142
2. สงั คมไทยยดึ มั่นในพระพทุ ธศาสนา
วดั มีความสัมพันธก บั ชมุ ชนมากในอดีต วัด เปน แหลงการศกึ ษาของฆราวาสและภิกษุ
สามเณร เปน สถานที่อบรมขัดเกลาจิตใจ โดยใชธรรมะ เปนเคร่ืองช้ีนําในการดําเนิน
ชวี ติ โดยมีพระภกิ ษุ เปน ผอู บรมส่งั สอนพุทธศาสนกิ ชนใหเปนคนดี มศี ีลธรรม
3. สังคมไทยเปน สังคมเกษตร
อาชีพเกษตรกรรม เปนอาชีพที่เปนพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจ ซ่ึงในปจจุบันมีการนํา
เทคโนโลยีมาใชใ นการเกษตรมากขน้ึ ทาํ ใหมกี ารพัฒนาเปนเกษตรกรรมอุตสาหกรรม
จากพื้นฐานการมีอาชีพเกษตรกรรม ทําใหคนไทยรักความเปนอยูที่เรียบงาย
ไมท ะเยอทะยานเกนิ ฐานะ มจี ติ ใจออนโยนเอื้อเฟอ เผื่อแผ
143
4. สงั คมไทยใหก ารเคารพผูอาวโุ ส
การแสดงความเคารพ การใหเกยี รตผิ อู าวโุ ส มผี ลตอ การแสดงออกของคนในสังคม ใน
ดา นกริ ยิ าวาจา ความเคารพ และความเกรงใจ ทาํ ใหเ ดก็ ๆ หรอื ผนู อ ย รูจักออ นนอม
ถอ มตนตอผใู หญ
5. สงั คมไทยเปน สงั คมระบบเครือญาติ
สังคมไทย เปนสังคมท่ีอยูรวมกันเปนครอบครัวขนาดใหญ มีความสัมพันธกันอยาง
ใกลชดิ ทําใหมีความผูกพัน และหวงใยในทุกขสุขของกันและกัน อุปการะเกื้อกูลกัน
ซง่ึ สมาชกิ ในครอบครวั ทกุ คน ถือเปน หนาท่ีท่ีตอ งประพฤติปฏิบตั ิตอกนั
144
6. สังคมไทยมีการเปลีย่ นแปลงอยา งรวดเร็ว
เนอ่ื งจากมีการเปดรบั วฒั นธรรมตา งชาติเขา มามาก และระบบเศรษฐกิจเปนแบบทนุ นิยม
โดยเฉพาะเมืองใหญ เชน กรุงเทพฯ เชียงใหม ภูเก็ต เปนตน แตในชนบทจะมี
การเปล่ียนแปลงชากวา เมอื งใหญ ทําใหมขี นบธรรมเนียมประเพณีท่ีดีงามคงอยู
145
หากเราสามารถใชชีวติ โดยการประยกุ ตใชห ลกั การของระบอบประชาธิปไตย ท้ัง 5 หลกั ใหเ ขา
กับสภาพสงั คมและวิถีชีวิตไทยไดอยางสมดุล เชื่อวาสังคมไทย จะสามารถอยูรวมกันไดอยางสันติมี
สิทธิเสรีภาพ และความอบอุนในรูปแบบของวิถีชีวิตได โดยมีแนวทางของการเปนพลเมืองดีตามวิถี
ประชาธปิ ไตย โดยพจิ ารณาจากบทบาทหนา ทีข่ องตนเองท่ีมีตอสว นเกย่ี วของ ดงั นี้
1. บทบาทหนา ท่แี ละความรบั ผิดชอบตอ ตนเอง ไดแ ก
1.1 ยดึ มั่นในคุณธรรมและศีลธรรม
1.2 พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของตนเองใหม ีความรู ฉลาดทนั โลก ทนั เหตุการณ
1.3 ประกอบอาชพี ท่ีซื่อสตั ยด ว ยความขยนั หมนั่ เพียร
1.4 สนใจตดิ ตามขา วความเปน ไปในทางการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม
2. บทบาทหนา ท่ีและความรบั ผดิ ชอบตอ ครอบครัว
2.1 ทาํ หนา ที่สมาชิกในครอบครวั ใหส มบรู ณ
2.2 ชว ยกจิ กรรมงานตาง ๆ ในครอบครวั อยา งเต็มใจ
2.3 ชว ยกันดูแลประหยัดคา ใชจ า ยในครอบครวั
2.4 รบั ฟง และแลกเปลย่ี นความคิดเห็นซึ่งกนั และกันในครอบครัว
2.5 ไมท าํ ใหสมาชิกในครอบครัวรสู ึกวา ถูกทอดทง้ิ
3. บทบาทหนา ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบตอสังคมและประเทศชาติ
3.1 ดานเศรษฐกิจ
1) ประกอบอาชีพท่ีเกดิ ผลดีทางเศรษฐกิจตอ ชุมชนและประเทศชาติ
2) เสยี ภาษีอากรใหแ กร ฐั อยา งถูกตอ ง
3) ประหยดั การใชจ าย
3.2 ดานการเมอื ง
1) สนใจตดิ ตามขา วคราวความเปนไปทางดา นการเมอื งในประเทศ
2) สนบั สนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตย
3) เขารวมในกิจกรรมตา ง ๆ ท่ีมอี ยใู นการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
4) เคารพสทิ ธแิ ละเสรภี าพของบคุ คลอนื่
5) สนใจตดิ ตามความเปน ไปและปญ หาทางดา นสังคมของชมุ ชน
3.3 ดานสงั คม
1) ยดึ ม่นั ในระเบยี บวินยั และปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายของบา นเมือง
2) ยอมรับความแตกตา งในดา นบคุ คล
3) มีความรสู ึกเปน สว นหนึ่งของสงั คมและประเทศชาติ
146
4) ใหค วามชว ยเหลอื ในการทาํ งานเพอื่ สังคม
หากแตล ะบคุ คลสามารถปฏบิ ตั ติ ามบทบาทหนาทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบไดอยางครบถวนกไ็ ด
ช่อื วา เปน “พลเมอื งดตี ามวถิ ีประชาธปิ ไตย”
กจิ กรรมที่ 12
1. ใหผ ูเรียนวิเคราะหและเขยี นบอกลักษณะสาํ คัญของสังคมในปจจุบัน โดยเปรยี บเทยี บกับ
ลักษณะของสังคมไทยตามท่ีมีผูวิเคราะหไวแลว เพ่ือพิจารณาวามีลักษณะใดบางที่
เปล่ยี นแปลงหรอื สญู หายไปแลว และลักษณะใดบางท่ียังคงอยูพรอมกับบอกความรูสึกของ
ผเู รียนที่มีตอสภาพสงั คมในปจจุบนั
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ผูเรียนวิเคราะหบทบาทหนาท่ีและความรับผิดชอบของผูเรียนที่ปฏิบัติตอสมาชิกใน
ครอบครัววา เปนไปตามหลักการของระบอบประชาธิปไตยหรือไม บทบาทหนาที่ดังกลาวมี
เรือ่ งใดบางทีค่ วรสงเสริมและมเี รือ่ งใดบางทค่ี วรละท้ิง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ในฐานะทผ่ี เู รยี นเปน หนวยหนึ่งของสังคมและประเทศผเู รยี นจะปฏิบตั ติ นอยางไร จึงจะไดชอ่ื วา
เปน พลเมอื งดขี องประเทศท่ีมกี ารปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยท รง
เปนประมขุ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
147
บทท่ี 5
สิทธิมนษุ ยชน
สาระสาํ คัญ
มนุษยทุกคน เกิดมามีเกียรติศักดิ์ศรีเทาเทียมกัน ยอมจะไดรับความคุมครองจากรัฐตาม
มาตรฐานเดียวกันกับประเทศอ่ืน ๆ ซึ่งรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได
บัญญตั สิ ทิ ธมิ นุษยชนขั้นพน้ื ฐานไว เพ่อื ปกปองคมุ ครองประชาชนทกุ คนมิใหถกู ละเมิดสิทธิและรักษา
สิทธขิ องตนได
ผลการเรียนรูทีค่ าดหวงั
1. อธิบายท่ีมาของแนวคดิ เรอื่ งสิทธิมนษุ ยชนได
2. อธบิ ายหลักสทิ ธิมนษุ ยชนสากลได
3. ยกตวั อยา งแนวทางในการคุมครองตนเองและผอู ่ืนตามหลกั สิทธิมนุษยชนได
ขอบขายเนื้อหา
เร่อื งท่ี 1 กําเนิดและหลักสิทธิมนุษยชน
เรือ่ งท่ี 2 การคุม ครองตนเองและผูอ ่ืนตามหลักสิทธมิ นุษยชน
ส่ือประกอบการเรียนรู
1. คอมพวิ เตอรอนิ เทอรเ นต็
2. เอกสารสทิ ธิมนษุ ยชนสากล
3. บทความทางวิชาการ
148