92
คณะผกู อ การบางสว น ไดม คี วามคิดที่จะเปล่ยี นแปลงโครงการเศรษฐกิจของประเทศ อยาง
ใหญหลวง จึงเกิดแตกราวกันขนึ้ เองในคณะผูกอการ และพวกพอง จนตองมีการปดสภา
และงดใชรัฐธรรมนูญบางมาตรา โดยคําแนะนําของรัฐบาล ซึ่งถือตําแหนงอยูในเวลา
ทําการนน้ั ทง้ั นี้ เปนเหตุใหมีการปนปว นในการเมอื ง ตอ มา พระยาพหลฯ กับพวกก็กลับ
เขาทําการยดึ อํานาจ โดยกําลงั ทหารเปนครั้งที่ 2 และตั้งแตนั้นมา ความหวังท่ีจะใหการ
เปลี่ยนแปลงตาง ๆ เปน ไปโดยราบรนื่ ก็ลดนอ ยลง
เน่ืองจาก เหตุที่คณะผูกอการมิไดกระทําใหมีเสรีภาพในการเมืองอันแทจริงและ
ประชาชนมิไดมโี อกาสออกเสียงกอ นท่จี ะดําเนินนโยบายอนั สําคัญตาง ๆ จึงเปนเหตุใหมี
การกบฏขึ้น ถึงกบั ตอ งตอสฆู าฟนกนั เองในระหวา งคนไทย
เมอ่ื ขา พเจา ไดข อรอ งใหเปล่ยี นแปลงรฐั ธรรมนญู เสียใหเขารูปประชาธิปไตยอันแทจ ริง
เพ่ือใหเปน ทพ่ี อใจแกประชาชน คณะรัฐบาลและพวก ซ่ึงกุมอํานาจอยูบริบูรณในเวลาน้ี
กไ็ มยินยอม ขาพเจา ไดขอรองใหราษฎร ไดมีโอกาสออกเสียงกอนที่จะเปลี่ยน หลักการ
และนโยบายอันสําคัญ มีผลไดเสยี แกพลเมอื ง รัฐบาลก็ไมยินยอม และแมแตการประชุม
ในสภาผูแทนราษฎรในเร่อื งสาํ คญั เชน เรอ่ื งคํารอ งขอตา ง ๆ ของขา พเจา สมาชิกก็มไิ ดมี
โอกาสพจิ ารณาเรอื่ งโดยถองแท และละเอยี ดลออเสียกอ น เพราะถูกเรงรัดใหลงมติอยาง
รีบดวนภายในวาระประชุมเดียว นอกจากน้ี รัฐบาล ไดออกกฎหมายใชวิธีปราบปราม
บคุ คล ซงึ่ ถกู หาวา ทาํ ความผิดทางการเมืองในทางท่ีผิดยุติธรรมของโลก คือ ไมใหโอกาส
ตอสคู ดีในศาล มีการชาํ ระโดย คณะกรรมการอยางลับ ไมเปดเผย ซงึ่ เปน วธิ ีการทข่ี า พเจา
ไมเ คยใช ในเมอื่ อาํ นาจอนั สทิ ธิขาดยงั อยใู นมอื ของขาพเจา เอง และขาพเจา ไดรองขอให
เลกิ วิธีน้รี ฐั บาลกไ็ มยอม
ขาพเจา เหน็ วาคณะรัฐบาล และพวกพอ ง ใชวิธีการปกครองซ่ึงไมถูกตองตามหลักการ
ของเสรภี าพในตัวบคุ คล และหลกั ความยุติธรรม ตามความเขาใจ และยึดถือของขาพเจา
ขาพเจา ไมสามารถท่ีจะยินยอมใหผูใด คณะใด ใชวิธีการปกครองอยาง น้ัน ในนาม
ขา พเจา ตอไปได
ขา พเจา เตม็ ใจท่ีจะสละอาํ นาจอันเปนของขาพเจา อยแู ตเดิมใหแ กราษฎรโดยทวั่ ไป
แตขาพเจา ไมยินยอมยกอาํ นาจทัง้ หลายของขาพเจา ใหแ กผ ใู ด คณะใด โดยเฉพาะ เพื่อ
ใชอาํ นาจนน้ั โดยสิทธิขาด และโดยไมฟง เสียงอันแทจ รงิ ของประชาราษฎร
บัดนี้ ขา พเจา เห็นวาความประสงคของขาพเจาที่จะใหราษฎรมีสิทธิออกเสียงใน
นโยบายของประเทศโดยแทจริง ไมเปนผลสําเร็จ และเม่ือขาพเจารูสึกวา บัดน้ี เปนอัน
หมดหนทางท่ีขาพเจาจะชวยเหลือ หรือใหความคุมครองแกประชาชนไดตอไปแลว
ขา พเจา จึงขอสละราชสมบัติ และออกจากตําแหนงพระมหากษัตริยแตบัดนี้เปนตนไป
93
ขา พเจา ขอสละสิทธิของขาพเจา ท้ังปวง ซง่ึ เปนของขา พเจาในฐานะที่เปนพระมหากษัตริย
แตขาพเจา สงวนไวซึ่งสิทธิทง้ั ปวงอันเปนของขาพเจา แตเดิมมา กอนที่ขาพเจาไดรับ
ราชสมบัติสืบสันตตวิ งศ
ขาพเจา ไมม คี วามประสงคท ี่จะบง นามผหู นง่ึ ผูใด ใหเปนผรู บั ราชสมบตั ิสบื สนั ตติวงศ
ตอไป ตามท่ขี า พเจา มีสทิ ธทิ จี่ ะทาํ ไดต ามกฎมณเฑยี รบาลวา ดวยการสืบสนั ตตวิ งศ
อนงึ่ ขา พเจาไมม คี วามประสงคท ่ีจะใหผ ูใดกอ การไมส งบขนึ้ ในประเทศ เพอ่ื ประโยชน
ของขาพเจา ถาหากมีใครอางใชน ามของขา พเจา พึงเขาใจวามิไดเ ปน ไปโดยความยินยอม
เหน็ ชอบ หรอื สนบั สนนุ ของขา พเจา
ขาพเจา มีความเสียใจเปนอยางยิ่ง ท่ีไมสามารถจะยังประโยชนใหแกประชาชน
และประเทศชาตขิ องขาพเจา ตอ ไป ไดต ามความต้งั ใจ และความหวัง ซ่ึงรับสืบตอกันมา
ตัง้ แตบ รรพบุรษุ ยงั ไดแตต ้ังสตั ยาอธษิ ฐาน ขอใหประเทศสยาม จงไดประสบความเจริญ
และขอประชาชนชาวสยามจงไดมีความสขุ สบาย
(พระปรมาภิไธย) ประชาธิปก ปร
วันที่ 2 มนี าคม พ.ศ. 2477
เวลา 13 นาฬิกา 55 นาที
ที่มาhttp://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/<เม่ือวนั ที่ 11 กมุ ภาพนั ธ 2552>
จากพระราชหัตถเลขาสละราชสมบัตมิ ีขอความทีถ่ อื วาเปนหลักการสําคัญของการปกครอง
ในระบอบประชาธิปไตยวา “ขาพเจา เต็มใจท่ีจะสละอํานาจอันเปนของขาพเจาอยูแตเดิม ใหแก
ราษฎรโดยทว่ั ไป แตขาพเจา ไมย นิ ยอมยกอาํ นาจทงั้ หลายของขาพเจาใหแกผูใด คณะใด โดยเฉพาะ
เพอ่ื ใชอ ํานาจน้นั โดยสิทธิขาด และโดยไมฟ ง เสียงอนั แทจ รงิ ของประชาราษฎร”
นบั แตป พ.ศ. 2475 เปนตนมาจนถงึ ป พ.ศ. 2552 ประเทศไทยมกี ารประกาศใชร ัฐธรรมนูญ
มาแลวรวม 18 ฉบับ ดงั น้ี
1. พระราชบัญญัติธรรมนญู การปกครองแผนดินสยามช่ัวคราว พุทธศักราช 2475
ประกาศใช เมื่อวันท่ี 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 มีทั้งหมด 39 มาตรา แบงเปน 6 หมวด
พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผนดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ไดม กี ารยกเลิกไปเมื่อ
อนุกรรมการรางรัฐธรรมนูญ ซึ่งมีพระยามโปกรณนิติธาดา เปนประธานไดรางรัฐธรรมนูญแหง
ราชอาณาจักรสยามเสรจ็ และประกาศใชร ฐั ธรรมนูญฉบับใหมในปเ ดยี วกนั
94
2. รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม พุทธศกั ราช 2475
ประกาศ ใชเ ม่อื วันท่ี 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 ดงั นนั้ จึงถือวาวันที่ 10 ธันวาคมของทุกป
เปน วนั รฐั ธรรมนญู รัฐบาลใหหยุดราชการได 1 วัน มีทั้งหมด 68 มาตราประกอบดวยบทท่ัวไปและ
หมวดตา ง ๆ อีก 7 หมวด รฐั ธรรมนญู ฉบบั นมี้ ีผลบงั คับใชน านถงึ 14 ป มีการแกไขเพิ่มเติมถึง 3 ครั้ง
คือ
คร้งั ท่ี 1 รัฐธรรมนูญแกไขเพิ่มเติมวาดวยนามประเทศ พุทธศักราช 2482 ใหเรียกวา
ประเทศไทย และบทแหงรฐั ธรรมนญู หรือกฎหมายอื่นใด ทีใ่ ชคาํ วา “สยาม” ใหใชคําวา “ไทย” แทน
คร้งั ที่ 2 รัฐธรรมนูญแกไขเพิ่มเติมวาดวยบทเฉพาะกาล พุทธศักราช 2483 ใหยกเลิก
ความในมาตรา 65 แหงรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย ใหยืดอายุเวลาการมสี มาชิกประเภทท่ี 2
ออกไปเปน 20 ป
ครงั้ ที่ 3 รัฐธรรมนูญแกไขเพ่ิมเติมวาดวยการเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร
พทุ ธศกั ราช 2485 ใหย กเลกิ ความในมาตรา 18 ของรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย ถามีเหตุขัดของ
ทาํ การเลอื กต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไมไ ด เมอื่ อายุสมาชิกสภาผูแ ทนราษฎรครบส่ีปแลว ใชขยาย
เวลาเลือกตั้งออกไป เปน คราวละไมเกินสองป
รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รสยาม พทุ ธศกั ราช 2475 ไมมีบทบัญญตั หิ า มขา ราชการประจํา
ยุงเก่ียวการเมือง จึงเปนผลใหบุคคลสําคัญของคณะราษฎรที่เปนขาราชการประจําสามารถเขาคุม
ตาํ แหนง ทางการเมือง ทั้งในสภาผูแ ทนราษฎรและในคณะรฐั มนตรี รัฐธรรมนญู ไมรับรองสิทธิในการ
ตัง้ พรรคการเมือง จึงทําใหไมสามารถรวมพลังเพื่อเสรีในเร่ืองอ่ืน ๆ ได รัฐบาลยังไดออกพระราชบัญญัติ
ปองกันรัฐธรรมนูญ มีผลใหบุคคลจํานวนหนึ่งถูกจับกุม และลงโทษ เพราะละเมิดพระราชบัญญัติ
ดังกลาว ตอมา พ.ศ. 2489 ซึง่ เปนชวงสมัยทพ่ี ันตรี ควง อภัยวงศ เปนนายกรัฐมนตรี และนายปรีดี
พนมยงค เปนผูสําเร็จราชการแทนพระองค บุคคลท้ังสองพิจารณาวา สมควรจะเลิกบทเฉพาะกาล
ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 และไดปรับปรุงแกไขใหม เพราะไดใช
รัฐธรรมนูญมาแลว 14 ป เหตกุ ารณบ า นเมืองเปล่ยี นแปลงไป ดงั น้นั จงึ ไดมรี ัฐธรรมนูญฉบับใหมเปน
ฉบับท่ี 3
3. รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2489
ประกาศใช เม่ือวันท่ี 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 มีท้ังหมดรวม 96 มาตรา รัฐธรรมนูญ
ฉบบั น้ี มีแนวทางในการดาํ เนินการปกครองเปนประชาธปิ ไตยมากกวารัฐธรรมนูญฉบับท่ี 2 กลาวคือ
สมาชิกรัฐสภามาจากการเลือกตั้ง ใหประชาชนมีเสรีภาพรวมกันต้ังพรรคการเมือง เพื่อดําเนิน
กจิ กรรมทางการเมืองไดเปนการใหโอกาสรวมกลมุ เพอื่ รักษาประโยชนข องตน และถวงดุลอาํ นาจของ
กลุมอื่น อีกประการหนงึ่ คือ ใหแยกขา ราชการการเมอื งออกจากขาราชการประจาํ การแยกขาราชการ
การเมอื งออกจากขาราชประจํา ทาํ ความไมพ อใจแกกลุม ขา ราชการทีม่ ีบทบาททางการเมือง นับแตมี
95
การเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ประกอบในระยะน้ันเกิดภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าหลังสงครามโลก
คร้ังท่ี 2 พลเอก ผิน ชุณหะวัน นําทหารกอการรัฐประหารในวันท่ี 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 ได
ยกเลิกรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 ซ่ึงรัฐธรรมนูญฉบับที่ 3 หลังจากท่ี
ประกาศใชไดเพยี ง 18 เดอื น
4. รัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย (ฉบบั ชัว่ คราว) พุทธศกั ราช 2490
ประกาศใช ในวันท่ี 9 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2490 โดยมีการอางเหตุผลในการเปล่ียนรัฐธรรมนูญ
ฉบับที่ 3 วา “เพราะประเทศชาติอยูในภาวะวิกฤติ ประชาชนไดร ับความลําบาก เพราะขาดแคลน
เคร่ืองอุปโภคและบรโิ ภค ราคาสินคาสงู ขึ้น มคี วามเสอ่ื มทรามในศลี ธรรม รัฐธรรมนูญฉบับท่ีใชอยูเปน
เหตุใหประเทศชาติทรุดโทรม จึงขอใหยกเลิก และมาใชรัฐธรรมนูญฉบับใหม ที่จะชวยจรรโลงชาติ
และบาํ บัดยคุ เข็ญใหเขาสภู าวะปกต”ิ มที ั้งหมด 98 มาตรา
5. รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2492
เกดิ ข้นึ โดย สภารา งรัฐธรรมนูญ ประกาศใชบังคับ เม่ือวันท่ี 23 มีนาคม 2492 มีท้ังหมด
188 มาตรา ซึ่งนับวา เปนรัฐธรรมนูญท่ีเปนประชาธิปไตยมากฉบับหน่ึง แตในท่ีสุดก็ถูกฉีกท้ิง เมื่อ
วนั ที่ 29 พฤศจกิ ายน 2494 โดยการทาํ รัฐประหารภายใตการนําของจอมพล ป. พิบูลสงคราม รวมอายุ
การประกาศ และบังคับใช 2 ป 8 เดือน 6 วัน
6. รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2475 แกไขเพมิ่ เติม พทุ ธศักราช 2495
หลังจากท่ีรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2492 ถูกใชไดเพียง 2 ปเศษ ก็มี
การทํารัฐประหาร เพอ่ื นาํ เอารัฐธรรมนญู พ.ศ. 2475 กลับมาใชอีกครั้ง โดยอางวารัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2492 น้ัน
ใหสิทธิเสรภี าพมากเกนิ ไป ทําใหไมสามารถปองกันภัยคุกคามจากลัทธิคอมมิวนิสตได จึงไดเกิดการ
รฐั ประหารนาํ รฐั ธรรมนูญฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2475 ฉบบั แกไขเพมิ่ เติม (พ.ศ. 2482 กับ พ.ศ. 2483) มาใช
แทนเปน การช่ัวคราวไปพลางกอ น และใหสภาผูแ ทนราษฎรประชุมปรกึ ษา เพอ่ื แกไขรฐั ธรรมนญู ฉบับ
ดงั กลา วใหส มบรู ณยงิ่ ขน้ึ เพ่ือใชเปนรัฐธรรมนูญฉบับถาวรตอไป ซ่งึ ก็ไดตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
พิจารณารา งรฐั ธรรมนญู จํานวน 24 คน เมอื่ ไดดาํ เนนิ การเสรจ็ แลว จงึ ไดเสนอตอผแู ทนราษฎร และ
สภา มมี ติเหน็ ชอบจึงไดประกาศมผี ลใชบังคบั ตง้ั แต วันที่ 8 มีนาคม 2495 ประกอบดวย บทบัญญัติ
ทง้ั หมด 123 มาตรา โดยมบี ทบญั ญตั เิ ดิมของรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2475 อยูเพียง 41 มาตรา เทานั้น
นอกน้ันอีก 82 มาตรา เปนบทบัญญัติท่ีเขียนเพิม่ เติมข้ึนใหม ซึง่ บทบัญญัติดังกลาวน้ัน สวนใหญก็
นํามาจากรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2492 รัฐธรรมนูญฉบับท่ี 6 นี้ จึงมีลักษณะผสมผสานกันระหวาง
รฐั ธรรมนูญทงั้ 2 ฉบบั ขางตน นนั่ เอง ในระหวา งทมี่ ีการใชรัฐธรรมนูญฉบับนี้ไปไดประมาณ 5 ป ไดเกิด
การเลือกตง้ั ท่มี คี วามไมบรสิ ุทธแิ์ ละเปน ธรรมโดยการ เจาหนา ทผี่ ดู ําเนินการเลือกตั้งไมสุจริต มีการโกง
การเลือกตั้งใหแกผูสมัครพรรคเสรีมนังคศิลา ของจอมพล ป. พิบูลสงคราม โดยเฉพาะตามหนวย
96
เลือกตั้งหลายหนว ยในจังหวัดพระนคร กรณนี ้ีเปน สาเหตุสําคัญที่ทําใหคณะรฐั ประหาร ภายใตการนํา
ของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรชั ต ไดท าํ การยดึ อาํ นาจการปกครองประเทศ เมอ่ื วนั ที่ 16 กนั ยายน 2500
และประกาศยบุ เลกิ สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรทั้ง 2 ประเภท แตก็มไิ ดยกเลิกรฐั ธรรมนูญ ทวายังคงให
ใชร ัฐธรรมนญู ตอ ไป ในขณะเดยี วกันกก็ ําหนดใหมกี ารเลือกตงั้ สมาชิกประเภทที่ 1 ภายใน 90 วนั เมื่อ
เลอื กตงั้ เสรจ็ เรียบรอ ยแลว กลับปรากฏวา การบรหิ ารราชการแผน ดนิ ก็ไมเปนไปโดยราบรื่นนัก ในทีส่ ุด
รัฐธรรมนญู ฉบับน้กี ็จึงไดถ ูก “ฉกี ทงิ้ ” เม่อื วนั ที่ 20 ตุลาคม 2501 โดยการทาํ รฐั ประหารอีกครั้งหน่ึงของ
คณะรัฐประหารชุดเดิม ซ่ึงมี จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต ในฐานะผูบัญชาการทหารสูงสุดและผูบัญชาการ
ทหารบก เปน หวั หนา คณะปฏิวัติ รวมอายกุ ารประกาศและบังคับใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พทุ ธศกั ราช 2475 แกไ ขเพม่ิ เติม พทุ ธศักราช2495 ทัง้ ส้นิ 6 ป 7 เดือน 12 วัน
7. ธรรมนญู การปกครองราชอาณาจกั ร พุทธศักราช 2502
ประกาศใช เมือ่ วนั ท่ี 28 มกราคม 2502 หลังการปฏวิ ัติ เมอื่ วันท่ี 20 ตุลาคม 2501จอมพล
สฤษด์ิ ธนะรัชต ไดออกประกาศคณะปฏิวัติฉบับท่ี 3 ยกเลิกรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พทุ ธศักราช 2475 แกไขเพ่มิ เติมพุทธศกั ราช 2495 (ฉบบั ที่ 6) และประกาศใหส มาชิกภาพแหงสภา-
ผูแทนราษฎร และคณะรัฐมนตรีสิ้นสุดลง โดยคณะปฏิวัติ ทําหนาที่บริหารประเทศ โดยจอมพล
สฤษด์ิ ธนะรชั ต ผูที่เปนทั้งหัวหนา คณะปฏิวตั ิ และเปน ผบู ัญชาการสูงสุด ไมม ีการแบงแยกอาํ นาจนติ -ิ
บัญญตั ิ อาํ นาจบริหาร และอํานาจตุลาการใหออกจากกัน คณะปฏิวัติ เปนผูสั่งการเปนผูใชอํานาจ
ประเทศไทย จงึ มกี ารปกครองโดยปราศจากรัฐธรรมนูญเปนเวลา 101 วัน นับต้ังแตวันที่20 ตุลาคม 2501
จนถึงวันท่ี 28 มกราคม 2502 จึงไดประกาศใชธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช
2502 ซึ่งเปนรัฐธรรมนูญไทยท่ีส้ันที่สุด คือมีเพียง 20 มาตรา รัฐธรรมนูญฉบับนี้ ถึงแมจะไดชื่อวา
เปน รฐั ธรรมนญู ฉบับช่ัวคราว เพื่อรอการรา งรฐั ธรรมนญู ฉบบั ถาวร แตถูกใชเ ปนเวลายาวนานรวม ถึง
9 ป 4 เดอื น 20 วัน จนกระทั่งถูกยกเลิกอยา ง “สนั ต”ิ เม่อื สภารางรัฐธรรมนูญ รางรัฐธรรมนูญฉบับ
ถาวรแลวเสร็จ และประกาศบังคบั ใชเปนรฐั ธรรมนูญฉบับใหม เมื่อวันท2ี่ 0 มถิ นุ ายน 2511
8. รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2511
ประกาศใช เมอ่ื วนั ท่ี 20 มิถนุ ายน 2511 มีท้งั หมด 183 มาตรา ถอื เปนรัฐธรรมนูญฉบบั ที่ 2
ของไทย ซง่ึ ถกู ยกรางโดยสภารางรัฐธรรมนูญ เปนรัฐธรรมนูญที่ใชเวลาในการยกรางจัดทํายาวนาน
ทีส่ ดุ ถงึ 9 ปเ ศษ แตทวากลบั มีอายุการใชงานเพยี ง 3 ป 4 เดอื น 27 วัน กลาวคอื หลังจากใชบังคับได
ไมน านนกั เพราะรฐั ธรรมนูญฉบับนี้ใชขาราชการประจํา เปนเคร่ืองมือรักษาเสถียรภาพของรัฐบาล
โดยฝา ยวฒุ ิสภา ซง่ึ มอี าํ นาจท่สี าํ คญั เทา เทยี มกับสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ซึ่งมาจากการเลือกตั้งอีก
ทง้ั รัฐธรรมนูญฉบบั ที่ 8 ยงั หามมใิ หส มาชิกผแู ทนราษฎร เปน รฐั มนตรใี นคณะเดียวกันดวย จึงเทากับ
กีดกนั มใิ หผ ูแ ทนราษฎร ซ่งึ มาจากการเลอื กตงั้ เขามามสี วนรว มในการใชอํานาจบริหาร อันเปนความ
ปรารถนาของนกั การเมอื งทกุ คน จึงสรา งความไมพอใจใหแ กผ แู ทนราษฎรเปน อยา งมาก ในขณะเดยี วกัน
97
เมอ่ื ปรากฏวา รฐั บาลไมส นบั สนุนจัดสรรงบประมาณแผนดนิ ใหแ กผ แู ทนราษฎรในรูปของงบประมาณ
จังหวัด อันเปนขอเรียกรองของผูแทนราษฎร เพื่อพวกเขาจะไดเงินงบพัฒนาจังหวัดไปใช ใหเกิด
ประโยชนใ นการเลอื กตั้งคร้งั ตอไป จึงทาํ ใหผแู ทนราษฎรรวมหัวกัน พยายามจะตัดเงินงบประมาณท่ี
รฐั บาลเสนอขออนุมตั ิจากสภาทกุ ป ทําใหตองมกี ารเจรจาตอ รองกนั อยางหนักกวา จะตกลงกันไดดวย
เหตุนี้รางพระราชบัญญัติงบประมาณของรัฐบาลจึงประกาศใชลาชาทุกป คณะทหารและบรรดา
ขา ราชการประจําทไ่ี มช อบตอการบรหิ ารงานแบบประชาธิปไตย ดังน้ัน เม่ือวันท่ี 17 พฤศจิกายน 2514
รัฐธรรมนญู ฉบับที่ 8 กจ็ ึงถกู “ฉกี ทิง้ ” อกี คร้งั หนงึ่ โดยการทํารฐั ประหารตนเองของจอมพล ถนอม กิตติขจร
ซง่ึ เปนนายกรัฐมนตรี และผบู ญั ชาการสงู สดุ ในขณะนัน้ และก็ไดนาํ เอารัฐธรรมนูญฉบับท่ี 7 มาแกไข
ปรับปรุงรายละเอียดใหมเ ลก็ นอย กอ นประกาศใชบ งั คับ
9. ธรรมนญู การปกครองราชอาณาจกั ร พุทธศักราช 2515
ประกาศใช เมื่อวันท่ี 15 ธันวาคม 2515 มีท้ังหมด 23 มาตรา รัฐธรรมนูญฉบับน้ี ได
นาํ เอาอํานาจพเิ ศษของนายกรัฐมนตรี ตามมาตรา 17 มาบัญญัติไวอีกดวย ขณะที่มีเวลาใชบังคับอยู
เพยี ง 1 ป 9 เดอื น 22 วนั ตองถูกยกเลิกไป เมอื่ เกิดเหตุการณวันมหาวิปโยค เม่ือวันท่ี 14 ตุลาคม 2516
สบื เน่อื งจากการทม่ี ีกลุมบคุ คลไมพอใจทรี่ ฐั บาลของจอมพล ถนอม กิตติขจร ใชเวลารางรัฐธรรมนูญ
ฉบับใหมนานเกินไปท้งั ๆ ที่เคยรางรัฐธรรมนูญมาคร้ังหน่ึงแลว กลุมดังกลาวประกอบดวย ผูนํานิสิต
นักศกึ ษา และประชาชนทวั่ ไป เร่มิ รณรงคเ รียกรอ งใหรฐั บาลประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับใหมโดยเร็ว
ปรากฏวา รฐั บาลกลบั ตอบโตการเรยี กรองดงั กลา ว โดยการจบั กุมกลุมผเู รยี กรองรฐั ธรรมนญู จํานวน
13 คน โดยต้ังขอหาวาเปนการทําลายความสงบเรยี บรอยภายในประเทศ และมีการกระทําอันเปน
คอมมิวนิสต รวมท้ังใชอํานาจตามมาตรา 17 แหงรัฐธรรมนูญฉบับท่ี 9 ควบคุมผูตองหาดังกลาว
ในระหวา งการสอบสวนโดยไมม กี ําหนด ทําใหศูนยกลางนิสิตนักศึกษาแหงประเทศไทย ตองออกมา
เคล่ือนไหวใหรัฐบาลปลอยตัวผูตองหาทั้งหมด โดยไมมีเง่ือนไข และขอใหรัฐบาลประกาศใช
รัฐธรรมนูญใหมภายใน 1 ป ดวย แตรัฐบาลไมยอมปฏิบัติตามขอเรียกรองนักเรียน นิสิต นักศึกษา
และประชาชน จึงไดเดินทางมาชุมนุมกัน ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จํานวนเรือนแสน วันที่
13 ตลุ าคม 2516 ในตอนบาย ๆ ฝงู ชนกไ็ ดเ ดินขบวนออกจากหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร ผานถนนราชดําเนิน
ไปชุมนุมอยูท่ีบริเวณพระบรมรูปทรงมา จนกระทั่งชวงเชามืดของ วันที่ 14 ตุลาคม 2516 กลุม
ผูชมุ นมุ จํานวนหน่งึ ปะทะกับกองกําลังของเจาหนาท่ีตํารวจอยางรุนแรงท่ีขางพระตําหนักจิตรลดา
เหตกุ ารณลกุ ลามใหญโ ต จนในทสี่ ดุ ก็นําไปสูก ารจลาจลครั้งสาํ คญั ในประวัตศิ าสตรไ ทยโดยมีผูเ สียชวี ติ
นับรอย และบาดเจ็บอกี เปนจํานวนมาก ขณะที่สถานท่ีราชการตาง ๆ อันเปนสัญลักษณของอํานาจ
เผด็จการก็ไดถกู ประชาชนเผาทาํ ลายไปหลายแหง ดวยเชน กัน
98
10. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2517
ประกาศใช เม่ือวนั ที่ 7 ตลุ าคม 2517 มีบทบัญญตั ิรวมท้ังสิ้น 238 มาตราเปนรัฐธรรมนูญ
ฉบับหน่ึงท่ไี ดช ่ือวา เปน ประชาธปิ ไตยมากท่ีสดุ เพราะวามีบทบญั ญตั ิทีเ่ ปลยี่ นแปลงไปในทางกา วหนา
และเปนแบบเสรีนยิ มมากข้นึ ในหลายเรื่องดวยกัน เริม่ ตน ในหมวด 1 บททวั่ ไป ไดมีบทบญั ญัติหามมิใหมี
การนริ โทษกรรมแกผ กู ระทําการลมลางสถาบันกษตั รยิ หรอื รฐั ธรรมนูญ และหมวด 2 พระมหากษัตริย
ไดบ ัญญัตขิ ึน้ เปน ครง้ั แรกวา ในการสืบราชสนั ตติวงศ น้ัน ในกรณีที่ไมมีพระราชโอรส รัฐสภาอาจให
ความเห็นชอบในการใหพระราชธิดาสืบราชสันตติวงศได นอกจากน้ัน ยังมีบทบัญญัติอันเปนการเพ่ิม
หลกั ประกันในเรื่อง สิทธิ เสรภี าพ และประโยชนข องประชาชนไวมากกวารัฐธรรมนูญทุกฉบับท่ีผาน ๆ มา
กอนหนา น้ัน รฐั ธรรมนญู ฉบบั น้ไี ดร บั การแกไ ขเพม่ิ เตมิ 1 ครง้ั เม่ือ พ.ศ. 2518 ในเรื่อง การรับสนอง
พระบรมราชโองการ แตงตั้งวุฒิสมาชิกจากเดิมใหประธานองคมนตรี เปนผูรับสนองพระบรมราช-
โองการ เปลี่ยนมาเปนนายกรัฐมนตรี รัฐธรรมนูญฉบับน้ี มีการแกไขเพิ่มเติมเพียงครั้งเดียวและมี
ระยะเวลาการใชเ พยี ง 2 ป ก็ถูก “ฉกี ทิง้ ” โดยประกาศของ “คณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน” ซึ่งมี
พล.ร.อ. สงัด ชลออยู ผูบัญชาการทหารสูงสุดและผูบัญชาการทหารเรือ เปนหัวหนาคณะปฏิรูป
เมอ่ื วันที่ 6 ตุลาคม 2519
11. รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2519
หลังจากปฏิวตั ลิ ม รฐั บาลอันเนอ่ื งมาจากเหตกุ ารณนองเลอื ด เมอื่ วันที่ 6 ตลุ าคม 2519 แลว
คณะปฏิวตั ิกไ็ ดแ ตง ตง้ั นายธานนิ ทร กรัยวิเชียร ขนึ้ เปน นายกรฐั มนตรีพรอ ม ๆ กับประกาศใชร ฐั ธรรมนูญ
แหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2519 ซง่ึ เปน รัฐธรรมนูญฉบับที่ 11 เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2519
โดยมีบัญญัตเิ พียง 29 มาตราเทาน้ัน ตอมา เกิดการทํารัฐประหารของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน
ชดุ เดมิ ในชอ่ื ใหมวา “คณะปฏิวัติ” ในวันท่ี 20 ตุลาคม 2520 ซ่ึงมีหัวหนาคนเดิม คือ พล.ร.อ. สงัด ชลออยู
ดงั น้นั อายกุ ารบังคบั ใชรฐั ธรรมนูญฉบับน้ี เพียงแค 1 ปเ ทาน้นั
12. ธรรมนญู การปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520
รฐั ธรรมนญู ฉบับน้เี กิดจากการทาํ รัฐประหารของคณะปฏิวตั ิ เม่ือวันท่ี 20 ตุลาคม 2520
โดยคณะปฏิวัติ ใหเหตผุ ลในการปฏิวตั ิวา “เพราะภัยคกุ คามของคอมมิวนสิ ต” หลังจากยกเลิกรัฐธรรมนูญ
ฉบับท่ี 11 แลว คณะปฏวิ ัติไดจดั ตง้ั คณะกรรมการยกรา งรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวขึ้น ตามหลักการที่
คณะปฏิวัตกิ าํ หนดไว จากน้ันคณะปฏิวัติ จึงไดประกาศใชธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรไทย
พ.ศ. 2520 ในวนั ที่ 9 พฤศจิกายน 2520 รัฐธรรมนูญฉบับน้ี มีบทบัญญัติ 32 มาตรา และถูกยกเลิก
เมื่อวันท่ี 22 ธันวาคม 2521 เนื่องจากการประกาศใชธรรมนูญฉบับใหม คือ รัฐธรรมนูญแหง
ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2521 อันเปน รฐั ธรรมนญู ฉบบั ที่ 13 ของประเทศไทย
99
13. รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2521
เปน ผลจากการรางของคณะกรรมาธิการรางรัฐธรรมนูญของสภานิติบัญญัติแหงชาติ
ตามขอกําหนดในธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520 ซึ่งรางรัฐธรรมนูญใหมขึ้น
เพ่ือใชแทนรัฐธรรมนูญเกา และสภานิติบัญญัติแหงชาติ ไดใหความเห็นชอบแลว ประกาศใชเปน
รัฐธรรมนูญตงั้ แต วนั ที่ 22 ธนั วาคม 2521 มที ้ังหมด 206 มาตรา สาระสาํ คัญของรัฐธรรมนูญฉบับนี้
นบั วาเปน ประชาธิปไตยพอสมควร หากไมน บั บทบัญญัตเิ ฉพาะกาลทมี่ ีผลใชบังคับอยูในชวง 4 ปแรก
ของการใชรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ไดมีความพยายามทีจ่ ะแกไ ขเพ่ิมเติมรัฐธรรมนูญฉบับน้อี ยหู ลายครั้ง ซึ่ง
ครั้งสุดทายก็ประสบความสําเร็จ เมื่อป พ.ศ. 2528 วาดวย เรื่อง ระบบการเลือกตั้ง โดยแกไขจาก
แบบรวมเขตรวมเบอร หรือคณะเบอรเดียว มาเปนการเลือกตั้งแบบผสม เขตละไมเกิน 3 คน การ
แกไ ขเพม่ิ เตมิ ครง้ั นี้ ถือวา เปนการแกไ ขเพม่ิ เติมคร้งั ที่ 1 ขณะท่ีการแกไขเพิ่มเติมอีกคร้ัง คือ คร้ังที่ 2
น้นั เกิดขน้ึ ในป พ.ศ. 2532 เก่ยี วกับเรอ่ื งประธานรฐั สภา โดยแกไ ขใหป ระธานสภาผูแทนราษฎรดํารง
ตาํ แหนง เปน ประธานรฐั สภา รัฐธรรมนูญ ฉบบั ที่ 13 ไดใชบงั คับเปนเวลาคอนขางยาวนานถึง 12 ปเศษ
แตก ถ็ กู “ยกเลกิ ” โดยคณะรักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ (ร.ส.ช.) ภายใตการนาํ ของ พลเอก สุนทร
คงสมพงษ ไดเขา ทาํ การยดึ อํานาจการปกครองประเทศ จากรัฐบาลของนายกรัฐมนตรี พลเอก ชาติชาย
ชุณหะวณั เมือ่ วันที่ 23 กมุ ภาพนั ธ 2534
14. ธรรมนญู การปกครองราชอาณาจกั ร พทุ ธศกั ราช 2534
ภายหลงั จากท่คี ณะรักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ (ร.ส.ช.) ไดทําการยึดอํานาจแลว
ก็กําหนดใหร ัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2521 และวฒุ สิ ภาสภาผแู ทนราษฎร คณะรัฐมนตรี
สิ้นสุดลง โดยชแี้ จงถึงเหตุผลและความจาํ เปน ของการเขายดึ และควบคมุ อํานาจในการปกครองประเทศ
โดยกลาวหารัฐบาล และผูบริหารประเทศวา “มีพฤตกิ ารณการฉอราษฎรบังหลวง ขาราชการการเมือง
ใชอาํ นาจกดข่ี ขม เหง ขา ราชการประจาํ ผซู ่ือสตั ยสจุ รติ รฐั บาลเปนเผดจ็ การทางรัฐสภา การทําลาย
สถาบนั การทหาร และการบดิ เบือนคดลี ม ลา งสถาบันกษัตริย” ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร
พ.ศ. 2534 ประกาศเมื่อวนั ท่ี 1 มนี าคม 2534 มีทงั้ หมด 33 มาตรา มีระยะเวลาการใชบังคับ 9 เดือน 8 วัน
กถ็ ูกยกเลกิ ไป จากผลการประกาศใชรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2534 เมอ่ื วนั ที่ 9 ธนั วาคม
พ.ศ. 2534
15. รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2534
มกั จะถกู เรียกขานกันวาเปน “รัฐธรรมนญู ฉบับ ร.ส.ช.” เพราะเปนผลงานการยกราง
และจัดทาํ ของสภานติ ิบัญญตั แิ หง ชาติ อนั ประกอบดวยสมาชิก จํานวน 292 คน ซึ่งพระมหากษัตริย
ทรงแตง ต้ังตามคาํ กราบบงั คมทูลของประธานสภารกั ษาความสงบเรยี บรอยแหง ชาติ ประกาศใช เม่ือ
วันท่ี 9 ธันวาคม 2534 มีท้ังหมด 233 มาตรา ในการรางรัฐธรรมนูญฉบับท่ี 15 น้ี มีประเด็นปญหา
ทางกฎหมายรฐั ธรรมนูญหลายประเด็น อันกอ ใหเ กดิ ความขัดแยงทางความคิดระหวางคณะกรรมาธิการ
100
พจิ ารณารา งรฐั ธรรมนูญของสภานิติบญั ญตั แิ หง ชาติกบั สาธารณชนโดยทวั่ ไป โดยเฉพาะประเดน็ เร่ืองวา
นายกรัฐมนตรีตองเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร เพราะประชาชนตางเขาใจกันดีวา การกําหนดให
บุคคลภายนอกเขามาเปนนายกรัฐมนตรีไดนั้น เทากับวาเปนการเปดโอกาสใหมีการสืบทอดอํานาจ
ใหกบั คณะ ร.ส.ช. ออกไปไดอกี ในท่สี ดุ เมอื่ รฐั ธรรมนูญน้ีมผี ลบังคับใช บทบญั ญัตมิ าตรา159 ก็ไดเปด
โอกาสใหเชิญบุคคลภายนอกมาเปนนายกรัฐมนตรีได และหลังจากที่มีการเลือกตั้งท่ัวไปตาม
รัฐธรรมนญู นี้ เนอ่ื งดว ยปญ หาบางประการ ทําใหพ รรคการเมอื งท่ีไดเ สยี งขา งมาก ในฐานะพรรคแกนนํา
ในการจัดต้ังรัฐบาล ไดเชญิ นายทหารใน คณะ ร.ส.ช. คือ พลเอก สุจินดา คราประยูร ใหมาเปน
นายกรฐั มนตรี พรอมกับเหตุผลทว่ี า “เสียสัตย เพอ่ื ชาติ” ซ่ึงนับวาเปนการทวนกระแสกับความรูสึก
ของประชาชนไมนอ ย เพือ่ ท่จี ะควบคุมสถานการณเอาไว รัฐบาลก็เลยออกคําสั่งใหทหารและตํารวจ
เขาสลายการชุมนุมของกลุมประชาชน ซ่งึ รวมตัวกนั ประทวงอยทู บี่ รเิ วณอนุสาวรยี ประชาธิปไตยและ
ถนนราชดําเนิน ในชวงระหวางวันท่ี 17 ถึง 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 แตทวากลับเปนการนําสู
เหตกุ ารณนองเลอื ดทเี่ รยี กกนั วา เหตกุ ารณพ ฤษภาทมฬิ ในท่ีสดุ ซง่ึ ตอ มาสถานการณต าง ๆ ก็บบี รัดจน
ทําใหพลเอก สุจินดา คราประยูร ตองลาออก จากตําแหนงนายกรัฐมนตรีไปอยางจํายอม รัฐบาล
ช่วั คราวภายหลังเหตุการณดังกลาว และบรรดาสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในขณะน้ัน ไดดําเนินการ
แกไขวิกฤตการณ อนั สืบเน่อื งมาจากรัฐธรรมนูญโดยเสนอใหมีการแกไขรัฐธรรมนูญรวม 4 ฉบับ ซ่ึง
นับวา เปน ความสําเรจ็ ครงั้ แรกทสี่ มาชิกสภาผแู ทนราษฎรไดแสดงเจตนาเปนอันหน่งึ อันเดยี วกนั ในการ
แกไขรัฐธรรมนูญไปสูความเปนประชาธิปไตยใหมากย่ิงข้ึน แตทวาความสําเร็จในคร้ังน้ีก็เปนผล
สบื เนื่องมาจากการสญู เสยี ครง้ั สําคัญอีกครั้งหนึ่งของการเมืองไทย เพราะรัฐธรรมนูญฉบับที่ 15 มี
ระยะเวลาใชบังคับ รวมทั้งสิ้น 5 ป10 เดือน 2 วันไดถูก “ยกเลิก” เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2540 โดย
การประกาศใชร ัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
16. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2540
ประกาศใช เม่อื วันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2540 มีท้งั หมด 336 มาตรา รฐั ธรรมนูญฉบบั ที่ 16 นี้
ถือเปนรัฐธรรมนูญที่ริเร่ิมข้ึนโดย พรรคชาติไทยมี นายบรรหาร ศิลปะอาชา เปนนายกรัฐมนตรี
ในขณะนัน้ ไดแตงตั้งคณะกรรมการปฏริ ูปการเมืองเขา มาดําเนนิ งาน และไดแ ตง ตงั้ คณะกรรมาธิการ-
วสิ ามัญ พจิ ารณารางรัฐธรรมนูญขึ้นมา และมกี ารเลือกต้ังสมาชิกสภารางรัฐธรรมนูญจํานวน 99 คน
โดย 76 คน เปนตัวแทนของแตละจังหวัด และอกี 23 คน มาจากผูเ ชีย่ วชาญหรอื ผูมีประสบการณ ซง่ึ
ถอื วาเปนรฐั ธรรมนญู ทมี่ าจากการเลอื กตั้งฉบับเดยี วของประเทศไทย โดยกอ นหนา น้ี 15 ฉบับ มาจาก
คณะรฐั มนตรีท่ีมาจากการแตงตั้งหรือรัฐบาลทหาร เจตนารมณของรัฐธรรมนูญฉบับท่ี 16 คือ การ
ปฏริ ูปการเมือง โดยมีเปาหมาย 3 ประการ คือ
101
1) ขยายสทิ ธิ เสรภี าพ และสว นรวมของพลเมือง
2) การเพิม่ การตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ โดยประชาชน เพื่อใหเกิดความ
สจุ ริต และโปรงใสในระบอบการเมอื ง
3) การทาํ ใหระบบการเมอื งมเี สถยี รภาพ และประสิทธภิ าพ
รัฐธรรมนูญฉบับที่ 16 ไดสิ้นสุดลงดวยการรัฐประหาร เมื่อวันท่ี 19 กันยายน
พ.ศ. 2549 สมยั พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร เปนนายกรัฐมนตรี โดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยทรงเปนประมุข นําโดย พลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน ผูบัญชาการ-
ทหารบก ไดออกประกาศรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทยฉบับชั่วคราว พุทธศักราช 2549 ทั้งนี้
คณะปฏิรูปฯ ไดออกประกาศคงบทบัญญัติบางหมวดของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พทุ ธศกั ราช 2549 ไวภ ายหลัง
17. รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย (ฉบบั ชว่ั คราว) พทุ ธศกั ราช 2549
ประกาศใช เมอื่ วนั ท่ี 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2549 มีท้งั หมด 39 มาตรา เปนรัฐธรรมนูญฉบับ
ช่ัวคราวที่หัวหนาคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน
ประมขุ เปนผูส นองพระบรมราชโองการ หลังจากท่ีไดกระทําการรัฐประหารเปนผลสําเร็จ เมื่อวันท่ี
19 กนั ยายน พ.ศ. 2549 สิ้นสุดลง เม่ือมีการประกาศใชแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
เม่ือวนั ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2550
18. รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2550
ประกาศใช เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2550 มีทั้งหมด 309 มาตรา ดําเนินการยกราง
โดยสภารางรัฐธรรมนูญ (สสร.) ระหวาง พ.ศ. 2549 - พ.ศ. 2550 ภายหลังการรัฐประหารในประเทศ
โดยคณะปฏริ ปู การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมุข (คปค.) เมอ่ื
วันท่ี 19 กันยายน พ.ศ. 2549 รัฐธรรมนูญฉบับที่ 18 เปนรัฐธรรมนูญฉบับแรกท่ีเมื่อรางเสร็จ และ
ไดรบั ความเหน็ ชอบฝา ยนติ ิบัญญัตแิ ลว ไดมกี ารเผยแพรใ หป ระชาชนทราบ และจดั ใหม ีการลงประชามติ
เพ่ือขอความเห็นชอบ หรือไมเห็นชอบ ในการรางรัฐธรรมนูญจากประชาชนทั้งประเทศ เม่ือวันที่
19 สิงหาคม พ.ศ. 2550 ผลปรากฏวา มผี ลู งมติเห็นชอบ รอยละ 57.81 และไมเห็นชอบ รอยละ 42.19
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ยังคงมีผลบังคับใชในปจจุบัน ทามกลางเสียง
เรียกรอ งใหมกี ารแกไข แตต กลงกนั ไมไดวา จะแกไขประเดน็ ใดบาง ซ่ึงเปนเร่ืองที่ตองรอดูกันตอไปวาจะ
เปน อยา งไร
จากความเปน มาของรฐั ธรรมนญู ท้งั 18 ฉบับ เม่อื ศกึ ษาใหดี จะพบวา มีท่ีมาใน 2 ลกั ษณะ คือ
1. มงุ ใชเปนการถาวร มักใชชอื่ วา “รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั ร”
2. มุงใชบ ังคบั เปนการชว่ั คราว มักใชช ื่อวา “ธรรมนูญการปกครอง”
102
รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวบางฉบับ ใชบังคับเปนเวลานาน เชน ธรรมนูญการปกครอง
ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2502 ซ่ึงเกดิ ข้นึ โดยการทํารฐั ประหารของจอมพล สฤษด์ิ ธนะรัชต ใชบ งั คบั
เปนเวลา 9 ปเศษ แตรัฐธรรมนูญฉบับใชบังคับในระยะส้ัน ๆ เพราะเปนรัฐธรรมนูญท่ีมีหลักการ
สอดคลอ งกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย แตไ มสอดคลอ งกับโครงสรางอํานาจทางการเมือง
ของประชาชนอยางแทจริง ทวาตกอยูในมือของกลุมขาราชการประจําโดยเฉพาะอยางย่ิง
คณะนายทหารระดับสูง ดวยเหตุน้ีรัฐธรรมนูญที่มุงจะใชบังคับเปนการถาวร จึงมักจะถูกยกเลิกโดย
การทํารฐั ประหารโดยคณะผนู าํ ทางทหาร เมอ่ื คณะรฐั ประหารซึ่งมชี ่ือเรียกแตกตางกันไป เชน คณะปฏิวัติ
คณะปฏิรปู หรือคณะรกั ษาความสงบเรยี บรอย ยดึ อํานาจไดสาํ เร็จ ที่จะประกาศใชรัฐธรรมนูญ ที่มุง
จะใชบ ังคบั เปน การถาวร แลวก็จะมีการเลือกต้ัง และตามดวยการจัดต้ังรฐั บาลใหมตามวิถีทางของ
รัฐธรรมนูญฉบบั ถาวร แลวก็ประกาศใชรฐั ธรรมนูญฉบับชั่วคราว พรอ มทงั้ จัดใหม ีการรา งรฐั ธรรมนูญ
ฉบับถาวรใหมอีกครั้ง มีการรางแลวรางอีกหมุนเวียนเปนวงจรการเมืองของรัฐบาลไทยมาอยาง
ตอเนอื่ งเปนเวลานานนบั หลายสบิ ป นบั ต้งั แตเ ปลีย่ นแปลงการปกครอง เม่ือ พ.ศ. 2475 เปนตน มา
แมจ ะเกิดกรณี 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ซง่ึ เปนเหตุการณท ี่ประชาชนเขา รวมเรียกรองรัฐธรรมนูญ
ทีเ่ ปนประชาธิปไตยมากทีส่ ดุ เปน ประวตั ิการณ หลังจาก จอมพล ถนอม กิตติขจร ทํารัฐประหารรฐั บาล
ของตนเอง เพราะขณะทํารัฐประหารยึดอํานาจการปกครองนั้น จอมพล ถนอม กิตติขจร ดํารง
ตาํ แหนง เปน นายกรัฐมนตรี ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2511 และเมื่อมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับ
ชั่วคราว พรอมกับเตรียมรางรัฐธรรมนูญฉบับถาวร ตามวงจรการเมืองของไทยท่ีเคยเปนมา ก็เกิด
กระบวนการเรียกรอ งรฐั ธรรมนูญจนนาํ ไปสูเ หตกุ ารณน องเลือด เมือ่ วันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 จน
ทาํ ให จอมพล ถนอม กติ ติขจร ตอ งลาออกจากตาํ แหนง นายกรฐั มนตรี และเดินทางออกนอกประเทศไทย
และแมตอ มาจะมกี ารรา งรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2517 ท่เี ปนรัฐธรรมนญู ซง่ึ มีหลักการที่เปนประชาธิปไตย
มากฉบับหน่งึ แตในท่สี ดุ ก็มกี ารทํารฐั ประหารอีก และก็เกิดเหตุการณนองเลือด เม่ือวันท่ี 6 ตุลาคม
พ.ศ. 2519 ทาํ ใหวงจรการเมืองไทยหมุนกลับไปสูวงจรเดิม คือ รัฐประหาร ประกาศใชรัฐธรรมนูญ
ฉบบั ชวั่ คราว รา งรฐั ธรรมนญู ฉบับถาวร จัดใหม ีการเลือกต้ังจัดต้ังรัฐบาล ตามรัฐธรรมนูญฉบับถาวร
และทํารัฐประหาร ยกเลิกรัฐธรรมนญู ฉบบั ถาวร ซํ้าซากวนเวียนอยใู นวงั วนตอไปไมจบไมส ้นิ
ดวยเหตุนี้กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองของไทยที่ผานมา จึงมีสภาพชะงักงัน
ในขัน้ ตอนของการพฒั นาไปสูเ ปา หมายอุดมการณประชาธปิ ไตยตลอดมา วัฏจกั รของความไมตอเนอ่ื ง
ดงั กลา วขา งตนมสี ภาพเปนวงจร ดงั ภาพ
103
จนกระทงั่ เกดิ กระบวนการปฏริ ูปการเมือง เพื่อแกไขปญ หาของระบบการเมืองไทยท้ังระบบ
หลงั การรัฐประหาร เม่ือ พ.ศ. 2534 และเกิดเหตุการณนองเลือดอีกครั้งหนึ่ง เมื่อ เดือน พฤษภาคม 2535
ในทส่ี ุดกระบวนการปฏิรปู การเมืองกไ็ ดน าํ ไปสูการรา งรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ซ่งึ ถอื วา เปน รัฐธรรมนูญ
ฉบบั ประชาชน ซง่ึ ใชม าจนถึงเหตุการณการปฏิรูปการปกครองในป พ.ศ. 2549 และนําไปสูการราง
รัฐธรรมนญู พ.ศ. 2550 และจดั ใหมีการลงประชามตริ ับรางรัฐธรรมนญู เปนคร้ังแรกของประเทศไทย
และใชมาจนถึงปจ จุบัน
1.2 หลกั การและเจตนารมณ
ของรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย
จากการศึกษาความเปนมาของรัฐธรรมนูญนั้น พบวา มีความสัมพันธกับการเปลี่ยนแปลง
การปกครองมาต้งั แตป พ.ศ. 2475 และไมวาจะเกดิ การปฏวิ ตั ริ ฐั ประหารก่ีคร้ังก็ตาม กระแสการเรียกรอง
ใหมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย และเรียกรองใหรัฐธรรมนูญมีความเปนประชาธิปไตยก็
เกิดขึ้นอยางตอเน่ือง และมีวิวัฒนาการมาตามลําดับ หากศึกษาถึงมูลเหตุของการเรียกรองใหมี
การเปลี่ยนแปลงการปกครองและประกาศใชรัฐธรรมนูญในประเทศไทยน้ัน พบวา การประกาศใช
รัฐธรรมนูญ มเี ปา หมายสําคัญอยา งนอย 2 ประการ คือ
104
1. เปน หลักประกันในเรอื่ งสิทธิ และเสรภี าพ ของประชาชน ซงึ่ ผปู กครองจะละเมดิ มิได
2. เปน บทบัญญัติท่กี ลาวถึงขอบเขต อาํ นาจหนา ที่ ของผปู กครอง และปองกนั มใิ หผปู กครอง
ใชอาํ นาจตามอําเภอใจ
ดังนั้น ในการประกาศใชรัฐธรรมนูญแตละฉบับ คณะผูยกรางจึงไดเขียนหลักการและ
เจตนารมณใ นการจัดทาํ ไวท กุ ครงั้ ซ่งึ หลกั การ และเจตนารมณทคี่ ณะผยู กรา งเขียนไว นั้น ชวยใหคน
รุนหลังไดม คี วามรู ความเขา ใจ ในเนอ้ื หาท่ีมาของรัฐธรรมนญู แตละฉบบั วา มมี าอยางไร รวมท้งั สภาพ
สังคมในชว งเวลาน้นั ดว ย ซ่ึงในที่นี้จะขอยกตัวอยางหลกั การและเจตนารมณของรัฐธรรมนูญฉบับแรก
คือ “พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผนดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475” และรัฐธรรมนูญ
ฉบบั ท่ี 18 คือ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2550 ดงั นี้
1. หลักการและเจตนารมณของรัฐธรรมนูญฉบบั แรก คอื “พระราชบญั ญตั ิธรรมนูญการปกครอง
แผน ดินสยามชัว่ คราว พทุ ธศักราช 2475” สรปุ สาระสําคญั คือ
1) ประกาศวา อาํ นาจสูงสุดของประเทศเปนของราษฎร (มาตรา 1) ซ่ึงแสดงถึงการ
เปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสทิ ธิราชย มาเปน ระบอบประชาธปิ ไตย
2) พระมหากษัตริยเปนประมุขของประเทศ กิจการสําคัญของรัฐ ทําในนามของ
พระมหากษัตริย
3) เปนการปกครองแบบสมัชชาโดยกําหนดใหคณะกรรมการราษฎรซึ่งมีจํานวน 15 คน
ทาํ หนา ทบ่ี ริหารราชการแผนดนิ ดําเนนิ การใหเปนไปตามวัตถปุ ระสงคของสภาผูแทนราษฎร
4) เร่มิ มีรัฐสภาขึ้นเปนครั้งแรก โดยกําหนดใหเปนสภาเดียว คือ สภาผูแทนราษฎร
ซ่งึ มอี ํานาจสูงสุดกลา ว คือ
- ตรากฎหมาย
- ควบคุมดแู ลราชการกิจการของประเทศ
- มีอํานาจ ถอดถอน หรือสามารถ ปลดกรรมการราษฎร และขาราชการ
ทกุ ระดับช้ันได โดยคณะกรรมการราษฎรไมม ีอาํ นาจท่จี ะยุบสภาผแู ทนราษฎร
- วินิจฉยั การกระทําของพระมหากษตั รยิ
5) รัฐธรรมนญู ฉบบั นี้ ไดก ําหนดอายุของผูมีสิทธิออกเสยี งเลือกตงั้ และผมู สี ทิ ธสิ มคั ร
รบั เลือกตง้ั ไว 20 ปบริบรู ณเ ทากนั สวนวิธีการเลือกต้ังเปนการเลือกต้ังทางออม คือ ใหราษฎรเลือก
ผแู ทนตาํ บล และผูแ ทนตําบล กเ็ ลือกสมาชกิ สภาผูแ ทนราษฎร อีกทอดหนึ่ง
6) ศาล มีอํานาจพจิ ารณา พิพากษาคดี ตามกฎหมาย แตไมม ีหลกั ประกันความอสิ ระ
ของผูพพิ ากษา
105
2. หลักการและเจตนารมณข องรฐั ธรรมนญู ฉบับท่ี 18 คอื รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550 สรุปสาระสําคญั ได ดงั นี้
1) คมุ ครอง สงเสรมิ ขยาย สิทธิ และเสรภี าพ ของประชาชนอยางเตม็ ที่
2) ลดการผูกขาดอํานาจรฐั และเพ่มิ อํานาจประชาชน
3) การเมอื ง มคี วามโปรง ใส มคี ุณธรรม และจริยธรรม
4) ทาํ ใหองคก รตรวจสอบ มีความอิสระเขม แขง็ และทาํ งานอยางมีประสิทธภิ าพ
106
เรือ่ งที่ 2 โครงสรา งและสาระสําคญั
ของรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย
โครงสรางและสาระสําคัญของรัฐธรรมนูญทั้ง 18 ฉบับ มีวิวัฒนาการมาเปนลําดับจาก
การศึกษาพบวา มีโครงสรา งและสาระสําคัญท่บี ัญญตั ไิ ว ดงั น้ี
1) ประมุขแหง รฐั สวนนีจ้ ะระบถุ งึ องคพระมหากษัตริย และพระราชอํานาจ ของพระองค การ
แตง ตง้ั ผูสาํ เรจ็ ราชการ และการสืบราชสนั ตตวิ งศ
2) ระบอบการปกครอง สว นนจ้ี ะระบุรปู แบบของรฐั และลักษณะการปกครองไว กลาวคือ
ประเทศไทยเปนรัฐเด่ียว และมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน
ประมุข
3) สทิ ธิ เสรีภาพ ความเสมอภาค และหนา ที่ สวนนร้ี ฐั ธรรมนญู ระบไุ ว โดยในสว นของสิทธิ
เชน สิทธิในการศึกษา สิทธใิ นการรักษาพยาบาล เปนตน ในสว นของความเสมอภาค เชน การไมเลอื ก
ปฏบิ ตั อิ นั เน่ืองมาจากเชื้อชาติ สผี วิ รายได และสภาพรางกาย เปน ตน ในสวนของหนา ที่ เชน ประชาชน
มีหนา ทต่ี อ งไปเลือกตง้ั มีหนา ท่ตี องเสียภาษี และมหี นาท่ตี อ งรกั ษาชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ เปนตน
4) แนวนโยบายพ้ืนฐานแหงรัฐ สวนน้ีจะระบุ แนวนโยบาย ท่ีจะทําใหประเทศมีความม่ันคง
มีความเจริญเติบโต มีสันติสุข และประชาชน มีมาตรฐานการครองชีพ และมีคุณภาพชีวิตท่ีดี เชน
การรกั ษาธรรมชาติ การสรา งความเขมแขง็ ของชุมชน การกระจายรายไดท เ่ี ปน ธรรม เปน ตน
5) อํานาจอธิปไตย สวนนี้จะกําหนด สถาบันที่ใชอํานาจอธิปไตย ไดแก ฝายบริหาร ฝายนิติ-
บญั ญัติ และฝายตลุ าการ รวมถึงความสมั พนั ธระหวา งสถาบันทัง้ สามสถาบนั
6) การตรวจสอบการใชอ ํานาจรฐั สว นนีจ้ ะระบุ กลไกที่ใชสาํ หรับตรวจสอบการทํางานของ
รัฐ เพอ่ื ใหเ กดิ ความโปรง ใส และความบริสุทธยิ์ ตุ ิธรรม เชน ศาลรฐั ธรรมนญู คณะกรรมการปองกันและ
ปราบปรามการทจุ รติ แหง ชาติ คณะกรรมการการเลือกต้งั เปนตน
รฐั ธรรมนญู แตละฉบบั จะกําหนดโครงสรา ง และสาระสําคัญแตกตางกันไป การจะตัดหรือ
เพิ่มเรื่องใดเขา ไปในรฐั ธรรมนูญ เปนเร่อื งของความจําเปนในขณะน้นั ๆ ซึ่งผเู รยี นไมตองยึดถอื ตายตวั
เพราะสงิ่ เหลาน้ี เปน ความเหมาะสมของสถานการณในแตละยคุ สมัย โดยจะตองพิจารณาบริบทของ
สภาพสงั คมโดยรวมของทง้ั ประเทศ และสถานการณของโลกประกอบดว ย
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 แบงโครงสรางออกเปน 15 หมวด
ดังนี้
หมวด 1 บททั่วไป
หมวด 2 พระมหากษัตริย
107
หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
หมวด 4 หนาที่ของชนชาวไทย
หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแหง รฐั
หมวด 6 รัฐสภา
หมวด 7 การมสี วนรวมทางการเมอื งโดยตรงของประชาชน
หมวด 8 การเงินการคลังและงบประมาณ
หมวด 9 คณะรัฐมนตรี
หมวด 10 ศาล
หมวด 11 องคก รตามรฐั ธรรมนญู
หมวด 12 การตรวจสอบการใชอ าํ นาจรัฐ
หมวด 13 จริยธรรมของผูดาํ รงตาํ แหนง ทางการเมอื ง
หมวด 14 และเจาหนา ที่ของรัฐ
หมวด 15 การปกครองสวนทองถ่นิ
บทเฉพาะกาล การแกไขเพม่ิ เตมิ รฐั ธรรมนญู
เพ่อื ใหมีความรูความเขาใจเพิม่ มากข้นึ ผเู รยี นสามารถศกึ ษารายละเอียดของรัฐธรรมนญู แหง
ราชอาณาจักรไทยพุทธศกั ราช 2550 เพ่ิมเติมได
108
เร่อื งที่ 3 จดุ เดน ของรัฐธรรมนูญท่เี กีย่ วกบั
สิทธิเสรีภาพและหนาทข่ี องประชาชน
สทิ ธแิ ละเสรภี าพ เปน รากฐานสําคญั ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย การที่จะรูวา
การปกครองของประเทศใดมีความเปนประชาธิปไตยไดมากนอยเพียงใด ตองดูที่สิทธิเสรีภาพของ
ประชาชนในประเทศน้นั ๆ เปนสาํ คัญ ถา ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพมาก ความเปนประชาธิปไตยของ
ประเทศนั้นก็มีมาก หากสิทธิเสรีภาพของประชาชนถูกจํากัด หรือถูกลิดรอน โดยผูมีอํานาจในการ
ปกครอง ประชาธิปไตยก็จะมีไมได ดวยเหตุนี้กฎหมายรัฐธรรมนูญของไทยทุกฉบับ จึงไดบัญญัติ
คุมครอง สิทธิ เสรีภาพ ของประชาชนไว และมีการบัญญัติเพิ่มและชัดเจนขึ้นเร่ือย ๆ จนถึง
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ซ่ึงเปนรัฐธรรมนูญที่ยังคงมีผลบังคับใชใน
ปจจบุ นั ไดบ ญั ญตั ิไวเรื่อง สิทธิ และเสรีภาพ ของประชาชน ไวอยา งชดั เจน และเปนหมวดหมปู รากฏอยู
ในหมวดที่ 3 ดังน้ี
สว นที่ 1 บททั่วไป
สวนท่ี 2 ความเสมอภาค
สวนท่ี 3 สิทธแิ ละเสรีภาพสว นบคุ คล
สวนท่ี 4 สทิ ธใิ นกระบวนการยตุ ิธรรม
สวนที่ 5 สทิ ธใิ นทรพั ยสนิ
สว นท่ี 6 สทิ ธิและเสรภี าพในการประกอบอาชีพ
สว นท่ี 7 เสรีภาพในการแสดงความคิดเหน็ ของบคุ คลและสอ่ื มวลชน
สวนที่ 8 สทิ ธแิ ละเสรภี าพในการศึกษา
สวนที่ 9 สทิ ธิในการไดร ับบริการสาธารณสขุ และสวัสดกิ ารจากรัฐ
สวนท่ี 10 สทิ ธใิ นขอมลู ขา วสารและการรองเรยี น
สวนที่ 11 เสรีภาพในการชุมนมุ และสมาคม
สวนท่ี 12 สิทธิชมุ ชน
สว นที่ 13 สทิ ธพิ ทิ กั ษรฐั ธรรมนญู
ผูเรียนสามารถศึกษารายละเอียดของ สิทธิ และเสรีภาพ ไดในเอกสารรัฐธรรมนูญแหง
ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2550 หมวด 3
109
นอกจากจะบัญญตั ิ สิทธิ และเสรีภาพของประชาชนไวแลว รัฐธรรมนูญกย็ งั ไดบัญญัติหนาที่
ของประชาชนไว เชนกัน ดังตัวอยาง หนาท่ีของประชาชนชาวไทยในหมวด 4 ของรัฐธรรมนูญแหง
ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2550 ซ่ึงบัญญัตไิ ว ดงั น้ี
1. บคุ คล มหี นาทพี่ ิทักษ รกั ษาไวซ ่งึ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ และการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมุข ตามรฐั ธรรมนูญน้ี (มาตรา 70)
2. บุคคล มีหนาท่ีปองกันประเทศ รักษาผลประโยชนของชาติ และปฏิบัติตามกฎหมาย
(มาตรา 71)
3. บคุ คล มหี นาทไ่ี ปใชสทิ ธเิ ลือกตั้ง บุคคลซึ่งไปใชสิทธิหรือไมไปใชสิทธิ โดยไมแจง เหตุอัน
สมควรทท่ี ําใหไ มอาจไปใชสิทธไิ ด ยอมไดรับสิทธิ หรือเสียสิทธิตามที่กฎหมายบัญญัติ การแจงเหตุที่
ทําใหไมอาจไปเลือกต้ัง และการอํานวยความสะดวกในการไปเลือกต้ัง ใหเปนไปตามท่ีกฎหมาย
บัญญตั ิ (มาตรา 72)
4. บุคคล มีหนาที่รับราชการทหาร ชวยเหลอื ในการปอ งกัน และบรรเทาภัยพิบัติสาธารณะ
เสยี ภาษีอากร ชวยเหลือราชการ รบั การศึกษา อบรม พทิ กั ษ ปกปอ ง และสืบสานศลิ ปวฒั นธรรมของ
ชาติและภูมิปญญาทองถ่ิน และอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ท้ังน้ีตามท่ีกฎหมาย
บญั ญัติ (มาตรา 73)
5. บคุ คล ผูเปนขาราชการพนักงาน ลูกจาง ของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ
หรือเจาหนาท่ีอื่นของรัฐ มีหนาที่ดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมาย เพื่อรักษาประโยชนสวนรวม
อํานวยความสะดวก และใหบริการแกประชาชน ตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการ
บานเมอื งทด่ี ี ในการปฏิบัติหนาที่ และในการปฏิบัติการอื่นทีเ่ ก่ยี วของกบั ประชาชน บุคคล ตามวรรคหน่ึง
ตองวางตนเปนกลางทางการเมือง (มาตรา 74)
110
กิจกรรมท่ี 10
1. เมื่อผูเรียนไดศ ึกษาความเปนมาของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย แลว
ใหผ ูเ รยี นลําดบั ววิ ฒั นาการของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทยตามระยะเวลา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. จากพระราชหัตถเลขาท่ที รงสละราชสมบัติของพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลาเจาอยูหัว
ไดทรงคาดหวงั วาประเทศไทย ควรจะมีรูปแบบการปกครองเปนอยางไร และปจจุบัน
ประเทศไทยมีรูปแบบการปกครองตามท่ีพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว
ทรงคาดหวงั ไวแลวหรือไม ถามี มใี นเรอ่ื งใดบาง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………….............................................................................
3. ใหผูเรียนวิเคราะหวิถีชีวิตของผูเรียนวามีเร่ืองใดบางในชีวิตของผูเรียนที่มีความ
เก่ยี วของกับบทบัญญตั ิในรัฐธรรมนญู ฉบบั ทใี่ ชอ ยูป จจุบัน และความเก่ียวของน้ันเปน
สงิ่ ที่ผูเรยี นมคี วามพงึ พอใจแลวหรือไม ตอ งการใหม ีการเปล่ียนแปลง อยา งไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
111
4. หากผูเ รยี นจะนาํ หลกั การสาํ คญั ของระบอบประชาธิปไตยมาใชในครอบครัว ผูเรยี นจะ
นาํ หลักการนั้นมาใช และมวี ิธีปฏบิ ัตอิ ยางไรกับสมาชกิ ในครอบครวั จงึ จะไดชื่อวาเปน
ครอบครวั ประชาธิปไตยทมี่ องเหน็ และสมั ผัสไดอยางเปน รปู ธรรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เร่อื งท่ี 4 หลักการสําคัญของประชาธิปไตยและคณุ ธรรม
จริยธรรม คานิยม ในการอยรู ว มกันอยา ง สันติ
สามัคคี ปรองดอง
ความหมายและความสําคญั ของประชาธิปไตย
ประชาธปิ ไตย เปน รูปไดท ง้ั แบบการปกครอง
และวถิ กี ารดาํ เนนิ ชวี ติ ซงึ่ ยดึ หลักของความเสมอภาค
เสรีภาพและศักดศ์ิ รีแหง ความเปนมนษุ ย การปกครอง
ระบอบประชาธปิ ไตยถือวาทกุ คนมสี ิทธิเสรีภาพ
เทา เทียมกันและอาํ นาจอธปิ ไตยตองมาจากปวงชน
ระบอบประชาธปิ ไตย หมายถึง ระบอบการปกครองท่ีอํานาจอธิปไตยเปนของปวงชน ประชาชน
มสี ิทธิ เสรภี าพ โดยอาศยั หลักการของการแบงแยกอํานาจ และหลักการที่วาดวยความถูกตองแหง
กฎหมาย ผปู กครองประเทศท่มี าจากการเลือกตงั้ ของประชาชน เปนเพียงตัวแทนท่ีไดรับมอบอํานาจ
ใหใชอ าํ นาจอธปิ ไตยแทนประชาชน
112
หลักการสาํ คญั ของระบอบประชาธปิ ไตยที่สาํ คญั
1. หลกั อํานาจอธปิ ไตย เปนของปวงชน ประชาชนแสดงออกซึ่งการเปนเจาของ โดยใชอ ํานาจที่
มีตามกระบวนการเลือกตั้งอยางอิสระและทั่วถึง ในการใหไดมาซึ่งตัวผูปกครอง และผูแทนของตน
รวมทั้งประชาชนมอี าํ นาจในการคดั คาน และถอดถอนผปู กครอง และผูแทนที่ประชาชนเห็นวา มิได
บรหิ ารประเทศ ในทางทเี่ ปน ประโยชนต อ สงั คมสวนรวม เชน มีพฤตกิ รรมรา่ํ รวยผดิ ปกติ
อํานาจอธปิ ไตย หมายถึง อํานาจสูงสุดในการปกครองรัฐหรือประเทศ ดังน้ัน ส่ิงอื่นใดจะมี
อํานาจยิ่งกวา หรือขัดตออํานาจอธิปไตยไมได อํานาจอธิปไตยยอมมีความแตกตางกันไปในแตละ
ระบอบการปกครอง เชน ในระบอบประชาธิปไตย อํานาจอธิปไตยเปนของประชาชน กลาวคือ
ประชาชน คือ ผูมีอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช อํานาจ
อธิปไตย เปน ของพระมหากษัตรยิ คือ กษัตริย เปนผูมีอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ เปนตน
อน่งึ อํานาจอธปิ ไตยน้ี นับเปนองคประกอบสําคญั ที่สุดของความเปนรัฐ เพราะการท่ีจะเปนรัฐไดน้ัน
นอกจากจะตองประกอบดวยอาณาเขต ประชากร และรัฐบาลแลว ยอมตองมีอํานาจอธิปไตยดวย
กลาวคือ ประเทศนั้นตองเปนประเทศท่ีสามารถมีอํานาจสูงสุด (อํานาจอธิปไตย) ในการปกครอง
ตนเอง จึงจะสามารถ เรยี กวา “รฐั ” ได
ในระบอบประชาธปิ ไตย อํานาจอธปิ ไตย เปนอาํ นาจสงู สุดในการปกครองประเทศ แบง
ออกเปน 3 สว น ดงั น้ี
1) อาํ นาจนติ บิ ญั ญตั ิ เปนอํานาจในการออกกฎหมายและควบคุมการทํางานของ
รัฐบาล เพื่อประโยชนข องประชาชนและประเทศชาติ ประชาชนชาวไทยใชอํานาจนี้โดยการเลือกตั้ง
สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรไปทาํ หนาทแ่ี ทนในรฐั สภา
2) อํานาจบรหิ าร เปน อาํ นาจการบริหารราชการแผนดินและการปกครอง ซึ่งมี
คณะรฐั มนตรีหรือรฐั บาลเปน ผใู ชอ าํ นาจ และรับผดิ ชอบในการบริหารราชการแผนดินใหเปนไปตาม
นโยบายที่แถลงตอรัฐสภา
113
3) อํานาจตลุ าการ เปน อํานาจในการวินจิ ฉยั ตดั สินคดีความตามกฎหมาย โดยมี
ศาลเปนผใู ชอํานาจ
2 หลกั สทิ ธเิ สรภี าพ ประชาชนทุกคน มคี วามสามารถในการกระทํา หรืองดเวนการกระทํา
อยางใดอยางหนึ่งตามที่บุคคลตองการ ตราบเทาท่ีการกระทําของเขานั้น ไมไปละเมิดลิดรอนสิทธิ
เสรภี าพของบคุ คลอื่น หรือละเมดิ ตอความสงบเรยี บรอยของสงั คม และความมน่ั คงของประเทศชาติ
3. หลักความเสมอภาค การเปดโอกาสใหประชาชนทุกคน สามารถเขาถึงทรัพยากรและ
คณุ คาตา ง ๆ ของสังคมท่ีมอี ยจู ํากดั อยางเทา เทยี มกนั โดยไมถกู กดี กัน ดวยสาเหตุแหงความแตกตาง
ทางชนั้ วรรณะทางสังคม ชาตพิ ันธุ วฒั นธรรม ความเปน อยู ฐานะทางเศรษฐกจิ หรือดว ยสาเหตุอนื่
4. หลักนิติรัฐและหลักนิติธรรม เปนหลักการของรัฐท่ีมีการปกครองโดยกฎหมาย หรือ
หลักนิติธรรม การใชหลักกฎหมายเปนกฎเกณฑการอยูรวมกัน เพ่ือความสงบสุขของสังคม การให
ความคุมครองสิทธิขั้นพ้ืนฐานของประชาชน ทั้งในเรื่องสิทธิเสรีภาพในทรัพยสิน การแสดงออก
การดํารงชพี ฯลฯ อยางเสมอหนากัน ผูปกครองไมสามารถใชอํานาจใด ๆ ลิดรอนเพิกถอนสิทธิ เสรีภาพ
ของประชาชนได และไมสามารถใชอภสิ ิทธอิ ยเู หนือกฎหมาย หรอื เหนือกวา ประชาชนคนอื่น ๆ ได
5. หลักการเสียงขา งมาก ควบคไู ปกบั การเคารพในสทิ ธิของเสียงขางนอย การตัดสินใจใด ๆ
ที่สงผลกระทบตอประชาชนหมูมาก ไมวาจะเปนการเลือกต้ังผูแทนของประชาชน เขาสูระบบ
การเมือง การตัดสินใจของฝา ยนติ ิบญั ญัติ ฝา ยบริหาร หรอื ฝายตลุ าการ ยอมตอ งถอื เอาเสียงขางมาก
ที่มีตอ เรื่องน้นั ๆ เปน เกณฑใ นการตัดสนิ ทางเลอื ก โดยถือวา เสยี งขา งมาก เปนตัวแทนทีส่ ะทอนความ
ตองการ และขอเรียกรองของประชาชนหมูมาก หลักการนี้ ตอ งควบคูไปกับการเคารพ และคุมครอง
สทิ ธเิ สียงขา งนอ ยดว ย ทงั้ นี้ก็ เพ่อื เปน หลักประกันวา ฝายเสียงขางมากจะไมใชวิธีการ พวกมากลากไป
ตามผลประโยชน ความเห็นหรือกระแสความนิยมของพวกตนอยางสุดโตง แตตองดําเนินการ เพ่ือ
ประโยชนค วามเหน็ ของประชาชนทั้งหมด เพ่ือสรางสงั คมท่ปี ระชาชนเสียงขางนอย รวมท้ังชนกลุมนอย
ผูดอยโอกาสตาง ๆ สามารถอยูรวมกันไดอยางสันติสขุ โดยไมมีการเอาเปรียบกันและสรางความ
ขดั แยงในสังคม
6. หลกั เหตุผล เปน หลกั การใชเหตุผลทีถ่ กู ตอ ง ในการตัดสนิ หรอื ยตุ ปิ ญ หาในสังคม ในการอยู
รว มกนั อยา งสนั ติ สามคั คี ปรองดอง ผคู นตอ งรูจ กั ยอมรบั ฟงความเห็นตาง และรับฟงเหตุผลของผอู ื่น
ไมด อื้ ดึงในความคิดเห็นของตนเอง จนคนอน่ื มองเราเปนคนมมี ิจฉาทิฐิ
7. หลักประนปี ระนอม เปนการลดความขัดแยง โดยการผอนหนักผอนเบาใหกัน รวมมอื กัน
เพ่ือเห็นแกประโยชนของสวนรวมเปนสําคัญ เปนทางสายกลาง ซ่ึงท้ังสองฝายจะตองไดและเสียใน
บางอยาง ไมไดครบตามท่ตี นปรารถนา จัดเปนวิธกี ารท่ที ําใหท กุ ฝา ย สามารถอยูรวมกันตอไปไดอยางสันติ
วิธีการในการประนีประนอม อาจใชเทคนิคการเจรจาตอรอง การไกลเกลี่ย โดยผูบังคับบัญชา หรือ
บุคคลทส่ี าม เปนตน
114
8. หลักการยอมรบั ความเห็นตา ง หลักการน้ี เพ่ือเปนการอยูรวมกันดวยความสันติ สามัคคี
ปรองดอง ไมวาเสียงขางมากหรือเสียงขางนอย ตองทําใจยอมรับความเห็นตาง อันเปนการหลอมรวม
หลกั ความเสมอภาค หลกั เสรีภาพ และหลักประนีประนอม โดยการเคารพและคมุ ครองสทิ ธิของผูอ ื่นดว ย
ทง้ั น้กี ็เพื่อ เปนหลักประกนั วา ไมว า ฝายเสียงขางมากหรอื ฝา ยเสยี งขา งนอ ย เปนจะสามารถอยูรว มกนั
ดวยความสันตสิ ามัคคี ปรองดอง ทุกฝายตอ งยอมรับความเห็นตาง รวมทั้งฝายเสียงขางมากเองก็จะ
ไมใ ชว ิธกี าร พวกมากลากไป ตามผลประโยชนห รอื ความเห็น หรอื กระแสความนยิ มของพวกตนอยาง
สดุ โตง ดงั ไดก ลา วไวแลวขา งตน แตตองดาํ เนินการเพื่อประโยชนของประชาชนท้ังหมดหรือทุกฝาย
เพ่ือสรางสังคมที่ประชาชนเสียงขางนอย หรือประชาชนที่มีความเห็นตางจากฝายตน สามารถอยู
รว มกันไดอ ยา งสนั ติ สามัคคี ปรองดอง โดยไมมกี ารเอาเปรยี บกัน และสรา งความขัดแยง ในสังคมมาก
เกนิ ไป
กลาวโดยสรปุ วิถีทางประชาธิปไตยอันมี
หลกั การทส่ี ําคญั เชน หลกั การอํานาจอธิปไตย
หลักสิทธเิ สรภี าพ หลกั ความเสมอภาค หลกั นติ ริ ัฐ
และหลกั นติ ิธรรม หลักการเสยี งขา งมาก หลักเหตผุ ล
หลกั ประนีประนอม หลักการยอมรับความเหน็ ตา ง
ผูเ รียนจะตองศกึ ษา เพอื่ ใหมคี วามรู ความเขา ใจ
และนํามาประยกุ ตใชใ นชีวติ ประจาํ วนั เพ่ือการอยู
รวมกันอยางสันติ
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา นิยมในการเสรมิ สรา งสันติ สามัคคี ปรองดองในสงั คมไทย
ความหมาย การเสริมสรา งความปรองดองในสงั คมไทย
การเสรมิ สรางความปรองดองในสังคมไทย หมายถงึ “การเพิ่มพูนใหด ีขนึ้ หรือมั่นคงยง่ิ ข้นึ ดวย
ความพรอ มเพรียงกนั หรือ การเพ่มิ พูนใหด ีข้นึ ดวยการออมชอม ประนีประนอม ยอมกันไมแกงแยงกัน
ตกลงดวยความไกลเ กลี่ย และตกลงกนั ดวยความมีไมตรีจิตของประชาชนคนไทย”
คนไทยสวนใหญ ลวนมีความรักใครและสามัคคีกันอยูแลวในทุกถิ่น ดวยความมีจารีต
วัฒนธรรม ประเพณี กับความมีศีลธรรมในสายเลือด และในจิตใจสืบทอดตอกันมา การขัดแยงทาง
ความคิดในกลุมคน ยอมเกดิ มีไดบางเปนเรื่องธรรมดา แตถาหากการขัดแยงทางความคิด ไดรับการ
ไกลเ กล่ยี ไดร บั ความรู ไดร บั ขาวสาร หรือไดร บั การอธิบายจนเกิดความรู ความเขาใจที่ถูกตอง การขัดแยง
ทางความคิดเหลา น้นั ก็จะหมดไปได ไมก อ ใหเ กิดความแตกแยกสามัคคี ไมก อ ใหเกดิ ความรุนแรงใดใด
ท้งั ทางวาจาและทางกาย เพราะคนไทย เปนชนชาติทร่ี ักสงบ รักพวกพอง และรักแผน ดนิ ถนิ่ เกดิ
115
ดังน้ัน ประชาชนควรมีความรู ความเขาใจ ในระบอบการปกครอง รวมถึงระบบ ระเบียบ
วิธีการทํางาน หรือกลวิธีของพรรคการเมือง และควรไดรับความรู มีความเขาใจ เกี่ยวกับกลวิธีใน
การทุจริตคอรร ปั ช่ัน ประพฤตมิ ิชอบ การรับเงินสมนาคณุ หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกบั พรรคการเมอื ง
และนักการเมืองทุกรูปแบบ รวมถึงความรู เกี่ยวกับกฎหมายท่ีสําคัญในชีวิตประจําวัน และอื่น ๆ
เพอ่ื ใหป ระชาชนเกดิ การเคารพในกฎหมาย ประพฤติปฏิบัติตามกฎเกณฑ กติกา หรือตามกฎหมาย
ประชาชนทุกหมูเหลา ทุกสาขาอาชีพ ควรไดรับการพัฒนาทางดานจิตใจใหมีคุณธรรมทางศาสนา
ใหเกิดมีความรู มีความเขาใจในหลักการหรือหลักคําสอนทางศาสนา อันจะเปนบรรทัดฐานหรือ
เปนแนวทางในการประพฤติปฏิบัติตามหนาท่ี แหงความเปนประชาชนชาวไทย เพื่อใหเกิดความมี
ระเบยี บ มวี นิ ัย ทั้งความคิด ทง้ั จติ ใจ ในทุกดา น อนั จกั ทาํ ใหก ารขดั แยง ทางความคิดในทุกชุมชน ทุกสังคม
ทุกหนว ยงาน ทกุ กลมุ บุคคล ลดนอยลงหรอื ไมม ี การขดั แยง ทางความคดิ ท่รี นุ แรงเกดิ ขึน้ น้ัน ยอ มแสดงให
เห็นวา คนไทย ไดเสริมสรางความสามัคคี คือ ไดเพ่ิมพูนใหดีขึ้น หรือมั่นคงยิ่งขึ้น ดวยความพรอม-
เพยี งกนั ออมชอม ประนีประนอม ยอมกัน ไมแกงแยงกัน ตามจารตี วัฒนธรรม ประเพณีตามหลักกฎหมาย
ตามหลักศีลธรรมในศาสนา ซ่ึง “การเสริมสรางความสามัคคีของคนไทย” จะสําเร็จได ก็ดวยคนไทย
รว มมอื รว มใจกนั ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ เพือ่ ประเทศไทย และเพื่อคนไทย
หลกั การเสริมสรา งความปรองดองในสงั คมไทย
116
การเสริมสรางความปรองดอง เปนกระบวนการท่ีชวยปองกัน หรือลดปญหาความขัดแยง
สรางสันติ ใหคนในสังคมอยูรวมกันอยางสามัคคี บนพื้นฐานของหลักการทางประชาธิปไตย และ
คุณธรรมในการอยูร วมกนั ในสงั คมอยา งมีความสขุ
คุณธรรมพน้ื ฐานในการอยรู ว มกนั อยางสันติ สามัคคี ปรองดองตามหลักการทางประชาธิปไตย
พระพรหมคณุ าภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต) (2551 : 51, 57) ไดใ หความหมายของคําวา “คุณธรรม”
ไวอ ยางชดั เจนวา หมายถงึ ธรรมที่เปนคุณ ความดีงาม สภาพที่เกอ้ื กูลกัน สวนคาํ วา “จริยธรรม” หมายถึง
หลักความประพฤติ หลกั ในการดาํ เนินชีวติ หรือความประพฤติอนั ประเสริฐ หรือการดําเนินชีวิตอัน
ประเสริฐ
คณุ ธรรม จริยธรรม เปน เร่อื งของระบบคดิ ทย่ี อมรบั ความเปน จรงิ ของชีวติ การสรา งคุณธรรม
จรยิ ธรรม ใหเกดิ ขึน้ ได ตองอาศัยการปลูกฝงระบบคิดดังกลาวใหเขาไปอยูในทุกชวงชีวิตของมนุษย
และตอ งไมเ ปนหนา ทข่ี องหนว ยงานใดหนว ยงานหน่งึ อยา งสถาบนั การศึกษา หากแตควรเปน ทุกภาคสวน
ของสังคม ตอ งเขา มามีสวนรว มในการปลูกฝง คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ใหเกดิ มขี น้ึ ใหไ ด
จะเหน็ ไดวา เร่อื งของ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม เปนการพัฒนาความเปนมนุษยท่ีสมบูรณ ไมเพียง
เฉพาะ เพื่อการอยรู ว มกนั อยางสนั ติ สามัคคี ปรองดอง เทาน้นั ยงั เปนพ้นื ฐานของการอยูรว มกันอยาง
สงบสุข ไมแ ตกแยก การอยูรว มกันในฐานะสมาชิกในสังคมเดียวกัน จะนํามาซึ่งการอยูรวมกันอยาง
สนั ติสุขได
คุณธรรมทน่ี าํ ไปสกู ารอยรู ว มกนั อยางสนั ติ สามัคคี ปรองดอง ตามหลกั การทางประชาธปิ ไตย
(ดร.สาโรช บัวศรี) มีดังน้ี
1. คารวธรรม คือ การเคารพซึง่ กันและกัน
2. สามคั คธี รรม คือ การรวมมือชว ยเหลือซ่ึงกันและกัน
3. ปญ ญาธรรม คอื การใชส ติปญ ญาในการดําเนนิ ชวี ิต
1. คารวธรรม คือ การเคารพซ่งึ กนั และกนั มพี ฤติกรรมทแ่ี สดงออก ดงั นี้
1.1 เคารพในสถาบันพระมหากษัตริย ไดแก การแสดงความเคารพเทดิ ทูนสถาบันพระมหากษัตริย
ในทุกโอกาส การรวมกิจกรรมตาง ๆ ท่ีจัด เพ่ือแสดงความจงรักภักดีตอสถาบันพระมหากษัตริย
ในโอกาสวันสําคัญตา ง ๆ การไปรับเสดจ็ เมือ่ พระมหากษัตริยหรือพระบรมวงศานุวงศเสดจ็ ไปในถิ่นทอี่ ยู
หรอื บรเิ วณใกลเคยี ง การปฏบิ ัติตอสัญลกั ษณท แ่ี สดงถงึ สถาบันพระมหากษัตริย เชน ธงชาติ พระบรม-
ฉายาลกั ษณ เพลงสรรเสริญพระบารมี ฯลฯ ดว ยความเคารพ เมอ่ื ไดย ิน หรอื เห็นบุคคลใดแสดงกิริยา
วาจา หรือมีการกระทําอันไมสมควรตอสถาบันพระมหากษัตริย ตองกลาวตักเตือน และหามไมให
ปฏบิ ตั เิ ชน นน้ั อีก
117
1.2 เคารพบุคคลท่ีเกยี่ วของ โดยเฉพาะบิดามารดา ซ่ึงเปน ผูใหกําเนิด เคารพญาติผูใหญ
เชน ปู ยา ตา ยาย และผสู งู อายุ เคารพครูอาจารย และเพ่ือน ๆ ทง้ั ทางกายและทางวาจา
1.2.1 ทางกาย ไดแก การทักทาย การใหเกียรติผูอ่ืน การแสดงความเคารพแกบุคคล
ซึง่ อาวุโสกวา การใหการตอ นรบั แกบ ุคคล การแสดงความเอ้อื เฟอซึง่ กนั และกนั เปนตน
1.2.2 ทางวาจา ไดแก การพูดใหเหมาะสมกับกาลเทศะ การใชค ําพดู เหมาะสมตามฐานะ
ของบุคคล การพดู จาสภุ าพ ไมก าวราว สอเสียด การไมพดู ในสงิ่ ทจ่ี ะทาํ ใหผอู ื่นเกดิ ความเดอื ดรอน ไมนาํ
ความลบั ของบคุ คลอื่นไปเปดเผย ไมพูดนนิ ทา หรอื โกหก หลอกลวง เปน ตน
1.3 เคารพสิทธิของผูอ่ืน ไดแก การไมลวงละเมิดสิทธิของผูอ่ืน ท้ังทางกาย หรือวาจา การ
รจู ักเคารพในสิทธิของคนทีม่ ากอ นหลัง การเคารพในความเปนเจาของ สิ่งของเคร่ืองใช การรูจักขอ
อนุญาต เมื่อลวงล้ําเขาไปในที่อยูอาศัยของบุคคลอื่น การไมทํารายผูอ่ืนโดยเจตนา การไมทําใหผูอื่น
เสอื่ มเสยี ชอื่ เสยี ง เปนตน
1.4 เคารพในความคิดเห็นของผอู ืน่ ไดแก การยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น เมื่อมีผูพูด
เสนอความคดิ เห็น ควรฟงดวยความตั้งใจและใครครวญดวยวิจารณญาณ หากเห็นวาเปนการเสนอ
แนวความคิดที่ดีมีประโยชนมากกวาความคิดเห็นของตนเอง ก็ควรยอมรับและปฏิบัติตาม ไมควร
ยึดถอื ความคิดเห็นของตนวา ถูกเสมอไป
1.5 เคารพในกฎระเบียบของสังคม ไดแก การยึดมั่นในกฎระเบียบของสังคม เชนวัฒนธรรม
ประเพณี กฎเกณฑของสงั คม และกฎหมายของประเทศ
1.6 มเี สรีภาพ และใชเสรภี าพในขอบเขตของกฎหมายและขนบธรรมเนยี มประเพณี
2. สามัคคีธรรม คือ การรวมมอื ชวยเหลอื ซึง่ กันและกัน มีความเอื้อเฟอเผ่ือแผตอ กัน เพื่อให
เกดิ ประโยชนตอสวนรวม มีพฤติกรรมทแี่ สดงออกดงั นี้
2.1 การรูจ ักประสานประโยชน คาํ นึงถึงประโยชนของชาติเปนที่ต้ัง ไดแก ทํางานรวมกัน
อยา งสนั ติวิธี รูจักประนปี ระนอม เสยี สละความสขุ สว นตน หรือหมูคณะ
2.2 รว มมือกันในการทํางาน หรอื ทํากจิ กรรมอยางหน่งึ อยา งใดรว มกนั จะมีการวางแผนและ
ทํางานรวมกัน ดําเนนิ งานตามข้ันตอน ชวยเหลือกันอยางต้ังใจ จริงจัง ไมหลีกเล่ียง หรือเอาเปรียบ
ผอู น่ื
2.3 รับผิดชอบตอ หนา ทที่ ่ไี ดร ับมอบหมายจากสวนรวม และหนาทตี่ อ สังคม
2.4 ความเปนนาํ้ หนึ่งใจเดยี วกนั ของคนในกลุม ในหนวยงาน และสงั คม
3. ปญ ญาธรรม คอื การใชส ตปิ ญญาในการดาํ เนินชวี ติ มีพฤตกิ รรมท่ีแสดงออก ดังนี้
3.1 การไมถือตนเปนใหญ ไดแก การรูจักรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น การรูจักเปนผูนํา
และผูตามท่ีดี
118
3.2 เนน การใชปญญา ใชเหตุผล และความถูกตอง ในการตัดสินปญหาทั้งปวง ไมใชเสียง
ขางมาก ในการตัดสินปญหาเสมอไป เพราะเสียงขางมากบอกเฉพาะความตองการ ความคิดเห็น
ความพงึ พอใจ แตไ มอ าจบอกความจรงิ ความถูกตองได
3.3 มีความกลาหาญทางจรยิ ธรรม กลาทีจ่ ะยืนหยัดในส่ิงทถ่ี กู ตอ ง
3.4 แสวงหาความรู ขา วสารขอมลู อยางมีวจิ ารญาณ เพ่อื เปนขอมูลในการตัดสนิ ใจ
การปฏิบัตติ ามคณุ ธรรมขางตน เมื่อไดประพฤติปฏิบัติ ความสามัคคียอมจะเกิดข้ึน เมื่อเกิด
ความสามัคคีข้ึนแลว การงานทุกอยางแมจะยากสักเพียงใดก็กลายเปนงาย ชีวิตมีแตความราบรื่น
แมจะเกิดอุปสรรคก็สามารถขจัดใหหมดสิ้นได ดังคํากลาวที่วา “สามัคคีคือพลัง” เพียงแตทุกคน
ดาํ รงชีวติ บนพ้ืนฐานแหงคณุ ธรรม ใหทุกคนมีความรัก และชว ยเหลือซง่ึ กันและกนั มคี วามสามัคคแี ละ
เสยี สละเพือ่ สว นรวม การใชห ลักธรรมในการสงเสรมิ ความสามคั คีเปนแนวทางในระยะยาว และเปน
การปองกันความแตกสามคั คี ขณะทีก่ ารสรา งความสามัคคีในระยะสั้นเปนการทาํ กจิ กรรมตา ง ๆรวมกัน
โดยอาจเริ่มจากกิจกรรมบันเทิงทส่ี ามารถดึงกลุมคนใหเ ขารวมไดง า ย เชน การเขาคายตาง ๆ การทํา
กิจกรรมพัฒนาสงั คมและชุมชนรว มกนั การทาํ กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชีวติ ทีห่ ลากหลาย จากนนั้ คอ ย
ขยายสูกิจกรรมท่ีมีความยากขึ้น และการสรางวัฒนธรรม ประเพณีในการทํากิจกรรมรวมกันเปน
ประจาํ จะชวยสรางวฒั นธรรมการทํางานกลุม และการสัมพนั ธก บั สงั คม ซ่ึงชวยใหเกิดความรักความ
สามคั คีไดม ากยง่ิ ขึน้
คา นิยมพนื้ ฐานในการอยรู ว มกนั อยา งสมานฉนั ท 12 ประการ
ขอ 1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ
ขอ 2. ซื่อสัตย เสียสละ อดทน
ขอ 3. กตัญตู อ พอแม ผูปกครอง ครูบาอาจารย
ขอ 4. ใฝหาความรู หมนั่ ศึกษาเลา เรียน ท้ังทางตรงและทางออม
ขอ 5. รกั ษาวฒั นธรรม ประเพณไี ทยอนั งดงาม
ขอ 6. มศี ีลธรรม รักษาความสัตย หวงั ดีตอ ผูอืน่ เผอื่ แผแ ละแบง ปน
ขอ 7. เขา ใจเรยี นรูการเปนประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท รงเปน ประมขุ ท่ีถูกตอง
ขอ 8. มีระเบียบวินยั เคารพกฎหมาย ผนู อยรูจักเคารพผูใ หญ
ขอ 9. มีสติรูตวั รคู ิด รทู าํ รูปฏบิ ัติ ตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหา-
ภมู ิพลอดุลยเดช
ขอ 10. รูจักดํารงตนอยูโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดํารัสของ
พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รูจักอดออมไวใชเม่ือยามจําเปน มีไวพอกินพอใช
ถาเหลอื ก็แจกจาย จาํ หนาย และขยายกจิ การเมอื่ มคี วามพรอ มโดยมภี มู คิ มุ กันท่ีดี
119
ขอ 11. มีความเขมแขง็ ทั้งรา งกายและจติ ใจ ไมยอมแพต ออาํ นาจฝา ยต่าํ หรอื กเิ ลส มีความละอาย
เกรงกลัวตอ บาปตามหลักของศาสนา
ขอ 12. คาํ นึงถงึ ผลประโยชนข องสว นรวมและตอ ชาติมากกวาผลประโยชนของตนเอง
คา นิยมพื้นฐานดงั กลา วขางตน มีความสาํ คญั อยางย่ิงท่ีคนไทยจะตองนํามาประพฤติปฏิบัติใน
ชวี ิตประจาํ วันอยูเสมอ และเพ่ือใหเ กดิ ความเขาใจย่งิ ขึ้นจะขอกลาวในรายละเอียดเพ่มิ เตมิ ดังน้ี
1. มคี วามรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย เปนคุณลักษณะที่แสดงถึงรักความเปนชาติไทย
เปนพลเมืองดีของชาติ มีความสามัคคี เห็นคุณคา ภูมิใจ เชิดชูความเปนไทย ปฏิบัติตนตามหลัก
ศาสนาที่ตนนับถือ และแสดงความจงรกั ภักดีตอ สถาบันพระมหากษตั รยิ
2. ซ่อื สัตย เสยี สละ อดทน เปนคุณลักษณะที่แสดงถึงการยึดมน่ั ในความถูกตอง ประพฤติ
ตรงตามความเปน จรงิ ตอ ตนเองและผูอน่ื ละความเหน็ แกตัว รจู กั แบง ปน ชวยเหลือสังคมและบุคคลท่ี
ควรใหร ูจักควบคมุ ตนเองเมือ่ ประสบกับความยากลําบากและสิ่งท่กี อ ใหเกิดความเสียหาย
3. กตัญูตอพอ แม ผูปกครอง ครูบาอาจารย เปนคณุ ลักษณะที่แสดงออกถึงการรูจักบุญคุณ
ปฏิบตั ิตามคาํ สง่ั สอน แสดงความรัก ความเคารพ ความเอาใจใส รักษาช่ือเสียง และตอบแทนบุญคุณ
ของพอแม ผปู กครอง และครบู าอาจารย
4. ใฝห าความรู หมน่ั ศึกษาเลา เรยี น ท้งั ทางตรงและทางออ ม เปน คุณลักษณะที่แสดงออก
ถึงความตัง้ ใจ เพยี รพยายามในการศึกษาเลา เรียน แสวงหาความรู ทัง้ ทางตรงและทางออ ม
5. รกั ษาวฒั นธรรม ประเพณีไทยอันงดงาม เปน การปฏิบัติสืบทอดอนุรักษวัฒนธรรม และ
ประเพณไี ทยอันดีงามดวยความภาคภมู ิใจเหน็ คุณคา ความสําคัญ
6. มศี ีลธรรม รกั ษาความสตั ย หวังดตี อ ผูอน่ื เผ่อื แผแ ละแบง ปน เปนความประพฤติท่ีควร
ละเวน และความประพฤตทิ ่คี วรปฏิบตั ติ าม
7. เขา ใจเรยี นรกู ารเปนประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษัตริยทรงเปนประมุขที่ถูกตอง คือ
มีความรู ความเขาใจ ประพฤติปฏิบัติตนตามสิทธิ และหนาที่ของตนเอง เคารพสิทธิและหนาที่ของ
ผูอ่ืน ใชเสรีภาพดวยความรับผิดชอบภายใตขอบเขตของกฎหมาย ตามระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษตั ริยทรงเปน ประมขุ
8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผูนอยรูจักการเคารพผูใหญ เปนคุณลักษณะท่ี
แสดงออกถงึ การปฏบิ ัติตามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบียบ ขอบังคับ และกฎหมาย มีความเคารพและ
นอบนอ มตอ ผใู หญ
120
9. มสี ติรูตัว รูคิด รูทํา รูปฏิบัติ ตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา-
ภมู พิ ลอดุลยเดช เปน การประพฤตปิ ฏิบตั ติ นอยา งมีสตริ ตู ัว รูคดิ รูท ํา อยางรอบคอบถูกตอ ง เหมาะสม
และนอมนําพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มาปฏิบัติใน
ชีวติ ประจาํ วนั
10. รูจักดํารงตนอยูโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดํารัสของ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รูจักอดออมไวใชเม่ือยามจําเปน มีไวพอกิน
พอใช ถา เหลือก็แจกจาย จําหนาย และขยายกิจการเมื่อมีความพรอม สามารถดําเนินชีวิตอยาง
พอประมาณ มีเหตผุ ลมีภูมคิ ุมกนั ในตวั ทีด่ ี มีความรู มคี ณุ ธรรม และปรบั ตวั เพื่ออยใู นสงั คมไดอยางมี
ความสุข
11. มีความเขมแข็งทัง้ รา งกายและจติ ใจ ไมย อมแพตอ อํานาจฝา ยตา่ํ หรอื กิเลส มคี วามละอาย
เกรงกลัวตอบาปตามหลักของศาสนา เปนการปฏิบัติตนใหมีรางกายสมบูรณ แข็งแรงปราศจาก
โรคภัยและมจี ติ ใจทเี่ ขมแขง็ ไมก ระทาํ ความช่ัวใด ๆ ยดึ มั่นในการทาํ ความดีตามหลักของศาสนา
12. คํานึงถึงผลประโยชนของสวนรวมและตอชาติมากกวาผลประโยชนของตนเอง ให
ความรวมมือ ในกิจกรรมท่ีเปนประโยชนตอสวนรวม และประเทศชาติ เสียสละประโยชนสวนตน
เพอ่ื รกั ษาประโยชนข องสว นรวม
121
การจดั กจิ กรรมการเรียนรู
วิชาหนาท่พี ลเมอื ง ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
เร่อื ง สทิ ธมิ นุษยชนในการมีสว นรว มคมุ ครองตนเองและผอู น่ื
กรณตี วั อยา งเรอื่ ง “รกั แทหรอื รงั แกกนั ”
ตัวชวี้ ดั ท่ี 6 และ 7 ตระหนักถึงสทิ ธหิ นา ทก่ี ารมสี วนรว มในการคุมครองปอ งกนั ตนเองและผูอนื่
ตามหลักสทิ ธมิ นษุ ยชน
วัตถปุ ระสงค
1. เขาใจถงึ หลกั สทิ ธมิ นุษยชนทีจ่ ะเกดิ ประโยชนต อ ตนเองและผอู ่ืน
2. เพือ่ ใหมีสวนรวมในการคุมครองปอ งกนั ตนเองและผอู นื่ ตามหลักสิทธมิ นุษยชน
3. เพ่อื ใหต ระหนกั ถงึ สทิ ธิ และหนาทขี่ องประชาชน ในเร่ือง สทิ ธิมนุษยชน สามารถ
นาํ มาใชเพื่อหาทางเลือกแกป ญ หาขอขดั แยง และคมุ ครองปองกันตนเองและผูอ ื่น
ในชุมชน
เน้อื หาสาระ
1. ชว งเวลาที่ผา นมามคี วามขัดแยงในเรื่อง การละเมดิ สิทธิมนุษยชน เกิดขึ้นหลายตอ
หลายกรณี ความขัดแยงนี้เปนกรณีระหวางหนวยงานภาครัฐกับชุมชนบาง ระหวางหนวยงาน
ภาคเอกชนกบั ภาคเอกชนบาง ระหวา งหนวยงานเอกชนกับชุมชนบาง หรือแมกระทั่งระหวางชุมชน
หรือภาคเอกชนดวยกนั เองบา ง
2. เนื้อหาความขัดแยงในเร่ืองการละเมิดสิทธิมนุษยชนดังกลา ว สวนใหญเนนเรื่อง
การออกกฎหมาย และการบังคับใชกฎหมายของหนวยงานภาครัฐที่ไมสอดคลองหรือไมเปนไปตาม
ขอเทจ็ จริงทเี่ กดิ ข้ึนในชุมชน หรอื ขดั ตอธรรมเนียมประเพณี ความเชอ่ื ถอื ของประชาชนสวนใหญท ี่อยู
มานานแลว หรือกอใหเ กดิ ความไมปลอดภัยตอชีวิตและอาชีพการทํามาหากิน กอใหเกิดการทําลาย
ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอม ความขัดแยงที่เกิดจากความเห็นตางของภาคสวนท่ีเกี่ยวของ
ความขัดแยงทเี่ นื่องมาจากการขาดความรู ความเขาใจ ขาดขอมูลท่ีหลากหลายและพอเพียง รวมท้ัง
การขดั ผลประโยชนข องภาคสวนทเี่ กี่ยวของ ความขัดแยงท่ีเกิดจากการตีความกฎหมายท่ีไมตรงกัน
หรือความขัดแยงท่ีเกิดจากความไมพรอม และไมปฏิบัติตามข้ันตอนการดําเนินการของภาคสวน
ทเี่ ก่ยี วของ ฯลฯ
122
3. มตี วั อยางท่ีเปนความขัดแยงอันเนื่องมาจากการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ปรากฏใน
สงั คม เชน ภาครัฐออกกฎหมายการสรางเขื่อน เพ่ือประโยชนทางการพลังงานไฟฟาและการเกษตร
และการปอ งกันนา้ํ ทว มท่ีตอ งทําลายปา ไม ตนนํ้าลําธารท่ีเปนตนเหตุของความแหงแลง ทําอันตราย
ตอสตั วป าหายาก พืชสมุนไพร และการทาํ มาหากินของชาวบา นในพ้ืนทที่ ่อี ยกู นั มานานแลว หรือการ
ทหี่ นว ยงานภาครัฐออกกฎหมายเวนคืนท่ีดนิ ในพืน้ ที่ทจี่ ะสรางทางดวนไปกระทบตอประเพณีศาสนา
ที่อยูอาศัยของชมุ ชน หรอื การทีห่ นวยงานภาครฐั ออกกฎหมายเพอื่ ความม่ันคง ประกาศกฎอยั การศึก
ภาวะฉุกเฉินทเ่ี ปนการละเมิดสิทธมิ นุษยชน เชน หา มออกจากเคหะสถานหลงั สามทุม หามชุมนุมเกิน
5 คน เขา ควบคมุ ตัว จบั กุม กกั ขงั ประชาชนโดยไมตองใชห มายสั่ง ฯลฯ เปนตน
4. เม่อื เกดิ กรณีขัดแยง ระหวา งหนว ยงานภาครฐั กับชมุ ชนในเรอ่ื ง สิทธมิ นษุ ยชน มักจะ
มีขอ กลาวหา 2 แนวทาง คอื
1) หนวยงานภาครัฐ ละเมิดสิทธิมนุษยชนและรังแกประชาชนและชุมชน โดยมี
เรือ่ ง การทุจรติ คอรร ัปชั่น เพอื่ ประโยชนต น ประโยชนพ รรคพวก เขามาเกย่ี วขอ ง
2) ประชาชนและชุมชนมีผลประโยชนสวนตน โดยไมคํานึงถึงประโยชนของ
สว นรวม หรือถูกภาคเอกชน หรือ NGO ยยุ งสง เสรมิ เพ่อื ประโยชนของกลุมดังกลาว รวมท้ังถูกชักจูง
ใหเลอื กขา งทางการเมอื ง
5. ประเด็นการอภิปรายถกแถลง
1) ทา นเหน็ ดว ยกับขอกลา วหาดังกลาวหรอื ไม เพราะอะไร
2) ถา ทา นอยูในเหตุการณเปนคกู รณดี วย ทานจะมีแนวทางในการแกปญหาเหลา น้ัน
อยา งไรบา ง จึงจะใหม กี ารดําเนินการไดโดยไมเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน
3) ทา นเห็นดวยหรอื ไมก บั คํากลาวทว่ี า “สทิ ธิมนุษยชนตองควบคูไปกับหนาท่ีของ
พลเมืองดว ย” เพราะเหตุใด
วิธีการดําเนินงาน
ขนั้ นาํ ครนู ําเขา สบู ทเรยี นดว ยการนาํ สนทนาถึงเนอื้ หาสาระ เรอื่ ง สิทธิมนุษยชน ความคิด
ความเหน็ โดยท่ัวไปของ เรื่อง สทิ ธมิ นุษยชน ตามความคิดของผเู รยี นรวมท้ังเหตกุ ารณตา ง ๆ ทเ่ี กิดขน้ึ
อันเนือ่ งมาจากปญ หาที่กลาวหาวา ละเมิดสทิ ธิมนุษยชน อาจมสี อื่ ประกอบการเสวนา หรือใหผูเรียน
ชว ยกันเสนอขาวทเี่ กิดขน้ึ ในชุมชน
ครูแนะนาํ แหลงขอ มูล แหลงความรูเกีย่ วกบั เร่อื ง สทิ ธิมนุษยชน ท่ีผูเรียนจะใชแสวงหา
ขอมลู เพ่มิ เตมิ
123
ขนั้ ดาํ เนนิ การ
ครูแจกกรณตี ัวอยา ง “รักแทห รือรังแกกนั ” ใหกลมุ ผเู รียนศึกษาและรวมกันอภิปราย
ถกแถลงตามประเด็นท่ีกําหนดให โดยครูอาจใหขอมูลเพิ่มเติมหรือเสนอประเด็นสืบเน่ือง หรือมี
ขอ คาํ ถามเพอ่ื กระตนุ การอภปิ รายตามความจําเปน
ข้ันสรุป
ครแู ละผูเรียนรว มกันจดั ทําขอ สรปุ จากการอภิปรายถกแถลงของกลมุ ผเู รยี น
กจิ กรรมเพื่อการเรยี นรูตอ เน่อื ง
ครูเสนอกิจกรรมตอเนื่องตามความเห็นของกลุม เชน การศึกษาขอมูลเพ่ิมเติมจาก
แหลง ความรูตาง ๆ การสนทนาหรือสัมภาษณบคุ คล เพื่อแสวงหาความคิด ขอคิดเห็น ขอเสนอแนะ
เพม่ิ เติม การสอบถามความคดิ เหน็ ฯลฯ เปน ตน แลว ใหผ เู รียนรวบรวมนาํ เสนอในรูปแฟมความรู เพอ่ื
การแลกเปล่ียนเรยี นรู
สอ่ื /แหลงคน ควา /ใบความรู
1. สอ่ื เอกสาร สอ่ื บคุ คล สอื่ อเิ ล็กทรอนกิ ส
2. แหลงคน ควา หองสมุด หนว ยงานภาครฐั เอกชน สถานศกึ ษา
3. ใบความรู ขอมูลเรอื่ ง สิทธิมนษุ ยชน ท่ีเลือกนํามาจากเอกสารหรือเอกสารที่
สําเนามาจากหนังสอื พิมพ
ระยะเวลา
1. การนําเสนอขอ การอภปิ รายถกแถลง การสรุป การเตรียมเพื่อทํากจิ กรรมสืบเน่ือง
รวมทัง้ การสรุป 1 ช่ัวโมง
2. กิจกรรมตอเน่ืองใชเวลาตามความเหมาะสมโดยเนนการศึกษาดวยตนเอง
นอกเวลา
การวัดประเมนิ ผล
1. โดยการสังเกตพฤติกรรมการมีสวนรวมของผูเรียน การรวมเสนอความคิดเห็น
การคดิ หาเหตผุ ล การถกแถลง กระตอื รือรน ความตง้ั ใจ ความสนใจ
2. ตรวจสอบผลการรวบรวมขอ มูล ความสมบรู ณของแฟม การเรยี นรู (portfolio)
3. สงั เกตความใสใ จ จริงจงั ของการทํางานกลุมของผูเรยี น
124
กจิ กรรม
1. ผเู รยี นสามารถปฏิบตั ติ นตามหลักการสาํ คญั ของประชาธปิ ไตยไดอยา งไรบา ง จงยกตัวอยาง
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
2. หลกั การสาํ คญั ของประชาธิปไตยมคี วามสําคญั ตอการอยรู วมกันอยา งสนั ตอิ ยางไรบาง
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
3. ถามคี วามขดั แยง กนั ในสงั คม ควรนาํ หลกั คุณธรรมใดมาใชแ กปญหา จงอธิบาย
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
4. ความสามัคคี ปรองดอง มผี ลดตี อ สงั คมและประเทศชาติอยางไรบา ง
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
125
บทท่ี 4
พฒั นาการทางการเมือง
และการอยูรว มกันในระบอบประชาธิปไตย
อนั มพี ระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมุข
สาระสําคญั
การอยูรวมกันในสังคมท่ีมีความแตกตางท้ังความคิด อาชีพ สถานะทางสังคมและ
สภาพแวดลอม การศึกษาเรียนรู การพัฒนาการทางการเมืองและการมีสวนรวมทางการเมืองการ
ปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ทรงเปนประมขุ เปนสวนหนึ่งที่จะทําใหสังคม
อยไู ดอยา งสงบสุขตามวถิ ีประชาธิปไตย
ผลการเรียนรทู ่ีคาดหวงั
1. อธิบายสาเหตุ และความเปนมา ของการปฏิรูปการเมืองหลังการเปลี่ยนแปลงการ
ปกครอง พ.ศ. 2475 ได
2. อธิบายการมสี ว นรว มทางการเมอื ง และการอยูร วมกันอยา งสันติในระบอบประชาธิปไตย
อนั มีพระมหากษตั รยิ ท รงเปนประมุขได
ขอบขายเนอ้ื หา
เร่อื งท่ี 1 พัฒนาการทางการปฏิรูปทางการเมอื งเพอื่ การปกครองในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษตั ริยท รงเปน ประมขุ
เรอื่ งท่ี 2 การมีสว นรวมทางการเมืองและการอยรู ว มกันอยา งสันตใิ นระบอบประชาธิปไตย
อนั มพี ระมหากษตั ริยทรงเปนประมขุ
ส่ือประกอบการเรยี นรู
1. ซีดีเหตุการณสาํ คัญการเปล่ยี นแปลงทางการเมอื ง
2. คอมพิวเตอรอนิ เทอรเน็ต
3. บทความทางหนังสอื พิมพ
126
127
เรือ่ งที่ 1 พฒั นาการทางการปฏริ ูปการเมือง
เพอ่ื การปกครองในระบอบประชาธิปไตย
อนั มพี ระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมขุ
1.1 พฒั นาการทางความคิดและเหตุการณสําคัญ
กอ นการเปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
ความคิดและความเคลือ่ นไหว เพอ่ื ใหมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย
ไดรับอิทธพิ ลทางความคดิ มาจากการตดิ ตอ กบั กลุมประเทศทางตะวนั ตกโดยในกลุมประเทศทางยโุ รป
และสหรฐั อเมรกิ าไดมกี ารปฏริ ูปการปกครองเปนระบอบประชาธปิ ไตย ในป พ.ศ. 2319 (ค.ศ. 1776)
และเกดิ การปฏวิ ัตฝิ รัง่ เศส ในป พ.ศ. 2332 (ค.ศ. 1789)
ประเทศไทย เร่มิ ติดตอ ทางการคากับประเทศอังกฤษ เม่ือ พ.ศ. 2367 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ-
พระนัง่ เกลาเจาอยูหัว หลังจากน้ันก็มีกลุมมิชชันนารีจากสหรัฐอเมริกาเขามาเผยแพรคริสตศาสนา
คนไทยจึงเร่ิมศึกษาภาษาอังกฤษศึกษาวิทยาการตาง ๆ โดยเฉพาะพระภิกษุเจาฟามงกุฎ กลุม
พระบรมวงศานวุ งศ และกลมุ ขา ราชการ ก็ศึกษาวชิ าการตาง ๆ ดวย ดงั น้ัน สงั คมไทย บางกลุมจึงได
มคี านยิ มโลกทศั นตามวทิ ยาการตะวนั ตกในหลาย ๆ ดาน รวมทั้ง แนวความคิดในเร่ือง การปกครอง
ในระบอบประชาธิปไตยทีค่ อย ๆ กอตวั ขนึ้
ในรชั สมยั ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว เม่ือพระองคเสด็จข้ึนครองราชย ใน
ป พ.ศ. 2394 จากการที่พระองคไดรับการศึกษาตามแนวทางของตะวันตกดวย ทําใหพระองค ทรง
ตระหนักวาถึงเวลาทปี่ ระเทศไทย จะตอ งยอมเปด สนั ตภิ าพกับประเทศตะวันตก ในลักษณะใหมและ
ปรับปรุงบานเมืองใหกาวหนาเย่ียงอารยประเทศ ทั้งนี้ เพราะเพื่อนบานกําลังถูกคุกคามดวยลัทธิ
จักรวรรดินิยม จึงทรงเปลย่ี นนโยบายตางประเทศของไทย มาเปน การยอมทําสนธิสัญญาตามเง่ือนไข
ของประเทศตะวันตก และพยายามรักษาไมตรนี ั้นไว เพ่ือความอยูรอดของประเทศ
ตอมา ในรชั สมยั ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจา อยหู ัว ไดส งพระราชโอรสไปศึกษา
ในตางประเทศจํานวนมากทั้งประเทศอังกฤษ รัสเซีย เยอรมนี ฝรั่งเศส และเดนมารก และในปท่ี
พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจา อยหู ัวข้นึ ครองราชย ตรงกบั ร.ศ. 103 (พ.ศ. 2427)
มีเจานายและขาราชการจํานวนหน่ึงที่รับราชการ ณ สถานทูตไทย ณ กรุงลอนดอน และ
กรงุ ปารสี ไดร ว มกนั ลงชือ่ ในเอกสารกราบบังคมทลู ความเหน็ จัดการเปล่ียนแปลงการปกครองราชการ
แผนดิน ร.ศ. 103 ทูลเกลาฯ ถวาย ณ วันพฤหัสบดี แรม 8 ค่ํา เดือน 2 ปวอก ฉอศอ ศักราช 124
ตรงกบั วนั ที่ 9 เดอื นมกราคม พ.ศ. 2427
128
สาระสาํ คญั ของคาํ กราบบังคมทูล 3 ขอ คือ
1. ภัยอนั ตรายจะมาถึงบา นเมือง เน่อื งจากการปกครองในขณะนั้น คือ ภัยอันตรายที่จะมี
มาจากประเทศที่มอี ํานาจมากกวาประเทศไทย ถา มหาอํานาจในยุโรป ประสงคจะไดเมืองใดเปนอาณานิคม
กจ็ ะตอ งอา งเหตุผลวา เปน ภารกจิ ของชาวผวิ ขาว ท่มี มี นษุ ยชาติตองการใหมนุษยมีความสุขความเจริญ
ไดรับความยุติธรรมเสมอกัน ประเทศที่มีการปกครองแบบเกา นอกจากจะกีดขวางความเจริญของ
ประเทศในเอเชยี แลว ยงั กีดขวางความเจริญของประเทศท่ีเจริญรุงเรืองแลวดวย สรุปวา รัฐบาลท่ีมี
การปกครองแบบเกา จัดการบานเมืองไมเรียบรอย เกิดอันตราย ทําใหอันตรายน้ันมาถึง ชาวยุโรป
นับวา เปนชองทางทช่ี าวยุโรปจะเขา จัดการใหห มดอันตราย และอีกประการหน่ึงถาปดประเทศไมให
คา ขายก็จะเขามา เปด ประเทศคา ขายใหเกิดประโยชนท ้ังหมด เปนเหตุผลท่ีประเทศในยโุ รปจะยึดเอา
เปน อาณานคิ ม
2. การท่ีจะรักษาบานเมืองใหพนอันตราย ตองอาศัยการเปลี่ยนแปลงการบํารุงรักษา
บานเมืองแนวเดยี วกับทญ่ี ปี่ ุนไดทาํ ตามแนวการปกครองของประเทศยโุ รป และการปองกันอนั ตรายท่ี
จะบงั เกิดข้นึ อยหู ลายทางแตค ดิ วา ใชไ มไ ด คือ
1) การใชความออนหวาน เพอ่ื ใหมหาอํานาจสงสาร ประเทศญี่ปุนไดใชความออนหวาน
มานานแลว จนเหน็ วาไมไ ดป ระโยชน จึงไดจ ัดการเปลีย่ นการบริหารประเทศใหยุโรปนับถือ จงึ เห็นวา
การใชความออนหวานน้นั ใชไมได
2) การตอสูดวยกําลังทหาร ซ่ึงก็เปนความคิดที่ถูกตองกําลังทหารของไทยมีไมเพียงพอ
ทั้งยงั ตอ งอาศัยซือ้ อาวุธจากตางประเทศ หากไดร บกันจริง ๆ กับประเทศในยุโรป ประเทศในยุโรปที่
เปนมติ รประเทศของคสู งครามกับประเทศไทย ก็จะไมข ายอาวธุ ใหป ระเทศไทยเปนแน
3) การอาศัยประโยชน ท่ีประเทศไทยมีเขตแดนติดตอกับประเทศที่เปนอาณานิคมของ
ประเทศองั กฤษและประเทศฝร่ังเศส อาจทาํ ใหประเทศไทยเปน รฐั กนั ชน (Buffer State) และก็คงใหมี
อาณาเขตแดนเพยี งเปนกาํ แพงกั้นระหวางอาณานิคม ประเทศไทยก็จะเดอื ดรอนเพราะเหตุน้ี
4) การจัดการบานเมืองเพียงเฉพาะเร่ือง ไมไดจัดใหเรียบรอยต้ังแตฐานราก ไมใชการ
แกปญหา
5) สัญญาทางพระราชไมตรที ีท่ ําไวกับตา งประเทศ ไมมีหลกั ประกนั วาจะคมุ ครองประเทศ-
ไทยได ตัวอยางที่ สหรัฐอเมรกิ า สญั ญาจะชวยประเทศจีน ครั้นมีปญหาเขาจริง สหรัฐอเมริกาก็มิไดชว ย
และถาประเทศไทยไมทําสัญญาใหผลประโยชนแกตางประเทศ ประเทศนั้น ๆ ก็จะเขามากดข่ีให
ประเทศไทยทําสญั ญาอยูนัน่ เอง
6) การคาขายและผลประโยชนข องชาวยโุ รป ที่มีอยูในประเทศไทย ไมอาจชวยคุมครอง
ประเทศไทยได ถา จะมชี าติท่ีหวังผลประโยชนม ากขน้ึ มาเบยี ดเบยี น
129
7) คํากลาวที่วา ประเทศไทยรักษาเอกราชมาไดก็คงจะรักษาไดอ ยางเดมิ คาํ กลา วอยางน้ัน
ใชไมไ ดใ นสถานการณปจ จุบัน ซึ่งเปนเวลาที่ประเทศในยุโรป กําลังแสวงหาเมอื งข้นึ และประเทศที่ไม
มีความเจริญก็ตกเปนอาณานิคมไปหมดแลว ถาประเทศไทยไมแกไข ก็อาจจะเปนไปเหมือนกับ
ประเทศท่กี ลา วมา
8) กฎหมายระหวา งประเทศ จะคุม ครองประเทศทีเ่ จริญและมีขนบธรรมเนียมคลา ยคลึงกับ
ประเทศญ่ปี นุ ไดแ กไ ขกฎหมายใหค ลายกบั ยโุ รป ก็จะไดร ับความคุมครอง ประเทศไทยก็ตอ งปรับปรุง
การจัดบา นเมอื งใหเปน ท่ยี อมรับเชนเดยี วกับประเทศญี่ปนุ มฉิ ะนั้น กฎหมายระหวางประเทศ ก็ไมชวย
ประเทศไทยใหพน อันตราย
3. การทีจ่ ะจดั การตามขอ 2 ใหสาํ เรจ็ ตอ งลงมอื จดั ใหเ ปนจริงทุกประการ
และในหนงั สือกราบบังคมของคณะผูกอการ ร.ศ.103 ไดเสนอความเห็นที่เรียกวา การ
จัดการบา นเมืองตามแบบยุโรปรวม 7 ขอ คือ
1. ใหเปลีย่ นการปกครองจาก แอบโสรูทโมนากี (Absolute Monarchy) ใหเปนการปกครอง
ที่เรียกวา คอนสตติ วิ ชั่นแนลโมนากี (Constitutional Monarchy) ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
ทรงเปนประธานของบานเมือง มีขาราชการรับสนองพระบรมราชโองการเหมือนสมเด็จพระเจา-
แผน ดินทกุ พระองค ในยโุ รปท่ีมติ องทรงราชการเองทว่ั ไปทกุ อยาง
2. การทาํ นุบาํ รงุ แผน ดนิ ตอ งมีพวกคาบิเนต (Carbinet) รบั ผิดชอบและตอ งมีพระราชประเพณี
จัดสืบสันตติวงศใหเปน ที่รูทั่วกัน เม่ือถึงคราวเปล่ียนแผนดินจะไดไมยุงยาก และปองกันไมใหผูใด
แสวงหาอาํ นาจเพื่อตัวเองดวย
3. ตองหาทางปองกันคอรร ัปชน่ั ใหข าราชการมีเงนิ เดือนพอใชต ามฐานานุรปู
4. ตอ งใหประชาชน มคี วามสุข เสมอกนั มีกฎหมาย ใหค วามยุตธิ รรมแกประชาชนทั่วไป
5. ใหเ ปล่ียนแปลง แกไขขนบธรรมเนียม และกฎหมายทใ่ี ชไมไดที่กีดขวางความเจริญของ
บานเมือง
6. ใหมีเสรีภาพในทางความคิดเห็น และใหแสดงออกไดในที่ประชุม หรือในหนังสือพิมพ
การพดู ไมจรงิ จะตองมโี ทษตามกฎหมาย
7. ขาราชการทุกระดับชน้ั ตอ งเลอื กเอาคนที่มีความรูมีความประพฤติดีอายุ 20 ปข้ึนไป ผูที่
เคยทาํ ชัว่ ถอดยศศักด์ิหรอื เคยประพฤติผิดกฎหมายไมค วรรับเขาราชการอีก และถาไดขาราชการท่ีรู
ขนบธรรมเนยี มยโุ รปไดย ิ่งดี
ดังนน้ั จะเห็นไดวา การพัฒนาการปกครองของประเทศจึงเร่ิมขึ้นมาตั้งแตสมัยรัชกาลท่ี 5
จนมาถึงป พ.ศ. 2455 ไดม คี วามพยายามเปลยี่ นแปลงการปกครอง ท่ีเรยี กวา “กบฏ ร.ศ. 130”ในรชั สมัย
ของพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหวั มพี วกนายทหารบกทหารเรือและพลเรือนรวมประมาณ
130
100 คน เรียกตวั เองวา คณะ ร.ศ. 130 ไดว างแผนการปฏิวตั ิการปกครองหวังใหพระมหากษัตริยพระราชทาน
รฐั ธรรมนญู ใหแ กป วงชนชาวไทย คณะ ร.ศ. 130 ไดกําหนดวันปฏิวัติเปนวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2455 อันเปน
วันขนึ้ ปใหมของไทยสมยั น้นั แตค ณะกอการคณะนี้ไดถูกจบั กมุ เสียกอน เม่อื วันที่ 27 กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. 2454
1.2 การเปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
เหตกุ ารณที่เกดิ ขนึ้ จงึ เปน วิวฒั นาการทางความคิดของคนไทยในเร่ือง ระบอบประชาธปิ ไตย
ท่คี อ ย ๆ กอ ตวั และมพี ฒั นาการข้นึ มาตามลําดบั และนบั จากกบฏ ร.ศ. 130 เม่ือป พ.ศ. 2445 เวลา
ผานไปอีก 20 ป จนถงึ ป พ.ศ. 2475 (วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475) จึงไดเกิดเหตุการณเปลี่ยนแปลง
การปกครองคร้ังสําคัญของประเทศไทยขึ้น โดยคณะบุคคลที่เรียกวา “คณะราษฎร” ประกอบดวย
ทหารและพลเรือน ไดยึดอํานาจการปกครองจากพระมหากษัตริย คือ พระบาทสมเด็จพระปกเกลา-
เจา อยหู ัว รัชกาลทเ่ี จด็ และเปล่ยี นแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยเปนระบอบ
ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริยท รงเปน ประมขุ อยภู ายใตก ฎหมายรัฐธรรมนญู
สาเหตขุ องการเปล่ียนแปลงการปกครองเมือ่ ป พ.ศ. 2475 มดี ังน้ี
1. คนรุนใหมทีไ่ ดร ับการศกึ ษาประเทศตะวันตก ไดรับอิทธิพลของลัทธิเสรีนิยมและแบบแผน
ประชาธปิ ไตยของตะวนั ตก จึงตอ งการนาํ มาปรับปรุงประเทศชาติ
2. เกดิ ภาวะเศรษฐกจิ ตกตํา่ รฐั บาลไมส ามารถแกไขได
3. ประเทศญี่ปุนและจนี ไดมกี ารเปล่ียนแปลงการปกครองแลว ทําใหป ระชาชนตอ งการเห็น
การปกครองระบอบประชาธิปไตยภายในบา นเมอื งเรว็ ข้ึน
4. เกิดความขดั แยงระหวา งพระราชวงศก ับกลมุ ท่ีจะทําการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ซึ่งไม
พอใจท่ีพระราชวงศชั้นสูง มีอาํ นาจและดาํ รงตําแหนง เหนอื กวา ท้งั ในราชการฝายทหารและพลเรือน
ทําใหก ลมุ ผูจะทําการเปล่ียนแปลงการปกครองไมม ีโอกาสมีสว นรวมในการแกไขปรับปรุงบานเมือง
5. พระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจาอยูหวั ไมอ าจทรงใชอ ํานาจสิทธิเ์ ด็ดขาดในการปกครอง
ทําใหผ ทู ่จี ะเปล่ียนแปลงการปกครองรูสึกวาพระองคตกอยูใตอํานาจอิทธิพลของพระราชวงศชั้นสูง
โดยเฉพาะอยางยง่ิ เมื่อพระบรมวงศานุวงศ ไดย บั ยั้งพระราชดําริที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญ จึงทําให
เกิดความไมพ อใจในพระบรมวงศานุวงศ และการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธริ าชยเ พม่ิ ข้ึน
131
1.3 พัฒนาการทางการเมืองและการปกครอง
หลังการเปลยี่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
หลงั จากการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ป พ.ศ. 2475 ประเทศไทยไดกา วเขา สูระบอบการปกครอง
แบบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริยทรงเปนประมุข แตแนวคิด ความรู ความเขาใจในเร่ืองการ
ปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ยงั จํากัดอยูเฉพาะกลมุ ปญญาชนทไี่ ดรบั การศึกษาจากตะวันตกเทาน้ัน
จึงมคี วามขดั แยงทางความคดิ ทั้งในกลมุ ผูปกครอง ขา ราชการ และประชาชน จนเกิดเปนกบฏปฏิวัติ
และรัฐประหารสลับกันไปมา (ปญหาทางการเมืองและการปกครองของประเทศไทยหลัง ป พ.ศ. 2475
ที่ไมม เี สถยี รภาพทางการเมอื ง การเปลยี่ นรัฐบาลหรือผูป กครองประเทศ มกั ไมเ ปน ไปตามกติกา หรือ
ระเบยี บ แบบแผนโดยสนั ติวธิ ี ตรงกนั ขามมกั เกดิ การแยงชิงอํานาจดวยการใชกําลังอยูเนือง ๆ ไมวา
จะเปนไปในรูปของการจลาจล กบฏ ปฏวิ ตั ิ หรือรัฐประหาร) ความหมายของคําเหลานี้เหมอื นกัน ในแง
ที่วา เปน การใชกาํ ลังอาวธุ ยดึ อาํ นาจทางการเมือง แตมีความหมายตางกันในดานผลของการใชกําลัง
ความรนุ แรง น้นั กลา วคือ หากการยดึ อาํ นาจคร้งั ใด ท่ผี กู อการทําการไมสําเร็จจะถูกเรียกวา “กบฏ”
หากการยดึ อาํ นาจนนั้ สําเร็จและเปลี่ยนเพยี งรฐั บาล เรยี กวา รัฐประหาร นับแตป พ.ศ. 2475 เปนตนมา
ประเทศไทย มีการพัฒนาการทางการเมืองและการปกครองโดยเรียงลําดับตามระยะเวลาของ
เหตุการณสาํ คัญ ๆ ที่เกิดข้ึนไดด ังน้ี
1. พ.ศ. 2476 : การรัฐประหารครง้ั ที่ 1
โดย พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา ไดยึดอํานาจจากพระยามโนปกรณนิติธาดา
นายกรัฐมนตรคี นแรกของไทย นบั เปน การกระทํารฐั ประหารครัง้ แรกในประวัติศาสตร
การเมืองไทยดวยการเปลีย่ นรฐั บาล และยดึ อาํ นาจภายในกลุมคณะราษฎรดว ยกันเอง
เมอ่ื วนั ที่ 20 มถิ นุ ายน 2476
2. พ.ศ. 2476 : กบฏคร้งั ที่ 1 กบฏบวรเดช
ความขัดแยงระหวางคณะราษฎรและกลุมผูนิยมระบอบเกา ในป พ.ศ. 2476 ทําให
พระวรวงศเ ธอพระองคเจาบวรเดช และพวกกอ การกบฏ ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2476
เพื่อตั้งรัฐบาลใหมมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย
แตถ กู ฝา ยรฐั บาลในขณะนน้ั ปราบได การกบฏครัง้ น้มี ีผลกระทบกระเทอื นตอ พระราชฐานะ
ของพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจายูหัว ท้ัง ๆ ท่ีทรงวางพระองคเปนกลาง เพราะ
คณะราษฎรเขาใจวาพระองคทรงสนับสนนุ การกบฏ ความสมั พันธร ะหวางรัชกาลที่ 7
และคณะราษฎร จึงรา วฉานยง่ิ ขนึ้ ในตน พ.ศ. 2477 รัชกาลที่ 7 ไดเสด็จไปรักษาพระเนตร
ทีป่ ระเทศสหราชอาณาจักร และทรงสละราชสมบัติ เม่ือวนั ท่ี 2 มีนาคม พ.ศ. 2477
132
3. พ.ศ. 2478 : กบฏครัง้ ท่ี 2 กบฏนายสบิ
เกิดขึ้น เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2478 เม่ือทหารช้ันประทวนในกองพันตาง ๆ ซ่งึ มี
สิบเอก สวัสด์ิ มหะมัด เปนหวั หนา ไดร ว มกันกอการเพือ่ เปล่ียนแปลงการปกครองโดย
จะสังหารนายทหารในกองทัพ และจบั พระยาพหลพลพยุหเสนาฯ และหลวงพิบูลสงคราม
ไวเปนประกัน แตรัฐบาลสามารถจับกุมผูคิดกอการเอาไวได หัวหนาฝายกบฏ
ถกู ประหารชีวติ โดยการตดั สนิ ของศาลพเิ ศษในระยะตอมา
4. พ.ศ. 2482 : กบฏครัง้ ที่ 3 กบฏพระยาทรงสรุ เดช หรอื กบฏ 18 ศพ
เกดิ ขน้ึ เม่อื วนั ที่ 29 มกราคม 2482 เนอื่ งจากความขดั แยง ระหวา งหลวงพบิ ลู สงคราม
กับพระยาทรงสุรเดช ตัง้ แตก อนการเปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 การสนับสนุน
พระยามโนปกรณนิติธาดา เหตุการณครั้งกบฏบวรเดช และเหตุการณพยายามลอบ
สงั หารหลวงพบิ ลู สงคราม ติดตอกันหลายครง้ั (ลอบยงิ 2 ครั้ง วางยาพิษ 1 ครั้ง) การ
กอกบฏครง้ั น้ี เปนความพยายามท่จี ะลมลา งรัฐบาลในขณะนั้น เพื่อเปล่ียนแปลงการ
ปกครองใหกลบั ไปสรู ะบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยด งั เดมิ
5. พ.ศ. 2490 : การรฐั ประหารคร้ังท่ี 2
เกิดขึ้น เม่ือวันท่ี 8 พฤศจิกายน 2490 โดยคณะนายทหารกลุมหน่ึงมี พลโท ผนิ ชุณหะวัน
เปนหวั หนา ไดเ ขายึดอาํ นาจรฐั บาลทม่ี ี พลเรือตรี ถวลั ย ธาํ รงนาวาสวสั ด์ิ เปนนายกรฐั มนตรี
ไดสําเร็จแลวมอบให นายควง อภัยวงศ เปนนายกรัฐมนตรี จัดต้ังรัฐบาลตอไป
ขณะเดยี วกนั ไดแตง ต้ัง จอมพล ป. พิบลู สงคราม เปน ผบู ญั ชาการทหารแหงประเทศไทย
6. พ.ศ. 2491 : กบฏครง้ั ท่ี 4 กบฏเสนาธกิ าร
เกิดข้นึ เมอ่ื วันที่ 6 เมษายน 2491 คณะนายทหารซ่ึงทํารัฐประหาร เมื่อวันท่ี 8 พฤศจิกายน
2490 ไดบงั คบั ให นายควง อภยั วงศ ลาออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรี แลวมอบให
จอมพล ป. พบิ ูลสงคราม เขา ดํารงตําแหนงตอ ไป และนํามาสู “กบฏเสนาธิการ” 1 ตุลาคม
2491 ซึ่ง พลตรี สมบรู ณ ศรานุชิต และพลตรี เนตร เขมะโยธนิ เปนหัวหนา คณะ และ
นายทหารกลุมหน่ึงวางแผนท่ีจะเขายึดอํานาจการปกครองและปรับปรุงกองทัพจาก
ความเสื่อมโทรม และไดใหทหารเขาเลนการเมืองตอไป แตรัฐบาลซึ่งมี จอมพล ป.
พิบูลสงคราม เปน นายกรัฐมนตรีทราบแผนการ และจับกุมผคู ดิ กบฏไดส ําเรจ็
7. พ.ศ. 2492 : กบฏครง้ั ที่ 5 กบฏวงั หลวง
เกิดข้ึน เม่ือวันท่ี 26 มิถุนายน 2492 นายปรีดี พนมยงค กับคณะนายทหารเรือและ
พลเรือนกลุมหน่ึงไดนํากําลังเขายึดพระบรมมหาราชวัง และตั้งเปนกองบัญชาการ
ประกาศถอดถอนรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม และนายทหารผูใหญหลายนาย
พลตรี สฤษด์ิ ธนะรชั ต ไดรบั การแตงต้งั เปน ผูอํานวยการปราบปราม มีการสูรบกันใน
133
พระนครอยา งรนุ แรง รฐั บาลสามารถปราบฝา ยกอ การกบฏไดส ําเรจ็ นายปรีดี พนมยงค
ตอ งหลบหนอี อกนอกประเทศอีกครั้งหนึ่ง ความพยายามยดึ อํานาจครั้งนั้น ถูกเรียกวา
“กบฏวังหลวง”
8. พ.ศ. 2494 : กบฏคร้งั ท่ี 6 กบฏแมนฮตั ตนั
เกิดขนึ้ เม่อื วนั ที่ 29 มถิ นุ ายน 2494 เม่อื นาวาตรี มนสั จารภุ า ผบู ังคบั การเรือรบหลวง
สุโขทัย ใชปนจ้ี จอมพล ป. พิบูลสงคราม ไปกักขังไวในเรือรบหลวงศรีอยุธยา
นาวาเอก อานน บุญฑริกธาดา หัวหนาผูกอการ ไดส่ังใหหนวยทหารเรือมุงเขาสูพระนคร
เพื่อยึดอํานาจ และประกาศต้ัง พระยาสารสาสน ประพันธ เปนนายกรัฐมนตรี เกิด
การสูรบกันระหวางทหารเรือกับทหารอากาศ จอมพล ป. พิบูลสงคราม สามารถ
หลบหนอี อกมาได และฝายรฐั บาลไดปราบปรามฝายกบฏจนเปน ผลสาํ เร็จ
9. พ.ศ. 2494 : การรฐั ประหารครงั้ ท่ี 3
เกิดขึ้น เม่ือวันท่ี 29 พฤศจิกายน 2494 เม่ือ จอมพล ป. พิบูลสงคราม ไดทํา
รัฐประหารยึดอาํ นาจตนเอง เน่ืองจากรัฐบาลไมส ามารถควบคุมเสยี งขา งมากในรัฐสภาได
10. พ.ศ. 2497 : กบฏครง้ั ที่ 7 กบฏสันติภาพ
เกิดข้ึนในยุคท่ีโลกตกอยูในสภาวะสงครามเย็น และประเทศไทยเปนยุคของอัศวินตํารวจ
รัฐบาลทไี่ ดอ ํานาจมาจากการกระทํารัฐประหาร ตั้งแตวันท่ี 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
นบั เปนรฐั บาลท่ีดําเนินนโยบายทาํ สงครามกบั ฝายคอมมวิ นสิ ตอยา งเต็มทีด่ วยการร้ือฟน
กฎหมายคอมมิวนสิ ต พ.ศ. 2495 และกวาดจับผูมีความคิดเห็นแตกตางจากรัฐบาล
ครัง้ ใหญทร่ี จู ักกนั ในนาม “กบฏสันตภิ าพ” ในป พ.ศ. 2497
11. พ.ศ. 2500 : การรฐั ประหารครัง้ ท่ี 4
เกิดข้ึน เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2500 มี จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต เปนหัวหนาคณะ
นาํ กําลังเขายดึ อาํ นาจของรัฐบาล จอมพล ป. พบิ ูลสงคราม ที่เปนนายกรัฐมนตรี ภายหลัง
จากเกิดการเลือกตัง้ สกปรก และรฐั บาลไดร บั การคดั คา นจากประชาชนอยางหนักหลังการ
ยดึ อาํ นาจ จอมพล ป. พิบูลสงคราม และพลตํารวจเอก เผา ศรียานนท ตองหลบหนี
ออกไปนอกประเทศ และแตง ต้ัง นายพจน สารสนิ เปนนายกรัฐมนตรี
12. พ.ศ. 2501 : การรัฐประหารครัง้ ท่ี 5
เกิดขน้ึ เมอื่ วันที่ 20 ตุลาคม 2501 มี จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต เปนหัวหนา ไดช่ือวา
การปฏิวัติเงียบ เพราะเปนการยึดอํานาจของตนเองหลังการรัฐประหาร จอมพล
สฤษด์ิ ธนะรัชต ไดเขาดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี ประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญ
ยกเลิกพระราชบัญญัติพรรคการเมือง และใหสภาผูแทนราษฎรและคณะรัฐมนตรี
ชดุ เดิมส้ินสุดลง
134
13. พ.ศ. 2514 : การรัฐประหารคร้งั ที่ 6
เกิดขึ้น เม่ือวันท่ี 17 พฤศจิกายน 2514 โดย จอมพล ถนอม กิตติขจร ซงึ่ ดํารง
ตาํ แหนงนายกรัฐมนตรี ควบรัฐมนตรีวา การกระทรวงกลาโหม และผบู ญั ชาการทหารสูงสุด
ทําการรัฐประหารตัวเอง ประกาศยกเลิกรัฐธรรมนญู ยุบสภาผแู ทนราษฎร และจัดตั้ง
สภานิติบัญญัติแหงชาติขึ้น ทําหนาท่ีฝายนิติบัญญัติ และใหรางรัฐธรรมนูญใหเสร็จ
ภายในระยะเวลา 3 ป
14. พ.ศ. 2514 : วันมหาวปิ โยค
การปฏวิ ัตโิ ดยประชาชน 14 ตลุ าคม 2516 นับเปนจุดเปลี่ยนสําคัญในประวัติศาสตร
การเมอื งไทย เมอ่ื การเรียกรอ งใหมีรัฐธรรมนูญของนิสติ นกั ศกึ ษา และประชาชนกลุมหน่ึง
ไดแผขยายกลายเปนพลังประชาชนจํานวนมาก จนเกิดการปะทะสูรบกันระหวาง
รัฐบาลกับประชาชน เปน ผลให จอมพล ถนอม กติ ติขจร นายกรัฐมนตรี จอมพล ประภาส
จารุเสถียร และพันเอก ณรงค กิตตขิ จร ตองหลบหนีออกนอกประเทศ ไดน ายกรัฐมนตรี
พระราชทาน คอื นายสญั ญา ธรรมศักดิ์
15. พ.ศ. 2519 : การรัฐประหารคร้งั ที่ 7
ค ว า ม ต่ื น ตั ว ท า ง ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย ท่ี กํ า ลั ง เ บ ง บ า น ต อ ง ห ยุ ด ช ะ งั ก ล ง อี ก ค รั้ ง เ มื่ อ
พลเรือเอก สงดั ชลออยู และคณะนายทหาร เขายดึ อาํ นาจ เมือ่ วันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519
เนอื่ งจากเกดิ การจลาจล และรฐั บาลพลเรือนในขณะน้ันยังไมสามารถแกไขปญหาได
หลงั การรัฐประหาร ไดมอบให นายธานินทร กรัยวิเชียร ดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี
16. พ.ศ. 2520 : กบฏครง้ั ท่ี 8 กบฏ 26 มนี าคม 2520
เกิดข้นึ เม่อื วนั ท่ี 26 มนี าคม 2520 นาํ โดย พลเอก ฉลาด หริ ัญศิริ และนายทหารกลุมหน่ึง
ไดนํากาํ ลงั ทหารจากกองพลที่ 9 จงั หวัดกาญจนบรุ ี เขา ยึดสถานทส่ี าํ คญั ฝา ยทหารของ
รัฐบาลพลเรือนภายใตการนําของ พลเรือเอก สงัด ชลออยู ไดปราบปรามฝายกบฏ
เปนผลสําเร็จ พลเอก ฉลาด หิรัญศิริ ถูกประหารชีวิตตามคําสั่งนายกรัฐมนตรี
ซง่ึ อาศัยอาํ นาจตามมาตรา 21 ของรฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2520
17. พ.ศ. 2520 : การรฐั ประหารครั้งที่ 8
เกดิ ข้ึน เมอื่ วนั ที่ 20 ตลุ าคม 2520 เมื่อ พลเรือเอก สงัด ชลออยู ใหทําการรัฐประหาร
รัฐบาล ของ นายธานินทร กรัยวิเชียร โดยใหเหตุผลวาการบริหารงานของรัฐบาล
นายธานนิ ทร กรัยวิเชียร ไมอาจแกไขปญหาสําคัญของประเทศ ท้ังในดานเศรษฐกิจ
สงั คมและอุตสาหกรรมใหล ลุ วงไปอยางมปี ระสทิ ธิภาพ ท้งั การปดกนั้ เสรภี าพทางความ
คิดเห็นของประชาชน ตลอดจนทาทีของรัฐบาลในเหตุการณลอบวางระเบิดใกล
135
พลับพลาทปี่ ระทับของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช ท่จี งั หวัดยะลา
และแตงตั้ง พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันท เปนนายกรฐั มนตรี
18. พ.ศ. 2524 : กบฏคร้ังท่ี 9 กบฏยงั เตริ ก
เกดิ ข้ึน เม่ือวันที่ 1 เมษายน 2524 นําโดย พลเอก สณั ห จติ รปฏมิ า ดวยการสนบั สนนุ
ของคณะนายทหารหนุม โดยการนําของ พันเอก มนูญ รูปขจร และพันเอก ประจักษ
สวางจิตร ไดพ ยายามใชกําลังทหารในบงั คบั บัญชา เขายดึ อาํ นาจปกครองประเทศซ่ึงมี
พลเอก เปรม ติณสลู านนท เปนนายกรฐั มนตรี เนือ่ งจากเกิดความแตกแยกในกองทัพบก
แตการปฏิวัติลมเหลวฝายกบฏยอมจํานน และถูกควบคุมตัวพลเอก สัณห จิตรปฏิมา
สามารถหลบหนอี อกไปนอกประเทศได ตอ มารัฐบาลไดออกกฎหมายนิรโทษกรรมแก
ผมู สี ว นเก่ียวของการกบฏในคร้งั น้ี
19. พ.ศ. 2528 : กบฏครง้ั ที่ 10 กบฏทหารนอกราชการ
เกดิ ข้นึ เมื่อวันที่ 9 กนั ยายน 2528 โดยคณะนายทหารนอกราชการที่พยายามยดึ อํานาจ
จากรฐั บาลของ พลเอก เปรม ตณิ สลู านนท แตด าํ เนนิ การไมสาํ เร็จผูกอ การ คอื พนั เอก
มนูญ รูปขจร และนาวาอากาศ โทมนัส รูปขจร ไดล ้ภี ยั ไปสิงคโปร และเดนิ ทางไปอยูใ น
ประเทศเยอรมนตี ะวันตก
20. พ.ศ. 2534 : การรัฐประหารครัง้ ที่ 9
เกดิ ขึน้ เมอ่ื วันท่ี 23 กุมภาพนั ธ พ.ศ. 2534 นําโดยพลเอก สนุ ทร คงสมพงษ ผูบัญชาการ
ทหารสูงสุด หัวหนาคณะรักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ (รสช.) ยึดอํานาจจาก
รฐั บาล พลเอก ชาตชิ าย ชุณหะวณั นายกรัฐมนตรีในขณะน้นั และแตงต้ัง นายอานันท
ปนยารชนุ ขึ้นเปนนายกรฐั มนตรี ทวารัฐบาลที่มีอายุเพียง 1 ปของ รสช. ก็ตองประสบ
กบั อุปสรรคในการเรียกรอ งรฐั ธรรมนูญท่ีเปนประชาธิปไตยจากประชาชนอันนํามาสู
การชมุ นมุ เรียกรอ งทางการเมืองทกี่ ลายเปนชนวนเหตุของเหตกุ ารณพฤษภาทมฬิ ในป
พ.ศ. 2535 ภายหลงั การเลือกตัง้ ท่ี พลเอก สุจินดา คราประยูร ขึ้นเปนนายกรัฐมนตรีใน
เวลาตอ มา
21. พ.ศ. 2549 : การรัฐประหารคร้งั ท่ี 10
เกิดขนึ้ เมอื่ วันที่ 19 กนั ยายน 2549 นําโดย พลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน ผูบัญชาการ
ทหารบก ทําการยึดอํานาจจากรัฐบาลรักษาการของ พันตํารวจโท ทักษิณ ชินวัตร
เรียกตนเองวา คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย
ทรงเปนประมขุ
136
จากพัฒนาการทางการเมืองการปกครองท่ีเกิดข้ึนในประเทศไทย หลังการเปลี่ยนแปลง
การปกครองป พ.ศ. 2475 ท่ีมกี ารเปลี่ยนแปลงเกิดข้นึ อยางบอยคร้งั รวมทงั้ เปน ทีม่ าของรฐั ธรรมนญู
ฉบับตา ง ๆ ดวย จะเห็นวามีพัฒนาการในทางที่ใหสิทธิและเสรีภาพแกประชาชนมากข้ึน แมวาบาง
ยคุ สมัยจะถกู กลา วหาวาเปนเผด็จการก็ตาม เราก็จะเห็นพัฒนาการทางการเมืองในภาคประชาชน
ท่ีคอ ย ๆ กอตวั ข้ึนในทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ จนคลายกับเปนความขัดแยงทางสังคมโดยเฉพาะ
อยางย่ิงหลังเหตุการณรัฐประหาร พ.ศ. 2549 ไดทําใหเกดิ ความคดิ เห็นทแ่ี ตกตา งของประชาชนทัง้ ประเทศ
อยา งไมเคยเกดิ ขึ้นมากอ น จนหลายฝา ยวิตกวาจะนาํ ไปสสู งครามการเมอื ง แตเ มือ่ มองในดา นดี จะพบวา
ในเหตกุ ารณด งั กลา วไดกอใหเ กดิ ความตืน่ ตวั ของภาคประชาชนในดานการเมอื งท้ังประเทศอยางที่ไม
เคยมีมากอน ความคิดเห็นทางการเมืองตางกันท่ีเกิดข้ึนในเวลานี้ เปนเรื่องใหมและยังไมมีความ
คิดเหน็ ที่ตรงกัน ตอ งอาศัยระยะเวลา และการเรยี นรูข องผคู นทงั้ ประเทศ ท่ีจะตองอดทนเรียนรูและ
อยูรว มกนั ใหไ ดท า มกลางความแตกตา ง และปรับความคิดเขาหากนั ใหถงึ จดุ ทพ่ี อจะยอมรบั กนั ได
สถานการณความแตกตางทางความคิดท่ีเกิดขึ้นหลังจากการรัฐประหาร พ.ศ. 2549
จงึ เปน โอกาสอันดีของผคู นในยุคสมัยนี้ที่จะรวมกันหาคําตอบและทางออกของเหตุการณวา เราจะ
รวมกนั หาทางออกของเหตุการณดว ยสนั ตวิ ิธี หรอื ดวยความรนุ แรง ซง่ึ เราทุกคนในเวลานล้ี วนมีสว นรวม
ในการหาคําตอบและทางออกดว ยกนั ทุกคน
เร่ืองท่ี 2 การมสี ว นรว มทางการเมอื ง
และการอยูรวมกนั อยางสันติ
ในระบอบประชาธปิ ไตย
อันมีพระมหากษัตริยท รงเปน ประมขุ
2.1 การมสี ว นรวมทางการเมอื ง
การปกครองระบอบประชาธิปไตยมหี ลักการพืน้ ฐานสําคัญ 5 ประการ คอื
1. หลักการอํานาจอธิปไตยเปนของปวงชน ประชาชนแสดงออกซึ่งการเปนเจาของ
โดยใชอาํ นาจที่มีตามกระบวนการเลือกต้ังอยางอิสระและท่ัวถึง ในการใหไดมาซ่ึงตัวผูปกครองและ
ผูแ ทนของตน รวมทัง้ ประชาชนมีอาํ นาจในการคัดคา นและถอดถอนผปู กครองและผูแ ทนทปี่ ระชาชน
เหน็ วามิไดบริหารประเทศในทางท่ีเปนประโยชนตอสังคมสวนรวม เชน มีพฤติกรรมร่ํารวยผิดปกติ
หรือ คอรรัปช่ัน (Corruption)
137
2. หลักเสรีภาพ ประชาชนทุกคน มีความสามารถในการกระทําหรืองดเวนการกระทํา
อยางใดอยางหนึ่งตามท่ีบุคคลตองการตราบเทาท่ีการกระทําของเขานั้น ไมไปละเมิดลิดรอนสิทธิ
เสรภี าพของบคุ คลอนื่ หรือละเมิดตอความสงบเรียบรอ ยของสังคม และความมั่นคงของประเทศชาติ
3. หลกั ความเสมอภาค การเปดโอกาสใหประชาชนทกุ คน สามารถเขา ถงึ ทรพั ยากรและ
คุณคาตาง ๆ ของสงั คมท่ีมอี ยูจาํ กดั อยา งเทาเทียมกัน โดยไมถูกกีดกันดวยสาเหตุแหงความแตกตาง
ทางชั้นวรรณะทางสงั คม ชาตพิ ันธุ วัฒนธรรม ความเปน อยู ฐานะทางเศรษฐกิจ หรอื ดว ยสาเหตุอืน่
4. หลักการปกครองโดยกฎหมายหรือหลักนิติธรรม การใหความคุมครองสิทธิ
ข้ันพ้ืนฐานของประชาชนท้ังให เร่อื ง สิทธิเสรีภาพในทรัพยส ิน การแสดงออกการดํารงชีพ ฯลฯ อยาง
เสมอหนา กนั โดยผปู กครองไมสามารถใชอ ํานาจใด ๆ ลิดรอนเพิกถอนสทิ ธเิ สรีภาพของประชาชนได
และไมส ามารถใชอภสิ ิทธ์อิ ยูเหนือกฎหมายหรือเหนอื กวาประชาชนคนอื่น ๆ ได
5. หลักการเสียงขางมาก (Majority rule) ควบคูไปกับการเคารพในสิทธิของเสียง
ขางนอย (Minority Rights) การตัดสินใจใด ๆ ที่สงผลกระทบตอประชาชนหมูมาก ไมวาจะเปน
การเลือกตัง้ ผแู ทนของประชาชนเขาสูระบบการเมือง การตัดสินใจของฝา ยนิติบัญญัติ ฝายบริหาร
หรือฝายตุลาการ ยอมตองถือเอาเสียงขางมากท่ีมีตอเร่ืองนั้น ๆ เปนเกณฑในการตัดสินทางเลือก
โดยถือวาเสียงขางมาก เปนตัวแทนที่สะทอนความตองการ/ขอเรียกรองของประชาชนหมูมาก
หลกั การนต้ี องควบคูไปกบั การเคารพคมุ ครองสิทธิเสียงขางนอยดวย ทั้งน้ี ก็เพ่ือเปนหลักประกันวา
ฝา ยเสียงขา งมากจะไมใ ชว ธิ ีการ “พวกมากลากไป” ตามผลประโยชนความเหน็ หรือกระแสความนยิ ม
ของพวกตนอยางสุดโตง แตตองดําเนินการเพ่ือประโยชนของประชาชนทั้งหมด เพื่อสรางสังคมท่ี
ประชาชนเสียงขา งนอ ย รวมทง้ั ชนกลุมนอ ยผดู อ ยโอกาสตาง ๆ สามารถอยูรว มกันไดอยา งสันติสขุ โดย
ไมมกี ารเอาเปรยี บกนั และสรา งความขัดแยง ในสงั คมมากเกนิ ไป
คานิยมทัศนคติที่สงเสริมประชาธิปไตยระบอบประชาธิปไตย นอกจากจะเปนระบอบ
การเมืองแลว ยังเปน ระบอบเศรษฐกิจสงั คมวฒั นธรรมดวย ดงั นัน้ จึงไมใชอยูที่รัฐธรรมนูญ กฎหมาย
การเลือกตง้ั และการตอ รองทางการเมืองเทาน้นั หากอยทู สี่ มาชิกในสงั คมจะตองชวยกันหลอหลอม
สรา งคา นิยมวิถีชวี ติ ที่เปนประชาธปิ ไตยมาตง้ั แตใ นครอบครวั โรงเรยี น ที่ทํางาน ชุมชน เพ่อื จะนาํ ไปสู
หรอื การปกปอ งระบอบประชาธิปไตยทั้งทางการเมืองเศรษฐกจิ และสังคม
จากหลักการพ้ืนฐานของระบอบประชาธิปไตยดงั กลาวแลว จะเห็นวาการมีสวนรวมทาง
การเมอื งของประชาชนเปนส่ิงทม่ี คี วามสําคัญมาก หากปราศจากการมีสว นรวมของประชาชนในทาง
การเมืองระบอบประชาธิปไตยน้ันจะไมต า งจากระบอบเผดจ็ การ ดังนน้ั รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550 จึงไดบัญญัติการมีสวนรวมโดยตรงของประชาชนไวในหมวด 7 มาตรา 163 -
มาตรา 165 ดงั น้ี
138
หมวด ๗
การมสี วนรวมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน
มาตรา๑๖๓ ประชาชนผูม ีสิทธเิ ลอื กต้ังไมนอยกวาหนึ่งหมื่นคน มีสิทธิเขาช่ือรองขอตอ
ประธานรฐั สภา เพ่อื ใหรัฐสภาพจิ ารณารา งพระราชบัญญัตติ ามท่กี าํ หนดในหมวด ๓ และ
หมวด ๕ แหง รฐั ธรรมนูญน้ี
คํารองขอตามวรรคหน่ึงตอ งจัดทาํ รางพระราชบัญญตั เิ สนอมาดว ย
หลกั เกณฑและวิธกี ารเขา ชอื่ รวมท้ังการตรวจสอบรายชื่อใหเปนไปตามที่
กฎหมายบัญญัติ
ในการพิจารณารางพระราชบญั ญัติตามวรรคหนึ่ง สภาผูแทนราษฎรและ
วุฒสิ ภาตอ งใหผ แู ทนของประชาชนผูมสี ิทธิเลือกตั้งท่ีเขา ช่ือเสนอรางพระราชบัญญัติน้ัน
ชี้แจงหลักการของรางพระราชบัญญัติและคณะกรรมาธิการวิสามัญเพ่ือพิจารณาราง
พระราชบัญญัติดังกลาว จะตองประกอบดวย ผูแทนของประชาชนผูมีสิทธิเลือกต้ังที่
เขา ช่อื เสนอรา งพระราชบญั ญัตนิ น้ั จาํ นวนไมน อ ยกวา หน่งึ ในสามของจาํ นวนกรรมาธิการ
ทั้งหมดดวย
มาตรา๑๖๔ ประชาชนผูม สี ิทธเิ ลือกต้งั จํานวนไมนอ ยกวา สองหม่นื คน มสี ทิ ธเิ ขา ชื่อรองขอ
ตอประธานวฒุ ิสภา เพื่อใหว ุฒสิ ภามีมติตามมาตรา ๒๗๔ ใหถอดถอนบุคคลตามมาตรา
๒๗๐ ออกจากตําแหนง ได
คํารองขอตามวรรคหน่ึงตองระบุพฤตกิ ารณท่ีกลาวหาวาผูดํารงตําแหนง
ดงั กลาวกระทาํ ความผดิ เปนขอ ๆ ใหช ดั เจน
หลกั เกณฑว ิธกี ารและเง่ือนไขในการท่ปี ระชาชนจะเขา ชอ่ื รอ งขอตามวรรคหนง่ึ
ใหเปน ไปตามพระราชบัญญัตปิ ระกอบดวยรัฐธรรมนญู วาดว ยการปอ งกันและปราบปราม
การทุจริต
139
มาตรา๑๖๕ ประชาชนผูมีสิทธิเลือกต้ัง ยอมมีสิทธิออกเสียงประชามติ การจัดใหมีการ
ออกเสยี งประชามตใิ หกระทาํ ไดในเหตุ ดังตอ ไปนี้
(๑) ในกรณีท่ีคณะรัฐมนตรีเห็นวา กิจการในเรื่องใดอาจกระทบถึง
ประโยชนไดเสียของประเทศชาติหรือประชาชน นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของ
คณะรฐั มนตรอี าจจะปรึกษาประธานสภาผแู ทนราษฎรและประธานวุฒิสภาเพื่อประกาศ
ในราชกจิ จานุเบกษาใหม กี ารออกเสียงประชามติได
(๒) ในกรณีทีม่ ีกฎหมายบญั ญตั ิใหมีการออกเสียงประชามติการออกเสียง
ประชามตติ าม (๑) หรือ (๒) อาจจัดใหเปนการออกเสยี งเพอื่ มีขอ ยตุ ิโดยเสยี งขางมากของ
ผูม สี ทิ ธิออกเสยี งประชามตใิ นปญหาที่จดั ใหมีการออกเสยี งประชามติหรอื เปน การออกเสียง
เพื่อใหคําปรึกษาแกค ณะรัฐมนตรีก็ไดเวน แตจะมีกฎหมายบัญญตั ไิ วเ ปนการเฉพาะ
การออกเสียงประชามติตองเปนการใหออกเสียงเห็นชอบหรือ
ไมเห็นชอบในกิจการตามท่ีจัดใหมีการออกเสียงประชามติและการจัดการออกเสียง
ประชามติในเรื่องที่ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญหรือเก่ียวกับตัวบุคคลหรือคณะบุคคลจะ
กระทํามไิ ด
กอนการออกเสียงประชามติรัฐตองดําเนินการใหขอมูลอยาง
เพียงพอและใหบุคคลฝายท่ีเห็นชอบและไมเห็นชอบกับกิจการ นั้น มีโอกาสแสดง
ความคิดเห็นของตนไดอยางเทาเทียมกันหลักเกณฑและวิธีการออกเสียงประชามติให
เปน ไปตามพระราชบัญญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วาดว ยการออกเสยี งประชามติ ซึง่ อยางนอย
ตอ งกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการออกเสียงประชามติระยะเวลาในการดําเนินการ
และจํานวนเสียงประชามติเพอ่ื มีขอ ยุติ
นอกจากการมีสว นรว มโดยตรงทางการเมอื งแลว สงิ่ ท่ีมคี วามสาํ คญั เปนอยางมาก ก็คือ การ
เลือกตัวแทนของตนในทุกระดับ จะตองเลือกคนที่มีความเหมาะสมกับตําแหนงนั้น ๆ ซ่ึงจะมีการ
เลือกตั้งตัวแทนประชาชนเกือบทุกระดับ แตประชาชนสวนใหญยังมิไดแยกแยะวา การเลือกต้ังนั้น ๆ
เลือกเขาไปทําหนาทีอ่ ะไร ประชาชนมักจะเลอื กจากผทู ่ีตนเอง มีความคุนเคยสนิทสนม หรือมพี ระคุณ
หรือมากกวานนั้ ท่ีมกี ารกลา วหากันแตขาดพยานหลกั ฐาน ก็คอื เลอื กผูทใ่ี หเงนิ ตน (ทเ่ี รียกวา ซือ้ เสียง)
หากประชาชนสามารถเลือกต้ังตัวแทนของตนเองไดเหมาะสมกับตําแหนงท่ีไดมาจาก
การเลอื กต้งั แลว จะสามารถพลกิ โฉมการเมืองไทยไดม ากกวา ทีเ่ ปนอยทู ุกวันนี้
140
กิจกรรมท่ี 11
ใหผ เู รยี นวิเคราะหการพฒั นาการทางการเมอื งของประเทศไทยตามความเขาใจโดย
ใชข อมลู ประกอบ
2.2 การอยรู ว มกันอยา งสนั ตใิ นระบอบประชาธิปไตย
จากหลักการของระบอบประชาธิปไตย เห็นไดวาประชาชนตองมีบทบาทและมีสวนรวม
ในทางการเมอื งมากกวาระบอบเผด็จการและในระบอบประชาธิปไตยท่ียึดหลักสิทธิและเสรีภาพของ
ประชาชนทกุ คนอยางเทา เทียมในสงั คมทมี่ ีขนาดใหญ หากทกุ คนยึดแตหลักการพ้ืนฐานของระบอบ
ประชาธิปไตยเทา น้นั เชื่อวา ความวุนวายและไรร ะเบียบของสังคมยอ มเกิดข้ึนในสังคมไทยแนวคดิ ของ
ระบอบประชาธิปไตยเปนส่ิงท่ีเรารับมาจากประเทศทางตะวันตกซึ่งมีขอดีในเรื่อง วินัยสิทธิเสรีภาพ
และความเสมอภาค สวนวิถีของสังคมไทยที่เปนสังคมพุทธมีขอดีในเร่ือง ความอบอุน การเคารพ
ผูอาวุโส ความกตัญู เปนขอดีที่เราตองนํามาใชใหถูกตอง ดังนั้น การจะอยูรวมกันอยางสันติใน
ระบอบประชาธปิ ไตยของสังคมไทยคงมิใชการยึดหลกั การพื้นฐานของระบอบประชาธิปไตยเทานั้น
แตต อ งมองรากฐานของคนไทยดว ยวา มีวิถีชีวติ อยา งไร
วถิ ชี ีวติ ไทย
สงั คมไทยในอดีตปกครองดวยระบอบสมบรู ณาญาสิทธริ าชย จนถึงป พ.ศ. 2475 เมื่อคณะราษฎร
ไดทําการปฏิวตั เิ ปลีย่ นแปลงระบอบการปกครองมาเปนระบอบประชาธิปไตย เวลาท่ีผานมา 70 กวาป
วิถีชีวติ ของชนชาวไทยไดปรับตนเองใหเ ขากับระบอบการปกครองแบบประชาธปิ ไตยอยา งไร
การศกึ ษาเพอื่ ใหเกิดความเขาใจวิถีชีวิตไทยภายใตระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย
ผูเรียนควรจะมีความรู ความเขา ใจ ในความหมายของคาํ หลกั ที่เกยี่ วของกอน ไดแก คําวา “วถิ ีชีวิต”
“ระบอบ” และ “ประชาธิปไตย” เพื่อเปนพน้ื ฐานในการวิเคราะหตอ ไป ซง่ึ พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑิตย-
สถาน พ.ศ. 2542 ไดใหค วามหมายของคาํ ดังกลาวไว ดงั นี้
วิถชี วี ติ หมายถึง ทางดําเนนิ ชวี ติ เชน วถิ ชี ีวิตชาวบา น
ระบอบ หมายถึง แบบอยางธรรมเนียม เชน ทําถูกระบอบ ระเบียบ การปกครอง เชน
การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย การปกครองระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย
ประชาธปิ ไตย (ประชาทิปะไต/ประชาทบิ ปะไต) หมายถึง ระบอบการปกครองที่ถือมติปวงชน
เปนใหญการถือเสียงขางมากเปน ใหญ
จากความหมายของคําหลัก ท้ังสามคําดังกลาวขางตน เมื่อนําความหมายมารวมกัน “วิถีชีวิตไทย
ภายใตการปกครองระบอบประชาธิปไตย” จึงหมายถึง การดําเนินชีวิตของชนชาวไทย โดยการ
ถือเสยี งขา งมากเปนใหญ
141
เราจะทาํ การศกึ ษาตอไปวา การดําเนินชวี ิตของคนไทยนัน้ ไดถอื เสยี งขา งมากในเร่ืองใดบาง
และขอดี ขอเสีย ของการถือเสียงขางมากเปนใหญ มีอะไรบาง โดยการพิจารณาจากลักษณะของ
สังคมไทยในปจจบุ ัน
ลักษณะที่สาํ คัญของสงั คมไทย
ประเทศไทยตัง้ อยูบ นคาบสมุทรอนิ โดจนี ท่ีเรยี กวา “สวุ รรณภูมิ” มพี ืน้ ท่ีประมาณ 513.115
ตารางกิโลเมตร มกี ลุม ชนชาตไิ ทย และกลุมชาติพนั ธุอนื่ ๆ อีกมากกวา 50 ชาติพนั ธุ เชน จนี ลาว มอญ
เขมร กยู ฝรง่ั แขก ซาไก ทมฬิ ฯลฯ มาอาศัยอยูในประเทศไทย มีภาษาไทยเปน ของตนเอง มีประวัติศาสตร
การตัง้ ถ่ินฐานท่ียาวนาน ประชากรสว นใหญป ระกอบอาชีพเกษตรกรรม มพี ระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
จนถงึ ป พ.ศ. 2475 เมอื่ เกดิ การเปล่ยี นแปลงระบอบการปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสิทธิราชย
มาเปนระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขเวลาผานไปเกือบ 80 ป จนถึง
ปจจุบนั เม่ือวเิ คราะหลกั ษณะของสงั คมไทยในปจ จุบนั เราจะพบวา มีลักษณะสําคญั ดังนี้
1. สงั คมไทยเปนสงั คมทเี่ คารพเทิดทนู สถาบนั พระมหากษตั ริย
สังคมไทย ปกครองโดยเฉพาะพระมหากษัตริยมาตั้งแตสมัยสุโขทัย ที่เรียกวา
สมบูรณาญาสทิ ธิราชย จนมาถึง การปกครองในระบอบประชาธิปไตย พระมหากษัตริย
ทรงเปน ทัง้ องคพระประมุข เปนขวญั และกาํ ลังใจใหกับประชาชน และทรงเปน ศูนยรวม
แหงความสามัคคีของคนในชาติ สถาบันพระมหากษัตริย จึงไดรับการเคารพเทิดทูน
อยางสงู ในสังคมไทย