The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maw.nfe, 2020-04-14 22:00:42

สังคมศึกษา ม.ต้น

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

142

กิจกรรมทายบทที่ 3 เศรษฐศาสตร

กจิ กรรมท่ี 1 ใหผ เู รียนตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี เพือ่ เสรมิ ความรจู ากในหนงั สือเรยี น โดยถามจากผรู ู
1.1 ใหผ ูเรยี นศึกษาคน ควา เร่อื ง สถานการณเ ศรษฐกจิ ไทยปจ จบุ นั เปน อยางไร มจี ุดออ น จดุ แข็ง

อยา งไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...................................................................................................

1.2 เพือ่ ปองกนั ถูกเอาเปรียบการใชสนิ คาหรอื รบั บรกิ ารทา นมีวิธปี อ งกันหรอื แกไขอยา งไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.....................................................................................

กจิ กรรมที่ 2 ถาผเู รียนเปน ผูผลติ ในระบบเศรษฐกจิ ทา นคดิ วา ทา นจะผลิตอะไรในชมุ ชนท่ีคาดวา
จะมผี ลกําไรเพยี งพอตอการดําเนินชวี ติ และจะใชป จจัยการผลิตและกระบวนการผลติ อยางไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................

กจิ กรรมที่ 3 ใหผเู รยี นตอบคาํ ถามตอไปน้ี
3.1 เศรษฐศาสตร หมายถงึ วิชาทว่ี าดวยการศกึ ษาอะไร มคี วามสาํ คญั อยางไร

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...................................................................................................

143

3.2 ความตอ งการ (Wants) ในวชิ าเศรษฐศาสตรห มายถึงอะไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...................................................................................................

3.3 คุณธรรมของผผู ลติ มอี ะไรบา ง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...................................................................................................

3.4 ระบบเศรษฐกิจแบบผสมหมายถงึ อะไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...............................................................................................

กจิ กรรมที่ 4 จงเลอื กคําตอบที่ถูกที่สุดเพยี งคําตอบเดยี ว

1. วชิ าเศรษฐศาสตรส ว นใหญเปนเรอ่ื งเกีย่ วกับส่ิงใด

ก. การผลิตสนิ คา ข. การใหบ รกิ าร

ค. การใชท รัพยากร ง. การทาํ มาหากนิ ในชวี ติ ประจาํ วัน

2. การแขง ขันทางการคา จะกอ ใหเ กดิ ผลดที างเศรษฐกจิ อยา งไรบา ง
ก. พอคาจะไดกาํ ไรจากการขายสนิ คา

ข. ปอ งกนั ไมใหรัฐบาลเขา ไปควบคมุ ในกิจการคา
ค. ชว ยปองกนั การคากําไรเกินควร
ง. ประชาชนใชส นิ คา มากข้นึ

144

3. ขอ ใดทแ่ี สดงวาผบู ริโภคนาํ วชิ าเศรษฐศาสตรม าใชใ นชีวิตประจาํ วนั
ก. ซื้อสนิ คา เฉพาะทีจ่ าํ เปนและราคาไมแ พง

ข. กักตนุ สินคา เม่อื รวู าจะข้ึนราคา
ค. เลอื กซ้ือสนิ คา ท่ถี กู ทีส่ ดุ
ง. ซื้อสนิ คา จากการโฆษณา

4. ขอ ใดอธิบายความหมายของ “ระบบเศรษฐกจิ ” ไดถ ูกตอ งมากท่ีสุด
ก. สังคมที่มีแนวปฏิบตั ทิ างเศรษฐกิจภายใตรูปแบบเดียวกนั
ข. สงั คมท่อี นญุ าตใหเอกชนเปน เจาของปจจัยการผลิต

ค. สังคมที่ใชกลไกของราคาเขามาแกไ ขปญ หาเศรษฐกิจ
ง. สังคมท่มี กี ารผลติ ภายใตก ารควบคมุ ของรัฐบาล

5. ประเทศไทยตอ งกเู งินจากสถาบันการเงนิ ระหวางประเทศ เพื่อมาแกไ ขสภาวะเศรษฐกจิ จาก

สถาบันการเงินในขอ ใด

ก. โอเปค (OPEC) ข. ไอ เอม็ เอฟ (IMF)

ค. อีซี (EC) ง. อาเซยี น (ASEAN)

กิจกรรมท่ี 5 ใหผูเ รียนพูดคยุ กบั เพื่อนและสรุปสาระสาํ คัญของการศกึ ษาเอกสารเรือ่ งประชาคมเศรษฐกจิ
อาเซียนในแบบบันทกึ ทกี่ ําหนด

แบบบันทกึ

1. ใหสรุปความสําคัญของประเทศไทยทไ่ี ดรบั จากการเปน ประเทศสมาชกิ ประชาคม
เศรษฐกจิ อาเซยี น

......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
2. กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ใดบางทีป่ ระเทศตอ งเขารวมกบั ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................

145

3. ใหอธบิ ายถึงประโยชนที่ประเทศไทยจะไดร บั จากการเปน สมาชิกประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น 1 ขอ
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................

146

บทที่ 4
การเมืองการปกครอง

สาระสําคญั

รัฐธรรมนูญเปนหัวใจสําคัญของระบอบประชาธิปไตย กลาวคือ เปนกฎหมายสูงสุด วาดวยการจัด
ระเบียบการปกครองโดยยึดม่ันหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข
มรี ปู แบบการปกครองแบบอาํ นาจอธิปไตย ซงึ่ เปนอํานาจสงู สุดในการปกครองประชาชนและการใชอํานาจตอง
เปนไปตามรัฐธรรมนูญ โดยมีบทบญั ญัตกิ ฎหมายรองรับ ประชาชนจึงตองมีหนาทปี่ ฏิบัติตนตอบา นเมอื งตามที่
กําหนดไวในกฎหมายรฐั ธรรมนูญ

ผลการเรยี นรทู ่คี าดหวงั

1. อธิบายสาระสาํ คญั ของรฐั ธรรมนูญและการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย
ทรงเปนประมุข

2. ตระหนักในปญหาการไมป ฏบิ ัติตามกฎหมาย
3. มีสว นรว มสง เสรมิ และสนบั สนนุ ทางการเมอื งการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
อันมพี ระมหากษตั ริยทรงเปนประมขุ

ขอบขายเนือ้ หา

เร่อื งท่ี 1 การเมอื งการปกครองทีใ่ ชอยูใ นปจ จุบนั ของประเทศไทย
1.1 การปกครองในระบอบประชาธิปไตย
1.2 รฐั ธรรมนูญของไทย
1.3 กฎหมายและหนาท่ีของพลเมอื ง

เรอื่ งท่ี 2 เปรยี บเทยี บรูปแบบทางการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยและระบอบอื่น ๆ

147

เร่อื งท่ี 1 การเมอื งการปกครองท่ใี ชอ ยูในปจจุบนั ของประเทศไทย

ประเทศไทยไดยึดหลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข
มีรัฐธรรมนูญการปกครองแผนดินมาตั้งแตพุทธศักราช 2475 จนถึงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550 เปน แนวทางสาํ คัญตลอดมา

1.1 การปกครองในระบอบประชาธิปไตย
การปกครองในระบอบประชาธิปไตย หมายถึง การปกครองที่ประชาชนมีอํานาจสูงสุดหรือแบง

การปกครองของประชาชนโดยประชาชนและเพ่ือประชาชน อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุขและทรงอยู
ใตร ฐั ธรรมนญู

หลักการสําคัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตย
เปาหมายของการปกครองระบอบประชาธิปไตยเพื่อจัดระเบียบการอยูรวมกันของผูคนใน

ลกั ษณะทเี่ อื้ออาํ นวยประโยชนต อ ประชาชนทุกคนในรฐั ใหค วามคมุ ครองสิทธแิ ละเสรีภาพอยา งเสมอภาคและ
ยตุ ธิ รรม มหี ลักการสําคัญ ดังน้ี

1. มีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดที่ใชในการปกครองประเทศ ซึ่งไดกําหนดความสัมพันธ
ระหวางสถาบันการเมือง การปกครองและประชาชน รวมถึงสิทธิเสรภี าพและหนาที่ของประชาชนทุกคน

2. มีอํานาจสูงสุดในการปกครอง คือ อํานาจอธิปไตย ประกอบดวย อํานาจนิติบัญญัติ อํานาจ
บริหารและอํานาจตุลาการในระบอบประชาธิปไตย ประชาชนมีอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศและ
การใชอาํ นาจตองเปนไปตามรฐั ธรรมนูญที่กําหนด

3. การปกครองระบอบประชาธิปไตยใหถือวาเสียงขางมากหรือเหตุผลของคนสวนใหญเปนมติ
ที่ตอ งยอมรบั

4. มคี วามเสมอภาค โดยประชาชนทุกคนมีสิทธิเทา เทยี มกันในทกุ ๆ ดาน เพราะทุกคนอยูภายใต
การปกครองของรฐั ธรรมนญู ฉบบั เดยี วกนั

รูปแบบของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
รูปแบบของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย แบงอํานาจในการบริหารประเทศออกเปน

3 สว น รวมเรยี กวา “อาํ นาจอธปิ ไตย” ประกอบดวย
1. อํานาจนิติบัญญัติ พระมหากษัตริยทรงเปนผูใชพระราชอํานาจนิติบัญญัติผานทางรัฐสภา

ซึง่ เปนอํานาจทีใ่ ชใ นการตรากฎหมาย ควบคมุ การบริหาราชการแผนดินของฝายบริหารและกําหนดนโยบาย
ใหฝายบริหารปฏิบัติ สถาบันทางการเมืองที่เก่ียวของกับอํานาจนิติบัญญัติ ไดแก รัฐสภา ประกอบดวย
สภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา และใหถือวารัฐสภาเปนตัวแทนของประชาชนท้ังประเทศและเปนผูรักษา
ผลประโยชนของประชาชน

2. อํานาจบริหาร พระมหากษัตริยทรงเปนผูใชพระราชอํานาจบริหารผานทางรัฐบาลหรือ
คณะรฐั มนตรี มีหนาทใ่ี นการวางนโยบาย กําหนดเปา หมายดาํ เนินกิจการตาง ๆ ของรัฐ เพื่อบําบัดทุกขบํารุง
สขุ ของประชาชน ดว ยเหตุนีอ้ าํ นาจบริหารจึงมคี วามสาํ คญั ตอ ระบบการปกครองของรฐั

148

3. อํานาจตุลาการ พระมหากษัตริยท รงเปนผใู ชพระราชอํานาจตุลาการฝายทางศาล มีอํานาจ
หนา ท่ีรกั ษาความยุตธิ รรมตามทกี่ ฎหมายกาํ หนด รกั ษาเสรภี าพของบคุ คล ปองกนั และแกไ ขมิใหบุคคลลวงล้ํา
เสรภี าพตอ กัน ตลอดจนคอยควบคุมมิใหเ จา หนา ทขี่ องรฐั ใชอํานาจเกนิ ขอบเขต

การกําหนดใหมีการแยกใชอํานาจอธิปไตย 3 สวน และมีสถาบัน รัฐสภา รัฐบาลและศาล
คอยรับผิดชอบเฉพาะสวน ท้ังนเ้ี ปนไปตามหลกั การประชาธปิ ไตยท่ีไมตองการใหมกี ารรวบอํานาจ แตตอ งใหม ี
การถว งดุลอํานาจซึ่งกันและกัน เปนการปองกันมิใหเกิดการใชอํานาจแบบเผด็จการ ยกตัวอยางเชน ถาให
คณะรัฐมนตรใี ชอํานาจนติ ิบัญญัติและอํานาจบริหาร คณะรัฐมนตรีก็อาจจะออกกฎหมายท่ีไมสอดคลองกับ
ความตองการของประชาชน และเม่ือนํากฎหมายนั้นมาบังคับใชก็จะไมเกิดประโยชนตอทุกฝายโดยเฉพาะ
ประชาชน ดงั นน้ั การบริหารประเทศไทยท้ัง 3 สถาบันจึงเปนหลักประกันการคานอํานาจซึ่งกันและกันและ
ประการสําคัญเปนการปอ งกนั การใชอาํ นาจเผด็จการ

ความสมั พนั ธระหวางรฐั บาลกบั ประชาชนในระบอบประชาธิปไตย
ดังไดกลาวแลววา การปกครองแบบประชาธปิ ไตย ประชาชนเปนผูมีอํานาจสูงสุด มีสิทธิเสรีภาพ

และหนาทีต่ ามกฎหมายกําหนด ท่ีสําคญั คอื ประชาชนเลือกผูแทนราษฎรซ่ึงสังกัดพรรคการเมืองและรัฐบาล
มาจากผแู ทนราษฎรตามทก่ี ําหนดไวในกฎหมายรฐั ธรรมนญู ดงั น้ัน รฐั บาลกับประชาชนจึงมีความเก่ียวพันกัน
ตลอดเวลา กลาวคอื รฐั บาลก็มีหนาทีอ่ อกกฎหมายบรหิ ารประเทศตามเจตนารมณข องประชาชน จงึ ตอ งอาศัย
ความสัมพันธกับประชาชนอยางใกลชิด เชน คอยสํารวจตรวจสอบปญหาและความตองการของประชาชน
อยเู สมอและตอ งปฏบิ ัติตอประชาชนอยา งเสมอภาคกนั ทกุ คน ขณะเดยี วกนั ประชาชนก็ตองประพฤตปิ ฏิบตั ติ น
ตอ บา นเมอื งตามท่กี าํ หนดไวในกฎหมายรัฐธรรมนูญเหมอื นกัน จึงอาจกลา วไดวา ความสัมพันธร ะหวา งรัฐบาล
กบั ประชาชนในระบอบประชาธิปไตย จึงเปน ไปในลักษณะการปกครองทตี่ อ งพ่งึ พาอาศยั ซง่ึ กนั และกนั

การใชอ ํานาจอธิปไตยของประชาชนตามระบอบประชาธปิ ไตย
อาํ นาจอธิปไตยเปนอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตย ประชาชน

สามารถใชอาํ นาจอธปิ ไตยของตนได 2 วธิ ี คอื
1. โดยทางตรง หมายถงึ การใชอ ํานาจอธิปไตยดว ยตนเองโดยตรง จะใชไ ดกับรฐั เล็ก ๆ ท่มี ี

ประชากรไมมาก

149

2. โดยทางออ ม หมายถึง การใชอํานาจอธิปไตยโดยผานผูแทนของประชาชน เน่ืองจากจํานวน
ของประชากรในประเทศมีมาก ไมส ามารถใหทุกคนใชอํานาจอธิปไตยไดดวยตนเอง จึงตองมีการเลือกผูแทน
ของประชาชนไปใชอํานาจอธิปไตยในการปกครองประชาชน ปจจุบันมีหลายประเทศทั่วโลกท่ีใชวิธีนี้รวมท้ัง
ประเทศไทยดวย

ขอดีของการปกครองระบอบประชาธิปไตย
1. ประชาชนมสี ทิ ธิเสรีภาพในการดาํ รงชวี ติ ในทุก ๆ ดา น ทงั้ การเมอื งการปกครอง การประกอบ

อาชีพ สทิ ธิในท่ีดนิ ครอบครองทรพั ยส ิน การนบั ถือศาสนาและอน่ื ๆ โดยไมละเมดิ กฎหมาย
2. ประชาชนทุกคนมีสิทธเิ สรีภาพในดานตาง ๆ อยางเทาเทยี มกนั ไมวาจะร่ํารวย ยากจน รา งกาย

สมบูรณหรอื พกิ ารเพราะทุกคนตองปฏิบัตติ ามกฎหมายเชน เดียวกนั
3. ประชาชนมีความกระตือรือรนในการประกอบอาชีพ เพราะสามารถประกอบอาชีพตาม

ความตอ งการของตน ทําใหเ ศรษฐกจิ ของประเทศสามารถพัฒนาไปสูค วามเจริญได
4. รฐั บาลไมส ามารถผูกขาดอาํ นาจได เนอื่ งจากประชาชนเปน ผคู ัดเลอื กรฐั บาลและหากไมพอใจ

ยังสามารถถอดถอนรัฐบาลได ดังนั้นรัฐบาลจึงตองมีความสามารถในการบริหารราชการแผนดินและมี
จรยิ ธรรมในการทํางาน

5. มีความรุนแรงระหวางประชาชนและรัฐบาลในระดับนอย เนื่องจากกฎหมายใหอํานาจ
ประชาชนในการคัดเลือกรัฐบาลและการชุมนุมเรียกรองโดยสันติวิธี มีการเจรจาอยางมีเหตุผล อีกท้ังมี
หนว ยงานท่รี องรับกรณพี พิ าทระหวา งรัฐและเอกชน เชน ศาลปกครอง เปน ตน

6. ในกรณที ม่ี ปี ญ หาตอ งแกไขจะตองใหความสําคัญกับเสียงสวนใหญแ ละเคารพเสียงสวนนอ ย

150

1.2 รฐั ธรรมนูญของไทย
รัฐธรรมนูญ หมายถึง กฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศท่ีออกโดยฝายนิติบัญญัติ คือ

รัฐสภา ซึ่งมีบทบัญญัติกําหนดหลักการสําคัญตางๆ เชน รูปแบบการปกครอง การใชอํานาจอธิปไตย
ความสัมพนั ธระหวางสถาบนั การปกครอง ตลอดจนสิทธิเสรภี าพและหนาท่ขี องประชาชน

ความสาํ คัญของรฐั ธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญเปนกฎหมายหลักท่ีสําคัญท่ีสุด มีรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

ทเ่ี รียกวา อํานาจอธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริยเปน ประมขุ ปกครองในระบบรัฐสภา การบริหารประเทศหรือ
การออกกฎหมายยอมตอ งดําเนินการภายในกรอบของบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติแหงกฎหมายใด
ถา ขดั แยง กบั รฐั ธรรมนญู ยอ มไมม ผี ลบังคับใช

ประเภทของรัฐธรรมนญู
1. รัฐธรรมนูญลายลกั ษณอักษร เปนรฐั ธรรมนูญท่ีเขียนไวเปนลายลักษณอักษรที่ชัดเจน ดังเชน

รฐั ธรรมนูญของประเทศไทยและประเทศสหรฐั อเมริกา
2. รัฐธรรมนูญจารีตประเพณี เปนรัฐธรรมนูญที่ไมไดเขียนไวเปนลายลักษณอักษรอยางชัดเจน

ครบถวนในเอกสารฉบับเดียวและไมไดบัญญัติไวในรูปของกฎหมาย เชน ขนบธรรมเนียมประเพณีในการ
ปกครองตา ง ๆ ประเทศอังกฤษเปน ประเทศหนงึ่ ท่ีมีรัฐธรรมนูญประเภทน้ี

ววิ ฒั นาการรฐั ธรรมนญู ของประเทศไทย

นับต้ังแตประเทศไทยไดมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย ต้ังแต
พทุ ธศกั ราช 2475 มาเปน การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุขจนถึงปจจุบัน
มีการเปลีย่ นแปลงแกไ ขและประเทศใชร ัฐธรรมนูญและรัฐธรรมนญู การปกครองแลวรวม 18 ฉบบั ท้ังน้ีเพ่ือให
เหมาะสม สอดคลองกับสถานการณในประเทศในแตละยุคสมัย อยางไรก็ตามรัฐธรรมนูญท่ีมีมาทุกฉบับมี
หลกั การสาํ คญั เหมอื นกันคือ ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข
และแตละฉบับจะสะทอนใหเห็นถึงรูปแบบและวิธีการของการปกครองของประเทศเปน อยา งดี สาํ หรับ

151

รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2550 ฉบบั ท่ี 18 โดยรัฐธรรมนูญฉบบั นไี้ ดยึดตามแนวทางและ
แกไ ขจุดออนของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2540 เพื่อใหประชาชนไดรับประโยชนจาก
รัฐธรรมนูญน้รี วม 4 ประการ คอื

1. คุมครอง สงเสริม ขยายสทิ ธิและเสรีภาพของประชาชนอยางเตม็ ท่ี
2. ลดการผูกขาดอาํ นาจรัฐและเพ่ิมอํานาจประชาชน
3. การเมืองมีความโปรง ใส มคี ุณธรรมและจริยธรรม
4. องคกรตรวจสอบมีความอิสระ เขมแข็งและทาํ งานอยางมปี ระสิทธิภาพ
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ประกาศใชเม่ือวันท่ี 24 สิงหาคม 2550
ประกอบดว ยหมวดตาง ๆ ดังน้ี
หมวดท่ี 1 บททวั่ ไป มาตรา 1 - 7
หมวดท่ี 2 พระมหากษัตรยิ  มาตรา 8 - 25
หมวดท่ี 3 สทิ ธิและเสรีภาพของชนชาวไทย มาตรา 26 - 69
หมวดท่ี 4 หนา ท่ขี องชนชาวไทย มาตรา 70 - 74
หมวดท่ี 5 แนวนโยบายพน้ื ฐานแหง รฐั มาตรา 75 - 87
หมวดที่ 6 รัฐสภา มาตรา 87 - 162
หมวดท่ี 7 การมสี วนรวมทางการเมอื งโดยตรงของประชาชน มาตรา 163 - 165
หมวดท่ี 8 การเงินการคลงั และงบประมาณ มาตรา 166 - 170
หมวดท่ี 9 คณะรฐั มนตรี มาตรา 171 - 196
หมวดท่ี 10 ศาล มาตรา 197 - 228
หมวดที่ 11 องคก รตามรฐั ธรรมนูญ มาตรา 229 - 258
หมวดท่ี 12 การตรวจสอบการใชอ ํานาจรัฐ มาตรา 259 - 278
หมวดท่ี 13 จรยิ ธรรมของผดู ํารงตําแหนง ทางการเมอื งและเจาหนา ท่ขี องรฐั

มาตรา 279 - 280
หมวดท่ี 14 การปกครองสวนทองถน่ิ มาตรา 281 - 290
หมวดที่ 15 การแกไ ขเพิ่มเตมิ รัฐธรรมนูญ มาตรา 291

บทเฉพาะกาล มาตรา 292 - 309

1.3 กฎหมายและหนาท่ขี องพลเมอื ง
กฎหมาย คอื ขอบังคับทัง้ หลายของรัฐหรือประเทศที่ใชบังคับความประพฤติของบุคคล ซ่ึงผูใด

จะฝาฝนไมปฏิบัติตามจะตองมีความผิดและตองถูกลงโทษ กฎหมายจึงมีความสําคัญตอบทบาทของทุก ๆ
สังคม ทั้งในดา นใหค วามคุมครองและถกู ลงโทษตามเหตกุ ารณ

152

ความสําคญั ของกฎหมาย แยกไดเปน 2 ประการหลัก คอื
1. กฎหมายเปรียบเสมือนเปนเคร่ืองมือบริหารประเทศโดยตรง เชน กฎหมายรัฐธรรมนูญ

เปนหลักเกณฑสําคัญในการวางรูปแบบโครงสรางและกลไกการบริหารงาน และกฎหมายปกครอง
เปน กฎหมายท่ีจัดระเบยี บการปกครองประเทศหรอื การบรหิ ารรัฐ เปน ตน

2. กฎหมายเปนเครื่องมือในการรักษาความสงบเรียบรอยในสังคมใหสมาชิกในสังคม สามารถ
อยูรวมกันไดดวยความสงบสุข เชน กฎหมายอาญา กฎหมายแรงงาน กฎหมายคุมครองผูบริโภค เปนตน
ซ่งึ กฎหมายเหลานี้นอกจากจะมงุ เนนใหป ระโยชนส ุขแกประชาชนแลว ยงั ปอ งกันการกระทาํ ท่เี ปนผลราย มิให
มีการรังแก เอาเปรียบซึ่งกันและกนั ผูทก่ี อใหเกิดผลภยั กระทําการไมดถี ือวากระทาํ ตนไมถูกตองตามกฎหมาย
ตองถกู ลงโทษ เพือ่ มใิ หผ อู ่นื เอาเย่ียงอยา งและเพื่อความสงบสุขของคนสว นใหญใ นสังคม

กฎหมายเปน ขอบงั คบั ทปี่ ระชาชนตองปฏบิ ตั ติ าม ผใู ดจะฝา ฝนไมปฏิบัติตามไมได กฎหมายจึงมี
ความเกี่ยวของกับการดําเนินชีวิตของมนุษยตั้งแตเกิดจนตาย ดังนั้น ประชาชนจึงมีความจําเปนตองรูและ
เขาใจถงึ ประโยชนของกฎหมาย ดงั นี้

1. ไดร จู ักระวังตน ไมพลาดพลัง้ กระทาํ ความผิดอันเนื่องมาจากไมรูกฎหมาย
2. รจู กั การปองกันไมใ หผ ูอ ่นื เอาเปรียบและถูกโกงโดยไมรกู ฎหมาย
3. เห็นประโยชนในการประกอบอาชีพ เพราะหากมีความรูในหลักกฎหมายท่ีเก่ียวของกับการ
ประกอบอาชพี ของตน ยอ มจะปองกนั ความผิดพลาดอันเนือ่ งมาจากความไมรกู ฎหมายได
4. เปน ประโยชนในทางการเมอื งการปกครอง เชน เมือ่ ประชาชนรูในสิทธิ หนา ที่ ตลอดจนปฏิบตั ติ น
ตามหนาทีอ่ ยา งครบถวนก็จะทาํ ใหส ังคมสงบสุข ปราศจากความเดอื ดรอน บานเมืองกจ็ ะสงบสขุ ดวย
ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษัตริยเปนประมุข มีรัฐธรรมนูญ
เปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ หนาที่ท่ีสําคัญของประชาชนทุกคนคือ ตองประพฤติปฏิบัติตนใหถูกตองตาม
ขอ บงั คับของกฎหมายและตองมีความเคารพยําเกรงตอกฎหมาย หลีกเลี่ยงการกระทําที่ละเมิดขอบังคับของ
กฎหมาย เพ่ือใหสังคมไทยเปนสังคมท่ีปกครองโดยกฎหมายอยางแทจริง ดังนั้นการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยจึงมคี วามสําคัญตอ การดํารงชีวิตของประชาชนชาวไทยและตระหนกั ถึงคณุ คา ของประชาธิปไตย
ซึ่งกลาวโดยสรปุ ได ดงั นี้

153

ประชาชนชาวไทยทุกคนเปนสมาชิกในสังคมประชาธิปไตย จึงตองมีคุณลักษณะประจําตัวและ
พงึ ปฏิบัตใิ นสิ่งตอไปน้ี

1. คิดและปฏิบัตดิ วยความเปนประชาธิปไตย
2. ตระหนกั วา ตนเปน สวนหน่ึงของสังคมดวยการมีสวนรว มในกจิ การตา ง ๆ และเมอ่ื มีปญหาควร
ชว ยกนั แกไขดวยการใชเหตผุ ลและยอมฟง ความคดิ เหน็ ของผูอ นื่
3. เปน ผนู ําและผูตามท่ีดีของสงั คม ตามบทบาทและหนา ที่ของตน
4. ยดึ มนั่ ในวฒั นธรรม จารตี ประเพณแี ละพัฒนาตนเองและสังคมอยเู สมอ
คุณคาของประชาธิปไตย
1. คุณคาทางการเมืองการปกครอง เชน ประชาชนสามารถเลือกบุคคลท่ีเปนตัวแทนปกครอง
ตัวเองไดด ว ยการใชสทิ ธลิ งคะแนนเสียงเลือกผแู ทนราษฎร
2. คุณคาทางเศรษฐกิจ เชน มีสทิ ธเิ สรภี าพในการซือ้ ขายจากการผลิต การบริการ โดยไดรับการ
คมุ ครองจากรฐั อยางเปน ธรรม
3. คุณคาทางสังคม เชน ไดรบั ความคุมครองจากรฐั ทงั้ ชีวิตและทรัพยส นิ ภายใตกฎหมายเทาเทยี มกัน
การปกครองระบอบประชาธิปไตยเปนลักษณะการปกครองเพื่อความสงบสุขของประชาชน
โดยแทจ รงิ การดําเนนิ ชีวิตของบคุ คลจะเปนไปอยา งสงบสขุ ไดน้ัน ตองมีความเขาใจ ตระหนักถึงความสําคัญ
และเห็นคุณคา ของประชาธปิ ไตยเปนแนวทางดําเนนิ ชวี ิตประจําวัน

154

กจิ กรรมเร่ืองที่ 1 การเมอื งการปกครอง

ใหนกั ศึกษาเลือกคาํ ตอบขอทถ่ี กู ตอ งที่สดุ เพียงขอ เดียวในขอคําถามดงั ตอ ไปน้ี
1.การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยแบบรฐั สภาเปด โอกาสใหฝายบริหารควบคมุ

ฝา ยนิตบิ ัญญตั ไิ ดด ว ยวธิ ใี ด
ก. ยุบรฐั สภา
ข. ลงมติไมไวว างใจ
ค. ยบุ สภาผแู ทนราษฎร
ง. แตงตั้งวุฒสิ มาชิกใหม
2. บทบาทและหนาท่ขี องรัฐสภาคือขอ ใด
ก. ออกกฎหมายควบคมุ รัฐบาลและประชาชน
ข. ยบั ยง้ั กฎหมายและอภิปรายลงมติไมไววางใจ
ค. ถวายคําแนะนําแกพระมหากษตั รยิ ในการตรากฎหมายฉบับตาง ๆ
ง. ออกกฎหมายและควบคมุ การบรหิ ารราชการแผน ดินของราชการ
3. คําวา “อาํ นาจอธิปไตย” ตามที่บญั ญัติไวใ นกฎหมายรฐั ธรรมนูญหมายความวา อยา งไร
ก. อํานาจสงู สดุ ของรัฐสภาในการรา งกฎหมาย
ข. อํานาจสงู สุดของประชาชนในการบรหิ ารประเทศ
ค. อํานาจสูงสดุ ของฝา ยบรหิ ารในการปกครองประเทศ
ง. อํานาจสูงสุดของคณะรฐั มนตรใี นการบริหารประเทศ
4. หัวใจสําคัญของระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยคอื ขอ ใด
ก. ประชาชน
ข. การเลือกตง้ั
ค. รัฐธรรมนญู
ง. พรรคการเมือง
5. การจดั ระเบยี บสงั คมเกย่ี วขอ งกับสถาบนั ใดมากทสี่ ุด
ก. สถาบันศาสนา
ข. สถาบันการศึกษา
ค. สถาบนั ครอบครัว
ง. สถาบนั การปกครอง

155

6. ขอ ใดคืออํานาจของรัฐสภา
ก. ศาล
ข. บรหิ าร
ค. ตุลาการ
ง. นติ บิ ญั ญัติ

7. การปกครองแบบรฐั สภา ผูท่ดี ํารงตาํ แหนงหัวหนารัฐบาลคอื ใคร
ก. องคมนตรี
ข. นายกรัฐมนตรี
ค. ประธานวฒุ ิสภา
ง. ประธานรัฐสภา

8. ผูท ม่ี หี นา ท่ใี ชอ าํ นาจในการบรหิ ารคอื ใคร
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. คณะรัฐมนตรี
ค. ประธานวฒุ สิ ภา
ง. ประธานรัฐสภา

9. ผูท ีม่ ีหนา ท่ตี ราพระราชบญั ญตั คิ อื ใคร
ก. คณะรฐั มนตรี
ข. นายกรัฐมนตรี
ค. สภาผูแ ทนราษฎร
ง. พระมหากษัตริย

10. การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยผทู ีม่ อี ํานาจสูงสดุ คอื ใคร
ก. พระมหากษตั ริย
ข. นายกรัฐมนตรี
ค. ผูบญั ชาการเหลา ทัพ
ง. ประชาชนชาวไทย

11. วัฒนธรรมในการทํางานแบบใดทจ่ี ะสงเสริมใหม คี วามเจรญิ กา วหนาของการปกครองในระบอบ
ประชาธปิ ไตยเพมิ่ มากขนึ้
ก. การทํางานคนเดียว
ข. การทํางานเปน ทมี
ค. การทํางานตามท่ตี นถนัด
ง. การทาํ งานกับคนที่ชอบพอกนั

156

12. รฐั ธรรมนูญจะประกอบไปดว ยสว นตา ง ๆ หลายสวน สวนใดท่ีมีผลโดยตรงตอ อํานาจอธิปไตยของ
ประชาชน
ก. หมวดท่วั ไป
ข. หมวดหนา ท่ขี องปวงชน
ค. หมวดแนวนโยบายพน้ื ฐานแหงรัฐ
ง. หมวดสทิ ธแิ ละเสรีภาพของประชาชนชาวไทย

13. สิทธขิ องปวงชนตามกฎหมายรัฐธรรมนูญในการมสี วนรว มทางการเมอื งระดับทองถิ่นคอื ขอใด
ก. การเลือกตัง้ สมัชชาแหงชาติ
ข. การเลือกตง้ั สมาชิกวฒุ ิสภา
ค. การเลือกตงั้ สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎร
ง. การเลอื กตั้งผูวาราชการกรุงเทพมหานคร

14. สิทธเิ สมอภาคทางกฎหมาย หมายถงึ อะไร
ก. ประชาชนทกุ คนมีสิทธอ์ิ อกกฎหมายเหมือนกนั
ข. ประชาชนทกุ คนมสี ทิ ธร์ิ ับรกู ฎหมายโดยเทา เทยี มกัน
ค. ประชาชนทุกคนมีสทิ ธไ์ิ ดร บั สวสั ดกิ ารจากรัฐโดยเทา เทยี มกนั
ง. ประชาชนทกุ คนมสี ทิ ธไ์ิ ดร ับการคุม ครองตามกฎหมายโดยเทาเทยี มกนั

15. เพราะเหตุใดจึงตองมกี ารจาํ กดั สทิ ธิของประชาชนใหอยูภายใตกฎหมาย
ก. เพ่อื รักษาความม่ันคงของชาติ
ข. เพ่อื รักษาความสงบสขุ ของบานเมอื ง
ค. เพอ่ื ปองกันไมใ หเกดิ การละเมดิ สทิ ธซิ ่งึ กนั และกัน
ง. ถูกทุกขอ

16. กฎหมายจราจรทางบกไดเ พม่ิ โทษสงู แกผ ูฝา ฝน ในลักษณะใด
ก. เมาสุรา
ข. ขบั รถฝา ไฟแดง
ค. ขับรถโดยประมาท
ง. ขับรถโดยไมมใี บอนญุ าตขบั ข่ี

17. สทิ ธเิ สรภี าพถูกควบคุมโดยขอ ใด
ก. รัฐบาล
ข. จริยธรรม
ค. กฎหมาย
ง. เจาหนาที่ตาํ รวจ

157

18. ใครคอื บคุ คลไดร ับความคุมครองสทิ ธิและเสรภี าพจากรฐั
ก. ประชาชน
ข. ขาราชการ
ค. เดก็ และคนชรา
ง. ถกู ทกุ ขอ

19. ตามรัฐธรรมนูญประชาชนไมมีสิทธใิ นดา นใด
ก. การนบั ถอื ศาสนา
ข. การวารายผูอ นื่
ค. การประกอบอาชพี
ง. การเลือกทอ่ี ยูอาศยั

20. ตามรฐั ธรรมนญู ของไทยสิทธใิ นดา นใดของมนษุ ยจ ะไดร ับการปกปอ งเปน พิเศษ
ก. สิทธสิ ว นบุคคล
ข. การเมอื งการปกครอง
ค. สิทธดิ า นการพดู ในท่ีสาธารณะ
ง. สิทธดิ า นการถือครองทรพั ยสิน

กจิ กรรมเร่ืองที่ 2

ใหนกั ศึกษาตอบคาํ ถามโดยอธบิ ายใหเ ขาใจดงั น้ี
1. เพราะเหตุใดระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยจึงถือวา เหมาะสมทีส่ ุดในปจ จบุ ัน
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................
2. รัฐธรรมนญู กาํ หนดใหป ระชาชนมีสว นรวมในทางการเมืองอยางไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.....................................................................................

158

3. รัฐธรรมนูญที่เปนลายลักษณอักษร มีลักษณะแตกตางกับรัฐธรรมนูญท่ีไมเปนลายลักษณอักษร
อยา งไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
....................................................................................................

เรอ่ื งท่ี 2 เปรยี บเทียบรปู แบบทางการเมอื งการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยและระบอบอน่ื ๆ

ระบอบการเมืองการปกครอง หมายถึง การจัดระบบใหคนสวนใหญในสังคมสามารถดําเนินชีวิต
อยูรวมกันไดอยางมีระเบียบแบบแผน มีความสัมพันธกันอันกอใหเกิดขอตกลงอันดีงามรวมกัน บังเกิด
ความผาสุกและความสามัคคใี นสงั คม ซงึ่ แบง ออกเปน 2 รปู แบบ คือ

1. ระบอบการเมอื งการปกครองแบบประชาธิปไตย
2. ระบอบการเมอื งการปกครองแบบมปี ระธานาธิบดีเปน ประมขุ
ระบอบการเมืองการปกครองแบบประชาธปิ ไตย
ประชาธปิ ไตยเปน ระบบการปกครองทปี่ ระเทศสวนใหญใ นโลกนิยมใชเปนหลกั ในการจัดการปกครอง
และบรหิ ารประเทศ รวมทง้ั ประเทศไทยซง่ึ ใชมานานกวา 70 ปแ ลว การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยเกิดจาก
ความศรัทธาในคุณคาของความเปนมนุษยและเชื่อวาคนเราสามารถปกครองประเทศได จึงกําหนดให
ประชาชนเปนเจาของอํานาจในการปกครอง ซ่ึงถือวาการเมือง การปกครองมาจากมวลชน รูปแบบการ
ปกครองแบบประชาธปิ ไตย แบง ออกเปน 2 ประเภท คอื
1. ระบอบประชาธิปไตยแบบมีพระมหากษัตริยเปนประมุข รัฐธรรมนูญและการปกครองของไทย
ทุกฉบับกําหนดไวอยางชัดแจงวา เทิดทูนพระมหากษัตริยเปนสถาบันสูงสุด ดํารงอยูในฐานะอันเปนท่ีเคารพ
สกั การะผูใดจะละเมิดมิได รัฐธรรมนูญกําหนดวา ผูใดจะกลาวหาหรือฟองรองพระมหากษัตริยในทางใด ๆ
มิได พระราชอํานาจของพระมหากษัตริยจึงมีกําหนดไวในรัฐธรรมนูญ โดยปกติรัฐธรรมนูญกําหนดให
พระมหากษตั ริยเ ปนผูใชอํานาจอธปิ ไตย ซง่ึ เปนของประชาชนโดยใชอ ํานาจนิติบัญญัติผานทางรัฐสภา อํานาจ
บริหารผานทางคณะรัฐมนตรีและอํานาจตุลาการผานทางศาล การกําหนดเชนนี้หมายความวา อํานาจตาง ๆ
จะใชในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริยซึ่งในความเปนจริง อํานาจเหลานี้มีองคกรเปนผูใช ฉะนั้น
การที่บัญญัติวาพระมหากษัตริยเปนผูใชอาํ นาจนิติบญั ญัติ อํานาจบริหารและอาํ นาจตุลาการผานทางองคกร
ตา ง ๆ นน้ั จึงเปน การเฉลมิ พระเกียรติ แตอาํ นาจที่แทจริงอยูท่ีองคกรที่เปนผูพิจารณานําข้ึนทูลเกลาฯ ถวาย
เพอ่ื พระมหากษตั ริยทรงลงพระปรมาภไิ ธย

159

อยางไรกต็ าม แมก ระทงั่ พระมหากษตั รยิ ใ นระบอบรัฐธรรมนูญ จะไดร บั การเชิดชูใหอยเู หนอื การเมอื ง
และกําหนดใหมผี ูรับสนองพระบรมราชโองการในการปฏบิ ัติการทางการปกครองทุกอยา ง แตพระมหากษตั ริย
กท็ รงมีพระราชอาํ นาจบางประการท่ีไดร บั การรับรองโดยรัฐธรรมนูญและเปนพระราชอํานาจที่ทรงใชไดตาม
พระราชอธั ยาศัยจรงิ ๆ ไดแ ก การตง้ั คณะองคมนตรี การพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ เปนตน

พระราชอาํ นาจท่ีสง ผลกระทบตอการเมืองการปกครองอยา งแทจรงิ คอื พระราชอํานาจในการยับยั้ง
รา งพระราชบญั ญัติ ในกรณีท่ีพระมหากษัตริยทรงไมเห็นดวยกับรางพระราชบัญญัติที่ผานการเห็นชอบของ
รัฐสภามาแลว และนายกรัฐมนตรนี ําขึน้ ทลู เกลาฯ ถวายเพื่อพระมหากษตั ริยทรงลงพระปรมาภไิ ธยประกาศใช
ก็อาจใชพระราชอาํ นาจยับยั้งเสียก็ได ซึ่งรัฐสภาจะตองนํารางพระราชบัญญัติท่ีถูกยับย้ังนั้นไปพิจารณาใหม
แตใ นทางปฏบิ ตั ไิ มปรากฏวา พระมหากษัตริยทรงใช พระราชอาํ นาจน้ี

2. ระบอบประชาธปิ ไตยแบบมีประธานาธิบดีเปนประมุข ระบบน้ีไดถูกสรางข้ึนมานานกวา 200 ป
แลว โดยมีประเทศสหรัฐอเมริกาเปนแมแบบ ซึ่งมีบทบาทสําคัญทางการเมือง คือ ประธานาธิบดี จะเปน
ทั้งผูนําทางการเมืองและเปนผูนําประเทศ ประธานาธิบดีมาจากการเลือกตั้งของประชาชนทั่วประเทศ
โดยผานคณะผูเลือกต้ัง สวนสมาชิกวุฒิสภาจะมาจากการเลือกตั้งของประชาชนแตละมลรัฐและ
สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรมาจากการเลือกต้ังของประชาชนในแตละเขตเลือกตั้ง มีการบริหารประเทศโดยมี
รองประธานาธบิ ดแี ละรฐั มนตรีรวม

160

ปจ จุบันมีระบอบการเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีประธานาธิบดีเปนประมุข เรียกวา
ระบบก่ึงประธานาธิบดี ซ่ึงมีมาเม่ือประมาณ 40 ปน้ี โดยมีประเทศฝรั่งเศสเปนแมแบบ ระบบนี้ประชาชน
จะเปนผเู ลอื กตง้ั ประธานาธบิ ดแี ละผแู ทนราษฎรโดยตรง แตการเลือกวุฒิสภาจะเลือกโดยสมาชิกสภาผูแทน
ราษฎร สมาชิกสภาจังหวัดและผูแทนสภาเทศบาลจะเปนผูเลือกแทนประชาชน ประธานาธิบดีจะเปนท้ัง
ประมขุ และผูนําประเทศที่สําคัญท่ีสุด แตจะไมมีตําแหนงรองประธานาธิบดี จะมีนายกรัฐมนตรีเปนผูจัดต้ัง
คณะรฐั มนตรี โดยมีความเหน็ ชอบและไววางใจจาก สภาผูแทนราษฎรและสภาผูแทนราษฎรน้ีมีอํานาจปลด
นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีได แตนายกรัฐมนตรีไมมีสิทธิ์ยุบสภา ผูมีอํานาจยุบสภา คือ ประธานาธิบดีและ
คณะรัฐมนตรสี ามารถเสนอรางกฎหมายไดเ หมอื นระบบรัฐสภาโดยท่วั ไป

ระบอบการเมอื งการปกครองแบบเผดจ็ การ
การปกครองแบบเผด็จการ เปนระบบการเมืองที่รวมอํานาจแบบเบ็ดเสร็จไวที่ผูนําคนเดียวหรือ
คณะเดียวใหอํานาจการตัดสินใจที่รัฐ การปกครองและการบริหารประเทศใหความสําคัญกับรัฐมากกวา
ประชาชน รวมท้ังประโยชนที่รัฐจะไดรับ ประชาชนเปรียบเสมือนเปนสวนประกอบ ของรัฐเทาน้ัน และที่
สําคัญรัฐจะตองสงู สุดและถกู ตองเสมอ การปกครองแบบเผด็จการ แบงออกเปน 2 รูปแบบ คือ แบบอํานาจ
นยิ มและแบบเบด็ เสรจ็ นยิ ม
เผด็จการแบบอํานาจนิยม หมายถึง การใหอํานาจแกผูปกครองประเทศเปนสําคัญ ประชาชนไมมี
สว นรว มและรับรูความเปนไปของบานเมือง จะรูก็ตอเมื่อผูนําหรือคณะผูปกครองประเทศมีความตองการให
รับรูเ ทา นน้ั โดยถือวา เร่อื งการเมืองเปนเร่อื งเฉพาะของผปู กครองประเทศเทานั้น ประชาชนจะเขาไปเกี่ยวของ
ไดในกรณีที่ผูปกครองตองการสรางความชอบธรรมในบางเรื่องและบางสถานการณ แตก็เปนไปโดยจํากัด
ประชาชนตอ งอยูใตก ารปกครองและจะตองฟง คาํ สั่งอยา งเครง ครัด แตประชาชนจะไดรับสิทธิเสรีภาพในการ
นับถือศาสนา สําหรบั เรือ่ งทางเศรษฐกิจและสังคมทั่วไป ผูปกครองท่ีมักจะเปดโอกาสใหประชาชนไดดําเนิน
กจิ การตาง ๆ ไดอยา งเต็มท่ี แตตองระมดั ระวังไมใ หก ระทบอํานาจของผปู กครอง
ลักษณะการปกครองแบบอํานาจนิยม
1. อํานาจทางการเมืองเปนของผูนํา มุงหมายที่จะควบคุมสิทธิเสรีภาพของทางการปกครองของ
ประชาชนเปน สําคญั
2. การบริหารประเทศดําเนินไปอยางมีเอกภาพ รวมอํานาจไวท่ีรัฐบาลกลาง ประชาชนไมมีสวนรวม
ในการปกครองประเทศ
3. ประชาชนตอ งปฏิบตั ติ ามคําสง่ั ของผนู ําอยางเครง ครัดและตองไมดําเนนิ การใด ๆ ทข่ี ดั ขวางนโยบาย
ของผนู าํ
4. ควบคมุ ประชาชนดว ยวิธีการลงโทษอยางรุนแรงแตกม็ กี ารใชก ระบวนการยุติธรรมอยบู าง
5. ลักษณะการปกครองแบบนี้ปจจุบันยังใชกันอยูหลายประการ ท้ังในทวีปอเมริกาใต แอฟริกาและ
เอเชยี

161

เผด็จการแบบเบด็ เสรจ็ นิยม หมายถงึ รฐั บาลจะใชอํานาจอยา งเต็มท่ี ควบคุมกิจกรรมทัง้ ดานการเมอื ง
เศรษฐกจิ และสังคมของประชาชนทุกคน แสดงใหเ หน็ ถึงประชาชนไมมสี ิทธเิ สรภี าพอันใด ระบบเผด็จการแบบนี้
ยังแบง รูปแบบออกไดอ กี 2 รปู แบบ คือ

1. ระบบเผดจ็ การแบบเบด็ เสร็จนิยมของพวกฟาสซสิ ต รูปแบบของระบบนีจ้ ะเหน็ การใชอ าํ นาจ
รัฐควบคุมกจิ กรรมตาง ๆ ของประชาชนอยางทวั่ ถึง นโยบายสง เสริมชาตินิยมเปนไปอยา งรนุ แรงและสรา งความ
แข็งแกรง เพ่ือแสดงถงึ ความยิ่งใหญของชาติ

2. ระบบเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จนิยมคือการปกครองแบบคอมมิวนิสต รูปแบบของระบบเนน
การใชอํานาจรัฐควบคุมกิจกรรมตาง ๆ ของประชาชนอยางท่ัวถึง คลายกับพวกฟาสซิสตแตจะเชิดชูชนช้ัน
กรรมาชีพและทําลายลางชนชน้ั อ่ืน ๆ ใหห มดสนิ้ รวมทัง้ ชนชัน้ อื่น ๆ ทุกสังคมทั่วโลก เปาหมายตองการใหมี
สงั คมโลก มกี ารปกครองแบบคอมมวิ นิสต

ลักษณะการปกครองแบบเผด็จการเบ็ดเสรจ็ นยิ ม

1. สรางศรัทธาใหป ระชาชนยึดมน่ั ในระบบการปกครองและผูนําอยา งมั่นคงและตอ เน่ืองตลอดไป
2. ควบคุมการดําเนินกจิ กรรมตา ง ๆ ของประชาชนทงั้ ดานการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ประชาชน
ไมมสี ิทธิเสรีภาพใด ๆ ทัง้ ส้ิน
3. ประชาชนตองเชื่อฟง คาํ สง่ั ของผูน ําอยางเครงครดั จะโตแ ยง ไมได
4. มีการลงโทษอยางรนุ แรง
5. รฐั บาลมอี ํานาจอยา งเต็มท่ี กจิ การในดานการเมอื ง เศรษฐกิจ สังคม ศาสนา วัฒนธรรม
และการศกึ ษาจะตอ งอยูภายใตก ารควบคุมของรัฐ
6. มีการโฆษณาชวนเชอ่ื และอบรมประชาชนในรปู แบบตา ง ๆ
7. ลักษณะการปกครองแบบนี้ ปจจุบันยังใชกันอยูหลายประเทศ เชน โซเวียตรัสเซีย สาธารณรัฐ
ประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เขมร เวียดนามและเยอรมนี เปนตน แตสังคมในโลก
ปจ จุบัน การแขงขันเศรษฐกิจสูงสงผลใหประเทศตาง ๆ เหลาน้ีพยายามผอนคลายกฎเกณฑลงมีความเปน
ประชาธิปไตยเพม่ิ ขึน้ เพ่ือใหม ีความสามารถในทางเศรษฐกจิ

162

เปรียบเทยี บขอดี ขอ เสยี ของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยและการปกครองระบอบเผดจ็ การ

ขอ ดขี องการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ขอ ดีของการปกครองระบอบเผด็จการ

1. ประชาชนทกุ คนมคี วามเทา เทยี มกัน 1. รัฐบาลมคี วามเขม แขง็
ในดานกฎหมาย 2. รฐั บาลมคี วามม่นั คงเปน ปกแผน
3. การตดั สินใจในกจิ การตาง ๆ เปน ไปอยา ง
2. ประชาชนทกุ คนมีสทิ ธิเสรภี าพในทกุ ๆ ดา น
เพราะทกุ คนตอ งปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย รวดเรว็
เชนเดยี วกนั

3. รฐั บาลไมส ามารถผกู ขาดอาํ นาจไดเ นอื่ งจาก
ประชาชนเปน ผูค ดั เลอื กรฐั บาลและหากไม
พอใจยงั สามารถถอดถอนรฐั บาลได

4. การแกไขปญ หาตา ง ๆ ยดึ ถือแนวทางสนั ตวิ ธิ ีมี
การเจรจาอยา งมเี หตผุ ลและมหี นว ยงานรองรบั
กรณีพพิ าทระหวางรฐั และเอกชน
เชน ศาลปกครอง

ขอ เสยี ของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ขอ เสยี ของการปกครองระบอบเผดจ็ การ

1. การแกไ ขบา นเมืองบางครง้ั มคี วามลา ชา 1. ประชาชนไมม สี ว นรว มในการปกครอง
เนอื่ งจากมกี ระบวนการหลายขัน้ ตอนทต่ี อง 2. ไมคํานงึ ถงึ ความตองการของประชาชน
ผานความเหน็ ชอบซง่ึ บางคร้ังอาจแกไ ขได 3. รัฐบาลและประชาชนไมมคี วามสมั พนั ธก ัน
ไมทันเวลา
อยา งใกลช ดิ
2. ในบางประเทศประชาชนสว นใหญยงั ขาด 4. ประชาชนไมไ ดร บั ความเปนธรรมเทาทค่ี วร
ความรใู นดา นการเมอื งการปกครอง 5. ผูนําอาจใชอํานาจเพ่อื ประโยชนสว นตน
ในกรณีคดั เลือกผแู ทนบรหิ ารอาจไมเ หมาะสม
จะสง ผลกระทบตอ รฐั บาลได และพวกพองได
6. การบรหิ ารประเทศอยทู ี่ผูน าํ หรอื คณะเพยี ง
3. ในการเลือกตง้ั แตล ะครงั้ จาํ เปน ตอ งใชเ งนิ เปน
จาํ นวนมากดงั น้นั ประเทศยากจนจงึ เหน็ วา เปน กลุมเดยี ว การตดั สินใจ การแกไ ขปญ หาอาจ
การเสยี เงินโดยไมก อ ใหเ กดิ ประโยชนแ ละควร ผิดพลาดไดงา ย
นําเงนิ ไปใชใ นการพฒั นาประเทศสง เสริมให 7. ประชาชนไมมีอสิ ระในการประกอบอาชพี
ประชาชนมงี านทาํ หรือชว ยเหลือประชาชน อยางเต็มทส่ี ง ผลใหค วามเปนอยขู อง
ทยี่ ากจน ประชาชนไมค อยดแี ละอาจทําใหไ มม คี วามสขุ

163

กจิ กรรมท่ี 3

ใหนักศกึ ษาตอบคาํ ถามตอ ไปนี้ โดยอธิบายใหเ ขา ใจและไดใ จความทส่ี มบรู ณ
1. รูปแบบการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยแบบมพี ระมหากษตั รยิ เ ปน ประมขุ รฐั ธรรมนญู
การปกครองของไทยทกุ ฉบบั กําหนดสาระไวอ ยา งไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.....................................................................................
2. การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยระบบประธานาธิบดีมลี กั ษณะการปกครองอยางไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.....................................................................................
3. การปกครองระบอบประชาธิปไตยของทกุ ประเทศจะมีรปู แบบการปกครองแตกตา งกนั
แตห ลกั การใหญ ๆ จะมีเหมอื นกันคืออะไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
......................................................................................
4. ใหน กั ศกึ ษาบอกขอ ดีและขอ เสียของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยและการปกครองระบอบ
เผดจ็ การ
ขอดี ของการปกครองระบอบประชาธิปไตย
1. ..........................................................................................................................
2. ..........................................................................................................................
3. ..........................................................................................................................

164

ขอ เสยี ของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
1. ..........................................................................................................................
2. ..........................................................................................................................
3. ..........................................................................................................................

ขอ ดี ของการปกครองระบอบเผดจ็ การ
1. ..........................................................................................................................
2. ..........................................................................................................................
3. ..........................................................................................................................

ขอเสยี ของการปกครองระบอบเผดจ็ การ
1. ..........................................................................................................................
2. ..........................................................................................................................
3. ..........................................................................................................................

กจิ กรรมที่ 4

ใหนักศึกษาเลือกคาํ ตอบท่ถี กู ตองทส่ี ุดเพยี งขอเดยี วในขอ คําถามตอ ไปน้ี
1. หนาที่ของคนไทยทต่ี องดํารงความเปนไทย คือขอ ใด

ก. การปอ งกนั ประเทศ
ข. เคารพสิทธเิ สรภี าพของผอู ืน่
ค. การรบั ราชการทหารและเสยี ภาษอี ากร
ง. ดาํ รงไวซง่ึ ชาติ ศาสนาและพระมหากษัตรยิ 
2. ขอใดไมใ ชสทิ ธขิ องประชาชนชาวไทยทกี่ ฎหมายรฐั ธรรมนญู บัญญัตไิ ว
ก. สทิ ธิในทรพั ยส นิ
ข. สทิ ธทิ างการเมอื ง
ค. สทิ ธเิ สนอเรอ่ื งราวรอ งทกุ ข
ง. สิทธิทจี่ ะไดร ับสวสั ดกิ ารเมอื่ สูงอายุ
3. ประชาชนทุกคนมสี ทิ ธิและเสรภี าพเพยี งใด
ก. ไมม ีขอบเขตจาํ กดั
ข. มจี ํากัดโดยอาํ นาจของผปู กครอง
ค. มีจํากดั โดยขอ บญั ญตั ขิ องกฎหมาย
ง. มีจาํ กดั ตามฐานะของแตล ะบคุ คล

165

4. พฤตกิ รรมในขอ ใดทแ่ี สดงวาประชาชนยงั ไมต ระหนกั ถงึ สทิ ธแิ ละหนาที่ของตนเอง
ตามระบอบประชาธปิ ไตย

ก. ลุงบญุ มี ฟง ขาวสารการเมอื งจากวทิ ยกุ อ นนอนทกุ คืน
ข. นายออ น รว มเดินขบวนประทว งนโยบายปรบั คาจา งแรงงาน
ค. สมหญงิ เขยี นบทความลงหนงั สอื พมิ พเ สนอวธิ ีแกปญ หายาเสพติด

ง. สมชาย ไมไปลงคะแนนเลอื กตงั้ สมาชิกสภาผแู ทนราษฎรเพราะไมว าง
5. เพราะเหตใุ ดการปกครองแบบประชาธปิ ไตยจงึ ไดร บั ความนยิ มมากกวา การปกครอง

แบบอนื่

ก. พระมหากษัตริยท รงเปนประมุข
ข. มกี ารจดั ตง้ั พรรคการเมอื งไดหลายพรรค
ค. มีการเลอื กตง้ั ผนู าํ ฝา ยบรหิ ารเขา ไปปกครองประเทศ

ง. ประชาชนมโี อกาสทจี่ ะเขาไปมสี ว นรวมในการปกครอง
6. ความมีอสิ ระในการกระทาํ ของบคุ คลโดยไมขัดตอกฎหมายคืออะไร

ก. สิทธิ

ข. หนา ที่
ค. อํานาจ
ง. เสรภี าพ

7. ลกั ษณะการสง เสรมิ การปกครองแบบประชาธปิ ไตยทีด่ ีคือขอ ใด
ก. เปด โอกาสใหป ระชาชนแสดงออก
ข. ใหก ารศกึ ษาแกป ระชาชนอยา งเต็มท่ี

ค. ใหมกี ารเลือกตงั้ สม่ําเสมอเปน ประจาํ
ง. สงเสรมิ รายไดประชาชนอยา งตอเนอ่ื ง
8. นกั ศกึ ษาคดิ วาการเมอื งเปนเรือ่ งของใคร

ก. คณะรฐั มนตรี
ข. รัฐสภาเทานน้ั
ค. ประชาชนทุกคน

ง. พรรคการเมอื งเทาน้ัน
9. ขอความใดกลา วถกู ตอ ง

ก. ประเทศจนี และลาวมรี ะบบการปกครองแตกตา งกนั

ข. ประเทศรสั เซยี กบั จนี มรี ะบบการปกครองแตกตางกนั
ค. ประเทศไทยและประเทศองั กฤษมรี ะบอบการปกครองเหมือนกัน
ง. ประเทศอังกฤษและประเทศสหรฐั อเมริกามรี ะบบการปกครองแตกตา งกนั

166

10. ขอ ใดเปน เรอื่ งทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช (รัชกาลท่ี 9)
ทรงใหค วามชว ยเหลอื ประชาชนมากทสี่ ดุ
ก. สนบั สนุนใหม ีอาชพี
ข. ใหท นุ การศึกษาเด็กยากจน
ค. ใหย ารกั ษาโรค ชวยเหลือผปู ว ย
ง. แสวงหาแหลง นา้ํ เพือ่ การเกษตร

167

แนวเฉลยกิจกรรม บทท่ี 1 ภูมิศาสตรกายภาพทวปี เอเชีย

กิจกรรมที่ 1.1 ลักษณะทางภูมิศาสตรกายภาพของประเทศในทวปี เอเชยี
1) ใหผเู รยี นอธบิ ายจุดเดนของลักษณะภมู ปิ ระเทศในทวปี เอเชยี ท้งั 5 เขต
1. เขตท่ีราบตาํ่ ตอนเหนอื สว นใหญอยใู นเขตโครงสรา งแบบหินเกา มีลักษณะภูมิประเทศเปนท่ีราบ

ขนาดใหญ มีแมน้ําออบ แมน้ําเยนิเซ และแมนํ้าลีนาไหลผาน แตไมคอยมีผูคนอาศัยอยู เพราะเน่ืองจากมี
ภูมิอากาศหนาวเยน็ มากและทําการเพาะปลูกไมไ ด

2. เขตที่ราบลุมแมนํ้า มีลักษณะภูมิประเทศเปนที่ราบและมักมีดินอุดมสมบูรณ เหมาะแก
การเพาะปลูก สวนใหญอยูท างเอเชียตะวันออก เอเชยี ใต และเอเชียตะวนั ออกเฉียงเหนือ ไดแก ที่ราบลุม
ฮวงโห แยงซี จีน สินธุ คงคา พรหมบุตร ในประเทศปากีสถาน อนิ เดยี และบงั กลาเทศ ที่ราบลุมแมน้ําไทกริส
ยูเฟรทีส ในประเทศอิรัก ท่ีราบลุมแมนํ้าโขงตอนลาง ในประเทศกัมพูชาและเวียดนาม ท่ีราบลุมแมน้ําแดง
ในประเทศเวียดนาม ท่ีราบลุมแมน้ําเจาพระยา ในประเทศไทย ที่ราบลุมแมนํ้าสาละวินตอนลาง ท่ีราบลุม
แมน าํ้ อิระวดี ในประเทศสาธารณรัฐแหงสหภาพพมา

3. เขตเทอื กเขาสูง เปน เขตเทือกเขาหินใหม เทือกเขาสงู เหลานสี้ วนใหญเปนเทอื กเขาทแ่ี ยกตัวไปจาก
จุดรวมทีเ่ รยี กวา ปามีรนอต ตอนกลางประกอบไปดวยที่ราบสูง มีเทือกเขาท่ีแยกไปทางทิศตะวันออก ไดแก
เทอื กเขาหิมาลัย เทอื กเขาอาระกันโยมา และเทือกเขาที่มีแนวตอเนื่องลงมาทางใต มีบางสวนท่ีจมหายไปใน
ทะเล และบางสว นโผลข ้ึนมาเปน เกาะ ในมหาสมทุ รอนิ เดียและมหาสมทุ รแปซฟิ ก ถัดจากเทอื กเขาหิมาลยั ข้นึ ไป
ทางเหนือ มเี ทอื กเขาท่ีแยกไปทางตะวนั ออก ไดแก เทือกเขาคนุ ลนุ เทอื กเขาอัลตินตัก เทือกเขานานชาน และ
แนวทแี่ ยกไปทางทิศตะวันออกเฉยี งเหนือ ไดแก เทือกเขาเทียนชาน เทือกเขาอัลไต ฯลฯ เทือกเขาท่ีแยกไป
ทางทศิ ตะวันตก แยกเปนแนวเหนือและแนวใต แนวเหนอื ไดแก เทือกเขาฮินดูกชู เทอื กเขาเอลบูชร สวนแนว
ใต ไดแ ก เทอื กเขาสุไลมาน เทอื กเขาซากรอส

4. เขตที่ราบสูงตอนกลางทวีป เปนท่ีราบสูงอยูระหวางเทือกเขาที่หินใหม ไดแก ที่ราบสูงทิเบต
ซงึ่ เปนทร่ี าบสูงขนาดใหญและสงู ทส่ี ุดในโลก ท่รี าบสูงยนู นาน ทางใตข องประเทศจีน และทีร่ าบสูงท่ีมีลกั ษณะ
เหมอื นแอง ช่อื ตากลามากนั ซง่ึ อยรู ะหวา งเทือกเขาเทยี นชานกบั เทอื กเขาคุนลนุ แตอยูสูงกวาระดับน้ําทะเล
มาก และมีอากาศแหงแลง เปนเขตทะเลทราย

5. เขตท่รี าบสงู ตอนใตและตะวนั ตกเฉยี งใต เปนทีร่ าบสงู ตอนใต และตะวันตกเฉียงใต ไดแก ทีร่ าบสูง
ขนาดใหญทางตอนใตของทวีปเอเชีย ซึ่งมีความสูงไมมากเทากับท่ีราบสูงทางตอนกลางของทวีป ท่ีราบสูง
ดังกลาว ไดแก ที่ราบสูงเดคคาน ในประเทศอินเดีย ที่ราบสูงอิหราน ในประเทศอิหราน และอัฟกานิสถาน
ท่รี าบสงู อนาโตเลีย ในประเทศตรุ กีและที่ราบสูงอาหรบั ในประเทศซาอุดีอาระเบยี

2) ภมู อิ ากาศแบบใดที่มหี มิ ะปกคลมุ ตลอดป และพชื พรรณทีป่ ลกู เปน ประเภทใด
ภูมอิ ากาศแบบทุนดรา (ขัว้ โลก) พชื พรรณธรรมชาติเปนพวกตะไครนํ้า และมอสส

168

กิจกรรมที่ 1.2 การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ศิ าสตรก ายภาพ

1) ใหผูเรียนอธิบายวาการเกิดแผนดินไหวอยางรุนแรงจะสงผลกระทบตอประชากรและสิ่งแวดลอม
อยา งไรบาง

- ประชาชนไดรบั ความเดือดรอ น อาจถึงขั้นเสียชวี ติ หรือบาดเจบ็ สาหสั ขาดท่อี ยูอ าศัย
- ประชาชนปว ยเปนโรคจิตเวช ซ่งึ เกิดขน้ึ กับเหย่ือภยั พิบตั ทิ กุ ชนดิ
- อาคารและสิ่งกอ สรา งตา ง ๆ เสยี หาย
- อาชีพการใหบ รกิ าร เชน คา ขาย ฯลฯ
2) ใหบอกความแตกตางและผลกระทบท่เี กิดตอ ประชากรและสิ่งแวดลอมของพายุฝนฟาคะนอง พายุ
หมุนเขตรอ น และพายุทอรน าโด

1. พายุฝนฟาคะนอง มีลักษณะเปนลมพัดยอนไปมา หรือพัดเคลื่อนตัวไปในทิศทางเดียวกัน
อาจเกดิ จากพายุทอ่ี อนตัวและลดความรุนแรงของลมลง หากสภาพแวดลอมตางๆ เหมาะสม กจ็ ะเกิดฝนตก

ผลกระทบ คือ อาจจะถกู ฟา ผา เกดิ นํา้ ทวมขงั
2. พายหุ มุนเขตรอนตา ง ๆ เชน เฮอรริเคน ไตฝุน และไซโคลน ซึ่งลวนเปนพายุหมุนขนาดใหญ
เชนเดยี วกนั จะเร่มิ ตนกอตัวในทะเล หากเกดิ เหนือเสน ศูนยส ตู ร จะมที ิศทางการหมุนทวนเข็มนาฬิกา และหาก
เกดิ ใตเ สน ศนู ยส ูตรจะหมุนตามเขม็ นาฬกิ า โดยมีช่อื ตางกนั ตามสถานทเ่ี กดิ
ผลกระทบ คือ ฝนตกชุก นํ้าทวม ประชาชนอาจไดรับบาดเจ็บหรือเสียชีวิต อาคารบานเรือน
ทรพั ยสนิ และสาธารณูปโภคตา ง ๆ เสียหาย ถา พายุมคี วามเรว็ สงู ก็จะทําใหส ิ่งกอ สรา งและอาคารบานเรือนพัง
เสยี หาย ราบเปนหนา กลอง
3. พายทุ อรน าโด เปนช่ือเรยี กพายุหมนุ ทเี่ กดิ ในทวีปอเมรกิ า มขี นาดเนอื้ ที่เลก็ หรือเสน ผา ศูนยก ลาง
นอ ย แตหมุนดวยความเร็วสงู หรอื ความเรว็ ที่จดุ ศูนยกลางสงู มากกวา พายหุ มนุ อน่ื ๆ กอ ความเสียหายไดรุนแรง
ในบรเิ วณท่พี ดั ผาน เกดิ ไดท ้ังบนบกและในทะเล
ผลกระทบ คือ ประชาชนอาจไดรบั บาดเจ็บหรือเสยี ชีวิต สง่ิ กอ สรางและอาคารบานเรอื นพังเสียหาย
ราบเปนหนา กลอง
3) คลื่นสึนามิสงผลกระทบตอส่งิ แวดลอ มมากมายหลายอยา งในความคิดเหน็ ของผูเรียนผลกระทบดานใด
ท่เี สียหายมากท่ีสุด พรอมใหเหตุผลประกอบ
ผลกระทบตอชีวติ ของประชากรและทรพั ยส นิ ท่ีอยูอาศยั เพราะเมือ่ เกิดเหตุการณแ ลว ประชาชนจะรูส ึก
กลวั วา จะเกิดเหตุการณแ บบน้ีอีกในอนาคต ทําใหเกิดวิตกจรติ การสูญเสยี ชวี ติ ของญาติมติ ร ครอบครวั ภูมิทศั น
ในการประกอบอาชพี เปลย่ี นแปลงไปเพราะทกุ อยางโดนกวาดตอ นลงทะเลไปในเวลาฉับพลนั เปน การสญู เสยี ครง้ั
ยง่ิ ใหญ ดังน้ันผูท่อี าศัยอยใู นบรเิ วณนี้ จงึ มคี วามวิตกจรติ อยูตลอดเวลา

กิจกรรมท่ี 1.3 วธิ ีใชเ ครือ่ งมอื ทางภูมิศาสตร
1) ถา ตอ งการทราบระยะทางจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนง่ึ ผเู รยี นจะใชเ ครือ่ งมือทางภมู ิศาสตรชนิดใด
แผนท่ี

169

2) ภาพถา ยจากดาวเทยี ม มปี ระโยชนใ นดา นใดบาง
ใหขอ มูลพื้นผวิ ของเปลือกโลก ทาํ ใหเ ห็นภาพรวมของการใชพื้นที่ และการเปล่ียนแปลงตาง ๆ ตามที่

ปรากฏบนพ้นื โลก ซงึ่ เหมาะแกก ารศกึ ษาทรพั ยากรผวิ ดนิ เชน ปาไม การใชป ระโยชนจากดิน หิน และแร
3) แผนท่ี มปี ระโยชนในดา นใดบา ง
1. ดานการเมืองการปกครอง เพ่ือใชศ ึกษาสภาพทางภมู ิศาสตรและนํามาวางแผนดําเนินการ เตรียมรับ

หรือแกไ ขสถานการณทีเ่ กิดขน้ึ ได
2. ดา นการทหาร ในการพจิ ารณาวางแผนทางยุทธศาสตรข องทหาร ตองหาขอ มลู หรือขาวสารที่เก่ียวกับ

สภาพภมู ิศาสตร และตําแหนง ทางสิ่งแวดลอม
3. ดานเศรษฐกจิ และสังคม ดา นเศรษฐกิจ ใชงานในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ

ใชเ ปนขอ มูลพนื้ ฐานเพือ่ ใหทราบทาํ เลทต่ี ้ังสภาพทางกายภาพ แหลงทรัพยากร
4. ดานสังคม สภาพแวดลอ มทางสังคมมกี ารเปลย่ี นแปลงอยเู สมอ การศกึ ษาสภาพการเปลี่ยนแปลงตอง

อาศัยแผนทเ่ี ปนสําคัญ และอาจชว ยใหก ารดาํ เนนิ การวางแผนพฒั นาสงั คมเปน ไปในแนวทางทถี่ กู ตอง
5. ดา นการเรยี นการสอน แผนท่เี ปนตัวสง เสรมิ กระตุนความสนใจ และกอ ใหเ กิดความเขา ใจในบทเรยี นดี

ขึน้ ใชเปนแหลงขอ มลู ทงั้ ทางดา นกายภาพ ภมู ภิ าค
6. ดานสง เสรมิ การทอ งเท่ยี ว แผนที่มีความจําเปน ตอ นักทอ งเท่ียวในอันท่จี ะทาํ ใหรูจ ักสถานทท่ี องเทยี่ ว

ไดง า ย สะดวกในการวางแผนการเดนิ ทางหรือเลอื กสถานที่ทองเที่ยวตามความเหมาะสม
4) ถาตอ งการทราบวาประเทศไทยอยูพกิ ดั ภมู ิศาสตรท ่ีเทา ไหร ผเู รียนจะใชเ ครอื่ งมือทางภูมศิ าสตรชนดิ ใด

ไดบ า ง
แผนที่ และลกู โลก

กิจกรรมท่ี 1.4 สภาพภูมิศาสตรกายภาพของไทยท่ีสงผลตอ ทรัพยากรตาง ๆ และสง่ิ แวดลอม
1) ใหผ ูเรียนอธิบายวา สภาพภูมศิ าสตรข องประเทศไทย ทง้ั 6 เขต มีอะไรบาง และแตละเขตสวนมาก

ประกอบอาชพี อะไร
1. เขตภูเขาและหบุ เขาทางภาคเหนือ ลักษณะภมู ปิ ระเทศเปน ภูเขาและเทือกเขา จะทอดยาวในแนว

หรือใตสลับกับท่ีราบหุบเขา โดยมีท่ีราบหุบเขาแคบ ๆ ขนานกันไป อันเปนตนกําเนิดของแมนํ้าลําคลอง
หลายสาย ทาํ ใหเกดิ ที่ราบลมุ แมน ํ้า ซึง่ อยูร ะหวางหบุ เขาอันอดุ มสมบรู ณไ ปดวยทรพั ยากรธรรมชาติ ภมู อิ ากาศ
คลา ยคลึงกบั ภูมิอากาศทางตอนใตข องเขตอบอุน ของประเทศทมี่ ี 4 ฤดู ประกอบอาชีพเพาะปลูก เล้ียงสตั ว และ
ทาํ เหมอื งแร

2. เขตเทือกเขาทางภาคตะวนั ตก ลักษณะภูมิประเทศเปนพ้ืนท่ีแคบ ๆ ทอดยาวขนานกับพรมแดน
ประเทศพมา สวนใหญเปนภูเขา มแี หลงทรัพยากรแรธ าตุ และปา ไมข องประเทศ มีปรมิ าณฝนเฉลี่ยตา่ํ กวา
ทุกภาค ประชากรสว นใหญอ ยูในเขตท่รี าบลุมแมน ํา้ และชายฝง ลักษณะภูมิอากาศ โดยท่ัวไปมีความแหงแลง
มากกวาในภาคอ่ืน ๆ ประกอบอาชีพปลูกพืชไรแ ละการประมง

170

3. เขตที่ราบของภาคกลาง ลกั ษณะภูมิประเทศสว นใหญเปน ทร่ี าบลมุ แมน้ําอันกวางใหญ มีลักษณะเอียงลาด
จากเหนอื ลงมาใต เปน ที่ราบที่มีความอดุ มสมบรู ณมากท่สี ุดเพราะเกิดการทับถมของตะกอน ประกอบอาชีพ
การเกษตร (ทาํ นา)

4. เขตภูเขาและทีร่ าบบริเวณชายฝง ทะเลตะวันออก ลกั ษณะภมู ิประเทศเปนเทือกเขาสูงและที่ราบ
ซง่ึ สวนใหญเปน ทีร่ าบลกู ฟกู และมีแมน ํ้าทีไ่ หลลงสอู าวไทย แมนาํ้ ในภาคตะวันออกสวนมากเปนแมน ้าํ สายสนั้ ๆ
ซงึ่ ไดพัดพาเอาดินตะกอนมาทงิ้ ไว จนเกดิ เปนทร่ี าบแคบ ๆ ตามทีล่ มุ ลักษณะชายฝง และมีลกั ษณะภูมิประเทศ
เปนเกาะ อาว และแหลม ลักษณะภูมิอากาศมีลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตจาก อาวไทย จึงทําใหมีฝนตกชุก
หนาแนนบางพน้ื ทีป่ ระกอบอาชีพการประมง ทําสวนผลไม ปจ จบุ นั มีการทําสวนยางพารา

5. เขตที่ราบสูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ลักษณะภูมิประเทศเปนท่ีราบสูงขนาดต่ําทางบริเวณ
ตะวนั ตกของภาคจะมีภเู ขาสงู ทางบริเวณตอนกลางของภาคมลี ักษณะเปนแองกระทะ มีแมนํ้าชีและแมน้ํามูล
ไหลผา น ยงั มที ีร่ าบโลง อยูหลายแหง โดยมแี นวทิวเขาภพู านทอดโคง ยาวคอนไปทางตะวันออกเฉียงเหนือของ
ภาค ถัดเลยจากแนวทิวเขาภพู านไปทางเหนอื มแี องทรดุ ตาํ่ ของแผนดิน
ประกอบอาชพี ทาํ นา การประมงน้ําจืด

6. เขตคาบสมทุ รภาคใต ลกั ษณะภูมิประเทศเปนคาบสมทุ รยืน่ ไปในทะเล มเี ทือกเขาทอดยาวในแนว
เหนือใต ท่เี ปน แหลงทับถมของแรด ีบกุ บริเวณชายฝง ทะเล ทั้งสองดา นของภาคใตเปนท่ีราบมีประชากรอาศัย
อยูหนาแนน ภาคใตไดรับอิทธิพลความช้ืนจากทะเลทั้งสองดาน มีฝนตกชุกตลอดป และมีปริมาณฝนเฉล่ียสูง
ประกอบอาชพี ยางพารา ปาลม น้ํามนั การประมง

2) ผูเรยี นคดิ วา ประเทศไทยมที รพั ยากรอะไรท่มี ากที่สดุ บอกมา 5 ชนดิ แตล ะชนดิ สงผลตอ การ
ดําเนินชีวิตของประชากรอยา งไรบา ง

ปาไม ประชากรประกอบอาชีพ ทาํ เฟอรน เิ จอร ทาํ ของปาขาย
แรด บี กุ ประชากรประกอบอาชพี อุตสาหกรรมเหมืองแร
ลกิ ไนต ประชากรประกอบอาชพี อตุ สาหกรรมเหมืองแร
พลอย ประชากรประกอบอาชพี การเจยี รนยั พลอย
ทรัพยากรสตั วน ้ํา ประชากรประกอบอาชีพ การประมง
กจิ กรรมที่ 1.5 ความสําคัญของการดาํ รงชวี ติ ใหส อดคลองกบั ทรพั ยากรในประเทศ
1) ใหผเู รียนอธบิ ายวา ในภาคเหนือของไทยประชากรจะอาศัยอยูหนาแนนในบริเวณใดบาง พรอมให
เหตผุ ล และสวนมากจะประกอบอาชพี อะไร
ประชากรสวนใหญอาศัยอยูหนาแนน ตามที่ราบลมุ แมน้ํา ประกอบอาชพี ทํานา ทําไร
2) ผูเรียนคิดวาภาคใดของไทย ท่สี ามารถสรางรายไดจ ากการทอ งเที่ยวมากที่สดุ พรอ มใหเหตุผลและ
สถานทีท่ องเทยี่ วดงั กลา วคอื อะไรบาง พรอมยกตวั อยา ง
ภาคใตแ ละภาคตะวันออก เพราะมีชายฝง ทะเลทีง่ ดงาม มีเกาะแกงมากมาย มกี ารบริการทีป่ ระทับใจ
ภาคเหนอื มปี า ไม มีวัฒนธรรมดั้งเดมิ คอื จังหวัดเชยี งใหม เชยี งราย

171

3) ปจ จัยใดทีท่ าํ ใหม ปี ระชากรอพยพเขามาอาศัยอยูใ นภาคตะวันออกมากขึ้น
การเจริญเติบโตของเขตอุตสาหกรรมมาบตาพุด และทาเรือนํ้าลึกเพ่ือขนสงลงทะเลและมีแหลง

ทองเทยี่ วอันงดงาม
4) ทวีปใดท่ีกลาวกนั วาเปนทวปี “แหลงอารยธรรม” เพราะเหตใุ ดจงึ กลา วเชน นั้น
ทวปี เอเชยี เพราะเปน ดินแดนทค่ี วามเจรญิ เกดิ ขึน้ กอ นทวีปอืน่ ๆ ประชากรรูจกั และต้ังถิ่นฐานกันมากอ น

อารยธรรมทสี่ ําคญั ๆ คอื อารยธรรมจีน อินเดยี ขอม
5) ในทวีปเอเชยี ประชากรจะอาศยั อยูกันหนาแนนบรเิ วณใดบาง เพราะเหตุใด
ริมชายฝงทะเลและท่ีราบลมุ แมนํ้าตาง ๆ เชน ลุมแมน้ําเจาพระยา ลุมแมนํ้าแยงซีเกียง ลุมแมนํ้าแดง

และลุมแมนํ้าคงคา และในเกาะบางเกาะท่ีมีดินอุดมสมบูรณ เชน เกาะของประเทศฟลิปปนส อินโดนีเซีย
และญี่ปุน

แนวเฉลยกจิ กรรม บทท่ี 2 ประวตั ิศาสตรทวปี เอเชีย

คาํ ช้ีแจง ใหผูเรยี นเขียนเครือ่ งหมายถกู () หนา ขอความทถี่ ูกและเขยี นเคร่ืองหมายผิด ()
หนาขอความทีผ่ ิด
.............. 1. ประเทศจีนเปนประเทศในแถบภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกทม่ี พี น้ื ที่ใหญท ส่ี ุดในโลก
............ 2. ประเทศอินเดียเปน ประเทศประชาธิปไตยท่ีมปี ระชากรมากท่ีสุดในโลก
............ 3. กษัตริยพมาท่ีสามารถรวบรวมประเทศใหเปนปกแผนเดียวกันไดสําเร็จเปนครั้งแรก

คอื พระเจาอโนรธา กษัตรยิ เมอื งพยู
............ 4. พระเจาตะเบง็ ชะเวตี้ กษตั รยิ พมา ทีส่ ามารถตีกรงุ ศรีอยุธยาแตกในป พ.ศ. 2112
............ 5. ประเทศอนิ โดนเี ซียเปนประเทศท่เี ปนหมูเกาะท่ใี หญท ีส่ ดุ ในโลก
............ 6. สงครามเจ็ดป (Seven Years’ War) เปน สงครามทเี่ กิดขึ้นในฟล ปิ ปนสจ นทําใหญีป่ ุนเกิด

การสญู เสียมากท่สี ุด
............ 7. ประเทศญป่ี ุนไดชอื่ วา “ดนิ แดนแหงพระอาทติ ยอุทยั ”
............ 8. ยุคศักดนิ า หมายถงึ ยคุ ท่ีจกั รพรรดเิ ปน ใหญท่สี ดุ ในญี่ปนุ
............ 9. การทิ้งระเบดิ ท่ีเมืองฮิโรชมิ าและนางาซากิ ทําใหญี่ปุนตองยอมแพสงครามโลกคร้ังท่ี 1
............ 10. ญ่ีปนุ เปนประเทศหนง่ึ ท่ีตอ ตานสหรัฐเมรกิ าสง กองกําลงั ทหารไปสูรบในอริ ัก
............ 11. ประเทศสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนจนี มีการลงทุนในประเทศไทยเปนอันดบั 2

รองจากญป่ี นุ
............ 12. กลุม ICS เปนกลมุ ชนช้นั กรรมกรที่อังกฤษคดั เลือกใหทํางานในอินเดยี และพมา
............ 13. ประเทศไทยตกเปนอาณานิคมของชาติตะวนั ตกและทําใหเสยี ดินแดนไปถึง 14 คร้ัง
............ 14. สงครามเดียนเบยี นฟูเปนสงครามท่ีประเทศไทยรว มมือกับฝร่งั เศสขบั ไลจนี ฮอออกจาก

เวยี ดนามจนสาํ เร็จ

172

............ 15. สงครามเยน็ ทาํ ใหเกดิ การแบงสถานภาพกลมุ ประเทศเปน 3 กลมุ ไดแ ก กลมุ ประเทศ
มหาอาํ นาจ กลุมประเทศกําลังพฒั นา และกลุม ประเทศดอยพฒั นา

เฉลยกิจกรรมทายบท

....฀…. 1. ….฀…. 2. ….฀…. 3. ….฀…. 4.
….฀…. 5 . ....฀…. 6. ….฀…. 7. ....฀…. 8.
....฀…. 9. ….฀…. 10. ….฀…. 11. ....฀…. 12.
….฀…. 13. ….฀…. 14. ....฀…. 15.

แนวเฉลยกิจกรรม บทท่ี 3 เศรษฐศาสตร

กจิ กรรมท่ี 3.1 เศรษฐศาสตร หมายถงึ วชิ าทว่ี าดวยการศึกษาอะไร มีความสําคัญอยา งไร
เศรษฐศาสตร หมายถงึ การเลือกใชท รพั ยากรทีม่ ีจาํ กัดและหายากในการผลิตสินคาและบริการใหมี

ประสิทธิภาพมากทส่ี ุด ซงึ่ รวมถงึ การกระจายสนิ คา และบริการเพื่อใหความเปนธรรมและความอยูดีกินดีของ
ประชาชนทั้งในปจจบุ ันและอนาคต
กิจกรรมท่ี 3.2 ความตอ งการ (Wants) ในวิชาเศรษฐศาสตรห มายถงึ อะไร

ความตอ งการ (Wants) ในวิชาเศรษฐศาสตร หมายถงึ ความปรารถนาทจี่ ะไดส ่ิงตาง ๆ มาบรโิ ภค
เพอ่ื ตอบสนองความจาํ เปน ในการดาํ รงชวี ิตและเพือ่ อาํ นวยความสะดวกตาง ๆ
กิจกรรมที่ 3.3 คณุ ธรรมของผูผลติ มีอะไรบาง

คณุ ธรรมของผผู ลิตมี ดังนี้
1. ความขยนั เปน ความพยายามมุมานะที่จะประกอบการในการผลิตและบริการใหประสบผลสําเร็จ
อยางไมยอ ทอตอปญหาอุปสรรค
2. ความซอ่ื สัตย โดยเฉพาะซื่อสัตยตอผูบริโภค เชน ไมคากําไรเกินควร ไมโฆษณาสินคาเกินความ
เปนจรงิ ไมป ลอมปนสนิ คา ไมผ ลิตสินคาทไ่ี มไ ดคณุ ภาพ หรือสินคา ท่ีผดิ กฎหมาย
3. ความรับผิดชอบ ในการผลติ สนิ คา และบรกิ ารเพอ่ื สนองตอ ความตองการของผูบริโภค รับผิดชอบ
ตอความเสียหายอนั เกดิ จากการผลิตและบรกิ าร
4. พัฒนาคุณภาพสนิ คา ใหเปน สินคา และบรกิ ารเปนท่พี ึงพอใจของผบู ริโภค
5. ดูแลสงั คม แบงสวนกําไรท่ไี ดรับคืนสูสังคม เชน ทํากิจกรรมเพ่ือสวนรวม ชวยเหลือผูดอยโอกาส
ในรปู แบบตาง ๆ
กจิ กรรมที่ 3.4 ระบบเศรษฐกิจแบบผสมหมายถึงอะไร
ระบบเศรษฐกิจแบบผสม หมายถึง ระบบเศรษฐกิจท่ีเกิดขึ้นจากปญหาและขอบกพรองของระบบ
เศรษฐกิจแบบเสรีนิยมและสังคมนิยม โดยมีกลไกราคาเปนตัวกําหนด มีการวางแผนจากรัฐบาลสวนกลาง
บางสว นใหเ อกชนตดั สินใจดาํ เนินกิจกรรมเอง

173

กิจกรรมท่ี 4 จงเลอื กคําตอบทถี่ กู ท่สี ุดเพยี งคําตอบเดยี ว

1. ง 2. ค 3. ก 4. ค 5. ข

แนวเฉลยกิจกรรม บทท่ี 4 การเมอื งการปกครอง

กิจกรรมท่ี 1
1. ค 2. ก 3. ข 4. ก 5. ง 6. ง 7. ข 8. ข 9. ง 10. ง
11. ข 12. ง 13. ง 14. ง 15. ง 16. ก 17. ค 18. ง 19. ข 20. ก

กจิ กรรมท่ี 2
1. เพราะเหตใุ ดระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยจึงถอื วา เหมาะสมทีส่ ดุ ในปจจุบนั
แนวตอบ
เปนระบอบการปกครองที่ยอมรับสิทธิเสรีภาพและความเสมอภาคของประชาชน เปดโอกาสให

ประชาชนทุกคนมีสวนรวมในการใชอํานาจปกครองประเทศอยางท่ัวถึงและมีกลไกท่ีมีประสิทธิภาพในการ
ปองกันการผกู ขาดอาํ นาจทางการเมืองของคนกลุมใดกลุมหน่ึง

2. รฐั ธรรมนญู กาํ หนดใหป ระชาชนมีสว นรวมในทางการเมืองอยา งไร
แนวตอบ
ใหประชาชนกําหนดนโยบายการตัดสินใจทางการเมือง การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและ
การเมือง รวมถงึ การตรวจสอบการใชอ าํ นาจของรฐั
3. รฐั ธรรมนญู ที่เปนลายลักษณอักษร มีลักษณะแตกตางกับรัฐธรรมนูญท่ีไมเปนลายลักษณอักษร
อยา งไร
แนวตอบ
รัฐธรรมนูญที่เปนลายลักษณอักษร เปนรัฐธรรมนูญที่รวบรวมกฎหมายการปกครองประเทศไวใน
เอกสารฉบบั เดยี ว สวนรัฐธรรมนญู ทไี่ มเ ปน ลายลักษณอกั ษร มลี กั ษณะเปน รฐั ธรรมนูญท่ีอาศัยจารีตประเพณี
ทีป่ ฏบิ ัตสิ บื ตอกันมาเปนกฎหมาย
กจิ กรรมที่ 3
1. รปู แบบการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยแบบมีพระมหากษัตรยิ เปนประมุข รฐั ธรรมนญู การ
ปกครองของไทยทกุ ฉบับกาํ หนดสาระไวอยา งไร
แนวตอบ
พระมหากษตั ริยดํารงอยูในฐานะอันเปน ทีเ่ คารพสักการะ ผูใดจะละเมิดและกลาวหาหรอื ฟองรอง
ในทางใดๆ มไิ ด

174

2. การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ระบบประธานาธบิ ดี มีลกั ษณะการปกครองอยางไร
แนวตอบ

ผูที่มีบทบาทสําคัญทางการเมือง คือ ประธานาธิบดี เปนทั้งผูนําทางการเมืองและเปนผูนําประเทศ

มาจากการเลือกต้ังของประชาชน บริหารประเทศรวมกับรองประธานาธิบดีและคณะรัฐมนตรี มีประเทศ

สหรฐั อเมริกาเปน แมแ บบ

3. การปกครองระบอบประชาธิปไตยของทุกประเทศ จะมีรูปแบบการปกครองแตกตางกัน
แตห ลักการใหญ ๆ จะมีเหมือนกนั คอื อะไร
แนวตอบ

ประชาชนปกครองตนเอง โดยประชาชนทกุ คนมสี ทิ ธเิ สรภี าพและความเสมอภาคภายใตก ฎหมาย

ซ่งึ บญั ญตั ขิ ้นึ ตามเสียงสวนใหญของประชาชน

4. ใหบ อกขอ ดี ขอ เสีย ของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยและการปกครองระบอบเผดจ็ การ

แนวตอบ
ขอ ดี ขอดี
ของการปกครองระบอบประชาธิปไตย ของการปกครองระบอบเผดจ็ การ

1. ประชาชนทุกคนมคี วามเทาเทยี มกนั 1. รัฐบาลมคี วามเขมแขง็

ในดานกฎหมาย 2. รฐั บาลมีความม่นั คงเปนปกแผน

2. ประชาชนทกุ คนตองปฏิบัติตามกฎหมาย 3. การตัดสนิ ใจในกจิ การตา งๆ เปนไป

และมสี ทิ ธเิ สรภี าพในทกุ ๆ ดา น อยางรวดเรว็ อาจเกิดการผิดพลาด

3. การแกไ ขปญ หาตา งๆ ยดึ ถือแนวทาง ไดง าย

สนั ตวิ ธิ ี มกี ารเจรจาอยา งมเี หตผุ ล

ฟงเสยี งขางมาก

ขอ เสีย ขอเสีย
ของการปกครองระบอบประชาธิปไตย ของการปกครองระบอบเผดจ็ การ

1. การแกไ ขบานเมอื ง บางเร่ืองอาจมีความ 1. ประชาชนไมมสี ิทธิเขา รวมในการ

ลา ชาหลายข้นั ตอน ปกครอง

2. ประชาชนสว นใหญยงั ขาดความรูในดา น 2. ไมคํานงึ ถึงความตอ งการของ

การบริหารประเทศ ประชาชน

3. ประชาชนขาดความสขุ รฐั บาลและ

ประชาชนไมมคี วามสมั พันธก นั อยา ง

ใกลช ิด

กิจกรรมท่ี 4

1. ง 2. ก 3. ค 4. ง 5. ง

6. ง 7. ก 8. ง 9. ค 10. ง

175

บรรณานกุ รม

กรมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษาธิการ. คูมอื การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนประวตั ิศาสตร ประวตั ศิ าสตร
ไทย :จะเรยี นการสอนกนั อยางไร. กรงุ เทพฯ : กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.

การรวมตัวทางเศรษฐกจิ ของอาเซยี น เอกสารเผยแพรอ อนไลน กรมอาเซยี น กระทรวง
การตางประเทศ (ออนไลน) . เขา ถึงไดจ าก www.mfa.go.th/asean/asean_web/docs/
asean_economy.doc

การศกึ ษาทางไกล. สถาบนั . กรมการศึกษานอกโรงเรียน. ชดุ การเรยี นทางไกล ระดบั มธั ยมศึกษตอนตน
หมวดวิชาพัฒนาสงั คมและชุมชน. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พค ุรสุ ภาลาดพราว, 2546.

การศึกษานอกโรงเรยี น, กรม. ชุดการเรียนทางไกล หมวดวิชาพฒั นาสงั คมและชมุ ชน ระดับมธั ยมศกึ ษา
ตอนตน. พฤษภาคม 2540.

โกเมน จริ ฐั กลุ , รศ.ดร.และเสรี ลีลาลัย, รศ. หนังสอื เรียน ส.504 สงั คมศกึ ษา
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5. กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นาพานิช จาํ กดั .

ขอ มูลทัว่ ไปของอาเชยี น. (ออนไลน) . เขา ถึงไดจาก : http://www.mfa.go.th/web/1694.php เวบ็ ไซต
กองอาเชยี น กระทรวงตา งประเทศ

คิม ไชยแสนสุข, รศ.และศนั สนยี  วรรณาวกูร. ชุดปฏิรูปการเรียนรหู ลกั สตู รการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พ.ศ.
2544 กลุมสาระการเรยี นรู สวนศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชวงช้นั ท่ี 4 สาระ 3 เศรษฐศาสตร.
กรุงเทพฯ : สํานกั พมิ พป ระสานมติ ร, 2545.

เคน จันทรวงษ สรปุ เขมลยุ โจทยค ลังขอสอบสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม สํานกั พมิ พ SCIENEC CENTER,
มปป.

เครือขา ยเรารกั พระเจาอยูหวั . 2554. “พระราชกรณียกจิ ดา นการเกษตรและการยกระดับสภาพชีวติ
ความเปนอยูของประชาชน”. (online).
http://www.xn--12co9drbac8a9as5aiidh8iseilnpa.com/
conten/index.php?page=content&type-view&cat=3&id=74 and_%20literature.php.
สืบบคน วนั ที่ 2 กรกฎาคม 2557.

_____________. “พระราชกรณยี กจิ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช
มหาราชดา นการศึกษา”. (online).
http://king.kapook.com/job_duties_international_relations.php. สบื คน วันที่ 2 กรกฎาคม
2557.

_____________. “พระราชกรณยี กจิ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช
มหาราชดานภาษาและวรรณกรรม”. (online).
http://king.kapook.com/job_duties_language_and_%20literature.php.

176

สบื คน วนั ท่ี 2 กรกฎาคม 2557.
เครอื ขายกาญจนาภิเษก. 2557. “พระราชประวตั พิ ระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช

มหาราช”. (online). http://kanchanapisek.or.th/biography/hmk.th.html.
สบื คนวันที่ 2 กรกฎาคม 2557.
ชาญ นพรตั น และสิทธา มีชอบธรรม หมวดวิชาพฒั นาสงั คมและชมุ ชน ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน
ตามหลกั เกณฑแ ละวิธกี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรียน หลักสตู รการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2544
บริษัท ปยมติ ร มัลติมิเดีย จาํ กัด, 2546.
แชน ปจ จุสานนท, พลเรือตร.ี กรณพี พิ าทระหวา งประเทศไทย ฝร่ังเศส และการรบทป่ี ากนํ้า
เจา พระยา สมยั รศ. 112. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พคุรสุ ภา. 2519.
ถนอม พนั ธุมณี. หนังสือเรยี นหลกั สูตรการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ. 2544 หมวดวิชาพัฒนาสงั คมและชุมชน
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน. พิมพคร้งั ท่ี 2. กรงุ เทพฯ : เสนาธรรม, มปป.
นายชาตชิ าย มกุ สง. 2556. ขบวนการเสรไี ทย. (online). http://www.kpi.ac.th/wiki/index.php/
ขบวนการเสรไี ทย. สบื คน วันท่ี 3 กรกฎาคม 2557.
นชิ า แกว พาณิช. เสริมสาระการเรียนรูพ้นื ฐานสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ม.3 : สํานักพมิ พ
เดอะบคุ ส จํากดั , 2551.
“แนวพระราชดาํ ริดานการศึกษา”. (online). http://obec.go.th/sites/obec.go.th/
files/document/attachment/17892/183229.pdf
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) เอกสารเผยแพรและสอ่ื ประชาสมั พนั ธ กรมอาเซียน กระทรวง
การตางประเทศ (ออนไลน) . เขาถงึ ไดจ าก : http://www.mfa.go.th/
internet/document/1808.doc)
ประโยชนท ไี่ ทยไดรับจากการเขา รวมกลมุ อาเซียน. (ออนไลน) . เขา ถงึ ไดจาก : http://www.mfa.go.th
หนงั สอื “มารูจกั อาเซยี นกันเถอะโดยกรมอาเซยี น กระทรวงการตางประเทศ
ประเวศ วะสี. เศรษฐกิจพอเพียงและประชาสังคม : แนวทางผลิตฟนฟูเศรษฐกิจสงั คม. กรงุ เทพฯ พิมพด ,ี
2544.
ปยพร บญุ เพ็ญ. หลกั เศรษฐศาสตร 3200-0101, 005-110-103. กรุงเทพฯ:
บริษทั บณั ฑติ สาสน จํากัด, มปป.
พัชรยี า ฉตั รเท. เอกสาร เรือ่ งคล่ืนสึนามกิ บั ผลกระทบสงิ่ แวดลอ ม
เพ็ญศรี ดุก, ศ.ดร. 2539. ความสมั พันธระหวางสยามกบั ฝรงั่ ในคริสตศ ตวรรษที่ 11. กรงุ เทพฯ.
เพ็ญสุรัตน หอมเย็น และคณะ. คมู อื เตรยี มสอบ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ม.1-2-3 : บรษิ ัท ไทเนรมติ กจิ อนิ เตอรโ ปรเกรสซีฟ จาํ กัด, 2537.
เพญ็ สรุ ตั น หอมแยม และคณะ. คมู ือเตรียมสอบ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ม.1-2-3 กรงุ เทพฯ : ไฮเดด พบั ลชิ ชงิ่ จาํ กดั , “มปป.”

177

ไพฑูรย พงศะบุตร และวนั ชัย ศิรริ ัตน. หนังสือเรียนสงั คมศึกษา ส.504 สังคมศึกษา
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 5. กรงุ เทพมหานคร : บริษัท โรงพมิ พไ ทยวัฒนา
พานิชย จํากดั , 2537.

มานติ กติ ตจิ งู จติ และสุรพล เอยี่ มอูทรัพย. กลุม สาระการเรียนรู สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ชวงชน้ั ท่ี 3 : แสงจันทรก ารพมิ พ, 2546.

ราชบัณฑิตสถาน. ใตรมพระบารมี จักรนี ฤบดนทิ ร สยามินทราธริ าช. 2547.
รจุ เิ รจ โลหารชนุ และคณะ. หนังสือเรียนชุดการศึกษานอกโรงเรยี น (กศน.) หมวดวิชาพัฒนาสงั คมและ

ชมุ ชน. (สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน . กรุงเทพฯ : ประสานมิตร
(ปมส.), 2549.
วิถีพเี ดีย สารนุกรมเสรี. มปผ. “พระราชกรณียกิจดานความมน่ั คงภายในประเทศ”. (online).
http://th.wikipedia.org/wikicite_note_-1. สบื คน วันท่ี 2 กรกฎาคม 2557.
วไิ ล ทรงโฉม, หมวดวิชาพัฒนาสงั คมและชมุ ชน ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน การศกึ ษานอกโรงเรยี น :
บรษิ ัท สามเจรญิ พาณิชย (กรุงเทพฯ) จาํ กดั , 2546.
ศิริพร ดาบเพชร คมคาย มากบวั และประจกั ษ แปะ สกลุ . ประวัตศิ าสตรไทย ม.4-ม.6.
พิมพคร้ังที่ 1. กรุงเทพฯ : อักษรเจรญิ ทศั น
สมนกึ ปฏปิ ทานนท และคณะ. คมู อื เตรียมสอบสังคมศึกษา ชว งชั้นที่ 3 (ม.1-ม.3) กรุงเทพฯ : ภมู บิ ัณฑติ การ
พิมพ, 2537.
สมสวย เห็นงาม และคณะ. ติวเขมกอ นสอบ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ชว งช้ันที่ 3 : บริษทั ฐานบณั ฑิต จาํ กัด กรงุ เทพฯ, 2537.
สารานุกรมไทยสาํ หรับเยาวชน โดยพระราชประสงคใ นพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู วั . ไทยกับ
สงครามโลกครั้งท่ี สอง. (online).http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/
book.php”book=4&chap=9&page=t4-9-infodetail06.htmel สืบคน วนั ท่ี 3 กรกฎาคม
2557.
สํานักขา วเจา พระยา. “พระราชกรณยี กจิ ดานการศาสนา”. (online). 2553.
http://www.chaoprayanews.com สบื คนวันที่ 2 กรกฎาคม 2557.
สํานักงานการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. ประวัตศิ าสตร ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3.
กรงุ เทพฯ : สกสค ลาดพรา ว. 2555.
_____________. ประวตั ิศาสตร เลม 1 ประวัติศาสตรไทย ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 4-6. พมิ พครัง้ ท่ี 1.
กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ สกสค ลาดพราว.
_____________. เอกสารการสอนชดุ ประวตั ิศาสตรไ ทย. พิมพครัง้ ที่ 5. นนทบุรี :
มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช.

178

สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช , มหาวทิ ยาลัย. เอกสารการสอนชุดประวตั ศิ าสตรไ ทย. พิมพครงั้ ท่ี 8.
นนทบุรี : มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช. 2552.

_____________. เอกสารการสอนชุดประวตั ศิ าสตรสงั คมและการเมืองไทย. พิมพค รั้งท่ี 30.
นนทบุรี : มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช. 2551.

สพุ ชิ ฌาย สวัสดริ าษฎร และกลุ ธดิ า รตั นโกศล. หมวดวชิ าพฒั นาสังคมและชุมชน ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน :
บรษิ ทั สาํ นกั พมิ พ ลองไลฟ เอ็ด จาํ กดั นนทบุร,ี 2549.

อภินันท จันตะนี และชัยยศ ผลวฒั นา. ระบบเศรษฐกจิ ไทยและการสหกรณ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ พิทกั ษ
อักษร, 2538.
อภนิ นั ท จันตะน.ี เอกสารคาํ สอนเศรษฐศาสตรม หภาค 1. ภาควิชาเศรษฐศาสตร

คณะวทิ ยาการจัดการ สถาบันราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา. กรงุ เทพฯ :
สํานักพิมพ พิทักษอักษร, 2538.
เอกสาร “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น” ฉบบั ประชาชน โดยกรมเจรจาการคา ระหวา งประเทศ
กระทรวงพาณิชย.
http://earthquake.usgs.gov/
http://www.thaigoodview.com
http://www.vcharkarn,com/varticle/33610
http://www.bloggang.com
http://www.thaipr.net
http://www.thai.cri.cn
http://www.thaigoodview.com
http://th.wikipedia.org
http://rirs3.royin.go.th/dictionvary,asp
http://www.thaigoodview.com/node/76621
http://www.mwit.ac.th

179

คณะผจู ัดทาํ

ท่ปี รกึ ษา บุญเรอื ง เลขาธกิ าร กศน.
อิม่ สุวรรณ รองเลขาธกิ าร กศน.
1. นายประเสริฐ จาํ ป รองเลขาธิการ กศน.
2. ดร.ชยั ยศ แกวไทรฮะ ทปี่ รกึ ษาดานการพฒั นาหลกั สูตร กศน.
3. นายวชั รนิ ทร ตณั ฑวฑุ โฒ ผูอาํ นวยการกลุม พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
4. ดร.ทองอยู
5. นางรกั ขณา

ผเู ขียนและเรียบเรียง

1. นางสาวสดุ ใจ บตุ รอากาศ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
2. นางสาวพมิ พาพร อินทจักร สถาบนั กศน. ภาคเหนือ
3. นางดุษณี เหลย่ี มพันธุ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื
4. นางดวงทิพย แกว ประเสริฐ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
5. นายนิพนธ ณ จนั ตา สถาบัน กศน. ภาคเหนอื
6. นางอบุ ลรัตน มโี ชค สถาบนั กศน. ภาคเหนอื
7. นางกรรณิการ ยศตอื้ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื
8. นางณชิ ากร เมตาภรณ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื

ผบู รรณาธกิ ารและพัฒนาปรบั ปรุง

1. นางพรทิพย เขม็ ทอง กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
2. นางสาวพิมพาพร อินทจักร สถาบนั กศน. ภาคเหนอื

3. นางสาวสรุ ตั นา บูรณะวิทย สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออก
4. นางสาวสปุ รีดา แหลมหลกั สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออก
5. นางสาวสาลินี สมทบเจรญิ กลุ สถาบนั กศน. ภาคตะวันออก

6. นายอุดมศกั ดิ์ วรรณทวี สํานกั งาน กศน. อ.โขงเจียม
7. นายเรอื งเวช แสงรตั นา สาํ นักงาน กศน. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื
8. นางพัฒนส ดุ า สอนซือ่ ขา ราชการบาํ นาญ

9. นางธญั ญาวดี เหลาพาณิชย ขา ราชการบาํ นาญ
10. นางพรทพิ ย เขม็ ทอง กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
11. นางสาววรรณพร ปทมานนท กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

12. นายเรืองเดช แสงวฒั นา สถาบนั กศน. ภาคตะวนั นออกเฉียงเหนือ
13. นางมยรุ ี สุวรรณเจรญิ สถาบัน กศน. ภาคใต

180

14. นางสาวสรุ ตั นา บูรณะวทิ ย สถาบนั กศน. ภาคตะวันออก
15. นางสาววาสนา โกสียวัฒนา สถาบนั การศกึ ษาทางไกล
ขา ราชการบาํ นาญ
16. นางธัญญาวดี เหลา พาณิชย กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
17. นางพรทพิ ย เขม็ ทอง
ศึกษานเิ ทศกเช่ียวชาญ
ผพู ัฒนาและปรับปรงุ ครง้ั ท่ี 2 ขา ราชการบาํ นาญ
ครูชาํ นาญการพิเศษ
1. นางสาวสดุ ใจ บุตรอากาศ กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
2. นางพรทิพย เขม็ ทอง กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
3. นางบุษบา มาลินีกุล
กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
4. นางพรทิพย พรรณนติ านนท กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
5. นางสาวกรวรรณ กวีวงษพ ิพัฒน กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
คณะทํางาน มัน่ มะโน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
ศรรี ัตนศลิ ป
1. นายสรุ พงษ ปท มานนท กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
2. นายศภุ โชค กุลประดิษฐ กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
3. นางสาววรรณพร กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
4. นางสาวศริญญา เหลืองจิตวฒั นา กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
5. นางสาวเพชรินทร กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

ผพู มิ พตน ฉบับ คะเนสม กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
เหลอื งจติ วฒั นา
1. นางปยวดี กววี งษพิพัฒน
2. นางสาวเพชรนิ ทร ธรรมธิษา
3. นางสาวกรวรรณ
4. นางสาวชาลนี ี บา นชี
5. นางสาวอริศรา

ผอู อกแบบปก

นายศุภโชค ศรรี ัตนศลิ ป

181

คณะผูจัดทํา

เน้อื หา เพ่มิ เตมิ เร่อื ง “พระราชกรณยี กิจของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช
และสมเดจ็ พระนางเจาสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ ทสี่ ง ผลตอการเปลย่ี นแปลงของประเทศไทย”

ท่ีปรึกษา สกลุ ประดิษฐ เลขาธิการ กศน.
ทบั สพุ รรณ รองเลขาธิการ กศน.
1. นายการณุ
2. นายชาญวิทย จาํ จด รองเลขาธกิ าร กศน.
3. นายสุรพงษ งามเขตต ผูอ าํ นวยการกลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
4. นางศทุ ธินี

ผเู ขียน เรียบเรยี ง จากการประชมุ คร้ังที่ 1

1. นายปณ ณพงศ ทา วอาจ สํานกั งาน กศน. จงั หวดั สโุ ขทัย
กศน.อําเภอสวรรคโลก จงั หวัดสโุ ขทัย
2. นายจริ พงศ ผลนาค กศน.อาํ เภอบางแกว จังหวดั พทั ลงุ
กศน.อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
3. นายวรวฒุ ิ จริยภัครดกิ ร กศน.อาํ เภอคลองหลวง จงั หวัดปทุมธานี
กศน.อําเภอวังนอย จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา
4. นายรอศักดิ์ เหะเหรม็ โรงเรียนสตรีวทิ ยา 2 ในพระอปุ ถัมภ
สมเดจ็ พระศรนี ครินทราบรมราชชนนี
5. นางสาวประภารสั ม พจนพมิ ล

6. นางสาววนั ทนา จะระ

7. นายรุจน หาเรอื นทรง

ผูเ ขยี น เรียบเรียง และ บรรณาธกิ าร จากการประชมุ คร้งั ท่ี 2

1. นายสันติ อศิ รพันธุ กศน.อาํ เภอโพธาราม จังหวัดราชบรุ ี

2. นางสาวประภารสั ม์ิ พจนพมิ ล กศน.อําเภอคลองหลวง จงั หวดั ปทุมธานี

คณะทํางาน

1. นายสุรพงษ มนั่ มะโน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
2. นายศุภโชค ศรรี ตั นศลิ ป กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
3. นางสาวสุลาง เพ็ชรสวา ง กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
4. นางสาวเบญ็ จวรรณ อําไพศรี

5. นางสาวทพิ วรรณ วงศเ รือน

6. นางสาวชมพนู ท สงั ขพ ิชยั



182

คณะผูป รับปรุงขอ มูลเกีย่ วกบั สถาบันพระมหากษัตริย ป พ.ศ. 2560

ทปี่ รึกษา จาํ จด เลขาธกิ าร กศน.
หอมดี ผูตรวจราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
1. นายสรุ พงษ ปฏิบตั หิ นา ทรี่ องเลขาธกิ าร กศน.
2. นายประเสริฐ สุขสุเดช ผอู ํานวยการกลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
3. นางตรนี ชุ
กศน.เขตมีนบรุ ี กรงุ เทพมหานคร
ผปู รบั ปรงุ ขอ มลู
กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
นางเพ็ญลดา ช่ืนโกมล กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
คณะทํางาน กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
1. นายสุรพงษ ม่นั มะโน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
2. นายศุภโชค ศรรี ัตนศิลป กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

3. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาํ ไพศรี

4. นางเยาวรัตน ปนมณีวงศ

5. นางสาวสุลาง เพ็ชรสวา ง

6. นางสาวทพิ วรรณ วงคเรอื น

7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน

8. นางสาวชมพนู ท สงั ขพิชัย


Click to View FlipBook Version