The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maw.nfe, 2020-04-14 22:00:42

สังคมศึกษา ม.ต้น

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

92

เกียรติใหจัดการประชุมสัมมนาหญาแฝกนานาชาติข้ึนท่ีจังหวัดเชียงราย เพ่ือเปนการเทิดพระเกียรติ
พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชในโอกาสท่ที รงครองสิรริ าชสมบตั ิครบ 50 ป

แนวพระราชดํารเิ ร่ืองทฤษฎใี หม แนวพระราชดํารทิ ฤษฎีใหม มจี ดุ มุงหมายที่จะใหเปน แนวปฏิบัติ
สาํ หรบั เกษตรกรรายยอ ยทม่ี พี นื้ ทท่ี ํากนิ จํากัด เพื่อใหเกษตรกรสามารถเล้ียงตัวเองได โดยเฉพาะใหมีความ
มัน่ คงในเรอ่ื งอาหาร คอื ใหสามารถผลิตขาวไดอยา งพอเพยี งตอ การบรโิ ภค เหตุที่เรียกวาทฤษฎีใหมเพราะมี
การบริหารจัดการแบงที่ดินแปลงเล็กออกเปนสัดสวนท่ีชัดเจน เพ่ือประโยชนสูงสุดของเกษตรกร
ซึ่งไมเคยมีใครคิดมากอน มีการคํานวณโดยหลักวิชาการและมีการวางแผนท่ีสมบูรณแบบสําหรับเกษตร
รายยอ ย ดงั นี้

การจัดสรรพืน้ ที่อยูอาศัยและที่ทํากิน ใหแบงพื้นท่ีออกเปน 4 สวน ตามอัตราสวน 30 : 30 : 30 :
10 ซ่ึงหมายถงึ พ้ืนที่สวนที่ 1 ประมาณรอยละ 30 ใหขุด
สระเก็บกักนํ้า เพ่ือใชเก็บกักนํ้าฝนในฤดูฝน และใชเสริม
การปลูกพืชในฤดูแลง ตลอดจนการเล้ียงสัตวนํ้าและพืชน้ํา
ตาง ๆ พืน้ ท่สี วนที่ 2 ประมาณรอ ย 30 ใหปลูกขาวในฤดูฝน
เพื่อใชเปนอาหารประจําวันสําหรับครอบครัวใหเพียงพอ
ตลอดป เพื่อตัดคาใชจายและสามารถพ่ึงตนเองได พื้นที่
สวนท่ี 3 ประมาณรอยละ 30 ใหปลูกไมผล ไมยืนตน

พืชผัก พืชไร พืชสมุนไพร ฯลฯ เพ่ือใชเปนอาหารประจําวัน หากเหลือบริโภคก็นําไปจําหนาย พ้ืนที่สวนที่ 4
ประมาณรอ ยละ 10 เปนท่ีอยอู าศัย เล้ยี งสัตวและโรงเรือนอื่น ๆ

โครงการสว นพระองคสวนจติ รลดา พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช
ทรงคนควาทดลองและวิจัยดานการเกษตรเปนโครงการสวนพระองคมาตั้งแต พ.ศ. 2505 ท่ีสวนจิตรลดา
พระราชวังดุสิต ทรงแบงโครงการสว นพระองคใ นสวนจติ รลดาเปน 2 แบบ คือ โครงการแบบไมใชธุรกิจ และ
โครงการกึ่งธุรกิจ โครงการแบบไมใชธุรกิจ เกี่ยวของกับการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตร

โดยทรงใหความสําคัญกบั การเพ่มิ พนู คุณภาพชีวิตของเกษตรกร
ในระยะยาว เพ่ือใหเกษตรกรสามารถพึ่งตนเองไดทางดาน
อาหาร และสนับสนุนใหมีรายไดเพ่ิมข้ึนนอกเหนือจากรายได
จากภา คเกษตร อีก ท้ังยัง เนนก ารพัฒน าและ อนุรัก ษ
ทรัพยากรธรรมชาติดวย เชน นาขาวทดลอง การเลี้ยงปลานิล
การผลิตแกสชีวภาพ หองปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร เพ่ือใช
ตรวจคุณภาพของผลิตภัณฑตาง ๆ ที่ผลิตจากโครงการ
สว นพระองคส วนจิตรลดา หอ งปฏิบตั ิการเพาะเล้ยี งเน้อื เยื่อพืชเพ่ือขยายพันธุไม โครงการบําบัดนํ้าเสีย และ
โครงการสาหรายเกลยี วทอง ซึ่งนาํ มาผลติ เปนอาหารปลา

93

สว นโครงการก่ึงธุรกิจ ซ่ึงเปนโครงการที่มีการจําหนายผลิตภัณฑในราคายอมเยาว โดยไมหวังผล
กําไรอันเปนที่รูจักกันโดยท่ัวไป เชน โรงโคนมสวนจิตรลดา โรงนมผงสวนดุสิต ศูนยรวมนมสวนจิตรลดา
โรงสขี า วตัวอยา งสวนจติ รลดา โรงนมเมด็ สวนดสุ ติ โรงเนยแข็ง โรงกล่ันแอลกอฮอล โรงเพาะเหด็ โรงนํ้าผลไม
กระปอง โครงการตาง ๆ เหลานี้เนนการนําทรัพยากรธรรมชาติและปจจัยทางการเกษตรที่มีอยูมาใชอยาง
ประหยดั และเนนประโยชนสูงสดุ เพอื่ นาํ ผลการทดลองออกเผยแพรเ พื่อเปน ตวั อยางแกเ กษตรกร

โครงการหลวง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงกอต้ังโครงการหลวงข้ึน
โดยเริ่มจากการเสด็จพระราชดําเนินแปรพระราชฐานไปประทับ ณ พระตําหนักภูพิงคราชนิเวศน และได
ทอดพระเนตรความเปน อยูของชาวเขาทม่ี ฐี านะยากจน ปลูกฝน และทําลายปาไม ตนนํ้าลําธาร จึงทรงริเร่ิม

สงเสริมการเกษตรแกชาวเขาโดยพระราชทานพันธุพืช
พันธุสัต ว เพื่อ ทดแทน การปลู กฝน ใ น พ.ศ. 251 2
ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหก อ ตั้งโครงการสวนพระองคขึ้น
ชื่อโครงการพระบรมราชานุเคราะหชาวเขา ซึ่งตอมา
เปลี่ยนเปน โครงการหลวงพัฒนาชาวเขา โครงการหลวงไดให
ทุนสนับสนุนนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
มหาวิทยาลัยเชียงใหม หนวยราชการตาง ๆ ใหทําการวิจัย
จํานวนมาก โครงการวจิ ัยตาง ๆ ลวนเกี่ยวของกับการเกษตร
เชน โครงการวิจัยไมผล โครงการวจิ ัยพชื ผัก โครงการวิจยั ไมดอกไมประดับ โครงการวิจัยพืชไร โครงการวิจัย
ศัตรูพืช โครงการวิจัยงานเล้ียงสัตว โครงการวิจัยงานขยายพันธุพืช นอกจากการวิจัยแลว โครงการหลวง
ยังขยายผลไปสกู ารปฏิบัติโดยชกั ชวนเกษตรกรชาวเขาเขามารวมมือดาํ เนินการเชิงการคาพรอมไปกับงานวิจัย
ปญหาตา ง ๆ ท่เี กดิ ข้ึนในแปลงเกษตรไดร บั การแกไ ขเพม่ิ เตมิ ตดิ ตอ กนั ไป สง ผลใหงานสง เสริมปลูกพชื ทดแทน
ฝนทําไดอยางรวดเร็วขึ้น พรอมกับการแกไขปญหาในพ้ืนที่ของเกษตรก็สามารถทําไดอยางจริงจัง งานของ
โครงการหลวงไดร ับการยอมรบั วา เปน วธิ กี ารแกปญหาพ้นื ทป่ี ลกู ฝน ท่ีทําไดอ ยางสันติวิธีที่สุด และยังเปนการ
ชว ยชาวเขาใหม อี าชีพม่นั คง มลู นธิ ิแมกไซไซ แหงประเทศฟลิปปนสจึงประกาศใหโครงการหลวงเปนองคกร
ท่ีไดรับรางวัลแมกไซไซในดาน International Understanding เมื่อ พ.ศ. 2531 ตอมาพระบาทสมเด็จ-
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงโปรดเกลาฯ ใหเปล่ียนสถานภาพของโครงการหลวงเปนมูลนิธิ
โครงการหลวง
โครงการหลวงเกิดขนึ้ ดว ยพระราชหฤทัยมงุ มน่ั ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ที่จะทรงพฒั นาคุณภาพชวี ติ ของราษฎรโดยเฉพาะอยางยิ่งเกษตรกร ทําใหเกษตรกรในชนบทมีอาชีพที่ม่ันคง
โดยใชเทคโนโลยีทางการเกษตรชวยพัฒนาการเกษตรของประเทศไดเปนอยา งดี
2. ดานสาธารณสุข
พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทรงปฏิบตั พิ ระราชกรณียกิจในฐานะพระบิดา
ของปวงชน โดยตัง้ พระทัยมัน่ ทจี่ ะพระราชทานส่งิ จําเปนสําหรบั ชวี ิตทดี่ แี กพ สกนกิ ร ผูใดจะยากดมี จี น อยใู นเมอื ง

94

หรอื ชนบท หรอื จะเปน ชนกลุมนอย หรอื จะนบั ถือศาสนาความเชื่อใด ลวนไดรับพระมหากรุณาธิคุณโดยท่ัวหนา
ซง่ึ ปรากฏเปน บริการสาธารณะตา ง ๆ เพือ่ มวลชน ทงั้ ดา นอาหาร นา้ํ ด่มื นา้ํ ใช การศึกษา การทํามาหากินเลี้ยงชีพ
และการสาธารณสขุ

บรกิ ารสาธารณสุขดานการแพทยและสุขอนามัย
สําหรบั ประชาชนทวั่ ไปท้งั ประเทศเรม่ิ มาต้งั แตร ะยะแรก ๆ
ของรชั สมัยของพระองคท าน งานดา นนกี้ ็เหมอื นงานพฒั นา
ดานอื่น ๆ ท่ีทรงทํา คือมีการออกแบบและวางแผนเปน
อยางดี ไมวาจะเปนเร่ืองแนวคิด การเตรียมการหรือ
การลงมือปฏิบัติงาน ลวนเพื่อประโยชนของประชาชน
เปนใหญ โครงการดานสุขภาพหลาย ๆ โครงการของ
พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ร มิ น ท ร ม ห า ภู มิ พ ล อ ดุ ล ย เ ด ช

ชวยบรรเทาทุกขเข็ญของราษฎรเหลานี้ เปนท้ังความชวยเหลือแบบทันทีหรือแบบระยะสั้น และมีที่เปน
ความชวยเหลือระยะยาวดว ย

ในการเสด็จพระราชดําเนินทรงเย่ียมเยียนราษฎรในภูมิภาคตาง ๆ ไดพบวาราษฎรสวนหน่ึงที่มี
รางกายและสุขภาพไมสมบูรณเ นอ่ื งจากขาดทุนทรพั ยในการรักษา ขาดผูรักษา หรืออยูหางไกลสถานที่รักษา
และจํานวนไมน อ ยขาดอาหาร จึงทรงจัดหนว ยแพทยเ คล่อื นท่ีพระราชทาน ต้ังแต พ.ศ. 2497 ทําใหราษฎร
ในเขตทุรกันดารไดรบั การบําบัดรักษา บางครั้งราษฎรที่ปว ยหนกั หรือปวยเรือ้ รงั พระบาทสมเด็จพระปรมินทร-
มหาภูมิพลอดลุ ยเดช ทรงรบั ส่งั ใหผ นู นั้ เปนคนไขในพระบรมราชานุเคราะห ทาํ ใหผ ปู ว ยและครอบครวั พนจาก
ความทุกขทรมานทั้งกายและใจ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจึงเปนที่เคารพรักของ
ปวงชนชาวไทยในทกุ ภูมิภาคท่วั ประเทศ

3. โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชหฤทัยมุงม่ันที่จะแกไขปญหา

ความเดือดรอนของราษฎร และทรงเพียรพยายามที่จะพัฒนาความเปนอยูของราษฎร ดวยเหตุน้ีจึงเกิด
โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริขึ้นจํานวนมากและครอบคลุมการพัฒนาในดานตาง ๆ

ท้ังทรพั ยากรธรรมชาติและคุณภาพชีวิตของประชาชน
โ ค ร ง ก า ร อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ล ว น แ ต มี
จุดมุงหมายท่ีจะใหราษฎรมีความผาสุกอยางแทจริง
มีดังน้ี
โครงการตามพระราชประสงค คือ โครงการที่ทรง
ศึกษา ทดลอง ปฏิบัติเปนการสวนพระองค ทรงใช
พระราชทรพั ยสวนพระองค เมื่อไดผลดีก็จะให
หนว ยงานของรัฐเขารบั ดําเนนิ การตอ ไป

95

โครงการหลวง คือ การพัฒนาชีวิตตามความเปน อยขู องชาวไทยภูเขาใหด ขี ้ึน ชักจงู ใหเ ลกิ
ปลกู ฝน งด การตัดไมท ําลายปา และทาํ ไรเลอ่ื นลอย

โครงการตามพระราชดําริ คือ โครงการที่ทรงวางแผนพัฒนาและเสนอแนะใหรัฐบาลเขารวม
ดําเนนิ งานตามพระราชดําริ ปจ จบุ นั เรียกวา “โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดําริ” ซึง่ มอี ยทู ั่วทุกภาคของ
ประเทศไทย

“โครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดําริ” เปนโครงการท่ที รงวางแผนเพือ่ การพฒั นา ซ่ึงเกิดจาก
การท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดําเนินเย่ียมราษฏรในภูมิภาคตาง ๆ
ท่ัวประเทศ และทรงพบเหน็ ปญ หาท่ีเกดิ ข้นึ โดยเฉพาะอยา งย่ิงปญหาเกษตรกรรม จงึ ไดพระราชทานคาํ แนะนํา
เพื่อนําไปปฏิบัติจนไดผลดี และไดรับการยอมรับจากผูปฏิบัติงานทั้งหลายวาสมควรย่ิงท่ีจะดําเนินตาม
พระราชดําริ พระราชดําริเริ่มแรกซึ่งเปนโครงการชวยเหลือประชาชนเริ่มข้ึนตั้งแต พ.ศ. 2494 โดยทรง
พระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหกรมประมงนําพันธุปลาหมอเทศจากปนัง ซึ่งไดรับจากผูเช่ียวชาญดานการประมง
ขององคก ารอาหารและเกษตรแหง สหประชาชาตเิ ขาไปเล้ยี งในสระนํ้า พระที่นั่งอัมพรสถาน และเม่ือวันท่ี 7
พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2496 ก็ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ พระราชทานพันธปุ ลาหมอเทศแกกํานันและผูใหญบาน
ทว่ั ประเทศ นําไปเลย้ี งเผยแพรขยายพันธุแ กร าษฏรในหมูบา นของตน เพือ่ จะไดมอี าหารโปรตีนเพิ่มขึน้

4. ศูนยศ กึ ษาการพฒั นาอนั เนื่องมาจากพระราชดําริ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มีพระราชดาํ รใิ หจดั ตง้ั ศูนยก ารศึกษาพัฒนา

อนั เนือ่ งมาจากพระราชดาํ ริขน้ึ โดยมีวัตถุประสงคท่ีสําคัญ คือ การเปนแหลงหาความรูใหแกราษฎร เพ่ือให
เปน ตวั อยา งนาํ ไปประยกุ ตใชก ับงานอาชีพของตน โดยเฉพาะอยางยิ่งเรื่องท่ีเกี่ยวกับการเกษตรกรรมตาง ๆ
ทีท่ าํ ใหเ กษตรกรมีรายไดในการเลย้ี งตนเองและครอบครวั เพมิ่ ข้นึ

ศูนยศ กึ ษาการพฒั นาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ไดจัดตั้งขึ้นตามแนวพระราชดําริในทุกภาค
จาํ นวน 6 ศูนย ไดแก (1) ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน จังหวัดฉะเชิงเทรา (2) ศูนยศึกษาการพัฒนา

หวยทราย จังหวัดเพชรบุรี (3) ศูนยศึกษาการพัฒนา
อาวคุงกระเบน จังหวัดจันทบุรี (4) ศูนยศึกษาการ
พัฒนาภูพาน จังหวัดสกลนคร (5) ศูนยศ กึ ษาการพัฒนา
หว ยฮอ งไคร จงั หวัดเชยี งใหม (6) ศูนยศ กึ ษาการพัฒนา
พิกุลทอง จังหวัดนราธิวาส เพื่อเปนสถานท่ีศึกษา
ทดลอง ทดสอบ และแสวงหาแนวทางวิธีการพัฒนา
ดานตาง ๆ ใหเหมาะสมสอดคลองกับสภาพแวดลอม
ท่ีแตกตา งกนั ศนู ยศ กึ ษาฯ จงึ เปรยี บเสมอื น “ตัวแบบ” ของความสําเร็จที่จะเปนแนวทาง และตัวอยางของ
ผลสาํ เรจ็ ใหแกพ ้ืนท่ีอน่ื ๆ เปนศนู ยบ รกิ ารแบบเบด็ เสร็จ คือ สามารถทจ่ี ะศึกษาหาความรูไดทุกเร่ือง ทั้งดาน
การปรับบํารุงดิน การปลูกพืชสวน พืชไร การเลี้ยงสัตว การประมง ปาไม ตลอดจนการชลประทาน
งานศิลปาชพี ฯลฯ ซงึ่ ผลสําเรจ็ เหลา นี้ไดจ ัดสาธิตไวใ นลักษณะของ พพิ ธิ ภณั ฑธรรมชาติทม่ี ีชวี ิต

96

พระอัจฉริยภาพ

เปนท่ีทราบกันดีกวา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีฝพระหัตถ
เปนเยยี่ มในดา นการชาง ไมว า จะเปนงานชางไม ชางโลหะ หรือชา งกล ซ่ึงเปน งานพ้นื ฐานทางวิศวกรรมศาสตร
จึงไดทรงคดิ คน สงิ่ ประดษิ ฐใ หม ๆ เพอ่ื ใชใ นการพฒั นาประเทศและชว ยเหลอื ประชาชนของพระองค ดังนี้

1. งานดานการประดิษฐ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงหวงใย
สภาพแวดลอมตามธรรมชาติที่จําเปนตอการมีชีวิตอยูอยางผาสุกของประชาชนชาวไทยที่เสื่อมโทรมลง

โดยเฉพาะอยางย่ิงปญหาเร่ืองน้ําเสีย ท่ีนับวันมีเพ่ิมมากขึ้นทุกที
และทําความเสียหายแกแหลงนํ้าสะอาดตามธรรมชาติ ทําใหสัตว
ตาง ๆ เชน กงุ หอย ปู ปลา และ อื่น ๆ ที่อยูในแหลงน้ํานั้น หากไม
ตายก็เล้ียงไมโตหรือพิกลพิการจนไมอาจใชบริโภคเปนอาหาร
ไดอ ยา งปลอดภัย เปนอนั ตรายตอ สุขภาพอนามยั และความเปนอยู
ของผูคนอยางรายแรง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล-
อดลุ ยเดช จึงพระราชทานแนวพระราชดาํ ริวา หากเราสามารถเติม
ออกซเิ จนลงไปในนา้ํ เสียได โดยทําเคร่ืองกลเติมอากาศที่มีข้ันตอนการประดิษฐที่คนไทยสามารถทําไดดวย
ตนเอง เสยี คาใชจ า ยนอย กจ็ ะชว ยแกไขสภาพน้ําเสียได ดว ยพระอจั ฉรยิ ภาพดานการประดษิ ฐ พระองคทรง
กาํ หนดเคร่อื งตนแบบ และเปน ท่ีมาของ กังหันนํ้าชัยพัฒนา นํามาใชในการปรับปรุงคุณภาพนํ้าตามสถานที่
ตา ง ๆ ทัว่ ทกุ ภูมภิ าค
2. งานดานวรรณกรรม ผลงานดานวรรณกรรมของพระองคมีท้ังพระราชนิพนธที่ทรงแตงและแปล
ซ่งึ มอี ยหู ลายเรอ่ื งดวยกัน เชน
- พระราชนิพนธเรอ่ื ง“พระราชานุกจิ รัชกาลที่ 8 ” ตามคํากราบบงั คมทูลขอพระราชทานของ
หมอมเจาหญิงพูนพิสมัย ดิศกุล ซึ่งโปรดเกลาฯใหพิมพพระราชทานในการพระราชกุศล 100 วัน พระบรมศพ
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล เมอื่ วนั ท่ี 20 กนั ยายน 2489
พระราชนิพนธเร่ืองน้ีเปนเรื่องราวกิจวัตรของรัชกาลท่ี 8 ท้ังในสวนพระองค พระราชกิจและ
พระราชานุกิจขณะเสด็จประพาสสถานทต่ี า ง ๆ ทรงใชภ าษาทส่ี ั้น กระชับและไดใ จความชัดเจน
- พระราชนิพนธเร่ือง “เมื่อขาพเจาจากสยามสูสวิตเซอรแลนด” ไดพระราชทานเปนพิเศษแก
หนงั สอื วงวรรณคดี ฉบบั เดอื นสิงหาคม พ.ศ. 2490 ใชรปู แบบบันทึกประจําวนั ต้งั แตเสดจ็ ฯ จากประเทศไทย
เพ่ือไปทรงศึกษาตอ ณ ประเทศสวิตเซอรแลนดชวงกอนเดินทางจากเมืองไทยไปยังตําหนักวิลลาวัฒนา
ระหวา งวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2489 - 22 สิงหาคม พ.ศ. 2489 ซึ่งพระราชนิพนธน้ีทรงพรรณนาความรูสึก
ของพระองคขณะจากเมืองไทย สะทอนใหเห็นถึงความรัก ความผูกพันและความหวงใยในพสกนิกรของ
พระองค

97

- พระราชนพิ นธเรือ่ งพระมหาชนก หลังจากที่พระบาทสมเดจ็
พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ไดท รงสดบั พระธรรม-
เทศนาของสมเดจ็ พระมหาวีรวงศ แหง วดั ราชผาตกิ าราม
เม่ือป พ.ศ. 2520 เรอื่ งพระมหาชนกเสด็จทอดพระเนตร
พระราชอทุ ยานในกรงุ มิถลิ า จากนนั้ จงึ ทรงคนควา
เร่ืองพระมหาชนเพิ่มเติมในพระไตรปฎ กและทรงแปลเปน
ภาษาองั กฤษ ในป พ.ศ. 2539 และแปลเปน ภาษาสนั สกฤตอกี ภาษาหนึ่ง กอ นจะแปลเปนฉบับการตนู ในป
พ.ศ. 2545 เพือ่ ใหอ านเขาใจงา ยขน้ึ อันเปน แนวการดําเนนิ ชวี ติ ทเ่ี ปนมงคลทางหนง่ึ
- พระราชนิพนธเร่อื งทองแดง เปน หนังสอื ท่ีแฝงขอคดิ คติธรรมท่มี คี ุณคา โดยเฉพาะความกตัญู
รูคณุ ของทองแดง สุนัขทรงเลี้ยง ตพี มิ พคร้งั แรกเมอื่ พ.ศ. 2541

3. งานแปล
- ติโต เปนผลงานแปลช้นิ แรกของพระองค โดยทรงแปลจาก Tito ของ Phyllis Auty ในป พ.ศ.

2519 เพ่อื ใหข า ราชบริพารไดทราบถึงบุคคลท่ีนาสนใจคนหนึ่งของโลก ติโตเปนผูที่ทําประโยชนใหประเทศ
ยูโกสลาเวีย ซงึ่ มีประชาชนมาจากหลากหลายชนเผา มีความแตกตา งกนั ทัง้ ในเร่ืองเชอ้ื ชาติ ศาสนา วฒั นธรรม
และประวัติศาสตร แตสามารถรวมตัวกันไดเปนปกแผนในยามที่ประเทศชาติมีวิกฤติเพื่อรวมกันรักษา
ความเปนปกแผน และความเจริญของประเทศไว หนังสือตโิ ตนวี้ างจาํ หนา ย ในป พ.ศ. 2537

- เศรษฐศาสตรตามนัยของพระพทุ ธศาสนา
นายอินทรผูปดทองหลังพระ เปนงานแปลชิ้นที่สองของพระองคทาน โดยทรงแปลจากหนังสือ
A Man Called Intrepid ของ William Stevenson ใชเวลาแปลกวา 2 ป จดั พมิ พ ในป พ.ศ. 2536

4. งานดา นดนตรี
ความสนพระราชหฤทัยดา นดนตรี

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงสนพระราชหฤทัยดนตรีมาตั้งแตยัง
ทรงพระเยาว ทรงอา นหนังสอื เก่ียวกบั การดนตรีต้งั แตทรงศึกษาอยูที่ประเทศสวิตเซอรแลนด ทรงไดรับการ

ฝกฝนตามแบบฉบับการศึกษาวิชาดนตรีอยางแทจริง คือ
การเขียนโนตและบรรเลงแบบคลาสสิกเคร่ืองดนตรีท่ีโปรด คือ
เคร่อื งเปาแทบทุกชนิด เชน แซกโซโฟน คลารเิ นต็ ทรมั เปต ท้ังยัง
ทรงกีตารและเปยโน นอกจากน้ีทรงเลนดนตรีรวมกับวงดนตรี
ไดท กุ วงทงั้ ไทยและตางประเทศ ยังทรงดนตรีไดท้ังชนิดมีโนตและ
ไมต องมโี นต เมื่อคร้ังเสด็จพระราชดําเนนิ เยือนนครนวิ ยอรค ประเทศ
สหรัฐอเมริกา เมื่อปพุทธศักราช 2503 นักดนตรีที่มีชื่อเสียงของ

98

โลกลวนถวายการยกยอ งพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชในฐานะท่ีทรงเปนนกั ดนตรีแจส ทม่ี ี
อัจฉริยภาพสงู สง พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ทรงเปนนักดนตรีที่มีพระปรีชาสามารถสูง
พระองคหนง่ึ และไดทรงใชพ ระปรชี าสามารถนี้ใหเ ปน ประโยชนต อการสรางสัมพนั ธภาพอันดใี หเกดิ ขนึ้ ในมวล
มนุษยชาติ เปนหนึ่งในตัวอยางของการท่ีทรงนําพระอัจฉริยภาพดานดนตรีมาใชเปนสื่อกลางในการสราง
ความสมานฉนั ทสาํ หรับในระดบั ชาติ

พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช
ทรงประสบความสาํ เร็จในการใชดนตรเี ปนภาษาสากล สรางมติ รภาพ
ระหวา งประเทศไดอยา งงดงาม เชน เมื่อคราวเสดจ็ พระราชดาํ เนนิ เยือน
สหรัฐอเมรกิ า ในป 2503 ระหวา งงานถวายเลย้ี งพระกระยาหารคํ่าที่
วอชิงตันเพลส ทรงไดรับการกราบบงั คมทูลเชิญใหร วมบรรเลงดนตรี
กบั วงดนตรที ่ีจัดแสดงถวายหนาพระทน่ี ่งั โดยไมไดเตรยี มพระองค
มากอน สรางความประทบั ใจแกผ ูร วมงานในวันนน้ั อยา งย่ิง

รางวลั และพระเกียรติยศ

- พ.ศ. 2519 ประธานรฐั สภายุโรปและสมาชิกรวมกันทลู เกลา ฯ ถวาย “เหรียญรฐั สภายุโรป”
- พ.ศ. 2529 ประธานคณะกรรมาธกิ ารเพอ่ื สันติของสมาคมอธิการบดรี ะหวางประเทศทลู เกลาฯ
ถวาย “รางวัลสันติภาพ”

- พ.ศ. 2530 สถาบนั เทคโนโลยแี หงเอเชีย ทูลเกลาฯ ถวาย “เหรียญทองเฉลิมพระเกียรติ
คณุ ในการนาํ ชนบทใหพ ัฒนา”

- พ.ศ. 2535 ผอู ํานวยการใหญโครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) ทูลเกลาฯ ถวาย
“เหรียญทองประกาศพระเกียรติคุณดานส่ิงแวดลอม” และผูอํานวยการใหญองคการอนามัยโลก (WHO)
ทูลเกลาฯ ถวาย “เหรียญทองสาธารณสขุ เพ่ือมวลชน”

- พ.ศ. 2536 คณะกรรมการสมาคมนิเวศวิทยาเชิงเคมีสากล (International Society of
Chemical Ecology) ทูลเกลา ฯ ถวาย “เหรียญรางวัลเทดิ พระเกียรติในการสงวนรกั ษาความหลากหลายทาง
ชวี ภาพ” และหัวหนา สาขาเกษตร ฝายวชิ าการภมู ภิ าคเอเชียของธนาคารโลก ทูลเกลาฯ ถวาย “รางวัลหญา
แฝกชุบสาํ ริด” สดุดพี ระเกียรติคณุ ในฐานะทีท่ รงเปน นักอนรุ ักษดินและน้าํ

- พ.ศ. 2537 ผูอํานวยการบริหารของยูเอ็นดีซีพี (UNDCP) แหงสหประชาชาติ ทูลเกลาฯ ถวาย
“เหรยี ญทองคําสดดุ ีพระเกยี รตคิ ณุ ดา นการปอ งกันแกไ ขปญหายาเสพตดิ ”

99

- พ.ศ. 2539องคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ (FAO) ทูลเกลาฯ ถวาย “เหรียญสดุดี
พระเกียรติคุณในดา นการพฒั นาการเกษตร”

- พ.ศ. 2549 สํานักงานโครงการพัฒนาแหงสหประชาชาติ (UNDP) ทูลเกลาฯ ถวาย “รางวัล
ความสําเร็จสูงสุดดานการพัฒนามนุษย” จากการที่ไดทรงอุทิศกําลังพระวรกายและทรงพระวิริยอุตสาหะ
ในการปฏิบัติพระราชกรณยี กิจนอ ยใหญนานัปการ เพ่อื ยงั ประโยชนและความเจริญอยา งยั่งยืนมาสูประชาชน
ชาวไทยทั้งประเทศมาโดยตลอด

นายโคฟ อนั นนั เลขาธิการสหประชาชาติ ไดกลาวในโอกาสทูลเกลาฯ ถวายรางวัลดังกลาวไววา
“หากการพัฒนาคน หมายถึง การใหความสําคัญประชาชนเปนลําดับแรก ไมมีสิ่งอื่นใดแลวที่ยิ่งใหญไปกวา
การพัฒนาคน ภายใตแ นวทางการพฒั นาคนขององคพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ท่ีได
ทรงอุทิศพระวรกาย ทรงงาน โดยไมรูสึกเหน็ดเหน่ือย ไมเลือกเชื้อชาติ วรรณะ และศาสนา ทรงเปน
พระมหากษัตริยนักพัฒนา ดวยพระปรีชาสามารถในการเปนนักคิดของพระองค ทําใหนานาประเทศต่ืนตัว
ภายใตแ นวคิดเศรษฐกจิ พอเพียง การเดินสายกลาง รางวลั ความสําเร็จสงู สดุ คร้ังนี้ เปนการจุดประกายแนวคดิ
การพัฒนาแบบใหมส นู านาประเทศ”

100

- พ.ศ. 2551 องคการทรัพยสินทางปญญาโลก (WIPO) ไดทูลเกลาฯ ถวายรางวัล WIPO Global
Leaders Award แดพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เน่ืองดวยงานทรัพยสินทางปญญา
สง เสริมและพัฒนาประเทศรวมถึงชีวิตความเปน อยขู องพสกนิกรชาวไทยใหดีข้ึนอยางโดดเดนเปนที่ประจักษ
แกสายตาชาวโลก อีกทั้งยังทรงเปนผูนําประเทศพระองคแรกที่ไดรับทูลเกลาฯ ถวายรางวัลน้ี นอกจากนี้
จากการหารือกันของสหพันธสมาคมนักประดิษฐระหวางประเทศ (International Federal Inventor
Association : IFIA) ซงึ่ มสี มาชกิ 84 ประเทศท่ัวโลกยงั มิไดมมี ตใิ หว ันท่ี 2 กมุ ภาพันธข องทุกป ซ่ึงเปนวนั ทท่ี รง
ไดรับการจดสทิ ธิบัตรกงั หนั นาํ้ ชัยพฒั นาเปน วันนักประดษิ ฐโ ลกดวย

ไมใ ชเพยี งแคน น้ั หากยอนกลบั ไปในอดีตจะพบวา หลายองคกรท่ีเก่ียวของกับทรัพยสินทางปญญา
ไดเคยทูลเกลาฯ ถวายเหรียญรางวัล และประกาศนียบัตรตาง ๆ แดพระองคมากมาย ไดแก IFIA ประเทศ
ฮังการีทูลเกลา ฯ ถวายถวยรางวัล IFIA Cup 2007 สําหรับผลงานกังหันน้ําชัยพัฒนา เหรียญ Genius Prize
สําหรับผลงานทฤษฎีใหมและเศรษฐกิจพอเพียง และสมาคมสงเสริมการประดิษฐแหงสาธารณรัฐเกาหลี
(korea Invention Promotion Association : KIPA) ไดทูลเกลาฯ ถวายรางวัล Special Prize พรอม
ประกาศนียบัตรซ่ึงถือเปนรางวลั อันทรงเกียรติของนักประดิษฐใ นระดบั โลก

ถงึ แมวา รางวัลเกยี รตยิ ศตา ง ๆ เหลา นจ้ี ะมิใชเ ปา หมายสาํ คัญในการตรากตราํ ทรงงานอยางหนักของ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และประกาศเกียรติคุณจํานวนนับไมถวนท่ีทรงไดรับมา
ตลอดระยะเวลาแหงการครองราชยจะเทียบมิไดกับพระมหากรุณาธิคุณอันยิ่งใหญของพระองคทานที่มีตอ
ปวงชนคนไทย แตก็มิอาจมีใครปฏิเสธไดวาพระองคทรงเปนองคพระประมุขท่ีนําพาประเทศไทยกาวไป
ขางหนา เพื่อใหโลกหันมามองประเทศไทยในแงมุมใหมที่มีเสนหและความงดงามล้ําคาตามแบบฉบับของ
ตนเองมากกวาท่ีจะเปน เพยี งแคจ ุดเล็ก ๆ จดุ หนึ่งบนแผน ทข่ี องภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต

โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อป พ.ศ. 2549 ในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป ซึ่งยาวนานกวา
พระมหากษัตริยพ ระองคใดในประวัติศาสตรชาติไทยและในโลกปจจุบนั ประเทศที่มีพระมหากษัตริยทรงเปน
ประมุขจํานวน 25 ประเทศ จากทั้งส้นิ 29 ประเทศท่วั โลก ไดตอบรับคาํ เชิญของรัฐบาลไทยมารว มเปนเกียรติ
ในพระราชพธิ ีอนั ย่ิงใหญ นอกจากจะนับเปน การชุมนุมของพระประมขุ จากประเทศตา ง ๆ มากท่ีสดุ ในโลกแลว
ยังเปนการแสดงใหเห็นวานานาประเทศทั่วโลกลวนแลวแตช่ืนชมในพระบารมีอันแผไพศาลของ
พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและไมใชเพียงแตบุคคลระดับประมุขของประเทศตาง ๆ
เทา นน้ั จากบทความและขา วตางประเทศจํานวนมากมายที่ปรากฏสูสาธารณชนก็เปนเครื่องยืนยันไดวา มิได
มแี ตร าษฎรของพระองคเ ทานั้นทีป่ ระจักษแจงในนาํ้ พระทัยอนั หาทสี่ ดุ มิไดของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร-
มหาภมู ิพลอดลุ ยเดช

101

สมเดจ็ พระนางเจาสริ กิ ิต์ิ พระบรมราชินนี าถ

สมเด็จพระนางเจาสริ ิกติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ เปนพระธิดาพระองคใ หญข องหมอมเจา นกั ขัตรมงคล
กิติยากร (ภายหลังเปน พระวรวงศเธอ พระองคเจานักขัตรมงคล กรมหม่ืนจันทบุรีสุรนาถ)
กับหมอมหลวงบัว กิติยากร (สกุลเดิม สนิทวงศ) ประสูติเม่ือวันศุกรท่ี 12 สิงหาคม พ.ศ. 2475 และเขา
พระราชพธิ ีราชาภเิ ษกสมรสกับพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช เม่ือวนั ท่ี 28 เมษายน พ.ศ.
2493 ณ วังสระปทมุ และเม่ือวนั ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช
ใหป ระกาศสถาปนาเฉลิมพระเกียรติยศสมเดจ็ พระราชนิ ีสิรกิ ติ ิ์ ขนึ้ เปน สมเด็จพระนางเจาสริ ิกิติ์ พระบรมราชินี
และเมอื่ พ.ศ. 2499 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ไดเสด็จฯ ออกผนวชเปนพระภิกษุ
ในพระพทุ ธศาสนาระหวางวันท่ี 22 ตลุ าคม ถึงวันท่ี 5 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2499 เปน ระยะเวลา 15 วัน จึงทรง
พระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงต้ังสมเด็จพระนางเจาสิริกิต์ิ พระบรมราชินีเปนผูสําเร็จราชการแทนพระองค
ตอ มาจงึ ไดร ับการสถาปนาเปนสมเดจ็ พระนางเจาสริ กิ ติ พิ์ ระบรมราชินีนาถ

พระราชกรณยี กจิ สงั เขป

สมเด็จพระนางเจาสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงปฏิบัติพระราชภารกิจนอยใหญนานัปการ
เพอ่ื สนองพระบรมราโชบายในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดยเฉพาะอยางยิ่งภารกิจ
ในการสงเสริมคุณภาพชีวิต อาชีพ และความเปนอยูของผูยากไรในชนบทหางไกล โดยไดตามเสด็จพระราช
ดําเนนิ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชไปทัว่ ทุกหนแหง ในแผนดินไทย พระราชกรณยี กิจ
ที่สาํ คัญมดี ังน้ี

1. ดานการสงเสริมศิลปาชีพ เปนโครงการที่สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
ทรงกอ ตัง้ ขึน้ เมื่อวนั ท่ี 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2519 เพื่อชวยเหลือราษฎรที่ยากไรในชนบท โดยสงเสริมอาชีพ
แกช าวบาน เพือ่ ใหม รี ายไดท ดแทนกรณที ่ีผลผลิตทางการเกษตรเสียหายจากภัยธรรมชาติ โครงการสงเสริม
ศิลปาชพี ขยายสาขาไปท่ัวประเทศ ตอมาทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหกอต้ังเปนมูลนิธิ พระราชทานนามวา
"มูลนิธิสงเสริมศิลปาชีพพิเศษในพระบรมราชินูปถัมภ" และเม่ือ พ.ศ. 2528 ไดเปล่ียนช่ือเปน มูลนิธิสงเสริม
ศลิ ปาชพี ในสมเด็จพระนางเจาสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ซ่ึงนอกเหนือจากการสงเสริมอาชีพแลว ยังเปน
การอนรุ กั ษและสง เสรมิ งานศิลปะหัตถกรรมพ้ืนบานในหลากหลายสาขา อาทิ การปน การทอ การจักสาน
เปนตน

2. ดา นการสาธารณสขุ
สมเด็จพระนางเจาสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ยังทรงเอาพระทัยใสในกิจการดานสาธารณสุข

โดยไดทรงดาํ รงตําแหนง สภานายกิ าสภากาชาดไทย และหากเสด็จฯ เยือนตา งประเทศ ก็มักจะทรงถือโอกาส
เสด็จฯทอดพระเนตรกิจการกาชาดของประเทศน้ัน ๆ เพ่อื ทรงนาํ มาปรับปรุงกจิ การสภากาชาดไทยอยเู สมอ

สมเดจ็ พระนางเจา สริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระราชหฤทัยอนั มงุ ม่ันท่จี ะบรรเทาทกุ ขใ หแก
ราษฎรอยางจริงจงั และตอ เน่ือง ในระยะแรกของการเสด็จพระราชดําเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรในตางจังหวัด
เม่อื ทรงพบเห็นวาราษฎรท่มี าเฝาทลู ละอองธุลีพระบาทรับเสด็จมีอาการเจ็บปวย สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์-

102

พระบรมราชินีนาถไดมีพระราชเสาวนยี ใ หแ พทยท ี่ตามเสดจ็ ไปในขบวนตรวจอาการ จายยาและใหคําแนะนํา
แกราษฎรในการดูแลรักษาตนเองหากไมสามารถวินิจฉัยโรคไดในขณะนั้นหรือเปนโรคท่ีรายแรงจะมี
พระราชเสาวนยี ใ หสงไปรบั การรกั ษาทโี่ รงพยาบาลซงึ่ อยใู กลท อ งถ่ินน้นั โดยพระราชทานหนงั สอื รับรองวาเปน
คนไขในพระบรมราชานเุ คราะหพรอมคาเดินทางและคาใชจายที่จําเปน สวนคารักษาพยาบาลและคายานั้น
จะพระราชทานแกโ รงพยาบาลโดยตรง หากผปู ว ยไมส ามารถไปเองไดจะทรงจดั เจาหนา ที่นาํ ไป ถา โรงพยาบาล
ที่อยูใกลทองถ่ินนั้นขาดบุคลากรทางการแพทยหรือเครื่องมือเครื่องใชในการรักษา ก็ใหสงไปรับการรักษา
ที่โรงพยาบาลในกรงุ เทพฯ

ในการเสด็จพระราชดําเนนิ ไปทรงเย่ียมราษฎรตางจังหวดั หรอื ขณะแปรพระราชฐานไปประทับ
ทีพ่ ระราชนิเวศนในภมู ิภาคตา ง ๆ มีราษฎรทเี่ จบ็ ไขม าขอรบั พระราชทานความชวยเหลอื เปนจาํ นวนมากตอ งมี
แพทยและพยาบาลอาสาไปชวยปฏิบัติงานเพิ่มข้ึน หลายคร้ังท่ีสมเด็จพระนางเจาสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ
และพระราชโอรส พระราชธิดาทรงชว ยซักถามประวตั แิ ละอาการของผปู วย ตลอดจนชว ยแพทยในการจายยา
การบนั ทกึ เพ่อื ตดิ ตามผล นอกจากนโ้ี รงพยาบาลในทอ งถิ่นมักมีความจาํ กัดในเคร่อื งเวชภณั ฑแ ละยารักษาโรค
สมเดจ็ พระนางเจา สิรกิ ิติ์ พระบรมราชินนี าถ จงึ พระราชทานพระราชทรัพยเพ่ือจัดซื้อเคร่ืองมือเครื่องใชและ
ยาเพิ่มขึ้น

3. ดานการอนุรกั ษท รพั ยากรธรรมชาติ
สมเด็จพระนางเจาสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงสนพระราชหฤทัยในเรื่องการอนุรักษน้ํา

ทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อใหชุมชนอยูรวมกับธรรมชาติโดยพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ทําใหราษฎรทุกหมูเหลา
ตางสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ ไดรวมแรงรวมใจกันอนุรักษทรัพยากรปาไม ใกลชุมชน เปนผลใหปาไมใน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเริ่มรักษาไวไดมากขึ้น นอกจากน้ีไดพระราชทานแนวพระราชดําริใหราษฎรอยูรวมกับ
ปา ไมอ ยา งสันตสิ ุข พึง่ พาอาศัยซ่งึ กันและกัน โดยชุมชนหรอื หมบู านไดม กี ารจดั ต้งั องคการในการรวมกนั ดแู ลรักษา
ปา ตน นํ้าลําธารและสภาพแวดลอม โดยมกี จิ กรรมหลกั 2 โครงการ คือ

1. โครงการฝก อบรมราษฎรอาสาสมคั รพิทกั ษป า
สมเด็จพระนางเจาสริ ิกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระราชดําริให "คน" กับ "ปา" อยูรวมกันได

อยางสันติสุขโดยพงึ่ พาอาศัยซง่ึ กนั และกัน เพ่ือเปนแนวทางในการพิทักษ อนุรักษและฟนฟูสภาพปาใหดํารงอยู
อยางยั่งยืนดวย พระราชดําริน้ีทําใหราษฎรตางสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ ไดรวมแรงรวมใจกันอนุรักษ
ทรัพยากรปาไมใกลชุมชน ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหดําเนินการฝกอบรมตามโครงการราษฎรอาสาสมัคร
พทิ ักษปา (รสทป.) เปนการฝก อบรมราษฎรในชุมชนใหมคี วามรูค วามเขา ใจในการอนรุ กั ษท รัพยากรปาไม ปลูกฝง
ความรกั และหวงแหนทรพั ยากรปา ไมในทอ งถ่ินของตน รวมทัง้ คอยดแู ลสอดสองมใิ หมกี ารบกุ รุกและลักลอบตัดไม
ทาํ ลายปา แทน เจาหนา ที่ของรฐั ซ่งึ มีกาํ ลังไมเ พียงพอ

2. โครงการธงพิทักษปาเพื่อรกั ษาชีวิต
เปนการคัดเลอื กหมบู านและชุมชนท่ีใหค วามรว มมอื ในการอนุรกั ษท รพั ยากรปาไม ใหมีสภาพ

อุดมสมบรู ณ ไมม กี ารลักลอบตดั ไม ทําลายปา หรือบุกรุกพ้ืนท่ีปา ซ่ึงทําการคัดเลือก โดยคณะอนุกรรมการ
ดําเนินโครงการธง "พิทักษปา เพื่อรักษาชีวิต" แลวทูลเกลาฯ ถวายสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์-

103

พระบรมราชนิ นี าถ เพอื่ ขอพระราชทานธง "พิทักษปา เพ่ือรกั ษาชวี ติ " ใหก ับชุมชน ลักษณะของธง มีภาพชาง
อยใู นปา อยภู ายใต พระปรมาภไิ ธยยอ “สก”

สมเด็จพระนางเจาสริ ิกติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถทรงพระราชทานธง "พิทักษปา เพื่อรักษาชีวิต"
น้ี ใหแกราษฎรเปนหมูบานและชุมชนที่ไดรวมกันดูแลหวงแหนอนุรักษทรัพยากรปาไมภายในหมูบานและ
ชมุ ชนโดยไดรว มแรงรว มใจกันอนรุ กั ษปาไม ไมเขา ไปตดั ไมท ําลายปา แผวถางทําไรเล่อื นลอยหรอื ลา สตั ว

4. ดานการทหาร
พระราชกรณียกิจดานการทหารน้ัน ทรงดํารงตําแหนงพันเอกผูบังคับการพิเศษ กรมทหาร

ราบท่ี 21 รักษาพระองค ทรงใหความสนพระทัยตอการดําเนินงานของกรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค
ตลอดมา โดยผบู ังคับการกรมทหารราบท่ี 21 จะเขา มาถวายรายงานถงึ ผลการปฏิบัตงิ านพรอ มกบั รับพระราช-
เสาวนยี ตลอดจนคาํ แนะนําไปดาํ เนนิ การปฏบิ ัติอยเู ปน ประจาํ

ในดา นความม่ังคงของประเทศ พระองคไดเสด็จพระราชดําเนินไปทรงเยี่ยมทหารที่ปฏิบัติการ
สูรบตอสูกับผูกอการรายตามชายแดนถึงฐานปฏิบัติการตาง ๆ แมเปนท่ีเสี่ยงภยันตรายก็ทรงพระอุตสาหะ
เสด็จฯ ไปทรงดูแลทุกขสุข ปลอบขวัญถึงฐานปฏิบัติการตาง ๆ เปนขวัญกําลังใจแกเหลาทหารหาญที่ตอสู
ปกปองผืนแผนดิน นําความรมเย็นเปนสุขมาสูอาณาประชาราษฎรใหสามารถทํามาหากินไดอยางสงบสุข
จนกระทง่ั ภัยจากผูกอการรายคอมมวิ นสิ ตไดสลายลงในทุกภูมภิ าค ดวยเดชะพระบารมีแหงพระบาทสมเด็จ-
พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช และสมเดจ็ พระนางเจา สิริกิติ์ พระบรมราชนิ ีนาถ

5. ดานการเกษตรและชลประทาน
ในดานการเกษตร สมเด็จพระนางเจาสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ จะทรงเนนในเรื่องการคนควา

ทดลอง และวจิ ัยหาพันธุพชื ใหม ๆ ทัง้ พืชเศรษฐกิจ พืชสมุนไพร รวมถึงการศึกษาเกี่ยวกับแมลงศัตรูพืชและพันธุ
สตั วต า ง ๆ ท่เี หมาะสมกบั สภาพทอ งถ่นิ นั้น ๆ ซึง่ แตละโครงการจะเนนใหสามารถนําไปปฏิบัติไดจริง มีราคาถูก
ใชเทคโนโลยีงาย ๆ ไมสลับซับซอน เกษตรกรสามารถดําเนินการเองได นอกจากนี้ ยังทรงพยายามไมให
เกษตรกรยดึ ติดกบั พชื ผลทางการเกษตรเพยี งอยา งเดียว เพราะอาจเกดิ ปญ หาอนั เน่อื งมาจากความแปรปรวน
ของสภาพดินฟาอากาศ หรือความแปรปรวนทางการตลาด แตเกษตรกรควรจะมีรายไดจากดานอ่ืน
นอกเหนือไปจากการเกษตรเพมิ่ ขนึ้ ดวย เพ่ือจะไดพ ง่ึ ตนเองไดใ นระดบั หนึ่ง

การพัฒนาแหลง น้ําเพ่อื การเพาะปลูกหรือการชลประทาน นับวาเปนงานท่ีมีความสําคัญและมี
ประโยชนอยา งยิ่งสาํ หรบั ประชาชนสวนใหญข องประเทศ เพราะเกษตรกรจะสามารถทาํ การเพาะปลูกไดอ ยาง
สมบรู ณตลอดป เนือ่ งจากพน้ื ทเ่ี พาะปลูกในปจ จุบันสว นใหญเ ปนพื้นท่ีนอกเขตชลประทาน ซ่ึงตองอาศัยเพียง
นํา้ ฝนและนํา้ จากแหลงนํา้ ธรรมชาตเิ ปน หลกั ทําใหพ ืชไดร บั นํ้าไมสม่าํ เสมอ และไมเพียงพอ พระบาทสมเด็จ-
พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช ทรงใหความสนพระราชหฤทัยเกยี่ วกับการพฒั นาแหลง นา้ํ มากกวา โครงการ
พฒั นาอนั เนือ่ งมาจากพระราชดํารปิ ระเภทอ่ืน

6. ดานการศึกษา
สมเดจ็ พระนางเจา สิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถสนพระราชหฤทยั ในดานการศึกษาและทรงยึดมั่น

ในคําสอนของสมเด็จพระสมั มาสัมพทุ ธเจาวา "ปญญาทาํ ใหม นษุ ยเปนมนุษยท่ีสมบูรณ" สติปญญาเกิดขึ้นได

104

ดวยการศึกษาหาความรูโดยเฉพาะอยางย่ิงจากการอานหนังสือพระราชกรณียกิจดานการศึกษานานัปการ
ทพ่ี ระราชทานแกพ สกนิกรชาวไทยน้ันประกอบดว ยทรงสงเสริมการศกึ ษาในระบบโรงเรยี น เชน พระราชทาน
ทนุ การศกึ ษาแกน กั เรียน สรางโรงเรียน พระราชทานพระราชทรัพยอุดหนุนโรงเรียน พระราชทานอุปกรณ
การเรียน ทรงรับโรงเรียนไวในพระบรมราชินูปถัมภ เสด็จพระราชดําเนินไปทรงเย่ียมโรงเรียน เปนตน
ดานการศึกษานอกโรงเรียน เชน ทรงสอนหนังสือชาวบาน ทรงสรางศาลารวมใจ ทรงสงเสริมการอาชีวศึกษา
ทรงอนุรักษ ฟนฟู และพัฒนางานศิลปาชีพ นอกจากนี้ยังทรงสงเสริมการศึกษาของพระภิกษุสามเณรและ
ทรงรับมูลนิธิแมชีไทยไวในพระบรมราชินูปถัมภและพระองคทานยังทรงรับนักเรียนยากจนขาดโอกาส
ทางการศกึ ษาทีท่ รงพบดวยพระองคเ องระหวางการเสด็จพระราชดําเนนิ ไปทรงเย่ียมราษฎรไวในพระบรมราชา
นุเคราะหเกือบสองพันคน มีพระราชเสาวนียใหกองราชเลขานุการในพระองคสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์-
พระบรมราชนิ ีนาถ ติดตามดแู ลความประพฤติ และความเปน อยขู องนกั เรียน นสิ ติ นกั ศึกษาท่ีไดรบั ทุนเหลานี้
อยางใกลชิด เปน ตน

7. ดานการศาสนา
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเปนพุทธมามะกะและเปนอัคร-

ศาสนปู ถัมภก ประชาชนมสี ิทธแิ ละเสรภี าพในการนบั ถือศาสนาตามท่ีตนเช่ือและศรัทธา สมเด็จพระนางเจา
สิรกิ ิติ์ พระบรมราชนิ นี าถ ทรงตระหนกั วาศาสนาเปนเครอ่ื งยดึ เหนย่ี วจิตใจมนุษยมิใหประพฤติปฏิบัติในส่ิงท่ี
เปนความชั่ว และเปน แนวทางใหมนุษยเ ลือกกระทําแตความดี จึงทรงตระหนักถึงความสําคัญในการอุปถัมภ
ศาสนา นอกจากจะทรงเปนพุทธศาสนิกชนท่ีปฏิบัติพระราชกรณียกิจทางศาสนาโดยสมํ่าเสมอแลว ยังทรง
ทะนุบํารุงศาสนาตาง ๆ ในประเทศไทย ไมวาจะเปนศาสนาพุทธ คริสต อิสลาม พราหมณ ฮินดู และซิกข
เพราะทรงถือวาทุกศาสนาตางก็มีความสําคัญในฐานะเปนเคร่ืองยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชนเชนเดียวกัน
ดงั นั้น คราวใดทีพ่ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชเสด็จพระราชดําเนินไปในงานพระราชพิธี
หรอื ทรงประกอบพระราชกรณยี กิจเกยี่ วกับศาสนาสมเดจ็ พระนางเจา สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชินนี าถมกั จะโดยเสดจ็ ฯ
เสมอไมว าจะเปน พิธขี องศาสนาใด บางครั้งก็เสด็จพระราชดําเนินโดยลําพังพระองคเองทรงปฏิบัติพระราช-
กรณียกิจดวยความเคารพในประเพณขี องศาสนาน้ัน ๆ อยางดียิ่งดังพระราชเสาวนียท่ีวา “....ฉันรูสึกวา ชีวิต
ของฉนั ทงั้ โดยฐานะสว นตัว และในฐานะทีเ่ ปนพระราชินถี า เผ่ือไมไดพระพุทธศาสนา ก็คงจะแข็งแรงอยูไมได
อยางน”้ี

สมเดจ็ พระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงพยายามทุกวิถีทางและทุกโอกาสที่จะทรง
แนะนําใหพ สกนิกรเห็นวา ความเจริญทางดานจิตใจเปนสิ่งจําเปนและสําคัญที่สุดไมนอยไปกวาความเจริญ
ทางดา นวัตถุ เพราะจะชว ยใหช ีวิตมนษุ ยส มบรูณแ ละมีคา ดงั พระราชดํารัสทีพ่ ระราชทานแกน ักศกึ ษาพยาบาล
ณ หอประชุมราชแพทยาลัยโรงพยาบาลศิริราช เม่อื วันที่ 31 กรกฏาคม พ.ศ. 2510 ความตอนหน่ึงวา

“ความเจริญทางดานวัตถุจําตองควบคูไปกับความเจริญทางดานจิตใจจะทําใหชีวิตมนุษย
สมบรณู แ ละมคี า บุคคลแมจะเปน ผทู ่ขี าดความม่นั คงทางวตั ถุแตร่ํารวยในดานคุณธรรม มีความรักและหวงใย
ในเพ่ือนมนษุ ยจึงนับวาเปนผทู พ่ี ระพทุ ธศาสนายกยองแลว วาเจริญแท. ..”

105

พระราชกรณียกิจของสมเด็จพระนางเจาสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ท่ีทรงดําเนินการอยาง
ตอเน่ืองเปน เวลานานจนองคก รระหวา งประเทศตางพากนั ยกยอ งและทลู เกลาถวายรางวัลและปริญญาดุษฎี-
บัณฑติ กติ ติมศกั ดเ์ิ ปน จํานวนมาก ดงั เชน

1. องคการอาหารและการเกษตรแหงสหประชาชาติ (FAO) ทูลเกลาฯ ถวายเหรียญซีเรส
เทิดพระเกียรติในฐานะที่ทรงยกฐานะของสตรีใหมีระดับสูงข้ึนและทรงเปนผู "ใหโดยไมเลือกท่ีรักมักท่ีชัง"
(11 พฤษภาคม พ.ศ. 2522)

2. มหาวิทยาลยั ทฟั ส จากรฐั แมสซาชูเซตส สหรัฐอเมรกิ า ทูลเกลาฯ ถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิต
กิตตมิ ศกั ดิ์ สาขามนษุ ยธรรมในฐานะที่ทรงยกระดับฐานะการครองชีพของประชาชน และชวยบรรเทาทุกข
ของเดก็ (พ.ศ. 2523)

3. สหพันธพิทักษเด็ก แหงนครนิวยอรก สหรัฐอเมริกา ทูลเกลาฯ ถวายรางวัลบุคคลดีเดน
ดานพทิ ักษเดก็ (9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2524)

4. สถาบันเอเชยี โซไซตี้ แหงกรงุ นิวยอรก สหรฐั อเมรกิ า ทูลเกลา ฯ ถวายรางวลั ดา นมนษุ ยธรรม
(14 มีนาคม พ.ศ. 2528)

5. มลู นิธคิ มุ ครองสตั วปา ของโลก สดดุ เี ทิดพระเกียรติ ในฐานะบุคคลดีเดนดานอนุรักษสัตวปา
(19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2529)

6. ราชวิทยาลัยอายุรแพทยแหงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ไดทูลเกลาฯ ถวายสมาชิกภาพ
กิตติมศกั ดิ์ ซง่ึ สถาบนั แหงน้ีเคยมอบใหแตเฉพาะผูทเี่ ปนแพทยแ ละนักวิทยาศาสตรดีเดนเปนที่รูจักระดับโลก
เทา นนั้ (1 พฤษภาคม พ.ศ. 2531)

7. ศูนยศกึ ษาการอพยพ ท่มี ีสํานักงานใหญอยูที่รัฐนิวยอรก กราบบังคมทูลเชิญเสด็จฯ ไปทรง
รับรางวลั ความชว ยเหลือผูลีภ้ ยั ประจําป ณ วอชิงตนั ด.ี ซี. (29 มีนาคม พ.ศ. 2533)

8. กลมุ ผูสนับสนุนพพิ ิธภัณฑเด็กในสหรัฐอเมริกา ทูลเกลาฯ ถวายรางวัลมนุษยธรรมระหวาง
ประเทศ ณ กรงุ วอชงิ ตัน ดี.ซี. (1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2534)

9. องคการศึกษาวิทยาศาสตรและวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ทูลเกลาฯ ถวาย
เหรียญทองโบโรพทุ โธ ในฐานะทรงบําเพญ็ พระราชกรณียกิจอนุรักษและพัฒนางานศิลปหัตถกรรม ณ ศาลา
ธรรมจังหวัดเชยี งใหม (30 มกราคม พ.ศ. 2535)

10.กองทุนเพ่ือเด็กแหงสหประชาชาติ (ยูนิเซฟ) ทูลเกลาฯ ถวายรางวัลเกียรติคุณพิเศษ
ในวโรกาสมหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 5 รอบ ในฐานะทรงอทุ ศิ พระองคประกอบพระราชกรณียกิจอันเปน
ผลใหแ มและเดก็ นับลานไดรับบริการข้ันพื้นฐาน (2 สงิ หาคม พ.ศ. 2535)

11.กองทนุ พฒั นาเพ่อื สตรแี หงสหประชาชาติ ทูลเกลา ฯ ถวายรางวัลแหงความเปนเลิศในฐานะ
ทรงปฏิบตั พิ ระราชกรณยี กิจพัฒนาสตรไี ทย (2 สงิ หาคม พ.ศ. 2535)

12.มหาวิทยาลัยจอนสฮอปกินส รัฐแมร่ีแลนด สหรัฐอเมริกา ทูลเกลาฯ ถวายปริญญาดุษฎี
บณั ฑิตกติ ตมิ ศักด์ิ สาขามนษุ ยธรรม (25 พฤษภาคม พ.ศ. 2538)

106

2.2 ยุคสงครามเย็น
ยุโรปยคุ สงครามเย็น
สงครามเยน็ (Cold war) เปนสงครามที่เกดิ จากการปะทะกนั ระหวา งสหรัฐอเมริกา

(เสรีประชาธปิ ไตย) และสหภาพโซเวียต (คอมมิวนสิ ต) ซ่ึงจะขอรวมเอาไวท งั้ หนวยงานสําคัญ, สถานท่ีตา ง ๆ
เปนตน

สงครามเย็น เปน ลักษณะการเผชิญหนา ภายหลังสงครามโลกครั้งท่ีสอง คําวาสงครามเย็นเปน
คําใหม ทีเ่ กดิ ขน้ึ กอ นสงครามยตุ ลิ ง และเรียกตอ มาเปน การอธิบายลกั ษณะความตึงเครยี ดระหวางประเทศ หรือ
ระหวางกลุมที่ดําเนินไปอยางตอเนื่อง โดยไมมีการจับอาวุธขึ้นตอสู เพราะถามีการใชอาวุธ สถานการณ
จะเปล่ียนไปเปนสงครามรอน (hot war) ซึ่งจะมีขอบเขตกวางขวางและกออันตรายอยางใหญหลวง
แกม นุษยชาติ วิธกี ารทใ่ี ชม ากในสงครามเย็น คอื การโฆษณาชวนเชอื่ สงครามจติ วิทยา การแขงขันกนั ทางกําลงั
อาวธุ และการสรางความนยิ มลทั ธิของตน ในประเทศเล็กๆ ทอี่ าจถูกรวมเขามาเปนประเทศบรวิ ารของแตละฝาย

สมยั เริ่มตนสงครามเยน็ นา จะอยูในสมยั วิกฤตการณท างการทตู ในตอนกลางและปลาย ค.ศ. 1947
เมื่อสหรฐั อเมริกากับสหภาพโซเวียตเกดิ ขัดแยงเรื่องการจัดต้ังองคการสันติภาพในตุรกี ยุโรปตะวันออกและ
เยอรมนี ซง่ึ ทาํ ใหสหรฐั อเมริกาเรมิ่ ตระหนักวาเปนหนา ทขี่ องตน ทีจ่ ะตอ งเปนผูน าํ ตอ ตาน แผนการยดึ ครองโลก
ของสหภาพโซเวยี ต ทีเ่ ปนผูนาํ ฝา ยคอมมวิ นสิ ต

การแบงสถานภาพของประเทศตา ง ๆ ในสมยั สงครามเย็น คือ
1) ประเทศมหาอํานาจ (Big Powers) คือ ประเทศพฒั นาแลว หมายถึง ประเทศท่ีมีการพัฒนา
อุตสาหกรรม มีภาระหนาที่นาํ อารยธรรมไปเผยแพรย งั ประเทศท่ีลาหลงั ทั้งหมดเปน การสรางลกั ษณะจักรวรรดิ
นิยมใหมในคริสตศตวรรษที่ 19 คือ การลาเมืองข้ึนและยึดครองประเทศอาณานิคมในแอฟริกาและเอเชีย
มีจดุ ประสงคคือความตอ งการตลาดระบายสินคา ตองการแรงงานราคาถกู และตองการทรัพยากรในประเทศนน้ั
มาใชประโยชนในงานอุตสาหกรรมของตน
2) ประเทศดอยพัฒนา (Underdeveloped Countries) คือประเทศท่ียังไมมีการพัฒนา
อุตสาหกรรม หรือมีการพฒั นาในระดับตํา่ ประเทศเหลา นี้จะมคี วามลาหลังทางเทคโนโลยีมีฐานะเปน ประเทศ
พึ่งพา (dependent) และตอ งเผชญิ หนา การลา อาณานคิ มของชาตติ ะวันตก สวนมากเปน ประเทศในเอเชยี และ
แอฟรกิ า
3) ประเทศอภิมหาอํานาจ (Super Powers) คือ ประเทศที่ปรากฏความสําคัญขึ้นมาแทน
มหาอํานาจตะวันตก ภายหลังสงครามโลกคร้ังที่สอง มีลักษณะเปนประเทศภาคพ้ืนทวีป (Continental
Character) มีการพัฒนาเทคโนโลยีระดับสูง และเปนผูนําลัทธิการเมืองสองฝายคือ ฝายโลกเสรีและ
ฝายคอมมวิ นิสต
ระยะสงครามเยน็
1) ค.ศ. 1947 - 1949 เปน ระยะความตงึ เครียดเนอ่ื งจากการเผชิญหนา กันระหวา งอภมิ หาอํานาจ
แตยังไมมีการประกาศสงครามหรือใชกําลัง เปนสมัยการประกาศแผนการทรูแมน (Truman Doctrine)

107

วนั ที่ 12 มนี าคม ค.ศ. 1947 กบั การประกาศแผนการมารแชลล เพ่ือฟนฟูบูรณะยุโรป (The marshall Plan)
การขยายอทิ ธพิ ลของสหภาพโซเวียตในยุโรปตะวันออก และการแบง แยกเยอรมนี เปนตน

2) ค.ศ. 1950 - 1960 เปนระยะท่ีสาธารณรัฐประชาชนจีนไดเขามามีบทบาทในวงการเมือง
ระหวางประเทศ เกิดวิกฤตการณหลายอยาง เชน สงครามเกาหลี สงครามเวียดนามและการรกุ รานทเิ บตของจนี
เปนตน

3) ทศวรรษท่ี 1960 เปนระยะการอยูรวมกันโดยสนั ติ (Peaceful Co-existence) คอื การสราง
ความสมั พนั ธแบบไมเ ผชิญหนา ซ่ึงเปน นโยบายของ นายนิกิตา ครสุ ชอฟ ทําใหเ กิดความคิดแตกแยกระหวาง
สหภาพโซเวยี ตกบั สาธารณรัฐประชาชนจนี

4) ทศวรรษท่ี 1970 เปน ระยะการผอนคลายความตึงเครียด (Détente) คือ การแตกข้ัวอํานาจ
ระหวา งสองคายประชาธปิ ไตย และคอมมวิ นิสตทีส่ หรฐั อเมริกากับสหภาพโซเวียตเผชิญหนากันอยูไดเพ่ิมข้ัวจีน
คอมมิวนิสตเขา มา เร่ิมจากการไปเยือนสาธารณรัฐประชาชนจีน ในป ค.ศ. 1972 ของประธานาธิบดีริชารด
นิกสนั ของสหรฐั อเมรกิ า เยือนสหภาพโซเวยี ต ในป ค.ศ. 1973 และตอ มาประธานาธิบดีเบรสเนฟ ของสหภาพ
โซเวียตก็เดนิ ทางไปเยอื นสหรัฐอเมริกาดว ย

5) ค.ศ. 1985 - 1991 นายมิคาอิล กอรบาชอฟ (Mikhail Gorbachev) เสนอนโยบาย
กล็าสนอสต-เปเรสทรอยกา (Glasnost-Perestroika) หรอื นโยบายเปด -ปรับ (openness-reconstructuring)
ทางการเมอื งและเศรษฐกจิ ของสหภาพโซเวยี ต จนถึง ค.ศ. 1989 เรม่ิ มกี ารทาํ ลายกาํ แพงเบอรล ิน และเยอรมนี
ตะวันออกกบั ตะวนั ตกสามารถรวมประเทศสาํ เรจ็ ใน ค.ศ. 1990 - 1991 ประเทศกลมุ บอลตกิ (ลิทัวเนีย ลตั เวีย
เอสโตเนยี ) ก็ขอแยกตัวออกจากสหภาพโซเวียต

นายมคิ าอลิ กอรบ าชอฟ ไดเปน ประธานาธิบดจี ากการเลอื กตงั้ ในสภาแทนการแตง ตัง้ โดยพรรค
คอมมิวนิสตดังท่ีผานมา มีการประชุมสุดยอดที่กรุงวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา เปนการยุติสงครามเย็น แตเกิด
รัฐประหารใน ค.ศ. 1991 เปด ทางใหน ายบอริส เยลตซ ิน โดง ดงั ในฐานะผสู ามารถปราบกบฏ และเตรยี มการตงั้
เปน ประเทศเครอื รัฐเอกราช (Commonwealth of Independent States) ในเดอื นธนั วาคม นายกอรบาชอฟ
ลาออกจากตําแหนงประธานาธิบดีของสหภาพโซเวียต เปนการยุติความคงอยูของสหภาพโซเวียต คงให
สหรฐั อเมริกาเปน อภมิ หาอาํ นาจผูน าํ โลกเพียงชาตเิ ดยี วและ ถอื วาเปนการยุติสงครามเยน็ ดว ย

จากเหตุการณประวัติศาสตรที่ผานมาสงผลใหประเทศตาง ๆ ในเอเชียมีการเมืองการปกครอง
ในรูปแบบประชาธิปไตยมากยิ่งขึน้ และแมแตประเทศสังคมนยิ ม เชน สหภาพโซเวียต รัสเซียไดพ ัฒนาการเมอื ง
การปกครองมาเปนสงั คมนยิ มสมยั ใหมมีการเปดประเทศและพัฒนาประเทศใหแ ขง็ แกรง ดานเทคโนโลยีและ
เศรษฐกิจย่งิ ขึ้น

การสิ้นสดุ สงครามเยน็ ในทวีปเอเชีย
ประเทศทวีปเอเชียอยูภายใตอิทธิพลของสังคมเย็น ระหวางรัสเซียและอเมริกาซ่ึงพยายามขยาย
อิทธิพลมายังประเทศตาง ๆ ในเอเชีย เปนการแยงชิงทรัพยากรของมหาอํานาจทั้งสองแตรัสเซีย ซ่ึงเปน
ตนแบบการปกครองแบบคอมมิวนิสตท่ีจีนรับมาและพัฒนาใหเหมาะสมกับตนเอง จีนจึงเปนประเทศ
มหาอํานาจในเอเชียท่มี ีอทิ ธิพลตอ ประเทศตา ง ๆ แทนรัสเซียดังน้ัน สงครามเย็นที่เริ่มมีในเวียดนาม กัมพูชา

108

เกาหลี จนปะทุ มาเปนสงครามเย็นชิงประชาชนเพ่ือลัทธิการเมืองการปกครองจึงมีประเทศผูสนับสนุน คือ
อเมริกา และจีน คนละฝายจนกระท่ังเวียดนามแบงประเทศเปน 2 ฝาย และมารวมกันเปนประเทศเดียว
ในทส่ี ดุ แตเกาหลยี งั แบงแยกเปน 2 ประเทศอยู คือ ลัทธิการเมืองแบบประชาธิปไตยและสังคมนิยม จึงเปน
การสนิ้ สุดสงครามเยน็ ในเอเชีย

109

บทท่ี 3
เศรษฐศาสตร

สาระสําคญั

เศรษฐศาสตรเ ปนวิชาทีว่ า ดว ยเรื่องเก่ยี วกับการกระจายทรพั ยากรทีม่ อี ยอู ยา งจํากัดใหสามารถสนอง
ตอ ความตอ งการของคนในสงั คมอยางเปน ธรรม การพัฒนาเศรษฐกจิ เปน การเปลย่ี นแปลงโครงสรา งทางสังคม
การเมือง และเศรษฐกิจ ใหอยูในภาวะทเี่ หมาะสม โดยแตละประเทศจะมีจุดมุงหมายในการพัฒนาเศรษฐกิจ
ท่ไี มเ หมือนกนั ท้งั นขี้ ้นึ อยกู บั ทรัพยากรการผลติ สภาพภูมิศาสตร ตลอดจนพ้ืนฐานทางวัฒนธรรมท่ีแตกตาง
กัน โดยมีเปาหมายเหมือนกัน คือ ตองการใหเกิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ประชากรของประเทศ
มมี าตรฐานการครองชีพสูงข้นึ

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

1. อธิบายความหมาย ความสาํ คัญของเศรษฐศาสตรมหภาคและจลุ ภาคได
2. อธบิ ายพรอมยกตวั อยางระบบเศรษฐกิจไทยได
3. เปรยี บเทียบเศรษฐกิจของไทยกบั ประเทศในอาเซียนได
4. ยกตวั อยา งผลกระทบของการเปลีย่ นเศรษฐกจิ ท่ีมตี อประเทศไทยได
5. รแู ละเขา ใจสทิ ธิพนื้ ฐานของผบู รโิ ภคได
6. นาํ เสนอผลการเปรยี บเทียบสภาพเศรษฐศาสตรข องประเทศในทวีปเอเชีย
7. รูและเขาใจบทบาทและความสําคัญของการรวมกลุมประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น

ขอบขา ยเนอื้ หา

เรอื่ งที่ 1 ความหมาย ความสําคญั ของเศรษฐศาสตรมหภาคและจลุ ภาค
เรอ่ื งท่ี 2 ระบบเศรษฐกจิ ในประเทศไทย
เรื่องที่ 3 คณุ ธรรมในการผลติ และการบริโภค
เรอ่ื งท่ี 4 กฎหมายและขอ มลู การคุมครองผูบริโภค
เร่อื งที่ 5 ระบบเศรษฐกิจของประเทศตา ง ๆ ในเอเชีย
เรอ่ื งที่ 6 ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน

110

เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสาํ คัญของเศรษฐศาสตรม หภาคและจลุ ภาค

ความหมาย เศรษฐศาสตร เปนวิชาวาดวยการผลิต การจําหนาย จายแจก และการบริโภค
ใชสอยสิ่งตาง ๆ ของชุมชนมี 2 สาขา คือ เศรษฐศาสตรจุลภาค ไดแก เศรษฐศาสตรภาคที่ศึกษาปญหา
เศรษฐกิจสวนเอกชน หรือปญหาการหาตลาด เปนตน และเศรษฐศาสตรมหภาค ไดแก เศรษฐศาสตรภาค
ที่ศึกษาปญหา เศรษฐกิจของประเทศโดยสวนรวม เชน ปญหาเรื่องรายไดของประชาชาติ การออมทรัพย
ของประชากรปญ หาการลงทุน (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 :
http://rirs3.royin.go.th/dictionary.asp)

เศรษฐศาสตร เปน ศาสตรหรือสาขาความรูท ี่วาดวยการจดั สรรทรพั ยากรทม่ี จี าํ กัดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ
เพ่ือประโยชนส งู สดุ ของสงั คม ดังนัน้ ไมวา จะเปน ดา นธรุ กิจ การผลติ การขาย การตลาด ดานสขุ ภาพ ดา นการ
กอสรา ง ดานสถาปตยกรรม วิศวกรรม ดานการคา การขนสง จะเก่ียวของกับการจัดสรรทรัพยากรอยางไร
จะใชอยา งไร จะระดมและแบง ทรพั ยากรอยา งไรใหเกดิ ประสทิ ธิภาพ คุมคาสูงสุด จะเปนเร่ืองท่ีเก่ียวของกับ
เศรษฐศาสตรท งั้ สน้ิ เศรษฐศาสตรจึงนํามาใชอยางกวางขวาง นอกเหนือจากการใชเพื่อดําเนินนโยบายและ
มาตรการเพ่ือการบริหารจัดการประเทศ เพื่อใหเกิดผลดีตอเศรษฐกิจและสังคม นอกจากนี้เศรษฐศาสตร
เปนศาสตรที่มีพลวัตและการพัฒนาเสมอ เรียกวาเปนศาสตรที่ไมตาย ทั้งดานเทคนิค ทฤษฎี และการ
ประยุกต จึงเปนศาสตรท่ีจะอยูคูโลกเสมอ และท่ีสําคัญนักเศรษฐศาสตรตองเปนผูใฝรู ใชสติปญญา และมี
ดา นคุณธรรม จรยิ ธรรม ความเปน ธรรม กเ็ ปน ประเดน็ ทนี่ ักเศรษฐศาสตรไ มล ะเลย เพราะจะจดั สรรทรพั ยากร
เพือ่ ใหสังคมไดป ระโยชนสูงสุด ตองใชท ั้งหลกั ประสิทธิภาพและเสมอภาคดว ย

ความสาํ คัญของเศรษฐศาสตร เศรษฐศาสตรสามารถจําแนกไดเ ปน 3 ลักษณะ ดังน้ี
1. ผบู ริโภค ชวยใหผูบริโภคสามารถปรบั ตัวใหเ ขา กับสถานการณทางเศรษฐกิจของประเทศและของ
โลกได รูและเขา ใจในนโยบายทางเศรษฐกจิ ทร่ี ัฐบาลกาํ หนดจะสงผลกระทบผบู รโิ ภคอยางไร ชว ยใหเตรียมตัว
ในการวางแผนใชจาย หรอื ออมภายในครอบครวั หรอื การประกอบอาชพี ได
2. ผูผลิต ชวยใหผูผลิตสินคาและบริการสามารถวิเคราะหและวางแผนการผลิตไดวาจะผลิตอะไร
จํานวนเทาไร ผลิตอยางไร สําหรับใคร ซึ่งตองคํานึงถึงในทุกขั้นตอนกอนสินคาและบริการถึงมือผูบริโภค
เพ่ือใหสามารถแขง ขันในตลาดได
3. เศรษฐศาสตร ชวยใหรัฐบาลเขาใจพฤติกรรมการบริโภคของประชาชน ผูผลิต ปจจัยในการ
กาํ หนดสินคาตาง ๆ ความสัมพนั ธระหวางตลาดตา ง ๆ ในระบบเศรษฐกิจ การกําหนดนโยบายและมาตรการ
เพือ่ มาใชแ กป ญ หาและพฒั นาเศรษฐกิจ
เศรษฐศาสตรจุลภาค เปนการศึกษาถึงหนวยเศรษฐกิจยอยซึ่งเปนสวนหน่ึงของระบบเศรษฐกิจ
ทงั้ ระบบ เชน การศกึ ษาพฤตกิ รรมในการบรโิ ภค ความชอบ การเลือก ความพงึ พอใจ ตอสินคาและบริการ
เพื่อนําผลการศกึ ษามากําหนดราคา การคดิ ตนทุน การกระจายสินคา และบริการ เปน ตน

111

ขอบขา ยของเศรษฐศาสตร แบงเปน 2 ดา นใหญ ๆ คือ
1. เศรษฐศาสตรมหภาค เปนการศึกษาถึงหนวยเศรษฐกิจเปนสวนรวม เชน การผลิต
รายได การบริโภค การออม การลงทุน การจางงาน การภาษีอากร การธนาคาร รายไดประชาชาติ การคา
ระหวางประเทศ เปนตน
2. เศรษฐศาสตรจุลภาค (Micro Economics) หมายถึง การศึกษาพฤติกรรมของหนวยเศรษฐกิจ
สว นยอ ย ซงึ่ เปน สวนประกอบของระบบเศรษฐกิจสว นรวม เชน ศึกษาพฤติกรรมของผูบริโภคแตละราย หรือ
กลุมของผูบริโภคสินคาแตละชนิด พฤติกรรมของผูผลิตแตละราย กลุมผูผลิตสินคาแตละชนิด การกําหนด
ปริมาณซ้ือของผบู ริโภค การกาํ หนดปริมาณการผลิตของผผู ลติ การกําหนดราคาปจจยั การผลิต ตลอดจนการ
ทาํ งานของกลไกราคา
เศรษฐศาสตรมหภาค (Macro Economics) เปนการศึกษาพฤติกรรมของระบบเศรษฐกิจ
โดยสวนรวม ศกึ ษาถึงภาวะเศรษฐกิจของประเทศในขณะหน่ึง เชน ศกึ ษาเร่อื งรายไดประชาชาติ การจางงาน
การออม การลงทุน การเงนิ การธนาคาร การคลังรัฐบาล การคา ระหวางประเทศ การพฒั นาเศรษฐกิจ เปนตน
เศรษฐศาสตรท้ังสองแนวน้ีมีความสําคัญเทาเทียมกัน การศึกษาแขนงใดแขนงหน่ึง จะทําให
ความเขา ใจในการทาํ งานของระบบเศรษฐกิจเปน ไปอยางไมค รบถว น เพราะทั้งสองแขนงตางเปน สวนประกอบ
ซึ่งกนั และกนั
ฐานความรูของการศึกษาเศรษฐศาสตร ในการศึกษาเศรษฐศาสตรควรเขาใจแนวคิดและคําศัพท
เพ่อื เปน พนื้ ฐานในการศกึ ษาดังนี้
1. ความตองการ (Wants) หมายถึง ความปรารถนาที่จะไดสิ่งตาง ๆ มาบริโภค เพ่ือตอบสนอง
ความจาํ เปน ในการดํารงชวี ติ และเพือ่ อาํ นวยความสะดวกตาง ๆ ซึ่งความตอ งการจะเปนกลไกสําคัญเบ้ืองตน
ท่ีกอ ใหเ กิดกิจกรรมตา ง ๆ ทางเศรษฐกจิ ตามมาอกี มากมาย
2. ทรัพยากร หมายถึง สิ่งทั้งหลายท่ีสามารถนํามาใชในการผลิตหรือสรางใหเกิดเปนสินคาและ
บรกิ าร ทรพั ยากร แบง ออกไดเปน 2 ประเภท คอื

2.1 ทรัพยากรมนษุ ย เปน ทรพั ยากรทสี่ ําคัญเปน อยางยิง่ ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
2.2 ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละทรัพยากรที่มนุษยสรางขึ้น ทรัพยากรธรรมชาติเปนทรัพยากรที่มีอยู
อยา งจาํ กดั เชน แรธาตุ ท่ีดิน นา้ํ มนั ปา ไม แหลงนา้ํ เปน ตน
ทรัพยากรที่มนุษยสรางขึ้นเปนทรัพยากรที่ผลิตขึ้นจากการใชทรัพยากรธรรมชาติเปนวัตถุดิบ เชน
เครื่องมอื เครอ่ื งใช เคร่ืองจักร อาหาร เสือ้ ผา เปนตน
ตัวอยา งเชน ถา รัฐบาลใชจา ยงบประมาณแผน ดิน สรา งถนน 1 สาย ใชเงนิ 20,000 ลา นบาท การใช
จา ยของรฐั บาลผานบริษัทธุรกจิ ทร่ี ับเหมากอ สรา งถนน ทําใหมีการจางงานมากขึ้น ซื้อวสั ดุกอ สรางมากขนึ้
ทาํ ใหป ระชาชนทเ่ี กี่ยวของมีรายไดมากข้ึน เม่ือมีรายไดมากข้ึนก็จะมีอํานาจซ้ือสินคาและบริการมากขึ้น คือ
จะมอี ปุ สงคตอสินคาบริการมากขึ้น

112

เรื่องที่ 2 ระบบเศรษฐกจิ ในประเทศไทย

ระบบเศรษฐกจิ
กอ นทีจ่ ะเรยี นรถู ึงระบบเศรษฐกิจของประเทศไทย เราควรเขาใจถึงความหมายของระบบเศรษฐกิจ
กันกอ น
ระบบเศรษฐกิจ คือ กลุมหรือหนวยธุรกิจที่รวมตัวกันดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยอยูภายใต
รูปแบบของการปกครอง จารีตประเพณี สงั คม และวฒั นธรรมของแตล ะประเทศ เพ่ือกําหนดวาจะผลิตอะไร
ปรมิ าณมากนอยเทาใด และใชว ิธีการผลิตอยา งไร เพ่อื ตอบสนองความตองการของหนวยครัวเรือน หรือกลุม
ผูบรโิ ภคหรือประชาชนนนั่ เอง
ระบบเศรษฐกิจของแตละประเทศในโลก มคี วามแตกตา งกนั ทัง้ นข้ี น้ึ อยูกับรูปแบบการปกครองและ
จารีตประเพณี โดยท่ัวไปแลวแตละประเทศไดมีการพัฒนาระบบเศรษฐกิจแบบตาง ๆ ข้ึน เพ่ือแกไข
ขอบกพรองของระบบเดมิ ท่ีมอี ยู ดงั น้นั จะเห็นวา ในปจจบุ นั จะมรี ะบบเศรษฐกจิ อยู 3 แบบ คือ ระบบเศรษฐกจิ
แบบเสรีนิยม ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนยิ ม และระบบเศรษฐกจิ แบบผสม
ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม หมายถึง ระบบเศรษฐกิจท่ีเอกชนหรือประชาชนทั่วไป มีเสรีภาพในการ
ตัดสินใจทํากิจกรรมตาง ๆ ทางเศรษฐกิจ มีท้ังการผลิต การบริโภค การซ้ือขาย แลกเปล่ียน การประกอบ
อาชพี การจดั ตงั้ องคการทางเศรษฐกิจ รวมทัง้ การเปนเจาของทรพั ยสนิ โดยรฐั บาลจะไมเ ขามาเกี่ยวขอ ง
ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม หมายถึง ระบบเศรษฐกิจที่รัฐบาลจะเปนผูกําหนดและวางแผน
ในการทํากจิ กรรมทางเศรษฐกจิ โดยรัฐบาลเปน ผูตดั สนิ ใจในการดาํ เนนิ เศรษฐกิจท้งั หมด เอกชนไมมีเสรีภาพ
ในการตดั สนิ ใจในการดาํ เนินกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ
ระบบเศรษฐกิจแบบผสม หมายถึง ระบบเศรษฐกิจแบบผสมนี้เกิดข้ึนเนื่องจากปญหาและ
ขอบกพรองของระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมและแบบสังคมนิยม โดยจะมีทั้งการใชกลไกราคา เปนการ
กําหนด และการวางแผนมาจากรัฐบาลสวนกลาง กลาวคือ มีท้ังสวนท่ีปลอยใหประชาชนตัดสินใจดําเนิน
กิจกรรมทางเศรษฐกิจเอง และสวนที่รัฐบาลพรอมทั้งเจาหนาท่ีเขาไปควบคุมและวางแผนการทํากิจกรรม
ตาง ๆ ทางเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทย
ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยในยุคปจจุบันมีแนวโนมจะเขาสูระบบเศรษฐกิจแบบผสมมากขึ้น
จะเหน็ ไดจ ากการท่ีรฐั บาลไดใ หโอกาสประชาชนมเี สรภี าพทํากิจกรรมทางธุรกิจไดมากข้ึน โดยอาศัยกลไกราคา
เปนเครอ่ื งมือในการตดั สินใจแตก ิจกรรมทางธรุ กิจในบางลักษณะกย็ งั มีความจําเปนตองใชวิธีการควบคุมหรือ
ดําเนนิ การโดยรัฐ เชน กิจการไฟฟา ประปา โทรศัพท ถนน เปนตน

113

อยางไรกต็ ามระบบเศรษฐกจิ ของประเทศไทยนับตั้งแตสมัยกรุงสุโขทัย (พ.ศ. 1800 - 1892) ซึ่งเปน
ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม มีการสงเสริมใหมีการคาโดยเสรีและกวางขวาง พอมาถึงสมัยกรุงศรีอยุธยา
(พ.ศ. 1893 - 2310) จะเปนระบบเศรษฐกจิ แบบศักดนิ า ทาํ การเกษตรเปน พน้ื ฐาน ประชาชนทาํ การผลติ แบบ
พอยงั ชพี รายไดห ลกั ของรฐั บาลมาจากสวยและภาษีอากร และเรม่ิ เปล่ยี นแปลงเปนระบบเศรษฐกิจแบบผสม
ในสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตน (พ.ศ. 2325 - 2398) โดยลักษณะระบบเศรษฐกิจจะเปนแบบก้ํากึ่งกัน
ระหวางเศรษฐกิจแบบพอยังชีพ และเศรษฐกิจแบบตลาด กลาวคอื มกี ารทาํ การเกษตรเพ่อื บรโิ ภคเอง และทํา
เกษตรเพื่อการคา แตการทําเพ่ือการคาจะเปนลําดับรอง นอกจากการทําการเกษตรแลว ในสมัยกรุง-
รัตนโกสินทรต อนตนนี้ ยังไดเ ริ่มมีการอุตสาหกรรมขนั้ ตน เกิดขึน้ ดว ย เชน อตุ สาหกรรมเหมืองแร และนา้ํ ตาล-
ทราย เปนตน

ตอจากนน้ั หลังชว งการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ระหวาง พ.ศ. 2475 - 2504 ระบบเศรษฐกิจไทย
เปลย่ี นแปลงไปมาก เนอื่ งจากประเทศไทยไดเ ปด การคา เสรกี บั ประเทศตะวันตกตามขอตกลงใน “สนธิสัญญา
เบาวร ่ิง” เปนผลใหพลังการผลติ ไมพัฒนา และไมสามารถจะแขงขันกับคูแขงทางการคาท้ังหลายได ผลผลิต
ที่พอจะกาวหนาและมีคุณภาพสูง ก็ถูกจํากัดดวยนายทุนตางชาติ และนายทุนเหลาน้ันสามารถควบคุม
เศรษฐกจิ ไทยได นอกจากนภ้ี ายหลงั จากสงครามโลกครงั้ ท่ี 2 (พ.ศ. 2488) ส้นิ สุดลง ประเทศไทยตองประสบ
กับปญหาทางเศรษฐกิจหลายประการ เชน ปญหาการขาดแคลนสินคาอุปโภคบริโภค ปญหาเงินเฟอ ปญหา
การขาดแคลนเงินตราตางประเทศ และปญ หาจากการท่ีตองปฏิบัติตามขอตกลงตามสัญญาสมบูรณแบบกับ
ประเทศอังกฤษ ดังน้ันในชวงน้ีประเทศไทยไดมีการแกปญหา โดยมีการออกกฎหมายควบคุมราคาสินคา
หา มกักตนุ สินคา ใหใ ชข องท่ีผลติ ขึน้ ในประเทศ มีการเปดธนาคารของคนไทยเพ่มิ มากข้ึน และใหธนาคารเปน
แหลงเงนิ ทุนไปทําธุรกจิ รัฐบาล จอมพล ป. พบิ ลู สงคราม ไดใชนโยบายเศรษฐกิจชาตินิยม และการขยายตัว
ของทนุ นิยมโดยรัฐ เชน รฐั เขามาสงเสรมิ ใหมกี ารประกอบการอุตสาหกรรม พาณชิ ยกรรม สาธารณปู โภค ฯลฯ

114

สงเสริมใหคนไทยมีบทบาททางเศรษฐกิจมากขึ้น เชน มีการสงวนอาชีพบางประเภทใหคนไทย สวนดาน
อุตสาหกรรม รฐั บาลก็จะเขาไปดาํ เนินการเอง

นับตั้งแต พ.ศ.2504 เปนตนมา ระบบเศรษฐกิจของไทยเปล่ียนแปลงมากอันเนื่องมาจาก
การเจริญเติบโตทางดานประชากร และปญหาดานทรัพยากรซ่ึงมีจํากัด โดยรัฐบาลซ่ึงเปนตัวแทนของสังคม
ตอ งเขา มาทาํ หนา ท่ีเปน ผจู ัดทาํ เพอื่ แกไขปญหาตา ง ๆ ในชวงนีเ้ องจึงทําใหประเทศไทยใหความสําคัญในการ
วางแผนการพัฒนาเศรษฐกจิ โดยรัฐบาลและประชาชนรวมกันดําเนินการ ซึ่งอาจกลาวไดวาระบบเศรษฐกิจ
ไทยไดเ ขาสรู ะบบเศรษฐกจิ แบบผสม โดยมกี ารวางแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและไดเร่ิมจัดทําเปนแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแหงชาตขิ ้ึน โดยเรม่ิ ตั้งแตฉบับที่ 1 เม่ือ พ.ศ. 2504 มาจนถึงปจจุบัน คือ ฉบับที่ 11 ซ่ึงมี
กําหนดวาระของแผน ดังน้ี

(1) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2504 - 2509
(2) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. 2510 - 2514
(3) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 3 พ.ศ. 2515 - 2519
(4) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 4 พ.ศ. 2520 - 2524
(5) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 5 พ.ศ. 2525 - 2529
(6) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบบั ที่ 6 พ.ศ. 2530 - 2534
(7) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบับที่ 7 พ.ศ. 2535 - 2539
(8) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2540 - 2544
(9) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบับที่ 9 พ.ศ. 2545 - 2549
(10) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 10 พ.ศ. 2550 – 2554
(11) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 11 พ.ศ. 2555 – 2559

ปญ หาเศรษฐกจิ ของไทย
ประเทศไทยไดชื่อวาเปนประเทศที่กําลังพัฒนา (Developing country) เหมือนกับประเทศตาง ๆ

ในแถบเอเชยี อีกหลายประเทศ ท้ังน้ี เนือ่ งจากประเทศไทยประสบปญ หาทางเศรษฐกิจหลายประการทีส่ ําคญั คอื
1. ความแตกตา งของรายได ผลจากการพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศในอดตี ทผี่ า นมา มีการขยายตวั

ทางเศรษฐกิจเปนไปในลักษณะที่ขาดความสมดุล ระหวางประชาชนในเมืองกับชนบทยังผลใหเกิดปญหา
ความแตกตางทางรายไดอยางเห็นไดชัด ประชาชนในชนบทยังยากจนมากกวา 10 ลานคน หรือประมาณ
รอยละ 90 ของประชาชนในชนบท จากการสํารวจพบวาผูประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีรายไดตํ่ากวาผูท่ี
ประกอบอาชีพอุตสาหกรรม 6 เทาตัว พาณิชยกรรม เกือบ 10 เทาตัว และดานบริการกวา 4 เทาตัว อีกท้ัง
ยังตา่ํ กวารายไดเฉลี่ยของประชาชนในชาติดวย ความแตกตางของรายได ผูประกอบอาชีพดานตาง ๆ ยังคง
ปรากฏอยูใ นปจจุบัน ประชาชนท่ีมรี ายไดเ ฉลย่ี ต่าํ สุดของประเทศอยใู นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

2. สนิ คาขั้นปฐม เปนสินคาพื้นฐานของคนไทย อันไดแก สินคาดานการเกษตร เปนสินคาผลิตผล
จากการทาํ นา ทาํ ไร ทําสวน เลยี้ งสัตวและการประมง ลักษณะสินคา เกษตรไทย ในปจ จุบันราคาผลผลติ ตกต่ํา

115

เปน สาเหตใุ หเ กษตรกรมรี ายไดน อย รายไดไมค อ ยจะพอกับรายจาย ถาเปนเกษตรกรรายยอย มักจะประสบ
ปญหาเกีย่ วกบั ราคาผลผลิตเสมอ

อยางไรก็ตามสนิ คาผลผลติ ขัน้ ปฐมของคนไทย ถาพิจารณาในภาพรวมของประเทศสินคาประเภทนี้
ยังเปน สนิ คาสง ออกทส่ี ําคัญของประเทศ และทาํ รายไดใหกับประเทศปละมาก ๆ

3. การตลาด เปนกลไกท่ที าํ ใหผูซ้อื และผขู ายมาพบกัน และเกดิ มกี ารแลกเปล่ยี นกันในกระบวนการ
แลกเปลี่ยนนั้น ตลาดตองทําหนาที่เกี่ยวกับการจัดซ้ือสินคา การเก็บรักษาสินคา การขายสินคาและบริการ
การจาํ หนา ยมาตรฐานสนิ คา การขนสง การยอมรับความเสีย่ งภัยและการเงิน

ลักษณะทางการตลาดของไทยมที งั้ เปนตลาดแบบผกู ขาดและตลาดแบบก่ึงแขง ขัน กึ่งผูกขาด ที่วา เปน
ตลาดแบบผกู ขาดนั้น เปนตลาดท่มี ผี ูซ้อื และผขู ายเพียงรายเดยี ว เชน การผลติ บุหร่ขี องโรงงานยาสูบ ลักษณะ
ของตลาดแบบน้ี ผขู ายเปนผูกําหนดราคาสนิ คา แตเ พียงผเู ดียว โดยไมตอ งระมัดระวังวาจะมีผูแขงขัน สําหรับ
ลักษณะของตลาดอกี แบบหนึง่ ที่เปน กึ่งแขงขันกึ่งผูกขาดนั้นเปนลักษณะของผลผลิตที่มาจากผูผลิตรายใหญ
เพียงไมก ่ีราย เชน บรษิ ัทผูผลิตเครื่องดื่ม บริษัทผูผลิตสุรา บริษัทผูผลิตเหลานี้จะมีผูผลิตนอยราย และมีการ
แขง ขันกันในการที่จะขายสนิ คา ของตน แตจ ะรวมตัวกันเพ่อื ขึ้นราคาสนิ คาหรือกาํ หนดราคาสินคา ไดง าย

ตลาดสินคาไทยอกี อยา งหนงึ่ เปนตลาดสนิ คา ทมี่ ผี ูซื้อและผูข ายจาํ นวนมาก ซง่ึ ตลาดเหลา นมี้ อี ยูทั่วไป
ทกุ จงั หวดั อําเภอ ตําบลและหมูบาน การตลาดของไทยยังมีปญหาสินคาสวนใหญตกอยูในกลุมบุคคลเพียง
ไมก่ีกลุม การท่ีมีกลุมผลประโยชนเหลานี้ข้ึน ถาเปนกลุมที่มีคุณธรรมก็จะกระจายรายไดโดยกําหนดราคา
ท่ีเหมาะสม ไมคิดกําไรมาก แตถากลุมบุคคลเหลาน้ีเปนบุคคลที่เห็นแกได กลุมเหลานี้ก็จะรวมกันบีบผูผลิต

116

ใหขายผลผลิตในราคาตํ่า ซ่ึงสรางความเดือดรอนใหแกประชาชน นอกจากน้ัน การกําหนดราคาสินคาของ
เมอื งไทยเรายังไมมีมาตรฐานโดยเฉพาะอยา งย่ิง สินคาดานการเกษตร

4. การขาดดลุ การคา และดุลการชําระเงิน คําวา ดุลการคา หมายถึง รายรับรายจายจากการคา
ระหวา งประเทศ ดุลการคาเปนเพียงสวนหน่ึงของดุลการชําระเงินเทานั้น เพราะดุลการชําระเงิน หมายถึง
รายงานที่แสดงถึงยอดรายได - รายจาย ที่ประเทศไดรับหรือรายจายใหแกตางประเทศในระยะเวลา 1 ป
ฉะน้ันประเทศอาจมีดุลการคาขาดดุล แตมีดุลการชําระเงินเกินดุลก็ได สําหรับดุลการคาของประเทศไทย
ในชว งทม่ี ีการพัฒนาอุตสาหกรรมนี้ จะขาดดุลการคากับบางประเทศ เพราะจะตองเสียคาใชจายในการสั่งซ้ือ
เครื่องจกั ร

5. การวา งงาน การวางงานยอ มมผี ลกระทบตอเศรษฐกจิ สงั คม และรวมถึงการเมอื งดว ยผลกระทบ
ทางเศรษฐกจิ เชน กอ ใหเกิดความยากจน เปน ผลกระทบถึงปญ หาครอบครัว ปญหาอาชญากรรม ฯลฯ และมี
ผลถึงการฝกใฝในลัทธิเศรษฐกิจและลัทธิการเมือง ทําใหเกิดปญหาผูกอการรายได ในทางเศรษฐศาสตร
มกี ารศกึ ษาและกาํ หนดไววา ถาประเทศใดมีอัตราการวางงานเกิน 4% ของจํานวนแรงงานทั้งหมดแลว จะมี
ผลกระทบตอ ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศนั้นอยางรุนแรง อยางไรก็ตาม ถึงแมอัตราการวางงานจะไมถึง 4%
ดังกลา ว กส็ ามารถทําใหเกิดปญ หาสังคมขนึ้ ได

6. การเงินและการชําระหน้ี การกําหนดและควบคุมปริมาณเงินใหพอดีกับความตองการและ
ความจําเปนในการหมุนเวียนของระบบเศรษฐกิจ เปนสิ่งจําเปนที่รัฐบาลจะตองกําหนดเปนนโยบายไว
เพราะถาปริมาณเงินทใ่ี ชห มนุ เวียนในระบบเศรษฐกจิ มีมากเกนิ ไป หรือนอ ยเกินไป เมอ่ื เปรียบเทียบกบั ปรมิ าณ
สินคา หรือบรกิ าร รัฐบาลจะตอ งเขาไปแกไข โดยมอบหมายใหธ นาคารแหงประเทศไทยเปนผูควบคุมปริมาณเงิน
ทําได 3 ทาง คือ

117

1. การนาํ หลักทรพั ยออกขายสูตลาด ถารัฐบาลตองการเก็บเงินก็ขายหลักทรัพยรัฐบาล ถาเงิน
ในมอื ฝดลงรฐั บาลกร็ บี ซอื้ หลกั ทรพั ยก ลบั มาอกี ซึ่งจะเปนการปลอ ยเงินไปสปู ระชาชนเพื่อใหเกิดเงินหมุนเวียน

2. การเพ่ิมหรือลดอัตรารับชวงซื้อลดต๋ัวเงิน ทําใหธนาคารพาณิชยกูยืมเงินจากธนาคารแหง
ประเทศไทยเพิ่มขน้ึ หรือลดลง ดวยวิธีใหเงินสดในทองตลาดลดลง หรือถาใหเงินสดในทองตลาดมีหมุนเวียน
คลองตวั กต็ องกูเงนิ จากธนาคารกลางเพิ่มขนึ้ เงินสดในมือประชาชนจะมมี ากข้ึน

3. การเพิ่มหรือลดอัตราเงินสดสํารองตามกฎหมาย เมื่อพิจารณาฐานะการคลังของรัฐบาล
ปง บประมาณ 2540 - 2541 เปน ชว งทเ่ี ศรษฐกิจของประเทศตกต่ํามาก จะพบวาสถานภาพเงินคงคลังยังไมมี
ความม่ันคง รัฐบาลตองประหยัดและจะตองกูเงินจากตางประเทศมาชดเชยการขาดดุลงบประมาณ
ซ่ึงปจจุบันประเทศไทยเปนหนี้ตางประเทศจํานวนมาก รัฐบาลตองต้ังงบประมาณชดใชหน้ีสินปละนับเปน
หม่ืนลานบาท ซึ่งยังผลใหงบประมาณที่จะนาํ มาใชใ นงานพัฒนามนี อ ยมาก

7. เงินเฟอ (Inflation) เงินเฟอ หมายถึง ภาวะท่ีราคาของสินคาสูงข้ึน หรือหมายถึงภาวะท่ีคาของ
เงนิ ลดลง สง่ิ ท่ีจะทําใหเ ห็นชดั ถงึ ภาวะเงนิ เฟอ คอื ดัชนีผบู รโิ ภค เงนิ เฟอ มี 2 ประเภท คือ

1. เงินเฟออยางออน คือ ภาวะที่ราคาของสินคาและบริการสูงขึ้นเรื่อย ๆ ในอัตราเล็กนอย
ราวปละ 2.3 % และไมเ กนิ 5 %

2. เงินเฟออยางรุนแรง คือ ภาวะที่ราคาสินคาเพ่ิมข้ึนอยางรวดเร็ว ดัชนีราคา จะสูงข้ึนกวา
รอยละ 10 ตอ ป

การที่เกดิ ภาวะเงนิ เฟอนั้น ยอ มจะทําใหเ กิดผลกระทบกระเทอื น ดังน้ี คือ
1. ทาํ ใหเกดิ ผลเสยี หายแกก ารพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมของชาติ
2. ทาํ ใหเกดิ ภาวะชะงักงนั ทางเศรษฐกิจ เพราะคา ของเงนิ ลดลง
3. เจาหนีท้ วั่ ไปจะเสยี ประโยชนจากมูลคาหนี้ท่ีเปล่ยี นแปลง คอื
4. ผูมีรายไดจากคาจาง เงินเดือน และผูมีรายไดคงที่อื่น ๆ จะเดือดรอนจากการครองชีพ

เพราะรายไดไมทนั กับรายจา ย
5. รัฐบาลประสบปญหามากขึ้นในการบริหารประเทศเพราะรัฐบาลตองกูเงินมากขึ้นรัฐบาล

ตองหาเงนิ มาใชใ หพอกับอัตราการเฟอ ของเงินทาํ ใหเ งนิ ทนุ สาํ รองท่เี ปน เงนิ ตราตางประเทศลดลง
ผลจากการท่รี ัฐบาลกําหนดใหค า เงนิ บาทลอยตัวเม่ือเดือนกรกฎาคม 2540 ทําใหสินคา มีราคา

สงู ข้ึน คาของเงนิ บาทลดลง ทาํ ใหเ กดิ เงินเฟอ ปจ จบุ ันเงนิ เฟอ เริม่ ลดลง
การเกดิ เงินเฟอมไิ ดม ีแตผ ลเสียอยางเดียว ยงั มีประโยชนอยบู าง กลา วคอื
1. เปนผลดแี กล กู หนี้ ลกู หนีจ้ ะใชเงินลดลงเมือ่ เปรียบเทยี บกบั ภาวะเงนิ ปจ จุบัน
2. เกษตรกรมรี ายไดเ พ่ิมขึ้น เพราะเม่อื เกดิ เงินเฟอ ราคาผลผลิตทางการเกษตรจะมีราคาสงู ข้ึน
3. ผูป ระกอบธรุ กจิ การคา จะไดร ับผลประโยชนเ นอื่ งจากเงนิ เฟอ จะชว ยสงเสรมิ การลงทนุ การคา

ทั่ว ๆ ไปใหข ยายตัวมากข้นึ

118

แนวทางพฒั นาเศรษฐกจิ ของไทย
การพัฒนาอาชีพและรายได การประกอบอาชีพของคนไทยมีความหลากหลาย มีท้ังขาราชการ
พลเรือน ขาราชการตํารวจ ทหาร ลูกจางของทางราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พอคา แมคา ฯลฯ อาชีพ
ตา ง ๆ เหลานถ้ี า จะจัดเปน กลุมอาชีพจะได 3 กลุมอาชีพ ไดแก อาชีพเกษตรกรรม อาชีพอุตสาหกรรม และ
อาชีพบรกิ าร
1. อาชพี เกษตรกร ประชากรสว นใหญประกอบอาชีพทางการเกษตร ดังน้นั อาชพี เกษตรจงึ มี
ความสาํ คญั ย่งิ สําหรบั คนไทย อาชีพเกษตรมีทง้ั การทํานา ทําสวน ทําไร และเลีย้ งสัตว สนิ คาเกษตรเปนสินคา
ข้ันปฐมของไทย และเปน สินคาทสี่ งไปขายตา งประเทศปละหลายหมืน่ ลา นบาท รัฐบาลพยายามสงเสรมิ อาชีพ
เกษตรมากข้นึ และพยายามเชิญชวนใหเ กษตรกรไทยเปลย่ี นแปลงการปลูกพืชบางชนดิ เมอ่ื เห็นวาพืชนั้น
มผี ูผ ลิตมากและลน ตลาด ทาํ ใหสนิ คาราคาถูก
2. อาชีพอุตสาหกรรม จากขอมูลของกรมโรงงานอุตสาหกรรมพบวา โรงงานอุตสาหกรรม
ในประเทศไทยเปนอตุ สาหกรรมขนาดใหญเ พียงรอยละ 6 อีกรอยละ 94 เปนโรงงานอุตสาหกรรมขนาดยอม
อุตสาหกรรมขนาดใหญแทนท่ีจะจางคนงานมาก แตก ลับจางคนงานนอ ย เพราะมกี ารใชเ ครื่องจกั รแทนแรงคน
ฉะน้ันความหวังท่ีจะเขาไปรบั จา งทํางานในโรงงานอุตสาหกรรมจงึ เปน เรอ่ื งยาก
แนวโนม ของการขยายตวั ทางอตุ สาหกรรมนัน้ รฐั บาลไดพยายามสง เสริมให เอกชนลงทนุ โดยรัฐบาล
ใหหลักประกัน พรอมทั้งเชิญชวนใหชาวตางประเทศมาลงทุนในประเทศไทยมากขึ้น ถึงกับมีการจัดตั้งเขต
อุตสาหกรรมขึ้นที่ อาํ เภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี อยางไรก็ตามการสรางโรงงานขนาดใหญ ไมสงผลตอการ
จางงานเพมิ่ ข้นึ รฐั บาลจงึ พยายามท่ีจะสง เสรมิ ใหม กี ารลงทนุ ในอตุ สาหกรรมขนาดยอ มเพิม่ ขนึ้ และขยายการ
ลงทุนไปยงั ตา งจงั หวัดใหมาก เพอ่ื หวังจะใหมีการจางงานในสวนภูมิภาค มีแผนขยายเมืองหลักท้ัง 4 ภาคของ
ประเทศ และขยายเขตอตุ สาหกรรมไปยงั จงั หวัดใหญ ๆ ดว ย
3. อาชีพบริการ ถาจะแบง เปนกลมุ ยอยจะได 3 กลมุ คือ

กลุมท่ีหนึ่ง ประกอบดวย ขาราชการและลูกจางหนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ขาราชการ
หมายรวมถงึ ทหาร ตาํ รวจ ดวย กลุมอาชพี น้ีมีหนาทใ่ี หบ ริการแกประชาชนเพราะเปนลูกจางของรฐั

กลุมทส่ี อง เปนพวกทเี่ ปน ลูกจางหนวยงานเอกชน ตามโรงงานอุตสาหกรรม ไร สวน และตาม
บริษัทหางรานตางๆ การจางงานจากสถานบริการเหลานี้ จะอยูในวงจํากัดรับไดจํานวนไมมาก และจาก
ความเจรญิ กา วหนา ทางวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ทําใหค วามจําเปน ในการจางงานลดลง

กลุมท่ีสาม เปนกลุมท่ีประกอบอาชีพอิสระ แนวทางพัฒนาอาชีพในอนาคตน้ัน เน่ืองจากทาง
ราชการรับบุคคลเขาทํางานนอย หนวยงานเอกชนก็มีการจางงานนอยลง ดวยเหตุนี้แนวโนมตอไป
ในแผนพัฒนา ฉบับท่ี 8 (พ.ศ. 2540 – 2544) อาชีพอิสระมีความจําเปนมากสําหรับประชาชน รัฐบาลก็ได
กาํ หนดเปนนโยบายไววา “ใหจ ดั การศึกษาใหต รงกับความตองการของตลาดแรงงานและใหสามารถประกอบ
อาชพี สวนตวั หรอื สรา งงานดว ยตนเองใหม ากขึน้ เนนการพฒั นาคณุ ภาพของประชากรเปน สาํ คัญ”

119

การพัฒนาตลาดแรงงาน
ในป พ.ศ. 2540 ปญหาแรงงานในประเทศไทยเริ่มรุนแรงมากขึ้น โรงงานตาง ๆ หยุดกิจการ มีการ
เลิกจางงานมากข้นึ ทําใหเ กิดปญหาการวา งงานท้งั ในลักษณะท่เี ปน การวา งงาน โดยเปดเผย การวางงานของ
ผูมีความรูแตทํางานตํ่ากวาระดับรายไดและความสามารถ ตลอดจนปญหาแรงงานเด็ก รัฐบาลจึงไดเรงหา
แนวทางและมาตรการตาง ๆ ทจี่ ะลดความรนุ แรงดานปญหาใหนอยลง ตลอดจนกําหนดนโยบายท่ีจะพัฒนา
เศรษฐกจิ เพ่อื ใหมงี านทํามากขึน้ ดว ยวิธกี ารตา ง ๆ เชน

1. การพัฒนาการเกษตรในรูปการเกษตรครบวงจร ตั้งแตการพัฒนาผลผลิตการเกษตร
อตุ สาหกรรมท่ตี อ เน่ือง ตลอดจนการจัดการเรื่องตลาดและเสถียรภาพของราคาในพืชหลักท่ีมีอยู การพัฒนา
การเกษตรแบบผสมผสานที่เปน การขยายชนดิ พืชและใชพ้ืนท่ีมากขึ้นในเขตชลประทานและเขตนาํ้ ฝน

2. การสรา งงานเกษตรในฤดแู ลง เปนทที่ ราบกนั ทั่วไปวาปญ หาในเขตชนบทสว นใหญน น้ั เกิดขน้ึ
ในฤดูแลง มาตรการท่ีจะชวยสรางงานทางการเกษตร ไดแก การนําเทคโนโลยีคิดคนมาไดไปปฏิบัติ เชน
การทําฝนเทียม ซ่ึงสวนใหญเปนพื้นที่ชนบทยากจน เทคโนโลยีใหม ๆ เหลาน้ีไดแก การเพิ่มประสิทธิภาพ
การเพาะปลกู พชื การเลยี้ งสัตว การใชประโยชนจ ากแหลงน้ําใหม นี ้ําพอเพยี งในฤดแู ลง สงผลใหเกิดผลดีในดาน
การประมง การเล้ียงสัตว การเพาะปลูก ตลอดจนการเพ่ิมมาตรการเก่ียวกับไมยืนตนไมโตเร็ว เพ่ือใชสอย
ในระดับหมูบาน การสนับสนุนเร่ืองตาง ๆ เหลานี้อยางพอเพียง จะกอใหเกิดงานท่ีมีผลผลิตและรายไดขึ้น
อยางกวางขวางโดยเฉพาะในฤดแู ลงซึ่งเปนฤดูที่มีปญหา การวา งงานสงู

3. การสรางงานโดยการสนบั สนนุ อุตสาหกรรมชนบท สงเสริมอตุ สาหกรรมชนบทท่ีใชวัตถุดิบ
ทางการเกษตร การสรางงานใหมากข้ึนในตางจังหวัดจะเปนการรองรับแรงงานจํานวนมาก และลดความ
จาํ เปน ทจ่ี ะอพยพเขา มาหางานทาํ ในกรุงเทพมหานคร หรือนอกทอ งถ่นิ ในขณะนไ้ี ดมีการทดลองการใหบ รกิ าร
สนบั สนุนอุตสาหกรรมตา งจงั หวัดโดยวิธีระดมสรรพกาํ ลงั ภาครฐั บาลท่ีมีอยูในดานทุน เทคโนโลยี การจัดการ
และการตลาดในหลายจังหวดั คอื พิษณโุ ลก สงขลา ขอนแกน และกาญจนบุรี

4. การสรางงานโดยการพัฒนาอาชีพนอกการเกษตร การขยายการจางงานในสาขาเกษตร
จําเปนที่จะตองขยายงานนอกการเกษตรภายในชนบท เชน โครงการสงเสริมหัตถกรรมและอุตสาหกรรม
ในครวั เรอื น ซ่งึ เปน สินคา ออกทส่ี ําคญั ประเภทหนึง่ ของประเทศไทย โดยเนนการใชวัตถุดิบในทองถ่ินใหมาก
ท่ีสุด โดยรัฐบาลตองใหความชวยเหลือ จัดใหมีการประสานงานระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของที่เขาไป
ดําเนนิ การสง เสรมิ ในเรอื่ งน้ี ฝก อบรมผทู สี่ นใจใหม คี วามรพู ิจารณาแหลงสนิ เช่อื สาํ หรับผูประกอบกิจกรรมและ
การตลาด อยา งไรกด็ ีการทีจ่ ะขยายการผลติ ในกจิ กรรมนอกการเกษตร จาํ เปนตอ งคาํ นงึ ถงึ การเตรียมคนและ
ฝก คนใหมฝี มือสอดคลองกับความตองการของงานนอกการเกษตร

แมจะมีแนวนโยบายที่ชัดเจนดังกลาวขางตนแลวก็ตาม แตปญหาเรื่องการวางงานในชนบท
จะยังคงเปนปญหาอยตู อ ไปอกี นาน ดังนน้ั การปรบั ปรุงนโยบายการพฒั นาการเกษตร เพื่อใหสามารถรองรับ
แรงงานชนบทไดเ พิ่มขึ้น รวมทั้งการเรง รัดขยายอุตสาหกรรมตางจังหวัดเพื่อจางแรงงานจากภาคชนบทเปนส่ิง
ท่ีจะตองดาํ เนินการอยางเอาจริงเอาจงั มากข้ึน

120

5. การเตรียมตัวเขาสูตลาดแรงงาน ถานักศึกษาติดตามขาวทางหนังสือพิมพ จะพบขาว
อยเู สมอเกยี่ วกบั การที่มเี ด็ก ๆ ไปทาํ งานในโรงงานอุตสาหกรรม ท้ังที่อายุยังนอย ยังไมพรอมท่ีจะเขาสูตลาด
งาน เด็กเหลา น้จี ะไดคา จา งตาํ่ และบางครง้ั ตองประสบภยั อนั ตรายจากการทํางาน ท้ังนี้เน่ืองจากเด็กเหลาน้ัน
ยังไมพรอมที่จะเขาสูตลาดแรงงาน การเตรียมตัวเขาสูตลาดแรงงานน้ันจะตองพยายามใหการศึกษา
ดานวิชาชีพแกเด็ก ๆ โดยการปลูกฝงใหเด็กมีความรูสึกที่ดีตอการประกอบอาชีพการฝกทักษะอาชีพ
ที่เหมาะสมกบั วยั มีผลงานอาชพี ของผูเรยี นที่กอใหเ กดิ รายได ซึง่ ทําไดโดยการใหการศกึ ษา ขยายการศึกษาให
กวา งขวางทัว่ ถงึ ใหเด็กไดเ รียนอยางนอ ย 12 ป

การใหก ารศกึ ษาแกเด็กนัน้ ตองจัดหลกั สูตรวิชาชีพเขา ไวในหลักสูตรในโรงเรียนดวย ซ่ึงปจจุบัน
ก็ไดมีการจัดหลักสูตรวิชาชีพใหเด็กไดเรียนแลว ถาเปนผูท่ีไมไดเรียนอยูในโรงเรียนก็ควรตองขยายการ
ฝกอบรมวิชาชพี ระยะสน้ั โดยใชว ิชาการทางการศึกษานอกโรงเรียน จัดบริการฝกอบรมใหท่ัวถงึ ทงั้ ในเมอื ง
และชนบทหา งไกล เพ่อื ประชาชนเหลาน้ันจะไดมีความรูและทกั ษะพรอ มทจี่ ะประกอบอาชพี ได

การพฒั นาผลผลิตและการใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ในการพฒั นาผลผลิตการเกษตรน้นั เทคโนโลยมี ีความสําคญั
เทคโนโลยี (Technology) คือ วิทยาการซ่ึงไดมาโดยวิธีการทางวิทยาศาสตร รวมทั้งสิ่งที่เปน
หลกั การ วิธีการ และเครื่องมือตา ง ๆ
เทคโนโลยีที่ไดนํามาใชเกี่ยวกับการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ในประเทศไทยเรามีมากมาย เชน
การรูจักใชเครื่องทุนแรง รูจักการใชปุยชนิดตาง ๆ รูจักการปรับปรุงดิน รูจักการผสมพันธุพืชและพันธุสัตว
ท้งั นเี้ พื่อชวยเพม่ิ ปริมาณและคณุ ภาพของผลผลติ ทางการเกษตร
ผลผลิตทางการเกษตร หมายถึง สิ่งท่ีไดจากการทําเกษตรกรรม และรวมถึงผลิตภัณฑท่ีทําจาก
ผลติ ผลนัน้ ๆ ดวย
ชาวนามอี าชพี ในการทาํ นา โดยการเพาะปลกู ขาวในนา จะเปนโดยการปกดําหรือการหวานก็ได จนขาว
ออกรวงและไดเก็บเกยี่ วเพ่ือนํามานวด เมลด็ ขาวทไี่ ดน ี้เรียกวา ขา วเปลอื ก ถาเรานําขาวเปลือกไปสใี นโรงสีหรือ
เอาไปดาํ กจ็ ะไดเปน เมล็ดขา วสีขาว เรียกวา ขาวสาร คนเราจงึ ไดน ําเอาขาวสารนี้ไปหุงตมหรือนึ่งเสร็จแลวน้ี
จงึ เรียกวา ขาว ดงั นน้ั ขาวจึงเปน ผลผลิตทางการเกษตร
ชาวไรก ม็ ีอาชพี ในการทาํ ไร เชน การทําไรขาวโพด ไรม ันสําปะหลัง ไรพ รกิ ในการทําไรนัน้ ก็ตองเร่ิม
ตั้งแตการคัดเลือกพันธุ การเตรียมดินเพ่ือการเพาะปลูก การบํารุงรักษาพืชไรจนกวาพชื ชนดิ นั้น ๆ จะได
ดอกไดผ ล เชน ขาวโพดจะตองใหฝ กแลว ชาวไรก็เกบ็ ฝก ขาวโพดมาสนี ําไปเปน อาหารของสัตว ดังน้นั ขาวโพด
ท่ีไดอ อกมาจึงเปน ผลผลิตทางการเกษตร

121

ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม ประชากรประมาณรอยละ 75 มีอาชีพทางการเกษตร ดังน้ัน
รายไดสว นใหญข องประเทศจึงไดม าจากการนําผลิตผลทางการเกษตรออกไปจาํ หนายในตา งประเทศ เชน ขาว
ขาวโพด ยางพารา มันสาํ ปะหลงั เปน ตน จากหลักฐานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ บอกวา ประเทศไทย
มีเน้ือที่ในการเพาะปลูกเพียงรอยละ 20 ของเน้ือท่ีทั้งหมด ท่ีเหลือนอกนั้นก็เปนที่อยูอาศัย แมนํ้าลําคลอง
ถนนหนทาง ปาเขา ปาก็จําเปน อยา งย่งิ ทต่ี อ งสงวนไวเพอ่ื เปนการรักษาตน นาํ้ ลาํ ธาร ปอ งกนั นา้ํ ทว ม และเปน
การสงวนพันธุสัตวปา อกี ดว ย

ผลผลิตทางการเกษตร มีประโยชนมากมาย หรือแทบจะกลาวไดวาผลผลิตทาง การเกษตรเปน
ปจจัยสาํ คัญในการดาํ รงชีวิตของมนษุ ยเลยทีเดยี ว ซึ่งอาจจะจําแนกไดดังน้ี

1. อาหาร จะเห็นวามนุษยบริโภคอาหารท่ีไดมาจากผลิตผลทางการเกษตร ดังจะเห็นไดจาก
มนุษยบริโภคขาว ขาวสาลี ขาวโพด เปนอาหาร ถึงแมวามีบางประเทศท่ีประชากรของเขาบริโภคอาหาร
จําพวกขนมหรอื ขนมปง แตขนมเหลานน้ั ก็ทาํ มาจากขาว หรอื ขาวสาลี ดังทเ่ี ราเคยเหน็ แปงชนิดตา ง ๆ ทท่ี าํ มา
จากขาว เชน แปงสาลีก็ทํามาจากขาวสาลี แปงขาวจาวก็ทํามาจากขาวเจา เปนตน แปงเหลานี้ก็นําไปผลิต
เปนพวกขนมตาง ๆ ได หรืออาจจะเปนพวกเครื่องด่ืมตาง ๆ เชน กาแฟ น้ําสม ลวนไดมาจากผลิตผลทาง
การเกษตรท้ังสน้ิ

2. เครื่องนุงหม กเ็ ปนปจ จยั สําคญั ของมนษุ ย โดยที่มนุษยส ามารถนาํ ผลิตผลทางการเกษตรที่ให
เสนใยมาทอเปนผา แลวทําเปนเครื่องนุงหมได พืชท่ีใหเสนใย ไดแก ฝาย ปอ และอ่ืนๆ ผลิตผลทางเกษตร
ที่นํามาใชเ ปน เครอื่ งนุง หมนี้ ถือวา เปน เครือ่ งอุปโภค

3. ยารักษาโรค ผลติ ผลทางการเกษตรบางชนิดสามารถนาํ มาสกดั ทาํ เปนยารกั ษาโรคตาง ๆ
ได เชน กระเทยี ม ขิง ขา และอื่น ๆ เมื่อจํานวนประชากรเพิ่มมากข้ึนเรื่อย ๆ ความจําเปนในการผลิตยารักษา
โรคยิง่ มมี ากขนึ้ ในสภาพของการดําเนนิ ชวี ิตและมนุษยแลว จะหนไี มพ น การเกิด แก เจ็บ ตาย ไปได

122

4. ท่อี ยูอาศัย การสรา งสถานท่ีอยูอาศัยมีความจําเปนตอชวี ิตมนษุ ยม าก ในสมยั โบราณคนเราได
อาศยั อยตู ามถาํ้ พอนานเขา ก็มวี วิ ัฒนาการไปเรื่อย ๆ รูจ ักการกอ สรางทอ่ี ยูอาศัยเอง ซงึ่ อาจจะเริ่มจากการนาํ เอา
ใบไมใบหญามามุงหลังคา หรืออาจจะเปน การนาํ เอาหนงั สัตวมาทาํ เปน ท่ีอยอู าศัย ตอ มากร็ ูจกั การนาํ เอาตนไม
มาแปรรูป เพอื่ ใชกอ สรา งอาคารบา นเรือน เพื่อใหคงทนและถาวรตอไป เมือ่ คนใชต น ไมม ากเขาตนไมก็นอยลง
ทกุ ที จนถึงปจจุบนั น้กี ็ไดม ีการปลกู ปา ข้นึ ซึ่งการปลูกปาหรือปลูกตนไมนี้ลวนแตเปนผลผลิตทางการเกษตร
ทั้งสิน้

5. ผลิตภณั ฑ เปน ผลติ ภณั ฑทไ่ี ดจ ากผลิตผลทางการเกษตรแทบทง้ั ส้นิ อันไดแ ก อาหารกระปอ ง
ไมอ ัด นมผง และเครื่องหนงั ตาง ๆ เปนตน

การอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรม หมายถงึ การผลติ ส่ิงของปริมาณมากเพื่อจําหนายเปนสินคา อุตสาหกรรมไดแบงออก
ตามลักษณะและขนาดของกจิ การไดเ ปน 3 ประเภท คอื

1. อุตสาหกรรมขนาดใหญ หมายถึง อุตสาหกรรมท่ีตองใชเคร่ืองจักรกล อุปกรณและเงินทุน
จาํ นวนมาก เชน โรงงานผลิตปูนซเี มนต โรงงานผลิตเครอ่ื งดม่ื เปน ตน

2. อุตสาหกรรมขนาดยอม เปนอตุ สาหกรรมที่มีขนาดเล็ก ใชคนงานต้ังแต 7 คนขึ้นไป แตไมเกิน 50
คน และใชเงนิ ทุนไมเกนิ 2 ลานบาท อตุ สาหกรรมขนาดยอ มนใี้ ชวัตถุท่ีไดจากอุตสาหกรรมขนาดใหญมาผลิต
ของสาํ เร็จรูปอกี ตอหนงึ่ เพอ่ื จะไดเปนเคร่อื งอุปโภคบริโภค เชน การทํานํ้าตาล การฟอกหนัง การทําน้ําแข็ง
การทํารองเทา เปนตน

3. อุตสาหกรรมในครอบครวั หมายถงึ อตุ สาหกรรมขนาดเล็กท่ีทํากันในครอบครัว ใชแรงงาน
ของคนในครอบครัวเปนสวนใหญ ทําผลิตภัณฑท่ีใชความชํานาญทางฝมือแลวนําออกจําหนาย เชน
การประดิษฐดอกไม การทําอาหารหมักดอง การทําขนม เปนตน ประเทศท่ีเจริญกาวหนาทางดาน
อุตสาหกรรมได จะตอ งเปนประเทศทีม่ ีความเจรญิ ทางดานวิชาการสูง สามารถผลิตสินคาที่มคี ุณภาพดีออกไป
จําหนายแขงขันกับประเทศอ่ืน ๆ ได ในกรณีของประเทศไทยยังมีอุตสาหกรรมประเภทนี้อยูไมมากนัก
และอุตสาหกรรมท่มี ีอยแู ลวสว นใหญก็เปนอุตสาหกรรมขนาดเล็กลงทนุ ไมมาก

แนวโนม ในการพัฒนาเศรษฐกจิ ของไทย
ประเทศไทยไดเริม่ มกี ารวางแผนพัฒนาเศรษฐกจิ เปนครัง้ แรกเมอื่ พ.ศ. 2504 ปจ จบุ ันเนนการพัฒนา
คน โดยกําหนดยุทธศาสตรใ นการพฒั นาไว ดงั น้ี
1. ยุทธศาสตรก ารเพ่ิมศักยภาพของคนทุกกลุมเปา หมาย อายุและเพศ ใหคนมีทางเลอื กในชีวติ และ
เขา มามีสว นรว มในการพัฒนาประเทศอยา งยง่ั ยนื โดย

1.1 ปรับปรงุ กระบวนการเรยี นรูและฝก อบรมใหค ิดเปนทาํ เปน มีการเรยี นรูจ ากประสบการณและ
ของจริง ไดรับการศึกษาอยางตอเน่ืองหลากหลาย สนับสนุนใหเกิดความเชื่อมโยงองคความรูสากลเขากับ
ภูมิปญญาไทยท่ีมีวิวัฒนาการจากพ้ืนฐานสังคมการเกษตรภายใตบริบทของวัฒนธรรม คานิยมด้ังเดิมที่ไม

123

แปลกแยกจากธรรมชาติ สรางแนวการดํารงชีวิตที่ประชาชนรูเทาทันการพัฒนาและสามารถรักษาระดับ
การพฒั นาท่เี หมาะสมไดดว ยตนเองอยา งตอ เนอ่ื งและยืนนาน

1.2 สนับสนนุ ใหเ กดิ การกระจายอาํ นาจการศึกษาเพ่อื เปด โอกาสใหค รอบครวั ชุมชน และทองถิ่น
เขา มามบี ทบาท สามารถจัดการศกึ ษาไดพรอม ๆ ไปกับผอ นคลายกฎระเบียบขอบังคับตาง ๆ และใหส่ิงจูงใจ
เพิ่มเตมิ แกภาคเอกชนใหเ ขามามีบทบาทในการจัดการศกึ ษามากขึน้

1.3 ใหค วามสําคญั เปนลาํ ดบั สงู ในการปฏิรปู การฝกหัดครเู พอื่ ใหค รูเปน วชิ าชพี ทม่ี ีเกยี รติมศี กั ดศิ์ รี
สามารถดึงดูดคนเกงคนดีเขาเรียนวิชาครู รวมท้ังเรงรัดการพัฒนาครูประจําการและบุคลากรทางดาน
การศกึ ษาและปฏริ ปู การเรยี นการสอนในการผลติ ครอู ยา งจริงจงั

1.4 เสริมสรางศักยภาพของส่ือสารมวลชน เพื่อใหสนับสนุนการพัฒนาโดยเปนยุทธศาสตร
ทส่ี ามารถดาํ เนนิ การไดทันทอี ยางตอ เน่อื งไปพรอม ๆ กบั การเพม่ิ ทักษะของการเปนผูรับสารหรือผูบริโภคส่ือ
ทีม่ ีคณุ ภาพ โดยเนนบทบาทของส่อื มวลชนในการสงเสริมกระบวนการเรยี นรูและการสรางปญญาท้ังในระดับ
ทองถ่ินและในกระแสโลกาภิวตั น

1.5 สรา งบรรยากาศแวดลอ มทเ่ี อือ้ ตอการพฒั นาเดก็ และเยาวชน
1.6 สนับสนุนใหมีการพัฒนาจิตใจคนใหเปนคนดีมีวินัย คุณธรรม และจริยธรรม ตลอดจน
สง เสริมวัฒนธรรมไทย โดยเนน ศักดศ์ิ รแี ละศักยภาพของคนไทยในการสรางสรรคผลงานศิลปะ
1.7 ปรบั ปรุงระบบบรกิ ารสาธารณสุข ใหสามารถบริการประชาชนไดอยางมีประสิทธิภาพและ
บรรลุเปา หมายของการมสี ขุ ภาพดีถว นหนา โดยเนน การปองกนั โรคและสงเสรมิ สขุ ภาพ รวมท้ังใหม กี ารพฒั นา
ภมู ปิ ญญาทางดานการรักษาพยาบาลแบบพื้นบา น เชน แพทยแผนโบราณ สมุนไพร เปน ตน
2. ยทุ ธศาสตรก ารเสริมสรางการมีสวนรว มของคนในกระบวนการพัฒนา โดย
2.1 สงเสริมความเขมแข็งของสถาบันครอบครัว และชุมชนใหมีบทบาทและสวนรวมในการ
พฒั นาเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิง่ แวดลอม และการเมืองการปกครอง โดยใหความสาํ คัญในการสรางความ
เขมแข็งและมคี วามตอ เนอื่ ง
2.2 สนับสนุนการเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถของผูดอยโอกาสในสังคมให
สามารถมรี ายไดและพึง่ ตนเองได เพื่อชวยลดชองวางระหวางรายได
2.3 สง เสรมิ บทบาทของสตรีใหเปนพลังในการพฒั นา และเปน ผมู ีสวนรว มในการตดั สินใจใน
ทกุ ระดบั ทั้งน้ี เพอ่ื บูรณาการและสรา งความสมดุลของการพัฒนา
2.4 เรงรดั การพฒั นาชนบทและกระจายความเจริญไปสภู ูมิภาค โดยเนนใหมโี ครงสรา งขนั้ พื้นฐาน
ท้ังทางเศรษฐกจิ และสังคมเพอื่ กระตนุ ใหเ กดิ การพัฒนาชนบททีย่ ่ังยืน
2.5 เพิม่ บทบาทของประชาชนในการเรยี นรูการพิทกั ษทรพั ยากรธรรมชาติ และจัดการส่ิงแวดลอม
ควบคูไ ปกับการเตรยี มคนและชมุ ชนเพ่อื รองรับผลกระทบของการพฒั นาจากภาคนอกชนบท
2.6 พัฒนาและปรบั ปรงุ ระบบประกันสังคมใหส ามารถเขา ถึงกลุมเปาหมายตาง ๆ ใหกวางขวาง
ยิง่ ขึ้น

124

2.7 พฒั นาระบบการเมอื งใหม ีอุดมการณประชาธิปไตยอยางเปนวิถีชีวิต ใหมีคานิยม วัฒนธรรม
กติกา และวิธีการบริหารจัดการท่ีดี มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับสังคมไทยเพ่ือสนับสนุนการพัฒนา
ดานเศรษฐกิจและสังคมใหย ่งั ยืน

สรุป ในปจ จบุ นั นี้ ระบบเศรษฐกิจของประเทศ จะมที ้ังภาครฐั และเอกชนตางมีสวนเปนเจาของ
ทรพั ยากรและปจ จัยการผลิตตาง ๆ โดยเอกชนใชก ําไรเปน สงิ่ จงู ใจเขามาทาํ การผลิตและอาศัยกลไกราคาในการ
จัดทรัพยากร และมีบางกิจกรรมท่ีควบคุมโดยรัฐ ทั้งนี้เพ่ือแกไขปญหาพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจและคุมครอง
ผลประโยชนข องสังคมโดยรวม นอกจากน้รี ัฐจะเขา มามบี ทบาทในกิจกรรมทางเศรษฐกจิ เทาทจ่ี ําเปน ไดแก

1) ดาํ เนนิ การเกย่ี วกับการปองกนั ประเทศ เชน ดานการทหาร ตาํ รวจและศาล เปนตน
2) ดําเนินการดานเศรษฐกจิ พ้นื ฐาน เชน สรา งสะพาน ถนน เขื่อน เปนตน
3) ควบคมุ และดําเนนิ การดา นการศึกษาและสาธารณสุข
4) ดาํ เนนิ กจิ การดานสาธารณปู โภค เชน การรถไฟ การประปา สอื่ สารไปรษณยี  เปนตน
5) ดาํ เนนิ การเพ่อื พฒั นาเศรษฐกจิ เพ่อื กระจายรายไดแ ละทรัพยากรจากชุมชนเมืองไปยังชนบท
โดยกําหนดเปนนโยบายสําคัญ ๆ เชน การกระตุนเศรษฐกิจ ไดแก กองทุนหมูบาน SME วิสาหกิจชุมชน
โครงการพฒั นาการศกึ ษา โครงการพฒั นาแหลง นํ้า และการสรา งงานในรปู แบบตา ง ๆ โดยรฐั บาลไดกาํ หนดเปน
นโยบายไวใ นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบับท่ี 8 - 9 เปนตน
หลักการ และวธิ กี ารเลอื กใชทรัพยากรเพื่อการผลติ
ในการผลติ เพ่อื สนองตอความตอ งการของมนษุ ย ผผู ลติ ตอ งคํานงึ ถงึ สง่ิ ตอ ไปน้ี
ปจจัยการผลิต ปจจัยการผลิต หมายถึง ทรัพยากรที่ใชเพื่อการผลิตเปนสินคาและบริการ
ในความหมายทางเศรษฐศาสตรแบง ปจ จยั การผลิตเปน 4 ประเภท ดงั นี้
1. ทด่ี ิน หมายรวมถงึ ที่ดนิ และทรัพยากรธรรมชาติทัง้ หมด เชน ปาไม สัตว นํ้า แรธาตุ ปริมาณ
นาํ้ ฝน เปนตน สิ่งเหลานีจ้ ะมีอยูต ามธรรมชาติ มนุษยส รางข้ึนเองไมได แตส ามารถพฒั นาปรบั ปรงุ คุณภาพของ
ทรัพยากรธรรมชาติไดบาง เชน การปรับปรุงที่ดินใหอุดมสมบูรณข้ึน เปนตน ผลตอบแทนจากการใชท่ีดิน
เราเรียกวา คาเชา
2. แรงงาน หมายถงึ แรงกาย แรงใจ ความรู สตปิ ญ ญา และความคดิ ที่มนษุ ยท มุ เทใหแ กก ารผลติ
สินคาและบริการ แตใ นท่ีน้ีแรงงานสัตวจะไมถือเปนปจจัยการผลิตประเภทแรงงาน แตถือเปนทุน ประเภท
มีชวี ิต ผลตอบแทนของแรงงานเรยี กวา คาจางและเงนิ เดอื น โดยท่ัวไปแลวแรงงานแบงเปน 3 ประเภทคอื
- แรงงานฝม อื เชน นกั วชิ าการ แพทย นกั วชิ าชีพตา งๆ เปน ตน
- แรงงานกงึ่ ฝม ือ เชน ชางไม ชางเทคนคิ พนักงานเสมียน เปน ตน
- แรงงานไรฝมอื เชน กรรมกรใชแรง นกั การภารโรง ยาม เปนตน
3. ทุน ในความหมายทางเศรษฐศาสตร หมายถึง สิ่งกอสราง และเคร่ืองจักร เคร่ืองมือที่ใชใน
การผลติ นอกจากน้ที ุนยังแบง ออกเปน 2 ประเภท คือ
3.1 เงินทุน หมายถึง ปริมาณเงินตราท่ีเจาของเงินนําไปซื้อวัตถุดิบ จายคาจาง คาเชา และ
ดอกเบ้ยี

125

3.2 สินคา ประเภททนุ หมายถงึ สิ่งกอสราง รวมถึงเคร่ืองมอื เครื่องจักร ที่ใชในการผลิต เปนตน
ผลตอบแทนจากเงินทนุ คอื ดอกเบี้ย

4. ผูประกอบการ หมายถึง บุคคลท่ีสามารถนําปจจัยการผลิตตาง ๆ มาดําเนินการผลิตใหมี
ประสทิ ธภิ าพทสี่ ดุ โดยอาศยั หลกั การบรหิ ารทดี่ ี การตดั สินใจจากขอมลู หรอื จากเกณฑมาตรฐานอยางรอบคอบ
รวมถงึ ความรับผิดชอบ ผลตอบแทน คอื กําไร

เร่ืองที่ 3 คณุ ธรรมในการผลิตและการบรโิ ภค

การบริโภค หมายถึง การแลกเปลี่ยนสินคาและการบริการโดยใชเงินเปนสื่อกลาง เพ่ือตอบสนอง
ความตอ งการบรโิ ภคของบคุ คล เชน การใชเงนิ ซอ้ื อาหาร การใชเงินซื้อท่ีอยูอาศัย การใชเงินซ้ือเครื่องนุงหม
การใชเ งินซื้อยารกั ษาโรค การใชเ งินซ้อื ความสะดวกสบายเพอ่ื การพักผอ นหยอนใจ เปน ตน

การผลิต หมายถึง การสรางสนิ คา และบรกิ ารเพอื่ ตอบสนองการบรโิ ภคของบคุ คล
คณุ ธรรม เปน คณุ งามความดีทจี่ ะตอ งเสรมิ สรางใหเ กิดท้ังในผูผ ลิตและผบู ริโภค
ในแงผูผ ลติ ตองมคี วามซอื่ สตั ยในการไมป ลอมปนสารมพี ิษหรือสารทมี่ ีประโยชน เขามาในกระบวนการ
ผลติ หรอื หากจาํ เปน ตองใชก ต็ องใชใ นปรมิ าณทปี่ ลอดภัยและไมเอาเปรียบผูบ รโิ ภค รวมทงั้ ควรแจงใหผบู รโิ ภค
ทราบ เพ่อื ใหอยูใ นวจิ ารณญาณของผูบริโภคท่จี ะเลอื กใช ขณะเดียวกันก็ตองไมปลอ ยสารพษิ หรอื ส่ิงท่กี อใหเกิด
มลภาวะตอ สิ่งแวดลอมซ่งึ จะมผี ลกระทบตอคนอืน่
คณุ ธรรมของผผู ลิตทส่ี าํ คัญมีดงั น้ี
1. ความขยัน เปนความพยายาม มุมานะทจี่ ะประกอบการในการผลิตและบรกิ ารใหป ระสบผลสําเร็จ
อยา งไมยอทอ ตอ ปญ หาและอปุ สรรค
2. ความซ่อื สตั ย โดยเฉพาะซ่ือสัตยต อผบู ริโภค เชน ไมค ากาํ ไรเกนิ ควร ไมโฆษณาสินคา เกนิ ความเปน
จริง ไมป ลอมปนสินคา ไมผลิตสินคาทีไ่ มไ ดคณุ ภาพ หรอื สนิ คาที่ผดิ กฎหมาย ฯลฯ
3. ความรับผิดชอบ ในการผลิตสินคาและบรกิ ารเพื่อสนองตอความตองการของผบู รโิ ภค และไมสง ผล
กระทบตอ สงั คมและสิ่งแวดลอ ม รับผดิ ชอบตอความเสียหายอนั เกิดจากการผลิตและบรกิ าร
4. พัฒนาคุณภาพสินคา เนนใหสนิ คาและบรกิ ารเปน ทพี่ งึ พอใจของผบู รโิ ภค
5. ดูแลสังคม คือ แบง สว นกาํ ไรทไี่ ดร บั คนื สูสงั คม เชน ทาํ กจิ กรรมเพ่ือสว นรวม เชน ส่ิงที่เปนสาธารณะ
ประโยชน การใหความรูทถ่ี กู ตอ ง ชวยเหลอื ผดู อยโอกาสในรปู แบบตา ง ๆ ฯลฯ
ในแงผูบริโภค ก็ตองใชสติปญญาในการพิจารณาวาควรเช่ือคําโฆษณาของสินคาหรือไม และจะใช
อยา งไรใหค มุ คา และไมท ิง้ ของเหลือใชใหเ ปน มลภาวะตอส่ิงแวดลอ ม ใหค วามรว มมอื ในการกําจดั ขยะอยา งถูกวธิ ี
เพือ่ สุขภาวะของทกุ คนในครอบครัวและในชุมชน
คุณธรรมของผูบริโภค ในการเลอื กสินคา และบริการผบู ริโภคควรคํานึงถึงความจําเปนหรือประโยชน
ตอการดาํ รงชีวิต คณุ ธรรมท่ีสําคัญ มีดงั นี้
1. ใชตามความจาํ เปน ในการบริโภคสินคาหรือบริการใหสอคคลองกับวิถีการดําเนินชีวิตไมกักตุน
สนิ คา

126

2. พิจารณาประโยชนท่จี ะไดรับจากการซอื้ สนิ คา และบริการ
3. ประหยัด ซึ่งควรพิจารณาถึงคุณภาพ ราคาสินคา การบริการที่มีคุณภาพ ยุติธรรมเหมาะสมกับ
คา บรกิ าร
4. มีคานยิ มในการบริโภคสนิ คา ผลิตภณั ฑไทย
ในปจจุบันหนวยธุรกิจตาง ๆ มีการโฆษณา ประชาสัมพันธ ขายสินคาและบริการมากข้ึน ซึ่งเม่ือ
บางครั้งมีการโฆษณาชวนเช่ือเกนิ จริง ทาํ ใหผ บู ริโภคไมท ราบความจริงเกย่ี วกับคุณภาพของสินคา ดังน้ันในการ
ซื้อสนิ คาและบรกิ ารใด ๆ ผบู ริโภคจงึ ควรพจิ ารณาถึงคณุ ภาพ ความจําเปนของสนิ คา และบรกิ ารเพอ่ื ประโยชน
ของผูบริโภค

ปจ จัยท่ีมอี ทิ ธพิ ลตอการบรโิ ภค
1. ราคาของสนิ คา ผบู ริโภคโดยทวั่ ไปจะซ้ือสนิ คา บรกิ ารทเี่ ปน ไปตามความตอ งการ ความจาํ เปน ตอการ
ดาํ รงชวี ิต และมีราคาที่ไมแ พงเกินไปแตม คี ณุ ภาพดี
2. รสนิยมของผบู ริโภค ผบู ริโภคมรี สนยิ มท่ีแตกตา งกัน บางคนมีรสนิยมท่ีชอบสินคาและบริการท่ีมา
จากตางประเทศ ผูบริโภคบางคนมีรสนิยมของความเปนไทย ก็มักจะซ้ือสินคาและบริการที่ผลิตข้ึน
ภายในประเทศเทานน้ั
3. รายไดข องผบู ริโภค รายไดของผูบรโิ ภค เปนปจ จยั ที่มอี ทิ ธิพลตอการบรโิ ภค ถา ผูบรโิ ภคมรี ายไดน อ ย
มักตองการสินคาและบริการที่ราคาถูก เพ่ือใหสามารถดํารงชีวิตอยูไดไมขัดสน ถาผูบริโภคมีรายไดสูงมัก
ตอ งการสนิ คาและบรกิ ารท่ีมคี ุณภาพดี แมจะราคาสงู ก็ตาม
4. ระบบซอื้ ขายเงินผอ น เปน ระบบซื้อขายทีช่ ว ยใหผูมรี ายไดนอ ยมีโอกาสไดบ ริโภคสินคา ที่มรี าคาแพงได
5. การโฆษณา การโฆษณาเปน การทําตลาด ทาํ ใหผบู รโิ ภครจู ักสนิ คา และบริการ สินคา และบริการทีม่ ี
การทุมทนุ โฆษณามากๆ มีสวนทาํ ใหผ บู ริโภคหนั ไปซือ้ สนิ คา และบริการนัน้ มากขนึ้
6. การคาดคะเนราคาภายหนา ถาผูบริโภคมีการคาดวาสินคาใดมีผลผลิตนอยและราคาจะแพงข้ึน
ผบู รโิ ภคก็จะมกี ารซ้อื สนิ คาน้ันกนั มาก
7. ฤดกู าล เชน ฤดรู อ น ผบู ริโภคจะหาซ้ือเสอ้ื ผา ทส่ี วมใสส บายไมร อ น ฤดฝู น ผบู รโิ ภคจะหาซอื้ เสือ้ ผา
และเครือ่ งปอ งกนั ฝนกนั มาก เปน ตน

127

เรอ่ื งที่ 4 กฎหมายและขอ มูลการคุมครองผบู ริโภค

หนวยงานที่คมุ ครองผูบ รโิ ภค

กองคุมครองผูบรโิ ภคดา นโฆษณา 0-2629-7037-9 , 0-2629-7041-3

กองคมุ ครองผูบ ริโภคดา นฉลาก 0-2629-7048-50 , 0-2629-7052-5

กองคมุ ครองผบู ริโภคดานสัญญา 0-2629-7061-3 , 0-2629-7065-8

กองเผยแพรและประชาสัมพนั ธ 0-2629-8250-2 , 0-2629-8254-6

กองนติ กิ าร 0-2629-8259-60 , 0-2629-8262-4

สาํ นกั งานเลขานุการกรม 0-2629-8243 , 0-2629-8245-8

การพทิ ักษส ิทธิ์ผูบริโภค

รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2540 เปนรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่ใหความสําคัญของ

การคุม ครองผูบรโิ ภค โดยบญั ญัตถิ ึงสทิ ธขิ องผูบริโภคไวในมาตรา 57 วา “สทิ ธขิ องบุคคลซึ่งเปนผูบริโภคยอม

ไดรับความคุมครอง ทั้งนี้ตามทีก่ ฎหมายบัญญตั ”ิ

พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติคุมครอง

ผูบริโภค (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2541 ไดบ ัญญัติสิทธิของผบู รโิ ภคทีจ่ ะไดร บั ความคุมครองตามกฎหมาย 5 ประการ

ดังน้ี

1.สิทธิท่จี ะไดร ับขา วสารรวมท้งั คําพรรณนาคุณภาพที่ถูกตองและเพยี งพอเกยี่ วกบั สนิ คาหรือ

บริการ ไดแ ก สิทธทิ ี่จะไดรบั การโฆษณาหรอื การแสดงฉลากตามความเปนจริงและปราศจากพษิ ภยั แกผูบริโภค

รวมตลอดถึงสิทธิท่ีจะไดรับทราบขอมูลเกี่ยวกับสินคาหรือบริการอยางถูกตองและเพียงพอท่ีจะไมหลงผิด

ในการซ้อื สินคา หรือรับบรกิ ารโดยไมเปนธรรม

2.สทิ ธทิ จ่ี ะมอี ิสระในการเลือกหาสินคาหรือบริการ ไดแก สิทธทิ ี่จะเลอื กซ้อื สนิ คาหรือรบั บริการ

โดยความสมัครใจของผบู รโิ ภค และปราศจากการชกั จูงใจอนั ไมเปนธรรม

3.สทิ ธิทจ่ี ะไดร บั ความปลอดภยั จากการใชสินคาหรือบริการ ไดแก สิทธิท่ีจะไดรับสินคาหรือบริการ

ที่ปลอดภัย มีสภาพและคุณภาพไดมาตรฐานเหมาะสมแกการใช ไมกอใหเกิดอันตรายตอชีวิต รางกายหรือ

ทรพั ยส นิ ในกรณใี ชตามคาํ แนะนําหรอื ระมัดระวังตามสภาพของสนิ คาหรอื บริการน้นั แลว

4.สทิ ธทิ จ่ี ะไดรบั ความเปนธรรมในการทําสัญญา ไดแก สิทธิที่จะไดรับขอสัญญาโดยไมถูกเอารัดเอา

เปรยี บจากผปู ระกอบธรุ กจิ

5.สิทธทิ ี่จะไดรบั การพจิ ารณาและชดเชยความเสียหาย ไดแก สิทธิท่ีจะไดรับการคุมครองและชดใช

คาเสยี หาย เมอ่ื มกี ารละเมิดสทิ ธขิ องผูบรโิ ภคตามขอ 1, 2, 3 และ 4 ดงั กลา ว

ขอควรปฏบิ ัตสิ าํ หรบั ผูบ รโิ ภคในการซอ้ื สนิ คาหรอื บรกิ าร

ขอ ควรปฏบิ ัตหิ ลังจากซื้อสินคาหรือบริการ ผบู รโิ ภคมีหนาท่ีในการใชความระมัดระวัง ตามสมควร

ในการซ้อื สนิ คาหรอื บรกิ าร ไดแก การใหความสาํ คัญกบั ฉลากของสนิ คาและการโฆษณาสนิ คา หรือบริการ

1. ผูบริโภคตองตรวจดูฉลากของสินคา เพ่ือเปนขอมูลในการเปรียบเทียบสินคาแตละย่ีหอ

กอ นตดั สินใจเลือกสนิ คา ฉลากของสินคา ท่ีควบคมุ จะตอ งระบขุ อ ความดังตอ ไปน้ี

128

ช่ือประเภท หรือชนิดของสินคาทีแ่ สดงใหเขา ใจ ไดวาสนิ คานนั้ คอื อะไร ในกรณีทเ่ี ปน สนิ คาสง่ั หรอื
นาํ เขามาในราชอาณาจกั รเพอื่ ขายใหร ะบชุ ื่อประเทศที่ผลติ ดว ย

ชอื่ หรอื เครอ่ื งหมายการคา ท่ีจดทะเบยี นในประเทศไทย ของผูผ ลติ เพื่อขายในประเทศไทย
ชื่อหรือเครื่องหมายการคา ที่จดทะเบยี นในประเทศไทย ของผูส ั่งหรอื นาํ เขา มาในราชอาณาจักร
เพ่อื ขาย
สถานที่ตงั้ ของผูผ ลิตเพอ่ื ขาย หรือของผูสัง่ หรอื ผนู าํ เขา มาในราชอาณาจกั รเพื่อขายแลว แตก รณี
ตองแสดงขนาดหรือมิติ หรอื ปริมาณ หรอื ปริมาตร หรือน้ําหนักของสินคาแลวแตกรณี สําหรับ
หนวยทใ่ี ชจ ะใชชอื่ เต็มหรือช่อื ยอหรอื สัญลักษณแทนกไ็ ด
ตอ งแสดงวิธใี ช เพื่อใหผ ูบริโภคเขาใจวา สินคา นน้ั ใชเพอื่ สง่ิ ใด
ขอ แนะนาํ ในการใชหรอื หามใช เพื่อความถูกตอ งในการใหป ระโยชนแ กผ ูบรโิ ภค
วนั เดือน ป ทีผ่ ลติ หรือวัน เดอื น ป ทีห่ มดอายกุ ารใช หรือ วนั เดอื น ป ทค่ี วรใชกอน วัน เดือน
ป ที่ระบุนั้น เพอ่ื ใหเ ขา ใจในประโยชนของคุณภาพหรอื คุณสมบตั ขิ องสนิ คาน้ัน (ถา มี)
ราคาโดยระบุหนวยเปน บาท และจะระบุเปนเงนิ สกลุ อนื่ กไ็ ด

2. สอบถามขอเทจ็ จริงเกยี่ วกบั คุณภาพของสินคา จากผูขาย หรอื ผูท่ีเคยใชส นิ คา นน้ั แลว
3. ศึกษาเง่ือนไข หรือขอจํากัดของสินคา เชน วัน เดือน ป ท่ีผลิตหรือหมดอายุ วิธีการใชการเก็บ
รักษา คําเตือนหรือขอควรระวังของสินคาใหเขาใจอยางถองแท เพื่อผูบริโภคสามารถใชสินคาไดอยางเต็ม
ประสิทธิภาพและประหยดั
4. รองขอใหหนวยงานท่ีเก่ียวของตรวจสอบคุณภาพ และปริมาณของสินคาวาเปนจริงตามท่ีระบุไวท่ี
ฉลากของสนิ คาหรอื ไม เพอ่ื ใหไดสินคาทีม่ ีคณุ ภาพและเปน ธรรมแกผ บู ริโภค
5. ผูบริโภคอยาดว นหลงเชื่อคาํ โฆษณาของสนิ คา หรือบรกิ ารตองศึกษาเงื่อนไข รายละเอียดอ่ืนๆ ของ
ตัวสินคา หรอื บรกิ ารที่อาจไมไดระบุไวในการโฆษณา เน่ืองจากการโฆษณาสินคาหรือบริการของผูประกอบ
ธุรกิจสวนใหญจะเสนอแตขอดีและเง่ือนไขท่ีเปนประโยชนตอผูบริโภค สวนขอเสียมักจะไมกลาวถึงในการ

129

โฆษณา จึงจําเปนท่ผี บู ริโภคตอ งศกึ ษาหาความรเู พ่ิมเตมิ จากการสอบถามผูข ายหรือบริษทั ผูผลิตตลอดจนผูมี
ความรู ผเู คยมปี ระสบการณในการใชสินคา นัน้ ๆ มาแลว

ขอ ความโฆษณาตอไปน้ี ถอื วา เปน ขอความทีไ่ มเ ปนธรรมตอผบู รโิ ภค หรอื เปน ขอ ความท่อี าจกอใหเ กดิ
ผลเสียหายตอ สังคมเปนสวนรวม

ขอความท่ีเปนเท็จหรือเกนิ ความจรงิ
ขอ ความทก่ี อ ใหเกดิ ความเขา ใจผดิ ในสาระสาํ คัญเกีย่ วกบั สินคาหรือบรกิ าร ไมวาจะเปน การกระทํา
โดยใชหรืออา งอิงรายงานทางวชิ าการ สถติ ิหรอื สิ่งใดส่ิงหนง่ึ อนั เปน ความจริง หรอื เกินความจรงิ หรอื ไมก็ตาม
ขอความทีเ่ ปน การสนับสนุนโดยตรงหรอื โดยออ มใหมกี ารกระทําผิดกฎหมายหรอื ศีลธรรม หรอื นําไปสู
ความเส่อื มเสียในวฒั นธรรมของชาติ
ขอความท่ีจะทาํ ใหเ กดิ ความแตกแยกหรอื เสือ่ มเสียความสามคั คใี นหมูประชาชน
ขอ ความอยางอ่ืนตามทก่ี าํ หนดในกระทรวงที่ผปู ระกอบธรุ กจิ ตอ งระบุขอ ความใหครบถวน หากฝาฝนมี
โทษตามกฎหมาย
ขอ ควรปฏบิ ตั ิหลงั จากซอ้ื สนิ คา หรือบรกิ าร
ผูบริโภคมีหนาท่ีในการเก็บรักษาพยานหลักฐานตางๆ ที่แสดงถึง การละเมิดสิทธิของผูบริโภคไว
เพื่อการเรียกรองตามสิทธิของตน พยานหลักฐานดังกลาว อาจเปนสินคาท่ีแสดงใหเห็นวามีปริมาณ หรือ
คณุ ภาพไมเ ปนไปตามมาตรฐานทร่ี ะบไุ วในฉลาก มคี วามสกปรก หรอื มพี ิษทกี่ อ ใหเ กดิ อันตราย ควรจําสถานท่ี
ซอื้ สนิ คา หรอื บริการน้นั ไว เพ่อื ประกอบการรอ งเรียนและตองเกบ็ เอกสารโฆษณาและใบเสร็จรับเงนิ เอาไวดวย
เม่อื มกี ารละเมิดสิทธิของผูบริโภคข้ึน ผูบริโภคมีหนาที่ในการดําเนินการรองเรียน ตามสิทธิของตน
โดยรองเรียนไปยังหนวยงานท่ีเก่ียวของกับการกํากับดูแลสินคาหรือบริการนั้นหรือรองเรียนมาท่ีสํานักงาน
คณะกรรมการคมุ ครองผบู รโิ ภค ตา งจังหวัดรอ งเรยี นทค่ี ณะอนกุ รรมการการคมุ ครองผบู ริโภคประจําจงั หวดั
การเตรยี มตวั เพื่อรอ งทุกขส ําหรับผบู ริโภค
พระราชบญั ญัตคิ มุ ครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 ซึง่ แกไ ขเพ่ิมเติม โดยพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2541 มาตรา 4 ไดบ ัญญตั ิสทิ ธิของผูบรโิ ภคทจ่ี ะไดรับการคุมครอง 5 ประการ ไดแ ก

สิทธิทจ่ี ะไดรบั ขาวสารรวมท้ังคาํ พรรณนาคณุ ภาพที่ถกู ตอ งและเพยี งพอเก่ียวกบั สนิ คาหรือบริการ
สทิ ธทิ ่จี ะมีอสิ ระในการเลอื กหาสนิ คา หรอื บริการ
สทิ ธิที่จะไดร ับความปลอดภยั จากการใชส ินคาหรอื บรกิ าร
สิทธิทีจ่ ะไดร บั ความเปนธรรมในการทาํ สญั ญา
สิทธทิ ี่จะไดรับการพจิ ารณาและชดเชยความเสียหาย
ดงั นน้ั การรองทุกขเม่อื ไมไดรบั ความเปนธรรมจากการซอ้ื สินคา หรอื บรกิ าร ถอื เปนเรื่อง ที่ชอบธรรม
ท่ีผูบริโภคควรกระทํา เพื่อใหผูประกอบธุรกิจชดใชความเสียหายและเพื่อเปนการลงโทษหรือปรามมิให
ผปู ระกอบธรุ กจิ เอารัดเอาเปรยี บผูบริโภค
การเตรียมตัวของผูบริโภค เพ่ือจะมารองทุกขเปนข้ันตอนท่ีมีความสําคัญ หากเอกสาร หลักฐาน
ทีผ่ บู ริโภคนํามาไมครบถวน จะทําใหผูบรโิ ภคเสียเวลาในการยนื่ เรือ่ ง

130

การเตรยี มเอกสาร หลักฐานของผูรองเรยี น
ผรู อ งเรยี นจะตอ งเตรยี มเอกสาร หลักฐานใหพ รอม เพ่อื จะนาํ มาใชประกอบกับการบันทึกคํารองเรยี น
ใหผูบริโภคย่ืนเรื่องรองเรียนที่สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค (กรุงเทพมหานคร) หรือ
คณะอนุกรรมการการคุมครองผูบ รโิ ภคประจาํ จังหวัด ในจังหวัดที่ทานอาศยั อยู โดยมีข้นั ตอน ดงั น้ี

1. ผูรองเรียนกรอกรายละเอียดในแบบบันทึกคํารองเรียนพรอมแนบเอกสาร (เอกสารลงชื่อ
รบั รองสาํ เนาทกุ ฉบบั ) มอบใหเ จาหนา ที่

2. ผูรอ งเรยี นกรอกรายละเอยี ดในแบบหนังสอื มอบอาํ นาจ (มอบอาํ นาจให สคบ.ดาํ เนนิ การแทน
ผูร อง)

3. กรณีผูบริโภคไมสามารถรองเรียนดวยตนเองได ผูมารองเรียนแทนจะตองมีหนังสือรับรอง
มอบอํานาจจากผูบริโภค (พรอมติดอากรแสตมป จํานวน 30 บาท) นํามาย่ืนตอเจาหนาที่ดวย หากมีขอสงสัย
ประการใดโปรดสอบถามเจาหนา ทเี่ พ่ิมเตมิ หรือโทรศพั ทตดิ ตอหนวยงานท่ีใหก ารคมุ ครองผบู ริโภค

เร่อื งที่ 5 ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศตาง ๆ ในเอเชยี

ความสาํ คญั ของกลุมทางเศรษฐกิจในเอเชยี
การรวมกลุมทางเศรษฐกจิ ในภูมิภาคตา ง ๆ
หลักการการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ ความสัมพันธของการคาระหวางประเทศมีวิวัฒนาการ
เปล่ียนแปลงไปจากการคาในอดีต ท้ังในรูปแบบทางการคา ขอบขายกิจกรรมทางการคา ประเทศคูคาและ
เทคโนโลยีสารสนเทศทอ่ี ํานวยความสะดวกทางการคา การเจรจาทางการคา เปนเร่อื งสําคัญ และเปาหมายหลัก
ของผเู จรจาทางการคาทม่ี าจากภาครัฐ คือ เพือ่ สิทธิประโยชนท างการคาของชาตติ นเอง เน่ืองจากการแขงขัน
ทางการคา ประเทศตา ง ๆ จึงมนี โยบายและมาตรการทีใ่ ชบ ดิ เบอื นทางการคา ซ่ึงทาํ ใหก ารคา ระหวา งประเทศ
ขาดความเปนธรรมและขาดความเปนเสรี การเจรจาทางการคานั้น มุงหวังวาจะเปนการแลกเปล่ียนหรือ
ลดหยอนสทิ ธพิ เิ ศษทางการคา จัดทําขอตกลงทางการคา ความรวมมือและพัฒนารปู แบบการคา และเพ่ือแกไข
ขอ พพิ าททางการคาระหวางประเทศ รูปแบบการเจรจาตอ รองทางการคานนั้ สามารถแบง ไดตามระดบั ของการ
เจรจา คือทวิภาคี (Bilateral) ซ่งึ เปน ความสมั พันธร ะหวา งประเทศตอประเทศการเจรจามากฝา ย (Plurilateral)
อาทเิ ชน การเจรจา 3 ฝา ย หรือการเจรจา 4 ฝา ย การเจรจาหลายฝา ยหรอื พหุภาคี (Multilateral) ซง่ึ เปน การ
เจรจาทม่ี ปี ระเทศเขา รว มและใชเ วลายาวนานกวาจะไดข อสรุป การเจรจาตอ รองทางการคาเหลา นี้นาํ ไปสูระดบั
ความสมั พันธท างการคา ระหวางประเทศในรูปแบบตาง ๆ ปจจุบันระดับความสัมพันธในระดับกลุมประเทศ
ในภูมภิ าคใกลเคียงกนั และมขี อตกลง ตอ กัน (Regional Trade Arrangements) เปนกลุมเศรษฐกิจและเปน
เร่ืองสาํ คัญตอการพัฒนาท่นี ําไปสกู ารคา เสรขี องโลก
รปู แบบของการรวมกลุมทางเศรษฐกจิ
การรวมกลุมทางเศรษฐกจิ มีไดห ลายรูปแบบและมีววิ ฒั นาการแตกตางกนั โดยแตล ะรปู แบบจะมี
ความเขมขนของความสมั พนั ธซ ึง่ กันและกันแตกตางกันไป เชน

131

1. ขอตกลงการใหสิทธิพิเศษทางศุลกากร (Preferential Tariff Agreement) เปนขอตกลง
เพือ่ ลดภาษีใหแกก ันและกนั โดยอัตราภาษีที่เรยี กเกบ็ จะนอยกวา อตั ราภาษที เ่ี รยี กเกบ็ จากประเทศท่ีสาม เชน
การรวมตัวกันของกลมุ LAIA (Latin American Integration Association) , ASEAN และ Trade Expansion
and Cooperation Agreement เปน ตน

2. สหภาพศุลกากรบางสวน (Partial Customs Union) การรวมตัวทางเศรษฐกิจในรูปแบบนี้
ประเทศทที่ ําขอตกลงกันยงั คงอัตราภาษไี วในระดบั เดมิ แตมกี ารกาํ หนดอัตราภาษีศุลกากรในการคากับประเทศ
ภายนอกกลมุ รวมกัน

3. เขตการคาเสรี (Free Trade Areas) ในเขตการคาเสรี การซ้ือขายสินคาและบริการระหวาง
ประเทศภาคี สามารถทาํ ไดอ ยา งเสรปี ราศจากขอ กดี กนั ทางการคา ท้งั มาตรการทางภาษแี ละมาตรการกีดกัน
ทางการคาที่มิใชภาษี ในขณะเดียวกันแตละประเทศสมาชิกยังคงสามารถดําเนินนโยบายกีดกันทางการคา
กับประเทศนอกกลุม ไดอยา งอสิ ระ เชน การรวมตัวกันของกลุม EFTA , NAFTA และ CER เปน ตน

4. สหภาพศลุ กากร (Customs Union) เปน รูปแบบของการรวมกลมุ ทางเศรษฐกจิ ทีม่ รี ะดบั ความ
เขมขนสูงข้นึ มาอกี ระดบั หนึ่ง โดยการรวมกลุม ในลกั ษณะน้ี นอกจากจะขจัดขอกีดกันทางการคาออกไปแลว
ยังมีการกาํ หนดพิกดั อตั ราภาษศี ลุ กากรในการคา กบั ประเทศภายนอกกลมุ รวมกนั และใหม อี ัตราเดียวกนั ดวย

5. ตลาดรวม (Common Market) รูปแบบของการรวมกลุมประเภทน้ี นอกจากจะมีลักษณะ
เหมือนกับสหภาพศุลกากรแลว การเคลอ่ื นยายปจ จัยการผลิต (แรงงาน ทนุ และเทคโนโลยี) สามารถทําไดอ ยาง
เสรี เชน การรวมตวั กนั ของกลมุ EU กอนป 1992

6. สหภาพทางเศรษฐกิจ (Economic Union) นอกจากจะมกี ารคา เสรี การเคลือ่ นยายปจ จัยการ
ผลติ อยางเสรี และนโยบายการคา รว มแลว ยงั มีการประสานความรวมมือกันในการดําเนนิ นโยบายทางเศรษฐกิจ
ท้งั นโยบายการเงิน และการคลังอีกดว ย เชน การรวมตวั ของกลุม EU ในปจจุบัน

7. สหภาพทางเศรษฐกิจแบบสมบรู ณ (Total Economic Union) เปนการรวมตวั ทางเศรษฐกิจ
ทม่ี คี วามเขม ขน มากที่สดุ จะมีการจัดตัง้ รฐั บาลเหนือชาติ และมนี โยบายทางเศรษฐกิจเดียวกัน

การมีขอ ตกลงทางการคาเสรแี ละบทบาทของ WTO
แกตตหรือองคการการคาโลก (WTO) ในปจจุบันมีวัตถุประสงคที่สําคัญประการหนึ่งคือ ตองการให
การคา โลกดาํ เนนิ ไปอยา งเสรี บนพน้ื ฐานของความเทาเทียมกัน คือ ไมมกี ารเลอื กปฏิบัติระหวางประเทศภาคี
สมาชกิ
การจดั ตง้ั กลมุ เศรษฐกิจในระดบั ภมู ิภาคไมวาจะอยใู นรปู ทวิภาคหี รอื พหุภาคีความเปนเสรีทางการคา
มากข้นึ ระหวางประเทศในกลุม แตไ มอาจหลีกเลยี่ งการกดี กันทางการคา ตอ ประเทศนอกกลุมไปได เมื่อพิจารณา
จากบทบญั ญตั ิของ WTO จะเห็นไดว า การรวมกลมุ หรือการทาํ ความตกลงทางการคาระดบั ภูมภิ าคเชนนเี้ ปน สงิ่
ที่ดําเนินการได ถือวาเปน “ขอยกเวน” อยางหน่ึงของ WTO ท่ีประเทศภาคีสมาชิกสามารถเลือกปฏิบัติได
ระหวางประเทศในกลุมกับประเทศนอกกลุม แตจะตองดําเนินการใหสอดคลองกับเงื่อนไขที่กําหนดไวใน
บทบัญญตั ิมฉิ ะนั้นอาจจะขัดกับพนั ธกรณภี ายใต WTO ได

132

การจัดตัง้ กลุม เศรษฐกิจตามมาตรา 24 นัน้ มีอยู 3 รูปแบบ คือ
1. สหภาพศลุ กากร
2. เขตการคา เสรี
3. ขอ ตกลงชว่ั คราวกอนทจ่ี ะจัดต้ังสหภาพศลุ กากรหรือเขตการคาเสรี

เหตผุ ลของการรวมกลมุ ทางเศรษฐกิจ
ประเทศเล็กท่กี ําลังพัฒนากอตัวเปนกลุมเศรษฐกิจมากข้ึน เพราะนานาประเทศตระหนักวาการที่มี
ตลาดใหญ การรวมใชท รัพยากร การแบง งานกนั ทาํ อยา งมีประสทิ ธิภาพ โดยเฉพาะประเทศท่ีอยูในอาณาบรเิ วณ
ใกลเ คยี งกันจะนาํ ไปสูพัฒนาการทางเศรษฐกิจที่แข็งแกรงและสามารถแขง ขนั กับตลาดใหญ ๆ ได
ประเทศไทยไดรว มมือทางเศรษฐกจิ กบั ประเทศอ่นื ๆ อยา งกวางขวาง และไดเขารวมเปน สมาชิกของ
องคกรระหวางประเทศหลายองคกร ดงั นี้
1. กลุมอาเซียน หรือ สมาคมประชาชาตเิ อเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต (Association of Southeast Asian
Nations : ASEAN) ประกอบดวย 6 ประเทศ ไดแก อนิ โดนีเซยี มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร บรูไน และไทย
สํานักงานใหญตั้งอยูท ี่เมืองจาการต า ประเทศอนิ โดนีเซีย
องคก รน้มี วี ัตถปุ ระสงค เพอ่ื สงเสริมความรวมมือทางเศรษฐกิจ วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี สังคม
และวัฒนธรรม ตลอดจนการเมอื งระหวางประเทศสมาชกิ
จากการกอต้ังกลุมอาเซียน มาตั้งแต พ.ศ. 2510 มาจนถึงปจจุบัน ประเทศสมาชิกอาเซียน
มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว โครงสรางทางเศรษฐกิจก็เปล่ียนแปลงจากภาคเกษตรไปสู
ภาคอตุ สาหกรรมมากขนึ้ สงผลใหประเทศสมาชิกประสบปญหาท้ังทางดานการขาดดุลการคา การเพิ่มอัตรา
คาจางแรงงาน และการขาดแคลนการบริการพ้นื ฐาน
2. กลุมเอเปค (Asia-Pacific Economic Cooperation : APEC) กอต้ังขน้ึ เมอ่ื พ.ศ. 2532 มีสมาชิก 12
ประเทศ ไดแก สหรัฐอเมรกิ า เกาหลใี ต สิงคโปร ฟลิปปนส นิวซีแลนด มาเลเซีย ญ่ีปุน อินโดนีเซีย แคนาดา
บรูไน ออสเตรเลีย และไทย
องคก รน้ีมวี ตั ถุประสงคเ พอ่ื สง เสรมิ ความรวมมือในการแกป ญหารวมกนั สงเสรมิ การคา เสรี ตลอดจน
การปรับปรงุ แบบแผนการตดิ ตอ การคา ระหวางกนั และเพอื่ ตั้งรบั การรวมตวั เปน ตลาดเดยี วกนั ระหวางประเทศ
สมาชิก
3. คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมสําหรับเอเชียและแปซิฟก (Economic and Social
Commission for Asia and pacific : ESCAP)
องคกรนี้เปนองคกรที่จัดตั้งขึ้นโดยองคการสหประชาชาติ มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมความรวมมือ
ในการพฒั นาดา นเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศสมาชิกที่อยูในเอเชียและแปซิฟก รวมท้ังประเทศไทยดวย
ESCAP เปนองคกรที่ขยายมาจากคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจแหงเอเชียและตะวันออกไกล (Economic
commission for Asia and the Far East : ECAFE) ซง่ึ จัดตง้ั ข้ึนเม่ือ พ.ศ. 2490 และใน พ.ศ. 2517 ไดข ยาย
มาเปน ESCAP ทัง้ นเ้ี พ่อื ใหค รอบคลุมประเทศในพื้นทีเ่ อเชียและแปซฟิ ก ทงั้ หมด ประเทศท่เี ปน สมาชิกจะไดรับ
ความชว ยเหลือในการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คม สํานักงานตง้ั อยูท ่ีกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย

133

4. ขอตกลงทั่วไปวาดวยภาษีศุลกากรและการคา (General Agreement of Tariffs and Trade :
GATT) กอตั้งเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2490 มีประเทศสมาชิกเกือบท่ัวโลก ประเทศไทยเขาเปนสมาชิก
เม่อื วันท่ี 20 พฤศจิกายน 2525 องคกรนมี้ วี ตั ถปุ ระสงคเพ่อื สงเสรมิ ระบบการคาเสรีและสงเสริมสัมพันธภาพ
ทางการคา และเศรษฐกจิ ระหวางประเทศ โดยทุกประเทศสมาชิกตองปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บของ GATT ประเทศ
ไทยไดรับการสงเสริมดานการขยายตวั ทางการคา ทาํ ใหค วามเสยี เปรยี บดา นการเจรจาการคา ระหวา งประเทศ
กบั มหาอาํ นาจทางเศรษฐกจิ ลดลงไปมาก

ลักษณะ ประเภทสนิ คาของประเทศในเอเชีย
ประเทศตาง ๆ ในเอเชียมีการผลิตสินคาที่มีลักษณะคลายคลึงกัน เนื่องจากลักษณะ
ภูมปิ ระเทศท่เี ปน ที่ตัง้ ของประเทศ ท่สี ามารถผลิตสินคาไดด ี โดยเฉพาะผลผลิตที่เปนอาหารของโลกท่ีไดจาก
การเกษตร เชน ขาว ยางพารา มันสําปะหลัง แตก็มีหลายประเทศ เชน จีน ญ่ีปุน อินเดีย ท่ีพลิกผันไปผลิต
สนิ คา ทีเ่ ปนเทคโนโลยสี มัยใหม เชน ยานยนต อุปกรณไฟฟา คอมพิวเตอร และอนื่ ๆ
ประเทศไทย มีการผลิตสนิ คาท่สี งออกขายทวั่ โลก สินคาเกษตรสง ออกสําคญั ท่นี าํ รายไดเขาประเทศ
สงู สุด 10 อันดับแรก ไดแก ยางพาราและผลติ ภัณฑ ขาวและผลติ ภัณฑ ปลาและผลิตภัณฑ กุงและผลิตภัณฑ
ไมและผลิตภัณฑ มันสําปะหลังและผลิตภัณฑ น้ําตาลและผลิตภัณฑ ผลไมและผลิตภัณฑกระดาษและ
ผลติ ภณั ฑเ นื้อไก
นอกจากนนั้ ยงั มีสนิ คาที่ประเทศไทยทาํ การคาระหวางประเทศ เชน สง่ิ ทอและวัสดุสง่ิ ทอ การออกแบบ
ผลิตภณั ฑ อญั มณี และอุตสาหกรรมการทอ งเทยี่ ว
อนิ โดนเี ซยี มีทรพั ยากรปาไม พ้ืนท่ีสวนใหญเปนปาดงดิบ เปนประเทศท่ีมีปาไมมากที่สุดในเอเชีย
ตะวนั ออกเฉยี งใต ผลติ ผลจากปา ไมสวนใหญเปนไมเนื้อแขง็ แรธ าตุ แรธ าตุทส่ี าํ คัญ ไดแก น้ํามนั ปโ ตรเลียม
ทํารายไดใหกับประเทศมากท่ีสุด อินโดนีเซียเปนสมาชิกขององคการประเทศ ผูสงนํ้ามันเปนสินคาออก
เกษตรกรรม มกี ารปลูกพืชแบบขน้ั บันได พชื เศรษฐกิจ ไดแก ขา ว ยาสบู ขา วโพด เคร่ืองเทศ ประมง ลักษณะ
ภมู ปิ ระเทศเปนหมเู กาะทําใหอนิ โดนีเซียสามารถจับสตั วนํ้าไดมาก อตุ สาหกรรม อุตสาหกรรมท่ีสําคัญ ไดแก
การกลั่นน้าํ มนั การตอเรือ
ญี่ปนุ การสงออกของญปี่ ุนสินคา สงออกของญป่ี ุนที่สาํ คญั เปน ประเภทยานพาหนะและอุปกรณข นสง
เครือ่ งจกั ร และสินคา อเิ ลก็ ทรอนกิ ส เรือ ผลติ ภัณฑเภสัชกรรม เครอื่ งสําอาง รถไฟ/รถรางและอปุ กรณ รวมถึง
ผลิตภัณฑจ ากกระดาษ เชน การบรรจภุ ัณฑ
สิงคโปร ไมม ีทรพั ยากรธรรมชาติของตนเอง ไมมแี รธ าตุใดๆ แมกระทัง่ นาํ้ จดื ยงั ไมมีเพียงพอ ตองพึ่ง
แหลง นํา้ จดื จากมาเลเซีย อตุ สาหกรรมสําคัญๆ โดยนําเขาวัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบาน เชน อุตสาหกรรม
กลั่นนํ้ามัน โดยซ้ือนํ้ามันดิบจากอินโดนีเซียและบรูไน นอกจากนี้ยังมีอุตสาหกรรมถลุงแรเหล็กและดีบุก
อตุ สาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมเคร่อื งใชไฟฟา อุตสาหกรรมผลติ รถยนตแ ละชนิ้ สว นอะไหล ฯลฯ

134

สาธารณรัฐประชาชนลาว สินคาสงออกของลาว ไดแก ไมและไมแปรรูป สินคาประมงและสัตว
แรธาตุ สินคาการเกษตร เชน ชา กาแฟ เครื่องเทศ ฯลฯ เครื่องนุงหม พาหนะและอะไหล หนังสัตวและ
ผลติ ภัณฑห นังฟอก เคร่ืองจกั รกลท่ไี มใ ชไ ฟฟาและสวนประกอบ เครื่องพลาสติก ผลิตภณั ฑและเครอื่ งอุปโภค

เวียดนาม สินคาสงออกที่สําคัญของเวียดนาม ไดแก ขาว นํ้ามันดิบ ส่ิงทอและเสื้อผาสําเร็จรูป
รองเทา ผลติ ภัณฑส ตั วน ้าํ ทะเล ไมและเฟอรน เิ จอร กาแฟ

สาธารณรัฐแหงสหภาพพมา (เมียนมาร) รัฐบาลพมาประกาศนโยบายตั้งแตเขายึดอํานาจการ
ปกครองใหม ๆ ท่ีจะเปลย่ี นแปลงเศรษฐกิจพมา จากระบบวางแผนสว นกลาง (Centrally-planned economy)
เปน ระบบตลาดเปด ประเทศ รองรับและสง เสรมิ การลงทนุ จากภายนอก สง เสริมการสง ออก การทองเท่ยี ว และ
ขยายความรวมมอื ทางเศรษฐกิจกบั ภมู ภิ าค แตใ นทางปฏิบัติการปรับโครงสรางเศรษฐกิจของพมาไมคืบหนา
รฐั บาลพมา ไมไ ดดาํ เนนิ การในทิศทางดังกลาวอยางเต็มที่ รัฐบาลยังคงคุมและแทรกแซงภาคการผลิตตาง ๆ
อยา งเขมงวด มีการเปลี่ยนแปลงกฎระเบยี บดา นการคา การลงทุน

ดานเกษตรกรรม รฐั บาลพมาใหค วามสําคัญตอการผลิตและสงออกผลผลิตถั่ว ขาว ยางพารา ไดปรับ
ระบบการสง ออกถ่ัวขนึ้ ใหม เพือ่ ใหเ กดิ ความคลอ งตวั และจงู ใจใหเกษตรกร ขยายการเพาะปลกู และรฐั บาลพมา
พยายามสงเสรมิ โครงการปลูกขา วเพือ่ การสง ออก ปจ จบุ นั แมว า รฐั บาลพมา ยังไมไดดําเนินการใด ๆ ที่สําคัญ
เพ่ือปฏิรูประบบเศรษฐกิจมหภาค แตพยายามเรงการพัฒนาภาคการเกษตร การสงเสริมการลงทุนจาก
ตา งประเทศ การสงเสรมิ การทองเทีย่ ว การนาํ ทรัพยากรมาใชโดยเฉพาะกาซธรรมชาติและพลงั นํ้า

135

ประเทศจนี มปี ระชากรมาก และอาณาเขตกวา งขวางเปน ที่สองของโลก ผลผลิตตา ง ๆ สวนใหญ
เพื่อเลี้ยงชีพคนในประเทศ แตอยางไรก็ตามรัฐบาลไดกําหนดนโยบายเพ่ือการพัฒนาเศรษฐกิจใหสามารถ
สงออกไปยงั นานาประเทศได โดยเนนศกั ยภาพของพลเมอื งเปนสําคัญ เชน ทางตะวันตกเฉียงเหนือ มีแรเหล็กมาก
ก็จะเนนการเจรญิ เติบโตดานการผลิตเหลก็ กลา และผลติ ภณั ฑท่ีทาํ จากเหลก็ เมอื งที่เปนกลางการคาก็เนนการ
บริการสงออก การผลิตสนิ คายานยนต เคร่อื งใชไฟฟาและอเี ล็กทรอนกิ ส เชน เซี่ยงไฮ เมืองที่มี

ทรัพยากรธรรมชาติสวยงาม ก็เนนธุรกิจการทองเท่ียว และที่สําคัญผลผลิตทางการเกษตรที่เปนของจีน
สามารถสงออกจาํ หนา ยเปนคูแ ขง ท่ีสาํ คญั ของประเทศในภูมภิ าคเอเชีย เชน ผัก ผลไม และอาหารทะเล
เปนตน

เรือ่ งที่ 6 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น

1. ความเปน มา
อาเซยี นหรอื สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต ( Association of South East Asian.

Nation : ASEAN) เปนองคกรระหวางประเทศระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตกอตั้งขึ้น เมื่อวันท่ี 8
สงิ หาคม 2510 จนถงึ ปจจุบนั มสี มาชิกรวมทัง้ สิน้ 10 ประเทศ ไดแก ประเทศไทย, มาเลเชีย , สาธารณรัฐ
ฟลิปปนส , อินโดนีเชีย , สาธารณรัฐสิงคโปร , บรูไนดารุสซาลาม , สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ,
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว , สหภาพพมา และราชอาณาจักรกัมพูชา การกอตั้งมีวัตถุประสงค

136

เพ่ือสรางสันติภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต สงเสริมความรวมมือซึ่งกันและกันอันจะนํามาสู
ความมัน่ คงทางการเมืองความเจริญทางเศรษฐกิจ สงั คม และวัฒนธรรม

ในยคุ ท่สี ถานการณโลกมกี ารเปล่ียนแปลงไปอยางรวดเรว็ การรวมตัวกนั ของประเทศในกลุมอาเซียน
ท้ัง 10 ประเทศ ใหเขมแข็ง จะทําใหประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต สามารถเผชิญกับการ
เปล่ียนแปลงและปญ หาไดด ียงิ่ ขน้ึ อกี ทง้ั ยงั เปนการเพมิ่ ขีดความสามารถในการแขงขนั เพราะการที่มสี มาชกิ
ถงึ 10 ประเทศ มที าทเี ปน หน่งึ เดียวในเวทรี ะหวา งประเทศ ทาํ ใหอ าเซยี นมคี วามนาเช่อื ถอื และมอี าํ นาจตอรอง
ในเวทรี ะหวา งประเทศมากขน้ึ ดงั นั้นในการประชุมผูนําอาเซียน ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2546 ที่บาหลี ผูนํามี
ความเหน็ ตรงกนั วาอาเซยี นควรรวมมือกันใหเ หนยี วแนน เขมแขง็ และมัน่ คงยงิ่ ข้นึ จงึ มีการลงนามในปฏิญญาวา
ดว ยความรว มมืออาเซียนเพื่อกําหนดใหมกี ารสรางประชาคมอาเซียนขึ้นภายในป 2563 ตอมาไดมีการเลื่อน
กําหนดการรวมตัวในป พ.ศ. 2558 โดยประชาคมอาเซียนประกอบดวย 3 เสาหลัก ไดแก ประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซยี นประชาคมสงั คม – วัฒนธรรมอาเซยี น และประชาคมความมั่นคงอาเซียน ซ่งึ ในทนี่ ี้เราจะเรียนรูเฉพาะ
เรือ่ งประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น

ประชาคมเศรษฐกิจ (ASEAN Economic Comunity : AEC) เปนการรวมกลุมของประเทศสมาชิก
ของอาเซยี นทง้ั 10 ประเทศ ทีเ่ นนใหความสาํ คัญในเร่อื งการสรางความแข็งแกรงทางเศรษฐกิจอยางตอเน่ือง
โดยที่ประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) ครั้งท่ี 8 เมื่อ เดือนพฤศจิกายน 2545 โดยเห็นชอบให
อาเซยี นกําหนดทิศทางการดําเนินงานเพอ่ื มุง ไปสกู ารเปนประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น เพอ่ื ใหอาเซียนปรบั ปรุง
กระบวนการดําเนนิ งานภายในของกลุมอาเซยี นใหม ปี ระสิทธภิ าพยง่ิ ขึ้น ซง่ึ ในการประชุมสุดยอดอาเซียนในป
2546 ผูนาํ อาเซียนไดออกแถลงการณเห็นชอบใหม กี ารรวมตวั ไปสกู ารเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนภายใน
ป 2558 และเรง รัดการรวมกลุม เพ่ือเปด เสรีสินคา และบริการสาํ คัญใน 12 สาขา ไดแ ก การทอ งเท่ียว การบิน
ยานยนต ผลิตภัณฑไม ผลิตภัณฑยาง ส่ิงทอ อิเล็กทรอนิกส สินคาเกษตร ประมง เทคโนโลยีสารสนเทศ
สขุ ภาพ และ โลจสิ ติกส

2. ความสาํ คญั
ทามกลางบริบททางเศรษฐกิจ การคาและการลงทุนระหวางประเทศที่มีการแขงขันสูงอันสงผล

ใหประเทศตา ง ๆ ตอ งปรบั ตัวเองเพอื่ ใหไ ดรับประโยชนจากระบบเศรษฐกจิ โลก รวมถึงการรวมกลมุ การคากัน
ของประเทศตา ง ๆ อาทิ สหภาพยุโรป และเขตการคา เสรีอเมริกาเหนอื ผนู าํ ประเทศสมาชิกอาเซียนไดเหน็ ชอบ
ใหจัดตั้ง “ประชาคมเศรษฐกิจของอาเซียน” ภายในป 2585 เพื่อที่จะใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต
มคี วามม่ันคง มัง่ คงั่ และสามารถแขงขันกับภมู ิภาคอนื่ ๆ ได โดยยดึ หลัก ดังนี้

1. มุงท่จี ะจัดตง้ั ใหอ าเซยี นเปนตลาดเดยี วและเปน ฐานการผลติ รวมกัน
2. มุงใหเกิดการเคลอื่ นยา ยเงนิ ทนุ สนิ คา การบรกิ าร การลงทนุ แรงงานฝมือระหวา งประเทศ
สมาชิกโดยเสรี
3. ใหความชวยเหลอื แกประเทศสมาชกิ ใหมข องอาเซียน (ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐ
ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว สหภาพพมา และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม หรือ CLMV) เพื่อลดชองวาง

137

ของระดบั การพฒั นาของประเทศสมาชิกอาเซียน และชวยใหประเทศสมาชิกเหลาน้ีเขารวมในกระบวนการ
รวมตัวทางเศรษฐกิจของอาเซียน สงเสริมใหอาเซียนสามารถรวมตัวเขากับประชาคมโลกไดอยางไมอยูใน
ภาวะทเ่ี สยี เปรยี บและสง เสรมิ ขดี ความสามารถในการแขง ขนั ของอาเซียน

4. สงเสริมความรวมมือในนโยบายการเงินและเศรษฐกิจมหภาค การพัฒนาโครงสราง
พื้นฐานและการคมนาคมความรวมมือดานกฎหมาย การพัฒนาความรวมมือดานการเกษตร พลังงาน
การทองเทย่ี ว การพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย โดยการยกระดับการศกึ ษาและการพัฒนาฝมือ ประชาคมเศรษฐกจิ
ของอาเซียน จะเปนเครอ่ื งมือสาํ คญั ท่จี ะชว ยขยายปริมาณการคาและการลงทุนภายในภูมิภาค ลดการพึ่งพา
ตลาดของประเทศในโลกท่ีสาม สรางอํานาจการตอรองและศักยภาพในการแขงขันของอาเซียนในเวที
เศรษฐกจิ โลก เพมิ่ สวสั ดกิ ารและยกระดบั ความเปน อยขู องประชาชนของประเทศสมาชกิ อาเซยี น

หากอาเซียนสามารถสรา งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนไดสาํ เรจ็ ประเทศไทยจะไดประโยชนจากการ
ขยายการสง ออก โอกาสทางการคา และเปด โอกาสการคา บรกิ ารในสาขา ที่ประเทศไทยมีความเขมแข็ง เชน
การทองเทยี่ ว โรงแรมและภัตตาคาร สุขภาพ ฯลฯ ซ่งึ อาเซยี นยงั มีความตองการดานการบรกิ ารเหลานี้อีกมาก
นอกจากนี้ยังชวยเสริมสรางโอกาสในการดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศมายังอาเซียน ซ่ึงจะเพิ่ม
อาํ นาจการตอรองของอาเซยี นในเวทกี ารคาโลก และยกระดับความเปนอยขู องประชาชนในอาเซียนโดยรวมให
ดีย่งิ ขนึ้
3. กฎบัตรอาเซียน

กฎบัตรอาเซียนเปรียบเสมือนรัฐธรรมนูญของอาเซียนที่จะทําใหอาเซียนมีสถานะเปนนติ ิบุคคล
เปนการวางกรอบทางกฎหมายและโครงสรา งองคก รใหก ับอาเซยี น

ผนู ําอาเซียนไดล งนามรับรองกฎบัตรอาเซียนในการประชุมสุดยอดอาเซียน คร้ังที่ 13 เมื่อวันที่ 20
พฤศจิกายน 2550 ในโอกาสครบรอบ 40 ป ของการกอตัง้ อาเซียน ณ ประเทศสิงคโปร เพื่อใหประชาคมโลก
ไดเห็นถงึ ความกาวหนา ของอาเซียนทจ่ี ะกาวเดินไปดวยกนั อยา งม่ันใจระหวางประเทศสมาชิกท้ัง 10 ประเทศ
และถอื เปน ประวตั ิศาสตรจ ะปรบั เปลี่ยนอาเซียนใหเปนองคกรท่ีมีสถานะเปนนิติบุคคลในฐานะที่เปนองคกร
ระหวางรฐั บาล ทง้ั นปี้ ระเทศสมาชิกไดใ หสตั ยาบนั เปน กฎบัตรอาเซยี นครบท้งั 10 ประเทศแลว เม่อื วันที่ 15
พฤศจิกายน 2551 ดังนน้ั กฎบัตรอาเซยี นจึงมีผลบงั คับใชตั้งแตว นั ท่ี 15 ธันวาคม 2551 เปนตน ไป

วตั ถุประสงคข องกฎบัตรอาเซียน
1. เพ่ือใหองคกรที่มีประสิทธิภาพ มีประชาชนเปนศูนยกลางและเคารพกฎกติกาในการ

ทาํ งานมากขึน้
2. เพื่อเสริมสรางกลไกตรวจสอบเฉพาะและติดตามการดําเนินการตามความตกลงตาง ๆ

ของประเทศสมาชิก ใหมผี ลเปน รูปธรรม
3. เพอื่ ปรบั ปรุงโครงสรางการทํางานและกลไกตา ง ๆ ของอาเซยี นใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น

และเพ่มิ ความยืดหยนุ ในการแกไ ขปญหา

138

4. ความรวมมอื ดานเศรษฐกจิ
ความรว มมอื ดา นเศรษฐกจิ ของอาเซยี นเร่ิมมเี ปาหมายชดั เจนเรม่ิ นาํ ไปสกู ารรวมตวั ทางเศรษฐกิจของ

ประเทศในภูมภิ าคอาเซียน นับตั้งแตการจัดต้ังเขตการคาเสรีอาเซียน (AFTA) ข้ึนและนับแตน้ันมากิจกรรม
อาเซียนไดขยายครอบคลมุ ไปสูทกุ สาขาหลักทางเศรษฐกิจ รวมท้ังในดานการคาสินคาและบริการการลงทุน
มาตรฐานอุตสาหกรรมและการเกษตรกรรม ทรัพยสินทางปญญา การขนสง พลังงาน และการเงิน
การคลัง เปน ตน ความรว มมอื ทางเศรษฐกิจของอาเซียนทีส่ าํ คัญ มีดงั น้ี

4.1 เขตการคาเสรอี าเซยี น (ASEAN Free Trade Area หรอื AFTA)
เขตการคา เสรอี าเซียน หรือ AFTA เปนขอตกลงทางการคาสําหรับสินคาที่ผลิตภายในประเทศ

สมาชิกอาเซียนทั้งหมด ทําข้ึนเมื่อป พ.ศ. 2535 มีวัตถุประสงคเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันของ
อาเซียน ในฐานะทเี่ ปน การผลติ ท่ีสําคญั ในการปอ นสนิ คา สูตลาดโลก โดยอาศัยการเปด เสรดี านการคา การลด
ภาษี และยกเลกิ อปุ สรรคขอ กดี ขวางทางการคาทีม่ ิใชภ าษี

4.2 เขตการลงทุนอาเซยี น (ASEAN Investment Area หรือ AIA)
ที่ประชมุ สุดยอดอาเซยี นครงั้ ท่ี 5 เมอื่ เดือนธนั วาคม 2538 ท่ีกรุงเทพฯ ไดเห็นชอบใหจัดต้ังเขต

การลงทุนอาเซียน เปนเขตการลงทุนเสรีที่มีศักยภาพโปรงใสเพื่อดึงดูดนักลงทุนท้ังจากภายในและภายนอก
ภูมิภาค ความตกลงครอบคลุมการลงทุนในอุตสาหกรรม 5 สาขา คือ สาขาอุตสาหกรรมการผลิต เกษตร
ประมง ปาไม และเหมอื งแร และภาคบริการทเี่ ก่ียวเน่อื งกับ 5 สาขาการผลิตดังกลาว ยกเวน การลงทุนดาน
หลกั ทรพั ยและการลงทุนในดา นซงึ่ ครอบคลมุ โดยความตกลงอาเซยี นอ่นื ๆ

4.3 ความรเิ ร่มิ เพ่อื การรวมตวั ของอาเซยี น (Initiative for ASEAN Integration หรอื IAI)
การรวมตัวของประเทศสมาชิก เพื่อลดชองวางดานการพัฒนาระหวางประเทศสมาชิกเกา

(ไทย มาเลเซยี ฟลปิ ปน ส สิงคโปร บรูไน อินโดนีเซีย) กับสมาชิกใหมของอาเซียน (สหภาพพมา สาธารณรัฐ
ประชาธิปไตยประชาชนลาว ราชอาณาจักรกัมพูชา และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม) โดยใหประเทศ
สมาชกิ เการวมกันจดั ทําโครงการใหค วามชว ยเหลอื แกป ระเทศใหม ครอบคลมุ 4 ดา น ไดแ ก โครงสรางพ้นื ฐาน
การพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร

4.4 ความรวมมือดา นอุตสาหกรรม (ASEAN Industrial Cooperation Scheme หรอื AICO)
ความรวมมือดานอุตสาหกรรมของอาเซียน เปนโครงการความรวมมือที่มุงสงเสริมการลงทุน

ในอุตสาหกรรมท่ีใชเทคโนโลยีเปนฐานการผลิต โดยยึดหลักของการใชทรัพยากรรวมกัน การแบงสวน
การผลิตตามความสามารถ และความถนดั

4.5 กรอบความตกลงดานการคาบริการ (ASEAN Framework Agreement on Services หรือ
AFAS)

เปนการกําหนดกรอบการเปดเสรีการคาการบริการในสาขาการบริการตาง ๆ ของอาเซียน
โดยจัดทําขอผูกพันในดานการเปดตลาด (market access) การใหการปฏิบัติเยี่ยงคนในชาติ (National
Treatment) และดา นอ่ืน ๆ (additional commitments) นอกจากน้ี สมาชกิ อาเซียนยงั ตองเรง รัดเปด ตลาด
ในสาขาบรกิ ารที่เปนสาขาสําคัญ 5 สาขา ไดแก สาขาโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาสุขภาพ

139

สาขาการทองเทีย่ ว สาขาการบนิ และสาขาบรกิ ารโลจสิ ตกิ ส ท้ังนเ้ี พ่ือใหอาเซียนมีความพรอมในการกาวไปสู
การเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี นในป 2558 ตอไป

4.6 ความรวมมือดานเทคโนโลยีสารสนเทศและอิเล็กทรอนิกส (e-ASEAN Framework
Agreement)

ผูนําของอาเซียน ทั้ง 10 ประเทศ รวมกันลงนามในกรอบความตกลงดานอิเล็กทรอนิกสของ
อาเซียน ซึ่งเปนขอตกลงที่กําหนดแนวทางเสริมสรางความรวมมือระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนในดาน
เทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือสาร (Information Technology and Communication-ICT) เพ่ือพัฒนา
เทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือสาร ในภมู ภิ าคใหส อดคลอ งกนั และเปนไปในทศิ ทางเดียวกัน โดยมีมาตรการ
ท่คี รอบคลมุ ท้งั 5 ดาน ดังนี้

1) การพฒั นาเช่อื มโยงโครงสรา งพื้นฐานดานเทคโนโลยสี ารสนเทศของอาเซียน
(ASEAN Information Infrastructure) ใหส ามารถตดิ ตอ ถึงกนั ไดอ ยางทวั่ ถึงกนั และดวยความเรว็ สงู

2) การอํานวยความสะดวกดานพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (e-Commerce) โดยการออกกฏหมาย
และระเบียบดานพาณิชยอิเล็กทรอนิกสที่สอดคลองกับมาตรฐานระหวางประเทศ และมีระบบรักษา
ความปลอดภยั ทเ่ี ปนมาตรฐานสากล เพ่อื สรา งความเช่อื มน่ั แกผ บู ริโภค

3) สงเสริม และเปดเสรีดานการคาสินคา บริการ และการลงทุนดานเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การส่ือสาร (ICT) โดยประเทศสมาชิกอาเซยี นจะยกเลิกภาษีและอุปสรรคทางการคาไมใชภาษสี าํ หรบั สนิ คา ICT

4) สรางสังคมอิเล็กทรอนิกส (e-Society) เสริมสรางความสามารถและพัฒนาอิเล็กทรอนิกส
เพอ่ื ประโยชนต อสงั คม

5) สรางรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (e-Government) สงเสริมใหมีการใช ICT ในการบริการของ
ภาครัฐใหม ากข้ึน

4.7 ความรว มมือดานการเงนิ การคลัง (Financial Cooperation)
เปน กรอบความตกลงความรวมมือท่ีเนนการสรางกลไกการสนับสนุนเก้ือกูลระหวางกันในเรื่อง

การเงนิ การคลงั ของประเทศสมาชกิ เพอ่ื ดแู ลสภาวะเศรษฐกิจดานการเงิน
1) อาเซียนไดจัดตั้งระบบระวังภัยอาเซียน (ASEAN Surveillance Process) ข้ึน เม่ือวันที่ 4

ตุลาคม 2541 เพอื่ สอดสองดูแลสภาวะเศรษฐกิจและการเคลื่อนยายเงินทนุ ในภูมิภาค โดยใหมีการหารือและ
แลกเปล่ียนขอคดิ เห็นเก่ยี วกบั ภาวะเศรษฐกจิ ในประเทศสมาชิกในภูมภิ าคและในโลก โดยธนาคารพัฒนาเอเชยี
(ADB) ไดสนับสนุนและใหความชวยเหลือทางวิชาการและเงินทุนโดยการจัดการฝกอบรมดานเทคนิค
แกเจาหนาท่ีประเทศสมาชิก และในการจัดต้ัง ASEAN Surveillance Technical Support Unit
ในสาํ นกั งานเลขาธกิ ารอาเซียนเพอื่ สนบั สนุนระบบดังกลา ว

2) การเสริมสรา งกลไกสนบั สนนุ และเกอื้ กลู ระหวางกันในภูมิภาคเอเชียตะวันออก (Enhancing
self-help and support mechanism in East Asia) โดยไดกําหนดแนวทางความรว มมอื กบั จีน ญี่ปุน และ
เกาหลใี ต ท่สี าํ คัญ ไดแก จดั ทาํ ความตกลงทวิภาคดี า นการแลกเปล่ียนการซื้อ-ขายคืนเงินตราหรือหลักทรัพย

140

ตางประเทศ หารือเกี่ยวกับการจัดต้ังระบบเตือนภัยในภูมิภาคและการแลกเปล่ียนการหารือเกี่ยวกับภาวะ
เศรษฐกจิ ในภมู ิภาค

3) ความริเร่ิมเชียงใหม (Chiang Mai Initiative) ซ่ึงไดจัดตั้งขึ้นเม่ือวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.
2543 เปนการปรับปรุงความตกลงแลกเปล่ียนเงินตราอาเซียน (ASEAN Swap Arrangement - ASA)
ในดานโครงสราง รูปแบบและวงเงิน และใหเสริมดวยเครือขายความตกลงทวิภาคีระหวางประเทศ
อาเซียนกับจีน ญี่ปุนและสาธารณรัฐเกาหลี (Bilateral Swap Arrangment-BSA) โดยไดขยายให ASA
รวมประเทศอาเซียนทงั้ 10 ประเทศแลว

4.8 ความรวมมอื ดา นการเกษตรและปา ไมของอาเซยี น และอาเซียน + 3 (สาธารณรัฐประชาชน
จีน สาธารณรฐั ประชาชนเกาหลี และญป่ี นุ )

เปนโครงการความรว มมอื ระหวา งอาเซยี น และประเทศอาเซียน + 3 (สาธารณรัฐประชาชนจีน
สาธารณรฐั ประชาชนเกาหลี และญี่ปุน) ทคี่ รอบคลุมความรวมมือในดานการประมง ปาไม ปศุสัตว พืช และ
อาหารการเกษตร เพือ่ สง เสริมความมน่ั คงทางดา นอาหารและความสามารถในการแขงขันของอาเซียนในดาน
อาหารและผลผลิตปาไม

4.9 ความรว มมอื ดา นการขนสง
เปนกรอบความตกลงที่เนนการอํานวยความสะดวกในการขนสงทั้งสินคาและบริการรวมกัน

ระหวางประเทศสมาชกิ ทจ่ี ะสงผลใหส ภาพเศรษฐกจิ โดยรวมในภูมภิ าคเจรญิ เตบิ โตอยางรวดเร็ว
1) โครงการพัฒนาทางหลวงอาเซียน (ASEAN Highway Network Project) ลักษณะของ

โครงขา ยทางหลวงอาเซยี น คือ มที างหลวงครอบคลุม 23 สาย ทั่วทง้ั ภมู ภิ าคอาเซยี น และจัดทํามาตรฐานทาง
หลวงอาเซยี น (ปายจราจร สญั ญาณ และระบบหมายเลข)ใหเปน แบบเดยี วกนั

2) การอํานวยความสะดวก ในการขนสงสินคาผานแดน มีวัตถุประสงคใหประเทศสมาชิก
อาเซียนอนุญาตใหรถยนตขนสงที่จดทะเบียนในประเทศสมาชิกหนึ่งสามารถขนสงสินคาผา นแดน ไปยังอีก
ประเทศหน่งึ ได

3) การเปดเสรบี ริการขนสงเฉพาะสนิ คาของอาเซียน มีวัตถปุ ระสงคทจ่ี ะสง เสริมการขนสงสินคา
ในอาเซยี นดวยกนั

4) การเปดเสรีบริการขนสงผูโดยสารทางอากาศของอาเซียน เปนการสงเสริมอุตสาหกรรม
การทองเทีย่ วและการสง ออกสนิ คา ของไทยและสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาลที่ตองการใหมีการเปดเสรี
การบนิ และสงเสริมใหป ระเทศไทยเปน ศูนยก ลางการบินในภูมภิ าคน้ดี ว ย

4.10 ความรวมมือดา นพลังงานในอาเซียน (ASEAN Energy Cooperation)
เพื่อเสริมสรางความม่ันคงและความย่ังยืนในการจัดหาพลังงาน การใชพลังงานอยางมี

ประสิทธิภาพในภมู ภิ าคอาเซยี น และการจัดการดา นความตอ งการพลังงานอยางเหมาะสม โดยคํานึงถึงปจจัย
ดา นสภาพสง่ิ แวดลอ ม และการชวยเหลอื กันในการแบงปนปโ ตรเลียมในภาวะฉุกเฉนิ

141

4.11 ความตกลงดา นการทอ งเทีย่ วอาเซยี น (ASEAN Tourism Agreement)
เปนความรวมมือเพื่อสงเสริมใหอาเซียนเปนจุดหมายปลายทางการทองเท่ียว โดยเนน

ความรว มมอื ใน 7 ดาน คอื การอาํ นวยความสะดวกการเดินทางในอาเซียนและระหวางประเทศ การอํานวย
ความสะดวกดานขนสง การขยายตลาดการทองเทีย่ ว การทอ งเท่ยี วท่มี ีคุณภาพความปลอดภัยและความม่ันคง
ของการทองเทยี่ ว การตลาดและการสงเสริมรวมกัน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ซึ่งตอมาการตกลงดาน
การทอ งเท่ียวอาเซียนนยี้ งั ไดขยายไปยังประเทศอาเซยี น +3 (สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาชน
เกาหลี และญปี่ นุ ) เรียกวา “ความรว มมอื ดานการทอ งเทย่ี วในกรอบอาเซยี นและอาเซียน +3 โดยใหประเทศ
อาเซยี น +3 เสนอแนวทางความรวมมอื กับประเทศสมาชิกอาเซยี นท่ีชัดเจนเพื่อสง เสริมความรวมมอื ระหวางกนั
5. ประโยชนและผลกระทบตอประเทศไทย

5.1 ประโยชนท ่ีประเทศไทยไดรับจากการเขา รว มประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น
หากอาเซียนสามารถสรา งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนไดสําเรจ็ ตามเปา หมายท่ีตงั้ ไว ประเทศไทย
จะไดป ระโยชนห ลายประการ เชน

1) ขยายการสงออกและโอกาสทางการคา จากการยกเลิกอุปสรรคภาษีและท่ีมิใชภาษีจะเปด
โอกาสใหส ินคาเคล่ือนยา ยเสรี

2) คาดวาการสง ออกไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตวั ไดไ มตํา่ กวา 18 - 20% ตอป
3) เปด โอกาสการคา บรกิ าร ในสาขาท่ไี ทยมีความเขม แขง็ เชน ทอ งเท่ียว โรงแรมอาหาร และ
สขุ ภาพ ทาํ ใหไทยมรี ายไดจากการคาบริการจากตา งประเทศเพมิ่ ข้ึน
4) สรางเสริมโอกาสการลงทุน เมื่อมีการเคลื่อนยายเงินทุนไดเสรีย่ิงขึ้นอุปสรรคการลงทุน
ระหวางอาเซยี นจะลดลง อาเซียนจะเปนเขตการลงทนุ ทีน่ า สนใจทัดเทยี มประเทศจีนและอนิ เดีย
5) เพม่ิ พนู ขดี ความสามารถของผูป ระกอบการไทย เม่ือมีการใชทรัพยากรการผลิตรวมกัน/เปน
พันธมิตรทางธุรกิจรวมกับอาเซียนอ่ืน ๆ ทําใหเกิดความไดเปรียบเชิงแขงขัน (Comparative Advantage)
และลดตนทุนการผลิต
6) เพมิ่ อาํ นาจการตอรองของไทยในเวทีการคาโลก สรางความเช่อื มน่ั ใหประชาคมโลก
7) ยกระดับความเปนอยขู องประชาชนในประเทศ ผลการศึกษา แสดงวา AEC จะทําใหรายได
ที่แทจ ริงของอาเซยี นเพม่ิ ขนึ้ รอยละ 5.3 หรือคดิ เปน มลู คา 69 พนั ลา นเหรยี ญสหรฐั ฯ

5.2 ผลกระทบจากประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น
ถงึ แมป ระเทศไทยจะไดป ระโยชนจ ากการเขา รว มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) แตประเทศไทย
กไ็ ดร บั ผลกระทบดว ยเชนกัน เชน
1) การเปดตลาดเสรกี ารคาและบริการยอ มจะสง ผลกระทบตอ อตุ สาหกรรมและผปู ระกอบการ
ในประเทศทีม่ ีขดี ความสามารถในการแขงขันต่ํา
2) อุตสาหกรรมและผปู ระกอบการในประเทศตองเรง ปรับตัว


Click to View FlipBook Version