The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by khanti2, 2019-03-25 02:35:06

แฟ้มสะสมงาน

ค าน า








แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) เป็นการแสดงให้เห็นร่องรอยการเรียนรู้และความรับผิดชอบในหน้าที่

ข้าพเจ้ามีความตั้งใจในการรวบรวมเอกสารข้อมูลต่างๆทั้งที่เกี่ยวกับประวัติส่วนตัวและผลการศึกษาหาความรู้

โดยใช้ขั้นตอนในการจัท าดังงนี้


1. แนวคิดในการด าเนินชีวิต


2. ประวัติ

2.1 ประวัติส่วนบุคคล

2.2 ประวัติการศึกษา

3. ผลงาน

3.1 ด้านการศึกษาและวิชาการ

3.2 ด้านคุณธรรทและจริยธรรม

3.3 ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

3.4 ด้านความสามารถพิเศษ

3.5 ด้านกีกีฬาและนันทนาการ


4. ภาคผนวก


ในการจัดท าแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ครั้งนี้ ทุกขั้นตอนข้าพเจ้าหวังว่าสิ่งที่ดีงามเหล่านี้จะเป็นผลดี

ต่อการศึกษาและพัฒนาการของชาติสืบต่อไป






…………………………….
( นายขันติ สุมังสะ )

ประวัติส่วนบุคล








ข้อมูลทั่วไป



ชื่อ-สกุล นายขันติ สุมังสะ

ชื่อเล่น ติ

เกิดวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2533

ส่วนสูง 172 เซนติเมตร น ้าหนัก 78 กิโลกรัม หมู่โลหิต A

สัญชาติ ไทย เชื่อชาติไทย ศาสนา พุทธ

ภูมิล าเนา บ้านเลขที่ 87 หมู่ที่ 2 ต าบล คุ้งส าเภา อ าเภอ มโนรมย์ จังหวัดชัยนาท รหัสไปษณีย์

17110

ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 180/317 ต าบลเชิงเนิน อ าเภอ เมือง จังหวัด ระยอง รหัสไปษณีย์ 21000

บิดา นายชลอ สุมังสะ

มารดา นาวเข็มทอง สุมังสะ






ข้อมูลทั่วไป




เบอร์โทรศัพท์ 064-7079903

E-mail khanti2@hotmail.com

ประวัติการศึกษา








ระดับชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 1-6


โรงเรียนอักษรประสิทธิ์ จังหวัด ชัยนาท




ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น


โรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์




ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)


วิทยาลัยเทคนิคชัยนาท




ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)


วิทยาลัยเทคนิคชัยนาท




ระดับปริญญาตรี



มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขางานวิศวกรรมอุตสาหการ







 แผนการจัดการเรียนรู้



รหัสวิชา 2103-2105 ชื่อวิชา งานผลิตภัณฑ์และโลหะแผ่น 1 3 หน่วยกิต 6 ชั่วโมง

จุดประสงค์รายวิชา

1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจหลักการเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นขนาน เส้นรัศมี

และเส้นสามเหลี่ยม อ่านแบบ ออกแบบงานผลิตภัณฑ์โลหะ การค านวณวัสดุ การ

ประมาณราคา
2. เพื่อให้สามารถก าหนดขั้นตอนการท างาน เลือกก าหนดเทคนิควิธีการผลิต ขึ้นรูป

ประกอบงาน การเขียนรายงานการท างาน และ ปรับปรุงแก้ไขการท างาน

3. เพื่อให้สามารถเขียนแบบชิ้นงานโลหะแผ่นด้วยวิธีเส้นขนาน เส้นรัศมีและเส้น
สามเหลี่ยม ผลิตผลิตภัณฑ์โลหะ งานโครงสร้าง เฟอร์นิเจอร์

4. เพื่อให้มีกิจนิสัยในการท างานด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย ประณีตรอบคอบ

และตระหนักถึงความปลอดภัย

มาตรฐานรายวิชา

1. เข้าใจหลักการเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นขนาน เส้นรัศมีและเส้นสามเหลี่ยม
2. จัดท าแผนงานการท างานผลิตภัณฑ์โลหะ การขึ้นรูปและประกอบงาน

3. ท าผลิตภัณฑ์งานโลหะ งานโครงสร้างเฟอร์นิเจอร์ตามแบบก าหนด

4. เขียนรายงานการท างานผลิตภัณฑ์โลหะ

ค าอธิบายรายวิชา

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นขนาน เส้นรัศมี และ เส้น
สามเหลี่ยม การอ่านแบบ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การถอดแบบค านวณวัสดุ ประมาณราคา ความ

ปลอดภัยในการท างานผลิตภัณฑ์ ก าหนดขั้นตอนการท างาน เลือกและก าหนดเทคนิควิธีการผลิต การ

ขึ้นรูป การประกอบงาน การเขียนรายงาน การท างาน งานผลิตภัณฑ์โลหะแผ่นที่เขียนแบบด้วยวิธี
เส้นขนาน เส้นรัศมีและเส้นสามเหลี่ยม งานผลิตภัณฑ์โลหะ งานโครงสร้าง งานเฟอร์นิเจอร์ โดยใช้

อุปกรณ์ความปลอดภัย และอาชีวอนามัย

การวัดผล


ตลอดภาคเรียน 100 คะแนน

1. ระหว่างภาคเรียน 80 คะแนน

2. ปลายภาคเรียน 20 คะแนน






เอกสารประกอบการเรียน




งานผลิตภัณฑ์และโลหะแผ่น 1 นริศ ศรีเมฆ

โครงการสอน



วิชา งานเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สคลุม 2


รหัสวิชา ๒๑๐๓ ๒๒๐๒









นาย ขันติ สุมังสะ










แผนกวิชาช่างเชื่อมโลหะ


วิทยาลัยเทคนิคระยอง

โครงการสอน

หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556


ประเภทวิชา อุตสาหกรรม หมวดวิชา วิชาชีพเฉพาะ สาขาวิชา ช่างเชื่อมโลหะ

รหัสวิชา 2103-2202 วิชา งานเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สคลุม 2 จ านวน 2 หน่วยกิต 6 ชั่วโมง/สัปดาห์



จุดประสงค์รายวิชาเพื่อให้

1. สามารถปฏิบัติงานเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สคลุมและ งานเชื่อมFlux Core Wire แผ่นเหล็กกล้า
คาร์บอนต าแหน่งท่าเชื่อม 1F, 2F,3F และ1G, 2G,3G

2. ตรวจสอบงานเชื่อมด้วยการพินิจได้ตามมาตรฐาน

3. มีกิจนิสัยในการท างานที่ดี ปฏิบัติการเชื่อม โดยใช้อุปกรณ์ความปลอดภัยส่วนบุคคลครบถ้วน


สมรรถนะรายวิชา

1. เชื่อมอาร์กโลหะแก๊สคลุมและ งานเชื่อมFlux Core Wire แผ่นเหล็กกล้า คาร์บอนต าแหน่ง

ท่าเชื่อม 1F, 2F,3F และ1G, 2G,3G ได้ตามมาตรฐานที่ก าหนด
2. ตรวจสอบเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สคลุมและ งานเชื่อมFlux Core Wire แผ่นเหล็กกล้าคาร์บอน

ต าแหน่งท่าเชื่อม 1F, 2F,3F และ1G, 2G,3Gด้วยการพินิจได้ตามขั้นตอน

3. วิเคราะห์ข้อบกพร่องงานเชื่อมด้วยการพินิจได้ตามมาตรฐาน


ค าอธิบายรายวิชา

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ในงานเชื่อมเทคนิคงานเชื่อมอาร์กโลหะแก๊ส

คลุม และงานเชื่อมด้วย Flux Core Wire แผ่นเหล็กกล้าคาร์บอนในต าแหน่งท่าเชื่อม 1F, 2F,3F,4F และ1G,
2G,3Gโดยใช้อุปกรณ์ถูกต้องตามหลักความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

ตารางผลการวิเคราะห์หน่วยการสอนตลอดภาคเรียน

ประเภทวิชา อุตสาหกรรม หมวดวิชา วิชาชีพเฉพาะ สาขาวิชา ช่างเชื่อมโลหะ

รหัสวิชา 2103-2202 วิชา งานเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สคลุม 2 จ านวน 2 หน่วยกิต 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
สัปดาห์ หน่วย ชื่อหน่วยการสอน จ านวน / ชั่วโมง

ที่ ที่ ท ป รวม

1 ปฐมนิเทศ 1 - 1

1. ค าอธิบายรายวิชา
2. จุดประสงค์การเรียนรู้



1 ความปลอดภัยในงานเชื่อม 2 1 3
1. ความปลอดภัยตามหลักอาชีวอนามัย

2. ความปลอดภัยในงานเชื่อม

3. ความปลอดภัยในงานเชื่อมมิก/แม็ก ฟลั๊กซ์คลอวาย

4. แบบประเมินผลความรู้


2 2 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเชื่อม 1 3 4

1. อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

2. อุปกรณ์ในงานเชื่อม
3. แบบประเมินผลการเรียนรู้

4. ใบงานที่ 1 การเชื่อมเดินแนว (Forehand)


3 3 ท่าเชื่อมและรอยต่องานเชื่อม 1 3 4

1. ท่าเชื่อมตามมาตรฐานสหรัฐอเมริกา (AWS)

2. ท่าเชื่อมตามมาตรฐานสากล (ISO)

3. รอยต่องานเชื่อม
4. แบบประเมินผลการเรียนรู้

5. ใบงานที่ 2 การเชื่อมเดินแนว (Backhand)

สัปดาห์ หน่วย ชื่อหน่วยการสอน จ านวน / ชั่วโมง

ที่ ที่ ท ป รวม
4 4 วัสดุงานเชื่อม 1 3 4

1. แบ่งกลุ่มโลหะ

2. โลหะกลุ่มเหล็ก

3. เหล็กกล้าผสม
4. สัญลักษณ์มาตรฐานเหล็ก

5. การแบ่งกลุ่มเหล็กกล้าตามมาตรฐาน

6. ใบงานที่ 3 การเชื่อมเดินแนวท่าเชื่อม 1F


5-8 5 กระบวนการเชื่อมมิก/แม็ก 4 12 16

1. หลักการทางานเชื่อมมิก/แม็ก

2. เครื่องมือในการเชื่อมมิก/แม็ก

3. กระแสเชื่อม

4. การส่งถ่ายน ้าโลหะ
5. การน าไปใช้

6. ข้อดี-ข้อเสียการเชื่อมมิก/แม็ก

7. แบบประเมินผลการเรียนรู้

8. ใบงานที่ 4 การเชื่อมเดินแนวท่าเชื่อม 2F
9. ใบงานที่ 5 การเชื่อมเดินแนวท่าเชื่อม 3F


9-10 6 ลวดเชื่อมมิก 2 6 8

1. ลวดเชื่อมมิกแบบตันตามมาตรฐานAWS

2. ลวดเชื่อมมิกแบบไส้ฟลักซ์ตามมาตรฐานAWS
3. ลวดเชื่อมเหล็กกล้าผสมและไม่ผสมตามมาตรฐาน

DIN
4. ลวดเชื่อมแมกตามมาตรฐานJIS

5. ลวดเชื่อมไส้ฟลักซ์ตามมาตรฐานJIS

6. แบบประเมินผลการเรียนรู้

7. ใบงานที่ 6 การเชื่อมเดินแนวท่าเชื่อม 1G

สัปดาห์ หน่วย ชื่อหน่วยการสอน จ านวน / ชั่วโมง

ที่ ที่ ท ป รวม
11-12 7 กระบวนการเชื่อมฟลั๊กซ์คลอวาย 2 6 8

1. หลักการทางานเชื่อมฟลั๊กซ์คลอวาย

2. เครื่องมือในการเชื่อมฟลั๊กซ์คลอวาย

3. กระแสเชื่อม

4. การส่งถ่ายน ้าโลหะ
5. การน าไปใช้

6. ข้อดี-ข้อเสียการเชื่อมฟลั๊กซ์คลอวาย

7. แบบประเมินผลการเรียนรู้

8. ใบงานที่ 7 การเชื่อมเดินแนวท่าเชื่อม 2G


13-14 8 แก๊สปกคลุมที่ใช้ในงานเชื่อม 2 6 8

1. แก๊สปกคลุมส าหรับกระบวนการเชื่อมมิก/แม็ก

2. ประโยชน์ของแก๊สปกคลุมส าหรับการเชื่อมมิก/แม็ก
3. แก๊สปกคลุมส าหรับกระบวนการเชื่อมฟลั๊กซ์คลอวาย
4. การพิจารณาเลือกแก๊สปกคลุมส าหรับกระบวนการ

เชื่อมมิก/แม็ก ฟลัก๊ซ์คลอวาย
5. แบบประเมินผลการเรียนรู้

6. ใบงานที่ 8 การเชื่อมเดินแนวท่าเชื่อม 3G



15-16 9 การตรวจสอบด้วยสายตา 2 6 8

1. หลักการตรวจสอบด้วยสายตา
2. ข้อบกพร่องที่เกิดจากการเชื่อม

3. แบบประเมินผลการเรียนรู้

4. ใบงานที่ 9 การตรวจสอบด้วยสายตา

สัปดาห์ หน่วย ชื่อหน่วยการสอน จ านวน / ชั่วโมง

ที่ ที่ ท ป รวม

17 10 การเขียนรายงานผลการปฏิบัติงาน 1 3 4

หลักการเขียนรายงาน

ขั้นตอนการเขียนรายงาน
การสรุปผลการเขียนรายงาน

แบบประเมินการเรียนรู้

ใบงานที่ 10 การเขียนรายงาน


18 ประเมินผลตามสภาพจริง 1 3 4



รวม 20 52 72



สื่อการเรียนการสอน

1. หนังสืองานเชื่อมโลหะ 2, 3, 4. ประภาส เกตุไทย. ศูนย์หนังสือพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
2. หนังสืองานเชื่อมโลหะ 2. ประทีป ระงับทุกข์. ส านักพิมพ์ เอมพันธ์ จ ากัด

3. หนังสือวัสดุช่างเชื่อม. ประทีป ระงับทุกข์. ส านักพิมพ์ เอมพันธ์ จ ากัด

4. หนังสือลวดเชื่อม. สมบูรณ์ เต็งหงส์เจริญ. ส านักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ
5. สื่อPowerPoint, เครื่องโปรเจ็คเตอร์

6. คอมพิวเตอร์


หนังสืออ้างอิง

1. หนังสืองานเชื่อมโลหะ 2, 3, 4. ประภาส เกตุไทย. ศูนย์หนังสือพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

2. หนังสืองานเชื่อมโลหะ 2. ประทีป ระงับทุกข์. ส านักพิมพ์ เอมพันธ์ จ ากัด
3. หนังสือวัสดุช่างเชื่อม. ประทีป ระงับทุกข์. ส านักพิมพ์ เอมพันธ์ จ ากัด

4. หนังสือลวดเชื่อม. สมบูรณ์ เต็งหงส์เจริญ. ส านักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ



โครงการสอน



วิชา งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น


รหัสวิชา ๒๑๐๐ ๑๐๐๕









นาย ขันติ สุมังสะ











แผนกวิชาช่างเชื่อมโลหะ

วิทยาลัยเทคนิคระยอง

ค ำน ำ



แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชางานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น รหัส ๒๑๐๐ - ๑๐๐๕
สาขาวิชาช่างเชื่อมโลหะตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๔๕ (ปรับปรุง

พุทธศักราช ๒๕๔๖) ประเภทวิชา ช่างอุตสาหกรรม ภายในเอกสารประกอบการเรียน มีสื่อ

ประกอบการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าใจ ในเนื้อหาวิชาที่เรียนได้มากยิ่งขึ้น เนื่องจากวิชางาน
เชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น เป็นวิชาที่มีวัสดุอุปกรณ์ รวมทั้งขั้นตอนในการท างานจ านวนหลาย

ขั้นตอน จึงจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะมีเอกสารเพื่อให้ประกอบการเรียนและเพื่อเพิ่มความเข้าใจของผู้เรียน

มากยิ่งขึ้น
เนื้อหาของแผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้ ประกอบด้วยเนื้อหาทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติศึกษา

เกี่ยวกับการเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีลัด( Short Cut Technique ต าแหน่งงานเชื่อม และลักษณะ

การต่อชิ้นงาน งานเชื่อมไฟฟ้า งานเชื่อมแก๊ส งานโลหะแผ่น งานบัดกรีแข็ง นอกจากนี้ตั้งแต่หน่วยที่
3 เป็นต้นไปได้มี ใบความรู้ และใบงานเพื่อให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติอีกด้วย




ผู้จัดท า

นายขันติ สุมังสะ

ลักษณะรายวิชา



รหัสและชื่อวิชา 2100 – 1005 งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น
สภาพรายวิชา

ระดับวิชา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
เวลาศึกษา 18 สัปดาห์

หน่วยกิต 2 หน่วยกิต 4 ชั่วโมง/สัปดาห์


ค าอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการเบื้องต้นในงานเชื่อมและโลหะแผ่น หลักความปลอดภัยในการ

ปฏิบัติงาน การเลือกใช้วัสดุ เครื่องเชื่อมและอุปกรณ์ในงานเชื่อม ท่าเชื่อม รอยต่อที่ใช้ในงานเชื่อมและการ
แล่นประสาน การประกอบติดตั้งเครื่องมืออุปกรณ์ในงานเชื่อมแก๊ส การแล่นประสาร (Brazing) และเชื่อม

ไฟฟ้า การเริ่มต้นอาร์ก การเชื่อมเดินแนวต่อมุม ต่อตัวที เครื่องจักร และเครื่องมือที่ใช้ในงานโลหะแผ่น การ

เขียนแบบแผ่นคลี่ การถ่ายแบบ การเข้าขอบ การท้าตะเข็บ การย้้า การบัดกรี (Soldering) การขึ้นรูปด้วยการ
พับ ดัด ม้วน เคาะ และประกอบชิ้นงาน


จุดประสงค์รายวิชา

1. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ กระบวนการเชื่อมแก๊ส การเชื่อมไฟฟ้าและโลหะแผ่น
2. มีทักษะเกี่ยวกับการปฏิบัติงานเชื่อมแก๊ส เชื่อมไฟฟ้าและการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ในงานเชื่อม
3. มีทักษะเกี่ยวกับการปฏิบัติงานขึ้นรูปโลหะแผ่น รูปทรงเรขาคณิตและใช้เครื่องมืออุปกรณ์โลหะแผ่น
4. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการท้างานด้วยความสะอาดละเอียดรอบคอบ ปลอกภัยเป็นระเบียบ

สะอาด ตรงต่อเวลาซื่อสัตย์ รับผิดชอบ และรักษาสภาพแวดล้อม

สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความรู้ หลักการกระบวนการเชื่อมแก๊สและการเชื่อมไฟฟ้า
2. เชื่อมแล่นประสานและตัดแผ่นเหล็กกล้าคาร์บอนด้วยแก๊ส
3. เชื่อมอาร์กลวดหุ้มฟลักซ์แผ่นเหล็กกล้าคาร์บอน
4. เขียนแบบแผ่นคลี่ลงแผ่นงานตามแบบ

5. ขึ้นรูปผลิตภัณฑ์โลหะแผ่นตามแบบ

หน่วยการสอน
รหัสวิชา 2100 – 1005 วิชางานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น จ้านวน 2 หน่วยกิต 4 ชั่วโมง/สัปดาห์


ชื่อหน่วยการเรียน สมรรถนะการเรียนรู้


1. บอกกฎระเบียบความปลอดภัยได้ถูกต้อง
2. บอกวิธีการป้องกันอันตรายจากการเชื่อมและโลหะ
1. ความปลอดภัยในงานเชื่อมและโลหะแผ่น แผ่นได้ถูกต้อง

3. บอกประเภทของการเชื่อมโลหะได้



1. บอกกรรมวิธีการเชื่อมไฟฟ้าและการเชื่อมแก๊สได้
2. กระบวนการเชื่อม ถูกต้อง

2. อธิบายหลักการเชื่อมไฟฟ้าได้ถูกต้อง
3. อธิบายถึงหลักการเชื่อมแก๊สได้ถูกต้อง



1. บอกลักษณะต้าแหน่งท่าเชื่อมได้ถูกต้อง
3. ต าแหน่งงานเชื่อมและลักษณะรอยต่อ 2. บอกชนิดรอยต่อที่ใช้ในงานเชื่อมได้ถูกต้อง
3. สามารถใช้รอยต่อกับงานเชื่อมได้ถูกต้อง



1. อธิบายหลักการเชื่อมแก๊สได้ถูกต้อง
4. งานเชื่อมแก๊ส 2. บอกเชื่อมเครื่องมือและอุปกรณ์เชื่อมแก๊สได้ถูกต้อง
3. ปฏิบัติงานเชื่อมแก๊สได้ถูกต้อง


1. บอกหลักการแล่นประสานได้ถูกต้อง

5. งานแล่นประสาน 2. สามารถใช้เครื่องมือได้อย่างถูกต้อง
3. ปฏิบัติงานแล่นประสานได้ถูกต้อง



1. สามารถติดตั้งเครื่องเชื่อมได้ถูกต้อง
2. สามารถบอกชื่อเครื่องมือและอุปกรณ์เชื่อมไฟฟ้าได้
6. งานเชื่อมไฟฟ้า
ถูกต้อง

3. ปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟ้าได้ถูกต้อง



1. บอกชื่อเครื่องมือและอุปกรณ์งานโลหะแผ่นได้ถูกต้อง
2. ใช้เครื่องมืองานโลหะแผ่นได้ถูกต้อง
7. งานโลหะแผ่น 3. ปฏิบัติงานโลหะแผ่นได้ถูกต้อง

ชื่อหน่วยการเรียน สมรรถนะการเรียนรู้


1. บอกชื่อตะเข็บและขอบงานได้ถูกต้อง
2. บอกชื่อเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในงานโลหะแผ่นได้
8. ตะเข็บงานและงานบัดกรี
ถูกต้อง
3. สามารถปฏิบัติงานบัดกรีได้ถูกต้อง



1. อธิบายการเขียนแบบแผ่นคลี่แบบต่างๆได้ถูกต้อง
9. การเขียนแบบแผ่นคลี่ 2. บอกลักษณะของแผ่นคลี่แบบต่างๆได้ถูกต้อง

3. สามารถเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นขนานได้ถูกต้อง

หน่วยการสอน
รหัสวิชา 2100 – 1005 วิชางานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น จ้านวน 2 หน่วยกิต 4 ชั่วโมง/สัปดาห์


หน่วยที่ ชื่อหน่วย/หัวข้อย่อย จ านวนชั่วโมง สัปดาห์ที่

1 ความปลอดภัยในงานเชื่อมและโลหะแผ่น 2 1
2 กระบวนการเชื่อม 2 1
3 ต้าแหน่งงานเชื่อมและลักษณะรอยต่อ 4 2
4 งานเชื่อมแก๊ส 16 3-4-5-6

5 งานแล่นประสาน 8 7-8
6 งานเชื่อมไฟฟ้า 16 9-10-11-12
7 งานโลหะแผ่น 12 13-14-15

8 ตะเข็บงานและงานบัดกรี 4 16
9 การเขียนแบบแผ่นคลี่ 8 17-18
สอบปลายภาค

รวม 72 18

ตารางวิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้
รหัสวิชา 2100 – 1005 วิชางานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น จ้านวน 2 หน่วยกิต 4 ชั่วโมง/สัปดาห์


ระดับพฤติกรรมที่พึงประสงค์

ทักษะ
หน่วยที่ พุทธิพิสัย จิตพิสัย รวม ล้าดับ ความส้าคัญ จ้านวนคาบ
ชื่อหน่วย / หัวข้อย่อย พิสัย
1 2 3 4 5 6 1 2 1 2
ความปลอดภัยในงานเชื่อมและโลหะ
1. / / / - - - / / - / 5 2 2
แผ่น
2. กระบวนการเชื่อม / / / - - - / / - / 5 2 2
ต้าแหน่งงานเชื่อมและลักษณะ
3. / / / / - - / / - / 7 1 4
รอยต่อ
4. งานเชื่อมแก๊ส / / / / - - / / - / 7 1 16
5. งานแล่นประสาน / / / / - - / / - / 7 1 8
6. งานเชื่อมไฟฟ้า / / / / - - / / - / 7 1 16

7. งานโลหะแผ่น / / / / - - / / - / 7 1 12
8. ตะเข็บงานและงานบัดกรี / / / / - - / / - / 7 1 4

9. การเขียนแบบแผ่นคลี่ / / / - - - / / - / 5 2 8





รวม 9 9 9 6 - - 9 9 - 6 57 72
ล้าดับความส้าคัญ 1 1 1 2 - - 1 1 - 2


หมายเหตุ ระดับพุทธิพิสัย 1 = ความจ้า 2 = ความเข้าใจ 3 = การน้าไปใช้

4 = การวิเคราะห์ 5 = สังเคราะห์ 6 = ประเมินค่า
ทักษะพิสัย 1 = การท้าตามแบบ 2 = ถูกต้องแม่นย้า
จิตพิสัย 1 = มีความรับผิดชอบ 2 = มีความสนใจใฝ่รู้
- ตรงต่อเวลา - การมีส่วนร่วม

- งานที่มอบหมาย - กล้าแสดงออก

- มีมนุษย์สัมพันธ์

กิจกรรมการเรียนการสอน


1. ครูทักทายนักเรียนตรวจความพร้อม และท้าการเช็คชื่อนักเรียน

2. ครูน้าเข้าสู่บทเรียนและแนะน้าเนื้อหาในหน่วย
3. ครูอธิบายบรรยาย และสาธิตเกี่ยวกับเนื้อหาและใบงานของแต่ละหน่วย

4. ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานในแต่ล่ะหน่วย
5. ครูมอบหมายงานตามใบงานให้นักศึกษารายบุคคล

6. นักเรียนปฏิบัติงานตามใบงานที่ได้รับมอบหมาย
7. ครูให้ค้าแนะน้าในรายละเอียด และวิธีการ ในการปฏิบัติงาน

8. นักเรียนส่งงานตามใบงาน ครูสรุปเนื้อหารายละเอียด และข้อบกพร่องจากการปฏิบัติงานของนักเรียน

9. ครูให้นักเรียนสอบถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
10. ประเมินผลการเรียนจากผลภาคปฏิบัติงานในแต่ละใบงานของแต่ละหน่วย

11. ครูให้นักเรียนเก็บอุปกรณ์ ท้าความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน อบรมคุณธรรมจริยธรรม ก่อนเลิกเรียน


สื่อการเรียนการสอน
- หนังสือเรียน

- ใบความรู้ อุปกรณ์ของจริง
- บรรยายและสาธิต


การประเมินผล คิดคะแนนเต็ม 100 คะแนน แบ่งเป็นดังนี้

- คะแนนเก็บ 70 คะแนน

- คะแนนงานที่มอบหมาย 50 คะแนน
- จิตพิสัย 20 คะแนน

- คะแนนปลายภาค 30 คะแนน

- รวม 100 คะแนน



- ผ่านการพิจารณา


............................................... ....................................................

(นายขันติ สุมังสะ) (นายณรงค์ โม้ลี)

ครูผู้สอน หัวหน้าแผนกวิชาช่างเชื่อมโลหะ


.......................................................
(นายณัฐธารีย์ สิริกุลปัญญาพร)

รองผู้อ้านวยการฝ่ายวิชาการ

แผนจัดการเรียนรู้






วิชา งานเชื่อมโลหะเบื้องต้น รหัสวิชา 2103 1001






จัดท าโดย




นายขันติ สุมังสะ



แผนกวิชาช่างเชื่อมโลหะ








วิทยาลัยเทคนิคระยอง


ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา



ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561

ค ำน ำ


แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น รหัสวิชา 2100-1005 เล่มนี้เรียบเรียง

ขึ้นเพื่อใช้สอนนักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาช่างยนต์และช่างอิเล็กทรอนิกส์ตรงตามจุดประสงค์
รายวิชา มาตรฐานรายวิชาและค าอธิบายรายวิชาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2546

ของส านักงานคณะกรรมการการอาชีวะศึกษา
ในการจัดท าแผนการจัดการเรียนรู้ วิชา งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น รหัสวิชา 2100-1005

เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน จะช่วยให้ผู้สอนสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้บรรลุ
จุดประสงค์ของการสอนในทุกๆ ด้าน โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น 9 หน่วย คือ ความปลอดภัยในงานเชื่อมและ
โลหะแผ่น กระบวนการเชื่อม ต าแหน่งงานเชื่อมและลักษณะรอยต่อ งานเชื่อมแก๊ส งานแล่นประสาน งาน

เชื่อมไฟฟ้า งานโลหะแผ่น ตะเข็บงานและงานบัดกรีและการเขียนแบบแผ่นคลี่
ขอขอบคุณคณะครู ผู้บริหาร และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ให้ความช่วยเหลือ แนะน าแนวทาง และเป็น
ก าลังในการจัดท าแผนครั้งนี้ จนสามารถเสร็จลุล่วงไปด้วยดี




ขันติ สุมังสะ
ผู้จัดท า

จุดประสงค์รายวิชา/มาตรฐานรายวิชา/ค าอธิบายรายวิชา

ชื่อรายวิชา งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น รหัสวิชา 2100 1005 (ท-ป-น) 1- 3 - 2

ระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชา/กลุ่มวิชา/แผนกวิชา ช่างเชื่อมโลหะ หน่วยกิต 2
จ านวนคาบรวม 72 คาบ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 255



จุดประสงค์รายวิชา
1. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ กระบวนการเชื่อมแก๊ส การเชื่อมไฟฟ้าและโลหะแผ่น
2. มีทักษะเกี่ยวกับการปฏิบัติงานเชื่อมแก๊ส เชื่อมไฟฟ้าและการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ในงานเชื่อม

3. มีทักษะเกี่ยวกับการปฏิบัติงานขึ้นรูปโลหะแผ่น รูปทรงเรขาคณิตและใช้เครื่องมืออุปกรณ์โลหะแผ่น
4. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการท างานด้วยความสะอาดละเอียดรอบคอบ ปลอกภัยเป็นระเบียบ
สะอาด ตรงต่อเวลาซื่อสัตย์ รับผิดชอบ และรักษาสภาพแวดล้อม


สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความรู้ หลักการกระบวนการเชื่อมแก๊สและการเชื่อมไฟฟ้า
2. เชื่อมแล่นประสานและตัดแผ่นเหล็กกล้าคาร์บอนด้วยแก๊ส
3. เชื่อมอาร์กลวดหุ้มฟลักซ์แผ่นเหล็กกล้าคาร์บอน
4. เขียนแบบแผ่นคลี่ลงแผ่นงานตามแบบ
5. ขึ้นรูปผลิตภัณฑ์โลหะแผ่นตามแบบ


ค าอธิบายรายวิชา


ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการเบื้องต้นในงานเชื่อมและโลหะแผ่น หลักความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
การเลือกใช้วัสดุ เครื่องเชื่อมและอุปกรณ์ในงานเชื่อม ท่าเชื่อม รอยต่อที่ใช้ในงานเชื่อมและการแล่นประสาน การ

ประกอบติดตั้งเครื่องมืออุปกรณ์ในงานเชื่อมแก๊ส การแล่นประสาร (Brazing) และเชื่อมไฟฟ้า การเริ่มต้นอาร์ก การ
เชื่อมเดินแนวต่อมุม ต่อตัวที เครื่องจักร และเครื่องมือที่ใช้ในงานโลหะแผ่น การเขียนแบบแผ่นคลี่ การถ่ายแบบ

การเข้าขอบ การท าตะเข็บ การย้ า การบัดกรี (Soldering) การขึ้นรูปด้วยการพับ ดัด ม้วน เคาะ และประกอบ

ชิ้นงาน

ตารางวิเคราะห์ค าอธิบายรายวิชา
วิชางานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น 2100-1005

พฤติกรรมที่ต้องการ
ล าดับที่ ชื่อหน่วย กิจ รวม
ความรู้ ทักษะ
นิสัย (ชั่วโมง)

1 ความปลอดภัยในงานเชื่อมและโลหะแผ่น 1 2 - 2
2 กระบวนการเชื่อม 1 2 - 2
3 ต าแหน่งงานเชื่อมและลักษณะรอยต่อ 1 2 1 4

4 งานเชื่อมแก๊ส 4 8 4 16
5 งานแล่นประสาน 2 4 2 8
6 งานเชื่อมไฟฟ้า 4 8 4 16
7 งานโลหะแผ่น 3 6 3 12

8 ตะเข็บงานและงานบัดกรี 1 2 1 4
9 การเขียนแบบแผ่นคลี่ 2 6 - 8

สอบปลายภาค
รวม 72

หน่วยการสอน
รหัสวิชา 2100 – 1005 วิชางานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น จ านวน 2 หน่วยกิต 4 ชั่วโมง/สัปดาห์


หน่วยที่ ชื่อหน่วย/หัวข้อย่อย จ านวนชั่วโมง สัปดาห์ที่

1 ความปลอดภัยในงานเชื่อมและโลหะแผ่น 2 1
2 กระบวนการเชื่อม 2 1
3 ต าแหน่งงานเชื่อมและลักษณะรอยต่อ 4 2
4 งานเชื่อมแก๊ส 16 3-4-5-6

5 งานแล่นประสาน 8 7-8
6 งานเชื่อมไฟฟ้า 16 9-10-11-12
7 งานโลหะแผ่น 12 13-14-15

8 ตะเข็บงานและงานบัดกรี 4 16
9 การเขียนแบบแผ่นคลี่ 8 17-18
สอบปลายภาค

รวม 72 18

ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียน

เวลาเรียน (ชั่วโมง)
หน่วยที่ ชื่อหน่วย/บทเรียน/หัวข้อการเรียน
ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม

1. ความปลอดภัยในงานเชื่อมและโลหะแผ่น 4 - 4

1.1 ความปลอดภัยในงานเชื่อมแก๊ส
1.2 ความปลอดภัยในงานเชื่อมไฟฟ้า
1.3 ความปลอดภัยในงานโลหะแผ่น


2. กระบวนการเชื่อม 4 - 4
2.1 หลักการเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดหุ้มฟลักซ์
2.2 เครื่องเชื่อมตามลักษณะพื้นฐาน

2.3 เครื่องเชื่อมไฟฟ้า


3. ต าแหน่งงานเชื่อมและลักษณะรอยต่อ 3 1 4

3.1 ท่าเชื่อม
3.2 รอยต่อและชนิดของรอยต่อ
3.3 การบากร่องรอยต่อ


4. งานเชื่อแก๊ส 4 12 16
4.1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในการเชื่อมแก๊ส

4.2 เปลวไฟในการเชื่อมแก๊ส
4.3เทคนิคการเชื่อมแก๊ส
4.4 ปฏิบัติการปรับเปลวไฟในการเชื่อม

4.5 ปฏิบัติงานเชื่อมแก๊สโดยไม่เติมลวดเชื่อมใน
ต าแหน่งท่าราบ



5. งานแล่นประสาน 2 6 8
5.1 ความหมายของการแล่นประสาน
5.2 เครื่องมือและอุปกรณ์แล่นประสาน
5.3 วัสดุที่ใช้แล่นประสาน

5.4 ลักษณะของรอยต่อ
5.5 ข้อดีของการแล่นประสาน
5.6 ล าดับขั้นตอนของการแล่นประสาน

ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียน

เวลาเรียน (ชั่วโมง)
หน่วยที่ ชื่อหน่วย/บทเรียน/หัวข้อการเรียน
ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม

6. งานเชื่อมไฟฟ้า 4 12 16

6.1 ความหมายของการเชื่อมไฟฟ้า
6.2 เครื่องมือและอุปกรณ์การเชื่อมไฟฟ้า
6.3 ชนิดเครื่องเชื่อมไฟฟ้า
6.4 ลวดเชื่อมเปลือยและลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์

6.5 การเลือกใช้ลวดเชื่อมไฟฟ้า
6.6 องค์ประกอบของการเชื่อมไฟฟ้า
6.8 การเริ่มต้นอาร์ก
6.9 การเดินแนวเชื่อม

6.10 ปฏิบัติการเชื่อมไฟฟ้าเชื่อมจุดหาระยะอาร์ก
6.11 ปฏิบัติการเชื่อมไฟฟ้าเริ่มต้นอาร์กและเดินแนวช่วง
สั้นๆ
6.12 ปฏิบัติการเชื่อมไฟฟ้าเดินแนวท่าราบ

6.13 ปฏิบัติการเชื่อมไฟฟ้าการเชื่อมพอกทับแนวเดิม



7. งานโลหะแผ่น 3 9 12
7.1 ความปลอดภัยในงานโลหะแผ่น
7.2 เครื่องมืออุปกรณ์ในงานโลหะแผ่น

7.3 เครื่องมือ (Hand Tool )
7.4 การท าตะเข็บและขอบงาน
7.5 ปฏิบัติการตัดตรง

7.6 การตัดโค้งด้วยกรรไกร
7.7 ปฏิบัติการพับขอบและการเข้าตะเข็บ
7.8 ปฏิบัติการพับตะเข็บสองชั้น
7.9 ปฏิบัติการท ากล่องสี่เหลี่ยม


8. ตะเข็บงานและงานบัดกรี 1 3 4

8.1 ความหมายของการบัดกรีอ่อน
8.2 โลหะประสาน
8.3 น้ าประสาน
8.4 ขั้นตอนการบัดกรีอ่อน

8.5 การย้ าหมุด

ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียน

เวลาเรียน (ชั่วโมง)
หน่วยที่ ชื่อหน่วย/บทเรียน/หัวข้อการเรียน
ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม

9. การเขียนแบบแผ่นคลี่ 1 6 8

9.1 การเขียนแบบแผ่นคลี่
9.2 การเขียนแบบแผ่นคลี่อย่างง่าย
9.3 การเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยเส้นรัศมี
9.4 การเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยเส้นขนาน

9.5 การเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยเส้นสามเหลี่ยม

ชื่อเรื่องและงาน สมรรถนะที่พึงประสงค์

ชื่อหน่วยการเรียน สมรรถนะการเรียนรู้


1. ความปลอดภัยในงานเชื่อมและโลหะแผ่น 1. บอกกฎระเบียบความปลอดภัยได้ถูกต้อง
1.1 ความปลอดภัยในงานเชื่อมแก๊ส 2. บอกวิธีการป้องกันอันตรายจากการเชื่อมและโลหะ
1.2 ความปลอดภัยในงานเชื่อมไฟฟ้า แผ่นได้ถูกต้อง
1.3 ความปลอดภัยในงานโลหะแผ่น 3. บอกประเภทของการเชื่อมโลหะได้


2. กระบวนการเชื่อม
2.1 หลักการเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดหุ้มฟลักซ์ 1. บอกกรรมวิธีการเชื่อมไฟฟ้าและการเชื่อมแก๊สได้

2.2 เครื่องเชื่อมตามลักษณะพื้นฐาน ถูกต้อง
2.3 เครื่องเชื่อมไฟฟ้า 2. อธิบายหลักการเชื่อมไฟฟ้าได้ถูกต้อง
3. อธิบายถึงหลักการเชื่อมแก๊สได้ถูกต้อง


3. ต าแหน่งงานเชื่อมและลักษณะรอยต่อ

3.1 ท่าเชื่อม 1. บอกลักษณะต าแหน่งท่าเชื่อมได้ถูกต้อง
3.2 รอยต่อและชนิดของรอยต่อ 2. บอกชนิดรอยต่อที่ใช้ในงานเชื่อมได้ถูกต้อง
3.3 การบากร่องรอยต่อ 3. สามารถใช้รอยต่อกับงานเชื่อมได้ถูกต้อง


4. งานเชื่อมแก๊ส

4.1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในการเชื่อมแก๊ส 1. อธิบายหลักการเชื่อมแก๊สได้ถูกต้อง
4.2 เปลวไฟในการเชื่อมแก๊ส 2. บอกเชื่อมเครื่องมือและอุปกรณ์เชื่อมแก๊สได้ถูกต้อง

4.3เทคนิคการเชื่อมแก๊ส 3. ปฏิบัติงานเชื่อมแก๊สได้ถูกต้อง
4.4 ปฏิบัติการปรับเปลวไฟในการเชื่อม
4.5 ปฏิบัติการงานเชื่อมแก๊สโดยไม่เติมลวด
เชื่อมในต าแหน่งท่าราบ


5. งานแล่นประสาน

5.1 ความหมายของการแล่นประสาน 1. บอกหลักการแล่นประสานได้ถูกต้อง
5.2 เครื่องมือและอุปกรณ์แล่นประสาน 2. สามารถใช้เครื่องมือได้อย่างถูกต้อง
5.3 วัสดุที่ใช้แล่นประสาน 3. ปฏิบัติงานแล่นประสานได้ถูกต้อง

5.4 ลักษณะของรอยต่อ
5.5 ข้อดีของการแล่นประสาน
5.6 ล าดับขั้นตอนของการแล่นประสาน

ชื่อเรื่องและงาน สมรรถนะที่พึงประสงค์

ชื่อหน่วยการเรียน สมรรถนะการเรียนรู้
6. งานเชื่อมไฟฟ้า
6.1 ความหมายของการเชื่อมไฟฟ้า 1. สามารถติดตั้งเครื่องเชื่อมได้ถูกต้อง
6.2 เครื่องมือและอุปกรณ์การเชื่อมไฟฟ้า 2. สามารถบอกชื่อเครื่องมือและอุปกรณ์เชื่อมไฟฟ้าได้

6.3 ชนิดเครื่องเชื่อมไฟฟ้า ถูกต้อง
6.4 ลวดเชื่อมเปลือยและลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ 3. ปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟ้าได้ถูกต้อง
6.5 การเลือกใช้ลวดเชื่อมไฟฟ้า

6.6 องค์ประกอบของการเชื่อมไฟฟ้า
6.8 การเริ่มต้นอาร์ก
6.9 การเดินแนวเชื่อม
6.10 ปฏิบัติการเชื่อมไฟฟ้าเชื่อมจุดหาระยะ

อาร์ก
6.11 ปฏิบัติการเชื่อมไฟฟ้าเริ่มต้นอาร์กและ
เดินแนวช่วงสั้นๆ
6.12 ปฏิบัติการเชื่อมไฟฟ้าเดินแนวท่าราบ

6.13 ปฏิบัติการเชื่อมไฟฟ้าการเชื่อมพอก
ทับแนวเดิม


7. งานโลหะแผ่น
7.1 ความปลอดภัยในงานโลหะแผ่น 1. บอกชื่อเครื่องมือและอุปกรณ์งานโลหะแผ่นได้ถูกต้อง
7.2 เครื่องมืออุปกรณ์ในงานโลหะแผ่น 2. ใช้เครื่องมืองานโลหะแผ่นได้ถูกต้อง
7.3 เครื่องมือ (Hand Tool ) 3. ปฏิบัติงานโลหะแผ่นได้ถูกต้อง

7.4 การท าตะเข็บและขอบงาน
7.5 ปฏิบัติการตัดตรง
7.6 การตัดโค้งด้วยกรรไกร

7.7 ปฏิบัติการพับขอบและการเข้าตะเข็บ
7.8 ปฏิบัติการพับตะเข็บสองชั้น
7.9 ปฏิบัติการท ากล่องสี่เหลี่ยม

ชื่อเรื่องและงาน สมรรถนะที่พึงประสงค์

ชื่อหน่วยการเรียน สมรรถนะการเรียนรู้
8. ตะเข็บงานและงานบัดกรี
8.1 ความหมายของการบัดกรีอ่อน 1. บอกชื่อตะเข็บและขอบงานได้ถูกต้อง
8.2 โลหะประสาน 2. บอกชื่อเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในงานโลหะแผ่นได้

8.3 น้ าประสาน ถูกต้อง
8.4 ขั้นตอนการบัดกรีอ่อน 3. สามารถปฏิบัติงานบัดกรีได้ถูกต้อง
8.5 การย้ าหมุด


9. การเขียนแบบแผ่นคลี่
9.1 การเขียนแบบแผ่นคลี่ 1. อธิบายการเขียนแบบแผ่นคลี่แบบต่างๆได้ถูกต้อง

9.2 การเขียนแบบแผ่นคลี่อย่างง่าย 2. บอกลักษณะของแผ่นคลี่แบบต่างๆได้ถูกต้อง
9.3 การเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยเส้นรัศมี 3. สามารถเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นขนานได้ถูกต้อง
9.4 การเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยเส้นขนาน
9.5 การเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยเส้น

สามเหลี่ยม

การประเมินผลรายวิชา

รายวิชานี้แบ่งเป็น 9 หน่วยการเรียนรู้ แยกได้เป็น 18 รายสัปดาห์ การวัดและประเมินผลรายวิชาจะ
ด าเนินการ ดังนี้

1. วิธีการด าเนินการรวบรวมข้อมูลเพื่อการประเมินผลแยกเป็น 3 ส่วน โดยแบ่งแยกคะแนนแต่ละ

ส่วนจากคะแนนเต็มทั้งรายวิชา 100 คะแนน ดังนี้
1.1 การทดสอบความรู้โดยใช้ใบงานประจ าแต่ละหน่วย 50 คะแนนหรือคิดเป็น 50 %

1.2 การสอบปลายภาค 30 คะแนนหรือคิดเป็น 30%
1.3 พิจารณาจากกิจนิสัย ความตั้งใจและการเข้าร่วมกิจกรรม 20 คะแนนหรือคิดเป็น 20 %


2. เกณฑ์ผ่านรายวิชา

ผู้ที่จะผ่านรายวิชานี้จะต้อง

2.1 คะแนนงานระหว่างภาคเรียนรวมกับคะแนนกิจนิสัยต้องไม่ต่ ากว่า 50 คะแนน
2.3 มีเวลาเข้าเรียนและเวลาเข้าร่วมกิจกรรมไม่ต่ ากว่า 80% ของเวลาเรียนทั้งหมด



3. เกณฑ์ค่าระดับคะแนน
3.1 พิจารณาเกณฑ์ผ่านรายวิชาตามข้อ 2 ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์จะได้รับค่าระดับคะแนน 0

3.2 ผู้ที่ผ่านเกณฑ์ข้อ 2 จะได้ค่าระดับคะแนนตามเกณฑ์ ดังนี้
คะแนน 80 - 100 ได้ 4

คะแนน 75 - 79 ได้ 3.5
คะแนน 70 - 74 ได้ 3

คะแนน 65 - 69 ได้ 2.5

คะแนน 60 - 64 ได้ 2
คะแนน 55 - 59 ได้ 1.5

คะแนน 50 - 54 ได้ 1
คะแนน 0 - 49 ได้ 0

แผนการสอนหน่วยที่ 1








ความปลอดภัยในงานเชื่อมและโลหะแผ่น

แผนการสอนหน่วยที่ 1


วิชา งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น รหัส 2100 - 1005 สัปดาห์ที่ 1

ชื่อหน่วย ความปลอดภัยในงานเชื่อมและโลหะแผ่น รายการที่สอน จ านวน 2 ชั่วโมง
ผู้สอน นายขันติ สุมังสะ


หัวข้อเรื่องและงาน
1. ความปลอดภัยในงานเชื่อมแก๊ส

2. ความปลอดภัยในงานเชื่อมไฟฟ้า
3. ความปลอดภัยในงานโลหะแผ่น


สมรรถนะรายวิชา
1. บอกกฎระเบียบความปลอดภัยได้ถูกต้อง
2. บอกวิธีการป้องกันอันตรายจากการเชื่อมและโลหะแผ่นได้ถูกต้อง

3. บอกประเภทของการเชื่อมโลหะได้

สาระส าคัญ

ในวงการอุตสาหกรรม งานเชื่อมเป็นขบวนการขึ้นรูปที่ส าคัญ และ ใช้กันอย่างกว้างขวาง โดยมี
หลักการ คือ การให้ความร้อนหรือแรงกดร่วมกันแก่บริเวณเชื่อมจนกระทั่งโลหะนั้นหลอมละลายประสานเป็น

เนื้อเดียวกัน โดยใช้เนื้อของโลหะที่จะน ามาต่อประสานกันโดยตรง หรือใช้ลวดเชื่อมเติม ลงในแนวเชื่อมก็ได้
และในการปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในขณะที่ท างานและจัดให้มีสภาพการท างานที่ดี เพียงเท่านี้

มิได้ช่วยให้เกิดอุบัติเหตุลดลงได้ เลย ถ้าหากไม่ได้เน้นถึงตัวผู้ปฏิบัติงานด้วย เพราะจากสถิติของบริษัทหลายๆ

แห่งจะแสดงให้เห็นว่าอันตรายที่เกิดขึ้นกับบุคคลนั้น ส่วนมากจะเกิดจากความประมาทและการละเลยที่จะ
ปฏิบัติตามกฎของความปลอดภัยของตัวผู้ปฏิบัติงานเอง ท าให้งานผลิตหยุด ชะงักแล้ว ยังจะต้องเสียค่า

รักษาพยาบาลเพิ่มอีกด้วยจึงจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องป้องกันมิให้เกิดขึ้น

ล าดับขั้นการสอน

1. ขั้นน า (Motivation)

2. ขั้นสอน (Information)
3. ขั้นประกอบกิจกรรมการเรียน (Application)

4. ขั้นสรุปผล (Progress)



1. ขั้นน า (Motivation)
กิจกรรมของครู กิจกรรมของนักเรียน


ชี้แจงการเรียนในวิชางานเชื่อมและโลหะแผ่น ฟังการชี้แจงและซัก-ถาม ในรายละเอียดในการ
เบื้องต้นเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาที่เรียนที่ต้องเรียนใน 1 วัดผลประเมินผลทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ ซัก-ถาม
ภาคเรียน (18 สัปดาห์)ว่าประกอบไปด้วยหน่วย เกณฑ์การประเมินผล
เรียน ทั้งหมด 9 หน่วย คือ

1. ความปลอดภัยในงานเชื่อมและโลหะแผ่น
2. กระบวรการเชื่อม
3. ต าแหน่งงานเชื่อมและลักษณะรอยต่อ

4. งานเชื่อมแก๊ส
5. งานแล่นประสาน
6. งานเชื่อมไฟฟ้า
7. งานเชื่อมแก๊ส
8. ตะเข็บงานและงานบัดกรี

9. การเขียนแบบแผ่นคลี่
ในแต่ละหน่วยประกอบด้วยส่วนที่เป็นด้านความรู้
ทักษะ เจตคติและลักษณะอันพึงประสงค์ และการ

วัดผลในส่วนของการปฏิบัติ ชี้แจงเกณฑ์การวัด และ
ประเมินผล

2. ขั้นสอน (Information)
กิจกรรมของครู กิจกรรมของนักเรียน


อธิบายสาเหตุที่จะเกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติงาน - ฟังการอธิบาย

อธิบายอุบัติเหตุจากสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน - ถามและตอบ
อธิบายอุบัติเหตุจากเครื่องจักร เครื่องมืออุปกรณ์ - ตอบค าถามจากภาพ
อธิบายผลกระทบที่เกิดจากอุบัติเหตุหลักการรักษา
ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม
อธิบายหลักการรักษาความปลอดภัยในงาน

อุตสาหกรรม


3. ขั้นประกอบกิจกรรมการเรียน (Application)

กิจกรรมของครู กิจกรรมของนักเรียน


ให้นักเรียนท าแบบทดสอบความรู้ นักเรียนท าแบบทดสอบความรู้






4. ขั้นสรุปผล (Progress)
กิจกรรมของครู กิจกรรมของนักเรียน


น าอภิปรายสรุปสาระส าคัญที่เรียนมา นักเรียนอภิปรายและสรุปร่วมกันครู

งานที่มอบหมายหรือกิจกรรม
ก่อนเรียน

1. เช็คชื่อนักศึกษา
2. ตกลงกติกาในการเรียนวิชางานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น

3. เกณฑ์การให้คะแนน
ขณะเรียน

1. เข้าสู่บทเรียนโดยการถามตอบเกี่ยวกับความปลอดภัยในงานเชื่อม
2. บรรยายเนื้อหาและให้ศึกษา ค้นคว้า เนื้อหาที่จะต้องเรียน จากใบความรู้ที่แจกให้
3. อาจารย์และนักศึกษาช่วยกันสรุปเนื้อหา
หลังเรียน

1. ท าแบบฝึกหัด
2. เฉลยแบบฝึกหัด (เก็บคะแนน)


สื่อการเรียนการสอน

1. หนังสืองานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น
2. ใบแบบฝึกหัด
3. ใบความรู้


การประเมินผล
ก่อนเรียน

- ศึกษาใบความรู้และใบงานที่มอบหมายให้
ขณะเรียน
- สาธิต
- ถามตอบ

- ท าแบบฝึกหัด
หลังเรียน
- ตรวจความถูกต้องในการปฏิบัติงาน
- ตรวจงานเก็บคะแนน

วิชา งานเชื่อมและโลหะแผ่น รหัสวิชา

เบื้องต้น ใบความรู้ 2100 - 1005
เรื่อง ความปลอดภัยในงานเชื่อม สัปดาห์ที่ 1 แผ่นที่ 1

และโลหะแผ่น


หน่วยที่ 1

ความปลอดภัยในงานเชื่อมและโลหะแผ่น


ประวัติการเชื่อมโลหะ
ตามประวัติศาสตร์โลหะชนิดแรกที่มนุษย์น ามาใช้ก็ คือ ทองแดง เนื่องจากมีการขุดพบในอียิปต์ว่ามีการ
การเริ่มต้นอาร์ค การเชื่อมเดินแนว ต่อมุม ต่อตัวที ท่าราบ การเขียนแบบแผ่นคลี่ลงบนแผ่นงาน การท า
ตะเข็บ การบัดกรี การขึ้นรูปด้วยการพับ ตัด เคาะขึ้นขอบ การม้วนและ การประกอบเป็นชิ้นงาน โดยใช้

อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลถูกต้องตามหลักของความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ใช้เครื่องมือเครื่องใช้ที่ท าด้วยทองแดงซึ่งมีอายุราว 4,000 ปี โดยมีการท าโลหะให้ติดกันด้วยการตีและการ
พับตะเข็บ ต่อมาในทศวรรษที่ 18 เริ่มมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม แบบดั้งเดิมมาเป็นอุตสาหกรรมสมัยในปี

ค.ศ. 1801 เซอร์ ฮัมฟรี เดวี เป็นผู้ค้นพบว่าการอาร์คจะเกิดขึ้นระหว่างขั้วทั้งสองของวงจรไฟฟ้าต่อมาในปี
ค.ศ.1888 Slavianoff ชาวรัสเซีย ได้น ารวดเชื่อมเปลือยมาใช้เป็นครั้งแรก ซึ่งงานเชื่อมยังมีปัญหา
มากมาย จนมาถึงปี ค.ศ. 1921 สโตร์เมนเจอร์
ชาวอังกฤษ ได้ผลิตลวดเชื่อมหุ้มฟลั๊กซ์ที่ใช้เชื่อมได้อย่างสมบรูณ์แบบและได้มีการพัฒนามาจนถึงปัจจุบัน


ในด้านการเชื่อมแก๊สได้มีการพัฒนามาพร้อมกับการเชื่อมไฟฟ้า
กระบวนกรเชื่อมโลหะ

การเชื่อมโลหะ คือ กรรมวิธีการต่อโลหะให้ติดกัน โดยการให้ความร้อนหรือแรงกด หรือทั้งความ
ร้อนและแรงกดร่วมกันแก่บริเวณเชื่อมจนกระทั่ง
โลหะนั้นหลอมละลายประสานเป็นเนื้อเดียวกัน โดยใช้เนื้อของโลหะที่จะน ามาเชื่อมต่อประสานกันโดยตรง
หรือใช้ลวดเชื่อม เติมลงในแนวเชื่อมก็ได้ ความร้อนที่ให้แก่ชิ้นงานอาจได้จากพลังงานเคมี พลังงานไฟฟ้า

พลังงานกล พลังงานคลื่นเสียงหรือพลังงานแสงขึ้นอยู่กับวิธีการเชื่อมที่แตกต่างกันไป

การเชื่อมที่นิยมน ามาใช้กันมีดังนี้

1. การเชื่อมแบบหลอมละลาย เป็นการเชื่อมประสานโลหะให้ติดกันโดยการให้ความร้อนแก่ชิ้นงานจน
ชิ้นงานหลอมละลายประสานตัวติดเป็นชิ้นเดียวกัน ความร้อนอาจจะได้จากการอาร์คหรือกรเผาไหม้จาก
แก๊สเชื้อเพลิงกับออกซิเจน ความร้อนจากการอาร์คจะรวมถึงวิธีการ ซึ่งอิเล็กโทรดเกิดจากการอาร์คด้วย
ตัวเอง แล้วหลอมละลายเป็นแนวเชื่อมพร้อมเนื้อชิ้นงาน และรวมถึงวิธีที่อิเล็กโทรดท าให้เกิดการอาร์คเพียง
อย่างเดียวแล้วใช้ลวดเชื่อมเป็นตัวหลอมละลายเติมลงไปในแนวเชื่อม

2. การเชื่อมแบบใช้แรงกด เป็นการเชื่อมโดยใช้แรงกดดันเข้าช่วย โดยขณะที่ชิ้นงานได้รับความร้อน
เกือบหลอมละลาย หรืออยู่ในภาวะพลาสติก แล้วใช้แรงกดจนชิ้นงานประสานเป็นเนื้อเดียวกัน ซึ่งได้แก่

การเชื่อมต่อเหล็กของช่างตีมีด การเชื่อมจุด การเชื่อมตะเข็บแบบต่อเกย

วิชา งานเชื่อมและโลหะแผ่น รหัสวิชา

เบื้องต้น ใบความรู้ 2100 - 1005
เรื่อง ความปลอดภัยในงานเชื่อม สัปดาห์ที่ 1 แผ่นที่ 2

และโลหะแผ่น


ความปลอดภัยในงานเชื่อมแก๊ส

- ถ้าเป็นการเชื่อมในห้องสิ่งที่ต้องค านึงถึงคือ ห้องนั้นมีการระบายอากาศพอเพียงหรือไม่ถ้ามีควันที่เกิด
จากการเชื่อมมีอากาศบริสุทธ์หรือการหายใจสะดวกหรือไม่ โดยทั่วไปของพื้นที่ของห้องที่เพียงพอต่อการ
ระบายอากาศจะมีพื้นที่ 10000 ลูกบาศก์ฟุต หรือ283 ลูกบาศก์เมตร ต่อช่างเชื่อม 1 คน ในขณะเดียวกันห้อง
นั้นต้องควบคุมความสูง 16 ฟุต หรือ 4.9 เมตร

- จ าเป็นต้องมีการระบายอากาศอยู่เสมอเมื่อท าการเชื่อมโลหะบางประเภท เช่น สังกะสี ตะกั่ว
เบริลเลียม แคดเมียม ปรอท ทองแดง หรือโลหะที่ท าการเชื่อมแล้วเกิดควันพิษ ซึ่งจะ
ท าให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้

- การเก็บรักษาท่อแก๊ส หรือการน าท่อแก๊สมาใช้งานควรใช้โซ่คล้องแล้วยึดติดกับผนังเพื่อไม่ให้ท่อล้ม
เมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้น
- การเก็บรักษาท่อแก๊สและการใช้งานควรห่างจากสารติดไฟไม่น้อยกว่า 25 ฟุต หรือ 7.6 เมตร

- การเก็บรักษาท่อแก็สและท่อออกซิเจนควรที่จะแยกออกจากกัน โดยมีก าแพงกั้นกลางมีความสูงอย่าง
น้อย 5 ฟุต หรือ 1.5 เมตร
- ห้องที่ใช้ท าการเก็บแก๊ส อะเซทิลีน ต้องมีช่องระบายอากาศและที่ประตูต้องมีค าเตือนห้ามน า

เชื้อเพลิงหรือไฟเข้าใกล้
- การเคลื่อนย้ายท่อแก๊สต้องสวมฝาครอบป้องกันวาล์วเสมอเพื่อป้องกันไม่ให้วาล์วกระแทกจนแตกหรือ
บิ่น เมื่อขนส่งด้วยรถบรรทุกหรือรถเทลเลอร์
- กรณีที่ท่อแก๊สรั่ว ต้องรีบน าท่อแก๊สออกจากอาคารหรือพื้นที่ ที่ท างานไปใว้ในที่โล่งแจ้งที่อากาศ

ระบายได้ดี ในขณะเดียวกันควรน าป้ายบอกเตือนเพื่อไม่ให้ผู้อื่นสูบบุหรี่ หรือท าให้เกิดประกายไฟบริเวณที่แก๊ส
รั่วถ้าวางท่อแก๊สอะเซทิลีนในต าแหน่งแนวนอนนานๆ หรือน าท่อตั้งขึ้นแล้วใช้งานทันทีสารอะซิโตนจะเคลื่อน
ตัวออกมาจากท่อ สารอะซิโตนที่เคลื่อนตัวออกมาจากท่อจะท าให้เปลวไฟมีอุณหภูมิต่ ากว่าปกติและท าความ

เสียหายต่อมาตรวัดความดัน ( Regulator ) หรือบริเวณลิ้นเปิดปิด ( Valve ) ของกระบอกเชื่อม( Torch )
ถ้าการเคลื่อนย้ายจ าเป็นต้องวางท่อในลักษณะแนวนอน เมื่อจะใช้งานควรน าตั้งขึ้นและมีระยะเวลาเพื่อให้
สารอะซิโตนเข้าที่หรือจัดระเบียบตัวเองระยะเวลาหนึ่ง จึงจะใช้งานได้อย่างปลอดภัย
- ก่อนท าการเชื่อมต้องสังเกตพื้นที่เสียก่อนว่ามีถังแก๊สถังสี หรือกาน้ ามันอยู่ในบริเวณพื้นที่เชื่อมหรือไม่

เพราะถ้ามีประกายไฟอาจกระเด็นไปถูกท าให้น้ ามันหรือแก๊สลุกติดไฟได้
- ภายในโรงงานต้องมีอุปกรณ์ดับเพลิง สามารถที่จะหยิบได้ง่ายเมื่อเกิดเพลิงไหม้และควรติดตั้งไว้สูง
จากพื้นที่ประมาณ 1- 1.5 เมตร

- การใช้อุปกรณ์ดับเพลิงนั้นควรใช้สลักบริเวณไกล ใช้มือเหนี่ยวไกพร้อมทั้งพ้นน้ ายาดับเพลิงไปที่วัสดุที่
ก าลังลุกไหม้ ไม่ใช่พ่นไปที่เปลวไฟ
- ช่างเชื่อมที่จะท าการเชื่อมควรที่จะท าการพึงสังวรอยู่ตลอดเวลาว่าชุดปฏิบัติงานที่ท าการสวมใส่อยู่นั้น

จะต้องไม่เปื้อนน้ ามันเพราะถ้าเปื้อนน้ ามันจะมีโอกาสติดไฟมากกว่าชุดที่สะอาด

วิชา งานเชื่อมและโลหะแผ่น รหัสวิชา

เบื้องต้น ใบความรู้ 2100 - 1005
เรื่อง ความปลอดภัยในงานเชื่อม สัปดาห์ที่ 1 แผ่นที่ 3

และโลหะแผ่น

- อย่าท าการเชื่อมใกล้ถังแก๊ส เพราะความร้อนจากการเชื่อมจะท าให้แก๊สที่อยู่ภายในถังเกิดการ

ขยายตัว และอาจเกิดการระเบิดได้

- อย่าหยอกล้อกันขณะที่ท าการเชื่อม หรือน าเปลวไฟหรือน าเปลวไฟมาหยอกล้อกัน เพราะอาจเกิด
อันตรายได้เมื่อไม่สามารถควบคุมเปลวไฟได้

- อย่าน าแก๊สอะเซทิลีนไปใช้โดยที่ไม่มีมาตรวัดความดันและคอยตรวจสอบความดันขณะใช้งาน

- ควรใส่แว่นตากรองแสงขณะที่ท าการเชื่อมและไม่ควรใช้สายแก๊สพาดไหล่เพราะถ้ามีแก๊สรั่วอาจ

ถูกไฟไหม้ได้

- ไม่ควรมุดเข้าไปเชื่อมท่อที่มีพื้นที่แคบๆ เพราะจะหนีออกมาได้ช้า หรือออกมาไม่ได้เลยในกรณีที่

เกิดไฟไหม้

ความปลอดภัยในงานเชื่อมไฟฟ้า
ในงานเชื่อมไฟฟ้าเป็นงานเชื่อมที่ต้องมีความระมัดระวังอย่างมากเพราะว่าเป็นงานเชื่อมที่มีกระแสไฟฟ้า
เข้ามาเกี่ยวข้องกันด้วย จะท าให้เกิดเป็นอันตรายได้ถ้าผู้ที่ปฏิบัติงานขาดความระมัดระวังและไม่มีการศึกษา
เกี่ยวกับข้อมูลในการใช้เครื่องมาก่อนก่ออาจท าให้เกิดอันตรายขึ้นเช่นกัน

อันตรายที่เกิดจากการเชื่อมไฟฟ้า
การปฏิบัติงานเชื่อมผู้ปฏิบัติงานอาจได้รับอันตรายได้ผู้ที่ปฏิบัติงานจะต้องระมัดระวังไม่ให้อุบัติเหตุเกิดขึ้น
ฉะนั้นช่างเชื่อมจะต้องศึกษาและสังเกตวิธีการป้องกันจากผู้รู้ คู่มือ หรือหน่วยงานป้องกันอุบัติภัย ผู้ร่วมงาน
ในหน่วยงานจะต้องมีความจะต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันอุบัติเหตุ โดยจะต้องมีความพร้อมที่จะ

แก้ไขเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงที และถ้าอุบัติเหตุขึ้นก็ต้องสามารถท าการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บได้
อันตรายที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าท าให้ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บเกิดอาการ ช๊อกและมีอันตรายถึงชีวิตได้รังสี
จากการอาร์คท าให้ผิวไหม้ได้ และท าให้มีการระคายเคืองต่อร่างกายและดวงตา เม็ดโลหะที่มีความร้อนท าให้
ผิวหนังพุพอง ละอองน้ าและควันไฟท าให้ไม่สบายเนื่องจากระบบหายใจเป็นหวัดและเป็นอันตรายจากแก๊สพิษ

ฉะนั้นผู้ที่ท างานเป็นช่างเชื่อม
โดยจะต้องศึกษาและท าความเข้าใจเกี่ยวกับข้อควรระวัง ตลอดจนค าแนะน าต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการ
ปฏิบัติงานการใช้เครื่องเชื่อมรวมทั้งการใช้เครื่องมือประกอบอื่นๆ

วิชา งานเชื่อมและโลหะแผ่น รหัสวิชา

เบื้องต้น ใบความรู้ 2100 - 1005
เรื่อง ความปลอดภัยในงานเชื่อม สัปดาห์ที่ 1 แผ่นที่ 4

และโลหะแผ่น



ความปลอดภัยในงานโลหะแผ่น
- การเคลื่อนย้ายโลหะแผ่นบางจะต้องสวมถุงมือทุกครั้ง มิฉะนั้นขอบของโลหะแผ่นอาจบาดมือ
- การเคลื่อนย้ายโลหะแผ่นควรยกในแนวตั้ง เพราะถ้ายกในแนวนอนโลหะจะห้อยตัวลงและต้องใช้พื้นที่ใน
การเคลื่อนย้ายกว้าง

- ในการใช้เครื่องพับต้องแน่ใจว่าไม่มีผู้อยู่ในรัศมีการเคลื่อนไหวของชิ้นส่วนของเครื่องจักร
- ไม่ควรใช้กรรไกรมือตัดงานโลหะแผ่นที่มีความหนามาก เพราะการใช้แรงบีบจากมือมากจะท าให้ความ

ปลอดภัยลดลง
- ไม่ควรน าบรรทัดเหล็กไปใช้งัดอุปกรณ์อื่น เช่น กระป๋องสี

- ไม่ควรใช้เหล็กถ่ายแบบแทนเหล็กน าศูนย์
- ไม่ควรใช้กรรไกรตัดลวดหรือแผ่นโลหะที่แข็งเกินไป
- อย่าใช้กรรไกรเคาะ หรือตีแผ่นโลหะ ขณะตัดแล้วเกิดรอยเยิน ควรเปลี่ยนมาใช้ค้อนแทน
- เหล็กขีดทื่อไม่ควรเจียระไน เพราะความแข็งที่ชุบไว้จะหมดไป ควรลับให้แหลมคมดังเดิมด้วยหินลับ

- แผ่นโลหะจะมีรอยเยิน ครีบ และความคมอันเกิดจากการตัด ควรใช้ตะไปแต่งลบคม


สรุป
ในการปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟ้าหรืองานเชื่อมแก๊สทุกครั้ง ผู้ปฏิบัติงานจะต้องมีการตรวจเช็คอุปกรณ์ป้องกัน

อันตรายจากการเชื่อมทุกครั้ง ไม้ว่าจะเป็นอุปกรณ์ที่ติดมากับตัวเครื่อง หรืออุปกรณ์ป้องกันความปลอดส่วน
บุคคลต่างๆ ที่จะต้องน ามาใช้ว่ามีอยู่ครบหรือไม่ และจะต้องท าการตรวจสอบสภาพของเครื่องเชื่อมทุกครั้งว่า
อยู่ในสภาพที่พร้อมที่จะใช้งานหรือไม่ ถ้ามีการช ารุดเกิดขึ้นก็ไม่ควรที่จะน ามาใช้งาน และควรน าไปซ่อมแซม

ทันที และควรปฏิบัติงานเชื่อมตามข้อปฏิบัติของครูผู้สอนอย่างเคร่งครัด และจะต้องมีการดูแลของผู้ควบคุม
การปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกันอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นได้

วิชา งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น จ านวน 20 นาที

เรื่อง ความปลอดภัยในงานเชื่อมและ แบบประเมินผลการเรียน
โลหะแผ่น แผ่นที่ 1


ค าสั่ง ตอนที่ 1 ให้นักเรียนจับคู่รูปภาพกับข้อความที่เหมาะสมดังต่อไปนี้

1.


ส่วนที่เคลื่อนไหวได้อาจท้าให้ได้รับบาดเจ็บ







2.


อย่าเชื่อมงานกลางสายฝนหรือบนพื้นที่นองน้้า

เพราะกระแสไฟฟ้าอาจลัดวงจรเป็นอันตราย

กับผู้เชื่อมได้

3.



ไม่ควรใช้กรรไกรตัดลวดหรือแผ่นโลหะที่แข็ง


เกินไป


4.





ควรใส่แว่นตากรองแสงขณะท้าการเชื่อม



5.





การเคลื่อนย้ายโลหะแผ่นบางจะต้องสวมถุงมือ


ทุกครั้ง

วิชา งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น จ านวน 20 นาที

เรื่อง ความปลอดภัยในงานเชื่อมและ แบบประเมินผลการเรียนรู้
โลหะแผ่น แผ่นที่ 2



ตอนที่ 2 ค าชี้แจง ท าเครื่องหมาย หน้าข้อความที่ถูกต้อง และเครื่องหมาย


_______ 1. เมื่อต้องการซ่อมเครื่องเชื่อมไฟฟ้า ควรให้เครื่องหยุดท างานก่อน
_______ 2. การท างานเชื่อมในห้องเล็กๆ ในถ้ า ในท่อ ในบ่อ หรือถัง ควรมีอากาศถ่ายเทได้ตลอดเวลา
_______ 3. ในการเปลี่ยนลวดใหม่ สามารถใช้มือเปล่าจับลวดใส่หัวจับได้เลย

_______ 4. ขณะท าการเชื่อมไฟฟ้า ผู้เชื่อมไม่จ าเป็นต้องถอดเครื่องประดับ เช่น แหวน นาฬิกา เป็นต้น ออก
_______ 5. การเชื่อมในสถานที่สูงๆ ควรใช้เข็มขัดนิรภัยช่วยทุกครั้ง
_______ 6. การเคลื่อนย้ายโลหะแผ่นบางไม่จ าเป็นต้องสวมถุงมือทุกครั้ง
_______ 7. ในการใช้เครื่องพับต้องแต่ใจว่าไม่มีผู้อื่นอยู่ในรัศมีการเคลื่อนไหวของชิ้นส่วนของเครื่องจักร
_______ 8. การตัดโลหะแผ่นที่มีความหนามากควรจะน ากรรไกรมือมาตัด เนื่องจากมีแรงบีบจากมือมาก

_______ 6. เหล็กถ่ายแบบสามารถท าหน้าที่แทนเหล็กน าศูนย์ได้
_______ 7. ขณะตัดโลหะแผ่นแล้วเกิดรอยเยิน ควรใช้ค้อนทุบหรือใช้กรรไกรเคาะก็ได้

วิชา งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น จ านวน 20 นาที
เฉลยแบบประเมินผลการเรียน
เรื่อง ความปลอดภัยในงานเชื่อม แผ่นที่ 1


ค าสั่ง ตอนที่ 3 ให้นักเรียนจับคู่รูปภาพกับข้อความที่เหมาะสมดังต่อไปนี้

1.




ส่วนที่เคลื่อนไหวได้อาจท้าให้ได้รับบาดเจ็บ





2.

อย่าเชื่อมงานกลางสายฝนหรือบนพื้นที่นองน้้า

เพราะกระแสไฟฟ้าอาจลัดวงจรเป็นอันตราย

กับผู้เชื่อมได้

3.


ไม่ควรใช้กรรไกรตัดลวดหรือแผ่นโลหะที่แข็ง


เกินไป



4.



ควรใส่แว่นตากรองแสงขณะท้าการเชื่อม




5.

การเคลื่อนย้ายโลหะแผ่นบางจะต้องสวมถุง


มือทุกครั้ง

วิชา งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น จ านวน 20 นาที
เฉลยแบบประเมิน
เรื่อง ความปลอดภัยในงานเชื่อม แผ่นที่ 2


ตอนที่ 2 ค าชี้แจง ท าเครื่องหมาย หน้าข้อความที่ถูกต้อง และเครื่องหมาย


1. เมื่อต้องการซ่อมเครื่องเชื่อมไฟฟ้า ควรให้เครื่องหยุดท างานก่อน

2. การท างานเชื่อมในห้องเล็กๆ ในถ้ า ในท่อ ในบ่อ หรือถัง ควรมีอากาศถ่ายเทได้ตลอดเวลา

3. ในการเปลี่ยนลวดใหม่ สามารถใช้มือเปล่าจับลวดใส่หัวจับได้เลย
4. ขณะท าการเชื่อมไฟฟ้า ผู้เชื่อมไม่จ าเป็นต้องถอดเครื่องประดับ เช่น แหวน นาฬิกา เป็นต้น ออก
5. การเชื่อมในสถานที่สูงๆ ควรใช้เข็มขัดนิรภัยช่วยทุกครั้ง

6. การเคลื่อนย้ายโลหะแผ่นบางไม่จ าเป็นต้องสวมถุงมือทุกครั้ง

7. ในการใช้เครื่องพับต้องแน่ใจว่าไม่มีผู้อื่นอยู่ในรัศมีการเคลื่อนไหวของชิ้นส่วนของเครื่องจักร
8. การตัดโลหะแผ่นที่มีความหนามากควรจะน ากรรไกรมือมาตัด เนื่องจากมีแรงบีบจากมือมาก
9. เหล็กถ่ายแบบสามารถท าหน้าที่แทนเหล็กน าศูนย์ได้

10. ขณะตัดโลหะแผ่นแล้วเกิดรอยเยิน ควรใช้ค้อนทุบหรือใช้กรรไกรเคาะก็ได้

กระบวนการเชื่อม
แผนการสอนหน่วยที่ 2

แผนการสอนหน่วยที่ 2


วิชา งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น รหัส 2100 – 1005 สัปดาห์ที่ 1

ชื่อหน่วย กระบวนการเชื่อม รายการที่สอน จ านวน 2 ชั่วโมง
ผู้สอน นายขันติ สุมังสะ


หัวข้อเรื่องและงาน
1. หลักการเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดหุ้มฟลักซ์

2. เครื่องเชื่อมตามลักษณะพื้นฐาน
3. เครื่องเชื่อมไฟฟ้า


สมรรถนะรายวิชา
1. บอกกรรมวิธีการเชื่อมไฟฟ้าและการเชื่อมแก๊สได้ถูกต้อง
2. อธิบายหลักการเชื่อมไฟฟ้าได้ถูกต้อง
3. อธิบายถึงหลักการเชื่อมแก๊สได้ถูกต้อง


สาระส าคัญ
การเชื่อมโลหะด้วยไฟฟ้ามีมานานแล้ว โดยใช้ส าหรับเชื่อมซ่อมแซมชิ้นส่วนโลหะที่ช ารุดหรือประกอบ

ชิ้นส่วนเข้าด้วยกัน ซึ่งในระยะแรกนั้นคุณภาพแนวเชื่อมยังไม่ดีนัก ปัจจุบันเทคโนโลยีการเชื่อมได้ก้าวหน้าไป
มาก มีการปรับปรุงทั้งด้านกลวิธีการเชื่อมและคุณภาพของรอยเชื่อม นอกจากนั้นยังมีการคิดค้นขบวนการ
เชื่อมไฟฟ้าที่แปลกใหม่อีกมากมาย อาทิเช่น การเชื่อมแบบมิก การเชื่อมแบบทิก การเชื่อมแบบใต้ฟลักซ์ การ
เชื่อมแบบพลาสมา และอื่นๆ


Click to View FlipBook Version