที่ 1๑ (การเรยี นรู้ด้วยตนเอง)
กลมุ่ สาระทักษะการเรยี นรู้ รายวชิ า ทักษะการเรียนรู้ ทร31001 ระดับมธั ยมศึกษาตอน
ปลาย
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 4 เรอื่ ง การคิดเป็น
แผนการจดั การเรียนรู้ เร่อื งระบบข้อมูล การจาแนกลักษณะขอ้ มลู การเกบ็ ข้อมูล การวเิ คราะห์ สงั เคราะห์
ขอ้ มูล สอน ๑๕ ช่ัวโมง
สอนวันท.่ี .......เดอื น.................................พ.ศ. .........................ภาคเรียนท่.ี ........ปกี ารศึกษา......................
มาตรฐานการเรยี นรู้
มีมีความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะและเจตคติทด่ี ีต่อการคดิ เป็น
ตวั ชวี้ ดั
1.อธบิ ายหรือทบทวนปรชั ญาคดิ เปน็ และลักษณะของขอ้ มลู ดา้ นวิชาการ ตนเอง สังคม สงิ่ แวดลอ้ มท่ี
นามาวิเคราะหเ์ พื่อประกอบการจดั การตดั สนิ ใจแก้ปัญหา
2.จาแนกเปรียบเทยี บ ตรวจสอบ ขอ้ มลู ด้านวชิ าการ ตนเอง สังคม
สาระสาคัญ
ทบทวนความเข้าใจความเชื่อพ้ืนฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่/การศึกษานอกโรงเรียนและการเช่ือมโยง
ไปสู่การเรียนรู้เรื่องของการคิดเป็น ศึกษาวิเคราะห์ลักษณะของข้อมูลท้ังด้านวิชาการ ตนเอง และสังคม
สง่ิ แวดลอ้ ม เพ่ือนาไปใชใ้ นการเลือกเกบ็ ขอ้ มูลดังกล่าวมาใช้ประกอบการคิดตดั สนิ ใจอย่างคนคดิ เป็น
เนื้อหา
ลักษณะของข้อมลู และการเปรียบเทยี บขอ้ มูลด้านวิชาการ ตนเอง และสังคมสิ่งแวดล้อมและทกั ษะเบ้อื งตน้
การวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลทงั้ 3 ด้านเพ่อื ประกอบการตดั สินใจแก้ปญั หาแบบคนคิดเปน็ เปน็
คณุ ธรรม
1. เพื่อการพัฒนาตน
2. เพ่ือการพฒั นาการทางาน
3. เพอื่ การพฒั นาการอยรู่ ่วมกนั ในสังคม
4. เพ่อื การพฒั นาประเทศชาติ
กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นนา
- การนาเข้าสู่บทเรยี นดว้ ยวิธีการ ทกั ทายผเู้ รยี น และชี้แจงบอกวัตถุประสงค์การเรยี นรู้ เรือ่ ง ลักษณะ
ของข้อมูลและการเปรียบเทียบขอ้ มลู ด้านวิชาการ ตนเอง และสงั คมสิง่ แวดล้อมและทกั ษะเบ้อื งต้น การ
วิเคราะห์ สงั เคราะห์ข้อมลู ทั้ง 3 ด้านเพือ่ ประกอบการตัดสนิ ใจแก้ปัญหาแบบคนคิดเปน็
103
ขนั้ สอน
- ครูอธบิ ายลกั ษณะของขอ้ มูลและการเปรียบเทยี บข้อมูลด้านวิชาการ ตนเอง และสังคมสิ่งแวดลอ้ ม
และทกั ษะเบ้ืองต้น การวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ขอ้ มูลท้งั 3 ด้านเพอ่ื ประกอบการตดั สนิ ใจแกป้ ัญหาแบบคนคิด
เป็นและเปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นซักถาม
- ผู้เรยี นใช้แบบเรียนวชิ าทกั ษะการเรยี นรู้ เปดิ เน้ือหา บทท่ี 4 การคดิ เปน็ เรือ่ งระบบข้อมลู การ
จาแนกลกั ษณะข้อมลู การเก็บขอ้ มูล การวเิ คราะห์ สังเคราะห์ ขอ้ มูลทั้งด้านวิชาการ ด้านตนเอง และสังคม
สภาวะแวดล้อม โดยเนน้ ไปที่ขอ้ มลู ดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรมทเ่ี ก่ียวข้องกับบุคคล ครอบครัวและชมุ ชน เพ่ือ
นามาใช้ประกอบการตัดสินใจแก้ปญั หาตามแบบอยา่ งของคนคดิ เป็น
- ครูใหผ้ ู้เรียนสแกน QR Code ใบความรู้ เรอ่ื งการคดิ เปน็ (เพิม่ เติม)
- ครูใหผ้ ู้เรียนทาใบงาน เรื่องลักษณะของข้อมูลและการเปรยี บเทยี บข้อมลู ดา้ นวิชาการ ตนเอง และ
สงั คมสงิ่ แวดล้อมและทกั ษะเบือ้ งตน้ การวเิ คราะห์ สังเคราะห์ข้อมลู ท้ัง 3 ด้านเพื่อประกอบการตดั สินใจ
แกป้ ญั หาแบบคนคิดเปน็
- ครใู ห้ผูเ้ รียนทาแบบทดสอบหลังเรยี น คร้ังที่ 5
104
ขน้ั สรปุ
- ครูและผเู้ รียนรว่ มกนั สรปุ หลงั จากทกุ กลุม่ นาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน
- ครูใหค้ วามร้เู พ่ิมเติมในสว่ นท่ียงั ไม่สมบูรณ์
สอ่ื และแหล่งเรียนรู้
1. หนังสอื แบบเรยี น
2. ใบความรู้
3. ใบงาน
การวัดและประเมนิ ผล
1. สงั เกตพฤติกรรมระหวา่ งการเรยี นรู้
2. วัดความร้จู ากการทากจิ กรรมในใบงาน
3. การนาเสนอผลการเรยี นรู้
4. แบบทดสอบ
แหล่งการเรียนรู้/สบื ค้นขอ้ มูลเพม่ิ เตมิ
1. หอ้ งสมดุ ประชาชน
2. กศน.ตาบล
3. แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ
4. Internet
5. ภมู ิปัญญา / แหล่งเรยี นรู้
ความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
พจิ ารณาแล้ว..........................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................
ลงช่ือ
(นางสาวปรารถนา ชีโพธ์ิ)
ผู้อานวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางระจนั
วนั ท่ี ........... เดือน ................. พ.ศ. ...........
105
บนั ทึกหลังการสอน
ความสาเรจ็ ในการจัดการเรยี นการสอน
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ปญั หา / อปุ สรรค ในการจดั การเรยี นการสอน
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................. .............................................
...................................................................................... ........................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
แนวทางการแก้ปญั หา
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................................................ ..
............................................................................................................................. .................................................
ลงชื่อ..............................................ครูผูส้ อน
(.............................................)
ครู............................................
วนั ท่ี..........เดือน...........................พ.ศ. ........................
ข้อเสนอแนะของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงชื่อ ผู้บงั คบั บัญชา
(นางสาวปรารถนา ชโี พธิ์)
ผ้อู านวยการศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางระจัน
106
แบบทดสอบหลังเรียน ครง้ั ท่ี 5
1. ข้อใดถูกต้องทส่ี ดุ ในเร่ืองกระบวนการคิดเป็น
ก.การทาความเขา้ ใจดว้ ยกระบวนการคิด
ข.สรา้ งความเข้าใจด้วยตนเองเป็นหลัก
ค.สรา้ งความเข้าใจดว้ ยการรวมกล่มุ เป็นหลัก
ง.การทาความเข้าใจดว้ ยกระบวนการคดิ และสรา้ งความเข้าใจดว้ ยตนเองเป็นหลัก
2. คนจะอยูใ่ นสังคมไดอ้ ย่างมีความสขุ ตอ้ งรู้จกั การปรบั ตัว และใช้กระบวนการคิดเป็นโดยยึดหลกั ใด
ก. หลักเหตผุ ล และ ความดี ข. หลักเท่ยี งธรรมและ ความดี
ค. หลกั คุณธรรมและจริยธรรม ง. หลกั เหตผุ ลและเที่ยงธรรม ภายใต้กรอบแหง่ คุณธรรม จรยิ ธรรม
3. ข้อมลู ตนเองหมายถึงข้อใด
ก. ขอ้ มลู เกี่ยวกับตนเอง ท้งั ทางด้านกายภาพ สขุ ภาพอนามัยความพร้อมต่าง ๆ และจิตสานึกของ
ตนเอง
ข. ซงึ่ เป็นขอ้ มลู เก่ียวกบั สภาพแวดล้อม ครอบครัว สงั คม วฒั นธรรม ความเชื่อ ประเพณี ค่านยิ ม
ตลอดจนกรอบคุณธรรม จริยธรรม
ค. คอื ความรู้ท่ีเกี่ยวข้องกับเรื่องทีต่ ้องคิด ตัดสนิ ใจน้ัน ๆ วา่ มหี รือไมเ่ พียงพอทจี่ ะนาไปใช้หรือไม่
ง. ถูกทุกข้อ
4. ลักษณะของคนคดิ เป็นตามปรัชญาคิดเปน็ คือลกั ษณะใด
ก. ปัญหาทเี่ กดิ ข้ึนเป็นสิ่งธรรมดา สามารถแก้ไขได้
ข. เขา้ ใจว่าขอ้ มูลทางวชิ าการเปล่ียนแปลงอยเู่ สมอ
ค. แกป้ ัญหาชวี ิตประจาวนั อย่างมรี ะบบ
ง. ถูกทกุ ข้อ
5. ขอ้ มลู วิชาการ หมายถึง
ก. ขอ้ มลู เกยี่ วกับตนเอง ทง้ั ทางด้านกายภาพ สขุ ภาพอนามัยความพร้อมต่าง ๆ
ข. ขอ้ มูลเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม ครอบครัว สงั คม วฒั นธรรม
ค. ความรู้ท่เี กี่ยวข้องกบั เรอ่ื งท่ีต้องคดิ ตัดสินใจน้ัน ๆ วา่ มีหรือไม่เพียงพอทจ่ี ะนาไปใช้หรือไม่
ง. ถูกทุกขอ้
6. การใช้กระบวนการคิดเป็นต้องกระทาโดยใคร เพ่ือแก้ไขและการตัดสนิ ใจ
ก. ครู ข. เพอื่ น
ค. ผู้นาชุมชน ง. เจ้าของปัญหาเอง
7. เวลามีปัญหาหรอื ขัดแย้งกับเพือ่ นรว่ มงานอยา่ งแรกทเ่ี ราควรมองเปน็ อันดบั แรกคือ
ก. เพอ่ื นร่วมงาน ข. มองทตี่ วั เอง
ค. อาจารยผ์ ูส้ อน ง. พ่อแม่
8. หลักการแกป้ ัญหาที่ดคี ือ
ก. ระบปุ ัญหา ระบุข้อจากัดของปจั จยั การพฒั นาทางเลือก
ข. การวิเคราะห์ทางเลอื ก การเลือกทางเลือกทด่ี ีทีส่ ดุ
ค. การนาผลการตดั สินใจไปปฏิบตั ิ การสร้างระบบควบคุมและประเมนิ ผล
ง. ถูกทกุ ข้อ
107
9. ข้อใดท่แี สดงความเปน็ ปญั ญาชนท่แี ท้จริง
ก. ความเปน็ ตัวของตัวเอง
ข. ความมีเสรภี าพในการใชค้ วามคิด
ค. การยอมรบั ความคิดผู้อ่ืน
ง. ถูกทุกขอ้
10. ข้อใดคือคณุ สมบัติทเ่ี หมาะสมของข้อมูล
ก. ความถกู ต้อง
ข. ความหลากหลาย
ค. ความเปน็ ระเบียบ
ง. ความเปน็ สากล
108
ใบงาน
เรอ่ื ง ลักษณะของข้อมูลและการเปรียบเทียบขอ้ มลู ด้านวิชาการ ตนเอง และสังคมสงิ่ แวดล้อมและทกั ษะ
เบอ้ื งต้น การวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลทั้ง 3 ดา้ นเพอ่ื ประกอบการตดั สนิ ใจแก้ปญั หาแบบคนคิดเปน็
1.ขอ้ มูล คืออะไร อธิบายมาพอสงั เขป
............................................................................................................................................ ..................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................................................. .
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
2.จงอธบิ ายลกั ษณะของข้อมูล
......................................................................................................................................... .....................................
.............................................................................................. ................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
.............................................................................................................................. ................................................
3.จงอธิบายคุณสมบัติท่เี หมาะสมของข้อมูล
.......................................................................................................................................................................... ....
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................................ ..............
.................................................................................................................... ..........................................................
4.การจัดการข้อมลู เพื่อใหเ้ กิดประโยชน์กบั การใช้งานมีอะไรอธิบายมาพอสังเขป
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.............................................................................................................................................................. ................
................................................................................................................... ...........................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................. ............................
....................................................................................................... .......................................................................
............................................................................................................................. .................................................
........................................................................................................................................ ......................................
............................................................................................ ..................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ชอื่ .................................................... นามสกลุ ...............................................รหสั นักศกึ ษา.................................
109
แผนการจัดการเรียนรคู้ รั้งท่ี 1๒ (พบกลมุ่ )
กลุม่ สาระทกั ษะการเรยี นรู้ รายวิชา ทักษะการเรียนรู้ ทร31001 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอน
ปลาย
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 เร่อื ง การวจิ ัยอยา่ งงา่ ย
แผนการจดั การเรยี นรู้ เรือ่ ง ความหมายของการวิจยั และความหมายของการวจิ ัยอยา่ งง่าย เวลาสอน 6 ชว่ั โมง
สอนวนั ที่...........เดือน...................................พ.ศ. .......................ภาคเรียนท่.ี ......ปกี ารศึกษา.....................
มาตรฐานการเรียนรู้
มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะและเจตคติท่ีดีตอ่ การวจิ ยั อย่างงา่ ย
ตวั ชีว้ ดั
1.ระบุปัญหา ความจาเปน็ วตั ถุประสงคแ์ ละประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะได้รับจากการวจิ ัยและสืบค้นข้อมูล
เพอ่ื ทาความกระจา่ งในปัญหาวจิ ยั รวมทั้งกาหนดวิธีการหาความรู้ความจริง
2.เหน็ ความสาพนั ธ์ของกระบวนการวจิ ยั กับการนาไปใชใ้ นชวี ติ
3.ปฏบิ ัติการศึกษา ทดลอง รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และสรปุ ความรู้ ความจริงตามขนั้ ตอนได้อย่าง
ถูกต้อง ชัดเจน
สาระสาคญั
การแสวงหาความรู้ ข้อมูล ข้อเท็จจริงอย่างมีระบบเพ่ือให้ได้รับคาตอบหรือความรู้ใหม่ท่ีเชื่อถือได้
สามารถทาได้โดยในกระบวนการวิจัย
เน้ือหา
ความหมายของการวิจัย และความหมายของการวจิ ัยอยา่ งงา่ ย
คุณธรรม
1. เพ่ือการพฒั นาตน
2. เพ่อื การพัฒนาการทางาน
3. เพือ่ การพัฒนาการอยู่รว่ มกันในสงั คม
4. เพ่ือการพฒั นาประเทศชาติ
กระบวนการจดั การเรียนรู้
ขน้ั นา
- การนาเข้าสบู่ ทเรียนด้วยวิธกี าร ทกั ทายผเู้ รยี น และชแี้ จงบอกวตั ถุประสงค์การเรียนรู้ เรอ่ื ง
ความหมายของการวิจัย และความหมายของการวจิ ยั อยา่ งง่าย
- ครใู หผ้ เู้ รยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น ครั้งท่ี 6
110
ข้นั สอน
- ครอู ธิบายความหมายของการวจิ ยั และความหมายของการวิจัยอยา่ งง่าย
- ผเู้ รียนใชแ้ บบเรียนวชิ าทกั ษะการเรียนรู้ เปดิ เนื้อหา บทท่ี 5 การวจิ ยั อย่างง่าย เร่อื ง ความหมาย
ของการวิจัย และความหมายของการวิจยั อยา่ งง่าย
- ครใู หผ้ เู้ รยี นสแกน QR Code ใบความรู้ เรอ่ื งการวจิ ัยอยา่ งง่าย(เพิม่ เติม)
- ครใู ห้ผเู้ รยี นทาใบงาน เรื่อง ความหมายของการวิจยั และความหมายของการวจิ ยั อยา่ งงา่ ย
ข้นั สรปุ
- ครูและผเู้ รยี นรว่ มกนั สรุปหลังจากทกุ กลุม่ นาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน
- ครใู หค้ วามรเู้ พ่ิมเติมในสว่ นท่ยี ังไมส่ มบรู ณ์
ส่อื และแหล่งเรยี นรู้
1. หนงั สอื แบบเรียน
2. ใบความรู้
3. ใบงาน
การวดั และประเมนิ ผล
1. สงั เกตพฤติกรรมระหว่างการเรยี นรู้
2. วดั ความรู้จากการทากจิ กรรมในใบงาน
3. การนาเสนอผลการเรียนรู้
4. แบบทดสอบ
111
แหล่งการเรยี นร้/ู สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม
1. ห้องสมุดประชาชน
2. กศน.ตาบล
3. แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ
4. Internet
5. ภูมปิ ญั ญา / แหล่งเรียนรู้
ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
พิจารณาแล้ว.................................................................................................................. ........................
......................................................................................................... ......................................................
ลงชือ่
(นางสาวปรารถนา ชโี พธิ์)
ผูอ้ านวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางระจนั
วันท่ี ........... เดือน ................. พ.ศ. ...........
112
บนั ทึกหลังการสอน
ความสาเรจ็ ในการจดั การเรียนการสอน
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ปัญหา / อปุ สรรค ในการจดั การเรียนการสอน
.................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................... ...........................
........................................................................................................ ......................................................................
............................................................................................................................. .................................................
แนวทางการแกป้ ญั หา
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงช่อื ..............................................ครูผู้สอน
(.............................................)
คร.ู ...........................................
วนั ท.่ี .........เดือน...........................พ.ศ. ........................
ข้อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา
............................................................................................ ..................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ลงชือ่ ผู้บงั คบั บญั ชา
(นางสาวปรารถนา ชโี พธิ์)
ผูอ้ านวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางระจัน
113
แบบทดสอบกอ่ นเรยี นครัง้ ท่ี 6
1.ขอ้ ใดเป็นความหมายของการวิจยั อยา่ งงา่ ย
ก. ทางานอย่างเขา้ ใจ ข. การวางแผนงานอย่างเป็นระบบ
ค. การคาดเดาคาตอบอยา่ งมีระบบ ง. การศึกษาคน้ คว้าเรื่องทส่ี นใจท่ีไม่ซับซ้อนมากนัก
2. ข้อใดเปน็ ประโยชนข์ องการวิจยั ต่อตัวผวู้ ิจัยเอง
ก. ฝึกการทางานอย่างมรี ะบบ ข. เกดิ การทางานและนวัตกรรม
ค. เกดิ นวัตกรรมสงิ่ ประดษิ ฐ์ใหม่ ๆ ง. ชว่ ยวางแผนและตดั สนิ ใจ
3.ขอ้ ใดเรยี งลาดบั ข้ันตอนการทาวิจยั ได้ถูกตอ้ ง
ก.กาหนดปญั หา , แก้ไขโครงการ , เขยี นรายงาน
ข.เขยี นโครงการ , เขียนรายงาน , กาหนดปญั หา , เผยแพร่
ค.กาหนดปัญหา , เขียนโครงการ , ดาเนินตามแผน , เขยี นรายงาน , เผยแพร่
ง. เขียนโครงการ , เขยี นรายงาน
4.ข้อมูลทางสถิติมีประโยชนต์ อ่ งานวิจยั อยา่ งไร
ก.เพ่อื ใหท้ ราบความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลีย่ ของข้อมลู ท่ีตอ้ งการทาวจิ ัย
ข.เพ่ือง่ายตอ่ การเก็บรวบรวมขอ้ มูลท่ีตอ้ งการสรปุ เชงิ เปรียบเทียบทางสถิติ
วชิ าทักษะการเรยี นรู้ (ทร21001)
ค.เพ่อื แจกแจงขอ้ มูลทต่ี ้องทาวจิ ยั ให้ไดข้ อ้ เทจ็ จริง
ง.ถกู ทกุ ข้อ
5.ข้อใดมใิ ช่ค่าสถติ ิพืน้ ฐานของงานวจิ ยั อยา่ งง่าย
ก.คา่ รอ้ ยละ ข.คา่ ความถี่
ค.ค่าไคร์สแควส์ ง.คา่ เฉลย่ี
6.ข้อใดเปน็ เครื่องมอื การวิจัย ทแี่ พรห่ ลายท่สี ุด
ก.แบบสอบถาม ข.แบบสมั ภาษณ์
ค.แบบสังเกต ง.ไม่ใช่ท้ังข้อ ก,ข และ ค
7.นกั ศึกษาคดิ วา่ การเรยี นรู้เรอ่ื งวิจยั อยา่ งง่าย ก่อใหเ้ กิดประโยชน์ท่เี ปน็ ไปได้ท่สี ดุ คือข้อใด
ก.ชว่ ยให้มองเหน็ แก่นท่ขี องสังคมชดั เจนข้ึน ข.ช่วยใหเ้ ปน็ นักวจิ ยั ทด่ี ใี นอนาคต
ค.ชว่ ยใหร้ ูจ้ ักวิธกี ารหาคาตอบท่เี ชื่อถือได้ ง.ชว่ ยให้รจู้ ักการแยกคนดแี ละคนเลวในสังคมได้
8.สว่ นใหญค่ รูสายสอนทาวิจยั เพ่ือวัตถปุ ระสงค์ใด
ก.ตาแหน่งทางวิชาการ ข.หาข้อเท็จจริงเพ่ือแสดงต่อสังคม
ค.เพื่อพฒั นาหลกั สตู รและปรับปรุงการเรยี นการสอน ง.นาผลการวิจัยไปเป็นขอ้ มูลของโรงเรียน
9. ข้อใดไมใ่ ชข่ ้นั ตอนการวจิ ยั
ก.วตั ถปุ ระสงค์ในการวจิ ัย ข.ประโยชนใ์ นการวจิ ยั
ค.ขอบเขตของการวิจัย ง. รายช่อื ผูว้ ิจัย
10.ขอ้ ใดเปน็ องค์ประกอบของการเขยี นรายงานการวิจัย
ก.ช่ือเรือ่ งวิจยั วัตถุประสงค์ การวิเคราะห์ขอ้ มูล
ข.ชอ่ื เรอื่ งวจิ ัย ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะได้รับ แนวทางการเผยแพร่
ค.ช่ือเรื่องวจิ ยั กล่มุ เปูาหมาย ความคาดหวัง
ง.ชอ่ื เร่อื งวจิ ยั สถิติการวจิ ยั งบประมาณการวจิ ยั
114
ใบความรู้ เรอ่ื ง การวิจัยอยา่ งงา่ ย
การวิจัยอยางงายเปนเรื่องท่ีมุงใหความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการฝกทักษะ ความหมายความสาคัญ
ของการวิจัยอยางงาย กระบวนการและข้ันตอนของการดาเนินงาน ไดแก การระบุกาหนดปญหาท่ีตองการหา
ความรู ความจริง หรือสงิ่ ท่ตี องการพัฒนา การแสวงหาความรู จากการศึกษาเอกสาร ผูทรงคณุ วฒุ ิ ภูมิ
ปญญาทองถิ่น แหล่งเรียนรู ทดลอง การนาขอมูลที่ไดมาหาคาตอบท่ีตองการ การเขียนรายงานสรุปผล และ
การนาความรูไปปฏิบัติจริง
ความหมายและประโยชนของการวจิ ัยอยางงาย
การวจิ ัยอยางงาย หมายถึง การศกึ ษาคนควาเพือ่ หาคาตอบของคาถามท่ีสงสัย หรือหาคาตอบมาใชใน
การแกปัญหา โดยใชวิธีการและกระบวนการตาง ๆ อยางเปนระบบเพือ่ ใหไดคาตอบท่นี าเชือ่ ถือ
ความสาคญั ของการวจิ ัยอยางงาย
1. ทาใหผูวิจัยไดรับความรูใหม ๆ
2. การทาวิจยั ชวยหาคาตอบที่ผูวจิ ยั สงสัย หรือแกปญหาของผูวิจยั
3. การวจิ ยั ชวยใหผูวจิ ยั ทราบผลการดาเนินงาน และขอบกพรองระหวางการดาเนินงาน
4. การวิจยั ชวยใหผูวจิ ัยไดแนวทางในการพฒั นาการทางาน
5. การวิจัยชวยใหผูวิจัยมกี ารทางานอยางมรี ะบบ
6. การวจิ ัยชวยใหผูวิจยั เปนคนชางคิด ชางสงั เกต
ประโยชนของการวิจัยอยางงาย
1. ประโยชนตอผูวิจยั
1) เปนการพฒั นาความคดิ ใหเปนระบบ คดิ เปนขัน้ ตอน ใชกระบวนการทเ่ี ปนเหตุเปนผล
2) เปนการพฒั นากระบวนการสรางความรูอยางเปนระบบ
3) ฝกใหผูวิจัยเปนคนชางสงั เกต มที ักษะการจดบนั ทกึ และสรุปความ
2. ประโยชนตอชุมชน
1) สมาชิกในชุมชนมีความรู เขาใจสภาพปญหา และสามารถวิเคราะหหาวิธีการแกปญหาไดอยงเป็น
ระบบ
2) สามารถใชกระบวนการวิจัย หรอื ผลการวจิ ยั มาเปนแนวทางในการพฒั นาคุณภาพชวี ิต ในดานตาง ๆ
ขนั้ ตอนการทาวจิ ัยอยางงาย
ขัน้ ตอนของการทาวิจัยอยางงาย ประกอบดวย5 ข้ันตอน ดังน้ี
1. ขน้ั ตอนการระบปุ ญหาการวจิ ยั เปนข้นั ตอนของการเลอื กเรื่องท่มี ีความสนใจหรือเปนปญหาทต่ี อง
การแกไขมากาหนดเปนคาถามการวิจัย
2. ขัน้ ตอนการเขยี นโครงการวจิ ัย เปนการเขียนแผนการวิจัย โดยจะตองเขียนใหครอบคลุมในหวั ขอ
ดงั น้ี
1) ช่อื โครงการวิจยั เปนการเขียนบอกวาเปนการศึกษาอะไร กับใคร อยางไรที่ไหน
2) ชอ่ื ผูวิจัย บอกชอ่ื ของผูทาวิจยั
115
3) ความเปนมาและความสาคญั เปนการเขียนใหเหน็ ถึงประเดน็ ปญหาและนาไปสูวตั ถุประสงคของ
การวจิ ัย
4) วัตถุประสงคของการวิจัย เปนการเขียนในลักษณะท่ีบงบอกวา ผูวจิ ัยตองการรูอะไร หรอื จะทา
อะไร เพื่อใหไดคาตอบของการวจิ ัย โดยมีหลกั การเขียนวตั ถปุ ระสงคของการวิจัย ดังนี้
(1) ตองสอดคลองกับชื่อเรอื่ ง ความเปนมาและสภาพปญหา
(2) ครอบคลมุ สิง่ ที่ตองการศึกษา
(3) เขียนเปนประโยคบอกเลา สั้นกะทดั รัด ไดใจความ และมคี วามชัดเจน
5) วิธกี ารดาเนินการวจิ ัย เปนการวางแผนเก่ยี วกบั วิธกี ารและกระบวนการเรม่ิ ตงั้ แต การเก็บ
ขอมลู การวเิ คราะหขอมลู รวมไปถงึ การนาเสนอผลการวเิ คราะหขอมูลเพื่อใหไดคาตอบของปญหา
6) ปฏิทินปฏิบัติงาน และแผนการดาเนินงานเปนการเขียนระบุวาการดาเนินการวิจัย ในครั้งน้ี
จะใชเวลานานเทาใด เริ่มตนและสน้ิ สดุ เมือ่ ใด โดยระบกุ จิ กรรมทที่ า และสถานท่ีทีใ่ ชในการวิจยั ใหชดั เจน
7) ประโยชนของการวิจัย เปนการบอกวา เมื่อไดคาตอบของการวิจัยมาแลวจะสามารถนาไปแก
ปญหา หรอื พัฒนางานไดอยางไร
3. ขน้ั ตอนการดาเนินการวจิ ยั เปนการดาเนินการวิจัยตามแผนท่ีกาหนดไวในโครงการวิจัย ซึ่งจะตอง
คานึงถงึ องคประกอบ ดงั นี้
1) ประชากรและกลุมตัวอยางเปนการกาหนดวาจะศึกษาใคร
2) เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย เปนการสรางเคร่ืองมือ เพื่อไปเก็บขอมูลมาวิเคราะห ใหเกิดความรู มี
เคร่อื งมอื 3 ประเภท คือ แบบสังเกต แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ
3) การเก็บรวบรวมข อมูล ถาเก็บขอมูลด วยตนเอง จะใช แบบสัมภาษณ แบบสังเกต แล
แบบสอบถาม แตถาสงทางไปรษณีย ควรใชเฉพาะแบบสอบถาม หลังจากดาเนินการเก็บขอมูลแลวควรจะ
ตรวจสอบความสมบรู ณ ความถกู ตองของขอมลู
4) สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมลู การวิจัยอยางงาย คอื ความถ่ี รอยละหรือเปอรเซน็ ต และคาเฉลีย่
4. ข้ันตอนการรายงานผลการวิเคราะหขอมูลเปนการกลาวถึงผลของการวิจัย โดยการวิเคราะหตาม
จุดประสงค ใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของการวิจัย อาจนาเสนอเปนขอความตัวเลข ตาราง แผนภูมิ หรือ
แผนภาพเพอื่ ใหผูอานเขาใจมากข้ึน
5. ข้นั ตอนการสรุปผลการวจิ ัยและขอเสนอแนะ เปนการสรุปผลตามวัตถปุ ระสงควาไดผลการวิจัยตาม
วัตถุประสงคที่ต้งั ไวหรือไม และมีขอเสนอแนะของการวิจยั อยางไร
สถติ ิเพอ่ื การวิจยั
ความหมายของสถติ ิ
สถิติ หมายถงึ คาตวั เลขทเ่ี กิดจากการคานวณมาจากขอมูลท่ีเก็บมาจากกลุมตัวอยางไดแก คารอยละ
คาเฉลี่ย สถิติทใ่ี ชในการวิจัยอยางงาย
1) ความถ่ี คือ การแจงนับจานวนของสิ่งที่เราตองการศึกษา วามีจานวนเทาไหรตัวอยาง กศน.ตาบล
แหงหนงึ่ มนี ักศกึ ษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน จานวน10 คน
2) รอยละ หรือเปอรเซ็นต เปนตัวเลขท่แี สดงถึงสัดสวนของตวั เลขจานวนหนึ่งเมอื่ แบงออกเปนรอยสวน
116
เครอื่ งมอื การวิจัยเพ่ือการเก็บรวบรวมขอมูล
ความหมายของเครอื่ งมือการวจิ ยั
เคร่ืองมือการวิจัย หมายถึง เคร่ืองมือสาหรับใชในการเก็บรวบรวมขอมูลและวัดตัวแปรตาง ๆ ใน
งานวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัยโดยท่ัวไป ไดแก แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ และแบบสังเกต เปนตน ใน
การวิจัยควรเลือกใชเคร่ืองมือวิจัยใหสอดคลองตามวัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อใชในการเก็บรวบรวมขอมู
ลเน่อื งจากเครอื่ งมอื แตละชนิดจะมคี ณุ ลักษณะแตกตางกนั มคี วามเหมาะสมในการเก็บขอมูลไมเหมือนกัน ซึ่งผู
วิจัยจะตองมีความรูและความชานาญในการใชเครอ่ื งมือเพ่ือใหไดขอมูลที่ตรงตามความตองการ
เครือ่ งมอื การวจิ ยั สาหรบั การทาวิจยั อยางงาย
1. แบบสอบถาม เปนเครื่องมือการวิจยั ท่ีนยิ มนามาใชในการวจิ ยั แบงออกเปน 2 ประเภท คือ
1) แบบสอบถามปลายเปด เปนแบบสอบถามทรี่ ะบุคาตอบไวแลว หรืออาจใหเติมคาหรือขอความส้ัน
ๆ เชน ทานมอี าชีพอะไร
( )เกษตรกร ( ) คาขาย
( )หมอ ( ) อ่นื ๆ ระบุ .................
2) แบบสอบถามปลายปด เปนแบบสอบถามที่ไมไดกาหนดคาตอบไว แตใหผูตอบไดเขียนแสดงความ
คดิ เห็นอิสระ เชน ผูเรียนชอบไปแหลงเรียนรูใด เพราะเหตุใด
2. การสัมภาษณ เปนเครื่องมือการวจิ ัยท่นี ยิ มนามาใชในการวิจยั เชิงคุณภาพ เปนการเก็บขอมูลในลักษณะการ
เผชญิ หนากนั ระหวางผูสัมภาษณและผูใหสัมภาษณ โดยผูสมั ภาษณเปนผูซักถาม ซึ่งจะกาหนดคาถามไวลวง
หนา สอดคลองกบั วตั ถปุ ระสงคของการวิจัย
3. แบบสงั เกต ใชในการรวบรวมขอมลู โดยสงั เกตพฤตกิ รรมแลวจดบันทกึ ในแบบสังเกต แบงเปน 2 ประเภท
คือ
1) แบบสงั เกตที่ไมมโี ครงรางการสังเกต เปนแบบท่ีไมไดกาหนดเหตกุ ารณพฤติกรรม หรือสถานการณ
ทจี่ ะสงั เกตไวชดั เจน
2) แบบสงั เกตท่ีมีโครงรางการสังเกต เปนแบบที่กาหนดไวลวงหนา วาจะสงั เกตอะไร สังเกตอยางไร
เม่อื ใด และบนั ทึกผลการสังเกตอยางไร เชน สงั เกตพฤตกิ รรมในการพบกลุมของนักศกึ ษา ของ กศน.ตาบล
ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน
พฤติกรรม พบ ไม่พบ
1. โทรศพั ท์
2. กนิ ขนม
3. ซักถามปญหา
4. เลนไลน
5. ตัง้ ใจฟงผูสอน
117
การเขียนโครงการวิจยั
ความสาคัญของโครงการวิจัย
โครงการวิจยั คือ แผนการดาเนินวิจยั ท่ีเขียนข้นึ กอนการทาวิจยั จรงิ เพอ่ื ใชเปนแนวทางในการดาเนินการ
วจิ ยั สาหรบั ผวู ิจัยและผูเกี่ยวของ ใหเปนไปตามแผนการวิจัยที่กาหนด
องคประกอบของโครงการวจิ ยั
โดยทั่วไป โครงการวจิ ัยประกอบดวยหัวขอ ดังตอไปนี้
1. ชอื่ เรอื่ งการวจิ ัย การเขียนชื่อเรือ่ ง ควรสือ่ ความหมายท่ีชัดเจน เม่ือผูอานอานแลวทาใหทราบวาเปนการ
วจิ ัยเก่ยี วกบั ปญหาอะไรไดทนั ที
2. ช่ือผูวิจยั บอกชื่อของผูทาวจิ ัย
3. ความเปนมาและความสาคัญ การเขียนความเปนมาและความสาคัญเปนการเขยี นระบใุ หผูอานทราบ
วา ทาไมจึงตองทาการวิจยั เร่ืองน้ี ควรกลาวถึงสภาพปญหาใหชัดเจน และหากปญหาดงั กลาวไดแกไขโดย
วิธีการวจิ ัยแลวจะเกดิ ประโยชนอยางไร
4. วัตถุประสงคของการวจิ ัย เปนการระบใุ หผูอานทราบวา การวจิ ัยน้ีผูวิจัยตองการศึกษาอะไร กับ
ใคร และจะเกิดผลอยางไร
5. ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรบั กลาวถึงผลของการวจิ ยั วาจะเกิดผลที่เปนประโยชนในการนาไปใชใน
การแกปญหา หรอื การพัฒนางานอยางไร
6. ปฏิทนิ ปฏิบตั งิ าน เปนการเขียนระบุวาการดาเนินการวจิ ัยครง้ั น้ี จะใชเวลานานเทาใด เรม่ิ ตนและ
สนิ้ สุดเม่อื ใด โดยระบุกิจกรรมทที่ าและสถานที่ท่ใี ชในการวิจยั ใหชัดเจน
7. วธิ ีดาเนินการวิจัย เปนการอธิบายถึงวธิ ีการศึกษาหรือวิธีการดาเนินงานอยางละเอยี ด ควรครอบคลุม
หัวขอ ดังตอไปนี้
1) กลมุ เปาหมายทตี่ องการศึกษา
2) เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
3) การรวบรวมขอมูล
4) การวิเคราะหขอมูล
118
ใบงาน เร่ือง ความหมายของการวิจัย และความหมายของการวจิ ัยอย่างงา่ ย
1.การวิจยั คืออะไร อธิบายมาพอสังเขป
.......................................................................................................................................................................... ....
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................................ ..............
..................................................................................................................... .........................................................
............................................................................................................................. .................................................
..................................................................................................................................................... .........................
2.การวิจยั อยา่ งงา่ ยคืออะไร อธบิ ายมาพอสังเขป
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
...................................................................................................................................................................... ........
........................................................................................................................... ...................................................
3.ประโยชนข์ องการวิจยั คืออะไร อธบิ ายมาพอสงั เขป
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
4.การจัดการข้อมลู เพ่ือใหเ้ กิดประโยชน์กบั การใช้งานมอี ะไรอธิบายมาพอสงั เขป
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ชอื่ ............................................. นามสกลุ .....................................................รหัสนักศกึ ษา.................................
119
แผนการจดั การเรียนรูค้ ร้ังท่ี 1๓ (การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง)
กลมุ่ สาระทกั ษะการเรยี นรู้ รายวิชา ทักษะการเรยี นรู้ ทร31001 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 เรื่อง การวจิ ัยอยา่ งงา่ ย
แผนการจัดการเรียนรู้ เรือ่ ง ขั้นตอนการทาวิจยั อย่างง่าย เวลาสอน ๖ ช่ัวโมงสอน
วนั ท.่ี .......เดือน..................................พ.ศ. .....................ภาคเรยี นท.ี่ ........ปีการศกึ ษา..........................
มาตรฐานการเรยี นรู้
มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะและเจตคติท่ีดตี ่อการวจิ ยั อย่างงา่ ย
ตัวชว้ี ัด
1.ระบปุ ญั หา ความจาเป็น วตั ถปุ ระสงค์และประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รับจากการวิจยั และสบื ค้นข้อมูล
เพ่อื ทาความกระจา่ งในปัญหาวจิ ยั รวมทงั้ กาหนดวธิ กี ารหาความรู้ความจรงิ
2.เหน็ ความสาพนั ธ์ของกระบวนการวจิ ยั กบั การนาไปใชใ้ นชีวิต
3.ปฏิบตั ิการศึกษา ทดลอง รวบรวม วเิ คราะหข์ อ้ มลู และสรปุ ความรู้ ความจริงตามขน้ั ตอนได้อยา่ ง
ถูกต้อง ชัดเจน
สาระสาคัญ
การแสวงหาความรู้ ข้อมูล ข้อเท็จจริงอย่างมีระบบเพื่อให้ได้รับคาตอบหรือความรู้ใหม่ท่ีเชื่อถือได้
สามารถทาไดโ้ ดยในกระบวนการวจิ ัย
เนอื้ หา
ข้ันตอนการทาวจิ ยั อย่างง่าย
คณุ ธรรม
1. เพ่ือการพัฒนาตน
2. เพ่ือการพฒั นาการทางาน
3. เพ่อื การพัฒนาการอยรู่ ว่ มกันในสังคม
4. เพือ่ การพฒั นาประเทศชาติ
กระบวนการจดั การเรียนรู้
ขัน้ นา
- การนาเข้าสบู่ ทเรียนดว้ ยวิธีการ ทักทายผเู้ รยี น และช้ีแจงบอกวตั ถุประสงค์การเรยี นรู้ เรอ่ื งข้ันตอน
การทาวจิ ัยอย่างง่าย
ขั้นสอน
- ครอู ธบิ ายขนั้ ตอนการทาวจิ ัยอยา่ งง่าย
- ผเู้ รยี นใช้แบบเรียนวิชาทกั ษะการเรยี นรู้ เปดิ เน้ือหา บทท่ี 5 การวิจยั อย่างงา่ ย เรอื่ ง ข้ันตอนการทา
วิจัย อยา่ งง่าย
120
- ครูใหผ้ ูเ้ รียนสแกน QR Code ใบความรู้ เรื่องการวิจยั อย่างงา่ ย(เพมิ่ เติม)
- ครใู ห้ผเู้ รียนทาใบงาน เร่ือง ขน้ั ตอนการทาวิจยั อย่างง่าย
ข้ันสรุป
- ครูและผูเ้ รยี นรว่ มกนั สรปุ หลงั จากทกุ กลมุ่ นาเสนอผลงานหน้าชน้ั เรยี น
- ครใู ห้ความรเู้ พ่ิมเติมในสว่ นท่ยี ังไมส่ มบูรณ์
สอื่ และแหล่งเรยี นรู้
1. หนังสอื แบบเรยี น
2. ใบความรู้
3. ใบงาน
การวัดและประเมนิ ผล
1. สังเกตพฤติกรรมระหว่างการเรียนรู้
2. วดั ความรจู้ ากการทากิจกรรมในใบงาน
3. การนาเสนอผลการเรยี นรู้
แหล่งการเรยี นร/ู้ สืบค้นข้อมูลเพิ่มเตมิ
1. ห้องสมดุ ประชาชน
2. กศน.ตาบล
3. แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ
4. Internet
5. ภมู ิปัญญา / แหลง่ เรียนรู้
121
ความคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะของผูบ้ ริหารสถานศึกษา
พจิ ารณาแล้ว..........................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
ลงช่ือ
(นางสาวปรารถนา ชีโพธ์ิ)
ผอู้ านวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางระจนั
วันที่ ........... เดือน ................. พ.ศ. ...........
122
บันทึกหลังการสอน
ความสาเร็จในการจดั การเรยี นการสอน
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ปัญหา / อุปสรรค ในการจัดการเรียนการสอน
.................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................... ...........................
........................................................................................................ ......................................................................
............................................................................................................................. .................................................
แนวทางการแกป้ ญั หา
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงช่ือ..............................................ครผู ูส้ อน
(.............................................)
ครู............................................
วนั ท.่ี .........เดือน...........................พ.ศ. ........................
ขอ้ เสนอแนะของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
............................................................................................ ..................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ลงชื่อ ผบู้ ังคบั บัญชา
(นางสาวปรารถนา ชโี พธ์ิ)
ผอู้ านวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางระจัน
123
ใบงาน เรื่อง ข้นั ตอนการทาวจิ ยั อยา่ งง่าย
จงอธิบายขน้ั ตอนการทาวิจยั อย่างง่าย
.......................................................................................................................................................................... ....
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................................ ..............
..................................................................................................................... .........................................................
............................................................................................................................. .................................................
..................................................................................................................................................... .........................
......................................................................................................... .....................................................................
............................................................................................................................. .................................................
.......................................................................................................................................... ....................................
............................................................................................... ...............................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................... ...............................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................................... ..........
........................................................................................................................ ......................................................
............................................................................................................................. .................................................
........................................................................................................................................................ ......................
............................................................................................................. .................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................ ..................................
................................................................................................. .............................................................................
ชอ่ื ............................................. นามสกลุ ......................................................รหัสนกั ศกึ ษา.................................
124
แผนการจัดการเรียนรคู้ รั้งที่ 1๔ (การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง)
กลุ่มสาระทกั ษะการเรียนรู้ รายวิชา ทักษะการเรยี นรู้ ทร31001 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เรือ่ ง การวิจยั อย่างงา่ ย
แผนการจัดการเรยี นรู้ เร่อื ง การเขียนโครงการวิจัยอย่างง่าย เวลาสอน ๑๒ ชั่วโมงสอน
วันที่........เดอื น.................................พ.ศ. .........................ภาคเรียนท่ี.........ปีการศึกษา.......................
มาตรฐานการเรยี นรู้
มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะและเจตคตทิ ่ีดีต่อการวิจัยอยา่ งงา่ ย
ตัวช้ีวัด
1.ระบุปัญหา ความจาเปน็ วตั ถุประสงคแ์ ละประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ ับจากการวจิ ยั และสืบคน้ ข้อมูล
เพ่อื ทาความกระจา่ งในปัญหาวจิ ัยรวมท้ังกาหนดวธิ กี ารหาความรคู้ วามจริง
2.เห็นความสาพนั ธ์ของกระบวนการวิจัยกบั การนาไปใชใ้ นชวี ิต
3.ปฏบิ ตั กิ ารศกึ ษา ทดลอง รวบรวม วิเคราะห์ขอ้ มูล และสรุปความรู้ ความจริงตามขน้ั ตอนได้อยา่ ง
ถกู ต้อง ชดั เจน
สาระสาคัญ
การแสวงหาความรู้ ข้อมูล ข้อเท็จจริงอย่างมีระบบเพ่ือให้ได้รับคาตอบหรือความรู้ใหม่ท่ีเช่ือถือได้
สามารถทาได้โดยในกระบวนการวจิ ัย
เนอ้ื หา
การเขียนโครงการวิจัยอยา่ งง่าย
คุณธรรม
1. เพ่ือการพฒั นาตน
2. เพ่ือการพัฒนาการทางาน
3. เพอื่ การพฒั นาการอยู่ร่วมกนั ในสังคม
4. เพือ่ การพฒั นาประเทศชาติ
กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นนา
- การนาเข้าสบู่ ทเรียนด้วยวธิ กี าร ทกั ทายผูเ้ รยี น และช้แี จงบอกวัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้ เรือ่ งการเขียน
โครงการวิจัยอย่างง่าย
ขน้ั สอน
- ครอู ธบิ ายข้ันตอนการทาวจิ ยั อยา่ งง่าย
- ผเู้ รียนใชแ้ บบเรียนวชิ าทักษะการเรียนรู้ เปิดเน้ือหา บทที่ 5 การวจิ ยั อย่างง่าย เร่อื ง การเขยี น
โครงการวจิ ัยอยา่ งง่าย
125
- ครใู ห้ผ้เู รยี นสแกน QR Code ใบความรู้ เร่อื งการวจิ ัยอย่างงา่ ย(เพิม่ เติม)
- ครูใหผ้ ู้เรยี นทาใบงาน เรื่อง การเขยี นโครงการวจิ ยั อยา่ งง่าย
ข้นั สรุป
- ครแู ละผูเ้ รยี นร่วมกันสรุปหลังจากทกุ กลมุ่ นาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรยี น
- ครูใหค้ วามรเู้ พิ่มเตมิ ในส่วนทย่ี งั ไม่สมบูรณ์
สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. หนังสอื แบบเรียน
2. ใบความรู้
3. ใบงาน
การวัดและประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมระหวา่ งการเรียนรู้
2. วัดความรจู้ ากการทากจิ กรรมในใบงาน
3. การนาเสนอผลการเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู/้ สืบคน้ ข้อมูลเพิม่ เตมิ
1. หอ้ งสมุดประชาชน
2. กศน.ตาบล
3. แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ
4. Internet
5. ภมู ิปญั ญา / แหล่งเรยี นรู้
126
ความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
พจิ ารณาแลว้ ..........................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................
ลงช่ือ
(นางสาวปรารถนา ชโี พธิ์)
ผอู้ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางระจนั
วนั ท่ี ........... เดอื น ................. พ.ศ. ...........
127
บนั ทึกหลังการสอน
ความสาเรจ็ ในการจดั การเรียนการสอน
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ปัญหา / อปุ สรรค ในการจดั การเรยี นการสอน
.................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................... ...........................
........................................................................................................ ......................................................................
............................................................................................................................. .................................................
แนวทางการแกป้ ญั หา
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงชื่อ..............................................ครูผูส้ อน
(.............................................)
คร.ู ...........................................
วนั ท่ี..........เดือน...........................พ.ศ. ........................
ข้อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศกึ ษา
............................................................................................ ..................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ลงชอื่ ผูบ้ ังคบั บัญชา
(นางสาวปรารถนา ชโี พธิ์)
ผูอ้ านวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางระจัน
128
ใบงาน เรื่องการเขยี นโครงการวจิ ยั อยา่ งง่าย
1.โครงการวิจยั คือ
.......................................................................................................................................................................... ....
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................................ ..............
.................................................................................................................... ..........................................................
............................................................................................................................. .................................................
2.องคป์ ระกอบของการวิจัย มีอะไรบา้ ง
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
...................................................................................................................................................................... ........
........................................................................................................................... ...................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................................ ..................
3.เทคนิคการเขียนโครงการวิจยั อย่างง่ายประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................................................ ..
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................................. ............
....................................................................................................................... .......................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................... ...............................
............................................................................................................................. .................................................
ช่ือ................................................ นามสกุล...................................................รหัสนักศกึ ษา.................................
129
แผนการจัดการเรยี นรูค้ ร้ังท่ี 1๕ (พบกลุม่ )
กล่มุ สาระทักษะการเรยี นรู้ รายวิชา ทักษะการเรียนรู้ ทร31001 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 5 เร่ือง การวิจยั อย่างง่าย
แผนการจดั การเรยี นรู้ เร่ือง สถิติง่ายๆ เพื่อการวิจัย เวลาสอน ๖ ช่ัวโมงสอน
วนั ท่.ี .......เดือน.................................พ.ศ. .........................ภาคเรียนท่.ี .......ปกี ารศึกษา.......................
มาตรฐานการเรียนรู้
มคี วามรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติท่ีดตี อ่ การวิจยั อย่างงา่ ย
ตัวช้วี ดั
1.ระบุปญั หา ความจาเปน็ วตั ถุประสงคแ์ ละประโยชน์ท่คี าดวา่ จะได้รับจากการวจิ ัยและสืบคน้ ข้อมูล
เพอื่ ทาความกระจ่างในปัญหาวิจยั รวมทัง้ กาหนดวธิ ีการหาความรคู้ วามจรงิ
2.เห็นความสาพันธ์ของกระบวนการวจิ ยั กับการนาไปใช้ในชวี ิต
3.ปฏิบัติการศึกษา ทดลอง รวบรวม วิเคราะห์ขอ้ มลู และสรุปความรู้ ความจรงิ ตามข้ันตอนได้อย่าง
ถกู ต้อง ชดั เจน
สาระสาคัญ
การแสวงหาความรู้ ข้อมูล ข้อเท็จจริงอย่างมีระบบเพ่ือให้ได้รับคาตอบหรือความรู้ใหม่ท่ีเช่ือถือได้
สามารถทาไดโ้ ดยในกระบวนการวจิ ัย
เนื้อหา
สถิตงิ ่ายๆ เพื่อการวจิ ยั
คุณธรรม
1. เพื่อการพัฒนาตน
2. เพ่ือการพัฒนาการทางาน
3. เพ่ือการพัฒนาการอย่รู ว่ มกนั ในสงั คม
4. เพอ่ื การพฒั นาประเทศชาติ
กระบวนการจดั การเรียนรู้
ขัน้ นา
- การนาเขา้ สบู่ ทเรียนดว้ ยวิธกี าร ทกั ทายผเู้ รียน และชแ้ี จงบอกวตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ เรอ่ื งสถติ ิ
งา่ ยๆ เพ่ือการวจิ ยั
ขน้ั สอน
- ครูอธบิ ายข้ันตอนการทาวิจัยอย่างง่าย
- ผ้เู รียนใช้แบบเรยี นวชิ าทักษะการเรียนรู้ เปดิ เนื้อหา บทที่ 5 การวจิ ยั อยา่ งง่าย เร่ือง สถิตงิ า่ ยๆ เพือ่
การวิจัย
130
- ครูใหผ้ ู้เรยี นสแกน QR Code ใบความรู้ เรอ่ื งการวิจยั อยา่ งงา่ ย(เพมิ่ เติม)
- ครูให้ผู้เรียนทาใบงาน เรื่อง สถิตงิ า่ ยๆ เพื่อการวิจยั
ขั้นสรปุ
- ครแู ละผูเ้ รยี นรว่ มกนั สรุปหลังจากทุกกลุม่ นาเสนอผลงานหน้าช้ันเรยี น
- ครูใหค้ วามรูเ้ พิ่มเตมิ ในส่วนทยี่ ังไม่สมบรู ณ์
ส่ือและแหล่งเรียนรู้
1. หนังสอื แบบเรยี น
2. ใบความรู้
3. ใบงาน
การวัดและประเมนิ ผล
1. สังเกตพฤติกรรมระหวา่ งการเรยี นรู้
2. วดั ความรู้จากการทากจิ กรรมในใบงาน
3. การนาเสนอผลการเรียนรู้
แหล่งการเรยี นรู้/สบื คน้ ขอ้ มูลเพ่มิ เตมิ
1. ห้องสมุดประชาชน
2. กศน.ตาบล
3. แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ
4. Internet
131
ความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
พจิ ารณาแลว้ ..........................................................................................................................................
......................................................................................................... ......................................................
ลงช่ือ
(นางสาวปรารถนา ชโี พธิ์)
ผอู้ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางระจนั
วนั ท่ี ........... เดอื น ................. พ.ศ. ...........
132
บันทึกหลังการสอน
ความสาเร็จในการจัดการเรยี นการสอน
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................. .............................
...................................................................................................... ........................................................................
............................................................................................................................. .................................................
....................................................................................................................................... .......................................
ปญั หา / อุปสรรค ในการจัดการเรยี นการสอน
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
....................................................................................................................................................................... .......
............................................................................................................................ ..................................................
แนวทางการแก้ปัญหา
............................................................................................................................. .................................................
.......................................................................................................................................... ....................................
............................................................................................... ...............................................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................ ..............................................
ลงชอื่ ..............................................ครูผสู้ อน
(.............................................)
คร.ู ...........................................
วนั ที่..........เดอื น...........................พ.ศ. ........................
ข้อเสนอแนะของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงช่อื ผ้บู ังคับบัญชา
(นางสาวปรารถนา ชโี พธ์ิ)
ผ้อู านวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางระจนั
133
ใบงาน เรอื่ งสถิติงา่ ยๆ เพ่ือการวิจยั
1.ความถี่ คอื
.......................................................................................................................................................................... ....
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................................ ..............
2.ร้อยละ คอื
........................................................................................................ ......................................................................
............................................................................................................................. .................................................
......................................................................................................................................... .....................................
.............................................................................................. ................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................... ...............................................
.................................................................................... ..........................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................ ..................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
3.คา่ เฉลีย่ คือ
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................................... ...........
........................................................................................................................ ......................................................
............................................................................................................................. .................................................
......................................................................................................................................................... .....................
.............................................................................................................. ................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................... ...............................
.................................................................................................... ..........................................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................... ..........................................
......................................................................................... .....................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ช่อื ................................................. นามสกุล..................................................รหสั นกั ศกึ ษา.................................
134
แผนการจดั การเรยี นรคู้ รั้งที่ 1๖ (การเรยี นรู้ด้วยตนเอง)
กลุ่มสาระทักษะการเรียนรู้ รายวชิ า ทักษะการเรยี นรู้ ทร31001 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 5 เรอ่ื ง การวิจยั อยา่ งง่าย
แผนการจดั การเรียนรู้ เรอ่ื ง การสร้างเครื่องมือการวิจยั เวลาสอน ๑๕ ช่ัวโมงสอน
วันที.่ .......เดือน.................................พ.ศ. .........................ภาคเรยี นท่ี......ปกี ารศึกษา..........................
มาตรฐานการเรยี นรู้
มีความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะและเจตคติที่ดีตอ่ การวจิ ัยอยา่ งงา่ ย
ตัวชีว้ ดั
1.ระบปุ ัญหา ความจาเปน็ วัตถปุ ระสงคแ์ ละประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวจิ ัยและสืบค้นข้อมูล
เพ่ือทาความกระจา่ งในปัญหาวิจยั รวมทั้งกาหนดวิธกี ารหาความรู้ความจรงิ
2.เห็นความสาพันธ์ของกระบวนการวจิ ัยกบั การนาไปใช้ในชีวิต
3.ปฏิบัตกิ ารศกึ ษา ทดลอง รวบรวม วเิ คราะห์ขอ้ มูล และสรุปความรู้ ความจริงตามข้ันตอนได้อยา่ ง
ถกู ต้อง ชัดเจน
สาระสาคญั
การแสวงหาความรู้ ข้อมูล ข้อเท็จจริงอย่างมีระบบเพ่ือให้ได้รับคาตอบหรือความรู้ใหม่ที่เช่ือถือได้
สามารถทาได้โดยในกระบวนการวจิ ยั
เนอ้ื หา
การสร้างเคร่ืองมือการวิจัย
คุณธรรม
1. เพ่ือการพฒั นาตน
2. เพื่อการพฒั นาการทางาน
3. เพือ่ การพัฒนาการอย่รู ่วมกนั ในสงั คม
4. เพ่อื การพฒั นาประเทศชาติ
กระบวนการจดั การเรียนรู้
ขั้นนา
- การนาเขา้ สูบ่ ทเรียนดว้ ยวิธกี าร ทกั ทายผู้เรยี น และช้แี จงบอกวตั ถุประสงค์การเรียนรู้ เรื่องการสรา้ ง
เครอ่ื งมือการวิจยั
ขัน้ สอน
- ครูอธิบายการสร้างเคร่อื งมือการวิจัย
- ผู้เรยี นใชแ้ บบเรยี นวิชาทกั ษะการเรยี นรู้ เปดิ เนื้อหา บทที่ 5 การวิจัยอยา่ งงา่ ย เรอ่ื ง การสรา้ ง
เครอ่ื งมอื การวจิ ัย
135
- ครูใหผ้ ูเ้ รียนสแกน QR Code ใบความรู้ เร่ืองการวจิ ยั อย่างงา่ ย(เพมิ่ เติม)
- ครใู ห้ผเู้ รียนทาใบงาน เร่ือง การสร้างเครื่องมือการวจิ ยั
ข้ันสรุป
- ครูและผูเ้ รยี นรว่ มกนั สรปุ หลงั จากทุกกล่มุ นาเสนอผลงานหน้าชน้ั เรยี น
- ครใู ห้ความรเู้ พ่ิมเติมในสว่ นทยี่ ังไมส่ มบูรณ์
สอื่ และแหล่งเรยี นรู้
1. หนังสอื แบบเรยี น
2. ใบความรู้
3. ใบงาน
การวัดและประเมนิ ผล
1. สังเกตพฤติกรรมระหว่างการเรียนรู้
2. วดั ความรจู้ ากการทากิจกรรมในใบงาน
3. การนาเสนอผลการเรยี นรู้
แหล่งการเรยี นร/ู้ สืบค้นข้อมูลเพิ่มเตมิ
1. ห้องสมดุ ประชาชน
2. กศน.ตาบล
3. แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ
4. Internet
5. ภมู ิปัญญา / แหลง่ เรียนรู้
136
ความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
พจิ ารณาแลว้ ..........................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................
ลงช่ือ
(นางสาวปรารถนา ชโี พธิ์)
ผอู้ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางระจนั
วนั ท่ี ........... เดอื น ................. พ.ศ. ...........
137
บันทกึ หลังการสอน
ความสาเร็จในการจัดการเรยี นการสอน
.................................................................................................. ............................................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................... ...........................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ปญั หา / อปุ สรรค ในการจดั การเรียนการสอน
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................................... ...........
........................................................................................................................ ......................................................
............................................................................................................................. .................................................
......................................................................................................................................................... .....................
แนวทางการแก้ปญั หา
........................................................................................... ...................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ลงชือ่ ..............................................ครผู สู้ อน
(.............................................)
ครู............................................
วนั ที่..........เดอื น...........................พ.ศ. ........................
ข้อเสนอแนะของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา
............................................................................................................................. .................................................
........................................................................................................................................ ......................................
............................................................................................. .................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
.............................................................................................................................. ................................................
ลงชอ่ื ผู้บงั คับบัญชา
(นางสาวปรารถนา ชโี พธิ์)
ผ้อู านวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางระจัน
138
ใบงาน เรอ่ื งการสรา้ งเคร่ืองมอื การวจิ ัย
1.จงอธบิ ายความหมาย ความสาคัญ ของเครื่องมือการวจิ ยั
.......................................................................................................................................................................... ....
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
2.จงอธิบายการสรา้ งแบบสอบถาม
.................................................................................................................................................... ..........................
......................................................................................................... .....................................................................
............................................................................................................................. .................................................
.......................................................................................................................................... ....................................
............................................................................................... ...............................................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................ ..............................................
..............................................................................................................................................................................
3.จงอธบิ ายการสร้างแบบสัมภาษณ์
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.......................................................................................................................................................................... ....
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................................ ..............
.................................................................................................................... ..........................................................
............................................................................................................................. .................................................
4.จงอธบิ ายการสร้างแบบสังเกต
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ชือ่ ............................................. นามสกลุ .................................................... รหัสนักศกึ ษา.................................
139
แผนการจัดการเรยี นรคู้ รั้งท่ี 1๗ (การเรียนร้ดู ้ายตนเอง)
กล่มุ สาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชา ทักษะการเรียนรู้ ทร31001 ระดับมัธยมศกึ ษาตอน
ปลาย
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เรอื่ ง การวจิ ัยอยา่ งงา่ ย
แผนการจดั การเรียนรู้ เร่ือง การเขยี นรายงานการวิจัยอยา่ งงา่ ยและการเผยแพร่ผลงานการวจิ ัยเวลาสอน ๑๕ ชัว่ โมง
สอนวันที.่ .........เดอื น..................................พ.ศ. ...................ภาคเรยี นที่.............ปกี ารศกึ ษา......................
มาตรฐานการเรยี นรู้
มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติที่ดตี ่อการวิจยั อยา่ งงา่ ย
ตวั ชว้ี ัด
1.ระบปุ ัญหา ความจาเปน็ วตั ถุประสงค์และประโยชน์ที่คาดวา่ จะไดร้ บั จากการวิจยั และสืบค้นข้อมลู
เพือ่ ทาความกระจ่างในปญั หาวจิ ัยรวมทั้งกาหนดวิธีการหาความร้คู วามจริง
2.เห็นความสาพนั ธ์ของกระบวนการวิจัยกับการนาไปใช้ในชวี ิต
3.ปฏิบัตกิ ารศึกษา ทดลอง รวบรวม วเิ คราะห์ข้อมลู และสรุปความรู้ ความจรงิ ตามขนั้ ตอนได้อยา่ ง
ถูกต้อง ชดั เจน
สาระสาคญั
การแสวงหาความรู้ ข้อมูล ข้อเท็จจริงอย่างมีระบบเพ่ือให้ได้รับคาตอบหรือความรู้ใหม่ท่ีเชื่อถือได้
สามารถทาได้โดยในกระบวนการวจิ ยั
เน้อื หา
การเขยี นรายงานการวิจยั อย่างง่ายและการเผยแพรผ่ ลงานการวจิ ัย
คุณธรรม
1. เพ่ือการพัฒนาตน
2. เพ่อื การพฒั นาการทางาน
3. เพ่ือการพัฒนาการอยู่ร่วมกนั ในสงั คม
4. เพื่อการพฒั นาประเทศชาติ
กระบวนการจัดการเรียนรู้
ข้นั นา
- การนาเข้าส่บู ทเรียนด้วยวธิ ีการ ทกั ทายผเู้ รยี น และชี้แจงบอกวัตถุประสงค์การเรียนรู้ เรอื่ งการเขียน
รายงานการวิจัยอย่างงา่ ยและการเผยแพร่ผลงานการวจิ ยั
ขั้นสอน
- ครูอธิบายการเขยี นรายงานการวิจยั อยา่ งง่ายและการเผยแพร่ผลงานการวจิ ัย
- ผ้เู รยี นใชแ้ บบเรียนวิชาทกั ษะการเรยี นรู้ เปิดเน้ือหา บทท่ี 5 การวจิ ัยอย่างงา่ ย เร่ือง การเขียน
รายงานการวจิ ยั อย่างง่ายและการเผยแพร่ผลงานการวจิ ยั
140
- ครูใหผ้ ้เู รียนสแกน QR Code ใบความรู้ เร่ืองการวจิ ัยอย่างงา่ ย(เพมิ่ เติม)
- ครูให้ผูเ้ รยี นทาใบงาน เร่ือง การเขียนรายงานการวิจัยอยา่ งงา่ ยและการเผยแพรผ่ ลงานการวจิ ยั
- ครใู ห้ผู้เรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี น ครง้ั ที่ 6
ข้นั สรุป
- ครแู ละผเู้ รียนร่วมกันสรุปหลังจากทกุ กลมุ่ นาเสนอผลงานหนา้ ชน้ั เรยี น
- ครูให้ความรูเ้ พ่ิมเตมิ ในส่วนท่ียังไมส่ มบรู ณ์
สอื่ และแหล่งเรยี นรู้
1. หนังสอื แบบเรียน
2. ใบความรู้
3. ใบงาน
141
การวดั และประเมินผล
1. สงั เกตพฤติกรรมระหวา่ งการเรียนรู้
2. วัดความรจู้ ากการทากจิ กรรมในใบงาน
3. การนาเสนอผลการเรียนรู้
4. แบบทดสอบ
ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะของผ้บู รหิ ารสถานศึกษา
พจิ ารณาแลว้ ..........................................................................................................................................
......................................................................................................... ......................................................
ลงช่ือ
(นางสาวปรารถนา ชโี พธิ์)
ผอู้ านวยการศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางระจนั
วันท่ี ........... เดอื น ................. พ.ศ. ...........