หนงั สือเรียนสาระการประกอบอาชีพ
รายวชิ า ทกั ษะการขยายอาชีพ
(อช31002)
ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551
สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ
ห้ามจาหน่าย
หนงั สือเรียนเลม่ น้ีจดั พิมพด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพอ่ื การศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน
กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวชิ าการลาดบั ท่ี 29/2555
หนงั สือเรียนสาระการประกอบอาชีพ
รายวชิ า ทกั ษะการขยายอาชีพ (อช31002)
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560
ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวชิ าการลาดบั ที่ 29/2555
คํานํา
กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 เมอ่ื วันท่ี 18 กันยายน พ.ศ. 2551 แทนหลกั เกณฑและวธิ ีการจดั การศึกษานอกโรงเรียน
ตามหลกั สตู รการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ซ่ึงเปนหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นตามหลักปรัชญาและ
ความเช่ือพื้นฐานในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนที่มีกลุมเปาหมายเปนผูใหญมีการเรียนรูและสั่งสม
ความรู และประสบการณอ ยางตอเน่ือง
ในปงบประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคลื่อน
นโยบายทางการศึกษาเพ่ือเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแขงขันใหประชาชนไดมีอาชีพ ที่
สามารถสรางรายไดท่ีมง่ั คัง่ และมน่ั คง เปนบุคลากรที่มีวินัย เปยมไปดวยคุณธรรมและจริยธรรม และมี
จิตสํานึกรับผิดชอบตอตนเองและผูอ่ืน สํานักงาน กศน. จึงไดพิจารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย
มาตรฐาน ผลการเรียนรทู ี่คาดหวงั และเนื้อหาสาระ ท้ัง 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสูตรการศึกษา
นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ใหมีความสอดคลองตอบสนองนโยบาย
กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งสงผลใหตองปรับปรุงหนังสือเรียน โดยการเพ่ิมและสอดแทรกเนื้อหาสาระ
เกย่ี วกับอาชพี คณุ ธรรม จริยธรรมและการเตรยี มพรอม เพือ่ เขาสปู ระชาคมอาเซียน ในรายวิชาที่มีความ
เก่ียวของสัมพันธกัน แตยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการพัฒนาหนังสือท่ีใหผูเรียนศึกษาคนควา
ความรูดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม ทําแบบฝกหัด เพ่ือทดสอบความรูความเขาใจ มีการอภิปราย
แลกเปลย่ี นเรยี นรกู บั กลุม หรอื ศกึ ษาเพม่ิ เตมิ จากภูมิปญญาทอ งถน่ิ แหลงการเรียนรแู ละสื่ออ่ืน
การปรับปรุงหนังสือเรียนในคร้ังนี้ ไดรับความรวมมืออยางดีย่ิงจากผูทรงคุณวุฒิในแตละ
สาขาวชิ า และผูเก่ยี วของในการจัดการเรียนการสอนท่ีศึกษาคนควา รวบรวมขอมูลองคความรูจากส่ือ
ตาง ๆ มาเรยี บเรียงเนอ้ื หาใหค รบถว นสอดคลองกบั มาตรฐาน ผลการเรยี นรทู คี่ าดหวงั ตัวช้ีวัดและกรอบ
เนื้อหาสาระของรายวิชา สํานกั งาน กศน. ขอขอบคุณผมู สี วนเก่ียวขอ งทกุ ทา นไว ณ โอกาสนี้ และหวงั วา
หนงั สอื เรยี นชดุ น้ีจะเปน ประโยชนแ กผ เู รยี น ครู ผูสอน และผูเกี่ยวของในทุกระดับ หากมีขอเสนอแนะ
ประการใด สาํ นักงาน กศน. ขอนอ มรบั ดวยความขอบคณุ ยงิ่
สารบญั หนา
คาํ นํา
คาํ แนะนาํ การใชหนงั สือเรยี น
โครงสรางรายวิชาทกั ษะการขยายอาชีพ
บทท่ี 1 ทกั ษะในการขยายอาชพี
1
เร่อื งที่ 1 ความจําเปน ในการฝก ทักษะอาชพี 2
เรอ่ื งที่ 2 ทกั ษะการใชน วัตกรรมและเทคโนโลยเี พือ่ การขยายอาชพี 15
บทท่ี 2 ตรวจสอบระบบความพรอ มการสรางอาชพี ใหม คี วามมั่นคง
24
เรอ่ื งที่ 1 การตรวจสอบระบบความพรอ มการสรางอาชพี ใหมน่ั คง 25
บทที่ 3 การพฒั นาตนเองเพื่อการขยายอาชพี
43
เรือ่ งที่ 1 การวิเคราะหท ําความเขาใจและรูจกั ตวั ตนทแี่ ทจ รงิ 44
เรื่องท่ี 2 การพฒั นาทกั ษะการขยายอาชีพใหเปน ลกั ษณะนสิ ยั 48
บทที่ 4 ความหมาย ความสาํ คญั ของการขยายอาชีพ
53
เรอ่ื งที่ 1 ความหมายของการจดั การขยายอาชพี 54
ตามแนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
เรอ่ื งท่ี 2 ความสําคญั ของการจัดการขยายอาชีพ เพอ่ื ความม่ันคง 58
ตามแนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
บทที่ 5 ความรเู บอ้ื งตนเกีย่ วกับการบรหิ ารจัดการในการขยายอาชพี
บทท่ี 6 การจัดทาํ และพฒั นาระบบการขยายอาชีพ 65
ตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 87
เร่อื งท่ี 1 องคป ระกอบของระบบขยายอาชพี 88
ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
เร่ืองที่ 2 การจัดทําแผนธรุ กิจ 95
บทที่ 7 การขบั เคลอื่ นธรุ กจิ เพือ่ การขยายอาชพี
130
เรอื่ งท่ี 1 การควบคมุ ใหการขยายอาชพี เปนไปตามแผนกลยทุ ธ 131
เร่อื งที่ 2 การตรวจสอบใหก ารปฏิบัติการขยายอาชพี เกดิ ผลตามแผนปฏิบตั กิ าร 137
บทท่ี 8 โครงการขยายอาชพี
142
เรอ่ื งท่ี 1 การจัดทาํ โครงการขยายอาชีพเพ่ือนาํ เสนอแหลงทุน 143
คาํ แนะนําการใชห นังสอื เรยี น
หนงั สือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชาทกั ษะการขยายอาชีพ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
เปน แบบเรยี นท่ีจัดทาํ ข้นึ สําหรบั ผูเ รียนทเ่ี ปน นักศึกษานอกระบบ
ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชาทักษะการขยายอาชีพ ผูเรียนควร
ปฏิบตั ิดังนี้
1. ศกึ ษาโครงสรา งรายวชิ าใหเขาใจในหัวขอและสาระสําคัญ มาตรฐานการเรียนรูระดับ และ
ผลการเรียนรทู ่ีคาดหวงั และขอบขายเนอ้ื หาของรายวิชานน้ั ๆ โดยละเอียด
2. ศกึ ษารายละเอยี ดเน้อื หาของแตล ะบทอยา งละเอียด และทํากิจกรรมตามที่กําหนด ถาผูเรียน
ไมเ ขา ใจควรกลับไปศึกษาและทําความเขาใจในเนื้อหานั้นใหมใหเขาใจ กอ นท่จี ะศกึ ษาเร่อื งตอ ๆ ไป
3. ครูควรทบทวนสาระสําคญั ของรายวิชาชอ งทางการขยายอาชีพ (อช31001) ใหผูเรียนสามารถ
เชื่อมโยงระหวางรายวชิ าได ทาํ ใหเ กดิ ความเขาใจตอเนือ่ งกบั รายวิชาทักษะการขยายอาชีพ
4. หนังสือเรียนเลมนี้เนนการจัดการเรียนรูในลักษณะกระบวนการสวนใหญ จะยกตัวอยาง
อาชพี เกษตรกรรมแตอาชีพอืน่ ๆ ก็สามารถนํากระบวนการไปใชไ ด
5. หนังสือเรยี นเลมน้ีมี 8 บท คือ
บทที่ 1 ทกั ษะในการขยายอาชีพ
บทที่ 2 ตรวจสอบระบบความพรอ มการสรางอาชพี ใหม ีความมน่ั คง
บทที่ 3 การพฒั นาตนเองเพ่อื การขยายอาชีพ
บทที่ 4 ความหมาย ความสาํ คญั ของการขยายอาชพี
บทท่ี 5 ความรูเบ้ืองตน เกย่ี วกับการบริหารจดั การในการขยายอาชพี
บทที่ 6 การจดั ทําและพฒั นาระบบการขยายอาชีพ
ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
บทท่ี 7 การขับเคล่อื นธุรกิจเพ่อื การขยายอาชีพ
บทที่ 8 โครงการขยายอาชีพ
โครงสรางรายวชิ าทกั ษะการขยายอาชพี (อช31002)
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
มาตรฐานการเรียนรูระดับและผลการเรียนรทู ่ีคาดหวัง
มาตรฐานการเรียนรูระดบั
1. มคี วามรู ความเขาใจ ทักษะในการขยายอาชีพ เพื่อสรางความม่ันคงบนพ้ืนฐานความรูใน
กระบวนการผลิต กระบวนการตลาด ท่ีใชนวัตกรรม เทคโนโลยีที่เหมาะสม มีความ
หลากหลายทางชีวภาพ พฒั นาตอ ยอดและประยกุ ตใชภ มู ิปญญา
2. มีความรู ความเขาใจ และสามารถจัดทําแผนงานและโครงการธุรกิจเพ่ือขยายอาชีพเขาสู
ตลาดการแขง ขัน ตามแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเพอ่ื สคู วามม่นั คง
ผลการเรยี นรูท่ีคาดหวัง
1. อธิบายทกั ษะทีเ่ กยี่ วขอ งในกระบวนการผลติ และการตลาดทใ่ี ชนวตั กรรม เทคโนโลยีในการ
ขยายอาชพี ท่ีตดั สนิ ใจเลอื ก
2. ตรวจสอบระบบความพรอมในการขยายอาชพี ใหม คี วามมัน่ คง
3. ปฏิบัตกิ ารวเิ คราะหต นเองและพัฒนาทกั ษะการขยายอาชีพใหเ ปน ลกั ษณะนสิ ยั
4. อธบิ ายความหมาย ความสําคัญของการจัดการอาชีพ เพ่ือการขยายอาชีพได
5. ดําเนินการจัดทําและหรอื ปรับปรุงแผนธุรกิจดานการจัดการ การผลิตหรือ การบริการและ
ดานการจดั การ การตลาด ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงได
6. ตรวจสอบระบบธรุ กจิ เพ่ือการขยายอาชีพได
7. ปฏิบัตกิ ารจัดทาํ แผนและโครงการขยายอาชพี ได
ขอบขายเน้อื หา
บทที่ 1 ทักษะในการขยายอาชีพ
บทท่ี 2 ตรวจสอบระบบความพรอ มการสรา งอาชพี ใหม คี วามมน่ั คง
บทที่ 3 การพฒั นาตนเองเพ่อื การขยายอาชพี
บทที่ 4 ความหมาย ความสาํ คญั ของการขยายอาชพี
บทท่ี 5 ความรเู บือ้ งตน เกี่ยวกบั การบริหารจดั การในการขยายอาชีพ
บทท่ี 6 การจดั ทาํ และพัฒนาระบบการขยายอาชีพ
ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
บทท่ี 7 การขบั เคลือ่ นธรุ กิจเพ่ือการขยายอาชพี
บทที่ 8 โครงการขยายอาชีพ
1
บทที่ 1
ทกั ษะในการขยายอาชีพ
ผลการเรียนรูท ี่คาดหวงั
อธิบายทักษะท่ีเกี่ยวของในกระบวนการผลิตและการตลาดท่ีใชนวัตกรรม เทคโนโลยีในการ
ขยายอาชพี ทตี่ ดั สินใจเลอื ก
ขอบขายเนื้อหา
เรือ่ งท่ี 1 ความจําเปน ในการฝกทกั ษะอาชพี
เรื่องท่ี 2 ทักษะการใชนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่อื การขยายอาชีพ
ส่อื ประกอบการเรยี นรู
1. เอกสารหมายเลข 1 ใบความรู เร่ือง ทกั ษะการทํางานบนฐานขอมลู
2. เอกสารหมายเลข 2 ใบความรู เรอ่ื ง การตอ ยอดภมู ปิ ญญายกระดบั ความรูใ หสงู ขึ้น
3. เอกสารหมายเลข 3 ใบความรู เรอ่ื ง การสรา งความหลากหลาย เพื่อความมั่นคงในอาชพี
4. เอกสารหมายเลข 4 ใบความรู เร่ือง การประเมนิ ประสิทธภิ าพ นวตั กรรม เทคโนโลยี
5. เอกสารหมายเลข 5 ใบความรู เร่ือง การวิเคราะหเพื่อจําแนกบทบาทหนาที่ของนวัตกรรม
เทคโนโลยี
2
เร่ืองที่ 1 ความจําเปน ในการฝก ทกั ษะอาชพี
ลกั ษณะบง ชี้ความสําเรจ็ ของการเรยี นรู
1. มีความเขาใจทกั ษะการทํางานบนฐานความรู
2. เขา ใจการเรยี นรตู อ ยอดภูมปิ ญ ญา ยกระดบั ความรใู หสงู ขึ้น
3. เขาใจความหลากหลายทางชีวภาพ และกิจกรรม เพ่อื ความมัน่ คงของอาชพี
แผนปฏิบัติการเรยี นรู
ลักษณะบง ช้ีความสําเรจ็
ของการเรียนรู กจิ กรรม การวดั ผล ประเมินผล ส่ือการเรียน
1. มคี วามเขาใจทกั ษะ เรียนดวยตนเอง 1. การระบเุ หตุการณข อง
การทาํ งานบนฐานความรู 1. ผเู รยี นแตล ะคนทําความเขา ใจ การประกอบอาชีพที่ เอกสารหมายเลข 1
เรื่องทักษะการทํางานบน ตองใชความรูข อ มูล ใบความรเู รอ่ื งทักษะการ
ฐานขอ มูลจากเอกสารใบความรู สารสนเทศ ทาํ งานบนฐานขอมลู
2. ทบทวนประสบการณก าร
ทาํ งานบนฐานขอมูลของ
ตนเองแลวบูรณาการความรู
เขา ดวยกัน หาแนวทาง
วิธีการทํางานบนฐานขอ มูลเพอ่ื
ขยายขอบขา ยอาชีพของตนเอง
2. เขา ใจการเรยี นรตู อ เรียนดว ยตนเอง 1. การระบุภูมิปญญาที่ เอกสารหมายเลข 2
ยอดภมู ปิ ญ ญา 1. ผูเรยี นแตล ะคนทําความเขาใจ จะใชเปน ความสามารถ ใบความรเู รอ่ื งการ
ยกระดับความรูใ หส ูงขน้ึ หลักของการขยาย ตอ ยอดภูมิปญ ญา
เร่อื งการตอยอดภูมปิ ญญา ขอบขายอาชีพ ยกระดับความรูใหส งู ขึ้น
ยกระดบั ความรใู หส ูงขนึ้
เรยี นโดยกลุม
2. ใหคณะผเู รียนทเี่ ปนกลมุ อาชีพ
ลักษณะเดียวกัน รวมกลุมกัน 2. การกาํ หนดแนวทาง
คน หาภมู ิปญญาท่ีจะตอ งใชเ ปน การยกระดบั ความรู
ความสามารถหลักและกาํ หนด ใหสูงข้ึน
แนวทางยกระดบั ความรูใหส งู ขึ้น
เรียนรูดว ยตนเอง
3. เขา ใจความ ทาํ ความเขาใจเรื่องการสรางความ 1. ไมค ิดเชงิ เดยี่ ว เอกสารหมายเลข 3
หลากหลายทางชีวภาพ หลากหลายในอาชีพ เพอ่ื ความ 2. การบูรณาการความ ใบความรูเรอื่ งการสรา ง
และกิจกรรมเพื่อความ ม่นั คง ลดอัตราเส่ยี งของตลาด หลากหลาย สรา ง ความหลากหลาย เพื่อ
มนั่ คงของอาชพี ความมั่นคง ความมั่นคงในอาชพี
3
เอกสารหมายเลข 1 : ใบความรู เร่อื ง ทกั ษะการทาํ งานบนฐานขอมลู
การขยายอาชีพหลายคนใชวิธีทําตามกระแสความนิยม เห็นเขาไดดีก็จะทําตามเขาดวย
คิดตัดสนิ ใจดวยความรูสึก บางคนกป็ ระสบผลสําเรจ็ แตหลายคนพบความลมเหลว แตหากเราหันมามอง
คนประสบความสําเร็จอาชีพม่ันคง เราจะเห็นวาบุคคลเหลาน้ีจะทําอะไรตองคิดอยางถี่ถวน หาความรู
ขอมูลมากมายมาใชคิดชั่งนํ้าหนักโอกาสความสําเร็จ จัดระบบทําการทดลองสรุปผลจนมั่นใจจึงจะมี
การลงทุน การกระทําลักษณะน้เี ปนลักษณะของคนทํางานบนฐานขอ มลู ผูเรียนการศึกษานอกระบบจึงมี
ความจําเปนที่จะตองพัฒนาทักษะการทํางานบนฐานขอมูล เพ่ือใหการขยายอาชีพเร่ิมตนไดเหมาะสม
เฉพาะกบั ตนเอง
กรอบแนวคิดการทํางานบนฐานขอมูล
ฐานขอ มูลอาชีพ สรางแบบจาํ ลอง ปฏิบตั กิ ารใชแ ละ
ทุน อาชพี สําหรบั ตนเอง สรปุ บทเรยี น
ผลิตภัณฑ
ลูกคา
ตนเอง
แผนภมู กิ รอบแนวคดิ การทาํ งานบนฐานขอ มลู
จากแผนภูมิกรอบแนวคิดการทํางานบนฐานขอมูล แสดงใหเห็นวา การทํางานบน
ฐานขอ มูลจะมกี จิ กรรมอยา งนอย 3 กิจกรรมที่จาํ เปน สาํ หรบั การพัฒนาตนเองของผูเรียนที่จะตองเรียนรู
สรางเปน พฤตกิ รรมใหเปนลักษณะนสิ ัยในอนั ท่ีจะเปลี่ยนแปลงหรือขยายขอบขา ยอาชพี สูค วามมัน่ คง
ฐานขอ มูลอาชีพ
การดําเนนิ การทางธุรกจิ มีองคประกอบรว ม 4 องคประกอบดว ยกนั คอื
(1) องคป ระกอบดา นทุน
(2) องคประกอบดานผลติ ภณั ฑ
(3) องคป ระกอบดา นลกู คา
(4) องคประกอบดา นตนเอง
องคป ระกอบดังกลาวเปนฐานขอมูลอาชีพท่ีผูเรียนจะตองจัดระบบขอมูลไวใชทํางาน
โดยมรี ายละเอียดดังน้ี
4
1. องคประกอบดา นทนุ ประกอบดว ย
1.1 ทนุ อสังหารมิ ทรพั ย ไดแก บา น ทีด่ ิน โรงงาน ของที่เรามีอยู หรือตองจัดซื้อ จัดทํา
ไวใชท ําธุรกิจ
1.2 ทุนเงิน มีหรือยัง ถายังไมมีแหลงเงินทุนอยูท่ีไหน จะเขาถึงไดอยางไร จะสูกับ
ดอกเบย้ี ไดหรือไม
2. องคป ระกอบดานผลติ ภณั ฑ ประกอบดว ย
2.1 คุณภาพของผลติ ภัณฑ ตลาดตอ งการอยางไร
2.2 กระบวนการผลิตทต่ี อ งใช
2.3 นวัตกรรม เทคโนโลยี การลดตน ทุน เปนอยางไร
2.4 นวตั กรรม เทคโนโลยี การผลติ จะเขาถึงไดระดบั ใด
2.5 บรรจุภัณฑ
2.6 การเก็บรักษา
3. องคประกอบดานลูกคา ประกอบดวย
3.1 คา นยิ มเปน อยางไร
3.2 ชองทางเขา ถึงลกู คา
3.3 การสรา งความภกั ดใี หเ กดิ กบั ลกู คา
3.4 การสงเสรมิ การขาย
4. องคประกอบดา นตนเอง ประกอบดวย
4.1 ความรทู กั ษะการดําเนนิ งาน ตอ งมีอะไรบาง
4.2 การพัฒนาทีมงาน คนงาน จะตอ งทําอะไร อยางไร
4.3 ความนาเชอื่ ถือของเรา
4.4 สงั คม สง่ิ แวดลอม กับสถานประกอบการของเรา
จากรายละเอียดพอสังเขปดังกลาวขางตน ผูเรียนจะตองสืบคน เรียนรู ทําความเขาใจ
อยางลึกซ้งึ สําหรับตดั สินใจออกแบบระบบทาํ งานหรอื จะคอย ๆ ศึกษา สรางความมั่นใจดานการจัดทํา
แบบจําลองอาชีพแลวทดลองทําเพ่ือสรุปผล ตดั สินใจกําหนดขนาดธรุ กจิ หรือจะยกเลิกเปลี่ยนความคิด
5
การสรา งแบบจําลองอาชีพ
แบบจําลองอาชีพ เปนเหมอื นสมมตฐิ าน เพอื่ การพสิ ูจนข องการทําอาชีพ โดยมีขั้นตอน
ดําเนินการดงั นี้
ขน้ั ตอนที่ 1 การศกึ ษาเบื้องตน เพ่ือสรปุ ขอ มลู สรา งแบบจําลองอาชพี
โดยเร่ิมตนวิเคราะหฐานขอมูลอาชีพที่เราจะทําท้ัง 4 องคประกอบ แลวนําขอมูลมา
กาํ หนดรูปแบบเบือ้ งตน เพอ่ื การทดลองสรปุ ขอ มลู สารสนเทศ ดงั ตวั อยาง
ธรุ กจิ เปาหมาย กจิ กรรม วิธกี ารทาํ งาน สมมติฐาน ปจจยั นําเขา
ปลกู มะเดอื่ ฝรั่งอบแหง - ขยายพนั ธุ 1. ใหผลผลติ ลูกสด 1. มะเดอ่ื ฝรั่งสาย
เขาสตู ลาด - งานผลิตปุยหมกั 5 กก./ตน /ป พนั ธุญป่ี นุ
- งานผลิตจุลินทรีย 2. ไดผลผลติ แหง 2. ขไ้ี กท าํ ปยุ หมกั
- งานปลูกบํารุงรกั ษา 1.5 กก./ตน /ป 3. จลุ ินทรีย พด. 1
- งานอารักขาตน พชื 3. พน้ื ท่ี 1 ไรสามารถ พด. 2 และ พด. 3
- งานเก็บเกยี่ ว ปลกู ได 400 ตน 4. พน้ื ท่ดี นิ 1 ไร
- งานอบแหง
- งานบรรจหุ ีบหอ
ขนั้ ตอนท่ี 2 การจดั ทําแบบจําลอง
หลังจากการศึกษาเบอื้ งตน ผลการทดลองไดขอ มลู สารสนเทศตามที่กําหนดแลวนํามาจัดทํา
แบบจําลองธุรกจิ การผลติ ลกู มะเดื่อฝรัง่ อบแหง (Fix) เขาสูต ลาดใหไดส ปั ดาหล ะ 200 กก. ดังตวั อยา งนี้
1. รปู แบบการดาํ เนนิ งาน
เปา หมาย เกณฑช ้วี ดั กจิ กรรมวธิ กี ารทาํ งาน ปจจัยดาํ เนนิ งาน
ผลติ มะเดือ่ ฝร่ังอบแหง
(Fix) เขา สูตลาด ความสาํ เร็จ
สัปดาหล ะ 200 กก. 1. ผลผลติ สดได 5 กก./ 1. ขยายพนั ธุโดยวธิ ปี กชาํ 1. สารเคมเี รง รากพืช
ตน/ป แปรรูปเปน 2. ผลิตปุยหมักจากมูลไก 96 ตัน/ป 2.ถุงและขยุ มะพรา ว ปก ชาํ
ผลแหง ได 1.5 กก./ตน/ป 3. งานผลติ จลุ นิ ทรีย 9,600 ลิตร/ป 3. มลู ไก 96 ตัน
2. ตองปลูกตน มะเดอื่ ฝรง่ั 4. งานปลกู บาํ รุงรักษา 16 ไร 4. จลุ นิ ทรยี
จาํ นวน 6,400 ตน 5. งานอารกั ขาพืช - พด. 1
3. ใชพ ืน้ ที่ 16 ไร 6. งานเกบ็ เก่ยี ว - พด. 2
7. งานอบแหง - พด. 3
8. งานบรรจหุ ีบหอ 5. ทด่ี ินพฒั นา
คุณภาพแลว 16 ไร
6
2. เอกสารขัน้ ตอนการทํางาน เปนการนํากิจกรรมวิธีการไปจัดทํารายละเอียดวิธีการ
ขนั้ ตอนการทาํ งานเปนเอกสาร เพอ่ื ใหคนทํางานไดใชป ฏิบตั ิตาม ปฏิบัตกิ ารใชและสรุปบทเรียน
ขั้นตอนนีเ้ ปนการปฏบิ ัติการเรม่ิ ตน ทดลองเตม็ รูปแบบการทําธุรกิจจริงดา นการวางแผน
ปฏิบัติการ(Plan) ทํางานตามแผนปฏิบัติการ(Do) ติดตามตรวจสอบหาขอบกพรอง (Check) ปฏิบัติการ
แกไขขอบกพรอง (Action) เปนวงจร PDCA โดยในทุกขั้นตอนตองมีการจดบันทึกขอมูลเกี่ยวกับ
ปรากฏการณ ผลที่เกิดและผลกระทบอยางเปนระบบ เพื่อนํามาสรุปบทเรียนพัฒนาระบบธุรกิจใหมี
ประสิทธิภาพอยางตอ เนื่องเขาสูความม่นั คง
สรุป
การประกอบธุรกิจท้ังภาคการผลิต ภาคบริการ เปนอาชีพอิสระท่ีผูประกอบการตอง
สรางภูมิคมุ กันใหก บั ธุรกจิ ของตนเอง จะตองอาศัยขอมลู สารสนเทศทางอาชพี มากมาย ซึ่งสามารถจํากัด
ขอบเขตลงได 4 องคประกอบ คอื (1) ทุน (2) ผลติ ภัณฑหรอื บรกิ ารทจี่ ะทาํ (3) ลูกคา และ (4) ตนเอง มา
ใชตั้งแตเริ่มตนคิดตัดสินใจ กําหนดแบบจําลองอาชีพใหเหมาะสมกับตนเอง และปฏิบัติการใชสรุป
บทเรียนเปนองคค วามรูท ีจ่ ะตองถูกพัฒนาใหส งู สดุ เปนระยะ ๆ ดวยตนเอง การกระทําดังกลาวหรือเร่ือง
ของการใชขอมูลสารสนเทศเขามาใชทํางานทั้งส้ินจําเปนที่ผูเรียนจะตองพัฒนาทักษะการทํางาน
บนฐานขอมูลไปอยางตอเนอื่ ง
กจิ กรรมท่ี 1
1. ผูเรยี นพจิ ารณาอาชพี ของตนเอง หรืออาชพี ท่ีสนใจวา มคี วามจาํ เปนตอ งฝกทกั ษะเพือ่ ขยายอาชีพ
ดานใดบา ง อยา งไร
2. ผูเรียนสรางแบบจาํ ลองอาชีพทตี่ นเองประกอบอยู หรืออาชีพตามความสนใจ หรือถอดบทเรียน
การจาํ ลองอาชพี จากภูมิปญญามา 1 อาชพี โดยมีองคประกอบ 2 ข้ันตอน คือการศึกษาเบื้องตน
เพ่ือสรปุ ขอ มลู สรา งแบบจาํ ลองอาชพี และการจัดทาํ แบบจาํ ลอง
7
เอกสารหมายเลข 2 : ใบความรู เร่อื ง การตอยอดภมู ปิ ญญายกระดบั ความรูใหส งู ขน้ึ
การถา ยทอดภมู ิปญญาจากเจา ขององคค วามรไู ปสบู ุคคลท่ีรบั การถายทอด สวนใหญจะ
ใหความสําคัญกับเทคนิค ขั้นตอน วิธีการของการทํางานหรือการแกปญหา แตในความเปนจริงแลว
ภูมิปญญายังมีองคประกอบอื่น ๆ อีกมากมาย เปนองครวมท่ีจะนําไปสูความสําเร็จ มั่นคง ย่ังยืนได
แตผ ูรบั การถา ยทอดมักจะมงุ ไปรับเทคนิควิธกี ารมากกวา เชน ภมู ปิ ญ ญาแยกอินทรียก็จะใหความสําคัญ
กับวิธกี ารทําปุยหมัก ปุยนํ้า เทานั้น ทั้ง ๆ ยังมีสวนประกอบอ่ืน ๆ ท่ีสําคัญมากมาย ดังน้ัน การตอยอด
ภมู ปิ ญ ญาจงึ เปน เรื่องทจ่ี ะตองมกี ระบวนการคิดวิเคราะหอยางเปนระบบ เพ่ือยกระดับความรูใหสูงขึ้น
สอดคลอ งไปกบั ยุคสมัย
กรอบความคดิ
การถายทอดภมู ปิ ญ ญานาจะมกี รอบแนวคดิ ดังน้ี
ขนั้ ตอนการวเิ คราะห ขนั้ ตอนศกึ ษา ข้ันตอนพฒั นา
ภมู ิปญ ญา เจาะลึก
1.1 วเิ คราะหภ ูมิปญ ญาระบภุ ารกจิ ระบคุ วามรสู ารสนเทศ ตอยอดภมู ิปญญา
1.2 วิเคราะหภารกจิ ระบุกจิ กรรม และขอ มูล ศกึ ษาทบทวน ปรับแตง พฒั นาเขา สยู ุคสมยั
1.3 วเิ คราะหก ิจกรรมระบขุ ้นั ตอนระบบ ทําความเขาใจใหกระจา ง
1.4 วเิ คราะหข้ันตอนระบบ ระบุเทคนคิ วิธกี าร
8
1. กรอบการคดิ วิเคราะห ภมู ปิ ญ ญาและการศกึ ษาเจาะลึก กรณกี ารผลติ ผลมะเด่ือฝร่งั อบแหง
ภารกจิ กจิ กรรม ขน้ั ตอนระบบของภูมิปญญา เทคนิควิธกี าร สารสนเทศ
ความรทู จ่ี าํ เปน
ผลติ ผลสด 1. การขยายพนั ธุ 1.1 การควัน่ ก่งิ 1.1.1 เลือกตําแหนง ใตตา
1.1.2 ใชม ดี ควั่นรอบกิ่ง
1.1.3 ขูดเยอ่ื เจรญิ ออก
1.4 ทาฮอรโมนเรง ราก ชนดิ ของฮอรโ มน
ใหป ด ทบั รอยแผล เรง รากและวิธใี ช
ดานบน ท่ีมจี ําหนา ยใน
ทอ งตลาด
2. การปลูกบํารงุ รกั ษา 1.2 การหอวัสดตุ อน
3. การอารกั ขาพืช
ผลิตผล 1. การเกบ็ เกี่ยว
อบแหง 2. การแปรรูป
3. การบรรจุภณั ฑ
2. กรอบการคิดพฒั นาตอ ยอดภมู ิปญ ญาเขาสยู คุ สมยั
ภูมปิ ญญา ทฤษฎีแนวคดิ ยคุ ใหม
1. ภารกจิ ของภูมิปญญา 1. ความเหมาะสมของ 1.1 บทบาทหนา ที่ของ
การบรหิ ารจดั การคณุ ภาพ ผปู ระกอบการธรุ กจิ
2. กจิ กรรม ขนั้ ตอนระบบ 1.2 การบริหารทรัพยากรดาํ เนินงาน
ของภูมิปญ ญา 2. ความเหมาะสมของ 1.3 การบริหารการผลติ
ระบบการผลติ 1.4 การควบคมุ คณุ ภาพ
3. เทคนคิ วธิ ีการ 3. ความเหมาะสมของ 2.1 คณุ ภาพผลผลติ
เทคนิควธิ ีการ 2.2 ประสิทธิภาพของกระบวนการผลติ
2.3 ความสามารถของปจจัยนําเขา
3.1 ความสามารถลดตนทุนและเวลา
3.2 มคี วามถกู ตอ ง เสียหายนอย
3.3 สงิ่ แวดลอ มปลอดภยั
9
จากกรอบแนวคดิ ดังกลา ว ผเู รียนจะพบวา การขยายอาชีพหรือพัฒนาอาชีพเขาสูความ
มั่นคงเปน เรอ่ื งของการคดิ วิเคราะห การใชสารสนเทศขอมูล การประยกุ ตใ ชค วามรู เปนเรื่องสําคัญของ
การตอยอดภมู ิปญ ญามายกระดับความรใู หส ูงขนึ้
การตอยอดภูมิปญ ญายกระดับความรูใหสูงข้ึน
เปนกระบวนการขั้นตอนการวิเคราะหภูมิปญญาทองถ่ิน เพ่ือใหมีความรูเกิดความ
กระจา งในองคค วามรูข องภูมิปญญานําไปสูการวเิ คราะห ระบุ ทฤษฎีแนวคิดยุคใหมใชยกระดับความรู
ใหสงู ขน้ึ ดังแผนภูมิน้ี
10
แผนภูมิตอ ยอดภูมปิ ญญายกระดับความรู
ภูมิปญ ญาผลติ ผลมะเด่อื ฝรง่ั อบแหง การวเิ คราะหร ะบบ เพอื่ ระบุทฤษฎแี นวคดิ
ยคุ ใหมใ ชย กระดับความรใู หสูงข้นึ
ภารกจิ ความเหมาะสมของ
การบริหารจดั การ
1. การผลติ ผลสด - บทบาทเจาของธุรกจิ ขอมลู สารสนเทศ
2. การผลิตผลแหง - การบรหิ ารทรพั ยากร ยกระดบั ความรใู หส ูงขนึ้
- การบริหารการผลิต
กิจกรรมระบบ - การควบคมุ คุณภาพ 1. การบรหิ ารจัดการคณุ ภาพ
การดําเนนิ งาน ความเหมาะสมของระบบ ISO 90001/2000
- คณุ ภาพผลผลิต ขอมูลสารสนเทศ
- ประสทิ ธิภาพของ ยกระดับความรใู หสงู ขนึ้
กระบวนการ
- ความสามารถของ 1. การกาํ หนดมาตรฐานผลผลติ
ปจ จัยดาํ เนนิ การ 2. การจัดการระบบ ISO
3. การควบคุมเชิงกลยทุ ธ
ความเหมาะสมของ
เทคนคิ วธิ กี าร
1. การขยายพนั ธุ ปจจยั การคว่ัน การหอ ก่ิงพันธุ
2. การปลกู นําเขา กิง่ วสั ดุ พรอมปลูก
3. การอารกั ขาพืช
ขนั้ ตอน 1. เลอื กตําแหนง ใตต า 1. นําถงุ ขนาด 2” บรรจขุ ุย
วธิ ีการ 2. ควน่ั เปลอื กใตตา มะพรา วมคี วามช้ืนมัดปากถงุ ให
ทาํ งาน 3. ขูดเยอ่ื เจริญ แนน
4. ทาฮอรโมนเรง ราก 2. ผา ถุงมคี วามยาวหุมรอยแผล
ใหม ดิ ชิด
3. มัดตุม ดว ยเชือกฟางตดิ กบั กิง่
ใหแนน
4. ทาฮอรโมนเรงราก
11
เอกสารหมายเลข 3 : ใบความรู เรอื่ ง การสรางความหลากหลายเพื่อความมนั่ คงในอาชีพ
กรอบความคิด
ความหลากหลาย ผลผลิตเพิม่ มีรายได อาชพี
ทางชวี ภาพและ มั่นคง
กจิ กรรม ยงั่ ยืน
การหมุนเวยี น
เปล่ียนรปู บน
ความหลากหลาย
รปู แสดงผังความสมั พนั ธข องการสรางความหลากหลายสคู วามมน่ั คงในอาชพี
การสรา งความหลากหลาย
การสรา งความหลากหลายในอาชีพเปนภูมิปญญา เพื่อใชสรางภูมิคุมกันใหกับการดํารง
อาชีพตามหลกั ทฤษฎีใหมของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชประสงคท่ีจะ
ใหอ าชพี เกษตรกรสูความเขมแข็งมั่นคงยั่งยืน ดวยการใหปลูกขาว ปลูกผัก ผลไม และเล้ียงไก ไวกินใน
ครอบครัวเหลือขาย เล้ียงหมูไวเปนเงินเก็บ เงินออม ปลูกไมใชงาน ใชเปนเชื้อเพลิง ใหรมเงา จัดการ
บานเรือนใหสะอาด ชีวิตก็จะร่ํารวยความสุข (จากความจําของผูเขียน เม่ือครั้งเขาเฝาถวายงานโครงการ
เกษตรธรรมชาติถาวรนิมิตอนั เนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดนครนายก พ.ศ. 2537 โดยมีพระมหาถาวร
จิตตภาวโรวงศมาลัยเปนผูอ ปุ ถัมภ)
พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บงชี้ถึงการสราง
ความหลากหลายทางชีวภาพ การหมนุ เวยี นเปล่ยี นรูปบนความหลากหลายไดผลผลติ พอเพียงกับการกินอยู
และเหลอื ขายเปนรายไดใ ชดาํ รงชวี ติ
12
ตัวอยาง การหมนุ เวยี นบนความหลากหลายทางชวี ภาพของอาชีพเกษตรกร
การหมนุ เวยี นระหวา งชีวภาพ
ผใู ห ผูร บั ประโยชนจากการหมนุ เวยี น
ชวี ภาพ ส่งิ ทไี่ ด
รําขา ว ผกั - รําขา วใชเ ปนอาหารจลุ นิ ทรีย พฒั นาดนิ
ฟางขา ว ไมผ ล - ฟางขา งเปนอนิ ทรยี วัตถุใชท ําปยุ หมกั
ไมใชง าน
ขา ว รําขา ว เปด
ฟางขา ว ไก - หมนุ เวยี นเปนอาหารสตั ว
หมู
ปลา
เศษผักผลไม เปด
ผัก สว นกนิ ไมไ ด ไก
ไมผ ล ขายไมได หมู - หมุนเวยี นเปน อาหารสตั ว
ปลา
ไมใ ชงาน ใบรวงหลนลงหนา ดนิ ขา ว - ใบตกลงดนิ ยอ ยสลายเปนปยุ อนิ ทรยี
(ไมปาตระกูลถ่วั ) ผัก
ไมผล
เปด อจุ จาระ ขา ว - ใชทําปยุ หมกั บาํ รงุ ดนิ ใหธ าตอุ าหาร
ไก ปส สาวะ ผัก แกพ ืช
หมู ขน ไมผล
ไมใ ชง าน
จากตัวอยางการหมุนเวียนดังกลาวทําใหเกษตรกรสามารถลดตนทุนลงได หากมีการ
จดั การวางแผนการทํางานตามสตู รพระราชทานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
3 + 3 + 3 + 1 ประกอบดวยพื้นทนี่ ํา้ 3 สว น ใชก กั เก็บนาํ้ เลย้ี งปลา พื้นท่ที ํานา 3 สว น จะมผี ลผลติ พอเพียง
หมุนเวียนระหวางชีวภาพ พื้นที่ปลูกผักผลไมและไมใชงาน 3 สวน และพ้ืนที่อยูอาศัย เลี้ยงสัตวและ
ทางเดินอีก 1 สว น โครงสรางสูตรพระราชทานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ดงั กลา วจะสามารถจดั ระบบการผลติ ท่พี ึง่ พาปจ จัยภายนอกไดน อ ยทส่ี ดุ
ตวั อยาง การเปลย่ี นรปู แปรรูป ยกระดบั มลู คา ผลผลิต 13
ชวี ภาพ ผลผลติ
ขา วเปลือก การแปรรปู ยกระดับมลู คา
- ขาวกลอ ง
ขา ว รํา - ขาวขาว
แกลบ - ธัญพชื เพือ่ สุขภาพ
หัวผักกาดขาว - เชอ้ี เพลงิ แทง
ผกั กาดเขียว - หัวไชโปวหวาน
- เกย้ี มฉาย
ผกั - กง ฉา ย
- ผกั กาดดอง
พรกิ ชี้ฟา - น้ําพรกิ เผา
หวั หอม - น้ําพรกิ ตาแดง
หัวกระเทียม - กระเทียมดอง
- ผลไมอ บแหง
ผลไม - ผลไมกวน
ไมผ ล - น้ําสมสายชูหมกั
- ถาน
ไมโ ตเร็ว ไมเ ช้อื เพลิง - น้ําสม ควนั ไม
ไมใ ชง าน - เครือ่ งเรือน
- กระดาน
เน้ือหมู - หมสู ม
- หมแู หนม
หมู มันหมู - หมูกนุ เชยี ง
- สบเู หลวอาบน้าํ
- สบลู างชาม
- แคบหมู
จากตวั อยาง จะเหน็ วา การแปรรปู ทาํ ใหเ กดิ ความหลากหลายทางกิจกรรมมากมายที่จะ
ทําใหเกิดการเพิ่มผลผลิตและผลิตภัณฑสามารถใชอยู ใชกินเหลือขาย เพิ่มมูลคาสรางใหเกิดรายไดสู
ความมน่ั คงย่งั ยืนได
14
ปจจยั แหงความสาํ เร็จ
ปจจัยแหงความสําเร็จของการสรางความหลากหลายทางชีวภาพและกิจกรรมท่ีจะ
จดั การใหค วามหลากหลายตาง ๆ นั้นลงตัว คงไมมีสูตรสําเร็จเปนเรื่องท่ีผูเรียนจะตองเรียนรูคนพบได
ดว ยตนเองจากวิธีการตา ง ๆ เชน
1. การสืบคนขอมูลสารสนเทศตาง ๆ นํามาวิเคราะหหาความลงตัวแลวจัดระบบการ
ดําเนินงาน
2. การถอดบทเรียนจากผูประสบความสําเร็จนําขอมูลสารสนเทศที่ไดมาจัดระบบให
เหมาะสมกบั ตนเอง
3. การทดลอง เพ่ือตรวจสอบระบบการดําเนินงานท่ีไดมาจากขอมูลสารสนเทศวา
เกดิ ผลตามความรเู พยี งใดจะตอ งเพ่ิมเติมพฒั นาอะไร
จึงอาจจะสรุปไดวา ปจ จยั แหงความสาํ เรจ็ ของการใชความหลากหลายทางชีวภาพและ
กิจกรรมมาสรางความม่ันคงย่ังยืนในอาชีพไดอยางลงตัว คือ การทํางานบนฐานขอมูลและใช
กระบวนการวจิ ยั มาเปน เครอ่ื งมอื ของผเู รียนนัน่ เอง
กจิ กรรมที่ 2
ใหผูเรยี นบอกการหมนุ เวียนบนความหลากหลายทางชีวภาพ หรือกิจกรรมในอาชีพของตนเอง
หรอื สัมภาษณผ ูป ระกอบอาชพี ทีส่ นใจมา 1 อาชพี ตามรูปแบบ ดังนี้
การหมุนเวยี นระหวา งชวี ภาพหรือกจิ กรรม ผรู ับ ประโยชนจากการ
ผใู ห หมุนเวยี น
ชีวภาพ ส่งิ ทไี่ ด
15
เร่อื งท่ี 2 ทกั ษะการใชนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พอื่ การขยายอาชีพ
ลักษณะบง ชี้ความสําเรจ็ ของการเรยี นรู
1. ประเมินประสิทธิภาพการตัดสินใจยอมรับหรือปฏเิ สธนวัตกรรมหรอื เทคโนโลยีได
2. มีความรู ความเขาใจและจาํ แนกบทบาทหนา ท่ีของนวตั กรรมหรอื เทคโนโลยไี ด
3. ปฏบิ ตั ิการใชนวตั กรรมและเทคโนโลยีไดอ ยา งคลอ งแคลว
แผนปฏิบตั กิ ารเรยี นรู
ลักษณะบง ชค้ี วามสําเรจ็
ของการเรยี นรู กจิ กรรม การวดั ผล ประเมินผล สอ่ื การเรียนรู
1. ประเมินประสทิ ธภิ าพ เรียนดว ยตนเอง
ตัดสินใจ ยอมรับ หรือ 1. ผเู รียนทําความเขา ใจเกย่ี วกบั 1. ความสามารถตอบสนอง เอกสารหมายเลข 4
ปฏเิ สธนวัตกรรมหรอื การประเมินประสิทธภิ าพ วัตถปุ ระสงค เร่ือง การประเมนิ
เทคโนโลยีได นวตั กรรมหรอื เทคโนโลยจี าก 2. ประหยัดคา ใชจ า ย ประสทิ ธิภาพ
3. ทําใหง านดาํ เนนิ ไปอยาง นวตั กรรมเทคโนโลยี
เอกสารใบความรู
2. ปฏิบัติการประเมนิ นวัตกรรม รวดเรว็
เทคโนโลยีทภ่ี าครฐั และ
เอกชนเสนอใหใช
2. มีความเขาใจ สามารถ เรียนดวยตนเอง
จาํ แนกบทบาท หนา ที่ 1. ผูเ รยี นนาํ นวตั กรรมหรอื 1. บอกบทบาท เอกสารหมายเลข 5
ของนวตั กรรมหรือ เทคโนโลยที ่ีตัดสนิ ใจใชมา 2. บอกหนาท่ี เรอื่ ง การวิเคราะหเ พ่อื
เทคโนโลยีได จาํ แนก บทบาทหนา ท่ี
วเิ คราะห ศกึ ษา บทบาท หนา ท่ี ของนวตั กรรม
เพอ่ื ทราบรายละเอียดและ
ประยกุ ตใ ชใ หถ ูกตอ งไดด วย เทคโนโลยี
การศกึ ษาตวั อยางการวเิ คราะห
จากเอกสารใบความรู
3. ปฏบิ ตั กิ ารใชน วตั กรรม เรยี นดว ยตนเอง
และเทคโนโลยไี ดอยาง ใหผูเรยี นศกึ ษาขน้ั ตอนการทาํ งาน 1. ใชนวตั กรรม เทคโนโลยี -
คลอ งแคลว ของนวัตกรรม เทคโนโลยี แลว อยา งคลองแคลว
ทําตาม ตรวจสอบหาขอ บกพรอง
ของตนเองในการใชนวตั กรรม
เทคโนโลยี แลว ฝก การใชง านจน
คลอ งแคลว
16
เอกสารหมายเลข 4 : ใบความรู เร่อื ง การประเมนิ ประสทิ ธิภาพนวัตกรรม เทคโนโลยี
กรอบความคิด
ความถกู ตองได
ตาม
วัตถปุ ระสงค
ประสทิ ธิภาพ
ลดตนทุน รวดเร็ว
จากแผนภูมิสามารถอธิบายไดวา ประสิทธิภาพมีองคประกอบรวมอยางนอย 3
องคประกอบ คือ (1) ความถูกตองเปนไปตามวัตถุประสงค (2) มีความรวดเร็ว และ (3) สามารถลด
ตนทุนรายจายได นอกจากนั้นในแตละองคประกอบจะตอ งมคี วามสมั พนั ธต อกนั หากนาํ กรอบแนวคิดน้ี
มาอธบิ ายกับประสิทธภิ าพของนวตั กรรมหรือเทคโนโลยอี าจจะสรปุ ไดว า
ประสิทธิภาพของนวตั กรรม เทคโนโลยกี ารประกอบอาชีพขน้ึ อยูกบั องคประกอบ ดงั น้ี
1 ความสามารถทาํ งานไดถ กู ตอ งตามวตั ถุประสงคแ ละมีขอ เสียนอ ย
2 ประหยดั คา ใชจ าย
3 ทํางานไดร วดเรว็
17
ประเมินการทาํ งานใหถกู ตองตามวัตถุประสงคของเทคโนโลยี
การประเมินความสามารถทํางานไดตามวตั ถปุ ระสงคของนวัตกรรม เทคโนโลยี ผูเรียน
ตอ งคดิ ลกั ษณะบงชคี้ วามสําเร็จ และตวั ชว้ี ดั ความสําเร็จดว ยตนเอง ดงั ตวั อยางนี้
ตวั อยาง การประเมินการทํางานใหถูกตอ งตามวตั ถปุ ระสงค
องคป ระกอบการประเมนิ ลกั ษณะบง ช้คี วามสําเร็จ เกณฑช ้ีวัดความสาํ เรจ็ ของงาน
1. การทาํ ไดต ามวตั ถุประสงค 1. เนื้องานทนี่ วัตกรรม เทคโนโลยี 1. ความสามารถขน้ั ตาํ่ ที่ยอมรบั ได
ทําได รอ ยละ 90 ของเนื้องาน
2. ความเสียหายของผลงาน 2. ผลงานทเี่ สียหายหรือไมผาน 2. ความเสยี หายขน้ั สูงสุดที่ยอมรับ
คณุ ภาพ ไดรอยละ 5 ของงาน
จากตัวอยางเกณฑการประเมิน เพ่ือใหเห็นรูปธรรมจึงขอยกตัวอยางการกําหนดเกณฑการ
ประเมนิ การทํางานไดถ กู ตอ งของนวตั กรรม เทคโนโลยี ดังนี้
ตัวอยา ง เกณฑการประเมินการทาํ งานไดถ ูกตองของนวตั กรรมจลุ ินทรยี
องคป ระกอบการประเมิน ลกั ษณะบง ชค้ี วามสําเรจ็ เกณฑช ้ีวัดความสาํ เร็จของงาน
1. การหมักสังเคราะห หลังจากปรุงสวนผสมกับจุลนิ ทรีย กระบวนการหมักตอ งแลวเสรจ็
อนิ ทรยี วัตถุใหเ ปนปยุ หมกั เสรจ็ แลว กระบวนการหมกั ตอง ภายใน 5 – 7 วัน โดยกระบวนการ
ดาํ เนนิ การแลว เสรจ็ ภายใน 5 – 7 วัน จลุ ินทรยี 100%
โดยกระบวนการของจลุ นิ ทรีย
2. ความเสยี หายของปยุ หมัก อินทรียวตั ถคุ วรจะไดรับการยอ ย จะมีอนิ ทรยี วตั ถุทย่ี งั ไมยอ ยสลาย
สลายใหม ากท่ีสุด ไดไ มเ กินรอยละ 10
ตวั อยาง การประเมินเทียบเคยี งการทํางานไดตามจดุ ประสงคของจลุ ินทรีย 2 สํานัก
องคป ระกอบการประเมนิ เทคนคิ การใช พด.1 + พด.2 จุลินทรยี เ อกชน
กระบวนการหมักตอ ง กระบวนการหมักความรอน กระบวนการหมกั ความรอ นสูงมาก
ดําเนนิ การแลว เสร็จภายใน 35°C - 40°C และเย็นลงทงั้ หมด ตองใชแ รงงานคนเขาไปกลบั กอง
5 – 7 วัน โดยกระบวนการ ภายใน 5 – 7 วนั เปน กระบวนการ ปยุ ทกุ ๆ 6 ช่วั โมง เพือ่ รกั ษา
ของจลุ นิ ทรีย ทาํ งานของจลุ ินทรีย 100% อณุ หภูมิตอง 35°C - 40°C
อินทรียวตั ถคุ วรจะไดรบั มอี นิ ทรยี วตั ถทุ ่รี าเดนิ มากกวา มีอนิ ทรียวัตถทุ ร่ี าเดนิ ไดเ พียง
การยอ ยสลายใหม ากทีส่ ุด รอ ยละ 95 รอยละ 70
จากตาราง บง ชีใ้ หเ หน็ วา จลุ ินทรยี พด.1 + พด.2 สามารถทาํ งานไดถูกตองตามวัตถุประสงค
มากกวาชนิดอื่น
18
ประเมินความประหยดั คาใชจ า ย
เปนการประเมินเทียบเคียงระหวางนวัตกรรมเทคโนโลยีอันใหมท่ีจะนําเขามาใช
เทียบเคียงกับนวัตกรรม เทคโนโลยเี กา โดยมีตวั แปรการประเมินประกอบการ
1 ราคานวตั กรรม เทคโนโลยีตองจายเทา ไร
2 คา ใชจายระหวา งการใชเ ทา ไร
3 ลดรายจายจากเดิมเทา ไร
ตวั อยา ง การประเมินเทยี บเคียงคาใชจายนวัตกรรม เทคโนโลยี
เปาหมาย : พรวนดนิ ใหละเอยี ดบนพื้นที่ 3 ไร ใหแลว เสร็จไมเกนิ 6 ช่วั โมง (1 วัน)
ใชแ รงงาน คน ขุด พรวน ดวยจอบ ใชเ คร่อื งจอบหมุนแบบเดนิ ตามเครอื่ งยนต 5 แรงมา
1. ราคานวตั กรรมเทคโนโลยี 1. ราคานวตั กรรมเทคโนโลยี
- ตอ งใชคน 15 คน คา แรงงาน - รถพรวนแบบเดนิ ตามราคาคันละ 40,000 บาท ทํางานได
1 คน/200 บาท/วนั ตอ งจา ย 4,000 ช่วั โมง คิดคา ใชจายชวั่ โมงละ 100 บาท
คา แรงงาน 3,000 บาท - พื้นที่ขนาด 3 ไร ใชเ วลาทํางาน 3 ช่วั โมง
ตอ งเสียคา ใชจา ย 300 บาท
2. คาใชจ ายระหวางการใชง าน 2. คา ใชจา ยระหวางใชงาน
- เคร่ืองดื่มชกู ําลัง 15 ขวด 150 บาท - คา นํา้ มนั เชอ้ื เพลิง 3 ช่ัวโมง ขนาด 6 ลิตร
- น้าํ เยน็ 50 บาท เปนเงิน 180 บาท
รวม 200 บาท - คาใบมดี พรวนเสยี หาย ประมาณ 300 บาท
- คาแรงคนงาน 1 คน 200 บาท
รวม 680 บาท
รวมรายจา ยท้งั หมด 3,200 บาท รวมรายจายทัง้ หมดเปนเงิน 980 บาท
4. ลดรายจา ยจากเดมิ
คา ใชจ ายโดยแรงงานคน 3,200 บาท
คา ใชจายโดยเครอื่ งจอบหมุนแบบเดนิ ตาม 980 บาท
จงึ สามารถลดรายจา ยได 2,220 บาท
19
ประเมนิ ความรวดเร็ว
เปน การประเมินเทียบเคียงหรือเปรียบเทียบระหวางการใชเวลาทํางานจากนวัตกรรม
เทคโนโลยีท่ีจะนาํ เขากับนวตั กรรม เทคโนโลยที ใ่ี ชอยเู ดมิ ดงั ตวั อยา งการพรวนดินการใชแ รงงานคนกับ
เคร่ืองจักรกลขนาดเล็ก พบวา เคร่ืองจักรกลขนาดเล็กพรวนดิน ใชเวลาเพียง 3 ชั่วโมง แตแรงงานคน
จะตอ งใชเ วลาถงึ 6 ช่ัวโมง ตองพบกับความยุงยากในการจัดการคนใหทํางานไปตามเปาหมาย
สรุป
การตัดสินใจนํานวตั กรรม เทคโนโลยีเขามาใชประกอบอาชีพ จําเปนตองประเมินให
มองเห็นเหตุผลการนาํ เขา มา ความคุมคา และศกั ยภาพในการเปนภูมคิ มุ กนั ใหอาชีพมั่นคงย่งั ยนื จงึ ตองมี
การประเมนิ ดวยองคประกอบทั้ง 3 ดานและตัวแปรรวมตา ง ๆ จงึ มคี วามจําเปนท่ีจะตองแสวงหาความรู
ขอมูลใหมากพอท่จี ะใชป ระเมนิ ตดั สนิ ใจ ดงั น้นั การประเมินประสิทธิภาพนวัตกรรม เทคโนโลยีจึงเปน
สว นหนง่ึ ของการทํางานบนฐานความรู
20
เอกสารหมายเลข 5 : ใบความรู เรอื่ ง การวเิ คราะหเ พอ่ื จําแนกบทบาทหนาทข่ี องนวัตกรรมเทคโนโลยี
การเขาสอู าชพี เมอื่ ดําเนินธรุ กจิ ไปจนประสบผลสาํ เร็จ มกั จะถูกจับตามอง ทําตามกันมาก
สวนแบงการตลาดจงึ มีขนาดเลก็ ลงโดยลําดับ จนถงึ วนั หน่งึ จะเกดิ วิกฤติ จงึ มคี วามจาํ เปน ทีจ่ ะตองพัฒนา
หรือขยายขอบขายอาชีพออกไปหรือเรียนรูทําในส่ิงที่คนอ่ืนทําไมได เพ่ือใหอยูไดอยางมั่นคงยั่งยืน
การพฒั นาหรือขยายอาชพี จะตอ งใชน วตั กรรม เทคโนโลยีเขามาชวย
ปญหาดังกลา วสามารถแสดงใหเ หน็ ขัน้ ตอนของพัฒนาการไดดังน้ี
4 ถา ไมม กี ารพัฒนาธุรกิจจะเปน
ขาลง จําเปน ตอ งขยายขอบขา ย
จงึ มีความตอ งการใชนวตั กรรม
เทคโนโลยีเขา มาใชงาน
3 ธุรกจิ ในอนาคตจะมีผคู นเขา มาเรยี นรทู าํ ตาม
ทาํ ใหเ กิดวกิ ฤติสวนแบงตลาด
2 ธรุ กิจอยใู นชวงพฒั นาขยายตัว
จะมคี นจับตามองพรอ มทําตาม
1 ธุรกจิ ระยะฟก ตวั ของ
การเขา สูอาชพี
แผนภูมแิ สดงวงจรชีวติ ของอาชพี
ปญหาท่ีตอ งการคําตอบของผูป ระกอบธรุ กจิ
ปญหาการเลือกนวัตกรรม เทคโนโลยีของผูประกอบอาชีพ การตัดสินใจเลือก
นวตั กรรม เทคโนโลยีไดตรงกับปญ หาความตองการในธรุ กจิ ใหมากท่สี ุด ตรงนี้เปนจุดกําเนิดภูมิปญญา
แตเรายังอยูในสภาวะท่ีทําเองไมไดอาศัยการนําเขาดวยตัวเราเอง เพื่อใหไดนวัตกรรม เทคโนโลยีท่ี
เหมาะสมลงตวั กบั งานอาชีพของเรามากท่ีสดุ
21
กรอบแนวคิด กรอบแนวคิดการจดั การใหไ ดน วตั กรรมเทคโนโลยที ่เี หมาะสมลงตวั กับธรุ กจิ มากที่สุด
มีกรอบแนวคดิ การดําเนินการดังน้ี
1. กําหนดความตอ งการ
1. ระบสุ ิ่งท่จี ะตอ งทําตอ ง 2. แสวงหาความรู 3. ประเมนิ ความสามารถ 4. ตัดสินใจ
ใชน วตั กรรม เทคโนโลยี ความเขาใจ เพ่อื ระบุ ในการทํางานไดแ ทจรงิ นําเขา มาใช
เขา มาทํางาน นวตั กรรม เทคโนโลยี ของนวตั กรรมให งานใหเ หมาะสม
กระจางดว ยตนเอง
วิธีการกาํ หนดความตอ งการ
1. ระบุส่ิงที่จะตองทําและจําเปนจะตองใชนวัตกรรม เทคโนโลยีเขามาใช เพื่อลดตนทุน
ลดระยะเวลา การทํางานและสรางงานใหม ขี องเสียหายเกดิ ขึ้นนอยท่สี ุด
ตวั อยาง สงิ่ ทจ่ี ะตอ งทํา และจาํ เปน ตองใชนวัตกรรม เทคโนโลยี
(1) การพรวนดินใหละเอียดและผสมปุยหมักคลุกเคลาลงดินใหกระจายสมํ่าเสมอตองใช
แรงงานคนจาํ นวนมาก คาใชจ ายสงู งานหนกั คนงานสูไมไหว ทิ้งงานลาออก จําเปนตองใชเทคโนโลยี
การพัฒนาดนิ
(2) ชว งฤดูหนาวเบญจมาศไมอ อกดอก ถา สามารถทําใหออกดอกไดจะทําใหการปอนสินคาเขา
ตลาดไมขาดชว ง จําเปน ตอ งใชเ ทคโนโลยกี ารบังคับพืชใหอ อกดอกนอกฤดูกาล
2. บอกบทบาทหนา ท่ีท่จี ะตอ งนํานวัตกรรม เทคโนโลยเี ขามาใช
ตัวอยาง
(1) ทําใหแ สงของวนั ในชว งเดือนธันวาคม– กุมภาพนั ธมีความยาวขน้ึ เพอ่ื กระตนุ ตาดอกเบญจมาศ
(2) เกษตรอินทรียพืชขาดไนโตรเจน แตขอกําหนดหามใชปุยเคมี จําเปนตองใชไนโตรเจนจาก
ธรรมชาติ
แสวงหาความรู ความเขา ใจเพ่ือระบุ นวตั กรรม เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม
ดวยการนําผลการวิเคราะห (1) ระบุส่ิงท่ีตองทําและ (2) บทบาทหนาที่ท่ีจะตองนํา
นวัตกรรมเทคโนโลยีเขามาใชไ ปสืบคนขอ มูลสารสนเทศและศกึ ษา สงั เกตจากผรู ูภ ูมิปญญาตาง ๆ ตองสรุป
ดว ยตนเองวา ควรจะใชเ ทคโนโลยีอะไรและจําแนกบทบาทหนาท่ใี หช ดั เจน ดังตวั อยา ง
ตัวอยา งท่ี 1 เทคโนโลยีการหมกั ดอง
เทคโนโลยี บทบาท หนา ที่
ลูกแปงขา วหมาก ยอยแปง สรางนํา้ ตาล
ลูกแปง เหลา ยอ ยนาํ้ ตาล สรา งแอลกอฮอล
แลคโตบาซิลลสั ในเครื่องดม่ื ยอยโปรตนี ยอยถว่ั เหลืองใหเปน กรดยูรคิ
ยาคลู ท ยอยปลาใหเปน นํ้าปลา
22
ตวั อยางที่ 2 เทคโนโลยีบงั คบั พืชออกผลนอกฤดกู าล หนาท่ี
เทคโนโลยี บทบาท
แสงหลอดฟลูออเรสเซนต สรางแสงใหวนั ยาวข้ึน กระตนุ ใหพืชตอ งการวนั แสงยาว
ออกดอก
นาํ้ หมกั พืชผกั ผลไม เรงใบพชื ใหสะสมอาหารแกตวั กระตนุ ผกั กินดอกใหอ อกดอก
ฮอรโ มนเรง การออกดอก อยางรวดเรว็ สมา่ํ เสมอทง้ั แปลง
เรง ใบไมผลใหแกเ รว็ ขึ้น กระตนุ ไมผ ล (มะมว ง) ออกดอก
นอกฤดูกาล
การงดนา้ํ ตนไม ทําใหต น โทรม ใบรว ง กระตนุ ใหต น สม ทิ้งใบออกจาก
ดอกพรอมกนั
ตวั อยางที่ 3 เทคโนโลยพี ัฒนาดินดวยแทรกเตอร
เทคโนโลยี บทบาท หนาท่ี
ผานกระทะ ไถบกุ เบิก พลิกหนาดินจากลางขนึ้ บน
ผานหัวสวิ่ ไถแหวกดนิ ระดบั ลกึ สลายดนิ ดานใหแ ตกนาํ้ ซมึ ลกึ ลง
ในดนิ ได
โรตารี่ ตสี ับดนิ สบั ดนิ ใหละเอยี ด เพื่อการปลูก
ผักและนาขา ว
ประเมินความเหมาะสมและตดั สนิ ใจ
เม่อื ไดศึกษาบทบาทหนา ท่ขี องนวตั กรรม เทคโนโลยีแลว ตอไปเปนข้ันตอนการประเมินความ
เหมาะสมดว ยการเทยี บเคียงกบั เทคโนโลยที เ่ี คยใชว าจะทําใหด ขี ้ึนแตกตางจากเดิมไดมากหรือปานกลาง
ดังตัวอยา ง
ตัวอยางที่ 1 มะมวงนํ้าดอกไม ถาเกษตรกรใหนํ้าใหอาหารพืชอยางตอเน่ืองอยางสมบูรณ มะมวง
น้ําดอกไมจ ะออกลกู ตอ เนื่องใหล กู ตอเนอ่ื งใหลกู รนุ พี่ รุนนองในปรมิ าณพอเหมาะนําเขาสูตลาดไดเปนระยะ ๆ
อยางตอเนื่องกับการที่เราตองลงทุนใหสารเคมีบังคับใหออกดอกติดผลพรอมกันนอกฤดูกาลเหมาะสมกับ
ลักษณะตลาดทเี่ รามีอยูหรือไม
ตวั อยา งที่ 2 หมกั นาํ้ ปลา เดิมเพยี งเตมิ เกลอื กับปลาในอตั ราสว นทเี่ หมาะสม หมักทิ้งขามปกจ็ ะได
นา้ํ ปลา แตถาเราใชเทคโนโลยีจุลินทรียแลคโตบาซิลลัสท่ีตองบดปลาใหละเอียดผสมแลคโตบาซิลลัส
เพ่ิมเขามาจะใชเวลาหกเดือนไดน้ําปลา แบบใดจะเหมาะสมกวากัน เพราะถาใชเทคโนโลยีแลคโตบาซิลลัส
จะตอ งเพม่ิ คา ใชจ า ยบดปลาและคาจุลินทรีย
23
สรุป
การตัดสินใจนํานวัตกรรม เทคโนโลยีเขามาใชโดยไมผานการวิเคราะหเพื่อศึกษา
บทบาทหนาที่และความเหมาะสมมีโอกาสท่ีจะเสี่ยงตอความเสียหายส้ินเปลืองได หากเราหันมาให
ความสําคัญเก่ียวกับขอมูลสารสนเทศของนวัตกรรม เทคโนโลยี เรียนรูทําความกระจางก็จะลดอัตรา
การเสี่ยงไดดี
กิจกรรมที่ 3
1. ผเู รียนปฏบิ ตั ิการประเมินนวัตกรรม เทคโนโลยที ภี่ าครัฐและเอกชนเสนอใหใ ช
2. ผูเรียนนํานวัตกรรมหรือเทคโนโลยีท่ีตัดสินใจใชมาวิเคราะห ศึกษา บทบาท หนาที่ เพื่อ
ทราบรายละเอียดและประยกุ ตใชใ หถ กู ตองไดดว ยการศึกษาตัวอยาง
3. ผูเรียนศึกษาข้ันตอนการทํางานของนวัตกรรม เทคโนโลยี แลวทําตาม ตรวจสอบหา
ขอ บกพรองของตนเองในการใชน วัตกรรม เทคโนโลยี แลว ฝกการใชงานจนคลองแคลว
4. ผูเรียนวางแผนการฝกทักษะท่ีจาํ เปนตอการขยายอาชีพ โดยรวมแหลง ฝก ความรทู ี่ตองการฝก
วิธีการฝก และผลการฝก
24
บทที่ 2
ตรวจสอบระบบความพรอมการสรางอาชีพใหมคี วามมน่ั คง
ผลการเรียนรทู ค่ี าดหวัง
สามารถตรวจสอบระบบความพรอมในการขยายอาชีพใหมีความมน่ั คง
ขอบขายเนอ้ื หา
เร่อื ง การตรวจสอบระบบความพรอ มการสรา งอาชีพใหม นั่ คง
สื่อประกอบการเรียนรู
1. เอกสารหมายเลข 6 ใบความรู เรอ่ื ง ความหมายและลกั ษณะองคประกอบในขอบขา ยอาชีพ
2. เอกสารหมายเลข 7 ใบความรู เร่ือง การวิเคราะหชุมชน
3. เอกสารหมายเลข 8 ใบความรู เร่อื ง ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
4. เอกสารหมายเลข 9 ใบความรู เรื่อง การวิเคราะห ตรวจสอบระบบความพรอมในการสราง
อาชีพ
25
เร่ืองที่ 1 การตรวจสอบระบบความพรอมการสรางอาชพี ใหม ั่นคง
ลกั ษณะบงชคี้ วามสําเรจ็ ของการเรยี นรู
1. เขา ใจขอบขายระบบธรุ กจิ
2. เขา ใจขอบขา ยระบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3. เขาใจการวิเคราะหตรวจสอบปฏิสัมพันธระหวางองคประกอบในขอบขายระบบ
ธุรกจิ กับเศรษฐกจิ พอเพยี งเพอ่ื ประเมนิ ระบุความพรอ มการสรางอาชีพใหม ัน่ คง
แผนปฏบิ ตั กิ ารเรยี นรู
ลกั ษณะบง ชีค้ วามสาํ เรจ็ การวัดผลและ
ของการเรยี นรู กจิ กรรม ประเมนิ ผล สือ่ การเรยี น
1. เขาใจขอบขา ยระบบ เรียนรดู ว ยตนเอง
ธุรกจิ ใหผ เู รียนศกึ ษาความหมายและ การระบอุ งคประกอบ เอกสารหมายเลข 6
ลกั ษณะองคประกอบรว มใน รวมในขอบขายระบบ ใบความรู เรอื่ ง
ขอบขา ยระบบอาชีพจาก ธรุ กจิ ความหมายและ
ลักษณะของ
ใบความรู องคประกอบใน
2. เขาใจขอบขา ยระบบ เรียนรดู ว ยตนเอง ขอบขายอาชพี
เศรษฐกจิ พอเพยี ง ใหผเู รียนศกึ ษาความหมายและ การระบุองคประกอบ เอกสารหมายเลข 7
ลักษณะองคป ระกอบการคิดใน การคดิ ในระบอบ ใบความรู เร่ือง ปรชั ญา
ระบบเศรษฐกจิ พอเพยี งจาก เศรษฐกิจพอเพยี ง ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ใบความรู
เรยี นรดู วยตนเอง
3. เขา ใจวเิ คราะห
ตรวจสอบปฏิสัมพนั ธ 1. ใหผูเ รยี นศกึ ษา วเิ คราะหก าร ความคดิ รวบยอดของ เอกสารหมายเลข 8
ระหวา งองคประกอบ ประกอบอาชีพ โดยยดึ หลกั ปฏสิ ัมพนั ธระหวาง ใบความรู เร่อื ง การ
ในขอบขายระบบ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง องคประกอบในอาชีพ วเิ คราะห ตรวจสอบ
เศรษฐกจิ พอเพียง เพ่อื กับเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระบบความพรอ มใน
ประเมนิ ระบคุ วาม 2. ผเู รียนทาํ บันทึกความพรอมใน การระบุปฏิสมั พันธบอก การสรา งอาชพี
พรอ มการสรา งอาชพี การสรา งอาชีพตามความคดิ รวบ ขอ บกพรองทต่ี องพฒั นา
ใหมน่ั คง ยอดของปฏิสมั พนั ธ ระหวาง ใหเกิดความพรอ ม
เศรษฐกจิ พอเพียงกบั
องคประกอบการทาํ อาชพี
26
เอกสารหมายเลข 6 : ใบความรู เรอ่ื ง ความหมายและลักษณะองคป ระกอบในขอบขา ยอาชีพ
องคป ระกอบในระบบอาชพี
ทนุ
การ ผลผลิต อาชีพมนั่ คง
พัฒนา
ลกู คา
แผนภูมแิ สดงความสมั พนั ธอ งคป ระกอบภายในระบบอาชีพ
จากแผนภูมิความสัมพันธองคประกอบภายในระบบอาชีพ มีองคประกอบท่ีสําคัญและ
สงผลกระทบความมั่นคงของอาชีพ 4 องคประกอบดวยกันคือ (1) ทุน (2) ผลผลิต (3) ลูกคา และ
(4) การเรยี นรูพฒั นาตนเองของสถานประกอบการ
ทุน
ในการประกอบอาชีพ การจัดการทุนเปนเรื่องสําคัญ เพราะทุนจะตองผันแปรสําคัญตอ
ความมัน่ คงของอาชพี ทุนมหี ลายประเภททผี่ ปู ระกอบอาชพี จะนาํ เขามาบูรณาการใชลงทุนประกอบการ
เชน
1. เงินทุน ไดมาจากการออม จากการสะสมทนุ จากการกยู มื สถาบันการเงนิ
2. ทนุ ทีด่ นิ เปนที่ตั้งสถานประกอบการ เปนฐานการผลิตท่ีจะตองมีการจัดการใหการใชที่ดิน
เปนไปอยา งมีประสทิ ธิภาพ
3. ทนุ ทางส่งิ แวดลอม เชน การเกษตรอินทรีย ตั้งบนพ้นื ท่ีปาเขาโดยรอบ ทําใหไดความชื้นและ
ปุยธรรมชาติมาตามลม และไหลมากบั นํา้ ฝน ทาํ ใหลดตนทุนเกย่ี วกบั ปุย หมกั และจลุ นิ ทรียล งได
27
ผลผลติ
เปน ตัวเปา หมายการประกอบอาชีพที่จะตองมีมาตรฐาน ขอกําหนดในรูปแบบตาง ๆ ท้ังในรูป
ลายลกั ษณอักษร ในรปู ของคา นยิ มท่ยี อมรับกันทวั่ ไปที่ผผู ลิตจะตองทาํ ใหไ ดตามมาตรฐานในการจัดการ
ใหเกิดผลผลิตมีองคประกอบรวมอยหู ลายประการ เชน
1. คุณภาพผลผลติ ตองเปน ไปตามมาตรฐาน คานิยมของลกู คา
2. กระบวนการผลติ ตอ งสามารถลดตน ทุนได
3. การจัดการผลผลติ สงมอบใหลูกคา ในสภาพที่มคี ณุ ภาพใหมากท่ีสุด
4. ความปลอดภัยของผลผลิต
ลูกคา
เปนองคประกอบที่สําคัญเพราะถาไมมีลูกคาก็จะไมเกิดการหมุนเวียนทางรายได รูปแบบ
เศรษฐกจิ จะเปนการทําเพื่ออยูเพ่อื กนิ แบง ปนกันในชุมชน ประเทศชาติคงไมมีรายไดมาพัฒนาประเทศ
การประกอบอาชีพจึงใหความสําคัญกับลูกคาที่จะตองสรางความผูกพันภักดีตอกันและขยายวงกวาง
ออกไป ทาํ ใหผลผลติ จําหนายไดป รมิ าณสูงขน้ึ ซึ่งสงผลกระทบโดยตรงตอความมั่นคง ยั่งยืนของอาชีพ
สว นบุคคลและสังคมประเทศชาติ
การพฒั นาตนเอง
การประกอบอาชีพธุรกิจ ผูประกอบอาชีพจําเปนตองศึกษาวิเคราะหสภาพการผลิต การตลาด
การลงทนุ คา นยิ ม นวตั กรรมเทคโนโลยตี า ง ๆ ใหส ามารถจดั การพัฒนาธุรกิจใหกา วหนาสัมพันธกับการ
เปลยี่ นแปลงของสังคมโลก เพือ่ สรา งความมน่ั คงในอาชีพใหเ ตบิ โตขน้ึ ไมใ หอ าชีพตกตาํ่ และตายลง
ตัวอยางที่ 1 อาชีพเขยี นปายประกาศถาพฒั นาตนเองไมใชค อมพิวเตอรและอิงคเจ็ทก็ยังสามารถ
ดําเนนิ ธุรกิจตอไปได แตถาหากไมยอมรบั การเปล่ียนแปลงและเรียนรอู าชีพเขยี นปายประกาศก็จะตายลง
ท้ังหมดแลว
ตัวอยางท่ี 2 รานโชหวยท่ีเรียนรูพัฒนาตนเอง วิจัยระบุสินคาจําเปนของคนในชุมชน ตองใช
ประจาํ และจาํ นวนมาก แลวจัดรานใหมบรรจุสินคาที่จําเปน ทําใหรานคาไมรกรุงรัง ถาหากราคาขายที่
เปน จริงไมเ อาเปรยี บ คนในชุมชนกเ็ ต็มใจซ้อื ไมเสียเวลาไปศูนยการคาทีต่ องมกี ารเดินทาง รานโชหวยท่ี
ไมเ รียนรูพัฒนาตนเอง จึงตายไปจากทองถ่นิ
28
เอกสารหมายเลข 7 : ใบความรู เร่ือง การวเิ คราะหชมุ ชน
วเิ คราะหช ุมชน
การขยายงานอาชีพ เปน แนวทางการดําเนินงานอาชพี ใหม คี วามเขม แขง็ และเกดิ ความมน่ั คงใน
การประกอบอาชีพ ทม่ี คี วามสอดคลอ งกับความตอ งการของตลาด
การขยายงานอาชีพ จะประสบความสาํ เร็จหรือไมน นั้ ขนึ้ อยูกับการศึกษาและการวิเคราะห
ขอมลู สถานการณของชมุ ชนท้ังภายในและภายนอก ใหต รงกบั สภาพความเปน จรงิ ตามสภาพการณทีม่ ี
การเปลยี่ นแปลง เพ่อื สรา งความเชอื่ มั่นและกําหนดเปา หมายการขยายงานอาชีพท่ีชดั เจน
ดังนัน้ การดําเนินการขยายงานอาชีพใหป ระสบความสําเร็จ แมวาผูดําเนินการอาชีพ จะไดมี
การพัฒนางานอาชีพมาแลวอยา งตอ เน่อื ง พรอ มทั้งไดวิเคราะหความเปนไปได รวมถึง ไดศึกษาขอมูล
องคประกอบทเ่ี กย่ี วขอ งมาแลว ก็ตาม
ในการขยายงานอาชีพใหเกิดความมั่นคง จําเปนตองใหความสําคัญตอการวิเคราะหขอมูล
สถานการณของชุมชน ใหเหมาะสมและมีความสอดคลองกับสภาพบริบทของพื้นท่ี ไดแก
ทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิต และ
ทรพั ยากรมนษุ ย
ดังน้ัน เพื่อเปนการสรางความเช่ือมั่นและสามารถกําหนดเปาหมายในการดําเนินงานขยาย
อาชพี เพ่อื ความม่ันคงไดอยา งเหมาะสม จึงควรไดม ีการวเิ คราะหชุมชนเกี่ยวกับสภาพบรบิ ทของพ้นื ทกี่ ับ
งานอาชพี ทตี่ ดั สินใจจะดาํ เนนิ การพฒั นา
การดาํ เนินการวเิ คราะหชมุ ชน โดยท่วั ไปนิยมใชเทคนิค SWOT ในการประเมิน เพราะ เปน
เทคนิคสาํ หรบั การวเิ คราะหส ภาพแวดลอมท่ีมผี ลกระทบวา มีผลดีหรือผลเสียอยางไรตอสิ่งที่จะกระทํา
มีรายละเอียด ดังนี้
S (Strength) จุดแข็ง หมายถึง ความสามารถ หรือสถานการณภายในชุมชนที่เปนเชิงบวก
ซึง่ สามารถนาํ มาใชประโยชนในการทํางาน เพือ่ ใหง านบรรลุวัตถุประสงค หรือกอใหเกิดประโยชนตอ
การทาํ งาน สง ผลใหง านท่ีทําเกิดความเขม แข็ง
W (Weakness) จุดออน หมายถงึ สถานการณภายในชุมชนทเ่ี ปน เชงิ ลบ ซึ่งไมสามารถ
นํามาใชเปน ประโยชนในการทํางาน เพ่ือใหง านบรรลุวัตถุประสงค หรือไมกอใหเกิดประโยชนตองาน
อาจสงผลใหง านท่ีทาํ เกดิ ความลม เหลวได
O (Opportunity) โอกาส หมายถึง ปจจัยและสถานการณภ ายนอกชุมชน ที่เอ้ือประโยชน
ในการทํางานใหบรรลุวัตถุประสงค หรือหมายถึง สภาพแวดลอมภายนอกที่เปนประโยชนตอการ
ดาํ เนินงาน
29
T (Treat) อุปสรรค หมายถึง ปจจัยและสถานการณภายนอกชุมชน ที่ขัดขวางหรือไม
สนบั สนุนตอ การทํางานใหบ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค หรอื หมายถงึ สภาพแวดลอ มภายนอกท่ีเปนปญหาตอการ
ดําเนินงาน
ในการดําเนนิ การวเิ คราะหชุมชนตามสภาพบรบิ ทของพื้นท่ี ไดแ ก ทรัพยากรธรรมชาติ
ลกั ษณะภมู อิ ากาศ ภูมปิ ระเทศ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถชี ีวติ และทรัพยากรมนุษย กับงานอาชีพ
ที่ตัดสินใจจะดําเนินการพัฒนา ดวยเทคนิค SWOT เพ่ือการเขาสูอาชีพ มีข้ันตอนการดําเนินงานดังนี้
1. กําหนดประเด็นสภาพบริบทของพ้นื ทีท่ ีม่ คี วามสัมพันธตองานอาชีพท่ีตัดสินใจท่ีจะ
ดาํ เนินการพฒั นา เพอื่ การนํามาวิเคราะห เชน
1.1 กลมุ อาชพี เกษตรกรรม ประเด็นสภาพบริบทท่ีควรนํามาวิเคราะห ไดแก
ทรัพยากรธรรมชาติ ลกั ษณะภูมิอากาศ ลักษณะภูมิประเทศ และทรพั ยากรมนุษย
1.2 กลมุ อาชีพอุตสาหกรรม ประเด็นสภาพบริบทที่ควรนํามาวิเคราะห ไดแก
ทรพั ยากรธรรมชาติ ลักษณะภูมปิ ระเทศ สภาพภูมอิ ากาศ ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวติ
1.3 กลมุ อาชีพพาณิชยกรรม ประเดน็ สภาพบรบิ ททค่ี วรนํามาวิเคราะห ไดแก
ทรพั ยากรธรรมชาติ ภูมิอากาศ ภมู ิประเทศ และทาํ เลที่ต้ัง
1.4 กลมุ อาชพี ความคิดสรางสรรค ประเด็นสภาพบริบทที่ควรนํามาวิเคราะห
ไดแ ก ทรพั ยากรธรรมชาติ ทรัพยากรมนุษย
1.5 กลุมอาชีพอํานวยการและอาชีพเฉพาะทาง ประเด็นสภาพบริบทที่ควร
นาํ มาวเิ คราะห ไดแก ทรัพยากรธรรมชาติ ลกั ษณะภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี
วิถีชวี ิต และทรพั ยากรมนษุ ย
2. กําหนดรายละเอยี ดยอ ยท่จี ะทาํ การวิเคราะหในแตล ะประเด็นของสภาพบริบทแตละ
ดานกบั งานอาชีพทกี่ าํ หนดจะดําเนินการพัฒนา เชน
ประเด็นของสภาพบริบท รายละเอียดของประเด็น
1. ทรัพยากรธรรมชาติ 1.1 ความเหมาะสมและคณุ ภาพของทรพั ยากรธรรมชาติ
1.2 ทรพั ยากรธรรมชาตใิ นชมุ ชน และ/หรอื ชมุ ชนขา งเคยี งที่
เอ้อื ตองานอาชพี
1.3 ปริมาณและคาใชจ ายในการซ้ือทรัพยากร
1.4 ปริมาณนํา้ / แหลงนํ้า ทต่ี อ งใชใ นงานอาชีพ
1.5 รายละเอียดของประเด็นอืน่ ๆ ทเี่ กย่ี วของ
30
ประเดน็ ของสภาพบริบท รายละเอยี ดของประเด็น
2. ลกั ษณะภูมิอากาศ 2.1 ลกั ษณะภมู ิอากาศ
2.2 สภาพภมู อิ ากาศกบั การสนบั สนนุ งานอาชีพ
3. ภมู ิประเทศ 2.3 ความสัมพันธของภมู อิ ากาศกับสภาพพนื้ ท่ี
2.4 ความสัมพนั ธของภมู อิ ากาศกบั ทรพั ยากรธรรมชาติ
4. ศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี 2.5 รายละเอียดของประเดน็ อ่ืน ๆ ทเ่ี กยี่ วของ
และวิถีชีวิต 3.1 ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ
3.2 สภาพภมู ิประเทศกบั การเกอ้ื หนุนงานอาชีพ
5. ทรัพยากรมนษุ ย 3.3 ความสมั พนั ธของภูมปิ ระเทศกบั งานอาชีพ
3.4 ความสัมพนั ธข องภูมิประเทศกบั ทรัพยากรธรรมชาติ
3.5 รายละเอียดของประเด็นอื่น ๆ ท่ีเกย่ี วขอ ง
4.1 งานอาชีพสอดคลอ งกบั ศลิ ปะของชุมชน
4.2 งานอาชีพมีความสัมพนั ธก บั วฒั นธรรมของชุมชน
4.3 งานอาชีพมคี วามสัมพนั ธกับประเพณขี องชุมชน
4.4 งานอาชีพมีความสมั พันธกับวถิ ีชีวติ ของคนในชมุ ชน
4.5 รายละเอยี ดของประเด็นอนื่ ๆ ที่เกยี่ วขอ ง
5.1 ความรู ในการประกอบอาชีพของตนเอง
5.2 ผูรใู นชุมชน ทีม่ คี วามรูเก่ียวกบั งานอาชีพ
5.3 แรงงานในชมุ ชนทจ่ี าํ เปนตอ งใชใ นงานอาชพี
5.4 การบรหิ ารงานบคุ คล / แรงงาน
5.5 ความสมั พนั ธของคนในชุมชนกบั ผปู ระกอบการ
5.6 รายละเอยี ดของประเดน็ อ่ืน ๆ ท่เี กยี่ วขอ ง
3. เมื่อสามารถกําหนดรายละเอียดยอยไดในแตละประเด็นของสภาพบริบทแลว
ในการวิเคราะห ใหดําเนินการวิเคราะหในแตละดานของการวิเคราะหดวยเทคนิค SWOT ตามตาราง
วเิ คราะหด ังน้ี
31
อาชพี ทต่ี ดั สนิ ใจเลอื ก .................................................
สถานการณภ ายในชุมชน
จดุ แข็ง จุดออ น
1. ทรัพยากรธรรมชาติ 1. ทรพั ยากรธรรมชาติ
2. ลักษณะภมู ิอากาศ 2. ลกั ษณะภูมิอากาศ
3. ภมู ปิ ระเทศ 3. ภูมปิ ระเทศ
4. ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชวี ิต 4. ศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ชี ีวติ
5.ทรัพยากรมนุษย 5.ทรัพยากรมนุษย
สถานการณภ ายนอกชมุ ชน
โอกาส อปุ สรรค
1. ทรัพยากรธรรมชาติ 1. ทรัพยากรธรรมชาติ
2. ลกั ษณะภูมอิ ากาศ 2. ลกั ษณะภมู ิอากาศ
3. ภมู ปิ ระเทศ 3. ภมู ปิ ระเทศ
4. ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชวี ติ \ 4. ศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ชี ีวิต
5.ทรัพยากรมนษุ ย 5.ทรัพยากรมนุษย
4. ดําเนินการวิเคราะหร ะบุขอ มูลตามความเปน จริง ตามหวั ขอ ของรายละเอียดยอยในแตละ
ประเด็นของสภาพบริบทชุมชนวา มีความสัมพันธกับงานอาชีพที่จะดําเนินการพัฒนาอยางไร ทั้งน้ี
ในการวเิ คราะหร ะบุขอ มลู ผูดําเนินการไดแกผ ทู ต่ี ดั สนิ ใจขยายอาชีพเพ่อื ความมัน่ คง เปน ผดู าํ เนินการเอง
โดยตอ งวเิ คราะหระบขุ อมูลดว ยความเปนจริง
ในการวิเคราะหระบุขอมูลสถานการณภายในชุมชน เปนการวิเคราะหระบุขอมูล
เกย่ี วกบั รายละเอยี ดยอ ยในแตล ะประเดน็ แยกขอ มลู ภายในชุมชนที่เปนเชิงบวกหรือเปนสวนสนับสนุน
เก้ือหนุนใหงานอาชีพประสบความสําเร็จ ในดา นจุดแข็ง และระบุขอ มูลในชุมชนท่ีเปนเชิงลบ หรือเปน
ขอมูลท่อี าจจะเปนปญ หาไดก ับงานอาชีพ ในดา นจุดออน
ในการวิเคราะหระบุขอมูลสถานการณภายนอกชุมชน เปนการวิเคราะหระบุขอมูล
เก่ียวกับรายละเอียดยอยในแตละประเด็น แยกขอมูลภายนอกชุมชนท่ีเปนเชิงบวก หรือเปนสวน
สนบั สนุน เอือ้ ประโยชนใ นการทํางานอาชีพใหบ รรลุวัตถุประสงค หรือเปน ประโยชนตอการดาํ เนินงาน
ในดานโอกาส และระบุขอมูลภายนอกชุมชนท่ีเปนเชิงลบ หรืออาจจะเปนสิ่งที่ขัดขวางหรือไม
สนับสนุนตอการทํางานอาชีพใหบรรลุวัตถุประสงค หรือเปนปญหาตอการดําเนินงานอาชีพ ในดาน
อุปสรรค
32
ตวั อยา งการวิเคราะหระบุขอ มูล
อาชพี การขยายผลติ ภัณฑจ ากน้ํามนั มะพราวกลั่นเย็น
สถานการณภายในชมุ ชน
จดุ แข็ง จุดออ น
1. ทรัพยากรธรรมชาติ ในพน้ื ทตี่ าํ บลเกาะกดู มี 1. ทรัพยากรธรรมชาติ ไมม ที รัพยากรธรรมชาติ
มะพราวเปน จํานวนมาก เปนวตั ถุดบิ สว นผสมในการผลติ
2. ลกั ษณะภมู อิ ากาศ ลกั ษณะภูมิอากาศ มีความ 2. ลกั ษณะภูมอิ ากาศ อาจมีปญ หาไดใ นชว งฤดู
เหมาะสมตอการทอ งเท่ียว มีนักทอ งเทย่ี วทง้ั มรสมุ เพราะเรอื โดยสารอาจจะไมออกเรอื
ชาวไทยและชาวตางประเทศนยิ มเดินทางมา 3. ภมู ิประเทศ ตําบลเกาะกูดหา งจากฝงรว ม
เทยี่ วเปนจํานวนมาก จึงเก้ือหนนุ ในการ 80 กโิ ลเมตรทางทะเล อาจจะมปี ญ หาในการ
ดําเนินงานอาชีพ ขนสงและการจําหนา ยผลผลิตได
3. ภมู ิประเทศ ตาํ บลเกาะกดู มภี ูมปิ ระเทศเปน 4. ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชวี ิต ไม
เกาะที่มีธรรมชาติสวยงาม มนี ักทองเที่ยวท้งั มขี อ มลู เปน จดุ ออน
ชาวไทยและชาวตางประเทศเดนิ ทางมาเที่ยว 5. ทรพั ยากรมนษุ ย ไมมขี อ มูลเปน จดุ ออน
เปน จํานวนมาก จงึ เก้ือหนนุ ในการดาํ เนนิ งาน
อาชพี 4. ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชีวติ
นา้ํ มันมะพรา ว เปนผลติ ภัณฑท ส่ี ามารถนําไปใช
รวมในการผลิตเปน ผลติ ภัณฑอ นื่ ๆ ได
5. ทรพั ยากรมนษุ ย ดําเนินการดวยสมาชกิ
ภายในครอบครัว และสามารถจา งแรงงานใน
พน้ื ทีไ่ ด
33
สถานการณภายนอกชุมชน
โอกาส อุปสรรค
1. ทรพั ยากรธรรมชาติ ไมม ขี อ มูลเปน โอกาส 1. ทรัพยากรธรรมชาติ จะตอ งส่งั วัตถุดบิ
2. ลกั ษณะภูมอิ ากาศ นักทอ งเทยี่ วท้ังชาวไทย สวนผสมในการผลิตจากภายนอกทองถนิ่ มาใช
และชาวตางประเทศนิยมเดนิ ทางมาเทยี่ วเปน ในการผลติ
จาํ นวนมาก เพราะมีลกั ษณะภมู อิ ากาศ มีความ 2. ลกั ษณะภมู อิ ากาศ อาจมปี ญ หาไดใ นชว งฤดู
เหมาะสมตอการทอ งเที่ยว จงึ เกื้อหนุนในการ มรสุม เพราะเรอื โดยสารอาจจะไมออกเรือ
ดาํ เนินงานอาชีพ 3. ภมู ิประเทศ ตําบลเกาะกูดหางจากฝง รว ม
3. ภมู ิประเทศ ภมู ปิ ระเทศของตาํ บลเกาะกดู 80 กิโลเมตรทางทะเล อาจจะมปี ญ หาในการ
มมี ะพรา วเปนจํานวนมาก และมธี รรมชาติ ขนสง และการจาํ หนา ยผลผลิตได
สวยงาม มีนักทองเท่ียวท้ังชาวไทยและชาว 4. ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ีชีวติ ไมมี
ตางประเทศเดินทางมาเที่ยวเปน จํานวนมาก ขอมูลเปนอปุ สรรค
จงึ เก้ือหนุนในการดําเนนิ งานอาชพี 5. ทรัพยากรมนษุ ย มผี ูผ ลติ ในทอ งถน่ิ อื่น ที่
4. ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ีชวี ติ ดาํ เนินการผลิต อาจสง ผลตอ การจําหนา ยได
การดํารงชวี ติ สามารถใชน ํ้ามันมะพราวกลน่ั เยน็
นาํ มาเปน สวนผสมหลกั ในการผลิตผลิตภัณฑ
เพอ่ื ใชใ นชวี ิตประจําวันได
5. ทรพั ยากรมนษุ ย ไมม ีขอมลู เปน โอกาส
5. เมอ่ื ดาํ เนนิ การวิเคราะหระบขุ อมูลตามหวั ขอ ของรายละเอียดยอยในแตละประเดน็
ของสภาพบริบทชุมชนแลว ผวู ิเคราะหข อ มูลตองวเิ คราะหสรุปขอ มลู ทัง้ หมด เพื่อใหม องเหน็ สภาพการณ
ทงั้ หมด พรอ มที่จะนําไปกาํ หนดเปา หมายและทิศทางทจี่ ะดาํ เนินการขยายอาชพี โดยควรสรุปเปน ขอ
เพอ่ื ความชดั เจน
ตวั อยา งการวิเคราะหสรปุ ขอ มูล
จากผลการวิเคราะหร ะบุขอ มลู สามารถสรุปขอมูลไดด ังนี้
1. จากขอ มลู สภาพการณภ ายใน สรุปไดวา การขยายผลิตภณั ฑจากน้ํามนั มะพรา วกลั่นเย็น
สามารถนําน้ํามันมะพราวกลั่นเย็น ไปใชเปนสวนผสมหลักในการผลิตผลิตภัณฑ สําหรับนําไปใชใน
ชีวติ ประจาํ วนั ได ประกอบกับ ตําบลเกาะกูด เปนแหลงทองเท่ียว ที่มีภูมิประเทศ อุดมไปดวยมะพราว
34
และธรรมชาตสิ วยงาม มีลกั ษณะภูมิอากาศ ท่ีเหมาะสมตอการทองเทีย่ ว ทําใหมีนักทองเท่ียวท้ังชาวไทย
และชาวตางประเทศ นิยมเดินทางมาเท่ียวเปนจํานวนมาก จึงเกื้อหนุนในการดําเนินงานอาชีพ โดย
สามารถดําเนนิ การไดดวยสมาชิกภายในครอบครัว และสามารถจา งแรงงานในพ้นื ที่ได
ทั้งนี้ หากมีการดําเนินงานการขยายผลิตภัณฑจากนํ้ามันมะพราวกล่ันเย็น ตอง
คาํ นงึ ถงึ วัสดุสวนผสมในการผลิต เพราะในพ้นื ทีต่ ําบลเกาะกูดไมมีทรัพยากรธรรมชาติ เพ่ือใชในการผลิต
รวมท้งั ระยะทางของตาํ บลเกาะกูดหางจากฝงรวม 80 กิโลเมตรทางทะเล และสภาพภูมิอากาศในชวง
ฤดูมรสุม เพราะเรือโดยสารที่จะฝากผลผลติ ไปจาํ หนายอาจจะไมออกเรือ
2. จากขอมูลสภาพการณภายนอก สรุปไดวา การขยายผลิตภัณฑจากนํ้ามันมะพราว
กล่ันเย็น สามารถใชนํ้ามันมะพราวกลั่นเย็น นํามาเปนวัสดุหลักในการผลิตผลิตภัณฑเพื่อใช
ในชีวิตประจาํ วัน เพือ่ การจําหนายได เพราะตําบลเกาะกูด เปนแหลงทองเท่ียว ท่ีมีภูมิประเทศ อุดมไป
ดวยมะพราว และธรรมชาติสวยงาม มีลักษณะภูมิอากาศ ท่ีเหมาะสมตอการทองเที่ยว ทําใหมี
นักทอ งเทยี่ วทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศ นิยมเดินทางมาเท่ียวเปนจํานวนมาก จึงเก้ือหนุนในการ
ดาํ เนินงานอาชีพ
ทงั้ น้ี การขยายผลติ ภัณฑจากน้ํามันมะพราวกล่ันเย็น ตองคํานึงถึงวัสดุสวนผสมใน
การผลิต เพราะตองสั่งซ้ือจากภายนอกพ้ืนท่ี รวมทั้ง ระยะทางของตําบลเกาะกูดหางจากฝงรวม
80 กิโลเมตรทางทะเล และสภาพภมู ิอากาศในชวงฤดูมรสุม เพราะเรอื โดยสารท่จี ะฝากซื้อวัสดุสวนผสม
ในการผลิต และฝากผลผลติ ไปจาํ หนา ยอาจจะไมม กี ารออกเรือ
3. ภาพรวมการวเิ คราะหสภาพการณส รปุ ไดว า
3.1 มคี วามเหมาะสมและเปนไปได ในการขยายผลิตภัณฑจากน้ํามันมะพราวกล่ันเย็น
เพราะสามารถนํานํ้ามนั มะพราวกลนั่ เย็น ไปใชเปนสว นผสมหลักในการผลิตผลิตภณั ฑ สาํ หรับนําไปใช
ในชีวติ ประจาํ วันได
3.2 ดําเนินการขยายอาชีพเพ่ือความมั่นคง ใชการบริหารจัดการอาชีพในลักษณะ
ครอบครัว และสามารถจางแรงงานเพื่อสนับสนุนการผลิตได ตามจํานวนการผลิตในแตละชวง
6. เมือ่ สามารถวเิ คราะหก าํ หนดเปา หมายและทิศทางที่จะดําเนินการขยายอาชีพไดแลว
เพื่อใหเกิดเปาหมายสงู สดุ และเสนทางการดําเนินการขยายอาชีพใหเกิดความม่ันคง ผูประกอบการควร
จัดทําแผนพัฒนาธุรกิจชุมชน เพ่ือใหการบริหารจัดการงานอาชีพเปนไปอยางมีระบบและเปาหมายที่
ชัดเจน
35
กจิ กรรมที่ 4
ใหผ เู รียนวิเคราะหชุมชน ตามสภาพบรบิ ทของพืน้ ที่ ไดแ ก ทรพั ยากรธรรมชาติ
ลักษณะภูมอิ ากาศ ภมู ปิ ระเทศ ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณแี ละวิถชี ีวติ และทรพั ยากรมนษุ ย กบั งาน
อาชีพท่กี ําหนดจะขยายงานอาชพี ดว ยเทคนิค SWOT เพอื่ การขยายอาชพี เพอ่ื ความม่นั คง
อาชพี ท่ีตดั สนิ ใจเลอื ก .................................................
สถานการณภายในชมุ ชน
จุดแขง็ จดุ ออ น
1. ทรัพยากรธรรมชาติ 1. ทรพั ยากรธรรมชาติ
2. ลักษณะภูมอิ ากาศ 2. ลกั ษณะภูมิอากาศ
3. ภูมปิ ระเทศ 3. ภมู ปิ ระเทศ
4. ศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชีวติ 4. ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชวี ิต
5.ทรัพยากรมนษุ ย 5.ทรัพยากรมนษุ ย
สถานการณภ ายนอกชมุ ชน
โอกาส อปุ สรรค
1. ทรัพยากรธรรมชาติ 1. ทรพั ยากรธรรมชาติ
2. ลักษณะภูมิอากาศ 2. ลักษณะภมู ิอากาศ
3. ภูมปิ ระเทศ 3. ภมู ิประเทศ
4. ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถชี ีวติ 4. ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชวี ติ
5.ทรพั ยากรมนุษย 5.ทรัพยากรมนุษย
36
เอกสารหมายเลข 8 : ใบความรู เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
เช่ือวา คนไทยสามารถพัฒนาศักยภาพการคิด การกระทําใหเขมแข็งข้ึน เพ่ือสราง
เศรษฐกิจแกปญหาความยากจนดวยการสรางลักษณะนิสัยประจําใหเปนบุคคลท่ีจะทําอะไรตองคิดหา
เหตุผล คิดตัดสินใจระบบความพอดีสําหรับตนเองหรือชุมชน กําหนดแนวทางสรางภูมิคุมกันใหกับ
อาชพี ทจี่ ะทํา เรียนรู สรา งความรอบรูใหก ระจางพึ่งพาตนเองได และมีคุณธรรม จริยธรรม สงผลใหการ
พฒั นาเศรษฐกจิ ของบุคคล สามารถสรางความพอเพียงอยูดีมีสุข และกาวถึงความมั่งมีศรีสุข ดํารงชีวิต
อยา งพอเพยี งเกื้อกูลสงั คมได
การเรยี นรูเพ่อื พฒั นาศกั ยภาพ การคดิ การกระทํา ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จะมุงเนน องคป ระกอบแหงคณุ คา 5 ประการ คือ
1. การพฒั นาทักษะการคดิ หาเหตุผล
2. การพฒั นาทกั ษะการคิดตดั สนิ ใจระบุความพอดีสําหรับตนเองและชมุ ชน
3. การพัฒนาทกั ษะการคดิ กําหนดแนวทางสรา งภูมิคุมกนั ใหก ับเรอ่ื งทีจ่ ะทาํ
4. การพัฒนาทักษะการแสวงหาความรูและสรปุ องคค วามรใู นเร่อื งที่จะทาํ
5. การพัฒนาเจตคติเพอื่ การคิดการกระทาํ ใหเ กิดคณุ คาในคณุ ธรรมและจริยธรรม
การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนการนําองคประกอบแหงคุณคา
5 ประการ ไปบูรณาการกับเหตกุ ารณสาระที่นาํ เขา มาเกยี่ วขอ ง ดวยการนํามาวิเคราะหความสัมพันธระบุ
ลกั ษณะปฏสิ มั พนั ธท่ีนาจะเกิดใชเปน ขอมูลสารสนเทศในการตดั สินใจกําหนดแผนพัฒนาระดบั ตาง ๆ
การวัดผลประเมนิ ผล ความสําเรจ็ ของการใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ควรจะเปน
การประเมินตนเองเพื่อการพัฒนา เพราะผลสําเร็จของแตละบุคคลแตกตางกัน จึงเปนการวัดผล
ประเมินผล เพอื่ บอกตนเองวา ขณะนี้เราอยูตรงไหน แลว เราพอหรือยงั มใิ ชก ารตัดสินใจวาเกง กวา ใคร
ความหมายและลักษณะองคประกอบแหงคณุ คา 5 ประการ
ความมีเหตผุ ล หมายถงึ การท่ีเราจะทําอะไร เราจะตองศึกษาวาอะไรเปนเหตุและลักษณะ
ผลท่เี กดิ เปน อยางไรดวยการจําแนกออกใหไดวา ถาเราตองการใหเ กดิ อะไร มีอะไรเปนเหตทุ ่ีทาํ ใหเกิด
เหตทุ ี่ 1
เหตทุ ี่ 2 ผลทเ่ี กิดจากความคดิ
ตวั อยา ง เหตุที่ 3
กลว ยตากมี รสชาติถูกปากคนไทยอยแู ลว
มีกระแสและผลการวจิ ัยวา
คนนิยมกนิ มาก กลวยตากเปน อาหารมคี ุณคาสูง
เปน อาหารราคาถูกหาซือ้ งาย
37
ความพอดี หมายถึง ส่ิงท่ีเราจะทํามีความพอดีอยูตรงไหนท่ีเราสามารถเขาถึงไดจริง
อยางไมทุกขยากเดอื ดรอนมากนกั ซง่ึ เปน เร่อื งของเอกตั บุคคลดังตวั อยาง
ตัวอยางที่ 1 นางลอยตัดสินใจปลูกกลวยนํ้าวาพันธุมะลิออง เพื่อใชทํากลวยตาก
บนพ้นื ท่ี 3 ไร โดยมขี อมูลในการระบุความพอดี ดังนี้
1. ตองใชแ รงงานของตัวเองเพียงคนเดียว
2. มีความรูวา กลวยเมื่อปลูกแลวจะใชเวลา 12 เดือน จึงใหผลผลิต ถาปลูกเดือนละ
100 ตารางวา เมื่อครบ 12 เดือน จะเตม็ พ้ืนท่ี 3 ไร มผี ลผลติ ออกมาในปริมาณพอดีกับการจัดการตากแหงได
เปน ระยะ ๆ
3. ผลผลิตกลว ยตากอบแหงจะมปี ริมาณพอดกี ับการจัดจาํ หนายดวยตนเอง
ตัวอยา งที่ 2 นายเขม็ ชายพกิ ารเดินไมได แตน่ังเคล่ือนท่ีได ตัดสินใจปลูกหนอไมฝร่ัง
200 ตารางวา (ครง่ึ ไร) โดยมีขอมูลในการระบคุ วามพอดี ดงั น้ี
1. ตองการมีรายไดเพียงวนั ละ 300 บาท ใชเ ลยี้ งตนเอง และคุณแม
2. มที ดี่ ินของตนเอง 2 ไร อยูทา มกลางพ้นื ท่ปี ลกู หนอ ไมฝร่ัง มีบริษัทจัดจําหนายมารับ
ซือ้ ถึงชุมชนทกุ วนั
3. ถาเริ่มตน ใชพ ้นื ที่ 200 ตารางวาในการผลิตจะพอดกี บั สภาพรางกายทําไดส บาย ๆ
4. พ้นื ท่ี 200 ตารางวาสามารถใหผลผลิตไดวันละ 8 – 10 กิโลกรมั
5. หนอไมฝร่งั ราคากโิ ลกรัมละ 40 บาท วันหนึง่ จะมรี ายได 300 – 400 บาท คอ นขา งแนนอน
6. การปฏิบัติการดูแลตนหนอไมฝร่ัง คนปกติน่ังทํา คนพิการจะตองน่ังอยูแลว
การเคล่ือนตัวก็ใชว ิธีการถัดไป จงึ เปนกจิ กรรมทเ่ี หมาะสมทส่ี ุดขณะนี้
ภูมิคุมกัน หมายถึง การกําหนดแนวทางการจัดการปองกันความเสียหาย ไดแก
การออมสะสมทุนเพ่ือปองกันสภาพคลองทางการเงินและเปนทุนขยายกิจกรรม เม่ือไดจังหวะเวลา
ที่สมควรมาถึง การสรางศรัทธาใหลูกคายอมรับไมทอดทิ้งเลิกซื้อขายกับเรา การสรางคุณภาพผลผลิต
ใหล ูกคา เชอ่ื ถือไดว า ผลผลิตทซี่ ้อื มคี ณุ ภาพแนน อน การสรา งความรกั ภกั ดตี อ คนรว มงานใหม ีความรูส ึกวา
ทํางานอยูก บั เรามชี ีวติ ปลอดภัยมีอยมู กี ินแนนอน
ความรอบรู หมายถงึ เม่อื เราคิดหาเหตหุ าผลวา เราจะทําอะไรแลวคิดตัดสินใจวาควรทํา
เทาไร จะพอดีกับสภาพท่ีเปนจริงและเขาถึงได ดังน้ัน เมื่อตัดสินใจไดและทําจริงเราจําเปนตองเรียนรู
รายละเอยี ดตา ง ๆ แสวงหาความรู ตรวจสอบความรูจนกระจา งบรู ณาการเขากับประสบการณของตนเอง
สรปุ เปน องคความรูเพอ่ื ใชด ําเนินการจรงิ ได
คณุ ธรรม หมายถงึ ความคดิ เจตนาท่เี กย่ี วขอ งกับการประกอบอาชพี เปนไปอยา งมคี ุณคา
สอดคลอ งกับศลี ธรรม กฎระเบียบ ขอ กาํ หนด และไมส รางความเดอื ดรอนแกส ังคม
38
สรุป
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนเรอ่ื งของความรูส กึ ความมงุ ม่ัน การรทู ันและเขาใจในส่ิงท่ีจะ
ทาํ คิดสรางสรรคและรับรูโลกกวาง เพ่ือการดํารงชีวิตอยูอยางพอเพียงในสังคม ชุมชนของงาน และกาว
เขาสโู ลกแหง การแขง ขนั ทางเศรษฐกจิ ในระบบทุนนยิ มไดอยางมีสติปญ ญา
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไมไดปฏิเสธทุนนิยม แตจะใชพลังแหงสติปญญา พัฒนาตนเอง
สังคม ชุมชน รวมกัน สรางทุนนิยมใหม นําพาประเทศเขาสูความเปนมหาอํานาจแหงสันติสุขที่มั่นคง
ยงั่ ยนื
กิจกรรมท่ี 5
ใหผูเรยี นวเิ คราะหการประกอบอาชพี ของตนเอง หรือสมั ภาษณภ มู ิปญ ญาในชุมชน วาไดย ดึ หลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนแนวทางในการประกอบอาชีพหรือไม โดยวิเคราะหใหครบท้ัง 5
องคประกอบ
39
เอกสารหมายเลข 9 : ใบความรู เรือ่ ง การวเิ คราะหตรวจสอบระบบความพรอมในการสรา งอาชีพ
กรอบแนวคดิ
องคประกอบของ องคประกอบของ ปฏิสมั พนั ธ ตรวจสอบกับ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง การทาํ อาชพี ทีค่ วรจะเปน สภาพจริง
สรุปความพรอ ม
1. เหตุผล 1. ทุน
2. ความพอประมาณ 2. ผลผลิต
3. ภูมคิ ุมกัน 3. ลกู คา
4. ความรอบรู 4. การเรยี นรูพฒั นา
5. คุณธรรม
ตนเอง
ใชตารางสัมพนั ธส องทาง
วิเคราะหความสมั พนั ธ
แผนภมู แิ สดงกรอบแนวคิดการวเิ คราะหต รวจสอบระบบความพรอ มในการสรา งอาชพี
จากแผนภมู ิดังกลาว จะเห็นวา การวิเคราะหตรวจสอบระบบความพรอมในการสราง
อาชีพมภี ารกิจทจ่ี ะตองทํา 2 ข้ันตอน คือ
1. การนาํ องคประกอบของเศรษฐกจิ พอเพยี งและองคป ระกอบการทําอาชพี มาวเิ คราะห
โดยตารางสมั พันธสองทาง เพอ่ื คดิ หาปฏิสมั พันธทเ่ี กดิ ขึน้ ระหวา งองคป ระกอบ
2. นําปฏิสัมพนั ธท ่ีวเิ คราะหไดม าตรวจสอบกับสภาพจริงวา มีอะไรบางท่ียังไมพรอม
แลว สรปุ ลกั ษณะความพรอมและสงิ่ ทจ่ี ะตอ งสรางใหเ กดิ ความพรอ ม
การวิเคราะหร ะบุปฏสิ มั พนั ธร ะหวางองคประกอบ
ดวยการนาํ องคประกอบของเศรษฐกิจพอเพียงมาบรรจุในตารางสัมพันธสองทางตาม
แนวตง้ั แลว นําองคประกอบทางอาชพี มาบรรจุในตารางสมั พันธสองทางตามแนวนอน แลวระบุความคิด
รวบยอดของปฏิสัมพนั ธท่คี วรจะเปน ดงั น้ี
40
ตัวอยาง : การวเิ คราะหความสัมพันธเพอ่ื กาํ หนดความคิดรวบยอดของปฏสิ ัมพนั ธท ีค่ วรจะเกดิ
องคป ระกอบ
เศรษฐกิจ ของการ 4. การเรยี นรูพฒั นา
พอเพียง ทําอาชพี 1. ทุน 2. ผลผลติ 3. ลูกคา ตนเอง
A A1 A2 A3 A4
ความมีเหตุผล เอาจากไหน คณุ ภาพเปน เปนใคร ความสามารถ
B B1 อยา งไร ขายใหใ คร ยกระดับคุณภาพ
ความพอประมาณ เทา ไร B2 B3 อยางตอเนอ่ื ง
C จะทําเทา ไร ขายแบบไหน B4
ภมู คิ ุมกนั ความสามารถที่
D C1 การออม C2 C3 จําเปน ตอ งพัฒนา
ความรอบรู - การสะสมทุน ลูกคายอมรบั ความเชอ่ื ทจ่ี ะได ใหเกดิ มีอะไรบาง
E ผลิตภัณฑที่ดี C4
คณุ ธรรม D1 D2 D3 ความภกั ดขี อง
- แผนธรุ กิจ วธิ ีการผลติ วิธกี ารบริโภค บุคลากรรว มงาน
- แผนการลงทุน D4
E3 - การผลิต
E1 E2 ผลผลติ ปลอดภัย - การตลาด
ระเบยี บวนิ ยั การ คุณภาพไดต าม - การกระจายสินคา
ใชเงิน ขอกําหนด
E4
อนรุ กั ษ
สภาพแวดลอม
จากตารางสัมพนั ธสอง ทางเราจะเห็นความคิดรวบยอดของปฏิสัมพันธท้ัง 20 รายการ
ทีผ่ ูเ รยี นผูป ระกอบอาชพี จะตองคิดหาคําตอบในทกุ รายการ (ตั้งแต A1 ไปจนถึง E4) กับสภาพท่ีเปนจริง
ของตนเองแลวจาํ แนกรายการทีม่ ีความพรอม และรายการที่ไมพรอ ม กจ็ ะเปนการตรวจสอบความพรอม
ในการสรา งอาชพี จาก 20 คาํ ถาม แลว จัดทําบนั ทกึ สภาพความพรอ มในการสรา งอาชพี
41
ตวั อยาง บนั ทึกความพรอมในการสรางอาชพี การผลติ ผลมะเดื่อฝรง่ั (Fix) อบแหง
ความคิดรวบยอดของปฏิสัมพันธ สภาพทเ่ี ปนจรงิ
A1 เหตผุ ลเกย่ี วกบั ทนุ : ใชทนุ จากแหลง ใด A1 ทนุ จากการออมของตนเอง
B1 ความพอประมาณเกยี่ วกับทนุ : จะตอ งใชเทา ไร B1 เรม่ิ ตนท่ี 20,000 บาท
C1 ภมู คิ มุ กนั เก่ียวกับทนุ : การออม การสะสม C1 -
D1 ความรอบรูเก่ียวกบั ทุน : แผนการลงทุน D1 -
E1 คุณธรรมทเ่ี ก่ียวกับทุน : ระเบยี บวนิ ัยการใชเงิน E1 มนั่ ใจในการฝกอบรมจากครอบครัว และไปรบั
การอบรมสมั มนาเกีย่ วกบั การจดั การทุนแลว
A2 เหตุผลเกย่ี วกับผลผลิต : คณุ ภาพเปนอยา งไร A2 ผลผลิตลกู โตขนาด 6 ลกู /กก. เนอ้ื หวานนุม กลิน่
แบบกุหลาบ
B2 ความพอประมาณเก่ียวกับผลผลิต : จะทําเทา ไร B2 จะทาํ ผลผลติ 2 ไร
C2 ภมู คิ ุมกนั เกีย่ วกบั ผลผลติ : ลกู คายอมรบั C2 -
D2 ความรอบรเู กี่ยวกบั ผลผลติ : วิธกี ารผลติ D2 แสวงหาความรูศกึ ษาดูงานสรุปองคค วามรูไดแ ลว
E2 คณุ ธรรมเกี่ยวกบั ผลผลติ : คุณภาพไดตาม E2 -
ขอกาํ หนด
A3 เหตุผลเกยี่ วกบั ลูกคา : ขายใหใ คร A3 ขายกับกลุมผูร ักษาสขุ ภาพ
B3 เหตผุ ลเกยี่ วกบั ลูกคา : ขายไดไหม B3 ขายตรงกับผูรักสขุ ภาพ
C2 ภมู คิ ุมกันเกี่ยวกบั ลกู คา : ความเชื่อถือผลติ ภัณฑ C3 มเี อกสารรบั รองคณุ ภาพเกษตรอินทรยี ข อง
กรมวิชาการเกษตร
D3 ความรอบรเู กย่ี วกับ : มาตรฐานคณุ ภาพผลผลติ D3 จัดทาํ เอกสารคณุ คา ผลผลติ และวิธกี ารบริโภค
กาํ กับสนิ คา
E3 คณุ ธรรมเก่ยี วกับลกู คา : ผลผลิตปลอดภัย E3 ใชกระบวนการเกษตรอนิ ทรยี ไ มใชสารพษิ
A4 เหตุผลเก่ยี วกบั การพฒั นาตนเอง : ความสามารถ A4 -
ยกระดับคณุ ภาพอยา งตอ เน่ือง
B4 ความพอประมาณเกี่ยวกบั การพฒั นาตนเอง : B4 -
ศกั ยภาพทต่ี อ งพฒั นา
C4 ภูมิคมุ กนั เกยี่ วกับการพัฒนาตนเอง : ความภกั ดี C4 มกี ารพัฒนาทักษะการทํางาน มสี วสั ดิการรานคา
ของผูรว มงาน ประกนั ความอดอยาก
D4 ความรอบรเู กย่ี วกบั การพฒั นาตนเอง : การผลิต D4 การขยายพนั ธุ การบาํ รงุ รักษาตน การแปรรูป
การตลาด ความสัมพนั ธก บั ชมุ ชน อบแหง (Fix)
E4 คุณธรรมเกย่ี วกับการพฒั นาตนเอง : การอนรุ ักษ E4 กระบวนการเกษตรอนิ ทรยี เ ปนกระบวนการ
ส่ิงแวดลอ ม อนุรักษส่ิงแวดลอ มอยแู ลว
42
จากตารางตัวอยาง ทําใหเราทราบวา การเขาสูอาชีพผลิตมะเดื่อฝร่ังอบแหง ยังมีรายการที่ตอง
ดาํ เนนิ การเรยี นรูค ิดเพ่มิ เติม 6 รายการ
สรปุ
การวเิ คราะหต รวจสอบระบบความพรอมในการสรา งอาชีพ เปนกระบวนการวิเคราะห
ดวยตารางสองตาราง เพื่อสรุปความคิดรวบยอดของปฏิสัมพันธระหวางองคประกอบทางเศรษฐกิจ
พอเพียง กับองคประกอบในระบบอาชีพ จากสภาพท่ีเปนจริงของผูประกอบอาชีพจะสะทอนใหรูจัก
ตนเองมองเห็นสภาพทต่ี องเสรมิ เติมใหเ กดิ ความพรอม
กจิ กรรมที่ 6
ใหผูเรียนจัดทําบันทึกความพรอมในการสรางอาชีพท่ีตนเองประกอบอยู หรืออาชีพที่ผูเรียน
ตองการประกอบการมา 1 อาชีพ ตามความคิดรวบยอดของปฏิสัมพันธระหวางเศรษฐกิจพอเพียงกับ
องคประกอบการทําอาชพี (ตง้ั แต A1 ไปจนถึง E4)
43
บทท่ี 3
การพฒั นาตนเองเพอ่ื การขยายอาชีพ
ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวงั
ปฏิบัตกิ ารวิเคราะหตนเองและพฒั นาทักษะ การขยายอาชพี ใหเ ปนลกั ษณะนิสยั
ขอบขา ยเน้อื หา
เรอ่ื งท่ี 1 การวิเคราะหทาํ ความเขาใจและรูจ กั ตวั ตนทแี่ ทจรงิ
เรอ่ื งท่ี 2 การพัฒนาทักษะการขยายอาชีพใหเปน ลักษณะนิสัย
สือ่ ประกอบการเรยี นรู
1. เอกสารหมายเลข 10 ใบความรู เรื่อง ตัวตนทีแ่ ทจ ริงของตนเอง
2. เอกสารหมายเลข 11 ใบความรู เร่อื ง การพัฒนาทกั ษะการขยายอาชพี ใหเ ปนลกั ษณะนสิ ัย