หนังสอื เรียนสาระการพัฒนาสงั คม
รายวชิ าศาสนาและหนา ท่ีพลเมอื ง
(สค21002)
ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน
หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
พทุ ธศักราช 2551
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560)
สํานักงานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
กระทรวงศกึ ษาธิการ
หามจําหนา ย
หนังสือเรียนเลมนจ้ี ดั พิมพด ว ยงบประมาณแผนดินเพ่ือการศกึ ษาตลอดชวี ิตสาํ หรับประชาชน
ลิขสทิ ธิ์เปนของ สํานกั งาน กศน. สาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ
เอกสารทางวชิ าการลาํ ดบั ที่ 42 /2557
หนังสือเรยี นสาระการพฒั นาสงั คม
รายวชิ าศาสนาและหนา ที่พลเมอื ง (สค21002)
ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560)
ลขิ สิทธ์ิเปนของ สาํ นักงาน กศน. สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
เอกสารทางวชิ าการหมายเลข 42 /2557
คํานาํ
สาํ นักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดดําเนินการจัดทํา
หนงั สือเรียนชุดใหมน ้ีขน้ึ เพอ่ื สําหรับใชในการเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ท่ีมีวัตถุประสงคในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปญญา
และศักยภาพในการประกอบอาชพี การศึกษาตอ และสามารถดาํ รงชีวติ อยใู นครอบครัว ชุมชน สงั คมได
อยา งมคี วามสขุ โดยผเู รียนสามารถนาํ หนงั สอื เรียนไปใชในการศึกษาดว ยวธิ กี ารศึกษาคน ควา ดวยตนเอง
ปฏิบัติกิจกรรม รวมท้ังทําแบบฝกหัด เพื่อทดสอบความรูใหกับผูเรียน และไดมีการปรับเพ่ิมเติม
เนื้อหาเก่ยี วกบั การมีสวนรว มในการปองกันและปราบปรามการทุจริต เพื่อใหสอดคลองกับนโยบาย
ของกระทรวงศกึ ษาธิการ นั้น
ขณะน้ี คณะกรรมการรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) มนี โยบายในการปลกุ จิตสํานกึ ใหคนไทย
มีความรักชาติ เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย เสริมสรางคุณธรรม จริยธรรม คานิยมในการอยู
รวมกนั อยา งสามคั คี ปรองดอง สมานฉันท สํานักงานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย จึงไดมีการดําเนินการปรับเพิ่มตัวช้ีวัดของหลักสูตร และเน้ือหาหนังสือเรียนใหสอดคลอง
ตามนโยบายดังกลา ว โดยเพิ่มเน้ือหาเก่ียวหลักสําคัญของประชาธิปไตยและ คุณธรรม จริยธรรมใน
การอยูรว มกนั อยา งสันติ สามคั คีปรองดอง สมานฉันท เพอ่ื ใหส ถานศกึ ษานาํ ไปใชในการจัดการเรียน
การสอนใหกับนกั ศกึ ษา กศน. ตอ ไป
ท้ังนี้ สํานักงานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ไดรับความรวมมือ
ทดี่ จี ากผูทรงคณุ วฒุ แิ ละผูเกย่ี วของหลายทา นท่ีคนควาและเรียบเรียงเน้ือหาสาระจากสื่อตาง ๆ เพ่ือให
ไดสอ่ื ทส่ี อดคลองกบั หลักสตู ร และเปน ประโยชน ตอผูเรียนที่อยูนอกระบบอยางแทจริง ขอขอบคุณ
คณะทป่ี รกึ ษา คณะผูเรียบเรยี ง ตลอดจนคณะผจู ดั ทาํ ทุกทานท่ีไดใ หค วามรวมมือดวยดไี ว ณ โอกาสน้ี
สาํ นกั งาน กศน.
กนั ยายน 2557
สารบัญ หนา
คาํ นาํ 1
คาํ แนะนําการใชห นงั สอื เรียน 3
โครงสรา งรายวิชาศาสนาและหนา ทพี่ ลเมือง สค 21002 25
ขอบขา ยเน้ือหา 35
55
บทที่ 1 ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชยี
เรอื่ งท่ี 1 ความเปน มาของศาสนาในประเทศไทย
เรอ่ื งท่ี 2 ความเปน มาของศาสนาในทวีปเอเชีย
เร่ืองท่ี 3 หลักธรรมของศาสนาตา ง ๆ
เรือ่ งที่ 4 หลักธรรมในแตละศาสนาท่ที าํ ให
อยูรว มกบั ศาสนาอื่นไดอ ยา งมีความสขุ
บทที่ 2 วฒั นธรรม ประเพณี และคา นยิ มของไทยและเอเชีย 66
เร่อื งท่ี 1 วัฒนธรรม ประเพณขี องไทยและเอเชีย 68
เรอ่ื งที่ 2 การอนรุ กั ษแ ละการสืบสานวฒั นธรรม ประเพณี 81
เรอ่ื งที่ 3 แนวทางการอนรุ กั ษแ ละการสานวัฒนธรรม ประเพณี 84
เรื่องที่ 4 คา นยิ มทพ่ี งึ ประสงค 85
88
บทที่ 3 รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย 89
เรื่องที่ 1 ความเปน มาหลักการและเจตนารมณ 106
ของรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย 108
เรอ่ื งท่ี 2 โครงสรา งและสาระสําคัญของรฐั ธรรมนญู 111
แหง ราชอาณาจักรไทย
เร่ืองที่ 3 จดุ เดน ของรัฐธรรมนูญท่เี กี่ยวกบั สทิ ธิ เสรภี าพ
และหนาทขี่ องประชาชน
เรอ่ื งท่ี 4 หลกั การสําคัญของประชาธปิ ไตยและคุณธรรม จรยิ ธรรม
คานิยมในการอยรู วมกันอยางสันติ สามคั คี ปรองดอง
สารบัญ (ตอ) หนา
บทที่ 4 พฒั นาการทางการเมืองและการอยรู ว มกันในระบอบประชาธปิ ไตย 125
อนั มพี ระมหากษตั ริยท รงเปน ประมุข
เรือ่ งท่ี 1 พฒั นาการทางการปฏริ ูปทางการเมืองเพ่อื การปกครอง 127
ในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย
ทรงเปน ประมุข
เรือ่ งท่ี 2 การมสี วนรว มทางการเมืองและการอยรู ว มกัน 136
อยางสันตใิ นระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี
พระมหากษตั ริยทรงเปน ประมขุ
บทท่ี 5 สิทธิมนุษยชน 147
เรอื่ งท่ี 1 กาํ เนดิ และหลกั สทิ ธิมนษุ ยชน 149
เร่อื งท่ี 2 การคมุ ครองตนเองและผอู ืน่ ตามหลักสทิ ธิมนษุ ยชน 159
บทที่ 6 การมีสวนรว มในการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริต 162
บรรณานกุ รม 189
คณะผจู ัดทาํ 193
คาํ แนะนําในการใชห นงั สือเรยี น
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
เปนหนังสอื เรียนท่ีจดั ทําข้ึน สําหรับผเู รียนที่เปนนักศึกษานอกระบบใชประกอบการศึกษา รายวิชา
ศาสนาและหนา ทีพ่ ลเมือง (สค21002) จํานวน 2 หนวยกติ 80 ชว่ั โมง
ในการศึกษาหนงั สอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาท่ีพลเมือง ผูเรียน
ควรปฏบิ ตั ิ ดังน้ี
1) ศกึ ษาโครงสรางรายวิชาใหเ ขา ใจในหวั ขอ สาระสาํ คญั ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และ
ขอบขา ยเนือ้ หา
2) ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และปฏิบัติกิจกรรมทายเรื่อง
เพ่ือเปนการสรุปความรู ความเขาใจของเนื้อหาในตอนนั้น ๆ อีกคร้ัง โดยผูเรียนสามารถ
นาํ ไปตรวจสอบกับครู เพอื่ น ๆ ท่ีเรียนในรายวชิ าและระดับเดยี วกนั ได
3) หนังสือเลม นม้ี ี 6 บท ดงั นี้
บทท่ี 1 ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชยี
บทท่ี 2 วัฒนธรรม ประเพณี และคา นยิ มของไทยและเอเชยี
บทที่ 3 รัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทยและหลกั สาํ คญั ของ
ประชาธปิ ไตยและมคี ุณธรรม จริยธรรมในการอยูรว มกันอยา งสันติ
สามัคคี ปรองดอง สมานฉนั ท
บทที่ 4 พัฒนาการทางการเมืองและการอยูร ว มกัน
ในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท รงเปน ประมขุ
บทที่ 5 สิทธมิ นุษยชน
บทท่ี 6 การมสี ว นรวมในการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริต
โครงสรา งรายวิชาศาสนาและหนาท่ีพลเมอื ง
ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน
สาระสําคญั
ประเทศไทย เปน ประเทศทีม่ ีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรง
เปน ประมุข มปี ระชากรอาศยั อยหู ลายเช้ือชาติ มีภาษา ศาสนา วฒั นธรรม ความเช่ือที่แตกตางกัน การให
ความรเู กยี่ วกบั ความสําคัญ หลักธรรมทางศาสนา และวัฒนธรรม คานิยมของประเทศตาง ๆ ตลอดจน
ความเปนมา หลักการ ความสําคัญของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย หลักการอยูรวมกัน หลักการ
สําคัญของประชาธิปไตยและคุณธรรม จริยธรรม คานิยมในการอยรู วมกันอยางสันติ สามัคคี ปรองดอง
หลักสิทธิมนุษยชน และความตระหนักในการมีจิตสํานึกในการมีสวนรวมที่จะปองกันและปราบปราม
การทจุ รติ จะทําใหค นในสังคมไทยสามารถ นาํ หลกั การ คําสอนและกฎระเบยี บตาง ๆ ของสงั คมมาปรับ
ใชใ นการดาํ เนินชวี ิตของตนไดอ ยางถูกตอ ง มคี วามสุข อันจะสงผลตอ ความสนั ติสขุ ของสังคม
ผลการเรยี นท่คี าดหวงั
1. อธิบายความเปน มา ความสาํ คัญ หลกั คําสอน ศาสนาวฒั นธรรม ประเพณี คานยิ มของ
ประเทศไทยและประเทศในทวปี เอเชียได
2. ยอมรบั และปฏบิ ตั ติ นเพือ่ การอยูร วมกนั อยางสนั ตสิ ุขในสังคมที่มคี วามหลากหลายทาง
ศาสนา วัฒนธรรม และประเพณี
3. อนุรกั ษและสบื สานประเพณี วัฒนธรรม ตลอดจนปฏบิ ตั ติ ามคานยิ มทพ่ี ึงประสงค
ของไทย และอธบิ ายวัฒนธรรม ประเพณี คานยิ มของชาตติ าง ๆ ในเอเชยี
4. อธบิ ายความเปน มา หลักการ เจตนารมณ โครงสรา ง สาระสาํ คญั ของรฐั ธรรมนญู ได
5. มีความรคู วามเขา ใจในหลักสาํ คญั ของประชาธิปไตยและมคี ณุ ธรรม จริยธรรมในการ
อยรู วมกันอยางสนั ติ สามคั คี ปรองดอง สมานฉนั ท
6. อธิบายจดุ เดนของรัฐธรรมนูญเกย่ี วกับสิทธิ เสรภี าพ และหนาทขี่ องประชาชนได
7. อธิบายสทิ ธิ เสรภี าพและคุณธรรม จริยธรรม การอยรู ว มกนั ตามวถิ ีทาง
ประชาธิปไตยได
8. อธิบายการปฏริ ูปการเมือง การปกครอง และมีสว นรว มการเมืองการปกครอง
ตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยท รงเปน ประมขุ ได
9. อธบิ ายหลักสทิ ธิมนษุ ยชน ตระหนักถงึ ประโยชนและมีสวนรวมตามหลกั สทิ ธมิ นษุ ยชนได
10. วิเคราะหก ารแกป ญ หาการทุจริตและมีสวนรว มในการปอ งกันและปราบปราม
การทุจริต
ขอบขายเน้ือหา
บทท่ี 1 ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชีย
บทที่ 2 วฒั นธรรม ประเพณี และคา นยิ มของไทยและเอเชยี
บทที่ 3 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย และหลักสาํ คญั ของประชาธปิ ไตยและ
มคี ุณธรรม จริยธรรมในการอยูรวมกนั อยา งสนั ติ สามัคคี ปรองดอง สมานฉนั ท
บทท่ี 4 พฒั นาการทางการเมืองและการอยรู ว มกนั ในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมขุ
บทท่ี 5 สิทธิมนุษยชน
บทท่ี 6 การมีสว นรวมในการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริต
สือ่ ประกอบการเรียนรู
1. ซดี ีศาสนาสากล
2. ซีดวี ฒั นธรรม ประเพณไี ทย และประเทศตาง ๆ ในเอเชยี
3. เอกสารที่เกย่ี วขอ งกับศาสนา วฒั นธรรม การเมอื งการปกครอง สทิ ธมิ นุษยชน
4. อินเทอรเ นต็
5. แหลงเรียนรู ภมู ปิ ญญาในทอ งถนิ่
1
บทที่ 1
ศาสนาในประเทศไทยและในทวปี เอเชีย
สาระสาํ คัญ
เนอ้ื หาสาระเกีย่ วกับความเปนมาของศาสนาตาง ๆ ในประเทศไทยและประเทศในทวีปเอเชีย
หลักธรรมสาํ คัญของศาสนาตาง ๆ การอยูรวมกับคนตางศาสนาไดอยางมีความสุข กรณีตัวอยางของ
บุคคลตัวอยางในแตล ะศาสนา
ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวงั
1. ประวตั คิ วามสาํ คญั หลักคําสอนศาสนาวฒั นธรรม ประเพณขี องประเทศในทวีปเอเชยี
2. ยอมรบั และปฏิบตั ติ นเพือ่ การอยรู วมกันอยา งสันตสิ ุขในสงั คมที่มคี วามหลากหลายทาง
ศาสนา
ขอบขายเนื้อหา
เร่อื งท่ี 1 ความเปนมาของศาสนาในประเทศไทย
เรื่องที่ 2 ความเปน มาของศาสนาในทวีปเอเชยี
เรือ่ งท่ี 3 หลักธรรมของศาสนาตา ง ๆ
สื่อการเรยี นรู
1. ใบงาน
2. หนงั สอื เรยี น
2
แผนทปี่ ระเทศในทวปี เอเชยี
3
เรือ่ งท่ี 1 ความเปนมาของศาสนาในประเทศไทย
ศาสนาในประเทศไทยท่ีรัฐบาลใหการอุปถัมภดูแล มีทั้งสิ้น 5 ศาสนา ไดแก ศาสนาพุทธ
ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต ศาสนาฮินดู และศาสนาซิกซ ซึ่งทุกศาสนาลวนมีองคประกอบหลัก
ทส่ี ําคญั ๆ 5 ประการ คือ
1. ศาสดา หมายถึง ผทู ีค่ น พบศาสนาและเผยแผคาํ สงั่ สอนหรอื หลักธรรมของศาสนา
2. ศาสนธรรม หรอื หลักธรรมของศาสนา เปนคําสง่ั สอนของแตล ะศาสนา
3. ศาสนิกชน หมายถึง บคุ คลและปวงชนท่ใี หก ารยอมรับนบั ถอื ในคาํ สง่ั สอนของศาสนา
น้นั ๆ
4. ศาสนาสถาน หมายถึง สถานท่ีอยูอาศัยของนักบวชใชเปนที่ประกอบพิธีกรรมทาง
ศาสนา รวมถงึ การเปน ท่ีท่ใี หศาสนิกชนไปปฏิบตั ิกจิ กรรมทางศาสนา
5. ศาสนพธิ ี หมายถึง พธิ ีทางศาสนาตาง ๆ ทถ่ี ูกกาํ หนดขึน้ จากศาสดาโดยตรงหรือจาก
การคิดคนของผูปฏิบัติ มีเน้ือหาเกี่ยวกับความตองการขจัดความไมรู ความกลัว
ความอัตคดั สนองความตองการในสิ่งท่ตี นขาดแคลน จึงจําเปน ตองมีวัตถปุ ระสงคของ
การศกึ ษาคนควาปฏบิ ตั ิตามหลักของศาสนา
ประเทศไทยมีศาสนาพุทธ เปนศาสนาประจาํ ชาติและมีผูนับถือจํานวนมากที่สุดในประเทศ
รองลงมา คือ ศาสนาอิสลาม ศาสนาครสิ ต และศาสนาฮินดู การศึกษาความเปนมาของศาสนา
ดังกลาวในประเทศไทยมคี วามสาํ คญั และจําเปน เพราะทําใหเ กิดความเขาใจในศาสนาที่ตนนับถอื และ
เพอ่ื รวมศาสนาอื่น ๆ ในประเทศ อันจะสงผลใหส ามารถอยรู ว มกันไดอ ยางมีความสุข
4
1.1 ศาสนาพุทธในประเทศไทย
พทุ ธประวัติ
ศาสดาผูท่ีคนพบศาสนาและเผยแผคําส่ังสอนหรือหลักธรรมของศาสนาพุทธ คือ
พระพทุ ธเจา
พระพุทธเจา พระนามเดิมวา "สิทธัตถะ" เปนพระราชโอรสของพระเจาสุทโธทนะและ
พระนางสิริมหามายา แหงกรุงกบิลพัสด แควนสักกะ พระองคทรงถือกําเนิดในศากยวงศ สกุลโคตมะ
พระองคป ระสตู ใิ นวนั ศกุ ร ขนึ้ 15 ค่ํา เดอื น 6 (เดือนวสิ าขะ) ปจอ กอ นพุทธศักราช 80 ป ณ สวนลุมพนิ วี นั
ซง่ึ ตัง้ อยูระหวา งกรุงกบลิ พสั ดุ แควน สกั กะ กับกรงุ เทวทหะ แควนโกลิยะ (ปจ จุบนั คอื ตาํ บลรุมมนิ เด
ประเทศเนปาล) ท้งั น้ี เปน เพราะธรรมเนียมทสี่ ตรีจะตอ งไปคลอดบตุ รท่ีบา นบิดามารดาของตนพระนาง-
สริ ิมหามายา จึงตอ งเดนิ ทางไปกรุงเทวทหะ
หลังจากประสตู ไิ ด 5 วัน พระเจาสทุ โธทนะ โปรดใหป ระชุมพระประยรู ญาติ และเชิญพราหมณ
ผูเรียนไตรเพท จํานวน 108 คน เพ่ือมาทํานายพระลักษณะของพระราชกุมาร พระประยูรญาติได
พรอมใจกนั ถวายพระนามวา "สทิ ธตั ถะ" มีความหมายวา "ผูมีความสําเร็จสมประสงคทุกส่ิงทุกอยาง
ที่ตนตงั้ ใจจะทาํ " สว นพราหมณเหลา นนั้ คดั เลอื กกันเองเฉพาะผูท่ีทรงวิทยาคุณประเสริฐกวาพราหมณ
ท้ังหมดได 8 คน เพ่ือทํานายพระราชกุมาร พราหมณ 7 คนแรก ตางก็ทํานายไว 2 ประการ คือ
"ถาพระราชกมุ ารเสด็จอยูครองเรือนก็จกั เปนพระเจา จกั รพรรดผิ ทู รงธรรม หรือถาเสด็จออกผนวช
เปน บรรพชติ จักเปนพระอรหนั ตสมั มาสัมพทุ ธเจา ผไู มม กี เิ ลสในโลก" สวนโกณทัญญะพราหมณผูมี
อายุนอ ยกวา ทกุ คนไดท ํานายเพยี งอยา งเดียววา “พระราชกุมารจักเสด็จออกจากพระราชวังผนวช
เปนบรรพชิตแลวตรัสรูเปนพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา ผูไมกิเลสในโลก" เมื่อเจาชายสิทธัตถะ
ประสูติได 7 วัน พระราชมารดาก็เสด็จสวรรคต พระเจาสุทโธทนะทรงมอบหมายใหพระนางมหาปชาบดี-
โคตรมี ซึ่งเปนพระขนิษฐภคินีของพระนางสิริมหามายา เปนผูถวายอภิบาลเล้ียงดู เมื่อพระสิทธัตถะ
ทรงพระเจรญิ มีพระชนมายุได 8 พรรษา ไดทรงศึกษาในสํานักอาจารยวิศวามิตร ซ่ึงมีเกียรติคุณแผ
ขจรไกลไปยงั แควนตาง ๆ เจาชายสทิ ธตั ถะ ทรงศึกษาศิลปวิทยาเหลานี้ไดอยางวองไวและเชี่ยวชาญ
จนหมดความสามารถของพระอาจารย
ดวยพระราชบิดามพี ระราชประสงคม ัน่ คงท่จี ะใหเจาชายสทิ ธัตถะทรงครองเพศฆราวาส เปน
พระจักรพรรดิผูทรงธรรม จึงพระราชทานความสุขเกษมสําราญแวดลอมดวยความบันเทิง
นานาประการแกพ ระราชโอรส เพอ่ื ผูกพระทยั ใหม่ังคงในทางโลก เม่ือเจา ชายสิทธัตถะเจริญพระชนมได
16 พรรษา พระเจาสุทโธทนะมีพระราชดําริวา พระราชโอรสสมควรจะไดอภิเษกสมรสจึงโปรดให
สรางประสาทอันวิจิตรงดงามข้ึน 3 หลัง สําหรับใหพระราชโอรสไดประทับอยางเกษมสําราญตาม
ฤดกู าลทั้ง 3 คือ ฤดูรอ น ฤดูฝน และฤดหู นาว จากน้ันทรงสขู อพระนางพิมพายโสธรา พระราชธิดาของ
พระเจาสปุ ปพุทธะ และพระนางอมติ า แหง เทวทหะนคร ในตระกูลโกลิยวงศ ใหอ ภิเษกดวย เจาชายสิทธัตถะ
5
ไดเ สวยสุขสมบตั ิจนพระชนมายไุ ด 29 พรรษา พระนางพิมพายโสธรา จึงประสตู ิพระโอรส พระองคมี
พระราชหฤทัยสิเนหาในพระโอรสเปนอยางย่ิง เม่ือพระองคทรงทราบถึงการประสูติของพระโอรส
พระองคต รัสวา “ราหลุ ชาโตพันธนาชาต” แปลวา “บวงเกดิ แลว เคร่ืองจองจําเกิดแลว ”
ถึงแมเจาชายสิทธัตถะจะทรงพร่ังพรอมดวยสุขสมบัติมหาศาลก็มิไดพอพระทัยในชีวิต
คฤหัสถ พระองคยังทรงมีพระทัยฝกใฝใครครวญถงึ สัจธรรมที่จะเปนเคร่ืองนําทางซึ่งความพนทุกข
อยเู สมอ พระองคไ ดเ คยเสด็จประพาสอุทยาน ไดทอดพระเนตรเทวทตู ทั้ง 4 คือ คนแก คนเจ็บ คนตาย
และบรรพชิต พระองคจงึ สังเวชพระทยั ในชวี ิตและพอพระทัยในเพศบรรพชิต มีพระทัยแนวแนที่จะ
ทรงออกผนวช เพ่ือแสวงหาโมกขธรรม อนั เปนทางดบั ทกุ ขถาวรพนจากวัฏสงสาร ไมกลบั มาเวียนวา ย
ตายเกิดอกี พระองคจ ึงตดั สนิ พระทยั เสด็จออกผนวช โดยพระองคท รงมากัณฐกะ พรอมดวยนายฉันนะ
มุงสูแมนํ้าอโนมานที แควนมัลละ รวมระยะทาง 30 โยชน (ประมาณ 480 กิโลเมตร) เสด็จขามฝงแมน้ํา-
อโนมานที แลวทรงอธิษฐานเพศเปนบรรพชิต และทรงมอบหมายใหนายฉันนะ นําเครื่องอาภรณและ
มา กัณฐกะกลับนครกบิลพัสดุ
การแสวงหาธรรมระยะแรกหลงั จากทรงผนวชแลว สมณสทิ ธัตถะ ไดทรงศกึ ษาในสาํ นักอาฬาร-
ดาบสกาลามโคตรและอุทกดาบสรามบุตร ณ กรุงราชคฤห แควนมคธ พระองคไดทรงประพฤติ
พรหมจรรยใ นสาํ นักของอาฬารดาบสกาลามโคตร ทรงไดสมาบัติ คือ ทุติยฌาน ตติยฌาน อากาสานัญ-
จายตนฌาน วิญญานัญจายตนฌาน และอากิญจัญญายตนฌาน สวนการประพฤติพรหมจรรยใน
สํานกั อุทกดาบสรามบตุ ร นนั้ ทรงไดสมาบตั ิ ๘ คือ เนวสัญญา นาสัญญายตนฌาน สําหรับฌานที่ 1
คือ ปฐมฌาน น้นั พระองคทรงไดข ณะกาํ ลงั ประทบั ขัดสมาธิเจรญิ อานาปานสติกมั มัฏฐานอยูใตตนหวา
เนอื่ งในพระราชพิธีวัปปมงคล (แรกนาขวัญ) เมื่อคร้ังทรงพระเยาว เม่ือสําเร็จการศึกษาจากท้ังสอง
สาํ นักน้แี ลว พระองคทรงทราบวามใิ ชห นทางพน ทกุ ขบ รรลพุ ระโพธิญาณตามทท่ี รงมุงหวงั พระองคจึง
ทรงลาอาจารยท้ังสองเสด็จไปใกลบริเวณแมนํ้าเนรัญชรา ท่ีตําบลอุรุเวลาเสนานิคม กรุงราชคฤห
แควนมคธ
เมื่อพระองคทรงหันมาศึกษาคนควาดวยพระปญญาอันย่ิงดวยพระองคเองแทนการศึกษา
เลาเรียนในสํานักอาจารย ณ ทิวเขาดงคสิริ ใกลลุมแมนาํ้ เนรัญชรา น้ัน พระองคไดทรงบําเพ็ญ
ทุกรกิริยา คือ การบําเพ็ญอยางย่ิงยวดในลักษณะตาง ๆ เชน การอดพระกระยาหาร การทรมาน
พระวรกาย โดยการกลั้นพระอัสสาสะ พระปสสาสะ (ลมหายใจ) การกดพระทนต การกดพระตาลุ
(เพดาน) ดวยพระชิวหา (ลิ้น) เปนตน พระมหาบุรุษไดทรงบาํ เพ็ญทกุ รกิริยาเปน เวลาถึง 6 ป ก็ยังมไิ ด
คน พบสัจธรรมอนั เปนทางหลดุ พนจากทกุ ข พระองคจ งึ ทรงเลกิ การบาํ เพญ็ ทกุ รกริ ยิ าแลว กลับมาเสวย
พระกระยาหาร เพอ่ื บาํ รุงพระวรกายใหแข็งแรงในการคิดคนวิธใี หมในขณะท่ีพระมหาบุรุษ ทรงบําเพ็ญ
ทกุ รกริ ิยา นัน้ ไดม ปี ญจวัคคีย คือ พราหมณทั้ง 5 คน ไดแก โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหามานะ
และอัสสชิ เปนผูคอยปฏิบัติรับใชดวยหวังวา พระมหาบุรุษตรัสรูแลวพวกตนจะไดรับการส่ังสอน
6
ถายทอดความรูบ าง และเมือ่ พระมหาบุรุษเลกิ ลมการบําเพ็ญทุกรกิริยา ปญจวัคคียก็ไดชวนกันละท้ิง
พระองคไ ปอยู ณ ปาอสิ ปิ ตนมฤคทายวนั นครพาราณสี เปนผลใหพระองคไดป ระทบั อยตู ามลาํ พงั ในที่
อนั สงบเงียบปราศจากสิ่งรบกวนทั้งปวง พระองคไดทรงตั้งพระสตดิ าํ เนนิ ทางสายกลาง คอื การปฏิบัติ
ในความพอเหมาะพอควร น่นั เอง
พระพุทธเจา ทรงตรสั รเู วลารุงอรณุ ในวนั เพญ็ เดือน 6 (เดอื นวิสาขะ) ประกา กอนพทุ ธศกั ราช
45 ป นางสุชาดาไดนําขาวมธุปายาส เพื่อไปบวงสรวงเทวดาคร้ันเห็นพระมหาบุรุษประทับท่ีโคน
ตนอชปาลนิโครธ (ตน ไทร) ดว ยอาการอนั สงบ นางคดิ วาเปน เทวดาจึงถวายขาวมธุปายาส แลวพระองค
เสด็จไปสทู า สปุ ดษิ ฐ รมิ ฝงแมน้ําเนรัญชรา หลังจากเสวยแลว พระองคท รงจบั ถาดทองคําขึ้นมาอธิษฐานวา
“ถา เราจกั สามารถตรัสรไู ดใ นวันน้ีก็ขอใหถ าดทองคําใบน้ีจงลอยทวนกระแสน้ําไปไกลถึง 80 ศอก จึง
จมลงตรงท่กี ระแสนาํ้ วน” ในเวลาเย็นพระองคเสด็จกลบั มายงั ตนโพธิท์ ป่ี ระทบั คนหาบหญา ชือ่ โสตถิยะ
ไดถวายปูลาดท่ปี ระทับ ณ ใตต น โพธ์ิ พระองคประทับหันพระพักตรไ ปทางทศิ ตะวันออก และทรงตั้งจิต
อธิษฐานวา “แมว า เลือดในกายของเราจะเหอื ดแหง ไปเหลอื แตหนัง เอน็ กระดูก ก็ตาม ถายงั ไมบรรลุ
ธรรมวิเศษแลวจะไมย อมหยดุ ความเพยี รเปน อนั ขาด” เม่ือทรงตั้งจิตอธิษฐานเชนน้ันแลว พระองคก็
ทรงสํารวมจิตใหส งบแนว แน มพี ระสติตง้ั ม่ัน มพี ระวรกายอนั สงบ มพี ระหทัยแนวแน เปนสมาธิบริสุทธิ์
ผุดผอ ง ปราศจากกิเลส ปราศจากความเศราหมอง มีความตั้งม่ันไมหว่นั ไหว
ในปฐมยามแหง ราตรี พระองคท รงตรัสรปู ุพเพนิวาสานสุ ติญาณ คอื ญาณท่ีระลึกถงึ ชาติตาง ๆ
ในปางกอ น ตอ มาในมชั ฌมิ ยาม คอื ยามกลางแหง ราตรี พระองคทรงตรัสรูจุตูปปาตญาณ คือ ญาณ
กําหนดรูการเกดิ ของสตั วท้ังหลาย และในยามสดุ ทา ย คือ ปจ ฉิมยาม พระองคทรงตรัสรู อาสวักขยญาณ
คือ ญาณหย่ังรูในการส้ินไปแหงอาสาวกิเลสท้ังหลาย พระองคทรงตรัสรูอริยสัจ 4 คือ ทุกข สมุทัย
นโิ รธ มรรค วนั ทีพ่ ระองคท รงตรสั รใู นวันเพญ็ เดอื น 6 ปร ะกา พระชนมายไุ ด 35 พรรษา นบั แตว ันท่ี
ออกผนวชจนถึงวันตรสั รธู รรม รวมเปนเวลา 6 ป
หลังจากตรัสรูแลวพระองคทรงเสวยวิมุตติสุข ณ บริเวณตนพระศรีมหาโพธิ์ เปนเวลา
7 สัปดาห ทรงรําพงึ วา ธรรมะของพระองคเปนเร่ืองยากสําหรับคนท่ัวไปจะรู พระองคนอมพระทัย
ที่จะไมประกาศศาสนา แตเม่ือพิจารณาแลวเห็นสภาวธรรมวา สติปญญาของบุคคลเปรียบเสมือน
ดอกบัว 4 เหลา คือ พวกท่ีฟง ธรรมแลว รูเขา ใจโดยงา ย คอื บัวที่อยูพนน้ํา พวกที่ฟงธรรมท่ีอธิบาย
ขยายความแลวจะรูธรรม คือ บัวท่ีอยูปร่ิมนํ้า พวกท่ีฟงธรรมแลวตองใชระยะเวลานานไตรตรอง
ทบทวนไปมาจึงจะเขาใจเหมือนบัวที่อยูใตนํ้า และพวกสุดทาย คือ พวกที่ฟงธรรมแลวทําอยางไรก็
ไมเ ขา ใจเหมือนบัวทอ่ี ยใู ตตม เปน อาหารเตา ปู ปลา จากน้ันดว ยพระเมตตาของพระองค จึงประกาศ
เผยแผศาสนา พระองคทรงพจิ ารณาจะสอนพระธรรมใหก ับใครกอนเปนคนแรก คร้ังแรกคิดจะสอน
พระธรรมแกอาฬารดาบส แตอาจารยท ั้งสองทา นตายแลว พระองคจะเผยแผธรรมแกปญจวัคคียท้ัง 5
ที่ปาอิสปิ ตนมฤคทายวนั พระองคทรงแสดงปฐมเทศนา ในวันขึ้น 15 คํ่า เดือน 8 (เดือนอาสาฬหะ)
7
เรียกวา ธรรมจกั กปั ปวัตตนสูตร ทานโกณทญั ญะ ฟงธรรมแลว เกดิ ดวงตาเห็นธรรม คือ บรรลุโสดาบัน
จึงทูลขออปุ สมบท เรียกการบวชครัง้ น้ีวา “เอหิภิกขุอุปสัมปทา” เปนพระสงฆท่ีพระพุทธเจาบวชให
วันข้ึน 15 คํ่า เดือน 8 เปนวันที่พระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ ครบเรียกวา
อาสาฬหบชู า เปนครั้งแรก
การเผยแผศาสนา เมื่อพระพุทธเจาไดโปรดปญจวัคคียและสาวกอื่น ๆ ซึ่งเลื่อมใสนับถือ
ศาสนาพุทธ ตอมาพระพทุ ธเจา ทรงอนุญาตใหพ ุทธสาวก สามารถบวชใหกับผูทเ่ี ล่ือมใสในศาสนาพุทธได
เรียกวธิ ีบวชเชนน้ีวา "ติสรณคมนูปสัมปทา" คือ การบวชดว ยการปฏญิ าณตนเปนผูถึงไตรสรณคมน
พระพุทธศาสนาจึงหยั่งรากฝงลึกในดินแดนสุวรรณภูมิ เชน ประเทศอินเดีย ประเทศปากีสถาน
ประเทศเนปาล เปน ตน มา พระพทุ ธเจา ประกาศเผยแผคําสอนจนเกิดพุทธบริษัท 4 อันมี ภิกษุ ภิกษุณี
อุบาสก อุบาสิกา และพุทธบริษัท 4 นี้จะทําหนาที่เผยแผคําสอนของพระพุทธเจาและสืบทอดพระพุทธ-
ศาสนาใหค งอยตู อ ไป
เมื่อพระพทุ ธเจามพี ระชนมายุ 80 พรรษา พระองคเสด็จจําพรรษาสดุ ทาย ณ เมืองเวสาลี
ในวาระนั้นพระพุทธองคทรงชราภาพ และประชวรหนัก พระองคไดทรงดําเนินจากเวสาลีสู
เมืองกุสินารา เพ่ือเสดจ็ ดบั ขนั ปรินพิ พาน ณ เมืองนั้น พระองคเ สวยอาหารม้ือสุดทายที่นายจุนทะ
ปรุงดวยเน้ือสุกรถวาย พระองคเสวยและใหนําอาหารนั้นไปฝง ทรงมีอาการประชวร ถายเปน
พระโลหิต
กอ นที่พระองคจะเสด็จปรินิพพาน ซึ่งหมายถึง การไมมาเวียนวายตายเกิดในวัฏสงสาร
พระองคทรงมีพระดํารัสกับพระอานนท ซ่ึงเปนพุทธอนุชาและเปนพระอุปฏฐากของพระพทุ ธเจา
ความวา “โยโวอานฺทธมฺมจวินฺโยมหาเทสิโตปฺญตโตโสโวมมจฺจเยนสตฺถา” แปลวา “ดูกอนอานนท
ธรรมและวินัยอันท่ีเราแสดงแลว บัญญัตแิ ลว แกเ ธอท้ังหลาย ธรรมวินัยนั้นจักเปนศาสดาของเธอ
ท้ังหลาย เม่ือเราลวงลับไปแลว”
และพระพทุ ธองคไดแสดงปจฉิมโอวาทแกพระภิกษุสงฆวา “ดูกอนภิกษุทั้งหลายน่ีเปน
วาจาคร้ังสุดทายที่เราจะกลาวแกทา นท้ังหลาย สังขารท้ังหลายท้งั ปวง มีความสิ้นไปและเสื่อมไป
เปนธรรมดา ทานทัง้ หลายจงทาํ ความรอดพน ใหบรบิ รู ณถ งึ ที่สุดดวยความไมประมาทเถดิ "
8
พระพุทธเจา ประสตู ิ ตรสั รู ปรนิ ิพพาน ในวนั เดยี วกัน คือ วันเพญ็ เดอื น 6 เรยี กวา
วัน “วสิ าขบูชา”
วนั วิสาขบูชา
ประสตู ิ ตรสั รู ปรนิ พิ พาน
การเผยแผพทุ ธศาสนาเขา สปู ระเทศไทย
พระพุทธศาสนาเผยแผเขามาในประเทศไทย ประมาณป พ.ศ. 270 หลังจากพระพุทธเจา
เสด็จปรินิพพาน พระเจา อโศกมหาราช สถาปนาศาสนาพุทธเปนปกแผน และสงพระเถระไปเผยแผ
พระพุทธศาสนายงั ประเทศตาง ๆ รวมท้ังประเทศไทย พระเถระท่ีเขามามี 2 รูป คือ พระโสณเถระ
และพระอุตตระเถระ ซงึ่ เปน นกิ ายเถรวาท ขณะน้นั ไทยอยบู นดนิ แดนท่เี รยี กวา สวุ รรณภูมิ มขี อบเขต
ประเทศที่รวมกัน คือ ไทย พมา เวียดนาม กัมพูชา ลาว มาเลเซีย และสันนิษฐานวาใจกลางอยูท่ี
จังหวัดนครปฐม มีหลักฐาน คือ พระปฐมเจดีย และรูปธรรมจักรกวางหมอบ สมัยน้ีเรียกวา
สมัยทวารวดี
ตอมาสมัยอาณาจักรอายลาว ศาสนาพุทธนิกายมหายาน เผยแผมายังอาณาจักรน้ีเพราะ
พระเจามิ่งต่ี กษัตริยจีน ทรงรับพระพุทธศาสนาไปเผยแผในประเทศจีน และสงฑูตมาเจริญ
สัมพนั ธไมตรีกบั อาณาจกั รอา ยลาว จึงทําใหไทยนับถือศาสนาพุทธแบบมหายาน เปนครั้งแรกแทน
การนับถอื เทวดาแบบดั้งเดมิ
9
ในพุทธศตวรรษท่ี 13 พ.ศ. 1300 สมัยอาณาจักรศรีวิชัย ในเกาะสุมาตราไดเจริญรุงเรือง
และนาํ พระพทุ ธศาสนาแบบมหายานเขามาเผยแผดังมีหลักฐานที่ปรากฏอยู คือ พระบรมธาตุไชยา
จังหวดั สรุ าษฎรธ านี และพระมหาธาตุ จงั หวดั นครศรีธรรมราช
ในพทุ ธศตวรรษที่ 15 พ.ศ. 1500 อาณาจกั รลพบุรเี จรญิ รุงเรือง ในขณะเดยี วกันอาณาจกั รขอม
ก็เจริญรุงเรืองดวย ในสมัยราชวงศสุริยวรมันเรืองอํานาจ พระองครับเอาพุทธศาสนาแบบมหายาน
ผสมผสานกับศาสนาพราหมณ และทรงสรางศาสนาสถานเปน พระปรางคแ ละปราสาท อาณาจกั รลพบรุ ี
ของไทยรับอิทธิพลนมี้ าดว ยมภี าษาสันสกฤต เปนภาษาหลักของศาสนาพราหมณเขามามีอิทธิพลใน
ภาษาไทย วรรณคดีไทย จะเห็นส่งิ กอ สรา ง คอื พระปรางคส ามยอด จังหวัดลพบุรี ปราสาทหินพิมาย
ท่ีจงั หวดั นครราชสีมา ปราสาทหินพนมรุง ที่จังหวัดบุรีรัมย สวนพระพุทธรูปไดรับอิทธิพลของขอม
เชน ศิลปะแบบขอม
พุทธศตวรรษที่ 16 พ.ศ. 1600 อาณาจักรพุกาม ประเทศพมา เจรญิ รุงเรือง กษัตริยผูปกครอง
ช่ือพระเจาอนุรุทธิม์ หาราช กษตั รยิ พ ุกามเรอื งอํานาจ ทรงรวบรวมเอาพมา กบั มอญเขาเปน อาณาจักร
เดียวกนั และแผข ยายอาณาจกั รถงึ ลา นนา ลานชา ง คือ เชียงใหม ลําพนู เชยี งราย จึงรับพระพุทธศาสนา
แบบเถรวาท หลักฐานทปี่ รากฏ คือ การกอ สรา งเจดียแ บบพมา ซง่ึ ปรากฏอยตู ามวดั ตา ง ๆ
สมัยสุโขทัย เจริญรุงเรืองเปนปกแผนมีอาณาจักรของไทย คือ อาณาจักรลานนาและ
อาณาจักรสุโขทยั พอขุนรามคําแหงมหาราช ทรงสดับกิตติศัพทของพระสงฆลังกา ซ่ึงเผยแผศาสนา
อยูท่ีนครศรีธรรมราช จึงนิมนตมาที่สุโขทัย นับเปนจุดสําคัญท่ีทําใหพุทธศาสนาดํารงม่ันคงมาใน
ประเทศไทยสบื มาจนทุกวนั นี้ พระพุทธศาสนาแบบลงั กาวงศไดเขามาเผยแผใ นประเทศไทยถงึ 2 ครั้ง
คอื คร้งั ท่ี 1 ในสมยั พอขุนรามคําแหงมหาราช ในสมัยท่ี 2 คือ สมัยพระยาลิไท กษัตริยทุกพระองค
ปกครองบานเมืองดวยความสงบรมเย็น ประชาชนอยูดวยความผาสุก ศิลปะสุโขทัย มีความงดงาม
โดยเฉพาะพระพทุ ธรปู ไมมศี ิลปะสมยั ใดงามเสมอื น
สมัยลานนา พ.ศ. 1839 พระยามังราย ทรงสรางราชธานีชื่อ นพบุรีศรีนครพิงคเชียงใหม
ตง้ั ถ่ินฐานท่ีลุมแมน้ําปง สนบั สนุนใหพุทธศาสนารุงเรืองในเมืองเชียงราย ลําพูน ลําปาง แพร นาน
พะเยา ในสมัยพระเจา ติโลกราชแหง เชียงใหม ทาํ การสงั คายนาพระไตรปฎกเปนคร้ังแรกในประเทศไทย
สมัยกรุงศรีอยุธยา พุทธศาสนาสมัยนี้ไดรับอิทธิพลจากศาสนาพราหมณเปนอันมาก
พิธกี รรมตาง ๆ จึงปะปนกบั พธิ ีพราหมณ ประชาชนทําบญุ กุศลสรางวดั บํารงุ ศาสนา พระมหากษัตริยท่ี
ทรงผนวช คือ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ และทรงรเิ ร่ิมใหเจานายและขาราชการบวชเรียน ทรงรจนา
หนังสอื มหาชาติคําหลวงข้ึนในป พ.ศ. 2025 และในสมัยพระเจาทรงธรรม ไดพบรอยพระพุทธบาท
ทีจ่ ังหวัดสระบรุ ี จึงโปรดใหส รา งมณฑป วรรณคดใี นสมยั นี้ ไดแ ก กาพยมหาชาติ ในสมัยพระเจาอยูหัว-
บรมโกษฐ พ.ศ. 2275 - 2300 พุทธศาสนาไดเจริญรุงเรืองมาก พระเจาแผนดินของลังกา มีพระราชสาสน
มาทลู เชญิ พระภกิ ษุสงฆไ ปเผยแผศาสนาท่ลี งั กา เพราะศาสนาพุทธท่ีเรียกวา ลังกาวงศ นั้น เส่ือมลง
10
ไทยจึงสงพระอุบาลีไปประกาศศาสนาและเผยแผศาสนาจนรุงเรืองอีกคร้ัง และเรียกศาสนาพุทธ
ในคร้ังนว้ี า นกิ ายสยามวงศ
สมัยกรงุ ธนบรุ ี ปพ.ศ. 2310 กรงุ ศรอี ยุธยาถูกพมา ยกทัพเขาตีจนบานเมืองแตกยับเยิน วัดวา-
อารามถกู ทําลายยอ ยยับ พระเจาตากสินมหาราช ทรงเปนผูนําในการกอบกูอิสรภาพ ทรงตั้งเมืองหลวงท่ี
กรุงธนบรุ ี และทรงบูรณปฏิสงั ขรณว ดั วาอารามและสรา งวัดเพ่มิ เติมอกี มากและไดอ ัญเชิญพระแกวมรกต
จากเวยี งจันทนม ายังประเทศไทย
สมัยรัตนโกสินทร รัชกาลที่1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช
(พ.ศ. 2325 - 2352) พระองคยา ยเมืองหลวงมาตั้งท่ีกรุงเทพมหานคร และทรงปฏิสังขรณวัดตาง ๆ คือ
การสรา งวดั พระศรีรตั นศาสดาราม วัดสุทัศนเทพวราราม วัดสระเกศ และวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
และโปรดใหม ีการสงั คายนาพระไตรปฎ กครงั้ ที่ 9 และถือเปน คร้ังที่ 2 ในดนิ แดนประเทศไทยปจจบุ นั
รัชกาลท่ี 2 พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลา นภาลัย (พ.ศ. 2352 - 2367) ทรงบูรณะวัดอรุณ-
ราชวราราม วัดสุทัศนเทพวราราม และฟน ฟูประเพณวี สิ าขบูชา
รชั กาลที่ 3 พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2367 - 2394) ทรงสราง 3 วัด คือ
วดั เฉลิมพระเกียรติ วดั เทพธิดารามวรวหิ าร และวัดราชนัดดารามวรวหิ าร และทรงบูรณะ ปฏสิ ังขรณว ัด
มีจํานวนมากถึง 50 วัด พระองคเชิดชูกําเนิดธรรมยุติกนิกาย ในป พ.ศ. 2376 เนื่องจากพระองค
เลื่อมใสในจริยาวัตรของพระมอญ ซ่ึงเปนรูปแบบนิกายธรรมยุต มีวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร เปน
ศูนยก ลาง ทรงสรา งพระไตรปฎ กเปน จาํ นวนมากยงิ่ กวารัชกาลใด ๆ
ตอ มาสมยั รชั กาลที่ 4 พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจา อยูหวั (พ.ศ. 2394 - 2411) ทรงสรา ง
พระไตรปฎ ก ปฏสิ ังขรณว ดั กาํ เนดิ การบาํ เพญ็ กศุ ลพธิ มี าฆบชู า เปน ครง้ั แรกทีว่ ดั พระศรรี ตั นศาสดาราม
และสงสมณฑตู ไปลงั กา
สมัยรัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2411 - 2453) ทรงสราง
พระไตรปฎกแปลจากอกั ษรขอมเปน อกั ษรไทย ปฏิสงั ขรณว ดั ตา ง ๆ ทรงตราพระราชบญั ญตั ิคณะสงฆ
และสถาปนาการศึกษาสําหรับพระสงฆ 2 แหง คือ มหามกุฏราชวิทยาลัย ท่ีวัดบวรนิเวศวิหาร และมหา-
จฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ทวี่ ดั มหาธาตุ
สมัยรชั กาลที่ 6 พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลาเจาอยูหัว (พ.ศ.2453 - 2468) ทรงประกาศใช
พุทธศกั ราชทางราชการตงั้ แตว ันท่ี 1 เมษายน 2456 เปนตนมา ทรงสรา งโรงเรยี นและบูรณะวดั ตา ง ๆ
ทรงพระราชนิพนธห นังสือทางพระพทุ ธศาสนา คอื พระพุทธเจา ตรัสรูอะไร และเทศนาเสอื ปา
สมัยรัชกาลท่ี 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจา อยหู ัว (พ.ศ. 2468 - 2477) ทรงพิมพระไตรปฎก
เรียกวา "พระไตรปฎกสยามรฐั " มตี ราชา งเปนเครอ่ื งหมายเผยแพร ทรงประกวดหนังสอื สอนพระพุทธศาสนา
สําหรบั เด็ก ทรงเพ่ิมหลกั สตู รจรยิ ศกึ ษา (อบรมใหมีศีลธรรมดีงามข้ึน) แตเ ดมิ มเี พียงหลกั สูตรพุทธิศึกษา
(ใหมปี ญญาความรู) และพลศกึ ษา (ฝก หัดใหเ ปนผมู รี า งกายสมบูรณ)
11
สมัยรัชกาลท่ี 8 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดล (พ.ศ. 2477 - 2489) มีการแปล
พระไตรปฎ กเปน ภาษาไทย ทรงตราพระราชบัญญัติคณะสงฆ พ.ศ. 2484 เลิกการปกครองสงฆแบบ
มหาเถรสมาคมท่ใี ชมาต้ังแตส มัยรชั กาลที่ 5
สมยั รชั กาลที่ 9 พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (พ.ศ. 2489 - 2559) มีการ
จัดงานฉลอง 25 พทุ ธศตวรรษในป พ.ศ. 2500 มีการสรา งพุทธมณฑลไวที่ตาํ บล ศาลายา จังหวัดนครปฐม
มกี ารสง พระสงฆไ ปเผยแผศ าสนาพุทธในตา งประเทศ เสดจ็ ออกผนวชทวี่ ดั บวรนเิ วศราชวรวิหาร และ
มีโรงเรียนพทุ ธศาสนาในวันอาทติ ย
1.2 ศาสนาอสิ ลามในประเทศไทย
ประวัติศาสดา
ศาสดาของศาสนาอิสลาม คือ ทานนบีมุฮัมมัด เปนบุตรของอับดุลลอหแหงอารเบีย
ทานไดร ับมอบหมายใหเ ผยแผสาสนข องอัลลอฮพ ระผูเปนเจา
ทานศาสดานบีมุฮัมมัด เกิดท่ีมหานครมักกะห (เมกกะ) ตรงกับวันจันทรที่ 17 (บางก็วา 12)
เดอื น รอบีอุลเอาวัล ในปช า ง ค.ศ. 570 (พ.ศ. 1113) ในตอนแรกเกิดกายของมฮุ ัมมัด มรี ัศมีสวางไสวและ
มีกลิ่นหอมเปนศุภนิมิตบงถึงความพิเศษของทารก ปที่ทานเกิดน้ันเปนปที่อุปราชอับรอฮะห แหง
อาณาจักรอักซุม (เอธโิ อเปยปจจุบัน) กรีฑาทัพชางเขาโจมตีมหานครมักกะฮ เพ่ือทําลายกะอบะฮ
อันศักดิส์ ิทธิ์ แตอ ลั ลอฮไ ดท รงพทิ กั ษมกั กะฮด วยการสง กองทัพนกที่คาบกรวดหินลงมาท้ิงบนกองทัพนี้
จนไพรพลตองลมตายระเนระนาด เน้ือตัวทะลุดุจเหมือนใบไมถูกหนอนกัดกิน อุปราชอับรอฮะห
จงึ ตอ งถอยทัพกลับไปและเสียชวี ติ ไปในท่ีสดุ
12
ในปเดียวกันน้ันมีแผนดินไหวเกิดขึ้นในเปอรเซีย เปนเหตุใหพระราชวังอะนูชิรวานของ
จักรพรรดิเปอรเ ชียสัน่ สะเทือนถึงรากเหงาและพังทลายลง ยังผลใหไฟศักด์ิสิทธ์ิในวิหารบูชาไฟของ
พวกโซโรอสั เตอรท ่ลี ุกอยเู ปนพนั ปนัน้ ตองดับลงไปดวย
เมอ่ื มูฮมั มัดมี อายไุ ด 20 ป กิตติศัพทแหงคุณธรรมและความสามารถในการคาขายก็เขาถงึ หู
ของเคาะดีญะฮ บินติคุวัยลิค เศรษฐีนีหมายผูมีเกียรติจากตระกูลอะซัดแหงเผากุเรช นางจึงเชิญให
ทานเปนผูจ ัดการในการคา ของนาง โดยใหท านนําสนิ คาไปขายยังประเทศซีเรีย ในฐานะหัวหนากองคาราวาน
ปรากฏผลวา การคาดาํ เนินไปดวยความเรียบรอย และไดกําไรเกินความคาดหมาย จงึ ทาํ ใหนางพอใจ
ในความสามารถและความซือ่ สตั ยของทานเปนอยา งมาก
เมื่ออายุ 30 ป ทา นไดเขา รว มเปนสมาชิกในสหพันธฟ ุดลู อัน เปน องคการพิทักษสาธารณภัย
ประชาชน เพ่อื ขจัดทุกขบ าํ รุงสุขใหป ระชาชน กจิ การประจาํ วนั ของทาน ก็คือประกอบแตก ุศลกรรม
ปลดทกุ ขข จดั ความเดอื ดรอ น ชว ยเหลือผูตกยาก บํารงุ สาธารณกศุ ล
เมอ่ื อายุ 40 ป ทา นไดรบั วิวรณจากอัลลอฮพระผูเปนเจาในถ้ําฮิรออ ซ่ึงอยูบนภูเขาลูกหน่ึง
นอกเมืองมักกะฮ โดยทูตสวรรคญิบรีล เปนผูนํามาบอกเปนครั้งแรกเรียกรองใหทานรับหนาที่เปน
ผูเผยแผศาสนาของอัลลอฮ ด่ังท่ีศาสดามูซา (โมเสส) อีซา (เยซู) เคยทํามา น่ันคือ ประกาศใหมวล
มนุษยนับถือพระเจาเพียงองคเดียว ทานไดรับพระโองการติดตอกันเปนเวลา 23 ป พระโองการ
เหลาน้ีรวบรวมขนึ้ เปนเลม เรียกวา คัมภรี อ ัลกรุ อาน
ในตอนแรกทานเผยแผศาสนาแกวงศญ าติและเพอ่ื นใกลช ิดเปนภายในกอน ทานคอ็ ดีญะหเ องได
สละทรัพยส ินเงนิ ทองของทานไปมากมาย และทานอบูฎอลิบก็ไดปกปองหลานชายของตนดวยชีวิต
ตอมาทานไดรับโองการจากพระเจาใหป ระกาศเผยแผศ าสนาโดยเปดเผย ทําใหญาติพี่นองในตระกูล
เดยี วกนั ชาวกเุ รชและอาหรับเผาอ่ืน ๆ ท่ีเคยนับถือทานพากันโกรธแคนต้ังตนเปนศัตรูกับทานอยาง
รุนแรงถงึ กับวางแผนสังหารทา นหลายครงั้ แตกไ็ มสําเร็จ ชนมสุ ลิมถกู ควํ่าบาตรไมสามารถทาํ ธุรกจิ กบั
13
ผูใดจนตองอดอยากเพราะขาดรายไดและไมมีเงินที่จะซื้ออาหาร อบูซุฟยาน แหงตระกูลอุมัยยะห
และอบญู ะฮลั คอื สองในจํานวนหวั หนา มชุ รกิ ูนที่ไดพ ยายามทาํ ลายลา งศาสนาอสิ ลาม
เมือ่ ชาวมุชรกิ ูนเอาชนะรฐั อสิ ลามไมได ก็ไดมีการทําสญั ญาสงบศึกกันในเดือน มีนาคม ค.ศ. 628
เรียกสญั ญาสงบศกึ ครั้งนนั้ วา สญั ญาฮดุ ัยบียะห
ตอมาในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 629 ชาวมักกะหไดละเมิดสัญญาสงบศึกในเดือนมกราคม
ป ค.ศ. 630 ทา นนบจี ึงนาํ ทหาร 10,000 คน เขายึดเมืองมักกะห ทานจึงประกาศนิรโทษกรรมใหชาวมักกะห
เกอื บทง้ั หมด ยกเวน บางคนในจาํ นวนนั้นมีอลั ฮะกมั แหง ตระกลู อุมัยยะห ที่ทานนบีประกาศใหทุกคน
ควํ่าบาตรเขา การนิรโทษกรรมคร้ังน้ี มีผลใหชาวมักกะหซาบซ้ึงในความเมตตาของทาน จึงพากัน
หลัง่ ไหลเขา นบั ถือศาสนาอสิ ลามเปนจํานวนมาก ทา นนบมี ฮู มั มัดไดส ้นิ ชวี ิต ท่เี มอื งมดีนะห เม่อื วนั จนั ทร
ที่ 12 ป ค.ศ. 632 รวมอายไุ ด 63 ป
การเผยแผศาสนาอสิ ลามเขา มาสปู ระเทศไทย
จากบนั ทึกทางประวัติศาสตรข องมุสลิม ชนชาติเปอรเซียและชนชาติอาหรับ ไดเดินทางมา
ทางทะเลมาทําการคาขายกับเมืองไทยตั้งแตสมัยสุโขทัยแตไมมีผูใดรับราชการในราชสํานักไทย
นอกจากชาวมสุ ลมิ ในทอ งถ่นิ ภาคใต นับตั้งแตนครศรีธรรมราชลงไปจรดปลายแหลมมลายู สิงคโปร
และมะละกา น้ัน เจาผูครองนครแทบทุกเมืองเปนชาวมุสลิมมาแตเดิม ไมปรากฏวาทางกรุงสุโขทัย
สงคนทางสโุ ขทยั ไปปกครองแมแ ตคนเดยี ว และเมอื งตา ง ๆ ทางภาคใต เปนประเทศราชของกรุงสุโขทัย
ตอ งสง ดอกไมเ งนิ ดอกไมทองเปน เครื่องบรรณาการตามกําหนด หากเมืองใดแข็งเมืองทางเมืองหลวง
จะยกกองทัพไปปราบเปน คร้งั คราวและอยรู วมกันอยา งมคี วามปกตสิ ขุ เปน เวลาหลายรอยป
เจาพระยาบวรราชนายก ตําแหนง วางจางมหาดไทย นับวาทานเปนผูนําศาสนาอิสลาม
นิกายชอี ะหเขามาสปู ระเทศไทย และเปนจุฬาราชมนตรีคนแรก เม่ือทานถึงแกกรรมศพทานฝงไวที่
สสุ านบริเวณทากายี ปจจุบนั เปนมหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา ทา นเปนตนตระกูลอหะหมัดจุฬา
ตระกูลจฬุ ารัตน ตระกูลบุญนาค ตระกลู ศรีเพ็ญ ตระกูลบรุ านนท ตระกูลศุภมติ ร ในสมัยพระเจาทรงธรรม
มีชาวเปอรเซีย ชื่อวา ทานโมกอล อพยพครอบครัวและบริวารมาจากเมืองสาเลห เกาะชวากลาง
เน่ืองจากถูกชาติโปรตุเกสรุกราน ทานสะสมกําลัง สรางปอมคายท่ีบานหัวเขาแดง จังหวัดสงขลา
เพราะตองปองกันตัวจากโจรสลัด เจาพระยานครศรีธรรมราช ซึ่งมีหนาท่ีดูแลหัวเมืองภาคใตได
รายงานเร่ืองนใ้ี หก รงุ ศรอี ยุธยาทราบเร่ือง พระเจา ทรงธรรม โปรดเกลาฯ แตงตั้งใหทานโมกอล เปน
ขาหลวงผสู าํ เรจ็ ราชการเมืองสงขลา เมื่อทา นโมกอลถงึ แกอสัญกรรมบตุ รชาย คอื ทานสุลัยมาน เปน
ผูสําเร็จราชการตอมา และเม่ือเจาพระยากลาโหมศรสุริยวงศ ปราบดาภิเษกโดยทําการประหาร
พระเชษฐาธิราช คือ พระเจา ทรงธรรม และพระโอรสส้ินชีวิตและสถาปนาตนเปนกษัตริย ทรงพระนามวา
พระเจาปราสาททอง ทานสุลัยมานจงรักภักดีตอพระเจาหลวง จึงไมเห็นดวย แลวประกาศแข็งเมือง
14
เมอ่ื พ.ศ. 2173 สถาปนาตนเปน สลุ ตาน ชอ่ื สลุ ตานสุลยั มานชาห ตลอดสมัยปรับปรุงเมืองสงขลาเปน
เมืองทาสําคัญ มกี าํ ลังทหารเขมแข็งทง้ั ทางนา้ํ และทางบก กรุงศรอี ยธุ ยาเคยยกกองทพั ไปปราบ 2 คร้ัง
แตเอาชนะไมได สุลตานสุลัยมานชาห ปกครองสงขลาอยู 46 ป สรางความเจริญกาวหนาท้ังดาน
การคา มีโกดังสนิ คา มากมาย และการทางคมนาคม ทําใหไมตอ งออ มเรือไปยังสงิ คโปร ทาํ ใหย น ระยะทาง
ไดม าก ทานถึงแกกรรม เมือ่ พ.ศ. 2211 ศพทานฝงไว ณ สสุ านบรเิ วณเขาแดง ปจจุบนั ขนึ้ ทะเบยี นเปน
โบราณสถานของชาติ คนทวั่ ไปนับถอื ทานมาก เรียกทานวา ดาโตะมะหรุม หมายถึง ดาโตะผูลวงลับ
นั่นเอง ในสมยั สมเด็จพระนารายณม หาราชดํารวิ า ในพระราชอาณาจกั รของพระองคไ มค วรมีกษตั ริย
องคอ ื่นอกี จึงยกทพั ไปปราบนครสงขลา ซ่งึ สุลตานมตุ ตาฟา บุตรของสุลตานสุลัยมานชาห ครองอยู
และรบชนะ สมเด็จพระนารายณมหาราช จึงใหท า นสลุ ตานมตุ ตาฟา และครอบครวั ยา ยไปอยูเมืองไชยา
และสลายเมอื งสงขลาเสยี สมเดจ็ พระนารายณมหาราช มไิ ดถอื โทษสุลตานมตุ ตาฟา เพราะถือวาเปน
ชวงผลดั แผนดิน ตอมาพระองคโ ปรดเกลาฯ ใหสลุ ตา นมตุ ตาฟา เปนพระไชยา ภาษาถนิ่ นามวา ยา มี
ตาํ แหนงเปน “พระยาพชิ ิตภกั ดศี รพี ิชัยสงคราม”ทไ่ี ชยา เกดิ เปน หมบู างสงขลา มกี ารปก หลกั ประตูเมอื ง
เรียกวา เสาประโคน อยูกลางเมืองเปนหลักฐานมาจนทุกวันนี้ สวนนองชายของพระชายา คือ
ทา นหะซันและทา นรูเซ็น โปรดเกลา ฯ ใหรบั ราชการในกรงุ ศรีอยธุ ยาพรอมกับบุตรชายคนโต คือ เตาฟค
ทา นหะซนั ชํานาญการเดินเรือและทหารเรือ จึงโปรดเกลาฯ เปน พระยาราชบังสัน วาท่ีแมทัพเรือ
ของกรุงศรอี ยุธยา และตําแหนงนี้ไดส บื ทอดตอ เนอ่ื งในสายสกลุ ของทาน นับวา โชคดีของประเทศไทย
ที่ตลอดระยะเวลาของกรงุ ศรอี ยธุ ยา กรุงธนบุรี และกรงุ รตั นโกสนิ ทร จนถึงสมัยของพระบาทสมเด็จ-
พระจอมเกลา เจา อยูหัว รัชกาลที่ 4 มีขาราชการตําแหนงสําคัญ ๆ นับถือศาสนาอิสลามไมขาดสาย
เชน ตําแหนงลักษมณา เปนภาษามาเลเซีย แปลวา นายพลเรือ ต้ังแตสมัยกรุงศรีอยุธยาถึงกรุง-
รัตนโกสนิ ทร เปนตําแหนงท่ีแตงต้ังเฉพาะคนมสุ ลิมเทานน้ั
เปนทน่ี า สังเกตอกี อยางหนึง่ วา ศาสนาอิสลาม นิกายซุนหนี่และนิกายชีอะหในประเทศไทย
อยรู วมกันมาต้ังแตสมัยพระเจาทรงธรรม แหงกรุงศรีอยุธยา นิกายซุนหน่ีนั้นมีมาแตเดิมในแผนดิน
สวุ รรณภูมิ สวนนกิ ายชีอะหน น้ั ไดเ ขามาพรอมกบั ทา นเฉกอะหมดั สมัยพระเจาทรงธรรม ท้งั สองนิกายน้ี
ผกู มติ รกนั โดยมกี ารแตง งานระหวางกนั
หวั เมอื งชายแดนภาคใต ต้งั แตสมัยกรงุ ศรอี ยุธยา ดินแดนของไทยครอบคลุมถึงหลายหัวเมือง
ในประเทศมาเลเซยี ปจ จบุ ัน คือ ไทรบรุ ี (เคดาห) กลนั ตนั ตรังกานู ปะลศิ สว นดินแดนในเขตประเทศไทย
ปจ จุบนั มปี ตตานี เปน เมืองใหญ ครอบคลมุ ไปถึงยะลา นราธวิ าส สตูล ตกอยูในประเทศราชของไทย
ตองสง ดอกไมเงินดอกไมท องเปนบรรณาการมายังกรงุ ศรีอยุธยามาโดยตลอด บางคร้ังเมื่อมีการผลัด
แผน ดนิ โดยการปราบดาภเิ ษก เจา เมอื งเหลาน้ันมักถอื โอกาสแขง็ เมือง ตั้งตนเปนอิสระบอยครั้ง ทาง
กรุงศรอี ยุธยาตอ งสงกองทัพไปปราบ เม่อื ปราบแลว ไดก วาดตอ นคนมากรงุ ศรีอยุธยาดวย เชน ท่ีตําบล
คลองตะเคียน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีชาวมุสลิมเชื้อสายปตตานีจํานวนมาก สวนชาวมุสลิม
15
แขกเทศหรือแขกแพ เช้ือสายเปอรเซียหรอื อาหรบั มีภมู ลิ าํ เนาอยูแ ถบหัวแหลม หรอื ทากายี เปน ชาว-
มสุ ลมิ ชอี ะห เช้ือสายเปอรเ ซยี
ในปจ จุบันชาวมสุ ลิมในประเทศไทย สามารถอยรู วมกบั คนไทยพุทธไดโ ดยมกี ิจกรรมที่สําคัญ ๆ
รวมกัน คือ การติดตอคาขาย การศึกษารัฐธรรมนูญไทยทุกฉบับปรากฏขอความสําคัญ คือ
พระมหากษตั รยิ ไทยทรงเปนอัครศาสนูปถัมภกทุกศาสนา แตในปจจุบันมีปญหาที่ 3 จังหวัดภาคใต
คือ ยะลา ปตตานี นราธิวาส ซ่งึ ไมไดเกิดจากปญ หาความแตกตา งทางศาสนา แตเกิดจากคนบางกลุม
ยงั ไมเขาใจกันดเี พียงพอ จึงเกดิ การปะทะกัน และรัฐบาลไทยทุกสมัยพยายามแกไ ขปญ หานี้โดยตลอด
ในป พ.ศ. 1847 - 1921 อบิ นีบาตูเตาะห ชาวโมร็อกโกเชอื้ สายอาหรับ ทําการเผยแพรศาสนา
อิสลาม นกิ ายซนุ หนี่ ขึน้ ทางเกาะสุมาตราตะวนั ตกเฉียงเหนือ โดยทําใหราชาซอและหยอมรับนับถือ
ศาสนาอิสลาม เพราะในคัมภรี อ ัลกรุ อานนนั้ มีบทบญั ญัติทั้งทางโลกทางธรรมมหี ลักวชิ าเศรษฐศาสตร
นติ ศิ าสตร วทิ ยาศาสตร ปรชั ญา การเมอื ง การสงั คม การอาชพี การคาขาย การแพทยการเปนหน้ีสิน
การบริโภคอาหาร การสมรส การหยาราง การครองเรือน การแบงมรดก การศึกษาการทูต
การสงคราม และกิจวัตรประจําวันของบุคคลแตละคน ดังน้ัน เมื่อมีพระราชาศรัทธาในศาสนาจึง
เผยแผศ าสนาอสิ ลามไปในหมูพสกนกิ รและจัดระบบการเมอื ง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม การสมรส
การครองเรือน ตามพระราชบัญญัตพิ ระคัมภรี อัลกุรอาน และพระราชาธิบดี เปล่ียนจากราชาซอและห
มาเปน สุลตานซอและห ท่ีเขมแข็งและเด็ดขาด และจากน้ันศาสนาอิสลามเผยแผไปยังรัฐใกลเคียง
จนกลายเปน รฐั อสิ ลาม และขยายขึ้นมาจากตอนเหนอื ของมลายูเขา มาสตู อนใตของประเทศไทย และ
ปรากฏหลักฐานวา เจาผูครองนครทางภาคใตของประเทศไทยจนถึงเมืองนครศรีธรรมราช นับถือ
ศาสนาอิสลามท้งั สิน้ ศาสนาอิสลามจากอินเดียใตเ ขา มาสมู าเลเซีย ภาคใตของประเทศไทย สุมาตรา
ชวา บอรเ นียว แบบพิธขี องศาสนาอสิ ลามในสวนนข้ี องโลกเปนแบบอนิ โด - เปอรเซียน เชนเดียวกับ
ในอนิ เดยี และเปอรเ ซยี ซึง่ ตา งจากศาสนาอสิ ลามในอาระเบีย ประมาณคริสตศตวรรษท่ี 9 อิสลามได
มาถึงฝงมะละกา เมือ่ มารโคโปโลเดินทางเรอื ผา นชวาเขาเขียนวา ผคู นตามเมอื งทา เปน มุสลิมทงั้ สนิ้
1.3 ศาสนาคริสตในประเทศไทย
ประวตั ิศาสดา
ศาสดาของศาสนาครสิ ต คอื พระเยซู เกิดในชนชาติฮบี รู หรอื ยวิ หรอื อสิ ราเอล พระเยซูคริสต
ถือเปนพระบุตรของพระเจามาบังเกิดในชาติน้ี เมื่อจัดศาสนาของพระเจา คือ พระยะโฮวาคริสต
มีรากศัพทมาจากภาษาโรมัน หรือ ภาษากรีก ท่ีแปลมาจาก คําวา เมสสิอาห ในภาษาฮีบรู แปลวา
ผปู ลดเปลอ้ื งทุกขภ ยั
16
พระเยซู เกิดท่ีหมูบานเบธเลเฮม แขวงยูดาย กรุงเยรูซาเล็ม ในปาเลสไตน เม่ือ พ.ศ. 543
แตไ ปเติบโตท่ี เมอื งนาซาเรธ แควน กาลินี หางจากนครยูซาเล็ม ประมาณ 55 ไมล มารดาของพระเยซู
ชือ่ มาเรีย หรือ มารีย บิดาชือ่ โยเซฟ อาชีพชา งไม ตามประวัติมาเรยี มารดาพระเยซูน้ัน ต้ังครรภมากอน
ขณะที่โยเซฟ ยังเปนคูหมั้นมิไดอยูกินดวยกัน รอนถึงเทวทูตของพระเจา หรือ พระยะโฮวาห คือ เทวา-
คาเบรยี ล ตอ งมาเขาฝนบอกโยเซฟใหร ูว าบตุ รในครรภข องมาเรีย เปนบุตรของพระเจา เปนผูมีบุญมาก
ใหต้ังช่อื วา พระเยซู ตอไปคนผนู จี้ ะชว ยไถบาปใหช าวยิวรอดพนจากความทุกขท้ังปวง โยเซฟ ปฏิบัติ
ตามคําของทูตแหงพระเจา รับมาเรียมาอยูดวยกันโดยมิไดสมสูเย่ียงสามีภรรยา พระเยซูไดรับการ
เลี้ยงดูอยางดี มีความรูภาษากรีกแตกฉาน ศึกษาพระคัมภีรเกา ไดมอบตัวเปนศิษยของโยฮัน
ผแู ตกฉานในคมั ภีรข องยิว เมือ่ เยซเู ตบิ โตเปนผใู หญ มนี ิสยั ใฝสงบ ชอบอยใู นวิเวก ใฝใ จทางศาสนา
เม่ืออายุได 30 ป ไดร ับศลี ลา งบาปจากจอหน โดยอาบนํา้ ลางบาปท่แี มน ํ้าจอรแ ดน ตัง้ แตนน้ั มา
ถือวา พระเยซูไดสําเร็จภูมธิ รรมสงู สดุ ในศาสนาครสิ ต เปน ศาสดาบําเพ็ญพรต อดอาหาร เพ่ือการคิด
พจิ ารณาธรรมอยูใ นปา สงดั ถึง 40 วัน จากน้นั จงึ ออกประกาศศาสนาเผยแผศาสนาอยู 3 ป พระเยซู
สง่ั สอนไปทัว่ ประเทศปาเลสไตน หรอื อสิ ราเอล ประมาณ 3 ป มีผูนับถือพระเยซูมากข้ึน แตก็ทําให
พวกปุโรหิต พวกธรรมาจารย และพวกฟารซี เกลียดชัง ขณะท่ีพระเยซูพรอมสาวก 12 คนกําลัง
รับประทานอาหารคํ่าม้ือสุดทาย ทหารโรมันก็จูโจมเขาจับพระเยซูและสาวกในขอหาเปนกบฏตอ
ซีซารโ รมัน ตงั้ ตนเปนบตุ รพระเจา เปนพระเมสสิอาห ถูกตัดสินใหลงโทษประหารชีวิตโดยการตรึงกับ
ไมกางเขนไว 3 วัน ไดส้ินพระชนมและเสด็จไปสูสวรรค พระเยซูไดเลือกอัครสาวก 12 คนเปนหลัก
สบื ศาสนาตอไป โดยมีนักบญุ เปโตร (Saint Peter) เปนหัวหนา ผูร บั ตาํ แหนงนักบุญเปโตร ตอ ๆ มาจนถึง
ปจ จบุ นั เรยี กวา สมเดจ็ พระสนั ตะปาปา
ประเทศไทยมีศาสนาคริสตท่ีสําคัญอยู 2 นิกาย คือ นิกายโรมันคาทอลิกและนิกายโป
รเตสแตนดดังน้ี
1. นกิ ายโรมันคาทอลิก คริสตศาสนานกิ ายโรมนั คาทอลกิ นับถอื พระแมม ารี และนักบุญตาง ๆ
มีศูนยก ลางอยทู ่ีกรงุ วาตกิ ัน กรุงโรม มพี ระสนั ตะปาปา เปน ประมขุ โดยสืบทอดมาต้ังแต
สมยั อคั รสาวกกลมุ แรก โดยถอื วา นักบุญเปโตร หรือ นักบุญปเตอร คือ พระสันตะปาปา
พระองคแ รก ทรงไปสั่งสอนทกี่ รุงโรม ขณะนัน้ เทยี บไดกับนครหลวงของโลก ทรงเผยแผ
คําสอนอยู 25 ป ทําใหกรุงโรมเปนศูนยกลางของศาสนา จึงเกิดคําวา โรมันคาทอลิก
พระองคไ ดรบั การยินยอมจากพระเจาใหปกครองศาสนจักรท้ังมวลและสืบทอดมาถึง
พระสันตะปาปาเบนนิดิก ท่ี 16 องคปจจุบันเปนองคท่ี 265 คาทอลิกนั้นจะมีนักบวช
ทเ่ี รียกวา บาทหลวง และซสี เตอร (แมช )ี ชาวไทยจะเรียกผูนับถือนิกายนี้วา “คริสตรัง”
17
ตามเสียงอา นภาษาโปรตเุ กส ผูเผยแพรยุคแรก ๆ มีผูนับถอื นิกายน้ีประมาณ 1,000 ลานคน
นิกายนีถ้ ือวา พระ (บาทหลวง) เปน สือ่ กลางของพระเจา
2. นกิ ายโปรเตสแตนต แยกตัวมาจากนิกายโรมันคาทอลิก ในชวงคริสตศตวรรษท่ี 16
เปน นกิ ายทถี่ ือวา ศรัทธาของแตละคนท่มี ีตอ พระเจาสาํ คัญกวาพิธีกรรม ซึ่งยังแตกยอย
ออกเปนหลายรอยนิกาย เน่ืองจากมีความเห็นแตกตางเก่ียวกับพระคัมภีรและการ
ปฏบิ ัตใิ นพธิ กี รรม นกิ ายนมี้ ีเพียงไมก างเขน เปน เครอื่ งหมายแหง ศาสนาเทา นนั้ มผี นู ับถือ
รวมกนั ทุกนิกายยอ ยประมาณ 500 ลา นคน
การเผยแผน ิกายโรมันคาทอลิกในประเทศไทย
คริสตศาสนาที่เผยแผในไทยเปนคร้ังแรกตรงกับสมัยกรุงศรีอยุธยา ตั้งแตรัชสมัยสมเด็จ
พระมหาธรรมราชา ประมาณ พ.ศ. 2127 (ค.ศ. 1584) โดยนิกายแรกที่มาเผยแพร คือ นิกายโรมัน-
คาทอลกิ ซง่ึ มีทงั้ คณะโดมนิ กิ ัน (Dominican) คณะฟรังซสิ กัน (Franciscan) และคณะเยซูอิต (Jesuit)
บาทหลวงสว นมากมาจากโปรตเุ กสและสเปน โดยเดนิ ทางมาพรอมกับทหารและพอ คา
ระยะแรกที่ยงั ถูกปดก้นั ทางศาสนา มิชชันนารี จึงเนนการดูแลกลุมคนชาติเดียวกัน กระทั่ง
รชั สมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช ประเทศไทยไดมีสัมพันธภาพอันดีกับฝรั่งเศส ตรงกับรัชสมัย
พระเจาหลุยสท่ี 4 ทําใหมีจํานวนบาทหลวงเขามาเผยแผศาสนามากขึ้น และการแสดงบทบาททาง
สงั คมมากขึ้นบา งก็อยูจนแกห รอื ตลอดชีวิตก็มี
ดานสงั คมสงเคราะห มกี ารจดั ตง้ั โรงพยาบาล ดานศาสนา มีการตง้ั โรงเรียนสาํ หรบั สามเณร
ครสิ เตยี น เพ่อื ผลิตนักบวชพื้นเมอื ง และมกี ารโปรดศีลบวชใหนักบวชไทยรนุ แรก และจัดตั้ง คณะภคิณี
คณะรักไมกางเขน
เม่อื ส้ินรชั สมัยสมเด็จพระนารายณมหาราชแลว คริสตศาสนากลับไมไดรับความสะดวกใน
การเผยแผศาสนาเชนเดิม เพราะถูกจํากัดขอบเขต ถูกหามประกาศศาสนา ถูกหามเขียนหนังสือ
ศาสนาเปนภาษาไทยและภาษาบาลี ประกอบกับพมาเขามารุกรานประเทศไทย บาทหลวงถูกย่าํ ยี
โบสถถูกทําลาย มิชชันนารีทั้งหลายรีบหนีออกนอกประเทศ การเผยแผคริสตศาสนายุติในชวงเสีย
เอกราชใหพ มา
กระทั่ง พระเจาตากสินมหาราช กอบกเู อกราชสาํ เร็จ แมการเผยแผคริสตศาสนาเริม่ ตน ข้ึนใหม
แตเพราะประเทศกําลังอยูในภาวะสรางบา นเมืองขึน้ ใหม จงึ ไมก า วหนาเทาที่ควร
เม่ือเขาสูราชวงศจักรีแลว ชาวคริสตอพยพเขามามากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในรัชสมัย
พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว พระองคทรงเปดเสรีการนับถือศาสนาและทรงประกาศ
พระราชกฤษฎีกาใหท ุกคนมีสิทธิในการนบั ถอื ศาสนาใดก็ได
18
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว แมวาสัมพันธภาพระหวางไทยกับ
ฝรง่ั เศสไมดีนัก แตพระองคก ็ทรงรบั รองมิสซังโรมนั คาทอลิก เปนนติ บิ คุ คล
ดานสังคมสงเคราะห ในรัชสมัยนีท้ รงพระราชทานเงินทุนในการกอสรางโรงเรียน เกิดโรงเรียน
อัสสัมชัญ ใน พ.ศ. 2420 (ค.ศ. 1877) ภายหลังเกิดโรงเรียนอีกหลายแหง เชน โรงเรียนอัสสัมชัญ-
คอนแวนต โรงเรยี นเซ็นตฟ รงั ซิสซาเวียร และโรงพยาบาลเซนตห ลุยส
การเผยแพรค รสิ ตศาสนานกิ ายโปรเตสแตนตใ นประเทศไทย
คณะเผยแพรข องนกิ ายโปรเตสแตนต กลุมแรกท่ีเขามาประเทศไทยตามหลักฐานท่ีปรากฏ
คือ ศิษยาภิบาล 2 ทาน ศาสนาจารยคารล ออกัสตัส เฟรดเดอริค กุตสลาฟ เอ็ม.ดี (Rev. Carl Friedrich
Augustus Gutzlaff) ชาวเยอรมันจากสมาคมเนเธอรแลนดมิชชันนารี (Netherlands Missionary
Society) และศาสนาจารยจ าคอบ ทอมลนิ (Rev.Jacob Tomlin) ชาวอังกฤษ จากสมาคมลอนดอน
มิชชันนารี (London Missionary Society) มาถึงประเทศไทย เม่ือวันท่ี 23 สิงหาคม พ.ศ. 2371
(ค.ศ. 1828) ท้ังสองทา นชวยกนั เผยแพรศาสนาดว ยความเขม แข็ง
ตอมาจึงมีศาสนาจารยจากคณะอเมริกันบอรด (The American Board of Commissioners
for Foreign Missions หรอื A.B.C.F.M.) เขา มา
ในบรรดานกั เผยแพรศาสนาน้ัน ผูท่ีมีชื่อเสียง คือ หมอสอนศาสนา แดน บีช บรัดเลย เอ็ม ดี
(Rev. Dan Beach Bradley,M.D.) หรือ หมอบรัดเลย (คนไทยมักเรียกวา หมอบลัดเล) ซึ่งเปนเพรส-
ไบทเี รยี น ในคณะอเมรกิ นั บอรด เขามากรงุ เทพฯ (ขณะนัน้ เรียกวา บางกอก) พรอมภรรยา เมื่อวันท่ี
18 กรกฎาคม พ.ศ. 2378 (ค.ศ. 1835)
ตลอดเวลาท่ีทานอยูในประเทศไทยไดสรางคุณประโยชนมากมาย โดยเฉพาะอยางย่ิงทาง
การแพทยและการพิมพ ทั้งรักษาผูปวยไขทรพิษและอหิวาตกโรค นําการผาตัดเขามาคร้ังแรก
การทดลองปลกู ฝด าษในประเทศไทย ริเร่ิมการสรางโรงพิมพ เริ่มจากจัดพิมพใบประกาศหามคาฝน
และจดั พมิ พหนงั สือ “บางกอกกาลนั เดอร” ซงึ่ เปน จดหมายเหตุรายวัน กลาวไดวา ความเชื่อม่ันของ
ชาวไทยตอการเผยแผคริสตศาสนา เกิดจากคณะสมาคมอเมริกันมิชชันนารี นําความเจริญเขามา
ควบคไู ปกับการเผยแผศ าสนา
มิชชันนารีท่ีสําคัญอีก 2 กลุม ไดแก คณะอเมริกันแบ็พติสมิชชัน (The Americam Baptist
Mission) เปน ผูกอ ตงั้ ครสิ ตจกั รโปรเตสแตนตแหง แรกในกรงุ เทพฯ เม่ือประมาณกลาง ป พ.ศ. 2380
(ค.ศ. 1837) และจัดพมิ พหนังสอื ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ รวมทง้ั ออกหนงั สือพิมพ “สยามสมยั ”
คณะอเมริกันเพรสไบทีเรียน บอรด (The American Presbyterian Board) เปนอีกกลุมหนึ่ง
ทีน่ าํ ความเจริญสปู ระเทศไทย เชน ดร.เฮาส (Samuel R. House) นําการใชอีเทอรเปนยาสลบครั้งแรก
ในประเทศไทย ขณะท่ีศาสนาจารยแมตตูน และภรรยา (Rev. and Mrs. Stephen Mattoon)
19
ริเรม่ิ เปด โรงเรยี นแบบเชาไปเย็นกลบั ซึง่ ตอมาไดรวมกับโรงเรียนประจําของมิชชันและพัฒนาตอมา
เปน โรงเรียนกรุงเทพคริสเตยี นวทิ ยาลยั ในปจจบุ นั
1.4 ศาสนาพราหมณ - ฮนิ ดูในประเทศไทย
ประวตั ิศาสนา
ศาสนาพราหมณ - ฮนิ ดู ไมมีศาสนา แตน ับถือเทพเจาหลายองค ศาสนานี้เกิดในประเทศอนิ เดีย
เมื่อประมาณ 1,400 ปกอนพุทธศกั ราช โดยเกดิ ในสมยั พวกอารยนั อพยพเขา มาอยูในประเทศอินเดีย
เมอ่ื ประมาณ 1,400 ปกอ นพุทธศักราช ถือวาเปนศาสนาที่เกาแกท่ีสุดในโลกแตเดิมศาสนาน้ีเรียกวา
สนาตนธรรม หมายถงึ ธรรมอนั เปนนติ ย คือ ไมสน้ิ สุดไมร ูจ กั ตาย แปลเอาความหมาย คือ พระวิษณุ
หรือเรยี กอีกอยา งหนึง่ วา วษิ ณุธรรม พระวิษณุ และพระนารายณ เปน องคเ ดียวกัน
พระวิษณไุ ดส อนธรรมะและวิธปี ฏบิ ตั ธิ รรมแกพระพรหมธาดา และพระพรหมธาดาผูไดสอน
สนั ตกมุ าร ผูเปนบุตรอกี ชนั้ หนง่ึ ตอ มาท้ังสองทา นก็ไดส ่งั สอนแกพ ระนารถมุนี ผูเปนเทพฤๅษี เพ่ือให
เผยแผต อไปยงั นานาโลก
สาํ หรบั ในโลกมนษุ ย พระอุปเทศกะ คือ ผแู สดงเรอ่ื งราวทางศาสนา รองลงมาจากนารถมุนี
คือ พระกปล มุนี ผูเกดิ มาเปนมนุษยมตี วั ตนอยใู นโลกไดแ สวงธรรมครั้งแรกท่ีวินทุอาศรม ตอมาไดต้ัง
อาศรมขึน้ ทีป่ ลายแมนํ้าคงคา ท่เี รียกวา กันคงคาสาคร ดังน้ัน ในเดือนธนั วาคมและมกราคมของทุกป
จะมีประชาชนจาํ นวนมากไปจาริกแสวงบุญ ณ ท่ีดังกลาว
พระปรมาตมนั เปนพระเจา สูงสุด มอี ปุ าสยเทพ อยูสามองค คอื พระพรหม พระวิษณุ และ
พระศวิ ะ พระปรมาตมนั ไมม ีรูปและไมมตี ัวตน จึงกลา วกนั วา เปน นิรงั การ หรือ นริ ากาล คอื ไมม ีอาการ
หรอื ปราศจากอาการ
ตอมาเม่ือพระปรมาตมนั ประสงคจ ะสรางโลกก็เลยกลายเปน สาการภาพ คอื เกิดภาวะอันมี
อาการ และเปนสามรูป ไดแก พระพรหมธาดา พระวษิ ณุ และพระศวิ ะ
พระพรหม เปนผูสรา งโลกตา ง ๆ
พระวษิ ณุ เปน ผูคมุ ครองโลกตา ง ๆ
พระศวิ ะ เปน ผสู ังหารหรือทาํ ลายโลกตา ง ๆ
เทพเจา ของศาสนาพราหมณ - ฮินดู
มีอยเู ปนจํานวนมาก เปน ศาสนาประเภท พหเุ ทวนิยม นับถือพระเจา หลายองค แตละเทวสถาน
มีเทพเจาแตละองคดูไมออกวาองคไหนสําคัญกวาหรือสูงกวา แตละกลุมนับถือแตละองคบางทีใน
ครอบครัวเดียวกนั แตละคนในครอบครัวก็นบั ถอื เทพตา ง ๆ กนั ไป
20
คัมภรี พ ระเวท เปนคัมภรี ท ีป่ ระมวลความรตู าง ๆ อนั เปน ความรูท างศาสนาและสง่ิ ศกั ดิ์สทิ ธ์ิ
ซ่ึงไดแก บทสรรเสริญ บทสวดออนวอนพิธีกรรม เพ่ือการบูชายัญ เวทมนตรคาถา และกวีนิพนธ
อันไพเราะเกย่ี วกบั ธรรมชาติ
ชาวอารยันเม่ือไดครอบครองอินเดยี อยา งมน่ั คงแลว ไดร วบรวมคัมภีรพ ระเวทตามความเชื่อ
ในศาสนาของพวกตน คําวา “เวทะ” หรอื “เวท” แปลวา “ความรู” อันหมายถึง ความรูท่ีไมไดเขียนไว
เปน ตํารา แตเปน ความรทู เี่ กดิ ขึ้นเอง เปนทิพยท ่อี อกมาจากพระพรหม
ความรู หรือ เวทะ เกดิ ขึ้นได 2 ทาง ดังน้ี
1. ศรุติ การไดย นิ ไดฟ ง หมายถงึ การไดยินเสียงที่เปนทิพย ผูท่ีไดยินเสียงทิพย คือ ฤๅษี
ผูศักดิ์สิทธิ์ พวกฤๅษี ทั้งไดเห็น และทั้งไดยินพระเวท เม่ือไดยินแลวจดจําไวอยาง
แมนยาํ ตวั อยางเชน พระเวททง้ั 4
2. สมฤติ เปนคัมภีรท่ีแตงเพิ่มเติมภายหลังเพ่ืออธิบายความ หรือประกอบพระเวท
ตลอดจนเร่ืองท่ีอางวาไดจดจํามาจากคําบอกเลาตอกันมา เชน คัมภีรธรรมศาสตร
คัมภีรอิติทาส และคัมภีรปุราณะ เปนตน ความรู หรือ เวทะ ที่สําคัญท่ีสุดคอื คัมภีร
ไตรเวท
คมั ภีรพระเวทเดิม ไดแ ก ฤคเวท ซึ่งนบั ไดว าเปนหนังสือที่เกาแกที่สุด ตอมาพวกพราหมณ
ผูมีหนา ทีท่ ําพธิ ีตาง ๆ ไดคดิ นาํ บทสวดตาง ๆ ในคัมภรี ฤคเวท มารวมไวเปน หมวด ๆ เพือ่ ใหสะดวกแก
การคนจงึ ไดเกิด มยี ชุรเวท และสามเวท ขึ้นตามลําดับ คัมภีรพระเวท จึงหมายรวมทั้ง 3 คัมภีรและ
เรียกชื่อวา “ไตรเวท” และหลังจากนี้ไปเปนเวลาหลายรอยป พวกพราหมณไดแตงคัมภีรขึ้นมาอีก
เลมหน่ึงเรียกวา “อถรรพเวท” รวมกันกับคัมภีรเกาเปน 4 คัมภีร แตคงเรียกรวมกันวา “ไตรเวท”
เหมือนเดิม
คัมภรี ไ ตรเวท มีอยู 4 คัมภรี ดงั น้ี
1. คมั ภีรฤ คเวท (Rig Veda) เปนคมั ภีรท ่ีวา ดวยการสวดสรรเสริญและออนวอนเทพเจา
ตา ง ๆ
2. คัมภรี ย ชรุ เวท (Yajur Veda) เปนคูมอื พธิ ีกรรมของพราหมณเปนบทรอยแกว อธิบาย
พิธปี ระกอบพิธกี รรมและบวงสรวง
3. คัมภีรสามเวท (Sama Veda) เปนคมั ภีรรวบรวมบทสวดมนต โดยนํามาจากฤคเวท
เปน สว นมาก แตง ข้นึ ใหมม ปี ระมาณ 78 บท ใชส ําหรับสวดในพธิ ีถวายนา้ํ โสมและขับกลอม
เทพเจา
4. คัมภีรอถรรพเวท (Athava Veda) เปนคัมภีรท่ีแตงขึ้นใหมในปลายสมัยพราหมณ
เปนคาถาอาคมมนตขลังศักด์ิสิทธิ์ สําหรับทําพิธีขับไลเสนียดจัญไรและอัปมงคลให
กลับมาเปนสวัสดิมงคล นาํ ความชัว่ รายไปบังเกิดแกศตั รู
21
คัมภีรท งั้ 4 น้ี องคป ระกอบเหมอื นกนั 4 หมวด ตอไปน้ี
1. มันตระ เปน หมวดท่ีรวบรวมมนตต า ง ๆ สาํ หรับเปนบทบริกรรมและขับกลอมออนวอน
สดุดเี ทพเจา เนอื่ งในพิธกี รรมบวงสรวง ทําพลกี รรมบูชา
2. พราหมณะ หมวดน้ีเปนบทรอยแกวหรือเรียงความ อธิบายระเบียบการประกอบ
พิธกี รรมตา ง ๆ ไวอ ยา งละเอียด
3. อารัญญกะ เปนบทรอยแกว ใชเปนตําราคูมือการปฏิบัติของพราหมณ ผูประสงค
ดําเนนิ ตนเปน วานปรชั สถชฎิล หรอื ปรพิ าชก เพื่อหาความสขุ สงบ ตัดความกังวลจาก
การอยูครองเรอื น
4. อุปนิษัท เปนคัมภีรท่ีมีแนวคิดทางปรัชญาอยางลึกซ้ึง เปนตอนสุดทายแหงพระเวท
คัมภีรนี้เนนเรื่องอาตมันเทพเจา โลก และมนุษย ถือวา เปนคัมภีรเลมสุดทายของ
การศึกษา เปนบทสนทนาโตตอบไดอธิบายถึงธรรมชาติ และจักรวาลวิญญาณของ
มนุษย การเวียนวายตายเกิด กฎแหงกรรม และหลักปฏิบัติปรัชญาสังคม ซ่ึงเปน
การอธบิ ายสาระสําคัญของคัมภรี พ ระเวทท้ังหมด ดงั นี้
1) ปรมาตมัน คือ วิญญาณดั้งเดิมหรือความเจริญสูงสุดของโลกและชีวิตหรือ
จกั รวาลซึ่ง เรยี กวา พรหมัน สรรพส่ิงมาจากพรหมัน และในท่ีสุดก็จะกลับคืนสู
ความเปนเอกภาพกับพรหมันปรมาตกบั พรหม จงึ เปนสงิ่ เดยี วกัน
2) อาตมันหรือชีวาตมัน เปนสวนอัตตายอยหรือวิญญาณยอย ซ่ึงปรากฏแยก
ออกมาอยูในแตล ะคน ดงั นน้ั การที่อาตมันหรือชวี าตมันยอยน้ีไปรวมกบั พรหมัน
หรอื ปรมาตมนั ได จึงจะพนจากทุกขไมม ีการเวยี นวา ยตายเกดิ อกี ตอ ไป
3) เร่ืองกรรม การท่ีชีวาตมันจะกลับคืนสูพรหมันเปนเอกภาพอมตะไดน้ัน
ผูนน้ั จะตองบําเพญ็ เพยี รทํากรรมดีและประกอบพิธกี รรมตา ง ๆ ทเี่ รยี กวา โยคะ
คือ กรรมโยคะ ทํากรรมดี ภักติโยคะ มีความภักดีในเทพเจา และชญานโยคะ
การศกึ ษาจนเขา ใจพระเวทอยางถูกตอง คัมภรี ของศาสนาพราหมณ - ฮินดู คือ
ไตรเวท หรือ ไตรเพท
การเผยแพรข องศาสนาพราหมณใ นประเทศไทย
ศาสนาฮินดูที่มีอิทธิพลตอวัฒนธรรมไทยนั้น คือ ชวงท่ีเปนศาสนาพราหมณ โดยเขามา
ท่ีประเทศไทยเมื่อใดนั้นไมปรากฏระยะเวลาท่ีแนนอนนัก ประวัติศาสตรสวนมากสันนิษฐานวา
ศาสนาพราหมณน้ีนา จะเขามากอนสมัยสุโขทัย โบราณสถานและรูปสลักเทพเจาเปนจํานวนมากได
แสดงใหเ หน็ ถงึ อทิ ธพิ ลของศาสนา เชน รูปสลักพระนารายณ 4 กร ถือสังข จักร คทา ดอกบัวสวม
22
หมวกกระบอก เขาใจวานาจะมีอายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 9 - 10 หรือเกาไปกวาน้ัน (ปจจุบันอยูท่ี
พิพธิ ภณั ฑสถานแหงชาติ กรุงเทพมหานคร)
นอกจากน้ีไดพบรูปสลักพระนารายณทําดวยศิลา ท่ีอําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธ านี โบราณ
สถานท่สี ําคญั ทข่ี ุดพบ เชน ปราสาทพนมรุง จังหวัดบุรีรัมย ปราสาทหินพิมาย จังหวัดนครราชสีมา
พระปรางคสามยอด จังหวัดลพบุรี เทวสถานเมืองศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ ตอมาในสมัยสุโขทัย
ศาสนาพราหมณ ไดเขามามีบทบาทมากขึ้นควบคูไปกับพุทธศาสนา ในสมัยน้ีมีการคนพบเทวรูป
พระนารายณ พระอศิ วร พระพรหม พระแมอ ุมา พระหริหระ สวนมากเปนรูปหลอสาํ ริด
นอกจากหลักฐานทางศิลปกรรมแลว ในดา นวรรณคดี ไดแสดงใหเห็นถึงความเชื่อของศาสนา-
พราหมณ เชน ตํารบั ทา วศรจี ฬุ าลักษณ หรือ นางนพมาศ หรือแมแตป ระเพณีลอยกระทง เพ่อื ขอสมา-
ลาโทษพระแมค งคา นา จะไดอ ิทธิพลจากศาสนาพราหมณ เชนกนั
ในสมัยอยุธยาเปนสมัยท่ีศาสนาพราหมณเขามามีอิทธิพลทางวัฒนธรรม ประเพณี
เชนเดียวกับสุโขทัย พระมหากษัตริยหลายพระองคทรงยอมรับพิธีกรรมท่ีมีศาสนาพราหมณเขามา
เชน พิธีแชงน้ํา พิธีทํานํ้าอภิเษกกอนข้ึนครองราชสมบัติ พิธีบรมราชาภิเษก พระราชพิธีจองเปรียง
พระราชพธิ ีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพิธตี รยี มั ปวาย เปน ตน โดยเฉพาะสมเด็จพระนารายณ-
มหาราช ทรงนับถือทางไสยศาสตรมาก ถึงขนาดทรงสรางเทวรูปหุมดวยทองคํา ทรงเครื่องลงยา
ราชาวดสี าํ หรบั ตงั้ ในการพระราชพธิ หี ลายองค ในพธิ ีตรยี ัมปวาย พระองคไ ดเสดจ็ ไปสงพระเปนเจาถงึ
เทวสถานทกุ ๆ ปตอ มาในสมัยรตั นโกสินทรตอนตน
พิธตี า ง ๆ ในสมัยอยธุ ยายงั คงไดร บั การยอมรบั นบั ถือจากพระมหากษตั ริยแ ละปฏบิ ตั ติ อกนั มา คือ
1. พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก
พระราชพิธีนี้มีความสําคัญ เพราะเปนการเทิดพระเกียรติขององคพระประมุข
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ไดโปรดเกลาฯ ใหผูรูแบบแผนครั้งกรุงเกาทําการคนควา
เพอ่ื จะไดสรางแบบแผนท่ีสมบูรณตามแนวทางแตเ ดมิ มาในสมัยกรุงศรอี ยุธยา และเพ่ิมพิธีสงฆเขาไป
ซ่ึงมี 5 ข้นั ตอน คอื
1.1 ขน้ั เตรียมพิธี มีการทําพิธีเสกน้ํา การทําพิธีจารึกพระสุพรรณบัฏดวงพระราช
สมภพ และแกะพระราชลัญจกรประจํารัชกาล
1.2 ขัน้ พิธีเบอื้ งตน มีการเจรญิ พระพทุ ธมนต
1.3 ข้ันพิธีบรมราชาภิเษก มีการสรงพระมุรธาภิเษก จากน้ันรับการถวายสิริราช
สมบัติ และเคร่ืองสริ ริ าชกกุธภณั ฑ
23
1.4 ขน้ั พิธเี บอ้ื งปลาย เสดจ็ ออกมหาสมาคมและสถาปนาสมเดจ็ พระบรมราชินีแลว
เสด็จพระราชดําเนินไปทาํ พิธีประกาศพระองคเปนศาสนูปถัมภกในพระพทุ ธศาสนา
พรอ มทงั้ ถวายบังคมพระบรมศพ พระบรมอัฐิพระเจาอยูห ัวองคกอนและเสด็จ
เฉลมิ พระราชมณเฑียร เสด็จเลียบพระนคร
2. การทาํ นาํ้ อภเิ ษก
พระมหากษัตริยที่จะเสด็จข้ึนเถลิงถวัลยราชสมบัติบรมราชาภิเษก จะตองสรง
พระมรุ ธาภเิ ษก และทรงรบั น้าํ อภิเษกกอนไดร บั การถวายสริ ิราชสมบัติ ตามตําราพราหมณน้ําอภิเษกนี้
ใชน้าํ จากปญ จมหานที คือ คงคา ยมนุ า มหิ อจิรวดี และสรภู ซ่ึงทําเปนนํ้าท่ีไหลมาจากเขาไกรลาส
อันเปนท่ีสถิตของพระศิวะ สมัยรัตนโกสินทรตั้งแตรัชกาลท่ี 1 ถึงรัชกาลที่ 4 ใชน้ํา 4 สระในเขต
สุพรรณบุรี คอื สระเกษ สระแกว สระคงคา และสระยมุนา และไดเ พ่ิมน้ําจากแมนาํ้ สําคญั ในประเทศ
5 สาย คอื
นํา้ ในแมน าํ้ บางปะกง ตักทบ่ี งึ พระอาจารย แขวงนครนายก
นํา้ ในแมนาํ้ เจาพระยา ตกั ทตี่ ําบลบางแกว เขตอา งทอง
นาํ้ ในแมน าํ้ ราชบรุ ี ตักท่ีตําบลดาวดงึ ส เขตสมุทรสงคราม
นํ้าในแมน า้ํ เพชรบรุ ี ตักทต่ี ําบลทาไชย เขตเมอื งเพชรบุรี
3. พระราชพิธจี องเปรยี ง
คอื การยกโคมตามประทีปบูชาเทพเจาตรีมูรติ กระทําในเดือนสิบสองหรือเดือนอาย
โดยพราหมณเ ปนผทู าํ พิธใี นพระบรมมหาราชวงั พระราชครฯู ตอ งกินถัว่ กินงา 15 วัน สวนพราหมณอ น่ื
กินคนละ 3 วนั ทุกเชา ตองถวายน้าํ มหาสงั ขทกุ วนั จนถงึ ลดโคมลง ตอ มสมัยรัชกาลท่ี 4 ไดทรงโปรด
ใหเพิ่มพิธีพุทธศาสนาเขามาดวย โดยโปรดใหมีสวดมนตเย็น แลวฉันเชาอาลักษณอานประกาศ
พระราชพธิ ี จากนัน้ แผพระราชกศุ ลใหเ ทพยดา พระสงฆเจริญพทุ ธมนตต อไป จนไดฤ กษแ ลวทรงหลั่ง
น้าํ สังขแ ละเจิมเสาโคมชัย จึงยกโคมขึ้น เสาโคมชัยน้ที ี่ยอดมีฉัตรผาขาว 9 ช้ัน โคมประเทียบ 7 ชั้น
ตลอดเสาทานํ้าปูนขาว มหี งสต ิดลกู กระพรวน นอกจากนี้มีเสาโคมบรวิ ารประมาณ 100 ตน ยอดฉัตร
มผี า สขี าวสามชน้ั
4. พระราชพิธตี รยี ัมปวาย
เปน พธิ ีสงทายปเ กาตอนรับปใ หมข องพราหมณ เช่ือกนั วาเทพเจา เสดจ็ มาเย่ยี มโลกทกุ ป
จึงจัดพธิ ตี อ นรับใหใ หญโตเปน พิธีหลวงที่มีมานานแลว ในสมัยรตั นโกสินทรไดจัดกนั อยางใหญโ ตมากระทาํ
พระราชพธิ นี ท้ี เ่ี สาชิงชา หนาวัดสุทศั นเ ทพวราราม ชาวบานเรยี กพิธีนวี้ า “พิธีโลชงิ ชา ” เดมิ พิธนี ก้ี ระทํา
ในเดอื นอา ยตอ มาเปล่ยี นเปนเดอื นยี่
24
5. พระราชพิธพี ชื มงคลจรดพระนังคัล
แตเ ดิมมาเปน พธิ พี ราหมณ ภายหลังไดเ พมิ่ พิธสี งฆ จงึ ทําใหเ กดิ เปน 2 ตอน คอื พิธีพืชมงคล
เปนพธิ สี งฆเริม่ ตัง้ แตก ารนําพันธุพืชมารว มพิธพี ระสงฆ สวดมนตเ ย็นที่ทองสนามหลวง จนกระทง่ั รุงเชา
มกี ารเลีย้ งพระตอ สว นพธิ ีจรดพระนงั คลั เปนพธิ ีของพราหมณ กระทาํ ในตอนบาย ปจจุบนั น้ีพธิ ีกรรม
ของพราหมณที่เขามามีอิทธิพลตอสังคมไทยเริ่มลดบทบาทลงไปมาก เพราะพุทธศาสนาไดเขามามี
อทิ ธพิ ลแทน ท้ังในพระราชพธิ แี ละพธิ ีกรรมท่วั ๆ ไปในสังคม อยางไรก็ตาม พิธีพราหมณเทาที่เหลืออยู
และยังมีผปู ฏบิ ตั สิ บื กันมา ไดแก พธิ ีโกนผมไฟ พิธโี กนผมจุก พิธตี ง้ั เสาเอก พิธตี งั้ ศาลพระภูมิ พิธีเหลาน้ี
ยังคงมีผูนิยมกระทํากันท่ัวไป ในสังคมสวนพระราชพิธีท่ีปรากฏอยู ไดแก พระราชพิธีพืชมงคลจรด-
พระนงั คลั แรกนาขวัญ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก และพธิ ีทําน้ําอภิเษก เปนตน
สําหรับพธิ ีกรรมในศาสนาฮินดู ซึ่งเปนพราหมณใหมไมใครมีอิทธิพลมากนักแตก็มีผูนับถือ
และสนใจรว มในพธิ กี รรมเปนคร้ังคราว ทั้งน้ี อาจเปนเพราะความเชื่อในพระเปนเจาตรีมูรติทั้ง 3 องค
ยังคงอิทธิพลควบคูไปกับการนับถือพุทธศาสนา ประกอบกับในโบสถของพวกฮินดูมักจะตั้ง
พระพุทธรูปรวม ๆ ไปกับรูปปนของพระผูเปนเจา ทั้งนี้ สืบเนื่องมาจากความเชื่อในเร่ืองอวตารของ
พระวิษณุ ทําใหค นไทยท่ีนับถอื พุทธศาสนาบางกลุมนิยมมาสวดออ นวอนขอพรและบนบาน หลายคน
ถึงขนาดเขา รว มพธิ กี รรมของฮินดจู งึ เขาลกั ษณะท่ีวา นบั ถือท้งั พทุ ธทงั้ ฮนิ ดูปนกันไป
25
กิจกรรมที่ 1
ใหผ ูเ รยี นศกึ ษารายละเอยี ดและนาํ มาอภปิ รายรวมกนั ในเร่ืองตอ ไปน้ี
1. พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชกบั พระพทุ ธศาสนา
2. บคุ คลทีม่ ชี อื่ เสียงและมผี ลงานในการเผยแพรศ าสนาครสิ ตใ นประเทศไทย
เรื่องที่ 2 ความเปน มาของศาสนาในทวีปเอเชยี
ทวปี เอเชยี เปน แหลง กําเนิดศาสนาทส่ี าํ คญั ของโลก เชน ศาสนาคริสต ศาสนาอสิ ลาม ศาสนาพุทธ
ศาสนาฮินดู และยดู าห ในเอเชียตะวันตกเฉียงใต ประชากรสว นใหญนบั ถือศาสนาฮนิ ดูกวา 500 ลานคน
ในอินเดยี รองลงมา คือ ศาสนาอสิ ลาม มผี ูนับถอื ประมาณ 450 ลา นคน นอกจากน้ียังมีลัทธิเตา ลัทธิขงจื๊อ
ทแี่ พรห ลายในจนี ลทั ธิชนิ โตในญีป่ ุน
ประเทศฝง แผนดนิ ใหญใ นทวปี เอเชียจะนบั ถอื ศาสนาพทุ ธเปนสวนมาก ประเทศเหลานัน้ คือ
ไทย เวยี ดนาม ลาว กมั พูชา พมา และสิงคโปร สว นทางดานคาบสมุทรมลายูและหมูเกาะอินโดนีเซีย
จะนับถือศาสนาอิสลาม ไดแก ประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และบรูไน สําหรับประเทศฟลิปปนส
นบั ถอื ศาสนาคริสต ประเทศติมอรต ะวันออก น้ันก็นับถือศาสนาคริสตเปนหลัก เหมือนกันดังตาราง
จําแนกดังตอไปน้ี
26
27
2.1 พทุ ธศาสนาในเอเชยี
พุทธศาสนานิกายใหญ 2 นกิ าย คอื เถรวาทกบั มหายาน
เถรวาท แปลวา “วาทะของพระเถระ” หมายถึง พระพทุ ธศาสนาแบบดง้ั เดมิ พยายามรกั ษา
พระธรรมวนิ ยั ตามแบบอยางที่พระเถระอรหนั ตสาวกของพระพทุ ธเจา เชน พระมหากัสสปะ พระอุบาลี
และพระอานนท ทําสังคายนา คอื รวบรวมจัดระเบยี บพระธรรมไว ตามหลักของนิกายนี้ จะไมพยายาม
ปรับเปลี่ยนแกไขนิกายนี้ บางทีเรียกวา ทักษิณนิกาย แปลวา นิกายฝายใต เพราะนิกายน้ีตั้งอยูทาง
ภาคใตของประเทศอินเดยี จึงไดรับนามตามทิศทางท่ีตั้งอยู อีกอยางมีช่ือท่ีฝายมหายาน ตั้งใหวา
หินยาน แปลวา ยานเลก็ หรือยานเลว เพราะนําสัตวใ หเ ขา วัฏสงสารไมไ ดเหมือนมหายาน นามน้ีไดมา
ในสมยั แขงขนั กนั ระหวา งนกิ าย จึงมกี ารยกฝา ยหนงึ่ กดฝา ยหนงึ่ และเม่ือป พ.ศ. 2493 มีการประชุม
พุทธศาสนิกสัมพันธแหงโลกคร้ังที่ 1 ในประเทศลังกา ซ่ึงผูแทนที่นับถือพระพุทธศาสนาทุกฝายได
รว มมอื กัน เพอ่ื ใหพุทธศาสนาเขมแข็งขน้ึ ท่ีประชมุ จงึ ลงมติใหเลิกใชคําวา หินยาน ใหใชคําวา เถรวาท
แทนตงั้ แตนนั้ มา
28
ประเทศที่นับถือพุทธศาสนาแบบเถรวาท คือ ไทย พมา ลังกา ลาว และเขมร พระพทุ ธศาสนา
แบบเถรวาทนี้ ใชพ ระไตรปฎ กเปน ภาษาบาลี อานขอ ความตรงกันแมจ ะพมิ พตวั อกั ษรตางกนั
มหายาน แปลวา ยานใหญ เปนนามตั้งข้ึนเพ่ือแสดงวา พุทธศาสนาแบบน้ีสามารถชวยให
สัตวขามพนวัฏสงสารไดมาก มีการแกไขดัดแปลงพระธรรมวินัย นิกายน้ีเกิดข้ึนเม่ือพระพุทธเจา
ปรนิ พิ พานแลว 100 ป มีการสงั คายนาครั้งที่ 2 เพอ่ื แกไ ขความประพฤตทิ างวินัยบางขอ และความแตกแยก
ความคดิ เห็น ซ่งึ ในภายหลงั บางสว นกลายเปนมหายานไปนกิ ายมหายาน มีนามเรียกวา“อุตตรนกิ าย”
แปลวา นิกายฝายเหนือ เพราะตั้งอยูภาคเหนือของอินเดีย บางเรียกวา อาจาริยวาท แปลวา วาทะของ
พระอาจารย เปน คาํ คูกับเถรวาท หมายถึง วาทะของพระเถระรนุ แรกท่ที ันเห็นพระพทุ ธเจา สว นอาจาริย-
วาท หมายถงึ วาทะของอาจารยรนุ ตอ ๆ มา ประเทศทีน่ บั ถือพระพุทธศาสนาแบบมหายาน คือ ทิเบต
เวยี ดนาม จีน เกาหลี และญ่ีปุน นอกจากนี้ยังมีประเทศสิกขิม ภูฏาน ทิเบต ทั้งนิกายเถรวาท และ
มหายาน ตางมหี ลักธรรมสว นใหญท ีเ่ ขากันได คือ อรยิ สจั เมอื่ มกี ารจัดตัง้ พทุ ธศาสนิกสมั พนั ธแ หงโลก
เปน องคร วมของพระพุทธศาสนาทุกนิกายเขาดวยกัน จะสงผลใหเกิดความรวมมือรวมใจกันทํางาน
เพ่ือพระพทุ ธศาสนาดียิ่งขนึ้
ตามหลักฐานของประเทศลังกาวา หลังจากทําสังคายนาพระไตรปฎกคร้ังที่ 3 พระโมคคัลลีบุตร
ตสิ สเถระ ภายใตพ ระราชปู ถัมภข องพระเจาอโศกมหาราช ตสิ สเถระดาบส ไดดํารวิ า พระพทุ ธศาสนา
ควรตัง้ โดยชอบในปจ จนั ตประเทศทงั้ หลาย จึงไดส ง สมณทูตไปสูที่ตา ง ๆ ดังนี้คอื
1. พระมธั ณมั ติกเถระไปกัษมีระคันธาระ
2. พระมหาเทวเถระไปมหิสณั ฑละ แควนไมสอร
3. พระรกั ขิตเถระไปวนวาสีปเทส ทางทิศเหนือแควนกันทระ
4. พระโยนกธัมมรกั ขติ เถระไปอรันตปเทศ แควนคุชราต
29
5. พระมหาธัมมรกั ขิตเถระไปมหารัฐ แควนมรถะ
6. พระมหารกั ขติ เถระไปโยนกปเทศ อาณาจักรกรกี
7. พระมัชฌิมเถระไปหมิ วนั ตปเทศ แขวงหิมาลัยทศิ เหนอื
8. พระมหามหินทเถระไปตามพปณ ณิ เกาะลังกา
9. พระโสณเถระอตุ ตรเถระไปสุวรรณภูมิ (เอเชยี อาคเนย)
ดินแดนสุวรรณภูมนิ ั้นตามหลักฐานของจีน หลักฐานของปโตเล มีท่ีเดินทางมาสูเอเชียอาคเนย
ในอดีตกาล คือ ดินแดนสวุ รรณภูมิ ประกอบกับวัฒนธรรมอินเดียโบราณวัตถุ โบราณสถาน เทวรูป
ศิลาจารกึ โบราณตา ง ๆ เปน ศูนยก ลางท่ีพระอุตตระเถระ มาเผยแผศาสนาพุทธ กลาวไดวา ศาสนาพุทธ
รุงเรอื งมาต้ังแตพ ุทธศตวรรษที่ 3 และรุงเรืองมาต้ังแตตน ครสิ ตศตวรรษมา
ดนิ แดนสวุ รรณภูมมิ ีหลักฐานวัฒนธรรมทางพทุ ธศาสนาแยกเปน 6 มณฑล คือ
1. ภาคตะวันออกประเทศจัมปา ดินแดนของจามในอดีตมีหลักฐานเปนพระพุทธรูปสัมฤทธ์ิ
ศิลปกรรมแบบอมราวดีท่ีเมืองดงุ เคอื ง จงั หวดั กวางนาม พทุ ธศตวรรษที่ 3 หรอื ที่ 4
2. ภาคตะวันออกกลาง ประเทศกัมพูชา ปจจุบันมีศลิ าจารึกเกาแกที่สุด ในคริสตศตวรรษ
ท่ี 2 - 3 และพระพุทธรปู จํานวนมาก
3. ภาคตะวันตกตอนกลาง (ดินแดนมอญกับเขมร) ดินแดนประเทศไทยปจจุบันมีวงลอ
จารึกวา “เยธมฺมา...” ที่โบราณสถานของนครปฐม พบศิลปกรรมแบบอมราวดี
ครสิ ตศ ตวรรษที่ 3 หรอื 4 มีพระพุทธรูปสัมฤทธิ์ทจี่ งั หวดั นครราชสีมา
4. ภาคตะวนั ตกประเทศมอญ ประเทศพมา ปจ จุบนั มลี านทองหลายแผน จารกึ วา “เยธมฺมา...”
อยูทีม่ าซา และมองกาน ใกลเ มืองโปรม
5. แหลมมลายูมีหลักฐานของจีนกลาววามีรัฐเล็ก ๆ ถือตามวัฒนธรรมอินเดียต้ังแต
คริสตศตวรรษท่ี 2
6. หมเู กาะมีศิลาจารึกหลายแหงท่ีเมืองกุไตและท่ภี าคตะวันตกของหมูเกาะชวา
ภูมิภาคท้ัง 6 แหง เปนศูนยกลางที่พระโสภณเถร ไดเพาะหวานพืชสัมมาทิฏฐิ คือ
พระพุทธศาสนาใหลงรากแกว จนปจจุบันนี้ประชาชนของประเทศเหลาน้ีนับถือศาสนาพุทธ
เปนศาสนาชนะทกุ ขใ นโลกน้ี
การเผยแผพระพทุ ธศาสนาประเทศตา ง ๆ ในทวปี เอเชยี
1. พระพุทธศาสนาไปสูประเทศลงั กา เม่ือพระเจาอโศกมหาราชเสด็จขึ้นครองราชสมบัตินั้น
ประมาณ พ.ศ. 218 ตอมาอกี 16 ปห รอื 17 ป คอื ระหวาง พ.ศ. 233 - 235 จึงมีการทํา
สังคายนาคร้งั ที่ 3 เมอื่ ทําสงั คายนาเสรจ็ แลวพระเจา อโศกไดท รงสง สมณทตู ไปเผยแผ
30
พระพุทธศาสนาในประเทศตาง ๆ รวมหลายสายดวยกัน โดยเฉพาะไดทรงสงพระมหินท-
เถระ ผเู ปนพระราชบตุ รไปประกาศศาสนาในลงั กาทวปี ซ่งึ เปน ผลใหพระพุทธศาสนา
ประดษิ ฐานมนั่ คงในประเทศลังกาจวบจนปจ จุบนั นี้
2. พระพุทธศาสนาไปสูประเทศพมา พุทธศาสนิกชนชาวพมามีความเชื่อกันวา
พระโสณะกับพระอุตตระสมณทูตของพระเจาอโศกมหาราช ซึ่งเดินทางไปเผยแผ
พระพุทธศาสนาที่สุวรรณภูมิน้ันกค็ ือ ไปสูเมืองสะเทิม (Thaton) ของพมานั้นเอง เพียงแตวา
ในสมัยนน้ั เปน อาณาจกั รมอญหรอื ตะเลง กลาวคอื มอญหรือตะเลงครอบครองเมอื งพะโค
(หรอื เปกหู รือหงสาวดี) และเมืองสะเทิม (หรอื สธุ ัมมาวดี) แตนักประวัติศาสตรบางคน
ก็กลาววา พระพุทธศาสนาไปสูประเทศพมาภายหลังพุทธ-ปรินิพพานแลว ประมาณ
พันปเศษ คือ จับเอาประวัติศาสตรตอนที่พระเจาอโนรธามังชอ หรืออนุรุทธะ นับถือ
พระพุทธศาสนาและเผยแผพระพุทธศาสนา
3. พระพุทธศาสนาไปสปู ระเทศไทย พุทธศาสนิกชนชาวไทยก็เชื่อคลายชาวพมาวา
พระพุทธศาสนาไปสูประเทศไทยครั้งแรกเม่ือพระโสณะและพระอุตตระเดินทางไป
ประกาศศาสนาท่ีสุวรรณภูมิและเช่ือวาบริเวณพระปฐมเจดียและใกลเคียงจะเปน
สวุ รรณภูมิ เพราะไดขุดพบโบราณวัตถุรุนราวคราวเดียวกับสมัยพระเจาอโศกมหาราช
หลายอยางตกลงวาถาเช่ือตามนี้พระพุทธศาสนาก็ไปสูประเทศพมาและไทยไมเกิน
พ.ศ. 300 แตนักประวตั ศิ าสตรบางคนก็เช่อื วา พระพทุ ธศาสนาไปสปู ระเทศไทยประมาณ
ครสิ ตศ ตวรรษท่ี 1 หรอื 2 คือ ประมาณ พ.ศ. 544 ถึง พ.ศ. 743
4. พระพุทธศาสนาไปสูประเทศกัมพูชาตามรายงานของผูแทนกัมพูชาตอพุทธศาสนิก
สมั พนั ธแ หง โลก พระพทุ ธศาสนาไปสูป ระเทศน้ัน ประมาณศตวรรษที่ 3 แหงคริสตศักราช
คอื เม่อื พ.ศ. 743 ปล ว งมาแลว ผูใชน ามวา อาร.ซ.ี มชมุ ดา (R.C.Majumdar) ไดเขียน
เรือ่ งน้ีไวว า การคน พบทางโบราณคดีกับประวัติศาสตรฝายจีนยืนยันตรงกันวาปลาย
ศตวรรษที่5 แหงคริสตศกั ราช คือ ประมาณ พ.ศ. 1000 น้ัน พระพุทธศาสนาไดเจริญ
อยูแลวในกัมพูชา แมวาจะไมแพรหลายไปท่ัวประเทศ ฉะน้ัน จึงพอสันนิษฐานไดวา
พระพุทธศาสนาคงเขาไปสูก ัมพชู าในป พ.ศ. 743 เปนตน มา
5. พระพทุ ธศาสนาไปสปู ระเทศเวยี ดนามหรือจัมปา ภาคใตข องฝงทะเลตะวันออกของ
แหลมอนิ โดจนี ซึง่ เรยี กวา อนั นัม นน้ั ปจ จุบันเรยี กวา เวยี ดนาม สมัยกอนเรียกวา จมั ปา
มหี ลกั ฐานวา พระพทุ ธศาสนาไดไ ปประดิษฐานอยูใ นเวียดนามกอนคริสตศตวรรษที่ 3
คือกอ น พ.ศ. 744 ถงึ พ.ศ. 843 เหตุผลก็คือ การพบพระพุทธรูปสําริดสมัยอมราวดี
ในประเทศนัน้ และหลกั ฐานจากประวตั ศิ าสตรฝายจนี
31
6. พระพุทธศาสนาไปสูประเทศจนี ตง้ั แตพ ทุ ธศตวรรษที่ 6 จนถึงพุทธศตวรรษที่ 13 จนี
เปน ศูนยก ลางที่สาํ คัญของศาสนาพทุ ธ เมอื่ พ.ศ. 604 สมยั ราชวงศฮ่ัน พระเจามิ่งต่ีทรง
สงทูตไปสืบพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย และไดพระพุทธรูปพรอมคัมภีร
พระพุทธศาสนา มีการสรางวัดมา ขาว ซึง่ ยังคงอยถู ึงปจ จุบันพุทธศาสนาเจริญรุงเรือง
มาในสมัยราชวงศถัง เมืองฉางอาน เปนศูนยกลางสําคัญของพุทธศาสนา และเปนแหลง
เผยแผศาสนาพุทธไปยังเกาหลีและญี่ปุน ตอมาในปลายราชวงศถัง พ.ศ. 1388 จักรพรรดิ-
หวูซุง ประกาศใหศาสนาจากตางชาติ ไดแก ศาสนาคริสต ศาสนาโซโรอัสเตอร และ
ศาสนาพุทธ เปนศาสนาท่ีผิดกฎหมาย และหันไปสนับสนุนลัทธิเตาแทน ในสมัยน้ัน
มกี ารทําลายวัด บังคับใหพ ระภิกษุสงฆส กึ ความรุง โรจนของพุทธศาสนาจึงสิ้นสุด แต
พุทธศาสนานิกายสุขาวดีและนิกายฌาน ยังคงรุงเรืองมากกลายเปนนิกายเซนในญี่ปุน
และนกิ ายฌานมีอทิ ธิพลในราชวงศซ อ ง
7. พระพุทธศาสนาไปสูประเทศเกาหลี พระพุทธศาสนาพรอมทั้งขอเขียนตาง ๆ ใน
ภาษาจนี เขา สูป ระเทศเกาหลี ประมาณป ค.ศ. 372 หรือ พ.ศ. 915 เมื่อราชทูตจีนนํา
คมั ภีรแ ละภาพวาดไปยังอาณาจกั รโคกรุ ยอ ศาสนาพทุ ธรุงเรืองในเกาหลีนิกายเซนใน
พุทธศตวรรษท่ี 12 จนกระท่ังถึงยุคของการฟนฟูลัทธิขงจ้ือในสมัยราชวงศโซซอน
ตัง้ แต พ.ศ. 1935 ศาสนาพทุ ธจึงเส่อื มลง
8. พระพทุ ธศาสนาไปสูประเทศญี่ปุน ญีป่ ุน ไดรบั พุทธศาสนาเมือ่ ราวพทุ ธศตวรรษท่ี 11
โดยพระภกิ ษชุ าวเกาหลีนาํ คัมภรี และศิลปะทางพุทธศาสนาเขา สูญี่ปนุ เมอ่ื ศาสนาพุทธ
เสอื่ มลงในอินเดยี เอเชียกลาง จนี และญ่ีปุน ยังคงรกั ษาศาสนาพุทธไวไ ด ตั้งแต พ.ศ. 1253
เปนตน มา มีการสรางวดั และรูปเคารพจํานวนมากในเมอื งหลวง คอื เมอื งนารา พุทธศิลป
แบบญ่ีปุน รุงเรืองในชวงพุทธศตวรรษท่ี 13 - 18 ในราวพุทธศตวรรษที่ 17 - 18
พทุ ธศาสนานิกายเซนรุงเรือง รวมทั้งศิลปะที่สืบเนื่องจากนิกายเซนดวยพุทธศาสนา
ยงั คงรงุ เรืองในญีป่ นุ จนถงึ ปจจุบนั
9. พระพุทธศาสนาไปสูประเทศทิเบตและในประเทศภูฏาน สิกขิม ประมาณ พ.ศ. 944
ถึง 1043 มีผูนําคัมภีรพระพุทธศาสนาจากอินเดียไปสูทิเบต แตไมไดรับความสนใจ
จนกระทั่งถึงกลางศตวรรษที่ 7 ประมาณ ค.ศ. 1194 เปนตนไป พระพุทธศาสนาจึง
เจรญิ ในประเทศทเิ บต สิกขมิ และภฏู าน
32
2.2 ศาสนาอสิ ลามในทวีปเอเชีย
ประเทศสําคญั ๆ ในเอเชียทน่ี ับถอื ศาสนาอิสลาม คือ สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ
แตเดมิ เปน ชมพทู วปี เชน เดยี วกับอินเดยี และปากีสถาน เปนดนิ แดนท่รี ุง เรอื งดวยศาสนาพราหมณแ ละ
ศาสนาพุทธ ตอมามีพอคาอาหรับนาํ ศาสนาอสิ ลามมาเผยแผ ปจ จบุ นั ประเทศบงั คลาเทศ มปี ระชาชน
140 ลานคน ประชาชน 88.3% นับถือศาสนาอิสลาม ศาสนาฮินดู 10.5% นอกน้ันเปนศาสนาอื่น ๆ
เชนเดียวกับประเทศปากีสถาน มีประชากร 159.6 ลานคน ประชาชน 97% นับถือศาสนาอิสลาม
ประเทศอนิ เดยี ประชากรมีจาํ นวนพนั ลานคน นบั ถอื ศาสนาอสิ ลาม จํานวน 11.67% ประเทศอนิ โดนเี ซยี
มพี ื้นท่ีเปน เกาะ มีประชากร 215 ลานคน จํานวน 181 ลา นคน นบั ถือศาสนาอิสลาม อินโดนีเซีย เปน
ประเทศทีน่ ับถอื ศาสนาอสิ ลามมากทส่ี ดุ ในโลก รองลงมาคือ ปากีสถาน 141 ลา นค อินเดีย 124 ลานคน
บงั คลาเทศ 111 ลานคน ตุรกี อียิปต อิหราน และไนจีเรีย มี 63 - 61 ลานคน และมาเลเซีย มีผูนับถือ
12 ลา นคน จากประชากร 22 ลา นคน
ดังนั้น กลาวโดยสรุป กลุมประเทศในภูมิภาคเอเชียและเอเชียกลาง จํานวน 15 ประเทศ
ท่ีนบั ถอื ศาสนาอสิ ลาม และไมใ ชแ ตประเทศทใี่ ชภาษาอาหรับ เปนภาษากลาง ประเทศตาง ๆ เหลา นี้ คอื
อฟั กานิสถาน อาเซอรไ บจนั บังกลาเทศ บรไู น อินโดนีเซีย อิหราน คาซัคสถาน คีรกิสถาน มาเลเซีย
มีลดีฟส ปากีสถาน สาธารณรฐั ทาจกิ ิสถาน ตุรกี เติรก เมนิสถาน อุซเบกสิ ถาน
ประเทศในทวีปเอเชียท่ีประชากรมุสลิม เปนชาวอาหรับใชภาษากลาง คือ บาหเรน
สาธารณรฐั อิรกั รัฐคเู วต สาธารณรัฐเลบานอน ราชอาณาจกั รซาอดุ อี าระเบีย สาธารณรฐั อาหรับซเี รีย
สหรฐั อาหรบั เอมิเรตส สาธารณรัฐเยเมน
นอกจากนี้ ยังมปี ระเทศสาธารณรฐั คาซัคสถาน มีประชากร 15 ลานคน นับถือศาสนาอิสลาม
รอยละ 47 ที่เหลือรอยละ 44 นับถือศาสนาคริสต นิกายกรีกออรโธด็อกซ สาธารณรัฐเลบานอน
ประชาชนรอยละ 59.7 นับถือศาสนาอิสลาม สาธารณรัฐมัลดีฟส ประชาชนนับถือศาสนาอิสลาม
รัฐสุลตานโอมาน ประชาชนรอยละ 85 นับถือศาสนาอิสลาม รัฐกาตารประชาชนรอยละ 90 นับถือ
ศาสนาอิสลาม
2.3 การเผยแพรศาสนาคริสตในเอเชีย
ศาสนาคริสต เผยแผในทวีปเอเชยี ในสมยั โบราณมาพรอมกับการคา แตเ นื่องจากอารยธรรม
ในเอเชียมีความเขมแข็งมาก การเผยแผศาสนาคร้ังน้ันจึงทําไดนอย ตอมาอารยธรรมตะวันตกมี
ความเขม แขง็ ท้งั ความเจรญิ ดานวัตถุ การทหาร เศรษฐกิจ และประเพณตี าง ๆ ตองการมีอํานาจทาง
เศรษฐกิจมากข้ึน จึงเกิดการลาอาณานิคมเขามาทางเอเชียประเทศที่มีความเขมแข็งทางทะเล คือ
องั กฤษ ฝรัง่ เศส และตอมาเม่อื มีการพัฒนาการคมนาคมทางอากาศ ประเทศท่ีเริ่มแผอิทธิพลขึ้นมา
คือ อเมรกิ า รสั เซีย ศาสนาคริสต จงึ มีอิทธพิ ลในทวปี เอเชยี มากข้ึน ทีส่ ําคัญ คอื ประเทศฟลปิ ปน ส ซึ่ง
33
อยใู นความยดึ ครองของอเมริกาในชวงสงครามโลกครั้งท่ี 2 ประชาชนฟลิปปนสนับถือศาสนาคริสต
รอ ยละ 84 และเกาหลใี ต มผี ูนบั ถอื ศาสนาครสิ ตม ากข้นึ เวียดนาม และติมอรต ะวันออก นับถือศาสนาครสิ ต
เกือบทั้งหมดของประเทศ นอกจากนี้ในประเทศอื่น ๆ คือ มาเลเซีย ไทย ญี่ปุน อนิ เดีย มีผูนับถือ
ศาสนาคริสตอยูบาง
2.4 ศาสนาพราหมณ - ฮินดใู นเอเชีย
ศาสนาพราหมณ - ฮินดู เปนศาสนาทีเ่ กา แกท ่ีสุดในโลก แลวยังเปนตนแบบของอารยธรรม
วฒั นธรรมของโลกเมอ่ื ศึกษาประวตั ศิ าสนาพราหมณ - ฮนิ ดู และศาสนาพุทธในอินเดีย จะเห็นความ
รุงโรจนของศาสนาท้ังสองศาสนา แตกตางกนั ตามยคุ สมยั ตามอิทธพิ ลทส่ี าํ คญั คอื กษตั ริย ปกติแลว
ศาสนาพราหมณ - ฮนิ ดู รงุ เรืองในอินเดยี มาโดยตลอด จนมาถงึ สมยั พทุ ธกาล และตอมาศาสนาพุทธ
เสอ่ื มลง และมารุงเรอื งอกี ครง้ั ในสมัยพระเจา อโศกมหาราช และตอมาพทุ ธศาสนาเสอื่ มลงอีกศาสนา-
พราหมณ – ฮินดู จงึ ยงั คงรงุ เรืองอยูในอนิ เดียมาโดยตลอด
ในสมยั โบราณประเทศอนิ เดยี เปน ประเทศทเี่ ขมแข็งทางวฒั นธรรม เปนประเทศมหาอาํ นาจ
ประเทศหนงึ่ ในสมัยนั้นไดติดตอ คาขายกับอินโดนเี ซีย ซึ่งศาสนาฮนิ ดู - พราหมณเขามาสูอินโดนีเซีย
เนอ่ื งจากอินโดนเี ซยี เปนประเทศท่ีเปนหมูเกาะ คราวใดท่ีประเทศท่ีมาติดตอคาขาย มีอิทธิพลทําให
เจาผูครองประเทศศรัทธา เลื่อมใสนับถือ จะทําใหคนในประเทศนับถือไปดวย ตอมาศาสนาพราหมณ -
ฮินดูเสอ่ื มลง มีศาสนาพทุ ธมาแทน ศาสนาพุทธเสือ่ มลงแลว และในปจ จบุ นั คนในอินโดนเี ซียสวนใหญ
จะนบั ถอื ศาสนาอสิ ลาม
กิจกรรมท่ี 2
ใหผ ูเรยี นคน ควาขอ มูลเพอ่ื เขียนรายงานและความหนาแนนของจํานวนประชากรของ
ประเทศตา ง ๆ ทนี่ ับถือศาสนาตา ง ๆ ในทวีปเอเชีย
34
35
เรอื่ งท่ี 3 หลักธรรมของศาสนาตา ง ๆ
3.1 หลกั ธรรมของศาสนาพุทธ
หลักธรรมของศาสนาพุทธ หรอื อาจกลา วส้ัน ๆ วา ศาสนธรรม ไดจ ัดไวเปนหมวดหมู 3 หมวด
ดวยกัน เรียกหมวดหมูที่จําแนกจัดในกระจาด หรือตะกรา คือ คําวา “ปฎก” แปลไดอีกอยางวา
“คัมภีร” ดังนั้น พระไตรปฎก หมายความวา เปนท่ีรวบรวมคําสั่งสอนของพระพุทธเจาไวเปน
หมวดหมูไมใหกระจดั กระจาย คลายกระจาด หรือตะกรา เปน ท่ีใสส่ิงของ และ ไตร แปลวา 3
ดังนนั้ ใน 3 ปฎก ประกอบดว ย
1. พระวนิ ัยปฎ ก วา ดวยวนิ ัยหรอื ศลี ของภกิ ษภุ กิ ษุณี
2. พระสตุ ตนั ตปฎ ก วา ดวยพระธรรมเทศนาทั่ว ๆ ไป
3. พระอภธิ รรมปฎ ก วา ดวยธรรมะลว นหรอื ธรรมะทส่ี าํ คัญ
ในสมยั ของพระพุทธเจา ยังไมมีพระไตรปฎก แตเรียกธรรมท่ีพระองคประทานไวมากมาย
ตางกาลเวลา สถานท่ี พระสาวกทองจํากันไวได และจัดระเบียบหมวดหมูเปนปฎกตาง ๆ เมื่อ
พระพทุ ธเจา ปรินพิ พานแลว จงึ ไดมกี ารสังคายนา หรือตรวจชําระ จัดระเบียบ คําสอนของพระองค
เปนหมวดหมดู ว ยการทอง การจารึกในตัวหนงั สือ ดวยการพิมพเปนเลม
หลกั ธรรมสําหรบั ชาวพุทธ
ห ลั ก ศ า ส น า พุ ท ธ เ ช่ื อ เ ร่ื อ ง ก า ร เ วี ย น ว า ย ต า ย เ กิ ด ข อ ง สั ต ว โ ล ก ชี วิ ต เ ป น ทุ ก ข เ ป น ไ ป
ตามกฎแหงกรรม ทาํ ดไี ดดที าํ ชว่ั ไดช ว่ั ภพภูมิท่เี วียนวา ยตายเกิดภพภมู ิของสตั วโ ลกมี 3 ภมู ิ คอื มนุษย
โลก เทวโลก และนรกภูมิ จนกวาสัตวโลกนั้น จะขจัดกิเลสหมดส้ิน และเขาสูโลกพระนิพพาน
ไมมกี ารเวียนวายตายเกดิ อกี
การปฏิบตั ติ ามหลกั ธรรมของศาสนาพุทธน้นั ควรเปน ไปตามลาํ ดบั ชนั้ คือ
1. การปฏญิ าณตนเปนพทุ ธมามกะ
2. การปฏบิ ตั ติ นตามศีล 5
3. การปฏบิ ตั ติ นเพ่อื ความพน ทุกข
36
1. การปฏบิ ตั ิตนเปน พทุ ธมามกะ หรอื เรียกวา การปฏบิ ตั ติ นถงึ ไตรสรณคมณ นน่ั คอื
ปฏิญาณวา จะนบั ถือพระรตั นตรยั โดย
พุทธงั สะระณงั คจั ฉามิ
แปลวา ขาพเจา ขอถงึ พระพุทธเจา เปน ที่พง่ึ ในการดําเนนิ ชีวติ
ธัมมัง สะระณงั คัจฉามิ
แปลวา ขาพเจา ขอถงึ พระธรรม เปน ทพ่ี ่ึงในการดําเนนิ ชีวติ
สงั ฆงั สะระณงั คจั ฉามิ
แปลวา ขา พเจา ขอถึงพระสงฆเ ปนทพี่ ึ่งในการดาํ เนนิ ชีวิต
ทุตยิ มั ป พทุ ธัง สะระณงั คจั ฉามิ
แปลวา ขา พเจา ขอถึงพระพุทธเจา เปน ท่ีพ่งึ ในการดาํ เนนิ ชีวติ แมคร้งั ทส่ี อง
ทุติยัมป ธัมมงั สะระณงั คัจฉามิ
แปลวา ขาพเจาขอถึงพระธรรมเปน ทพ่ี ง่ึ ในการดาํ เนินชวี ติ แมค ร้ังทีส่ อง
ทตุ ิยัมป สงั ฆัง สะระณัง คจั ฉามิ
แปลวา ขาพเจาขอถงึ พระสงฆ เปนทพี่ ึ่งในการดาํ เนินชีวิตแมคร้ังทสี่ อง
ตะติยมั ป พทุ ธงั สะระณัง คจั ฉามิ
แปลวา ขาพเจาขอถึงพระพุทธเจา เปน ทพ่ี ง่ึ ในการดาํ เนินชีวติ แมค รง้ั ทส่ี าม
ตะติยมั ป ธมั มงั สะระณัง คจั ฉามิ
แปลวา ขาพเจาขอถงึ พระธรรม เปนทพี่ ่ึงในการดําเนนิ ชีวติ แมค ร้ังทสี่ าม
ตะตยิ มั ป สงั ฆงั สะระณงั คจั ฉามิ
แปลวา ขาพเจาขอถงึ พระสงฆ เปนทีพ่ ง่ึ ในการดาํ เนนิ ชวี ติ แมค ร้งั ท่สี าม
2. การปฏบิ ตั ิตนตามศีล 5 ศลี 5 เปนพนื้ ฐานของพทุ ธศาสนกิ ชนพึงประพฤตปิ ฏบิ ัติ คอื
1. ปาณาตปิ าตาเวระมะณีสิกขาปะทังสะมาทยิ ามิ
แปลวา งดเวนการฆา เบียดเบยี น ทาํ รายรา งกายคน และสัตว
2. อะทินนาทานาเวระมะณสี ิกขาปะทังสะมาทิยามิ
แปลวา งดเวน จากการถือเอาส่ิงของทีเ่ ขาไมให
3. กาเมสมุ จิ ฉาจาราเวระมะณสี ิกขาปะทังสะมาทยิ ามิ
แปลวา งดเวนจากการประพฤตผิ ดิ ในกาม
4. มุสาวาทาเวระมะณสี ิกขาปะทังสะมาทยิ ามิ
แปลวา งดเวน จากการพดู ปด พดู สอเสยี ด พดู เพอเจอ
5. สรุ าเมระยะมัชชะปะมาทฏั ฐานะเวระมะณสี กิ ขาปะทงั สะมาทยิ ามิ
แปลวา งดเวน จากสรุ า ยาเสพติดทง้ั ปวง
37
ศลี 5 มปี ระโยชน คือ
1. เพือ่ ความสงบสขุ ของสงั คม คอื การปอ งกันการลวงละเมดิ สิทธิของผอู ืน่ อนั จะสง ผลให
เกดิ การทะเลาะเบาะแวง ความหวาดระแวง และความวุนวายในสงั คม
2. เพ่อื พัฒนาจติ ใจของผปู ระพฤติ ปฏบิ ัตติ ามศลี เพราะ ศลี 5 บัญญตั ขิ นึ้ มา เพอ่ื ควบคุม
ไมใหมีการแสดงออกทางกาย หรือวาจา ไปในทางทตี่ อบสนองอาํ นาจของกิเลส ในการ
ใหศ ลี นน้ั ตอนสดุ ทายพระ จะกลาววา
สเี ลนะสุคะตงั ยนั ตสิ ีเลนะโภคะสมั ปะทา
สเี ลนะนพิ พตุ งิ ยันตติ สั มาสลี งั วิโสธะเย
คาํ กลาวนีแ้ สดงถึง อานิสงสของการรกั ษาศีล คือ ศีลทําใหผูประพฤติปฏิบัติเขาถึงสุคติ
คือ ไปในทางทดี่ ี ศีลกอใหเกิดโภคทรพั ย และศีลนาํ มาใหไ ดถึงความดับ หรอื พระนพิ พาน
3. การปฏิบัติตนเพื่อความพนทุกข ชาวพุทธควรศึกษาธรรมท่ีสําคัญ ๆ คือ อริยสัจ 4
อิทธบิ าท 4 ทศิ 6 สปั ปุริสธรรม 7 อบายมขุ 6 พรหมวิหาร 4 สงั คหวัตถุ 4 และชาวพุทธ
ควรบริหารจิตตามหลักพุทธศาสนา
3.1 อรยิ สัจ 4 คอื ธรรมทพ่ี ระพทุ ธเจา ทรงตรสั รอู รยิ สจั 4 คอื ความจริง 4 ประการ คอื
1) ทุกข คอื ความไมสบายกาย ไมสบายใจ อันเน่ืองมาจากสภาพท่ีทนไดยาก
คอื สภาวะท่ีบีบคัน้ จิตใจ ความขดั แยง ความไมส มปรารถนา การพลัดพราก
จากส่งิ ที่รกั ท่ชี อบใจ
2) สมุทัย คือ เหตุท่ีทําใหเกิดความทุกขจากตัณหา หรือความอยาก ความ
ตองการ มสี าเหตมุ าจาก
กามตณั หา คือ ความอยากไดในสิ่งทีป่ รารถนา เชน อยากไดบ า น
ภวตัณหา คือ ความอยากเปน โนน อยากเปนนี่
วิภวตัณหา คอื ความไมอ ยากเปนน่นั ความไมอยากเปนน่ี
3) นโิ รธ หมายถึง ความดับทุกข คอื การดับตณั หา ความอยากใหสิ้นไป ถาเรา
ตัดความอยากไดมากเทาใด ทุกขก็มีนอยลงไปดวย และถาเราดับได
ความสุขจะเกิดขึ้น
4) มรรค หมายถึง ขอปฏิบัติใหถึงความดับทุกข ไดแก การเดินทางสายกลาง
หรือ เรยี กอยางหนงึ่ วา มรรค มสี วนประกอบ 8 ประการ คือ
1. สมั มาทฎิ ฐิ คอื ความเหน็ ชอบ
2. สมั มาสังกัปปะ คือ ความดาํ รชิ อบ
3. สัมมาวาจา คอื ความเจรจาชอบ
4. สมั มากัมมนั ตะ คือ การกระทําชอบ
38
5. สมั มาอาชีวะ คือ การเล้ียงชพี ชอบ
6. สมั มาวายามะ คอื การเพียรชอบ
7. สมั มาสติ คอื การระลึกชอบ
8. สัมมาสมาธิ คือ การตั้งใจชอบ
3.2 อิทธบิ าท 4 เปนธรรมะทป่ี ฏบิ ตั ิตนในสง่ิ ทมี่ ุงหมายใหพบความสําเร็จ เปนธรรมะ
ทใี่ ชกับการศึกษาเลา เรียน การทํางานอาชพี ตา ง ๆ อทิ ธบิ าท หมายถึง ธรรมทใี่ ห
บรรลุความสําเร็จ มาจากคําวา อิทธิ คือ ความสําเร็จ บาท คือ ทางวิถีนําไปสู
ดังน้นั อทิ ธิบาท จึงแปลวา วถิ ีแหงความสําเร็จ ประกอบดวย
1) ฉนั ทะ คือ ความพอใจรกั ใครส ง่ิ นั้น เชน รกั ใครใ นการงาน ท่ที ําในวิชาที่เรียน
2) วริ ยิ ะ คอื เพียรหมัน่ ประกอบในสิง่ น้นั มีกําลังใจเขมแขง็ อดทน หนกั เอา-
เบาสู
3) จติ ตะ คือ เอาใจใสส ง่ิ นนั้ ไมวางธรุ ะ ตง้ั ใจ จติ ใจจดจอ กับงาน
4) วมิ ังสา คือ หม่ันตรติ รอง พิจารณาเหตุผล ในสิง่ นั้น ปรับปรุง พฒั นาแกไข
สงิ่ นนั้ ได
3.3 ทศิ 6 คอื ส่ิงทท่ี ุกคนทีอ่ ยูรวมกันในสังคมพงึ ปฏบิ ตั ติ อกันในทางทดี่ งี ามรายละเอยี ด
คอื
1. ทิศเบือ้ งหนา ไดแก บิดา มารดา เปนผูอุปการะบุตรธิดามากอน นับต้ังแต
ปฏิสนธิในครรภมารดา และประคบประหงมเลยี้ งดู
บตุ รธดิ า ควรบํารุงบดิ า มารดา ดังน้ี
1) ทานไดเลี้ยงเรามาแลว ใหเล้ยี งทา นตอบ
2) ชวยทํากจิ ของทาน (ใหส าํ เร็จดว ยด)ี
3) ดาํ รงวงศส กุล (ใหเปน ท่ีนบั ถือ)
4) ประพฤติตนใหเ ปน คนควรรบั ทรัพยม รดก
5) เมอ่ื ทานลวงลับไปแลว ทาํ บญุ อุทิศให
และบิดา มารดา ควรอนุเคราะหบ ตุ รธดิ า 5 ประการ คอื
1) หามมใิ หท ําช่วั
2) ใหต ัง้ อยใู นความดี
3) ใหศ กึ ษาศลิ ปวทิ ยา
4) หาคูครองที่สมควรให
5) มอบทรัพยใ หต ามเวลาอนั ควร
39
2. ทิศเบื้องขวา ไดแก อาจารย เพราะอาจารยเปนผูอบรมส่ังสอนศิษย ใหรู
วชิ าการตา ง ๆ และบาปบุญคณุ โทษ
ศษิ ย ควรปฏิบตั ติ อ อาจารย ดังนี้
1) ดว ยการลกุ ขึ้นตอ นรบั ตอ นรับดวยความเต็มใจ
2) ดว ยเขาไปยืนคอยรบั ใช เมอ่ื ทานมีกิจธุระไหววาน
3) ดวยการเชอ่ื ฟง
4) ดวยการอปุ ฏฐาก ดูแลรกั ษา ชวยเหลอื ตามควร
อาจารย ควรอนุเคราะหศ ิษย คอื
1) แนะนําดีใหประพฤตดิ ี ประพฤติชอบ
2) ใหเรยี นดใี หเ ขา ใจดี และถูกตอง
3) บอกศิลปะใหส นิ้ เชิง ไมป ด บงั อําพราง
4) ยกยอ งใหป รากฏในเพ่อื นฝงู
5) ทําความปอ งกันในทศิ ทง้ั หลาย (คือ จะไปทางทศิ ไหนกไ็ มอ ดอยาก)
3. ทิศเบ้อื งหลงั ไดแ ก สามี ภรรยา เพราะสามีภรรยาเปนผูมาทีหลังจึงยกไว
เปนทิศเบอื้ งหลัง
สามี พึงบํารุงภรรยา ดังนี้ คอื
1) ยกยอ งนบั ถือวาเปนภรรยา
2) ดว ยการไมด หู ม่นิ
3) ดวยการไมป ระพฤตนิ อกใจ
4) ดวยการมอบความเปน ใหญใ ห
5) ดว ยการใหเ คร่ืองแตง ตัว
ภรรยา พึงอนเุ คราะหสามีดังตอ ไปน้ี คือ
1) จัดการงานดี คอื ขยนั หมั่นทาํ กจิ การในบาน
2) สงเคราะหคนขา งเคยี งของสามีดตี อนรับพดู จาปราศรยั
3) ไมประพฤตินอกใจ
4) รูจกั รกั ษาทรัพยท ่สี ามีหามาไดรจู กั เกบ็ ออม
5) ขยันไมเกียจครา นในกจิ การทัง้ ปวง
4. ทิศเบ้ืองซาย ไดแก มิตรสหาย เพราะเปนผูชวยเหลือในกิจธุระตาง ๆ ท่ี
เกดิ ข้ึนใหส าํ เรจ็ เหมอื นกบั มือซายชวยประคองมอื ขวาใหทาํ งาน การปฏิบตั ิตนตอมติ ร คอื
1) ดว ยการใหแ บงทรพั ยส ินใหมติ รตามควร
2) ดวยการเจรจาถอยคําไพเราะ พดู จาออนหวาน มสี าระ
40
3) ดวยการประพฤติประโยชนชว ยเหลอื แนะนาํ สงิ่ ท่ีเปน ประโยชน
4) ดวยความเปนผูมีตนเสมอ ทําตัวเสมอกันกับมิตร ไมแสดงกิริยา
เยอ หยิ่งจองหองกบั มิตร
5) ไมกลาวใหคลาดจากความจริง จิตใจซื่อตรงสุจริต มีความจริงใจ
ไมหวาดระแวงตอ มติ ร
มติ รพงึ อนเุ คราะหเพอื่ นตอบ ดงั ตอ ไปนี้ คือ
1) รกั ษามติ รผปู ระมาท แลว สกัดกัน้ อนั ตรายไมใหเกดิ ขึ้น
2) รักษามิตรของผปู ระมาท แลวรกั ษาทรพั ยไ มใหเ กิดอนั ตราย
3) เมือ่ มีภัยเอาเปนที่พึง่ ได เปน ทพี่ ึ่งพงิ ได
4) ไมละท้ิงในยามวิบัติ เมื่อมิตรเสื่อมลาภ ยศ ทรัพย สมบัติ ใหความ
ชวยเหลือไมทอดทงิ้
5) นบั ถือตลอดถึงวงศญาตมิ ิตร ใหค วามรักใครนบั ถือญาตพิ ี่นอ งของมิตร
เหมอื นญาตติ นเองดวย
5. ทศิ เบอ้ื งลาง ไดแ ก บาวไพร กรรมกร เพราะเปนผูท่ีต่ํากวา จึงยอมตนเปน
คนรบั ใช
นายพงึ บาํ รงุ ดงั ตอ ไปน้ี คอื
1) ดว ยการจดั การงานใหทาํ ตามสมควรแกกาํ ลงั ความสามารถ
2) ดว ยการใหอ าหาร และรางวลั
3) ดวยการพยาบาล เวลาเจบ็ ไข
4) ดวยการปลอยในสมัย ผอนผันใหหยุดงานตามเทศกาล ตามความ
สมควร
คนรับใช บาวไพร ควรปฏบิ ตั ติ น ดังตอ ไปน้ี
1) ลุกขนึ้ ทาํ งานกอ นนาย
2) เลกิ งานทีหลงั นาย
3) ถอื เอาแตข องท่นี ายให
4) ทํางานใหดขี นึ้
5) นําคณุ ของนายไปสรรเสรญิ
6. ทศิ เบือ้ งบน ไดแ ก สมณะ พราหมณ ผูที่เปนที่เคารพสักการะทั่วไป เปนผู
ปฏบิ ัติธรรมเปนอรยิ สาวกพระพุทธเจา
เราควรปฏิบตั ิตอสมณะ พราหมณ ดังนี้คอื
1) ดวยกายกรรม ทําสง่ิ ทเี่ ปน ประโยชน
41
2) ดวยวจกี รรม พดู มีสมั มาคารวะ
3) ดวยมโนกรรม คดิ สิ่งใดประกอบดวยเมตตา
4) ดวยความเปนผูไมป ด ประตูตอนรบั ถวายอาหารให
5) ดวยอามสิ ทาน ถวายปจ จยั 4
สมณะ พราหมณ ควรอนเุ คราะหต อบ ดังนคี้ ือ
1) หามไมใ หกระทําชั่ว
2) ใหตั้งอยใู นความดี
3) อนุเคราะหด วยนํ้าใจอนั งาม
4) ใหไดฟง ในสง่ิ ทย่ี งั ไมเคยฟง
5) ทาํ ส่งิ ทเี่ คยฟงแลว ใหแ จมแจง
6) บอกทางสวรรคให
3.4 สัปปรุ สิ ธรรม 7 คือ ธรรมของคนดี 7 อยาง คือ
1) ความเปน ผรู จู ักเหตุ (ธมั มญั ุตา)
2) ความเปนผรู จู กั ผล (อตั กญั ตุ า)
3) ความเปนผรู จู ักตน (อัตตญั ุตา)
4) ความเปน ผรู จู ักประมาณ (มัตตญั ตุ า)
5) ความเปนผรู จู ักกาล (กาลญั ตุ า)
6) ความเปนผรู จู กั ชมุ ชน (ปรสิ ัญตุ า)
7) ความเปนผรู จู ักเลือกบคุ คล (ปุคคลปโรปรญั ตุ า)
3.5 อบายมขุ 6 ละเวนจากอบายมขุ 6 คอื
1) การดืม่ นาํ้ เมา
2) เที่ยวกลางคืน
3) เท่ยี วดูการละเลน
4) เลนการพนัน
5) คบคนชัว่ เปนมติ ร
6) เกียจครา นการทาํ งาน
3.6 พรหมวิหาร 4 คอื ธรรมะของผใู หญท ค่ี วรปฏิบัติ คอื
1) เมตตา คอื ความปรารถนาใหผ ูอนื่ มคี วามสขุ
2) กรณุ า คอื ความปรารถนาใหผ ูอน่ื พน จากความทุกข
3) มุทติ า คือ ความยนิ ดเี มอื่ ผูอ น่ื ไดด ี
4) อุเบกขา คอื การวางเฉยไมล าํ เอียงทาํ ใหเปนกลางใครทาํ ดียอ มไดดี