The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maw.nfe, 2020-04-14 22:00:42

สังคมศึกษา ม.ต้น

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

หนังสือเรียนสาระการพฒั นาสังคม

รายวชิ าสงั คมศึกษา

(สค21001)

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน

หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
พุทธศกั ราช 2551

(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)

หามจําหนา ย

หนงั สือเรียนเลมน้ี จัดพมิ พด วยเงนิ งบประมาณแผน ดนิ เพ่อื การศึกษาตลอดชีวติ สําหรบั ประชาชน
ลขิ สทิ ธิ์เปน ของ สาํ นกั งาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

สํานกั งานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ
กระทรวงศกึ ษาธิการ

หนงั สอื เรียนสาระการพัฒนาสงั คม

รายวชิ าสังคมศึกษา (สค21001)

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน

(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)

เอกสารทางวิชาการลาํ ดับท่ี 36/2557

คาํ นาํ

สํานกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดด ําเนินการจัดทําหนังสือ
เรยี นชุดใหมน ีข้ ึน้ เพ่ือสาํ หรับใชใ นการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ขน้ั พน้ื ฐานพทุ ธศักราช 2551 ท่ีมีวัตถุประสงคในการพัฒนาผูเ รียนใหมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปญญา
และศักยภาพในการประกอบอาชีพการศึกษาตอ และสามารถดํารงชีวติ อยูในครอบครัว ชมุ ชน สังคมได
อยา งมีความสุขโดยผูเรียนสามารถนําหนังสือเรียนไปใชดว ยวิธีการศึกษาคน ควา ดวยตนเอง ปฏิบัติ
กิจกรรม รวมทัง้ แบบฝก หัด เพอ่ื ทดสอบความรูค วามเขาใจในสาระเน้อื หา โดยเม่ือศึกษาแลว ยังไมเ ขาใจ
สามารถกลับไปศึกษาใหมไ ด ผูเรยี นอาจจะสามารถเพ่ิมพูนความรูห ลังจากศึกษาหนังสือเรียนนี้ โดยนํา
ความรไู ปแลกเปลยี่ นกบั เพอ่ื นในชนั้ เรยี น ศึกษาจากภูมิปญ ญาทองถิน่ จากแหลงเรยี นรูและจากส่อื อื่น ๆ

ในการดาํ เนนิ การจดั ทาํ หนงั สอื เรยี นตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
พุทธศักราช 2551 ไดร บั ความรวมมอื ทด่ี จี ากผทู รงคุณวุฒิและผูเกี่ยวขอ งหลายทา นท่ีคนควาและเรียบเรียง
เนื้อหาสาระจากส่ือตา ง ๆ เพื่อใหไดส ื่อท่ีสอดคลอ งกับหลักสูตรและเปนประโยชนต อผูเ รียนท่ีอยู
นอกระบบอยางแทจริง สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณ
คณะทปี่ รกึ ษา คณะผเู รียบเรยี ง ตลอดจนคณะผูจัดทาํ ทกุ ทานทไี่ ดใหค วามรว มมือดว ยดีไว ณ โอกาสนี้

สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หวังวาหนังสือเรียนชุดน้ี
จะเปนประโยชนใ นการจัดการเรียนการสอนตามสมควร หากมีขอเสนอแนะประการใด สํานักงาน
สงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอนอมรบั ไวดวยความขอบคุณยิง่

สํานักงาน กศน.
กันยายน 2557

สารบัญ

หนา
คาํ นํา
คาํ แนะนํา
โครงสรางรายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค21001)
ขอบขา ยเนอื้ หา

บทที่ 1 ภูมิศาสตรก ายภาพทวีปเอเชีย...............................................................1
เรื่องที่ 1 ลกั ษณะทางภูมศิ าสตรก ายภาพของประเทศ
ในทวปี เอเชยี .............................................................................. 3

เรื่องที่ 2 การเปล่ียนแปลงสภาพภมู ศิ าสตรก ายภาพ.................................. 9
เร่ืองที่ 3 วิธีใชเคร่ืองมอื ทางภมู ิศาสตร ....................................................17
เร่ืองที่ 4 สภาพภมู ิศาสตรก ายภาพของไทย

ท่ีสงผลตอทรัพยากรตาง ๆ .......................................................23
เร่ืองท่ี 5 ความสําคัญของการดาํ รงชวี ติ ใหส อดคลอ ง

กบั ทรัพยากรในประเทศ ...........................................................29

บทที่ 2 ประวัติศาสตรท วีปเอเชีย....................................................................41
เรือ่ งท่ี 1 ประวตั ศิ าสตรส ังเขปของประเทศในทวปี เอเชีย.........................43
เร่ืองที่ 2 เหตกุ ารณส าํ คัญทางประวตั ิศาสตรที่เกิดขึ้นในประเทศไทย

และประเทศในทวีปเอเชยี .........................................................62
เรื่องท่ี 3 พระราชกรณยี กิจของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช

(รชั กาลท่ี 9) และสมเดจ็ พระนางเจา สิรกิ ติ ์ิ พระบรมราชินนี าถ

ทส่ี งผลตอ การเปล่ยี นแปลงของประเทศไทย..............................82
บทที่ 3 เศรษฐศาสตร.................................... ...............................................109

เรือ่ งที่ 1 ความหมายความสําคญั ของเศรษฐศาสตรม หภาค

และจุลภาค.............................................................................110
เรอ่ื งที่ 2 ระบบเศรษฐกจิ ในประเทศไทย................................................112
เรอื่ งที่ 3 คุณธรรมในการผลติ และการบริโภค........................................125

เรอ่ื งที่ 4 กฎหมายและขอมลู การคมุ ครองผบู รโิ ภค................................127
เรอ่ื งท่ี 5 ระบบเศรษฐกิจของประเทศตา ง ๆ ในเอเชีย...........................130
เรื่องท่ี 6 ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น....................................................135

สารบัญ (ตอ)

บทที่ 4 การเมืองการปกครอง.............................................................................. 146

เรื่องท่ี 1 การเมอื งการปกครองทใี่ ชอยใู นปจ จุบัน

ของประเทศไทย .....................................................................147

เรอ่ื งท่ี 2 เปรียบเทียบรูปแบบทางการเมืองการปกครอง

ระบอบประชาธิปไตยและระบบอนื่ ๆ.....................................158

แนวเฉลยกจิ กรรม ……………………………………………………………………………………….167

บรรณานกุ รม ……………………………………………………………………………………….175

คณะผูจัดทาํ ……………………………………………………………………………………….179

คาํ แนะนาํ ในการใชห นงั สือเรยี น

หนังสือสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาสังคมศึกษา (สค21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

เปนหนังสือเรียนที่จัดทําขึ้นสําหรับผูเรียนท่ีเปนนักศึกษานอกระบบในการศึกษาหนังสือสาระ
การพัฒนาสงั คม รายวิชาสงั คมศึกษา (สค21001) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน ผเู รยี นควรปฏิบัติ ดังนี้

ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเ ขา ใจในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง และขอบขาย

เน้ือหาของรายวิชาน้นั ๆ โดยละเอยี ด
1. ศึกษารายละเอียดเน้อื หาของแตล ะบทอยางละเอียด และทํากจิ กรรมตามทีก่ ําหนด

แลวตรวจสอบกบั แนวตอบกจิ กรรมตามท่กี ําหนด ถา ผูเรยี นตอบผดิ ควรกลับไปศึกษาและทําความเขา ใจ
ในเน้อื หานั้นใหมใ หเ ขาใจ กอ นท่จี ะศกึ ษาเรอื่ งตอ ๆ ไป

2. ปฏิบัติกิจกรรมทา ยเรื่องของแตละเรื่อง เพื่อเปน การสรุปความรู ความเขาใจของเนื้อหา
ในเรอ่ื งนนั้ ๆ อีกครง้ั และการปฏบิ ัติกิจกรรมของแตละเนอ้ื หา แตล ะเร่อื ง ผูเ รยี นสามารถนาํ ไปตรวจสอบ
กับครแู ละเพอื่ น ๆ ที่รว มเรียนในรายวชิ าและระดับเดียวกนั ได

3. หนงั สอื เรยี นเลมน้มี ี 4 บท คอื
บทท่ี 1 ภมู ศิ าสตรก ายภาพทวปี เอเชีย
บทท่ี 2 ประวตั ศิ าสตรทวีปเอเชีย

บทที่ 3 เศรษฐศาสตร
บทท่ี 4 การเมอื งการปกครอง

โครงสรางรายวชิ าสงั คมศึกษา (สค21001)

สาระสาํ คญั

การศึกษาเรียนรูเกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอ มทางกายภาพทั้งของประเทศไทย
และทวีปเอเชีย วิวัฒนาการความสัมพันธข องมนุษยกับส่ิงแวดลอม การจัดการทรัพยากรท่ีมีอยูอยา ง
จํากัด เพ่ือใหใ ชอยางเพียงพอในการผลิตและบริโภค การใชขอ มูลทางประวัติศาสตรเพื่อวิเคราะห
เหตกุ ารณใ นอนาคต การเรียนรเู รอ่ื งการเมืองการปกครอง สามารถนําไปใชป ระโยชนในการดําเนินชีวิต
ประจาํ วันได

ผลการเรยี นรทู คี่ าดหวงั

1. อธิบายขอ มูลเก่ียวกับภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมืองการปกครองที่
เกี่ยวของกับประเทศในทวีปเอเชยี

2. นําเสนอผลการเปรียบเทียบสภาพภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง
การปกครองของประเทศในทวีปเอเชยี

3. ตระหนกั และวิเคราะหถึงการเปลีย่ นแปลงท่ีเกิดขนึ้ กับประเทศในทวปี เอเชยี ทมี่ ีผลกระทบตอ
ประเทศไทย

ขอบขา ยเนอื้ หา

บทท่ี 1 ภูมิศาสตรก ายภาพทวปี เอเชีย
เรอื่ งท่ี 1 ลักษณะทางภูมิศาสตรก ายภาพของประเทศในทวปี เอเชีย
เร่อื งที่ 2 การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ศิ าสตรก ายภาพ
เรอ่ื งท่ี 3 วิธใี ชเ ครอ่ื งมือทางภมู ศิ าสตร
เรอ่ื งที่ 4 สภาพภมู ิศาสตรก ายภาพของไทยทส่ี ง ผลตอทรพั ยากรตาง ๆ
เร่ืองที่ 5 ความสําคญั ของการดํารงชีวติ ใหส อดคลอ งกับทรพั ยากรในประเทศ

บทที่ 2 ประวตั ศิ าสตรท วีปเอเชยี
เรื่องท่ี 1 ประวตั ศิ าสตรสังเขปของประเทศในทวีปเอเชีย
เรื่องท่ี 2 เหตุการณส าํ คญั ทางประวัตศิ าสตรทเ่ี กดิ ขน้ึ ในประเทศไทยและ
ประเทศในทวปี เอเชีย
เรือ่ งท่ี 3 พระราชกรณียกจิ ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช
(รัชกาลที่ 9) และสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชนิ นี าถ ท่ีสงผล
ตอ การเปลี่ยนแปลงของประเทศไทย

บทท่ี 3 เศรษฐศาสตร
เร่อื งท่ี 1 ความหมายความสําคญั ของเศรษฐศาสตรมหภาคและจุลภาค
เร่อื งที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในประเทศไทย
เรอื่ งท่ี 3 คุณธรรมในการผลติ และการบรโิ ภค
เรื่องท่ี 4 กฎหมายและขอ มูลการคุมครองผูบรโิ ภค
เร่ืองท่ี 5 ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศตา ง ๆ ในเอเชยี
เรอ่ื งท่ี 6 ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น

บทท่ี 4 การเมอื งการปกครอง
เรอ่ื งท่ี 1 การเมืองการปกครองทใ่ี ชอ ยใู นปจ จุบนั ของประเทศไทย
เรอื่ งที่ 2 รูปแบบการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยและระบบอื่น ๆ

สื่อประกอบการเรียนรู

1. หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษา สาระการพัฒนาสังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบและระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551

2. เครือ่ งมือทางภมู ศิ าสตร เชน แผนที่ ลูกโลก เข็มทิศ รูปถา ยทางอากาศและภาพถา ย
จากดาวเทยี ม

3. เวบ็ ไซต
4. หนังสือพิมพ วารสาร เอกสารทางวิชาการตามหองสมุดและแหลงเรียนรูใ นชุมชน
และหองสมุดประชาชน หอ งสมุดเฉลิมราชกุมารใี นทองถิ่น

1

บทท่ี 1
ภูมศิ าสตรกายภาพทวีปเอเชยี

สาระสําคัญ

ภูมิศาสตรกายภาพ คือวิชาท่ีเกี่ยวของกับลักษณะการเปล่ียนแปลงของสิ่งแวดลอม
ทางกายภาพ (Physical Environment) ท่ีอยูรอบตัวมนุษย ทั้งสวนท่ีเปนธรณีภาค อุทกภาค
บรรยากาศภาค และชีวภาค ตลอดจนความสัมพันธทางพื้นที่ (Spatial Relation) ของส่ิงแวดลอม
ทางกายภาพตาง ๆ ดงั กลาวขา งตน

การศกึ ษาภูมศิ าสตรท างกายภาพทวีปเอเชียทําใหสามารถวิเคราะหเหตุผลประกอบกับการ
สังเกตพิจารณาสิ่งที่ผันแปรเปลี่ยนแปลงในภูมิภาคตาง ๆ ของทวีปเอเชียไดเปนอยางดี การศึกษา
ภูมิศาสตรกายภาพแผนใหมตองศึกษาอยางมีเหตุผล โดยอาศัยหลักเกณฑทางภูมิศาสตรหรือ
หลกั เกณฑสถติ ิ ซง่ึ เปน ขอ เทจ็ จริงจากวชิ าในแขนงท่ีเกยี่ วของกันมาพิจารณาโดยรอบคอบ

ผลการเรียนรูท่คี าดหวัง

1. อธิบายลกั ษณะทางภูมิศาสตรก ายภาพของประเทศในทวีปเอเชียได
2. มคี วามรทู างดานภูมิศาสตรก ายภาพ สามารถเขาใจสภาพกายภาพของโลกวา
มอี งคประกอบและมกี ารเปลยี่ นแปลงที่มผี ลตอสภาพความเปน อยูของมนษุ ยอ ยางไร
3. สามารถอธิบายการใชและประโยชนของเคร่ืองมอื ทางภมู ิศาสตรไ ด
4. อธบิ ายความสมั พนั ธของสภาพภูมิศาสตรกายภาพของไทยที่สงผลตอทรัพยากรตาง ๆ
และสงิ่ แวดลอ มได
5. อธิบายความสัมพันธของการดํารงชีวิตใหสอดคลองกับทรัพยากรในประเทศไทย
และประเทศในทวปี เอเชียได

ขอบขายเนอื้ หา

เร่อื งท่ี 1 ลกั ษณะทางภมู ศิ าสตรก ายภาพของประเทศในทวีปเอเชยี
1.1 ทต่ี งั้ และอาณาเขต
1.2 ลักษณะภูมปิ ระเทศ
1.3 สภาพภูมิอากาศ

เรอ่ื งที่ 2 การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมศิ าสตรก ายภาพ
2.1 การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมศิ าสตรก ายภาพทส่ี งผลกระทบตอ วิถีชวี ิต

ความเปนอยูของคน

2

เรอื่ งท่ี 3 วิธใี ชเ คร่อื งมอื ทางภมู ิศาสตร
3.1 แผนท่ี
3.2 ลกู โลก
3.3 เข็มทิศ
3.4 รปู ถา ยทางอากาศและภาพถา ยจากดาวเทยี ม
3.5 เคร่อื งมอื เทคโนโลยีเพอ่ื การศกึ ษาภมู ศิ าสตร

เร่อื งท่ี 4 สภาพภูมิศาสตรกายภาพของไทยทสี่ ง ผลตอทรพั ยากรตา ง ๆ และสง่ิ แวดลอม
เรือ่ งท่ี 5 ความสาํ คญั ของการดาํ รงชีวติ ใหส อดคลองกบั ทรัพยากรในประเทศ

5.1 ประเทศไทย
5.2 ประเทศในเอเชยี

ส่ือประกอบการเรยี นรู

1. แบบเรียนรายวิชาสังคมศึกษา สาระการพัฒนาสังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนตน หลักสูตร
การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ึ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551

2. เครื่องมือทางภมู ิศาสตร เชน แผนที่ ลกู โลก เข็มทิศ รูปถา ยทางอากาศและภาพถา ยจากดาวเทียม
3. เวบ็ ไซต

3

เรอ่ื งที่ 1 ลกั ษณะทางภมู ศิ าสตรก ายภาพของประเทศในทวปี เอเชยี

1.1 ทต่ี ้งั และอาณาเขต ทวปี เอเชียเปนทวีปทม่ี ีขนาดใหญที่สุดในโลก มีพื้นที่ประมาณ 44,648,953
ลา นตารางกิโลเมตร มดี ินแดนทีต่ อเนื่องกบั ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา แผนดินของทวีปยุโรปกับทวีปเอเชีย
ท่ีตอเน่ืองกัน เรียกรวมวา ยูเรเชีย พื้นท่ีสวนใหญอยูเหนือเสนศูนยสูตรมีทําเลที่ตั้งตามพิกัดภูมิศาสตร คือ
จากละติจูด 11 องศาใต ถึงละติจูด 77 องศา 41 ลิปดาเหนือ บริเวณแหลมเชลยูสกิน (Chelyuskin)
สหพันธรัฐรัสเซีย และจากลองจิจูดท่ี 26 องศา 04 ลิปดาตะวนั ออก บริเวณแหลมบาบา (Baba) ประเทศตุรกี
ถงึ ลองจิจดู 169 องศา 30 ลิปดาตะวันตก ทีบ่ ริเวณแหลมเดชเนฟ (Dezhnev) สหพันธรัฐรัสเซยี โดยมอี าณา-
เขตติดตอ กบั ดินแดนตา ง ๆ ดงั ตอ ไปนี้

ทิศเหนือ จรดมหาสมุทรอารกติก มีแหลมเชลยูสกินของสหพันธรัฐรัสเซียเปนแผนดินอยูเหนือสุด
ท่ลี ะตจิ ูด 77 องศาเหนือ

ทิศใต จรดมหาสมทุ รอินเดีย มีเกาะโรติ (Roti) ของติมอร-เลสเต เปน ดินแดนอยูใตท่ีสุดท่ีละติจูด 11
องศาใต

ทศิ ตะวนั ออก จรดมหาสมทุ รแปซิฟก มีแหลมเดชเนฟของสหพันธรัฐรัสเซียเปน แผนดนิ อยูตะวันออก
ท่สี ุด ที่ลองจจิ ูด 170 องศาตะวนั ตก

ทศิ ตะวันตก จรดทะเลเมดเิ ตอรเ รเนยี นและทะเลดํา มีทวิ เขาอูราลกั้นดนิ แดนกบั ทวปี ยุโรป และมี
ทะเลแดงกับคาบสมุทรไซไน (Sinai) ก้ันดินแดนกับทวีปแอฟริกา มีแหลมบาบาของตุรกีเปนแผนดิน
อยตู ะวันตกสดุ ท่ลี องจิจดู 26 องศาตะวนั ออก

1.2 ลักษณะภูมิประเทศ ทวีปเอเชียมีลักษณะภูมิประเทศแตกตางกันหลายชนิดในสวนท่ีเปน
ภาคพน้ื ทวปี แบงออกเปนเขตตา ง ๆ ได 5 เขต คือ

1) เขตทีร่ าบตา่ํ ตอนเหนอื เขตที่ราบตาํ่ ตอนเหนือ ไดแก ดินแดนทีอ่ ยูทางตอนเหนอื ของทวีปเอเชีย
ในเขตไซบีเรีย สวนใหญอยูในเขตโครงสรางแบบหินเกา ท่ีเรียกวา แองการาชีลด มีลักษณะภูมิประเทศ
เปนท่ีราบขนาดใหญ มีแมน้ําออบ แมนํ้าเยนิเซและแมนํ้าลีนาไหลผาน บริเวณน้ีมีอาณาเขตกวางขวางมาก
แตไมคอยมีผูคนอาศัยอยู ถึงแมวาจะเปนที่ราบ เพราะเน่ืองจากมีภูมิอากาศหนาวเย็นมากและทําการ
เพาะปลกู ไมได

2) เขตที่ราบลุมแมน้ํา เขตที่ราบลุมแมนํ้า ไดแก ดินแดนแถบลุมแมน้ําตาง ๆ ซึ่งมีลักษณะ
ภูมปิ ระเทศเปน ท่รี าบและมกั มีดินอุดมสมบูรณเหมาะแกการเพาะปลกู สว นใหญอยูทางเอเชียตะวันออก เอเชียใต
และเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไดแก ทร่ี าบลุมฮวงโห ท่รี าบลุมแมน ้าํ แยงซเี กยี งในประเทศจีน ทีร่ าบลุมแมน้ําสินธุ
ที่ราบลุมแมน้ําคงคาและท่ีราบลุมแมนํ้าพรหมบุตรในประเทศปากีสถาน อินเดีย และบังกลาเทศ ท่ีราบลุม
แมน้ําไทกริส ท่ีราบลุมแมนํ้ายูเฟรทีสในประเทศอิรัก ท่ีราบลุมแมนํ้าโขงตอนลางในประเทศกัมพูชาและ
เวยี ดนาม ทีร่ าบลุมแมน ้าํ แดงในประเทศเวียดนาม ท่ีราบลุมแมน้ําเจาพระยาในประเทศไทย ที่ราบลุมแมนํ้า
สาละวนิ ตอนลา ง ที่ราบลุมแมน ํ้าอิระวดใี นประเทศสาธารณรัฐแหงสหภาพพมา

4

3) เขตเทอื กเขาสูง เปนเขตเทือกเขาหินใหมตอนกลาง ประกอบไปดวยท่ีราบสูงและเทือกเขา
มากมาย เทือกเขาสูงเหลาน้ีสวนใหญเปนเทือกเขาท่ีแยกตัวไปจากจุดรวม ท่ีเรียกวา ปามีรนอต หรือภาษา
พน้ื เมอื งเรียกวา “ปามรี ด ุนยา” แปลวา หลังคาโลกจากปามรี นอต มเี ทือกเขาสูง ๆ ของทวีปเอเชียหลายแนว
ซึง่ อาจแยกออกไดด งั น้ี

เทือกเขาท่ีแยกไปทางทิศตะวนั ออก ไดแก เทอื กเขาหมิ าลยั เทือกเขาอาระกันโยมาและเทือกเขา
ทม่ี แี นวตอเน่อื งลงมาทางใต มีบางสวนทจ่ี มหายไปในทะเลและบางสว นโผลข ึน้ มาเปน เกาะในมหาสมุทรอินเดีย
และมหาสมุทรแปซิฟก ถัดจากเทือกเขาหิมาลัยข้ึนไปทางเหนือมีเทือกเขาที่แยกไปทางตะวันออก ไดแก
เทือกเขาคุนลุน เทือกเขาอัลตินตัก เทือกเขานานซานและแนวท่ีแยกไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ไดแก
เทือกเขาเทียนชาน เทือกเขาอัลไต เทือกเขาคินแกน เทือกเขายาโบลนอย เทือกเขาสตาโนวอยและ
เทือกเขาโกลมี า เทือกเขาทีแ่ ยกไปทางทศิ ตะวันตกแยกเปนแนวเหนือและแนวใต แนวเหนือ ไดแก เทือกเขา
ฮินดูกูช เทือกเขาเอลบูชร สวนแนวทิศใต ไดแก เทือกเขาสุไลมาน เทือกเขาซากรอส ซ่ึงเมื่อเทือกเขาท้ัง 2 นี้
มาบรรจบกันทอ่ี ารเ มเนยี นนอตแลว ยังแยกออกอีกเปน 2 แนวในเขตประเทศตรุ กี คือ แนวเหนือเปน เทอื กเขา
ปอนตกิ และแนวใตเ ปน เทอื กเขาเตารัส

4) เขตท่รี าบสงู ตอนกลางทวปี เขตที่ราบสงู ตอนกลางเปน ทร่ี าบสูงอยูระหวางเทือกเขาหินใหม
ที่สําคัญ ๆ ไดแก ที่ราบสูงทิเบตซึ่งเปนที่ราบสูงขนาดใหญและสูงท่ีสุดในโลก ที่ราบสูงยูนนาน ทางใตของ
ประเทศจีนและที่ราบสูงท่ีมีลักษณะเหมือนแองช่ือ “ตากลามากัน” ซ่ึงอยูระหวางเทือกเขาเทียนซานกับ
เทอื กเขาคุนลนุ แตอ ยสู ูงกวาระดบั นา้ํ ทะเลมากและมีอากาศแหง แลง เปน เขตทะเลทราย

5

5) เขตที่ราบสูงตอนใตและตะวันตกเฉียงใต เขตที่ราบสูงตอนใตและตะวันตกเฉียงใต ไดแก
ที่ราบสูงขนาดใหญทางตอนใตของทวีปเอเชีย ซึ่งมีความสูงไมมากเทากับท่ีราบสูงทางตอนกลางของทวีป
ที่ราบสูงดังกลาว ไดแก ที่ราบสูงเดคคานในประเทศอินเดีย ที่ราบสูงอิหรานในประเทศอิหรานและ
อฟั กานสิ ถานทรี่ าบสูงอนาโตเลียในประเทศตรุ กแี ละทร่ี าบสูงอาหรับในประเทศซาอุดีอาระเบยี

1.3 สภาพภมู อิ ากาศ สภาพภมู ศิ าสตรและพืชพรรณธรรมชาติในทวปี เอเชยี แบงได ดังน้ี
1) ภูมิอากาศแบบปาดิบชื้น เขตภูมิอากาศแบบปาดิบชื้น อยูระหวางละติจูดที่ 10 องศาเหนือ

ถึง 10 องศาใต ไดแก ภาคใตของประเทศไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลิปปนส มีความแตกตางของ
อณุ หภูมริ ะหวางกลางวันและกลางคืนไมมากนกั มีปรมิ าณน้ําฝนมากกวา 2,000 มิลลิเมตร (80 นิ้ว) ตอป และมี
ฝนตกตลอดป

พืชพรรณธรรมชาตเิ ปน ปาดงดบิ ซึ่งไมม ฤี ดูที่ผลัดใบและมีตนไมหนาแนน สวนบริเวณปากแมน้ํา
และชายฝง ทะเลมพี ืชพรรณธรรมชาตเิ ปนปาชายเลน

2) ภูมอิ ากาศแบบมรสมุ เขตรอ นหรือรอ นช้ืนแถบมรสุม เปน ดินแดนที่อยูเ หนือละตจิ ดู 10 องศา
เหนอื ขึ้นไป มฤี ดูแลงและฤดฝู นสลับกนั ประมาณปล ะเดือน ไดแก บริเวณคาบสมุทรอินเดีย และคาบสมุทร
อนิ โดจนี เขตน้เี ปนเขตท่ไี ดรบั อิทธิพลของลมมรสุม ปริมาณน้ําฝนจะสูงในบริเวณดานตนลม (Winward side)
และมีฝนตกนอยในดานปลายลม (Leeward side) หรือเรยี กวา เขตเงาฝน (Rain shadow)

พืชพรรณธรรมชาติเปนปามรสุมหรือปาไมผลัดใบในเขตรอน พันธุไมสวนใหญเปนไมใบกวาง
และเปนไมเน้ือแข็งทมี่ คี าในทางเศรษฐกิจหรือปาเบญจพรรณ เชน ไมสกั ไมจ นั ทน ไมประดู เปนตน ปามรสุม
มีลักษณะเปนปาโปรงมากกวาปาไมในเขตรอนชื้น บางแหงมีไมขนาดเล็กข้ึนปกคลุมบริเวณดินชั้นลางและ
บางแหง เปน ปา ไผห รือหญา ปะปนอยู

3) ภูมิอากาศแบบทุงหญาเมืองรอน มีลักษณะอากาศคลายเขตมรสุม มีฤดูแลงกับฤดูฝน
แตปริมาณนํ้าฝนนอยกวา คือ ประมาณ 1,000 - 1,500 มิลลิเมตร (40 - 60 น้ิว) ตอป อุณหภูมิเฉล่ียตลอดป
ประมาณ 21 องศาเซลเซยี ส (70 องศาฟาเรนไฮต) อณุ หภูมกิ ลางคืนเย็นกวากลางวัน ไดแก บริเวณตอนกลาง
ของอินเดีย สาธารณรฐั แหง สหภาพพมา และคาบสมทุ รอินโดจีน

พืชพรรณธรรมชาติเปนปาโปรงแบบเบญจพรรณ ถัดเขาไปตอนในจะเปนทุงหญาสูงตั้งแต 60 -
360 เซนตเิ มตร (2 - 12 ฟุต) ซง่ึ จะงอกงามดีในฤดูฝน แตแ หงเฉาตายในฤดหู นาวเพราะชวงนอี้ ากาศแหงแลง

4) ภูมิอากาศแบบมรสุมเขตอบอุน อยูในเขตอบอุนแตไดรับอิทธิพลของลมมรสุมมีฝนตก
ในฤดูรอน ฤดูหนาวคอนขางหนาว ไดแก บริเวณภาคตะวันตกของจีน ภาคใตของญ่ีปุน คาบสมุทรเกาหลี
ฮอ งกง ตอนเหนอื ของอนิ เดียในสาธารณรัฐประชาชนลาวและตอนเหนอื ของเวียดนาม

พืชพรรณธรรมชาตเิ ปนไมผลดั ใบหรอื ไมผ สม มที ้ังไมใ บใหญท ่ผี ลดั ใบและไมสนท่ีไมผ ลัดใบ ในเขต
สาธารณรฐั ประชาชนจนี เกาหลี ทางใตข องเขตนเี้ ปนปา ไมผ ลัดใบ สว นทางเหนือมีอากาศหนาวกวาปาไมผสม
และปา ไมผ ลัดใบ เชน ตนโอก เมเปล ถา ขึ้นไปทางเหนืออากาศหนาวเย็นจะเปน ปา สนท่มี ีใบเขียวตลอดป

5) ภูมิอากาศแบบอบอุนภาคพ้ืนทวีป ไดแก ทางเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ
สาธารณรัฐประชาชนจีน เกาหลีเหนือ ภาคเหนือของญ่ีปุนและตะวันออกเฉียงใตของไซบีเรีย มีฤดูรอน

6

ทอี่ ากาศรอ น กลางวันยาวกวากลางคืน นาน 5 - 6 เดือน เปนเขตปลูกขาวโพดไดดีเพราะมีฝนตกในฤดูรอน
ประมาณ 750 - 1,000 มม. (30 - 40 นวิ้ ) ตอ ป ฤดูหนาวอณุ หภูมเิ ฉล่ียถึง 7 องศาเซลเซียส (18 องศาฟาเรน
ไฮต) เปน เขตที่ความแตกตางระหวา งอุณหภมู ิมีมาก

พืชพรรณธรรมชาติเปนปาผสมระหวางไมผลัดใบและปาสนลึกเขาไปเปนทุงหญา สามารถ
เพาะปลกู ขาวโพด ขาวสาลแี ละเลี้ยงสัตวพวกโคนมได สว นแถบชายทะเลมีการทาํ ปาไมบางเลก็ นอ ย

6) ภูมิอากาศแบบทุงหญากึ่งทะเลทรายแถบอบอุน มีอุณหภูมิสูงมากในฤดูรอนและอุณหภูมิ
ตา่ํ มากในฤดูหนาว มฝี นตกบา งในฤดใู บไมผลแิ ละฤดูรอ น ไดแ ก ภาคตะวนั ตกของคาบสมทุ รอาหรับ ตอนกลาง
ของประเทศตุรกี ตอนเหนอื ของภาคกลางของอิหรา น ในมองโกเลียทางตะวนั ตกเฉยี งเหนือของจีน

พชื พรรณธรรมชาตเิ ปน ทุงหญาสน้ั (Steppe) ทุงหญา ดงั กลา ว มีการชลประทานเขาถงึ ใชเลี้ยงสัตว
และเพาะปลกู ขาวสาลี ขาวฟาง ฝา ย ไดดี

7) ภมู อิ ากาศแบบทะเลทราย มคี วามแตกตางระหวา งอณุ หภูมิกลางวันกับกลางคืนและฤดูรอน
กบั ฤดหู นาวมาก ไดแ ก ดินแดนท่ีอยภู ายในทวีปท่มี ีเทอื กเขาปดลอม ทําใหอิทธิพลจากมหาสมุทรเขาไปไมถึง
ปริมาณฝนตกนอ ยกวาปละ 250 มม. (10 นวิ้ ) ไดแ ก บริเวณคาบสมุทรอาหรับ ทะเลทรายโกบี ทะเลทรายธาร
และที่ราบสูงทเิ บต ท่ีราบสูงอิหรา น บรเิ วณทีม่ ีนา้ํ และตน ไมข นึ้ เรยี กวา โอเอซสิ (Oasis)

พืชพรรณธรรมชาติเปนอินทผลัม ตะบองเพชรและไมประเภทมีหนาม ชายขอบทะเลทราย
สวนใหญเปนทุงหญาสลับปาโปรง มีการเล้ียงสัตวประเภทที่เลี้ยงไวใชเนื้อและทําการเพาะปลูกตองอาศัย
การชลประทานชว ย

8) ภูมิอากาศแบบเมดิเตอรเรเนียน อากาศในฤดูรอน รอนและแหงแลงในเลบานอน ซีเรีย
อสิ ราเอลและตอนเหนอื ของอิรกั

พืชพรรณธรรมชาติเปนไมตนเต้ีย ไมพุมมีหนาม ตนไมเปลือกหนาท่ีทนตอความแหงแลง ในฤดู
รอนไดด ี พืชที่เพาะปลูก ไดแ ก สม องนุ และมะกอก

9) ภูมิอากาศแบบไทกา (กึ่งข้ัวโลก) มีฤดูหนาวยาวนานและหนาวจัด ฤดูรอนสั้น มีน้ําคางแข็ง
ไดท ุกเวลาและฝนตกในรปู ของหิมะ ไดแก ดนิ แดนทางภาคเหนอื ของทวปี บริเวณไซบเี รีย

พืชพรรณธรรมชาตเิ ปนปาสน เปน แนวยาวทางเหนือของทวีป ท่ีเรียกวา ไทกา (Taiga) หรือ
ปาสนของไซบเี รยี

10) ภมู อิ ากาศแบบทนุ ดรา (ขวั้ โลก) เขตนี้มีฤดหู นาวยาวนานมาก อากาศหนาวจัด มีหิมะปกคลุม
ตลอดป ไมมีฤดูรอน พืชพรรณธรรมชาติเปนพวกตะไครนํา้ และมอสส

11) ภูมิอากาศแบบที่สูง ในเขตที่สูงอุณหภูมิจะลดลงตามระดับความสูงในอัตราความสูงเฉลี่ย
ประมาณ 1 องศาเซลเซียสตอ ความสูง 10 เมตร จงึ ปรากฏวา ยอดเขาสงู บางแหงแมจะอยูในเขตรอน ก็มีหิมะ
ปกคลมุ ทง้ั ป หรือเกอื บตลอดป ไดแก ที่ราบสงู ทเิ บต เทอื กเขาหมิ าลัย เทอื กเขาคุนลุน และเทือกเขาเทยี นชาน
ซึ่งมีความสูงประมาณ 5,000 - 8,000 เมตร จากระดับนํ้าทะเล มีหิมะปกคลุมและมีอากาศหนาวเย็นแบบ
ขว้ั โลก พชื พรรณธรรมชาติเปน พวกตะไครนํา้ และมอสส

7

การแบง ภูมิภาค
ทวีปเอเชยี นอกจากจะเปน อนภุ มู ิภาคของทวีปยเู รเชีย ยงั อาจแบงออกเปนสว นยอ ย ดังน้ี
เอเชียเหนือ หมายถึง รัสเซีย เรียกอีกอยางวาไซบีเรีย บางครั้งรวมถึงประเทศทางตอนเหนือของ

เอเชียดว ย เชน คาซัคสถาน
เอเชยี กลาง ประเทศในเอเชยี กลาง ไดแก
- สาธารณรฐั ในเอเชยี กลาง 5 ประเทศ คอื คาซัคสถาน อซุ เบกิสถาน ทาจกิ สิ ถาน เตริ ก เมนสิ ถาน

และคีรก ซี สถาน
- ประเทศแถบตะวนั ตกของทะเลสาบแคสเปย น 3 ประเทศ คือ จอรเ จีย อารเ มเนยี และ

อาเซอรไ บจานบางสว น
เอเชียตะวนั ออก ประเทศในเอเชียตะวันออก ไดแ ก
- เกาะไตห วันและญ่ีปนุ ในมหาสมทุ รแปซิฟก
- เกาหลีเหนือและเกาหลีใตบ นคาบสมุทรเกาหลี
- สาธารณรัฐประชาชนจีนและมองโกเลยี
เอเชียตะวันออกเฉียงใต ดินแดนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต คือ ประเทศบนคาบสมุทรมลายู

คาบสมุทรอินโดจีน เกาะตาง ๆ ในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟก เอเชียตะวันออกเฉียงใต
ประกอบดวย

- ประเทศตาง ๆ ในแผนดินใหญ ไดแก สาธารณรัฐแหงสหภาพพมา ไทย สาธารณรัฐ-
ประชาธิปไตยประชาชนลาว กัมพูชาและเวียดนาม

- ประเทศตาง ๆ ในทะเล ไดแก มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร อินโดนีเซีย บรูไนและติมอร
ตะวันออก (ตมิ อร - เลสเต) ประเทศอินโดนีเซียแยกไดเปน 2 สวน โดยมที ะเลจีนใตคั่นกลาง ทั้งสองสวนมีท้ัง
พ้นื ท่ที ่ีเปนแผน ดินใหญแ ละเกาะ

เอเชียใต เอเชยี ใตอ าจเรียกอกี อยางวาอนุทวีปอินเดยี ประกอบดว ย
- บนเทือกเขาหมิ าลยั ไดแก อนิ เดยี ปากสี ถาน เนปาล ภฏู านและบังกลาเทศ
- ในมหาสมุทรอินเดยี ไดแ ก ศรลี ังกาและมลั ดีฟส

เอเชียตะวนั ตกเฉียงใต (หรอื เอเชียตะวันตก) ประเทศตะวันตกโดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกามักเรียก
ภูมิภาคน้ีวาตะวันออกกลางบางคร้ัง “ตะวันออกกลาง” อาจหมายรวมถึงประเทศในแอฟริกาเหนือ เอเชีย
ตะวันตกเฉยี งใตแบงยอยไดเ ปน

- อะนาโตเลยี (Anatolia) ซ่ึงกค็ อื เอเชียไมเนอร (Asia Minor) เปนพื้นที่สวนท่ีเปนเอเชียของ
ตรุ กี

- ประเทศตุรกี 97 % ของตรุ กี
- ทเ่ี ปนเกาะ คอื ไซปรสั ในทะเลเมดเิ ตอรเ รเนียน
- กลุมเลแวนตหรือตะวันออกใกล ไดแ ก ซเี รีย อิสราเอล จอรแ ดน เลบานอนและอริ กั

8

- ในคาบสมุทรอาหรับ ไดแก ซาอุดิอาระเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส บาหเรน กาตาร โอมาน
เยเมนและอาจรวมถึงคเู วต

- ท่ีราบสูงอิหราน ไดแ ก อิหรานและพ้นื ที่บางสว นของประเทศอืน่ ๆ
- อัฟกานิสถาน

กิจกรรมที่ 1.1 ลักษณะทางภูมศิ าสตรก ายภาพของประเทศในทวีปเอเชยี

1) ใหผ เู รียนอธิบายจดุ เดนของลกั ษณะภมู ปิ ระเทศในทวปี เอเชีย ทั้ง 5 เขต
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

2) ภูมิอากาศแบบใดทม่ี หี ิมะปกคลมุ ตลอดปแ ละพชื พรรณทป่ี ลกู เปนประเภทใด
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

9

เรอื่ งที่ 2 การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมศิ าสตรก ายภาพ

การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิศาสตรกายภาพ หมายถึง ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอม
ทางกายภาพท่ีอยูรอบตัวมนุษย ทั้งสวนที่เปนธรณีภาค อุทกภาค บรรยากาศภาคและชีวภาค ตลอดจน
ความสมั พันธทางพ้ืนท่ขี องส่งิ แวดลอ มทางกายภาพตา ง ๆ ดงั กลา วขา งตน

การเปลี่ยนแปลงทางภูมิศาสตรกอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ทั้งภูมิประเทศและ
ภมู ิอากาศในประเทศไทยและประเทศในทวีปเอเชีย สวนมากเกิดจากปรากฏการณตามธรรมชาติและเกิดผล
กระทบตอ ประชาชนทอี่ าศยั อยู รวมท้ังสงิ่ กอ สรางปรากฏการณต า ง ๆ ท่มี กั จะเกดิ มีดงั ตอไปน้ี

2.1 การเกิดแผนดินไหว แผนดินไหวเปนปรากฏการณธรรมชาติที่เกิดจากการเคล่ือนที่ของ
แผน เปลือกโลก (แนวระหวางรอยตอธรณีภาค) ทําใหเกิดการเคลื่อนตัวของช้ันหินขนาดใหญเลื่อนเคลื่อนที่
หรือแตกหักและเกิดการโอนถายพลังงานศักยผานในช้ันหินที่อยูติดกัน พลังงานศักยนี้อยูในรูปเคลื่อนไหว
สะเทือน จุดศูนยกลางการเกิดแผนดินไหว (focus) มักเกิดตามรอยเลื่อน อยูในระดับความลึกตาง ๆ ของ
ผวิ โลก สว นจดุ ท่อี ยูใ นระดับสงู กวา ณ ตาํ แหนง ผิวโลก เรยี กวา “จดุ เหนือศูนยก ลางแผน ดินไหว” (epicenter)
การส่ันสะเทือนหรอื แผน ดนิ ไหวนี้จะถกู บันทกึ ดว ยเครือ่ งมอื ทเ่ี รยี กวา ไซสโ มกราฟ

1) สาหตุการเกดิ แผนดินไหว
- แผนดินไหวจากธรรมชาติ เปนธรณีพิบัติภัยชนิดหน่ึง สวนมากเปนปรากฏการณ

ทางธรรมชาตทิ ่เี กิดจากการสน่ั สะเทือนของพื้นดิน อันเน่ืองมาจากการปลดปลอยพลังงานท่ีสะสมไว ภายใน
โลกออกมาอยางฉบั พลนั เพื่อปรบั สมดลุ ของเปลอื กโลกใหค งท่ีโดยปกติเกิดจากการเคล่ือนไหวของรอยเลื่อน
ภายในช้ันเปลือกโลกท่ีอยูดานนอกสุดของโครงสรางของโลก มีการเคลื่อนท่ีหรือเปล่ียนแปลงอยางชา ๆ
อยูเสมอ แผน ดินไหวจะเกิดขึ้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงมากเกินไป ภาวะน้ีเกิดข้ึนบอยในบริเวณขอบเขตของ
แผนเปลือกโลกท่ีแบงชั้นเปลือกโลกออกเปนธรณีภาค (lithosphere) เรียกแผนดินไหวที่เกิดขึ้นบริเวณ
ขอบเขตของแผนเปลือกโลกน้ีวา แผนดินไหวระหวางแผน (interpolate earthquake) ซ่ึงเกิดไดบอยและ
รนุ แรงกวา แผนดินไหวภายในแผน (intraplate earthquake)

- แผน ดินไหวจากการกระทาํ ของมนษุ ย ซ่ึงมีท้ังทางตรงและทางออ ม เชน การทดลองระเบิด
ปรมาณู การทําเหมือง สรางอางเก็บนํ้าหรือเขื่อนใกลรอยเลื่อน การทํางานของเคร่ืองจักรกล การจราจร
เปน ตน

2) การวัดระดับความรุนแรงของแผนดินไหว โดยปกติจะใชมาตราริคเตอร ซึ่งเปนการวัดขนาด
และความสัมพนั ธข องขนาดโดยประมาณกบั ความส่นั สะเทือนใกลศูนยก ลาง

ระดบั ความรุนแรงของแผนดินไหว
1 - 2.9 เล็กนอย ผูคนเร่ิมรสู กึ ถึงการมาของคล่นื มอี าการวงิ เวียนเพยี งเลก็ นอ ยในบางคน
3 - 3.9 เล็กนอย ผคู นทีอ่ ยใู นอาคารรสู ึกเหมือนมอี ะไรมาเขยาอาคารใหส ่นั สะเทอื น
4 - 4.9 ปานกลาง ผทู ่อี าศัยอยทู ้ังภายในอาคารและนอกอาคาร รสู กึ ถึงการส่ันสะเทือน วัตถหุ อย
แขวนแกวง ไกว
5 - 5.9 รุนแรงเปน บรเิ วณกวาง เคร่อื งเรอื นและวตั ถุมกี ารเคล่ือนที่

10

6 - 6.9 รุนแรกมาก อาคารเร่มิ เสยี หาย พงั ทลาย
7.0 ข้ึนไป เกดิ การสนั่ สะเทือนอยางมากมาย สงผลทําใหอาคารและสิ่งกอสรางตาง ๆ เสียหาย
อยางรนุ แรง แผน ดินแยก วัตถบุ นพน้ื ถูกเหวี่ยงกระเดน็

3) ขอ ปฏบิ ตั ใิ นการปอ งกันและบรรเทาภยั จากแผนดินไหว
กอ นเกดิ แผน ดินไหว
1. เตรียมเครื่องอุปโภคบริโภคท่ีจําเปน เชน ถานไฟฉาย ไฟฉาย อุปกรณดับเพลิง น้ํา

อาหารแหง ไวใ ชใ นกรณไี ฟฟา ดบั หรอื กรณฉี ุกเฉินอนื่ ๆ
2. จัดหาเคร่ืองรับวิทยุท่ีใชถานไฟฉายหรือแบตเตอร่ีสําหรับเปดฟงขาวสาร คําเตือน

คําแนะนาํ และสถานการณต าง ๆ
3. เตรยี มอปุ กรณนริ ภยั สําหรบั การชวยชีวิต
4. เตรยี มยารกั ษาโรคและเวชภัณฑใหพรอมท่ีจะใชใ นการปฐมพยาบาลเบือ้ งตน
5. จัดใหม ีการศึกษาถึงการปฐมพยาบาล เพ่ือเปนการเตรียมพรอมที่จะชวยเหลือผูที่ไดรับ

บาดเจบ็ หรืออนั ตรายใหพ น ขดี อนั ตรายกอ นท่ีจะถงึ มือแพทย
6. จําตาํ แหนงของวาลว เปด-ปดน้ํา ตําแหนงของสะพานไฟฟา เพ่ือตัดตอนการสงนํ้าและ

ไฟฟา
7. ยึดเครอ่ื งเรือน เคร่ืองใชไมส อยภายในบา น ที่ทาํ งานและในสถานศกึ ษาใหม น่ั คง แนนหนา

ไมโ ยกเยกโคลงเคลงเพื่อไมใหไ ปทาํ ความเสยี หายแกช ีวิตและทรัพยสนิ
8. ไมค วรวางสิ่งของที่มนี ํา้ หนกั มาก ๆ ไวใ นทสี่ ูง เพราะอาจรว งหลน มาทาํ ความเสยี หายหรือเปน

อนั ตรายได
9. เตรยี มการอพยพเคลื่อนยา ย หากถึงเวลาทจี่ ะตองอพยพ
10. วางแผนปองกันภัยสําหรับครอบครัว ท่ีทํางานและสถานที่ศึกษา มีการชี้แจงบทบาท

ทสี่ มาชิกแตล ะบุคคลจะตองปฏิบัติ มีการฝกซอมแผนที่จัดทําไว เพ่ือเพิ่มลักษณะและความคลองตัว ในการ
ปฏิบัตเิ ม่ือเกิดเหตกุ ารณฉ กุ เฉิน

ขณะเกดิ แผนดินไหว
1. ต้งั สติ อยูใ นท่ีทแี่ ข็งแรงปลอดภยั หา งจากประตู หนาตา ง สายไฟฟา เปนตน
2. ปฏิบัติตามคําแนะนํา ขอควรปฏิบัติของทางราชการอยางเครงครัด ไมต่ืนตระหนก
จนเกนิ ไป
3. ไมค วรทําใหเกิดประกายไฟ เพราะหากมกี ารร่วั ซึมของแกส หรอื วตั ถไุ วไฟ อาจเกดิ ภัยพิบตั ิ
จากไฟไหม ไฟลวก ซาํ้ ซอนกับแผนดินไหวเพมิ่ ข้นึ อีก
4. เปดวิทยรุ บั ฟงสถานการณ คําแนะนํา คําเตอื นตา ง ๆ จากทางราชการอยางตอ เนอ่ื ง
5. ไมควรใชลิฟต เพราะหากไฟฟาดับอาจมีอนั ตรายจากการติดอยูภายในลิฟต
6. มุดเขาไปนอนใตเตยี งหรอื ตง่ั อยาอยใู ตค านหรอื ทที่ ่มี นี าํ้ หนกั มาก

11

7. อยูใ ตโตะ ทแ่ี ขง็ แรง เพื่อปอ งกนั อนั ตรายจากส่งิ ปรักหักพังรวงหลน ลงมา
8. อยหู างจากสงิ่ ที่ไมม่นั คงแขง็ แรง
9. ใหร บี ออกจากอาคารเมอ่ื มีการสง่ั การจากผูท ค่ี วบคุมแผนปองกนั ภยั หรอื ผทู ีร่ บั ผิดชอบในเรอื่ งน้ี
10. หากอยใู นรถ ใหห ยุดรถจนกวาแผนดนิ จะหยดุ ไหวหรอื ส่ันสะเทอื นหลงั เกดิ แผน ดินไหว
11. ตรวจเช็คการบาดเจ็บและทําการปฐมพยาบาลผูท่ีไดรับบาดเจ็บ แลวรีบนําสง
โรงพยาบาลโดยดว นเพื่อใหแพทยไ ดท าํ การรักษาตอไป
12. ตรวจเช็คระบบน้ํา ไฟฟา หากมีการรั่วซึมหรือชํารุดเสียหาย ใหปดวาลวเพื่อปองกันน้ําทวม
เออ ยกสะพานไฟฟา เพ่อื ปอ งกนั ไฟฟารัว่ ไฟฟา ดูดหรือไฟฟา ช็อต
13. ตรวจเช็คระบบแกส โดยวิธีการดมกลิ่นเทานั้น หากพบวามีการรั่วซึมของแกส (มีกล่ิน)
ใหเปดประตูหนาตา ง แลว ออกจากอาคารแจงเจา หนา ทีป่ อ งกนั ภัยฝายพลเรอื นผูท ร่ี ับผิดชอบไดท ราบในโอกาส
ตอ ไป
14. ไมใชโทรศพั ทโ ดยไมจาํ เปน
15. อยา กดนํา้ ลางสวมจนกวา จะมีการตรวจเช็คระบบทอเปนทเ่ี รยี บรอยแลว เพราะอาจเกิด
การแตกหกั ของทอในสว มทาํ ใหนํ้าทวมเออ หรือสงกล่ินทไ่ี มพ ึงประสงค
16. ออกจากอาคารท่ีชํารดุ โดยดวน เพราะอาจเกดิ การพงั ทลายลงมา
17. สวมรองเทา ยางเพ่อื ปอ งกันส่ิงปรักหกั พัง เศษแกว เศษกระเบือ้ ง
18. รวมพล ณ ทห่ี มายที่ไดต กลงนดั หมายกันไวแ ละตรวจนบั จาํ นวนสมาชิกวาอยูครบหรอื ไม
19. รวมมือกับเจาหนาท่ีในการเขาไปปฏิบัติงานในบริเวณท่ีไดรับความเสียหายและผูไมมี
หนาท่ีหรือไมเกยี่ วของไมค วรเขาไปในบรเิ วณนั้น ๆ หากไมไ ดร ับการอนุญาต
20. อยาออกจากชายฝง เพราะอาจเกิดคลื่นใตน าํ้ ซดั ฝง ได แมวา การสั่นสะเทือนของแผนดิน
จะสนิ้ สดุ ลงแลว ก็ตาม
ผลกระทบตอประชากรท่ีเกดิ จากแผน ดนิ ไหว
จากเหตุการณแผนดนิ ไหวคร้ังรายแรงลา สุดในทวีปเอเชีย ในมณฑลเสฉวน ประเทศจีน เมื่อวันที่
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 มคี วามรุนแรงอยทู ีข่ นาด 7.9 รกิ เตอร ทีค่ วามลกึ : 19 กิโลเมตร โดยจุดศูนยกลาง
การสน่ั อยทู ่ี เขตเหวินฉวน มณฑลเสฉวน ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ของนครเฉิงตู 90 กิโลเมตร แผนดินไหวครั้งน้ี
สรางความเสียหายใหกับประเทศจีนอยางมหาศาล ทั้งชีวิตประชาชน อาคารบานเรือน ถนนหนทาง โดยมี
ผูเสียชีวิต 68,516 คน บาดเจ็บ 365,399 คน และสูญหาย 19,350 คน (ตัวเลขอยางเปนทางการ วันท่ี 29
พฤษภาคม พ.ศ. 2551)
นอกจากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนแลว แผนดินไหวก็ยังสามารถรูสึกไดในประเทศ
เพอื่ นบานของจนี อาทเิ ชน ประเทศไทย ประเทศบงั กลาเทศ ประเทศอนิ เดยี ประเทศปากสี ถาน
แมว า การเกิดแผนดินไหวไมส ามารถปอ งกันได แตเ ราควรเรียนรูขอปฏิบัติในการปองกันท้ังกอน
การเกดิ แผน ดนิ ไหวและขณะเกิดแผนดินไหว เพือ่ ปองกนั ความเสียหายทเ่ี กดิ กบั ชีวิต

12

2.2 การเกิดพายุ พายุ คือ สภาพบรรยากาศท่ีถูกรบกวนแบบใด ๆ ก็ตาม โดยเฉพาะท่ีมีผลกระทบตอ
พ้ืนผวิ โลกและบง บอกถงึ สภาพอากาศทร่ี ุนแรง เมอ่ื พูดถึงความรุนแรงของพายุจะกลาวถึงความเร็วท่ีศูนยก ลาง
ซง่ึ อาจสูงถึง 400 กม./ชม. ความเร็วของการเคลื่อนตัว ทิศทางการเคล่ือนตัวของพายุและขนาดความกวาง
หรือเสนผาศูนยกลางของตัวพายุ ซึ่งบอกถึงอาณาบริเวณท่ีจะไดรับความเสียหายวา ครอบคลุมเทาใด
ความรนุ แรงของพายุจะมหี นวยวัดความรุนแรงคลายหนว ยริกเตอรข องการวัดความรนุ แรงแผนดนิ ไหว มักจะมี
ความเรว็ เพม่ิ ขน้ึ เรือ่ ย ๆ

ประเภทของพายุ พายแุ บง เปน ประเภทใหญ ๆ ได 3 ประเภท คือ
1) พายฝุ นฟา คะนอง มีลักษณะเปน ลมพดั ยอ นไปมาหรือพัดเคล่ือนตัวไปในทิศทางเดียวกัน อาจเกิด
จากพายุท่ีออ นตวั และลดความรุนแรงของลมลงหรือเกดิ จากหยอ มความกดอากาศต่ํา รองความกดอากาศต่ํา
อาจไมมีทศิ ทางที่แนนอนหากสภาพการณแวดลอมตา ง ๆ ของการเกิดฝนเหมาะสมกจ็ ะเกดิ ฝนตก มลี มพัด
2) พายุหมนุ เขตรอ นตาง ๆ เชน เฮอรร ิเคน ไตฝุนและไซโคลน ซึ่งลวนเปนพายุหมุนขนาดใหญ
เชน เดยี วกนั และจะเกดิ ข้นึ หรอื เร่ิมตนกอ ตัวในทะเล หากเกิดเหนือเสน ศนู ยสูตรจะมีทิศทางการหมุนทวนเข็ม
นาฬิกาและหากเกิดใตเ สนศนู ยสูตรจะหมุนตามเขม็ นาฬิกา โดยมีชอ่ื ตา งกนั ตามสถานท่เี กิด กลาวคอื

พายเุ ฮอรรเิ คน (Hurricane) เปน ชื่อเรยี กพายุหมุนทีเ่ กดิ บรเิ วณทิศตะวนั ตกของมหาสมุทร
แอตแลนติก เชน บริเวณฟลอริดา สหรัฐอเมริกา อาวเม็กซิโก ทะเลแคริบเบียน เปนตน รวมท้ังมหาสมุทร
แปซิฟกบริเวณชายฝง ประเทศเม็กซิโก

พายไุ ตฝ ุน (Typhoon) เปนชื่อพายหุ มนุ ทเี่ กิดทางทศิ ตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟกเหนือ
เชน บรเิ วณทะเลจนี ใต อาวไทย อาวตงั เกย๋ี ประเทศญ่ปี นุ

พายุไซโคลน (Cyclone) เปนชื่อพายุหมุนที่เกิดในมหาสมุทรอินเดียเหนือ เชน บริเวณอาว
เบงกอล ทะเลอาหรับ เปนตน แตถาพายุน้ีเกิดบริเวณทะเลติมอรและทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ
ออสเตรเลยี จะเรยี กวา พายวุ ลิ ลี - วลิ ลี (Willy - Willy)

พายุโซนรอน (Tropical Storm) เกิดขึ้นเม่ือพายุเขตรอนขนาดใหญออนกําลังลงขณะ
เคลอื่ นตัวในทะเลและความเรว็ ท่จี ุดศูนยก ลางลดลงเม่ือเคล่ือนเขาหาฝง มคี วามเรว็ ลม 62 - 117 กโิ ลเมตรตอ
ชั่วโมง

พายุดีเปรสชนั่ (Depression) เกดิ ข้นึ เมอื่ ความเร็วลดลงจากพายุโซนรอ น ซ่งึ กอ ใหเ กิดพายุ
ฝนฟา คะนองธรรมดาหรอื ฝนตกหนกั มีความเรว็ ลมนอยกวา 61 กิโลเมตรตอช่วั โมง

3) พายทุ อรน าโด (Tornado) เปนช่ือเรยี กพายุหมนุ ทเ่ี กิดในทวีปอเมริกา มีขนาดเนื้อทีเ่ ล็กหรือ
เสนผา ศนู ยกลางนอ ย แตหมนุ ดวยความเร็วสงู หรือความเรว็ ที่จดุ ศนู ยกลางสูงมากกวา พายหุ มุนอืน่ ๆ กอ ความ
เสยี หายไดรุนแรงในบริเวณที่พัดผาน เกิดไดทั้งบนบกและในทะเล หากเกิดในทะเล จะเรียกวา นาคเลนน้ํา
(water spout) บางครงั้ อาจเกิดจากกลมุ เมฆบนทอ งฟาแตหมุนตัวยื่นลงมาจากทองฟาไมถึงพ้ืนดิน มีรูปราง
เหมือนงวงชาง จึงเรยี กกันวา ลมงวงชาง

13

ความเร็วของพายุ สามารถแบง ออกเปน 5 ระดบั ไดแ ก
1) ระดับท่ี 1 มีความเร็วลม 119 - 153 กิโลเมตรตอช่ัวโมง ทําลายลางเล็กนอย ไมสงผลตอสิ่ง
ปลกู สรา ง มีน้ําทว มขังตามชายฝง
2) ระดับที่ 2 มีความเร็วลม 154 - 177 กิโลเมตรตอชั่วโมง ทําลายลางเล็กนอย ทําใหหลังคา
ประตู หนา ตางบา นเรือนเสยี หายบาง ทําใหเกิดนา้ํ ทว มขงั
3) ระดับที่ 3 มีความเร็วลม 178 - 209 กิโลเมตรตอชั่วโมง ทําลายลางปานกลางทําลาย
โครงสรา งท่ีอยูอาศัยขนาดเล็ก นา้ํ ทว มขังถึงพ้ืนบานช้ันลาง
4) ระดับที่ 4 มีความเร็วลม 210 - 249 กิโลเมตรตอชั่วโมง ทําลายลางสูง หลังคาบานเรือน
บางแหงถูกทําลาย น้ําทว มเขามาถงึ พน้ื บา น
5) ระดับที่ 5 มีความเร็วลมมากกวา 250 กิโลเมตรตอช่ัวโมง จะทําลายลางสูงมาก หลังคา
บา นเรอื น ตึกและอาคารตาง ๆ ถูกทาํ ลาย พังทลาย นํา้ ทวมขงั ปรมิ าณมาก ถึงขั้นทําลายทรพั ยสินในบา น
อาจตอ งประกาศอพยพประชาชน
ลําดบั ชน้ั การเกดิ พายุฝนฟา คะนอง
1) ระยะเจรญิ เตบิ โต โดยเร่ิมจากการที่อากาศรอนลอยตัวข้ึนสูบรรยากาศ พรอมกับการมีแรง
มากระทําหรอื ผลักดันใหมวลอากาศยกตวั ข้นึ ไปสูความสูงระดับหนึ่ง โดยมวลอากาศจะเย็นลงเมื่อลอยสูงขึ้น
และเร่ิมที่จะเคล่ือนตัวเปนละอองน้ําเล็ก ๆ เปนการกอตัวของเมฆคิวมูลัส ในขณะที่ความรอนแฝงจากการ
กล่นั ตวั ของไอนา้ํ จะชว ยใหอัตราการลอยตัวของกระแสอากาศภายในกอนเมฆเร็วมากย่ิงขึ้น ซึ่งเปนสาเหตุให
ขนาดของเมฆคิวมูลัสมีขนาดใหญข้ึนและยอดเมฆสูงเพิ่มข้ึนเปนลําดับ จนเคลื่อนท่ีข้ึนถึงระดับบนสุดแลว
(จุดอ่มิ ตัว) จนพฒั นามาเปนเมฆควิ มโู ลนิมบัส กระแสอากาศบางสวนก็จะเร่ิมเคล่ือนที่ลงและจะเพ่ิมมากข้ึน
จนกลายเปนกระแสอากาศที่เคลอื่ นทีล่ งอยา งเดยี ว
2) ระยะเจริญเตบิ โตเตม็ ที่ เปน ชวงทีก่ ระแสอากาศมที งั้ ไหลข้นึ และไหลลงปริมาณความรอ นแฝง
ท่ีเกิดขึ้นจากการกล่ันตัวลดนอยลง ซึ่งมีสาเหตุมาจากการท่ีหยาดน้ําฟาท่ีตกลงมามีอุณหภูมิตํ่า ชวยทําให
อณุ หภูมิของกลมุ อากาศเยน็ กวา อากาศแวดลอม ดังน้นั อตั ราการเคลื่อนที่ลงของกระแสอากาศจะมคี าเพ่ิมข้ึน
เปน ลําดับ กระแสอากาศที่เคลื่อนท่ีลงมา จะแผขยายตัวออกดานขางกอใหเกิดลมกระโชกรุนแรง อุณหภูมิ
จะลดลงทนั ทีทันใด และความกดอากาศจะเพ่ิมขึน้ อยา งรวดเร็วและยาวนาน แผออกไปไกลถึง 60 กโิ ลเมตร
ได โดยเฉพาะสวนท่ีอยูดานหนาของทิศทาง การเคลื่อนที่ของพายุฝนฟาคะนอง พรอมกันน้ันการท่ีกระแส
อากาศเคลอ่ื นทข่ี ้ึนและเคล่อื นท่ีลงจะกอ ใหเ กดิ ลมเชยี รร ุนแรงและเกดิ อากาศปน ปวนโดยรอบ
3) ระยะสลายตัว เปนระยะที่พายุฝนฟาคะนองมีกระแสอากาศเคล่ือนที่ลงเพียงอยางเดียว
หยาดนาํ้ ฝนตกลงมาอยา งรวดเร็วและหมดไปพรอม ๆ กับกระแสอากาศที่ไหลลงก็จะเบาบางลง
การหลบเลี่ยงอันตรายจากพายุฝนฟาคะนอง เน่ืองจากพายุฝนฟาคะนองสามารถ ทําใหเกิด
ความเสียหายตอทรัพยส ินและอันตรายตอ ชีวิตของมนษุ ยไ ด จึงควรหลบเลย่ี งจากสาเหตุดงั กลาว คือ
1) ในขณะปรากฏพายฝุ นฟาคะนอง หากอยูใกลอาคารหรือบานเรือนที่แข็งแรงและปลอดภัย
จากนาํ้ ทวม ควรอยแู ตภ ายในอาคารจนกวา พายุฝนฟา คะนองจะยุตลิ ง ซงึ่ ใชเวลาไมนานนัก การอยูในรถยนต

14

จะเปน วิธีการทป่ี ลอดภยั วิธีหนง่ึ แตค วรจอดรถใหอยูหางไกลจากบริเวณท่ีน้ําอาจทวมได อยูหางจากบริเวณ
ท่เี ปนน้ําข้นึ จากเรอื ออกหางจากชายหาดเมอื่ ปรากฏพายุฝนฟาคะนอง เพือ่ หลกี เล่ยี งอนั ตรายจากนํ้าทว มและ
ฟา ผา

2) ในกรณที ่ีอยูในปา ในทงุ ราบหรือในท่ีโลง ควรคุกเขาและโนมตัวไปขางหนา แตไมควรนอน
ราบกับพ้ืน เนือ่ งจากพืน้ เปย กเปน สื่อไฟฟา และไมควรอยูในทตี่ ่ํา ซง่ึ อาจเกดิ น้าํ ทวมฉับพลันได ไมควรอยูในที่
โดดเดีย่ วหรืออยูส ูงกวา สภาพสง่ิ แวดลอม

3) ออกหางจากวัตถุที่เปนสื่อไฟฟาทุกชนิด เชน ลวด โลหะ ทอน้ํา แนวร้ัวบาน รถแทรกเตอร
จักรยานยนต เครอ่ื งมอื อปุ กรณทําสวนทุกชนิด รางรถไฟ ตนไมสูง ตนไมโดดเดี่ยวในท่ีแจง ไมควรใชอุปกรณ
ไฟฟา เชน โทรทัศน ฯลฯ และควรงดใชโทรศัพทช่วั คราว นอกจากกรณีฉุกเฉิน ไมควรใสเคร่ืองประดับโลหะ
เชน ทองเหลอื ง ทองแดง ฯลฯ ในทแ่ี จงหรือถือวัตถุโลหะ เชน รม ในขณะปรากฏพายฝุ นฟา คะนอง นอกจากน้ี
ควรดแู ลสงิ่ ของตา ง ๆ ใหอยูในสภาพที่แขง็ แรงและปลอดภยั อยูเ สมอโดยเฉพาะสงิ่ ของท่อี าจจะหกั โคนได เชน
หลงั คาบา น ตนไม ปายโฆษณา เสาไฟฟา ฯลฯ

ผลกระทบตอ ประชากรที่เกดิ จากพายุ
จากกรณีการเกดิ พายไุ ซโคลน “นารก สี ” (Nargis) ทีส่ าธารณรฐั แหงสหภาพพมา ถอื เปน ขาวใหญ
ท่ีทั่วโลกใหความสนใจอยางยิ่ง เพราะมหันตภัยคร้ังนี้ ไดคราชีวิตชาวพมาไปนับหม่ืนคน สูญหายอีกหลาย
หมน่ื ชีวิต บา นเรอื น ทรพั ยส ินและสาธารณูปโภคตาง ๆ เสยี หายยับเยิน
“นารกีส” เปนชื่อเรียกของพายุหมุนเขตรอน มีผลพวงมาจากการเกิดภาวะโลกรอน
มคี วามเร็วลม 190 กโิ ลเมตรตอช่วั โมง พายุ “นารก สี ” เรม่ิ กอ ตัว เม่อื วนั ท่ี 27 เมษายน 2551 ในอาวเบงกอล
ตอนกลางและพัดเขาบริเวณสามเหลี่ยมปากแมน้ําอิระวดี ที่นครยางกุงและบาสเซน สาธารณรัฐแหง
สหภาพพมา ในเชา วันท่ี 3 พฤษภาคม 2551
ความรุนแรงของไซโคลน “นารกีส” จัดอยูในความรุนแรงระดับ 3 คือ ทําลายลางปานกลาง
ทาํ ลายโครงสรางที่อยูอาศัยขนาดเล็ก นํ้าทวมขังถึงพื้นบานช้ันลางพัดหลังคาบานเรือนปลิววอน ตนไมและ
เสาไฟฟาหักโคน ไฟฟาดับทั่วเมือง ในขณะที่ทางภาคเหนือและภาคใตของประเทศไทยก็เจอหางเลข
อทิ ธพิ ล “นารกีส” เล็กนอ ย ซึ่งทาํ ใหห ลายจงั หวดั เกดิ ฝนตกชกุ มีนํ้าทว มขัง
พิบตั ิภยั ธรรมชาตไิ มม ีทางเลยี่ งได ไมวาจะประเทศไหนหรอื แผนดินใด แตมีวธิ ปี องกันทด่ี ีทส่ี ดุ คือ
รัฐบาลตองมีหนวยงานซ่ึงทําหนาที่ early warning คือ เตือนประชาชนคนของตนแตแรกดวยขอมูลท่ีมี
ประสิทธิภาพและทันการณ จากน้ันก็ตองรีบดําเนินการตาง ๆ อยางเหมาะสม เชน ยายผูคนใหไปอยูในท่ี
ปลอดภัย ท้ังน้ี นับเปนโชคดีของประเทศไทยท่ีเม่ือ นารกีส มาถึงบานเราก็ลดความแรงลงคงมีแตฝนเปน
สวนใหญ แมจะทําความเสียหายแกพืชไรของเกษตรกรไมนอยแตก็เพิ่มประมาณน้ําในเข่ือนสําคัญ ๆ
แตอยา งไรกต็ ามผลพวงภัยพบิ ัติทางธรรมชาติที่เกดิ ขนึ้ ท้ังหมดมาจาก “ภาวะโลกรอน” ซึ่งก็เกิดจากฝมอื มนุษย
ทั้งส้นิ

15

2.3 การเกิดคล่ืนสนึ ามิ คลนื่ สึนามิ (Tsunami) คือ คลนื่ ในทะเลหรอื คล่ืนยักษใ ตนาํ้ จะเกดิ ภายหลัง
จากการส่ันสะเทือนของแผนดินไหว แผนดินถลม การระเบิดหรือการปะทุของภูเขาไฟท่ีพ้ืนทองสมุทร
อยางรุนแรง ทําใหเกิดรอยแยก นํ้าทะเลจะถูกดูดเขาไปในรอยแยกน้ี ทําใหเกิดภาวะนํ้าลดลงอยางรวดเร็ว
จากนัน้ แรงอัดใตเปลือกโลกจะดันน้ําทะเลขึ้นมากอ พลงั คลืน่ มหาศาล คล่ืนสนึ ามิอาจจะเคลื่อนท่ีขามมหาสมุทร
ซึ่งหางจากจุดท่ีเกิดเปนพัน ๆ กิโลเมตร โดยไมมีลักษณะผิดสังเกต เพราะมีความสูงเพียง 30 เซนติเมตร
เคล่ือนท่ีดวยความเร็ว 600 - 1,000 กิโลเมตรตอช่ัวโมง แตเมื่อเคลื่อนตัวเขามาในเขตน้ําต้ืน จะเกิดแรงดัน
ระดบั น้ําใหส ูงข้นึ อยา งรวดเร็วและมแี รงปะทะอยางมหาศาลกลายเปนคลนื่ ยกั ษทมี่ ีความสงู 15 - 30 เมตร

สึนามิ สวนใหญเกดิ จากการเคลอ่ื นตัวของเปลอื กโลกใตท ะเลอยางฉบั พลนั อาจจะเปน การเกดิ แผน ดิน
ถลม ยบุ ตัวลงหรือเปลอื กโลกถูกดันข้นึ หรือยุบตัวลง ทาํ ใหมนี ํา้ ทะเลปรมิ าตรมหาศาลถูกดันขึ้นหรือทรุดตัวลง
อยา งฉับพลนั พลังงานจํานวนมหาศาลก็ถายเทไปใหเ กิดการเคลือ่ นตัวของนาํ้ ทะเลเปน คลน่ื สนึ ามทิ เ่ี หนือทะเล
ลึก จะดูไมตางไปจากคล่ืนทั่ว ๆ ไปเลย จึงไมสามารถสังเกตไดดวยวิธีปกติ แมแตคนบนเรือเหนือทะเลลึก
ทคี่ ลน่ื สึนามิเคลอื่ นผา นใตท องเรือไป กจ็ ะไมรูสกึ อะไรเพราะเหนือทะเลลึก คล่ืนน้ีสูงจากระดับนํ้าทะเลปกติ
เพยี งไมกฟี่ ตุ เทานน้ั จึงไมส ามารถแมแตจ ะบอกไดด ว ยภาพถายจากเครื่องบนิ หรอื ยานอวกาศ

นอกจากนี้แลว สึนามิ ยังเกิดไดจ ากการเกดิ แผน ดนิ ถลมใตทะเลหรอื ใกลฝ งทที่ ําใหม วลของดินและหนิ
ไปเคลอื่ นยา ยแทนทม่ี วลน้าํ ทะเลหรอื ภเู ขาไฟระเบดิ ใกลทะเล สง ผลใหเกิดการโยนสาดดินหนิ ลงน้ําจนเกิดเปน
คล่ืนสนึ ามิได ดังเชน การระเบดิ ของภเู ขาไฟกระกะตว้ั ในป ค.ศ. 1883 ซงึ่ สง คลื่นสนึ ามิออกไปทาํ ลายลางชีวติ
และทรพั ยส ินของผคู นในเอเชยี มจี าํ นวนผูตายถึงประมาณ 36,000 ชีวติ

16

คล่นื สนึ ามิกบั ผลกระทบตอสิง่ แวดลอม การเกดิ คลน่ื สึนามิกระทบตอ สง่ิ แวดลอมและสังคม ในหลาย ๆ
ดา น เชน เกิดการเปล่ยี นแปลงของพน้ื ทชี่ ายฝง ในชวงเวลาอันสนั้ รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงทีอ่ ยอู าศยั ของสัตวนํา้
บางประเภท ปะการังถูกทําลาย ประชาชนขาดทีอ่ ยูอ าศยั ไรท รัพยส ินสิน้ เนือ้ ประดาตวั กระทบตอ อาชพี ไมว า จะเปน
ชาวประมง อาชพี ทเ่ี กยี่ วกบั การบรกิ ารดานทองเท่ียว สิง่ ปลูกสรางอาคารบา นเรอื นเสียหาย ฯลฯ

ผลกระทบตอ ประชากรทีเ่ กดิ จากคลื่นสึนามิ
จากกรณีการเกดิ คลนื่ สึนามิ ในวนั ที่ 26 ธนั วาคม 2547 เวลา 0:58:50 น. (UT) หรอื เวลา 7:58:50 น.
ตามเวลาในประเทศไทย ไดเกิดแผนดินไหวขนาด 8.9 ตามมาตราริกเตอร ท่ีนอกชายฝงตะวันตกทางตอน
เหนอื ของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย จุดศูนยกลางอยูลึก 10 กม. หางจากเมืองบันดาเอเช ประมาณ
250 กม. และหางจากกรุงเทพฯ 1,260 กม. แผนดินไหวน้ีเปนแผนดินไหวที่ใหญเปนอันดับท่ี 5 นับตั้งแตป
ค.ศ. 1900 และใหญที่สุดนับต้ังแตแผนดินไหวอลาสกาในป ค.ศ. 1964 เหตุการณดังกลาวทําใหเกิดการ
สั่นสะเทือนรับรูไดในประเทศมาเลเซีย สิงคโปรและไทย แรงคล่ืนสูงประมาณ 6 เมตร ไดถาโถมตามแนว
ชายฝงสรางความเสียหายในวงกวาง ทําใหเกิดผูเสียชีวิตและบาดเจ็บเปนจํานวนมาก ในประเทศอินเดีย
ศรีลงั กา มาเลเซยี และจังหวัดทองเทยี่ วทางใตของประเทศไทย มีผเู สยี ชวี ติ นบั รอ ยและมีผูบาดเจ็บเปนจํานวน
มากในจงั หวัดภเู ก็ต พงั งา ตรงั และกระบ่ี

กิจกรรมที่ 1.2 การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมศิ าสตรก ายภาพ

1) ใหผูเรียนอธิบายวาการเกิดแผนดินไหวอยางรุนแรงจะสงผลกระทบตอประชากรและ
ส่งิ แวดลอ มอยางไรบาง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.......................................................................

2) ใหบอกความแตกตา งและผลกระทบทเี่ กิดตอประชากรและส่งิ แวดลอมของพายฝุ นฟาคะนอง
พายหุ มุนเขตรอนและพายุทอรนาโด
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
......................................................................

17

3) คล่ืนสึนามิกับผลกระทบตอสิ่งแวดลอมมากมายหลายอยาง ในความคิดเห็นของผูเรียน
ผลกระทบดานใดที่เสยี หายมากท่ีสุด พรอมใหเ หตผุ ลประกอบ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.....................................................................................

เรอ่ื งที่ 3 วธิ ใี ชเ ครอ่ื งมอื ทางภมู ศิ าสตร

เครื่องมือทางภูมิศาสตร หมายถึง สิ่งที่มนุษยสรางขึ้นมาเพื่อตรวจสอบและบันทึกขอมูลทางดาน
ภมู ิศาสตร เคร่อื งมอื ภูมิศาสตรที่สําคญั ไดแก แผนที่ ลูกโลก เขม็ ทศิ รปู ถา ยทางอากาศ ภาพถายจากดาวเทียม
และเครื่องมือเทคโนโลยีเพอ่ื การศกึ ษาภูมิศาสตร ฯลฯ

3.1 แผนที่ เปนส่ิงที่มนุษยสรางขึ้นเพ่ือแสดงลักษณะที่ต้ังของส่ิงตาง ๆ ที่ปรากฏอยูบนพื้นผิวโลก
ทัง้ ทีเ่ กิดขนึ้ เองตามธรรมชาติและสง่ิ ทม่ี นษุ ยสรา งขน้ึ โดยการยอสวนใหมีขนาดเล็กลงตามทต่ี อ งการ พรอ มท้ังใช
เคร่อื งหมายหรือสัญลักษณแ สดงลักษณะแทนสง่ิ ตา ง ๆ ลงในวัสดพุ ้นื แบนราบ

ความสําคัญของแผนที่ แผนที่เปนท่ีรวบรวมขอมูลประเภทตาง ๆ ตามชนิดของแผนที่
จึงสามารถใชป ระโยชนจ ากแผนทไ่ี ดตามวตั ถุประสงค โดยไมจําเปนตอ งเดินทางไปเห็นพื้นท่ีจรงิ แผนที่ชวยให
ผูใชส ามารถรูสิ่งทป่ี รากฏอยบู นพน้ื โลกไดอ ยางกวางไกล ถูกตอ งและประหยดั

ประโยชนข องแผนที่ แผนที่มีประโยชนตองานหลาย ๆ ดาน คือ
1. ดานการเมืองการปกครอง เพื่อรักษาความม่ันคงของประเทศชาติใหคงอยูจําเปนจะตองมี
ความรูในเรอ่ื งภมู ิศาสตรก ารเมอื งหรอื ทเ่ี รียกกันวา “ภูมิรัฐศาสตร” และเครื่องมือทสี่ ําคัญของนกั ภมู ริ ฐั ศาสตร
ก็คอื แผนที่ เพ่อื ใชศึกษาสภาพทางภูมิศาสตรและนํามาวางแผนดําเนินการเตรียมรับหรือแกไขสถานการณ
ท่เี กดิ ขึ้นได
2. ดานการทหาร ในการพิจารณาวางแผนทางยุทธศาสตรของทหาร จําเปนตองหาขอมูลหรือ
ขาวสารทเ่ี กี่ยวกบั สภาพภูมิศาสตรและตําแหนงทางสิ่งแวดลอมท่ีถูกตองแนนอนเก่ียวกับระยะทาง ความสูง
เสน ทาง ลกั ษณะภูมิประเทศทส่ี าํ คัญ
3. ดา นเศรษฐกจิ และสังคม ดานเศรษฐกิจ เปนเคร่อื งบง ชคี้ วามเปน อยขู องประชาชนภายในชาติ
การดาํ เนนิ งานเพือ่ พัฒนาเศรษฐกจิ ของแตละภูมิภาคท่ีผานมา แผนท่ีเปนส่ิงแรกท่ีตองผลิตขึ้นมาเพื่อการใช
งานในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ก็ตองอาศยั แผนที่เปนขอมูลพ้ืนฐานเพ่ือใหทราบทําเล
ท่ตี ัง้ สภาพทางกายภาพแหลงทรัพยากร

18

4. ดานสังคม สภาพแวดลอมทางสังคมมีการเปล่ียนแปลงอยูเสมอที่เห็นชัดคือสภาพแวดลอม
ทางภมู ิศาสตร ซงึ่ ทาํ ใหส ภาพแวดลอ มทางสังคมเปล่ียนแปลงไป การศึกษาสภาพการเปล่ียนแปลงตองอาศัย
แผนท่เี ปน สําคัญและอาจชวยใหการดาํ เนนิ การวางแผนพัฒนาสังคมเปนไปในแนวทางทีถ่ กู ตอง

5. ดานการเรียนการสอน แผนท่ีเปนตัวสงเสริมกระตุนความสนใจและกอใหเกิดความเขาใจ
ในบทเรียนดีข้ึน ใชเ ปน แหลงขอมูลทั้งทางดา นกายภาพ ภูมิภาค วฒั นธรรม เศรษฐกิจ สถติ ิและการกระจายของ
สง่ิ ตา ง ๆ รวมท้ังปรากฏการณทางธรรมชาตแิ ละปรากฏการณตา ง ๆ ใชเปนเคร่อื งชว ยแสดงภาพรวมของพ้ืนที่
หรอื ของภูมิภาค อนั จะนาํ ไปศกึ ษาสถานการณแ ละวิเคราะหค วามแตกตา งหรอื ความสมั พันธของพ้นื ท่ี

6. ดา นสง เสรมิ การทอ งเทย่ี ว แผนทม่ี คี วามจําเปนตอนักทองเท่ียวในอันท่ีจะทําใหรูจักสถานที่
ทอ งเท่ียวไดงา ย สะดวกในการวางแผนการเดนิ ทางหรอื เลือกสถานทท่ี องเที่ยวตามความเหมาะสม

ชนิดของแผนที่ แบงตามการใชงานได 3 ชนดิ ไดแก
1. แผนทีภ่ ูมิประเทศ เปนแผนท่ีแสดงความสูงตํ่าของพื้นผิวโลก โดยใชเสนช้ันความสูงบอกคา
ความสูงจากระดบั นา้ํ ทะเลปานกลาง แผนทชี่ นดิ น้ีเปน พ้นื ฐานท่ีจะนาํ ไปทําขอ มูลอื่น ๆ เกี่ยวกับแผนท่ี
2. แผนท่ีเฉพาะเร่ือง เปนแผนที่ท่ีแสดงลักษณะใดลักษณะหนึ่งโดยเฉพาะ ไดแก แผนท่ีรัฐกิจ
แสดงเขตการปกครองหรืออาณาเขต แผนท่แี สดงอณุ หภูมขิ องอากาศ แผนที่แสดงปริมาณนํ้าฝน แผนที่แสดง
การกระจายตัวของประชากร แผนท่เี ศรษฐกิจ แผนท่ปี ระวตั ศิ าสตร เปน ตน
3. เปน แผนทที่ รี่ วบรวมเร่ืองตาง ๆ ทง้ั ลักษณะทางกายภาพ ทางเศรษฐกิจ ทางสังคม ทางดาน
ประชากร และอ่นื ๆ ไวในเลม เดยี วกนั
องคป ระกอบของแผนทม่ี หี ลายองคป ระกอบ คือ
1. สัญลักษณ คือ เคร่ืองหมายที่ใชแ ทนสิ่งตาง ๆ ตามที่ตองการแสดงไวในแผนท่ี เพ่ือใหเขาใจ
แผนทไี่ ดง า ยข้ึน เชน จุด วงกลม เสน ฯลฯ
2. มาตราสว น คือ อัตราสวนระยะหางในแผนทก่ี บั ระยะหางในภูมิประเทศจริง
3. ระบบอางองิ ในแผนที่ ไดแ ก เสน ขนานละติจดู และเสน ลองตจิ ดู (เมรเิ ดยี น)

เสน ละติจดู เปนเสนสมมติที่ลากไปรอบโลกตามแนวนอนหรือแนวทิศตะวันออก ตะวันตก
แตละเสนหางกัน 1 องศา โดยมีเสน 0 องศา (เสนศูนยสูตร) แบงก่ึงกลางโลก เสนท่ีอยูเหนือเสนศูนยสูตร
เรียกวา “เสนองศาเหนือ” เสน ทอ่ี ยูใตเสน ศนู ยสูตร เรยี กวา “เสนองศาใต” ละติจดู มที ้งั หมด 180 เสน

เสน ลองตจิ ูด เปน เสน สมมติท่ลี ากไปรอบโลกในแนวตั้งจากขั้วโลกเหนือไปยังขั้วโลกใต แตละ
เสนหางกัน 1 องศา กําหนดใหเสนท่ีลากผานตําบลกรีนิช กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เปนเสน 0 องศา
(เมริเดยี นปฐม) ถา นับจากเสน เมริเดยี นปฐม ไปทางตะวันออก เรยี กเสนองศาตะวันออก ถา นบั ไปทางตะวนั ตก
เรยี กเสน องศาตะวนั ตก ลองตจิ ูด มที ้งั หมด 360 เสน

พิกัดภูมิศาสตร เปนตําแหนงที่ตั้งของจุดตาง ๆ บนพื้นผิวโลก เกิดจากการตัดกันของ
เสน ขนานละตจิ ดู และเสนเมรเิ ดยี น โดยเสน สมมตทิ งั้ สองน้ีจะตง้ั ฉากซึ่งกันและกนั

4. ขอบระวาง แผนทีท่ กุ ชนิดควรมขี อบระวาง เพอื่ ชว ยใหด เู รียบรอยและเปนการกําหนดขอบเขต
ของแผนท่ดี วย ขอบระวางมักแสดงดว ยเสน ตรงสองเสนหรือเสนเดียว

19

5. ระบบอา งองิ บนแผนท่ี คือระบบที่กาํ หนดขน้ึ เพ่อื อาํ นวยความสะดวกในการคํานวณหาตําแหนง
ที่ตง้ั และคาํ นวณหาเวลาของตําแหนงตาง ๆ บนพนื้ ผิวโลก ซึง่ แยกไดดงั น้ี

การคํานวณหาตําแหนงท่ีต้ัง จะใชละติจูดและลองติจูดเปนเกณฑ วิธีนี้เรียกวา การพิกัด
ภูมศิ าสตร

การคาํ นวณหาเวลา โดยใชหลักการวา 1 นาที = 15 ลิปดา และ 4 นาที = 1 ลองติจูด หรือ 1
องศา

6. สที ่ีใชในการเขียนแผนที่แสดงลกั ษณะภูมิประเทศ
สดี าํ หมายถงึ สง่ิ สาํ คญั ทางวฒั นธรรมท่มี นษุ ยส รางขึ้น เชน อาคาร วดั สถานท่รี าชการ
สนี ้าํ ตาล หมายถงึ ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศทม่ี ีความสูง
สีน้าํ เงนิ หมายถึง ลกั ษณะภูมิประเทศทเ่ี ปน น้าํ เชน ทะเล แมน ํ้า หนองบงึ
สแี ดง หมายถึง ถนนสายหลัก พื้นท่ยี า นชมุ ชนหนาแนน และลกั ษณะภมู ปิ ระเทศสาํ คัญ
สเี ขียว พชื พนั ธุไ มต า ง ๆ เชน ปา สวน ไร

3.2 ลูกโลก เปนเครื่องมือทางภูมิศาสตรอยางหนึ่งที่ใชเปนอุปกรณในการศึกษาคนควาหรือใช
ประโยชนใ นดา นอื่น ๆ ลกู โลกจําลองเปน การยอสว นของโลกมลี กั ษณะทรงกลม บนผิวของลูกโลกจะมีแผนท่ี
โลก แสดงพ้ืนดิน พน้ื น้าํ สภาพภูมปิ ระเทศ ท่ตี ั้งประเทศ เมืองและเสนพิกัดทางภูมิศาสตร เพ่ือสามารถบอก
ตําแหนงตาง ๆ บนพ้นื ผิวโลกได ลูกโลกจําลองสรา งคลา ยลกู โลกจริง แสดงสแี ทนลักษณะภูมิประเทศตา ง ๆ

20

องคประกอบของลกู โลก ไดแก
เสน เมรเิ ดยี น เปน เสนสมมติที่ลากจากขว้ั โลกเหนือไปยังข้ัวโลกใต ซง่ึ กําหนดใหม ีคาเปน 0 องศา
ทีเ่ มอื งกรนี ชิ ประเทศอังกฤษ
เสน ขนาน เปนเสน สมมติท่ลี ากไปรอบโลกในแนวนอน ทุกเสน จะขนานกับเสนศูนยสตู ร
3.3 เข็มทิศ เปนเคร่ืองมือสําหรับใชในการหาทิศทางของจุดหรือวัตถุ โดยมีหนวยเปนองศา
เปรยี บเทยี บกับจดุ เร่มิ ตน อาศยั แรงดงึ ดูดระหวา งสนามแมเ หลก็ ขั้วโลกกบั เข็มแมเหล็ก ซึ่งเปนองคประกอบที่
สําคญั ทส่ี ุด เข็มแมเหลก็ จะแกวง ไกวอิสระในแนวนอนเพอ่ื ใหแ นวเขม็ ชอ้ี ยใู นแนว เหนือ - ใต ไปยังข้ัวแมเ หล็ก
โลกตลอดเวลา เข็มทิศมปี ระโยชนเพ่ือใชในการเดินทาง ไดแ ก การเดินเรอื ทะเล เคร่อื งบิน การใชเ ขม็ ทศิ จะตอ ง
มีแผนทป่ี ระกอบและตอ งหาทิศเหนอื กอ น
3.4 รูปถา ยทางอากาศและภาพถา ยจากดาวเทียม เปนรูปหรือขอมูลตัวเลขท่ีไดจากการเก็บขอมูล
ภาคพ้นื ดินจากกลองทีต่ ดิ อยูกบั ยานพาหนะ เชน เครอื่ งบนิ หรือดาวเทียม
ประโยชนของรูปถายทางอากาศและภาพถายจากดาวเทียม รูปถายทางอากาศและภาพถาย
จากดาวเทียมใหขอมูลพ้ืนผิวของเปลือกโลกไดเปนอยางดี ทําใหเห็นภาพรวมของการใชพื้นที่และ
การเปลี่ยนแปลงตางๆ ตามท่ีปรากฏบนพื้นโลกเหมาะแกการศึกษาทรัพยากรผิวดิน เชน ปาไม การใช
ประโยชนจ ากดิน หนิ และแร
3.5 เครอื่ งมอื เทคโนโลยีเพ่อื การศกึ ษาภมู ิศาสตร เทคโนโลยีทีส่ ําคัญดานภมู ศิ าสตร คือ
1) ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร (GIS) หมายถงึ การเก็บ รวบรวมและบันทกึ ขอ มลู ทางภูมิศาสตร
ดว ยระบบคอมพิวเตอรโดยขอ มูลเหลานี้สามารถปรับปรุงแกไขใหถูกตองทันสมัย และสามารถแสดงผลหรือ
นําออกมาเผยแพรเปนตัวเลข สถิติ รูปภาพ ตาราง แผนที่และขอความทางหนาจอคอมพิวเตอรหรือพิมพ
ออกมาเปนเอกสารได

21

ประโยชนข องระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร (GIS) คือชว ยใหป ระหยัดเวลาและงบประมาณ
ชวยใหเห็นภาพจําลองพ้ืนที่ชัดเจนทําใหการตัดสินใจวางแผนจัดการและพัฒนาพื้นท่ีมีความสะดวกและ
สอดคลอ งกับศกั ยภาพของพืน้ ที่น้ันและชว ยในการปรบั ปรุงแผนท่ีใหทนั สมยั

2) ระบบพกิ ดั พ้นื ผิวโลก (GPS) เปน เครอ่ื งมอื รบั สัญญาณพกิ ัดพ้นื ผวิ โลกอาศัยระยะทางระหวา ง
เคร่ืองรับดาวเทียม GPS บนพ้ืนผิวโลกกับดาวเทียมจํานวนหน่ึงท่ีโคจรอยูในอวกาศและระยะทางระหวาง
ดาวเทยี มแตละดวง ปจ จุบันมดี าวเทยี มชนิดน้อี ยูป ระมาณ 24 ดวง เครื่องมือรับสัญญาณ มีขนาดและรูปราง
คลา ยโทรศพั ทม ือถือ เม่ือรับสัญญาณจากดาวเทียมแลวจะทราบคาพิกัด ณ จุดท่ีวัดไว โดยอาจจะอานคาเปน
ละตจิ ูดและลองจิจดู ได ความคลาดเคลือ่ นขึ้นอยูกบั ชนิดและราคาของเครือ่ งมือ

ประโยชนของเครื่องมือเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาภูมิศาสตร จะคลายกับการใชประโยชน
จากแผนทสี่ ภาพภูมิประเทศและแผนท่ีเฉพาะเรือ่ ง เชน จะใหคาํ ตอบวาถาจะเดินทางจากจุดหน่ึงไปยังอีกจุด
หน่ึง ในแผนท่ีจะมีระยะทางเทาใด ถาทราบความเร็วของรถจะทราบวาใชเวลานานเทาใด บางครั้งขอมูล
มีความสับสนมาก เชน ถนนบางชว งมสี ภาพถนนไมเ หมือนกัน คอื บางชวงเปนถนนกวา งทสี่ ภาพผวิ ถนนดี
บางชวงเปน ถนนลกู รัง บางชวงเปนหลมุ เปนบอ ทาํ ใหการคิดคํานวณเวลาเดนิ ทางลําบากแตระบบสารสนเทศ
ภูมิศาสตรจะชว ยใหค ําตอบได

22

กิจกรรมที่ 1.3 วิธใี ชเ ครือ่ งมอื ทางภมู ศิ าสตร
1) ถาตองการทราบระยะทางจากที่หน่ึงไปยังอีกที่หน่ึง ผูเรียนจะใชเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร

ชนดิ ใด
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...................................................................................................

2) ภาพถา ยจากดาวเทียม มีประโยชนอ ยา งไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...................................................................................................

3) แผนที่มปี ระโยชนอยางไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...................................................................................................

4) ถาตองการทราบวาประเทศไทยอยูพิกัดภูมิศาสตรที่เทาไหร ผูเรียนจะใชเครื่องมือทาง
ภูมิศาสตรชนิดใดไดบ าง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
....................................................................................................

23

เรอ่ื งท่ี 4 สภาพภมู ศิ าสตรกายภาพของไทยท่ีสง ผลตอทรัพยากรตา ง ๆ และสงิ่ แวดลอ ม

ประเทศไทยมีความแตกตางกันทางสภาพภูมิศาสตรกายภาพ เน่ืองจากมีปจจัยท่ีกอใหเกิดลักษณะ
ภมู ปิ ระเทศ คือ

1) การผันแปรของเปลือกโลก เกิดจากพลังงานภายในโลกท่ีมีการบีบ อัด ใหยกตัวสูงขึ้นหรือ
ทรดุ ตา่ํ ลง สว นที่ยกตัวสงู ขึน้ ไดแ ก ภเู ขา ภูเขาไฟ เนินเขา ทีร่ าบสงู สวนท่ีลดตํา่ ลง ไดแก หุบเขา ทรี่ าบลุม

2) การกระทาํ ของตวั กระทาํ ตา ง ๆ เมอื่ เกิดการผนั แปรแบบแรกแลว กจ็ ะเกิดการกระทาํ จากตวั ตาง ๆ
เชน ลม น้าํ คล่ืน ไปกัดเซาะพังทลายภูมิประเทศหลัก ลักษณะของการกระทํามี 2 ชนิด คือ การกัดกรอน
ทาํ ลาย คอื การทําลายผวิ โลกใหตํา่ ลง โดย ลม อากาศ นาํ้ นํา้ แข็ง คล่นื ลมและ การสะสมเสรมิ สรา ง คือ
การปรบั ผิวโลกใหราบโดยเปน ไปอยางชา ๆ แตตอ เนอ่ื ง

3) การกระทาํ ของมนุษย เชน การสรา งเข่ือน การระเบิดภเู ขา
ดว ยเหตดุ งั กลาว นกั ภูมศิ าสตรไดใ ชห ลกั เกณฑความแตกตางทางดานกายภาพ เชน ภูมิประเทศ

ภูมิอากาศของทอ งถ่นิ มาใชในการแบง ภาคภมู ิศาสตร จงึ ทําใหประเทศไทยมีสภาพภมู ศิ าสตรท ี่แบง เปน 6 เขต
คือ

1. เขตภูเขาและหุบเขาทางภาคเหนือ ลักษณะภูมิประเทศเปนภูเขามากกวาภาคใด ๆ และ
เทือกเขาจะทอดยาวในแนวเหนือใตสลับกับท่ีราบหุบเขา โดยมีท่ีราบหุบเขาแคบ ๆ ขนานกันไป อันเปนตน
กําเนิดของแมน้ําลาํ คลองหลายสาย แควใหญนอยในภาคเหนือทําใหเกิดที่ราบลุมแมนํ้า ซึ่งอยูระหวางหุบเขา
อันอุดมสมบูรณไปดวยทรัพยากรธรรมชาติ ราษฎรสวนใหญประกอบอาชีพเพาะปลูก เลี้ยงสัตวและทํา
เหมอื งแร นอกจากนท้ี รพั ยากรธรรมชาตยิ งั เออ้ื อาํ นวยใหเ กดิ อุตสาหกรรมในครวั เรอื นทมี่ ชี ือ่ เสยี ง เปนท่ีรูจกั กนั
มาชา นาน ภาคเหนอื จะอยูในเขตรอ นท่มี ลี ักษณะภูมิอากาศคลา ยคลึงกับภูมิอากาศทางตอนใตของเขตอบอุน
ของประเทศทมี่ ี 4 ฤดู

2. เขตเทือกเขาทางภาคตะวันตก ลักษณะภูมิประเทศเปนพ้ืนที่แคบ ๆ ทอดยาวขนานกับ
พรมแดนประเทศพมา สวนใหญเปน ภเู ขา มีแหลง ทรัพยากรแรธาตแุ ละปา ไมของประเทศ มีปริมาณฝนเฉลี่ย
ตํ่ากวาทุกภาคและเปนภูมิภาคท่ีประชากรอาศัยอยูนอย สวนใหญอยูในเขตท่ีราบลุมแมนํ้าและชายฝงและ
มักประกอบอาชีพปลกู พชื ไรแ ละการประมง ลกั ษณะภมู อิ ากาศโดยทว่ั ไป มคี วามแหงแลง มากกวาในภาคอน่ื ๆ
เพราะมีเทอื กเขาสงู เปน แนวกาํ บงั ลม ทําใหอ ากาศในฤดูรอนและฤดูหนาวแตกตางกันอยางเดนชัด เนื่องจาก
แนวเทือกเขาขวางกั้น ทิศทางลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต กอใหเกิดบริเวณเงาฝนหรือพื้นท่ีอับลม ฝนจะตก
ดา นตะวันตกของเทอื กเขามากกวา ดานภาคตะวันออก

3. เขตท่รี าบของภาคกลาง ลกั ษณะภูมปิ ระเทศสว นใหญเปน ท่รี าบลุมแมน ํา้ อนั กวางใหญ
มีลักษณะเอียงลาดจากเหนือลงมาใต เปนท่ีราบที่มีความอุดมสมบูรณมากท่ีสุดเพราะเกิดการทับถมของ
ตะกอน เชน ที่ราบลุม แมน้ําเจา พระยา และทาจีน เปน แหลง ที่ทาํ การเกษตร (ทํานา) ที่ใหญท่ีสุด มีเทือกเขา
เปนขอบของภาค ทง้ั ดานตะวันตกและตะวันออก

4. เขตภเู ขาและท่ีราบบรเิ วณชายฝง ทะเลตะวนั ออก ลกั ษณะภูมปิ ระเทศเปน เทอื กเขาสงู และ

24

ทีร่ าบ ซ่งึ สวนใหญเปน ท่รี าบลูกฟูกและมีแมน ํา้ ทีไ่ หลลงสอู าวไทย แมนํ้าในภาคตะวันออกสวนมากเปนแมนํ้า
สายสน้ั ๆ ซ่ึงไดพดั พาเอาดนิ ตะกอนมาทิง้ ไว จนเกดิ เปนทร่ี าบแคบ ๆ ตามท่ีลุมลักษณะชายฝงและมีลักษณะ
ภูมิประเทศเปน เกาะ อา ว และแหลม ลกั ษณะภูมอิ ากาศ ภาคตะวนั ออกมีชายฝง ทะเลและมเี ทือกเขาเปนแนว
ยาว เปด รบั ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตจากอาวไทยอยางเต็มที่ จึงทําใหภาคน้ีมีฝนตกชุกหนาแนนบางพ้ืนที่
ไดแ ก พนื้ ที่รับลมดานหนาของเทือกเขาและชายฝงทะเล อุณหภูมิของภาคตะวันออกจะมีคาสมํ่าเสมอตลอด
ท้งั ปและมีความชนื้ คอนขางสงู เหมาะแกการทาํ สวน

5. เขตทีร่ าบสงู ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ลักษณะภมู ิประเทศเปน ทรี่ าบสงู ขนาดตา่ํ ทางบริเวณ
ตะวนั ตกของภาคจะมีภูเขาสูง ทางบริเวณตอนกลางของภาคมีลักษณะเปนแองกะทะ เรียกวา “แองที่ราบ-
โคราช” มแี มน้าํ ชแี ละแมนา้ํ มูลไหลผา น ยังมีทร่ี าบโลงอยูห ลายแหง เชน ทงุ กุลารองไห ทงุ หมาหิว ซึง่ สามารถ
ทาํ นาไดแตไ ดผลผลติ ตํ่าและมีแนวทวิ เขาภพู านทอดโคง ยาวคอ นไปทางตะวนั ออกเฉียงเหนือของภาคถัดเลยจาก
แนวทิวเขาภูพานไปทางเหนือมีแอง ทรดุ ตํ่าของแผนดนิ เรยี กวา “แอง สกลนคร”

6. เขตคาบสมุทรภาคใต ลักษณะภมู ิประเทศเปนคาบสมุทรย่ืนไปในทะเล มีเทือกเขาทอดยาว
ในแนวเหนือใต ที่เปนแหลงทับถมของแรดีบุก และมีความสูงไมมากนักเปนแกนกลางบริเวณชายฝงทะเล
ทงั้ สองดานของภาคใตเปนท่ีราบ มีประชากรอาศยั อยูหนาแนน ภาคใตไ ดร บั อิทธพิ ลความช้ืนจากทะเลท้ังสอง
ดาน มีฝนตกชกุ ตลอดป และมีปริมาณฝนเฉลยี่ สูง เหมาะแกการเพาะปลกู พืชผลเมืองรอน ที่ตองการความชื้นสูง
ลกั ษณะภมู ิอากาศไดร ับอิทธพิ ลของลมมรสุมท้ังสองฤดู จึงเปนภาคท่ีมีฝนตกตลอดท้ังป ทําใหเหมาะแกการ
ปลูกพืชเมืองรอ นทีต่ อ งการความชุม ชน้ื สูง เชน ยางพารา ปาลมนํา้ มัน เปนตน

องคประกอบของสิ่งแวดลอมทางกายภาพของไทย ที่สําคัญมี 3 องคประกอบ ไดแก ลักษณะ
ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ ซ่ึงมีความเกี่ยวพันซึ่งกันและกันและมีผลตอความเปนอยูของ
มนษุ ยท ัง้ ทางตรงและทางออม

1) ลกั ษณะภูมิประเทศ ลกั ษณะของเปลือกโลกทเ่ี ห็นเปนรูปแบบตา งๆ
แบงเปน 2 ประเภท คือ ลักษณะภูมิประเทศหลัก ไมเปลี่ยนรูปงาย ไดแก ที่ราบ ที่ราบสูง ภูเขา

และเนนิ เขา ลกั ษณะภูมิประเทศรองเปลย่ี นแปลงรปู ไดง า ย ไดแ ก หุบเขา หว ย เกาะ อาว แมน ้าํ สนั ดอนทราย
แหลม ทะเลสาบ

2) ลักษณะภูมิอากาศ หมายถึง คาเฉล่ียของลมฟาอากาศที่เกิดข้ึนเปนประจําในบริเวณใด
บรเิ วณหนึง่ ในชว งระยะเวลาหนึง่ ซ่ึงมปี จ จัยควบคุมอากาศ เชน ตาํ แหนงละตจิ ูด

3) ทรัพยากรธรรมชาติ ทรพั ยากรธรรมชาติ หมายถึง ส่ิงที่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติและมนุษย
สามารถนําไปใชประโยชนในการดํารงชีวิตได แบงออกเปน 4 ประเภท คือ ทรัพยากรดิน ทรัพยากรนํ้า
ทรพั ยากรปาไมและทรพั ยากรแรธ าตุ ทรัพยากรธรรมชาติ แบง เปน 3 ประเภท คือ

- ทรพั ยากรทใ่ี ชแลวหมดไปไมส ามารถเกดิ มาทดแทนใหมไ ด เชน นํ้ามนั แรธ าตุ
- ทรัพยากรท่ีใชแลวสามารถสรา งทดแทนได เชน ปา ไม สตั วบ ก สตั วนํา้
- ทรัพยากรทใ่ี ชแลว ไมห มดไป เชน นาํ้ อากาศ เปน ตน

25

การอนุรกั ษท รพั ยากรธรรมชาติ การอนรุ ักษ หมายถึง การรูจ ักใชท รพั ยากรธรรมชาตอิ ยางคมุ คา
และใหเกิดประโยชนมากทส่ี ุด โดยมวี ัตถุประสงค คอื

1. เพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิตของมนุษย หมายถึง การใชประโยชนสูงสุด และรักษาสมดุลของ
ธรรมชาติไวดว ย โดยใชเทคโนโลยีทท่ี ําใหเกิดผลเสยี ตอสภาพแวดลอมนอยท่ีสุด

2. เพ่ือรักษาทรัพยากรและสิ่งแวดลอมใหอยูในสภาพสมดุล โดยไมเกิดส่ิงแวดลอมเปนพิษ
(Polution) จนทําใหเ กดิ อันตรายตอมนุษยและส่งิ แวดลอม

1) ทรัพยากรดิน ดินเกิดจากการสลายตัวของหิน แรธาตุและอินทรียวัตถุตาง ๆ อันเน่ืองมาจากการ
กระทาํ ของลม ฟา อากาศและอน่ื ๆ สวนประกอบท่ีสาํ คัญของดนิ ไดแ ก อนินทรยี ว ัตถหุ รอื แรธ าตุ

ปญ หาของการใชท รัพยากรดนิ เกดิ จาก
1. การกระทําของธรรมชาติ เชน การสึกกรอนพังทลายท่ีเกิดจากลม กระแสนํ้าและ

การชะลางแรธ าตตุ า ง ๆ ในดิน
2. การกระทาํ ของมนุษย เชน การทาํ ลายปาไม การปลูกพชื ชนิดเดียวซ้ําซาก การเผาปาและ

ไรน า ทําใหสูญเสียหนา ดนิ ขาดการบาํ รุงรักษาดนิ
การอนรุ ักษทรัพยากรดิน โดยการปลกู พืชหมนุ เวยี น การปลูกพืชแบบข้นั บันไดปอ งกนั การเซาะ

ของนํา้ ปลกู พืชคลมุ ดิน ปอ งกนั การชะลางหนา ดนิ ไมตัดไมทาํ ลายปาและการปลูกปาในบริเวณท่ีมีความลาดชัน
เพ่ือปองกันการพงั ทลายของดิน

26

27

2) ทรัพยากรน้ํา น้ําเปนทรัพยากรที่จําเปนตอการดํารงชีวิตของมนุษยและสิ่งมีชีวิต ใชแลว
ไมหมดสน้ิ ไป แบงเปน

- น้ําบนดนิ ไดแก แมน้ํา ลําคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ ปรมิ าณน้ํา ขึน้ อยูกบั ปริมาณน้ําฝน
- นาํ้ ใตดนิ หรือน้าํ บาดาล ปริมาณนาํ้ ขน้ึ อยูกบั นํ้าท่ไี หลซมึ ลงไปจากพื้นดนิ และความสามารถ
ในการกักนาํ้ ในชนั้ หนิ ใตดนิ
- น้ําฝน ไดจากฝนตก ซ่ึงแตละบริเวณจะมีปริมาณนํ้าแตกตางกัน ซึ่งในประเทศไทย
เกิดปญ หาวกิ ฤติการณเ กีย่ วกับทรพั ยากรนาํ้ คอื เกิดภาวะการขาดแคลนน้าํ และเกิดมลพิษทางน้ํา เชน นํ้าเสีย
จากโรงงานอุตสาหกรรม
การอนุรักษท รัพยากรนาํ้ โดยการ
1. การพฒั นาแหลงน้าํ ไดแก การขดุ ลอกหนอง คลองบึงและแมน้ําที่ตื้นเขิน เพื่อใหสามารถ
กักเก็บนํ้าไดมากข้ึน ตลอดจนการสรางเขื่อนและอา งกักเก็บนํา้
2. การใชน ้ําอยางประหยัด ไมป ลอยใหน้าํ สญู เสยี ไปโดยเปลา ประโยชนแ ละสามารถนํานํา้ ทีใ่ ช
แลวกลับมาหมนุ เวยี นใชไ ดใ หมอ ีก เชน น้าํ จากโรงงานอตุ สาหกรรม
3. การควบคุมรักษาตนน้ําลาํ ธาร ไมม กี ารอนญุ าตใหม กี ารตดั ตนไมทาํ ลายปา อยางเดด็ ขาด
4. ควบคุมมิใหเกิดมลพิษแกแหลงน้ํา มีการดูแลควบคุมมิใหมีการปลอยส่ิงสกปรกลงไป
ในแหลงนํา้
3) ทรพั ยากรปา ไม ปาไมม คี วามสําคัญตอมนุษยท ั้งทางตรงและทางออม เชน ชวยรักษาสภาพ
ดนิ นํา้ อากาศ บรรเทาความรุนแรงของลมพายุและยังไดรับผลิตภัณฑจากปาไมหรือใชเปนแหลงทองเท่ียว
พกั ผอ นหยอ นใจได ปา ไม แบง เปน 2 ประเภท คือ
1. ปา ไมไมผลัดใบ เชน ปา ดงดิบ หรือปาดิบเปนปา ไมบรเิ วณท่ีมีฝนตกชุก พบมากทางภาคใต
และภาคตะวันออก ปา ดิบเขา พบมากในภาคเหนอื ปาสนเขา พบทางภาคเหนอื และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ปา ชายเลนนํ้าเค็ม เปนปาไมต ามดนิ เลน น้าํ เค็มและนาํ้ กรอ ย
2. ปาไมผลัดใบ เชน ปาเบญจพรรณ เปนปาผลัดใบผสม พบมากที่สุดในภาคเหนือ ปาแดง
ปา โคก ปาแพะ เปน ปา โปรงพบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปาชายหาด เปน ตน ไมเลก็ ๆ ข้ึนตามชายหาด
ปา พรุ หรือปา บึง เปนปาไมท ่ีเกิดตามดนิ เลน
การอนุรักษทรัพยากรปาไม สามารถทําไดโดยการออกกฎหมายคุมครองปาไม คือ
พระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 การปองกันไฟไหมปา การปลูกปาทดแทนไมที่ถูกทําลายไป
การปอ งกนั การลักลอบตดั ไมแ ละการใชไมใ หเ กิดประโยชนและคุม คามากท่ีสุด
4) ทรัพยากรแรธ าตุ แรธ าตุ หมายถงึ สารประกอบเคมีทเ่ี กิดขนึ้ เองตามธรรมชาติ
แบง ออกเปน
- แรโลหะ ไดแ ก เหลก็ ทองแดง สังกะสี ดีบุก ตะกวั่
- แรอโลหะ ไดแ ก ยิปซมั่ ฟลูออไรด โปแตช เกลอื หนิ
- แรเ ช้อื เพลงิ ไดแ ก ลกิ ไนต หินนํ้ามนั ปโ ตรเลยี ม กา ซธรรมชาติ

28

การอนรุ ักษท รัพยากรแรธ าตุ
1. ขดุ แรมาใชเ ม่อื มีโอกาสเหมาะสม
2. หาวธิ ีใชแรใ หมีประสิทธิภาพและไดผ ลคมุ คา มากทสี่ ดุ
3. ใชแรอ ยา งประหยัด
4. ใชว ัสดุหรือส่งิ อ่ืนแทนสงิ่ ทีจ่ ะตอ งทาํ จากแรธ าตุ
5. นาํ ทรพั ยากรแรกลบั มาใชใหม เชน นําเศษเหล็ก เศษอลูมิเนยี ม มาหลอมใชใ หม เปนตน

ปจ จัยท่มี ีผลกระทบตอ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ ม ไดแก
1. การเพ่ิมประชากรมีผลทาํ ใหต องใชทรัพยากรและสิ่งแวดลอมมากขึ้น จึงเกิดปญหาความ

เสื่อมโทรมของสภาพแวดลอ มตามมามากขนึ้
2. การใชเ ทคโนโลยีทนั สมยั ซงึ่ อาจทําใหเ กดิ ทงั้ ผลดแี ละผลเสยี ตอ ธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

กิจกรรมที่ 1.4 สภาพภมู ิศาสตรกายภาพของไทยทีส่ ง ผลตอทรพั ยากรตา งๆ และสิ่งแวดลอ ม
1) ใหผ เู รียนอธิบายวาสภาพภมู ิศาสตรของประเทศไทย ทั้ง 6 เขต มีอะไรบาง และแตละเขตสวนมาก

ประกอบอาชพี อะไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

2) ผูเรียนคิดวาประเทศไทยมีทรัพยากรอะไรท่ีมากท่ีสุด บอกมา 5 ชนิด แตละชนิดสงผลตอ
การดําเนินชีวติ ของประชากรอยางไรบา ง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

29

เรอื่ งที่ 5 ความสาํ คญั ของการดํารงชีวิตใหสอดคลอ งกบั ทรพั ยากรในประเทศ

5.1 ความสําคัญของการดํารงชวี ิตใหสอดคลองกับทรัพยากรของประเทศไทย
จากท่ีไดกลาวมาแลววา ประเทศไทยมีความแตกตางกันทางดานกายภาพ เชน ภูมิประเทศ

ภูมอิ ากาศของทองถ่ิน จึงทําใหแตละภาคมีทรัพยากรที่แตกตางกันตามไปดวย สงผลใหประชากร ในแตละ
ภมู ภิ าคประกอบอาชพี ตา งกันไปดวย เชน

ภาคเหนือ ในภาคเหนือมีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ จากการที่ลักษณะภูมิประเทศของ
ภาคเหนือสวนใหญเปนทิวเขาและมีที่ราบหุบเขาสลับกันแตพ้ืนที่ราบมีจํากัด ทําใหประชากรต้ังถิ่นฐาน
อยา งหนาแนนตามทีร่ าบลุมแมน า้ํ ทรพั ยากรทส่ี ําคัญ คือ

1) ทรัพยากรดนิ ท้ังดินทรี่ าบหบุ เขา ดนิ ทม่ี นี าํ้ ทว มถงึ และดินทเ่ี หลอื คา งจากการกัดกรอ น
2) ทรพั ยากรนํา้ แบง เปน 2 ประเภท คือ

1. น้ําบนผิวดิน ไดแก แมนํ้าลําธาร หนองบึงและอางเก็บนํ้าตาง ๆ แมวาภาคเหนือจะมี
แมนา้ํ ลาํ ธาร แตบ างแหง ปรมิ าณนาํ้ กไ็ มเ พียงพอ เนอื่ งจากเปนแมนํ้าสายเลก็ ๆ และปจจุบันปริมาณนํ้าในแมน้ํา
ลาํ ธารในภาคเหนือลดลงมาก ทั้งน้ีเน่ืองจากการตัดไมทําลายปาในแหลงตนนํ้า แตอยางไรก็ตามยังมีแมน้ํา
หลายสาย เชน แมนํ้าปง วัง ยม นาน แมนํ้าปงจังหวัดเชียงใหมและแมนํ้ากกจังหวัดเชียงรายท่ีมีนํ้าไหล
ตลอดป แมในฤดูแลงก็ยังมีน้ําที่ทําการเกษตรไดบาง นอกจากน้ี ยังมีบึงน้ําจืดขนาดใหญ คือ กวานพะเยา
จังหวดั พะเยา บงึ บอระเพด็ จังหวดั นครสวรรค

2. น้าํ ใตด ิน ภาคเหนือมีนํ้าใตดินท่ีอยูในรูปของนํ้าบอและบอบาดาล จึงสามารถใชบริโภค
และทาํ การเกษตรได

3) ทรพั ยากรแร มีเหมอื งแรใ นทกุ จงั หวดั ของภาคเหนือ แรท่ีสําคัญไดแก ดีบุก ทังสเตน พลวง
ฟลอู อไรด ดนิ ขาว ถานลิกไนตและนํา้ มนั ปโ ตรเลียม

4) ทรพั ยากรปาไม ภาคเหนอื มอี ตั ราพ้ืนทีป่ า ไมตอ พ้ืนที่ทงั้ หมดมากกวาทกุ ภาค จังหวดั ที่มปี าไม
มากท่ีสดุ คือ เชียงใหม ปาไมส วนใหญเ ปน ปา เบญจพรรณและปาแดง ไมท ส่ี ําคัญคือ ไมส ัก

5) ทรัพยากรดานการทองเท่ียว ภาคเหนือมีธรรมชาติที่สวยงาม สามารถดึงดูดนักทองเท่ียว
ใหม าชมวิวทิวทัศน มที ง้ั น้ําตก วนอุทยาน ถ้ํา บอนํ้ารอน เชน ดอยอินทนนทจังหวัดเชียงใหม ภูช้ีฟาจังหวัด
เชยี งราย

ประชากร ภาคเหนือเปนภาคที่ประชากรอาศัยอยูเบาบาง เนื่องจากภูมิประเทศ เต็มไปดวยภูเขา
ประชากรสวนใหญอาศัยอยูหนาแนนตามท่ีราบลุมแมน้ํา สวนใหญสืบเชื้อสายมาจากไทยลานนา นิยม
เรียกคนภาคเหนอื วา “คนเมือง” ประชากรในภาคเหนือสามารถรักษาวัฒนธรรมดงั้ เดิมไวไดอยางเหนียวแนน
เชน ประเพณสี งกรานต ประเพณที านสลากหรือตานกว ยสลาก ประเพณีลอยกระทง

30

นอกจากนี้ยังมชี าวไทยภเู ขาอาศัยอยูเปนจํานวนมาก เชน เผามง มูเซอ เยา ลีซอ อกี อ กะเหรยี่ ง ฯลฯ
จังหวดั ท่ีมีชาวเขามากท่สี ุด คอื เชียงใหม แมฮองสอนและเชียงราย การอพยพของชาวเขาเขามาในประเทศ
ไทยจํานวนมากทําใหเกิดปญหาติดตามมา คือ ปญหาการตัดไมทําลายปา เพ่ือทําไรเล่ือนลอย ปญหา
การปลูกฝน รฐั บาลไดแกไ ขปญ หา โดยหามาตรการตาง ๆ ที่ทําใหชาวเขาหันมาปลูกพืชเมืองหนาว เชน ทอ
กาแฟ สตรอเบอร่ี บวย อะโวคาโด และดอกไมเมืองหนาว ฯลฯ นอกจากน้ีหนวยงานท่ีเกี่ยวของ ยังไดจัด
การศกึ ษาเพอื่ ใหชาวเขาไดเ รียนภาษาไทย ปลูกจิตสาํ นึกความเปนคนไทย เพอ่ื ใหเขา ใจถึงสิทธิหนาที่ การเปน
พลเมืองไทยคนหนึ่ง

การประกอบอาชพี ของประชากรในภาคเหนอื ประชากรในภาคเหนือจะมีอาชีพทํานา ซ่ึงปลูกท้ัง
ขา วเจาและขา วเหนยี ว ในพื้นที่ราบลุมแมน ้ํา เนอื่ งจากมดี ินอดุ มสมบรู ณแ ละมกี ารชลประทานท่ีดี จึงสามารถ
ทํานาไดปล ะ 2 คร้งั แตผลผลิตรวมยงั นอยกวาภาคกลางและภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ นอกจากน้ี ยังประกอบ
อาชีพทําไร (ขาวโพด ถ่ัวเหลือง ถั่วลิสง หอม กระเทียม ออย) การทําสวนผลไม (ล้ินจี่ ลําไย) อุตสาหกรรม
(โรงบมใบยาสูบ การผลิตอาหารสาํ เรจ็ รปู และอาหารกระปอง) อุตสาหกรรมพ้ืนเมือง (เคร่ืองเขิน เคร่ืองเงิน
การแกะสลักไมสัก การทํารมกระดาษ) อุตสาหกรรมการทองเท่ียวเน่ืองจากภาคเหนือโดยเฉพาะจังหวัด
เชยี งใหม มที ัศนียภาพที่สวยงาม มโี บราณสถานมากมายและมวี ัฒนธรรมที่เกาแกทง่ี ดงาม

ภาคตะวนั ตก เนือ่ งจากทวิ เขาในภาคตะวันตกเปนทวิ เขาที่ทอดยาวมาจากภาคเหนือ ดังน้ันลักษณะ
ภมู ิประเทศจงึ คลายกับภาคเหนอื คอื เปนทิวเขาสูงสลบั กบั หุบเขาแคบ ซงึ่ เกดิ จากการเซาะของแมนํ้า ลําธาร

31

อยางรวดเร็ว ทิวเขาสวนใหญเปนหินคอนขางเกา สวนใหญเปนหินปูน พบมากที่จังหวัดกาญจนบุรี ราชบุรี
และเพชรบุรี ภเู ขาหนิ ปนู เหลานี้จะมยี อดเขาหยกั แหลมตะปมุ ตะปา นอกจากน้ยี งั มหี นิ ดนิ ดาน หินแกรนติ และ
หนิ ทราย และมที ่รี าบในภาคตะวนั ตก ไดแ ก ท่รี าบลุมแมนาํ้ แควใหญ ท่ีราบลมุ แมนา้ํ แควนอย ทร่ี าบลมุ แมน า้ํ
แมก ลองมที รพั ยากรทีส่ ําคญั คือ

1) ทรัพยากรดิน ดินในภาคตะวันตกสวนใหญเกิดจากการผุพังของหินปูน ดินจึงมีสภาพเปน
กลางหรือดา ง ซ่ึงถอื วาเปนดนิ ที่อดุ มสมบรู ณ เหมาะกับการเพาะปลูก

2) ทรพั ยากรนา้ํ ภาคตะวนั ตกเปนภาคท่ีมีฝนตกนอยกวาทุกภาคในประเทศ เพราะอยูในพื้นท่ี
อับฝน แบงเปน 2 ประเภท คอื

1. น้ําบนผิวดิน ไดแก แมนํ้า ลําธาร หนองบึงและอางเก็บนํ้าตาง ๆ แมวาจะมีฝนตกนอย
เพราะมที วิ เขาตะนาวศรแี ละทิวเขาถนนธงชัยขวางลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ดังนั้นฝนจึงตกมากบนภูเขา ซึ่งใน
ภาคตะวันตกมีปาไมและแหลงตนน้ําลําธารอุดมสมบูรณ จึงทําใหตนนํ้าลําธารมีนํ้าหลอเลี้ยงอยูเสมอ เชน
แมน้ําแควใหญ แมนาํ้ แควนอย และแมน า้ํ แมกลอง นอกจากน้ีลักษณะภูมิประเทศในภาคตะวันตก มีลักษณะ
เปนหบุ เขาจํานวนมาก จงึ เหมาะอยางย่งิ ในการสรา งเขอ่ื น เชน เขือ่ นภมู ิพล เขื่อนศรนี ครนิ ทร เขื่อนวชิราลงกรณ
เขือ่ นเขาแหลม เขื่อนแกง กระจาน และเขือ่ นปราณบรุ ี

2. นํ้าใตดิน ภาคตะวันตกมีการขุดบอบาดาล ปริมาณน้ําที่ขุดไดไมมากเทากับนํ้าบาดาล
ในภาคกลาง

3) ทรพั ยากรแร ภาคตะวันตกมีหินอคั นแี ละหนิ แปร มีดีบุกซ่ึงพบในหินแกรนิต ทังสเตน ตะก่ัว
สงั กะสี เหลก็ รัตนชาติ และหินนาํ้ มนั

4) ทรัพยากรปาไม ภาคตะวันตกมคี วามหนาแนนของปาไมรองจากภาคเหนือ จังหวัดท่ีมีปาไม
มากทส่ี ุด คือ จังหวดั กาญจนบุรี

5) ทรัพยากรดานการทอ งเทยี่ ว สถานที่ทอ งเทย่ี วสว นใหญเปนภูเขา ถํ้า น้ําตก เขื่อน อุทยาน-
แหง ชาติ ฯลฯ

ประชากร ภาคตะวันตกเปน ภาคท่มี ีความหนาแนนของประชากรนอ ยทส่ี ุด จงั หวดั ที่มีประชากร
หนาแนน ทส่ี ดุ คือ จงั หวัดราชบรุ ี เพราะมีพืน้ ทเี่ ปน ท่รี าบลมุ แมนํา้

การประกอบอาชีพของประชากร ภาคตะวันตกมีลักษณะภูมิประเทศเปนภูเขาคลายกับ
ภาคเหนอื และมพี ืน้ ท่รี าบคลา ยกบั ภาคกลาง ประชากรสวนใหญจงึ อาศยั ในพ้ืนทรี่ าบและมอี าชีพเกษตรกรรม
อาชีพท่ีสําคัญคือการทําไรออย (โดยเฉพาะท่ีจังหวัดกาญจนบุรีและราชบุรี) ปลูกสับปะรด ขาวโพด
มนั สําปะหลัง ฝาย องนุ การทาํ นา ตามท่ีราบลุมแมน้ํา การเลี้ยงโคนม การทําโองเคลือบดินเผา ทํานาเกลือ
อาชีพการประมง การทําเคร่ืองจักสาน นอกจากนี้ยังมี การทําเหมืองแรดีบุก ทังสเตน ตะกั่ว สังกะสี เหล็ก
รตั นชาตแิ ละหินนํ้ามนั

ภาคกลาง ภมู ปิ ระเทศในภาคกลางเปนท่รี าบลมุ แมน้ํา เพราะแมนํ้าหลายสายไหลผานทําใหเกิดการ
ทับถมของตะกอนและมภี เู ขาชายขอบ พน้ื ที่แบงไดเ ปน 2 เขตยอ ย คือ ภาคกลางตอนบน เปนทร่ี าบลุมแมนํ้า
และท่ีราบลูกฟูก มีเนินเขาเต้ีย ๆ สลับเปนบางตอน ในเขตภาคกลางตอนลาง คือต้ังแตบริเวณจังหวัด

32

นครสวรรคลงมาจนถึงอา วไทย มลี ักษณะเปน ท่ีราบลมุ น้าํ ทว มถงึ และเปน ลานตะพกั ลํานํา้ (Stream Terrace)
ทรพั ยากรที่สาํ คญั คอื

1) ทรัพยากรดิน ภาคกลางมีดินที่อุดมสมบรู ณกวาภาคอ่นื ๆ เพราะเกดิ จากการทับถมของโคลน
ตะกอนที่มากบั แมน า้ํ ประกอบกบั มกี ารชลประทานทดี่ ี จึงทาํ การเกษตรไดด ี เชน การทํานา

2) ทรัพยากรนา้ํ ภาคกลางเปน ภาคที่มีนาํ้ อุดมสมบูรณ แบงเปน 2 ประเภท คอื
1. น้ําบนผิวดิน มีแมนํ้าท่ีสําคัญหลอเลี้ยง คือ แมน้ําเจาพระยา ซึ่งจะมีนํ้าไหลตลอดทั้งป

เนื่องจากมแี มน ้าํ สายเล็ก ๆ จํานวนมากไหลลงมาสแู มน ้ําเจาพระยา มกี ารชลประทานท่ีดี เพื่อกักเก็บน้ําไวใช
ในฤดูแลง นอกจากน้ยี ังมีทะเลสาบขนาดใหญ คอื บึงบอระเพ็ด ซึ่งเปนแหลงเพาะพันธุปลาน้ําจืดท่ีใหญที่สุด
ในโลก

2. น้าํ ใตด นิ เน่อื งจากภาคกลางมีลักษณะเปนแองขนาดใหญ จงึ มีบริเวณนา้ํ บาดาลมากท่ีสุด
ของประเทศ

3) ทรัพยากรแร หนิ ในภาคกลางสวนใหญเ ปน หินเกิดใหมท่ีมีอายุนอย มีหินอัคนีซ่ึงเปนหินเกา
พบไดท างตอนเหนือและชายขอบของภาคกลางและมีน้าํ มนั ท่จี งั หวดั กาํ แพงเพชร

4) ทรัพยากรปาไม ภาคกลางมีพ้ืนที่ปาไมนอยมาก จังหวัดท่ีมีปาไมมากคือจังหวัดท่ีอยูทาง
ตอนบนของภาค คือ จงั หวดั เพชรบูรณ พษิ ณุโลก อุทยั ธานี สโุ ขทยั และกําแพงเพชร

5) ทรัพยากรดานการทองเที่ยว สถานท่ีทองเท่ียวสวนใหญเปนน้ําตกและแมนํ้า ซ่ึงปจจุบัน
แมนํ้าหลายสายจะมีตลาดนํ้าใหนักทองเที่ยวไดมาเย่ียมชมมีวนอุทยาน หวยขาแขง จังหวัดอุทัยธานี
นอกจากนี้ยงั มีโบราณสถานที่เปน มรดกโลก เชน อุทยานประวตั ิศาสตรท ่ีจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา

ประชากร ภาคกลางเปน ภาคท่ีมปี ระชากรมากเปน อนั ดบั สองรองจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ประชากรสว นใหญจะหนาแนนมากในบริเวณท่ีราบลมุ แมนาํ้ เจาพระยา เพราะความอุดมสมบูรณเ หมาะแกก าร
เพาะปลกู จังหวดั ท่ตี ดิ กับชายทะเลก็จะมีประชากรอาศัยอยหู นาแนน นอกจากนภี้ าคกลางจะมอี ัตราการเพิ่มของ
ประชากรรวดเร็วมาก เน่อื งจากมกี ารอพยพเขา มาหางานทาํ ในเมอื งใหญก นั มาก

การประกอบอาชีพของประชากร ภาคกลางมีความอุดมสมบูรณ ทั้งทรัพยากรดิน และนํ้า
นับเปนแหลงอูข า วอนู ้ําของประเทศ ในภาคกลางตอนบนประกอบอาชีพทํานาขาวและทําไร (ขาวโพด ออย
มันสําปะหลัง) รองลงมาคือ อุตสาหกรรม ภาคกลางตอนลางจะมีอาชีพปลูกขาวในบริเวณราบลุมแมนํ้า
เนอ่ื งจากทด่ี นิ เปน ดนิ เหนียวมนี า้ํ แชขังและมีระบบการชลประทานดี จึงสามารถทํานาไดปละ 2 ครั้ง นับเปน
แหลง ปลูกขา วท่ีใหญท ส่ี ดุ ในประเทศและมีการทาํ นาเกลอื นากงุ ในแถบจังหวดั ชายทะเล

ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเปนภาคท่ีเล็กท่ีสุด ตอนเหนือของภาคมีภูมิประเทศเปน ที่ราบลุม
เกดิ จากการเคลอ่ื นไหวและการบีบอัดตัวของเปลือกโลก ทําใหตอนกลางของภาคโกงตัวเปนทิวเขาไปจนถึง
ดานตะวันออกเฉียงใต ขณะเดียวกันตอนเหนือของภาคเกิดการทรุดตัวเปนแองกลายเปนท่ีราบลุมแมน้ํา
และเกดิ การทับถมของโคลนและตะกอน ตอนกลางของภาคเปนทวิ เขา ภูมิประเทศสวนใหญเ ปน หุบเขาแคบ ๆ

33

มีท่ีราบตามหุบเขา เรียกวา ท่ีราบดินตะกอนเชิงเขาตอนใตของภาคเปนท่ีราบชายฝงทะเลภาคตะวันออก
มที รัพยากรท่สี ําคัญ คอื

1) ทรพั ยากรดนิ ดินสว นใหญไมค อ ยสมบรู ณ เพราะเปนดินรวนปนทรายและน้ําฝน จะชะลาง
ดิน เหมาะแกก ารปลูกพืชสวน เชน ทุเรียน เงาะ ระกาํ สละ มังคดุ ฯลฯ และใชปลูกพืชไร เชน มันสําปะหลัง
ออย ฯลฯ การทํานาก็มบี า งบริเวณตอนปลายของแมน ํา้ บางปะกง

2) ทรัพยากรน้ํา ภาคตะวันออกมีนํ้าอยางอุดมสมบูรณ แตเนื่องจากแมนํ้าในภาคตะวันออกเปน
แมน้ําสายส้ัน ๆ ทําใหการสะสมน้ําในแมน้ํามีนอย เม่ือถึงชวงหนาแลงมักจะขาดแคลนน้ําจืด เพราะเปน
ภูมภิ าคท่ีมนี กั ทองเที่ยวจํานวนมาก นอกจากน้ีในหนา แลงนํ้าทะเลเขา มาผสมทาํ ใหเ กิด น้ํากรอย ซง่ึ ไมส ามารถ
ใชบริโภคหรือเพาะปลกู ได การสรางเขอื่ นกไ็ มสามารถทําไดเ พราะสภาพภูมปิ ระเทศไมอ าํ นวย

3) ทรัพยากรแร ภาคตะวันออกมีแรอยูบาง เชน เหล็ก แมงกานีส พลวง แตมีแรท่ีมีช่ือเสียง
คอื แรรตั นชาติ เชน พลอยสีแดง พลอยสนี ้ําเงินหรือไพลินและพลอยสีเหลอื ง โดยผลิตเปนสนิ คาสง ออกไปขาย
ยังตา งประเทศ

4) ทรัพยากรปาไม ปาไมในภาคตะวันออกจะเปนปาดงดิบและปาชายเลน แตก็ลดจํานวนลง
อยางรวดเร็ว เพราะมกี ารขยายพืน้ ทกี่ ารเกษตร สรา งนคิ มอุตสาหกรรม ฯลฯ

5) ทรัพยากรดานการทอ งเทยี่ ว เปนภาคทม่ี ที รัพยากรทองเที่ยวมากมาย โดยเฉพาะจังหวดั
ท่อี ยูชายทะเล เกาะตางๆ นาํ้ ตก ฯลฯ

ประชากร ภาคตะวนั ออกเปนอกี ภาคหนึ่งท่ีมีการเพิ่มของประชากรคอนขางสูง เน่ืองจากมีการ
ยายมาทํามาหากิน การเจริญเตบิ โตของเขตอตุ สาหกรรม รวมท้งั การทองเทย่ี วเปน เหตุจงู ใจใหคนเขามาตั้งถ่ิน
ฐานเพิ่มมากขนึ้

การประกอบอาชีพของประชากร มีอาชพี ที่สําคญั คือ
1. การเพาะปลูก มกี ารทาํ นา ทาํ สวนผลไม ท้ังเงาะ ทเุ รียน มงั คุด ระกํา สละ สวนยางพารา
ทาํ ไรอ อย และมนั สําปะหลัง
2. การเลยี้ งสตั ว เปน แหลงเล้ยี งเปดและไก โดยเฉพาะท่ีจงั หวัดชลบุรีและฉะเชงิ เทรา
3. การทําเหมืองแร ภาคตะวันออกเปนแหลงที่มีแรรัตนชาติมากที่สุด เชน ทับทิม ไพลิน
บษุ ราคัม สง ผลใหป ระชากรประกอบอาชีพเจยี รนยั พลอยดว ย โดยเฉพาะจงั หวัดจนั ทบุรแี ละตราด
4. อตุ สาหกรรมในครวั เรือน เชน การผลติ เสอ่ี จันทบุรี เคร่อื งจกั สาน
5. การทองเที่ยว เน่ืองจากมีทัศนียภาพที่สวยงามจากชายทะเลและเกาะตาง ๆ อุตสาหกรรมการ
ทองเทีย่ วจึงสรา งรายไดใ หก บั ภมู ิภาคนี้เปน อยางมาก
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ลกั ษณะภมู ิประเทศสว นใหญ เปนทรี่ าบสูงแองกะทะและยังมีท่ีราบลุมแมนํ้าชี
และแมนาํ้ มูลทเ่ี รยี กวา แอง โคราช ซ่งึ เปนทีร่ าบลมุ ขนาดใหญท ี่สดุ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนอื เพราะมีแมน า้ํ
มลู และแมน ํ้าชไี หลผาน จึงมกั จะมนี าํ้ ทวมเมอื่ ฤดนู าํ้ หลาก มีทรพั ยากรทส่ี าํ คัญ คอื
1) ทรัพยากรดิน ดินในภาคนี้มักเปนดินทราย ไมอุมน้ํา ทําใหการเพาะปลูกไดผลนอย
แตก ส็ ามารถแบงไดตามพนื้ ท่ี คือ

34

บริเวณทีร่ าบลุมแมนํ้า แมน าํ้ ชี แมน ํา้ มูลและแมน้ําโขง จะมีความอุดมสมบูรณคอนขางมาก
นิยมปลูกผกั และผลไม สวนท่ีเปน นา้ํ ขงั มักเปน ดนิ เหนียว ใชทํานา

บริเวณลาํ ตะพักลาํ นํา้ สว นใหญเ ปน ดินทราย ใชทํานาไดแตผลผลิตนอย เชน ทุงกุลารองไห
บริเวณทส่ี ูงกวา นี้ นิยมปลกู มนั สําปะหลงั

บรเิ วณท่สี งู และภูเขา เนอ้ื ดินหยาบเปนลูกรัง ท่ดี ินนี้มักเปนปา ไม
2) ทรัพยากรนํา้ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื จะมีปญ หาในเรอ่ื งของน้ํามากกวาภาคอน่ื ๆ แมวาฝน
จะตกหนัก แตใ นหนาแลง จะขาดแคลนน้าํ เพอ่ื การเกษตรและการบรโิ ภค นาํ้ ในภาคนี้ จะแบงเปน 2 ประเภท คือ

น้ําบนผิวดิน ไดแก น้ําในแมนํ้าชี แมนํ้ามูลและแมนํ้าสายตาง ๆ ในฤดูฝน จะมีปริมาณ
นาํ้ มาก แตใ นฤดูแลงน้ําในแมนํ้าจะมนี อย เนอ่ื งจากพ้นื ดนิ เปน ดนิ ทราย เมื่อฝนตกไมสามารถอุมนํ้าได สวนนํ้า
ในแมน า้ํ ลาํ คลองกม็ ีปรมิ าณนอย เพราะน้ําจะซึมลงพืน้ ทราย แตภาคนถี้ ือวา โชคดีท่ีมเี ขอื่ น อางเก็บน้าํ และฝาย
มากกวา ทกุ ๆ ภาค

นํา้ ใตด นิ ปริมาณนํ้าใตดนิ มมี าก แตมปี ญหานํา้ กรอ ยและนํ้าเค็ม การขุดบอตองขุดใกลแหลง
แมนา้ํ เทา นัน้ หรอื ตอ งขดุ ใหลึกจนถงึ ช้นั หนิ แข็ง

3) ทรพั ยากรแร ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือมีแรโพแทชมากท่ีสุด จะมีอยูมากบริเวณตอนกลาง
และตอนเหนอื ของภาค นอกจากนยี้ ังมแี รเ กลอื หนิ มากทส่ี ุดในประเทศไทย

4) ทรัพยากรปาไม ปาไมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะเปนปาแดง ซึ่งเปนปาผลัดใบเปน
ปา โปรง ปาแดงชอบดินลกู รงั หรือดนิ ทราย เชน ไมเตง็ รัง พลวง พะเยา ฯลฯ

5) ทรัพยากรดานการทองเท่ียว มีแหลงทรัพยากรธรรมชาติและที่มนุษยสรางข้ึน เชน
วิวทวิ ทัศน (ภกู ระดงึ ) เขื่อน ผาหนิ (จังหวดั อุบลราชธานี) หลกั ฐานทางโบราณคดี (จงั หวดั อุดรธานี)

ประชากร ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มปี ระชากรหนาแนน อาศัยอยูตามแองโคราชบรเิ วณที่ราบลมุ
ของแมน ํา้ ชีและแมน ํ้ามูล

การประกอบอาชีพของประชากร ประชากรประกอบอาชีพทีส่ าํ คญั คอื
- การเพาะปลกู เชน การปลกู ขาว การทําไร (ขาวโพด มันสําปะหลัง ออย ปอ ยาสบู )
- การเล้ยี งสัตว เชน โค กระบือ และการประมงตามเขอื่ นและอางเกบ็ นา้ํ
- อตุ สาหกรรม สวนใหญเ ปน การแปรสภาพผลผลิตทางการเกษตร เชน โรงสีขา ว
โรงงานมนั สําปะหลงั อดั เมด็ โรงงานทําโซดาไฟ (จากแรเ กลอื หนิ และแรโ พแทช)
ภาคใต ลกั ษณะภูมปิ ระเทศของภาคใตเ ปนคาบสมุทร มีทิวเขาสูงทอดยาวจากเหนือจรดใต มีทะเล
ขนาบทั้ง 2 ดา น ทิวเขาที่สําคัญ คอื ทวิ เขาภูเก็ต ทิวเขานครศรีธรรมราชและทิวเขาสันกาลาคีรี และมีแมน้ํา
ตาปซ่ึงเปนแมนํ้าที่ยาวและมีขนาดใหญท่ีสุดของภาคใต ที่เหลือจะเปนแมนํ้าสายเล็กๆ และส้ัน เชน แมนํ้า
ปต ตานี แมน ้ําสายบรุ ี และแมนาํ้ โก-ลก มีชายฝงทะเลทั้งทางดานอาวไทย ซึ่งมีลักษณะเปนชายฝงแบบยกตัว
เปน ทร่ี าบชายฝง ทเ่ี กดิ จากคลืน่ พดั พาทรายมาทบั ถม จนกระท่งั กลายเปนหาดทรายทสี่ วยงาม และมีชายฝงทะเล
ดา นทะเลอันดามนั ท่ีมลี กั ษณะเวา แหวงเพราะเปน ฝงทะเลทจ่ี มนํ้าและมปี า ชายเลนข้ึนอยา งหนาแนน

35

1) ทรัพยากรดิน ลกั ษณะดินของภาคใตจ ะมี 4 ลักษณะ คอื
1. บรเิ วณชายฝง เปนดนิ ทราย ท่ีเหมาะแกการปลกู มะพราว
2. บริเวณที่ราบ ดินบริเวณท่ีราบลุมแมนํ้า เกิดจากการทับถมของตะกอนเปนชั้นๆ

ของอนิ ทรียว ัตถุ นยิ มทํานา
3. บรเิ วณที่ดอนยังไมไดบ อกลกั ษณะดิน นยิ มปลูกปาลม นํ้ามนั และยางพารา
4. บริเวณเขาสูง มีลกั ษณะเปนดินที่มหี นิ ติดอยู จงึ ไมเ หมาะแกการเพาะปลูก

2) ทรัพยากรน้ํา แมน ้าํ สวนใหญใ นภาคใตเ ปน สายสน้ั ๆ แตกม็ ีนํา้ อุดมสมบูรณ เนื่องจากมฝี นตก
เกือบตลอดป แตบ างแหง ยังมีการขดุ นา้ํ บาดาลมาใช

3) ทรัพยากรแร แรทส่ี าํ คญั ในภาคใต ไดแก ดบี ุก (จงั หวัดพังงา) ทังสเตน เหล็ก ฟลูออไรด ยิปซ่ัม
ดินขาว ถา นหนิ ลิกไนต

4) ทรัพยากรปาไม ปา ไมใ นภาคใตเปนปาดงดิบและปา ชายเลน
5) ทรัพยากรดานการทองเที่ยว มีทรัพยากรดานการทองเท่ียวมาก เชน ทิวทัศนตามชายฝงทะเล
เกาะ และอทุ ยานแหงชาตทิ างทะเล นาํ้ ตก สุสานหอยลานปท ่ีจงั หวัดกระบ่ี
ประชากร ประชากรอาศยั อยหู นาแนนตามท่ีราบชายฝงต้ังแตจังหวัดนครศรีธรรมราชลงไปถึง
จังหวัดปตตานี เพราะเปน ท่ีราบผนื ใหญ
การประกอบอาชีพของประชากร อาชีพทส่ี าํ คญั คอื
- การทาํ สวน เชน ยางพารา ปาลม นา้ํ มันและสวนผลไม
- การประมง ทํากนั ทกุ จังหวัดท่มี ชี ายฝงทะเล
- การทาํ เหมอื งแรด ีบกุ
- การทองเที่ยว ภาคใตมีภูมิประเทศที่สวยงาม ทําใหมีแหลงทองเที่ยวตามธรรมชาติมากมาย
หลายแหง เชน ทิวทัศนชายฝงทะเล เกาะแกงตาง ๆ ฯลฯ สามารถทํารายไดจากการทองเที่ยวมากกวา
ภาคอื่น ๆ
5.2 ความสาํ คัญของการดาํ รงชีวิตใหสอดคลองกับทรัพยากรของประเทศในเอเชีย
ลกั ษณะประชากรของทวีปเอเชีย เอเชยี เปนทวปี ทใ่ี หญแ ละมีประชากรมากเปน อันดับ 1 ของโลก
ถือเปนทวีปแหลง อารยธรรม เพราะเปน ดินแดนท่คี วามเจริญเกิดขึ้นกอนทวีปอื่น ๆ ประชากรรูจักและตั้งถ่ิน
ฐานกันมากอน สวนใหญอาศัยอยูหนาแนนบริเวณชายฝงทะเลและท่ีราบลุมแมน้ําตาง ๆ เชน ลุมแมน้ํา
เจาพระยา ลุมแมน้ําแยงซีเกียง ลุมแมน้ําแดงและลุมแมนํ้าคงคา สวนบริเวณที่มีประชากรเบาบางจะเปน
บริเวณทแ่ี หง แลง กันดารหนาวเยน็ และในบริเวณที่เปนภเู ขาซบั ซอ น ซึ่งสว นใหญจะเปน บริเวณกลางทวปี
ประชากรในเอเชียประกอบดว ยหลายเชอื้ ชาติ ดงั นี้
1) กลมุ มองโกลอยด มีจาํ นวน 3 ใน 4 ของประชากรทั้งหมดของทวีป มีลักษณะเดน คอื
ผวิ เหลือง ผมดําเหยยี ดตรง นยั นตารี จมกู แบน อาศยั อยูในประเทศ จนี ญ่ปี นุ เกาหลี และไทย
2) กลมุ คอเคซอยด เปน พวกผวิ ขาว หนา ตารปู รางสูงใหญเหมือนชาวยโุ รป ตา ผมสีดาํ สวนใหญ
อาศยั อยูในเอเชยี ตะวันตกเฉยี งใตและภาคเหนอื ของอินเดีย ไดแ ก ชาวอาหรับ ปากีสถาน อินเดยี เนปาล

36

3) กลมุ นกิ รอยด เปน พวกผิวดํา ไดแก ชาวพื้นเมืองภาคใตของอินเดีย พวกเงาะซาไก มีรูปราง
เล็ก ผมหยกิ นอกจากนี้ยังอยูในศรีลังกาและหมูเกาะในเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต

4) กลมุ โพลิเนเซียน เปน พวกผิวสีคลํา้ อาศยั อยตู ามหมเู กาะแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไดแก
ชนพน้ื เมืองในหมเู กาะของประเทศอินโดนีเซยี

ประชากรของทวีปเอเชยี จะกระจายตัวอยตู ามพ้นื ทตี่ าง ๆ ซ่งึ ขึ้นอยูก ับความอดุ มสมบรู ณข องพ้ืนที่
ความเจรญิ ทางดา นวชิ าการในการนําเทคโนโลยีมาใชกับทรัพยากรธรรมชาติ เพ่ือใหเกิดประโยชนสูงสุดและ
ทําเลท่ีตั้งของเมืองท่ีเปนศูนยกลาง สวนใหญจะอยูกันหนาแนนบริเวณตามที่ราบลุมแมนํ้าใหญ ๆ ซ่ึงที่ดิน
อดุ มสมบรู ณ พืน้ ทเี่ ปนทรี่ าบเหมาะแกการปลูกขา วเจา เขตประชากรที่อยกู นั หนาแนน แบง ไดเปน 3 ลกั ษณะ คอื

1. เขตหนาแนนมาก ไดแก ที่ราบลุมแมนํ้าฮวงโห แมน้ําแยงซีเกียง ชายฝงตะวันออก ของจีน
ไตห วนั ปากแมน้ําแดง (ในเวียดนาม) ทีร่ าบลุม แมน้ําคงคา (อนิ เดยี ) ลุมแมนํ้าพรหมบุตร (บังคลาเทศ) ภาคใต
ของเกาะฮอนชู เกาะควิ ชู เกาะซโิ กกุ (ในญ่ีปุน) เกาะชวา (ในอนิ โดนเี ซยี )

2. เขตหนาแนนปานกลาง ไดแก เกาหลี ภาคเหนือของหมูเกาะญ่ีปุน ที่ราบดินดอนสามเหลี่ยม
ปากแมน้ําโขงในเวียดนาม ที่ราบลุมแมน้ําเจาพระยา ที่ราบปากแมนํ้าอิระวดีในพมา คาบสมุทรเดคคาน
ในอินเดยี ลมุ แมน า้ํ ไทกริส-ยเู ฟรตสี ในอริ ัก

3. เขตบางเบามาก ไดแก เขตไซบเี รยี ในรัสเซีย ทะเลทรายโกบีในมองโกเลีย แควนซินเกียงของจีน
ทีร่ าบสูงทเิ บต ทะเลทรายในคาบสมุทรอาหรบั ซ่งึ บรเิ วณแถบนีจ้ ะมอี ากาศหนาวเยน็ แหงแลง และทุรกนั ดาร

ลกั ษณะการต้ังถิ่นฐาน
ประชากรสวนใหญ อาศัยอยูหนาแนนบริเวณชายฝงทะเลและที่ราบลุมแมนํ้าตาง ๆ เชน ลุมแมน้ํา
เจา พระยา ลุมแมน้าํ แยงซเี กยี ง ลมุ แมน ้ําแดงและลุม แมน ้ําคงคา และในเกาะบางเกาะท่มี ดี ินอดุ มสมบรู ณ เชน
เกาะของประเทศฟล ิปปนส อินโดนเี ซียและญี่ปนุ สวนบรเิ วณท่ีมปี ระชากรเบาบาง จะเปนบริเวณท่ีแหงแลง
กันดาร หนาวเย็นและในบริเวณที่เปนภูเขาซับซอน ซ่ึงสวนใหญจะเปนบรเิ วณกลางทวปี มเี พียงสว นนอย
ที่อาศัยอยูในเมือง เมืองที่มีประชากรอาศัยเปนจํานวนมาก ไดแก โตเกียว บอมเบย กัลกัตตา โซล มะนิลา
เซียงไฮ โยะโกะฮะมะ เตหะราน กรุงเทพมหานคร เปนตน
ลักษณะทางเศรษฐกิจ ประชากรของทวีปเอเชียประกอบอาชีพท่ีตางกันขึ้นอยูกับสภาพแวดลอม
ทางธรรมชาติ ไดแก ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดลอมทางวัฒนธรรม ไดแก
ความเจริญในดา นวชิ าการ เทคโนโลยี การปกครองและขนบธรรมเนยี มประเพณี แบงได 3 กลุมใหญ ๆ คือ

1) เกษตรกรรม
การเพาะปลูก นับเปนอาชีพที่สําคัญในเขตมรสุมเอเชีย ไดแก เอเชียตะวันออก เอเชีย

ตะวนั ออกเฉยี งใตแ ละเอเชียใต ทําการเพาะปลกู ประมาณรอ ยละ 70 - 75 % ของประชากรทัง้ หมด เน่ืองจาก
ทวีปเอเชียมภี ูมปิ ระเทศเปนทร่ี าบลุมแมน ํ้าอันกวางใหญหลายแหง มีที่ราบชายฝงทะเล มีภูมิอากาศท่ีอบอุน
มคี วามช้ืนเพียงพอ นอกจากนยี้ ังมกี ารนําเทคโนโลยีที่ทันสมัยเขามาชวย หลายประเทศกลายเปนแหลง อาหาร
ที่สาํ คัญของโลก จะทําในทรี่ าบลุมของแมน ้ําตา ง ๆ พืชทีส่ าํ คญั ไดแ ก ขา ว ยางพารา ปาลม ปาน ปอ ฝาย ชา
กาแฟ ขา วโพด สม มนั สาํ ปะหลงั มะพรา ว

37

การเลี้ยงสตั ว เล้ียงมากในชนบท มีท้งั แบบฟารมขนาดใหญแ ละปลอยเลี้ยงตามทุงหญา ขึ้นอยู
กบั ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ ภมู อิ ากาศและความนยิ ม ซง่ึ เลี้ยงไวใ ชเ น้ือและนมเปนอาหาร ไดแก อฐู แพะ แกะ สุกร
โค กระบือ มาและจามรี

การทําปาไม เน่ืองจากเอเชียตั้งอยูในเขตปาดงดิบ มรสุมเขตรอนและเขตอบอุน จึงไดรับ
ความช้นื สงู เปน แหลงปาไมท ่ใี หญแ ละสําคัญของโลกแหงหน่งึ มที งั้ ปาไมเ นอื้ ออ นและปา ไมเน้ือแข็ง

การประมง นบั เปน อาชีพทส่ี าํ คัญของประชากรในเขตริมฝงทะเล ซ่ึงมีหลายประเภท ไดแก
ประมงน้ําจืด ประมงนํ้าเค็ม การงมหอยมุกและเลยี้ งในบริเวณลาํ คลอง หนองบงึ และชายฝง ทะเล

2) อุตสาหกรรม ไดแก
1. การทาํ เหมืองแร ทวปี เอเชียอุดมสมบูรณไปดวยแรธาตุและแรเชื้อเพลิง ไดแก แรเหล็ก

ถา นหนิ ปโ ตรเลยี มและกา ซธรรมชาติ ซ่ึงจนี เปน ประเทศทม่ี ีการทาํ เหมืองแรมากที่สุดในทวีปเอเชีย สวนถานหิน
เอเชียผลิตถานหินมากที่สุดในโลก แหลงผลิตสําคัญคือ จีน อินเดีย รัสเซีย และเกาหลี แรเหล็ก ผลิตมาก
ในรัสเซีย อนิ เดยี และจนี สวนนํา้ มันดบิ และกา ซธรรมชาติ เอเชยี เปน แหลงสํารองและแหลง ผลิตนํ้ามันดิบและ
กาซธรรมชาติมากทีส่ ุดในโลก ซง่ึ มมี ากบริเวณอา วเปอรเ ซยี ในภมู ิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉยี งใต ไดแก อิหราน
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส อิรัก คูเวต โอมาน กาตาร ประเทศที่ผลิตน้ํามันดิบมาก คือ ซาอุดิอาระเบียและจีน
นอกจากนย้ี ังพบในอินโดนเี ซีย มาเลเซีย บรไู น ปากีสถาน พมา อุซเบกิสถาน เติรก เมนิสถาน อาเซอรไ บจาน

2. อตุ สาหกรรมทอผา ผลติ ภัณฑจากไมแ ละหนังสตั ว ซ่งึ อตุ สาหกรรมเหลา น้ี หลายประเทศ
ในเอเชียเริ่มจากอุตสาหกรรมในครัวเรือน แลวพัฒนาขึ้นเปนโรงงานขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ
นอกจากนยี้ ังมีอุตสาหกรรมอาหารสาํ เร็จรปู เครือ่ งจกั รกล ยานพาหนะ เคมี

38

3) พาณชิ ยกรรม ไดแก การสงสินคาออกและสินคานําเขาประเทศ สินคาที่ผลิตในทวีปเอเชีย
ท่เี ปนสนิ คา ออกสวนมากจะเปนเครือ่ งอปุ โภคบรโิ ภคและวัตถดุ ิบ ไดแก ขาวเจา กาแฟ ชา นํ้าตาล เคร่ืองเทศ
ยางพารา ฝาย ไหม ปอ ปาน ขนสัตว หนังสัตว ดีบุก ฯลฯ ญี่ปุนและจีนมีปริมาณการคากับตางประเทศ
มากที่สุดในทวีป

สนิ คา ออก จะเปน ประเภทเครอ่ื งจกั ร ประเทศทส่ี ง ออกมาก คอื ญ่ีปนุ สว นประเภทอาหาร เชน ขา วเจา
ขา วโพด ถว่ั เหลือง ไดแ ก ไทย พมา และเวยี ดนาม

สว นสินคา นาํ เขา ประเทศ สวนมากจะส่ังซ้ือจากยุโรปและอเมริกา ไดแก ผลิตภัณฑจากอุตสาหกรรม
เครือ่ งโลหะสาํ เรจ็ รปู เชน เคร่ืองจกั ร เคร่ืองยนต เคร่อื งไฟฟา เคมี เคมีภณั ฑ เวชภณั ฑต าง ๆ

กจิ กรรมที่ 1.5 ความสาํ คญั ของการดํารงชีวติ ใหสอดคลองกับทรพั ยากรในประเทศ

1) ใหผ ูเ รียนอธิบายวาในภาคเหนอื ของไทย ประชากรจะอาศัยอยูหนาแนนในบริเวณใดบาง พรอมให
เหตุผล ประชากรสวนใหญป ระกอบอาชีพอะไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.........................................................

39

2) ผูเรียนคิดวาภาคใดของไทยท่ีสามารถสรางรายไดจากการทองเที่ยวมากท่ีสุด พรอมใหเหตุผล
และสถานท่ที องเทยี่ วดงั กลาว มอี ะไรบาง พรอมยกตวั อยาง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.........................................................

3) ปจ จัยใดทท่ี าํ ใหมีประชากรอพยพเขามาอาศัยอยใู นภาคตะวันออกมากขึ้น
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................

4) ทวปี ใดทก่ี ลาวกนั วา เปนทวีป “แหลง อารยธรรม” เพราะเหตใุ ดจงึ กลาวเชนนนั้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

40

5) ในทวปี เอเชยี ประชากรจะอาศยั อยกู ันหนาแนน บรเิ วณใดบา ง เพราะเหตใุ ด
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

41

บทท่ี 2
ประวัติศาสตรทวีปเอเชีย

สาระสําคญั

ทวปี เอเชยี ประกอบดวย ประเทศสมาชกิ หลายประเทศ ในท่นี ีจ้ ะกลาวถึงประวัติศาสตรของประเทศ
ในแถบเอเชียท่ีมีพรมแดนติดและใกลเคียงกับประเทศไทย ไดแก ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน อินเดีย
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรฐั แหง สหภาพพมา อนิ โดนเี ซีย ฟล ปิ ปนส และประเทศญ่ีปุน
โดยสงั เขป นอกจากน้ไี ดเ กิดเหตุการณส ําคัญ ๆ ในประเทศไทยและประเทศในทวปี เอเชยี ท่ีนา สนใจ เชน ยุคลา
อาณานิคม และยคุ สงครามเยน็ เปนตน

ผลการเรยี นรูที่คาดหวัง

หลังจากผเู รยี นเรียนเรอ่ื งประวัติศาสตรทวีปเอเชยี จบแลว ทาํ ใหผ ูเรียนสามารถ
1. บอกถึงประวัติศาสตรโดยสังเขปของสาธารณรัฐประชาชนจีน อินเดีย สาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว สาธารณรัฐแหงสหภาพพมา อนิ โดนเี ซีย ฟล ปิ ปน สและประเทศญ่ปี ุน ได
2. บอกเหตุการณส าํ คญั ทางประวัตศิ าสตรทเ่ี กิดข้นึ ในประเทศไทยและประเทศในทวีปเอเชยี ได

ขอบขายเนื้อหา

เรือ่ งที่ 1 ประวัติศาสตรส ังเขปของประเทศในทวีปเอเชยี ไดแ ก
1.1 ประวัตศิ าสตรประเทศสาธารณรฐั ประชาชนจีน
1.2 ประวตั ิศาสตรป ระเทศอินเดีย
1.3 ประวัตศิ าสตรสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว
1.4 ประวตั ิศาสตรป ระเทศสาธารณสาธารณรัฐแหง สหภาพพมา
1.5 ประวัตศิ าสตรประเทศอนิ โดนีเซยี
1.6 ประวัติศาสตรประเทศฟลปิ ปน ส
1.7 ประวัตศิ าสตรประเทศญป่ี นุ

เร่ืองท่ี 2 เหตุการณส าํ คัญทางประวัติศาสตรทเ่ี กิดขึ้นในประเทศไทยและประเทศใน
ทวีปเอเชยี
2.1 ยคุ ลา อาณานิคม
2.2 ยคุ สงครามเยน็


Click to View FlipBook Version