193
ตรีสุคนธ หมายถึงเครื่องสมุนไพรที่ประกอบดวยเภสัชวัตถุ 3 ชนิด คือ รากอบเชย
เทศ รากอบเชยไทย และรากพิมเสนตน
4. เภสัชกรรม ผปู รงุ สมนุ ไพรตองรูจกั การปรุงยาซง่ึ มีสิ่งทคี่ วรปฏบิ ัติคอื
4.1 พจิ ารณาตวั สมุนไพรวา ใชสว นไหนของเภสัชวตั ถุ เชน ถาเปน พชื วัตถุ จะใชสวนเปลือก
รากหรือดอก ใชสดหรือแหง ตองแปรสภาพกอนหรือไม ตัวอยางสมุนไพรที่ตองแปรสภาพกอน
ไดแก เมลด็ สลอด เพราะสมุนไพรนีม้ ฤี ทธ์แิ รงจึงตอ งแปรสภาพเพอ่ื ลดฤทธ์ิเสียกอน
4.2 ดูขนาดของตัวสมุนไพรยา วาใชอยางละเทาไร และผูปรุงสมุนไพรควรมีความรูใน
มาตราโบราณ ซ่งึ ใชสวนตา งๆ ของรางกาย หรือเมลด็ พืชทเี่ ปน ท่ีรูจักคนุ เคยมาเปนตัวเทียบขนาด เชน
คําวาองคุลี หมายถงึ ขนาดเทา 1 ขอของน้ิวกลาง กลอมหมายถึงขนาดเทากับเมล็ดมะกล่ําตาหนู และ
กลํา่ หมายถงึ ขนาดเทา กบั เมลด็ มะกลํา่ ตาชา ง เปนตน
การขออนญุ าตผลติ ภณั ฑอ าหารและยา (ขอเครือ่ งหมาย อย.)
“อาหาร” ในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 หมายถึง “วัตถุทุกชนิดท่ีคนกิน ดื่ม หรือ
นําเขาสูรางกาย แตไมรวมถึงยา วัตถุออกฤทธ์ิตอจิตประสาท หรือยาเสพติดใหโทษ นอกจากนี้
อาหารยงั รวมถึงวัตถทุ ี่ใชเ ปนสว นผสมในการผลิตอาหาร วัตถเุ จอื ปนอาหาร สี เคร่อื งปรุงแตง กล่ินรส
ดวย”
ผลติ ภณั ฑทผ่ี ลิตเพ่อื จาํ หนา ยมีจํานวนหนึง่ ที่เปน ผลติ ภัณฑท ี่คาบเก่ยี วหรอื กาํ้ กึ่งวา จะเปน ยา
หรอื อาหาร เพือ่ ปอ งกันความสับสนในเรื่องน้ี สาํ นักงานคณะกรรมการอาหารและยา จงึ กาํ หนด
แนวทางในการพจิ ารณาวา ผลิตภณั ฑใดที่จัดเปน อาหาร ตอ งมีลักษณะดังนี้
1. มีสวนประกอบเปนวัตถุท่ีมีในตําราที่รัฐมนตรีประกาศตามพระราชบัญญัติยาและโดย
สภาพของวัตถุน้นั เปนไดทั้งยาและอาหาร
2. มขี อ บง ใชเ ปน อาหาร
3. ปริมาณการใชไมถ ึงขนาดท่ใี ชในการปองกันหรอื บําบดั รักษาโรค
4. การแสดงขอ ความในฉลากและการโฆษณาอาหารที่ผสมสมนุ ไพรซ่งึ ไมจ ดั เปน ยานนั้ ตอ ง
ไมม กี ารแสดงสรรพคุณเปนยากลา วคือปองกัน บรรเทา บาํ บัด หรอื รักษาโรคตาง ๆ
การแบง กลมุ ผลติ ภัณฑอ าหาร
อาหารแบง ตามลักษณะการขออนญุ าตผลิต ออกเปน 2 กลมุ คือ
1. กลุมอาหารทีไ่ มตอ งมีเครอื่ งหมาย อย.
194
อาหารกลุมนี้ สว นใหญเ ปนอาหารท่ไี มแปรรปู หรือถา แปรรปู ก็จะใชก ระบวนการผลิตงาย ๆ
ในชุมชน ผูบรโิ ภคจะตอ งนํามาปรุงหรือผานความรอนกอนบริโภค อาหารกลุมนี้ผูผลิตที่มีสถานท่ี
ผลติ ไมเ ขา ขายโรงงาน (ใชอุปกรณหรือเครื่องจกั รตาํ่ กวา 5 แรงมา หรือคนงานนอ ยกวา
7 คน) สามารถผลิตจําหนายไดโดยไมตองมาขออนุญาตจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
หรือสํานักงานสาธารณสุขจงั หวัด แตต องแสดงฉลากอาหารท่ีถกู ตองไวด ว ย
2. กลมุ อาหารทตี่ องมีเครอ่ื งหมาย อย.
อาหารกลมุ น้เี ปน อาหารที่มีการแปรรปู เปน อาหารก่งึ สาํ เร็จรูปหรืออาหารสําเร็จรูปแลว ซ่ึง
อาจกอใหเ กดิ ความเสี่ยงตอผูบรโิ ภคในระดับตํ่า ปานกลางหรอื สงู แลวแตก รณี ไดแก อาหารท่ีตองมี
ฉลาก อาหารกําหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน หรืออาหารควบคุมเฉพาะ ดังนั้น จึงจําเปนตองขอ
อนุญาตสถานที่ผลิตอาหารและขอขึ้นทะเบียนตํารับอาหาร หรือจดทะเบียนอาหาร หรือแจง
รายละเอียดของอาหารแตละชนิดแลวแตกรณี ไดที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาหรือ
สาํ นกั งานสาธารณสุขจงั หวดั
ตัวอยางผลิตภัณฑจากสมุนไพรท่ีไมเขาขายการเปนยาไดแก สบูสมุนไพร แชมพูสระผม
สมุนไพร ผงขัดผิวสมุนไพร เกลือผสมสมุนไพรสําหรับขัดผิว เทียนหอม เครื่องดื่มจากสมุนไพร
น้ําหอมปรับอากาศจากสมุนไพร นํ้าจ้ิมนํ้าซอสปรุงรสผสมสมุนไพร ผลิตภัณฑสมุนไพรอบแหง
พรอ มรับประทาน ลกู อมสมุนไพร ชาสมุนไพรสาํ เร็จรปู พรอมชง เปน ตน
สว นตวั อยา งผลติ ภณั ฑจากสมุนไพรทเ่ี ขาขายเปนยาไดแ ก สมุนไพรลดน้ําหนัก เคร่ืองสําอาง
บาํ รงุ ผวิ แกอ าการทางผวิ หนังหรอื ทาํ ใหขาว เครือ่ งดมื่ สมุนไพรทม่ี ีสรรพคณุ รกั ษา บาํ บัดหรือบรรเทา
อาการจากโรคตา งๆ เปนตน
กิจกรรม
1. ใหผ ูเรยี นสบื คน หาสมุนไพรทีใ่ นทองถิ่นและจดไวว ามกี ี่ชนิด แตล ะชนดิ มีสรรพคณุ อะไร
จากน้นั นาํ มาแลกเปลย่ี นความรใู นกลมุ
2. ใหผ ูเรียนรวมกันอภปิ รายเรอ่ื งการแปรรปู สมุนไพรที่สบื คนจากขอ 1 วาจะสามารถแปร
รปู ทําผลิตภณั ฑอ ะไรไดบาง
3. ใหผ เู รยี นเขยี นสรุปจากการอภปิ รายในขอ 2 วา ผลิตภณั ฑสมุนไพรของผูเรียนอยูในกลุม
และชนิดอาหารอะไร และจะตองขออนุญาตการผลิตจากคณะกรรมการอาหารและยา
(อย.) หรอื ไมใ ชเ อกสารในการขออนุญาตอะไรบา ง
195
บรรณานกุ รม
นพ.กติ ติ ปรมัตถผล, นายปรีชา ไวยโภคา : รวมชดุ สาระการเรยี นรพู ื้นฐาน “สุขศกึ ษา 2”
ชวงชั้นท่ี 3 ม.2, 2550. บริษทั สาํ นักพิมพเ อมพนั ธ จาํ กดั
พญ.กุสมุ าวดี ดาํ เกลีย้ ง, ปรชี า ไวยโภคา และคณะ : รวมชุดสาระการเรยี นรูพน้ื ฐาน
“สขุ ศกึ ษา 6” ชวงชนั้ ที่ 4 ม.6, 2550. บรษิ ัท สาํ นกั พมิ พเ อมพนั ธ จาํ กัด
นพ.กติ ติ ปรมัตถผล, นายปรีชา ไวยโภคา : รวมชดุ สาระการเรยี นรูพืน้ ฐาน “สุขศกึ ษา 3”
ชว งชน้ั ท่ี 3 ม.3, 2550. บรษิ ัท สาํ นกั พิมพเ อมพันธ จาํ กดั
วิฑรู ย สมิ าโชคด,ี คูม ือความปลอดภัยสาํ หรับพนกั งานใหม. 2540. บริษทั ส.เอเชียเพรส จาํ กัด.
กรงุ เทพมหานคร.
ความรเู รือ่ งโชค : ทางแก ดูแล ปองกนั , 2543 : บริษัท รดี เดอรส ไดเจสท (ประเทศไทย) จาํ กัด.
กรงุ เทพมหานคร
196
ทป่ี รกึ ษา คณะผจู ดั ทาํ
1. นายประเสรฐิ บญุ เรอื ง เลขาธกิ าร กศน.
2. ดร.ชัยยศ อิ่มสวุ รรณ รองเลขาธิการ กศน.
3. นายวชั รินทร จาํ ป รองเลขาธกิ าร กศน.
4. ดร.ทองอยู แกว ไทรฮะ ทีป่ รกึ ษาดานการพฒั นาหลักสูตร กศน.
5. นางรักขณา ตัณฑวฑุ โฒ ผอู ํานวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
ผูเขียนและเรียบเรียง
1. นายววิ ฒั นไชย จันทนส คุ นธ กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
2. นายศุภโชค ศรรี ตั นศิลป กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
3. นางสาวนวลพรรณ ศาสตรเ วช หนว ยศกึ ษานเิ ทศก
4. นางสุปรารถนา ยุกหะนันทน โรงเรยี นบดนิ ทรเดชา ( สงิ ห สงิ หเสนยี )
5. นางกนกพรรณ สุวรรณพทิ กั ษ กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
6. นางสาวเยาวรตั น คําตรง กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
ผูบ รรณาธิการ และพัฒนาปรบั ปรงุ
1. นางสาวนวลพรรณ ศาสตรเ วช หนว ยศึกษานิเทศก
2. นางสุปรารถนา ยุกหะนนั ทน โรงเรยี นบดนิ ทรเดชา ( สิงห สิงหเสนีย )
3. นางกนกพรรณ สุวรรณพิทกั ษ กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
4. นางสาวเยาวรัตน คําตรง กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
5. นางสาวสุรีพร เจริญนชิ ขาราชการบาํ นาญ
6. นางธญั ญวดี เหลาพาณิชย ขาราชการบํานาญ
7. นางเอื้อจิตร สมจิตตชอบ ขาราชการบาํ นาญ
8. นางสาวชนติ า จิตตธ รรม ขาราชการบํานาญ
9. นางสาวอนงค เชอื้ นนท สาํ นักงาน กศน เขตบางเชน
คณะทํางาน
1. นายสุรพงษ มั่นมะโน กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
2. นายศภุ โชค ศรีรัตนศลิ ป กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
3. นางสาววรรณพร ปทมานนท กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
4. นางสาวศรญิ ญา กลุ ประดษิ ฐ กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
5. นางสาวเพชรนิ ทร เหลอื งจติ วัฒนา กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
197
ผพู ิมพตนฉบบั คะเนสม กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
1. นางสาวปยวดี เหลอื งจติ วฒั นา กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
2. นางสาวเพชรินทร กววี งษพ พิ ฒั น กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
3. นางสาวกรวรรณ ธรรมธษิ า กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
4. นางสาวชาลินี บา นชี กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
5. นางสาวอลิศรา ศรรี ัตนศลิ ป กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
ผูออกแบบปก
นายศุภโชค
198
คณะที่ปรึกษา ผูพฒั นาและปรับปรงุ คร้งั ท่ี 2
นายประเสรฐิ
นายชยั ยศ บุญเรอื ง เลขาธิการ กศน.
นายวชั รนิ ทร อม่ิ สวุ รรณ รองเลขาธิการ กศน.
นางวทั นี จาํ ป รองเลขาธกิ าร กศน.
นางชุลพี ร จันทรโอกุล ผูเช่ียวชาญเฉพาะดานพฒั นาสื่อการเรียนการสอน
นางอญั ชลี ผาตนิ ินนาท ผูเ ชย่ี วชาญเฉพาะดา นการเผยแพรทางการศกึ ษา
นางศทุ ธินี ธรรมวธิ กี ุล หวั หนาหนว ยศกึ ษานเิ ทศก
งามเขตต ผูอํานวยการศกึ ษานอกโรงเรยี น
ผูพฒั นาและปรบั ปรงุ ครง้ั ที่ 2
นายสุรพงษ มน่ั มะโน กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
นายศภุ โชค ศรรี ตั นศิลป กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
นายกติ ตพิ งศ จนั ทวงศ กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
นางสาวผณินทร แซองึ้ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
นางสาวเพชรินทร เหลอื งจิตวัฒนา กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
199
คณะผูปรบั ปรุงขอมูลเกย่ี วกบั สถาบันพระมหากษัตรยิ ป พ.ศ. 2560
ท่ปี รึกษา จาํ จด เลขาธกิ าร กศน.
หอมดี ผตู รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ
1. นายสรุ พงษ สุขสุเดช ปฏิบตั หิ นาทรี่ องเลขาธกิ าร กศน.
2. นายประเสรฐิ ผูอาํ นวยการกลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบ
หวานนุรกั ษ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย
3. นางตรนี ชุ กศน.เขตพญาไท
ผูปรับปรุงขอ มูล
นางสาวขจี
คณะทํางาน
1. นายสุรพงษ มั่นมะโน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
2. นายศุภโชค ศรีรัตนศลิ ป กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
3. นางสาวเบญ็ จวรรณ อําไพศรี กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
4. นางเยาวรตั น ปน มณวี งศ กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
5. นางสาวสลุ าง เพช็ รสวาง กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
6. นางสาวทิพวรรณ วงคเรือน กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวฒั น กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
8. นางสาวชมพนู ท สงั ขพชิ ยั กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั