The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maw.nfe, 2020-04-15 02:05:01

สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

43

3. การออกกาํ ลังกายโดยการบริหารรา งกาย โดยแสดงทาทางตาง ๆ เพื่อเปนการบริหาร
รางกาย หรือเฉพาะสวนท่ีตอ งการใหก ลามเนอ้ื กระชบั อาทิ การบริหารแบบโยคะ หรือแอ
โรบิค

หลักการออกกาํ ลังกายเพอ่ื สขุ ภาพ คอื การออกกาํ ลังกายชนดิ ทเ่ี สริมสรางความอดทนของ
ปอด หัวใจ ระบบไหลเวยี นเลือด รวมทง้ั ความแข็งแรงของกลา มเนือ้ ความออนตวั ของขอตอ ซึง่ จะ
ชวยใหรางกายแขง็ แรงสมบรู ณ สงา งาม และสขุ ภาพจิตดี

การออกกาํ ลงั กายแบบแอโรบิค เปนกจิ กรรมที่ไดร ับการยอมรับ และเปนท่ีนยิ มกนั อยาง
แพรห ลายท่ัวโลก ในดานการออกกาํ ลังกายเพื่อสขุ ภาพ (Exercise For Health) โดยยดึ หลักปฏบิ ัติงาย
ๆ ดังนี้

1. ความหนัก ควรออกกาํ ลังกาย (Intensity) ใหห นักถงึ รอ ยละ 70 ของอตั ราการเตน สูงสุด
ของหวั ใจแตล ะคน โดยคาํ นวณไดจากคา มาตรฐานเทากับ 170 ลบดว ยอายุของตนเอง
คาท่ไี ดคอื อตั ราการเตน ของหวั ใจคงทีท่ เี่ หมาะสม ท่ีตองรกั ษาระดับการเตน ของหวั ใจน้ี
ไวช วงระยะเวลาหนึ่งท่ี
ออกกําลังกาย

2. ความนาน (Duration) การออกกําลังกายอยางตอ เน่อื งนานอยา งนอ ย 20 นาที ขน้ึ ไปตอครัง้
3. ระยะผอ นคลายรางกายหลงั ฝก (Cool Down) ประมาณ 5 นาที เพอื่ ยดื เหยียดกลา มเน้ือ

และความออ นตัวของขอ ตอ รวมระยะเวลาท่อี อกกาํ ลังกายติดตอ กนั ท้ังสิน้ อยา งนอย 20 –
30 นาทีตอวัน
ผูท่อี อกกาํ ลังกายมาก หรอื เปน นกั กีฬา จะมกี ารใชพลงั งานมากกวา บคุ คลทัว่ ไป และมีการ
สญู เสยี นาํ้ และแรธาตมุ ากขนึ้ จึงควรกินอาหารทใี่ หพลงั งานอยางเพยี งพอสมดุลกับกิจกรรมทใี่ ชใ นแต
ละวัน โดยควรเพิม่ อาหารประเภท ขาว แปง ผลไม หรือนาํ้ ผลไม เพอ่ื เพ่มิ พลงั งาน และด่ืมน้ําให
เพยี งพอ ไมจําเปนตอ งกินผลิตภณั ฑเ สรมิ อาหาร หรอื ดืม่ เครอ่ื งดื่มประเภทเกลือแร และเครื่องดม่ื ชู
กําลงั

44

กจิ กรรมการเรียนรูท า ยบทที่ 2

กจิ กรรมท่ี 1
1. ใหนักศึกษาอธิบายตามความเขาใจของตนเอง ในหัวขอตอ ไปนี้

“จติ ที่สดใส ยอมอยูในรางกายท่สี มบูรณ”
2. ใหน กั ศกึ ษาฝก เขยี น แผนการวางแผนดูแลสุขภาพตนเองในเวลา 7 วัน

กิจกรรมท่ี 2
1. ประโยชนข องการออกกําลงั กายดา นตา ง ๆ ทส่ี งผลตอสขุ ภาพของมนษุ ย จาํ แนกไดด า น

อะไรบาง จงอธิบาย

กจิ กรรมท่ี 3
1. การออกกําลังกายมผี ลตอพัฒนาการของมนุษยอยา งไร จงอธิบาย
2. กอ นทจ่ี ะออกกําลงั กาย เราควรใหค าํ แนะนําผจู ะออกกาํ ลงั กายอยางไร

45

บทท่ี 3
สขุ ภาพทางเพศ

สาระสาํ คัญ
ปญ หาหาเรอ่ื งการมีเพศสมั พันธกอนวัยอันควร กําลังเปนปญหาที่นาหวงใยในกลุมเยาวชน

ไทย ดงั นนั้ การเรยี นรูในเรอ่ื งของพฤตกิ รรมทจี่ ะนาํ ไปสกู ารมีเพศสมั พันธ การถกู ลวงละเมิดทางเพศ
และการตง้ั ครรภไ มพ ึงประสงค จึงเปน เรือ่ งจําเปนที่จะไดป องกันตนเอง นอกจากน้ีการดูแลรางกาย
โดยเฉพาะระบบสบื พนั ธุกเ็ ปนเรื่องทีจ่ ะทําใหทกุ คนมสี ขุ ภาวะที่ดี สามารถปฏิบตั ไิ ดถูกตอ งก็จะไมท ํา
ใหเกิดปญหาดา นสขุ ภาพทางเพศ

ผลการเรียนรูที่คาดหวงั
1. อธิบายการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมท่ีนําไปสูการมีเพศสัมพันธ การลวงละเมิดทางเพศ การ

ต้งั ครรภทไ่ี มพึงประสงค
2. อธบิ ายวธิ กี ารดแู ลสขุ ภาพทางเพศท่ีเหมาะสมและไมท าํ ใหเ กิดปญ หาทางเพศ

ขอบขายเนอื้ หา
เรอ่ื งที่ 1 สรีระรางกายทเี่ ก่ียวขอ งกับการสืบพันธุ
เร่ืองที่ 2 การเปลย่ี นแปลงเม่อื เขาสูวยั หนมุ สาว
เรื่องท่ี 3 พฤติกรรมทีน่ าํ ไปสกู ารมเี พศสมั พนั ธ
เรอื่ งท่ี 4 สุขภาพทางเพศ

46

เรอื่ งที่ 1 สรรี ะรางกายท่เี ก่ยี วขอ งกับการสืบพันธุ

การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษยน้ัน หมายถึง การเจริญเติบโตและ
พฒั นาการทางรางกายและจิตใจควบคกู นั ไปตลอด เร่ิมต้ังแต วยั เด็ก วัยแรกรนุ วยั ผูใหญ ตามลาํ ดบั

โดยทว่ั ไปแลว การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการทางรา งกายของคนเราจะสิ้นสุดลงเมอ่ื
มอี ายุประมาณ 25 ป จากวัยน้ีอวัยวะตาง ๆ ของรางกายเริ่มเส่ือมลง จนยางเขาสูวัยชราและตายใน
ทส่ี ุด สว นการเจริญเติบโตและพฒั นาการทางจติ ใจนัน้ ไมมีขดี จาํ กัด จะเจริญเติบโตและพัฒนาเจริญ
งอกงามขึน้ เรอื่ ย ๆ จนกระท่ังเขา สูวยั ชรา

1. อวัยวะสืบพันธแุ ละสุขปฏบิ ตั ิเกย่ี วกับอวัยวะสบื พนั ธุ
การสืบพันธขุ องมนษุ ยเปน ธรรมชาติอยางหนงึ่ ทเ่ี กิดขน้ึ เพื่อดํารงไวซ่ึงเผาพันธุ การ

สืบพนั ธนุ ้ัน จาํ เปนตอ งอาศัยองคป ระกอบทส่ี ําคญั คอื เพศชายและเพศหญิง ท้งั เพศชายและเพศหญิง
ตา งก็มีโครงสรางทีเ่ ก่ียวขอ งกบั อวัยวะเพศและการสบื พนั ธุโดยเฉพาะของตน

1.1 ระบบสบื พนั ธขุ องเพศชาย
อวยั วะสบื พันธุชายสวนใหญอยูภายนอกของรา งกาย สามารถปองกันและระวังรักษา
ไมใหเ กดิ โรคตดิ ตอหรอื โรคติดเชื้อตาง ๆ ไดโดยงาย อวัยวะสืบพันธุชายมีความเกี่ยวของกับระบบ
การขบั ถายปส สาวะ เพราะวา การขับน้ําอสุจิออกจากรา งกายตอ งผานทอปสสาวะดวย อวัยวะสบื พนั ธุ
ชายประกอบดวยสวนตาง ๆ ทีส่ ําคัญดังน้ี
(1.) ตอมอัณฑะ (Testis) มีลกั ษณะและรูปรา งคลายไขไกฟองเล็ก ยาวประมาณ 4
เซนติเมตร กวางประมาณ 4 เซนติเมตร หนาประมาณ 2-3 เซนติเมตร หนักประมาณ 15-30 กรัม
อณั ฑะขา งซา ยจะใหญกวา งขางขวาเลก็ นอย ตามปกตจิ ะมีอณั ฑะอยู 2 ลกู
ภายในลูกอัณฑะมีหลอดเล็ก ๆ จํานวนมาก ขดเรียงอยูเปนตอน ๆ เรียกวา หลอด
สรา งอสุจิ (Seminiferous Tabules) มีหนาท่ีผลิตฮอรโมนเพศชายและตัวอสุจิ สวนดานหลังของตอม
อัณฑะ จะมีกลมุ ของหลอดเล็ก ๆ อกี มากมายขดไปมา เรียกวาหลอดเก็บตัวอสุจิ (Epididymis) เปนที่
เกบ็ เชอ้ื อสจุ ชิ ่วั คราว เพอ่ื ใหเชื้ออสจุ เิ จรญิ เตบิ โตไดเต็มที่
(2.) ตอ มลกู หมาก (Prostate Gland) เปนตอ มทหี่ มุ อยูรอบทอ ปสสาวะสวนใน ตรง
ดานลางของกระเพาะปสสาวะ มีหนาท่ีสรางของเหลวซ่ึงมีฤทธิ์เปนดางออน ๆ สงเขาไปในถุงเก็บ
อสจุ ิ เพอ่ื ผสมกับนํา้ เล้ยี งตวั อสจุ ิ ของเหลวนจี้ ะไปทาํ ลายฤทธิก์ รดจากน้ําเมือกในชองคลอดเพศหญิง
ปอ งกันไมใหต ัวอสุจิถูกทําลายดว ยสภาพความเปน กรด เพอ่ื ใหเกดิ การปฏิสนธิขึน้ ได
(3.) ลึงค หรือองคชาต (Penis) เปนสวนประกอบหน่ึงของอวัยวะสืบพันธุชาย ท่ี
แสดงใหเ หน็ วาเปนเพศชายอยางชัดเจน มีลักษณะย่ืนออกมา สวนปลายสุดจะมีรูปรางคลายหมวก
เหลก็ ทหารสวมอยู ขนาดใหญกวาลาํ ตวั ลึงคเลก็ นอย สวนนีจ้ ะมีเสน ประสาทมาหลอเล้ยี งมาก ทําให

47

มคี วามรสู ึกไวตอ การสัมผัส เมื่อมีความตองการทางเพศเกิดขึ้น จะทําใหลึงคเปล่ียนจากนุมเปนแข็ง
เนือ่ งจากค่ังของเลอื ด ทาํ ใหข นาดใหญขน้ึ 1-2 เทาตวั ในระหวา งการแขง็ ตวั ของลึงคม ตี อมเลก็ อยูใน
ทอ ปส สาวะ ผลติ นํา้ เมือกเหนยี ว ๆ ซึ่งจะถูกขับออกมา เพ่ือชวยในการหลอล่ืนและยังทําใหตัวอสุจิ
ผานออกสูภ ายนอกไดส ะดวกอกี ดว ย

(4.) ทอ พกั ตัวอสุจิ (Epididymis) มีลักษณะคลายรูปดวงจันทรครึ่งซีก หอยติดอยู
กับตอมอณั ฑะสวนบนคอ นขางจะใหญเรยี กวา หวั (Head) จากหัวก็เปนตวั (Body) และเปน หาง (Tail) ทอ
นี้ประกอบดว ยทอท่ีคดเค้ียวเปน จํานวนมาก เมอ่ื ตวั อสจุ ถิ กู สรา งขน้ึ มาแลวจะถกู สงเขาทอ นเี้ พือ่ เตรยี ม
ท่จี ะออกมาสทู อปสสาวะ

(5.) ทอนาํ ตวั อสุจิ (Vas Deferens) เปนทอเลก็ ๆ ตอจากลูกอัณฑะ จะทําหนาที่พา
ตวั อสจุ แิ ละน้ําอสุจใิ หไ หลขน้ึ ไปตามหลอดและไหลเขา ไปในถงุ น้าํ อสจุ ิ

(6.) ถุงอัณฑะ (Scrotum) เปนถุงทหี่ อ หมุ ตอ มอัณฑะไว ขณะทย่ี ังเปนตัวออ นอยู ตอ ม
อัณฑะจะเจริญเติบโตในโพรงของชอ งทอ ง เม่อื ครบกาํ หนดตอมอัณฑะจะคอย ๆ เคลื่อนลงลางจากชอง
ทองมากอยูในถุงอัณฑะท่ีบริเวณขาหนบี ถุงอณั ฑะมีลกั ษณะเปน ผิวหนังบาง ๆ สีคล้ํา มีรอยยน มี
แนวกลางระหวางทวารหนักไปจนถงึ ลงึ ค จะมกี ลามเน้ือ บาง ๆ กั้นถุงอณั ฑะออกเปน 2 หอง ถุงอัณฑะ
จะหอยตดิ อยูกบั กลามเนอ้ื ชนิดหน่ึง และจะหดตัวหรือหยอนตัว เม่ืออุณหภูมิของอากาศเปล่ียนแปลง
เพือ่ ชวยรักษาอุณหภมู ิใหเหมาะสมในการสรางอสุจิ และปองกันการกระเทือนจากภายนอก

1.1.1 การสรา งเซลลส ืบพนั ธเุ พศชายและการฝน เปย ก
เซลลสืบพันธุเพศชายหรือตัวอสุจิ (Sperm) จะถูกสรางขึ้นในทอผลิตอสุจิ

(Seminiferous Tubules) ตวั อสุจมิ ีขนาดเล็กมาก มรี ูปรางลักษณะคลา ย ๆ ลูกกบแรกเกดิ ประกอบดวย
สว นหวั ทีม่ ีขนาดโต แลวคอ ยลงมาเปนสว นหางที่ยาวเรียว และสวนหางน้ีจะใชในการแหวกวายมา
มีขนาดลาํ ตัวยาวประมาณ 0.05 มลิ ลเิ มตร มีขนาดเล็กกวา ไขเ พศหญิงหลายหมืน่ เทา หลังจากตัวอสุจิ
ถูกสรางข้ึนในทอ ผลติ ตัวอสุจิแลว จะฝงตัวอยูในทอพักตัวอสุจิจนกวาจะเจริญเต็มท่ี ตอจากน้ันจะ
เคลื่อนทไ่ี ปยงั ถุงเกบ็ ตัวอสุจิ ในระยะนตี้ อมลกู หมากและตอมอ่ืน ๆ จะชวยกันผลิตของเหลวมาเลี้ยง
ตัวอสุจิ หากไมมีการระบายออกโดยมีเพศสัมพันธ รางกายจะระบายออก โดยใหน้ําอสุจิเคลื่อน
ออกมาตามทอปส สาวะเองในขณะนอนหลบั ซ่งึ เปน การลดปริมาณนํา้ อสุจิใหนอยลง โดยธรรมชาติ
และยังเปนวิธีหนึ่งท่ีชวยลดความเครียดเก่ียวกับอารมณทางเพศได เราเรียกวาการฝนเปยก (Wet
Dream) เปนปรากฎการณท ช่ี ้ใี หเห็นวาวยั รนุ ชายน้ันบรรลวุ ุฒิภาวะทางเพศแลว และรางกายก็พรอม
ท่จี ะใหกําเนิดบตุ รได

48

1.1.2 สุขปฏิบตั เิ กี่ยวกับอวัยวะเพศชาย
1. อาบน้ําอยางนอยวันละ 2 ครั้ง ใชสบูชําระรางกายและอวัยวะเพศให

สะอาดแลว เช็ดใหแหง
2. สวมเสอื้ ผาทส่ี ะอาด โดยเฉพาะกางเกงในไมคบั และไมห ลวมเกนิ ไป
3. ไมใชส วมหรอื ขบั ถา ยที่ผิดสขุ ลักษณะ
4. ไมส าํ สอน หรอื รวมประเวณกี บั ผูข ายบรกิ ารทางเพศ
5. หากสงสยั วาเปน กามโรคควรไปปรกึ ษาแพทย
6. ไมควรใชย าหรือสารเคมเี พอื่ กระตนุ ความรสู กึ ทางเพศ
7. อยาหมกหมุน หรือหกั โหมเกย่ี วกบั ความสัมพันธทางเพศเกินไป ควรหา

กิจกรรมนนั ทนาการหรอื เลนกฬี า
8. ระวงั อยาใหอวยั วะเพศถกู กระทบกระแทกแรง ๆ

1.2 ระบบสืบพนั ธขุ องเพศหญิง
โ ค ร ง ส ร า ง ท่ี เ ก่ี ย ว ข อ ง กั บ อ วั ย ว ะ เ พ ศ แ ล ะ ก า ร สื บ พั น ธุ ข อ ง เ พ ศ ห ญิ ง

ประกอบดวยหลายสว นดว ยกนั ในที่นีจ้ ะกลาวถึงเฉพาะสว นทสี่ าํ คัญเทาน้นั
(1.) ตอมรังไข (Ovary) เปนตอ มสบื พันธุของเพศหญิง มีหนาท่ีผลิตเซลลสืบพันธุ

ของเพศหญิงท่เี รยี กวาไข (Ovum) ตอมรงั ไขนม้ี ีอยูด ว ยกนั 2 ตอม คือ ขางขวาและขางซาย ซึ่งอยูใน
โพรงขององุ เชงิ กราน มรี ูปรา งคอนขางกลมเลก็ มีนํ้าหนกั ประมาณ 2-3 กรัม นอกจากนี้ตอมรังไขจะ
หล่ังฮอรโมนเพศหญงิ ออกมาทาํ ใหไขส ุก และเกดิ การตกไข

(2.) ทอรงั ไข (Pallopain Tubes) ภายหลงั ทไ่ี ขหลุดออกจากสวนท่ีหอหุมแลว จะผาน
เขา สทู อ รังไข ทอนีย้ าวประมาณ 6-5 เซนตเิ มตร ปลายขา งหนง่ึ มีลักษณะคลา ยกรวย ซง่ึ อยใู กลกบั
รังไข สวนปลายอกี ขา งหนึ่งนน้ั จะเรยี วเลก็ ลงและไปติดกบั มดลกู ภายในทอรังไขจะมกี ลา มเน้อื พิเศษ
ซ่งึ บุดวยเยื่อท่ีมีขนและบีบรดั ตัวอยเู สมอ ซึ่งทาํ หนาท่โี บกพัดเอาไขที่สุกแลวเขาไปในทอรังไข คอย
การผสมพนั ธุจ ากตัวอสจุ ขิ องชาย และสง ไปสูมดลกู ตอ ไป

(3.) มดลูก (Uterus) มดลูกอยูในอุมเชิงกรานระหวางกระเพาะปสสาวะกับทวารหนัก
ปกติยาวประมาณ 7-8 เซนติเมตร กวางประมาณ 4 เซนติเมตร และหนาประมาณ 2 เซนติเมตร เปน
อวัยวะทปี่ ระกอบดวยกลา มเน้ือ และมีลักษณะภายในกลวง ซ่ึงมีผนังหนาไขจะเคลื่อนตัวลงมาตาม
ทอ รังไข เขาไปในโพรงมดลูก ถาไขไดผ สมกับอสจุ ิแลว จะมาฝงตัวอยใู นผนังของมดลูกที่หนาและมี
เลือดมาเลีย้ งเปน จํานวนมาก ไขจ ะเจรญิ เตบิ โตเปน ตัวออ นตรงบรเิ วณนี้ ภายหลังวัยหมดประจําเดือน
แลว มดลูกจะเล็กและเหยี่ วลง

49

(4.) ชองคลอด (Vagina) มีลักษณะเปนโพรงซง่ึ มีความยาวประมาณ 8-10 เซนตเิ มตร
ชองคลอดประกอบดวยกลามเนื้อเรียบ สวนในสุดเปนสวนท่ีหุมอยูรอบปากมดลูก ภายในบุดวยเยื่อ
บาง ๆ ลักษณะเปนรอยยนสามารถยืดหดและขยายตัวไดมากเวลาคลอด ที่ชองคลอดนี้จะมี
เสน ประสาทมาเลี้ยงจาํ นวนมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งบริเวณรูเปดชองคลอด และชองคลอดยังทําหนาท่ี
เปนทางผานของเลือดประจําเดือนจากโพรงมดลูกออกจากรางกาย และเปนทางผานของตัวอสุจิจาก
เพศชายเพ่ือไปผสมกับไขทที่ อ รังไข

(5.) คลิสตอริส (Clitoris) ลักษณะเปนกอนเน้ือเล็ก ๆ ต้ังอยูบนสวนของแคมเล็ก
เปน เนื้อเย่อื ทยี่ ึดหดได มีหลอดเลือดและเสนประสาท และไวตอความรูสึกทางเพศเชนเดียวกับลึงค
ของชาย

(6.) ตอมนาํ้ เมือก (Bartholin Gland) เปนตอ มเลก็ ๆ อยู 2 ขางของชองคลอด ตอม
นีท้ าํ หนา ทีห่ ลั่งนํ้าเมอื กออกมา เพอื่ ใหช วยหลอลื่นชองคลอดในระหวางทมี่ ีการรวมเพศ

(7.) ฝเย็บ (Perineum) อยูพ้ืนลางของอุงเชิงกรานที่ก้ันอยูระหวางชองคลอดกับ
ทวารหนัก ขยายและยึดหดตัวได ประกอบดวยกลามเนื้อท่ีสําคัญ 3 มัด มีหนาท่ีชวยเสริมสราง
กลา มเน้ือชอ งคลอดใหแ ข็งแรง และปอ งกันชองคลอดหยอน ถาหากขาดแลวไมเย็บ จะทําใหมดลูก
ต่าํ ลงมาไดเ ม่ืออายมุ ากขน้ึ

(8.) เตา นม (Breast) มีอยู 2 เตา ซึง่ มขี นาดใกลเ คยี งกนั ตรงกลางของเตา นมจะมีผิว
ท่ีย่นื ออกมาเรยี กวา หัวนม เตานมแตละเตาจะประกอบขึ้นดวยกอนเน้ือหลายกอน กอนเนื้อแตละ
กอ นจะประกอบดว ยทอ ที่แตกแขนงไปมากมาย เตานมจะมีขนาดโตขึ้นเมื่อเขาสูวัยสาว เน่ืองจากมี
เนอ้ื เยื่อเกีย่ วพนั และไขมันเพม่ิ ขนึ้ ขณะท่ีตั้งครรภเตา นมจะโตข้นึ เน่อื งจากมีการเจริญเตบิ โตของตอม
นํ้านมและทอ จํานวนมาก บริเวณเตานมน้จี ะมีหลอดเลอื ดและเสนประสาทไปเลี้ยงอยูมาก จึงทําใหมี
ความไวตอ การสมั ผัส

50

1.2.1 ความรูเกยี่ วกับผลของการบรรลุวฒุ ิภาวะทางเพศหญงิ
เม่ือเพศหญิงเจริญเติบโตเปนสาว ไมเฉพาะแตจะมีลักษณะของความเปน

หญงิ ดวยการมีเตา นมเจริญเติบโต และมีลกั ษณะเปลี่ยนแปลงอ่นื ๆ เกดิ ข้นึ เทาน้นั การบรรลุ
วฒุ ภิ าวะของเพศหญงิ ขึน้ อยูกับการมปี ระจาํ เดือนครง้ั แรก และมีประจําเดอื นทุก ๆ เดอื น โดยเฉลยี่ จะ
เกิดขน้ึ ทกุ ๆ 28 หรือ 30 วนั และการมปี ระจําเดือนแตละเดอื นอาจะแบง ออกไดเปน ระยะดังน้ี

1. ระยะทาํ ลาย (Destructive Phase) เปน ระยะท่ีมีเลือดออกมา เนื่องจากมี
การทําลายของเยื่อบภุ ายในของผนังมดลกู ระยะน้ีจะใชเ วลาประมาณ 3-7 วัน หรอื เรยี กวา จะมีเลือด
ระดอู อกมาอยูประมาณ 3-7 วัน จํานวนเลอื ดทีไ่ หลออกมามีจาํ นวนไมแ นนอนโดยท่ัวไปจะมีปริมาณ
125 ลูกบาศกเ ซนตเิ มตร นอกจากเลือดท่ีไหลออกมาแลวยังมีเศษของผนังมดลูกท่ีถูกทําลายหลุดปน
ออกมาดว ย ระยะทาํ ลายน้เี ริม่ แรกมักจะมีอาการท้ังทางรางกายและจิตใจ เชน ถายปสสาวะบอย มี
สิวขนึ้ บนใบหนา เตา นมจะโตและแข็ง มอี าการปวดศรี ษะ เพลยี หงุดหงิด เปนตน

2. ระยะฟอลลิคูลา (Follicular Phase) ตอมพิทูอิทารีสวนหนา (Anterior
Lobe) หล่ังฮอรโมนชนิดหนง่ึ ออกมาและซมึ เขา กระแสเลอื ด แลวนาํ ไปยังตอมรังไขจ ะทําใหไขซ่ึงอยู
ภายในรังไขเจริญเติบโตและสุกระยะนก้ี ินเวลาประมาณ 9 วนั และเม่อื รวมกบั ระยะทีม่ ีเลือดระดูไหล
ออกมาในระยะทาํ ลายจะกนิ เวลาประมาณ 14 วัน

3. ระยะลูเทียล (Luteal Phase) เปนระยะที่ไขสุกเต็มที่และจะหลุดออก
จากรังไข รังไขจ ะสรา งฮอรโมนชนดิ หนง่ึ เพื่อกระตุนใหผนังมดลูกหนาและมีเลือดมาหลอเลี้ยงมาก
เพ่ือรอรับไขที่จะถูกผสมพันธุ ถาไขไมไดรับการผสมพันธุฮอรโมนนี้จะลดลง ซึ่งเปนการเร่ิมตน
ระยะทําลาย และจะมีเลอื ดระดไู หลออกมาใหม

1.2.2 สขุ ปฏิบตั เิ กี่ยวกบั อวยั วะสืบพนั ธขุ องเพศหญิง
1. อาบน้ําชําระลา งกายใหส ะอาดอยูเสมอ เวลาอาบน้ําควรทําความสะอาด

อวยั วะเพศเปนพิเศษ เชน ลาง เช็ดใหแหง โดยเฉพาะอยางย่ิงในชวงมีประจําเดือน ควรใชน้ําอุน
ชําระสว นทีเ่ ปอนเลือด เปน ตน

2. หลังจากถา ยอุจจาระ ปสสาวะควรทาํ ความสะอาดแลวเชด็ ใหแหง
3. ควรสวมเสอื้ ท่สี ะอาด โดยเฉพาะอยา งยง่ิ กางเกงในตองสะอาด ไมค บั ไม
หลวมเกนิ ไป และควรเปลีย่ นทุกวนั
4. รกั นวลสงวนตัว ไมค วรมเี พศสมั พนั ธก อนแตง งาน
5. ไมควรใชย ากระตุนหรือสารเคมีตออวยั วะเพศ
6. การใชสวมเพือ่ การขับถาย ควรคาํ นึงถึงความสะอาดและถูกสุขลกั ษณะ
7. ควรทาํ งานอดิเรก หรือออกกาํ ลังกายเสมอเพื่อเบนความสนใจทางเพศ

51

8. ในยามทม่ี ีประจําเดอื นควรเตรียมผา อนามัยไวใหเพยี งพอ และเปลี่ยนอยู
เสมออยา ปลอยไวน าน

9. ในชวงมีประจําเดือนไมควรออกกําลังกายท่ีผาดโผนและรุนแรง ควร
ออกกาํ ลงั กายเพียงเบา ๆ และพักผอ นใหเ พียงพอ

10. ควรจดบันทึกการมีประจําเดือนไว ถาประจําเดือนมาชาหรือเร็วบาง
เลก็ นอยถอื วา ปกติ ถา ประจําเดือนมาชา หรอื เร็วกวา ปกติ 7-8 วนั ข้นึ ไป ควรไปปรึกษาแพทย

11. ในชว งมปี ระจาํ เดอื น ถามีอาการปวดทองควรใชกระเปาน้ํารอนมาวาง
ท่ที อ งนอ ย เพอ่ื ใหค วามอบอุน และอาจรบั ประทานยาแกปวดไดบ าง

12. ถามีอาการผิดปกติทางรางกายในชวงมีประจําเดือน เชน ปวดทองมาก
หรอื มีเลือดไหลออกมา ควรรีบไปปรึกษาแพทยท นั ที

13. ระวังอยา ใหอวยั วะเพศกระทบกระแทกแรง ๆ
14. ถา หากมีการเปลี่ยนแปลงทผี่ ิดปกตขิ องอวัยวะเพศ ควรไปปรกึ ษาแพทย

เรอื่ งท่ี 2 การเปลย่ี นแปลงเมื่อเขาสูวยั หนมุ สาว

1. พัฒนาการทางเพศและการปรับตัวเมือ่ เขาสวู ัยรุน
วัยรุนจะมีการเปลี่ยนแปลงทางรางกายอยางรวดเร็ว และมีพัฒนาการทางเพศควบคู

กนั ไปดวย โดยเพศชายและเพศหญิงจะมีความแตกตางกัน
1.1 การเปลี่ยนแปลงทางรา งกายของเพศหญิง
การเขา สูชวงวัยรุนของเด็กหญงิ จะเกดิ ข้นึ เรว็ กวาเด็กชาย คือ จะเร่ิมข้ึนเม่ืออายุ

ประมาณ 11-13 ป ตอมใตสมองจะผลิตฮอรโ มนท่ไี ปกระตนุ การเจริญเตบิ โต และกระตนุ การทํางานของ
รังไขใหสรางเซลลสืบพันธุและผลิตฮอรโมนเพศหญิง ในชวงนี้วัยรุนหญิงจะมีการเจริญเติบโตอยาง
รวดเรว็ สว นสูงและนาํ หนักเพม่ิ มากข้นึ อวัยวะเพศโตข้ึน มีขนข้ึนบริเวณหัวเหนาและรักแร เอวคอด
สะโพกผายออก เตานมโตข้ึน อาจมีสิวข้ึนตามใบหนา สวนมดลูก รังไข และอวัยวะท่ีเกี่ยวของ
เจริญเตบิ โตขึ้น เริ่มมปี ระจาํ เดอื น ซง่ึ ลกั ษณะการมีประจาํ เดือนในเพศหญงิ จะเปนการบงบอกวา วัยรนุ
หญิงไดบรรลวุ ฒุ ิภาวะทางเพศแลว และสามารถตงั้ ครรภไ ด

การมปี ระจําเดอื น (menstruation) เปน ปรากฏการณต ามธรรมชาติท่ีเกิดใน
เพศหญิงเม่ือยางเขาสูวัยรุน โดยรังไขจะสรางฮอรโมนและผลิตไข ปกติไขจะเจริญเติบโตและสุก
เดือนละ 1 ฟอง สลับกนั ระหวา งรังไขซา ยและขวา เม่ือไขสุกจะหลุดออกจากรังไขแลวถูกพัดพาเขา
ไปในทอ รงั ไขห รอื ปก มดลกู เพ่อื รอรบั การผสมจากตัวอสจุ ิของเพศชาย ในขณะเดยี วกันฮอรโ มนเพศ
หญงิ ท่ผี ลติ จากรงั ไขแ ละสง ไปตามรางกาย จะทาํ ใหเ กิดการเปลี่ยนแปลงของเยื่อบุมดลูก โดยในชวง
สัปดาหแรกของรอบเดือน ผนังมดลูกจะหนามากท่ีสุด มีหลอดเลือดมาเลี้ยงมากมาย เพื่อ
เตรยี มพรอมทจ่ี ะรบั การเกาะฝง ของไขทีไ่ ดรับการผสมจากตัวอสุจิ ถาหากไขไมไดรบั การผสม เย่ือบุ

52

มดลกู กจ็ ะคอย ๆ หลดุ ออก หลอดเลือดบรเิ วณเยอื่ บมุ ดลูกก็จะลอกหลุดและฉีกขาด ทําใหเลือดไหล
ออกทางปากมดลกู ผานชอ งคลอดออกสภู ายนอก เรยี กวา ประจาํ เดอื น

อาการเมือ่ มีประจําเดือน กอนมีประจําเดือน บางคนอาจมีอาการบางอยาง
เกิดข้นึ ได เชน ปวดศรษี ะ ทองอืดเฟอปวดเมื่อกลามเนื้อบริเวณหลังและบ้ันเอว เตานมตึงและเจ็บ
หงุดหงดิ งา ย อารมณไ มป กติหรือเบือ่ อาหาร คลนื่ ไสอาเจียน

ขอ ควรปฏิบัตขิ ณะมปี ระจาํ เดอื น คอื ใชผาอนามัยอยางถูกวิธี และลางมือ
ใหส ะอาดทุกครงั้ นอกจากนีข้ ณะมปี ระเดอื น บางคนมอี าการบางอยา งดังกลา วขางตน และอาจมีการ
ปวดทองนอยเพ่ิมดว ย ซึง่ เปนอาการปกติท่ีจะหายไปเองเมื่อประจําเดือนหยุด หากมีอาการผิดปกติท่ี
รุนแรง เชน ปวดทองมากขณะมีประจําเดือน มีประจําเดือนนานเกิน 7 วัน หรือประจําเดือนมา
คลาดเคล่อื นจากปกตมิ าก ควรปรึกษาแพทยโดยเฉพาะสตู นิ รแี พทย

ผาอนามัยควรเปลี่ยนบอย ๆ อยางนอยวันละ 2-3 ครั้ง และทุกคร้ังหลัง
อาบน้ําหรือหลงั ถา ยอจุ จาระ รักษาความสะอาดของรางกายและเส้ือผาที่สวมใส ไมใชเสื้อผารวมกับ
ผูอ่นื ออกกําลังกายใหนอยลงกวา ปกติ พักผอ นใหเพียงพอ ทาํ จติ ใจใหรา เรงิ แจมใส ถามีอาการปวด
ทอ งนอยมากใหน อนคว่าํ แลวใชห มอนรองใตทองนอ ยประมาณ 15-20 นาที ประจําเดือนจะออกไดดี
และชว ยใหทเุ ลาปวด อาจไมจ าํ เปน ตองใชย าแกปวด ควรรบั ประทานยาแกปวดหากมอี าการปวดมาก
ถาปวดทองรนุ แรงมากหรอื มีเลือดออกมากผิดปกติควรรีบปรึกษาแพทย และขณะมีประจําเดือนไม
ควรอาบน้ําแบบแชในแมนํ้าลําคลอง อางน้ําในบานหรือสระวายนํ้า เพราะเช้ือโรคในน้ําอาจเขาสู
โพรงมดลกู ได เน่ืองจากปากมดลกู จะเปด เลก็ นอ ย จึงควรอาบนํ้าแบบตกั หรอื ใชฝ ก บัว

1.2 การเปลี่ยนแปลงทางรา งกายของเพศชาย
เด็กชายจะเริ่มเขาสูวัยรุนเมื่ออายุประมาณ 13-15 ป ตอมใตสมองจะผลิต

ฮอรโมนท่ีไปกระตุนใหรางกายเจริญเติบโต และกระตุนใหอัณฑะผลิตเซลลสืบพันธุและฮอรโมน
เพศชายมีการเปลี่ยนแปลงของรา งกายทเี่ ห็นไดช ัดโดยเฉพาะความสงู และน้าํ หนกั ตวั ทเี่ พิม่ ขึ้น แขนขา
ยาวเกงกา งไหลกวางออก กระดกู และกลามเนื้อแข็งแรงขึ้นและมีกาํ ลงั มากขน้ึ เสียงแตก นมแตกพาน
มีหนวดเครามีขนข้ึนที่หนาแขง รักแร และบริเวณอวัยวะเพศ บางคนอาจมีสิวขึ้นบริเวณใบหนา
หนาอก หรอื หลงั อวยั วะเพศโตข้ึนและแข็งตวั เม่ือมีความรูสกึ ทางเพศหรือถูกสัมผัส และมีการหล่ัง
นา้ํ อสจุ หิ รือนํา้ กามออกมาในขณะหลับ (ฝนเปย ก) ซึ่งเปนอาการท่บี ง บอกวา ไดบ รรลวุ ฒุ ภิ าวะทางเพศ
แลว และยงั หมายถงึ การมีความสามารถทจี่ ะทําใหเ พศหญิงเกิดการตง้ั ครรภไดอ กี ดวย

การฝน เปยก (wet dream) เปน ปรากฏการณต ามธรรมชาตทิ ี่เกิดในเพศชาย
กลา วคอื ในดานรา งกายลูกอัณฑะจะทาํ หนาท่สี รางฮอรโมนเพศชายและตวั อสุจิ โดยจะเกบ็ สะสมไวท ่ี
ถุงเกบ็ นํ้าอสุจิ ในดา นจิตใจและอารมณ ฮอรโมนเพศจะมีผลทําใหวยั รนุ เร่ิมมคี วามรูสึกทางเพศ และ

53

สนใจเพศตรงขาม เมอื่ รา งกายมีการผลิตนํ้าอสุจิเก็บไวมากขึ้น ประกอบกับจิตใจและอารมณมีการ
เปลี่ยนแปลงดงั กลา ว จะมผี ลทาํ ใหเ กดิ ความตึงเครียดของประสาท ในขณะหลับอาจฝน จินตนาการ
เก่ยี วกบั เรอ่ื งเพศหรือเรือ่ งท่ีหวาดเสียว สง ผลใหถุงเก็บนา้ํ อสจุ ิรดั ตวั ทาํ ใหต ัวอสุจิและน้ําหลอเล้ียงถูก
บีบเขาสูทอปสสาวะและขับเคล่ือนออกมาภายนอกโดยอัตโนมัติ ซึ่งเรียกอาการที่เกิดข้ึนนี้วา ฝน
เปยก ซ่ึงนับวา เปน การผอนคลายความตงึ เครยี ดทางจติ ใจและอารมณทางเพศตามธรรมชาติ จึงไมถือ
วาผิดปกตแิ ตอ ยางใด

1.3 ตอมไรทอทม่ี ีอิทธิพลตอ การควบคุมพฒั นาการทางเพศ
ตอมไรทอท่ีมีอิทธิพลตอการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุนท่ีสําคัญ ไดแก
ตอมใตสมองหรือตอมพิทูอิทารี (Pituitary gland) ตอมเพศ (Gonads) ตอมไทรอยด (thyroid gland)
และตอมหมวกไต (adrenal or suprarenal glands) ซ่ึงตอมไรทอแตละตอมสงผลตอการเจริญเติบโต
และพฒั นาการของวัยรนุ
1.4 อารมณทางเพศ (sexuality) หรอื ความตองการทางเพศ (sexusl desire)
ในที่นจี้ ะหมายถึง ความรสู ึกของบุคคลทีม่ ีผลมาจากสิ่งเรา ภายในหรือสงิ่ เรา ภายนอก
ทีเ่ ปนปจจัยทม่ี ากระตุนใหเ กดิ ความรูสกึ ทางเพศขึ้น โดยมีระดบั ความแตกตางมากนอยตา งกัน ขึน้ อยู
กับความสามารถในการควบคมุ อารมณแ ละพ้ืนฐานทางดา นวุฒภิ าวะของแตล ะบคุ คล
จากความหมายดังกลา วจะเหน็ ไดวา สิ่งเราภายในและสิง่ เรา ภายนอกเปนปจจยั สําคัญ
ที่จะสงผลใหอารมณและอารมณทางเพศเกิดข้ึน และเมื่อวิเคราะหในประเด็นที่เก่ียวของกับ
ความสําคญั ของอารมณทางเพศกับวยั รนุ แลว สรปุ ประเดน็ ท่ีสําคัญได ดังนี้

1) อารมณทางเพศถือวาเปนสัญชาตญาณในการดํารงเผาพันธุของมนุษยที่
เกดิ ขึ้นตามธรรมชาติ เปนตัวบง ช้ปี ระการหน่งึ ทแี่ สดงใหเ ห็นถงึ ความสมบูรณข องพัฒนาการทางดาน
รา งกาย จิตใจ และอารมณข องวยั รนุ ทก่ี า วเขาสชู วงของวัยเจรญิ พนั ธมุ ากขน้ึ

2) ปจจุบนั ส่อื หลายรูปแบบท่ปี รากฏอยใู นสงั คมมีสวนชวยกระตนุ แรงขบั ทาง
เพศ (Sex drive) ของวยั รุนใหเ กิดอารมณทางเพศไดงายขึ้น การนาํ เสนอภาพหรือขอความที่เกี่ยวของ
กบั เร่ืองเพศผา นสอ่ื ตาง ๆ เปน ปจ จยั หนง่ึ ที่ยวั่ ยใุ หว ยั รนุ เกิดอารมณทางเพศที่เสยี่ งตอการมเี พศสัมพันธ
ไดงายและเร็วขึน้ โดยสอื่ ตาง ๆ เหลานอ้ี าจอยใู นรูปแบบของหนังสือหรอื ภาพยนตรบางประเภท รวม
ไปถึงขอมูลทไี่ ดจากการสืบคน ดวยระบบอนิ เทอรเน็ต ซ่ึงผลกระทบจากอารมณท างเพศในแงลบจะมี
มากยิง่ ขึ้น หากวัยรุนขาดความรคู วามเขา ใจในแนวทางการควบคุมอารมณท างเพศอยา งถกู ตอ ง จนใน
ทีส่ ดุ อาจนาํ ไปสพู ฤติกรรมเสีย่ งตอการมเี พศสมั พันธโดยไมต ้งั ใจ และนํามาสูปญหาตาง ๆ ในสงั คมท่ี
เก่ยี วของกับพฤตกิ รรมทางเพศที่ไมเหมาะสมของวัยรุนได

3) อารมณทางเพศของวัยรุนหากขาดวิธีการควบคุมที่ถูกตอง จะนําไปสู
ปญ หาพฤติกรรมทางเพศท่ไี มเ หมาะสมของวัยรุน มากขนึ้ วัยรนุ แมจะเปนวัยทม่ี แี รงขบั ทางเพศสูงกวา

54

ทุกวัย และพรอมที่จะมีเพศสัมพันธหรือมีบุตรไดก็ตาม แตสังคมและวัฒนธรรมของไทยก็ยังไม
ยอมรับท่ีจะใหวัยรุนชาย-หญิง แสดงพฤติกรรมทางเพศที่ไมเหมาะสมดังกลาว โดยเฉพาะการมี
เพศสมั พนั ธจ นกวาจะไดท าํ การสมรสหรือยูในชว งวยั ทเ่ี หมาะสมอารมณทางเพศท่ีเกิดขึ้นในชวงการ
เขาสวู ยั รุน เปนพัฒนาการอยางหนึง่ ท่แี สดงใหเห็นถงึ ความพรอ มของรางกายท่จี ะสบื ทอดและดาํ รงไว
ซึ่งเผาพันธุ โดยมีสิ่งเราสําคัญใน 2 ลักษณะ ประกอบดวย ลักษณะของปจจัยที่เปนส่ิงเราภายใน
(intrinsic stimulus) และลักษณะของปจจัยทีเ่ ปนสิง่ เรา ภายนอก (extrinsic stimulus)

1) ลักษณะของปจ จัยทเี่ ปนสิ่งเราภายใน
ปจจัยที่เปนส่ิงเราภายใน ในท่ีนี้หมายถึง ส่ิงเราซ่ึงเปนผลที่เกิดจาก
กระบวนการเปลยี่ นแปลงตา ง ๆ ท่ีเกิดขึ้นในรางกาย โดยไดรับอิทธิพลมาจากการทํางานของระบบ
ตอมไรทอ ซึ่งผลิตฮอรโมน ออกมาเพ่ือกระตุนใหรางกายมีการพัฒนาอยางเปนระบบตอเนื่อง
ฮอรโมนเพศเปนปจจัยภายในที่สําคัญท่ีเปนส่ิงเราใหวัยรุนมีพัฒนาการของอารมณทางเพศเกิดขึ้น
และนําไปสกู ารเกดิ ความตองการทางเพศตามชวงวัย ในเพศชายฮอรโมนท่ีเปนปจจัยสําคัญในเร่ือง
ดังกลา ว คอื ฮอรโมนเทสโทสเตอโรน สวนในเพศหญิง คือ ฮอรโมนเอสตราดิโอล และ ฮอรโมน
ฟอลลิควิ ลาร
2) ลักษณะของปจจัยท่ีเปนส่ิงเราภายนอก
ปจจัยท่ีเปนสิ่งเราภายนอก ในท่ีน้ีหมายถึง สภาพแวดลอมภายนอกตาง ๆ ท่ี
สามารถกระตนุ หรอื ยั่วยุใหผทู ่รี บั รู หรอื ไดรับการถา ยทอดเกิดความรสู กึ ทเี่ กิดเปนอารมณทางเพศข้ึน
ประกอบดว ย
สอ่ื รูปแบบตา ง ๆ ที่กระตุนหรือยั่วยุใหวัยรุนเกิดอารมณทางเพศ ปจจุบันมีสื่อ
หลากหลายรูปแบบโดยเฉพาะ สื่อทางเพศ ไดน าํ เสนอภาพและ/หรือขอ ความทเี่ กี่ยวกบั เพศ ซ่ึงมักจะ
นําไปสูการกระตุนหรือย่ัวยุใหผูรับสื่อโดยเฉพาะในวัยรุน ความหลากหลายของสื่อในลักษณะ
ดงั กลา วทาํ ใหม ผี ูเปรยี บเปรยส่ือตาง ๆ เหลา น้ีเปน สินคา เพศพาณิชย ซงึ่ นับวันจะมีการผลติ และนํามา
เผยแพรใ หเ หน็ เพิม่ มากขึน้
สภาพทางสังคมและวัฒนธรรมที่เปล่ียนไป ปจจุบันเปนที่ยอมรับกันอยาง
หน่ึงวา สภาพทางสังคมและวัฒนธรรมไทยไดเปล่ียนไปจากเดิม นับต้ังแตท่ีมีการรับวัฒนธรรม
ตะวนั ตกเขาสสู งั คมไทย กอ ใหเ กดิ การเปลยี่ นแปลงข้นึ หลายลักษณะ โดยเฉพาะในประเทศไทยเกิด
ความเปล่ยี นแปลงทเ่ี กยี่ วของกับเร่อื ง การคบเพ่ือนตางเพศของวัยรุนไทย พบวามีอิสระเพ่ิมมากข้ึน
นอกจากนี้ปจจุบันสภาพของครอบครัวไทยมีการเปลี่ยนแปลงไป ผูปกครองมีเวลาใกลชิดกับบุตร
หลานนอ ยลง ซงึ่ เปน ผลมาจากสภาพของภาวะเศรษฐกจิ นอกจากน้ยี ังพบวา ความมอี สิ ระของส่ือตอ
การนาํ เสนอเรื่องราวที่เกี่ยวของกับเพศ จัดไดวาเปนส่ิงเราภายนอกท่ีสําคัญ ท่ีสามารถที่จะเราและ
กระตนุ ใหว ยั รนุ เกิดความตอ งการทางเพศข้ึนได โดยเฉพาะหากขาดการดแู ลและการควบคมุ ที่ถกู ตอ ง
เหมาะสม

55

คานิยมและพฤติกรรมท่ีไมเหมาะสมในบางลักษณะของวัยรุน ผลจากสภาพ
ทางสังคมและวัฒนธรรมที่เก่ียวของกับเรื่องเพศท่ีเปล่ียนไป สงผลใหวัยรุนไทยเกิดคานิยม และมี
พฤติกรรมท่ีไมเหมาะสมในหลายลักษณะ เปนตนวา คานิยมในเร่ืองการแตงกายตามสมัยนิยม
(Fashion) ท่ีมากเกินควรของวัยรุน โดยไมคํานึงถึงผลกระทบท่ีอาจเกิดขึ้น เชน ลักษณะการสวม
เสือ้ ผา ท่ีรัดรปู หรือเปดเผยสัดสวนรางกายของวัยรุนเพศหญิง ซ่ึงการแสดงออกดังกลาวจะกระตุน
และยั่วยุใหว ยั รุนชายเกิดอารมณทางเพศได นอกจากน้ียังพบวาวัยรุนมักจะมีคานิยมท่ีเกี่ยวกับความ
ตองการในการแสดงออกโดยอิสระ เปน ตนวา การเทย่ี วเตรในเวลากลางคืน การสัมผัสรางกายของ
เพศตรงขาม หรอื การจับมอื ถือแขนอยางเปดเผยในทสี่ าธารณะ การอยูตามลําพงั สองตอสอง หรือการ
ไมใหค วามสําคัญในเรอื่ งการรักษาพรหมจารี ฯลฯ ซง่ึ สิ่งตาง ๆ เหลานีถ้ อื วาเปนปจ จัยภายนอกท่ีสามารถ
จะกระตุนหรอื ย่ัวยใุ หวัยรุนเกดิ อารมณท างเพศข้นึ ได ความเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขึน้ ในขณะท่วี ยั รุนเกดิ การ
เปลีย่ นแปลงทางเพศ อารมณเพศหรือความตองการทางเพศท่ีเกิดข้ึนกับวัยรุน ไมวาจะเกิดจากสิ่งเรา
ภายในหรือภายนอกก็ตาม มักจะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงใน 2 ลักษณะสําคัญ ประกอบดวย
ลักษณะการเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นกับสภาพจิตใจ และลักษณะการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นกับสภาพ
รางกาย

1) ลกั ษณะการเปล่ยี นแปลงท่เี กดิ ข้ึนกบั สภาพจติ ใจ
โดยปกติขณะทีค่ นเราเกิดอารมณท างเพศจะพบวา มีจิตนาการท่ีเกี่ยวของกับ
เร่ืองเพศอยูในระดับหน่ึง ซ่ึงจะมากหรือนอยหรือมีความแตกตางกัน ยอมขึ้นอยูกับพื้นฐาน
ความสามารถในการควบคมุ อารมณแ ละความรสู ึกของแตละคน และโดยทั่วไปพบวา ความต่ืนเตน
ทางเพศทเ่ี ปน พนื้ ฐานของการเกดิ อารมณทางเพศในเพศหญิงจะเกิดไดชากวาเพศชาย อยางไรก็ตาม
ท้งั เพศชายและเพศหญงิ เมอื่ เกดิ อารมณทางเพศขนึ้ หากความสามารถในการควบคุมอารมณและการ
จัดการในเรื่องดงั กลาวไมดพี อ กม็ ักจะสงผลใหเกดิ ปญ หาทางดา นสุขภาพจติ ขน้ึ ได โดยเรมิ่ จากภาวะ
ทางดา นจติ ใจที่เกิดความเครียดขน้ึ แลว นาํ มาสูภ าวะของความวิตกกังวลท่ีเกี่ยวของกับเร่ืองเพศ จน
อาจนําไปสูก ารขาดความเช่ือมนั่ ในตนเองได
2) ลักษณะการเปลี่ยนแปลงทีเ่ กิดขนึ้ กบั สภาพรา งกาย
ขณะท่สี ภาพจติ ใตมีการเปลี่ยนแปลงและแสดงออกถึงความตองการทางเพศ
ปฏกิ ิรยิ าของรางกายท่ีแสดงใหเห็นถึงภาวะความเปล่ียนแปลงดังกลาวของรางกายจะเห็นไดชัดเจน
มากข้นึ โดยเฉพาะรางกายท่แี สดงใหเ ห็นถึงภาวะความเปล่ียนแปลงดังกลาวของรางกาย จะเห็นได
ชัดเจนมากขึ้น โดยเฉพาะบริเวณอวัยวะเพศท่ีมีการไหลเวียนของเลือดที่สงมามากข้ึน สงผลให
อวัยวะเพศเกิดการขยายตวั
เพศชาย พบวา บรเิ วณองคชาตหรือลึงค (penis) จะมขี นาดเพม่ิ ขึ้นและแข็งตัว
ข้ึน ผนงั ทห่ี มุ อัณฑะ (Scrotum) จะหนาขึน้ ลกู อัณฑะจะเคล่อื นตวั สงู ข้ึน

56

เพศหญิง พบวา บริเวณอวยั วะเพศนอกจากจะขยายตัวแลว บริเวณชองคลอด
อาจมกี ารขับนํ้าหลอลนื่ ออกมา รวมทงั้ กลามเนอ้ื บรเิ วณดังกลา วยังอาจเกิดการหดรดั ตวั ขึน้ เปนระยะ

นอกจากการเปล่ียนแปลงบริเวณอวัยวะเพศแลว ผลจากการเกิดอารมณทาง
เพศยังสงผลใหการสูบฉีดเลือดของหัวใจเพิ่มข้ึน ทําใหเลือดไหลเวียนเพ่ิมข้ึน เปนผลใหผิวหนัง
บริเวณทส่ี งั เกตได มกี ารเปลย่ี นแปลงเปนสแี ดงเพิ่มขน้ึ เชน บรเิ วณใบหนา ลําคอ อก และหนา ทอ ง
นอกจากน้ี ในเพศหญงิ หวั นมและเตา นมอาจมกี ารขยายตัวขึ้น

ผลกระทบดานลบท่ีเกิดขึ้นจากการเกิดอารมณทางเพศของวัยรุน จนนํามาสู
ปญหาทางสงั คมท่เี ห็นไดชดั อีกประการหนึ่งในปจจุบัน คือ การมีพฤติกรรมทางเพศท่ีไมเหมาะสม
ของวยั รุน ซ่ึงนํามาสูป ญหาตาง ๆ ตามมา เปนตนวา การเกิดปญหาการตั้งครรภที่ไมพึงประสงคใน
วยั รุน การเกิดปญ หาการตดิ โรคทางเพศสัมพันธและโรคเอดสในวัยรุน โดยปญหาเหลาน้ีถือวาเปน
ผลกระทบที่สืบเน่ืองมาจากการเกิดอารมณทางเพศของวัยรุนที่ไมไดรับการควบคุมและจัดการท่ี
ถูกตองเหมาะสม ซึ่งผลกระทบดังกลาวถือไดวาเปนปญหาทางสังคมท่ีสําคัญอีกประการหนึ่งใน
ปจจบุ นั

แนวทางในการจดั การกบั อารมณทางเพศของวยั รนุ การจัดการกับอารมณทาง
เพศของวยั รุน มีแนวทางการปฏบิ ตั ทิ ี่สาํ คญั อยู 2 ลกั ษณะ ประกอบดว ย แนวทางการปฏิบัติเพ่ือระงับ
อารมณทางเพศ และแนวทางการปฏบิ ตั ิเพอื่ ผอ นคลายความตอ งการทางเพศ

1) แนวทางการปฏิบตั ิเพอื่ ระงับอารมณท างเพศ
แนวทางการปฏบิ ัตเิ พอ่ื ระงบั อารมณท างเพศ หมายถงึ ความพยายามในการท่ี
จะหลกี เลย่ี งตอ สงิ่ เราภายนอกทมี่ ากระตุนใหอารมณทางเพศมีเพ่ิมมากข้ึน แนวทางในการปฏิบัติ มี
ดังน้ี
หลกี เลีย่ งการดูหรืออานขอ ความจากสื่อตา ง ๆ ทีม่ ีภาพหรือขอความที่สามารถ
ยั่วยุใหเกิดอารมณทางเพศ เชน การดูหนังสือ หรือภาพยนตร หรือส่ืออินเทอรเน็ตที่มีภาพหรือ
ขอความท่แี สดงออกทางเพศ ซึ่งเปน การย่วั ยุใหเกดิ อารมณท างเพศ
หลีกเลี่ยงการปฏิบัติหรือการทําตัวใหวางหรือปลอยตัวใหมีความสบายเกินไป
เชน การนอนเลน ๆ โดยไมหลับ การน่งั ฝนกลางวนั หรือนัง่ จิตนาการที่เก่ียวของกับเรื่องเพศ การอยู
ในสภาพของบรรยากาศทีม่ ีแสงสเี สยี งทกี่ อ หรอื ปลุกเราใหเกดิ อารมณท างเพศ
อยางไรก็ตาม แมในทางจิตวิทยาและในทางการแพทยจะมีความเห็นท่ี
สอดคลอ งกันวา การบาํ บดั ความใครดวยตนเองโดยทั่วไปจะไมก อใหเกดิ ความผดิ ปกตทิ ้ังทางรางกาย
และจิตใจ แตก ็ไมควรปฏบิ ัติบอยจนเกิดความหมกมุนตอเร่ืองดังกลาว ซึ่งจะกอใหเกิดเปนลักษณะ
นิสยั ซ่งึ อาจสงผลลบตอ บคุ ลกิ ภาพและความเขมแข็งทางดานการควบคุมอารมณที่ดีได ดังน้ัน หากมี
ความจําเปนและไมสามารถที่จะหลีกเล่ียงการปฏิบัติในเร่ืองดังกลาวได ควรระลึกและคํานึงถึง
หลกั การปฏบิ ัตทิ ่เี กี่ยวของใน 3 ลกั ษณะทีส่ ําคัญ คอื ตองคํานึงในหลักของความสะอาดเปนพื้นฐาน

57

ตอ งคาํ นงึ ถึงสถานทใ่ี นการปฏบิ ตั ิ คือ ตอ งมคี วามเปน สว นตัว ไมประเจดิ ประเจอ และตอ งไมป ฏบิ ัติ
ดว ยวธิ กี ารท่รี นุ แรง ซึ่งอาจกอ ใหเ กดิ บาดแผล หรอื มีการอักเสบ หรอื ตดิ เช้อื ได

1.5 การปรับตวั ทางเพศเม่ือเขาสวู ัยรุน
เม่ือเขาสูวัยรุน เพื่อชวยใหสามารถปรับตัวไดอยางถูกตองและเหมาะสมกับ
เพศของตนดยี ง่ิ ขนึ้ วยั รนุ ควรมแี นวทางในการปฏิบัติ ดงั น้ี
1) ศึกษาใหเขาใจถึงการเปลี่ยนแปลงทางเพศของรางกายและจิตใจ เมื่อยาง
เขา สวู ยั รุน เราจะสงั เกตเห็นวา มีการเปลีย่ นแปลงเกดิ ขึ้นในตวั เราหลายอยาง บางอยางก็อาจทําใหเรา
ไมส บายใจ เชน วัยรุนชายบางคนไมอยากพูดคุยกับเพ่ือนเพราะอายท่ีเสียงแตกพรา สําหรับวัยรุน
หญงิ ทีม่ ีประจําเดือนเปนครั้งแรกอาจมีความรสู ึกกงั วลและมีอาการตาง ๆ เกิดข้ึน แตถาหากไดศึกษา
และทําความเขา ใจเก่ียวกับสภาพการเปลี่ยนแปลงดังกลาว จะทําใหเขาใจและสามารถปฏิบัติตนได
อยางถูกตอ ง
2) ปรับตวั เขากับเพื่อนตางเพศใหเ หมาะสม วัยรุน เปน วัยทมี่ ีการเปล่ียนแปลง
ทางเพศหลายอยางท้ังชายและหญงิ เร่มิ มีความสัมพันธก นั ทางสังคมมากขึ้น ทําใหชายและหญิงตางมี
ความสนใจในเพื่อนตางเพศมากข้ึน การคบเพ่ือนตางเพศไมใชสิ่งเสียหาย แตตองปฏิบัติตนอยูใน
ขอบเขตทเี่ หมาะสมและรูจ ักมารยาททคี่ วรปฏบิ ัตติ อกัน ดงั นี้
ฝายชาย ควรใหเกียรติฝายหญิง ไมเก้ียวพาราสีหรือฉวยโอกาส มีความ
บริสุทธิ์ใจ และควรใหค วามชวยเหลอื ฝายหญิง เชน ชวยถือของ สละที่น่ังให ไมแสดงกิริยาวาจาท่ี
ไมเ หมาะสม เชน พูดจาหยาบโลน หรือใชก าํ ลังรุนแรง เปนตน
ฝายหญิง ควรวางตัวใหเหมาะสม สงวนตัว ไมอยูในท่ีรโหฐานกับเพศตรง
ขามตามลําพัง ไมไปในที่เปล่ียว แตงตัวสุภาพ ไมแสดงกิริยาวาจาที่ไมเหมาะสม เชน สงเสียงดัง หรือ
กลาวคาํ ผรุสวาท เปน ตน แสดงความมนี าํ้ ใจและใหเกยี รติฝา ยชาย
3) ควรรีบปรึกษาผูใหญเ ม่ือมปี ญหาหรือมีอุปสรรคใด ๆ เกี่ยวกับเร่ืองเพศ วัยรุน
สว นมากมกั จะมีความวิตกกงั วลในเรอ่ื งตาง ๆ เกี่ยวกับการเปล่ยี นแปลงทางดา นรา งกายและจติ ใจ เม่อื
มีปญ หาเกดิ ข้นึ ควรจะปรกึ ษาพอแม ครู ญาตพิ น่ี อง และผใู หญทไ่ี วว างใจ เพราะทานมปี ระสบการณ
มากกวาเรา ยอ มจะชวยแนะแนวทางปฏิบัติทถ่ี ูกตอ งใหแ กเราได
4) ปฏิบัติตามขนมธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม โดยการเคารพเช่ือฟงผูใหญ
หม่ันศึกษาเลาเรียน ไมประพฤติไปในทางชูสาวกอนเวลาอันเหมาะสม การยึดมั่นใน
ขนบธรรมเนยี มประเพณอี ันดงี ามจะชว ยเตอื นใจใหเราปฏิบตั ิในทางทถี่ ูก

2. วัยรุนกับการคบเพื่อน
วัยรุนเปนวัยที่ใหความสําคัญกับเพ่ือนและตองการใหตนเองเปนท่ีนิยมชมชอบใน

กลุม เพื่อน การมเี พ่ือนท่ีดจี ะทาํ ใหว ยั รนุ มผี ูท คี่ อยรวมทุกขรวมสุข ปรับทุกข ชี้แนะแนวทางในการ

58

แกไ ขปญหาอยา งถกู ตอ ง แตถาวยั รุนคบเพื่อนทไ่ี มด ีก็จะชกั นําไปสูท างทไ่ี มดี วัยรุนจึงควรรูจักเลือก
คบเพอื่ นท่ีดแี ละสรา งความสมั พนั ธท ่ีดกี บั เพ่อื น ซ่ึงจะชวยใหสามารถปรับตัวใหเ ขากับสังคมไดตอไป

2.1 หลกั การคบเพื่อน
ควรมีหลักปฏิบัติในการคบเพ่ือน คือวัยรุนควรพิจารณากลุมเพ่ือนที่คบวามี

ความประพฤติเปนอยางไร ถาเพ่ือนคนใดประพฤติตนในทางไมดี ก็ควรแนะนําและชักจูงใหเขา
ประพฤติในทางท่ีดี รจู กั ปฏเิ สธและไมห ลงเชื่อคําชักชวนหรือปฏบิ ตั ิตามเพ่ือนที่มีความประพฤติไมดี
เชน ชวนใหห นีเรียนเท่ียวกลางคืน เลนการพนัน เสพสารเสพตดิ เปนตน โดยในการพูดปฏิเสธนั้น
ใหป ฏบิ ตั ิดังนี้ พดู ดว ยนํ้าเสียงหนัก
แนน ม่นั คง ควรบอกความรสู ึกดกี วา บอกเหตผุ ลหรอื ขออา ง เพราะความรูส กึ เปน เรอ่ื งสวนตัวของแต
ละบุคคล ถาบอกเหตุผลหรือขออาง เพ่ือนอาจจะนําเหตุผลอ่ืนมาลบลางใหปฏิเสธไมได และรูจัก
แนะนําและชักชวนเพื่อนปฏิบัติกิจกรรมที่ดีและมีประโยชน เชน เลนกีฬา เลนดนตรี เรียน
ภาษาตางประเทศ เรยี นคอมพวิ เตอร เขารวมในกิจกรรมพัฒนาตาง ๆ ในชุมชน เปนตน โดยเลือก
ตามความสนใจและความเหมาะสมของตนเอง จะไดเ ปนการใชเ วลาวา งใหเ กดิ ประโยชน

2.2 หลกั ทั่วไปในการผกู มติ ร
หลักทั่วไปในการผูกมติ ร มีแนวทางในการปฏบิ ัติ ดังน้ี
1) รจู ักยอมรับคาํ ติชม เชน รบั ฟง ความคดิ เห็นหรอื คาํ วิพากษวจิ ารณของผอู นื่

เก่ียวกับตวั เราเองดว ยความเตม็ ใจ เปน ธรรม ไมล าํ เอยี งเขา ขา งตนเอง และสามารถควบคมุ อารมณไ ด
2) รูจักอารมณขัน มองโลกในแงดี และควรเปนคนยิ้มงาย เปน

บุคลิกลักษณะที่ดแี ละเปน เสนหที่ทาํ ใหผ พู บเห็นหรือคบคาสมาคมดว ยรสู ึกชมชอบ เกิดความสุขและ
ความสบายใจ นบั วาเปน ส่งิ สําคัญยง่ิ อยางหน่ึงทจ่ี ะนาํ ไปสูการตอนรับและความรวมมอื ทีด่ ี

3) รูจักออนนอมถอมตน ไมคุยโออวดความสามารถของตน ไมพูดจาดูถูก
หรอื ยกตนขมผอู น่ื และรูจักยอมรบั ขอ บกพรอ งหรอื ความดอ ยของตนในดา นตาง ๆ

4) รูจักรับผิดชอบตอหนาท่ี เชน หนาท่ีสําคัญของนักเรียนคือเรียน ครูมี
หนา ทใี่ หก ารศึกษาอมรมแกนักเรยี น นกั ศึกษา

5) รูจักประนีประนอม เม่ือเกิดปญหาหรืออุปสรรคข้ึน ควรจะมีการ
ประนีประนอมหรือรอมชอมกัน ซึ่งเปนวิธีการหน่ึงที่คนเราอาจตกลงกันไดอยางยุติธรรมและมี
เหตุผล

6) รูจักเอาใจเขามาใสใจเรา ใหคิดเสมอวาอะไรก็ตามท่ีเราเองไมชอบ ไม
ตอ งการใหผอู น่ื กระทําตอเรา กจ็ งอยา กระทาํ สงิ่ นนั้ ตอ บุคคลอ่ืน และถาตองการใหบุคคลอ่ืนกระทํา
สิ่งใดตอ เราก็จงกระทําสง่ิ นนั้ ตอเขา

7) รูจักใหกําลังใจคนอ่ืน เชน ยกยองใหเกียรติ ใหกําลังใจผูอื่นดวยการ
ชมเชย รูจักแสดงความชน่ื ชมยินดตี อ ความสําเร็จของเพอื่ นรว มหอง เพอื่ นรวมงาน เปนตน

59

8) รจู ักไววางใจคนอ่นื คอื รูจกั ไวเน้ือเช่ือใจคนอนื่ บา งตามสมควร เพราะคน
อื่นอาจมีความดอยเกินไปในดานตาง ๆ ไดเชนเดียวกับเรา นอกจากนี้บางคร้ังการประเมินคา
ความสามารถของผูอน่ื ดอ ยเกนิ ไป อาจนํามาซ่งึ ความผิดหวังไดดว ย

9) รูจักรวมมือกับคนอ่ืน เชน การใหความรวมมือกับหมูคณะในการ
ประกอบกจิ กรรมตาง ๆ ของสวนรวมดวยความเต็มใจ เพราะผูที่เห็นแกตัวหรือเอาแตไดยอมเปนที่
รงั เกียจของสังคม

10) รูจักเคารพสิทธิของผูอื่น เชน ไมควรใชทรัพยสิ่งของของผูอื่นโดย
พลการ ไมกา วกา ย หรือละเมดิ สทิ ธซิ ง่ึ เปนผลประโยชนอันชอบธรรมของผอู นื่

2.3 หลกั ในการสรางเสรมิ ความสมั พนั ธอ นั ดกี ับกลมุ เพอื่ น
หลกั ในการสรา งเสริมความสมั พนั ธอนั ดีกบั กลมุ เพ่อื น มีแนวทางปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี
1) รูจ กั ตนเองและรูจ ักคนอน่ื วยั รนุ ตองมคี วามเขา ใจในความตองการของตน

และของเพื่อนยอมรับสภาพความเปน จรงิ ของตน และยอมรบั ความแตกตางในตวั เพ่ือนกับตัวเอง ไม
อจิ ฉาริษยาเพ่อื นท่มี ฐี านะดีกวา หรือมีความสามารถมากกวา และไมยกตนขมทานหรือดูถูกเหยียด
หยามเพ่ือนท่ีดอยกวา ตน แตใ หยินดีกับความสําเร็จของเพ่ือน และคอยชว ยเหลอื สนบั สนุนเพื่อนหาก
มีโอกาส

2) มมี นุษยส มั พนั ธท่ีดี รูจกั พดู รูจักฟง เรยี นรูที่จะพูดเรื่องตาง ๆ ในจังหวัด
ท่เี หมาะสม เปดโอกาสใหเพ่อื นไดแสดงความคิดเห็น และรับฟง ความคดิ เหน็ ของเพื่อน เอาใจใสใน
ตัวเพ่ือน และใหความสําคัญกับเพื่อนดวยความบริสุทธ์ิใจ ตลอดจนมีความซ่ือสัตยและจริงใจตอ
เพ่อื น

3) การมองโลก ใหมองในแงทีเ่ ปน จริง ไมม องในแงดีจนเกินไป อันอาจถูก
หลอกลวงและคดโกงได แตไมมองคนในแงรา ยจนเกินไป อันจะทําใหเปน คนใจแคบ ไมร ูจกั การให
อภยั

4) มีนํ้าใจเปนนักกีฬา ยอมรบั ผดิ เม่อื รวู าตนผิด ปฏิเสธในสิ่งที่ตนไมสามารถ
ทําได เม่ือใหส ัญญาอยา งไรไวกบั ใครกต็ องพยายามทาํ ตามสัญญานัน้ ใหด ที ส่ี ุด นอกจากนี้ยังตองรูจัก
เสยี สละและใหอ ภัยแกเ พ่อื นเมอื่ เกิดขอ ผดิ พลาด โดยทําความเขาใจถึงสาเหตุท่ีทําใหเกิดขอผิดพลาด
นนั้ และรวมมอื กันปรับปรงุ แกไ ขตามสาเหตทุ เ่ี กดิ ขนึ้ ตอไป

หรือสงผลมากระทบ และเมื่อเกิดอารมณขึ้นก็มักจะพบวาพฤติกรรมการ
แสดงออกดังกลาว มกั มีการเปลยี่ นแปลงหรอื แตกตางไปจากสภาพเดิม ซึ่งสังเกตเห็นไดชัดเจนหรือ
อาจไมช ัดเจน ทั้งนี้ขึ้นอยูกบั ความสามารถในการปรับสภาพอารมณข องแตละบุคคล

60

เรือ่ งท่ี 3 พฤติกรรมทน่ี าํ ไปสูการมีเพศสมั พันธ

ปจจบุ นั ปญหาจากพฤติกรรมทางเพศที่ไมเหมาะสมของวัยรุนมีหลายลักษณะ เชน
การมีเพศสัมพันธก อนวัยอันควร การตดิ เชอ้ื เอดสแ ละโรคตดิ ตอทางเพศสมั พันธ รวมท้งั การตงั้ ครรภ
ทไ่ี มพึงประสงคในวยั รนุ ทง้ั ท่ีมาจากพฤติกรรมทางเพศท่ีไมเหมาะสมโดยตรง และมาจากอบุ ัติภัยทาง
เพศนับเปน ปญ หาทางเพศของวยั รนุ ที่อยใู นอนั ดับตน ๆ

อยางไรกต็ าม มีวัยรุนท่จี บั คกู นั บางคไู มม ีเพศสมั พันธกัน ซึ่งมีสาเหตุหลายประการ
เชน พอแมดแู ลเอาใจใสอ บรมส่ังสอนดี พอแมติดตามดแู ลอยางใกลชิด ไมเปดโอกาสใหท้ังคูไดอยู
ในสถานการณท่ีเส่ียงตอการมีเพศสัมพนั ธ วยั รนุ คดิ ไปขา งหนาเกิดความเกรงกลัววาจะมีปญหาตาง ๆ
ตามมามากมาย มีความละอายใจและรสู ึกวาผิด กลัวเสียชื่อเสียง และกลัวคนอื่นจะรู ไมมีโอกาสท่ี
จะไดกระทํา มีความยบั ยั้งชัง่ ใจ เปนตน

การจับคูกันนั้นสวนใหญจะทาํ ใหก ารเรียนแยล ง การมีคูร ักไมใชสัญลักษณของการ
ประสบความสาํ เรจ็ ในชีวิต ไมใชแฟช่ัน หากวัยรุนคนใดยังไมมีคูรักก็ไมควรรูสึกวาตัวเองดอยกวา
เพื่อนที่มีคนรัก ไมจําเปนท่ีจะตองคบกับใครสักคนเปนคูรัก เพียงเพราะตองการใหตนเองเหมือน
เพ่อื นคนอนื่ ๆ เทานั้น

ความคาดหวงั ในเรอื่ งความรักของผูหญิงและผูช ายทแ่ี ตกตางกันน้ัน เปน สิ่งที่วยั รุนที่
จับคกู นั ไมควรมองขา ม เพราะจะทาํ ใหรูวาหญิงและชายจะปฏบิ ัติตอ คนรักตา งกนั ผชู ายจะคดิ ถงึ เร่ือง
การไดสัมผัส ลวงเกินจนถึงข้ันมีเพศสัมพันธ จึงเปนสาเหตุหนึ่งท่ีจะทําใหผูหญิงตองเสียความ
บริสุทธิก์ อนวยั อนั ควร และมักไมค อยเตม็ ใจ ซ่ึงวยั รุน หญงิ จะตองระวังใหด ีในเร่อื งน้ี

1. พฤติกรรมที่เสี่ยงตอ การมเี พศสมั พนั ธ
วัยรุนเปน วยั ทเ่ี กดิ ความเปล่ียนแปลงและพัฒนาการอยางรวดเร็วในเร่ืองเพศ บางคน

จงึ เกิดความสนใจในเพศตรงขา ม สนใจในเรือ่ งเพศ การจับคเู ปน คูรกั กนั การเกิดอารมณทางเพศ การ
ดูสอ่ื ลามก การมเี พศสมั พนั ธกับครู กั การมีสัมพนั ธก ับหญิงขายบรกิ ารทางเพศ หรอื การขายบรกิ ารทาง
เพศ

เม่อื เปน เชน นีผ้ ลเสยี ที่ตามมา ไดแ ก การมีเพศสมั พนั ธกอ นวัยอันควร ทําใหเกิดความ
วติ กกงั วล เสยี การเรยี นเพราะจะสนใจการเรียนนอยลง เกดิ การต้ังครรภที่ไมพึงประสงค การทําแทง
ปญหาลูกไมมีพอ ทารกถกู ทอดทิง้ โรคติดตอทางเพศสมั พันธ โรคเอดส เปนตน

เหตุและผลดังกลาวขางตนนี้ มกั จะเรมิ่ จากตัวของวัยรุนเองทีม่ ีพฤตกิ รรมเสยี่ งตอการ
มเี พศสมั พันธ ซง่ึ มีดงั นี้

1. สนใจเร่ืองเพศมาก ปกตวิ ัยรนุ กจ็ ะสนใจเรือ่ งเพศอยูแ ลว เพราะเปน ธรรมชาติของ
วัย แตถา หมกมุนกับเรอื่ งนม้ี ากเกินไป และโอกาสหรือสถานการณเออื้ อาํ นวยวยั รนุ อาจมีเพศสัมพนั ธ

61

โดยไมคดิ ไมไ ดตดั สินใจหรอื ไมไดวางแผนลวงหนา คือปลอ ยใหเปนไปตามความตองการและอาจไม
คิดถึงผลกระทบท่จี ะเกดิ ขึ้นภายหลงั

2. มีความหมกมุนในเรื่องเพศ มีวยั รุนจํานวนหน่ึงโดยเฉพาะวัยรนุ ชายทหี่ มกมุนใน
เร่ืองเพศมากเกินไปอาจมีการสําเร็จความใครดวยตนเองบอยคร้ัง โดยไมพยายามหลีกเล่ียง หรือ
พยายามจดั การกับอารมณท างเพศ ในผูห ญิงก็อาจมีบางแตไมมากเทาผูชาย บุคคลประเภทน้ีมีความ
เสี่ยงตออาการมเี พศสมั พันธ

3. ชอบถูกเนอ้ื ตองตัวเพศตรงขาม ผชู ายมักจะยินดีทไ่ี ดถ ูกเน้ือตอ งตัวผูหญิงหรอื ให
ผูหญิงมาถูกเน้อื ตอ งตัวตนเอง สว นผหู ญิงทค่ี ดิ เชนเดยี วกบั ผูชายนก้ี ม็ บี าง การถูกเนื้อตองตัวกันทาํ ให
เกิดอารมณทางเพศได ถามโี อกาสหรอื สถานการณท ีเ่ อ้ืออาํ นวยก็อาจถึงข้นั การมเี พศสมั พันธกนั ได

เร่อื งน้ีมักจะพบเหน็ อยบู อยครง้ั ในหมูวัยรุนท่ีมักถือโอกาสถูกเน้ือตองตัวกัน ถาถูก
ผใู หญดุหรอื เตือนก็จะบอกวา เปนเพ่อื นกัน ไมคดิ อะไร ถึงแมวาจะมบี างคนทไ่ี มไดค ิดอะไรจริง ๆ แต
กไ็ มเ หมาะสม เพราะจะถูกมองวาเปนหญิงสาวที่ไมรักนวลสงวนตัว ใหผูชายถูกเนื้อตองตัวงาย ๆ
ผูชายก็ไมเปนสุภาพบุรุษเพราะชอบหาเศษหาเลยดวยการถูกเนื้อตองตัวผูหญิง ดังน้ันนักเรียนควร
ปองกนั และหลีกเล่ยี งไมใหเ กิดพฤตกิ รรมน้ี

4. คดิ วา การมเี พศสัมพันธไ มใ ชเรื่องเสยี หาย ไมว าชายหรอื หญงิ ที่คิดเชนนี้จะเปนผู
ทเี่ ส่ียงตอการมเี พศสัมพันธมาก ผชู ายมกั จะคิดเชน น้ี ซ่ึงเปนนิสัยท่ีติดตัวของผูชายมาอยูแลว แตถา
ผูหญงิ คดิ เชนน้ีดว ยก็นับวาเปน การสนับสนนุ ใหผ ูชายสมหวงั ขนึ้ จนเปน เปนปญหาสําคญั ปญ หาหนึ่ง
ในครอบครัวและสังคมไทย เพราะเปนความคิดที่นําไปสูการมีเพศสัมพันธกอนวัยอันควร ซึ่งจะ
กอ ใหเ กดิ ปญ หาตามมามากมาย

5. ดูสอื่ ลามก ปจจุบนั น้ีมสี อื่ ลามกขายกนั มากมายตามทองตลาด วัยรนุ หลายคนรวู า
แหลง ซือ้ ขายอยทู ีใ่ ด การดูสื่อลามกประเภทนท้ี าํ ใหผูด ูเกิดอารมณท างเพศ วยั รนุ เปน วัยที่อยากรอู ยาก
ลอง เม่ือดูแลวบางคร้ังอาจอยากทดลองทําตามคูพระนางในสื่อลามกนั้น ดังวัยรุนที่มีขาวลงหนา
หนงั สือพมิ พวา ไปขม ขืนหรือไปมั่วสุมมเี พศสมั พันธกันแลวรับสารภาพวาทําตามอยางในสื่อลามกที่
เคยดู

6. เปนคนเจาชู คนเจาชูคนท่ีชอบมีคูรักหรือสามีภรรยามากกวา 1 คน หรือมีไป
เรือ่ ย ๆ ตามความพอใจ วัยรุนท่ีเปนคนเจาชูจะมีใจกลาในเรื่องน้ี และขาดความรับผิดชอบในส่ิงท่ี
ตนเองกระทาํ ไมร ักใครจริง ถาเบื่อกพ็ รอมท่ีจะทอดท้งิ บุคคลประเภทน้ีจะมีเพศสัมพันธงา ย ๆ ไมคิด
อะไรมาก ผหู ญงิ เปน ฝายท่ีตองรับภาระในสง่ิ ที่ทัง้ คูไ ดก ระทาํ ลงไป เชน เปนฝา ยตงั้ ครรภอ าจตองไป
ทาํ แทง หรอื ตองคลอดลูกแลว เลยี้ งลูกตามลาํ พัง เปน ตน จึงตอ งระวังคนเจา ชูและตองไมเ ปน คนเจา ชู

7. เคยมีประสบการณทางเพศมาแลว ไมวาจะเปนผูชายหรือผูหญิงที่เคยมี
ประสบการณในการมีเพศสัมพันธมาแลว ในครั้งตอ ๆ ไปมันจะไมคิดมาก ใจกลาข้ึน ไมกลัว
หรือไมก็ติดใจในเพศรสจงึ เปนมลู เหตทุ ่ีทําใหเกดิ ความเส่ยี งตอ การมเี พศสัมพันธซาํ้ ไดอีก

62

8. เสพสารเสพติด ผูทีเ่ สพสารเสพตดิ จะเกิดอาการมนึ เมาเคลบิ เคลิม้ ขาดความรูสึก
ผดิ ชอบช่ัวดี ครองสติไมได จงึ มักทาํ อะไรลงไปแบบไมค ดิ อะไรมากหรอื งง ๆ ไมคอยรูตัว ดังขาวที่
พบเหน็ บอย ๆ วา วยั รนุ ไปจดั ปารต้ยี าอี ยาบา หรอื ไมก็ไปดื่มแอลกอฮอล พอมึนเมาเสพสารเสพติด
หรือยอมมีเพศสมั พนั ธเ พ่อื แลกกบั สารเสพติดในกรณีที่ติดสารเสพตดิ แลว

9. ขาดความไตรตรอง บุคคลประเภทนี้มักไมคิดถึงผลที่จะตามมาหรือผลกระทบ
หลงั การมเี พศสมั พนั ธว าจะเปน อยางไร เปนคนแกปญหาเฉพาะหนาไปวันหน่ึง ไมคิดถึงอนาคตวา
เปน อยางไร ตัดสินใจโดยขาดสติ

10. อยากรอู ยากลอง วัยรนุ เปนวยั ทอ่ี ยากรอู ยากลองอยูแลว แตถาอยากรูอยากลอง
เรื่องเพศนน้ั นบั วา เปน อนั ตราย ปจ จัยที่กระตุนใหอยากรูอยากลองนอกจากจะมาจากตนเองแลว ยัง
อาจมาจากปจ จยั อน่ื ๆ เชน เพ่อื นชักชวน อา นหนังสอื ลามก
2. การหลกี เลีย่ งและปอ งกนั ตนเองจากสถานการณการเสีย่ งตอ การตั้งครรภโดยไมตัง้ ใจ

มผี ูห ญิงจาํ นวนไมน อยที่ตั้งครรภโดยไมตั้งใจ ทั้งน้ีเพราะไมคาดคิดมากอนวาจะมี
เพศสมั พนั ธกบั ผูชายซง่ึ อาจเปน ครู กั ของตนเอง เปนเพ่ือน คนแปลกหนา พอเลี้ยง หรือแมแตญาติ
ของตน และไมมีการปองกันการต้ังครรภแตอยางใด ดังนั้นผูหญิงควรเรียนรูถึงการหลีกเลี่ยงและ
ปอ งกนั ตนเองจากสถานการณเ ส่ียงตอ การตงั้ ครรภโ ดยไมต้งั ใจ ซ่ึงมีขอ แนะนาํ ดงั น้ี

1. ในกรณีเมือ่ อยกู บั คูรกั ของตนเอง ควรปฏิบตั ดิ งั นี้
1.1 ไมย อมใหครู กั ไดส มั ผัส จบั มอื โอบกอด ถา ถูกกระทําเชน นี้ควรแสดงทาที

ไมพ อใจและปฏเิ สธการกระทําดังกลาวอยางจริงจัง มิฉะนั้นอาจนําไปสูการมีเพศสัมพันธเนื่องจาก
สภาพแวดลอมเหมาะสมและเปน ใจ

1.2 ไมอ ยใู นทีล่ บั ตาคนสองตอ สอง เพราะคูรกั อาจจะลวงเกินเราได และย่ิงเรา
มีใจชอบฝายชายดวยกอ็ าจจะยินยอมจนถึงข้นั มีเพศสมั พนั ธได

1.3 ไมไ ปเที่ยวกนั แบบคางคืน เพราะการคางคืนจะเปนการเปดโอกาสใหฝาย
ชายลว งละเมิดทางเพศได

1.4 ไมควรดสู อ่ื ลามกโดยเฉพาะกบั ครู กั เพราะจะทําใหท้ังสองฝายเกิดอารมณ
ทางเพศและนาํ ไปสกู ารมีพฤติกรรมทางเพศทไ่ี มเหมาะสม

1.5 การไปเทย่ี วในงานวนั สําคญั ตาง ๆ เชน วนั วาเลนไทน วันลอยกระทง วัน
ข้ึนปใหม ที่เปน การเท่ียวในเวลากลางคืน แลวจะไปตอกันในสถานที่ท่ีอาจจะมีเพศสัมพันธกันได
ดงั นนั้ การไปเท่ียวกบั ครู ักในวันสําคัญดังกลา วควรระมดั ระวังตัวใหดี ถา เราคดิ วาไมนาไววางใจก็ไม
ควรไปโดยหาทางปฏเิ สธอยา งนุม นวล

1.6 การไปเทยี่ วงานสงั สรรคห รอื ตามสถานบันเทิงกับคนรักควรระมัดระวังตัว
ดวย เพราะอาจด่มื เครอื่ งดม่ื ท่มี แี อลกอฮอลแลว ทาํ ใหมึนเมาไมรสู ึกตวั

63

1.7 อยาใจออนถาถูกขอท่ีจะมีเพศสัมพันธดวย อยาหลงคารมเขาเปนอันขาด
และไมต องกลวั เขาโกรธ รกั ษาความบริสุทธ์ิของเราดีกวา หากพลาดพลั้งไปแลวก็ควรระวังอยาให
เกดิ ขนึ้ อีก

2. ในกรณีเม่ืออยกู บั เพ่อื นชาย ควรปฏบิ ัตดิ ังนี้
2.1 อยาใหมาถูกเนื้อตองตัวโดยไมจําเปน เพราะถาวันใดท่ีเพ่ือนชายมีโอกาส

ผหู ญงิ อาจพลาดทาเสียทไี ด
2.2 อยาไวใจใครมากนกั มเี พื่อนหลายคนทห่ี ลอกพาเพอ่ื นไปขมขืน บางรายให

เพอ่ื นคนอนื่ ๆ ขมขนื ดว ยตามท่ีมีขาวใหพบเหน็ อยูบ อย ๆ
2.3 ไมไ ปเที่ยวแบบคางคืน ถึงแมจะไปเปนหมูคณะก็ตองระมดั ระวัง
2.4 การไปเทย่ี วตามสถานบนั เทิงแลว กลบั ดึกอาจเปนอันตราย ถามีเพ่ือนอาสา

ไปสงบานก็ควรระวัง เพราะอาจพาไปทีอ่ น่ื ได
3. ในกรณเี มอ่ื อยูกบั คนแปลกหนา ควรปฏิบตั ิดังน้ี
3.1 อยาไวใ จคนแปลกหนาเปน อนั ขาด เพราะยังไมรูจักนิสัยใจคอเขาดีพอ ถา

หลงเชื่ออาจถูกเขาหลอกได โดยเฉพาะถาพบกันในสถานบันเทิงเริงรมยเขาอาจจะมองเราวาเปน
ผหู ญิงท่รี กั สนกุ คงจะมีเพศสมั พนั ธดว ยไมยาก

3.2 ไมควรเดินทางไปในท่ีเปล่ียวยามค่ําคืน เพราะมีผูหญิงถูกคนรายลักพาตัว
ไปขม ขนื มาหลายรายจนนับไมถ วนแลวในสถานการณเ ชน นี้

3.3 อยา เชอื่ คนท่รี จู กั กนั ทางอนิ เทอรเนต็ ถงึ แมจะคยุ กันจนเหมอื นรูจักกันดีแลวก็
ตาม เพราะยงั ไมเคยเหน็ หนา กัน ก็ยังคงเปนคนแปลกหนา อยูด ี หญงิ สาวหลายรายที่ถูกคนทรี่ ูจักกันทาง
อนิ เทอรเนต็ หลอกไปขมขนื บางรายมกี ารถายรูปไวเ พอื่ ขมขแู ละตอ รองเร่อื งอืน่ ๆอกี ดวย

4. ในกรณีเม่อื อยกู ับพอเล้ียงหรือญาติ ผูห ญงิ ทีถ่ ูกคนใกลชดิ ในครอบครวั ขม ขืนนั้น
มมี าก และมักไมย อมบอกใคร บางรายถกู ขมขืนมานานนับป บางคร้ังเกดิ การต้ังครรภ เพราะคนใน
ครอบครวั นัน้ ใกลช ิดเห็นกนั อยูทุกวันหรือพบกันบอย ไวใจกันมาก ในเร่ืองน้ีผูหญิงควรปฏิบัติตน
ดังน้ี

4.1 ใหสังเกตการณสัมผัสของบุคคลเหลานั้นวา สัมผัสดวยความเอ็นดูแบบ
ลกู หลานหรอื แบบชูสาว ถา มกี ารสมั ผสั นาน ลูบคลํา จับตองของสงวน ตองระมัดระวงั อยา เขาใกล

4.2 ควรนอนในหอ งทีม่ ดิ ชิดใสก ลอนหรือลอ็ คกุญแจใหเรียบรอ ย
4.3 ถา บุคคลเหลาน้ันมนึ เมาอยาไวใจ เพราะทําใหขาดสติ และกระทําในส่ิงท่ี
ไมคาดคดิ ได
4.4 การแตง ตัวอยูบา น การอาบนํา้ ตอ งกระทาํ อยา งมิดชิด อยาเปดเผยเรือนราง
มากนกั เพราะอาจเปน การยัว่ ยุอารมณทางเพศแกบคุ คลเหลา นัน้ ได

64

4.5 ถาถกู บคุ คลเหลา น้ันลวนลามควรบอกใหค นในบา นทราบ หรือรองตะโกน
ใหผูอืน่ ชว ยเหลือ ไมต องอายเพราะเขาทาํ ไมถูกตอง

ขอควรคดิ เก่ียวกบั การมเี พศสมั พันธ
มีผูหญิงบางคนท่ีคิดวาการมีเพศสัมพันธเปนเร่ืองปกติไมใชเร่ืองผิด ไมรับรูถึง
ขนบธรรมเนยี มและวฒั นธรรมไทย จงึ ควรตรวจสอบตนเองวา มคี วามรบั ผิดชอบตอตนเองและสังคม
เพียงใด โดยตอบคาํ ถามเหลานใ้ี หไ ดเสียกอนทจ่ี ะคิดมีเพศสัมพันธ
1. ถายินยอมมเี พศสัมพนั ธ เราจะยอมรับกับผลท่ีจะตามมาไดเพียงใด เชน คําครหา
ของคนในสงั คม ความกลวั คนอนื่ จะลวงรู การตัง้ ครรภ การถูกผชู ายทิ้งหลังจากไดเสียกันแลว การ
เสียความบรสิ ทุ ธไ์ิ ปแลวผูช ายคนน้ีคอื คนทีจ่ ะเปนคชู วี ิตของเราหรือไม เปนตน

2. เมื่อเรายังไมพรอมท่ีจะมีลูกจะปองกันตนเองอยางไร รูวิธีปองกันการต้ังครรภ
เพียงใด เมอ่ื ปอ งกันแลว จะผิดพลาดไดห รือไม ถา พลาดมลี ูกขึน้ มาจะทําอยางไร ผูชายจะรับผิดชอบ
หรอื ไม ตนเองไมอบั อายคนอืน่ ๆ หรือถา จะตอ งไปทําแทง การทําแทง มอี ันตรายเพียงใด

3. การตง้ั ครรภท ีไ่ มพงึ ประสงคในวยั รุน
การต้ังครรภท ไี่ มพงึ ประสงคในวัยรุน หมายถึง การตั้งครรภท่ีเกิดขึ้นในวัยรุนเพศ

หญงิ ซ่งึ เปนผลสืบเนื่องมาจากการมเี พศสมั พนั ธท เี่ กิดขน้ึ โดยไมไ ดตัง้ ใจ โดยอาจมีสาเหตสุ าํ คญั มาจาก
พฤติกรรมทางเพศทไ่ี มเหมาะสมของวยั รนุ หรอื อาจเกดิ จากการถกู ขมขืนกระทําชําเรา

3.1 ปญหาและผลกระทบของการตั้งครรภที่ไมพ งึ ประสงคใ นวยั รุน
ปญ หาการตงั้ ครรภทีไ่ มพ งึ ประสงคผ ลกระทบทสี่ ําคัญ ดงั น้ี
1) สง ผลกระทบตอ วยั รนุ ทตี่ ัง้ ครรภโดยไมพึงประสงคโดยตรง ซ่ึงผลกระทบ

ดังกลาวสรา งปญหาท่ตี ิดตามมา เปนตนวา
ปญหาทางดานจิตใจและอารมณ วัยรุนท่ีมีปญ หาการตั้งครรภท่ไี มพงึ ประสงค

มกั มคี วามรสู ึกวาตนเองทําผิด เกิดความละอายใจ และมีความคิดวาไมมีใครรักใครตองการอีก ซึ่ง
บางคนอาจแสดงพฤติกรรมทางเพศที่ไมเหมาะสมและรุนแรงข้ึน หรือบางคนอาจไมแสดงออกและ
มกั เกบ็ กดอยากทาํ ลายชีวิตตนเอง ฯลฯ ซงึ่ ภาวะทางจิตใจและอารมณของวัยรุนที่ต้ังครรภโดยไมพึง
ประสงคน ้ีจะมมี ากหรอื นอ ยข้ึนอยูกบั การยอมรับและความเขาใจของคนในครอบครัว ถาครอบครัว
ยอมรบั เขา ใจ และใหอภัย ปญหาทางดา นจติ ใจและอารมณก ็จะลดนอ ยลงได

ปญหาทางดานสุขภาพ ปญ หาท่ีมักพบ คอื ปญ หาโรคเอดสแ ละโรคติดตอ
ทางเพศสัมพันธ การมีเพศสัมพันธโดยไมไดมีการปองกันและคุมกําเนิดยอมมีโอกาสใหวัยรุนเพศ
หญิงไดร บั เชอ้ื เอดส หรอื โรคติดตอ ทางเพศสัมพนั ธจ ากฝา ยชายในอตั ราเสี่ยงที่สูง ปญหาทางทําแทง

65

ซงึ่ มกั จะสงผลกระทบตอผูทาํ แทง ไดโ ดยเปน อันตรายตอชีวิต ซึ่งมักเกิดจากการตกเลือดหรือการติด
เช้อื อยางรนุ แรง นอกจากนน้ั ยังเปน อปุ สรรคตอ การมีบุตรในอนาคต แมก ารทําแทงจะผานพน ไป แต
การทําแทงอาจทําใหเ กดิ การอกั เสบเร้อื รงั ในโพรงมดลกู และทอ มดลูก เปนผลใหโพรงมดลูกและทอ
มดลูกตบี ตนั มดลกู ทะลหุ รืออักเสบอยางรุนแรงเพราะเคร่อื งมอื ทาํ แทง ทาํ ใหบางคนตองตัดมดลกู ทิ้ง
หรือการขยายปากมดลูกขณะทําแทงทําให ปากมดลูกฉีกขาด หูรูดของปากมดลูกหลวม เกิด
ภาวการณแทงบุตรไดงาย และยังสงผลใหมีปญหาสุขภาพที่ตอเนื่อง โดยเฉพาะมักจะพบวามีการ
อักเสบเรอื้ รงั ในชองเชงิ กราน

2) สง ผลกระทบตอครอบครัวของวัยรุนท่ีตั้งครรภโดยไมพึงประสงค มัก
พบเสมอวาเม่อื วยั รุนเพศหญงิ ตงั้ ครรภโดยไมพึงประสงคขึ้น วัยรุนของเพศชายมักจะไมแสดงความ
รับผิดชอบตอส่ิงที่เกิดขึ้นภาระความผิดชอบจึงตกเปนของฝายหญิงและครอบครัวเพียงฝายเดียว ถา
ครอบครวั ฝายหญิงมคี วามเขา ใจและใหอภัยตอความผิดพลาดที่เกิดข้ึน และครอบครัวยังพรอมท่ีจะ
รวมแกปญหาการเลีย้ งดเู ด็กทีจ่ ะเกิดขน้ึ ได ก็จะชว ยลดปญ หาทางดา นอารมณแ ละจิตใจของวัยรุนเพศ
หญิงลงได แตในทางตรงขาม หากครอบครัวของวัยรุนเพศหญิงไมสามารถยอมรับปญหาที่เกิดข้ึน
ดงั กลาวกอ็ าจสงผลใหเกดิ ปญหาตา ง ๆ ตามมาได

3) สงผลกระทบตอสังคมและประเทศชาติ การตั้งครรภท่ีไมพึงประสงคของ
วัยรนุ ทําใหเ กิดปญ หาทางสงั คมตาง ๆ ตามมาดังทีไ่ ดกลาวมาแลว นอกจากนี้ ประเทศชาตติ อ งสญู เสีย
งบประมาณบางสวนท่ีตองนาํ มาใชเพอื่ การบาํ บัดรักษา ดูแลสุขภาพของวัยรนุ เพศหญิงท่ตี ง้ั ครรภโดยไม
พึงประสงค ตองจัดงบประมาณในการเลีย้ งดปู ระชากรสวนหนง่ึ ท่ีเกดิ จากผลพวงของปญหาดงั กลา ว

3.2 การปองกันการตง้ั ครรภท ไ่ี มพ ึงประสงคใ นวัยรนุ
การปองกันมีแนวทางในการปฏิบัติ ดงั น้ี

1) ตองรูจักหลีกเล่ียงสถานการณที่เอื้ออํานวยใหเกิดการมีเพศสัมพันธ มัก
พบวาการมีเพศสมั พันธท ไี่ มไ ดตัง้ ใจของวัยรุนมักจะเกิดจากสถานการณหรือบรรยากาศที่เอื้อใหเกิด
โอกาสตอการมีเพศสมั พนั ธ เชน การอยูตามลําพังสองตอสองในท่ีลับตาคน หรือการเขารวมในกิจกรรม
พบปะสงั สรรคทมี่ ีการดมื่ เคร่ืองผสมแอลกอฮอล เปน ตน

2) ตองรูจักใชทักษะในการปฏิเสธเพื่อแกไขสถานการณเสี่ยงตอการมี
เพศสมั พนั ธ วิธกี ารหลกี เล่ยี งและแกไขสถานการณด งั กลาว ฝา ยหญงิ ตองนาํ ทกั ษะการปฏิเสธไปใช ซ่ึง
การปฏเิ สธของฝายหญิงจะเปน สญั ญาณเตือนใหฝายชายหยุดแสดงพฤติกรรมทางเพศท่ีไมเหมาะสม
ออกมา แนวทางในการใชค าํ พดู ทเี่ ปน ทกั ษะของการปฏิเสธ มหี ลายขอ ความ เชน “หยุดนะ อยาทํา
แบบน”ี้ ฉนั ไมช อบหยดุ นะ” “อยา นะ ฉันจะตะโกนใหล ั่นเลย” “คุณไมมีสิทธิ์ท่ีจะทําแบบนี้” และ
อื่น ๆ ตามความเหมาะสมซงึ่ คาํ พูดท่เี ปน ทักษะในการปฏิเสธมกั จะมีคําวา “ไม” “อยา ” หรือ “หยดุ ”

66

3) ตองรจู ักใหเ กยี รตซิ ึ่งกันและกัน การท่ีฝายหญิงและฝายชายนําหลักความ
เสมอภาคทางเพศ และการวางตวั ทเ่ี หมาะสมตอเพศตรงขามมาใช ถือวาเปนการใหเกียรติซ่ึงกันและ
กนั ซ่ึงจะชว ยปองกันอารมณในขณะพบปะพูดคยุ กันไมใหพ ัฒนาไปสคู วามตองการทางเพศได

4) ตองระมดั ระวังในเรื่องการแตงกาย ปจจบุ ันรปู แบบการแตงกายของวัยรุน
โดยเฉพาะวัยรุน เพศหญงิ มักนยิ มสวมเสอื้ ผา ทร่ี ัดรปู หรอื นอ ยช้ืนเกินไป ซ่ึงการแตงกายดังกลาวจะทํา
ใหเห็นรูปรางสัดสวนชัดเจนขึ้น การแตงกายในลักษณะดังกลาวจะสงผลเราใหเพศตรงขามเกิด
อารมณและขาดความ
ย้งั คดิ อาจนาํ ไปสกู ารแสดงพฤติกรรมการลวงละเมิดทางเพศท่ีเปนอันตราย จนถึงการตั้งครรภท่ีไม
พงึ ประสงคใ นเพศหญงิ ได

5) ควรหลกี เลยี่ งการเดนิ ทางตามลาํ พังในยามวกิ าลหรือในเสนทางที่เปล่ียว
จากสถติ ิของวยั รุนเพศหญิงพบวา อันตรายที่ไดรับจากการถูกขมขืนมักเกิดขึ้นในยามวิกาลหรือใน
เสนทางที่เปล่ียวผูคนสัญจรนอย ดังน้ัน วิธีการปองกันท่ีดีที่สุดหากจําเปนจะตองเดินทางใน
สถานการณดังกลา ว ควรจะมีเพอ่ื นหรือญาตริ ว มเดนิ ทางไปดว ยเพ่อื ปองกันอนั ตรายทอี่ าจเกิดข้นึ

4. ความรูเบ้ืองตองเกีย่ วกบั กฎหมายคมุ ครองสทิ ธผิ ถู กู ลวงละเมดิ ทางเพศ
กฎหมายไดร ะบฐุ านความผิดเก่ียวกับการถกู ลวงละเมดิ ทางเพศไว 2 ลกั ษณะ ดังนี้
4.1 ความผิดฐานขมขนื กระทาํ ชําเรา
ผูท่ีขมขืนกระทําชําเราเด็กหญิงอายุไมเกิน 15 ป ซึ่งมิใชภรรยาตน โดย

เด็กหญิงนั้นจะยนิ ยอมหรอื ไมก ็ตาม ตองระวางโทษจาํ คกุ ตัง้ แต 4-20 ป และปรบั ตั้งแต 8,000-40,000
บาท (ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 277 วรรคหน่งึ )

ถาการกระทําความผิดตามวรรคแรก เปนการกระทําแกเด็กหญิงอายุไมเกิน
13 ป ตองระวางโทษจําคกุ ตัง้ แต 7 ป ถงึ 20 ป และปรับต้ังแต 14,000-40,000 บาท หรือจําคุกตลอด
ชวี ติ (ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 277 วรรคสอง)

ถาการกระทําผิดตามวรรคแรกหรือวรรคสอง ไดกระทําโดยรวมกระทํา
ความผิดดว ยกนั อนั มลี กั ษณะเปนการโทรมเด็กหญิง (คือรวมกันกระทําความผิดต้ังแต 2 คนข้ึนไป) โดย
เด็กหญิงนนั้ ไมยินยอม หรือไดกระทําโดยมีอาวุธ เชน อาวุธปน หรือวัตถุระเบิด หรือโดยการใช
อาวุธอ่ืน ๆ ตองระวางโทษจาํ คกุ ตลอดชวี ิต (ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 277 วรรคสาม)

แตม ขี อยกเวน คอื ถา การกระทาํ ดงั กลาวขางตนเปนการกระทําที่ชายกระทํา
กบั เดก็ หญงิ อายมุ ากกวา 13 ป แตไ มเกิน 15 ป โดยเด็กหญิงน้ันยินยอม และภายหลังศาลอนุญาตให
สมรสกัน ผูกระทําผดิ ไมตองรบั โทษ และถาศาลอนุญาตใหสมรสกันในระหวางท่ีผูกระทําผิดกําลัง

67

รับโทษในความผดิ นัน้ อยู ศาลตอ งสงั่ ปลอยผูกระทําความผิดน้ันไป (ประมวลกฎหมายอาญามาตรา
277 วรรคสี่)

ถาเปนการกระทาํ ชําเราเด็กหญงิ อายยุ ังไมเกิน 15 ป ซึ่งมิใชภรรยาของตน โดย
เด็กหญิงนั้นจะยินยอมหรือไมก็ตาม หรือเปนการกระทําแกเด็กอายุไมกิน 13 ป แลวเปนเหตุให
เดก็ หญงิ ไดร บั อนั ตรายสาหัส เชน ไดรับบาดเจ็บสาหสั ผูกระทําตองระวางโทษต้งั แต 15 ป ถึง 20 ป
และปรับต้งั แต 30,000-40,000 บาท หรือจาํ คุกตลอดชีวิต (ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 277 ทวิ (1) )
และหากเดก็ นั้นถึงแกค วามตาย ผูก ระทําตองระวางโทษประหารชีวติ หรือจําคกุ ตลอดชวี ิต (ประมวล
กฎหมายอาญามาตรา 277 ทวิ (2) )

หากการกระทาํ ชาํ เราเด็กหญิงอายุยังไมเกิน 3 ป หรือการกระทําแกเด็กหญิง
อายุยงั ไมเกนิ 15 ป ดังกลาวขางตน ไดรวมกระทําความผิดดวยกันอันมีลักษณะเปนการโทรมหญิง
หรอื กระทําโดยมอี าวธุ ปน หรอื วัตถุระเบิดหรือโดยการใชอาวุธ และเปนเหตุใหเด็กหญิงผูถูกระทํา
ไดร บั อันตรายสาหสั ผกู ระทาํ ตอ งระวางโทษประหารชวี ิต หรอื จาํ คกุ ตลอดชวี ิต และหากเด็กหญิงที่
ถกู กระทําถึงแกความตาย ผกู ระทําตองไดรับโทษประหารชีวิต และหากเด็กหญิงที่ถูกกระทําถึงแก
ความตาย ผูกระทําตอ งไดร ับโทษประหารชีวิต (ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 277 ตรี)

4.2 ความผดิ ฐานกระทําอนาจารตอเด็ก
ผทู ีก่ ระทําอนาจารแกบุคคลอายุตํา่ กวา 15 ป โดยขเู ข็ญดวยประการใด ๆ โดย

ใชก าํ ลงั ประทุษราย โดยบคุ คลนัน้ อยใู นภาวะท่ีไมสามารถขัดขืนได หรือโดยทําใหบุคคลน้ันเขาใจ
ผดิ วาตนเปนบคุ คลอื่นตอ งระวางโทษจําคุกไมเ กนิ 10 ป หรือปรับไมเกิน 20,000 บาท หรือทั้งจําทั้ง
ปรบั (ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 279 วรรคหน่งึ )

ถา การกระทาํ อนาจารนนั้ กระทาํ ตอ เดก็ อายุไมเกนิ 15 ป และผกู ระทําผดิ ได
กระทําโดยการขูเขญ็ ดว ยประการใด ๆ โดยใชกาํ ลังประทุษราย โดยบุคคลนน้ั อยูใ นภาวะทไ่ี มสามารถ
ขัดขืนได หรอื โดยทําใหบ ุคคลน้นั เขา ใจผิดวาตนเปนบุคคลอ่ืน มีโทษหนักคือ ผูกระทําตองระวาง
โทษจําคุกไมเกิน 15 ป หรือปรับไมเกิน 30,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ (ประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 279 วรรคสอง) หากการกระทําดังกลาวขางตน เปนเหตุใหผูถูกกระทําไดรับอันตรายสาหัส
ผูกระทาํ อนาจารตองระวางโทษจําคุกตั้งแต 5 ป ถึง 20 ป และปรับตั้งแต 10,000-40,000 บาท และ
หากผูถูกกระทําถงึ แกความตาย ผกู ระทาํ ตองระวางโทษประหารชีวิต หรือจําคุกตลอดชีวิต (ประมวล
กฎหมายอาญามาตรา 280)

การขม ขนื กระทําชาํ เราผเู ยาว และการกระทําอนาจารแกเ ด็กอายุไมเกิน 15 ป
โดยเด็กน้นั จะยนิ ยอมหรือไมกต็ าม เปนความผดิ อาญาแผนดนิ ไมสามารถยอมความกันได

68
แตถาเปนการขมขืนกระทําชําเราหญิงท่ีมิใชภรรยาตน โดยเด็กหญิงน้ัน
ไมใ ชผ เู ยาว และการกระทาํ อนาจารแกบ ุคคลอายตุ ํ่ากวา 15 ป ท้ังสองกรณีนี้ ถามิไดกระทําตอหนา
ธารกํานลั คอื ในท่เี ปด เผย
และไมเ ปน สาเหตใุ หผ ถู ูกกระทําไดรับอันตรายสาหสั หรือถึงแกความตาย หรือมิไดเ ปน การกระทําแก
ผูส ืบสันดาน คอื ลูก หลาน เหลนของตนเอง มใิ ชเ ปน การกระทําตอ ศิษยซ่ึงอยใู นความดูแล มิใชเปน
การกระทําตอผูอ ยใู นความควบคุมตามหนาท่รี าชการ หรือมใิ ชเ ปนการกระทําตอผูอยูในความพิทักษ
หรอื ในความอนุบาล กรณีทั้งหมดที่กลาวมาเปนความผิดอันยอมความได คือเปนกรณีท่ีผูเสียหาย
หรือผูถกู กระทาํ และผกู ระทําความผิดตกลงหรือสมัครใจไมเอาความตอกัน ก็เปนอันเลิกแลวตอกัน
(ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 281)

กจิ กรรม
1. สรีระรา งกายทีเ่ กยี่ วขอ งกับการสบื พันธขุ องเพศหญิงและเพศชาย มีอะไรบา ง จงอธบิ ายพอสังเขป

เพศหญิง________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

เพศชาย________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
2. เขียนสรปุ เก่ียวกับการเปลย่ี นแปลงเพ่ือเขา สูว ัยหนมุ สาว

เพศหญิง________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

69
______________________________________________________________________________

เพศชาย________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
3. วธิ ีการหลีกเลี่ยงพฤตกิ รรมทีน่ ําไปสูก ารมีเพศสัมพนั ธก อนวัยอนั ควรมีอะไรบาง
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

เรอ่ื งที่ 4 สุขภาพทางเพศ

“ความสุข”เปน สิง่ ทม่ี นุษยทกุ คนตอ งการไมเ คยถูกจํากดั ดว ยเพศ วัย ชนชาติ
“สขุ ภาวะทางเพศ”กเ็ ปนเร่ืองท่ที กุ คนลวนตอ งการเชน กัน

แผนงานสรางเสริมภาวะทางเพศ โดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ
(สส.)และมูลนธิ สิ รา งความเขาใจเร่ืองสุขภาพผูหญิง (สคส.)ไดดําเนินงานผลักดันวาระการสรางสุข
ภาวะทางเพศขน้ึ อยา งตอ เนอื่ ง เพราะสขุ ภาวะทางเพศไมไ ดมีความหมายแคบๆแคเรื่องเพศสัมพันธแต
มีความหมายลึกซึง้ และมติ ทิ ่ีกวา งกวา นนั้

เร่ืองเพศจึงไมใชแคเรื่องของเนื้อตัวรางกายแตยังหมายถึงความรับผิดชอบการดูแลสุขภาพ
รางกายการสรางความสัมพันธท่ีดีระหวางกันการเคารพสิทธิกันและกันและความเทาเทียม เพราะ
สงั คมน้นั มีความหลากหลายทางเพศมากวา แคห ญงิ หรือชาย

ผทู ม่ี สี ขุ ภาวะทางเพศทดี่ ีกจ็ ะปฏิบตั ติ อคนทีม่ ีวถิ ที างเพศแตกตางจากตัวเองดวยความเคารพไม
วา จะเปน สาวประเภทสองหรือหญิงรักหญิงชายรักชาย หรือผูที่รักสองเพศและยังปฏิบัติกับเพ่ือคูรัก
หรือชายทสี่ ําคัญคือมคี วามรับผิดชอบตอสงั คมและตนเองในเรอื่ งการมเี พศสมั พันธท ่ีปลอดภัย

สงั คมจาํ เปนตอ งลบความคิดทางลบวาเรอื่ งเพศเปนเร่ืองเพศเปนเร่ืองสกปรก อันตรายที่ตอง
หลกี ใหห า งแตความจริงเราจําเปนตอ งศึกษาเรียนรูใ หเขา ใจเพราะเรอื่ งเพศเปน สิ่งท่สี ามารถแสดงออก
อยา งอสิ ระมคี วามสุขบนพน้ื ฐานของความปลอดภัยเพ่ือดาํ เนนิ ชีวติ ไดอ ยา งเปน สขุ

70

แผนงานสรางเสริมสขุ ภาวะทางเพศไดจ ดั ทําความรสู ขุ ภาวะทางเพศในแตละชวงวัยไวเพราะ
แตล ะชวงวยั ก็จะมคี วามสนใจและความตองการตา งกนั

ในวยั เดก็ เปนชว งเวลาแหงการสรางพื้นฐานสขุ ภาวะทางเพศท่ีดไี ด เดก็ เล็ก อายุ 5-8 ป เร่ิมรับรู
ไดถึงบทบาททางเพศวาสงั คมสรางใหห ญงิ ชายมคี วามแตกตางกัน ดว ยกจิ กรรม ดวยการกําหนดกรอบ
กฎเกณฑตา งๆทีช่ ายทําได หญิงทาํ ไมไ ด หญงิ ทาํ ได ชายทําไมได ซง่ึ ขัดขวางพัฒนาการและสรา งความ
เขาใจผิดๆใหเ ด็ก

วนั แรกรนุ อายุ 9-12 เปนชวงวยั ท่ีตองเตรียมความพรอมเพ่ือกาวเขาสูวัยรุน ซ่ึงชวงนี้เปนวัย
แหง การเปลย่ี นแปลงการไดร ับขอ มลู ทถี่ ูกตองและพรอมใช จึงเปน สิง่ ท่ีทาํ ใหเด็กมภี มู คิ ุมกันที่จะเขาสู
วัยรุนไดอยางสวยงามจําเปนตองเขาใจและอธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงนั้นและเปดโอกาสใหเด็ก
รับผิดชอบในครอบครัวใหเ ดก็ ไดตัดสินใจดว ยตัวเองและรบั ผิดชอบผลทจี่ ะตามมาไมใ ชตดั สนิ ใจแทน
ทุกอยา ง

เดก็ วัยนี่เริม่ จะมกี ารเปลย่ี นแปลงทางอารมณ และความรูสึกทางเพศ ไมใชเร่ืองผิดแตการให
ขอ มูลและความรทู ่ีถูกตอ งเปนส่งิ จาํ เปน การตอบคาํ ถามแบบตรงไปตรงมา เปดโอกาสใหเดก็ ไดเ รียนรู
ในสงิ่ ท่ีเหมาะท่คี วรเปนเรื่องทค่ี วรสงเสรมิ

เมอื่ กาวเขา สวู ยั รุน ชว งอายุ 13-18 ป ชวงแหงการเปล่ยี นแปลงในทุก ๆ ดาน จําเปนตองไดรับ
ขอมลู เรื่องเพศอยา งถูกตองและรอบดาน เพอ่ื ใหเทาทันการเปล่ียนแปลงของตัวเอง ท้ังดานกายใจและ
อารมณ

จาํ เปน ตอ งสรา งทกั ษะของเพศสัมพนั ธทีป่ ลอดภยั รว มไปกับความรับผิดชอบเพ่ือใหสามารถ
แยกแยะไดว าเซก็ สไ มใชแ คเ รื่องสนกุ แตมีผลที่จะตามมาอกี มากมาย การใหความรูอยางตรงไปตรงมา
ไมทาํ ใหเร่ืองเซก็ สเ ปนความผิด ละอาย ทาํ ใหเ กิดเพศสมั พันธทป่ี ลอดภยั และมีความรบั ผิดชอบขึ้นได

ผูใหญจําเปนตองเขาใจกระบวนการเรียนรูของมนุษยวาตองใชเวลาในการสั่งสมความรู
ประสบการณความภูมิใจในตัวเองจึงสามารถมีเพศสัมพันธท่ีมีความสัมพันธที่มีความปลอดภัยและ
เปนสขุ ได “การใหข อ มูลไมไดเ ปน การชโ้ี พรงใหกระรอก แตเปนการสรางความเขาใจและทักษะใน
ชวี ิตใหเ ด็กสามารถเติบโตเปนผูใ หญท่ีเขาใจและมีความรับผิดชอบได
วิธีการปฏิบตั เิ พอื่ การมีสขุ ภาพทางเพศทดี่ ี ควรคาํ นึงถึง

การมีเพศสมั พันธท ปี่ ลอดภัย โดยไมเปล่ียนคูหรือมีเพศสัมพันธกับบุคคลท่ีไมใชสามีภรรยา
ของตน ถาคิดจะมีเพศสัมพันธกับบุคคลท่ีไมใชคูของตนควรปองกันความไมปลอดภัยท่ีอาจเกิดขึ้น
โดยใชถงุ ยางอนามยั

เนนการรักษาความสะอาดสวนบคุ คล เมือ่ มเี พศสัมพันธแลวควรตองรีบทําความสะอาดสวน
บคุ คลไมหมักหมม เพราะจะทําใหเกดิ เชอ้ื โรคซง่ึ เปนตน เหตุของอาการคนั จนลกุ ลามเปนโรคท่อี วัยวะ
เพศได

71

ควรมีเพศสัมพันธแ บบธรรมชาติ ไมผิดธรรมชาติของคนปกติ เชน การใชว ัตถุแปลกปลอมใน
การรวมเพศ การรวมเพศโดยใชวตั ถเุ ลยี นแบบธรรมชาตเิ ชน ตกุ ตายาง ใหคํานงึ ถึงความปลอดภยั

การคมุ กําเนดิ
เปน สวนหน่งึ ของการวางแผนครอบครวั ในเร่อื งระยะที่พรอมจะมบี ุตรเม่อื ใดคํานวณบตุ รทจี่ ะ
มีก่ีคน หรือระยะหางของการมีบุตรเวนนานเทาใด ท้ังน้ีเพ่ือใหเหมาะสมกับความพรอมและความ
ตอ งการของคูส มรส การคุมกําเนิดเปน วธิ กี ารปฏบิ ัตเิ พ่ือปอ งกันการต้ังครรภ
การวางแผนครอบครัวและการคมุ กําเนดิ
การวางแผนครอบครัวและการคุมกําเนิด (Family Planning and Birth Control) คือการที่ คู
สมรสวางแผนในเรื่องการมีบุตรวาจะมีบุตรเมื่อใด จะมีบุตรกี่คน แตละคนจะเวนนานเทาใดท้ังน้ี
เพ่ือใหเหมาะสมกบั ความพรอมและความตองการของคสู มรส สว นการคุมกําเนิดน้ันเปนวิธีการเพื่อมิ
ใหเกดิ การตง้ั ครรภซ ึง่ มีอยหู ลายวธิ ี
1.การใชถงุ ยางอนามัย (Condom) ถุงยางอนามยั มลี ักษณะเปนถุงท่ที าํ ดวยยางบางๆยดื ได ใช
สวมอวยั วะเพศชายขณะทีแ่ ขง็ ตัวพรอ มท่จี ะรวมเพศ การใชถ ุงยางอนามัยเปนการปอ งกนั ไมใ หต วั อสจุ ิ
เขาไปในโพรงมดลกู ผสมกบั ไขข องฝา ยหญิงได เพราะถูกถงุ ยางปองกนั ไว ตวั อสจุ แิ ละนํ้าอสุจจิ ะอยู
ในถงุ ยางอนามยั เมอื่ ใชเสร็จแลว จะถอดออกใหใ ชกระดาษชําระจบั ขอบถุงยางใหก ระชบั อวัยวะเพศ
กอ นแลว จึงถอดถุงยางออกแลวนําไปทิง้ ถังขยะมกี ารผลิตถงุ ยางอนามัยสําหรับผหู ญิงใชเ หมอื นกนั
ขนาดใหญก วา ถุงยางอนามยั ที่ผูชายใชแตไ มคอ ยไดร บั ความนยิ ม

2.การรับประทานยาเม็ดคุมกําเนิด(Contraceptive Pill) ยาเม็ดคุมกําเนิดจะประกอบดวย
ฮอรโ มนสังเคราะห 2 ชนิด คือ เอสโตรเจน โพรเจสเทอโรน ซึ่งจะออกฤทธ์ิคลายกับฮอรโมนที่มีอยู
ตามธรรมชาตใิ นรา งกายของผหู ญิง และสรา งกลไกตา งๆ ในรา งกายเพือ่ ที่จะปองกันการตั้งครรภดวย
การปองกันไมใ หไขสกุ และยบั ยง้ั การตกไข ตลอดจนทําใหม ูกบริเวณ ปากมดลกู เหนียวขนจนตวั อสุจิ
จะผานเขาสูโพรงมดลูกไดยาก แตถากลไกทั้ง 2 ประการน้ีไมไดผล มันจะเปล่ียนแปลงเยื่อบุโพรง
มดลกู ไมใ หเ หมาะสมสําหรับการฝงตัวของไขท่ีถูกผสมแลว ยาเม็ดคุมกําเนิดที่ใชอยูทั่วไปมี 3 แบบ
คือ

2.1 แบบ 21 เมด็ ยาเม็ดในแผงจะประกอบดว ยฮอรโ มนทัง้ หมด การเร่มิ รบั ประทานยาเม็ดแรก
ใหเรม่ิ ตรงกับวันของสปั ดาหทร่ี ะบแุ ผงยา เชน ประจําเดือนมาวันแรกคือวันศุกรก็เร่ิมกินที่ “ศ” หรือ
วนั ศุกร โดยรับประทานวันละ 1 เมด็ เปน ประจําทุกวนั ตามลูกศรชจี้ นหมดแผง หลังจากน้ันใหหยุดใช
ยา 7 วนั เมือ่ หยุดยาไปประมาณ 2-3 วนั ก็จะมเี ลอื ดประจาํ เดือนมาและเมอ่ื หยุดจนครบ 7 วันแลวไมวา
เลือดประจาํ เดือนจะหมดหรือไมก ต็ ามใหเรมิ่ แผงใหมทันที

72

2.2 แบบ 28 เมด็ ยาเมด็ ในแผงหน่ึงจะประกอบดว ยฮอรโมน 21 เม็ด และสวนทีไ่ มใชฮ อรโ มน
อีก 7 เม็ด ซึ่งมักจะมีขนาดเล็กหรือใหญกวา 21 เม็ดแรก การเริ่มรับประทานยาแผงแรกใหเร่ิม
รบั ประทานยาในวันแรกทป่ี ระจําเดอื นมา โดยรับประทานยาเม็ดแรกในสวนทรี่ ะบุวาเปนจุดเร่ิมตน 1
แลวรับประทานทุกวนั ตามลกู ศรชจ้ี นหมดแผง โดยเมื่อรบั ประทานหมดแผงแลว ใหรบั ประทานยาแผง
ใหมตอไปเลยทันทีไมวาประจําเดือนจะหมดหรือยังก็ตาม วิธีรับประทานแบบ 28 เม็ดจะคอนขาง
สะดวกกวาแบบ 21 เมด็ ที่ไมตอ จดจําวนั ท่ตี องหยุดยา

ถา ลมื รับประทาน 1 เมด็ ใหร ับประทานทนั ทีเมื่อนึกได และรับประทานเม็ดตอ ไปเวลาเดิม ถา
ลืมรับประทาน 2 เมด็ ใหร ับประทานยาวนั ละ 2 เม็ด ติดตอกันไปเปนเวลา 2 วันโดยแบงรับประทาน
ตอนเชา 1 เม็ด ตอนเยน็ 1 เมด็ และใชว ธิ กี ารคมุ กาํ เนิดแบบอ่นื รวมดวย เชนใชถ งุ ยางอนามัยเปนเวลา 7
วัน ถา ลมื รับประทาน 3 เม็ดขึน้ ไป ควรหยุดยาและรอใหเ ลือดประจําเดือนมากอ นแลวคอยเริ่มแผงใหม
และใชวิธีการคมุ กาํ เนิดแบบอนื่ รวมดว ย

2.3 แบบรบั ประทานหลังรว มเพศภายใน 24 ชั่วโมง แตเดือนหน่งึ ไมควรใชเกิน4 ครั้ง ยาน้ีใช
กนิ ทันทหี รอื ภายใน 24 ช่วั โมงหลงั รวมเพศ และควรกนิ ยาอีกหน่ึงเม็ดในเวลา 12 ชว งโมงตอ มายาเม็ด
นี้มกั มปี ริมาณของฮอรโมนเอสโตรเจน (Estrogen) สูง การใชยาชนิดนี้ใหผลเสียมากกวาผลดี พบวา
เปน อาการขา งเคยี ง คือ คล่นื ไส อาเจียน มีเลอื ดออกมากกวา ปกติ และทําใหทอ นําไขเ คลื่อนไหวชา อนั
เปนเหตุทาํ ใหเ กิดทอ งนอกมดลูกได

3.การฝงยาเม็ดคุมกําเนดิ ใตผวิ หนงั ยาประเภทน้ีมีสวนประกอบของเอสโตรเจนสูงมีฤทธ์ิทํา
ใหไขทีผสมแลวไมสามารถฝงตัวไดในผนังมดลูก เปนยาเม็ดคุมกําเนิดชนิดฝงไวใตผิวหนังบริเวณ
ดานใตท อ งแขนของฝา ยหญงิ มีลกั ษณะเปนแคปซูลเลก็ ๆ 6 อัน ยาจะซมึ จากแคปซลู เขาสูรางกายอยาง
สม่ําเสมอ สามารถคุมกําเนิดไดนานถึง 5 ป ตัวยาที่ใสในแคปซูลเปนชนิดเดียวกับ ยาเม็ดคุมกําเนิด
แบบ 21 เมด็

4.การใสหวงอนามัย (Iucd :: Intra Uterine Contraceptive Device) ใชโดยการใสหวง
อนามัยไวในโพรงมดลูก ซึ่งแพทยจะเปนผูใสหวงให สามารถคุมกําเนิดได 3-5 ป แลวจึงมาเปล่ียน
ใหมแตก ม็ บี างชนิดที่ตองเปล่ียนทุกๆ 2 ป วิธีน้ีไมเ หมาะสําหรบั ผูหญงิ ท่ียงั ไมเ คยมบี ตุ ร

5.การฉีดยาคมุ กําเนิด ใชก บั ผูหญิงฉดี ครงั้ หนงึ่ ปอ งกันไดนาน 3 เดอื น อาจมีขอเสียอยูบางคือ
เม่ือตองการมีบุตรอาจตองใชเวลานานกวาจะต้ังครรภ และไมเหมาะสําหรับผูท่ีมีประจําเดือนมาไม
สม่าํ เสมอ

73

6.การนบั ระยะปลอดภัย (Count safe Period) คือนับวันกอนประจําเดือนมา 7 วัน และหลัง
ประจําเดือนมา 7 วนั เพราะไขยังไมส กุ และเย่ือบุโพรงมดลูกกําลังเปล่ียนแปลง แตถาประจําเดือนมา
ไมแ นน อน การคมุ กาํ เนิดวิธีน้ีอาจผดิ พลาดได

7.การหล่งั อสุจภิ ายนอก คอื การหลัง่ น้ําอสจุ อิ อกมานอกชอ งคลอด แตก็อาจมีนํ้าอสุจิบางสวน
เขา ไปในชองคลอดได วธิ นี ี้จงึ มโี อกาสต้ังครรภไดสูง

8. การผาตดั ทาํ หมนั เปน การคมุ กาํ เนิดแบบถาวร ดังนัน้ ผูท่ีคดิ จะทําหมันจะตองแนใจแลววา
จะไมม ีบุตรอกี ซงึ่ สามารถทําไดทงั้ ผูหญงิ และผูช าย

8.1 การทาํ หมนั ชาย ทําโดยแพทยใชเวลาประมาณ 10 นาที โดยการใหผ ูท ี่จะทําหมันนอนบน
เตียงผาตัด มีมานก้ันมิใหเห็นขณะท่ีแพทยกําลังผาตัดเจาหนาที่จะโกนขนบริเวณอวัยวะเพศออก
เลก็ นอ ยแลว แพทยจ ะฉีดยาชาเฉพาะที่ แลวจึงเจาะถุงอัณฑะเพื่อผูกทอ อสุจโิ ดยไมตอ งเย็บ หามแผลถูก
นาํ้ 3 วนั หลงั ทาํ หมนั ชายแลวจะตองคมุ กําเนิดแบบอ่ืนไปกอนฝายชายจะหล่ังน้าํ อสุจิประมาณ 15 ครัง้
แลว นํา้ อสจุ คิ ร้ังท่ี 15 หรือมากกวาไปใหแพทยตรวจวายังมีตัวอสุจิหรือไม ถาแพทยตรวจวาไมมีตัว
อสจุ ิแลว กส็ ามารถมเี พศสมั พันธไ ดโ ดยไมต องใชก ารคุมกําเนิดแบบอนื่ อกี ตอไปเลย

8.2 การทําหมันหญงิ แบงออกเปน 2 แบบคอื
1.การทําหมันเปย ก คอื การทําหมันหลังคลอดบตุ รใหมๆ ภายใน 24-48 ชั่วโมง เพราะ

จะทําไดงายเน่ืองจากมดลูกยังมีขนาดใหญและลอดตัวสูง โดยขอบบนอยูสูงเกือบถึงสะดือวิธีนี้จะ
ผาตัดทางหนา ทอง

2.การทําหมนั แหง คอื การทาํ หมนั ในระยะปกตขิ ณะทีไ่ มมีการต้ังครรภหรือหลังการ
คลอดบุตรมานานแลว มดลูกจะมีขนาดปกตแิ ละอยลู กึ ลงไปในองุ เชิงกราน การทําหมันแหงอาจทําได
หลายวิธี เชน ผาตัดทางดานหนาทอ ง ผาตัดทางชอ งคลอด โดยใชเคร่อื งมือตางๆที่ทันสมัยชวยการไป
รับบริการทําหมันนี้สามารถไปรับบรกิ ารไดใ นหลายหนวยงานทใ่ี หบรกิ ารทางดานสาธารณสุขท้งั ของ
ภาครัฐและเอกชน เชน โรงพยาบาลตางๆ สมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน สมาคมวางแผน
ครอบครัวแหง ประเทศไทย สมาคมทําหมันแหงประเทศไทย เปนตน

9.การคุมกาํ เนิดดวยยาเม็ดคุมกําเนิดฉุกเฉิน เปนการปองกันการตั้งครรภเฉพาะฉุกเฉินเชน
การมีเพศสัมพนั ธโ ดยไมไ ดใชการปองกันวธิ ีอื่นมากอ น ใชถุงยางอนามัยเสร็จแลวไมแนใจวารั่วหรือ
แตก ลมื กนิ ยาแบบประจาํ วันติดตอกันสองวัน ใสหวงอนามัยแตหวงหลุด มีเพศสัมพันธในชวงที่ไม
ปลอดภัย กรณีถกู ขม ขืน ซง่ึ องคก รอนามัยโลกไดใหการรับรองวาการกินยาเม็ดคุมกําเนิดแบบฉุกเฉิน
เปนวิธที ี่ปลอดภยั และมีประสทิ ธภิ าพในการปองกนั การต้งั ครรภไดระดบั หน่งึ

74

ยาเม็ดคมุ กําเนิดฉุกเฉินจะมีประสิทธิภาพสูงก็ตอเม่ือ มีการนํามาใชตามขอบงชี้ท่ีกําหนดไว
และใชเ ทา ท่ีจําเปน เทานน้ั สาํ หรบั ผลขา งเคยี งที่เกิดข้ึนบอย คอื การมีรอบระดูผดิ ปกติ คลื่นไสอาเจียน
แตห ากใชบอ ยและตอเนอ่ื งมโี อกาสตัง้ ครรภน อกมดลกู ได

การทาํ แทง
การทําแทง หมายถึง การทําใหการตั้งครรภส้ินสุดกอนอายุครรภ 28 สัปดาหสําหรับใน
ประเทศไทยการทาํ แทง ยังไมเ ปน เรอื่ งท่ผี ิดกฎหมายไมวา จะกระทาํ โดยแพทยปรญิ ญาหรอื หมอเถ่ือนก็
ตาม กฎหมายจะอนุญาตใหทําแทงได 2 กรณี คือ กรณีถูกขมขืนและกรณีต้ังครรภน้ันเปนอัตราตอ
สุขภาพของมารดาและทารกในครรภ เทาน้ัน
เม่ือเกิดการต้ังครรภไมพ่ึงประสงคเด็กวัยรุนจะเกิดความกังวลจากความไมพรอมที่จะเปน
ผูรับผิดชอบกับการมีบุตร จึงคิดหาวิธีการทําลายเด็กในครรภ โดยการทําแทงกับหมอเถ่ือนที่ผิด
กฎหมาย ผดิ ศลี ธรรม เพราะในสงั คมไทยไมเ ปด ใหม ีการทาํ แทงแบบเสรี นอกจากการตั้งครรภในคร้ัง
นน้ั แพทยพิจารณาใหทาํ แทงได ในกรณีอาจเกดิ อันตรายถึงชวี ิตผูเปนแม เชน การทอ งนอกมดลกู ครรภ
เปนพิษ ทองไขปลาดุก หรือในกรณีท่ีแมไดรับเชื้อโรคหลังจากการตั้งครรภแลว เชน ไดรับเช้ือหัด
เยอรมัน
การทําแทงโดยทวั่ ไปของเด็กวยั รนุ จะทาํ แทง กับผทู ี่ไมม คี วามรูดา นการแพทยทแี่ ทจ ริง จึงทํา
ใหเกิดอันตรายกับผูมาทําแทง เชน เกิดการตกเลือด หรือไดรับอันตรายอาจเกิดการติดเชื้อโรค จาก
เครื่องมือ อุปกรณท่ีนํามาใช เกิดความสกปรกจากการใชอุปกรณ สถานท่ีจนทําใหมารดาเปน
บาดทะยกั ไดด ว ย
การแทงบุตรทท่ี าํ ใหเกิดอันตรายตอสุขภาพของผูเ ปน แมเนอื่ งจากมบี างสวนของทารกหรือรก
หลงเหลอื อยูจึงตอ งนําสวนทเ่ี หลอื ออกจากมดลูกใหห มดโดยแพทยต อ งใชเคร่ืองดูดหรือใชวิธีขูดจาก
โพรงมดลูก หรอื อาจตอ งใชฮอรโมนที่ใหใหมดลูกเกิดการบีบตัวขับสวนท่ีคางออกและในบางกรณี
แพทยตองใชย าปฏิชีวนะเพ่ือการรกั ษาหรอื ปองกันการติดเชอื้ ตดิ เชอ้ื HIVS
สว นใหญเกิดจากการมีเพศสัมพันธกับบุคคลอื่นท่ีไดรับเชื้อไวรัส HIV ในรางกายรองลงมา
เกดิ จาการใชสารเสพตดิ ชนดิ ฉีดเขา เสนเลือดทาํ ใหไ ดร บั เชื้อ HIV จากเลือดที่สัมผัสหรือเลือดท่ีไดรับ
เขาสรู างกาย
บคุ คลที่มีโอกาสไดร บั เชื้อไวรสั HIV VS โดยไมไ ดเกดิ จากการมเี พศสมั พันธและไมไ ดใ ชเ ข็ม
ฉดี ยาใด ๆ สว นหนง่ึ จะเกดิ กบั บคุ คลสวนหน่ึงทางการแพทย ท่ีมีโอกาสสัมพันธน้ําเลือดน้ําเหลือง ท่ี
คดั หล่งั จากผูปว ยโดยไมไดปองกนั ตนเองโดยการใชถ ุงมอื กอนสมั ผสั กับผูป วยจงึ มีโอกาสไดรับหรือ
ติดเชื้อ HIV VS ไดก ารต้งั ครรภเ มอ่ื ไมมีความพรอม
การมเี พศสัมพนั ธกอนวัยอันควร เปน ปญ หาของสงั คมไทยมากขน้ึ ท้ังนเี้ พราะคานิยมในเรื่อง
การรักนวลสงวนตัวของเพศหญิง หรือการเห็นคุณคาในการรักษาความบริสุทธ์ิของตนจนถึงวัย
แตงงาน เด็กวยั รุนปจจุบันไมไดคํานึงถึง ทั้งนี้อาจเปนเพราะการดูแลเอาใจใสใหการอบรมจากบิดา

75

มารดามนี อ ยลง เด็กยุคใหมร บั อารยะธรรมความกาวหนาหรืออิทธิพลตางประเทศมากข้ึน จึงไมคอย
เชอื่ ฟงบิดามารดา จงึ เปน สง่ิ จําเปนทตี่ องปลูกฝงใหเ กดิ จิตสาํ นึกโดยครอบครวั ชุมชนโรงเรียนสถาบัน
ทมี่ ีสวนเกี่ยวขอ งควรเขา มามีบทบาทรณรงคปองกันปญหาน้ีรว มกนั

การมีเพศสัมพันธกอนวัยอันควร เปนพฤติกรรมท่ีกอใหเกิดปญหาตางๆตามมาในชีวิต
ตลอดจนเปนปญหาหรือภาระแกสังคม ชุมชนดวย เชนเกิดการติดโรคทางเพศสัมพันธและยังเปน
บคุ คลแพรเ ชือ้ โรคทางเพศสมั พนั ธแกค นอื่นดวยถาบุคคลนั้นใหบริการทางเพศการตั้งครรภเมื่อไมมี
ความพรอมหรือต้ังครรภโดยไมคาดคิดนอกจากจะสงผลกระทบตอชีวิตของตนเองแลว ยัง สงผล
กระทบตอ ครอบครัว ทาํ ใหบ ดิ ามารดา ญาติพีน่ องอับอายเสยี ใจรวมสงผลกระทบตอสังคม เชน ปญ หา
เด็กถกู ทอดท้ิงเพราะพอ แมไมต อ งการบตุ ร หรือไมพ รอมจะรบั เลย้ี งดูบตุ รเนื่องจากยังไมมีอาชีพ เรียน
ไมจบ

ดงั นนั้ จงึ ตองใหค าํ แนะนําอบรมสงั่ สอนใหพ ฤตกิ รรมตนอยูในกรอบของสังคมที่ดีไมยุงเกี่ยว
เรื่องเพศสัมพันธปองกันตนเองไมปลอยตัวใหมีเพศสัมพันธในวัยท่ียังไมสมควรใหต้ังใจศึกษาเลา
เรียน และสามารถประกอบอาชีพจนเล้ียงตัวเองไดแลวจึงคดิ มีครอบครวั ภายหลัง

1.สอนความรเู ร่อื งเพศ เพศสัมพนั ธแ ละการคมุ กําเนดิ แกเดก็ นกั เรยี น นกั ศกึ ษาท่กี าํ ลงั กาวเขา สู
วยั รุนพรอ งท้งั ชี้ใหเหน็ ขอ ดีขอ เสยี ของการมเี พศสัมพนั ธก อ นวยั อันควร และการตงั้ ครรภเ ม่อื ไมพรอม
โดยเนนย้ําใหเห็นผลเสีย ไดแก การสูญเสียโอกาสในการศึกษา และการประกอบอาชีพการงานท่ีดี
ตลอดจนโอกาสในการเจอคคู รองที่ดีในอนาคต

2.สอนวัยรุน ชายใหมคี วามรบั ผดิ ชอบและใหเ กียรติผหู ญงิ เนอ่ื งจากในสงั คมไทยยัง ยกยอง
เพศชายวาเปนเพศที่แข็งแรงกวาจึงควรสอนใหผูชายมีความคิดท่ีจะปกปองชวยเหลือ เพศหญิง
มากกวานอกจากน้ีเพศชายจะตองใหเกียรติผูหญิงและมีความรับผิดชอบในการกระทําของตนเอง
ปญหาการทําแทงสว นใหญพบวา ฝา ยชายไมย อมรับการตงั้ ครรภ

3.ปลกู ฝงคานิยมในการรักนวลสงวนตัวตั้งแตวัยเด็ก และเนนยํ้ามากขึ้นในวัยรุน ไดแกการ
แตงกายใหสุภาพ ไมแตงกายลอแหลม ย่ัวยุอารมณเพศตรงขามซ่ึงเปนเหตุใหเกิดการขมขืนกระทํา
ชําเรา

4.สอนใหร จู ักการปฏเิ สธในสถานการณท่ีไมเหมาะสมไดแกปฏิเสธที่จะไปเท่ียวตอหลังเลิก
เรียน ปฏเิ สธท่จี ะไปไหนๆกับเพ่อื นชายตามลําพงั ไมเ ปดโอกาสใหเพศตรงขา มถกู เนอ้ื ตองตัว เปนตน

แนวทางการแกไขปญหาการตัง้ ครรภไมพ่งึ ประสงคน้ีคงตอ งเริม่ จากการปลกู ฝง นสิ ยั ตั้งแตวัย
เดก็ ใหสอดคลอ งกบั สภาพสังคมในยุคโลกาภวิ ัฒนน้ี เช่อื วาปญหาการทําแทงผิดกฎหมายอาจเบาบาง
ลงไป

76

บทที่ 4
สารอาหาร

สาระสําคัญ
ความตอ งการสารอาหาร ตาม เพศ วยั ของรา งกาย เปนความตองการสารอาหารในบคุ คลแตละ

ชวง และแตล ะเพศ ยอมมคี วามแตกตา งกนั เปน ทย่ี อมรับกันทวั่ ไปแลววา อาหารมีสวนสําคัญอยางมาก
ในวยั เดก็ ทง้ั ในดา นการเจรญิ เตบิ โตของรางกายและการพัฒนาการในดานความสัมพนั ธของระบบการ
เคลื่อนไหวของรางกาย

ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวัง
1. วิเคราะหปญหาสขุ ภาพท่เี กิดจากการบรโิ ภคอาหารไมถกู หลกั โภชนาการ
2. บอกสารอาหารทรี่ า งกายตอ งการตามเพศ
3. อธบิ ายวธิ ีการประกอบอาหารเพ่ือรกั ษาคุณคา ของอาหาร

ขอบขา ยเนือ้ หา
เรื่องท่ี 1. สารอาหาร
เร่อื งที่ 2. วิธีการประกอบอาหารเพ่อื คงคณุ คาของสารอาหาร
เร่ืองท่ี 3. ความเชือ่ และคา นยิ มเก่ยี วกบั การบรโิ ภค
เรอ่ื งท่ี 4. ปญ หาสุขภาพท่เี กิดจากการบริโภคอาหารไมถกู หลกั โภชนาการ

77

เรือ่ งท่ี 1 สารอาหาร

ปริมาณความตองการสารอาหาร ตาม เพศ วัยและสภาพรางกาย ความสําคัญของอาหารและ
ความตองการสารอาหารในบุคคลแตละชวง และแตละเพศ มีความแตกตางกันตามธรรมชาติ ดังนั้น
ปรมิ าณของสารอาหารท่ีควรไดรับในแตล ะบคุ คลจะแตกตางกนั

1. ความตองการสารอาหารในวยั เด็ก
เปนท่ียอมรับกันท่ัวไปแลววา อาหารมีสวน สําคัญอยางมากในวัยเด็กทั้งในดานการ
เจรญิ เตบิ โตของรา งกายและการพฒั นาการในดานความสัมพันธของระบบการเคลือ่ นไหวของรางกาย
ตลอดจนในดานจิตใจ และพฤติกรรมในการแสดงออกและปจจัยที่มีสวนสําคัญท่ีทําใหเด็กไดรับ
อาหารที่ถกู หลกั ทางโภชนาการ ไดแก
1.ครอบครัวทคี่ อยดูแลและเปนตัวอยา งท่ีดี
2.ตัวเดก็ เอง ทจี่ ะตองถูกฝกฝน
3.ส่ิงแวดลอมทําใหเ กิดการปฏบิ ตั อิ ยา งคนขางเคยี ง
อาหารที่ถูกหลักโภชนาการในวยั เดก็ น้ัน เปน ทที่ ราบดอี ยแู ลววาเด็กตองการอาหารครบท้ัง 3
ประเภท เพอ่ื การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการ ส่งิ ทต่ี องคาํ นึงถึงคอื อาหารทีใ่ หเดก็ ควรไดร บั ไดแก
1.อาหารท่ีใหโปรตีน ไดแก นม ไข เนื้อสัตว ตลอดจนโปรตีนจากพืชจําพวกถั่วเขียว ถ่ัว
เหลือง
2.อาหารทใ่ี หพลังงาน ไดแกขา ว แปง นํา้ ตาล ไขมนั และนาํ้ มัน สวนน้ําอัดลม หรอื ขนมหวาน
ลกู กวาดตาง ๆ ควรจํากัดลง เพราะประโยชนนอ ยมากและบางทที าํ ใหมปี ญ หาเรอื่ งฟนผดุ ว ย
3.อาหารทีใ่ หวิตามินและเกลือแรไดแ ก พวก ผัก ผลไม และอาหารทม่ี ใี ยอาหารที่มีสวนทําให
เก็บไมท อ งผูก
2. ความตองการสารอาหารของเด็กวัยเรยี น
ในปจ จบุ ัน ภาวะของความเรง รีบในสังคมอาจจะทาํ ใหพอแมหรือผปู กครองละเลยเรอ่ื งอาหาร
เชาของเด็กวัยเรยี น เดก็ วยั เรยี นเปน วัยท่ีรางกายกําลังเจริญเติบโต ตองการอาหารเชา ถ า เ ด็ ก ไ ม ไ ด
รบั ประทานอาหารเชา จะทาํ ใหเ ดก็ ขาดสมาธิในการเรียน สมองมึน งวง ซึม และถาเด็กอดอาหารเปน
เวลานาน ๆ ติดตอ กัน จะทําใหมีผลเสียตอ ระบบการยอ ยอาหาร และเปนโรคขาดสารอาหารไดดังน้ัน
การเลอื กอาหารเชา ทีเ่ ด็กวัยเรยี นควรไดร ับประทานและหาไดงา ย คอื นมสด 1 กลอ ง ขาวหรือขนมปง
ไข อาจจะเปนไขด าว ไขล วก หรอื ไขเ จยี ว ผลไมท ่หี าไดง าย เชน กลวยนํ้าวา มะละกอ หรือสม เทานี้
เด็กกจ็ ะไดรบั สารอาหารท่ีเพียงพอแลว
3. ความตอ งการสารอาหารในวัยรนุ
วยั รุน เปนวัยท่มี กี ารเจรญิ เตบิ โตในดานรางกายอยางมาก และมีการเปล่ียนแปลงทางอารมณ
และจิตใจคอนขางสูง มีกิจกรรมตาง ๆ คอนขางมากทั้งในดานสังคม กีฬา และบันเทิง ความตองการ
สารอาหารยอ มมมี ากขนึ้ ซึ่งจะตอ งคํานงึ ทั้งปรมิ าณและคณุ ภาพใหถูกหลกั โภชนาการ

78
ปจจยั ทส่ี ําคัญ คือ
1.ครอบครัว ควรปลูกฝงนสิ ัยการรบั ประทานอาหารท่ถี กู หลกั โภชนาการ เร่ิมตนจากที่บานท
สาํ หรบั วัยรนุ ที่พยายามจํากัดอาหารลง คนในครอบครัวจะตองใหค าํ แนะนาํ เพ่ือไมไปจํากัดอาหารท่ีมี
คณุ คา และจาํ เปนตอรา งกาย
2.วยั รุน จะเร่มิ มคี วามคิดเห็นเปน ของตัวเองมากขึ้น การรบั ความรเู กยี่ วกบั โภชนาการ มีความ
จําเปน เพื่อใหเห็นความสําคัญของการรบั ประทานอาหารทมี่ คี ุณคา ทางโภชนาการอยา งสมา่ํ เสมอซึ่งจะ
มผี ลดตี อตัววยั รนุ เองโดยตรง
3.สง่ิ แวดลอ มในโรงเรยี นหรอื สถานศกึ ษาอทิ ธิพลจากเพือ่ นฝูงมีสวนท่ีทําใหวัยรุนเลียนแบบ
กนั เรอื่ งการรับประทานอาหาร ตลอดจนการบริโภคสารอนั ตราย เชน เหลา บุหรี่ และยาเสพติด การ
ดูแลอยางใกลชิดตลอดจนการสนับสนุนใหวัยรุนเลนกีฬา หรือทํากิจกรรมที่มีประโยชนจะมีผล
ทางออม ทําใหนิสัยท่ีดีในการบริโภคอาหารไมถูกเบี่ยงเบนไป ความตองการอาหารที่ใหโปรตีน
พลงั งาน และวติ ามินตองเพยี งพอสําหรับวยั รนุ วติ ามนิ ตอ งเหมาะสมและโดยเฉพาะอยางย่ิงอาหารท่ีมี
เกลือแรประเภทแคลเซยี มและเหลก็ ตองเพียงพอ
4. ความตอ งการสารอาหารในวัยผูใหญ
วยั ผใู หญถงึ แมจ ะหยุดเจรญิ เติบโตแลว รางกายยังตองการสารอาหารอยางครบถว น เพ่ือนําไป
ทํานุบํารุงอวัยวะ และเนื้อเย่ือตาง ๆ ของรางกาย ใหคงสภาพการทํางานท่ีมีสมรรถภาพตอไป และ
ปจจัยสําคัญอยางหน่ึง ท่ีจะทําใหวัยผูใหญยังคงแข็งแรงไดแก การบริโภคอาหารที่ถูกตองตามหลัก
โภชนาการ การควบคมุ อาหารในวัยผูใหญ มขี อ แนะนาํ ดังนี้
1.ใหบริโภคอาหารหลายชนิด เนื่องจากไมมีอาหารชนิดใดชนิดหน่ึงท่ีใหคุณคาทาง
โภชนาการไดครบถวน
2. บรโิ ภคอาหารในปรมิ าณทีพ่ อเหมาะ เพ่อื ใหนาํ้ หนกั อยใู นเกณฑทีต่ องการ
3. หลีกเลย่ี งการรับประทานท่มี ีไขมันมากเกินไป
4. บริโภคอาหารที่มปี ริมาณของแปง และกากใยใหเพียงพอ
5. หลกี เลย่ี งการบรโิ ภคอาหารทีป่ รงุ ดว ยปริมาณนา้ํ ตาลจํานวนมาก
6. หลกี เล่ยี งการบรโิ ภคอาหารเคม็ มากเกนิ ไป
7. หลกี เลี่ยงเครอ่ื งดม่ื ทม่ี ีแอลกอฮอล
5. ความตองการสารอาหารของวยั ผสู งู อายุ
ผูสูงอายใุ นทน่ี ้หี มายถึงผทู ีอ่ ยใู นวยั 60 ปขนึ้ ไป
สาํ หรับปญ หาเร่ืองอาหารการกนิ หรือโภชนาการในวัยน้ี ขอใหรบั ประทานอาหารใหครบทุก
หมูและควบคุมปริมาณ โดยดูจากการควบคุมนํ้าหนักตัวไมใหมากข้ึน และกรณีน้ําหนักเกินอยูแลว
ควรจะลดนาํ้ หนักใหสัมพันธกับสวนสูง

79

ขอ แนะนําในการดูแลเรอื่ งอาหารในผสู ูงอายมุ ดี ังน้ี
1.โปรตีน ควรใหรับประทานไขวันละ 1 ฟอง และด่ืมนมอยางนอยวันละ 1 แกวสําหรับ

โปรตนี จากเนือ้ สัตวควรลดนอ ยลง
2.ไขมัน ควรใชน ้าํ มันถว่ั เหลอื งหรือนา้ํ มนั ขาวโพด ในการปรุงอาหารเพราะเปนน้ํามันพืชท่ีมี

กรดไลโนเลอกิ
3.คารโบไฮเดรต คนสูงอายุควรรับประทานขาวลดลงและไมควรรับประทานนํ้าตาลใน

ปรมิ าณทม่ี าก
4.ใยอาหาร คนสงู อายคุ วรรับประทานอาหารท่ีเปนพวกใยอาหารมากขึน้ เพอ่ื ชวยปองกันการ

ทอ งผูกชว ยลดระดับโคเลสเตอรอลในเลอื ดและลดอบุ ตั กิ ารของการเกดิ มะเร็งลาํ ไสใหญล งได
5.นํา้ ดื่ม คนสูงอายคุ วรด่มื น้าํ ปรมิ าณ 1 ลติ รตลอดทง้ั วัน แตทัง้ นสี้ ามารถปรบั เองไดต ามความ

ตองการของรางกาย โดยสังเกตดูวาถาปสสาวะมีสีเหลืองออน ๆ เกือบขาว แสดงวาน้ําในรางกาย
เพียงพอแลว สวนเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอลรวมท้ังนํ้าชา กาแฟ ควรงดเวนถาระบบยอยอาหารในคน
สูงอายไุ มดี ทา นควรแบงเปน มอ้ื ยอย ๆ แลว รบั ประทานทีละนอ ย แตหลายม้ือจะดีกวา แตอาหารหลัก
ควรเปนมือ้ เดียว

6.ความตอ งการสารอาหารในสตรตี ั้งครรภ
สตรีตั้งครรภ นอกจากตองมีสารอาหารทั้ง 6 ประเภทไดแกโปรตีน คารโบไฮเดรต ไขมัน
วติ ามนิ เกลือแร และนํา้ ในอาหารท่ีรบั ประทานเปน ประจําใหครบทุกประเภทแลว สตรีตั้งครรภตอง
ทราบอกี วา ควรทีจ่ ะเพ่ิมสารอาหารประเภทใด จึงจะทําใหเดก็ ในครรภไดร ับประโยชนสงู สุดดงั น้ี
1.อาหารท่ีใหโ ปรตีน ไดแกไ ข นม เนื้อสัตว เคร่ืองในสัตวและถ่ัวเมล็ดแหง สตรีต้ังครรภจึง
ควรรับประทานไขวันละ 1-2 ฟอง นมสดวันละ 1-2 แกว เน้ือสัตวบกและสัตวทะเล ซึ่งจะไดธาตุ
ไอโอดีนดวยอาหารประเภทเตาหูและนมถ่ัวเหลือง ก็มีประโยชนในการใหโปรตีนไมแพเนื้อสัตว
เชน กนั
2.อาหารทใ่ี หพลังงาน ไดแ ก ขาว แปง นาํ้ ตาล ไขมันและนํา้ มนั สตรตี ัง้ ครรภค วรรับประทาน
ขา วพอประมาณรวมกบั อาหารทีใ่ หโ ปรตีนดงั กลา วแลว ควรใชนาํ้ มันพชื ซ่ึงมีกรดไขมนั จําเปน ในการ
ประกอบอาหาร เชน นํ้ามนั ถัว่ เหลอื ง น้ํามันขาวโพด สตรตี ง้ั ครรภควรจะตอ งรบั อาหารทีจ่ ะใหพลังงาน
มากขนึ้ วันละปริมาณ 300 แคลลอร่ี
3.อาหารท่ีใหวิตามนิ และเกลอื แร สตรีตัง้ ครรภตอ งการอาหารท่ีมีวิตามินและเกลือแรเพิ่มข้ึน
ควรรับประทานอาหารประเภทผักและผลไมทุกๆวันเชนสม มะละกอ กลวย สลับกันไป จะไดใย
อาหารเพอื่ ประโยชนใ นการขบั ถา ยอจุ จาระดว ย เกลือแรท่สี าํ คัญควรรับประทานเพิ่มไดแก แคลเซียม
ฟอสฟอรัส แมกนเี ซียม เหล็ก สังกะสี และไอโอดีน สว นวิตามนิ ไดแ กก ลมุ ที่ละลายในไขมัน เชน เอ ดี
อี เค และท่ลี ะลายในนา้ํ ไดแ กวิตามินบแี ละวิตามินซี

80

รา งกายเราตอ งการสารอาหารทม่ี ีอยูใ นอาหารตางๆ เพื่อใหมีสุขภาพท่ีดี แตเราจะตองรูวาจะ
กนิ อยางไร กนิ อาหารอะไรบา งมากนอ ยเพยี งใดจึงจะไดส ารอาหารครบเพียงพอกับความตองการของ
รางกาย ขอปฏิบัติการกนิ อาหารเพ่ือสุขภาพที่ดีของคนไทย 9 ขอหรือโภชนาการบัญญัติ 9 ประการน้ี
จะชวยไดถ าทานปฏิบตั ิตามหลกั ดังตอ ไปน้ี

1.กนิ อาหารครบ 5 หมแู ตล ะหมูใหหลากหลายและหมน่ั ดูแลนาํ้ หนกั ตัว
2.กินขาวเปนอาหารหลัก สลบั กับอาหารประเภทแปง เปน บางมือ้
3.กินพชื ผักใหมากและกินผลไมเปนประจาํ
4.กนิ ปลา เนอื้ สตั วท ี่ไมตดิ มนั ไข ถัว่ เมลด็ แหงเปน ประจํา
5.ดมื่ นมใหเหมาะสมตามวัย
6.กนิ อาหารทม่ี ไี ขมันพอสมควร
7.หลกี เลย่ี งการกินอาหารรสหวานจดั และเคม็ จดั
8.กินอาหารทสี่ ะอาดปราศจากการปนเปอ น
9.งดหรอื ลดเคร่ืองดมื่ ที่มแี อลกอฮอล
สารตานอนมุ ูลอิสระ
ในรางกายของคนเราเซลลจ ะผลติ สารชนิดหนึง่ เพอื่ ทาํ ลายเนื้อเยื่อตนเองเพิ่มมากข้ึน สารน้ัน
เรยี กวาอนุมูลอิสระ อนุมูลอิสระน้ีเปนตัวการสําคัญท่ีทําใหเกิดปญหาทางสุขภาพหลายประการ ทั้ง
ภาวะความจําเส่อื ม โรคมะเรง็ เปนตน
ในขณะเดียวกันรางกายก็สามารถจัดการกับอนุมูลอิสระไดโดยสรางสารตานอนุมูลอิสระ
ออกมาในกระแสเลือด เพื่อจับกับอนุมูลอิสระไดถึง 99.9 % คงเหลือทําลายเซลลอยูเพียง 0.1% แต
กระนั้นก็ทาํ ใหเ ซลลเกดิ การบาดเจ็บและยงิ่ นานวนั รอยแผลก็สะสมมากข้ึน เมื่อคนเราแกลงรางกายก็
จะสรางสารตา นอนุมูลอิสระลดลงรา งกายจะตองการสารตา นอนุมลู อิสระมากข้ึน เพอื่ สง ผลใหอายุยืน
สุขภาพแขง็ แรงตอ ตา นโรคชรา โรคมะเร็ง เปน ตน
สารตานอนมุ ูลอสิ ระทส่ี าํ คญั ท่เี ราพบในแหลง อาหาร มีดังนี้
1.เบตา-แคโรทีน มีมากในแครอท และผักสีเหลืองสมผักสีเขียวเขมตางๆเชนมะเขือเทศ
ฟก ทอง ตาํ ลึง ผักบุง ผกั กวางตงุ ผักคะนา ยอดแค เปนตน
2.วิตามินซี มีมากในฝรง่ั สม มะขามปอ ม มะนาว มะเขอื เทศ ผกั ผลไมส ด ตางๆ ผกั คะนาและ
กระหล่ําดอกมีวติ ามนิ ซสี ูงมาก วติ ามนิ ซี ถกู ทาํ ลายไดงาย ดว ยความรอนความขึน้ และแสง
3.วติ ามินอี มีในรําละเอยี ด ในพวกธญั พืชท่ีไมขัดขาว ขา วโพด ถัว่ แดง ถั่วเหลือง ผักกาดหอม
เมลด็ ทานตะวัน งา นา้ํ มนั รํา น้ํามนั ถั่วลสิ ง น้าํ มันจากเมลด็ พืชตา งๆ
4.ซีลเิ นยี ม พบในอาหารทะเลเนื้อสัตวธญั พืชที่ไมขดั ขาวนอกจากน้ียังมีสารที่พบในผักผลไม
ที่มคี ณุ สมบัตใิ นการตา นสารอนุมลู อสิ ระซ่งึ สามารถจับกบั อนมุ ลู อิสระลดอันตรายไมใหเ กดิ โรคมะเรง็

81

ได พบไดม ากในตระกลู สม องุน และผลไมสดอื่นๆรวมทั้งผักผลไมตางๆ เชน กระเทียม ผักตระกูล
ผกั กาด

ตัวอยาง ประเภทและจาํ นวนของอาหารท่ีคนไทยควรรับประทานอาหารใน 1 วนั

สาํ หรบั เดก็ อายุ 6 ปข ึน้ ไปถงึ วยั ผูใหญแ ละผสู งู อายโุ ดยแบงตามการใหพลังงาน

กลุมอาหาร หนวยครัวเรอื น พลงั งาน (กโิ ลแคลอร)ี
1,600 2,000 2,400

ขาว – แปง 1 ทัพพี = 60 กรัม หรือ คร่งึ ถว ยตวง 8 ทพั พี 10 ทพั พี 12 ทพั พี

ผัก 1 ทพั พี = 40 กรัม หรือ ครึ่งถวยตวง 4 (6) ทัพพี 5 ทพั พี 6 ทพั พี

ผลไม 1 สวน = สม เขยี วหวาน 1 ผล หรือ 3 (4) สวน 4 สวน 5 สวน
กลวยนํา้ วา 1 ผล หรอื เงาะ 4 ผล

เน้อื สัตว 1 ชอนกนิ ขา ว = ปลาทคู รึ่งตวั หรือ 6 ชอ น 9 ชอน 12 ชอ น
ไขครง่ึ ฟอง หรือไกค รง่ึ นอ ง กินขา ว กินขาว กนิ ขา ว

นม 1 แกว = 250 ซซี ี 2 (1) แกว 1 แกว 1 แกว

นาํ้ มัน ใชแ ตนอยเทา ท่ีจาํ เปน
นํา้ ตาล และ ชอ นชา
เกลือ

หมายเหตุ เลขใน ( ) คือปรมิ าณทีแ่ นะนําสาํ หรับผใู หญ
1,600 กโิ ลแคลอรี สําหรับ เด็กอายุ 6-13 ป
หญงิ วัยทาํ งานอายุ 25-60 ป
ผสู งู อายุ 60 ปข ึ้นไป
2,000 กโิ ลแคลอรี สําหรบั วัยรนุ หญิง-ชาย อายุ 14-25 ป
วยั ทาํ งานอายุ 25-60 ป
2,400 กโิ ลแคลอรี สาํ หรบั หญิง-ชาย ทใ่ี ชพลังงานมากๆ เชน เกษตรกร
ผใู ชแรงงาน นักกีฬา
สรุป
อาหารเปนปจ จยั ท่ีมผี ลตอการเจริญเติบโต และพัฒนาการของมนุษย การรับประทานอาหาร
ควรยึดหลักโภชนาการ เพ่ือใหไดพลงั งานและสารอาหารท่ีพอเพียง วัยรุน เปนวัยท่ีกําลังเจริญเติบโต
จึงควรบรโิ ภคอาหารใหถ ูกตองตามหลักโภชนาการ

82

เรอื่ งที่ 2 วธิ ีการประกอบอาหารเพอ่ื คงคณุ คาของสารอาหาร
1. หลกั การปรงุ อาหารที่ถกู สขุ ลกั ษณะ
เพื่อใหไดอาหารท่ีสะอาด ปลอดภัย และมีคุณคาทางโภชนาการ มีหลักการปรุงอาหารที่ถูก

สุขลกั ษณะ โดยคํานึงถงึ หลกั 3 ส คอื สงวนคุณคา สุกเสมอ สะอาดปลอดภยั
สงวนคุณคา คือ การปรุงอาหารจะตองปรุงดวยวิธีการปรุง ประกอบเพื่อสงวนคุณคาของ

อาหารใหม ปี ระโยชนเตม็ ที่ เชน การลางใหสะอาดกอ นห่ันผัก การเลอื กใชเกลือเสริมไอโอดีน
สุกเสมอ คือ ตอ งใชความรอนในการปรุงอาหารใหส กุ โดยเฉพาะอาหารประเภทเนื้อสตั วท้ังนี้

เพ่ือตองการจะทําลายเชื้อโรคท่ีอาจปนเปอนมากับอาหาร การใชความรอนจะตองใชความรอนใน
ระดับทส่ี งู ในระยะเวลานานเพยี งพอท่ีความรอนจะกระจายเขาถึงทุกสวนของอาหาร ทําใหสามารถ
ทาํ ลายเชื้อโรคไดอยา งมีประสทิ ธภิ าพ

สะอาดปลอดภัย คือ จะตองมีการตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานของอาหารกอนการปรุง
ประกอบวาอยูในสภาพท่ีสะอาด ปลอดภัย ไดมาตรฐาน เชน เนื้อหมูสด ตองไมมีเม็ดสาคู (ตัวออน
พยาธิตัวตืด) นา้ํ ปลา จะตองมเี คร่ืองหมาย อย.รับรอง เปนตน และจะตองมีกรรมวีธีข้ันตอนการปรุง
ประกอบอาหารท่สี ะอาด ปลอดภัยและถกู สุขลกั ษณะ มผี ูป รงุ ผเู สริ ฟอาหารท่มี สี ขุ วิทยาสวนบุคคลท่ีดี
รจู ักวธิ กี ารใชภ าชนะอุปกรณและสารปรุงแตงรสอาหารท่ีถูกตองเชน วีการสดปริมาณสารพิษกําจัด
ศตั รพู ืชที่ตกคางในผักสด การใชช อนชมิ อาหารเฉพาะในการชิมอาหารระหวา งการปรงุ อาหาร

2. หลักการทาํ อาหารใหสะดวกและรวดเรว็
อาหารทปี่ รุงเองนอกจากจะประหยัดแลวยังไดอาหารที่สะอาด สด ใหม มีรสถูกปากและลด
ความเส่ียงจากการมสี ารเคมีปนเปอนแต เวลา มกั จะเปนขอจาํ กัดในการลงมือทําอาหาร แมบานอาจมี
วิธีการเตรยี มอาหารพรอ มปรุงในวันหยดุ เก็บไวใ นตูเ ย็นแลวนํามาปรุงใหมไดโดยใชเวลานอยแตได
คุณคา มากเรม่ิ จากอาหารประเภทเนอื้ สัตว เชน หมู ไก กุง ปลา เมื่อซ้ือมาจัดเตรียมตามชนิดที่ตองการ
ปรุงหรอื หงุ ตม แลว ทาํ ใหสกุ ดวยวธิ ีการตมหรอื รวน แลว แบง ออกเปน สว นๆตามปริมาณที่จะใชแตละ
คร้ัง แลวเกบ็ ไวใ นตเู ยน็ ถา จะใชใ นวนั รุงขึ้น หรือเกบ็ ไวในชอ งแชแ ขง็ ถาจะเก็บไวใชนาน เมอ่ื ตองการ
ใชก็นําออกมาประกอบอาหารไดทันที โดยไมตองเสียเวลา รอใหละลายเหมือนการเก็บดิบๆ ทั้งช้ิน
ใหญโ ดยไมห่ัน การเตรียมลวงหนาวิธีน้ี นอกจากจะสะดวก รวดเร็วแลว ยังคงรสชาติและคุณคาของ
อาหารอีกดวย
3. หลักการเก็บอาหารใหสะอาดปลอดภัย
การเกบ็ อาหารตามหลกั การสขุ าภบิ าลอาหารมวี ตั ถุประสงคเ พื่อยืดอายุของอาหารทีใ่ ชบริโภค
โดยจะตอ งอยใู นสภาพทีส่ ะอาดปลอดภัยในการบริโภค หลกั การในการเก็บอาหารใหคํานึงถึงหลัก 3
ส. คือสดั สวนเฉพาะ สิง่ แวดลอ มเหมาะสม สะอาดปลอดภยั
สัดสว นเฉพาะ คือ ตอ งเก็บอาหารใหเปน ระเบียบ แยกเก็บตามประเภทอาหารโดยจัดใหเปน
สัดสว นเฉพาะไมปะปนกัน มีฉลากซ้ือหรอื เครอื่ งหมายอาหารแสดงกํากับไว

83

สงิ่ แวดลอ มเหมาะสม คอื ตองเก็บอาหารโดยคํานึงถึงการจัดสภาพสิ่งแวดลอมใหเหมาะสม
กับอาหารแตล ะประเภทโดยคํานึงถึงอุณหภูมิความชื้นเพื่อชวยทําใหอาหารสดสะอาดเก็บไดนานไม
เนา เสยี งายส่งิ แวดลอมของอาหารจะจัดการใหอยูในสภาพที่จะปองกันการปนเปอนได เชน การเก็บ
อาหารกระปองในบริเวณทีม่ ี อาหารหมนุ เวียน สูงจากพืน้ อยา งนอย 30 ซม. การเกบ็ นมพาสเจอไรสไว
ในอุณหภูมิตาํ่ กวา 7 องศาเซลเซยี ส เปน ตน

สะอาดปลอดภยั คือ ตองเกบ็ อาหารในภาชนะบรรจุที่ถูกสุขลักษณะ สะอาด ปลอดภัย มีการ
ทําความสะอาดสถานท่เี ก็บอยา งสมํ่าเสมอไมเ ก็บสารเคมที เี่ ปนพิษอ่ืนๆเชน การใชถุงพลาสติก/กลอง
พลาสตกิ สาํ หรับบรรจุอาหารในการบรรจุอาหารทีเ่ กบ็ ไวในตูเยน็ /ตูแชแ ขง็ เปนตน

4. อุณหภูมิเทาไหรจงึ จะทาํ ลายเช้อื โรคได
เช้ือจุลินทรียมีอยูท่ัวไปตามสิ่งแวดลอมมนุษย สัตว อาหาร ภาชนะอุปกรณและสามารถจะ
ดํารงชีวิตอยูไดในชวงอุณหภูมิต่ํากวา 0 องศาเซลเซียส จนถึง 75 องศาเซลเซียส โดยเฉพาะ
เช้ือจุลนิ ทรยี ทีก่ อ ใหเกิดโรคระบาดทางเดินอาหารมกั จะเปนเช้ือจุลนิ ทรยี ทสี่ ามารถเจริญเติบโตไดดีที่
อุณหภมู หิ อ งประมาณ 25 องศาเซลเซียส ถงึ 40 องศาเซลเซยี ส
ฉะน้นั การทาํ ลายเชอื้ จุลินทรียท กี่ อใหเ กดิ โรคระบบทางเดินอาหารจาํ เปนจะตองกําหนดชวง
อุณหภูมิทเี่ หมาะสมเพ่อื จะไดแนใ จวาเชื้อจุลินทรียถ ูกทําลายจนหมดสิ้นในขบวนการผลิตอาหารทาง
อุตสาหกรรมการทําลายเชอื้ โรคจาํ เปนตอ งอาศัยอณุ หภูมทิ ่เี หมาะสมควบคไู ปกับระยะเวลาที่เหมาะสม
จึงจะมีประสิทธิภาพในการทําลายที่ดี คืออุณหภูมิที่สูงมากใชระยะเวลาส้ัน(121องศาเซลเซียสเปน
เวลา 1 นาที)และอุณหภมู ิท่ตี ํา่ ใชร ะยะเวลานาน(63 องศาเซลเซียส เปนเวลา 30 นาที)ท้งั ท่ยี ังมีปจจัยอื่น
ทเ่ี กยี่ วของในการควบคมุ ไดแกป ริมาณเชือ้ จลุ ินทรียประเภทของอาหารคาความเปน กรด ดา ง ความช้นื
สําหรบั ในการปรุงประกอบอาหารในครัวเรอื นอณุ หภูมิท่ีสามารถทําลายเช้ือจุลินทรีย คือ 80
องศาเซลเซียส-100 องศาเซลเซยี ส (อณุ หภมู นิ ้ําเดือด)เปนเวลานาน 15 นาทีสําหรับอุณหภูมิในตูเย็น 5
องศาเซลเซียส-7องศาเซลเซียส เช้ือจลุ ินทรียส ามารถดํารงชีวิตอยูได และสามารถเพ่ิมจํานวนไดอยาง
ชา ในขณะที่อุณหภมู แิ ซแข็งตํ่ากวา 0 องศาเซลเซียส เช้อื จุลินทรียส ามารถดํารงอยไู ดแตไมเพ่ิมจํานวน
อณุ หภูมทิ เี่ ช้อื จลุ ินทรียตายคือ-20องศาเซลเซียส และฉะนั้นเพ่ือความปลอดภัยในการบริโภคอาหาร
โดยเฉพาะอาหารเนื้อสัตวควรปรุงอาหารใหสุกเสมอโดยทั่วทุกสวนที่อุณหภูมิสูงกวา 80 องศา
เซลเซียส ขนึ้ ไปหรือสกุ เสมอ สะอาด ปลอดภัย
5. อณุ หภูมทิ ่ีเหมาะสมในการเกบ็ อาหารสดประเภทเน้ือสัตว
อาหารเน้ือสตั วสด เปนอาหารที่มีความเส่ียงสูง เพราะมีปจจัยเอ้ือตอการเนาเสียไดงาย คือมี
ปริมาณสารอนิ ทรียส งู มปี ริมาณนาํ้ สูง ความเปน กรดดา งเหมาะสมในการเจริญเติบโตของเช้อื จุลนิ ทรยี 
การเกบ็ เนื้อสัตวส ดที่ถูกสุขลักษณะ คือตองลางทําความสะอาดแลวจึงหั่นหรือแบงเน้ือสัตว
เปน ชน้ิ ๆ ขนาดพอดีที่จะใชใ นการปรงุ ประกอบอาหารแตละครั้งแลวจึงเก็บในภาชนะท่ีสะอาดแยก
เปนสัดสวนเฉพาะสําหรับเน้ือสัตวสดที่ตองการใชใหหมด ภายใน 24 ช่ัวโมงสามารถเก็บไวใน

84

อณุ หภมู ิตเู ย็นระหวา ง 5 องศาเซลเซียส -7 องศาเซลเซียสในขณะทีเ่ นอื้ สตั วส ดทีต่ อ งการเก็บไวใชนาน
(ไมเกิน7วัน)ตองเก็บไวในอุณหภูมิตูแชแข็ง อุณหภูมิตํ่ากวา 0 องศาเซลเซียส ท้ังนี้เม่ือจะนํามาใช
จาํ เปน จะตองนํามาละลายในไมโครเวฟ แตถาละลายในน้ําเย็นจะตองเปล่ียนนํ้าทุก 30 นาที เพื่อให
อาหารยงั คงความเย็นอยแู ละน้ําทีใ่ ชละลายไมเปนแหลงสะสมของเช้อื จลุ นิ ทรียท่อี าจจะปนเปอนมาทํา
ใหมีโอกาสเพิ่มจาํ นวนไดม ากขึ้นจนอาจจะเกดิ เปนอนั ตรายได

สรุปอุณหภูมิท่ีเหมาะสมในการเก็บอาหารเนื้อสัตวสดคืออุณหภูมิตูเย็นตํ่ากวา 7 องศา
เซลเซยี สในกรณีทีจ่ ะใชภายใน 24 ชวั่ โมง และตา่ํ กวา 0 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิแชแ ข็ง) ในกรณีที่จะ
ใชภ ายใน 7 วันซึ่งเปน อุณหภมู ิทเ่ี ชอื้ จุลนิ ทรยี ย งั คงดาํ รงชวี ิตอยูไดแตมีอัตราการเจริญเติบโตตํ่าจนถึง
ไมมกี ารเจริญเตบิ โตทาํ ใหสามารถเก็บรกั ษาเนือ้ สัตวใหส ด ใหม สะอาด ปลอดภยั

6. ภาชนะบรรจอุ าหารสาํ คัญอยา งไร
ภาชนะบรรจุอาหารเปนปจจัยสําคัญที่เส่ียงตอการปนเปอนเชื้อโรค สารเคมีท่ีเปนพิษกับ
อาหารที่พรอมจะบรโิ ภค ทั้งนี้ สามารถจะกอใหเกดิ การปนเปอ นไดทุกข้ันตอน ตัง้ แตขั้นตอนการเก็บ
อาหารดิบ ขัน้ ตอนการเสริ ฟ ใหกับผูบ รโิ ภค
ขน้ั ตอนการเกบ็ อาหารดิบถา ภาชนะบรรจทุ ําดวยวสั ดุท่เี ปน พิษหรือภาชนะทปี่ นเปอนเช้อื โรค
กจ็ ะทาํ ใหอาหารที่บรรจุอยปู นเปอ นไดโดยเฉพาะภาชนะบรรจอุ าหารเน้ือสัตวสด เมื่อใชแลวตองลาง
ทําความสะอาดใหถูกตองกอนจะนํามาบรรจุเนื้อสัตวสดใหมเพราะอาจจะเปนแหลงสะสมของ
เชอ้ื จลุ นิ ทรยี ไดงา ยขัน้ ตอนการปรุงประกอบอาหารถาภาชนะอปุ กรณที่ใชใ นการปรงุ ประกอบอาหาร
ถาภาชนะอุปกรณที่ใชในการปรุงประกอบมีการปนเปอนดวยสารเคมีที่เปนพิษ ก็สามารถปนเปอน
อาหารที่ปรุงประกอบไดเชน ตะแกรงทาสีบรอนดเวลาปงปลา สีบรอนด และสารตะก่ัวก็อาจจะ
ปนเปอนกับเนื้อปลาไดใชภาชนะพลาสติกออนใสน้ําสมสายชูทําใหมีการปนเปอนสารพลาสติก
ออกมากับนา้ํ สมสายชูทาํ ใหม ีการปนเปอ นสารพลาสติกออกมากบั นาํ้ สม สายชไู ด
ขั้นตอนการเสิรฟอาหารพรอมบริโภคอาหารปรุงสําเร็จถาภาชนะที่ใชลางไมสะอาดมีการ
ปนเปอนเชื้อจุลินทรียสารเคมีที่เปนอนั ตรายกจ็ ะปนเปอ นอาหารจนอาจกอ ใหเ กิดอนั ตรายกับผบู ริโภค
ได
ฉะน้ันเพ่อื ใหไดภ าชนะอุปกรณท่ีสะอาด ปลอดภัย ส่ิงสําคัญก็คือจะตองรูจักวิธีการเลือกใช
ภาชนะอุปกรณท ถี่ ูกตอ งไมท าํ จากวัสดุที่เปน พษิ และใชใ หเ หมาะสมกับประเภทของอาหารรวมทง้ั ตอง
รูจักวธิ ีการลางและการเกบ็ ภาชนะอุปกรณใ หถกู ตอ ง

เร่ืองที่ 3 ความเช่อื และคานยิ มเกย่ี วกบั การบรโิ ภค

คานิยม (Value) หมายถึง ลักษณะดานสังคมซึ่งมีความเชื่อถือ (Beliefs) กันอยาง
กวา งขวาง ซึ่งเปนแนวทางในการพิจารณาพฤตกิ รรมที่เหมาะสม โดยมีการยอมรับอยางแพรห ลายจาก
สมาชกิ ของสงั คม หรือหมายถึง ความเช่ือถือของสวนรวมซึ่งมีมานาน โดยมีจุดมุงหมายเพ่ือการมี

85

ชวี ิตอยูรว มกนั เปนความรสู กึ เกีย่ วกบั กจิ กรรม ความสมั พนั ธกัน หรือจดุ มงุ หมายซึ่งมีความสําคัญตอ
ลักษณะหรือความเปนอยขู องชุมชน สิง่ ทคี่ นกลุมหน่ึง ๆ วาอะไรก็ตามท่ีคนในสังคมสวนใหญชอบ
ปรารถนาหรอื ตองการใหเปน

ในปจจุบนั เรามักจะใหยินวา คนไทยมีคา นิยมชอบใชของตา งประเทศ ชอบเลยี นแบบ
ชาวตางประเทศโดยรับเอาวัฒนธรรมของตางประเทศเขามามาก โดยลืมคิดถึงความเสียหายท่ีจะ
เกดิ ขึ้น ซง่ึ คําวา “คา นยิ ม” ถือวา เปนปจจัยภายนอกซึ่งเปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอความรูสึกนึกคิดของ
บุคคลเปน สง่ิ ท่เี กิดข้ึนจากการเรียนรู หรือส่ิงอื่นใดก็ตามท่ีเปนตัวกํากับหรือควบคุมพฤติกรรมของ
บุคคลเปนสงิ่ ทเ่ี กิดขึ้นจากการเรียนรู หรือสิ่งอ่ืนใดก็ตามท่ีเปนตัวกํากับหรือควบคุมพฤติกรรมของ
บุคคลทีอ่ ยใู นสังคมนั้น ๆ ซ่ึงความสําเร็จหรือความลมเหลวของธุรกิจทางการตลาดขึ้นอยูกับความ
สอดคลองกับคานยิ มเปน สาํ คัญ ดงั น้นั คา นิยมจงึ เก่ยี วของกบั การตอบสนองตอ ส่ิงกระตุนดวยวิธีที่มี
มาตรฐาน ซึ่งบุคคลจะถกู กระตุน ใหม ีสว นรว มในพฤติกรรมเพอ่ื ใหบรรลุคานยิ ม และความเกี่ยวของ
กับพฤติกรรมผูบริโภคและกลยุทธทางการตลาด ในขณะที่แตละช้ันของสังคมจะมีลักษณะของ
คา นิยมและพฤติกรรมในการบริโภคจะแตกตางกันออกไป ตวั อยางคานิยมกับพฤติกรรมการบริโภค
ของคนไทย มดี งั นี้

1. กลมุ คานิยมความร่าํ รวย และนยิ มใชข องจากตา งประเทศ
จดุ เดนท่ีเปนนสิ ัยของคนไทย
ชอบทําตัววาตัวเองเปนคนรํ่ารวยเน่ืองมาจากการใชสินคา สินคาท่ีนิยมใชจะเปน

สนิ คา ทน่ี ําเขา มาจากตา งประเทศเทาน้ัน
สวนท่เี กยี่ วขอ งกับพฤติกรรมการบริโภค
เปน บคุ คลทชี่ อบใชข องแพง ๆ ทําใหคนอน่ื มองวาตัวเองเปนผูที่รํ่ารวย ตองการให

คนยกยองนับถือ เปนคนที่ตองมีเกียรติ ตองการเปนผูนําในการใชสินคา นิยมใชสินคาที่นําเขามา
เทานั้น มองวาสินคาในประเทศเปนสินคาท่ีไมมีคุณภาพ ไมมีมาตรฐาน เปนสินคาดอยคุณภาพ
จะรูสึกภูมิใจทุกครั้งเมื่อไดใชสินคาท่ีเปนสินคาจากตางประเทศ ชอบไปเที่ยวตางประเทศเพื่อไป
ซื้อสินคา บางครั้งซ้ือมาแลวก็ไมไดใชประโยชนก็จะซ้ือ หรือบางครั้งอาจจะไมมีเวลาไปเท่ียว
ตางประเทศก็ชอบฝากใหคนอื่นซ้ือ มีความเปนตางชาติสูงมาก จะเปนบุคคลท่ีเนนการแตงกายดี
ตั้งแตศ ีรษะจรดเทา เพื่อเสริมสรางบุคลิกภาพ สรางความนาเชื่อถือ นิยมใชบัตรเครดิตการด ชอบ
ความสะดวกสบายไมชอบการรอคอยนาน ๆ ชอบสังคมกับเพ่ือนท่ีมีฐานะรํ่ารวย เทาเทียมกัน ไม
ชอบคบหาสมาคมกันคนทีด่ อ ยกวา หรือจนกวา ทําอะไรคิดถึงตัวเองมากกวาคนอ่ืน บางคร้ังอาจจะ
ประสบกบั ปญ หาทางดานการเงินแตกลัววา คนอื่นจะรูถึงฐานะของตนเองตองยอมกูเงินเพ่ือพยุงฐานะ
ของตนเองก็ยอมเพ่ือรักษาภาพลักษณของตนเอง โดยไมตองการใหใครมามองวาตัวเองจนลําบาก
หรือต่ําตอยกวา คนอ่ืน

86

ผลกระทบกบั คา นิยมแบบน้ี
ลกั ษณะแบบน้ี ควรจะปรับปรุงแกไขเพือ่ สังคมจะไดดีขึ้น โดยเฉพาะคนรุนใหมไม
ควรใหฟุงเฟอซ่ึงจะเปนการสรางคานิยมที่ไมดี และถือวาคานิยมแบบนี้จะเปนอันตรายตอ
ประเทศชาตอิ ยางมาก ซ่งึ อาจกอ ใหเ กิดความเสียหาย เทากับวาประเทศของเราไดตกไปเปนเมืองข้ึน
ของตา งชาติ ซ่งึ เปนการยากทเ่ี ราจะกูประเทศชาตกิ ลับคนื มาได ซ่ึงควรจะไดมกี ารปรับปรุงแกไ ข

2. คานิยมสขุ ภาพดี
จุดเดนทเี่ ปน นสิ ยั ของคนไทย
เปน บคุ คลท่ีรกั ษาสุขภาพของตนเอง และครอบครัว เพ่ือท่ีจะไดมชี วี ิตยนื ยาว
สวนที่เก่ยี วของกับพฤตกิ รรมการบรโิ ภค
พฤติกรรมของบุคคลที่มีคานิยมสุขภาพดี มักจะเปนคนท่ีดูแลตนเองเปนอยางดี มี

การออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ ชอบความสะอาด ไปพบแพทยเปนประจํา มีการพักผอนอยาง
เพียงพอเลือกรับประทานอาหารทีม่ คี ุณคา มปี ระโยชนตอรา งกาย เพื่อทําใหสุขภาพแข็งแรง รวมทั้ง
ดูแลคนในครอบครัวดว ยตอ งการใหคนในครอบครวั ปราศจากโรคภัยไขเ จบ็ ตองการมีชีวติ ท่ยี นื ยาว มี
รา งกายที่แขง็ แรงและสมบรู ณ ชอบพักผอ นอยูกบั บาน และทานอาหารในบา นเพราะเนน ความสะอาด
ชอบดูหนงั ฟง เพลงอยูใ นบาน

สนิ คา ทนี่ ยิ มบริโภค ไดแ ก
1. อาหารมงั สวริ ัติ
2. อาหารเสรมิ
3. นมทีม่ แี คลเซียม เพื่อเสริมสรา งกระดูก
4. นมพรอ งมนั เนย, โยเกิรต
5. วิตามินตา งๆ เชน วิตามินซ,ี วติ ามินบี ฯลฯ
6. ผักปลอดสารพษิ
7. ดม่ื น้ําผลไม
8. ดื่มน้ําแร
9. โสมเกาหล,ี เหด็ หลินจอื
10. ไกตนุ ยาจีน, ไกด าํ
11. ยารักษาโรค (จากแพทยสงั่ )
ผลกระทบกบั คานิยมแบบนี้
เปน คานิยมที่ดนี าจะมีการสนับสนนุ เพราะจะทาํ ใหคนมสี ขุ ภาพดขี ึ้น เพือ่ ชวี ติ ความ

87

เปน อยูในครอบครวั ดีขึ้น และทาํ ใหครอบครวั มคี วามสุขมากขน้ึ
บคุ คลทมี่ คี า นยิ มแบบนี้
เปนบคุ คลท่มี ฐี านะในระดับ B ข้นึ ไป และเปน ผูด ูแลเอาใจใสตอสขุ ภาพ
กลุมเปาหมาย เปนกลมุ วยั กลางคนท่ีเนนดูแลสุขภาพใหแข็งแรงปลอดจากโรคภัย

ไขเจ็บ

3. คานิยมรักความสนุก
จุดเดน ท่ีเปน นิสัยของคนไทย
เปนบุคคลที่รักความสนุก มีความร่ืนเริงอยูตลอดเวลา ชอบ ENTERTAIN ชอบ

สงั สรรคไมวาจะเปน เทศกาลใดกต็ าม
สว นท่ีเกีย่ วของกับพฤตกิ รรมการบริโภค
ลักษณะของพฤติกรรมบุคคลจะเปนบุคคลท่ีรักสนุก ชอบความรื่นเริง มีความ

สังสรรคในหมูญาติพ่ีนอง เพ่ือนฝูงอยูตลอดเวลา ไมวาจะเปนการจัดปารตี้ทุกสิ้นเดือน หรือเปน
เทศกาลตา ง ๆ เชน วนั ข้ึนปใหม, วันตรษุ จีน, วันสงกรานต ฯลฯ ทุกเทศกาลก็จะมีความสนุกสนาน
ตลอดเวลา

สินคา ทน่ี ิยมบริโภค ไดแก
1. รับประทานอาหารทกุ ชนดิ เชน อาหารกับแกลม อาจทําทานเอง หรือไป

ทานนอกบา น
2. เครอ่ื งด่มื ทกุ ชนิด เชน นาํ้ อดั ลม
3. ผลไมตา ง ๆ (ผลไมไทยและผลไมนาํ เขา)
4. ขนมขบเค้ยี วตา ง ๆ
5. ด่มื สุรา (ผลิตในประเทศไทยและนําเขา จากตา งประเทศ)
6. ชอบรอ งเพลง KARAOKE (อาจจะรอ งเพลงอยูในบาน หรอื ตาม

สถานเรงิ รมยตา ง ๆ)
7. ชอบดภู าพยนตร
8. ชอบไปรับประทานอาหาร และฟงเพลงตามโรงแรม, หองอาหารตาง ๆ

และตามคาเฟ
9. ชอบไปเทยี่ วตามสถานที่ในตา งจงั หวัด เชน ไปนํ้าตก, ภเู ขา และทะเ

ผลกระทบกบั คานิยมแบบน้ี
บคุ คลทม่ี ีคานยิ มแบบนีอ้ ยา งนอ ยก็นาจะสนับสนุน เพราะทําใหเกิดสภาพคลองทาง
การเงนิ ทาํ ใหเงนิ ทองไมไหลออกนอกประเทศ มกี ารใชจ ายภายในประเทศ ซ่งึ เปนการกระจายรายได

88

ไปยังสถานทอ งเทย่ี วตางๆ ภายในประเทศไดเปน อยางดี ทาํ ใหมีการจบั จา ยใชสอยและเปนการสราง
รายไดใหกับชุมชนตางๆ และแหลงทองเที่ยวตางๆ ทําใหคนมีอาชีพมากข้ึนซ่ึงจะทําใหเกิดการ
หมุนเวยี นทางดา นการเงินอาจสงผลใหภ าวะทางเศรษฐกิจในประเทศดีขึ้น

4. คานิยมบริโภคนยิ ม
จดุ เดน ทเ่ี ปนนสิ ัยของคนไทย
เปนบคุ คลที่มีนิสัยชอบบรโิ ภคเปน หลกั ซงึ่ ไมไ ดคาํ นงึ ถงึ คณุ ภาพ
สวนทเี่ กย่ี วขอ งกบั พฤตกิ รรมการบรโิ ภค
ลักษณะพฤติกรรมการบริโภคชอบรับประทานอาหารนอกบาน พยายามสรรหา

รา นอาหารทอี่ รอ ยๆ ไมวา จะอยูใกลห รือไกล ถา ข้ึนช่ือในระดับ เชลลชวนชิม, แมชอยนางรํา และ
ไมล องไมร ู ซึ่งมีใบรับประกัน ชอบที่จะไปทดลองชมิ ดวู าอรอ ยสมช่ือหรือเปลา ชอบรานอาหารที่มี
ลกั ษณะสะอาด มคี วามสะดวกสบาย มที จ่ี อดรถสะดวก บางครั้งบรโิ ภคมากจนเกินความจําเปนและ
มีผลตอ สขุ ภาพ ทําใหเ กดิ โรคตางๆ ไดงาย เชน โรคไขมันอุดตัน โรคเบาหวาน ความดัน อาหาร
ไมยอยอาหารเปนพิษ ฯลฯ

สนิ คาที่นยิ มบริโภค ไดแก
1. อาหารทกุ ชนดิ เชน รา นอาหารดังๆ
2. อาหาร fast food เชน KFC, McDonald
3. รานอาหารญ่ปี ุน เชน Oishi, ฟูจิ
4. รานไอศกรมี เชน Swensens
5. ขนมขบเค้ยี วตา งๆ
6. เครือ่ งดื่มทกุ ชนิด
7. สรุ ายีห่ อตางๆ
ผลกระทบกับคา นิยมแบบนี้
บคุ คลท่ีมีคา นยิ มแบบน้ี อาจจะปนทอนสุขภาพได เพราะไมไดระมัดระวังในเร่ือง
ของการรบั ประทานอาหาร ควรจะมีการปรบั ปรงุ แกไขเพ่ือใหมีสุขภาพแข็งแรง และมีชีวิตท่ียืนยาว
ได ผูที่มีคานิยมบริโภคแบบนี้ ถาเปนผูสูงอายุจะทําใหเกิดอันตรายตอสุขภาพ เชน มักจะพบกับ
โรคภัยไขเ จบ็ ตางๆ และมักจะมอี ายุส้นั

เร่อื งที่ 4 ปญหาสุขภาพท่เี กิดจากการบรโิ ภคอาหารไมถ ูกหลกั โภชนาการ

ปจจุบันการดําเนินชีวิตของประชาชนโดยเฉพาะในเขตเมือง เปนไปอยางเรงรีบ ทําใหการ
บรโิ ภคอาหาร กเ็ นน อาหารตามทีร่ ับประทานไดสะดวกรวดเร็ว เชน อาหารฟาสตฟูด (Fast Food) ทํา
ใหเ กิดปญ หาโรคอว น และโรคอนื่ ๆอีกมาก ดงั นัน้ จึงควรทาํ ความเขาใจถึงองคป ระกอบสําคญั ดงั น้ี

89

1) อาหาร (Food) หมายถึงสิ่งที่เรากินไดและมีประโยชนตอรางกาย ส่ิงที่กินไดแตไมเปน
ประโยชนห รือใหโ ทษแกร า งกาย อาทิ สรุ า เหด็ เมา เรากไ็ มเรยี กส่งิ นน้ั วา เปน อาหาร

2) โภชนาการ (Nutrition) มีความหมายกวา งมากกวาอาหาร โภชนาการ หมายถึง เรื่องตางๆ
ที่วาดวยอาหาร อาทิ การจัดแบงประเภทสารอาหาร ประโยชนของอาหาร การยอยอาหาร โรคขาด
สารอาหาร เปน ตน โภชนาการเปน วชิ าสาขาหนึง่ ซึง่ มลี กั ษณะเปน วิทยาศาสตรประยุกต ที่กลา วถงึ การ
เปลี่ยนแปลงตางๆของอาหารที่เรารับประทานเขาไปเพื่อใชประโยชนในดานการเจริญเติบโตและ
ซอมแซมสวนตา งๆของรางกาย

3) สารอาหาร ( Nutrient) หมายถึง สารเคมีที่เปนสวนประกอบสําคัญในอาหาร สารเคมี
เหลา นีม้ คี วามสาํ คัญและจําเปน ตอ รา งกาย อาทิ เปนตัวทําใหเกิดพลังงานและความอบอุนตอรางกาย
ชว ยในการเจรญิ เตบิ โต ชวยซอ มแซมสวนทสี่ ึกหรอทําใหร างกายทาํ งานไดตามปกติ เม่ือนําอาหารมา
วิเคราะหจ ะพบวา มีสารประกอบอยูมากมายหลายชนิด ถา แยกโดยอาศัยหลักคุณคาทางโภชนาการจะ
แบง ออกเปน 6 ประเภท ไดแ กโปรตีน คารโ บไฮเดรต ไขมัน วิตามิน เกลือแร และน้าํ

4) พลงั งานและแคลอรี่
ไขมัน คารโบไฮเดรต และโปรตีน ใหประโยชนแกรางกายหลายอยางที่สําคัญคือ การใช
พลังงานแกรา งกาย พลังงานในที่นี้หมายถึงพลงั งานท่รี า งกายจาํ เปน ตองมี ตอ งใชและสะสมไว เพื่อใช
ในการทาํ งานของอวัยวะทั้งภายในและภายนอกรา งกาย
นักวิทยาศาสตรวัดปริมาณของพลังงานหรือกําลังงานที่ไดจากอาหารเปนหนวยความรอน
เรยี กวาแคลอร่ี โดยกาํ หนดวา 1 แคลอรี่ เทา กบั ปริมาณความรอนท่ที ําใหนํา้ 1 กรัม มีอุณหภูมิสูงข้ึน 1
องศาเซลเซียส แตในทางโภชนาการพลังงานที่ไดรับจากการอาหารท่ีกินเขาไป 1 แคลอรี่ (ใหญ)
เทา กบั ปริมาณ ความรอ น ท่ีทาํ ใหน ้าํ 1 กโิ ลกรมั มอี ุณหภมู ิสูงข้นึ 1 องศาเซลเซียส
5) อาหารหลกั 5 หมู อาหารเปนสิ่งจาํ เปนยิง่ สาํ หรับการเจรญิ เติบโต การบํารุงเลี้ยงสวนตางๆ
ของรา งกาย มักพบวาบางคนเลอื กทจ่ี ะกนิ และไมกนิ อาหารอยางหนึ่งอยางใด ซ่ึงเปนการกระทําท่ีไม
ถูกตอง หากไมกินอาหารตามความตองการของรางกาย การกินอาหารตองคํานึงถึงคุณคาของ
สารอาหารมากกวา ความชอบหรอื ไมชอบ การเลือกกนิ หรือไมก ินอาหารเกิดจากสาเหตุหลายประการ
ดงั นี้
ความคุนเคย เราจะเลือกอาหารท่เี ราคนุ เคยหรอื กินอยเู ปน ประจํา และจะไมเลือกกินอะไรท่ีไม
คนุ เคยดงั นนั้ จึงมีอาหารอีกหลายอยางที่เรายังไมเ คยกิน ซง่ึ อาจจะอรอ ยถูกปากก็ได
รสชาติ หรือความ “อรอย” เปนเหตุผลท่ีคนเราเลือกอาหาร ความอรอยของแตละคนจะไม
เหมอื นกัน อาหารอยา งหนึ่งบางคนจะบอกวา อรอยแตบางคนจะเฉยๆ หรอื ไมอรอ ย
ลักษณะเฉพาะของเน้ืออาหาร อาทิ บางคนชอบอาหารกรอบ อาหารนุม บางคนชอบเคี้ยว
อาหารพวกเนอื้ ทเี่ หนยี วๆ เปน ตน

90

ทศั นะคติ ของคนไทยครอบครัวหรอื เพ่ือนจะมีอิทธิพลตอความชอบไมชอบอาหารของทาน
อาทใิ นครอบครวั ทพ่ี อ ไมกินตนหอมหรือผักชีเลย ไปกินอาหารท่ีไหนก็จะเขี่ยตนหอมผักชีออกจาก
จานทุกครั้ง ลกู ๆก็จะเลยี นแบบกลายเปน ไมชอบไปดวย

ดังน้ันเพ่ือสุขภาพเราจึงควรลองกินอาหารท่ีไมเคยกินทีละอยางสองอยางโดยคํานึงถึง
ประโยชนของมนั มากกวา เมอ่ื ไดล องกินแลวอาจะพบวา จริงๆ แลวมันก็อรอยไมแพอาหารจานโปรด
และไมเ กิดปญหาสุขภาพที่เกิดจากการบรโิ ภคอาหารไมถ กู หลกั โภชนาการดวย

ปญหาจากการบรโิ ภคอาหารไมถ กู หลักโภชนาการไดแก
- ภาวะทุพโภชนาการ
- ภาวะโภชนาการเกิน (โรคอว น)
ภาวะทพุ โภชนาการ (Malnutrition)
ภาวะทพุ โภชนาการ หมายถงึ ภาวะที่รางกายไดรับสารอาหารผดิ เบ่ยี งเบนไปจากปกติ อาจเกดิ
จากไดร บั สารอาหารนอ ยกวา ปกตหิ รอื เหตุ ทตุ ิยภูมิ คอื เหตเุ นอื่ งจากความบกพรองตางจากการกินการ
ยอ ยการดูดซมึ ในระยะ 2-3 ปแรกของชีวิต จะมีผลกระทบตอระดับสติปญญา และการเรียนภายหลัง
เนือ่ งจากเปนระยะท่มี ีการเจรญิ เตบิ โตของสมองสงู สุด ซงึ่ ระยะเวลาที่วิกฤติตอพัฒนาการทางรางกาย
ของวัยเด็กมากที่สุดน้ันตรงกับชวง 3 เดือนหลังการต้ังครรภจนถึงอายุ 18-24 เดือนหลังคลอด เปน
ระยะทีม่ กี ารปลอกหมุ เสนประสาทของระบบประสาท และมีการแบงตวั ของเซลล
ประสาทมากท่ีสดุ เมอื่ อายุ 3 ป มีผลกระทบตอการเจริญเติบโต ถึงรอยละ 80 สําหรับผลกระทบทาง
รางกายภายนอกท่ีมองเห็นไดคือเด็กมีรูปรางเตี้ย เล็ก ซุบผอม ผิวหนังเหี่ยวยนเน่ืองจากไขมันชั้น
ผวิ หนงั นอกจากน้อี อวัยวะภายในตางๆ ก็ไดรบั ผลกระทบเชน กนั
1. หวั ใจ จะพบวา กลามเนื้อหวั ใจไมแ นน หนา และการบบี ตวั ไมดี
2. ตับ จะพบไขมันแทรกอยูในตับ เซลลเน้ือตับมีลักษณะบางและบวมเปนน้ําสาเหตุให

ทาํ งานไดไ มดี
3. ไต พบวาเซลลท วั่ ไปมีลักษณะบวมนา้ํ และติดสจี าง
4. กลามเนอ้ื พบวา สวนประกอบในเซลลลดลง มีน้าํ เขา แทนท่ี
นอกจากการขาดสารอาหารแลว การไดร บั อาหารเกิน ในรายทอ่ี ว นฉุก็ถือเปน ภาวะทุพโภชนาการเปน
การไดรบั อาหารมากเกินความตองการ พลังงานท่ีมมี ากน้ันไมไดใ ชไป พลงั งานสว นเกินเหลาน้ันก็จะ
แปลงไปเปนคลอเรสเตอรรอลเกาะจับแนนอยูตามสวนตางๆของรางกาย และอาจลุกลามเขาสูเสน
เลือด ผลที่ตามมาก็คอื โรคอว น โรคเบาหวาน โรคหวั ใจ และโรคตา งๆ
การประเมินสภาวะโภชนาการ
1. ประวัติ ทีน่ ําเดก็ มาจากโรงพยาบาลเพ่ือหาสาเหตุชกั นําใหเ กิดภาวะขาดสารอาหาร
2. การตรวจรางกาย เพื่อหารอ งรอยการผดิ ปกตซิ ่งึ เกดิ จากการขาดสารอาหารและวิตามิน

91

การตรวจรางกาย เพือ่ ประเมินสภาวะโภชนาการของเด็กแบง ไดเปน 2 ตอน คือ การตรวจรา งกายท่ัวไป
กบั การตรวจโดยการวัดความเจรญิ ทางรางกาย

การตรวจรางกายทวั่ ไปโดยแพทย จะเปน แนวทางชว ยประเมนิ สภาวะของเดก็ และเปน
แนวทางวินจิ ฉยั การขาดสารอาหารและวติ ามนิ

การตรวจโดยการวัดความเจริญทางรางกาย เปนการวัดขนาดทางรางกายคือ สวนสูง
และนํา้ หนกั เพ่อื บอกถงึ โภชนาการของเดก็

ภาวะโภชนาการเกนิ
เมอ่ื คนเราบริโภคอาหารชนดิ ใด ชนิดหน่ึง เกินความตองการของรางกาย จะทําใหเกิดภาวะ

โภชนาการเกนิ จนเกดิ โรคได และโรคทีเ่ กดิ จากภาวะโภชนาการเกิน เปนสาเหตุของการสูญเสียชีวิต
เปนจํานวนไมนอย และเปนตนเหตุของการเจ็บปวยที่ตองเสียคาใชจายในการรักษายาวนานเชน
โรคหวั ใจและหลอดเลือด ตลอดจนโรคอวน เปนตน

โรคหวั ใจและหลอดเลือด (Cardiovascular Disease)
โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด เปนสาเหตกุ ารตายทสี่ ําคญั ในลาํ ดับตน ๆ ของประชาชนไทยมาโดย

ตลอด โรคดังกลาวเปนการเปล่ียนแปลงทางอายุรศาสตรท่ีเก่ียวของกับหัวใจและหลอดเลือด ซ่ึงจะ
หมายรวมถึงโรคตางๆ และภาวะอาการของโรค เชน โรคหลอดเลือดหัวใจ (Coronary heart disease)
ภาวะหลอดเลือดหัวใจแขง็ (Arteriosclerosis) และอาการความดนั เลือดสงู (Hypertension) เปนตน โรค
ท่สี าํ คญั ในกลมุ น้ีคอื โรคหลอดเลอื ดหวั ใจหรือโรคหลอดเลอื ดหวั ใจตีบ ซึง่ จัดวาเปน โรคที่เปนสาเหตุ
ของการปว ย และการตายที่สูงของประชาชนชาวไทยในปจ จุบัน

โรคหลอดเลอื ดหัวใจ
โรคหลอดเลอื ดหวั ใจ เปน โรคชนิดหนึง่ ที่เกดิ จากหลอดเลือดแดงหัวใจแข็ง ตีบ ตนั ขาดความ
ยืดหยนุ หลอดเลือดหัวใจตีบหรือตนั หรือเกิดจากล่มิ เลอื ดอดุ ตันหลอดเลือดหัวใจ จนทําใหกลามเน้ือ
หวั ใจขาดเลอื ด หรอื ทาํ ใหกลา มเน้อื หัวใจตาย โรคนี้เปนสาเหตุสําคัญของอัตราการปวยการตาย ของ
คนไทยในปจจบุ ัน และมีแนวโนม จะเพมิ่ มากขน้ึ ในอนาคต
สาเหตุ
1. กรรมพนั ธุ ผูที่พอแม ปยู า ตายาย ปวยเปน โรคหลอดเลอื ดหัวใจจะมคี วามเส่ยี งมากกวา
ไขมนั ในหลอดเลอื ด ถาสูงกวา ปกติจะทาํ ใหห ลอดเลอื ดแข็ง เสยี่ งตอการเปน โรคหลอดเลือดหัวใจ
2. ความดันเลอื ดสูง
3. เบาหวาน ผทู เี่ ปนเบาหวานมกั จะเปน โรคหลอดเลอื ดหัวใจดว ย
4. ความอวน ความอว นกับโรคหลอดเลือดหัวใจ มักจะเกิดข้ึนดวยกันเสมอ โดยเฉพาะคน

อวนทพ่ี งุ มกั จะมีไขมนั ในเลอื ดสูงจนเปน โรคหลอดเลือดหัวใจดว ย

92

5. ออกกําลังกายนอยหรือขาดการออกกําลังกาย การไหลเวียนเลือดไมคลองพอ การเผา
ผลาญพลงั งานนอย ทําใหสะสมไขมนั จนกลายเปนโรค

6. ความเครียด และความกดดนั ในชีวติ อาจสงผลทําใหเ ปน โรคนไี้ ด
7. การสูบบุหรี่ สารนิโคตนิ และทารจ ากควันบุหร่มี ผี ลตอ การเกดิ โรคนี้
นอกจากสาเหตทุ ่ีสําคญั ดังกลาว ซ่ึงจดั วาเปน ปจจัยทส่ี ามารถเปลี่ยนแปลงได อาจมีปจจัยเส่ียง
อ่ืน ๆ ท่ีเปนสาเหตุของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ เชน เพศ อายุ เชื้อชาติ เปนตน จากการศึกษา
พบวาเพศชายเสยี่ งตอการเกดิ โรคนมี้ ากกวา เพศหญิง ยกเวนผูหญิงในวัยหมดประจําเดือนเนื่องจากมี
ระดับฮอรโมนเอสโตรเจนลดลง มไี ขมนั ในเลือดสูง สําหรบั อายุพบวามีอัตราการเกิดโรคนี้สูงมากใน
ผูสูงอายุ และเชื้อชาติพบวา ในคนผิวดํามีอตั ราการเกิดโรคนมี้ ากกวาคนผิวขาว

อาการ
1. เจบ็ หนา อกเปน ๆ หายๆ หรือเจบ็ เมื่อเครียด หรอื เหน่อื ย ซง่ึ เปนลักษณะอาการเร่มิ แรก
2. เจ็บหนา อกเหมอื นมีอะไรไปบบี รดั เจบ็ ลึกๆ ใตก ระดกู ดา นซา ยราวไปถึงขากรรไกรและ
แขนซายถงึ น้ิวมอื ซาย เจ็บนานประมาณ 15-20 นาที ผูปวยอาจมีเหง่ือออกมาก คล่ืนไสหายใจลําบาก
รูสกึ แนน ๆ คลา ยมีเสมหะติดคอ บางครั้งมีอาการคัดจมูกคลายเปนหวัด เมอ่ื เปนมากจะมอี าการหนา มืด
คลายจะเปนลม และอาจถงึ ขั้นเปน ลมได บางครัง้ พอเหน่อื ยกจ็ ะรูสกึ งวงนอนและเผลอหลบั ไดงาย
3. ผปู ว ยมีอาการหัวใจส่ัน หวั ใจเตนไมสมาํ่ เสมอ
4. ในกรณีทร่ี ุนแรง อาการเจบ็ หนาอกจะรนุ แรงมาก มักจะเกิดจากการที่มีล่ิมเลือดไปอุดตัน
บริเวณหลอดเลอื ดทต่ี บี ทําใหเกิดกลา มเน้ือหวั ใจตาย ผูป ว ยอาจมีอาการหวั ใจวาย ชอ็ ก หัวใจหยุดเตน
ทาํ ใหเ สยี ชีวิตอยางกะทันหันได

การปองกัน
1. หากพบวาบุคคลในครอบครวั มปี ระวัติเปนโรคน้ี ควรเพ่ิมความระมัดและหลีกเล่ียงจาก
ปจจยั เส่ยี ง เพราะอาจกระตุนการเกิดโรค
2. ลดอาหารท่ที าํ จากน้ํามนั สตั ว กะทิจากมะพราว น้าํ มนั ปาลม และไขแดง
3. ไมควรรับประทานอาหารทมี่ รี สเค็มจดั
4. ลดอาหารจาํ พวกแปง คารโบไฮเดรต รบั ประทานอาหารพวกผกั ผลไมม ากๆ
5. งดอาหารไขมนั จากสัตวแ ละอาหารหวานจัด
6. ออกกาํ ลังกายอยางสม่ําเสมอ
7. พักผอนใหเ พยี งพอวนั ละ 6-8 ชัว่ โมง และหาวธิ ผี อ นคลายความเครียด
8. หลกี เล่ยี งหรอื งดการสบู บุหรี่


Click to View FlipBook Version