The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maw.nfe, 2020-04-17 05:08:23

ทักษะการขยายอาชีพ อช31002 ม.ปลาย

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

Keywords: หนังสือเรียน กศน.

44

เรือ่ งท่ี 1 การวิเคราะหท าํ ความเขา ใจและรูจักตัวตนทแ่ี ทจ ริง
ลกั ษณะบงช้คี วามสําเรจ็ ของการเรียนรู
1. รจู กั และจาํ แนกองคประกอบตวั ตนที่แทจ รงิ ของตนเองได
2. บอกหนาทีอ่ งคประกอบของตวั ตนได
แผนปฏบิ ตั ิการเรยี นรู
ลักษณะบง ชีค้ วามสาํ เรจ็
ของการเรยี นรู กจิ กรรม การวดั ผล ประเมินผล ส่ือการเรยี นรู

1. รจู ักและจําแนก เรียนรดู ว ยตนเอง ความเขา ใจองคประกอบ เอกสารหมายเลข 9
องคประกอบตวั ตน 1. ใหผูเรียนศกึ ษาเอกสาร รวมในตวั ตนของเรา ใบความรเู รือ่ งตัวตนที่
ที่แทจ ริงของตนเองได ใบความรู เรอ่ื งตวั ตนท่ีแทจริง แทจ รงิ ของตนเอง

ของตนเองใหเขาใจ

2. บอกหนา ทีอ่ งคประกอบ 2. ใหผเู รียนวเิ คราะห บอกหนาที่และ
ตัวตนของตนเองได ความเขา ใจตวั ตน ตามเอกสาร ปรากฏการณค วามคิดตอ
ใบความรูอยางเครง ครดั องคประกอบตวั ตนที่
3. ประเมนิ ตนเองวา ความรทู ี่เกดิ แทจ ริงของตนเองได
จากใจของตนเองเปน จรงิ
หรือไม

เอกสารหมายเลข 10 : ใบความรู เรอื่ ง ตวั ตนท่ีแทจริงของตนเอง 45
กรอบแนวคิด
2
ตัวตนของเราประกอบดวย กายและใจ 3

ความรูสึก

1

รปู กาย ใจ ความจาํ ได หมายรู

การคดิ ปรุงแตง 4

การรบั รู 5

โครงสรา งของตัวตนทแี่ ทจรงิ มีการทํางานท่ีสอดประสานกันท้ังทางบวกและทางลบท่ี
ทําใหคนเรามีความแตกตางกัน คนท่ีประสบความสําเร็จมักจะเปนบุคคลที่มีความสามารถควบคุมกาย
และใจใหอ ยกู ับสมมติคานิยมของสังคมชุมชนได ผูท่ีไมสามารถควบคุมไดมักจะเปนบุคคลท่ีตกอยูใน
สภาพคลอยตามความอยากของกายและใจ พ่ึงพาตนเองไดจากความคิดดังกลาวอาจสรุปไดวา
องคป ระกอบท้ัง 5 ประการนี้ สามารถพฒั นายกระดับคณุ คา ข้นึ ไดดว ยตนเองดว ยการเรียนรูทําความรูจัก
และรูเทาทันตลอดเวลา

รปู กาย
เปน องคป ระกอบของอวัยวะตาง ๆ ท้ังภายนอกและภายใน ทําหนาที่สอดประสานกัน

พรอ มทาํ งานตามที่ใจส่งั การ โดยคณุ ภาพของการกระทําเปน ตัวบง ช้สี มรรถภาพทางใจ

ความรสู กึ เปน องคประกอบแรกของใจทีจ่ ะตอบสนองออกมาเปน ความรูสึกพอใจ ความรสู กึ เฉย ๆ

และความรสู ึกไมพ อใจตอ สภาวะแวดลอ มทเ่ี ปนอยู ชอบ – สขุ – พึงพอใจ

ความรูสกึ เฉย ๆ

ไมช อบ – ทุกข – โกรธ

46

ความจําไดหมายรู
เปนองคประกอบของใจที่ทําหนาท่ีจดจําหรือลืมความรูสึกตาง ๆ ที่กระทบเขามาทั้ง
ทางบวกและทางลบ
ชอบ – สขุ – พึงพอใจ
จาํ ได
จําได หมายรู ไมช อบ – ทุกข – โกรธ

จําไมได

การคิดปรุงแตง
เปน องคประกอบของใจ ทาํ หนา ที่คิดปรงุ แตง สรา งสรรคออกมาเปนทางบวกหรือทางลบ
ปรงุ แตง เชิงบวก

คิดปรงุ แตง ปรุงแตงเชงิ ลบ

การรบั รู

และการสัมผัส เปนองคประกอบสุดทายท่ีทําหนาท่ีรับรูจากการเห็น การไดยิน การไดกล่ิน การรูรส

การเหน็
การไดย ิน
การรบั รู การไดก ลิ่น

การรรู ส
การสมั ผสั
ปฏิบัตกิ ารวเิ คราะหทําความเขาใจตัวตน
จากความเขาใจในองคประกอบของตัวตนที่แทจริง เปนความเขาใจแบบรูจําได แต

ความรู ความเขาใจตองเกิดจากภายในตวั ตนทแี่ ทจริงของเราดว ยตนเอง โดยมขี ั้นตอนดังน้ี
1. องคป ระกอบที่เราจะเรียนรูตนแบบดานการนกึ คิดตรึกตรองจากตวั เราเอง คือ
1.1 ความรสู กึ
1.2 การจาํ ได หมายรู
1.3 การคดิ ปรงุ แตง
1.4 การรับรู
2. การเตรยี มการ ควรใชส ถานที่สงบ สภาพอากาศสง่ิ แวดลอมสบาย ๆ มสี ิง่ รบกวนนอย
3. วิธีการ

47

3.1 ความรสู กึ ใหผ ูเรียนมองสภาพแวดลอม (กลมุ คน ตน ไม ทศั นียภาพ) เม่อื สายตา
กระทบสิ่งสนใจใจเราจะเกดิ ความรสู ึกชอบ – ไมช อบ หรอื เปน ความสขุ – ความทุกข หรอื พงึ พอใจ – โกรธ
หรอื วา เฉย ๆ ใชห รอื ไม ทาํ หลาย ๆ กรณี ใจเรามคี ําตอบใหเ ราวา ส่ิงกระทบนร้ี ูสกึ อยา งไร เชน รูสึกชอบ
พอใจ จากน้ัน กเ็ ปรยี บเทยี บไปฟงเสียงตาง ๆ ท่จี ะเกดิ ขึน้ วา มคี วามรูสกึ เชน เดียวกับการมองหรอื ไม

3.2 การจาํ ได หมายรู ใหผ ูเรียนนกึ ถึง บุคคล เหตุการณที่เราพึงพอใจ หรือไมพอใจ
เราจะนกึ เหน็ เปนภาพในใจ ปรากฏการณน ้นั เปนสงิ่ ที่เรามคี วามจําไดห มายรู

3.3 การคดิ ปรงุ แตง ใหผูเ รียนมองหรอื ฟง เสยี ง บคุ คล สถานที่ สิง่ แวดลอมตาง ๆ จะ
เกดิ ความรสู ึก จากนั้นปรงุ แตงตอไปวา ส่ิงที่คดิ นั้น จะเปน ทางบวกหรือทางลบ ปรากฏการณน้จี ะเปนการ
นําส่ิงท่ีรับรูมาประมวลกับประสบการณเดิม ผลการปรุงแตงมักจะอาศัยความจําไดหมายรูของ
ประสบการณเ ดิม

3.4 การรับรู ใหผูเรียนสังเกต การมอง การฟงของตนเอง จะเปนกระบวนการ
ตอ เนอื่ ง

ตารบั รูภาพ การจําไดหมายรจู ะประมวลใหใ จบอกตนเองวา คอื อะไร

4. สรปุ ปรากฏการณของตนเอง ทําเปน เชนนี้หรอื ไม
4.1 รจู ักเขาใจอยางกระจา งเกีย่ วกบั องคประกอบทางใจของตวั เราเอง
4.2 องคประกอบทางใจสามารถฝกใหตอบสนองออกมาทางบวก หรือทางลบได โดย
ใชก รณศี ึกษาทเี่ ปน จริงในสภาวะแวดลอ มของเราเปนเครือ่ งมือในการเรียนรู
4.3 ถาใจเราตอบสนองออกมาเชิงบวกมาก ๆ เราสามารถพัฒนาตนเองอยูกับอาชีพ
สงั คม ส่ิงแวดลอมตาง ๆ ไดอยา งย่งั ยืน

กจิ กรรมที่ 7
ใหผูเรียนวิเคราะหค วามเขา ใจ ตวั ตนตามเอกสารใบความรูและประเมินตนเองวาความรูท่ีเกิดจากใจ

ของตนเองเปน จริงหรอื ไม

48

เรื่องที่ 2 การพัฒนาทักษะการขยายอาชีพใหเปนลกั ษณะนสิ ยั
ลักษณะบง ชี้ความสําเรจ็ ของการเรียนรู
1. สามารถพฒั นาใชชอ งทางการรบั รู และกระบวนการตอบสนองการรบั รูได
2. สามารถพัฒนาทักษะการขยายอาชพี และอืน่ ๆ ที่มคี ณุ คา ใหเ ปนลักษณะนิสยั ได
แผนปฏิบตั ิการเรยี นรู
ลกั ษณะบง ชค้ี วามสาํ เรจ็
ของการเรยี นรู กิจกรรม การวดั ผล ประเมินผล ส่ือการเรยี นรู

1. สามารถพัฒนาใชชอ ง ใหผ เู รียนศกึ ษาทําความเขา ใจ - ชอ งทางการรับรูทาง เอกสารหมายเลข 10
ทางการรบั รแู ละ เก่ยี วกบั ชอ งทางการรับรู และ ตาและหู ใบความรูเรือ่ งการ
กระบวนการ กระบวนการตอบสนองการรับรู - กระบวนการตอบสนอง พฒั นาทกั ษะการขยาย
ตอบสนองการรับรูได จากเอกสารใบความรู การรับรู อาชพี ใหเ ปนลักษณะ
นสิ ยั

2. สามารถพฒั นาทักษะ 1. ใหผ ูเรียนทําความเขา ใจระบบ
การขยายอาชีพและ การพฒั นาส่ือการรบั รทู ่ีมี
อ่นื ๆ ทีม่ คี ณุ คา ใหเ ปน คุณคาใหเปนลักษณะนิสัย
ลกั ษณะนิสยั ได 2. ปฏิบัติการวิเคราะหแ ละพัฒนา - ผลการวเิ คราะหแ ละ
ทกั ษะการขยายอาชีพใหเปน พฒั นาทกั ษะการขยาย
ลักษณะนสิ ัย อาชพี ใหเ ปน ลักษณะ
นิสัย

49

เอกสารหมายเลข 11 : ใบความรู เรอื่ ง การพฒั นาทกั ษะการขยายอาชพี ใหเ ปนลักษณะนสิ ยั
ความคิดรวบยอด การสรางลักษณะนิสยั ใหกับตนเอง

เปดชองทางการรบั รู ตวั ตน ใชก ระบวนการ
ตอบสนองการรับรู

- ความรทู กั ษะ ตา – รเู ห็น ขอมลู สมอง เกดิ พอใจเหน็ คุณคา - ประมวลผล
ในอาชีพ หู – รูฟง ความรูสกึ เฉย ๆ ตดั สนิ ใจ
- สงิ่ มคี ณุ คาตอชีวิต จมูก – รูกลิ่น ไมชอบ - ทาํ จนมคี วาม
จําได ชาํ นาญยึดติด
หมายรู จาํ ได เปน ลกั ษณะนสิ ยั
ไมจาํ

ปาก – รรู ส นึกคิด คดิ สรางสรรคเชงิ บวก
กาย – รสู ัมผสั ปรงุ แตง คดิ เชิงลบ

จากแผนภูมิ บอกภาพคิดรวบยอดไดวา การสรางลักษณะนิสัยใหเกิดในตนเอง ตองเร่ิมตนที่
ปจจยั นําเขา คอื ความรูทกั ษะในอาชพี หรือส่งิ ที่มีคุณคาตอชีวิต จากน้ันกระบวนการสรางลักษณะนิสัย
จะเรม่ิ ตนที่ตวั ตนของเราตอ งเปดชองทางการเรียนรู ไดแก การมอง การรับฟง การรูกล่ิน การรูรส และ
การรสู ัมผสั ชองทางเหลานี้จะทําใหเราไดขอมูล ขอมูลเหลาน้ีจะถูกนําเขามาสูกระบวนการตอบสนอง
การรบั รูท ่เี ร่มิ ตนจากสมองรับขอมูลเขามาสูองคประกอบดานความรูสึกจะรับรูและแสดงออกในความ
พอใจ (เฉย ๆ หรือไมพ อใจ กจ็ ะหลดุ ออกไป) สงตอ ไปยงั องคประกอบดานการจําได หมายรู จะประมวลวา
มคี วามจําอะไรทเี่ กี่ยวขอ งจะตอบสนองแสดงออกจําไดเ หน็ ความสําคัญ (จําไมได สาระที่เขามาก็จะหยุดลง
หรือหลุดออกไป) แลวสงตอไปยังองคประกอบดานนึกคิดปรุงแตง จะประมวลคิดสรางสรรค เปน
สงิ่ ใหมห รือแนวทางการทาํ งาน ดงั นั้น ถาเราไดย อ นกลบั มาเรม่ิ ตนใหมอีกครั้ง เราจะพบวากระบวนการ
ตอบสนองการรบั รู จะทาํ งานอยางรวดเร็ว ถา ทําซํ้าอีก อตั ราความเรว็ ในการตอบสนองจะรวดเร็วขึน้ โดย
ลาํ ดับจนตวั ตนติดยึด ถา จะทาํ อะไรเก่ียวกับเรือ่ งนจ้ี ะตอบสนองอยา งเปนอัตโนมัติหรอื เปน ลักษณะนิสยั

50

วธิ ีการสรา งลักษณะนสิ ัย ตอบสนองการเรียนรู
เปด ชอ งทางการเรยี นรู บนฐานทม่ี อี คตนิ อ ยทส่ี ุด
อยา งมวี ิจารณญาณ

1. ตารูเ หน็ มองวเิ คราะห 1. ความรูสกึ 2. จาํ ได หมายรู 3. คิดปรุงแตง - ดาํ รงงานอาชพี
วิเคราะหใ หเ ห็นโครงสรา ง เม่ือรับรแู ลว จาํ สง่ิ ท่รี ูส ึกชอบ สิง่ ท่รี เู หน็ รบั วา ขยายให
โครงสรา งหลกั และ เกิดความรูสกึ ไมชอบเกย่ี วขอ งกบั มคี วามสาํ คัญ ความม่ันคง
ความสมั พันธเชอ่ื มโยง ชอบ ไมช อบ อะไร อยา งไร จงึ สรางสรรค - ดํารงสงั คม
ไปยงั องคประกอบตาง ๆ บนฐานของใจ สําคญั แคไ หน ใหคณุ คาสูงข้นึ อยา งสันติสขุ
สรุปเปนความรู ทมี่ อี คตนิ อ ยที่สุด
2. หูฟง ฟงอยา งจบั
ประเดน็ เชื่อมโยง
ความสมั พันธ
ระหวา งประเดน็
สรปุ เปนความรู

จากแผนภูมิ จะพบวา เคร่อื งมือสําคญั ของการสรา งลกั ษณะนิสัย คือ (1) ความมวี จิ ารณญาณ และ
(2) การควบคมุ อคติภายในตนเองใหล ดนอ ยท่ีสดุ จึงเปน ตวั ผันแปรตอการสรางลักษณะนิสยั

1. การเปดชองทางการเรียนรู โดยผา นทางดวงตา หูฟง จมูกรกู ลน่ิ ล้นิ รูรส กายรูสัมผัส
ตวั เราจะตองรวบรวม สบื คนขอมูลใหล ะเอียดรอบคอบอยางมีวิจารณญาณ โดยเฉพาะสิ่งรับรูที่เปนทาง
ธรรม คือ การรับรส การรบั กลนิ่ และการรับสัมผสั จะตอ งแยกคุณลกั ษณะท่ีโดดเดน และคุณลักษณะรอง
และผลกระทบใหช ดั เจน

ตัวอยาง การชิมนาํ้ ทับทิมเปนรปู ธรรมและนามธรรม
1. รูปธรรม สขี องนา้ํ ทับทมิ สแี ดงสดใส กระทบกบั ความรสู ึกรา เริง
2. นามธรรม
(1) รสฝาด ทาํ หนาเปร้ียวตามมาและอมหวานในตวั ใหค วามรูสกึ ม่ันคง
(2) กล่ินนาํ ออกมาตอนแรกเปน กลน่ิ ของดอกการเวก หอมสดใส เม่อื ลมหายใจ
สะทอนกลบั มาเปน กล่นิ ออ นโยนคลายดอกกุหลาบ ทาํ ใหจิตใจ สดช่ืนและ
อบอุน

ตัวอยา ง การรับรใู นการชิมน้าํ ทบั ทิม เปน การรายงานขอ มลู อยางมวี ิจารณญาณใหความละเอียด
เพียงพอตอการตอบสนองที่มคี วามเทยี่ งตรงตอไปได

51

2. การตอบสนองการรับรู
เม่อื ขอมลู จากการรบั รูผ านเขา มาทางสมอง กระบวนการตอบสนองจะทาํ งานทันที โดย
1. ความรูสึก เมื่อขอ มูลเขา มากระทบความรูส กึ จะตอบสนองออกมาวา พอใจ หรอื ไมพอใจ
2. ความจําได หมายรู เมอื่ ขอมูลเขา มาพรอม ๆ กัน องคป ระกอบความจําจะตอบสนองประมวลวา
ขอ มลู ใหมเขา มามคี วามเกยี่ วขอ งกบั ขอมูลเกา อะไรบาง
3. การคิด ปรงุ แตง เมือ่ ขอ มูลเขา มาผานขนั้ ตอนความรสู กึ และความจาํ ผลตอบสนองจะกระทบ
กบั การคดิ ปรุงแตง ในอนั ทจี่ ะปรุงแตงในทางสรา งสรรคห รือในทางกลบั กนั
กระบวนการตอบสนองการรับรดู งั กลา วจะตองเปนกระบวนการที่มีอคตินอยที่สุดหรือไมมีเลย
การทําใหอ คตมิ ีนอ ยหรือไมม ีนนั้ สามารถทาํ ไดดว ยการวางจิตใจใหสงบลง คิดไตรตรองอยูกับ
กระบวนการตอบสนองการรับรูเพียงอยางเดียว จะเกิดสมาธิใหเราดําเนินการคิดท้ัง 3
องคประกอบไดอ ยา งเท่ยี งตรงมากขนึ้ โดยลาํ ดับ

จงึ อาจสรปุ การใชทักษะขยายอาชพี ใหเ ปนลกั ษณะนสิ ยั ไดด งั นี้

เปด ชองทางการรบั รูดา น
การอา น ศกึ ษา ความรู
ทกั ษะการขยายอาชีพ

ปฏิบตั ิการวเิ คราะห เรม่ิ ตนนกึ คดิ ในใจ กระบวนการตอบสนองการรบั รูจะเรม่ิ
ระบบทกั ษะการขยาย วิเคราะหระบบอยาง ไปพรอม ๆ กบั การวเิ คราะหระบบอาชพี
อาชพี อยางมี เปน ขัน้ เปนตอน
วิจารณญาณ ดว ยการ - องคป ระกอบดา นความรสู กึ จะเกดิ นกึ รู
อยูใ นทีส่ งบใน ในใจวาเห็นดว ย หรือไมเ ห็นดว ยกบั การวเิ คราะห
อิริยาบถทส่ี บาย ๆ - พรอ มกนั นน้ั องคประกอบดานความจาํ
หมายรู ก็จะประมวลประสบการณภูมิหลงั ทีจ่ ําได
- ขณะเดยี วกนั องคป ระกอบดา นการคดิ
ปรุงแตง ก็จะนึกคดิ เหน็ วา ควรสรางสรรค
อยา งไร

แผนภูมิสรปุ ดงั กลาว เปนกระบวนการทางสมาธิทจ่ี ะสรางใหเรามีทักษะการคิดอยางมี
วิจารณญาณและรอบดาน จะทําใหค วามคิดของเราปราศจากอคติ ผลการคดิ วิเคราะห จะมีโอกาสถูกตอง
มากข้ึน ถาใชกระบวนการน้ีมีความถี่มากยิ่งข้ึน ตัวตนของเราจะพัฒนาทักษะการทํางานใหเกิดเปน
ลกั ษณะนสิ ัยได และปรบั ไปสูส่งิ ใหมที่ดีกวาไดงายใหการคิดมีประสทิ ธภิ าพสงู สงเขาสูภมู ิปญญาในทสี่ ุด

52
กิจกรรมท่ี 8

ใหผูเรียนวิเคราะหและพัฒนาทักษะการขยายอาชีพใหเปนลักษณะนิสัยในอาชีพของตนเอง
หรืออาชพี ที่สนใจมา 1 อาชีพ

53

บทท่ี 4
ความหมาย ความสาํ คัญของการขยายอาชีพ

ผลการเรียนรูท ่ีคาดหวงั
อธิบายความหมาย ความสาํ คญั ความจําเปนในการขยายอาชีพใหมีผลิตภัณฑหรืองาน

บรกิ าร สรา งรายไดพ อเพยี งตอ การดํารงชวี ิต มเี งินออมและมีทนุ ในการขยายอาชพี

ขอบขา ยเนือ้ หา
เรื่องที่ 1 ความหมายของการจัดการขยายอาชีพ ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
เร่ืองที่ 2 ความสําคัญของการจัดการขยายอาชีพเพ่ือความม่ันคงตามแนวคิดปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง

สื่อประกอบการเรียนรู
1. เอกสารหมายเลข 12 ใบความรู เรื่อง ความหมายของการจัดการขยายอาชีพเพ่ือ

ความม่นั คงตามแนวคิดปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
2. เอกสารหมายเลข 13 แบบประเมินความเขาใจเกี่ยวกับความหมายของการจัดการ

ขยายอาชีพตามแนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
3. เอกสารหมายเลข 14 ใบความรู เรื่อง ความสําคัญของการจัดการขยายอาชีพตาม

แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. เอกสารหมายเลข 15 ใบความรู เร่ือง การประเมินตนเองเกี่ยวกับการรับไดของ

ความสําคญั ในการจดั การขยายอาชพี ตามกระบวนการคดิ เปน

54

เรอื่ งที่ 1 ความหมายของการจัดการขยายอาชพี ตามแนวคิดปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ลักษณะบง ชค้ี วามสาํ เร็จของการเรยี นรู

1. บอกความหมายของการจัดการขยายอาชพี
2. บอกความหมายของความม่ันคง
3. บอกความหมายของการจัดการขยายอาชพี เพ่อื ความม่ันคงตามแนวคิดปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
แผนปฏิบัตกิ ารเรียนรู
ลกั ษณะบง ชค้ี วามสาํ เรจ็ ของ
การเรยี นรู กจิ กรรม การวัดผล ประเมินผล ส่ือการเรยี นรู

1. บอกความหมายของการ อา นเอกสารหมายเลข 11 : ทดสอบความเขา ใจ เอกสารหมายเลข 11
จัดการขยายอาชพี ใบความรู เรอ่ื ง ความหมาย ความหมายของการจดั การ ใบความรู เรอ่ื ง ความหมาย
ของการจดั การขยายอาชีพ ขยายอาชีพ เพื่อความมัน่ คง การจัดการขยายอาชพี เพอ่ื
เพ่ือความมัน่ คงตามแนวคิด ตามแนวคดิ ปรัชญาของ ความม่นั คงตามแนวคิด
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง

2. บอกความหมายของ ประเมินความเขาใจตนเอง ผลการประเมินความเขา ใจใน เอกสารหมายเลข 12
ความมนั่ คง ตามเอกสารหมายเลข 12 กรณีตวั อยา งในเอกสาร แบบประเมนิ ความเขาใจ
หมายเลข 12 เกี่ยวกับความหมายของการ
จดั การขยายอาชพี ตาม

แนวคดิ ปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง

55

เอกสารหมายเลข 12 : ใบความรู เร่ือง ความหมายของการจดั การขยายอาชพี เพอ่ื ความมน่ั คง
ตามแนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ความหมายตามพจนานุกรม ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525 ดังน้ี
หมายถึง กรรมวธิ ีในการส่งั งาน ควบคุมงาน ดาํ เนนิ งาน
1. การจัดการ หมายถงึ การทําใหก ารทํามาหากนิ แผกวางออกไป

2. ขยายอาชีพ
3. ความมน่ั คง หมายถึง เก่ียวกบั การเกิดความแนน และทนทานไมกลับเปน อนื่
4. การจัดการขยายอาชพี เพอื่ ความมั่นคง
หมายถึง กรรมวธิ ีในการควบคุมการดาํ เนินงานทํามาหากินใหแผ

กวางออกไปดว ยความทนทานไมกลบั เปนอน่ื
หมายถึง งานเก่ยี วกับการผลติ การจําหนายจายแจกและการบรโิ ภค
5. เศรษฐกิจ

ใชส อยส่ิงตา ง ๆ ของชุมชน
หมายถึง เทาทตี่ อ งการ ควรแกค วามตองการ เต็มความตอ งการ
6. พอเพยี ง หมายถึง วิชาดว ยหลักแหง ความรู ความจรงิ

7. ปรชั ญา

8. เศรษฐกจิ พอเพยี งตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หมายถึง หลักแหงความรู ความจริงของงานเกี่ยวกับการผลิต
การจําหนายจายแจกและการบริโภคใชสอยส่ิงตาง ๆ ของชุมชน
เปนไปตามตองการ

ดังน้ัน การจัดการขยายอาชีพ เพ่ือความมั่นคงตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จึงอาจใหค วามหมายไดวา “กรรมวิธใี นการควบคุมการดาํ เนนิ งานทาํ มาหากินใหขยายกาวออกไปใหเกิด
ความแนนและทนทานไมกลบั เปน อืน่ ตามหลักความรู ความจริงของงานเกี่ยวกับการผลิต การจําหนาย
จา ยแจกและการบริโภคใชส อยสิง่ ตา ง ๆ ของชมุ ชนเปนไปตามตองการ”

56

เอกสารหมายเลข 13 : แบบประเมินความเขา ใจเก่ียวกบั ความหมายของการจดั การขยายอาชีพ
ตามแนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

1. อา นกรณตี วั อยา งแลว ตอบคาํ ถามดว ยตนเอง
“ ลุงอินปลกู ขาวโพดหวาน ขนาดรองกวาง 0.75 เมตร ยาว 40 เมตร สัปดาหละ 5 รอง

อยางตอ เนอื่ งไดผลผลิตสัปดาหละ 250 กิโลกรัม ขายใหกับลูกคาประจํา มีรายได 2,500 บาทคอนขาง
แนน อน แตป น้ีลกู เขา เรียนระดับอดุ มศึกษา 2 คน จะตองมีรายจายเพิ่มอีกเดอื นละ 10,000 บาท

ลุงอนิ หาตลาดขา วโพดหวาน ไดลูกคาเพ่ิมสามารถรับซื้อขาวโพดหวานตามปริมาณที่
เพม่ิ ข้ึนไดตามตองการ อยูมาไมนานเพ่ือนบานหลายครอบครัวเอาอยางปลูกขาวโพดหวานขาย ทําให
ขาวโพดมปี ริมาณมาก ราคาตก

ลุงอิน เห็นวา เพ่อื นบานตางกย็ ากจน หากปลอ ยใหส ภาพเหตุการณเปน เชน นีก้ จ็ ะพากัน
ขาดทุน เสียหาย ลุงอินประเมินปริมาณขาวโพดหวานที่ผลิตไดและมีคุณภาพปานกลางกับของลุงอิน
ประมาณสัปดาหละ 3,000 กิโลกรัม จึงตัดสินใจไปพบพอคาขายสงรายใหมตองการขาวโพดหวาน
ปริมาณมาก หากลุงอินสามารถรวบรวมผลผลิต ควบคุมคุณภาพใหไดมาตรฐานท่ีตองการและจัดการ
สง มอบใหไดจะรับซ้ือกิโลกรัมละ 15 บาท ลุงอินจึงเจรจารับซื้อขาวโพดหวานของเพื่อนบานใหราคา
กิโลกรัมละ 10 บาท หักคาขนสงกิโลกรัมละ 1 บาท ลุงอินไดกําไรกิโลกรัมละ 4 บาท เดือนหน่ึงจะมี
รายได 48,000 บาท พอเพียงใชจา ยดาํ รงชีวติ สง ลกู เรยี นได ทด่ี ินที่เคยปลูกขา วโพดและวางเปลา จํานวน
20 ไร ลุงอินปลกู ไมปาตนยางนา ตน สัก เปนไมโ ตไวได 2,000 ตน อีก 15 ปขางหนาจะสามารถตัดโคน
ขายไดต นละ 5,000 บาท คาดวา จะไดเ งนิ ประมาณ 10 ลา นบาท ”

จากเร่ืองราวของลงุ อนิ ทา นมีความเขาใจอยา งไร
1. การดําเนินงานปลกู ขา วโพดหวานขนาดรอ งกวา ง 0.75 เมตร ยาว 40 เมตร สัปดาหละ 5 รอง

เปรียบไดก บั ขอ ใด
ก. ความมนั่ คง
ข. การขยายอาชีพ
ค. การจดั การ
ง. ความพอเพียง
2. มรี ายได สปั ดาหล ะ 2,500 แนน อน สอดคลองกับขอใดมากทสี่ ุด
ก. ความม่ันคง
ข. การขยายอาชพี
ค. การจัดการ
ง. ความพอเพยี ง

57

3. ลุงอินหาตลาดขา วโพดหวานเพ่ิมขน้ึ เกย่ี วของกบั ขอ ใด
ก. ความม่นั คง
ข. การขยายอาชพี
ค. การจดั การ
ง. ความพอเพียง

4. เพอ่ื นบานเอาอยา งปลกู ขา วโพดหวานกนั มาก ราคาตก เก่ยี วขอ งกบั ขอ ใด
ก. ความไมม่นั คง
ข. การขยายอาชพี
ค. การจดั การ
ง. ความพอเพียง

5. ลงุ อนิ ไปพบพอ คา ขายสงรายใหญ เกี่ยวของกับขอ ใด
ก. ความมั่นคง
ข. การขยายอาชพี
ค. เศรษฐกจิ
ง. ความพอเพียง

6. การรวบรวมผลผลิต การควบคุมคุณภาพผลผลิต การจัดการรายไดกับสมาชิกเพื่อนบาน
ขอ ใดถกู ตองมากทีส่ ดุ
ก. ความมัน่ คง
ข. การขยายอาชีพ
ค. เศรษฐกจิ
ง. ความพอเพยี ง

7. ลงุ อินใหร าคาขาวโพดหวานของเพอ่ื นบา น กิโลกรมั ละ 10 บาท ขอ ใดถกู ตองมากท่สี ุด
ก. ความมั่นคง
ข. การขยายอาชพี
ค. เศรษฐกจิ
ง. ความพอเพยี ง

8. รายไดเ ดอื นละ 48,000 บาทของลุงอนิ สอดคลองกับขอ ใดมากทีส่ ดุ
ก. ความมัน่ คง
ข. การขยายอาชีพ
ค. เศรษฐกิจ
ง. ความพอเพียง

58
9. รายไดจ ากการปลูกไมป า 20 ไร เปนเงิน 10 ลานบาท อีก 15 ปขางหนาของลุงอินตรงกับขอ

ใดมากทส่ี ุด
ก. ความมน่ั คง
ข. การขยายอาชพี
ค. เศรษฐกิจ
ง. ความพอเพยี ง

กจิ กรรมที่ 9
ใหผูเรียนรวมกันอภิปรายทําความเขาใจแบบประเมินกรณีตัวอยางหมายเลข 12 แลวสรุปให

เหตผุ ลเปน ขอ ๆ

เรอ่ื งท่ี 2 ความสําคญั ของการจัดการขยายอาชพี เพ่ือความมน่ั คงตามแนวคิดปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง
ลกั ษณะบงชีค้ วามสาํ เรจ็ ของการเรียนรู
ลกั ษณะบง ชีค้ วามสําเร็จของ
การเรียนรู กจิ กรรม การวดั ผล ประเมนิ ผล สอ่ื การเรยี นรู

1.ยอมรบั วา การขยายอาชพี 1.อานเอกสารหมายเลข 13 1. ทดสอบความเขา ใจ เอกสารหมายเลข 13
ทาํ ใหต นเอง เพมิ่ ผลผลติ เพื่อทาํ ความเขาใจเก่ยี วกบั ความสําคญั ของการจดั การ ใบความรู เร่อื ง ความสาํ คญั
เพิม่ รายไดแ ละชอ งทาง ความสําคญั ของการจัดการ ขยายอาชีพตามแนวคดิ ของการจดั การขยายอาชีพ
อาชพี เปดกวา งออกไป ขยายอาชีพตามแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกิจ ตามแนวคดิ ปรัชญาของ
ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง เศรษฐกจิ พอเพยี ง
พอเพยี ง 2. ผลการวิเคราะหก ําหนดวลี

2.ผูเรยี นวิเคราะหก าํ หนดวลี ความสําคญั การจดั การ
ความสาํ คญั การจดั การ ขยายอาชีพ
ขยายอาชีพ

2.เห็นวา การขยายอาชีพทําให อา นเอกสารหมายเลข 14 ให ผลการวิเคราะห เอกสารหมายเลข 14
มสี ่งิ บรโิ ภคสรางความ เขา ใจ แลววิเคราะหผ ลการ ผลการประเมนิ ตนเอง ใบความรู เรือ่ ง การประเมิน
พอเพียงใหกับชมุ ชน ประเมนิ ตนเองเก่ยี วกบั สาระ ตนเองเกี่ยวกับการรบั ได
ชว ยลดรายจาย สรางงาน การรบั ได ความสาํ คญั การ ของความสาํ คญั ในการ
สรางรายไดใ หก บั ชุมชน จัดการขยายอาชพี ตาม จดั การขยายอาชพี ตาม
กระบวนการคิดเปนพรอ มท้ัง กระบวนการคิดเปน
สรปุ ผล

59
แผนปฏิบตั กิ ารเรียนรู

เรยี นรูด ว ยตนเอง ดงั นี้
1. อา นเอกสารหมายเลข 13 : ใบความรู เรื่อง ความสําคัญของการจัดการขยายอาชีพ

ตามแนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. ประเมนิ ตนเองตามเอกสารหมายเลข 14 : แบบประเมินตนเองเกย่ี วกับการรับไดของ

ความสาํ คญั ในการจัดการขยายอาชีพตามแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

60

เอกสารหมายเลข 14 : ใบความรู เรื่อง ความสาํ คัญของการจัดการขยายอาชีพตามแนวคดิ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ความรู ความเขา ใจเกย่ี วกบั ความสาํ คัญของการจัดการขยายอาชีพในเชิงวชิ าการมผี กู ลาว
ไวมากพอสมควรแลว ผเู รยี นสามารถคน ควาได แตการระบคุ วามสําคญั ในเรื่องใด ๆ ยอมผันแปรไปตาม
ประสบการณเชิงประจักษของแตละบุคคลหรือกลุมคนไมมีอะไรแนนอน เรามีหนาที่จะตองระบุ
ความสําคญั ในส่ิงขา งหนาและประเมนิ ตัดสนิ ใจดว ยตวั เราเอง
เชนเดียวกบั การระบคุ วามสําคญั ของการจัดการขยายอาชพี เพอื่ ความมนั่ คงไมมใี ครบอก
สง่ิ ท่ถี ูกตองใหใ ครได เราจงึ มีความจาํ เปน ท่จี ะตอ งนําตนเอง ระบุความสาํ คัญไดด ว ยตนเองมากกวาการใช
ขอ มูลจากภายนอก ตามเอกสารใบความรูฉ บับน้ี จึงขอนําเสนอหลักการคดิ วิเคราะห หาความสําคัญของ
การจดั การขยายอาชพี ดวยตนเอง ดังน้ี
1. ตองเร่ิมตนจากความหมายของภาษาโดยยึดพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ. 2525 พบวา
“ ความสาํ คัญ” มคี วามหมายตามลกั ษณะคาํ วิเศษณ คือ
(1) เปน พิเศษกวาธรรมดา
(2) มีคณุ คา
(3) มีชื่อเสียง
“ การจดั การขยายอาชพี เพ่ือความม่นั คง” มคี วามหมาย คอื

(1) การสัง่ งาน ควบคุมงาน ดําเนนิ งาน
(2) ทาํ ใหขยายกวา งออกไป
(3) ทาํ ใหม น่ั คง
2. ใหน ําองคประกอบความหมายของคําท้งั สองประโยคมาวเิ คราะหระบคุ วามสัมพันธ
ดังตัวอยางนี้
ตัวอยาง : ตารางวิเคราะห สรางวลี เหตกุ ารณจากความสัมพันธร ะหวา งประโยชน
ความสาํ คัญ
การจดั การ ลักษณะทตี่ างออกไป มคี ณุ คา เก้ือกูล ชือ่ เสียง ยอมรับ
ขยายอาชีพ มั่นคง เปนพเิ ศษกวาธรรมดา

การสง่ั งาน

ควบคมุ งาน
และดาํ เนินงาน

การทําใหขยาย

กวา งออกไป

ทาํ ใหม นั่ คง

61

ตารางดงั กลา วขางตน ใชดําเนินการวิเคราะหความสัมพันธแลวระบุเปนวลี เหตุการณ
บนฐานของเหตุและผลตามประสบการณของผเู รียน ดงั ตัวอยา งน้ี
ตัวอยาง การวิเคราะห กําหนด วลี ความสําคัญของการจัดการขยายอาชีพตามเหตุผลและ
ประสบการณข องผเู รยี น
ความสาํ คัญ
การจัดการ ลกั ษณะทีต่ า งออกไป มีคุณคา เก้อื กูล ช่ือเสียง ยอมรบั
ขยายอาชีพ ม่ันคง เปนพเิ ศษกวา ธรรมดา

การสั่งงาน เปนการเพิ่มกจิ กรรมบน ทาํ ใหป ระสิทธิภาพการ การยอมรับของบคุ ลากร
ควบคุมงาน ฐานการควบคุมดําเนิน ใชทรพั ยากรการ ในองคก รสูงขน้ึ
และดําเนนิ งาน กจิ กรรมหลกั ทที่ าํ อยู ดาํ เนินงานไดผ ลผลติ
สงู ขึ้น

การทาํ ใหข ยาย - มผี ลติ ภัณฑอ อกสู มพี นั ธมติ รทางธรุ กิจ การยอมรบั ในธุรกจิ
กวา งออกไป ตลาดเพ่ิมขน้ึ เพม่ิ ข้ึน ขยายกวางออกไป
- ฐานลกู คาขยาย

ทาํ ใหม น่ั คง กลยุทธธรุ กิจถกู เครอื ขายลกู คามคี วาม องคความรกู ารผลิต
ปรับเปล่ียนใชส ราง เชอ่ื มัน่ มีความภกั ดใี น การตลาด ยกระดบั
ความม่นั คงในธรุ กจิ การซอื้ ขายมากข้นึ คณุ คาเปน ทนุ ในการ
แขงขัน

3. นําผลการวิเคราะห กําหนด วลี ความสําคัญของการจัดการขยายอาชีพที่วิเคราะห
ไดม าพิจารณาทบทวนหาขอ บกพรองและพัฒนา เรากจ็ ะพบวา ความสาํ คัญของการ
พฒั นาอาชีพประกอบดว ย
(1) เปนการเพ่ิมกิจกรรมอาชีพบนฐานการจดั การอาชีพหลกั ทีท่ ําอยู
(2) ทาํ ใหประสิทธภิ าพการใชทรัพยากรดาํ เนินงาน สามารถสรา งผลผลติ เพิ่มสงู ขึ้นได
(3) ทําใหผรู ว มงานมคี วามเช่อื มน่ั วา ธุรกิจเจรญิ กา วหนา สามารถอยูรวมทํางานได
อยา งมั่นคง
(4) มีผลติ ภัณฑเพมิ่ ขึ้น สามารถขยายฐานลูกคา ออกไปไดก วา งขึน้
(5) มีพนั ธมิตรทางธุรกิจเพม่ิ ขนึ้
(6) วงการธรุ กิจยอมรบั กวา งออกไป
(7) กลยทุ ธทางธรุ กจิ ถูกปรับเปล่ียนใชส รางความม่นั คงในธรุ กจิ
(8) เครอื ขายลูกคาและพันธมติ รทางธุรกจิ มีความเช่ือม่นั มีความภกั ดีในการซือ้ ขาย
มากขนึ้
(9) องคค วามรดู า นการผลติ และการตลาดยกระดบั คุณคาใชเปนทุนในการแขงขัน

62
สรปุ

จะเห็นวาการคดิ การพจิ ารณาความสําคัญน้ัน จําเปนที่เราจะตองมองเห็นดวยตัวเราเอง
และนาํ ไปเทียบเคียงกบั ความเหน็ ทางวชิ าการกจ็ ะทําใหเ รามโี อกาสตดั สินใจไดถ ูกตอ งมากยง่ิ ข้ึน นําไปสู
ความสําเร็จทยี่ ่งั ยืนได

กิจกรรมท่ี 10
ใหผ เู รยี นวิเคราะหกาํ หนดวลีความสาํ คญั การจดั การขยายอาชีพตามเหตผุ ลจากประสบการณข องตนเอง

หรอื สมั ภาษณพ ูดคยุ กบั ผปู ระสบความสําเรจ็ ในอาชีพที่สนใจ โดยบนั ทึกลงในตารางดงั ตวั อยางหนา 56

เอกสารหมายเลข 15 : ใบความรู เร่ือง การประเมินตนเองเก่ียวกับการรับไดของความสําคัญ
ในการจัดการขยายอาชีพตามกระบวนการคดิ เปน

การประเมนิ เพอื่ ตัดสินใจ รับความคิดเหน็ เกีย่ วกับความสาํ คญั ของการจดั การขยายอาชพี
ตามกระบวนการคดิ เปน ที่ผูเรยี นวเิ คราะหข ้ึนเองนนั้ สามารถทําไดห ลายวธิ ี เชน

(1) การนําผลวิเคราะหไปแลกเปลี่ยนเรียนรูกับผูมีประสบการณแลวสรุปขอบกพรอง
ความคดิ เห็นทีร่ บั ไดม าพฒั นาสาระความสาํ คัญ

(2) ประเมินตนเองดวยการวเิ คราะหข อมูลดา นตนเอง สงั คม สง่ิ แวดลอม และวชิ าการ
ในเอกสารใบความรนู ีจ้ ะใหค วามคิด ความเขาใจ การประเมิน และพฒั นาสาระความสาํ คญั
ของการจัดการขยายอาชพี ดวยตนเอง ดังน้ี
1. กรอบการประเมินตดั สินใจ ตามกระบวนการคิดเปน ประกอบดว ย

1.1 ขอมลู ดา นตนเอง มีตัวแปรทีใ่ ชคดิ ตดั สินใจ 2 เรอ่ื ง คอื
(1) ความมั่นใจที่จะทาํ ได
(2) ความมคี ณุ คา ประโยชนตอ การขยายอาชพี

1.2 ขอมูลดานสงั คม ส่งิ แวดลอม มตี วั แปรทใี่ ชคิด ตดั สินใจ 2 เร่ือง คอื
(1) ผเู กย่ี วของเหน็ สอดคลอ ง
(2) ผูเ ก่ยี วขอ งสว นใหญยอมรับ

1.3 ขอ มลู ดา นวชิ าการ มีตัวแปรทใี่ ชค ิด ตัดสนิ ใจ 2 เร่ือง คือ
(1) ความสอดคลอ งกับความเหน็ ทางวิชาการ
(2) มขี อ มลู และแหลงเรียนรเู พยี งพอ

2. ลกั ษณะแบบประเมินอยางงา ย โดยใชตารางมิติสัมพันธระหวางกรอบการประเมิน
กบั สาระความสําคญั ท่ผี ูเ รยี นวิเคราะหข ึ้น ดงั ตัวอยางน้ี

63

เอกสารตัวอยาง : การวเิ คราะหผ ลการประเมนิ ตนเองเกยี่ วกบั การรบั ไดข องสาระความสําคัญในการจัดการ
ขยายอาชีพทผี่ ูเ รยี นวิเคราะหขน้ึ เอง
ดา นตนเอง ดา นสังคม ดา นวิชาการ รวม
สาระความสาํ คญั ของการ  ความมน่ั ใจ  มีคณุ คา  ผูเกย่ี วของ  ผเู ก่ยี วของ  สอดคลอ งกับ  มีขอมูล คะแนน
จดั การขยายอาชพี ที่ผเู รียน ที่จะทําได ประโยชนต อ เหน็ สอดคลอ งดวย สว นใหญยอมรบั ความเห็นทาง และแหลง
การขยายอาชพี วิชาการ เรยี นรเู พียงพอ
วิเคราะหไ ด
ใช ไมใ ช ใช ไมใ ช ใช ไมใ ช ใช ไมใ ช ใช ไมใช ใช ไมใช 54

1. เปนการเพม่ิ กิจกรรม
อาชีพบนฐานอาชพี หลัก  -  -  -  -  - -  5

ท่ที าํ อยู

2. ทาํ ใหป ระสิทธภิ าพการ

ใชท รัพยากรดําเนนิ งาน  - -  -  -  - - 6
สามารถสรางผลผลิต
เพิ่มขนึ้

3. ทําใหผ ูรว มงานมคี วาม

เชื่อมั่นวา ธรุ กิจกาวหนา  -  -  -  -  -  - 6

อยูรว มงานได

4. มีผลติ ภณั ฑเ พมิ่ ข้นึ

ขยายฐานลกู คา ออกไปได  -  -  -  -  -  - 6
กวางข้นึ

5. มพี นั ธมติ รทางธุรกิจ  - -  -  -  - - 6
เพ่มิ ขนึ้

6. วงการธุรกิจยอมรบั  - - -  -  - - 4
กา วออกไป

7. เกดิ กลยทุ ธท างธุรกจิ
ใชสรางความมน่ั คงใน  -  -  - -   -  - 5

ธรุ กิจได

8. เครือขา ยลูกคา และ

พนั ธมติ รทางธรุ กจิ มี  -  -  -  -  - - 6
ความเชื่อมนั่ ภักดใี นการ

ซอื้ ขาย

9. องคความรูยกระดับ

คุณคา ใชเ ปนทนุ ในการ  -  -  -  -  -  - 6

แขงขัน

รวม 9 98 79 8 50
ตนเอง = 18 สังคม = 15 วชิ าการ = 17

64
3. การแปรผลและใชผล มีตัวอยา งดงั นี้

3.1 การแปรผล จากตารางตวั อยางขางตนและสามารถแบงผลจากการวิเคราะหได
ดงั น้ี
(1) มิติทางดานสังคม สิ่งแวดลอม สรุปไดวา มีสาระท่ีผูเกี่ยวของเห็นวา
ไมส อดคลองและไมนา จะยอมรบั ได 2 สาระ คือ
ก. ทาํ ใหป ระสิทธิภาพการใชทรัพยากรดําเนินงานสามารถสรางผลผลิต
เพิม่ ขนึ้
ข. วงการธุรกิจยอมรบั กวางขวางออกไป
(2) มิตทิ างวชิ าการ พบวา ขอมลู แหลงวิชาการที่เก่ียวของกับการเพิ่มกิจกรรม
อาชีพบนฐานอาชีพหลักที่ทาํ อยู มไี มพ อเพยี ง
(3) หากพจิ ารณาภาพรวม จะพบวา มีคะแนนรวม 48 คะแนน เปนคะแนนใน
ระดบั สงู คิดเปนรอยละ 88.8 จึงอาจสรุปไดวา ความสําคัญของการขยาย
อาชพี ทผ่ี ูเรยี นวิเคราะห สามารถรับไดวา เปน ความสําคัญจริง

3.2 การนาํ ไปใช ผลการวิเคราะห พบวา สามารถรับเปนความสําคัญจริง ทําใหมี
ความม่ันใจมองเห็นคณุ คาประโยชนน าํ ไปกําหนดเปาหมายการบริหารจัดการ
ขยายอาชพี ไดอ ยา งเชือ่ มั่น

จึงอาจสรุปไดว า การบงช้ีความสําคญั ของการดาํ เนินกิจกรรมใด ๆ ควรจะเปนการระบุ
โดยตรงของผูประกอบการหรอื ผูเรียน การใชค วามคิดของผูร ู ความคดิ ทางวชิ าการ ควรเปนเพียงขอมูลท่ี
นํามาใชเ ปรยี บเทียบกับการคิด วเิ คราะหข องเราเอง

กจิ กรรมที่ 11
ใหผ ูเรียนวเิ คราะหผ ลการประเมนิ ตนเองเกีย่ วกับการรับไดของสาระความสําคัญการจัดการขยาย

อาชีพของตนเอง หรืออาชีพท่ีผูเรียนสนใจตามกระบวนการคิดเปน พรอมแปรผลและสรุปผลโดยยึด
ตารางและรูปแบบตามตวั อยางหนาท่ี 61

65

บทที่ 5
ความรูเบ้อื งตนเก่ียวกบั การบริหารจดั การในการขยายอาชีพ

ผลการเรียนรทู ค่ี าดหวัง
มีความรู ความเขาใจเก่ียวกับการบริหารจัดการ ไดแกการทําแผนธุรกิจ การจัดการความเส่ียง

การจัดการการผลติ การจัดการตลาด และบัญชีธรุ กิจ เพ่อื สามารถนําสูการปฏิบตั ิทําแผนธรุ กิจในบทตอ ไป

ขอบขายเนอ้ื หา
การบริหารจดั การ
1) การทาํ แผนธรุ กิจ
2) การจดั การความเสย่ี ง
3) การจดั การการผลติ
4) การจัดการการตลาด
5) บัญชธี ุรกจิ

สื่อประกอบการเรยี นรู
1. เอกสารหมายเลข 16 ใบความรู เรอื่ ง การบรหิ ารจดั การในการขยายอาชพี

66

เอกสารหมายเลข 16 ใบความรเู ร่อื งการบรหิ ารจดั การในการขยายอาชีพ
1) การทาํ แผนธรุ กจิ
1.1 ความหมายของแผนธุรกิจ

แผนธุรกิจ คือแผนงานทางธุรกิจที่แสดงกิจกรรมตาง ๆ ที่ตองปฏิบัติในการลงทุน
ประกอบการ โดยมจี ุดเร่ิมตนจากจะผลิตสินคาและบริการอะไร มีกระบวนการปฏิบัติอยางไรบาง และ
ผลจากการปฏิบตั อิ อกมาไดม ากนอ ยแคไหน ใชง บประมาณและกําลังคนเทาไร เพ่ือใหเกิดเปนสินคาและ
บรกิ ารแกลูกคา และจะบรหิ ารธรุ กิจอยางไรธรุ กจิ จึงจะอยรู อด
(แหลงท่มี า : มาณพ ชิวธนาสนุ ทร. แผนธรุ กิจ SMEs. สาํ นกั พัฒนาธรุ กจิ อตุ สาหกรรมและผูประกอบการ,
กรมสงเสริมอตุ สาหกรรม, กระทรวงอตุ สาหกรรม. 2547)
1.2 การศกึ ษาวเิ คราะหชุมชนเพื่อการพฒั นาอาชพี
การวเิ คราะหช ุมชน หมายถึง การนําเอาขอมูลท่ัวไปของชุมชนท่ีเราอาศัยอยู ซ่ึงอาจจะเปน

หมบู าน ตาํ บล หรืออาํ เภอก็ไดข ึน้ อยกู บั การกําหนดขอบเขตของชุมชนวาจะนาํ ขอ มูลของชุมชนในระดับ
ใดมาพิจารณา โดยการจาํ แนกขอมูลดา นตาง ๆ เพือ่ ใหทราบถึงประเดน็ ปญ หา และความตอ งการทแ่ี ทจรงิ
ของชุมชน เพื่อจะนํามากําหนดแนวทางการขยายอาชีพใหตอบสนองตรงกับความตองการของคนใน
ชุมชน โดยเฉพาะเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ รายไดของประชากรตอคน ตอครอบครัว เปนอยางไร
ลักษณะของการประกอบอาชีพของประชากรเปนอยางไร รวมถึงขอมูลอ่ืนท่ีเก่ียวของ ไดแก ขอมูลดาน
การตลาด แนวโนมของความตองการของการตลาด นโยบายของรัฐท่ีจะเอื้อประโยชนตอการผลิตหรือ
การประกอบอาชีพ เปน ตน ขอมูลเหลานจ้ี ะชว ยใหเราวางแผนการดําเนินการพฒั นาอาชีพไดรอบคอบขึ้น
การวิเคราะหขอมูล โดยวิเคราะหสภาพการภายใน ภายนอกของชุมชน โดยใชเทคนิค
SWOT (SWOT Analysis)
การศึกษาความตองการของชุมชนเปนการสํารวจความตองการของชุมชนเพ่ือใหทราบถึง
จุดเดน จดุ ดอย อปุ สรรคหรอื ความเส่ียงและโอกาสในดานตา ง ๆ ของขอมลู และความตองการของชุมชน
ทัง้ นีโ้ ดยใชเ ทคนิค SWOT ในการวเิ คราะหชุมชน มดี งั น้ี
S (Strengths) จดุ แขง็ หรอื จุดเดนของชมุ ชน
W (Weaknesses) จุดออนหรอื ขอดอยของชมุ ชน
O (Opportunity) โอกาสที่จะสามารถดําเนินการได
T (Threats) อปุ สรรคหรือปจ จัยทีเ่ ปน ความเสย่ี งของชมุ ชนที่ควรหลีกเลี่ยง
ในการปฏิบัติ

67

ในการวิเคราะหชุมชน อาจจะเขยี นเปนตารางวเิ คราะหไดด ังนี้

ปจจัยภายใน S (จุดแข็ง ) W (จดุ ออ น)

ปจ จัยภายนอก O (โอกาส) T (อปุ สรรคหรอื
ความเสี่ยง)

การวิเคราะหขอมูล ผูวิเคราะหควรพิจารณาจําแนกขอมูลในดานตาง ๆ โดยใหสมาชิกใน
ชุมชนหรือกลุมอาชีพน้ันรวมกันชวยวิเคราะห หากพบขอมูลสวนใดที่เปนจุดเดนของชุมชนหรือกลุม
อาชพี นัน้ ใหใ สข อมลู ในชอ ง S หากพบขอมลู ใดที่เปน จดุ ออ นหรือขอดอ ยของชมุ ชนหรอื กลุมอาชพี ใหใส
ขอมูลในชอง W หากสวนใดที่เปนโอกาสชองทางของชุมชน เชน ความตองการสินคาของประชาชน
นโยบาย หรอื จุดเนน ของรัฐหรอื ของชมุ ชนท่เี ปนโอกาสดใี หใสในชอ ง O และในขณะเดียวกันขอมูลใดที่
เปน ความเสีย่ ง เชน ขอ มูลเกี่ยวกับการกระทําผิดกฎหมาย หรือความตองการของชุมชนไมมีหรือมีนอย
ขาดแคลนวัตถุดบิ หรือปจ จัยการผลิต เปนตน ใหนําขอ มูลใสใ นชอง T ทาํ เชนนี้จนครบถวน หากสวนใด
ขอ มูลไมช ดั เจนเพียงพอกต็ อ งสาํ รวจขอมูลเพิ่มเตมิ ได จากนนั้ นําขอมูลไปวิเคราะหเพื่อกําหนดทางเลือก
ในการพฒั นาอาชีพหรือทางเลือกในการแกป ญ หาอีกคร้งั หนึง่ กอ นทจี่ ะกาํ หนดเปนวสิ ัยทัศนต อ ไป

1.3 การกาํ หนดวิสยั ทัศน พันธกจิ เปา หมายและกลยุทธใ นการวางแผนขยายธรุ กจิ ของชมุ ชน
วิสัยทัศน เปนการกําหนดภาพในการประกอบอาชีพในอนาคต มุงหวังใหเกิดผลอยางไร
หรอื กลาวอีกนยั หนึ่งคือการมองเปา หมายของธรุ กิจวา ตองการใหเ กิดอะไรขึน้ ขางหนา โดยมขี อบเขตและ
ระยะเวลากาํ หนดท่แี นนอน ในการกาํ หนดวสิ ยั ทศั นเ ปนการนําเอาผลการวเิ คราะหข อมูลชมุ ชนและขอมูล
อาชพี ของผปู ระกอบการ มาประกอบการพิจารณาอยางรอบคอบเพ่ือการตัดสินใจท่ีดี มีความเปนไปได
เพื่อนําไปสูค วามสาํ เรจ็ ของธรุ กจิ ในท่ีสุด
พันธกิจ คือ ภาระงานท่ีผูประกอบการจะตองดําเนินการใหเกิดผลสําเร็จตามวิสัยทัศนที่
กาํ หนดไวใหไ ด ผปู ระกอบการจะตองสรา งทมี งานและกําหนดภารกิจของสถานประกอบการใหชัดเจน
ครอบคลมุ ทัง้ ดานการผลิตและการตลาด
การวิเคราะหพ นั ธกิจ ของสถานประกอบการ สามารถตรวจสอบวาพันธกิจใดควรทํากอน
หรือหลัง หรือพันธกิจใดควรดํารงอยูหรือควรเปล่ียนแปลง ผูประกอบการและทีมงานจะตองรวมกัน
วิเคราะห เพื่อกําหนดพันธกิจหลักของสถานประกอบการ ผูประกอบการและทีมงานจะตองจัดลําดับ
ความสาํ คญั ของพันธกิจและดาํ เนินการใหบรรลุเปาหมายใหได
เปาหมายหรือเปาประสงค เปาหมายในการขยายอาชีพ คือการบอกใหทราบวา
สถานประกอบการน้ันสามารถทําอะไรไดภายในระยะเวลาเทาใด ซึ่งอาจจะกําหนดไวเปนระยะสั้น หรือ
ระยะยาว 3 ป หรือ 5 ปก็ได การกําหนดเปาหมายของการขยายอาชีพตองมีความชัดเจนสามารถวัดและ

68

ประเมินผลได การกําหนดเปาหมายหากสามารถกําหนดเปนจํานวนตัวเลขไดก็จะย่ิงดี เพราะทําใหมี
ความชัดเจนจะชวยใหก ารวางแผนมีคุณภาพยิ่งข้นึ และจะสง ผลในทางปฏิบตั ไิ ดดยี ิ่งข้ึน

กลยุทธในการวางแผนขยายอาชพี เปนการวางแผนกลยุทธในการขยายอาชีพหรือธุรกิจนั้น ๆ
ใหส าํ เร็จตามเปา หมายทีว่ างไว การวางแผนจะตองกําหนดวิสัยทัศนเปาหมายระยะยาวใหชัดเจน มีการ
วเิ คราะหส่ิงทจี่ ะเกิดข้ึนในอนาคต และมีการทํางาน วางระบบไวคอนขางสูงเพื่อใหมีความคลองตัวใน
การปรับเปลี่ยนไดตามสถานการณท่ีเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ทั้งนี้ เพ่ือใหผูประกอบการและทีมงาน
สามารถพฒั นาอาชพี ใหม ปี ระสิทธภิ าพและมีความกาวหนา ไดในอนาคต
ขน้ั ตอนกระบวนการวางแผน

ข้ันตอนของกระบวนการวางแผนในการขยายธุรกจิ ของชุมชน มดี ังนี้
1. ข้ันการกําหนดวัตถุประสงคตองใหชัดเจน เพ่ือเปนแนวทางการปฏิบัติหรือการดําเนิน
กิจกรรมตา ง ๆ
2. ขั้นการกําหนดวัตถุประสงคการกําหนดวัตถุประสงคตองมีความชัดเจนวาจะทําเพ่ืออะไร
และวตั ถุประสงคนน้ั จะตอ งมีความเปนไปไดห รือไม และสามารถวดั ผลได
3. ขั้นการต้งั เปาหมายเปน การระบุเปา หมายทจ่ี ะทาํ วา ตง้ั เปาหมายในการดาํ เนนิ การไวจ าํ นวนเทาใด
และสามารถวัดไดใ นชวงเวลาส้นั ๆ
4. ขั้นการกําหนดข้ันตอนการทํางาน เปนการคิดไวกอนวาจะทํากิจกรรมอะไรกอนหรือหลัง
ซึง่ การกาํ หนดแผนกิจกรรมนจ้ี ะทําใหก ารดําเนินงานบรรลุตามวตั ถุประสงคไ ดอยา งมีประสิทธภิ าพ
5. ข้ันปฏบิ ัติกจิ กรรมตามแผน ซึง่ จะตอ งดําเนนิ การอยางตอเนอื่ งจึงจะไดผ ล
6. ข้นั การปรับแผนการปฏิบตั งิ าน ในบางครงั้ แผนทีว่ างไวเ ม่ือไดดาํ เนินการไประยะหนึ่ง อาจจะ
ทําใหส ถานการณเปลี่ยนไป ผูป ระกอบการจึงควรมีการปรับแผนบางเพื่อใหสอดคลองกับความเปนจริง
มากขึน้ และการดาํ เนินงานตามแผนจะมปี ระสิทธภิ าพขน้ึ

1.4 การวางแผนปฏบิ ตั กิ าร
การวางแผนปฏิบัติการเปนขั้นตอนสุดทายของการทําแผนธุรกิจเพื่อการพัฒนาอาชีพที่มี
รายละเอียดมาจากแผนกลยุทธ มากําหนดเปน โครงการ/กิจกรรมท่ีจะตองดําเนินการ โดยจะตองกําหนด
วตั ถปุ ระสงค เปา หมาย ระยะเวลา และผูร บั ผิดชอบ โดยผูเ รยี นและผนู าํ ชุมชนตอ งชว ยกันกาํ หนด
2) การจดั การความเสยี่ ง (Risk Management)

ความเสี่ยง คอื ความไมแ นน อนตอการประสบกบั เหตกุ ารณ หรือ สภาวะทีเ่ ราตองเผชิญ
กบั สถานการณอันไมพงึ ประสงคโดยมคี วามนา จะเปน หรอื โอกาสในสง่ิ นั้น ๆ เปน ศนู ย

2.1) ความหมาย
การจัดการความเส่ียง (Risk Management) หมายถึง กระบวนการในการระบุ

วิเคราะห( en:risk analysis) ประเมนิ (en:risk assessment) ดูแลตรวจสอบและควบคุมความเส่ียงที่สมั พนั ธ

69

กับกิจกรรม หนาท่ีและกระบวนการทํางาน เพื่อใหองคกรลดความเสียหายจากความเสี่ยงมากท่ีสุด
อนั เนื่องมาจากภัยที่องคก รตองเผชิญในชวงเวลาใดเวลาหน่ึงหรอื เรยี กวา อบุ ัตภิ ยั (accident)

ความเสยี่ ง (Risk) มีความหมายในหลากหลายแงมุม เชน
- ความเส่ียงคอื โอกาสท่เี กดิ ขนึ้ แลวธรุ กิจจะเกดิ ความเสียหาย (chance of loss)
- ความเส่ยี งคือความเปนไปไดทจ่ี ะเกดิ ความเสยี หายตอธรุ กจิ (possibility of loss)
- ความเสี่ยงคือความไมแนนอนของเหตุการณที่จะเกิดข้ึน (uncertainty of event)
- ความเสี่ยงคอื การคลาดเคล่อื นของการคาดการณ (dispersion of actual result)
- ความเสี่ยง คือ ความไมแนนอนของเหตุการณ ซ่ึงไมสามารถคาดเดาไดวาจะ

เกดิ ขึ้นเมอ่ื ใด แตค วามเสี่ยงนัน้ ๆ จะมแี นวโนม ที่เกิดขน้ึ ไมมากก็นอย
ภยั (peril) หมายถึง สาเหตุของความเสียหายซ่ึงภัยสามารถเกิดข้ึนไดจากภัยธรรมชาติ

เชน เกดิ พายสุ นึ ามิ นา้ํ ทวม แผนดนิ ไหว เปน ตน ภัยนอกจากจะเกิดขนึ้ ไดจ ากภยั ธรรมชาติแลว ภัยนั้นยัง
เกิดขึ้นจากการกระทําของมนษุ ย เชน อัคคีภยั จลาจล ฆาตกรรม เปนตน สําหรับสาเหตุสุดทายที่จะเกิด
ภัยไดน้ันคือภัยท่ีเกิดข้ึนจากภาวะเศรษฐกิจ เพราะภัยท่ีเกิดจากภาวะเศรษฐกิจ เปนอีกสาเหตุท่ีสําคัญ
เพราะเม่ือเกิดขนึ้ แลว คนทั้งประเทศ หรอื ทั้งภมู ิภาคจะไดรับผลกระทบอยางกวา งขวาง

สภาวะท่ีจะทําใหเกิดความเสียหาย (hazard) หมายถึง สภาพเงื่อนไขที่เปนสาเหตุท่ี
ทําใหความเสียหายเพิ่มสูงข้ึน โดยสภาวะตาง ๆ นั้น สามารถแบงออกไดเปนสภาวะทางดานกายภาพ
(physical) คอื สภาวะของโอกาสทจ่ี ะเกดิ ความเสียหาย เชน ชนิดและทําเลท่ีตั้งของสิ่งปลูกสราง อาจเอื้อตอ
การเกิดเพลิงไหม สภาวะทางดา นศีลธรรม (moral) คือ สภาวะของโอกาสทจ่ี ะเกดิ ข้ึนจากความไมซอื่ สัตยตอ
หนา ทก่ี ารงาน เชน การฉอโกงของพนักงาน และสภาวะดา นจิตสํานกึ ในการปอ งกนั ความเสี่ยง (morale)
คือ สภาวะทไ่ี มป ระมาทและเลินเลอ หรือการไมเอาใจใสในการปองกันความเสี่ยง เชน การท่ีพนักงาน
ปลอ ยใหเครอ่ื งจักรทาํ งานโดยไมควบคุม

2.2) องคประกอบการจดั การความเส่ยี ง
2.2.1) การระบุช้ีวาองคกรกําลังมีภัย เปนการระบุชี้วาองคกรมีภัยอะไรบางท่ีมา

เผชญิ อยู และอยใู นลักษณะใดหรือขอบเขตเปนอยางไร นับเปนขั้นตอนแรกของการจัดการความเส่ียง
2.2.2) การประเมินผลกระทบของภัย เปนการประเมินผลกระทบของภัยท่ีจะมีตอ

องคก รซึง่ อาจเรยี กอีกอยางหนึ่งวา การประเมินความเส่ียงที่องคกรตองเตรียมตัวเพื่อรับมือกับภัยแตละ
ชนดิ ไดอยางเหมาะสมมากทีส่ ุด

70

2.2.3) การจัดทํามาตรการตอบโตตอบความเส่ียงจากภัย การจัดทํามาตรการตอบโต
ตอบความเสย่ี งเปน มาตรการท่ีจัดเรยี งลาํ ดบั ความสาํ คญั แลวในการประเมินผลกระทบของภัย มาตรการ
ตอบโตที่นยิ มใชเพอื่ การรบั มอื กับภัยแตล ะชนดิ อาจจําแนก ได 5 มาตรการ ดงั นี้

(1) มาตรการขจัดหรอื ลดความรนุ แรงของความอันตรายของภยั ทต่ี อ งประสบ
(2) มาตรการที่ปองกนั ผรู ับภัยมิใหต องประสบภัยโดยตรง เชน ภัยจากการที่
ตองปน ไปในท่สี ูงกม็ มี าตรการปอ งกันโดยตองติดเข็มขัดนิรภัย กันการพลาดพล้ังตกลงมา หรือภัยจาก
ไอระเหยหรือสารพิษกป็ องกนั โดยออกมาตรการใหส วมหนา กากปองกันไอพษิ เปน ตน
(3) มาตรการลดความรุนแรงของสถานการณฉกุ เฉนิ เชน กรณีเกดิ เพลิงไหม
ในอาคาร ไดม ีการขจัดและลดความรุนแรง โดยออกแบบตวั อาคารใหมีผนังกันไฟ กันเพลิงไหมลุกลาม
ไปยังบรเิ วณใกลเคียง และมกี ารติดตงั้ ระบบสปริงเกอร ก็จะชวยลดหรอื หยดุ ความรุนแรงของอบุ ัตภิ ยั ลงได
(4) มาตรการกภู ัยกเ็ ปนการลดความสญู เสยี โดยตรง
(5) มาตรการกลับคืนสภาพ ก็เปนอีกมาตรการในการลดความเสียหาย
ตอเนือ่ งจากภัยหรืออบุ ัตภิ ยั แตละครงั้ ลงได
การรบั มือกับภัย 5 มาตรการ
(1) การเตรยี มความพรอม (Readiness) องคก รตองเตรียมความพรอมระบบการบริหาร
ความเสี่ยงใหม คี วามพรอมในการจัดทาํ มาตรการขจัดหรอื ควบคมุ ภัยตาง ๆ เอาไวลวงหนา
(2) การตอบสนองอยางฉบั ไว (Response) เมื่อเกิดอุบตั ิภยั ขนึ้ ระบบตองมีสมรรถนะ
ทีด่ ีพอในการตอบโตภ ยั แตละชนิดอยา งไดผ ลและทันเวลา
(3) การชวยเหลือกูภัย (Rescue) เปนกระบวนการปกปองชีวิตและทรัพยสินของ
องคกรทไ่ี ดผลและทนั เวลา
(4) การกลับเขา ไปทํางาน (Rehabilitation) เมอื่ อุบตั ิภัยส้ินสดุ ลงแลวตองกลับเขาไป
ที่เดมิ ใหเ รว็ ท่ีสุดเพอื่ การซอมแซม การเปลยี่ นใหม หรือการสรางข้นึ ใหม (rebuild) เพื่อใหอาคารสถานที่
พรอมที่จะดาํ เนินกิจการตอไปได อาจรวมไปถงึ การประกันภยั ดว ย
(5) การกลบั คืนสูสภาวะปกติ (Resumption) องคก รสามารถเปด ทําการ หรอื ดําเนิน
ธุรกิจตอ ไปตามปกติไดเ สมือนวา ไมม ีอบุ ตั ภิ ยั มากอน
การตอบสนองอยางฉับไว (Response) กับการชว ยเหลือกูภัย (Rescue) อาจดูเหมือน
เปนเรื่องเดียวกัน แตความจริงแลวแตกตางกัน เชน กรณีเกิดอัคคีภัย อุปกรณดับเพลิงอัตโนมัติรวมถึง

71

fire alarm คือข้ันตอนของการตอบสนองอยางฉับไว (Response) แตไฟฉุกเฉินและเคร่ืองชวยหายใจ
เพอ่ื ใหพนักงานสวม เพือ่ หนอี อกจากอาคาร เปนข้ันตอนของ การชวยเหลือกภู ยั (Rescue)

2.3 การวิเคราะหป จ จยั ความเส่ียงทางธุรกิจ การวิเคราะหปจจัยความเสี่ยง
ทางธุรกิจ จะใชธุรกิจท่ีเราอยูเปน ตวั ตัง้ แลวมองสง่ิ แวดลอ มรอบธุรกิจและตัวธุรกิจเองวา มีอะไรบางที่
เปนจุดสําคัญ และถาจุดนนั้ สาํ คัญถงึ ขนาดท่ีเรยี กวา ถา เกิดผลกระทบเลวรายกับจุดน้ีแลว ธุรกิจของเรา
อาจมปี ญ หาไดจ ุดนี้ คอื Critical point

ประโยชนของการวิเคราะหปจจัยความเสยี่ ง
การวิเคราะหปจจัยความเส่ียงนอกจากเกิดประโยชนกับธุรกิจแลวยังสงผลถึงองคกรและ
ลกู คาทม่ี าใชหรอื ขอรบั บริการอกี ดวย ซง่ึ พอสรปุ ได ดงั นี้

1. สามารถสรางเสริมความเขาใจการดําเนินการของธุรกิจและจัดทําแผนธุรกิจท่ี
ใกลเคยี งความเปน จริง มากขึน้ ในเร่ืองการประมาณการคา ใชจาย และระยะเวลาดําเนินการ

2. เพ่ิมพนู ความเขาใจความเสี่ยงในธรุ กิจมากขึน้ โดยเฉพาะอยางยิ่งผลกระทบท่ีจะเกิด
กบั ธรุ กจิ หากจัดการความเส่ียงไมเ หมาะสมหรือละเลยการบริหารความเสยี่ งน้นั

3. มีอิสระในการพิจารณาความเสี่ยงของธุรกิจซึ่งจะชวยใหการตัดสินใจจัดการ
ความเสีย่ งใหมปี ระสทิ ธิผลและประสิทธิภาพมากขนึ้

4. ทําใหยอมรับความเส่ียงไดมากขึ้น และสามารถไดประโยชนจากการยอมรับ
ความเส่ยี งน้ันไดม ากข้นึ ดวย

2.4 การประเมนิ ความเส่ยี ง กระบวนการประเมนิ ความเส่ยี ง มีดงั ตอ ไปนี้
2.4.1 กําหนดความเสี่ยงโดยตรวจสอบวาในธรุ กจิ ของเรามเี ร่อื งใดทเี่ ปนความเส่ียงบาง

ซงึ่ มปี ระเด็นตา ง ๆ ที่สามารถวางกรอบในการกาํ หนดความเสี่ยงเปน ดา น ๆ 5 ดาน ดังน้ี
1) ดานการตลาด เชน การเปล่ียนแปลงของสินคา การเปล่ียนแปลงราคาสินคา

อัตราดอกเบ้ยี อัตราแลกเปลย่ี น ความผันผวนราคาหนุ การแขง ขนั ทางตลาด
2) ดานการผลิต เชน วัตถุดิบ กําลังการผลิต ตนทุนการผลิต เทคโนโลยี

เครอื่ งจกั ร ความปลอดภยั ความผิดพลาดในขัน้ ตอนการผลติ
3) ดา นการเงิน เชน ความเปล่ยี นแปลงดานสินเชือ่ ความเปลี่ยนแปลงสินทรัพย

ที่ใชค ้ําประกันสินเชอ่ื สภาพคลอ ง
4) ดานบุคลากร เชน ความรูความสามารถ ทักษะ ทัศนคติ ความรับผิดชอบ

การทุจริต ความสามคั คี อัตราการลาออก

72

5) ดา นศักยภาพ เชน ทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิอากาศ ภัยธรรมชาติ ทําเลท่ีตั้ง
ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี ีวติ ทรัพยากรมนษุ ย

2.4.2 เมื่อสามารถกําหนดความเส่ียงไดแลว ตองประเมินอีกคร้ังวาความเสี่ยงนั้น
รุนแรงระดับใด และ จดั ลาํ ดบั ความเส่ียง ตามลาํ ดบั ความรุนแรง

1) การประมาณระดับความรุนแรงของความเสย่ี ง การประมาณระดับของความ
เส่ยี งเพื่อประกอบการตดั สนิ ใจในการดําเนนิ การแกไข เมอื่ ประเมินแลวนาํ ขอ มลู มาเรยี งลําดับความเสี่ยง
ซึง่ การประมาณความเสยี่ งดไู ดจาก การเรียงลาํ ดบั ของความรุนแรงของส่ิงท่ีจะเกิดข้ึน(ผลกระทบ) และ
การเรียงลําดับของโอกาสท่ีจะเกิดขน้ึ ของเหตุการณ ดงั น้ี

1.1) ความรุนแรงของอนั ตราย ลักษณะความรุนแรง
- ระดบั ความรนุ แรงมาก
- ระดับความรนุ แรงปานกลาง
- ระดบั ความรุนแรงนอ ย

การพิจารณาระดับความรนุ แรง ระดบั ความรุนแรงหรอื ผลกระทบทเ่ี กิดจากเหตุการณท่ี
เกดิ ข้นึ หรือคาดคะเนวาจะเกดิ เหตกุ ารณน ้นั ๆ และเมือ่ เกิดข้นึ แลว จะเกิดความรุนแรง หรอื ผลกระทบกบั
สิ่งตาง ๆ และความเสียหายที่จะเกิดข้ึนในดานตาง ๆ เชน ดานทรัพยสิน เงิน ดานเวลา ดานบุคคล
ดานลกู คา และดา นภาพลกั ษณ แลวพจิ ารณาวา ความรุนแรงอยูใ นระดบั ใด

73

ตวั อยา ง การกาํ หนดเกณฑใ นการพจิ ารณาระดบั ความรนุ แรง

ความเสยี หาย ระดับความรนุ แรง

มาก ปานกลาง นอย

1. ดานทรัพยสิน/ 1,000,000 บาทขน้ึ ไป 100,000 บาทขึ้นไปแต ตํา่ กวา 100,000 บาท

เงนิ ไมเกิน 1,000,000 บาท

2. ดานเวลา < 15 วนั 3- 5 วนั 1-3 วัน

3. ดานบุคคล - บาดเจ็บสาหัส/พกิ าร - บาดเจ็บไมส าหสั - บาดเจบ็ เลก็ นอ ย
- โทษใหออกข้ึนไป - โทษตัดเงินเดือน - โทษตกั เตอื น

4. ดา นลูกคา ความพงึ พอใจ ความพงึ พอใจ ความพึงพอใจ

ตาํ่ กวา 60% 60 – 74 % 75 – 79 %

5. ดานภาพลกั ษณ สงผลในระดับองคก ร สง ผลในระดบั ฝาย สง ผลในระดับพนกั งาน

1.2) โอกาสทีจ่ ะเกิดอนั ตราย

- โอกาสมาก

- โอกาสปานกลาง

- โอกาสนอย

โอกาสท่ีจะเกิดหมายถึงความนาจะเปนที่จะเกิดเหตุการณท่ีนํามาพิจารณาเกิดขึ้น

มากนอ ยเพยี งใด ซึง่ จะมโี อกาสทจี่ ะเกิด ดงั นี้

ตัวอยาง การกาํ หนดเกณฑใ นการพจิ ารณาระดับของโอกาสทีจ่ ะเกดิ ขึ้น

ระดบั ของโอกาส ความนาจะเปน โอกาสทจ่ี ะเกดิ
1. โอกาสมาก 1:100 - เกดิ ภายใน 1 ป
2. โอกาสปานกลาง 1:1000 - เกดิ ภายใน 1 – 2 ป
3. โอกาสนอย < 1 : 100000 - เกิดภายใน 2 – 5 ป

74

ตัวอยาง การประเมนิ เพ่อื จัดลําดับของระดับของความรนุ แรงของความเสยี่ ง

ความเส่ยี ง ระดบั ความรุนแรงของความเสย่ี ง

1. ดา นการตลาด มากที่สดุ มาก ปานกลาง นอย
2. ดานการผลติ
3. ดา นการเงนิ

4. ดา นบคุ ลากร
5. ดา นศกั ยภาพ

ตวั อยา ง การกาํ หนดเกณฑก ารประเมินเพื่อจดั ลาํ ดับความสาํ คัญของความเสย่ี ง
ลาํ ดับท่ี ความเส่ียงจะตอ งถกู ขจัดใหห มดสนิ้ ไป หรอื ลดความเสี่ยงนัน้ ในทันทที นั ใด

1 (ระดับมากท่สี ุด)
2 ความเสย่ี งที่จําเปน ตอ งตรวจสอบอยา งใกลชดิ และอาจตองมแี ผนปฏบิ ัตกิ ารเพือ่ ปองกนั

ไมใ หเ กดิ ผลกระทบตอธรุ กจิ (ระดับมาก)
3 ความเสี่ยงทจ่ี าํ เปนตองตรวจสอบ แตเขมงวดนอยและแผนการลดความเสี่ยงมี

ความเรงดว นนอ ย(ระดบั ปานกลาง)
4 ความเสย่ี งในระดับนีอ้ ยูในระดับต่ําสดุ และตอ งการความเอาใจใสนอ ย แตไมค วร

ละเลยทงั้ หมด(ระดับนอ ย)

การจัดลําดับความสําคัญของความเส่ียงชวยใหเจาของธุรกิจ และสมาชิกทีมงานให
ความสนใจหรอื เนน การบริหารความเสีย่ งที่มผี ลกระทบตอ ธุรกิจมากทสี่ ุด

2.5 การกําหนดมาตรการแกไขและปองกันความเสี่ยง เม่ือจัดลําดับความสําคัญของ
ความเส่ียงไดแลว ใหพ ิจารณาจุดวกิ ฤตแตละประเดน็ ทีเ่ ปน ความเสย่ี ง ดงั น้ี

2.5.1 สาเหตุของการเกดิ จดุ วกิ ฤตนัน้ ๆ
2.5.2 ผลกระทบของจุดวิกฤตทจ่ี ะเกิดกบั ธรุ กจิ เปน อยา งไร
2.5.3 การเกดิ จดุ วกิ ฤตนนั้ จะมีอะไรเปน ตวั บอกเหตุ
2.5.4 มแี นวโนมวา จะเกิดจดุ วิกฤตนนั้ กับธุรกจิ ของเรา องคก รจะปอ งกันอยา งไร
2.5.5 ถา จุดวิกฤตนัน้ มาถึงแลว องคก รจะมีมาตรการอะไรมาแกไข

75

2.6 การประเมนิ ผลของมาตรการแกไขและปองกนั ควรใหทีมงานที่ทําแผนธุรกิจ วิเคราะห

ประเดน็ ตอ ไปน้ี

2.6.1 ความเสี่ยงเรื่องใดที่เราผานเลยไปแลว และเราผานไปไดอยางไร และมี

มาตรการอะไรที่เคยใชไดผ ล

2.6.2 ความเสีย่ งเรือ่ งใดทีก่ ําลังเผชิญอยู และมาตรการแกไ ขทเี่ ราใชอ ยู มกี ารประเมิน

หรอื ไมว า มาตรการแกไขน้ัน ใชไดผ ลหรอื ไม ถาใชไมไ ดผลเราตองปรบั กลยทุ ธอยา งไร

2.6.3 ความเสย่ี งเรื่องใดทีก่ าํ ลังจะมาถึง มาตรการปองกันที่วางไวไดลงมือทําแลว

หรือยงั ถา ทําแลวเปน อยางไร ตอ งปรบั กลยุทธใ หมห รือไม

2.6.4 ความเส่ียงเร่ืองใดท่ียังมาไมถึง องคกรไดศึกษาความเปนไปไดหรือไมวา

มาตรการปองกนั ท่เี ตรยี มไว จะไดผลดีหรอื ไม หรอื เคยใชไดผ ลในองคกรอืน่ ๆ หรอื ไม

2.6.5 กําหนดความถ่ีในการประเมินผลมาตรการแกไขและปองกันเปนระยะ ๆ

เพอ่ื จะไดคอยปรบั แผนกลยุทธใ หม เมื่อเหน็ วา ไมไ ดผล

2.7 การวางแผนการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Planning)

การวางแผนการบริหารความเสี่ยง มีวัตถุประสงคท่ีสําคัญคือ การตัดสินใจเลือก

วธิ ีการและแผนกจิ กรรมจัดการความเส่ยี งของธุรกจิ ดงั นน้ั กจิ กรรมจะครอบคลุมและมีความสัมพันธกับ

การบริหารความเสี่ยง เพ่ือใหการดําเนินการธุรกิจบรรลุเปาหมายท่ีกําหนดและเพ่ือใหการดําเนินการ

ธุรกิจเกดิ ประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล จงึ ตอ งมีการวางแผนกิจกรรมบรหิ ารความเสย่ี ง พรอ มทงั้ จัดสรร

งบประมาณและทรพั ยากรตา ง ๆ ในการดําเนินงาน เพอ่ื ใหก ารบริหารความเสี่ยงบรรลุวัตถุประสงคและ

เปาหมายท่ีตงั้ ไว

องคประกอบของแผนบริหารความเสย่ี ง

องคป ระกอบ รายละเอยี ด

1. ช่ือความเส่ยี ง เขียนอธบิ ายสัน้ ๆ วา ประเด็นทีเ่ ปนความเส่ยี ง
คอื อะไร

2. ลําดับความเส่ียงเพ่ือการปฏิบัติ ระบรุ ะดับของความเสีย่ ง

3. ประเภทของความเสยี่ ง ระบุวา เปน ความเสย่ี งประเภทใด

4. การควบคมุ ความเสีย่ งในปจจุบนั ระบแุ นวทางการควบคุมความเสยี่ งในปจ จุบนั

5. แผนปฏิบัตกิ ารเพื่อควบคมุ ความเสีย่ ง ระบุแนวทางการดาํ เนนิ งาน เปา หมาย เวลา
ผรู บั ผดิ ชอบ

องคประกอบ 76
6.ตวั ช้วี ดั ความคืบหนา และความสําเรจ็
รายละเอียด
7.แนวทางการตรวจสอบและรายงาน ระบุวาถาทําตามตวั ชว้ี ดั แลว ความสาํ เรจ็ จะลดลง
หรือไม
ระบคุ วามคืบหนา ในการดําเนนิ การ (รอ ยละ)

ตัวอยาง แผนการบรหิ ารความเสย่ี ง

ลําดบั ท่ี รายการความเส่ยี ง ผลเสีย/ กจิ กรรม ตัวชีว้ ัด ระยะเวลา ผูรบั ผดิ ชอบ
ผลกระทบ ความสําเร็จ ดําเนินการ

2.8 การติดตามประเมนิ ผลการบรหิ ารความเสี่ยง ซึง่ เปนขัน้ ตอนสาํ คญั ในการศกึ ษาปญ หา
และอุปสรรค ในการปฏิบัติตามแผนบริหารความเสี่ยง และชวยใหทีมงานบริหารความเส่ียงไดขอมูล
เพ่ิมเติม เพอ่ื นาํ ไปปรับปรงุ วธิ กี ารจดั การความเสี่ยงใหมปี ระสิทธภิ าพสงู ข้ึน

ท้ังนี้ การบริหารความเสี่ยงเปนงานที่ตองทําอยางตอเน่ือง ความเส่ียงแตละประเภท
เปล่ียนไปตามความเปลี่ยนแปลงของโลก การบริหารความเส่ียงจึงตองไดรับการประเมินผล และ
ปรับปรุงใหสอดคลองกับสถานการณปจจุบัน การประเมินผลจึงไมใชขั้นตอนสุดทายของการบริหาร
ความเส่ยี ง แตเปนขน้ั ตอนท่นี ําไปสรู ะบบการบริหารความเสยี่ ง ท่ีมีความตอเน่อื งและทนั ตอเหตกุ ารณ

3) การจัดการการผลติ
ความหมายของการจดั การการผลติ การบริการ และการควบคุมคณุ ภาพ
การจัดการการผลิต หมายถึง กระบวนการท่ีดําเนินงานผลิตสินคาตามข้ันตอนตาง ๆ

อยา งตอ เนอ่ื งและมกี ารประสานงานกัน เพอ่ื ใหบรรลเุ ปา หมายขององคก รหรือกิจการ
การบริการ หมายถึง กระบวนการท่ีเนนการใหบริการแกลูกคาโดยตรง โดยการทําให

ลูกคาไดรับความพงึ พอใจ มคี วามสขุ และไดรับผลประโยชนอยา งเตม็ ที่

77

การควบคุมคุณภาพ หมายถึง การจัดกิจกรรมตาง ๆ เพื่อใหผลิตภัณฑตอบสนองความ
ตอ งการและสามารถสรา งความพึงพอใจใหก ับลูกคาบนแนวคิดพื้นฐานวา เมื่อกระบวนการดี ผลลัพธที่
ออกมากจ็ ะดีตาม

การจดั การเก่ียวกับการควบคมุ คณุ ภาพการผลติ
การควบคุมคุณภาพน้ัน มีวัตถุประสงคเพ่ือใหสินคาหรือผลิตภัณฑหรือการบริการบรรลุ
จุดมงุ หมายดงั ตอไปน้ี
1. สนิ คาที่สั่งซ้อื หรือสงั่ ผลติ มีคุณภาพตรงตามขอ ตกลงหรือเงอ่ื นไขในสัญญา
2. กระบวนการผลิตดําเนินไปอยางถกู ตองเหมาะสม
3. การวางแผนการผลติ เปน ไปตามทก่ี ําหนดไว
4. การบรรจุหีบหอดีและเหมาะสม หมายถึงสามารถนําสงวัสดุยังจุดหมายปลายทางใน

สภาพดี
ข้ันตอนการควบคุมคณุ ภาพการผลิต แบง ออกเปน 4 ขน้ั ตอน คอื
1. ข้ันการกาํ หนดนโยบาย ในข้ันน้ีจะเปนการกําหนดวัตถุประสงคกวาง ๆ เชน ระดับสินคา
ขนาดของตลาด วิธีการจําหนาย ตลอดถึงการรับประกัน ขอกําหนดเหลาน้ีจะเปนเคร่ืองช้ีนําวากิจการ
จะตอ งทาํ อะไรบาง เพอื่ ใหบรรลวุ ัตถุประสงคที่ไดว างเอาไว
2. ข้ันการออกแบบผลิตภัณฑ การออกแบบผลิตภัณฑในท่ีน้ี หมายถึง การกําหนด
คุณลกั ษณะของผลิตภณั ฑ การออกแบบผลิตภณั ฑจงึ ตองมีความสัมพันธกับระบบการผลิต
3. ข้ันตอนการควบคุมคุณภาพของการผลิต การควบคุมคุณภาพการผลิต แบงออกเปน
ข้ันตอนยอย 3 ขั้น คือ การตรวจสอบคุณภาพของชิ้นสวน การควบคุมกระบวนการการผลิต และการ
ตรวจสอบคณุ ภาพของผลติ ภณั ฑ โดยในการตรวจสอบท้ัง 3 ขัน้ นี้ สว นใหญจ ะใชเทคนิคการสุมตัวอยาง
เพราะผลิตภณั ฑท ผี่ ลิตไดนัน้ มีจาํ นวนมากไมอาจจะทําการตรวจสอบไดอยางท่วั ถงึ ภายในเวลาจาํ กัด
4. ข้นั การจําหนาย การควบคมุ คณุ ภาพ จะมีลักษณะเปนการใหบริการหลังการขาย ซึ่งใน
ระบบการตลาดสมยั ใหมถอื วาเปน เรือ่ งสําคัญมาก เพราะสินคาบางชนดิ โดยเฉพาะอยางยิ่งสินคาประเภท
เครอ่ื งมอื เครื่องจักรหรืออุปกรณทางอิเล็กทรอนิกส ซ่ึงมีวิธีการใชและการดูแลรักษาที่คอนขางยุงยาก
ผูผลิตหรือผูขายจะตองคอยดูแล เพ่ือใหบริการหลังการขายแกผูซ้ืออยูเสมอ เพื่อสรางความพึงพอใจ
ซง่ึ จะมีผลตอความเชือ่ มั่นและความกาวหนา ทางธรุ กจิ ในอนาคต
การใชน วัตกรรมและเทคโนโลยใี นการผลิต
การใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการผลิต เปนการพัฒนาความสามารถในการผลิต
ผลิตภัณฑของมนุษย ชวยในการแกปญหาและสนองความตองการของมนุษยอยางสรางสรรค โดยนํา
ความรูมาใชกับกระบวนการเทคโนโลยี เพ่ือสรางและใชสิ่งของเครื่องใช วิธีการใหการดํารงชีวิตมี
คุณภาพดียิ่งขน้ึ

78
นวัตกรรม หมายถึง ความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐใหม ท่ียังไมเคยมีใชมากอนหรือ
เปน การพฒั นาดดั แปลงมาจากของเดิมท่ีมีอยแู ลว
เทคโนโลยี หมายถึง ส่ิงที่มนุษยพัฒนาขึ้น เพื่อชวยในการทํางานหรือแกปญหาตาง ๆ เชน
อุปกรณ เครื่องมือ เครือ่ งจักร วัสดุ หรือแมกระท่ังสิ่งท่ีไมไดเปนส่ิงของท่ีจับตองไดหรืออาจเปนระบบ
หรือกระบวนการตา ง ๆ เพ่อื ใหก ารทํางานบรรลผุ ลเปา หมาย
เทคโนโลยจี ะมปี ระโยชนอ ยา งมาก เมื่อผูใชมกี ารนาํ ไปใชไดอยางถูกวิธีและเหมาะสม และ
จะเกดิ ผลกระทบอยางมากมาย เม่อื ผใู ชนาํ เทคโนโลยีไปใชแบบผิด ๆ ดวยความไมรู หรือใชเทคโนโลยี
มากเกินกวา ความจําเปน
กระบวนการเทคโนโลยใี นการผลิต
กระบวนการเทคโนโลยีเปนกระบวนการท่ีเกี่ยวของกับการแกปญหา โดยการใชความคิด
ริเร่มิ อยา งสรางสรรคและรอบคอบ เพือ่ สรา งผลิตภัณฑท กี่ อใหเ กิดประโยชนต ามความตองการของมนษุ ย
อยางมีประสิทธิภาพ
หลักการเบ้ืองตนของกระบวนการทางเทคโนโลยีการออกแบบผลิตภัณฑ สามารถแบง
ออกเปน ข้นั ตอน ไดดังน้ี

1. กําหนดปญหาหรือความตองการ 2. สรา งทางเลือกหรือวธิ กี าร

4. ออกแบบและลงมอื สราง 3. เลือกวธิ กี ารทเ่ี หมาะสม

5. ทดสอบและประเมนิ ผล ปรับปรุงแกไข

แผนภมู ิ กระบวนการเทคโนโลยใี นการออกแบบผลติ ภัณฑ

79

การเลือกใชเ ทคโนโลยีอยางสรางสรรค
การเลือกใชเ ทคโนโลยีอยางสรา งสรรคต อ ชีวติ สังคม สง่ิ แวดลอมและงานอาชีพ มีหลักการ

ดังตอ ไปนี้
1. การวิเคราะหเปรียบเทียบผลิตภัณฑหรือวิธีการท่ีไดจากเทคโนโลยีตาง ๆ ท้ังทางดาน

คณุ ภาพ รปู แบบ วัสดุ ความสะดวกในการใช ความคุม คา โดยกอ นท่ีจะตัดสนิ ใจเลือกเทคโนโลยีใดมาใชน้ัน
ผปู ระกอบการหรอื เจาของกิจการ ควรนําคุณลักษณะท่ัวไป คุณลักษณะเฉพาะของเทคโนโลยีมาศึกษา
เปรยี บเทียบกอ นการตัดสนิ ใจเลือก

2. เมื่อมีการเลือกใชเทคโนโลยีสําหรับการสรางและพัฒนาผลิตภัณฑ เพ่ือสนองตอความ
ตอ งการของมนุษยแ ลว ยอมตอ งมีผลกระทบตอสังคมและส่ิงแวดลอมตามมาดวย ดังนั้นผูประกอบการ
หรอื เจาของกิจการตองศึกษาทบทวนวาเทคโนโลยีที่กําหนดใชนั้นมี ขอดี ขอเสียและผลตอสังคมและ
สง่ิ แวดลอ มทจ่ี ะไดร บั น้นั เปนอยา งไร

3. ตดั สินใจเลือกและใชเ ทคโนโลยีท่มี ีผลดตี อ สังคมและส่ิงแวดลอ มในทางสรา งสรรคมากท่สี ดุ
การลดตน ทุนการผลติ และการบริการ

การดําเนินงานธุรกิจทุกประเภท ใหสามารถดํารงอยูไดอยางม่ันคง จําเปนท่ีผูประกอบการ
หรือเจาของธุรกิจตองหาวิธีการลดตนทุนการผลิตและการบริการ โดยแนวคิดในการลดและควบคุม
ตน ทุนการผลิตนนั้ มหี ลักการดงั น้ี

1. ศึกษาวเิ คราะหและสาํ รวจสถานภาพปจ จุบนั ของการผลติ คือแรงงาน วัตถุดิบ ตนทุนการผลิต
เม่ือรปู จ จัยการผลิตแลว ทําใหส ามารถหาขอ บกพรองและหาวิธีลดตนทนุ ได

2. วิเคราะหหาสาเหตุของตนทุนสูญเปลาที่เกิดขึ้นจากการผลิตสินคา และการบริการ
หมายถึง การเสียคาใชจ ายแตไมไ ดกอ ใหเกดิ ประโยชนตอธุรกจิ

3. ปฏิบตั กิ ารลดและควบคุมตนทุนการผลติ ในสวนของคาใชจา ยท่ีไรประสิทธิภาพ มีความ
สูญเปลา โดยดําเนนิ การตอเนื่องใหบรรลผุ ลสําเรจ็

การดําเนนิ ธุรกิจตอ งเผชิญกบั ขอจํากัดหลายอยางท่เี ปน อปุ สรรคและเปนเหตุใหตนทุนการผลิต
สูงข้ึน จากหลายปจจัย คือ ตนทุนแรงงานมีแนวโนมสูงขึ้น ตนทุนวัตถุดิบแพงข้ึน โดยเฉพาะการนํา
วัตถุดิบจากภายนอกเขามา ทําใหตนทุนการผลิตสูงข้ึน เชน คาน้ํามัน คาไฟฟา คูแขงขันมีมากข้ึนและ
ทวีความรุนแรงมากขึน้ จาํ เปนท่ผี ปู ระกอบการหรือเจาของธุรกจิ ตอ งลดตน ทุนการผลิตตอหนวยสินคาที่
ผลิตจะมผี ลใหไดก าํ ไรมากข้ึน ดังน้ันผูประกอบการตองปรับวิธีการทําธุรกิจ เพ่ือลดตนทุนการผลิตให
ตํ่าลง โดยกําหนดเปาหมายการผลิตใหเหมาะสมเพื่อความอยูรอด มีการปรับปรุงโครงสรางใน
การประกอบธรุ กิจพฒั นาระบบการสง เสรมิ การขาย ซ่ึงเปนกุญแจสาํ คญั สูความสําเร็จ

80

ปจจยั ในการลด และควบคมุ ตน ทนุ การผลติ
ในการผลิตสนิ คา ตนทนุ การผลิตจะสูงหรอื ตา่ํ นั้น ขน้ึ อยกู บั ปจ จยั ตาง ๆ หลายประการดังนี้
1. ผูบรหิ ารตอ งมนี โยบายและโครงการเพ่ือลดตนทุนการผลิตอยางจริงจังและชัดเจนไมวา

จะเปน นโยบายดานคณุ ภาพมาตรฐานระดับสากล เชน ISO , การสนับสนุนศักยภาพของบุคลากร ฯลฯ
หรอื ระบบและวิธกี ารลดตน ทุน ซึง่ ตอ งดาํ เนินการอยางจรงิ จังและตอเนื่อง

2. สรางจติ สํานึกพนักงาน ใหมจี ิตสาํ นกึ ทีด่ ีตอ โครงการลดตน ทุนการผลิต จงึ จะไดรบั ความ
รวมมอื และประสบความสําเร็จได

3. มมี าตรการเพ่ิมประสทิ ธิภาพและคณุ ภาพของการบรหิ ารจัดการธุรกจิ อยางจริงจงั
ทุกปจจัยที่กลาวมามีความสําคัญเทากันหมด แตการดําเนินการใหบรรลุเปาหมายอยางมี
คุณภาพผบู รหิ ารธุรกิจตอ งกําหนดเปาหมายและการดําเนินงานอยา งจรงิ จัง และตองมีการจดั ทาํ ขอ มลู และ
วดั ประสิทธิภาพของการลดตน ทนุ อยา งตอเน่อื ง
4) การจดั การการตลาด
การจัดการการตลาด หมายถึง การดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ดานธุรกิจ ซ่ึงจะตองมีการวางแผน
การผลติ การโฆษณา การประชาสมั พนั ธ การวจิ ยั การตลาด การสงเสริมการขาย การทําฐานขอมูลลูกคา
การกระจายสินคา การกําหนดราคา การจัดจําหนาย ตลอดจนการดําเนินกิจการทุกอยางเพ่ือสนอง
ความตองการ และบรกิ ารใหแ กผซู อื้ หรือผูบรโิ ภคพอใจ ทั้งในเรือ่ งราคาและบริการ
การจดั การการตลาดเก่ยี วของกับเรื่องตา ง ๆ ดงั น้ี
1. การโฆษณา หมายถึง การนําเสนอหรือสงเสริมความคิดในการขายสินคาหรือบริการผาน
ส่อื ตา ง ๆ มีผูอุปถัมภเปนผูเสียคาใชจายในการโฆษณา โดยมีวัตถุประสงคของการโฆษณา เพ่ือใหเกิด
ความรู ความเขา ใจเกี่ยวกับสินคา และงานบรกิ าร เปน การใหข า วสารและชกั จูงใหซอ้ื สนิ คา และซ้อื บริการ
สื่อที่ใชในการโฆษณามีหลายประเภท เชน นิตยสาร หนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศน ปายโฆษณา
การโฆษณาทางไปรษณีย เปนตน ส่ือโฆษณาแตละประเภทจะมีจุดเดนและจุดดอยแตกตางกัน ดังน้ัน
การเลอื กสื่อโฆษณาควรคํานึงถงึ วัตถปุ ระสงค ดงั น้ี
1) สามารถเขาถงึ กลุมเปาหมายใหมากท่ีสุดเทาท่ีจะมากได
2) สือ่ น้ันมีประสทิ ธิภาพและไดผ ลสูงสดุ
3) เสียคาใชจ า ยต่ําทสี่ ดุ
2. การประชาสัมพันธ หมายถึง การติดตอสื่อสารเพื่อสงเสริมความเขาใจที่ถูกตองรวมกัน
ตลอดจนสรางความสัมพันธอันดีตอกันระหวางลูกคากับผูผลิต เพื่อใหเกิดความเชื่อถือศรัทธา ความ
คดิ เหน็ ทศั นคติท่ดี ตี อ องคการ การประชาสมั พันธ ไดแ ก ขา วแจกสาํ หรบั เผยแพร การแถลงขา ว
3. การสงเสริมการขาย หมายถึง กิจกรรมการสงเสริมการตลาดนอกเหนือจากการโฆษณา
การขายโดยบุคคล และการประชาสัมพันธ เปนการชวยกระตุนความสนใจ การซื้อของผูบริโภคหรือ

81

บุคคลอ่ืนในชองทางการจัดจําหนาย การจัดแสดงในงานแสดงสินคา การแจกของแถม การลดราคา
การชงิ โชค การแขงขนั การแจกคปู อง

4. การวิจัยการตลาด หมายถึง การศึกษาปจจัยภายนอกและภายในเก่ียวกับการตลาด ทําให
ผูประกอบการมีขอมูลในการวางแผนการตลาดไดอยางมั่นใจและสามารถบอกรายละเอียดในการ
ดําเนินงานไดอ ยางชัดเจน การวิจยั การตลาดหรือการศึกษาตลาดควรวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภคมาปรับใช
ดังน้ี

1. ผูบริโภคของกิจการคือใคร ใชหลักการแบงสวนตลาดเขามาประกอบการพิจารณา คือ
หลักภมู ศิ าสตร หลักประชากรศาสตร หลักจติ วทิ ยา หลักพฤติกรรมศาสตร

2. ตลาดตองการซื้ออะไร ผูประกอบการจะตองศึกษาวาผูบริโภคตองการอะไรจากผลิตภัณฑ
ทีซ่ อ้ื เชน บางคนใชรถยนตราคาแพง เพราะตองการความภาคภูมิใจ บางคนเลือกรับประทานอาหารใน
รา นหรูหรา นอกจากเขาตองการความอรอยจากรสชาติของอาหารแลวเขายังตองการความสะดวกสบาย
การบริการที่ดี เปนตน นักการตลาดจะตองวิเคราะหดูวาผูบริโภคตองการซ้ืออะไรเพ่ือที่จะจัด
องคประกอบของผลิตภณั ฑใ หค รบถว นตามทเี่ ขาตอ งการ

3. ซ้ืออยางไร ผูประกอบการตองศึกษาถึงกระบวนการตัดสินใจในการซ้ือของผูบริโภค
กระบวนการการตัดสินใจในการซื้อน้ีจะเริ่มจากความรูสึกวาตองการสินคานั้น จนไปถึงความรูสึก
หลงั การซ้ือ กระบวนการดงั กลา วนจ้ี ะกนิ เวลามากหรือนอย ยากหรืองายเพยี งใดขึน้ อยูกับชนิดของสินคา
ตัวบุคคลท่ีทําการซื้อ ผูตัดสินใจซ้ือ การสงเสริมการตลาด ฯลฯ แตละข้ันของกระบวนการซื้อใชเวลา
ไมเทา กนั และบางครัง้ การซ้อื อาจจะไมไ ดดาํ เนินไปจนจบกระบวนการก็ได เพราะผูบ ริโภคเปลีย่ นใจหรือ
เกดิ อุปสรรคมาขัดขวางทําใหเ ลิกซ้อื หรืออาจตองทอดระยะเวลาในการซอื้ ออกไป

4. ทาํ ไมผบู รโิ ภคจงึ ซอื้ เปน การพจิ ารณาถึงวตั ถปุ ระสงคหรือจดุ มุงหมายของการซ้อื
5. เมื่อไรผูบริโภคจะซื้อ นักการตลาดจําตองทราบถึงโอกาสในการซ้ือของผูบริโภค ซึ่งจะ
แตกตางกันตามลักษณะสินคาน้ัน ๆ เพื่อวางกลยุทธทางตลาดไดเหมาะสมกับพฤติกรรมการซ้ือของ
ผบู ริโภค
6. ผบู รโิ ภคจะซ้อื ท่ีไหน เปนการถามเร่ืองชองทางการจําหนาย แหลงขายท่ีเหมาะสมกับสินคา
โดยพิจารณาดวู า สินคาชนิดน้ีผบู ริโภคมักจะซ้อื จากท่ีไหน ซ้ือจากหางสรรพสนิ คา ใหญ หรอื จากรานขาย
ของชาํ ใกลบา น เปนตน
7. ใครมีสวนรวมในการตัดสินใจซื้อ เปนการถามเพ่ือใหทราบถึงบทบาทของกลุมตาง ๆ ท่ีมี
อิทธพิ ลหรอื มสี วนรว มในการตดั สินใจซ้อื
โดยสรุป ผูประกอบการและนักการตลาดจะตองศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอผูบริโภค
เพ่ือทราบลักษณะความตองการของผูบริโภค เพื่อจัดสวนประสมทางการตลาด ไดแก ดานผลิตภัณฑ
ดา นการสง เสริมการตลาด ดานแผนการจดั จําหนา ยและแผนราคาใหเ หมาะสม
8. การวางแผนการตลาด หมายถึง การกําหนดกลุมลูกคาเปาหมาย สรางความนาเช่ือถือใหกับ
กิจการและผทู ี่จะรวมลงทนุ สามารถอธิบายวธิ กี ารที่จะดงึ ดูดและรักษาลูกคาทัง้ รายเกา รายใหมไ วได

82

9. การทําฐานขอมูลลูกคา หมายถึง ขอมูลจะชวยในการกําหนดสวนตางของการตลาด การ
กําหนดกลยุทธ การตลาดทางตรงไมว าจะเปน กลยุทธการสรางสรรคง านโฆษณา กลยุทธส ือ่ ตลอดจนใช
ในการวิเคราะหข อมูลตา ง ๆ เปน สิ่งสําคัญสําหรับการทาํ ตลาดทางตรง เพราะกิจการจะไมส ามารถสอ่ื สาร
หรือเขาใจถึงกลมุ ลกู คา ที่คาดหวังได หากปราศจากขอ มูลลูกคา

วัตถปุ ระสงคก ารทาํ ฐานขอ มูลลูกคา มดี งั นี้
1) เพ่ือใหท ราบถึงความสําคญั ของการจดั ทาํ บัญชรี ายช่ือลูกคา
2) เพ่ือใหทราบถงึ วธิ กี ารเบอ้ื งตนในการจดั ทาํ บญั ชีรายชอื่ ลกู คา
3) เพื่อใหเขา ใจถึงประเภทของฐานขอมูล
4) เพอ่ื ใหท ราบถึงองคประกอบของฐานขอ มูลลูกคา

10. การกระจายสินคา ในวงการธรุ กจิ ปจจุบันนกั การตลาดใหความสาํ คญั เกย่ี วกบั การกระจายสินคา
ไมน อยกวาตวั แปรอน่ื ๆ ในดา นการตลาด หากผลิตภัณฑเปนที่ตองการของตลาด แตระบบการกระจาย
สินคาไมดี เชน สงสินคาผิดพลาด ลาชา ผิดสถานท่ี เปนตน เปนความสูญเสียอันยิ่งใหญ เพราะทําให
ยอดขายลดลงและสญู เสียลูกคา

จดุ ประสงคของการกระจายสินคา คอื การจดั สง สนิ คาใหลูกคาไดถูกตอง ไปยังสถานท่ีท่ีถูกตอง
ในเวลาทเ่ี หมาะสม โดยเสยี คาใชจ า ยนอ ยท่สี ุด ตลอดจนการใหบรกิ ารลูกคา ท่ดี ีทส่ี ดุ

บทบาทและความสาํ คัญของการกระจายสนิ คา เปน การเชอื่ มโยงระหวางผผู ลติ กับผูบริโภค หรือ
กลาวไดว าการทน่ี าํ สนิ คาออกจําหนา ยใหผบู ริโภคทันตามเวลาทีต่ องการกระจายสนิ คา จึงมคี วามสาํ คญั ท่ี
ผูประกอบการจะตองระมัดระวังในเร่ืองตอไปนี้

1) สนิ คา ที่ถกู ตอง
2) เวลาทีถ่ ูกตอ ง
3) จํานวนทีถ่ ูกตอง
4) สถานท่ที ถี่ ูกตอ ง
5) รปู แบบที่ตอ งการ
การจัดการกระจายสนิ คา คอื การนาํ สินคา ไปถึงมือผูบรโิ ภคหรือลกู คา ซ่งึ กระจายสนิ คาเกี่ยวของ
กับการงานในหนาที่อื่น ๆ ไดแก การเร่ิมตนจากการพยากรณการขายซึ่งเก่ียวกับการวางแผนการจัด
จําหนาย และวางแผนการผลิต สวนการกระจายสินคา หมายถึง การบริหารระบบการขนสงระบบ
ชองทางการจัดซ้ือ ระบบชองทางการจัดจําหนาย ระบบสินคาคงคลัง เพื่อใหไดมาซ่ึงประสิทธิภาพใน
การจัดซื้อวัสดุ วัตถุดิบเพื่อการผลิต และเพื่อใหไดมาซ่ึงประสิทธิภาพทางการตลาดที่จะขายสินคา
สาํ เร็จรูปและบรกิ ารสูมอื ผูบรโิ ภค
1) การวางแผนการตลาดเชิงกลยุทธ
การวางแผนการตลาดเชิงกลยุทธ จะทําใหพ นกั งานทุกคนไดร ูวา จะปฏิบัติใหบรรลุเปาหมายใน
ระยะเวลาไดอยางไร แผนการตลาดเปนเอกสารท่ีเขียนขึ้น เพ่ือใชเปนเสมือนหนังสือนําทางสําหรับ
กจิ กรรมทางการตลาดแกผ ูจ ัดการฝา ยการตลาด

83

แผนการตลาดจะระบวุ ตั ถปุ ระสงค และกจิ กรรมทตี่ องทําเพ่ือใหบรรลวุ ัตถปุ ระสงคนัน้ การตลาด
ถือเปนกิจกรรมที่ยากที่สุด ท่ีพนักงานและผูบริหารเขาใจรวมกันและทําเพ่ือนําไปสูเปาหมายรวมกัน
การเขียนแผนการตลาดที่ชัดเจนเปนงานที่ตองใชเวลา แตเปนพ้ืนฐานในการส่ือสารภายในองคการ
แผนการตลาดจะทําใหพ นกั งานทุกคนทราบวา ตนมีความรับผิดชอบอะไร ตองทําอะไร มีกรอบเวลาใน
การปฏบิ ัตงิ านอยา งไร แผนการตลาดบง บอกวตั ถุประสงคและแนวทางการจัดสรรทรพั ยากรเพอื่ ใหบ รรลุ
วตั ถปุ ระสงค แผนการตลาดเปนกรอบความคิดและใหทิศทางเชิงกลยุทธ สวนการนําไปปฏิบัติเปนการ
ทาํ งานในลักษณะท่ีจดั การกับปญหา โอกาส และสถานการณ แผนการตลาดแสดงขั้นตอนงานท่ีเรียงเปน
ลาํ ดับกอ นหลงั กจ็ รงิ แตข ้นั ตอนเหลาน้นั อาจเกิดขึ้นพรอมกนั หรอื ประสานกันกไ็ ด การเขียนแผนมีหลาย
รูปแบบ ขนึ้ อยกู ับองคก ร พันธกิจ วตั ถุประสงค กลุมเปา หมาย และสว นประสมทางการตลาดขององคกร
นนั้

2) การนําแผนไปปฏิบัติและการควบคุม เปนกระบวนการท่ีผูทําการตลาด ตองดําเนินงานตาม
แผนการตลาดท่ีวางไว ดวยความม่ันใจวาสามารถบรรลุวัตถุประสงคได ซ่ึงรายละเอียดในแผนจะระบุ
กิจกรรม เวลา งบประมาณ ซ่ึงตอ งมีการสือ่ สารทด่ี ี

เมื่อนาํ แผนการตลาดไปปฏิบัติแลว จะตองมีการประเมิน เพอื่ ใหท ราบวา ไดดาํ เนนิ การบรรลุตาม
วัตถุประสงคเ พียงใด มีอะไรที่ควรแกไข การวางแผนมีความสัมพนั ธใกลชิดกบั การควบคมุ เนอื่ งจากแผน
ไดระบถุ ึงส่ิงท่ีองคก รตอ งการบรรลุ

3) บัญชธี รุ กิจ
3.1 ความหมายของบญั ชีธรุ กจิ
บัญชีธุรกิจ หมายถึง ระบบประมวลขอมูลทางการเงิน การจดบันทึกรายการคาตาง ๆ

ที่เก่ยี วกบั การรบั – จา ยเงนิ ส่งิ ของ และสทิ ธิทมี่ มี ลู คา เปนเงินไวในสมุดบัญชอี ยางสมาํ่ เสมอ เปนระเบียบ
ถูกตอ งตามหลกั การและสามารถแสดงผลการดาํ เนนิ งานและฐานะการเงินของกจิ การในระยะเวลาหน่ึงได

3.2 ความสําคญั ของการทําบัญชี
1. เปนเคร่ืองมือวดั ความสําเรจ็ ในการดําเนนิ ธรุ กจิ โดยพจิ ารณาจากผลการดําเนินงาน

ฐานะทางการเงินของธุรกิจ และความมั่นคงของธุรกิจ จะบันทึกบัญชีรายการตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นในการ
ดําเนินธุรกิจ เชน การลงทุน การรับ การจาย โดยไมนําสวนท่ีเปนของสวนตัวเขามาบันทึกดวย ส่ิงท่ี
บันทึกไวจะสามารถนํามาจัดทําเปนรายงานทางการเงินได เชน งบดุล งบกําไร ขาดทุน ซ่ึงเปนภาพ
สะทอ นในการดาํ เนินธุรกิจ

2. เปนเครือ่ งมอื ชวยในการวางแผนและตัดสินใจธุรกิจ สามารถนํามาวิเคราะหความ
เปนไปไดข องการลงทุนทจ่ี ะเกิดขึ้นในอนาคต ดังน้ัน หากมีการบันทึกท่ีถูกตอง จะทําใหสามารถพัฒนา
กจิ การใหเ จริญกา วหนา อยางย่งั ยนื

3. เปนเครื่องมือในการวางแผนกําไร และควบคุมคาใชจายของบริษัท ชวยในการ
ตดั สนิ ใจกําหนดราคาสนิ คา ชว ยในการควบคมุ ตนทนุ การผลิต และสามารถวิเคราะหปรับปรุงรายจายที่
ไมจําเปนออก รวมถงึ ชว ยในการวางแผนการดาํ เนินงานไดอยา งถูกตอ ง เหมาะสมกบั ทรัพยากรที่มีอยู

84

3.3 ประเภทและขั้นตอนของการทาํ บญั ชีธรุ กจิ
บัญชีรับ – จาย การทําบัญชีรายรับ – รายจาย หมายถึง การจดบันทึกเหตุการณตาง ๆ
เก่ียวกับการเงนิ หรอื อยา งนอยท่ีสุดบางสวนเกี่ยวของกับการเงิน โดยผานการวิเคราะห จัดประเภทและ
บันทึกไวในแบบฟอรมท่ีกําหนดเพ่ือแสดงฐานะการเงิน และผลการดําเนินงานของกิจการในชวง
ระยะเวลาหน่งึ
การจดบันทึกการปฏิบตั งิ านและการทําบัญชรี ายรบั – รายจาย เปนการชวยความทรงจํา
และถามีการจดบันทึกกิจการตาง ๆ อยางมีระบบ การลงบัญชีที่ดี มีความเขาใจในการจดบันทึก และ
การสรปุ ขอมลู ใหเ หมาะสมแลวสามารถนาํ ขอ มลู ทีไ่ ดรบั มาใชประโยชนในการตัดสินใจทําการปลูกพืช

ใหส อดคลองกบั ความตองการของตลาด แนวโนม ของราคา ตลอดจนเหตุการณตาง ๆ ที่มีผลกระทบตอ
การดาํ เนินกจิ กรรมไดอ ยา งเหมาะสมย่ิงขน้ึ ทาํ ใหผผู ลติ ทราบไดวากิจการของตนเปนอยา งไร และวิธีการ
อยางหนึ่งท่ีจะแสดงฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานวามีรายรับ – รายจายอยางไร ชวยในการ
ประเมนิ ผลการดาํ เนินงานวามกี ําไร หรือขาดทุนอยางไรอกี ดวย รูปแบบการบันทึกการทําบัญชีรายรับ –
รายจา ย ดังตัวอยาง
ตวั อยาง แบบฟอรม การทาํ บญั ชีรายรบั – รายจา ย
แบบบญั ชีรายรับ - รายจา ย

วนั เดอื น ป รายรับ จาํ นวนเงนิ วนั เดอื นป รายจา ย จํานวนเงนิ
บาท สต. บาท สต.

บญั ชีทรพั ยสิน – หน้ีสนิ
เปน การบนั ทกึ รายการทรัพยส นิ หนส้ี ินตาง ๆ เชน ที่ดิน เคร่ืองมือ เคร่ืองจักรกลตาง ๆ อุปกรณ

การเกษตร ปจจัยการผลิต จํานวนผลผลิต ผลผลิตท่ีคงเหลือ ตลอดจนหน้ีสินตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในการ
ดําเนนิ การผลิต ในการบันทกึ ทรพั ยส ิน – หนสี้ นิ ตาง ๆ เพ่ือจะนาํ ไปใชสรุปฐานะทางการเงินของตนเอง
และเปนขอมลู ที่จะใชในการคาํ นวณหารายไดตอ ไป โดยสรปุ เปนฤดูกาลเพาะปลูก หรือส้ินปใหกําหนด
เปน มลู คาจาํ นวนเงิน ดงั ตัวอยา ง บัญชที รพั ยสิน – หนส้ี นิ

85

บัญชที รัพย – หนีส้ ิน
รา นขายขนมเบเกอร่ี

วนั เดอื น ป ทรัพยสนิ จํานวน จํานวน วนั เดอื น ป หนส้ี นิ จาํ นวน จาํ นวน
1 ม.ค. 53 รายการ หนว ย เงิน 5 ม.ค. 53 รายการ หนว ย เงิน
15 มี.ค. 53 รถยนต 300,000 กเู งนิ ซ้ือทด่ี ิน 100 ตร.ว 400,000
25 ม.ี ค. 53 ทดี่ นิ 1 400,000 ฯลฯ
30 ม.ี ค. 53 รา นคา 100 ตร.ว 500,000
อปุ กรณท าํ เบเกอรี่ 5,000
ฯลฯ 1
1 ชุด

86

กจิ กรรมท่ี 12
ใหผูเรยี นศกึ ษาใบความรู เรือ่ ง การบรหิ ารจัดการในการขยายอาชีพใหเขา ใจ แลว สรุปแตละเร่ือง

ใหส อดคลอ งกบั อาชพี ของตนเองหรอื อาชพี ทส่ี นใจมาพอสังเขป
1. การทําแผนธรุ กจิ
……………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
2. การจดั การความเสย่ี ง
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
3. การจัดการการผลติ
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
4. การจดั การการตลาด
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
5. บญั ชธี ุรกจิ
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………

87

บทที่ 6
การจดั ทาํ และพัฒนาระบบการขยายอาชพี ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ผลการเรียนรูท ีค่ าดหวงั
สามารถดําเนินการจัดทําหรือปรับปรุงแผนธุรกิจดานการจัดการการผลิตหรือการบริการ และ

ดา นการจดั การการตลาด ตามแนวคิดของปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ขอบขายเนือ้ หา

เรอ่ื งที่ 1 องคป ระกอบของระบบขยายอาชพี ตามแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
เรอื่ งที่ 2 การจดั ทาํ แผนธรุ กิจ

ส่ือประกอบการเรยี นรู
1. เอกสารหมายเลข 17 ใบความรู เร่ือง องคป ระกอบของระบบขยายอาชพี ตามแนวคดิ ปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
2. เอกสารหมายเลข 18 ใบความรู เรอื่ ง การประยุกตหลักเศรษฐกิจพอเพียงกับประสบการณ
ตนเอง จัดทาํ กรอบความคิดเหน็ ธุรกจิ ท่ีเหมาะสมกบั ตนเอง
3. เอกสารหมายเลข 19 คมู ือจดั ทําแผนธรุ กจิ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใหเหมาะ
กบั ตนเอง

88

เรื่องท่ี 1 องคประกอบของระบบขยายอาชีพตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ลักษณะบง ช้ีความสําเรจ็ ของการเรยี นรู
1. ชี้แจงภาพรวมขององคป ระกอบในระบบการขยายอาชีพตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียง
2. บอกความสัมพนั ธระหวาง ความมเี หตผุ ล ความพอดี และภมู ิคุมกันทน่ี ําไปสูการจัดทําแผน

ธรุ กิจของการขยายอาชพี
3. บอกเหตผุ ลเชงิ สัมพันธใ นการใชค วามรอบรูเ พ่อื จัดการการตลาดและการผลิต
4. บง ชล้ี ักษณะการใชคุณธรรมขับเคลอื่ นธรุ กิจ

ลกั ษณะบง ชี้ความสาํ เรจ็ ของ กจิ กรรม การวดั ผล ประเมินผล สื่อการเรียนรู
การเรียนรู

1. ช้แี จงภาพรวมของ 1. อานเอกสารหมายเลข 16 1. ทดสอบความเขา ใจ เอกสารหมายเลข 16
องคประกอบในระบบการ เรอ่ื ง องคประกอบของระบบ 2. สงั เกต การแสดงความ ใบความรู เรื่อง
ขยายอาชพี ตามแนวคิด ขยายอาชพี ตามแนวเศรษฐกจิ คดิ เหน็ องคป ระกอบของระบบ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง พอเพยี ง แลวคิดความคิดรวบ 3. ประเมินความเปน ไปไดใ น ขยายอาชพี ตามแนวคิด
2. บอกความสมั พันธร ะหวาง ยอดเปน ของตนเอง เกีย่ วกับ การนาํ ไปใชจริง ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
ความมเี หตุผลความพอดี และ 1.1 ความพรอ มของระบบ 4. องคค วามรทู ่ีเกดิ ขนึ้ ใหม พอเพียง
ภูมคิ ุมกนั ที่นาํ ไปสกู ารจัดทาํ การขยายอาชีพตามปรัชญา
แผนธรุ กิจของการขยายอาชพี ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3. บอกเหตผุ ลเชิงสมั พนั ธใ น 1.2 ความสัมพนั ธระหวา ง
การใชค วามรอบรู เพ่อื จัดการ ความมเี หตผุ ล ความพอดี และ
การตลาดและการผลิต ภูมิคุม กนั กบั การจัดตําแหนง
4. บงชี้ลักษณะการใช ธุรกจิ การขยายอาชีพ
คุณธรรมขบั เคลื่อนธุรกิจ 1.3 เหตผุ ลเชิงสัมพันธใ น
การใชค วามรอบรู เพื่อจัดการ
การตลาดและการผลิต
1.4 สาระคณุ ธรรมทใี่ ช
ขบั เคลอ่ื นธรุ กจิ
2. ผเู รยี นนาํ ความรทู ่ีสรุปจาก

เอกสารหมายเลข 16 ไป
แลกเปลีย่ นเรยี นรูก บั ผรู ู
ผเู ช่ยี วชาญและผูประกอบการ

ลักษณะบง ชค้ี วามสาํ เร็จของ กจิ กรรม การวดั ผล ประเมนิ ผล 89
การเรยี นรู ส่อื การเรยี นรู

กับประสบการณของตนเอง
เปนความรใู หม
3. ผเู รียนนาํ ความรูใหมที่เกดิ

จากการบูรณาการมา
ตรวจสอบ ทดลองปฏบิ ัติการ
หาความรู ความจริงกับตนเอง
4. ผเู รยี นดาํ เนินการประเมนิ
ความเปน ไปไดในการ
นาํ ไปใชจ รงิ แลวสรุปเปน
องคความรขู องตนเอง

90

เอกสารหมายเลข 17 : ใบความรเู ร่อื ง องคป ระกอบของระบบขยายอาชีพตามแนวคิดปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. ภาพรวมขององคประกอบระบบการขยายอาชพี ตามแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ระบบตา ง ๆ ทวั่ ไปมกั จะประกอบดวยการจัดปจจัยนําเขา กระบวนการดําเนินงานผลผลิต

และการประเมนิ พฒั นา ดงั นัน้ การจดั ทาํ ระบบขยายอาชีพตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือ
พัฒนาเศรษฐกิจของผูเรียน ครอบครัวชุมชนใหมีความพอเพียงไดดวยการนําเปาหมายความคิดของ
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาอางอิง ประยุกตเปนระบบดําเนนิ การ ซง่ึ มลี ักษณะภาพรวมดังน้ี

1 2 3 4 5
ใชเ หตผุ ล ใชหลกั ความ สรา งความ
วเิ คราะหปญหา พอดจี ดั ทําแผน ใชห ลักภูมิคุมกนั ใชห ลักคณุ ธรรม
ความตอ งการ ธุรกิจที่เหมาะสม วิเคราะหค วามเส่ียง รอบรู ขับเคลอ่ื น ควบคมุ
ใหก บั ประเมิน และพัฒนา
- ลกู คา แผนธรุ กจิ ทปี่ ระเภทตา งๆ ตนเอง
- ผลิตภณั ฑ ขยายอาชีพ การ - ผลติ ภณั ฑ
- ชองทางตลาด วเิ คราะหและ แผนจดั การ ขับเคลือ่ น เขา สูตลาด
- ทนุ จดั การความเส่ยี ง การตลาด
- องคความรู ดานแผนกลยุทธ ธรุ กจิ - ฐาน
แกผานรจตดั ลกาาดร ลกู คา
ขยายตัว
การผลิต
- พนั ธมิตร
ทางธุรกจิ
เพมิ่

แผนภูมิ : แสดงระบบการขยายอาชีพตามแนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

จากแผนภมู ขิ า งตนทําใหทราบวา ระบบการขยายอาชีพตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มีขน้ั ตอนดังนี้

1. ข้ันตอนการใชเหตุผล วิเคราะห ปญหาความตองการ ของการขยายอาชีพ เพื่อได
ขอมูลสารสนเทศที่เปน เหตเุ ปน ผล ดว ยการศกึ ษาสาํ รวจ ตรวจสอบเหตุการณ สรุปจําแนกขอมูลเชิงเหตุผล
ดา นตา ง ๆ เชน (1) ลกู คา (2) คุณภาพผลติ ภณั ฑท ่ีลกู คาตองการ (3) ชอ งทางการตลาดเพ่อื การจดั จาํ หนาย
(4) ทุนที่มีอยู ท้ังเงินทุน อุปกรณ ทดี่ นิ แรงงาน และองคความรูท ีจ่ ะตอ งใช

2. ข้ันตอนการใชหลักความพอประมาณความพอดี กําหนดแผนธุรกิจท่ีเหมาะสม
ทําไดจรงิ ตอ งการนาํ ขอมลู เชิงเหตุและผลมาเปนฐานในการคิด

91

3. ข้นั ตอนการใชห ลกั ภูมิคุมกัน สรางความมั่นคงลดความเสี่ยงท่จี ะเกิดขึ้นกบั การขยาย
อาชพี ดวยการวิเคราะหศักยภาพ เพ่ือจัดการความเสี่ยงกับผลการดําเนินงาน เชน (1) สภาวะแวดลอม
ภายใน จุดออน จุดแข็ง ของการดําเนินงานที่เก่ียวของกับ ผลิตภัณฑ คาใชจายตาง ๆ ของกําไร คูแขง
สวนแบงตลาด และสมรรถนะของธุรกิจ (2) สภาวะแวดลอมภายนอกดานโอกาสและอุปสรรคท่ี
เกี่ยวขอ ง นโยบาย ของฝา ยปกครอง คแู ขง ขัน กฎหมายระเบียบตาง ๆ

4. ขั้นตอนการใชหลักความรอบรู เพ่ือวางระบบการจัดการการตลาดและการจัดการ
การผลติ ขนั้ ตอนน้ีเปนการกําหนดกิจกรรมและขน้ั ตอนดําเนนิ กจิ กรรมเปนรายละเอยี ดของการทํางานท่ี
จะตองใหผูรว มงานไดร ูเทากนั ทกุ ฝาย จงึ มรี ายละเอยี ดของความรูม ากมายที่จะตองเรียนรู ทําความเขาใจ
จดั เปนเอกสารคูมือดาํ เนนิ งาน

5. ขั้นตอนการใชห ลักคุณธรรม เพื่อการขับเคล่ือน ควบคุม ประเมินและพัฒนาผลได
ทางธุรกจิ ท่ีมลี ักษณะสังคมชืน่ ชมยนิ ดีและเปน ไปในทางท่ตี อ งการ

92

2. ความสมั พันธ ระหวางความมเี หตุผล ความพอดี และภูมคิ มุ กัน เพือ่ นาํ ไปสกู ารจัดทาํ แผนธุรกิจของ
การขยายอาชีพ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มคี วามประสงคท่ีจะใหประชาชนดําเนินการประกอบอาชีพ
ไปอยางมีเหตุผล มีความพอดี มีภูมิคุมกันใหปลอดจากอันตราย ดังน้ันแผนพัฒนาธุรกิจจึงตองมี
ความสัมพนั ธก บั หลกั การดังกลา1วดงั แผนภูมิ
2

เหตผุ ลทีท่ าํ ใหเกดิ แผนธรุ กิจขยาย ความพอดขี อง
ผลสาํ เรจ็ ของอาชพี อาชีพ อาชีพ

- ทนุ วสิ ยั ทศั น ความถกู ตอง
- ผลติ ภัณฑ พนั ธกจิ ความพอดกี บั ท่ีตอ งการ
- ลกู คา กลยุทธ
- ความสามารถของตนเอง
3

ภูมิคมุ กนั ใหปลอด
จากอนั ตราย

- ความรใู นจดุ ออ น จดุ แข็ง โอกาสและอปุ สรรค
ของธุรกจิ

- ระวังความคาดหวังท่ีคิดวาตนเองไปถึงและ
ความกลาเผชญิ หนากบั ส่ิงทีไ่ มต อ งการใหเกิด

- ไมเ อาตวั เองเปนศูนยกลาง ยึดหลักการทํางาน
รว มกันที่ใหทกุ คนรเู ทา กัน

จากแผนภมู ดิ งั กลา วทําใหมองเห็นวา การขยายหรือพัฒนาอาชีพจะตองเร่ิมมาจากการใช
ขอมูล สารสนเทศของเหตุผล หรือสิ่งท่ที ําใหเกิดผลทางธุรกจิ ไดแ ก ทนุ ลูกคา ผลิตภัณฑ และความสามารถ
ของกลมุ หรือบคุ คลท่ีประกอบการอาชพี มากาํ หนดวิสัยทัศน พันธกิจ และกลยุทธดําเนินงานของแผนธุรกิจ
ทม่ี คี วามถกู ตอ ง มีความเทา กับความตองการ หรือความพอดีท่ีควรจะเปน โดยผูประกอบการอาชีพจะตอง
เขา ถงึ จุดออ น จดุ แขง็ โอกาสที่ควรจะไดรบั และอปุ สรรคตา งๆ ที่ขวางหนาไมคาดหวงั ทะเยอทะยานเกนิ ตน
มีความกลาท่ีจะเผชิญหนาแกปญหากับส่ิงที่ไมตองการใหเกิด และยึดหลักการทํางานรวมกันท่ีใหทุกคน
รเู ทา ทันกันซง่ึ เปน ภูมคิ ุมกนั ใชเปนหลกั ในการกาํ หนดแผนพฒั นาธุรกจิ

93
3. ความรอบรกู บั การทาํ แผนขั้นตอนการจดั การการตลาดและการผลติ

ขัน้ ตอนตอไปจากการทาํ แผนธรุ กจิ เปน ขั้นตอนการจัดทําแผนปฏิบัตกิ ารธุรกิจ เปนการ
กําหนดกิจกรรมและขั้นตอนการดําเนินงานของการจัดการการตลาดและการผลิต เปนขั้นตอนที่
ผูป ระกอบอาชพี จะตองมีประสบการณความรูท ห่ี ลากหลายและซับซอ นไปตามลักษณะธุรกจิ ใหเพียงพอ
ผปู ระกอบอาชพี จําเปนทจ่ี ะตองพฒั นาตนเองใหเปนบุคคลรอบรู

การผลิต / การตลาด 1. ความรูใ นบทบาทหนาทขี่ องผูป ระกอบอาชพี
2. ความรูการบริหารจัดการทรัพยากรดําเนินงาน

อาชีพ
3. ความรกู ารจัดการการผลติ และการตลาด
4. ความรู การควบคุม การวัดผล ประเมินผล

คณุ ภาพในอาชพี

จากแผนภูมดิ งั กลาวขางตน จะพบวา หากวิเคราะหกลุมความรูทั้ง 4 ดานดังกลาวขางตน จะมี
ความรูมากมายทผ่ี ปู ระกอบอาชพี จะตองเรียนรสู รา งภาวะความเปน ผูรอบรูอยา งตอเน่ือง
4. ลกั ษณะการใชค ณุ ธรรม ขับเคลอ่ื นธุรกิจ

คุณธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง สภาพคุณงามความดีของ
การทํามาหากิน การผลิต การจําหนายจายแจก การบริโภค การใชสอยที่มีความขยัน ความประหยัด
ความซอ่ื สัตย และความอดทนเปน หลักในการทํางาน

ความขยนั ผูประกอบการ
ความประหยดั การใชท รัพยากรการดําเนินงาน
ความซื่อสัตย การจัดการการผลติ และการตลาด
ความอดทน อดกลน้ั การควบคุมคณุ ภาพการดาํ เนนิ งาน


Click to View FlipBook Version