The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maw.nfe, 2020-04-15 02:05:01

สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

143

เรอ่ื งที่ 1 การปองกันอันตรายจากการประกอบอาชีพ

สขุ ภาพกบั การประกอบอาชีพมีความสัมพันธกนั อยา งมาก คอื
1. การประกอบอาชีพทําใหเรามีความเปนอยูที่ดีและในขณะเดียวกันการที่เราจะ

สามารถประกอบอาชีพไดจ าํ เปนตองมีสขุ ภาพทดี่ ีท้งั รางกายและจติ ใจ ท้งั สองสิ่งนี้ตองควบคกู นั ไปจึง
จะทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ

2. ความสมั พนั ธในทางลบ คอื การประกอบอาชพี สง ผลเสยี ตอ สขุ ภาพ ทําใหเ กดิ โรค
และอันตรายได ดังนน้ั จึงจําเปนทตี่ องควบคมุ และปองกนั โรค รวมทัง้ อันตรายจากการประกอบอาชีพ
นอกจากนคี้ วรใหการศึกษาแกประชาชนใหประกอบอาชีพไดอยา งปลอดภัย

ปจจยั ที่เปน สาเหตุของการเกิดโรคและอันตรายจากการประกอบอาชีพ ปจจยั ทีส่ าํ คญั ไดแ ก
1. บุคคลผปู ฏิบตั งิ านและควบคมุ การทาํ งาน เปนผูควบคมุ กาํ หนด และปฏิบัติการทาํ

ส่งิ ตา ง ๆ องคป ระกอบตาง ๆ ของบคุ คลทส่ี ง ผลใหเกดิ โรคหรอื อนั ตรายจากการทาํ งาน ไดแ ก
1.1 สภาวะทางรางกายและจิตใจ รางกายและจิตใจออนแอทําใหเกิดโรคหรือ

อนั ตรายได
1.2 ลกั ษณะนิสัยการทํางาน ตองรักการทํางาน ละเอียด รอบคอบ จึงจะไมเกิด

โรคหรืออนั ตราย
1.3 การขาดความรูความสามารถในการทาํ งานและประสบการณก็เปนอีกปจจัย

หนึง่ ที่ทําใหเ กดิ โรค
2. สภาพแวดลอ มทางกายภาพ ไดแ ก สถานทท่ี ํางาน แสง เสียง ฯลฯ
3. สารเคมี เปน ส่ิงทมี่ ีประโยชนแ ละโทษในการประกอบอาชพี
4. เชอื้ โรคและพษิ ของเชอ้ื โรค เม่อื เขาสรู างกายอาจเกดิ อนั ตรายได
5. เคร่ืองจักร เคร่อื งมอื และในการทาํ งาน หากใชอยา งไมถ ูกตอ ง อาจเกดิ อนั ตรายได

144

สภาพการณท ่ไี มปลอดภัย (Unsafe Conditions)
เครอื่ งจกั ร : ไมม อี ุปกรณปองกนั สว นท่ีเคลื่อนไหว หรือมไี มเพียงพอ
เครือ่ งมือ : อปุ กรณช าํ รุด เปนอันตราย
ส่ิงของ : วัสดุ วางไมเปนระเบยี บ
อาคาร : ส่ิงปลูกสรางไมมัน่ คง
สารเคมี : วตั ถุมพี ษิ ไมมีทเ่ี กบ็ โดยเฉพาะ
สภาพ ความรอ น ความเยน็ แสงสวาง เสียงดัง ฝุนละออง ไอระเหย ฯลฯ

การกระทําทไ่ี มปลอดภยั (Unsafe Acts)
 เดนิ เครอื่ งจกั รหรือทาํ งานที่ไมใ ชห นา ท่ีของตน หรือไมรูงาน
 เดินเคร่อื งเรว็ เกินควร
 ถอดอุปกรณป องกนั อันตรายออก
 ใชเ ครอ่ื งมอื ไมถูกวิธี ไมเ หมาะสม หรือไมปลอดภยั
 ทาปฏบิ ัตงิ านไมเหมาะสม
 ไมใ ชอ ปุ กรณปองกันสว นบุคคล
 ประมาท มกั งาย หรือหยอกลอ กนั ในขณะทาํ งาน
 จงใจฝา ฝนกฎระเบยี บ
 อน่ื ๆ

1.1 ความปลอดภัยท่วั ไปในบรเิ วณโรงงาน
ขอพงึ ปฏิบตั ิเพอ่ื ความปลอดภยั ในโรงงาน
1. หา มสูบบหุ รีใ่ นบรเิ วณโรงงาน ยกเวนบรเิ วณที่อนุญาตใหส ูบได
2. หามท้ิงกนบหุ ร่ลี งบนพ้นื ตอ งทิง้ ลงในภาชนะท่ีจัดไวใ หเ ทาน้ัน
3. หามนําไมข ีดไฟ หรอื ไฟแชค็ ชนิดจงั หวะเดียวเขา ไปในบริเวณท่ีหามสูบบหุ ร่ี
4. หา มหงุ ตม อาหารในบริเวณท่ีหามสูบบหุ รี่
5. หา มนําอาหารหรือเครื่องดมื่ เขา ไปในบรเิ วณทผ่ี ลิตสารเคมอี ันตรายและคลงั พสั ดุ
6. หา มเกบ็ เสื้อผา รองเทา หมวก ถงุ มอื และของใชส ว นตัวอื่น ๆ ไวในท่ีตามใจชอบ

ใหจ ดั เก็บไวในตูทจ่ี ัดไวใหเทาน้ัน
7. หามบวนนาํ้ ลายลงบนพื้นโรงงาน หรอื ในบรเิ วณท่ที ํางาน
8. ใหท ง้ิ ขยะมูลฝอยในถังท่จี ดั ไวไหเทา นัน้
9. ควรรักษาความสะอาดของเคร่ืองใชประจาํ ตัวอยา งสมาํ่ เสมอ

145

10. ตองสวมเส้อื ผา รองเทา ใหเรยี บรอ ยตลอดเวลาทที่ าํ งานในโรงงาน และสวม
หมวกพรอ มทง้ั อปุ กรณปองกนั อนั ตรายอ่ืน ๆ ที่จาํ เปน เม่ือทาํ งานในโรงงาน

11.หากมีอบุ ัตเิ หตุเกิดข้ึน ใหร ายงานตอผูบ งั คับบัญชาทนั ที
12.หากรสู กึ เจบ็ ปว ยในเวลาทาํ งานใหร ีบรายงานตอผูบงั คบั บญั ชาเพอ่ื จะไดทําการ
รกั ษาพยาบาลทันที
13.ใหเดนิ ตามทางทจ่ี ดั ไวใ นโรงงาน อยา วงิ่ เมอื่ ไมมเี หตจุ ําเปน
14.จัดเก็บและเรยี งส่งิ ของใหเปนระเบียบ เพ่ือใหม ีทางเดินหรอื ทาํ งานไดสะดวกและ
ปลอดภัย
15. หามเลนเยา แหย หรอื หยอกลอกันในบรเิ วณทีท่ าํ งาน
16. หา มฝก ขบั ขย่ี านพาหนะในบริเวณโรงงาน
17. ตองเรียนรูถงึ วิธกี ารดับเพลงิ และการใชอุปกรณด ับเพลงิ ประเภทตา ง ๆ
การใชแ ละเกบ็ รักษาเคร่ืองมอื อุปกรณการทํางาน
1. ใหเกบ็ เครอื่ งมอื และอุปกรณตาง ๆ ใหเ ปนระเบยี บเรียบรอยและเก็บรักษาใหอยู
ในสภาพท่ีดี เมอื่ จะใชหรอื เตรียมจะใช ตอ งวางไวใ นทที่ ี่ไมเปนอนั ตรายแกบุคคลอ่ืน
2. ในขณะปฏบิ ตั งิ านบนทส่ี ูงหามวางเครื่องมือหรืออุปกรณอื่นใดบนนั่งรานแทน
บนั ได หรือทสี่ งู เวนแตจ ะไดมที เ่ี กบ็ ไวไมใหตก
3. เคร่ืองมือไฟฟาชนิดมือถือหรือชนิดเคลื่อนยายได และไมมีฉนวนหุมสองช้ัน
จะตอ งมีสายไฟฟาชนดิ สามสายและปลก๊ั ท่ีตอไปยงั สายดิน
4. ผูป ฏบิ ตั ิงานทกุ คนเม่อื พบเหน็ เคร่อื งมือเคร่ืองใช หรืออุปกรณซ่ึงถาปลอยท้ิงไว
อาจกอ ใหเ กดิ อันตราย หรอื พบเหน็ เครอื่ งมืออปุ กรณที่ใชปองกันอันตรายน้ันไมไดมาตรฐาน ใหแจง
ผูบงั คับบัญชาทราบโดยทันที
5. ในการปฏิบัตงิ านแตล ะครงั้ หามผูปฏบิ ัตงิ านใชเครอื่ งมอื ทชี่ ํารุดบกพรอง

การใชอุปกรณย กยายส่งิ ของ
1. อุปกรณยกของจะตองไมบ รรทุกน้ําหนักเกินกวามาตรฐานการใชงานท่ีกําหนด
ไว
2. ผูปฏบิ ตั ิงานท่ที ํางานเกี่ยวกับอุปกรณยกของจะตองสวมเครื่องปอ งกันอันตรายท่ี
เหมาะสมกับงาน เชน หมวกนริ ภยั รองเทานิรภยั และถงุ มือนริ ภัย ฯลฯ
3. การทํางานเกย่ี วกับอุปกรณย กของจาํ เปนที่จะตองมกี ารประสานงานกับเจาหนา ท่ี
คนอน่ื ทท่ี าํ งานอยใู นบริเวณเดยี วกัน
4. ผูใชปนจ่ัน กวาน และเครน จะตองเปนผูท่ีมีหนาที่และไดรับอนุญาตจาก
ผูบงั คับบัญชาแลว เทานนั้

146

5. กอ นทําการใชปนจน่ั กวาน และเครนในแตล ะวัน ผใู ชจ ะตอ งตรวจสอบใหแ นใจ
วาปนจ่ัน กวาน และเครนอยูในสภาพทเ่ี หมาะสมกับการใชงานและสามารถใชงานไดอยางปลอดภัย
เชน ตรวจหารอยราย รอยแตก การหลุดหลวมของนอตระบบไฮดรอลิกส ระบบควบคุมการทํางาน สมอ
เกีย่ ว โซ และเชอื ก เปนตน

6. ผูใชป น จน่ั จะตองไมยกของหนกั ขามศรี ษะบคุ คลอน่ื นอกจากหัวหนางานจะส่ัง
และผูปฏิบัติงานที่ทํางานอยูใกล ๆ หรืออยูใตอุปกรณยกของนั้น จะตองระมัดระวังส่ิงของตกลงมา
ตลอดเวลา

7. ในขณะท่ปี นจนั่ หรือเคร่อื งยกอ่นื ๆ กําลงั ยกของคา งอยู ผใู ชจ ะตอ งเอาใจใสและ
ควบคมุ อยางดี

8. ในการปฏิบัติงาน ผูใชปน จนั่ หรือเครือ่ งยกอ่ืน ๆ ตอ งดูสัญญาณจากพนักงานผูมี
ความรูค วามชาํ นาญ และมหี นา ที่ในเรอ่ื งน้ีแตเ พยี งผูเดยี วเทา นั้น

9. เม่ือใชปนจั่น กวาน และเครนในบริเวณที่มีสายไฟหรืออุปกรณไฟฟาที่มี
กระแสไฟฟาไหลผานอยู ผใู ชจ ะตอ งไมนาํ สวนหนึ่งสว นใดของปนจัน่ กวาน และเครนซ่ึงไมมีเคร่ือง
ปอ งกันเขาใกลส ายไฟหรอื อปุ กรณไฟฟา นอ ยกวา ระยะทีก่ ฎหมายกาํ หนดไว

10. สลิงที่ใชกับเคร่ืองยกตาง ๆ จะตองเปนชนิดที่ทําดวยลวด โซเหล็ก หรือเชือก
มะนลิ า

11. สลิงทุกเสนจะตองมีความแข็งแรงพอที่จะรับนํ้าหนักไดไมนอยกวา 8 เทาของ
ส่ิงของที่จะยก

12. กอ นที่จะใชส ลงิ จะตอ งตรวจดูใหละเอยี ดถีถ่ ว นวาจะใชไดอ ยางปลอดภยั หรือไม
หา มใชส ลงิ ทหี่ งกิ งอหรือมเี สนเกลียวขาดจนทาํ ใหค วามแขง็ แรงนอ ยกวาทก่ี าํ หนดไวใ นขอ 11

13. เมื่อจะใชสลิงยกของที่มีขอบแข็งคม จะตองใชไมหรือสิ่งรองรับอื่น ๆ ที่
เหมาะสมรองกันไวไ มใ หส ลิงชํารดุ เสยี หาย

การใชเ ครื่องกลงึ
1. หามวางเคร่อื งมอื หรือวัตถตุ า ง ๆ ไวบ นแทน เลื่อนของเครอื่ งกลึง เวนแตเคร่ืองมือ
ทจี่ าํ เปน ตอ งใชในงานท่กี าํ ลังทําอยเู ทานน้ั
2. จะตอ งจัดหาลงั ถงั หรือภาชนะอน่ื ๆ ทเ่ี หมาะสมไวส ําหรับใสเศษวตั ถุ
3. ผูปฏิบัติงานทุกคนท่ีปฏิบัติงานกับเครื่องจักรกลจะตองสวมแวนตานิรภัยเพื่อ
ปอ งกันอันตรายซงึ อาจเกดิ ขนึ้ กับดวงตา และตองใชแ ผนปดหนาอกท่ีทําดวยผาท่ีมีสวนประกอบของ
ใยสังเคราะหนอ ยท่ีสดุ เพื่อปองกนั เศษโลหะท่ีรอ น ซ่งึ อาจจะกระเด็นถูกผิวหนงั หรือเส้อื ผา ทสี่ วมใส
4. หา มวดั ขนาดชน้ิ งานขณะท่ีเครอ่ื งกลึงกาํ ลงั หมุน
5. หา มใชมอื ไปจบั เพ่ือดึงเศษโลหะออกจากชิ้นงาน โดยเฉพาะขณะทกี่ าํ ลงั กลึงอยู

147

การใชเคร่ืองขัดหรือหินเจียร
1. จะตองติดตงั้ เคร่อื งขัดหรอื หินเจียรใหยึดแนนกับพื้นโตะหรือฐานอื่น ๆ ท่ีมั่นคง
แข็งแรง
2. จะตองมีฝาครอบเคร่ืองขัดเพื่อปองกันไมใหผูปฏิบัติงานไดรับอันตรายจากเศษ
โลหะท่กี ระเด็นออกมา
3. จะตองไมตั้งอัตรารอบหมุนของจานขัดเกินอัตรารอบหมุนเร็วท่ีบริษัทผูผลิต
กําหนดไว
4. จะตองปรบั แผนรองขัด (Work Rest) ใหพอเหมาะโดยใหหางจากจานขัดไมเกิน
1/8 นว้ิ
5. จานขัดท่ีสึกมากจนใชการไดไ มด ี จะตอ งเปล่ียนใหมท นั ที
6. จานขัดทชี่ าํ รุดจะตอ งท้งิ ไป อยานาํ กลบั มาใชอีก
7. ผูป ฏบิ ัติงานทีป่ ฏิบตั ิงานกับเคร่ืองขัดจะตองสวมแวนนิรภัยเพื่อปองกันอันตราย
อนั อาจจะเกดิ ขึน้ กบั ดวงตา และสวมเครือ่ งกรองอากาศหายใจปองกันอันตรายจากฝุนที่อาจจะเกิดกับ
ระบบหายใจ และสวมถงุ มือปองกันเศษโลหะ

การใชเ ครอ่ื งตดั
1. ในการทํางานกับเคร่ืองตัด ผูปฏิบัติงานจะตองสวมเคร่ืองปองกันอันตรายสวน
บคุ คล เชน เคร่ืองปองกนั ดวงตา ถงุ มือ รองเทา ผาหรอื หนังกนั เศษโลหะ
2. เครอื่ งตดั จะตองมีเคร่อื งปองกันอันตรายประจําเครื่อง เชน แผนใสนิรภัยปองกัน
เศษชนิ้ งานกระเด็นเขาตา หรอื มฝี าครอบวงลอ
3. ในหองปฏิบัติงานจะตองมีระบบระบายอากาศท่ีเพียงพอ เพ่ือกําจัดฝุนโลหะที่
เกิดขึ้น ถา ไมม รี ะบบระบายอากาศ จะตองใหผูปฏิบัติงานสวมอุปกรณปองกันฝุนตลอดระยะเวลาท่ี
ปฏบิ ัติงานกับเคร่อื งตัดดงั กลา ว

การใชเ ครือ่ งปม โลหะ
1. ควรใชเ ครอื่ งปม ท่ีอยูในสภาพท่ีปลอดภัยตอการใชงาน หรือมีการติดตั้งอุปกรณ
ปองกนั อนั ตรายแลวเทา นัน้
2. ถา ตอ งปม งานชิน้ เล็กหรืองานท่ีคอนขางยุง ยาก ควรใชเครื่องมอื ชวยจบั ช้นิ งาน
3. เมื่อตองการตดิ ต้งั เคลือ่ นยาย และปรบั แตงแมพ มิ พ ควรใชบ ล็อกนริ ภยั ทกุ คร้ัง
4. การติดตั้ง เคล่ือนยาย หรือปรับแตงแมพิมพ ตองกระทําโดยบุคคลท่ีไดรับการ
ฝกอบรมแลวเทา นัน้

148

การใชเ ครอ่ื งจกั รทวั่ ไป
1. ขจัดสวนที่เปนอันตรายทุกสวนของเครื่องจักรใหหมดไป (อาจใชหุนยนตชวย
ทาํ งานในจดุ ที่มอี นั ตราย เปน ตน ) หรอื ทําการปองกันสว นที่มีอนั ตรายนน้ั เชน ตดิ ต้งั ท่ปี อ งกัน หรือฝา
ครอบ หรอื ใชเคร่อื งจักรอตั โนมตั ิ
2. ทาํ งานตามระเบยี บวธิ ปี ฏบิ ัติงานอยางเครง ครัด
3. สวมใสเสอ้ื ผา ท่รี ดั กมุ อยาสวมเสอื้ ปลอ ยชาย
4. สวมใสเคร่ืองปองกันและใชเคร่ืองมือที่ถูกตองและเหมาะสมกับงานท่ีทํา และ
ตองระวังในการใชถ งุ มือ เพราะถุงมือบางอยา งอาจจะไมเหมาะกับงานบางอยา ง
5. ในการตรวจสอบ ซอมแซม และทําความสะอาดเครื่องจักรน้ัน จะตองหยุด
เคร่อื งจักรใหเ รยี บรอยและมเี ครื่องหมายช้ีบอกหรอื ตดิ ปายแขวนวา “หา มเดินเครอ่ื ง”
6. ใหตรวจตราเครื่องจักรกอนเดินเครื่องและตรวจสอบเปนระยะ ๆ และระวัง
อนั ตรายขณะตรวจตราเครอ่ื งจักรและกอนเริ่มเดนิ เคร่อื ง
7. เมื่อจะตองทํางานรวมกัน จะตองแนใ จวา ทุกคนเขาใจในสัญญาณเพื่อการสื่อสาร
ตาง ๆ อยา งชัดเจนและถูกตองตรงกนั
8. อยาเขาไปในสวนท่ีเปนอันตรายของเครื่องจักร หรือสวนที่ทํางานเคลื่อนไหว
ตลอดเวลาถา จําเปน ตองเขา ไปในบรเิ วณน้ัน ตอ งแนใจวาเครอ่ื งจกั รไดหยุดเดินเคร่ืองแลว

การใชเ คร่ืองมอื
1. เลือกใชเ คร่อื งมือทเี่ หมาะสมกบั งานทที่ ํา
2. รักษาเคร่อื งมือใหอยูในสภาพที่ดีอยูเสมอ โดยตรวจสอบสภาพกอนการใชงานทุก
คร้งั
3. ซอมแซมหรอื หาเครือ่ งมอื ใหมท ดแทนเครอื่ งมอื ท่ชี ํารดุ หรือแตกหักโดยทันที
4. ลางนา้ํ มนั จากเครอื่ งมอื หรือชิ้นงาน เพือ่ ปองกนั อุบตั เิ หตจุ าการลื่นไถล
5. ตรวจสอบและปฏบิ ัตติ ามขอ แนะนําการใชเ ครื่องมือ
6. จับหรือถอื เครอื่ งมือใหก ระชบั การจบั แบบหลวม ๆ อาจกอใหเ กิดอุบตั ิเหตไุ ด
7. อยา เรม่ิ งานโดยไมต รวจสอบสภาพตา ง ๆ โดยรอบหรือบรเิ วณพน้ื ทีท่ ่ีทาํ งานกอน

การใชส ายพานลาํ เลยี ง
1. สายพานลาํ เลียงตอ งมีสวติ ซห ยุดฉกุ เฉิน และตองตรวจสอบใหรูจุดท่ีติดตั้งสวิตซ
ฉุกเฉนิ กอนที่จะเริม่ ใชส ายพานลาํ เลยี ง
2. มอี ปุ กรณค รอบหรือบังสวนทีห่ มุนไดของสายพาน เชน ลกู กล้งิ มเู ล ฯลฯ
3. ถาของทีล่ าํ เลียงมีโอกาสตกลงมาได ตอ งมีสวนปดหรือครอบปองกัน

149

4. อยา กาวหรือกระโดดขา มสายพานลาํ เลียงขณะทํางาน
5. เมอื่ จําเปน ตองซอ มหรือตรวจตราสายพานลาํ เลยี งเพราะมีการทํางานผิดพลาดตอง
ปดสวิตซทาํ งานกอนท่จี ะซอมหรอื ตรวจตราสายพานลําเลียงนน้ั

การเชื่อมโลหะ
1. ขณะทําการเช่ือมดวยไฟฟาภายในอาคาร จะตองใชฉากกั้นกําบังเพื่อเปนเครื่อง

ปอ งกนั อนั ตรายแกผ ูปฏิบัติงานคนอ่นื หรอื ผูท ีอ่ ยใู กลเ คียง
2. ขณะทาํ การเชื่อมหรือการตัดดวยกาซหรือไฟฟา ผูเชื่อมหรือตัดจะตองใชเครื่อง

กําลงั หนาทเ่ี หมาะสม มีเลนสป อ งกนั นัยนต าตามประเภทของการเชอ่ื มหรอื การตดั นน้ั และตอ งสวมถุง
มอื หนังดว ย

3. จะตองมีเครื่องดับเพลิงประจําพ้ืนท่ี และพรอมท่ีจะใชไดเสมอในกรณีเกิดเพลิง
ไหม

4. เมือ่ จะใชเครอื่ งเช่ือมไฟฟา ผูทําการเชอื่ มจะตองมั่นใจวาตนไมไดสัมผัสกับพ้ืนที่
เปย กชืน้

5. หา มสวมถุงมอื ท่เี ปยกน้ํามันหรือจาระบหี ยิบจับเครือ่ งเช่อื ม
6. ถงั ออกซเิ จนและอะเซทิลีนจะตอ งมกี ารยึดใหแ นน เพอื่ ปองกนั การลม และจะตอง
ไมว างทออะเซทลิ ีนนอนราบกบั พื้นเปนอันขาด
7. ใหใชไกบังคับแรงเคลื่อน (Pressure Regulator) บังคับใหออกซิเจนและ
อะเซทลิ นี ไหลไปยังไฟเช่ือมอยางสมํา่ เสมอ
8. ในขณะทําการเปดลิ้นถังออกซิเจน หามผูปฏิบัติงานคนหน่ึงคนใดยืนอยูหนา
เคร่ืองบงั คบั ออกซเิ จน
9. หา มทําการเชือ่ ม ตดั หรอื บดั กรใี กลตวั ถงั หรอื ท่ีตัวถัง หรือภาชนะอื่น ที่เคยใสว ตั ถุ
ตดิ ไฟหรือวตั ถุที่เกดิ ระเบิดได จนกวาจะไดทําการระบายอากาศ หรือลางถังหรือภาชนะเหลานั้นให
สะอาดแลว
10. เม่อื ทาํ การเช่ือมหรือเผาหรือใหความรอนกับตะกั่ว แคดเมียม วัตถุอาบสังกะสี
หรือวัตถุอ่ืนใด รวมท้ังสารท่ีใชชวยในการเชื่อม จนทําใหเกิดควันขึ้น จะตองจัดใหมีระบบระบาย
อากาศท่ดี ีพอ เพือ่ ปอ งกนั มิใหผ ปู ฏบิ ตั ิงานสูดควันพิษท่ีเปนอันตรายเขาไป ถาหากไมสามารถทําการ
ระบายอากาศได จะตองสวมหนากากหรือเครื่องชวยหายใจที่ไดรับการรับรองแลวตลอดเวลาที่
ปฏิบตั งิ าน
11. เมื่อทําการเช่ือมในสถานท่ีอับอากาศจะตองมีการระบายอากาศออกอยางมี
ประสิทธภิ าพ

150

คนละแหง 12. การเกบ็ รักษาถังออกซิเจนและถังอะเซทิลีนเปนจํานวนมาก จะตองแยกเก็บไว
การเชื่อม 13. การเชอ่ื มดว ยไฟฟาหรอื กา ซใกลกับแบตเตอรี่ ตองยกแบตเตอร่ีใหพนจากบรเิ วณ

การพนสี
1. ดวงโคม พัดลมดูดอากาศและสายไฟในหองพนสี จะตองใชชนิดที่มีความ

ทนทานตอไอระเหยของสีไดด ี
2. สวติ ซดวงโคม เตาเสยี บ หรอื อุปกรณอ ่นื ๆ ท่อี าจกอใหเ กดิ ประกายไฟ จะตองไม

ติดตงั้ ไวภายในหองพน สี
3. หามสบู บหุ ร่ี จดุ ไฟหรอื ทาํ ใหเกิดประกายไฟภายในหองพน สี
4. ในขณะทําการพน สีในหองพนสี ผูปฏิบัติงานทุกคนจะตองสวมหนากาก หมวก

เส้อื แขนยาวไมพ บั แขน ถุงมอื กางเกงขายาว และรองเทาหุม สน
5. ขณะท่ีกําลังทําการพนสี ทุกคนที่อยูในหองพนสีจะตองสวมหนากากแบบที่มี

เครื่องกรอง หรอื ใชผาปดปากและจมูก

การทาํ งานเกย่ี วกบั แบตเตอรี่
1. หามสูบบุหร่ี จุดไฟ หรือทําใหเกิดประกายไฟภายในหองอัดแบตเตอรี่ หรือใน

หอ งเก็บแบตเตอร่ี เพ่ือปอ งกันการระเบดิ ของกา ซไฮโดรเจน
2. เมือ่ จะปฏิบตั กิ ารใด ๆ เกี่ยวกบั นํา้ กรด ผูปฏบิ ัติงานจะตองสวมถุงมือยาง แวนตา

นิรภยั และผา กนั เปอ นทําดวยยาง
3. ในกรณที นี่ ้ํากรดหกหรอื กระเดน็ ถกู สวนหน่งึ สวนใดของรางกายใหใชนํ้าสะอาด

ลางออกทันที แลว รีบไปพบแพทย
4. กอ นทําการตอ หรือปลดสายข้ัวแบตเตอร่ี ตองแนใ จวาไดต ดั วงจรไฟฟาแลว
5. ในการยกหรือเคลอื่ นยา ยแบตเตอรี่หรอื กลอ งบรรจุแบตเตอร่หี า มเอียงหรือตะแคง

แบตเตอร่ี เพือ่ ปองกนั การหกหรอื กระเดน็ ของนํา้ กรด
6. ข้ัวของแบตเตอรีข่ นาดใหญค วรปด กน้ั ดวยฉนวน เพ่อื ปองกนั การลัดวงจร
7. ในการเคล่อื นยา ยแบตเตอรตี่ อ งระมัดระวังไมใหแบตเตอร่ีกระทบซึ่งกันและกัน

หรือกระแทกกับส่งิ อื่นที่อาจจะทาํ ใหแตกหรอื ราวได และหามวางแบตเตอรีซ่ อนกันโดยเดด็ ขาด

151

การใชเครอื่ งปอ งกันนัยนตาและหู
1. เมื่อปฏบิ ตั งิ านในสถานท่ีท่ีอาจเกิดอนั ตรายกบั นัยนตา จะตองสวมเครื่องปองกัน

นัยนต าชนิดทีไ่ ดม าตรฐาน
2. ผูปฏบิ ตั งิ านทีท่ าํ งานเกี่ยวกบั การติดตั้งหรือซอมบํารุง และลักษณะงานเปนงานที่

กอ ใหเกิดประกายไฟฟา เศษวตั ถกุ ระจาย จะตอ งสวมแวน นริ ภัยปอ งกันนยั นตา
3. การปฏิบัติงานในท่ีที่มีเสียงดังมาก ๆ จนเปนอันตรายตอระบบการไดยินของ

ผูปฏบิ ตั งิ าน จะตองกาํ หนดใหผปู ฏิบัติงานทุกคนใชเคร่ืองปองกันอันตรายตอหูชนิดเสียบหรือชนิด
ครอบดวย

1.2 ความปลอดภยั ในการทํางานเกีย่ วกบั ไฟฟา
กฎขอ บงั คบั ทว่ั ไป
1. พนกั งานทท่ี ํางานเกี่ยวกบั การซอม ตอเตมิ ติดตัง้ อปุ กรณไ ฟฟาตองสวมเส้ือผาที่

แหงและสวมรองเทาพ้ืนยาง พรอมท้ังตัดกระแสไฟฟาที่มายังจุดท่ีทํางานตลอดระยะเวลาท่ีทํางาน
เกย่ี วกับไฟฟา

2. เครอื่ งมือทใ่ี ชก ับงานไฟฟา ชนิดใชมอื จับ ตอ งมีฉนวนซง่ึ อยใู นสภาพดหี มุ ทด่ี า มจับ
3. ในกรณีทม่ี ีการปฏบิ ตั ิงาน ตรวจสอบ ซอมแซม หรอื ติดต้งั ไฟฟา ที่เก่ียวกับการผลิต
ตองตดั สวิตซต วั ท่ีเกย่ี วขอ ง พรอมล็อกกญุ แจปองกนั การสบั สวิตซ

อปุ กรณแ ละเครื่องจกั รไฟฟา
1. มอเตอรท ใ่ี ชในบรเิ วณที่มีวตั ถไุ วไฟตองเปนชนิดกันระเบดิ
2. หลอดไฟฟา หรอื โคมไฟ ซง่ึ ใชใ นบริเวณทมี่ ีวัตถุไวไฟ ตอ งเปนชนิดทม่ี ีฝาครอบ

มิดชิด และมตี ะแกรงโลหะหมุ รอบนอกอีกชั้นหน่งึ
3. สวติ ซไ ฟฟาในบริเวณท่ีมีวัตถุไวไฟตองเปนชนิดที่มีกลองโลหะหุมมิดชิด และ

เตา เสยี บทใ่ี ชตอ งเปนชนิดทม่ี ฝี าปด
4. การติดตง้ั สวติ ซทุกตวั ตอ งเลอื กชนดิ ท่ีมีอัตราทนกระแสสูงพอที่จะใชกับกระแส

สงู สดุ ในวงจรท่ีใชนน้ั ได
5. การติดต้ังแผงสวิตซตองมีตูปดมิดชิด และตองต้ังหางจากเครื่องจักรพอสมควร

สว นทเ่ี ปน โลหะของแผงสวติ ซตอ งตอ ลงดนิ
6. เมอื่ ใชอุปกรณไ ฟฟา ทัง้ หมดพรอมกันในวงจรแตล ะวงจร จะตองมีกระแสไฟฟา

ไมเ กนิ ขนาดของกระแสไฟฟา สงู สดุ ท่ยี อมใหใ ชก ับไฟฟา ของวงจรน้ัน

152

7. การติดต้ังซอมแซม หรือแกไขดัดแปลงหมอแปลงไฟฟา ซ่ึงแปลงไฟจาก
ไฟฟาแรงสูงต้งั แต 12,000 โวลตขึน้ ไป ตอ งติดตอขอความชวยเหลือหรือขอคําแนะนําจากเจาหนาท่ี
ของการไฟฟา เสยี กอ น

8. ตองมีการตรวจสอบ และทดสอบเคร่ืองกําเนิดไฟฟาฉุกเฉิน ใหอยูในสภาพท่ี
พรอ มจะใชงานไดอ ยา งปลอดภัยอยูเสมอ

9. หามพนกั งานทํางานเก่ยี วกับหมอแปลงไฟฟาทีม่ ีความดันตั้งแต 380 โวลตข้ึนไป
กอนไดร บั อนญุ าตจากหวั หนา ฝายซอมบาํ รงุ

10. การซอ มแซม ดดั แปลง หรอื แกไขอปุ กรณและเคร่ืองจักรไฟฟาเปนหนาที่ของ
พนักงานหนวยซอ มบํารุงเทา นั้น

วิธปี อ งกนั อันตรายจากไฟฟาช็อต
1. ผูปฏบิ ตั ิงานที่เกย่ี วขอ งกบั ไฟฟา ตองมีความรเู กีย่ วกบั ไฟฟา
2. เมื่อพบสงิ่ ผิดปกติตาง ๆ เกดิ ข้นึ กับสายไฟ ตองแจง ใหผบู งั คับบญั ชาทราบทนั ที
3. ในการปฏิบตั งิ านท่ีเกย่ี วของกบั ไฟฟา ตองใชผ ชู ํานาญงานเทาน้ัน
4. ตอ งปดตูสวติ ซไฟฟา เสมอ และจะตอ งไมมสี ่งิ กีดขวางวางอยบู ริเวณตไู ฟฟา
5. ตอ งตดิ ตงั้ สายดนิ เสมอ
6. ตรวจสอบอุปกรณป องกนั ไฟฟาดดู ไฟฟา รว่ั กอ นใชอุปกรณไ ฟฟานน้ั ๆ เสมอ
7. การเปด หรอื ปด ระบบไฟฟา ตอ งแนใ จกอนวา ปลอดภยั แลว
8. เมอ่ื เลกิ ใชอ ปุ กรณไฟฟา แลวใหเกบ็ เขา ท่เี สมอ
9. ถาตอ งทาํ งานอยใู กลระบบไฟฟา เชน มีสายไฟฟาอยูเ หนือศีรษะตองระมัดระวัง

อยาไปสมั ผสั ถูกสายไฟฟาดงั กลาว
10. หามทาํ งานโดยไมส วมชดุ ปองกันไฟฟา ดดู โดยเด็ดขาด

1.3 ความปลอดภยั ในการทาํ งานกับวัตถอุ ันตราย
วตั ถุอันตราย
วัตถุอันตราย หมายถึง วัตถุท่ีสามารถลุกไหมได ติดไฟได และระเบิดได วัตถุ

อันตรายตาง ๆ เหลาน้ี มักจะมีกฎหมายควบคุมเปนพิเศษ และมีขอบังคับเพ่ือใหทํางานไดโดย
ปราศจากอบุ ตั เิ หตุ

153

วตั ถุอนั ตราย แบง ออกไดเปน
1. สารระเบดิ ได
สารเหลา น้จี ะลกุ ติดไฟไดงา ยและระเบิดขึ้นเม่อื มคี วามรอน มีการกระแทกหรือ

มีการเสียดสี สารระเบิดไดมีช่ือเรียกแตกตางกันไป ผูที่ทํางานกับสารเหลานี้ควรจะจดจําช่ือสาร
เหลา นี้ใหไดแ ละมีการตดิ ปา ยวา เปนสารอนั ตราย หรือวัตถุอันตราย นอกจากน้ียังควรรูถึงวิธีการใช
สารเหลา น้ีอยางถกู ตอ งดวย

2. สารลุกไหมไ ด
สารลกุ ไหมไ ด เชน สารฟอสฟอรัสแดงและสารฟอสฟอรัสเหลืองสามารถลุก

ตดิ ไฟไดเ องเมื่อสมั ผสั กบั อากาศ ตวั อยางสารลุกไหมไ ด เชน พวกคารไบด และสารประกอบโลหะ
ของโซเดยี ม ซึ่งจะลุกตดิ ไฟไดเม่อื สมั ผสั กบั น้ํา

3. สารไวไฟ
กา ซไวไฟ เชน กาซถานหิน กาซอะเซทิลีน กาซโพรเพน ฯลฯ กาซเหลาน้ีมี

คุณสมบัติไวไฟและยังสามารถระเบิดไดอีกดวยหากกาซเหลานี้ผสมอยูในอากาศในสัดสวนที่
พอเหมาะ นอกจากนี้สารละลายไวไฟตาง ๆ เชน น้ํามัน ทินเนอร ก็ยังมีคุณสมบัติไวไฟและยัง
สามารถระเบิดอยา งรนุ แรงไดอ ีกดว ย

สารเหลานจ้ี ะกอใหเ กดิ อุบัตเิ หตไุ ดง ายถา มีการเคล่อื นยา ยผิดวิธี ดงั นนั้ ผทู ที่ ําการ
ขนยายจะตอ งรวู ิธขี นยา ยทถี่ ูกตองดว ย

อันตรายของวัตถุอนั ตราย
1. กา ซคารบอนมอนอกไซด (Carbon Monoxide)
กาซคารบอนมอนอกไซดเกิดจากการเผาไหมท่ีไมสมบูรณ เกิดขึ้นไดทั้งใน

โรงงานและในสถานทที่ ํางาน กา ซคารบอนมอนอกไซดเ ปนกาซท่ีเบากวากา ซออกซิเจนเล็กนอย เปน
กา ซทไ่ี มมีสี ไมมกี ลิน่ และไมม ีการกระตนุ เตอื นใด ๆ จงึ เปนกาซทีอ่ ันตรายตอ รา งกาย เพราะกาซน้จี ะ
ทําใหเมด็ เลือดขนถายออกซิเจนนอ ยลง เปนเหตุใหเกิดอาการขาดออกซเิ จน (Suffocation) ได

เมอ่ื ตอ งทํางานในสถานท่ที ม่ี ีกา ซคารบ อนมอนนอกไซด ควรปฏบิ ตั ิดงั น้ี
1. กอนเริ่มงาน ตองตรวจดูความหนาแนนของกาซคารบอนไดออกไซดดวย
เครือ่ งตรวจวัดกาซกอน
2. ใหร ะบายอากาศออกจนกวาความหนาแนนของกาซคารบอนไดออกไซดจะ
ต่ํากวา 50 ppm (0.005%)
3. ตอ งสวมใสหนากากกรองที่เหมาะสม
4. ถาความหนาแนนของกาซคารบอนมอนอกไซดสูง หรือความเขมขนของ
ออกซิเจนต่ํา ใหใชเ ครื่องชวยหายใจ หรอื หนา กากแบบมอี ากาศเสรมิ

154

2. สารละลายอินทรยี  (Organic Solvents)
มีสารละลายอินทรียเปนจํานวนมากที่ใชในสถานที่ทํางานและบานพักอาศัย

สารละลายอินทรยี เ หลา น้ีสามารถแทรกซึมเขาสรู า งกายไดห ลายทางท้ังทางระบบหายใจในรูปของไอ
ระเหย เพราะเปนสารท่ีสามารถระเหยไดในอุณหภูมิปกติ และแพรผานผิวหนังไดเพราะเปนตัวทํา
ละลายไขมันนอกจากน้ียังอาจทําใหหมดสติได เพราะจะไปรบกวนการทํางานของระบบประสาท
สวนกลาง ดังนั้นจึงจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองรูคุณสมบัติของสารละลายอินทรียที่จะใชเหลาน้ัน และ
จะตองใชอยา งถกู ตองเพ่ือใหเ กดิ อนั ตรายนอ ยทีส่ ดุ

ระบายอากาศ วธิ ปี ฏิบตั ิงานกบั สารละลายอินทรียอ ยางปลอดภยั
ประกายไฟ 1. ระวงั อยาใหสารละลายอินทรียห ก
2. ปดฝาภาชนะบรรจุสารละลายอนิ ทรยี เสมอ
ทําได 3. ไมลางมอื ดว ยสารละลายอินทรยี 
4. ตรวจตราระบบระบายอากาศอยูเสมอ อยาใหมสี ่งิ ใดไปขดั ขวางทาง
5. หามใชส ารละลายอนิ ทรยี ใ กลบริเวณท่ีมไี ฟหรอื บรเิ วณทอ่ี าจเกดิ
6. สวมใสอ ุปกรณปอ งกนั ทีเ่ หมาะสมเสมอขณะใชสารละลายอนิ ทรีย
7. ตอ งใชระบบระบายอากาศเสมอในขณะใชสารละลายอนิ ทรีย
8. หลกี เล่ียงการสมั ผัสไอระเหยของสารละลายอนิ ทรยี ใหมากท่ีสดุ เทา ที่จะ

3. ฝุน
ปกติโรคปอดท่เี กดิ จากฝนุ ที่หายใจเขาไปจะมชี ื่อเรยี กวา โรคปอดฝุนหรือนิวโม

โคนิซิส (Pneumoconiosis) ฝุนที่สูดดมเขามาจะฝงตัวอยูในปอดและปอดไมสามารถขจัดสิ่ง
แปลกปลอมเหลาน้ไี ด เมอ่ื มกี ารสะสมมากขึ้น ปอดจะรูสกึ แนน อดึ อดั ทาํ ใหหายใจไมออก วิธีแกไขท่ี
ดีท่สี ุด คอื การปองกันโรคนี้ไวกอน โดยปรับปรุงสภาพแวดลอมในบริเวณท่ีทํางานและปรับเปลี่ยน
วิธีการทาํ งาน เชน การขจดั ฝนุ ในสถานท่ีทํางาน หรอื การสวมใสห นากากปอ งกันฝุน

155

วิธีใชห นากากปอ งกนั ฝุน อยา งถกู วธิ ี
1. หนา กากควรกระชบั กบั ใบหนา ซ่งึ ฝุนจะไมสามารถแทรกเขา ไประหวางรอง

ของหนา กากกบั ใบหนาได
2. แมส ภาพของสถานท่ที ํางานโดยท่ัวไปจะสะอาด แตอ าจจะมีฝุนขนาดเล็กอยู

ได จงึ ควรสวมหนากากปองกันฝุน ไว ถา บริเวณน้นั มีฝนุ ขนาดเล็กอยไู ด จงึ ควรสวมหนา กากปอ งกัน
ฝุนไว ถาบรเิ วณนนั้ มีฝุนอยู

3. หามสวมหนา กากกรองฝนุ ในบรเิ วณทอี่ บั อากาศ หรอื บริเวณท่ีมกี าซพิษ
4. ควรเก็บรักษาหนากากไวในที่ท่ีอากาศถายเทดี และเก็บอยางถูกหลักวิธี
รวมทั้งควรเปลี่ยนไสกรองเมือ่ จําเปน
5. หนากากกันฝนุ โดยทว่ั ไปจะใชสําหรับงานชว่ั คราวเทาน้นั

4. สารเคมีจําเพาะ
สารเคมีจําเพาะจะถูกจัดเปนสารเคมีอันตราย เพราะจะกอใหเกิดอันตรายตอ

สุขภาพรางกาย เชน กอใหเกิดโรคมะเร็งจากการทํางาน โรงผิวหนัง ระบบประสาทเสื่อม ฯลฯ
ปจ จุบนั มีการใชสารเคมอี ยูอยางกวา งขวางในงานอุตสาหกรรมจงึ ตอ งระมัดระวงั เปนอยางยิง่

การปองกันอันตรายจากการใชส ารเคมีจาํ เพาะ
1. อยา ทําหกหรอื กระเด็นลงบนพนื้
2. กอ นเรม่ิ ทํางานตองสวมอุปกรณป องกันอันตรายสวนบุคคลหรือติดต้ังระบบ
ระบายอากาศทว่ั ไปในทที่ ํางาน
3. จดั การปฏิบตั ิงานใหเ ปน ไปตามระเบียบขอบังคับของกฎหมาย
4. เมื่อตอ งการขนยา ยหรอื เกบ็ สารเคมีเหลา นนั้ จะตองบรรจุลงภาชนะที่เหมาะสม
ใหเ รียบรอ ย
5. หา มสบู บหุ ร่ี รับประทานอาหาร หรอื ด่ืมนาํ้ ในขณะทก่ี าํ ลงั ทาํ งานกบั สารเคมี
6. หามสัมผัสเสอ้ื ผาทีเ่ ปอ นสารเคมี
7. จัดใหม ีการสวมชดุ ปอ งกนั หรอื อุปกรณปอ งกันอนั ตรายจากสารเคมี
8. หา มนาํ สารเคมีนอ้ี อกไปหรอื เขา ไปยงั หนว ยงานอนื่ โดยไมไ ดรบั อนุญาต
9. เสื้อผาท่ีสวมใสขณะทํางานยอมมีสารเคมีปนเปอนจึงควรท่ีจะชําระลาง
รา งกายเปลย่ี นเสือ้ ผาใหม กอนท่จี ะรบั ประทานอาหารหรือกอนกลับบาน และนําเสื้อผาท่ีใสทํางาน
น้นั ไปซักหรือทําความสะอาดทันที

156

5. สภาพไรอากาศหรืออบั อากาศ
อบุ ัตเิ หตุจากการขาดอากาศหายใจมกั เกดิ ขน้ึ ไดในบรเิ วณทเ่ี ปนใตถุนอาคาร ถัง

หรือบริเวณอุโมงคขดุ เจาะ ฯลฯ
อาการขาดอากาศมีผลโดยตรงตอการทํางานของสมอง และบอยคร้ังท่ีนําไปสู

ความสูญเสยี อยา งใหญห ลวง ท้งั น้เี พราะการอยใู นท่แี คบหรืออับอากาศซ่ึงมักไมคอยมีคนไดเขาไปบอย
นกั กย็ ากท่จี ะพบหรอื ชว ยชวี ติ ไดทนั หากมีอบุ ัตเิ หตเุ กดิ ขน้ึ

วธิ ีปองกนั การขาดอากาศหายใจมีดงั น้ี
1. ตรวจสอบความหนาแนน ของออกซิเจนกอ นลงมอื ปฏบิ ัตงิ าน
2. จัดระบบระบายอากาศทีเ่ หมาะสม
3. มีการปฐมพยาบาลอยา งถูกตอ งและเหมาะสม

ขอ พึงปฏบิ ตั เิ ม่ือตอ งทํางานในบรเิ วณทีม่ สี ภาพไรอากาศหรืออบั อากาศ
1. กอนเขา บริเวณอนั ตรายที่มีออกซเิ จนนอ ยหรือออกซิเจนใกลหมด เชน

ในบอหรอื ถงั จาํ เปนตองจดั ใหมีระบบระบายอากาศท่ดี ี (อยา งไรกต็ ามก็เปนอันตรายมากเชนกัน
ถาใชออกซเิ จนบรสิ ุทธ์อิ ยางเดยี ว) ความหนาแนน ของออกซเิ จนทเี่ หมาะสมคอื ไมนอยกวา 18%

2. หา มเขาไปในบริเวณทม่ี สี ภาพขาดออกซเิ จน ยกเวนผูมหี นา ท่ีเกย่ี วขอ งเทา นน้ั
3. ผูจะเขาไปในบริเวณอับอากาศ ตองมีการเฝาดูและติดตามโดยหัวหนางาน
หรือเพื่อนรว มงาน และระบบระบายอากาศจะตองจดั ใหม ีออกซเิ จนอยางนอ ย 18% ดวย
4. ถา ลักษณะงานไมสามารถจดั ระบบระบายอากาศไดใหใชอุปกรณชวยหายใจ
ทีเ่ หมาะสม เชน เคร่ืองกรองอากาศ หรอื ระบบสายลม
5. ถาสภาพที่ทํางานน้ันขาดอากาศมาก ๆ ใหสวมใสอุปกรณนิรภัย เชน
หนากาก เข็มขัดนริ ภยั หรือสายสงอากาศในขณะทปี่ ฏิบัติงานอยใู นบริเวณนนั้
6. ตรวจสอบอปุ กรณป อ งกันทุกคร้งั กอ นเริม่ ทาํ งาน
7. ถาไดรับอุบัติเหตุจะขาดอากาศหายใจ ผูทําการชวยเหลือจะตองสวมใส
อุปกรณชวยหายใจท่ีมีระบบระบายอากาศท่ีดี ดังอธิบายไวในขอ 4 ขางตน (หนากากปองกันกาซ
ไมไ ดจ ัดไวส ําหรบั กรณีขาดอากาศ ควรขนยา ยผปู ว ยออกไปสทู โี่ ลงโดยเร็วท่ีสุด และชวยหายใจดวย
การเปา ปาก ฯลฯ )

การจัดใหมีระบบระบายอากาศ
เพื่อสุขภาพทีด่ ีควรจัดใหมีระบบระบายอากาศทเ่ี หมาะสมในสถานประกอบการ
จําเปนอยางย่ิงที่จะตองจัดระบบระบายอากาศในสถานประกอบการท่ีมีอุณหภูมิและความรอนสูง

157

หรือมีกาซหรือไอที่เกิดข้ึนจากตัวทําละลายอินทรียหรือสารอ่ืน ๆ การปลอยปละละเลยท่ีจะจัดทํา
ระบบระบายอากาศจะเปนสาเหตุท่ีกอใหเกิดอาการปวดศีรษะและวิงเวียนศีรษะได และปญหาที่จะ
ตามมากค็ อื ความเจบ็ ปว ยตา ง ๆ ที่มสี าเหตจุ ากสารเคมอี นั ตราย

การเปดหนาตางหรือประตูนั้นเปนการถายเทอากาศทั่วไปตามปกติ การติดตั้ง
ระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือในตําแหนงที่จําเปนนั้น ควรติดตั้งใหเหมาะสมกับลักษณะของ
สารเคมีอนั ตรายท่จี ะตอ งใช แตค วรตระหนักไววา ในบางครั้งการเปดหนาตางอาจใหผลที่ตรงขาม
กันก็ได

1.4 ความปลอดภยั ในการทํางานกับผลิตภณั ฑเ คมี
ขอ พงึ ปฏบิ ตั ทิ ่วั ไปในการทํางานกับผลติ ภณั ฑเ คมี
1. กอนปฏิบัติงานตองทราบถึงชนิดของผลิตภัณฑและอันตรายที่อาจเกิดข้ึน ถา

สงสยั ใหป รึกษาผบู งั คบั บญั ชาท่เี กีย่ วของ
2. กอนขนยายผลิตภัณฑตองสังเกตวาหีบหอไมแตกหรือบุบสลายซ่ึงอาจจะทําให

ตกหลน สภู ายนอกได
3. หลีกเล่ยี งการสมั ผสั กบั ผลิตภณั ฑโดยตรง ใหสวมเครื่องปอ งกัน เชน ถงุ มือ

เสอ้ื คลมุ เครอื่ งกรองอากาศ หมวก แวน ตา ฯลฯ
4. หา มรับประทานอาหาร เครอื่ งดมื่ หรอื สูบบุหร่ีในขณะปฏิบตั งิ าน
5. ขณะปฏิบัติงานหามใชมือขย้ีตา หรือใชมือสัมผัสกับปากจนกวาจะลางมือให

สะอาดเสยี กอน
6. กอนรับประทานอาหาร สูบบุหรี่ หรือเขาหองสุขา ตองถอดอุปกรณปองกัน

อนั ตรายและลางมือใหสะอาดเสยี กอน
7. หา มผทู ี่ไมม ีหนา ท่ีเก่ียวขอ งปฏิบตั งิ านเกย่ี วกับผลติ ภณั ฑเ คมี
8. หากเกิดอุบัติเหตุ ภาชนะบรรจุผลิตภัณฑแตกเสียหาย ตองรีบรายงาน

ผบู งั คบั บัญชาทีร่ บั ผิดชอบทนั ที หรือจดั การเกบ็ กวาด เชด็ ถบู ริเวณใหสะอาดตามวิธีที่กําหนด ไมควร
ปลอยท้งิ ไว

9. ในขณะปฏบิ ตั ิงานหากพบวา มีการเจบ็ ปว ย หรอื วิงเวียนศีรษะใหหยุดปฏิบัติงาน
ทันที พรอมทงั้ รายงานใหผบู ังคับบญั ชาผรู ับผดิ ชอบทราบ หรือทําการปฐมพยาบาลอยางถูกตองแลว
รบี นาํ ไปพบแพทยพ รอมนําฉลากหรอื ผลติ ภณั ฑไปดว ย

10. อุปกรณปองกันอันตรายท่ีใชแลวตองทําความสะอาดหรือทําลายท้ิงตาม
คําแนะนาํ ทไ่ี ดกาํ หนดไว

158

11. เม่ือเสร็จส้ินการปฏิบัติงานแตละครั้ง ตองลางมือ อาบน้ํา และผลัดเปล่ียน
เส้อื ผา ทส่ี ะอาด

ความปลอดภยั ในการใชผ ลติ ภณั ฑเ คมีในการผลิต
1. พนกั งานตอ งอานคําแนะนาํ ขา งกลองบรรจผุ ลติ ภัณฑเ คมที กุ ชนิดใหละเอยี ดกอ น

ที่จะนาํ เขาโรงงานผลิต
2. กลอ งผลติ ภัณฑเ คมที ุกกลองทนี่ าํ เขา โรงงานผลิตตอ งอยูในสภาพดีไมแตกรว่ั
3. พนักงานตอ งสวมถุงมือ เสื้อคลุมแขนยาว หนากาก รองเทาหุมสน กอนเปด

กลองสารเคมที ีจ่ ะนาํ มาใชใ นการผลิต
4. ตองระมัดระวังเปน พิเศษในการบรรจผุ ลิตภัณฑเคมี พยายามใหฝุนหรือละออง

ของสารเคมีปลิวกระจายนอยท่สี ดุ
5. กลองเปลา ของผลติ ภณั ฑเคมี หลังจากใชแลวตองนําไปเก็บรวมกันในท่ีมิดชิด

(หากจําเปน ตอ งมกี ุญแจปด ) กอ นนาํ ไปทาํ ลาย เผาทิ้งหรือฝงดิน
6. หลังจากที่พนักงานทํางานเรียบรอยแลว ใหลางมือ ลางหนาหรืออาบนํ้า และ

เปลย่ี นเสอ้ื ผาใหมกอ นรบั ประทานอาหารหรอื สูบบหุ รี่
7. หา มสบู บุหรขี่ ณะปฏิบัตงิ าน
8. หา มรบั ประทานอาหารหรือเครือ่ งดม่ื ในบรเิ วณโรงงานผลิตหรอื โรงงานบรรจุ

ความปลอดภัยในการเก็บผลติ ภัณฑเ คมใี นคลงั พสั ดุ
1. พนกั งานตอ งอา นฉลากผลติ ภณั ฑเ คมที กุ ครงั้ กอ นทาํ การเกบ็ เขา คลงั พัสดุ
2. ผลติ ภัณฑเคมีบางอยา งตองเกบ็ ในทแ่ี หง สะอาด มีอากาศถายเทดี และ มี
อุณหภูมไิ มเกนิ 46 C
3. ผลิตภณั ฑเ คมตี องเก็บใหห างจากอาหารและภาชนะบรรจอุ าหาร
4. ไมควรเกบ็ ผลิตภณั ฑเ คมวี างซอนกันสงู เกินกวา 5 เมตร
5. หา มสบู บุหรใี่ นคลังพัสดุ ยกเวนบรเิ วณทกี่ าํ หนดให
6. พนักงานตองสวมถุงมือ หนากาก รองเทาและเสื้อแขนยาวขณะปฏิบัติงานซ่ึง
สัมผสั กับสารเคมีโดยตรง
7. ผลิตภัณฑเคมีท่ีตกหลนตามพื้นใหกวาดเก็บใสถังอยางระมัดระวังเพ่ือนําไป
ทําลายหรอื ฝงดนิ ในบรเิ วณท่กี ําหนด ถา เปน ผลิตภัณฑช นดิ เหลวใหใ ชท รายแหง กลบแลวกวาดเก็บไป
ฝง ดนิ หา มลางดว ยนา้ํ
8. ผลิตภณั ฑเคมีทุกชนดิ ตอ งปด ฉลากทกุ กลอ งกอ นนําเขาเก็บในคลังพัสดุ
9. คลงั เก็บผลติ ภัณฑเ คมี ตองปดกุญแจหลังจากเลิกงาน

159

การเกิดไอเคมไี วไฟ
การเกดิ ไอเคมไี วไฟในโรงงาน หมายถึง การปลอ ยไอเคมไี วไฟจํานวนมาก ซ่ึงอาจ

ลุกตดิ ไฟ หรือระเบดิ เมื่อมแี หลงทกี่ อ ใหเกดิ ประกายไฟ หรืออาจเกดิ จากการลุกไหมข องสารเคมีหรือ
กา ซท่มี ีจุดวาบไฟ (Flash Point) ตํา่ และมีชว งไวไฟกวาง

จดุ วาบไฟ (Flash Point) ของสารเคมเี หลว คือ อุณหภมู ิตํา่ สดุ ทีส่ ารเคมนี น้ั จะใหไอ
เคมที ี่สามารถผสมกบั อากาศเปนสวนผสมท่พี รอมจะลุกไหมเม่ือมีแหลง เกิดประกายไฟ

ชวงไวไฟ (Flammability Limit) คือ ชว งระหวา งความเขมขนตาํ่ สุด และสูงสดุ ของ
ไอเคมใี นอากาศซึ่งจะเกดิ การลกุ ไหมไดเม่ือมีแหลง เกิดประกายไฟ สว นผสมของไอเคมีและอากาศที่
ตาํ่ กวาชวงไวไฟน้ีจะเจอื จางเกนิ ไปท่ีจะลกุ ไหมได และในทาํ นองเดียวกนั สว นผสมทีส่ ูงกวา ชวงไวไฟ
นจี้ ะเขมขนเกนิ ไปทจี่ ะตดิ ไฟ

เมอ่ื เกิดกลุมไอเคมจี าํ นวนมาก หามพนักงานเขาไปในบริเวณท่ีเกิดไอเคมีนั้น ควร
รบั แจงหนว ยดบั เพลิงประจาํ โรงงานเตรียมพรอ มเพื่อทาํ การชวยเหลอื ทันที

วิธีปฏบิ ัติเมือ่ เกดิ กลุมไอเคมี
1. ปลอดภัยไวกอน เมื่อพบไอเคมีจํานวนมากไมวาจะเกิดจากการหกราดบนพ้ืน
หรือเกิดจากการรั่วจากทอสงเคมีหรือจากถังเคมีตาง ๆ หากมีขอสงสัยใหสมมุติไวกอนวากําลังเกิด
กลุม ไอเคมไี วไฟ อยาเสยี เวลาไปหาเครอ่ื งวัดประมาณไอเคมี เพราะกวา จะรู ประมาณไอและอากาศ
ก็มีมากเพยี งพอทจ่ี ะลุกไหมหรือระเบดิ ได และก็เปนเวลาท่ีทานไดเขาไปอยูในกลุมไอเคมีไวไฟเสีย
แลว
2. ออกไปใหพนจากบริเวณทเ่ี กิดกลมุ ไอเคมีไวไฟทันที และรับแจงใหหัวหนางาน
หรือผูจดั การทราบ
3. ใหใชนํ้าฉีดเปนฝอยเพื่อไลไอเคมี โดยใชหัวฉีดนํ้าจากตูดับเพลิงในกรณีที่เกิด
กลมุ ไอเคมีไวไฟบรเิ วณรแี อกเตอร ใหเ ปดวาลวน้าํ ปลอยนา้ํ จากหัวฝกบวั ซึ่งติดตงั้ อยูเหนือรีแอกเตอร
เพ่อื ไลไ อเคมี
4. หากกลุมไอเคมีไวไฟกาํ ลังลกุ ติดไฟใหฉีดนาํ้ หลอเครอ่ื งมอื เคร่อื งใชห รือถงั ตาง ๆ
ที่อยรู อบ ๆ บริเวณนนั้ เพือ่ ปอ งกันการลุกลามขยายตัวของไฟและการระเบิด อยาพยายามเขาไปดับ
ไฟทจ่ี ดุ ลุกไหม แตใ หห าแหลงทมี่ าของไอเคมีและจัดการกําจัดตนตอของการเกิดไอเสียกอนโดยไม
ตอ ง เขาไปในกลมุ ไอเคมี แลว จึงเขาทาํ การดับไฟ

160

1.4 ความปลอดภัยเก่ียวกับอคั คภี ยั
การปอ งกนั อัคคภี ยั ในบริเวณโรงงาน
พนักงานทุกคนจะตอ งปฏิบัตดิ ังน้ี
1. รูจักคุณสมบัติเคร่ืองดับเพลิงทุกชนิดท่ีใชอยูในโรงงาน และสามารถนํามาใช

งานไดทนั ที และเหมาะสมกับลกั ษณะของไฟเมือ่ ตองการ
2. หามนําเคร่ืองดับเพลิงมาฉีดเลน หรือหยอกลอกนั
3. ใหค วามสนใจกบั เครื่องมอื ดบั เพลิงในแผนก และจะตองมีการตรวจสอบสภาพ

ของเครื่องดบั เพลิงอยเู สมอ เมื่อพบหรอื สงสยั วาเครื่องดบั เพลงิ เครือ่ งใดอยใู นสภาพชาํ รดุ หรอื น้าํ หนัก
พรอ งไป ใหร ายงานผบู งั คบั บญั ชาตามลําดับช้ันทนั ที

4. จะตอ งไมตดิ ตั้งหรอื วางเครื่องจกั รหรือสงิ่ ของใด ๆ เอาไวในตําแหนงซ่ึงจะเปน
อปุ สรรคหรอื กีดขวางการนาํ เครอื่ งดับเพลิงมาใชโดยสะดวก

5. วัตถุซงึ่ ไวไฟหรือนํา้ มันเชอ้ื เพลิงชนิดบรรจุถงั เม่อื นํามาใชแลวจะตองปดฝาให
สนทิ และทภ่ี าชนะบรรจคุ วรจะมเี ครื่องหมายแสดงวาเปนสารไวไฟ

6. หามนํานํา้ มันเชอ้ื เพลิง หรอื เคมภี ัณฑไ วไฟใด ๆ ไปใชใ นการซกั ลา งเสื้อผา
7. พนกั งานทกุ คนจะตองทําความเขาใจกับวิธีปฏิบัติเมื่อเกิดเพลิงไหม พนักงานทุก
คนจะตองใหความรวมมอื ในการซอ มภาคปฏิบตั โิ ดยพรอ มเพรยี งกนั
8. ไมวาเพลิงจะเกิดจากอะไรก็ตาม หากเกิดขึ้นใกลกับสายไฟฟา เครื่องมือ
เคร่ืองใชหรอื แผงสวติ ซไ ฟฟา ใหปลดสะพานไฟตัดวงจรไฟฟาทนั ที

เมอื่ เกดิ เพลิงไหม
1. เม่ือเกิดเพลิงไหมข ้นึ ในบริเวณท่ที ํางาน จงอยาตื่นตระหนกจนเสียขวญั พยายาม
รักษาขวัญและกําลังใจไวใหมน่ั การตน่ื ตระหนกจนเสียขวัญอาจทาํ ใหเ หตุการณเลวรา ยลงอกี
2. รบี แจงใหเพื่อนรว มงานทุกคนในบรเิ วณเพลิงไหมและหนว ยดับเพลิงทราบ เพ่ือ
ดาํ เนินการดบั เพลงิ และแจงเหตเุ พลิงไหมไ ปยังหนว ยดับเพลงิ ของราชการ
3. พนักงานผไู มม หี นา ทเ่ี กย่ี วของกบั การดบั เพลิงตองรีบออกจากตัวอาคารโดยเร็ว
ตามแผนอพยพหนีไฟ และไปรวมกันท่ีบริเวณหนาประตูทางเขาโรงงาน เพ่ือรอคําส่ังจากผู
ประสานงานดบั เพลงิ ตอไป
4. พนักงานท่ีไดรับมอบหมายใหเปนหนวยดับเพลิงโรงงาน จะตองเตรียมหัวฉีด
สายดับเพลิง เพอ่ื ตอ เขากบั ขอตอ ทอ น้ําดับเพลิงและอยูในสภาพเตรียมพรอมโดยเร็วที่สุด ในกรณีที่
เพลงิ อยใู นตาํ แหนงทห่ี วั ฉีดใหญจะฉีดมาถึง อาจไมจําเปนตองใชทอดับเพลิงและหัวเล็กฉีดตอ ท้ังน้ี
ใหข ึน้ อยกู บั ดุลยพนิ จิ ของหนว ยดับเพลิงโรงงาน

161

การปอ งกนั อคั คีภัยในสํานักงาน
1. พนักงานทกุ คนจะตองทราบขอ บังคับเกย่ี วกบั ความปลอดภัยในสํานกั งานเปน อยา งดี
2. พนกั งานทกุ คนควรฝก ใชเ ครื่องดบั เพลงิ ใหเ ปน
3. พนักงานทุกคนตองปฏิบัติตามกฎขอบังคับความปลอดภัยในสํานักงานโดย
เครงครดั เชน หา มสูบบหุ รใี่ นบริเวณหามสูบ
4. บริษัทอาจจัดใหมีการซอมดับเพลิงเมื่อเกิดเพลิงไหมหรือกรณีฉุกเฉิน ณ
สาํ นักงานรวมกบั เจาหนา ท่ีของทางราชการ พนักงานทุกคนจะตองใหความรวมมือในการซอมโดย
พรอมเพรยี งกัน
5. หามวางสิง่ ของกดี ขวางทางออกฉกุ เฉนิ

เมอ่ื เกดิ เพลงิ ไหม
1. ใหพนักงานท่ีพบเพลิงไหมรีบดับเพลิงตามความสามารถทันทีหากเห็นวาไม
สามารถดบั เพลงิ ดว ยตนเองได ใหร ีบแจงผปู ระสานงานดับเพลิงทราบทนั ที
2. ผูประสานงานจะแจง ใหเจา หนา ที่บริหารของบริษทั ทราบ และเปด สัญญาณเพลิงไหม
3. เมื่อมีสัญญาณเพลิงไหมใหพนักงานทุกคนหยุดปฏิบัติงานทันทีและจัดเก็บ
เอกสารทีส่ ําคญั พรอ มทง้ั ของมคี า ไวในท่ีปลอดภยั แลวรบี ออกจากบรเิ วณท่ีทาํ งานในทิศทางตรงขาม
กบั บรเิ วณเกิดเพลงิ ไหม
4. การออกจากอาคาร หา มวิ่งและหามใชล ฟิ ตโดยเดด็ ขาด
5. ใหพนกั งานทอี่ อกจากอาคารแลว ทกุ คนไปรวมกันในบริเวณท่ีจอดรถอาคารเพ่ือ
ตรวจสอบจาํ นวนและรอรบั คําส่ังจากผปู ระสานงานตอไป

1.5 ความปลอดภยั ในสํานักงาน
พน้ื สาํ นกั งาน - ทางเดิน - ประตู
1. ควรใหพ ืน้ สํานักงานมคี วามสะอาดอยเู สมอ
2. พ้ืนสํานักงานควรอยูในแนวระดับราบไมลาดเอียงหรืออยูตางระดับกัน หากไม

สามารถหลกี เลีย่ งได ใหใ ชสีสันแสดงใหเ ห็นชดั เจน
3. ใหใชว ัสดกุ ันลนื่ ปูทบั บนกระเบื้องหรือพ้นื ขดั มันที่ล่ืน
4. ในขณะปฏิบตั ิงาน หามว่งิ หรอื ทาํ การลื่นไถลแทนการเดนิ
5. ในขณะที่มีการขัดหรือทําความสะอาดพื้น ผูปฏิบัติงานควรสังเกตปายคําเตือน

และเดินหรือปฏบิ ัตงิ านดวยความระมัดระวังมากย่งิ ขึน้
6. ในกรณีที่มีนํ้า น้ํามัน หรือสิ่งที่ทําใหเกิดการล่ืนบนพ้ืนสํานักงานใหแจง

เจาหนาที่ทรี่ ับผดิ ชอบโดยทันที โดยกอนแจงใหแ สดงเครือ่ งหมายเตอื นไวดว ย

162

7. ในกรณีท่ีพบเห็นวัสดุหรือเครื่องใชสํานักงาน เชน ดินสอ ที่หนีบกระดาษ
ยางลบ หรอื สง่ิ อนื่ ใดตกหลน อยูบนพ้นื ใหเก็บโดยทนั ทีเพราะอาจเปนสาเหตใุ หล่นื หกลมได

8. ในขณะเดินถึงมุมตึกใหเดินทางดานขวาของทางเดิน และเดินอยางชา ๆ ดวย
ความระมัดระวงั เพือ่ หลีกเล่ียงการชนกบั ผอู ื่นซง่ึ กาํ ลงั เดนิ มาจากอกี มมุ หนึ่ง

9. ควรตดิ ตัง้ กระจกเงาทํามุมในบรเิ วณมมุ อบั ทอ่ี าจเกดิ อุบัตเิ หตไุ ดงา ย
10. สายโทรศัพท สายเคร่ืองคิดเลข หรือสายไฟฟา ควรติดต้ังใหเรียบรอย เพ่ือ
ไมใหกดี ขวางทางเดนิ
11. อยายืนหรือเดินใกลบริเวณประตูท่ีปดอยู เพราะบุคคลอ่ืนอาจจะเปดประตูมา
กระแทกได
12. เมอ่ื จะผานเขา ออกบังตา หรือเปดปดประตูบานกระจก ควรเขาออกหรือเปดปด
ดวยความระมดั ระวังอยางชา ๆ และในการใชบ งั ตาหรือประตูทเี่ ปด ปด สองบาน ใหใ ชบ ังตาหรือบาน
ประตูทางดา นขวา
13. บังตาหรือประตูบานกระจกท่ีเปดปดสองทาง ใหติดเครื่องหมาย “ดึง” หรือ
“ผลกั ” ใหช ดั เจน
14. ไมควรจัดเก็บวัสดุอุปกรณส่ิงของตาง ๆ หรือปลอยใหมีส่ิงกีดขวางบริเวณ
ทางเดินหรอื ชอ งประตู
การใชบ ันได
การใชบ ันไดอยา งปลอดภัย
1. กอ นข้ึนหรอื ลงบนั ได ควรสังเกตส่งิ ที่อาจกอใหเกิดอนั ตรายขึน้ ได
2. ถาบริเวณบนั ไดมีแสงสวา งไมเพียงพอ หรือราวบันไดหรือขั้นบันไดชํารุด ให
แจง เจาหนาทเ่ี พอ่ื ทาํ การแกไขใหเรียบรอ ย
3. อยาปลอยใหมีเศษวัสดชุ น้ิ เล็กชิ้นนอ ยตกอยูตามข้ันบันได เชน เศษกรวด เศษ
แกว ฯลฯ
4. ไมควรติดตั้งส่ิงท่ีดึงดูดความสนใจ เชน กระจกเงา ภาพโปสเตอร
เครอื่ งประดบั ตกแตง ตา ง ๆ ไวบรเิ วณบนั ได
5. ควรจดั ใหม ีพรมหรือทเี่ ชด็ เทา บริเวณเชงิ บันได เพอื่ ความปลอดภัย
6. อยา ว่งิ ข้ึนหรือลงบันได ควรข้นึ ลงดวยความระมดั ระวงั
7. หามเลนหรอื หยอกลอกนั ในขณะข้นึ หรือลงบนั ได
8. การขึน้ ลงบันได ใหข ึน้ ลงทางดา นขวาและจบั ราวบันไดทุกครั้ง
9. อยา ปลอยราวบันไดจนกวาจะมกี ารข้ึนหรอื ลงบนั ไดเปน ท่ีเรียบรอยแลว

163

10. ในขณะขึ้นหรือลงบันได ใหใชสายตามองข้ันบันไดที่จะกาวตอไปและหาม
กระทําสงิ่ ใด ๆ ในลักษณะทีจ่ ะกอใหเ กดิ อันตราย เชน การอา นหนังสอื หรือคนสง่ิ ของในกระเปาถอื
เปนตน

11. อยาขึน้ หรอื ลงบันไดเปนกลมุ ใหญในเวลาเดียวกัน
การใชบ ันไดพาดและบนั ไดยืนอยางปลอดภัย
1. กอนใชบันไดพาดหรือบันไดยืน ตองตรวจสอบความแข็งแรงโดยทั่วไป ตอง
แนใ จวาไมมีรอยหัก รอยราว และมียางกนั ลืน่
2. เม่อื ใชบ นั ไดพาดกับผนัง ตอ งพาดใหไ ดประมาณ 70 องศาและควรสงู กวาจดุ ท่ีจะ
ทาํ งานอยา งนอ ย 60 เซนตเิ มตร
3. ถาเปน ไปได ควรยึดหัวและทายของบันไดดวยเชอื ก แตถา ทาํ ไมไดค วรใหค นอื่น
ชว ยใชมอื จับยดึ ให
4. พ้นื วางบันไดตองเรยี บ และปราศจากหลุม บอ หรอื โหนกนนู
5. ขณะปน บนั ไดขน้ึ หรือลงใหม องไปขา งหนาและไมท าํ งานบนบันไดดวยทาทางที่
ไมเ หมาะสม
6. กรณีมแี ผนรองยืนบนบันไดยืน ขาของบันไดตองหางกันไมเกิน 1.8 เมตร และ
แผนรองยนื ตอ งสงู ไมเกิน 2 เมตร
7. บนั ไดยนื ตอ งมีตัวล็อกขาท่กี างไวด วย
8. ถา ใชบ ันไดยนื ในจดุ ทีไ่ มแ นใ จวาจะมีความปลอดภัยเพียงพอตองมีผูชวยคอยยึด
จับบนั ไดน้ันไว
9. อยายืนบนแผนรองยืน เมอ่ื ตอ งอยสู งู เกิน 1.2 เมตร
โตะ ทาํ งาน - เกาอี้ - ตู
1. ตลอดเวลาการทาํ งานไมค วรเปดลนิ้ ชกั โตะ ล้นิ ชกั ตเู อกสาร หรอื ตอู ื่นใดคา งไว
ใหป ด ทกุ คร้งั ทไี่ มใชงาน
2. หามวางพสั ดุ ส่งิ ของ หรือกลอ งใตโตะ ทํางาน
3. หามเอนหรือพิงพนกั เกาอ้ี โดยใหรับนํา้ หนักเพยี งขางใดขางหนงึ่
4. ใหม พี นื้ ทเ่ี คล่อื นยา ยเกา อ้ี สาํ หรบั การเขา ออกทส่ี ะดวก
5. หามวางพัสดุ สิง่ ของตา ง ๆ บนหลังตเู พราะอาจตกหลน ลงมาเปนอนั ตราย
6. อยาเปดลน้ิ ชกั ตเู อกสารในเวลาเดียวกนั เกนิ กวา หนึง่ ล้ินชัก
7. การจดั เอกสารใสในลิน้ ชกั ตู ควรจดั ใสเ อกสารจากช้ันลางสุดข้ึนไป เพื่อเปนการ
ถวงดลุ นา้ํ หนัก และใหห ลีกเลยี่ งการใสเ อกสารในล้นิ ชกั มากเกนิ ไป
8. ใหใ ชห ูจบั ลิ้นชกั ทุกครัง้ เม่ือจะเปด ปดลิน้ ชกั เพ่อื ปอ งกันนิว้ ถกู หนีบ
9. การจัดวางตลู นิ้ ชกั ตตู อ งไมเ กะกะชองทางเดนิ ในขณะที่ปดใชงาน

164

สายไฟฟา และเตาเสียบ
1. สายไฟฟา ท่มี รี อยฉกี ขาด หรอื ปลั๊กไฟฟาท่ีแตกราว ตองทําการเปล่ียนทันที หาม
พันดวยเทปพนั สายไฟหรือดดั แปลงซอ มแซมอยา งใดอยา งหนึง่
2. เตาเสียบท่ีชํารุดจะตองทําการซอมแซมโดยทันที ในระหวางรอการซอมแซม
จะตองปดหรือครอบ เพ่อื ปอ งกนั ไมใหผูอื่นมาใชง าน
3. เคร่อื งมือหรืออุปกรณไ ฟฟาตาง ๆ ที่ใชภ ายในสาํ นักงาน ใหว างในตําแหนงท่ีใกล
เตาเสยี บมากที่สดุ เพ่อื หลีกเล่ียงสายไฟฟาท่ีทอดยาวไปตามพ้ืน หรอื หลีกเลย่ี งการใชส ายตอ ในกรณีที่
ไมอาจวางในตําแหนงใกลเตาเสียบได ใหแสดงเคร่ืองหมายใหชัดเจนเพื่อปองกันการเดินสะดุด
สายไฟฟา
4. ในการใชอุปกรณไฟฟาใหแนใจวาแรงดันไฟฟาเหมาะสมกับความตองการ
แรงดันไฟฟา ของอุปกรณนั้น ๆ
5. การวางหรือเคลือ่ นยา ยเคร่อื งใชส าํ นักงาน ตองระวงั อยา ใหมีการวางหรือเคล่ือนยาย
ไปทับถกู สายไฟฟา

การใชเครือ่ งใชส าํ นกั งาน
1. ในขณะขนยายกระดาษควรระมดั ระวังกระดาษบาดมอื
2. ใหเกบ็ ปากกาหรอื ดินสอ โดยการเอาปลายชลี้ ง หรอื วางราบในชิน้ ชัก
3. ใหท าํ การหบุ ขากรรไกรที่เปดซองจดหมาย ใบมดี คัดเตอร หรอื ของมีคมอื่น ๆ ให
เขาทกี่ อ นทําการเก็บ
4. การใชเ ครื่องตดั กระดาษ ตองระวงั น้วิ มอื ใหอ ยูหางจากใบมีด ขณะที่กําลังทําการ
ตัดกระดาษ และหลีกเลี่ยงการตัดกระดาษจํานวนมากเกินไปพรอมกันทีเดียว ถาไมไดใชงานใหลด
ใบมดี ลงใหต ่าํ ท่สี ดุ อยายกใบมดี คา งเอาไว
5. การแกะลวดเยบ็ กระดาษไมควรใชมือหรอื เลบ็ ใหใ ชท่ดี ึงลวดเย็บกระดาษทกุ ครงั้
6. เฟอรน ิเจอรทเ่ี ปน โลหะใหท าํ การลบมมุ ทกุ แหงเพ่อื ความปลอดภยั
7. ควรใชบันไดหรือช้ันเหยียบ เมื่อตองการหยิบของในที่สูง ไมควรยืนบนกลอง
โตะ หรอื เกา อตี้ ิดลอ
8. หลังเลกิ งานทกุ วัน ใหป ด ไฟฟาทุกดวงและตัดวงจรอุปกรณไฟฟาภายในหอ งทํางาน
ท้งั หมด
9. เครือ่ งใชส ํานกั งานท่อี าจกอใหเกดิ อันตราย เชน สายพาน ลูกกลิ้ง เกียร เฟอง ลอ
ฯลฯ ถาไมมกี ารติดต้งั อุปกรณปอ งกันอนั ตรายเอาไว ใหตดิ ตัง้ อุปกรณป อ งกนั อนั ตรายน้ันใหเ รียบรอ ย
กอนที่จะใชงาน

165
10. หามทําความสะอาด ปรับ แตง หรือเปลี่ยนแปลงสวนประกอบใด ๆ ของ
เครอื่ งใชสํานักงานท่อี าจกอ ใหเกิดอันตรายในขณะที่เครอ่ื งกาํ ลังทํางาน
11. ตองทําการศกึ ษาวิธีใชและขอควรระวงั ของเคร่อื งใชสํานักงานที่มีอันตรายใหดี
กอ นปรบั แตง
12. ถามีผูปฏิบัติงานสองคน หรือมากกวาสองคนข้ึนไปทํางานกับเคร่ืองใช
สํานักงานทม่ี ีอนั ตรายเครอื่ งเดียวกัน ผูปฏบิ ตั งิ านแตละคนจะตองระมัดระวังซงึ่ กนั และกนั
13. อยาถอดอุปกรณปองกันอันตรายหรือเปดแผงเครื่องใชสํานักงานที่มีอันตราย
โดยเด็ดขาด กรณเี คร่ืองขดั ขอ งใหต ิดตอชางเพอื่ มาทาํ การซอ มแซม
14. เคร่ืองใชสํานักงานท่ีใชกําลังไฟฟาและมิไดเปนชนิดที่มีฉนวนหุมสองชั้น
จะตองมรี ะบบสายดินติดอยูที่ครอบโลหะผานปลั๊ก และหามมีการดัดแปลงปล๊ักเพ่ือตัดวงจรสายดิน
ออก
15. ใหต ดั กระแสไฟฟาของเครอื่ งใชสํานกั งานที่ใชไ ฟฟาทุกครั้งที่ไมใชหรือเมื่อจะ
ปรบั แตงเครอื่ ง

การใชลิฟต
1. ในขณะเกิดเพลงิ ไหม หามทกุ คนใชล ิฟต ใหใชบ นั ไดหนีไฟเทานั้น
2. กอนใชลิฟตทุกครั้งใหสังเกตวาตัวลิฟตเล่ือนมาอยูในระดับเดียวกับพื้นแลว
หรือไม ถาตัวลฟิ ตอยตู า งระดับกบั พ้นื ใหร ะมดั ระวังการสะดุดขณะเดินเขาลิฟต สําหรับสุภาพสตรีที่
สวมรองเทา สน สูงหรอื สน เล็กตอ งกาวขา ม เพ่อื ปองกนั การลื่นและหกลม
3. ในการใชล ฟิ ต ใหเขา ลิฟตอ ยางรวดเรว็ และระมดั ระวัง อยาลงั เลใจ
4. หา มสบู บหุ ร่ีในลฟิ ต
5. เม่ือลิฟตเล่ือนถึงชั้นที่ตองการ ใหรอประตูลิฟตเปดเต็มท่ีแลวกาวออกจากลิฟต
อยา งรวดเรว็

166
6. หา มใชมอื จับหรือดันประตูลิฟตเพ่ือใหลิฟตรอบุคคลอื่น ใหใชปุมควบคุมประตู
ลฟิ ตท ี่ตดิ ตงั้ อยูภ ายในลฟิ ต
7. ในกรณเี กิดเหตฉุ กุ เฉนิ ขณะอยูในลิฟต ใหปฏิบัติตามขอแนะนํา ซึ่งติดอยูภายใน
ลฟิ ต พยายามควบคุมสติใหได อยาตกใจเปนอันขาด

กิจกรรม 5 ส สูความปลอดภยั
สถานทีท่ ํางานจะปลอดภัยดว ยการปฏิบัติ 5 ส
สถานทดี่ าํ เนินกิจกรรม 5 ส จะปลอดภัยกวา ถูกสุขอนามัยกวา และมีการผลิตดีกวา
ในการทาํ ใหส ถานที่ทาํ งานนา อยู นาดู สะดวกสบายและปลอดภยั น้นั จะตอ งกําจัดส่ิงที่ไมตองใชแลว
ออกไปใหหมด และจดั ส่งิ ทจ่ี ะเก็บใหเปนหมวดหมู เพอ่ื ความสะดวก สะอาด และสวยงาม
กิจกรรม 5 ส
สะสาง : แยกรายการสง่ิ ของทจ่ี ําเปนและไมจ ําเปน ทง้ิ สิ่งของทไ่ี มจ าํ เปน

ออกไปใหม ากที่สดุ เทา ทจ่ี ะทาํ ได
สะดวก : เก็บเครื่องมืออุปกรณไวในท่ีท่ีใชไดสะดวกและเก็บในสภาพที่
ปลอดภยั
สะอาด : จดั ระเบียบการดูแลความสะอาดของสถานที่ทํางาน เชน การกําจัด
ฝุนละออง
สขุ ลกั ษณะ : ดูแลเส้ือผาและรักษาสภาพสถานท่ีทํางานใหสะอาดเรียบรอย อยา
ปลอยใหสกปรกรกรุงรังเปนเดด็ ขาด
สรางนิสัย : ปฏิบัติ 4 ส ขา งตน จนเปน นิสัย
1.6 ความปลอดภยั ในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม
ปจ จบุ นั การประกอบอาชีพเกษตรกรรม มกี ารนาํ เครอื่ งจักรกล เชน รถแทรกเตอร

167

รถไถนา เคร่ืองเก็บเก่ียว เครื่องผอนแรง เปนตน และสารเคมี เชน ปุยเคมี สารกําจัดศัตรูพืช สารฆา
แมลง เขามาใชอยา งมากมาย เพ่ือชวยเพมิ่ ผลผลติ ซึ่งสิ่งเหลานี้หากนาํ ไปใชอยางไมถูกตองจะมีผลเสีย
ตอสุขภาพและชีวติ อันตรายจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม มี 5 ประการ ดงั น้ี

ประการที่ 1 สารเคมี เชน ปุย สารกําจัดศัตรูพืช สารฆาแมลง สารพิษปราบวัชพืช
สารกําจดั เช้ือรา สารกาํ จดั สตั ว สารพิษกาํ จดั สาหราย ไสเ ดอื นฝอย หอยทาก สารเคมีเหลาน้ีหากใชถูก
วธิ กี ม็ ีประโยชน หากใชผดิ วธิ ีเปนโทษอยางมากเชน กนั เกษตรกรจาํ เปนตองทราบสิง่ เหลานี้

 วธิ ีเกบ็ การใช โดยอา นจากฉลากขา งภาชนะบรรจุ
 เมอ่ื ใชห มดแลว ตองทําลายภาชนะบรรจุโดยการเผาหรอื ฝง
 ไมค วรสบู บหุ รีข่ ณะทําการฉดี พน
 ระวังการสัมผสั สารเคมีทผ่ี ิวหนงั เนอื่ งจากสามารถดูดซมึ ทางผวิ หนังได
 ระวงั การสูดดมหายใจเขาสทู างเดนิ หายใจ
 ไมยืนใตล มขณะฉดี พน สารเคมี
 เครอ่ื งใชต า ง ๆ สาํ หรบั การฉดี พน ตอ งดูแลไมใหเสอ่ื มสภาพ รว่ั ซมึ
 เวลาผสมยาหามใชมอื กวน

ประการท่ี 2 อันตรายจากฝุนท่ีเกิดจากเกษตรกรรม ฝุนเกิดข้ึนจํานวนมากใน
กจิ กรรมนวดขาว และกิจกรรมอืน่ ๆ ในนา ปญหาที่เกิดขึ้นคือ ฝุนจะเปนสวนที่รับเอาเช้ือรา ละออง
เกสรดอกไม และพวกสเปอรปะปนอยู และจะนําโรคสูคนได ทําใหผูสัมผัสเกิดเช้ือรา โรคปอดฝุนฝาย
โรคปอดชานออย โรคปอดชาวนา วิธีปอ งกัน คอื

 เกษตรควรสวมหนา กากปอ งกันฝุน
 รกั ษาความสะอาดของผิวหนงั หลงั เสรจ็ งานแลว
 ใชว ิธพี นนํา้ เพอ่ื ลดการฟุง กระจายของฝุน
 หาความรูเพ่ือปองกันตัวเอง รวมท้ังเพ่ือใหทราบถึงภัยตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น

เชน อาการเกดิ โรค จะไดส ามารถปองกันตัวเองไมใหเ กดิ โรคลุกลามตอไป

ประการท่ี 3 อันตรายจากการเปนโรคติดเชอ้ื จากสัตว ทส่ี าํ คญั คอื มา วัว ควาย แกะ
แพะ สกุ ร สุนขั สตั วป า ทกี่ นิ เนื้อ นก เปด ไก เปน ตน โรคติดเชื้อท่ีสําคัญ ไดแก โรคแอนแทรกซ โรค
กลวั นํา้ บาดทะยกั เลพโตสไปโรซสี กลากเกลอ้ื น ของเช้ือรา วธิ ปี องกนั คอื

168

 เกษตรกรควรทราบแหลง โรค วธิ ีการแพรโรค
 เมือ่ สัตวป วยตองเผาหรือฝง ทําลายเช้ือ ฉดี วัคซนี ปองกนั โรคแกสัตว
 รักษาความสะอาดของผิวหนัง ระวังมิใหสัมผัสกับผิวหนังของสัตวที่เปน

โรค
 ทาํ ความสะอาดแผลทันทเี มื่อมีบาดแผลเกดิ ข้นึ

ประการท่ี 4 อนั ตรายจากความรอน แสง เสยี ง ความสั่นสะเทอื น เกษตรกรอาจเปน
ตะคริว ออ นเพลยี หรือเปน ลม อนั เน่อื งมาจากการไดรบั ความรอนทีม่ าจากแสงอาทติ ย หรือไดร บั เสียง
ดังจากเคร่ืองจักรกล ซ่ึงมีผลตอสุขภาพจิตดวย รวมท้ังเกิดอาการหูตึง หรือหูหนวกได อันตรายจาก
แสงจา ซงึ่ พบมากทําใหเ กิดตอ สญู เสยี การมองเห็น และในการใชเคร่อื งจักรกม็ ปี ญ หา การสน่ั สะเทือน
จากเครอ่ื งจักร เชน รถแทรกเตอร เครอื่ งเกีย่ วขา ว เคร่อื งไถ เคร่อื งเจาะ เล่ือยไฟฟา ความส่ันสะเทือนมี
อันตรายตอ มือและแขน ทําใหเ กิดอาการปวดขอตอ เม่ือยลา ระบบยอยอาหารผิดปกติ กระดูกอักเสบ
วิธีปองกนั อนั ตรายเหลา น้ไี ดแ ก

 การสวมใสอุปกรณปองกนั อันตรายสวนบคุ คล เชน ถงุ มือ อุดหู
 การปองกนั เก่ียวกบั ความรอน ทาํ ไดโ ดยใหส วมเสอื้ ผาหนา แขนยาว แตเปน

ผา ท่ีระบายอากาศไดด ี
 ด่มื น้ําผสมเกลือใหเขม ขน ประมาณ 0.1%
 หยุดพักระหวางงานบอยขนึ้ หากอากาศรอนจัดมาก

ประการท่ี 5 อุบัติเหตุในงานเกษตรกรรม เชน การถูกของมีคมบาด ไดแก มีด
ขวาน เคยี ว เมื่อเกิดบาดแผลเกษตรกรไมมีเวลาที่จะทําความสะอาดแผลหรือปฐมพยาบาลโดยทันที
โอกาสทจ่ี ะไดรับเช้อื โรค เชน โรคบาดทะยัก จึงพบบอย และเปนสาเหตุการตายท่ีสําคัญหรือการใช
เคร่อื งยนตที่ใชไ ฟฟาก็อาจเกิดไฟฟา ดูด หรือเกิดการไหมต ามผวิ หนงั ข้ึนได ซึ่งควรตอ งเรยี นรเู รอ่ื งการ
ใชไฟฟา ใหถ กู ตองดวย นอกจากน้ยี งั มอี ันตรายจากการใชเครอ่ื งยนต เชน เชอื ก โซ สายพาน หนบี หรอื
บบี อัด ทาํ ใหม อี บุ ัตเิ หตุเกิดขึน้ ทน่ี ้ิวมอื เปนสว นใหญ

โรคจากการทํางานท่ีสําคัญและพบบอยที่สุดในเกษตรกรคือ การปวดหลังจากการ
ทํางานอนั เนอ่ื งมาจากทาทางการทาํ งานที่ฝน ธรรมชาติ ทําใหเกิดอาการปวดเม่ือยกลามเน้ือ การปวด
เมื่อยกลามเน้ือทเี่ กดิ ขน้ึ ซา้ํ ๆ ทกุ วนั เรียกวา โรคบาดเจ็บซํ้าซาก หรือโรคบาดเจ็บซํ้าบอย สามารถแกไข
ได ควรจะไดเรยี นรวู ิธีการหาเครื่องทุนแรงหรือประยุกตวิธีการทํางานเพื่อบรรเทาอาการเหลาน้ันให
ลดนอ ยลง ตัวอยา งเชน การใชเ ครือ่ งหวา นเมลด็ พชื แทนการกม เงยในการหวานโดยคนก็จะทําใหการ
ทํางานเปนสุขขนึ้ ได

169

เรื่องที่ 2 การปฐมพยาบาลเบือ้ งตน

การปฐมพยาบาล คือ การใหก ารชว ยเหลือเบ้ืองตน ตอผปู ระสบอันตราย หรือเจบ็ ปว ย
ณ สถานทเี่ กดิ เหตกุ อ นทีจ่ ะถงึ มอื แพทย หรอื โรงพยาบาล เพ่อื ปอ งกนั มิใหเ กดิ อนั ตรายแกชีวติ หรือ
เกิดความพิการโดยไมสมควร
วัตถุประสงคของการปฐมพยาบาล

1. เพ่อื ใหมชี วี ติ อยู
2. เพือ่ ไมใหไ ดร บั อันตรายเพิม่ ขนึ้
3. เพ่ือใหก ลับคืนสูส ภาพเดิมไดโดยเรว็
หลักทัว่ ไปในการปฐมพยาบาล
1. อยาตืน่ เตน ตกใจ และอยา ใหคนมงุ เพราะจะแยง ผบู าดเจบ็ หายใจ
2. ตรวจดวู าผูบาดเจ็บยงั รสู ึกตวั หรือหมดสติ
3. อยากรอกยา หรอื นา้ํ ใหแกผูบาดเจบ็ ในขณะทไ่ี มรูสกึ ตวั
4. รบี ใหการปฐมพยาบาลตอ การบาดเจ็บทอี่ าจทาํ ใหเ กดิ อันตรายถงึ แกช ีวติ โดยเร็ว
กอ น สว นการบาดเจ็บอืน่ ๆ ทไี่ มรนุ แรงมากนักใหด ําเนนิ การปฐมพยาบาลในลําดบั ถดั มา
การบาดเจ็บทีต่ อ งไดร บั การชว ยเหลือโดยเร็ว คือ
1. การขาดอากาศหายใจ
2. การตกเลือด และมอี าการชอ็ ก
3. การสมั ผสั หรอื ไดรับสง่ิ มีพิษท่รี นุ แรง

การปฐมพยาบาลเมื่อเกดิ อาการบาดเจบ็
ขอเคลด็

สาเหตุ
เกดิ จากการฉกี ขาด หรือการยดึ ตัวของเน้อื เย่ือ กลา มเน้ือ หรอื เสนเอน็ รอบขอตอ

อาการ
- เวลาเคลือ่ นไหวจะรูสกึ ปวดบริเวณขอ ตอ ท่ีไดรับอนั ตราย
- บวมแดงบริเวณรอบ ๆ ขอ ตอ

170

การปฐมพยาบาล
- อยาใหขอ ตอ บรเิ วณทีเ่ จบ็ เคล่ือนไหว
- อยาใหของหนกั กดทบั บริเวณขอทเี่ จบ็
- ควรประคบดว ยความเย็นไวกอน
- ถา มีอาการปวดรุนแรง ใหรีบนําไปพบแพทย

ขดั ยอก
สาเหตุ

เกิดจากการทก่ี ลา มเน้ือยึดตวั มากเกินไป ซึง่ เกดิ ขนึ้ เพราะการเคล่ือนไหวอยางรนุ แรง
และรวดเรว็ มากเกนิ ไป
อาการ

เจบ็ ปวดบรเิ วณท่ไี ดรบั บาดเจบ็ ตอมามีอาการบวม
การปฐมพยาบาล

- ใหผ ูบาดเจ็บนงั่ หรือนอนในทาที่สบาย และปลอดภัย
- ถาปวดมากอาจบรรเทาอาการโดยการประคบความเย็นกอ น แลวตอดวยประคบ
ความรอน

ตาบาดเจบ็
การปฐมพยาบาลเกยี่ วกับตานนั้ ควรใหการปฐมพยาบาลเฉพาะตาท่บี าดเจ็บเลก็ นอ ย
เทานนั้ ถาบาดเจ็บรนุ แรงใหหาผา ปดแผลสะอาดปด ตาหลวม ๆ แลว นาํ ผูบาดเจ็บสง โรงพยาบาล
โดยเร็ว

ผงเขาตา
สาเหตุ

- มสี ิง่ แปลกปลอมเขาตา
- ระคายเคอื งตา คัน หรือปวดตา
การปฐมพยาบาล
- ใชน า้ํ สะอาดลางตาใหทั่ว
- ถา ผงไมอ อกใหห าผา สะอาดปด ตาหลวม ๆ แลวนาํ ผบู าดเจบ็ ไปพบแพทย

171

สารเคมีเขาตา
สาเหตุ

กรด หรือดา งเขา ตา
อาการ

- ระคายเคอื งตา
- เจบ็ ปวด และแสบตามาก

การปฐมพยาบาล
- ใหลางตาดว ยนา้ํ ทส่ี ะอาดโดยวิธกี ารใหน ํ้าไหลผา นลกู ตา จนกวาสารเคมี

จะออกมา
- ใชผา ปดแผลทสี่ ะอาดปดตาหลวม ๆ แลวนําผูบาดเจ็บไปพบแพทย

โดยเร็วทส่ี ุด

ไฟไหม หรอื นาํ้ รอ นลวก
สาเหตุ

บาดแผลอาจจะเกดิ จากถูกไฟโดยตรง ประกายไฟ ไฟฟา วตั ถุที่รอ นจดั นาํ้ เดือด
สารเคมี เชน กรด หรอื ดา งทีม่ คี วามเขมขน
อาการ

แบง เปน 3 ลักษณะ
- ลกั ษณะที่ 1 ผิวหนังแดง
- ลกั ษณะท่ี 2 เกดิ แผลพอง
- ลกั ษณะที่ 3 ทําลายชนั้ ผิวหนงั เขา ไปเปน อนั ตรายถงึ เนือ้ เยือ่ ทีอ่ ยใู ตผิวหนงั
บางครง้ั ผูบ าดเจ็บจะมีอาการชอ็ ก

การปฐมพยาบาล
บาดแผลในลกั ษณะที่ 1 และ 2 ซงึ่ ไมส าหสั ใหปฐมพยาบาลดงั น้ี
- ประคบดว ยความเย็นทนั ที
- ใชน้าํ มนั ทาแผลได และปด แผลดวยผาทส่ี ะอาด ใชผ า พนั แผลพันแตอยา

ใหแนน มาก
บาดแผลในลักษณะที่ 3 ใหปฐมพยาบาลดงั นี้
- ถาผบู าดเจ็บมอี าการช็อก รีบใหก ารปฐมพยาบาลอาการชอ็ กกอ น

172

- หามดึงเศษผาทถ่ี ูกไฟไหมซึ่งตดิ อยูกับรา งกายออก
- นาํ ผูบ าดเจบ็ สงโรงพยาบาลโดยเร็วที่สดุ เทาที่จะทาํ ได

กระดูกเคลือ่ น
สาเหตุ

กระดกู เคล่ือนเกดิ ขึน้ เพราะปลายกระดูกขางหนง่ึ ซ่ึงประกอบกันเขาเปน ขอ ตอ
เคลือ่ นทห่ี ลุดออกจากเสน เอ็นทห่ี ุม หอ บรเิ วณขอ ตอไว
อาการ

- ตึงและปวดมากบรเิ วณขอตอทหี่ ลุด
- ขอ ตอจะมรี ูปรา ง และตาํ แหนง ผิดไปจากเดมิ
การปฐมพยาบาล
- จัดใหผ บู าดเจ็บอยใู นทาทีส่ บายท่ีสุด
- หามกด หรอื ทําใหขอตอน้ันเคล่ือนไหวเปนอนั ขาด
- นําผบู าดเจบ็ สง แพทยใ หเรว็ ท่ีสุด
- การเคลอ่ื นยา ยผูบาดเจบ็ ควรใชเปลหาม

กระดูกหกั
กระดกู หักมีอยู 2 แบบ คือ
1. กระดกู หักชนดิ ธรรมดา หรือชนดิ ปด ไดแ ก การมกี ระดกู หกั เพยี งอยา งเดยี ว
ไมแทงทะลผุ วิ หนังออกมา
2. กระดกู หักชนิดมีบาดแผล หรอื ชนิดเปด ไดแก การมกี ระดกู หักแลว แทงทะลุ
ผิวหนงั ออกมา หรือวตั ถจุ ากภายนอกแทงทะลุผวิ หนงั เขาไปกระทบกบั กระดูก ทําใหก ระดกู หัก

อาการ
- บวม
- เวลาเคล่ือนไหวจะเจ็บบรเิ วณทไ่ี ดร บั อนั ตราย
- ถาจับบริเวณที่ไดรบั อันตรายจะรสู ึกนุมนิ่ม และอาจมเี สยี งปลายกระดกู ทห่ี กั เสียด

สีกัน
- อวัยวะเบีย้ วบดิ ผดิ รปู

173

การปฐมพยาบาล
- อยาเคล่อื นยา ยผปู ระสบอันตราย นอกจากจะจําเปน จรงิ ๆ การเคลือ่ นยาย

อาจทาํ ใหบ าดเจ็บมากขน้ึ ไปอกี
- คอยระวงั ใหป ลายกระดกู ทีแ่ ตกอยนู ิง่ ๆ
- ปองกันอยา ใหเ กดิ อาการช็อก
- ถา กระดกู ทห่ี กั แทงทะลุผวิ หนังออกมาขางนอก ใหหา มเลือดโดยใชน ว้ิ กด

หรอื ใชสายสาํ หรับรัดหา มเลือด
- ใชผา ปดแผลทสี่ ะอาด ปดปากแผล หรอื กระดกู ทโ่ี ผลอ อกมา
- ถามีความจาํ เปน ทจี่ ะตอ งเคลือ่ นยา ยผูบาดเจบ็ ควรใชเ ฝอกช่ัวคราว

สายคลอ งแขน หมอน และเปลเฝอ กช่ัวคราวอาจทาํ ดวยวตั ถใุ ด ๆ ก็ไดท ่อี ยใู กลม อื เชน กระดาน มว น
หนงั สือพิมพ มวนฟาง หรอื รม ใหผกู เฝอกกับแขน หรอื ขาตรงท่ีหักทั้งขางลาง และขา งบน และถา
สามารถทําไดใหผ ูกมดั จากท่ี ๆ แตกไปทง้ั สองขา ง จะทําใหเฝอ กชว่ั คราวแขง็ แรงขนึ้ ใชก ระดาษ ผา
สาํ ลี หรือวตั ถุอน่ื ๆ ทคี่ ลายกันรองเฝอก เพือ่ ใหบรเิ วณที่ไดรบั อนั ตรายอยใู นระดบั เดยี วกัน ซง่ึ การทํา
วิธนี เี้ ฝอ กจะพอดี ไมก ดกระดกู บางแหง มากเกินไป สําหรบั การใสเ ฝอกทแ่ี ขนหรอื ขาน้ัน ควรใสให
รอบทุกดา นดีกวาใสเ ฉพาะดานใดดานหน่ึง และใหใ ชผ าเปนชน้ิ ๆ หรอื เชือกทีเ่ หนยี ว ๆ ผูกเฝอ ก แต
ผาสําหรบั ผูกในยามฉกุ เฉินทีด่ ที สี่ ุดก็คือ ผา พนั แถบยาว ๆ

- บางครงั้ กอนจะเขา เฝอกจําเปนตองเคล่อื นยายผบู าดเจบ็ บา งเล็กนอย ควรจะใหใคร
คนหนึ่งจับแขน หรอื ขาสว นท่อี ยเู หนอื และสวนทอี่ ยตู าํ่ กวาบรเิ วณทกี่ ระดกู นั้นหักใหอยูน ิ่ง ๆ สวนคน
อ่ืน ๆ ใหชว ยกนั รบั นาํ้ หนักของรา งกายไว วิธที ่ีดที ่ีสดุ กค็ อื ใชเ ปลหาม

- กระดูกสันหลัง หรือคอหัก หรือสงสัยวาจะหัก จะตองใชความระมัดระวังเปน
พเิ ศษ ถาคนเจบ็ หมดสติอาจจะไมรูวากระดกู คอ หรอื กระดกู สนั หลังหัก นอกจากผทู ําการปฐมพยาบาล
นั้นจะมีความรใู นเรือ่ งน้เี ปน พิเศษ กระดูกหักธรรมดาอาจจะกลายเปน กระดกู หกั ชนิดมีบาดแผลไดถา
หากไมร ะมดั ระวงั ในการเคล่อื นยา ยผูบาดเจบ็ ดังนั้น หากสามารถทาํ ไดค วรงดเวนการเคล่อื นยายใด ๆ
จนกวาแพทยจะมาทาํ การชว ยเหลอื

การเคลอ่ื นยายผทู กี่ ระดูกคอหกั
- เม่ือจะทําการเคลื่อนยายผูบาดเจ็บท่ีกระดูกคอหัก ใหเอาบานประตู หรือแผน

กระดานกวา ง ๆ มาวางลงขางคนเจ็บ ใหปลายกระดานเลยศีรษะคนเจ็บไปประมาณ 4 น้ิว เปนอยาง
นอย

- ถา ผูบ าดเจ็บนอนหงาย ใหใ ครคนหนึ่งคกุ เขาลงเหนือศรี ษะ ใชมือทั้งสองจับศีรษะ
ไวใหน่ิง ๆ เพื่อใหศรี ษะ และหัวไหลเ คลอื่ นไหวเปน จังหวะเดียวกันกับรางกาย สวนคนอื่น ๆ จะเปน
คนเดยี ว หรือหลายคนก็ไดชว ยกนั จับเส้อื ผาของผบู าดเจ็บตรงหวั ไหล และตะโพก แลว

174

คอย ๆ เล่อื นผบู าดเจบ็ นนั้ วางลงบนแผน กระดาน หรือบานประตู ใหผูบาดเจ็บนอนหงายอยายกศีรษะ
ข้ึน และอยา ใหคอบดิ ไปมา

- ถาผูบาดเจ็บนอนคว่ําหนา ควรจะวางบานประตู หรือกระดานลงขาง ๆ ตัว
ผูบาดเจบ็ นัน้ เอาแขนเหยียดไปทางศีรษะ คกุ เขาลงเอามือจับขางศีรษะของผูบาดเจ็บ โดยใหมือปดหู
และมุมขากรรไกร แลวคอยพลิกคนเจ็บใหนอนหงายบนกระดาน เวลาพลิกใหนอนหงายจะตองให
ศรี ษะอยนู ง่ิ ๆ และใหอ ยูระดบั เดยี วกับลําตวั ทัง้ ศีรษะ และลาํ ตัวจะตอ งพลิกใหพ รอ ม ๆ กัน

- ระหวางท่ที ําการเคล่ือนยา ย ควรจะใชหนังรัด หรือผาพันแผลก็ไดหลาย ๆ อัน รัด
รอบตัวของผูบ าดเจบ็ ใหต ดิ แนน กับแผนกระดาษ หรอื ถา มีเปลกใ็ หใ ชเ ปลหาม

การเคลอื่ นยา ยผูทกี่ ระดกู สนั หลงั หกั
- อยารีบยกผูบาดเจ็บท่ีสงสัยวากระดูกสันหลังจะหัก ตองถามกอนวาสามารถ

เคลอื่ นไหว ไดหรือไม ถา ผบู าดเจ็บไมไดส ติ และสงสัยวา จะไดร ับอันตรายที่กระดูกสนั หลัง ใหปฏิบัติ
เชน เดียวกับผูที่กระดูกคอหกั

- ถา พบคนท่สี งสัยวากระดกู สันหลังหักนอนควํ่าหนาอยู คอย ๆ พลิกใหนอนหงาย
ลงบนแผน กระดาน หรือเปล แลว หาอะไรมารองสันหลงั ตอนลา ง

- ถา ผูบาดเจ็บนอนหงาย คอย ๆ เล่ือนใหน อนบนกระดาน โดยปฏบิ ัตเิ ชนเดียวกับผูที่
กระดกู คอหกั

- ผบู าดเจ็บที่สงสยั วากระดูกสนั หลงั หัก หามยกในทานง่ั โดยเดด็ ขาด

กะโหลกศรี ษะแตก สมองไดรับความกระทบกระเทอื น

ผทู ีป่ ระสบอนั ตรายจนกะโหลกศรี ษะแตก หรือสะเทือน จะมีอาการเลือดออกทางหู
ตา และจมกู อาจมขี องเหลวสีขาวไหลออกมาจากหู ตาดาํ อาจจะมีขนาดไมเทากัน หนาแดง หรือซีดก็
ได
การปฐมพยาบาล

- ถาหนา มีสปี กติ หรอื สีแดง ควรวางผูบาดเจ็บนอนลง แลวหนนุ ศรี ษะใหส ูงเล็กนอย
ถา หนา ซีดควรวางศรี ษะในแนวราบ

- พลิกศรี ษะใหอ ยูในลักษณะทไ่ี มถูกทบั บริเวณท่ีสงสัยวากระดูกจะแตก
- ถามีบาดแผลปรากฏใหหามเลือด และปดบาดแผลดวยผาปดแผลท่ีสะอาด ผูก
ผาพนั แผลดา นตรงขา มกับบาดแผล
- ใหความอบอุน แกผ ูบาดเจ็บอยเู สมอ และอยาใหส ารกระตุน ใด ๆ แกผูบ าดเจบ็

175

การหา มเลอื ดเมอื่ เกดิ อนั ตรายจากของมีคม
วธิ หี ามเลอื ดมีหลายวธิ ี ไดแ ก

1. การกดดวยนิว้ มือ มีวิธปี ฏบิ ตั ดิ งั น้ี
- ในกรณีทบ่ี าดแผลเลอื ดออกไมม าก จะหา มเลอื ดโดยใชผาสะอาดปดท่บี าดแผลแลว

พันใหแ นน ถา ยังมีเลอื ดไหลซึม ใหใ ชนิ้วมอื กดตรงบาดแผลดว ยกไ็ ด
- ในกรณีที่เสน โลหิตแดงใหญขาด หรือไดร บั อนั ตรายอยา งรุนแรงเปนบาดแผลใหญ

ควรใชนว้ิ มอื กดเพ่อื หา มเลอื ดไมใ หไ หลออกมา และใหก ดลงบรเิ วณระหวางบาดแผลกบั หัวใจ เชน
- เลอื ดไหลออกจากหนังศีรษะ และสว นบนของศรี ษะ ใหกดทีเ่ สนเลือดบริเวณขมับ

ดานที่มีบาดแผล
- เลอื ดไหลออกจากใบหนา ใหกดทีเ่ สน เลือดใตข ากรรไกรลา งดา นทม่ี ีบาดแผลหาง

จากมุมขากรรไกรไปขา งหนา ประมาณ 1 นวิ้
- เลือดไหลออกมาจากคอ ใหกดลงไปบริเวณตนคอขาง ๆ หลอดลมดานท่ีมี

บาดแผล แตก ารกดตาํ แหนงนนี้ านๆ อาจจะทาํ ใหผูถกู กดหมดสติได ฉะนั้นควรใชว ิธีนี้ตอเมอ่ื ใชว ธิ อี น่ื
ๆ ไมไดผ ลแลวเทา นัน้

- เลอื ดไหลออกมาจากแขนทอนบน ใหก ดลงไปท่ไี หปลาราตอนบนสดุ ใกลหัวไหล
ของแขนดา นท่มี บี าดแผล

- เลือดไหลออกมาจากแขนทอนลาง ใหกดที่เสนเลือดบริเวณแขนทอนบนดานใน
กึ่งกลางระหวางหัวไหลกับขอ ศอก

- เลือดออกทข่ี า ใหก ดเสนเลือดบริเวณขาหนบี ดา นที่มบี าดแผล

2. การใชสายรดั หามเลอื ด
ในกรณีทเ่ี ลือดไหลออกจากเสน โลหิตแดงทแ่ี ขน หรอื ขา ใชนิ้วมือกดแลว เลือด

ไมหยดุ ควรใชสายสําหรับหามเลือดโดยเฉพาะ
- สายรัดสําหรับแขน ใหใชรัดเสนโลหิตที่ตนแขน สายรัดสําหรับขาใหใชรัดเสน

โลหติ ที่โคนขา
- อยา ใชส ายรัดผกู รัดใหแนนเกินไป และควรจะคลายออกเปน เวลา 3 วินาที ทุก ๆ 10

นาที จนกวาเลือดจะหยุด
- ถาไมม ีสายรัดแบบมาตรฐาน อาจใชวัตถุท่ีแบน ๆ เชน เข็มขัด หนังรัด ผาเช็ดตัว

เนคไท หรือเศษผา ทําเปน สายรัดได แตอยา ใชเ ชอื กเสน ลวด หรอื ดา ยทาํ เปน สายรัด เพราะอาจจะบาด
หรอื เปน อนั ตรายแกผ วิ หนงั บริเวณทีผ่ ูกได

176

3. การยกบรเิ วณท่มี บี าดแผลใหสูงกวา หวั ใจ
ในกรณีทม่ี บี าดแผลเลือดออกทเ่ี ทา จดั ใหผบู าดเจ็บนอนลงแลว ยกเทาขน้ึ

กจิ กรรม ใหผูเรียนรวบรวมขอมลู การไดร ับอันตรายจากการทาํ งานของตนเอง สมาชกิ ใน
ครอบครวั และเพ่ือนรวมงาน ดังน้ี

1. ขาพเจาเคยไดร ับอนั ตรายจากการทํางาน ดงั นี้
 งาน / หนา ท่ที ป่ี ฏบิ ตั ิ หรอื เคยปฏบิ ัต.ิ .....................................................................................
...........................................................................................................................................
 อนั ตรายทเี่ คยไดร บั
1. ....................................................................................................................................
2. ....................................................................................................................................
3. ....................................................................................................................................
 การปอ งกนั และแกไ ข
1. ....................................................................................................................................
2. ....................................................................................................................................
3. ....................................................................................................................................

2. สมาชกิ ในครอบครวั เคยไดรับอนั ตรายจาการทาํ งาน คือ .........................................................
 งาน / หนา ท่ีท่ีปฏบิ ัติ หรือเคยปฏบิ ัต.ิ .................................................................................
.................................................................................................... ......................................
 อนั ตรายทเ่ี คยไดร บั
1. ....................................................................................................................................
2. .....................................................................................................................................
3. ....................................................................................................................................
 การปองกนั และแกไ ข
1. .....................................................................................................................................
2. ....................................................................................................................................
3. .....................................................................................................................................

177

3. เพ่อื นรว มงานทเี่ คยไดรบั อนั ตรายจากการทาํ งาน ดงั น้ี
 งาน / หนาทที่ ีป่ ฏิบัติ หรอื เคยปฏิบัต.ิ .................................................................................
.................................................................................................... ......................................
 อันตรายท่ีเคยไดรบั
1. .....................................................................................................................................
2. ....................................................................................................................................
3. .....................................................................................................................................
 การปอ งกนั และแกไข
4. ....................................................................................................................................
5. ....................................................................................................................................
6. ....................................................................................................................................

178

บทท่ี 9
ทักษะชวี ิตเพอื่ การส่อื สาร

สาระสําคญั
การมคี วามรคู วามเขาใจเกี่ยวกบั ทักษะท่ีจําเปนสําหรับชีวิตมนุษย โดยเฉพาะทักษะ

การสื่อสาร ทักษะการสรางสัมพันธภาพระหวา งบคุ คล ทกั ษะการเขาใจผูอื่น จะชวยใหบ ุคคลดํารงชวี ติ
อยูในครอบครัว ชมุ ชน และสงั คมอยางมคี วามสุข

ผลการเรียนรทู ี่คาดหวงั เพอ่ื ใหผูเรยี น
1. มีความรูความเขาใจเก่ียวกับทักษะชีวิตที่จําเปน 3 ประการ ไดแก ทักษะการ

ส่ือสาร ทักษะการสรางสมั พนั ธภาพระหวางบคุ คล และทกั ษะการเขา ใจผอู น่ื
2. ประยกุ ตใชท กั ษะชวี ติ ในการดาํ เนนิ ชีวิต และในการทํางานอยา งมีประสทิ ธิภาพ

ขอบขายเน้อื หา
เรอื่ งที่ 1 ความหมายของทักษะชีวิต
เรอ่ื งท่ี 2 ทกั ษะชวี ิตท่จี าํ เปน 3 ประการ

179

เรื่องที่ 1 ความหมายของทกั ษะชวี ิต

คําวา ทักษะ (Skill) หมายถงึ ความชดั เจน และความชํานาญในเรอ่ื งใดเร่อื งหนง่ึ ซึ่ง
บคุ คลสามารถสรางขนึ้ ไดจากการเรยี นรู ไดแ ก ทักษะการอาชีพ การกฬี า การทํางานรวมกับผูอ่ืน การ
อาน การสอน การจัดการ ทักษะทางคณติ ศาสตร ทกั ษะทางภาษา ทักษะทางการใชเทคโนโลยี ฯลฯ ซ่ึง
เปน ทักษะภายนอกทส่ี ามารถมองเห็นไดชัดเจนจากการกระทํา หรือจากการปฏิบัติ ซึ่งทักษะดังกลาว
นั้นเปนทกั ษะท่ีจําเปนตอการดํารงชวี ิต ทีจ่ ะทาํ ใหผ ูมที ักษะเหลานั้นมีชีวิตที่ดี สามารถดํารงชีพอยูใน
สังคมได โดยมโี อกาสที่ดกี วาผไู มมีทักษะดังกลาว ซึ่งทักษะประเภทนี้เรียกวา Livelihood skill หรือ
Skill for living ซึ่งเปนคนละอยางกับทักษะชีวิต ที่เรียกวา Life skill (ประเสริฐ ตันสกุล) ดังนั้น
ทกั ษะชีวิต หรอื Life skill จงึ หมายถงึ คุณลกั ษณะ หรอื ความสามารถเชงิ สงั คม จิตวทิ ยา (Psychosocial
competence) ที่เปนทักษะภายในท่ีจะชวยใหบุคคลสามารถเผชิญสถานการณตาง ๆ ที่เกิดข้ึนใน
ชีวติ ประจําวันไดอ ยา งมีประสทิ ธภิ าพ และเตรียมพรอ มสําหรบั การปรบั ตวั ในอนาคต ไมวาจะเปนเรอ่ื ง
การดูแลสขุ ภาพ เอดส ยาเสพตดิ ความปลอดภัย ส่ิงแวดลอม คุณธรรมจริยธรรม ฯลฯ เพอ่ื ใหส ามารถมี
ชีวิตอยใู นสังคมไดอ ยา งมีความสุข หรือจะกลาวงา ย ๆ ทักษะชีวิต ก็คือ ความสามารถในการแกปญหา
ทีต่ อ งเผชิญในชีวติ ประจําวัน เพ่อื ใหอ ยรู อดปลอดภยั และสามารถอยูร วมกับผอู น่ื ไดอยา งมีความสขุ

1.1 องคป ระกอบของทกั ษะชวี ิต
องคป ระกอบของทักษะชีวิต จะมีความแตกตางกันตามวัฒนธรรม และสถานที่ แต

ทกั ษะชวี ิตท่ีจาํ เปนที่สุดที่ทุกคนควรมี ซ่ึงองคการอนามัยโลกไดสรุปไว และถือเปนหัวใจสําคัญใน
การดาํ รงชวี ติ คอื

1. ทักษะการตัดสินใจ (Decision making) เปนความสามารถในการตัดสินใจ
เกี่ยวกบั เรอื่ งราวตา ง ๆ ในชีวติ ไดอ ยางมีระบบ เชน ถา บคุ คลสามารถตัดสนิ ใจเกี่ยวกับการกระทําของ
ตนเองทเ่ี กย่ี วกับพฤติกรรมดา นสุขภาพ หรอื ความปลอดภยั ในชวี ติ โดยประเมินทางเลือก และผลที่ได
จากการตดั สินใจเลือกทางที่ถูกตองเหมาะสม ก็จะมีผลตอ การมีสุขภาพที่ดีท้งั รา งกาย และจิตใจ

2. ทักษะการแกปญหา (Problem Solving) เปนความสามารถในการจัดการกับ
ปญหาทีเ่ กิดขึ้นในชวี ติ ไดอยางมรี ะบบ ไมเกิดความเครยี ดทางกาย และจิตใจ จนอาจลกุ ลามเปน ปญหา
ใหญโตเกินแกไข

3. ทักษะการคิดสรางสรรค (Creative thinking) เปนความสามารถในการคิดที่จะ
เปนสวนชวยในการตัดสินใจ และแกไขปญหาโดยการคิดสรางสรรค เพ่ือคนหาทางเลือกตาง ๆ
รวมทงั้ ผลทจี่ ะเกิดขน้ึ ในแตล ะทางเลอื ก และสามารถนําประสบการณมาปรับใชในชีวิตประจําวันได
อยา งเหมาะสม

180

4. ทกั ษะการคิดอยางมวี จิ ารณญาณ (Critical thinking) เปนความสามารถใน การ
คิดวิเคราะหขอ มลู ตา ง ๆ และประเมินปญ หา หรอื สถานการณที่อยูรอบตัวเรา ที่มีผลตอการ ดําเนิน
ชวี ติ

5. ทักษะการส่ือสารอยางมีประสิทธิภาพ (Effective communication) เปน
ความสามารถในการใชคําพูด และทาทาง เพ่ือแสดงออกถึงความรูสึกนึกคิดของตนเองไดอยาง
เหมาะสมกบั วฒั นธรรม และสถานการณต า ง ๆ ไมว า จะเปน การแสดงความคิดเห็น การแสดง ความ
ตองการ การแสดงความช่ืนชม การขอรอง การเจรจาตอรอง การตักเตือน การชวยเหลือการปฏิเสธ
ฯลฯ

6. ทักษะการสรางสัมพันธภาพระหวางบุคคล (Interpersonal relationship) เปน
ความสามารถในการสรางความสัมพันธที่ดีระหวางกันและกัน และสามารถรักษาสัมพันธภาพไวได
ยืนยาว

7. ทักษะการตระหนักรูในตน (Self awareness) เปนความสามารถในการคน หารจู กั
และเขาใจตนเอง เชน รขู อ ดี ขอเสียของตนเอง รูความตองการ และส่ิงท่ีไมตองการของตนเอง ซึ่งจะ
ชว ยใหเ รารูตวั เองเวลาเผชญิ กับความเครยี ด หรอื สถานการณต าง ๆ และทักษะน้ียงั เปนพืน้ ฐานของการ
พฒั นาทักษะอน่ื ๆ เชน การสอื่ สาร การสรางสมั พันธภาพ การตัดสนิ ใจ ความเห็นใจผอู ่ืน

8. ทักษะการเขาใจผูอื่น (Empathy) เปนความสามารถในการเขาใจความเหมือน
หรอื ความแตกตางระหวา งบุคคล ในดานความสามารถ เพศ วยั ระดับการศึกษา ศาสนา ความเช่ือ สี
ผิว อาชีพ ฯลฯ ชวยใหสามารถยอมรับบุคคลอื่นที่ตางจากเรา เกิดการชวยเหลือบุคคลอ่ืนท่ีดอยกวา
หรือไดร บั ความเดือดรอ น เชน ผตู ดิ ยาเสพตดิ ผตู ดิ เชอ้ื เอดส

9. ทักษะการจัดการกับอารมณ (Coping with emotion) เปนความสามารถในการ
รบั รูอารมณข องตนเอง และผูอ่ืน รูวาอารมณมีผลตอการแสดงพฤติกรรมอยางไร รูวิธีการจัดการกับ
อารมณโกรธ และความเศรา โศก ทีส่ ง ผลทางลบตอ รางกาย และจติ ใจไดอยา งเหมาะสม

10. ทักษะการจดั การกบั ความเครียด (Coping with stress) เปน ความสามารถในการ
รับรูถึงสาเหตุของความเครียด รูวิธีผอนคลายความเครียด และแนวทางในการควบคุมระดับ
ความเครยี ด เพื่อใหเกิดการเบ่ียงเบนพฤติกรรมไปในทางท่ีถูกตอง เหมาะสม และไมเกิดปญหาดาน
สุขภาพ

1.2 กลวธิ ีในการสรางทกั ษะชวี ิต
จากองคป ระกอบของทักษะชวี ิต 10 ประการ เม่อื จะนาํ ไปใชพ ัฒนาทักษะชีวติ

สามารถแบงไดเปน 2 สวน ดงั น้ี

181

1. ทักษะชีวิตทั่วไป คือ ความสามารถพื้นฐานท่ีใชเผชิญปญหาปกติใน
ชีวิตประจําวัน เชน ความเครียด สุขภาพ การคบเพ่ือน การปรับตัว ครอบครัวแตกแยก การบริโภค
อาหาร ฯลฯ

2. ทักษะชวี ิตเฉพาะ คอื ความสามารถท่จี ําเปน ในการเผชญิ ปญหาเฉพาะ เชน ยาเสพ
ตดิ โรคเอดส ไฟไหม นา้ํ ทว ม การถูกลวงละเมิดทางเพศ ฯลฯ

เร่อื งท่ี 2 ทกั ษะชีวติ ที่จําเปน 3 ประการ

 ทกั ษะการส่ือสารอยา งมีประสทิ ธิภาพ (Effective communication)
 ทักษะการสรา งสัมพนั ธภาพระหวางบุคคล (Interpersonal relationship)
 ทักษะการเขาใจผูอ ่นื (Empathy)

2.1 ทักษะการส่อื สารอยางมีประสิทธภิ าพ
การสื่อสาร เปนกระบวนการสรางความเขาใจกันระหวางบุคคล โดยอาจเปนการ

สอ่ื สารทางเดียว (one-way communication) คอื การส่อื ขาวสารจากผูสงสาร ไปยังผูรับสาร โดยไมมี
การสื่อสารกลบั หรอื สะทอ นความรสู ึกกลับไปยังผสู ง สารอกี ครัง้ สวนการสอื่ สารสองทาง (Two-way
Communication) เปน การสือ่ ขา วสารจากผูสง สารไปยังผูรับสาร และมีการส่ือสารกลับ หรือสะทอน
ความรสู ึกกลับจากผูร ับสาร ไปยังผสู งสารอกี คร้งั จงึ เรียกวา เปนการสอ่ื สารสองทาง

การสื่อสารระหวางบุคคล นับวาเปนความจําเปนอยางย่ิง เพราะในการดําเนินชีวิต
ปกตใิ นปจจบุ ัน การสื่อสารเขามามบี ทบาทอยา งยงิ่ ในทุกกิจกรรม ไมวาจะเปนการสื่อสารดวย การ
พดู การเขียน การแสดงกริ ิยาทาทาง หรือการใชเคร่ืองมือสื่อสารที่เปนเทคโนโลยีสมัยใหม ตาง ๆ
เชน โทรศพั ท Internet e-mail ฯลฯ ทง้ั นี้ การสือ่ สารดวยวธิ ใี ด ๆ กต็ าม ควรทาํ ใหผูสง สาร และผูรับ
สารเกดิ ความเขาใจอนั ดตี อ กนั และเกิดสมั พันธภาพท่ดี ีตามมา ซึ่งทกั ษะท่ีจําเปนในการสื่อสาร ไดแก
การรจู ักแสดงความคดิ เหน็ หรอื ความตองการใหถ กู กาลเทศะ และการรูจกั แสดงความชื่นชมผูอ ่ืน การ
รจู กั ขอรอ ง การเจรจาตอ รองในสถานการณคับขันจําเปน การตักเตือนดวยความจริงใจ และใชวาจา
สภุ าพ การรูจกั ปฏิเสธเมื่อถูกชักชวนใหปฏิบัติในส่ิงที่ผิดขนบธรรมเนียมประเพณี หรือผิดกฎหมาย
เปน ตน

การส่อื สารดวยการปฏเิ สธ
หลาย ๆ คนไมกลาปฏิเสธคาํ ชกั ชวนของเพ่ือน หรือคนรัก เม่ือไปทําในส่ิงทตี่ นเองไม

เหน็ ดว ย เชน การมีเพศสมั พันธที่ไมปลอดภัย การเท่ียวซองโสเภณี การเสพยาเสพติด ฯลฯ อันท่ีจริง
การปฏเิ สธเปนสิทธิของทุกคน การปฏเิ สธคําชกั ชวนของเพอ่ื น หรอื คนรกั เม่อื ทาํ ในส่งิ ท่ตี นเองไมเ ห็น

182

ดวยอยางเหมาะสม และไดผลจะชวยปองกันการมีพฤติกรรมเสี่ยงได คนสวนใหญไมกลาปฏิเสธคํา
ชกั ชวนของเพื่อน หรือคนรัก เพราะกลวั วาเพ่ือน หรือคนรักจะโกรธ แตถาสามารถปฏิเสธไดถูกตอง
ตามข้นั ตอนจะไมทาํ ใหเสียเพ่อื น

การปฏิเสธท่ดี ี
จะตองปฏิเสธอยางจริงจัง ท้ังทาทาง คําพูด และน้ําเสียง เพื่อแสดงความต้ังใจอยาง

ชดั เจนท่จี ะขอปฏิเสธ
การปฏเิ สธมี 3 ข้ันตอน คอื

1. บอกความรสู กึ เปน ขออางประกอบเหตุผล เพราะการบอกความรูสึกจะโตแยง ยาก
กวาการบอกเหตผุ ลอยา งเดยี ว

2. การขอปฏิเสธเปนการบอกปฏเิ สธชัดเจนดว ยคําพูด
3. การถามความเห็นชอบเพ่ือรักษานํ้าใจของผูชวน และความขอบคุณเมื่อผูชวน
ยอมรับการปฏเิ สธ

ตัวอยา งการปฏิเสธเม่ือถกู ชวนไปเสพยาเสพตดิ
แดงเปน ผชู วน และแอมเปน ผปู ฏิเสธ

แดง : คนื น้ีมีปารต ที้ ่ีหอ ง แอม ไปใหไดน ะ มขี องดอี ยางวาใหม ๆ มาใหลอง
แอม : ของอยา งวา นั้นไมด ีตอสุขภาพ ขอไมล อง แดงคงไมว า นะ ขอบคณุ มากที่ชวน
แดง : ....................................

การหาทางออกเมื่อถูกเซาซี้ หรือสบประมาท บางครั้งผูชวนพูดเซาซี้เพื่อชวนให
สาํ เรจ็ ผูถ ูกชวนไมควรหวน่ั ไหวกบั คําพดู เพราะจะทาํ ใหข าดสมาธิในการหาทางออก ควรยืนยันการ
ปฏิเสธดว ยทาทมี ่นั คง และหาทางออกโดยวธิ ีตอ ไปนี้

ปฏเิ สธซ้าํ โดยไมต อ งใชขอ อา ง พรอมท้ังบอกลา แลว เดนิ จากไปทันที
การตอ รอง โดยการชวนไปทํากจิ กรรมอืน่ ท่ีดกี วา
การผดั ผอน โดยการยดื ระยะเวลาออกไปเพอ่ื ใหผูชวนเปลยี่ นความตัง้ ใจ เชน

183

ขั้นตอน ตัวอยา งคาํ พดู

1. อางความรูสกึ ประกอบเหตผุ ล “ฉนั ไมชอบ มนั ไมดตี อสขุ ภาพ”
2. ขอปฏิเสธ “ขอไมไปนะเพื่อน”
3. การขอความเห็นชอบ “เธอคงเขาใจนะ”
4. ถูกเซา ซ้ี หรือถกู สบประมาท “ไมล องดีกวา เราขอกลบั กอนนะ”
“ฉันคิดวา เรากลบั บานกันเลยดกี วา ”
4.1 การปฏิเสธซํา้ “แดงคิดวา เราควรรอไปอีกสักระยะหนึ่ง เมือ่ เราทงั้ สอง
4.2 การตอรอง พรอ มท่จี ะรับผดิ ชอบครอบครวั คอยคิดเรือ่ งน”้ี
4.3 การผดั ผอ น

สถานการณท่ีชวนไปเท่ยี วซอง
ชัยเปนผชู วน ยุทธเปน ผูปฏิเสธ
ชัย : วันนกี้ นิ ขาวเย็นแลว ไปเทยี่ วอยา งวากนั นะ
ยทุ ธ : เราไมช อบสถานทอี่ ยา งน้ัน กลัวติดโรคดว ย ขอไมไ ปนะเพอื่ น
ชยั : เราไปหลายหนไมเหน็ เปนอะไรเลย ชกั สงสัยแลว วา นายเปนผชู าย
เตม็ รอยหรือเปลา ชวนท่ีไรไมไ ปสกั ที
ยทุ ธ : ไมละ เอาไวค ราวหลงั พวกนายไปเท่ยี วทีอ่ น่ื เราจะไปดว ย
คร้ังน้ีขอตวั กอนนะ ขอบใจมากทช่ี วน

ในเรอ่ื งความรัก ผูหญิงเมื่อมีความรัก จะมีความรูสึกชอบ หรือรัก ตองการความรัก
ความอบอุน ความใกลชิดผูกพันทางใจ ไมคาดคิดวาฝายชายตองการอะไรจากความใกลชิด จึงขาด
ความระมดั ระวงั อาจเผลอตัวเผลอใจไปตามที่ฝายชายตองการ เปนคานิยมของชาย โดยถือเปนเร่ือง
ปกติท่ีจะมีเพศสัมพันธกับหญิงบริการ หรือคนรักเพื่อปลดเปลื้องความใคร เพราะเมื่อผูชายรัก หรือ
ชอบผูหญิงมักจะตองการผกู พันทางกาย คือ ความรัก ความใคร เมื่อผูชายตองการผูกพันทางกายก็จะ
คดิ หาวธิ กี ารตาง ๆ เพอ่ื ทาํ ใหเกิดพฤติกรรมที่จะนาํ ไปสูส ิ่งทต่ี นตองการ โดยคิดวาฝายหญิงก็ตองการ
เชนกนั

การมีเพศสัมพันธครั้งแรก ฝายหญิงไมไดมีความสุขทางเพศอยางที่ฝายชายเขาใจ
ตรงกนั ขามจะมีความวิตกกังวล กลัวต้ังครรภ กลัวแฟนจะทอดทิ้ง หรือดูถูก กลัวเพื่อนรู กลัวพอแม
เสยี ใจ แตฝ ายชายจะมคี วามสขุ ทางเพศ และภูมิใจท่ีไดเปนเจาของ การมีเพศสัมพันธในคร้ังตอ ๆ มา
ฝายหญงิ มกั จะยนิ ยอมเพราะความรกั ความผูกพัน ความกังวล กลัวถูกทอดท้ิงหากไมยอม แตฝายชาย

184

ถือเปน เรือ่ งปกติ เปนการหาความสุขรวมกัน ปญหาที่ตามมาคือ การตั้งครรภ หรือโรคตาง ๆ ฉะน้ัน
การคบเพอื่ นตา งเพศ ผูหญิงควรปฏิบตั ิตนอยา งไรบา ง เชน

- ไมควรอยดู ว ยกนั ตามลาํ พังสองตอ สองในท่ลี บั ตา เพราะความใกลช ิดสามารถไปสู
การมเี พศสมั พนั ธไ ด

- ผูหญงิ ควรแตงกายมดิ ชดิ ไมแตงกายลอแหลม
- ผูหญิงควรระมัดระวังตัวขณะอยูใกลชิดกับเพ่ือนตางเพศ ควรรักนวลสงวนตัว
ระวังการสัมผสั หรอื ถูกเนอ้ื ตองตัว
สําหรับผูช าย เมอื่ มีโอกาสอยกู ันตามลําพังสองตอสองควรยับยั้งชั่งใจ และไมคิดหา
วิธตี า ง ๆ ท่จี ะทาํ ใหเ กดิ พฤตกิ รรมท่จี ะนําไปสสู ง่ิ ทต่ี นตองการ โดยคาดคิดเอาเองวา ฝา ยหญิงกต็ อ งการ
เชนเดียวกับตน

ตัวอยา งการส่ือสารดวยการปฏเิ สธ
ปจจุบนั ปญหาการมเี พศสมั พันธกอ นวัยอนั ควร ลกุ ลาม รุนแรงถึงข้ันเปนปญหาการ

ตง้ั ครรภท ่ีไมพึงประสงคเ พิ่มสูงขึ้นในกลุมวัยรนุ วยั เรยี น ทําใหต องออกกลางคัน หรือแอบไปทําแทง
จนทาํ ใหเกิดอันตรายถงึ แกช วี ติ เปนจํานวนมาก

ดังน้นั เรือ่ งที่พอ แมไ มอ ยากใหเ กดิ เร่ืองหนึ่งคือ ไมอยากใหลูกมี “เซ็กส” กอนวัยอัน
ควร อยากใหเรยี นหนงั สอื จบ ใหเปน ผูใหญทรี่ ับผิดชอบตวั เองไดม ากกวา น้ี

แตข าวเดก็ วัยรนุ ตอนนก้ี ็ออกมามากเหลอื เกนิ วาเหน็ เรื่อง “เซ็กส” เปนเร่ืองธรรมดา
ไมเ ห็นจะเสยี หายตรงไหน บางคนเปลย่ี นคูเปนวา เลน บางคูก็เชาหอพักอยดู วยกัน เชาไปเรียนดวยกัน
เยน็ กลับมานอนดวยกัน พอแมอ ยูต า งจงั หวดั ไมร ูเรอื่ ง คิดวาลูกคงตงั้ ใจเรยี นอยางเดียว ท่ไี หนได

เร่ืองน้ีพอแมจะทําเฉยไมไดแมลูกเราจะเปนเดก็ เรยี บรอ ย ยังไมมีทีทาวาจะสนใจเพศ
ตรงขา มก็ตาม พอ แมก ็ตองชวนคุยเม่ือมีโอกาส หากพอแมลูกดูโทรทัศนดวยกัน จะมีฉากอยางวาใน
ละครไทยอยูหลายเร่ือง เชน พระเอกเสียทีนางราย หรือนางเอกใจออนยอมพระเอกกอน แตสุดทาย
ไมไดแ ตงงานกนั พอแมก็ถือโอกาสน้ีชวนลูกคุยเสียเลย ไมวาจะเปนลูกชาย หรือลูกสาวก็ตองระวัง
เรื่องนดี้ วยกันทงั้ น้ัน ซึ่งอาจแนะนาํ ลูกดงั นี้

อยาอยูก ันตามลําพงั สองตอ สองในที่ลับตาคน แมอีกฝายจะชวนก็ไมตองตามใจ ให
รจู ักปฏเิ สธ

 ถา ดูแลว อกี ฝายจะผกู มดั โดยอางวา “รกั จริงหวังแตง ” หรอื อะไรกแ็ ลว แต
ท่ีจะสรรหามาพราํ่ พรรณนา ตอ งใหลูกเราพูดกับอีกฝา ยแบบเปด ใจ เปด เผย ดวยทาทีที่มั่นใจวา “ไม
ตองการใหมอี ะไรกนั เกนิ เลยกวา น้ี เพราะเรายังเด็กยังไมสมควร” หรือ “ยังไมพรอม” แมวาเราจะรัก
เขามากก็ควรคบกันแคเปน แฟนกอน เวลายงั มีอกี ยาวนาน ใครจะรูวาคนนใ้ี ชคูแทห รือไม

 ตองรจู ักหลีกเลยี่ ง หรอื กลา ปฏิเสธที่จะมีเพศสัมพันธ ถาอกี ฝา ยยังต้ือ

185

ตอ งใหร จู ักเอาตวั รอดใหได
 ใหเ บ่ยี งเบนความสนใจของอีกฝา ยไปยงั เรือ่ งอื่น เชน อาจชวนไปเลน กีฬา

หรอื ชวนคุยในเรอื่ งที่คดิ วา อีกฝา ยจะหยดุ ฟง
 ถา อกี ฝายยงั ไมย อมฟง เหตผุ ล โดยอาจจะมีขอ อางวา “ถา ไมยอม แสดงวา

ไมรกั จรงิ ” หากถงึ ข้ันนลี้ ะกอ ตองใหลกู คิดใหมแ ลววา ควรจะคบกนั เปนแฟนตอไปอกี ไหม เพราะอีก
ฝายคงตอ งพยายามหาโอกาสอกี เรือ่ ย ๆ แลว แนใ จไหมวา ลกู จะไมใจออ นเขาสกั วัน

 ท่ีสาํ คัญ พอ แมตองชวนลกู คยุ ถงึ ผลเสียของการมีเพศสมั พนั ธก อนวยั
อันควรดว ย

2.2 ทกั ษะการสรางสัมพันธภาพระหวา งบคุ คล
คงไดยินคาํ พูดนี้บอย ๆ วา “คนเราอยูคนเดียวในโลกไมได” เราตองพ่ึงพาอาศัยกัน

ซ่งึ จะตอ งมีสมั พันธภาพทด่ี ตี อ กนั
การที่จะสรา งสัมพันธภาพใหเ กิดข้นึ ระหวางกนั นัน้ เปน เรือ่ งไมยาก แรกเริม่ คอื

1. มกี ารติดตอ พบปะกนั
เราจะตอ งมีการติดตอพบปะพูดคุยกบั คนทตี่ องการมีสัมพันธภาพกับเขา ใหเวลากับ

เขา ทาํ งานรวมกนั ทํากิจกรรมรวมกนั เลน กีฬาดว ยกนั และในที่สดุ เราก็มโี อกาสสรางมิตรภาพท่ีดีตอ
กนั
2. มีความสนใจและประสบการณร ว มกัน

ประสบการณเปนส่ิงท่ีนําคนสองคนใหมารวมมือกัน การชวยเหลือกันในระหวาง
การเลาเรียน หรือการทํางานดวยกัน มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน การรวมประสบการณ และ
แลกเปล่ียนประสบการณระหวา งกนั เปนการสรา งมติ รภาพที่ดใี หเกิดข้นึ ได
3. มีทศั นคตแิ ละความเชอื่ ที่คลา ยคลงึ กัน

ชวงวัยรุนเปนชวงท่ีความคิด ทัศนคติ และความรูสึกอาจมีการเปล่ียนแปลงอยาง
รวดเรว็ ถา คนไหนมคี วามคิดเหน็ คลา ยคลงึ กับเรา เราจะรูส ึกพอใจ แตถาคนไหนมคี วามคดิ แตกตางกบั
เรา เราจะรสู กึ ไมพ อใจ แตในความเปนจริงตองเขา ใจวา คนสวนใหญไมไดมีความเห็นเหมือนกันทุก
เรอ่ื ง แมในคนทีเ่ ปน มติ รตอ กนั เพยี งใดก็ตาม

จะสรา งสัมพันธภาพท่ีดีไดอ ยางไร
การเรียนรูวิธกี ารสรางสัมพนั ธภาพท่ีดีเปน สาํ คัญ และทุกคนควรจะคนหาเพ่ือใหเกิด

มิตรภาพ ดงั น้ี
1. ความใสใจ เอาใจใสซ่ึงกันและกัน ดูแลกันทั้งยามสขุ ยามทกุ ข

186

2. ความไวเน้อื เช่อื ใจ การอยกู บั ผูอ่นื อยา งมคี วามสขุ เราตองไววางใจในตวั เขา
และตองใหเขาไวว างใจในตวั เราดว ย

3. การยอมรับ เราจะตอ งรูจกั ใหการยอมรับ และนับถอื คนอน่ื รูจ กั แสดงความ
ชืน่ ชม และยนิ ดกี บั ความสาํ เรจ็ ของผอู ื่น

4. การมสี วนรวม และการแบงปน สัมพนั ธภาพทด่ี ีคอื การไดมีสวนรวมแบงปนใน
ประสบการณ รจู กั รับฟงความคิด และยอมรับความจรงิ จากคนสว นมาก

5. การมีความยืดหยนุ คนท่มี ีความยืดหยุนจะเปนคนท่ีสามารถมีความสุข แมจะอยู
กบั คนท่ีมีความเหน็ ตา งกนั

6. ความเห็นอกเห็นใจผูอ่ืน การแสดงความเห็นอกเห็นใจ จะทําไดงายถามี
สมั พนั ธภาพทด่ี ีตอกัน เพราะจะไมเ กิดความเขาใจผิดตอกัน

จากการท่คี นเราตอ งมีสัมพนั ธภาพทด่ี ีกบั ผูอนื่ น้ัน ก็เพื่อที่จะสามารถอยูรวมกับผูอื่น
ได โดยท่ีไดรับการชวยเหลือจากผูอ่ืนตามสมควร ไมวาจะเปนเพื่อน พอแม พ่ีนอง หรือคน อื่น ๆ
โดยเฉพาะการมสี ัมพนั ธภาพที่ดรี ะหวางพอ แมก บั ลูกวยั รนุ เปนสิ่งทีส่ าํ คัญมาก เพอ่ื ลูกจะไดเ ติบโตเปน
ผใู หญทดี่ ี และประสบความสําเรจ็ ในชีวติ ตอไป

การสรางสมั พันธภาพดว ยการให
 การฝกใหเ ปน ผูเสียสละ หรอื เปน ผใู หนน้ั พอแมจะตอ งสอนลูก หรือเปน

ตวั อยา งในการเปน ผูใ หเสมอ
 การใหโ ดยทัว่ ไปนนั้ เรามักจะนึกถึงแตการใหส่งิ ของ หรือเงนิ ทอง แตค วาม

จริงยงั มีส่ิงสําคญั ท่ที กุ คนควรใหแกก นั ไดแ ก การใหร อยย้ิม ใหค วามจรงิ ใจ ใหก ารชวยเหลือ ให
คําชมเชย ใหความเมตตา ใหอภยั ฯลฯ ซึ่งการใหส่งิ เหลา นไ้ี มต องเสียเงินทองซอ้ื หา แตตอ งเปนการให
ที่ออกมาจากใจจรงิ จะเปน การสรา งมติ รภาพท่ดี ตี อ กนั

 ใหน กึ เสมอวา จงเปนผูใหเถดิ ใหผ อู ่ืนใหม ากข้นึ รบั ใหน อ ยลง จึงจะเปน การ
ทาํ ใหครอบครัวเรามคี วามสขุ และสงั คมจะอบอุน เพอ่ื ลูกไดซึมซับ และนําไปใชในการเปนผูใหเสมอ
กบั เพื่อน ๆ พี่ นอง และคนอนื่ ๆ ท่อี ยรู วมกัน

การฝกใหเ ปน คนนา รกั นา คบหา
เคยไดย ินอาจารยท านหนงึ่ พูดในรายการโทรทศั นน านมาแลววา “ลูกเราไมวาจะเปน

อยา งไร มันก็ดนู ารักไปหมดในสายตาพอแม แตเราจะตอ งสอนลกู เราใหเปน คนนา รกั เพ่ือที่คนอ่ืนเขา
จะไดรกั ลกู เราดว ย”

187

 พวกเราทเ่ี ปน ผูใ หญค งเคยเหน็ เด็กประเภทน้ีบา ง เชน
- เห็นผใู หญแ ลวไมไ หว ทําเปนมองไมเหน็
- พูดจาไมเพราะ หนา บึ้งตึง
- ไมรจู กั กาลเทศะ
- เอาแตใจตัวเอง
- ทําทาอวดดี
เดก็ ท่เี ปน อยา งนี้ ผใู หญก จ็ ะมองวา ไมน า รกั เลย บางทีทําใหอดคิดไมไ ดว า

พอ แมค งไมมเี วลาสั่งสอน
 สวนในกลุมของเด็กวัยรุนดวยกัน ไดลองถามวาเพื่อนแบบไหนที่ไมอยากคบ

ดว ย ก็ไดคําตอบวา
- ประเภททชี่ อบดถู ูกเพ่ือน
- เอาเปรยี บไมชว ยงานกลมุ
- ข้อี ิจฉาเพือ่ น เหน็ เพอ่ื นมดี ไี มไ ด
- ชอบพดู ใหคนอืน่ หนา แตก หมอไมร บั เยบ็
- คุยโมโ ออ วดตนเอง และวา คนอ่นื
- ชอบแกลงเพอ่ื น
ถาเปนอยางนเี้ พื่อนก็ไมอยากคบหาสมาคม และไมอ ยากใหเ ขา รวมกลมุ

เพราะเขา ท่ไี หนก็วงแตกกระเจิงทุกที จนเพ่อื น ๆ เออื มระอา
 คนเปน พอแมค งเศรา ใจมาก ถาลูกเรากลายเปนคนนา รงั เกียจที่ไมม ใี คร

อยากคบ ดังน้นั พอ แมตอ งพยายามพดู คุยยกตัวอยางคนทีท่ ําตัวนารัก และคนที่ทําตัวไมนารักให ลูก
เห็น เพ่ือเปรียบเทียบ และเอาเปนตัวอยาง ซ่ึงลักษณะของคนนารักน้ัน พระเทพวิสุทธิกวี แหง วัด
โสมนสั วิหาร กรุงเทพมหานคร ไดกลาววา คนทนี่ า รักยอ มมคี ณุ สมบตั ิ 9 ประการ คอื

1. ไมเ ปน คนอวดดี
2. ไมพ ดู มากจนเขาเบอื่
3. เปนคนออ นนอ มถอมตน
4. รูจ ักผอ นส้นั ผอนยาว
5. พูดจาออ นหวาน
6. เปนคนเสยี สละ ไมเ อาเปรียบผูอ น่ื
7. เปนคนกตัญูกตเวที
8. เปนคนไมมีนสิ ัยรษิ ยา เสยี ดสีผูอ ่นื
9. เปนคนมีนิสัยสขุ ุมรอบคอบ ไมยกตนขมทาน

188

“พอ แมท ห่ี วังใหลกู เปนทร่ี ักของผใู หญ และเพื่อนฝงู ตองพยายามเพาะนสิ ัย
ดังกลา วใหก บั ลูก กจ็ ะทําใหการอยูรวมกับผูอ่ืนในสังคมเกิดเปนสัมพันธภาพท่ีดีระหวางกันและกัน
ทุกคนกจ็ ะมแี ตความสขุ ”

2.3 ทกั ษะการเขาใจผูอืน่
การที่บุคคลจะอยูในครอบครัว อยูในสังคมอยางมีความสุข จําเปนตองรูจักตนเอง

และรจู ักผูทต่ี นเกีย่ วขอ งสัมพันธด ว ย ดงั ภาษิตจีนที่วา “รูเ ขา รูเรา รบรอ ยครงั้ ชนะรอ ยครง้ั ”
ดงั นนั้ การทเี่ ราจะทําความรูจักผูอ่นื ซงึ่ เราจะตอ งเกย่ี วขอ งสัมพันธดวย ไมวาจะเปน

ภายในครอบครัวของเราเอง หรอื ในสถานศกึ ษา ในสถานทีท่ าํ งาน เพราะเราไมสามารถอยูคนเดียวได
ในทกุ ที ทกุ สถานการณ
หลกั ในการเขาใจผอู ืน่ มีดังนี้

1. ตอ งคาํ นงึ วาคนทกุ คนมศี กั ดศ์ิ รีความเปนมนุษยเชนเดียวกับเรา จึงควรปฏิบัติกับ
เพ่ือนมนุษยท ุกคนดว ยความเคารพในศกั ดิศ์ รขี องความเปน มนษุ ยเทา เทียมกนั ไมวาจะเปน คนจน
คนรวย คนแก เด็ก คนพิการ ฯลฯ

2. บุคคลทุกคนมีความแตกตางกัน ท้ังพื้นฐานความรู ฐานะทางเศรษฐกิจ สภาพ
ความเปน อยู ระดบั การศึกษา การปลูกฝงคณุ ธรรม คา นยิ ม ระเบยี บ วินยั ความรับผิดชอบ ฯลฯ ดังน้ัน
หากเรายอมรับความแตกตา งระหวา งบคุ คลดงั กลาว จะทําใหเ ราพยายามทาํ ความเขา ใจเขา และส่ือสาร
กบั เขาดว ยกริ ยิ าวาจาสุภาพ ซึ่งหากยังไมเขาใจเรากจ็ ําเปน ตองอดทน และอธิบายดวยภาษาท่ีเขาใจงาย
ไมแ สดงอาการดูถูกดแู คลน หรือแสดงอาการหงดุ หงดิ รําคาญ เปน ตน

3. การเอาใจเขามาใสใ จเรา บุคคลท่ัวไปมักชอบใหคนอื่นเขาใจตนเอง ยอมรับ ใน
ความตองการ ควรเปน ตัวตนของตนเอง ดงั นั้นจงึ มักมคี ําพูดตดิ ปากเสมอ เชน ฉันอยา งนัน้ ฉันอยาง
น้ี ทาํ ไมเธอไมท าํ อยา งนน้ั ทําไมเธอไมทาํ อยางนี้ ทาํ ไมเธอถึงไมเ ขาใจฉัน ฯลฯ ซ่ึงเปนการเอาใจเรา
ไปยดั เยียดใสใจเขา และมกั ไมพ ึงพอใจในทุกเรือ่ ง ทุกฝา ย ท้ังนใี้ นดา นกลบั กัน หากเราคดิ ใหม ปฏิบัติ
ใหม โดยพยายามทาํ ความเขาใจผอู ืน่ ไมวาจะเปน พอ แมเ ขา ใจลูก หรือลูกเขา ใจ พอแม เพอ่ื นเขาใจ
เพื่อน โดยการทําความเขาใจวา เขาหรือเธอมเี หตผุ ลอะไร ทาํ ไมจึงแสดงพฤติกรรมเชนน้ัน เขามีความ
ตองการอะไร เขาชอบอะไร ฯลฯ เมื่อเราพยายามเขาใจเขา และปฏิบัติใหสอดคลองกับความชอบ
ความตอ งการของเขาแลว ก็จะทําใหการอยูรวมกัน หรือการทํางานรวมกันเปนไปดวยความราบร่ืน
และแสดงความสงบสนั ติสุขในครอบครัว ชุมชน และสงั คม

4. การรับฟงผูอ่ืน การท่ีเราจะเขาใจผูอื่นไดดีหรือไม ขึ้นอยูกับวาเรารับฟงความ
คิดเหน็ ความตองการของเขามากนอ ยเพียงใด บุคคลท่ัวไปในปจจุบันไมชอบฟงคนอื่นพูด แตชอบที่
จะพดู ใหค นอนื่ ฟง และปฏบิ ัติตาม ดงั นัน้ สิง่ สาํ คญั ท่ีเปน พ้ืนฐานที่จะทําใหเราเขาใจผูอ่ืนก็คือ ทักษะ
การฟง ซงึ่ จะตอ งเปนการฟงอยา งต้งั ใจ ไมขดั จงั หวะ หรือแสดงอาการเบ่ือหนาย และควรแสดงกิริยา

189

ตอบรบั เชน สบตา ผงกศรี ษะ ทั้งน้ี การฟงอยางตั้งใจ จะทําใหเรารับทราบความคดิ ความตอ งการ หรอื
ปญหาของผูท่ีเราเกี่ยวของดวย ไมวาจะเปนในฐานะลูกกับพอแม พอแมกับลูก นายจางกับลูกจาง
หวั หนา กบั ลูกนอ ง ฯลฯ ซึง่ จะทําใหเ ราเกดิ อาการเขา ใจ และสามารถแกป ญ หาไดอ ยา งถูกตองในทส่ี ุด

กจิ กรรม 1 ใหผ เู รยี นยกตัวอยาง วธิ กี ารสือ่ สารกบั พอแม และหัวหนางาน หรอื ลูกนอ ง ดังนี้

1. การสอ่ื สารกบั พอ แม กรณขี อไปเท่ยี วคา งคืนตางจังหวดั
.................................................................................................... .................................................
.................................................................................................... .................................................
......................................................................................................................................................

2. การสอื่ สารกบั หัวหนา งาน หรือลกู นอ ง กรณขี อขน้ึ เงินเดือน หรือลดโบนัส
.................................................................................................... .................................................
.................................................................................................... .................................................
.....................................................................................................................................................

กิจกรรม 2
ถา ทานมีลูกวัยรุนท่กี ําลังมีปญหาอกหัก ถูกแฟนบอกเลกิ ทานจะมีแนวทางชวยเหลือ

ลูกอยางไร โดยใชท ักษะการสื่อสาร การสรา งสมั พันธภาพ และทักษะการเขา ใจผอู นื่
.................................................................................................... .................................................
......................................................................................................................................................
.................................................................................................... .................................................
....................................................................................................................... ..............................
.................................................................................................... .................................................
.................................................................................................... .................................................

190

บทท่ี 10
อาชีพแปรรูปสมุนไพร

สมุนไพรกบั บทบาททางเศรษฐกจิ
สมุนไพร หมายถึง พืชที่มีสรรพคุณในการรักษาโรค หรืออาการเจ็บปวยตาง ๆ การใช
สมุนไพรสาํ หรบั รกั ษาโรค หรืออาการเจ็บปว ยตา งๆ นี้ จะตองนําเอาสมนุ ไพรตง้ั แตสองชนดิ ขน้ึ ไปมา
ผสมรวมกันซง่ึ จะเรยี กวา ยา ในตํารับยา นอกจากพชื สมุนไพรแลว ยังอาจประกอบดว ยสตั วและแรธ าตุ
อีกดวย เราเรียกพืช สัตว หรือแรธาตุท่ีเปนสวนประกอบของยานี้วา เภสัชวัตถุ สมุนไพรเปนสวน
หนึง่ ในแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ กระทรวงสาธารณสุขไดดําเนิน โครงการ สมุนไพร
กบั สาธารณสขุ มูลฐาน โดยเนน การนาํ สมนุ ไพรมาใชบาํ บัดรักษาโรคใน สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ของ
รฐั มากขึน้ และ สง เสรมิ ใหป ลกู สมนุ ไพรเพ่ือใชภ ายในหมูบ านเปนการสนบั สนุนใหม กี ารใชส มุนไพร
มากยิ่งขึ้น อันเปนวิธีหน่ึงท่ีจะชวยประเทศชาติประหยัดเงินตราในการส่ังซ้ือยาสําเร็จรูปจาก
ตางประเทศไดปล ะเปนจาํ นวนมาก

การผลติ สมนุ ไพรในรปู แบบการประกอบอาชีพ
ปจจุบันมีผูพยายามศึกษาคนควาเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑสมุนไพรใหสามารถนํามาใชใน
รูปแบบท่ีสะดวกยิง่ ขน้ึ เชน นํามาบดเปนผงบรรจุแคปซูล ตอกเปนยาเม็ด เตรียมเปนครีมหรือยาขี้ผ้ึง
เพือ่ ใชทาภายนอก เปนตน ในการศึกษาวจิ ัยเพ่ือนําสมนุ ไพรมาใชเ ปน ยาแผนปจจุบันนั้น ไดมีการวิจัย
อยางกวางขวาง โดยพยายามสกัดสารสําคัญจากสมุนไพรเพื่อใหไดสารท่ีบริสุทธ์ิ ศึกษาคุณสมบัติ
ทางดานเคมี ฟสิกสของสารเพ่ือใหทราบวาเปนสารชนิดใด ตรวจสอบฤทธ์ิดานเภสัชวิทยาใน
สัตวท ดลองเพ่ือดใู หไ ดผ ลดีในการรักษาโรคหรือไมเพียงใด ศึกษาความเปนพิษและผลขางเคียง เมื่อ
พบวาสารชนิดใดใหผ ลในการรกั ษาที่ดี โดยไมมพี ิษหรือมพี ิษขา งเคียงนอยจงึ นําสารนน้ั มาเตรียมเปน
ยารปู แบบท่เี หมาะสมเพื่อทดลองใชต อไป

การแปรรปู สมุนไพรเพอื่ การจาํ หนา ย
สมุนไพรถูกนาํ มาใชส ารพัดประโยชน และถูกแปรรูปออกมาในแบบตาง ๆ เพอื่ การจาํ หนา ย
ซ่ึงสามารถนํามาใชประกอบอาชีพ ทั่งอาชีพหลัก ละอาชีพเสริมได สิ่งสําคัญที่สุดของการแปรรูป
สมนุ ไพร คอื การปรงุ สมุนไพร
การปรุงสมุนไพร หมายถึง การสกัดเอาตัวยาออกมาจากเนื้อไมยา สารที่ใชสกัดเอาตัวยา
ออกมาทน่ี ิยมใชก ัน ไดแ ก น้ําและเหลา สมนุ ไพรท่ีนํามาปรงุ ตามภมู ปิ ญ ญาด้ังเดิมมี 7 รปู แบบ คือ

191

1.การตม เปน การสกดั ตัวยาออกมาจากไมยาดวยน้ํารอน เปนวิธีที่นิยมใชมากที่สุด ใชกับ
สวนของเนื้อไมท แี่ นนและแข็ง เชน ลาํ ตนและราก ซ่ึงจะตองใชการตมจึงจะไดตัวยาที่เปนสารสําคัญ
ออกมา ขอ ดีของการตม คือ สะอาด ปลอดจากเชื้อโรค มี 3 ลักษณะ

การตมกินตางนํ้า คือการตมใหเดือดกอนแลวตมดวยไฟออน ๆอีก 10 นาที หลังจากนั้น
นาํ มากนิ แทนนา้ํ

การตมเคีย่ วคอื การตมใหเดือดออ น ๆ ใชเ วลาตม 20-30 นาที
การตม 3 เอา 1 คอื การตม จากนํ้า 3 สวน ใหเ หลือเพียง 1 สว น ใชเ วลาตม 30-45 นาที

2.การชง เปน การสกัดตัวยาสมุนไพรดว ยนํ้ารอน ใชกับสวนที่บอบบาง เชน ใบ ดอก ท่ีไม
ตอ งการโดนนา้ํ เดอื ดนาน ๆ ตวั ยากอ็ อกมาได วิธีการชง คือ ใหนํายาใสแกวเติมนํ้ารอนจัดลงไป ปด
ฝาแกว ทงิ้ ไวจนเยน็ ลักษณะนเี้ ปนการปลอยตัวยาออกมาเต็มท่ี

3. การใชน้ํามัน ตัวยาบางชนิดไมยอยละลายน้ํา แมวาจะตมเคี่ยวแลวก็ตาม สวนใหญยาที่
ละลายน้ําจะไมละลายในนํ้ามันเชนกัน จึงใชน้ํามันสกัดยาแทน แตเน่ืองจากยานํ้ามันทาแลวเหนียว
เหนอะหนะ เปอนเส้อื ผา จงึ ไมน ยิ มปรุงใชกัน

4.การดองเหลา เปน การใชก บั ตวั ยาของสมนุ ไพรทไ่ี มล ะลายน้ํา แตละลายไดดีในเหลาหรือ
แอลกอฮอล การดองเหลามักมีกล่ินแรงกวายาตม เนื่องจากเหลามีกลิ่นฉุน และหากกินบอย ๆอาจทํา
ใหตดิ ได จงึ ไมน ิยมกนิ กนั จะใชต อ เมื่อกินยาเมด็ หรอื ยาตม แลวไมไดผ ล

5.การตม ค้ันเอานํา้ เปนการนําเอาสวนของตนไมท่ีมีนํ้ามาก ๆ ออนนุม ตําแหลกงาย เชน
ใบ หัว หรือเหงา นํามาตําใหละเอียด และค้ันเอาแตนํ้าออกมา สมุนไพรที่ใชวิธีการน้ีกินมากไมได
เชนกัน เพราะน้ํายาที่ไดจะมีกลิ่นและรสชาติที่รุนแรง ตัวยาเขมขนมาก ยากท่ีจะกลืนเขาไปท่ีเดียว
ฉะนน้ั กินครงั้ ละหนึ่งถวยชากพ็ อแลว

6.การบดเปน ผง เปน การนําสมุนไพรไปอบหรือตากแหงแลวบดใหเปนผง สมุนไพรท่ีเปน
ผงละเอยี ดมากย่งิ มสี รรพคณุ ดี เพราะจะถูกดูดซึมสูลําไสงาย จึงเขาสูรางกายไดรวดเร็ว สมุนไพรผง
ชนิดใดท่กี นิ ยากก็จะใชปนเปนเม็ดท่ีเรียกวา "ยาลูกกลอน" โดยใชน้ําเช่ือมน้ําขาวหรือน้ําผ้ึง เพื่อให
ตดิ กนั เปน เมด็ สวนใหญนยิ มใชน ํ้าผึ้งเพราะสามารถเกบ็ ไวไ ดน านโดย ไมข ึ้นรา

7.การฝน เปนวิธีการที่หมอพื้นบานนิยมกันมาก วิธีการฝน คือ หาภาชนะใสน้ําสะอาด
ประมาณครงึ่ หนง่ึ แลว นําหินลบั มดี เล็ก ๆ จมุ ลงไปในหินโผลเหนือนํ้าเล็กนอย นําสมุนไพรมาฝนจน
ไดน ํา้ สขี ุนเล็กนอย กนิ ครั้งละ 1 แกว

192

อยางไรกต็ าม การแปรรปู ผลติ ภณั ฑส มนุ ไพร ควรแปรรปู ในลักษณะอาหารหรือเคร่ืองใชท่ี
ไมจัดอยใู นประเภทยารกั ษา คือไมมสี รรพคุณในการรักษาหรือปองกัน บรรเทา บําบัดโรค เนื่องจาก
ผลติ ภณั ฑประเภทยาจะตองผา นการตรวจสอบท่ีมมี าตรฐานสูงและถกู ตอง มผี ชู าํ นาญการทม่ี คี ณุ วฒุ ใิ น
การดําเนินการดวย

ลกั ษณะของผูท จี่ ะประกอบอาชพี ผลิตภณั ฑสมุนไพรในการปรุงผลิตภัณฑจากสมุนไพร ผู
ปรุงจาํ เปน ตอ งรูหลักการปรงุ ผลติ ภัณฑจากสมนุ ไพร 4 ประการคอื

1. เภสัชวัตถุ ผูปรุงตองรูจักชื่อ และลักษณะของเภสัชวัตถุท้ัง 3 จําพวก คือ พืชวัตถุ สัตว
วตั ถุ และธาตุวตั ถุ รวมทง้ั รปู สี กลิ่นและรสของเภสชั วตั ถุนั้นๆ ตัวอยางเชน กะเพราเปนไมพุมขนาด
เล็ก มี 2 ชนิด คือ กะเพราแดงและกะเพราขาว ใบมีกลิ่นหอม รสเผ็ดรอน หลักของการปรุงยาขอน้ี
จาํ เปน ตองเรียนรูจากของจริง

2. สรรพคุณเภสัช ผูปรุงตองรูจักสรรพคุณของยา ซึ่งสัมพันธกับรสของสมุนไพรเรียกวา
รสประธาน แบงออกเปน

2.1 สมนุ ไพรรสเยน็ ไดแ ก ยาที่ประกอบดวยใบไมที่รสไมเผ็ดรอนเชน เกสรดอกไม สัตว
เขา (เขาสัตว 7 ชนิด) เนาวเขย้ี ว (เข้ยี วสัตว 9 ชนิด) และของที่เผาเปนถาน ตัวอยางเชน ยามหานิล ยา
มหากาฬ เปนตน ยากลุมนใ้ี ชสําหรับรกั ษาโรคหรอื อาการผิดปกติทางเตโชธาตุ
(ธาตุไฟ)

2.2 สมุนไพรรสรอน ไดแก ยาท่ีนําเอาเบญจกูล ตรีกฎก หัสคุณ ขิง และขามาปรุง
ตัวอยางเชน ยาแผนโบราณท่ีเรียกวายาเหลืองทั้งหลาย ยากลุมน้ีใชสําหรับรักษาโรคและอาการ
ผิดปรกตทิ างวาโยธาตุ (ธาตลุ ม)

2.3 สมนุ ไพรรสสุขมุ ไดแ ก ยาที่ผสมดว ย โกฐ เทยี น กฤษณา กระลําพกั ชะลูด อบเชย
ขอนดอก และแกนจันทนเ ทศ เปน ตน ตัวอยา งเชน ยาหอมทั้งหลาย ยากลมุ นใี้ ชร กั ษาความผดิ ปรกติ
ทางโลหิต

นอกจากรสประธานของสมนุ ไพรดงั ท่ีกลาวน้ีเภสัชวัตถยุ งั มรี สตา งๆ อีก 9 รสคอื รสฝาด รส
หวาน รสเบ่ือเมา รสขม รสมนั รสหอมเย็น รสเค็ม รสเปรี้ยว และรสเผ็ดรอน ในตําราสมุนไพรแผน
โบราณบางตําราไดเ พม่ิ รสจืดอีกรสหน่งึ ดว ย

3. คณาเภสัช ผูปรุงสมุนไพรตองรูจักเครื่องสมุนไพรที่ประกอบดวยเภสัชวัตถุมากกวา 1
ชนดิ ท่ีนาํ มารวมกนั แลว เรยี กเปนช่อื เดียว ตวั อยา งเชน

ทเวคนั ธา หมายถึงเคร่อื งสมุนไพรท่ีประกอบดว ยเภสัชวตั ถุ 2 ชนิด คอื รากบนุ นาค และ
รากมะซาง


Click to View FlipBook Version