The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maw.nfe, 2020-04-21 03:48:40

ศาสนาและหน้าที่พลเมือง (สค21002) ม.ต้น

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

42

3.7 สงั คหวตั ถุ 4 คอื ธรรมทเี่ ปนเครอ่ื งยึดเหน่ียวนา้ํ ใจผอู ื่น
1) ทาน การใหก ารเสียสละเอือ้ เฟอ เผอ่ื แผ
2) ปยวาจา การพดู ดวยถอ ยคําท่ไี พเราะ
3) อัตถจริยา การสงเคราะหทุกชนดิ หรอื การประพฤติในส่ิงท่ีเปนประโยชนต อ

ผูอน่ื
4) สมานตั ตตา การเปนผมู คี วามสมาํ่ เสมอมคี วามประพฤติเสมอตน เสมอปลาย

สรุป หลักธรรมที่ชาวพุทธพึงปฏิบัติ คือ การละความชั่ว การทําความดี การทําจิตใจให
แจม ใสและการทาํ สมาธภิ าวนา

การละความชั่ว คือ การไมทําบาปอกุศลทั้งมวล การถือศีล 5 หรือ ศีลอ่ืน ๆ ตามบทบาท
หนาท่ีของตนเอง การทําความดี มีความกตัญูกตเวทตี อผูมีคุณ ตอสังคมสวนรวม ประเทศชาติ
ความขยันหมั่นเพียรในการงานอาชีพ ไมเอาเปรียบ คดโกงผูอื่น และการทําจิตใจใหแจมใส ไมคิด
ทุกขโศกเศรา อนั เกิดจากการเสอ่ื มของสงั ขาร โรคภัยไขเ จ็บ ความอยากมี อยากเปน อยากไดตาง ๆ
รวมทง้ั การสูญเสยี สง่ิ ทีร่ ักตาง ๆ โดยใชห ลกั การทําสมาธิภาวนา

การเจริญภาวนา

การเจรญิ ภาวนา เปน การพฒั นาจิต บรหิ ารจติ หลกั พระพทุ ธศาสนา เปน การสรา งบุญบารมี
ทีส่ ูงท่ีสุด และยง่ิ ใหญท่สี ดุ ในพระพุทธศาสนา จดั วาเปน แกน แท

การเจรญิ ภาวนามี 2 อยาง คือ สมถภาวนา และวิปสสนาภาวนา
1. สมถภาวนา ไดแ ก การทําจิตใจใหเปนสมาธิ คือ ทําจิตใหต้ังม่นั อยูในอารมณเดียว ไม
ฟงุ ซาน วิธภี าวนามหี ลายชนดิ พระพุทธองค บัญญัตเิ ปน แบบอยา งไว 40 ประการ เรียกวา กรรมฐาน 40
ที่นิยม คอื การ หายใจเขา บริกรรม พทุ ธ หายใจออก บริกรรม โธ เรียกวา อานาปานสติ ผูใดจะปฏิบัติ
ภาวนาจะตอ งรกั ษาศีลใหบ รสิ ทุ ธติ์ ามฐานะ เชน เปน ฆราวาส ถอื ศีล 5 ศีล 8 เปน เณร ถอื ศลี 10 เปน พระ
ถือศลี 227 ขอ เพราะในการปฏบิ ัตสิ มถภาวนา นนั้ ศลี เปน พนื้ ฐานทส่ี าํ คัญ อานิสงสข องสมาธมิ ากกวา
รักษาศีลเทียบกันไมได พระพุทธองค ไดตรัสวา “แมไดอุปสมบทเปนพระภิกษุรักษาศีล 227 ขอ
ไมเคยขาด ไมด างพรอย มานานถึง 100 ป กย็ งั ไดกศุ ลนอยกวาผูท่ีทําสมาธิเพียงใหจิตสงบนานเพียงช่ัว
ไกกระพือปก ชางกระดิกห”ู คําวา จติ สงบ ในทนี่ ี้ หมายถึง จติ ท่ีมอี ารมณเ ดยี วเพยี งช่ัววูบ แมกระน้ัน
ยังมีอานสิ งสม ากมาย แตอยางไรกด็ ี การเจรญิ สมถภาวนา หรือ สมาธิ แมจะไดบุญอานิสงสมากมาย
มหาศาลอยา งไรก็ไมใชบญุ กศุ ลทีส่ ูงสดุ ยอดในพระพุทธศาสนา การเจริญวิปสสนา (การเจริญปญญา)
จึงจะเปน การสรางกศุ ลที่สดุ ยอดในพระพทุ ธศาสนาโดยแท

43

2. วปิ สสนาภาวนา (การเจรญิ ปญ ญา) เมือ่ จติ ของผบู าํ เพ็ญเพยี รต้ังมนั่ อยใู นสมาธจิ ติ ของ
ผบู ําเพ็ญเพียร ยอ มมีกาํ ลงั อยูในสภาพท่ีน่ิมนวล ควรแกก ารวิปสสนาภาวนาตอไป

อารมณของวิปสสนาแตกตางจากอารมณของสมาธิ เพราะสมาธินั้น มุงใหจิตต้ังม่ันอยูใน
อารมณห น่งึ แตอารมณเ ดยี ว โดยแนน่ิงอยูเชนนั้น ไมนึกคิดอะไร แตวิปสสนาไมใชใหจิตต้ังมั่นอยูใน
อารมณเดยี วนง่ิ อยเู ชนน้นั แตเ ปนจิตท่ีคิดใครค รวญหาเหตแุ ละผลในสภาวธรรมท้งั หลาย และส่ิงทเี่ ปน
อารมณข องวปิ ส สนานน้ั มีแตเพียงอยางเดียว คือ ขนั ธ 5 ซ่ึงนิยมเรยี กวา รูป - นาม โดยรูป มี 1 นาม น้ัน
มี 4 คือ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ซ่ึงนาม นั้น เปนเพียงสังขารธรรม เกิดจากการปรุงแตง
แตเ พราะอวิชชา คอื ไมร ูเทาสภาวธรรม จึงทําใหเกิดความยึดม่ัน เปนตัวเปนตน การเจริญวิปสสนา
มีจติ พิจารณาเห็นสภาวธรรมท้ังหลาย คือ ขันธ 5 เปน อาการของพระไตรลักษณ คือ เปนอนิจจัง คือ
ไมเที่ยง ทกุ ขัง คือ ลว นเปนทุกข อยูในสภาพเดิม ไมไดตองแปรเปล่ียนไป และอนัตตา ไดแก ความ
ไมใชตัวตน ไมใชสัตวบุคคล ไมใชส่ิงของ สรรพสิ่งทั้งหลายเพียงช่ัวคราว เทาน้ัน เม่ือนานไปยอม
เปลยี่ นแปลงกลับไปสูส ภาวะเดมิ สมาธแิ ละวิปสสนา เปนทัง้ เหตแุ ละผลของกันและกัน และอุปการะ
ซ่ึงกนั และกนั จะมวี ปิ ส สนา ปญ ญา เกิดขนึ้ โดยขาดกาํ ลังสมาธไิ มไ ดเลย

การเจรญิ วปิ ส สนาอยา งงา ย ๆ ประจาํ วัน
1. มีจิตใครครวญถึงมรณสติกรรมฐาน คือ ใครครวญถึงความตายเปนอารมณ เพ่ือไมให
ประมาทในชีวิต ไมม วั เมา เรง ทาํ ความดี และบญุ กศุ ล เกรงกลัวตอ บาปท่ีจะติดตามไปในภพหนา
2. มจี ติ ใครครวญถงึ อสภุ กรรมฐาน ไดแก ส่งิ ท่ไี มส วย ไมง าม เชน ซากศพ รางกายคนทเี่ ปน
บอเกดิ แหง ตัณหาราคะ กามกเิ ลส วา เปนของสวยงาม เปน ทเ่ี จริญตาเจรญิ ใจ ไมวา รางกายของตนเอง
และของผูอ่ืนก็ตาม แทจริงแลวเปนอนิจจัง คือ ไมเท่ียงแท แนนอน วัน เวลา ยอมพรากจากความ
สวยงามจนเขาสูวัยชรา ซง่ึ จะมองหาความสวยงามใด ๆหลงเหลืออยไู มไ ดเ ลย
3. มีจิตใครค รวญถึงกายคตานสุ สติกรรมฐาน เรียกกันวา กายคตาสติกรรมฐาน จิตใครครวญ
ผม ขน เลบ็ หนงั ฟน พจิ ารณาใหเห็นความโสโครกของรา งกาย เพอ่ื ใหนาํ ไปสูก ารละสักกายทิฏฐิ คือ
ความเห็นผดิ ในรางกายของตน
4. มีจิตใจใครครวญถึงธาตุกรรมฐาน คือ การพิจารณาวา รางกายของเราและของผูอ่ืน
ไมใชตัวของเราแตอยา งใดเลย เปนแตเพยี งธาตุ 4 ท่มี าประชุม เกาะกมุ รวมกันเพียงชั่วคราว ถึงเวลา
เกาแกแ ลว แตกสลายตายไปกลบั ไปสูความเปนธาตุตาง ๆ ในโลกตามเดิม

44

แบบอยางชาวพทุ ธท่ีดี
หมอ มเจาหญงิ พนู พสิ มยั ดิศกลุ
พระประวัติ

หมอมเจาหญิงพูนพิสมัย ดิศกุล ประสูติ เม่ือวันจันทร ที่ 17 กุมภาพันธ พ.ศ. 2438 เปน
พระธดิ าในสมเดจ็ พระเจา บรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ผไู ดร บั การยกยองวา เปน บดิ าแหง
ประวัติศาสตรไ ทย และหมอมเฉ่ือย พระองคส้ินชีพิตักษัยดวยโรคชรา เม่ือวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2533
รวมพระชนั ษาได 95 พรรษา

กรณยี กิจดา นพระพุทธศาสนา สามารถสรปุ ได ดงั นี้
1. ทรงเปนที่ปรึกษาชมรมพทุ ธศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลยั โดยเสดจ็ ไปประทานความรู
ดา นพระพทุ ธศาสนา สัปดาหละ 2 ครง้ั และเปนที่ปรึกษาชมรมพทุ ธศาสนา มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร
2. ทรงเปน องคปาฐกถาและบรรยายวชิ าการทางพระพทุ ธศาสนาทงั้ ในและตา งประเทศ
3. ทรงเปนกรรมการบริหารและอุปนายกพุทธสมาคมแหงประเทศไทยในพระบรม-
ราชูปถัมภ
4. ทรงเปนรองประธานองคก ารพุทธศาสนิกสัมพันธแหงโลก (พ.ส.ล.) ใน พ.ศ. 2496 และ
ประธานองคก ารพุทธศาสนกิ สมั พนั ธแ หงโลก ใน พ.ศ. 2507
5. ทรงมีงานนพิ นธทางพระพทุ ธศาสนาหลายเร่ือง เชน หนังสือชื่อศาสนาคุณ หนังสือสอน
ศาสนาพระพทุ ธศาสนาสําหรับเยาวชน เปน ตน

แบบอยางชาวพุทธท่ดี ี

(1) ทรงเปนอบุ าสิกาทเ่ี ครง ครัด ตระหนักในหนา ท่ีของอุบาสกิ าดว ยการศึกษาปฏิบตั ิธรรม
(2) ทรงเปนพหสู ตู โดยศึกษาบาลี จนมคี วามรู ความเขาใจเปนอยางดี และมีผลงานวิชาการ
ดา นอน่ื ๆ อีกทัง้ ดา นสงั คมสงเคราะห ประวตั ศิ าสตร โบราณคดี เปนตน
(3) ทรงเปนแบบอยางพลเมืองท่ีดี ดวยการจงรักภักดี และพิทักษสมบัติลํ้าคาของชาติ
กลาวคอื เมอ่ื พระบดิ าสิ้นพระชนม มชี าวตางชาติ เสนอซื้อผลงานนิพนธทางวิชาการของพระบดิ าดวย
ราคาสงู แตพ ระองคท รงแจงความจาํ นงบรจิ าคหนังสอื ใหแกร ฐั บาล เพ่อื เกบ็ ไวเ ปน สมบตั ขิ องชาติและ
เปนคลงั ความรขู องประชาชน รัฐบาลในขณะนนั้ จึงสรางหองสมดุ ข้ึนรองรับ เรียกวา หอดาํ รง

45

3.2 หลกั ธรรมของศาสนาอสิ ลาม

อสิ ลาม เปนคําภาษาอาหรับ แปลวา การสวามิภกั ด์ิ ซงึ่ หมายถงึ การสวามิภักดิ์อยางบริบูรณ
แกอลั ลอฮพ ระผเู ปน เจา ดวยการปฏบิ ัตติ ามคําบัญชาของพระองค

บรรดาศาสนทูตในอดตี ลว นแตไดร ับมอบหมายใหสอนศาสนาอิสลามแกม นุษยชาติ ศาสนาฑูต
ทา นสุดทา ย คอื มุฮมั มัด บุตรของอบั ดุลลหแหงอารเบีย ไดรับมอบหมายใหเผยแผสาสนของอัลลอฮ
ในชวงป ค.ศ. 610 - 632 เฉกเชนบรรพศาสดาในอดีต โดยมีมะลักญิบรีล เปนส่ือระหวางอัลลห
พระผูเ ปน เจา และมฮุ ัมมัด พระโองการแหง พระผเู ปนเจาที่ทยอยลงมา ในเวลา 23 ปจันทรคติ ไดรับการ
รวบรวมข้ึนเปนเลม ชื่อวา อัลกุรอาน ซ่ึงเปน ธรรมนูญแหงชีวิตมนุษย เพ่ือท่ีจะไดครองตนบนโลกน้ี
อยางถูกตอ งกอนกลับคนื สพู ระผูเปน เจา
สาสน แหงอสิ ลามทีถ่ กู สงมาใหแกมนุษยท ้งั ปวง มจี ดุ ประสงคห ลกั 3 ประการ คือ

1. เปนอดุ มการณท ่สี อนมนษุ ยใหศ รัทธาในอลั ลอหพระผเู ปนเจาเพยี งพระองคเดียว ที่สมควร
แกการเคารพบูชาและภกั ดี ศรทั ธาในความยุติธรรมของพระองค ศรทั ธาในพระโองการแหงพระองค
ศรทั ธาในวันปรโลกวัน ซง่ึ มนุษยฟน คนื ชีพอีกครัง้ เพ่อื รบั คาํ พพิ ากษาและรบั ผลตอบแทนของความดี
ความชั่วที่ตนไดปฏิบัติไปในโลกน้ี มั่นใจและไววางใจตอพระองค เพราะพระองค คือ ที่พึ่งพาของ
ทกุ สรรพส่ิงมนษุ ย จะตอ งไมส น้ิ หวังในความเมตตาของพระองค และพระองค คือ ปฐมเหตุแหงคุณงาม
ความดีทัง้ ปวง

2. เปนธรรมนญู สําหรับมนุษย เพื่อใหเกิดความสงบสุขในชีวิตสวนตัวและสังคม เปนธรรมนูญ
ท่ีครอบคลมุ ทกุ ดา น ไมวาในดา นการปกครอง เศรษฐกิจ หรือนิติศาสตร อิสลามส่ังสอนใหมนุษยอยูกัน
ดว ยความเปนมติ ร ละเวนการรบราฆาฟน การทะเลาะเบาะแวง การละเมดิ และรกุ รานสิทธิของผูอื่น
ไมลกั ขโมย ฉอ ฉล หลอกลวง ไมผิดประเวณีหรือทําอนาจาร ไมด่ืมของมึนเมา หรือรับประทานส่ิงที่
เปน โทษตอ รางกายและจิตใจ ไมบ อนทําลายสงั คม แมว า ในรปู แบบใดก็ตาม

3. เปนจริยธรรมอนั สงู สง เพอ่ื การครองตนอยางมเี กียรติ เนนความอดกล้ัน ความซ่ือสัตย ความ
เอ้อื เฟอ เผ่ือแผ ความเมตตากรณุ า ความกตัญูกตเวที ความสะอาดของกาย และใจ ความกลาหาญ
การใหอภัย ความเทาเทียม และความเสมอภาคระหวางมนุษย การเคารพสิทธิของผูอ่ืน สงั่ สอนให
ละเวน ความตระหนถี่ เี่ หนยี ว ความอิจฉารษิ ยา การติฉนิ นนิ ทา ความเขลา และความขลาดกลวั การทรยศ
และอกตญั ู การลวงละเมดิ สิทธขิ องผอู ื่น

ศาสนาอิสลามไมใ ชศ าสนาท่วี วิ ฒั นาการมาจากศาสนาอื่น หรือศาสนาท่ีมนุษยประดิษฐข้ึน
อยา งเชน ศาสนาอืน่ ๆ ท่มี อี ยูในโลก อสิ ลาม เปน ศาสนาของพระผเู ปนเจาทเ่ี ปน ทางนําในการดํารงชีวิต
ทุกดานแกม นุษยทกุ คน ไมยกเวนอายุเพศ เผาพันธุ หรือฐานันดร

46

หลกั คําสอน

ศาสนาอิสลาม เกิดในดินแดนอาหรับ โดยมีความเช่ือตามโบราณเดิมเก่ียวกับหินศักด์ิสิทธ์ิ
เรียกวา หินกาบะห อาํ นาจลึกลับ ผีสางเทวดา เวทมนตรค าถาพอ มด หมอผี คําทาํ นาย การเสีย่ งทาย
การนบั ถือภเู ขา ตนไม น้ําพุ บูชาดวงอาทิตย ดวงจนั ทร ดวงดาวตาง ๆ อิสลาม มาจากคาํ วา อสั ละมะ
แปลวา สันติการยอมนอบนอมตน ชาวมุสลิมมุงตามความคิดเหน็ ของพระเจา โดยไมเห็นแกชีวิต
มีความเชื่อศรัทธา 6 ประการ

1. ศรัทธาในพระเจา
2. ศรัทธาในบรรดามะลาอิกะห คือ เทวทูตของพระเจา ซงึ่ เปนคนกลาง ทําหนาที่สื่อสาร
ระหวางศาสดามฮุ มั มัดกบั พระเจา บันทกึ ความดี ความชั่วของมนุษย ถอดวิญญาณออกจากรางเวลา
มนุษยต าย และสมั ภาษณผ ูตาย ณ หลุมฝงศพ
3. ศรทั ธาในคมั ภีรอ ลั กรุ อาน เปนคมั ภรี สดุ ทา ยที่พระเจา สั่งตรง ผา นพระมฮุ มั มดั ลงมาใหม นษุ ยโลก
4. ศรัทธาตอ บรรดาศาสนฑตู
5. ศรทั ธาตอ วันพพิ ากษาโลก เรยี กวนั น้วี า วันกยี ามะห
6. ศรัทธาในกฎสภาวะของพระเจา มีทง้ั กฎตายตัวและไมตายตัว กฎตายตวั คอื กําหนดเพศพันธุ
กฎไมต ายตวั คือ ทําดไี ดด ี ทําชัว่ ไดชว่ั
หลักคาํ สอนของศาสนาอิสลามแบงไว 3 หมวดดงั น้ี
1. หลกั การศรทั ธา

อสิ ลาม สอนวา ถา หากมนุษยพจิ ารณาดว ยสติปญญา และสามัญสํานึก จะพบวา จกั รวาล
และมวลสรรพสงิ่ ท้ังหลายที่มอี ยู มไิ ดอุบัติขึ้นดวยตนเอง เปนที่แนชัดวาสิ่งเหลานี้ไดถูกอุบัติขนึ้ มาโดย
พระผูสรางดว ยอํานาจ และความรูทไ่ี รข อบเขต ทรงกําหนดกฎเกณฑที่ไมมีการเปล่ียนแปลงไวทั่วท้ัง
จักรวาล ทรงขบั เคล่อื นจักรวาลดว ยระบบทล่ี ะเอยี ดออน ไมม สี รรพส่งิ ใดถูกสรา งขึ้นมาอยา งไรส าระ

พระผูเปน เจาผทู รงเมตตา ทรงสรา งมนุษยข น้ึ มาอยางประเสรฐิ จะเปนไปไดอยางไรท่ี
พระองค จะปลอยใหม นุษยด ําเนินชีวติ อยไู ปตามลาํ พงั โดยไมท รงเหลยี วแล หรอื ปลอยใหสังคมมนุษย
ดาํ เนินไปตามยถากรรมของตัวเอง

พระองคท รงขจัดความสงสยั เหลา นี้ดว ยการประทานกฎ การปฏิบตั ติ าง ๆ ผานบรรดา
ศาสดาใหม าส่งั สอน และแนะนาํ มนษุ ยไ ปสกู ารปฏบิ ัติ สาํ หรับการดาํ เนนิ ชวี ติ แนน อนมนุษยอาจมอง
ไมเ ห็นผลหรือไดร บั ประโยชนจ ากการทาํ ความดหี รือไดรับโทษจากการทาํ ชั่วของตน

จากจุดนี้ทําใหเขาใจไดทันทีวาตองมีสถานท่ีอ่ืนอีก อันเปนสถานท่ีตรวจสอบการ
กระทําของมนุษยอยา งละเอียดถ่ถี ว น ถา เปนความดี พวกเขาจะไดร ับรางวัลเปนผลตอบแทน แตถา

47

เปนความช่ัว จะถูกลงโทษไปตามผลกรรม นน้ั ศาสนาไดเ ชญิ ชวนมนษุ ยไปสูหลกั การศรัทธาและความ
เชอื่ มน่ั ทส่ี ัตยจรงิ พรอ มพยายามผลักดนั มนษุ ยใหห ลุดพน จากความโงเขลาเบาปญญา

1.1 หลักศรทั ธาอิสลามแนวซนุ หน่ี
1) ศรัทธาวา อลั ลอหเปน พระเจา
2) ศรทั ธาในบรรดาคมั ภีรตา ง ๆ ทอ่ี ลั ลอห ประทานลงมาในอดีต เชน เตารอต

อนิ ญลี ซะบูร และอลั กรุ อาน
3) ศรัทธาในบรรดาศาสนทูตตาง ๆ ที่อัลลอหไดทรงสงมายังหมูมนุษย และ

นบมี ฮุ ัมมัด ศ็อลลลั ลอฮอุ ะลัยฮวิ ะซัลลัม เปนศาสนฑูตคนสดุ ทาย
4) ศรทั ธาในบรรดามะลาอกิ ะห บา วผรู ับใชอัลลอห
5) ศรัทธาในวนั สิน้ สดุ ทาย คือ หลงั จากสิ้นโลกแลว มนษุ ยจ ะฟน ขน้ึ เพื่อรับการ

ตอบสนองความดี ความช่วั ท่ไี ดทาํ ไปบนโลกน้ี
6) ศรัทธาในกฎสภาวะ

1.2 หลักศรัทธาอสิ ลามแนวชีอะห
1) เตาฮดี (เอกภาพ) คือ ศรัทธาวาอลั ลอห ทรงเปน พระผูเ ปนเจา เพยี งพระองคเดียว

ไมมพี ระเจา อ่ืนใด นอกเหนอื จากพระองค
2) อะดาละห (ความยตุ ิธรรม) คอื ศรทั ธาวา อลั ลอห ทรงยตุ ธิ รรมย่ิง
3) นุบูวะห (ศาสดาพยากรณ) คือ ศรัทธาวาอัลลอห ไดทรงสงศาสนทูตตาง ๆ

ท่อี ัลลอหไ ดท รงสงมายงั หมูม นษุ ยหน่งึ ในจาํ นวน นั้น คือ นบีมฮุ มั มดั
4) อิมามะห (การเปน ผูนาํ ) ศรัทธาวาผูน าํ สูงสุดในศาสนาจะตองเปนผูท่ีรับการ

แตง ต้ังจากศาสนฑตู มฮุ ัมมดั เทานน้ั จะเลอื กหรอื แตงต้งั กนั เองไมไ ดผ ูน าํ เหลานัน้ มี 12 คน คือ อะลีย
บินอะปฏอลบิ และบตุ รหลานของอะลีห และฟาฏิมะห อีก 11 คน

5) มะอาด (การกลบั คืน) วันส้นิ โลกและวันกียามัต ศรัทธาในวันฟนคืนชีพ คือ
หลงั จากสิน้ โลกแลว มนษุ ยจ ะฟน ขึน้ เพือ่ รับการตอบสนองความดี ความชว่ั ทีไ่ ดทําไปบนโลกน้ี

2. หลกั จรยิ ธรรม
ศาสนาสอนวา ในการดาํ เนนิ ชีวิต จงเลือกสรรเฉพาะส่งิ ทีด่ ี อันเปน ท่ยี อมรับของสังคม

จงทาํ ตนใหเปนผดู ํารงอยใู นศลี ธรรม พฒั นาตนเองไปสกู ารมีบุคลกิ ภาพท่ดี ี เปนคนทีร่ ูจ กั หนา ที่ หว งใย
มีเมตตา มีความรัก ซือ่ สัตยตอผูอื่น รูจักปกปองสิทธิของตน ไมละเมิดสิทธิของผูอื่น เปนผูมีความ
เสยี สละ ไมเห็นแกต วั และหมน่ั ใฝหาความรู ทั้งหมดที่กลาวมานี้ เปนคุณสมบัติของผูมีจริยธรรมซ่ึง
ความสมบูรณทัง้ หมดอยทู ี่ความยุติธรรม

48

3. หลกั การปฏบิ ัติ
ศาสนาสอนวา กิจการงานตาง ๆ ท่ีจะทํานั้นมีความเหมาะสมกับตนเองและสังคม

ขณะเดียวกันตอ งออกหางจากการงานท่ไี มดที ่ี สรางความเสือ่ มเสียอยางสน้ิ เชงิ
สว นการประกอบคณุ งามความดีอน่ื ๆ การถอื ศลี อด การนมาซ และสิง่ ที่คลายคลึงกับ

ส่ิงเหลานเี้ ปน การแสดงใหเห็นถึงการเปน บาวทจ่ี งรกั ภกั ดแี ละปฏบิ ัตติ ามบัญชาของพระองค กฎเกณฑ
และคําสอนของศาสนา ทําหนาที่คอยควบคุมความประพฤติของมนุษย ทั้งที่เปนหลักศรัทธาหลัก
ปฏบิ ตั ิและจริยธรรม

เราอาจกลา วไดวา ผูท ี่ละเมิดคําสั่งตา ง ๆ ของศาสนา มิไดถือวา เขาเปนผูท่ีศรัทธาอยาง
แทจ ริง หากแตเขากระทาํ การตาง ๆ ไปตามอารมณ และความตองการใฝต า่ํ ของเขาเทา นั้น

ศาสนาอสิ ลาม ในความหมายของอลั กุรอาน นั้น หมายถงึ “แนวทางในการดําเนินชวี ิต
ท่ีมนษุ ยจะปราศจากมนั ไมไ ด” สวนความแตกตางระหวางศาสนากับกฎของสังคมน้ัน คือ ศาสนาได
ถกู ประทานมาจากพระผูเปนเจา สว นกฎของสังคมเกิดขน้ึ จากความคดิ ของมนษุ ย อกี นยั หนง่ึ ศาสนา-
อิสลาม หมายถึง การดาํ เนินของสังคมท่เี คารพตอ อลั ลอห และเชื่อฟง ปฏิบตั ติ ามคาํ บญั ชาของพระองค

อลั ลอห ตรัสเก่ยี วกับศาสนาอิสลามวา “แทจ ริงศาสนา ณ อลั ลอห คอื อิสลามบรรดา
ผทู ่ไี ดรับคัมภรี  ไดขดั แยงกนั นอกจากภายหลังทค่ี วามรู มาปรากฏแกพวกเขา ทง้ั นี้ เน่ืองจากความอิจฉา
ระหวางพวกเขาและผูใด ปฏิเสธโองการตาง ๆ ของอัลลอหแลวไซร แนนอนอัลลอห ทรงสอบสวน
อยางรวดเรว็ ” (อัลกุรอานอาลอิ ิมรอน)

หลกั การปฏิบตั ิตาง ๆ มดี ังนี้
1. วาญิบ คือ หลักปฏิบัติภาคบังคับที่มุกัลกัฟ (มุสลิมผูอยูในศาสนนิติภาวะ) ทุกคน
ตอ งปฏบิ ัติตาม ผูท ่ีไมป ฏบิ ัติตาม จะตอ งถกู ลงฑัณฑ เชน การปฏิบัตติ ามฐานบญั ญัติของอสิ ลาม (รุกน)
ตา ง ๆ การศึกษาวิยาการอิสลาม การทาํ มาหากิน เพือ่ เลีย้ งดคู รอบครัว เปน ตน
2. ฮะรอม คือ กฎบัญญัติหามที่มุกัลลัฟทุกคน ตองละเวน ผูที่ไมละเวน จะตองถูก
ลงทณั ฑ
3. ฮะลาล คือ กฎบัญญัติอนุมัติใหมุกัลลัฟ กระทําได อันไดแก การนึกคิดวาจาและ
การกระทาํ ทศ่ี าสนาไดอ นมุ ัติให เชน การรับประทานเน้ือปศุสัตวท ไี่ ดร บั การเชือดอยา งถกู ตอ ง การคา ขาย
โดยสจุ ริต วธิ ีการสมรสกบั สตรีตามกฎเกณฑท ีไ่ ดร ะบไุ ว เปน ตน
4. มสุ ตะฮับ หรือท่ีเรียกกันติดปากวา ซุนนะห (ซุนนะห, ซนุ นัต) คือ กฎบัญญัติชักชวน
มุสลิมและมุกัลลัฟกระทํา หากไมปฏิบัติก็ไมไดเปนการฝาฝนศาสนวินัย โดยทั่วไปจะเกี่ยวของกับ
หลักจริยธรรม เชน การใชนํ้าหอม การขลิบเล็บใหสั้นเสมอ การนมาซ นอกเหนือจากการนมาซภาค
บังคับ

49

5. มักรูห คอื กฎบญั ญตั ิอนมุ ตั ิใหมุกลั ลฟั กระทําได แตพ งึ ละเวน คาํ วา มกั รูห ในภาษา
อาหรบั มีความหมายวา นารงั เกยี จ โดยทั่วไป จะเก่ียวของกับหลักจริยธรรม เชน การรบั ประทานอาหาร
ที่มีกลิน่ นา รําคาญ การสวมเสอ้ื ผา อาภรณท่ขี ดั ตอกาลเทศะ เปน ตน

6. มบุ าฮ คอื สงิ่ ทีก่ ฎบัญญตั ิไมไดร ะบุ เจาะจง จงึ เปนความอสิ ระ สาํ หรับมุกลั ลัฟที่จะ
เลือกกระทําหรือละเวน เชน การเลือกพาหนะ อุปกรณเครื่องใช หรือการเลนกีฬาที่ไมขัดตอ
บทบัญญัติหาม

หลักปฏิบตั ทิ างศาสนาอสิ ลาม

1. ดํารงนมาซวันละ 5 เวลา
2. จายซะกาต
3. จายคมุ สนน่ั คือ จายภาษี 1 ใน 5 ใหแ กผูค รองอสิ ลาม
4. บาํ เพญ็ อจั ญหากมีความสามารถทง้ั กาํ ลงั กายและกําลงั ทรพั ย
5. ถอื ศลี อดในเดือนรอมะฎอนทกุ ป
6. ญฮิ าด นนั่ คอื การปกปอ งและเผยแผศ าสนาดว ยทรพั ยและชวี ติ
7. สัง่ ใชในสิง่ ท่ดี ี
8. สง่ั หามไมใหทําช่วั
9. การภกั ดตี อบรรดาอมิ ามอนั เปนผนู าํ ทีศ่ าสนากาํ หนด
10. การตัดขาดจากศัตรูของบรรดาอมิ าม อันเปน ผนู าํ ท่ีศาสนากําหนด
11. การปฏิญาณตนวาไมมีพระเจาอื่นใด นอกจากอัลลอหและมุฮัมมัด เปนศาสนฑูต
ของอลั ลอห

แบบอยางของอสิ ลามิกชนที่ดี

บคุ คลตวั อยาง วันอัลหมัด อลั ฟาตอนี “เสอื มกั กะฮ”
วนั อัลหมดั อัลฟาตอนี “เสอื มักกะฮ” เกดิ ทหี่ มบู านยามู ยะหริ่ง ปตตานี เมื่อ 10 เมษายน 2399
เมื่ออายุ 4 ขวบ ทา นไดตามบดิ ามารดาไปเมอื งเมกกะ เรียนภาษาอาหรับและศาสนาอิสลาม จนอายุได
12 ป จงึ เดินทางไปเรยี นวิชาแพทยแ ละเภสชั กรรมสมัยใหม ที่เยรูซาเล็ม เปนเวลา 2 ป จากนั้นทาน
จงึ กลบั ไปศึกษาดานศาสนาตอ ทีเ่ มกกะ และท่กี รงุ ไคโร ประเทศอยี ปิ ต ทา นเดนิ ทางไปศึกษาโดยมีเงิน
เพียงเลก็ นอย สวมเสอื้ ผา ชดุ เดียว ทนู อลั กรุ อานไวบ นศีรษะ ขณะวา ยน้ําขา มแมนาํ้ ไนลจ นถงึ เมอื งไคโร
ขณะทท่ี า นอาศยั อยูม สั ยิดในเมอื งไคโร เพ่ือการศึกษา ทานยังชีพดวยการรับบริจาคอาหาร
และเสื้อผา จากผูมาละหมาด ทานเปน ชาวเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตคนแรกท่ีเขาศึกษาในอัล – อัซฮาร
ทานเปน ผมู คี วามสามารถไดแ ขงขันบรรยายปราศรัยขับกลอนอาหรับโตตอบกัน จนไดร างวัลชนะเลิศ

50

จากพระราชาเมืองเมกกะ และทานกลาววา ช่ือ อัลหมัดอัล ฟาตอนี ชางเหมาะสมกับเขาเหลือเกิน
เพราะคําวา ฟาฏอนี ในภาษาอาหรับ แปลวา “ผูฉลาด” ทานเปนผูมีความรูและมีทักษะในการใชภาษา
อาหรับ เปน ท่รี ูจกั และไดรบั ฉายาวา “harimau Mekak” (เสอื มกั กะฮ)

3.3 หลกั ธรรมของศาสนาคริสต

คริสตศ าสนา (Chirstianity) เปน ศาสนาแหงความรัก เพราะพระเจาทรงรักมนุษย ทรงรัก
ประชาชนของพระองค ทรงสรางสัตวต าง ๆ ข้ึนมา เพอ่ื รับใชเปนอาหารแกมนุษย และทรงใหมนุษย
ลงสนู รกเมอ่ื ไมศ รัทธาในพระเจา

ศาสนาครสิ ต เปนศาสนาที่นบั ถอื ศรทั ธาในพระเจาองคเดียว เชื่อวาพระเจาเปนผูสรางโลก
และทกุ สิ่งทุกอยา ง รวมถงึ มนุษยโ ดยใชเวลาเพียง 6 วัน และหยุดพักในวันท่ี 7 พระเจาในศาสนาคริสต
คือ พระยาเวห (นิกายโรมันคาทอลิก,นิกายออรโธด็อกซ) หรือ พระยโฮวาห (นิกายโปรเตสแตนต) มี
พระเยซูคริสตเปนศาสดา คริสตศาสนา เช่ือในพระเจาหน่ึงเดียว ซ่ึงดํารงในสามพระบุคคลใน
พระลักษณะ “ตรีเอกภพ” หรอื “ตรีเอกานภุ าพ” (Trinity) คือ พระบดิ า พระบุตร และพระจิต (พระ
วิญญาณบริสุทธ์ิ) มีพระคัมภีร คือ พระคริสตธรรมคัมภีร หรือ คัมภีรไบเบิล (The Bible) ศาสนาคริสต
มผี ูน บั ถอื ประมาณ 2,000 ลา นคน ถือวาเปนศาสนาที่มีจาํ นวนผนู ับถอื มากท่สี ดุ ในโลก

ศาสนาคริสต มีรากฐานมาจากศาสนายูดาย (หรือศาสนายิว) โดยมีเนื้อหาและความเช่ือ
บางสวนเหมอื นกนั โดยเฉพาะคัมภรี ไบเบลิ ฮิบรู ทคี่ รสิ ตศ าสนกิ ชนรูจ กั ในชื่อ พันธสัญญาเดิม ที่เรียกวา
เบญจบรรณ/ปญจบรรพ (Pebtatench) ไดร ับการนบั ถอื เปนพระคมั ภีรข องศาสนายูดาย และศาสนา
อสิ ลาม ดว ยเชน กนั โดยในพระธรรมหลายตอน ไดพยากรณถ ึงพระเมสสิยาห (Messiah) ท่ชี าวคริสต
เช่อื วา คอื พระเยซู เชน หนงั สอื ประกาศอิสยาห บทท่ี 53 เปนตน

ครสิ ตชนน้นั มคี วามเชื่อวา พระเยซูคริสต เปนพระบุตรของพระเจาที่มาบังเกิด เปนมนุษย
จากหญิงพรหมจรรย (สาวบริสุทธิ์) โดยฤทธ์ิอํานาจของพระเจา เพ่ือไถมนุษยใหพ นจากความบาป
โดยการส้ินพระชนมท่ีกางเขน และทรงฟนข้ึนมาจากความตายในสามวัน หลังจากน้ันและเสด็จสู
สวรรค ประทับเบ้อื งขวาพระหตั ถข องพระบดิ า ผูที่เชื่อและไววางใจในพระองคจะไดรับการอภัยโทษ
บาป และจะเขา สกู ารพพิ ากษาในวนั สดุ ทา ย เหมือนกันทกุ คน แตจ ะเปน การพพิ ากษา เพื่อรับบาํ เหนจ็
รางวัลแทนในวันสิ้นโลก และไดเขาสูชีวิตนิรันดรในแผนดินสวรรค แตถาผูใดไมเชื่อและไมนับถือ
พระเจา จะถกู ตดั สินใหลงนรกชั่วนริ ันดร

หลักคําสอน พระธรรมคําสอน ปรากฏในพระคริสตธรรมคัมภีร (คัมภรไบเบิล) ผูนับถือ
ครสิ ตศาสนาทกุ คน ตองยึดม่นั ในหลกั ปฏบิ ตั ิสาํ คัญของคริสตศ าสนา เรียกวา บญั ญัติ 10 ประการ คือ

1) จงนมสั การพระเจา เพียงพระองคเดยี ว พงึ ทําความเคารพตอพระเปน เจา
2) จงอยาออกนามพระเจาอยางพลอย ๆ โดยไมสมเหตุสมผล

51

3) จงฉลองวันพระอันเปน วันศกั ด์ิสทิ ธิ์
4) จงอยาบชู ารูปเคารพ
5) จงเคารพนับถอื บดิ ามารดาของตน
6) จงอยาฆาคน
7) จงอยาลวงประเวณีในคูค รองของผูอ ื่น
8) จงอยาลกั ขโมย
9) จงอยา พดู เทจ็
10) จงอยามกั ไดในทรพั ยของเขา
หลักคําสอนของพระเยซู สว นใหญจ ะอยบู นพ้นื ฐานของบัญญัติ 10 ประการ ของศาสนายูดาย
โดยขยายอธิบายความเพิม่ เติมหรอื อนุรักษคาํ สอนเดมิ ไว เชน สอนใหมีเมตตากรณุ าตอ กัน สอนใหรักกัน
ในระหวางพ่ีนอง สอนใหทําความดี สอนใหเห็นแกบุญทรัพยมากกวาสินทรัพย สอนใหแสวงหา
คุณธรรมยิ่งกวาสิ่งอ่ืน สอนหลักการคบหาซึ่งกันและกัน สอนใหตอตานความอยุติธรรม สอนเรื่อง
จิตใจวา เปนรากฐานแหงความดีความชั่ว สอนถึงความกรุณาของพระเจา สอนถึงความขัดแยงกัน
ระหวา งพระเจากับเงิน สอนใหร ักษาศลี รักษาธรรม สอนวธิ ไี ปสวรรค สอนเรอ่ื งความสุขจากการทําใจ
ใหอิสระ ฯลฯ เปนตน
นักบวช/ผูสืบทอดศาสนา ผูสืบทอดคริสตศาสนา คือ สาวกพระ บาทหลวง หมอสอนศาสนา
และครสิ ตศาสนกิ ชน ผูเลื่อมใสในคริสตศ าสนา
ศาสนสถาน ศาสนสถานที่ใชประกอบกิจกรรมสําคัญทางศาสนาของคริสตศาสนิกชน คือ
โบสถ วิหาร
สัญลักษณ สัญลักษณ คือ เคร่ืองหมายแสดงความเปนคริสตศาสนิกชน ทุกนิกายใช
เคร่อื งหมายไมก างเขนเหมือนกนั หมด ไมก างเขน เปน หลักใชประหารนักโทษชาวปาเลสไตน ในสมัย
โบราณ นักโทษที่ถูกตัดสินประหาร จะถูกตรึงไมกางเขน แลวนําไปปกตั้งไวกลางแดดใหไดรับ
ความทุกขท รมานจากความรอ น และความหวิ กระหาย จนกวาจะตาย พระเยซูส้ินพระชนม โดยถูกตรึง
ไมกางเขน จึงถือเอาไมก างเขน เปน สญั ลกั ษณแ สดงถึง ความเสียสละที่ยิ่งใหญ เปน นริ นั ดรข องพระองค

พิธกี รรมสําคัญในครสิ ตศ าสนา

พธิ ีกรรมในศาสนานมี้ ีสาํ คัญ ๆ อยู 7 พิธี เรยี กวา พธิ ีรบั ศลี ศักดส์ิ ิทธ์ิ มดี ังนี้
1) ศีลลางบาปหรือการรับบัพติสมา เปนพิธีแรกท่ีคริสตชนตองรับ โดยบาทหลวงจะใช
นํา้ ศกั ดส์ิ ิทธ์ิเทลงบนศรี ษะ พรอมเจิมนํา้ มนั ท่ีหนาผาก
2) ศีลอภัยบาป เปนการสารภาพบาปกับพระเจา โดยผานบาทหลวง บาทหลวง จะเปน
ผตู กั เตอื น สั่งสอน ไมใ หท าํ บาปนัน้ อกี และทาํ การอภยั บาปใหในนามพระเจา

52

3) ศีลมหาสนิท เปน พิธกี รรมรบั ศลี โดยรับขนมปงและเหลาองุนมารับประทาน โดยเชื่อวา
พระกายและพระโลหิตของพระเยซู

4) ศลี กําลงั เปนพธิ รี บั ศลี โดยการเจิมหนา ผาก เพอ่ื ยืนยันความเชือ่ วา จะนับถอื ศาสนาครสิ ต
ตลอดไป และไดรับพระพรของพระจิตเจา ทําใหเ ขม แขง็ ในความเชื่อมากข้ึน

5) ศีลสมรส เปน พธิ ีประกอบการแตง งานโดยบาทหลวงเปนพยาน เปนการแสดงความสัมพันธวา
จะรกั กนั จนกวาชวี ิตจะหาไม

6) ศลี บวช สงวนไวเฉพาะผทู ่จี ะบวชเปนบาทหลวง และเปนชายเทา นัน้
7) ศีลเจมิ คนไข เปน พิธเี จิมคนไขโ ดยบาทหลวง จะเจิมนํา้ มันลงบนหนาผากและมอื ท้งั สองขาง
ของผปู ว ย ใหระลึกวา พระเจาจะอยูก บั ตน และใหพลงั บรรเทาอาการเจบ็ ปว ย
สาํ หรบั นกิ ายโรมันคาทอลกิ และนิกายออรโธด็อกซ จะมพี ิธีกรรมท้ัง 7 พิธี แตสําหรับนิกาย
โปรเตสแตนท จะมเี พียง 2 พิธี คอื พิธีบพั ตสิ มาและพิธมี หาสนิท

แบบอยา งของครสิ เตียนท่ดี ี

มารตนิ ลเู ธอร คิง
มารติน ลเู ธอร คิง เกิดในครอบครวั ทป่ี ูติดสุรา มีหนี้สินมากมาย แตพอของ คิง ใฝดีในชีวิต
อดทนเรียนตอในมหาวิทยาลัย และเปนศาสนาจารยประจําโบสถ สามารถสรางฐานะไดดวยตนเอง
จนกลายเปนบคุ คลชน้ั สงู ของคนผวิ ดําในแอตแลนตา แตในสังคมขณะนั้นยังแยกผิวสีคนดําเปนทาส
และถูกเฆย่ี นตี คิง เปนเด็กฉลาดและราเริง เปนหัวหนา กลมุ ของเพอ่ื น เขาไดร บั การฝกใหอ ดกลัน้ และ
มรี ะเบยี บวินัย เขาตองไปโรงเรียนสอนศาสนาและโบสถในวันอาทิตย บายสงหนังสือพิมพ นอนแต
หัวค่ํา และตนื่ เชาเรยี นคมั ภีรไบเบิล ตอ งสวดมนตก อนรบั ประทานอาหาร คิง อยากเรียนแพทย แตเมื่อ
ไดรบั การดหู มนิ่ จากคนผวิ ขาว เขาจึงเรียนทนายความ ทม่ี หาวทิ ยาลยั มอรเฮาร เขาฝกเปนนักพูด ได
รางวัลในการประกวดวาทศิลป เปนนักศึกษาที่มีผลการเรยี นดีเย่ียม และเขาตัดสินใจเปนนักเทศน
เขาเขยี นบทความลงในหนังสือพมิ พ เรยี กรองใหคนผิวดําเขมแข็ง จนประธานาธิบดี ลินดอน บี จอหนสัน
ยินยอมออกกฎหมายวาดวยสิทธิมนุษยชน ดร.มารติน ลูเธอร คิง จูเนียร ไดรางวัลโนเบล และ
เขาเสียชีวิตลงดวยนํา้ มอื ชาวผวิ ขาว เม่อื วนั ท่ี 4 เมษายน 1968

53

3.4 หลักธรรม – คาํ สอนของศาสนาพราหมณ - ฮนิ ดู

คําสอนสําคญั ของศาสนาพราหมณ - ฮินดู

ศาสนาพราหมณ - ฮนิ ดเู ปนศาสนาทเ่ี กา แกท่สี ดุ มหี ลกั ธรรมสําคญั ๆ ดงั น้ี
1. หลักธรรม 10 ประการ

1) ธฤติ ไดแก ความพอใจ ความกลา ความมั่นคง ซ่ึงหมายถึง การพากเพียรจนไดรับ
ความสําเร็จ

2) กษมา ไดแก ความอดทน น่ันคือ พากเพียร และอดทน โดยยึดความเมตตา กรุณา
เปนทต่ี ั้ง

3) ทมะ ไดแก การขมจิตใจของตนดว ยเมตตา และมีสติอยูเ สมอ
4) อสั เตยะ ไดแก การไมล กั ขโมย ไมก ระทําโจรกรรม
5) เศาจะ ไดแก การกระทาํ ตนใหบ รสิ ทุ ธท์ิ ง้ั กายและใจ
6) อินทรยี นครหะ ไดแ ก การหม่ันตรวจสอบอนิ ทรยี  10 ประการ ใหไดร บั การตอบสนอง
ทถี่ ูกตอ ง
7) ธี ไดแก ปญญาสติ มติความคิด ความมัน่ คง ยนื นาน นน้ั คือ มปี ญญาและรจู กั ระเบียบ
วธิ ีตา ง ๆ
8) วทิ ยา ไดแ ก ความรูท างปรัชญา
9) สัตยา ไดแก ความจริง คือ ซอื่ สตั ยต อกนั และกนั
10) อโกธะ ไดแ ก ความไมโ กรธ
2. หลกั อาศรม (ข้นั ตอนแหง ชวี ติ ) 4 คอื

1) พรหมจารี ขน้ั ตอนเปน นกั ศึกษา
2) คฤหัสถ ขนั้ ตอนเปน ผคู รองเรือน
3) วานปรสั ถ ขนั้ ตอนละบา นเรือนเขา ปา หาความสงบวิเวก
4) สนั ยาสี ข้ันตอนสละเพศฆราวาส ออกบวช บําเพญ็ พรต เพ่อื หาความสขุ ทแ่ี ทจริง
ของชีวติ
3. หลักเปา หมายของชวี ติ 4 ประการ คือ
1) กามะ การหาความสุขทางโลกอยางถูกตอง สมดลุ
2) ธรรมะ ปฏิบตั ิหนาทต่ี ามวรรณะไดถกู ตอ ง
3) อรรถะ สรา งฐานะทางครอบครวั ใหม ัน่ คงในทางเศรษฐกจิ
4) โมกษะแสวงหาทางหลุดพน

54

บคุ คลตัวอยางในศาสนาพราหมณ - ฮนิ ดู

มหาตมะ คานธี เปน บคุ คลตวั อยางของศาสนาพราหมณ – ฮินดู ไดอ ยางดี ทานมหาตมะ คานธี
เปนชาวอนิ เดีย ไดรับการศึกษากฎหมายจากประเทศอังกฤษ แตทานยังคงไวซึ่งความเปนผูอนุรักษ
วัฒนธรรมชาวอินเดียไวได ทา นเปนผูนําของชาวอินเดียในการตอสู เพ่ือเอกราชของชาวอินเดียดวย
วธิ กี ารอหิงสา คอื การตอตานอยางสงบ อดอาหาร เปนบุคคลตัวอยางท่ีใชชีวิตอยางสมถะ เรียบงาย
เปนวรี บุรุษของชาวอนิ เดยี ท่สี ามารถตอสเู อาอธิปไตยคนื จากองั กฤษได สาเหตุที่ทานเร่มิ การตอสูเกิด
จากเม่อื ทา นไปทาํ งานท่ปี ระเทศแอฟริกา ทานโดยสารรถไฟช้นั หน่ึง แตพ นกั งานรถไฟไมใหทานนั่งชั้น 1
เพราะที่นั่งเอาไวส ําหรับคนผวิ ขาว ทา นจึงโดนไลล งจากรถไฟ ทานน่ังอยูท่ีสถานีรถไฟท้ังคืน ครุนคิด
ในเร่ืองน้ี และทานสามารถรวมกลุมชาวอนิ เดยี ตอตานชาวผิวขาวในแอฟริกา เมื่อทานมาอยูที่อินเดีย
แตเ ดมิ ทานสนับสนนุ การทาํ งานของอังกฤษ แตเ มื่อองั กฤษ ออกกฎหมายตรวจรูปพรรณหญิงอินเดีย
ตองถอดเสื้อผาตอหนาเจาหนาท่ีอังกฤษ ทานจึงเร่ิมตนนําอินเดียสูอังกฤษ จนไดรับชัยชนะดวย
วิธอี หงิ สาตอ สูดว ยความสงบ

กิจกรรมที่ 3
3.1 ใหผูเรียนยกตัวอยางบคุ คลในชมุ ชนของทานทนี่ ําหลกั ธรรมทางศาสนามาปฏบิ ตั ิและ

เปน ทีย่ อมรบั ของสังคมและชุมชน
3.2 ผเู รียนยดึ หลกั ธรรมขอ ใดในศาสนาทต่ี นเองนับถอื ในการแกไขปญหาชวี ติ และพฒั นา

ชีวิต
3.3 ใหผูเรยี นอธิบายหนาทแ่ี ละการปฏบิ ตั ิทดี่ ตี ามหลักศาสนาของตน

55

เร่ืองท่ี 4 หลักธรรมในแตล ะศาสนาท่ีทําให
อยูรวมกับศาสนาอน่ื ไดอยางมีความสขุ
4.1 ศาสนาพุทธ ไดแก พรหมวิหาร 4 และฆราวาสธรรม
พรหมวิหาร 4
วหิ าร แปลวา ทอ่ี ยู พรหม แปลวา ประเสรฐิ คาํ วา พรหมวิหาร หมายความวา เอาใจจับอยู
ในอารมณแ หงความประเสริฐหรือเอาใจไปขังไวในความดที สี่ ุด ซ่งึ มคี ณุ ธรรม 4 ประการ คอื
1. เมตตา
2. กรุณา
3. มุทิตา
4. อเุ บกขา
เมตตา แปลวา ความรกั หมายถึง รกั ที่มงุ เพื่อปรารถนาดีโดยไมห วังผลตอบแทนใด ๆ จึงจะ
ตรงกับคําวา เมตตา ในที่นี้ ถาหวังผลตอบแทน จะเปนเมตตาที่เจือดวยกิเลส ไมตรงตอเมตตา
ในพรหมวหิ ารน้ี
ลักษณะของเมตตา ควรสรางความรูสึกคุม อารมณไวตลอดวันวา เราจะเมตตาสงเคราะห
เพ่ือนที่เกิด แก เจ็บ ตาย จะไมสรางความลําบากใหแกสรรพสัตวทั้งหลาย ความทุกขท่ีเขามี
เรากม็ ีเสมอเขา ความสขุ ที่เขามีเราก็สบายใจไปกบั เขา รักผอู นื่ เสมอดวยรกั ตนเอง
กรุณา แปลวา ความสงสาร หมายถึง ความปรานี ปรารถนาใหผูอื่นพนทุกข ความสงสาร
ปรานีนก้ี ไ็ มห วงั ผลตอบแทน เชนเดียวกนั สงเคราะหส รรพสตั วท ม่ี ีความทุกขใหหมดทุกขตามกําลังกาย
กาํ ลงั ปญญา กําลังทรพั ย
ลักษณะของกรุณา การสงเคราะหทั้งทางดานวัตถุโดยธรรมวา ผูท่ีจะสงเคราะหนั้นขัดของ
ทางใดหรือถาหาใหไมไดก ช็ ีช้ อ งบอกทาง
มุทิตา แปลวา มีจิตออนโยน หมายถึง จิตที่ไมมีความอิจฉาริษยาเจือปน มีอารมณสดช่ืน
แจมใสตลอดเวลา คดิ อยูเสมอวา ถา คนท้ังโลกมีความโชคดี ดวยทรัพย มปี ญญาเฉลยี วฉลาดเหมอื นกนั
ทกุ คนแลวโลกน้ีจะเต็มไปดวยความสขุ สงบ ปราศจากอันตรายท้งั ปวง คิดยนิ ดี โดยอารมณพลอยยินดีนี้
ไมเนือ่ งเพอื่ ผลตอบแทน การแสดงออกถึงความยนิ ดใี นพรหมวหิ าร คอื ไมหวงั ผลตอบแทนใด ๆ ทง้ั สนิ้
อเุ บกขา แปลวา ความวางเฉย น่ันคือ มกี ารวางเฉยตอ อารมณท่ีมากระทบ ความวางเฉยใน
พรหมวิหารนี้ หมายถึง เฉยโดยธรรม คือ ทรงความยตุ ธิ รรมไมลําเอยี งตอผใู ดผูหนง่ึ
- คนที่มพี รหมวหิ าร 4 สมบรู ณ ศีลยอ มบริสทุ ธิ์
- คนที่มพี รหมวหิ าร 4 สมบูรณ ยอ มมฌี านสมาบตั ิ
- คนท่ีมพี รหมวหิ าร 4 สมบูรณ เพราะอาศัยใจเยอื กเย็นปญญาเกดิ

56

ฆราวาสธรรม

หมายถึง การปฏบิ ตั ติ นเปน ฆราวาสที่ดี ซึ่งเปน ธรรมสาํ หรับผคู รองเรอื น มี 4 ประการ คือ
1) สัจจะความจริงใจ ความจริงจังตลอดจนความซื่อตรงตอกันและกัน สรุปรวม คือ
“ความรบั ผิดชอบ” เปนหลกั สาํ คญั ทจ่ี ะใหเกดิ ความไววางใจ และไมตรีจิตสนิทตอกัน ขาดสัจจะเม่ือใด
ยอมเปนเหตุใหเกิดความหวาดระแวง แคลงใจกัน เปนจุดเริ่มตนแหงความราวฉาน ซ่ึงยากนักที่จะ
ประสานใหคนื ดไี ดดงั เดมิ ซ่ึงถามคี วามรับผดิ ชอบในตนเองหรอื แมแ ตร บั ผิดชอบผอู ืน่ กจ็ ะสง ผลใหเกดิ
ความผาสกุ ได
คนมีสัจจะ จึงมักจะแสดงความรบั ผดิ ชอบออกมา 4 ดา น คอื

1.1 ดานหนาทแ่ี ละการงาน ทาํ งานชน้ิ นน้ั ใหสําเรจ็ ไมว าจะเกิดอุปสรรคใด ๆ ก็ตามหรอื
แมแตส ภาพแวดลอมจะไมเออ้ื อํานวยกต็ าม

1.2 ดา นคําพดู พดู อยา งไร ทําอยางนั้น และทาํ อยา งไร กพ็ ดู อยา งนน้ั
1.3 ดา นการคบคนจริงใจ ไมมเี หล่ยี มคู วากนั ตรง ๆ ซ่อื ๆ จรงิ ใจ ไมลาํ เอยี ง ไมมีอคติ
4 ประการ ไดแ ก

1. ไมล าํ เอยี ง เพราะรัก
2. ไมลําเอียง เพราะชงั
3. ไมลาํ เอียง เพราะโง
4. ไมลาํ เอยี ง เพราะกลวั
1.4 ดานศีลธรรม ความดียึดหลักคุณธรรม ไมผิดศีล ผิดธรรม ผิดประเพณี และ
ผิดกฎหมายบานเมือง
2) ทมะ การรูจักขมจิตขมใจตนเอง มีความกระตือรือรนในการเค่ียวเข็ญ ฝกตนเอง
บงั คบั ควบคมุ อารมณ ขม ใจ ระงับความรสู ึกตอ เหตุบกพรองของกนั และกนั อยา งไมมีขอ แม เงอ่ื นไข
เพอื่ ใหตนเองมีท้ังความรู ความสามารถ และความดีเพ่ิมพูนมากข้ึนทกุ วัน ๆ รูจักฝกฝน ปรับปรุงตน
แกไ ขขอบกพรอ ง ปรับนิสัย และอธั ยาศยั ไมเปนคนดอื้ ดา น เอาแตใ จและอารมณข องตน
3) ขันติ ความอดทนอดกลั้นตอความหนักและความรายแรงท้ังหลาย ชีวิตของผูอยู
รว มกัน นอกจากมขี อ แตกตา ง ขดั แยงทางอปุ นสิ ัย การอบรม และความตองการบางอยาง ซึ่งจะตอง
หาทางปรับปรุงเขาหากัน บางรายอาจจะมีเหตุลวงเกินรุนแรง แสดงออกจากฝายใดฝายหน่ึง ซ่ึง
อาจจะเปนถอ ยคาํ หรอื กิริยาอาการ จะโดยต้ังใจหรือไมก็ตาม เม่ือเกิดเหตุเชนน้ี อีกฝายหน่ึงจะตอง
รูจักอดกล้ัน ระงับใจ ไมก อ เหตใุ หเรอ่ื งลุกลามกวางขยายตอไป ความรายจึงจะระงับลงไป นอกจากน้ี
ยงั จะตองมีความอดทนตอความลําบาก ตรากตรํา และเรื่องหนักใจตาง ๆ ในการประกอบการงาน
อาชีพ เปนตน โดยเฉพาะเมอื่ เกิดภัยพิบัติ ความตกต่ําคับขนั ไมตีโพยตพี าย แตม ีสตอิ ดกลน้ั คดิ อุบาย

57

ใชปญญาหาทางแกไขเหตุการณใหลุลวงไปดวยดี ชีวิตของคูครองที่ขาดความอดทน ยอมไมอาจ
ประคบั ประคองพากันใหรอดพน เหตรุ ายตา ง ๆ อันเปนประดจุ มรสุมแหงชวี ิตไปได

ความอดทนพน้ื ฐานใน 4 เร่อื งตอไปนี้ เปน สงิ่ ทีต่ องเจอในชวี ติ ของเราโดยทั่วไป คอื
3.1 ตองอดทนตอธรรมชาติท่ีไมเอื้ออํานวย ทนท้ังแดด ลม ฝน ส่ิงแวดลอมท่ีไม

เอ้ืออาํ นวย เปนตน
3.2 ตองทนตอทุกขเวทนา คอื การทนตอสภาพสงั ขารของตน เชน การเจ็บปวย ก็ไม

โวยวาย ครํ่าครวญ จนเกินเหตุ เปนตน
3.3 ตองอดทนตอการกระทบกระท่ัง คือ การอดทนกบั คนอื่น รวมถึงอดทนกับตนเอง

ในเร่อื งทไี่ มไดด ัง่ ใจตนเอง การกระทบกระท่ังจิตใจตนเองดวย
3.4 ตอ งอดทนตอกิเลส คือ การอดทนตอนิสัยไมดีของเราเอง ไมใหระบาดไปติดคนอ่ืน

และตองอดทนตอการย่ัวยุของอบายมุข ซ่ึงเปนสิ่งแวดลอมภายนอกที่พยายามกระตุนกิเลสในใจ
ตนเอง อดทนตออบายมขุ 6 คอื การดม่ื สุรา การเท่ยี วกลางคืน การเที่ยวในสถานบันเทิงเริงรมย การ
เลนพนนั การคบคนช่วั เปน มติ ร และการเกียจครา นตอ หนา ทีก่ ารงาน

4) จาคะ ความเสยี สละ ความเผอ่ื แผแบง ปน ตลอดถึงความมีน้ําใจเอื้อเฟอตอกัน นึกถึง
สว นรวมของครอบครวั เปนใหญ ชีวติ บุคคลท่ีจะมคี วามสขุ จะตอ งรจู กั ความเปน ผใู หด วย มิใชเ ปนผูรับ
ฝา ยเดียว การให ในท่ีน้ีมใิ ชห มายแตเ พียงการเผ่อื แผ แบง ปน ส่งิ ของ อันเปนเร่อื งท่ีมองเห็นและเขาใจ
ไดงาย ๆ เทานั้น แตยังหมายถึง การใหน้ําใจแกกัน การแสดงน้ําใจเอื้อเฟอตอกัน ตลอดจนการ
เสียสละ ความพอใจ และความสุขสวนตัวได เชน ในคราวท่ีคูครองประสบความทุกข ความเจ็บไข
หรือประสบปญหาทางธุรกิจ เปนตน ก็เสียสละความสุข ความพอใจของตน ขวนขวายชว ยเหลือ
เอาใจใสด แู ล เปน ทพ่ี ่งึ อาศัย เปน กาํ ลงั สงเสรมิ หรือชวยใหกําลังใจไดโ ดยประการใดประการหน่ึ งตาม
ความเหมาะสม รวมความวา เปนผูจิตใจกวางขวาง เอ้ือเฟอเผ่ือ แผเสียสละ ไมคับแคบ เห็นแกตัว
ชีวิตครอบครวั ท่ขี าดจาคะ กค็ ลายกบั การลงทนุ ทีป่ ราศจากผลกาํ ไรมาเพมิ่ เติม สว นท่มี ีมาแตเดิมกค็ งท่ี
หรอื หมดไป เหมอื นตนไมท ี่มไิ ดรับการบาํ รุง ก็มีแตอ ับเฉารวงโรย ไมม ีความสดชนื่ งอกงาม

4.2 ศาสนาอสิ ลาม

มีหลักธรรมที่ทําใหอยูรวมกับศาสนาอ่ืนไดอยางมีความสุข เพราะยึดหลักจริยธรรมเปน
ธรรมนูญ สําหรับมนุษยท่ีครอบคลุมทุกดานท้ังสวนตัว ครอบครัว สังคม สอนใหมนุษยอยูกันดว ย
ความเปนมิตร ละเวนการรบราฆาฟน การทะเลาะเบาะแวง รุกรานสิทธิผูอื่น ไมลักขโมย ฉอฉล
หลอกลวง ไมผิดประเวณี ทําอนาจาร ไมด่ืมของมึนเมา ไมบอนทําลายสังคม ไมวารูปแบบใดและ
ศาสนาอิสลาม ถือวา พนี่ องมสุ ลมิ ทัว่ โลกเปนครอบครวั กนั เปนน้ําหนึง่ ใจเดียวกนั สามคั คกี ัน และรกั กัน

ศาสนาอิสลามมวี ธิ ฝี กตนใหอ ดทนดวยการถือศลี อด และรักผอู นื่ ดวยการบริจาคทาน เรยี กวา
ซะกาต

58

การถอื ศลี อด

การถอื ศีลอด คอื งดเวน จากการกระทําตา ง ๆ ดงั ตอไปนี้ ตั้งแตแ สงอรุณขึน้ จนถงึ ตะวนั ตก ใน
เดือนรอมะฎอน (เดอื นท่ี 9 ขอฮจิ เราะหศักราช) เปนเวลา 1 เดอื นคือ

1. งดการกินและการด่มื
2. งดการมเี พศสมั พันธ
3. งดการใชว ตั ถภุ ายนอกเขา ไปในอวัยวะภายใน
4. งดการแสดงอารมณรายและความผิดตาง ๆ พรอมท้ังกระทําในสิ่งตาง ๆ
ดังตอไปน้ี

- ทาํ นมสั การพระเจาใหมากกวาวนั ธรรมดา ถาเปน การถอื ศลี รอมะฎอน ใหทํา
ละหมาดตะรอวีห จํานวน 20 รอ็ กอะฮ

- อา นคมั ภีรอลั กรุ อานใหมาก
- สํารวมอารมณ และจติ ใจใหดี
- ทาํ ทานแกผ ยู ากไร และบริจาคเพือ่ การกศุ ล
- กลาว “ซกิ ร”ิ อนั เปนบทรําลึกถงึ พระเจา
- ใหนงั่ สงบสติสงบจติ “อิตติกาฟ” ในมสั ยดิ
การถือศลี อด มีเปาหมายเพือ่ เปนการฝกฝนใหต ัวเองมจี ติ ผูกพนั และยาํ เกรงตอ พระเจาเพอ่ื
การดาํ เนนิ ชีวิตในทกุ ดา น ตามคําบัญชาของพระองค อนั เปนผลดี ทําใหเกิดปกตสิ ุขท้ังสว นตวั และสวนสังคม
นอกจากนนั้ ประโยชนของการถือศีลอด ยังเปนผลดีในดานสุขภาพอนามัยอีกดวย เพราะ
การถอื ศลี อด เปนการอดอาหารในชว งเวลาทถ่ี กู กาํ หนดไวอ ยางตายตวั น้นั จะทําใหร า งกายไดล ะลาย
สวนเกินของไขมันท่สี ะสมเอาไว อนั เปนบอเกิดของโรครายหลายประการดว ย
การถอื ศลี อด ทําใหเกดิ การประหยดั ทัง้ อาหารของโลก และส่งิ ฟมุ เฟอยตาง ๆ ในหน่ึงเดือนท่ี
ถือศีลอด คาอาหารที่ลดลงจะเปนจํานวนมหาศาล เทากับเดือนถือศีลอด น้ัน มุสลิมชวยทําใหโลก
ประหยัดโดยตรง

ซะกาต

ซะกาต ในศาสนาอิสลาม หมายถึง ทานประจํา ซึ่งศาสนาบังคับใหผูมีทรัพยสินมากเกิน
จาํ นวนที่กําหนดไว (ในศาสนา) จายแกผ ูควรไดร ับ (ตามอัตราทีศ่ าสนากาํ หนด)

ทม่ี าของการบริจาคซะกาต
1. คําสอนในศาสนาที่ใหมุสลิมทุกคน ถือวา บรรดาทรัพยสินทั้งหลายที่หามาได น้ัน คือ
ของฝากจากอลั เลาะหเ จา ใหจ า ยสวนหนึ่งแกคนยากคนจน
2. ชวี ติ จรงิ ของพระศาสดามะหะหมดั เคยผานความยากจนมากอ น

59

วัตถปุ ระสงคของการบรจิ าคซะกาต
1. เพื่อชาํ ระจติ ใจของผบู ริจาคใหบรสิ ทุ ธ์ิ ไมต กเปน ทาสแหงวตั ถุ ดวยความโลภ และเหน็ แกตวั
2. เพอื่ ปลกู ฝงใหมุสลิมทง้ั หลาย เปนผูม ีจิตใจเมตตา กรุณา เออื้ เฟอ เผ่ือแผ ซงึ่ กนั และกนั
3. เพอ่ื ลดชอ งวา งระหวา งชนชน้ั ในสงั คม ดวยวิธกี ารสงั คมสงเคราะห
ลักษณะของการบรจิ าคซะกาตทถ่ี อื ไดวา ไดบ ญุ กศุ ลตามความมงุ หมาย ไดแ ก
1. ทรพั ยส นิ ทบี่ รจิ าคตองไดมาดว ยความสจุ รติ
2. ตอ งเต็มใจในการบริจาค ไมห วงั สิ่งตอบแทน ไมเ จตนา เพือ่ อวดความม่งั มี และไมล ําเลกิ
บญุ คุณ
อัตราการบริจาคซะกาต
1. ซะกาตพืชผล อันไดแก การเพาะปลูกที่นําผลผลิตมาเปนอาหารหลกั ในทองถิ่น น้ัน
เชน ขา ว ขาวสาลี เปน ตน เม่อื มจี าํ นวนผลิตได 650 กก. ตองจา ยซะกาด 10% สาํ หรบั การเพาะปลูก
ทีอ่ าศยั ฝน และเพยี ง 5% สาํ หรบั การเพาะปลกู ทใ่ี ชน า้ํ จากแรงงาน
2. ทองคําเงินและเงินตรา เม่ือมีจํานวนเหลือใชเพียงเทาทองคําหนัก 5.6 บาทเก็บไว
ครอบครอง ครบรอบปกต็ องบริจาคออกไป 2.5% จากทั้งหมดที่มีอยู
3. รายไดจากการคา เจาของสินคาตองคิดหักในอัตรา 2.5% ในทุกรอบป บริจาคเปน
ซะกาต ทัง้ น้ีทรพั ยสนิ จะตอ งไมนอยกวา เทยี บนํา้ หนกั ทองคาํ เทากับ 4.67 บาท
4. ขุมทรพั ยเหมอื งแร เม่ือไดขดุ กรสุ มบัตแิ ผนดิน หรอื เหมอื งแรไดส ัมปทาน จะตองซะกาต
20% หรือ 1 ใน 5 จากทรพั ยสินท้งั หมดทีไ่ ด
5. ปศุสตั ว ผทู ีป่ ระกอบอาชพี เลย้ี งสตั ว คือ วัว ควาย อูฐ แพะ จะตองบริจาคในอัตราที่แนนอน
เปนซะกาตออกไป เชน มีวัว ควาย ครบ 30 ตัว ใหบริจาคลูกวัว อายุ 1 ขวบ ครบ 100 ตัว บริจาคลูกวัว
อายุ 2 ขวบ 1 ตัว และ 1 ขวบ 2 ตวั เปน ตน

4.3 ศาสนาครสิ ต

ไดแ ก หลักความรัก ซึง่ กอ ใหเกิดความรัก สามัคคี ของคนในโลก ท้ังน้ี เพราะหลักความรัก
เปนคําสอนทางจริยธรรมที่สําคัญที่สุดของศาสนาคริสต ความรักในที่น้ี มิใชความรักอยางหนุมสาว
อนั ประกอบดวยกิเลส ตัณหา และอารมณปรารถนา อันเห็นแกตัว แตหมายถึง ความเปนมิตรและ
ความปรารถนาใหผูอ่ืนมีความสุข พระคริสตธรรม ท้ังพระคริสตธรรมใหม และพระคริสตธรรมเกา
ตางก็มีคาํ สอนท่เี นน เร่อื ง ความรัก ซึ่งมีอยู 2 ประเภท ไดแ ก ความรกั ระหวางมนษุ ยก ับพระเจา และ
ความรกั ระหวางมนุษยก บั มนษุ ย

60

ในพระคริสตธรรมเกา ความรัก เปนเร่ืองของความผูกพันระหวางพระเจากับชนชาติอิสราเอล
โดยท่ีพระเจาทรงเปน ผูใหค วามรักแกชนชาติอสิ ราเอลกอ น จากนั้นชาวอิสราเอล จึงสนองตอบความรัก
ของพระเจา พระคริสตธรรมเกา ไดบ นั ทึกหลกั ความรกั ระหวา งมนุษยกับมนุษย ไวว า

“จงอยา เกลียดชังพนี่ องของเจา อยใู นใจ แตเจา จงตกั เตือน เพ่อื นบานของเจา เพื่อจะไมตอง
รับโทษ เพราะเขา เจาอยาแคนหรือผูกพยาบาท ลูก หลาน ญาติพ่ีนองของเจา แตจงรักเพ่ือนบาน
เหมือนรกั ตนเอง”

ในพระคริสตธรรมใหม คําสอน เร่ือง หลักความรักระหวางมนุษยกับพระเจา ไดเปล่ียนไป
โดยใหพระเยซูเปนสัญลักษณของความรักสูงสุดท่ีพระเจาทรงมีตอมนุษย เห็นไดจากการท่ีพระเยซู
ทรงยอมสนิ้ พระชนมบนไมกางเขน เพ่อื ใหผ ูมีศรทั ธาในพระองค จะไดพนจากความผิดบาปเจตนารมณ
ของพระเยซูท่ีทรงยอมสละพระชนมชีพ เพื่อไถบาปของมวลชน นั้น ปรากฏอยูในคําอธิษฐานของ
พระองค กอ นทีท่ หารโรมนั จะเขา จับกุม และพระคริสตธรรมใหม ไดบันทึกความสําคัญของความรัก
ระหวางมนุษยกบั มนุษย วา

“มีธรรมาจารยคนหนงึ่ เมอื่ มาถึงไดย ินเขาไลเลยี งกัน และเห็นวา พระองค ทรงตอบเขาไดดี
จึงทูลถามพระองค วา “ธรรมบัญญัติขอใดเปนเอก เปนใหญ กวาธรรมบัญญัติท้ังปวง” พระเยซูจึง
ตรัสตอบคนน้นั วา “ธรรมบัญญัติเอก น้ัน คือวา โอชนอิสราเอลจงฟงเถิด พระเจาของเราท้ังหลาย
ทรงเปนพระเจา องคเ ดียว และพวกทานจงรักพระเจาดว ยสุดจิต สดุ ใจ ของทา นดว ย สดุ ความคิดและ
ดวยสิ้นสุดกําลังของทาน และธรรมบัญญัติที่สอง นั้นคือ จงรักเพ่ือนบาน เหมือนรักตนเอง ธรรม
บัญญตั ิอ่นื ที่ใหญกวา ธรรมบญั ญัติท้ังสองนี้ ไมมี”

คาํ วา “เพื่อนบา น” นีห้ มายถงึ เพื่อนมนุษยท่ัวไป พระเยซู ทรงสอนใหมนุษย เผื่อแผความรัก
ไปรอบดา น ไมเลือกท่รี ักผลักที่ชัง หลักคําสอนสําคัญนี้ มีอยูในบทเทศนาบนภูเขา ความรักระหวาง
มนษุ ยกบั มนษุ ย แสดงออกไดโดยความเมตตา กรุณา และความเสียสละ สวนความรักที่มนุษยมีตอ
พระเจา แสดงออกโดยความศรัทธา ความศรทั ธาสรปุ ได 5 ประการ คอื

1. ศรทั ธาวาพระเจา คอื พระเยโฮวาห เปนพระเจาสูงสดุ เพียงองคเ ดยี ว
2. ศรทั ธาวาพระเจา ทรงรกั มนษุ ยอ ยา งเทา เทยี มกัน
3. ศรทั ธาวา พระเยซู เปนบุตรของพระเจา
4. ศรทั ธาวาพระเยซู เปน พระผูช ว ยใหรอด
5. ศรทั ธาวาในแผน ดนิ สวรรค หรอื อาณาจกั รของพระเจาที่กาํ ลังจะมาถึง
หลักความรกั และหลกั อาณาจักรของพระเจา มคี วามสมั พันธก นั กลา วคือ มนษุ ยจะสามารถ
เขา ถงึ อาณาจักรของพระเจา ได ก็โดยอาศยั ความรัก เปน คณุ ธรรมนาํ ทาง และอาณาจักรของพระเจา
ก็เปนอาณาจักรที่บรบิ ูรณดวยรกั

61

4.4 ศาสนาพราหมณ - ฮนิ ดู

ศาสนาพราหมณ – ฮนิ ดู ยึดหลักปรมาตมนั มคี วามหมายดังนี้

หลักปรมาตมนั

คาํ วา ปรมาตมัน หมายถงึ สิง่ ย่ิงใหญอ นั เปนที่รวมของทกุ สง่ิ ทุกอยา งในสากลโลก ซง่ึ เรียกชื่อ
สิ่งน้ีวา พรหมปรมาตมันกบั พรหม จงึ เปนสิ่งเดียวกันและมีลกั ษณะดังตอ ไปน้ี

1) เปนส่งิ ท่ีเกดิ ขน้ึ เอง
2) เปน นามธรรมสิงสถติ อยูใ นสงิ่ ท้งั หลายทง้ั ปวง เรียกวา อาตมัน เปน สิ่งทม่ี องไมเหน็ ดว ยตา
3) เปน ศนู ยร วมแหงวิญญาณทง้ั ปวง
4) สิ่งทง้ั หลายทง้ั ปวงในสากลโลกลว นเปนสวนยอยทแี่ ยกออกมาจากพรหม
5) เปน ตวั ความจรงิ (สัจธรรม) สง่ิ เดยี ว (โลกและส่ิงอน่ื ๆ ลวนเปน มายาภาพลวงทีม่ ีอยชู วั่ ครัง้
ชวั่ คราว เทานน้ั )
6) เปนผูป ระทานวญิ ญาณความคดิ และความสันติ
7) เปน สง่ิ ท่ีดํารงอยใู นสภาพเดิมตลอดกาล
วญิ ญาณของสตั วโลกทั้งหลาย (อาตมัน) คือ สวนท่ีแยกออกมาจากวิญญาณรวมของพรหม
(ปรมาตมนั ) วิญญาณยอยแตละดวงเหลาน้ี เม่ือแยกออกมาแลว ยอมเขาสิงสถิตในสิ่งมีชีวิตรูปแบบ
ตาง ๆ กนั เชน ในรา งกายมนษุ ย เทวดา สัตว และพืช มีสภาพดีบาง เลวบาง สุดแตผลกรรมท่ีทําไวซึ่ง
ถือวา เปนทุกขท้ังส้ิน ตราบใดท่ีวิญญาณเหลาน้ียังไมส้ินกรรม ยอมตองเวียนวายตายเกิดผจญทุกข
อยูตลอดไป
ดงั นัน้ เมื่อทกุ ส่งิ ทุกอยา งในสากลโลกเปนสิ่งเดยี วกนั จึงควรอยูดวยกนั ดวยสนั ตแิ ละสงบสขุ ได
กจิ กรรมท่ี 4
ใหค รูแบงผูเรียนออกเปน 3 กลมุ แลวอภปิ รายถึงโทษของการขาดคุณธรรมจริยธรรมท่ีเกิด
กบั ตนเองสังคมและประเทศชาติ กลมุ ละ 5 ประเด็น โดยวิเคราะหจากสถานการณความเดือดรอนใน
ปจจบุ ัน แลว นาํ มาเสนอในการพบกลมุ

กจิ กรรมที่ 5
ใหผ ูเ รียนอา นเรอื่ งตอไปนแี้ ลว อภิปรายพรอมยกตัวอยางอื่น ๆ จากหนา หนงั สือพมิ พ

ทแี่ สดงโทษผิดศลี ไมร ักษาศลี 5

62

เพยี งเส้ียวทบ่ี ัดซบ

เสียงปรบมือดังกึกกองในหองประชุม เมื่อพิธีกรประกาศรายชื่อของแมดีเดน ประจํา
ปก ารศกึ ษา 2540 มอื ของแมเย็นเฉียบ เมื่อตอนจับมือของผม ผมประคองแมออกไปรับรางวัลจาก
ผอู ํานวยการวิทยาลัย นํ้าตาแหงความปลื้มปต ขิ องแมเ ออลน ขอบตา เมอ่ื พธิ ีกรอา นประวตั ิของแม

“...มคี วามวิริยะอุตสาหะในการเล้ยี งดูลูก ทําหนาท่ีเปนทั้งพอและแมอบรมพรํ่าสอนใหลูก
ประพฤตติ นเปน คนดี ... สาํ หรับลกู น้นั มคี วามประพฤตดิ ี บาํ เพ็ญตนเปน ประโยชนตอสังคม เปนที่รัก
ของครู – อาจารย และเพือ่ น ๆ ในวิทยาลัย” คําสรรเสริญเยนิ ยอมากมายจนทําใหหัวใจของผมพองโต

“ลกู แม วนั นเี้ ปน วนั ทีแ่ มมีความสุขทสี่ ุด ถึงพอ จะทงิ้ แมไป แตแ มก็ทาํ หนาท่ีไดด ีทีส่ ดุ ” แมนํา
โลทีไ่ ดรบั ไปวางไวบนหลังตู ยืนพจิ ารณาอา นขอ ความซ้าํ แลวซํ้าอกี

“ดูแมเ จาสิ ภาคภูมใิ จในตัวเจา มากเลยนะ หลงั จากพอ เจา ไปมีเมียใหม แมก ท็ ุมเทความรกั ให
เจา จนหมด ไมย อมแตงงานใหม กเ็ พื่อไมใ หเกดิ ปญหาตอ เจา ตองรกั แมใ หมาก ๆ นะ” คุณตาวยั เจ็ดสิบป
พูดเตอื นหลานชาย ดวงตาฝาฟาง มองดูหลานดว ยความรกั ทไ่ี มแตกตา งจากผูเปนแม

“ผมจะรกั ษาความดีน้ีไวตลอดไป คุณตาเช่ือไหมกวา อาจารยจะคัดเลือกได แมดีเดนตองดู
ความประพฤติของลูกกอ น ดูการยอมรบั จากอาจารยทุกคน ตลอดท้ังพี่ ๆ และเพ่อื น ๆ ในวทิ ยาลัย”

เชา วันใหม ผมเดนิ เขา วทิ ยาลัยอยางสงา ผา เผย รนุ พีร่ นุ นอง และเพ่ือน ๆ มองผมดวยความ
ชื่นชม ผมกลายเปนดาวรุงโดยไมรตู ัว

“เฮยไอทศหุบปากเสียบาง ย้ิมอยูไดทั้งวัน” เพ่ือนในหองเรียนแซวข้ึน หลังจากอาจารย
ท่ปี รกึ ษาแสดงความชืน่ ชมในช่วั โมงโฮมรูม

“พท่ี ศวา งไหมคืนน้ี จะโทรไปคยุ ดวยนะ” สาวรุนนองชื่อ แปง หนาตาสะสวยเปนท่ีหมายปอง
ของหนมุ ๆ เร่ิมทอดสะพานใหผม

“โทรดึก ๆ หนอยนะกลัวตากบั แมจะบน” ผมทง้ิ ทา ยใหห ลอนเพอ่ื สานสัมพันธตอ ไป
“ไอน อย จะมัวแตเ รยี นอยางเดียวไมไดหรอกนะ เพ่ือนฝูงมันก็ตองคบบางมีการสังสรรคกัน
บางตามประสาเด็กหนุม ๆ” รนุ พีส่ าขาเดียวกนั เอยขึน้ หลงั จากเลิกเรยี น
“ผมกลวั ตาและแม จะเปน หว งครับพ”่ี
“โธเอย! แกเปนผูชายอกสามศอกนะ ไมใชกะเทย” กลุมพี่หลาย ๆ คนสัพยอกผม พรอม
เสยี งหวั เราะเยาะในที... คําพูดของพวกเขาทําใหผมเก็บไปครุนคิดจนนอนไมหลับท้ังคืน ผมยอมรับวา
ตวั เองคอ นขา งออ นแอในดา นจติ ใจ มอี ะไรมากระทบจติ ใจไมไ ด จนบางครัง้ ก็เหมอื นกับเปน คนแบกทุกข
หรอื แบกทง้ั โลกไวคนเดยี ว
“เปนลูกผูชายตองเขมแข็งนะลูก จิตใจตองหนักแนน” แมจะสอนบอยคร้ังที่เวลาเห็นผม
แสดงความออนแอ

63

“แมจะไปราชการ 1 สัปดาห ลูกตองรีบกลับบานเพ่ือมาดูแลตานะลูก” แมกําชับผมกอนที่
จะขนึ้ รถไปตา งจงั หวัด

“วันนีต้ องทํารายงานสง อาจารย คืนนี้เราระดมสมองกันทบ่ี านไอมืดนะ เออ...แลวไอทศมัน
จะไปหรือเปลา” สายตาทกุ คูจอ งมาท่ีทศเปน ตาเดียวกนั

“เออ ...ขา ตอ งรีบกลบั บา นมตี า...” เสียงโหฮาปาดงั ลัน่ ทงั้ หอง
“ตดั มนั ออกจากกลุมเลย เรือ่ งมากไปไดรําคาญวะ ”
‘เออ... ไปก็ไปวะเด๋ยี วจะโทรบอกตากอน” ผมพูดขน้ึ เพอ่ื ตัดความราํ คาญ
บา นสองชัน้ ในซอยเปลีย่ วที่พวกเพอ่ื น ๆ นดั กนั ระดมสมอง เพือ่ ทาํ รายงานนนั้ ผมมองดูรอบ ๆ
บริเวณบานที่มีตนไมและหญาข้ึนเต็มไปหมด ภายในบานปลอยใหรกรุงรัง กล่ินเหม็นอับคละคลุง
ไปหมดจนผมตอ งใชมอื ปดจมกู
“อยา ทาํ เปน ผูด ีเลยไอทศ น่ีหละคอื ทีร่ ะดมสมองแก เอย ไมใชระดมสมองเวยเพื่อนขอโทษ...
ขอโทษขา พูดผดิ ไป” สายตาของรนุ พี่ และเพือ่ น ๆ หลายคนดูแปลกไป เหมือนมอี ะไรซอนเรน และปกปด
ผมอยู
เสียงวิทยุเปดดังล่ันทั่วบาน ผมมองออกไปนอกหนาตาง เห็นทุงนาเว้ิงวาง สุดลูกหูลูกตา
ผมคดิ ในใจวา ถา มีบา นขา งเคียงคงไมม ใี ครยอมทนฟง เสียงพวกนีไ้ ด
“เฮยทศมาน่ังตรงน้ียืนเซออยูได” รุนพี่กวักมือเรียก ผมเดินเขาไปสมทบมองเห็นเหลาและ
แกววางเตรยี มพรอมไวแ ลว
“จะเร่ิมทาํ งานกนั เมือ่ ไหร” ผมเอยถามข้นึ เมอ่ื เห็นเพ่ือนแตละคนนั่งเปนกลุม รองรํา ทําเพลง
บา งก็ดิ้นตามจงั หวะอยางเมามนั บา งก็ต้ังวงดืม่ เหลา
“เฮย... ไอโยง เอาปศ าจแดงใหมันกนิ ดวย จะไดลับประสาทมัน” แคปซูลสแี ดงถูกย่ืนใหผม
เมื่อผมปฏิเสธเสยี งเพือ่ น ๆ กด็ ังขึ้น
“มนั เปนกะเทยไปเอากระโปรงมาใหมันนุงดว ย”
“แกเกิดเปน ผูชาย มนั ก็ตองมที ั้งบูแ ละบนุ ไมลองไมร ูแกจะเกิดมาเสียชาตนิ ะ”
“ชวยเชียรม นั หนอยเพอื่ น ๆ” เสียงปรบมือและเสียงลุนดังลั่น ความคิดของผมขณะนั้นมัน
สบั สนไปหมด
“พีจ่ ะกินเปนตัวอยาง” รนุ พีน่ ําเจาปศ าจแดงหยอนลงในปากตามดวยน้ําโซดา
“เห็นไหมพย่ี ังไมเ ปนอะไรเลย กินเขาไปแลวความวิตกกังวลตาง ๆ จะหมดไป” มือของผม
เร่ิมส่ันเทาตอนรับยาจากรนุ พี่ ผมครุนคดิ ถึงแมแ ตคิดในใจวา
“แมครับผมขอลองครง้ั เดียว เพื่อศกั ดิศ์ รขี องลกู ผชู าย”

64

การทดลองของผมในครั้งน้ันมัน คือ ความคิดท่ีเปนเพียงเส้ียวที่บัดซบ ท่ีทําใหชีวิตของผม
ตองจมปลกั อยูกบั ส่ิงเสพตดิ ชนดิ ท่ถี อนตวั ไมข ้ึน พอวางทกุ ครัง้ ผมจะตองมาม่ัวสุมกบั พวกเขา ผมเสพ
ทกุ อยา งตั้งแตย ากระตุนประสาท ยากลอ มประสาท จนขณะนี้ผมกาวหนาถึงข้ันตองฉีดมอรฟนและ
เฮโรอินเขากลามเน้ือ หรืออาจเสพโดยยัดไสในบุหรี่ จุดบุหรี่แลวจิ้มสูบ บางครั้งก็แตะจมูกสูดดม
รางกายของผมเร่ิมซูบผอมเหลือง ออนเพลีย อารมณเปล่ียนแปลงงาย คุมดีคุมราย บางคร้ังผม
ทาํ อะไรลงไปโดยท่ีไมร ูสกึ ตวั

เชา วันรุง ขน้ึ ผมลมื ตาต่นื ข้ึนมามองดรู อบ ๆ ทีถ่ ูกรายลอ มดว ยซ่ีกรงเหลก็ ผมมองดูเจา หนา ที่
ตํารวจเดนิ กันขวกั ไขวไปมา

“ตืน่ แลวเหรอ รูตัวหรือเปลา วา ทาํ อะไรลงไป” นายรอ ยเวรยนื ถามผมทหี่ นา ประตู
“หมวดครบั ผมจาํ อะไรไมไ ดเ ลยจริง ๆ ” ผมใชก าํ ปน ทุบศีรษะที่เริ่มจะปวดรนุ แรงขนึ้ ทกุ ที
“เม่ือคืนน้ี แกใชคอนทบุ ตามรา งกายของตาแกเองจนถึงแกช ีวิต กม ดูเส้อื แกสิ คราบเลือดยัง
ติดเต็มไปหมด”
ผมรบี กมดเู ส้อื สีขาวของตัวเอง หัวใจของผมเรม่ิ เตน ไมเปนจังหวะ สมองสับสนจับตนชนปลาย
ไมถูก กอนท่ีผมจะลําดับเหตุการณตาง ๆ น้ัน ภาพที่ปรากฏข้ึนขางหนาผม คือ รางของแมท่ีวิ่ง
กระเซอะกระเซิงผมเผารุงรัง แตสิ่งที่ผมตองตกใจมากที่สุดในชีวิต คือ ภาพของสองมือแมกอดโล
พรอ มตะโกนเสียงดังวา
“ฉันคือแมดีเดนประจําป ดูโลที่ฉันไดรับสิ... แสดงวา ลูกของฉันเปนคนดี...ดีจริง ๆ นะ ...”
แมว่ิงชูโลใหคนนนั้ คนน้ีดู เสียงตาํ รวจพดู กนั บนโรงพกั ชัดเจน และกองไปในหูของผมทงั้ สองขางวา
“เปน บาเพราะลกู แท ๆ ... นาสงสารจัง”

(จากรวมเรือ่ งสั้นสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมกระทรวงศกึ ษาธิการ)

กิจกรรมที่ 6
ใหผ เู รยี นแบงกลุม ละ 5 - 7 คน อภิปรายประโยชนของการมีหลักคณุ ธรรมจรยิ ธรรมประจําใจ

วาเกิดผลตอ ตนเองอยางไร และใหต ัวแทนออกมารายงานกลุมใหญ
ใหผเู รยี นแสวงหาบุคคลในชมุ ชนทีท่ า นเหน็ วา เปน คนดมี ีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมแลวเขียน

ภาพประกอบแสดงถึงความดงี ามของบคุ คลนน้ั ๆ

65

กจิ กรรมที่ 7
ใหครแู บงผูเรียนออกเปน 3 กลุม แลว อภิปรายถึงโทษของการขาดคณุ ธรรมจรยิ ธรรมทเ่ี กิดกับ

ตนเองสงั คมและประเทศชาติกลุม ละ 5 ประเด็น โดยวเิ คราะหจ ากสถานการณค วามเดอื ดรอนในปจจบุ นั
แลว นํามาเสนอในการพบกลมุ
กิจกรรมที่ 8

1. ใหผเู รียนฝกนั่งทาํ จติ ใจใหสงบ โดยตงั้ มนั่ อยูกบั สงิ่ ใดสง่ิ หน่ึง เชน ลมหายใจเขาออก แลว
เปรียบเทียบความรูสึกในขณะที่ทําจิตใจใหสงบกับความรูสึกในยามที่เสียใจ หรือดีใจวา มีสภาพ
ตางกันอยางไร แลวนาํ มาอภปิ รายรว มกันในการพบกลมุ

2. สภาพจิตท่ีเปนสมาธิ กับสภาพจิตของบุคคลท่ีอยูในภาวะเหมอลอย ตางกันหรือ
เหมือนกัน อยา งไร

3. ศกึ ษาคน ควาขาวอาชญากรรมตามส่ือสารมวลชน แลวใหผูเรียนวิเคราะหถึงสาเหตุของ
การเกดิ อาชญากรรมนน้ั ๆ แลวเปรียบเทยี บวา ถาเปนผูเรียนจะมีวิธีการปองกันแกไข เพื่อไมใหเกิด
เหตุการณด งั กลา วได อยางไร

4. ใหผ ูเ รยี นเลาประสบการณ เหตุการณวกิ ฤติอนั ตรายท่ีเกิดขึ้นกับตนเอง และผูเรียนไดใช
สตมิ าแกไขชวงวิกฤตดังกลาว อยางไร ถาหากขาดสติในชวงวิกฤตนั้น จะสงผลตอตัวเองอยางไรใน
ปจ จบุ ัน

66

บทที่ 2

วัฒนธรรม ประเพณี ของไทยและเอเชยี

฀ สาระสาํ คัญ

วัฒนธรรม ประเพณีไทยและในประเทศเอเชีย เปนส่ิงที่มีคุณคาสําหรับชาวไทยและ
ประชาชนชาติอื่น ๆ ในทวีปเอเชีย เพราะเปนสิ่งท่ีสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ สงผลใหเอเชีย
มีเอกลกั ษณของตนเอง ในปจจุบันทสี่ ังคมโลกส่ือสารไรพรมแดน วัฒนธรรม และประเพณีของเอเชีย
จึงเปนสิ่งทนี่ า สนใจศกึ ษาคนควา รวมท้งั การเขา มาทองเที่ยว เพอ่ื การพักผอนหยอนใจ การอนุรักษ
สบื สาน ตลอดจนการสง เสรมิ คา นยิ มท่พี ึงประสงคใหเกิดขึ้นในประเทศไทยและเอเชีย เปนส่ิงสําคัญ
และจําเปนในสังคมปจจุบัน เพราะจะเปนการเสริมสรางวัฒนธรรม ประเพณีของไทยและเอเชียให
ดํารงสืบตอไป

฀ ผลการเรียนรูทคี่ าดหวงั

1. มคี วามรคู วามเขาใจในวัฒนธรรม ประเพณขี องประเทศไทยและประเทศในทวปี เอเชีย
2. ตระหนกั ถึงความสําคัญในวัฒนธรรม ประเพณีของประเทศไทยและประเทศในทวีป

เอเชีย
3. มสี ว นรว มในการปฏิบัติตนตามวัฒนธรรม ประเพณีของประเทศไทยและประเทศใน

ทวปี เอเชยี
4. ประพฤติตนตามคานยิ มจรยิ ธรรมท่ีพงึ ประสงคข องสงั คมไทย

67

฀ ขอบขา ยเน้อื หา

เรือ่ งท่ี 1 วัฒนธรรม ประเพณขี องไทยและเอเชยี
เรอื่ งที่ 2 การอนรุ ักษแ ละการสบื สานวัฒนธรรม ประเพณี
เรือ่ งท่ี 3 แนวทางการอนรุ กั ษแ ละการสานวฒั นธรรม ประเพณี
เรือ่ งที่ 4 คานยิ มทพ่ี งึ ประสงค

฀ ส่ือการเรียนรู

1. วซี ดี ีวฒั นธรรม ประเพณคี า นยิ มของไทยและประเทศตาง ๆ ในเอเชีย
2. คอมพวิ เตอร อนิ เทอรเน็ต วฒั นธรรม ประเพณคี า นยิ มของไทย และประเทศตา ง ๆ

ในเอเชยี

68

เร่อื งที่ 1 วัฒนธรรม ประเพณขี องไทยและเอเชีย

1. วฒั นธรรม ประเพณขี องไทย

1.1 วัฒนธรรมไทย

วัฒนธรรมในภาษาไทย เกิดมาจากการรวมคาํ 2 คาํ คอื วฒั นะ หมายถึง ความเจริญงอกงาม
รุงเรือง และ คําวา ธรรม หมายถึง การกระทําหรือขอปฏิบัติ รวมแลวแปลวา วัฒนธรรม คือ ขอปฏิบัติ
เพอ่ื ใหเ กดิ ความเจรญิ งอกงาม พระยาอนุมานราชธน กลา ววา วัฒนธรรม คือ สงิ่ ที่มนษุ ยเ ปลยี่ นแปลง
ปรับปรุง หรอื ผลิต หรือสรางขน้ึ เพ่อื ความสวยงามในวิถชี ีวติ ของสวนรวม วัฒนธรรม คือ วิถที างแหง
ชีวิตมนุษยในสวนรวมท่ีถายทอดกันได เรียกกันได เอาอยางกันได กลาวโดยสรุปแลว วัฒนธรรม
หมายถงึ ทุกส่งิ ทุกอยางทม่ี นษุ ยสรา งขนึ้ ไว เพอื่ นาํ เอาไปชว ยพัฒนาชวี ติ ความเปน อยใู นสงั คม ซึ่ง
จะรวมถงึ ชวยแกป ญ หา และชว ยสนองความตอ งการของสังคม

ตามพระราชบญั ญตั ิวฒั นธรรมแหง ชาติ พ.ศ. 2485 ไดแบง ประเภทของวฒั นธรรมไทยไว
4 ประเภท คือ

1. คติธรรม คือ วัฒนธรรมเกี่ยวกับหลักในการดําเนินชีวิต สวนใหญเปนเร่ืองความเช่ือ ซ่ึง
เปนเรอื่ งของจิตใจทไี่ ดม าจากศาสนา

2. เนติธรรม คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย รวมท้ังระเบียบประเพณีท่ียอมรับนับถือวามี
ความสาํ คัญพอ ๆ กับกฎหมาย

3. วตั ถุธรรม หมายถึง วัฒนธรรมทางวตั ถุ เชน เคร่ืองนงุ หม บา นเรอื น ยารกั ษาโรค เคร่ืองมือ
เครือ่ งใชตา ง ๆ

4. สหธรรม หมายถงึ วฒั นธรรมทางสังคม คอื คุณธรรมตา ง ๆ ที่ทําใหคนอยูรวมกันอยางมี
ความสุข รวมท้ังระเบียบมารยาทตาง ๆ การแตงกายในโอกาสตา ง ๆ

กลาวโดยสรุปวฒั นธรรมมี 2 ประเภท คือ วฒั นธรรมทางวัตถุและวัฒนธรรมทไ่ี มใชว ตั ถุ
สาํ นกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหงชาติแบงเนือ้ หาวัฒนธรรมเปน 5 ประเภท คอื
1. ศิลปกรรม ไดแ ก ภาษา วรรณกรรม การละคร นาฏศลิ ป ดนตรี จติ รกรรม สถาปตยกรรม
ประติมากรรม และศิลปะการแสดง
2. มนุษยศาสตร ไดแก คุณธรรม จริยธรรม คานิยม กฎหมาย ขนบธรรมเนียม ประเพณี
การปกครอง ประวัติศาสตร โบราณคดี ปรชั ญา ศาสนา
3. การชางฝม อื ไดแก การเยบ็ ปก ถกั รอ ย การแกะสลัก การทอ การจักสาน การทําเครื่องถม
เครื่องเงิน เครอื่ งทอง

69

4. กฬี าและนนั ทนาการ ไดแก มวยไทย กระบี่ กระบอง ตระกรอ การละเลน พื้นเมอื ง
5. คหกรรม ไดแก ระเบียบในเรื่องการกินอยู มารยาทในสังคม การแตงกาย การตกแตง
เคหสถาน การดแู ลเด็ก เปนตน

ลกั ษณะของวฒั นธรรมไทย

วัฒนธรรมไทย ไดร ับการพฒั นามาโดยลาํ ดับ จากอทิ ธิพลสิ่งแวดลอมทางสงั คมและสิ่งแวดลอ ม
ทางธรรมชาติ ประกอบกบั ความสามารถของคนไทย กอใหเกดิ การสรา งสรรค การหลอหลอมรวมกัน
จนมลี ักษณะเดน ๆ ดังตอ ไปน้ี คือ

1. การมพี ทุ ธศาสนา เปน ศาสนาประจาํ ชาติ วิถีคนไทยเก่ียวของกับพุทธศาสนาอยางลึกซึ้ง
กิจกรรมตา ง ๆ ลว นนําศาสนามาเก่ียวขอ ง วธิ คี ิด การดาํ เนนิ ชวี ติ ทคี่ นไทยมีความเอ้ือเฟอเผ่ือแผ ใจดี
ลวนมาจากคาํ ส่งั สอนทางศาสนา โดยเฉพาะคนไทยในชนบทท่ีชีวิตเรียบงาย ไมตองตอสูแขงขันมาก
ยงั คงมีวิถชี ีวติ แบบพทุ ธ

2. การมพี ระมหากษัตรยิ ทรงเปน พระประมุข สงั คมไทยมีพระมหากษตั รยิ ท รงเปนพระประมุข
สืบทอดมาตั้งแตสมัยโบราณมาจนถึงปจจุบัน ดังน้ัน คนไทยทุกคนจึงถวายความจงรักภักดีตอ
พระมหากษตั รยิ  และพระมหากษัตรยิ จะมพี ระราชกรณยี กิจตา ง ๆ ทที่ รงคุณประโยชนตอ ชาวไทย

3. อักษรไทย ภาษาไทย สังคมไทยมีอักษรใชมาต้ังแตกรุงสุโขทัย และไดรับการพัฒนา
อกั ษรไทยโดยพอ ขนุ รามคําแหงมหาราช จัดเปนเอกลักษณที่นาภาคภูมิใจ เชน คําวาพอ แม พ่ี นอง
ฯลฯ เปน ตน

4. วฒั นธรรมที่แสดงออกถึงความเปนไทย บานเรือนไทยที่มีเอกลักษณเหมาะสมกับสภาพ
ธรรมชาติของเมืองไทย เรือนไทยสูงโปรง หลังคาลาดชัน ทําใหเย็นสบาย อาหารไทยมีลักษณะเฉพาะมี
แกง นํา้ พริก กวยเตีย๋ ว ผัดไทย ตม ยํากุง ฯลฯ ลวนแตอรอ ยและแพรหลายไปในตางชาติ ยาไทยยังมีใช
อยูถึงปจจุบัน เชน ยาเขียว ยาลม เปนตน ยาท่ีกลาวมายังเปนท่ีนิยม มีสรรพคุณในการรักษาได
ศลิ ปกรรมไทย เปนวฒั นธรรมท่แี สดงออกถงึ ความเพียรพยายามในการปรบั ปรุงคณุ ภาพชีวิตของคนไทย
ต้ังแตอดีต คือ วรรณคดีไทย แสดงออกในทางตัวหนังสือ เชน รามเกียรติ์ พระอภัยมณี ดนตรีไทย
ยงั ทรงคณุ คา วฒั นธรรมไทย สอ่ื ถงึ ความไพเราะออ นหวาน ใชดนตรีไทยท้งั ระนาด กลอง ซอดวง ซออู
ฯลฯ ครบทั้งดีด สี ตี เปา เพลงไทย เปนการรอยกรองบทเพลง รวมกับดนตรีไทย สืบทอดมาจนถึง
ปจจุบัน เชน เพลงลาวคําหอม เขมรไทรโยค ฯลฯ จิตรกรรมไทย การวาดเขียนบนผนังโบสถ มี
สีสวยงาม มักวาดเปนพุทธประวัติ สําหรับจิตรกรรมไทย ตองคอยซอมแซม ทะนุบํารุงรักษา
ประติมากรรมไทย มีการปนหลอพระพุทธรูป และการตกแตงลายปูนปน ในพระพุทธศาสนา
สถาปตยกรรมไทย การออกแบบโบสถ วิหาร พระราชวังตาง ๆ

70

1.2 ประเพณไี ทย

ประเพณีไทยเปนวัฒนธรรมท่ีสืบทอดกันมา เปนสิ่งท่ีแสดงถึงวิถีชีวิตของคนไทยท้ังในอดีต
และปจ จบุ นั ประเพณีแสดงถึงความเจรญิ รุงเรอื งของประเทศไทยที่สืบเน่ืองมา เปนสิ่งท่ีคนไทยควร
ศกึ ษาทาํ ความเขา ใจและชวยกันอนุรกั ษ โดยปกตแิ ลวศาสนาและความเชื่อมีอิทธิพลตอประเพณีไทย
สาํ หรับประเพณีไทยจาํ แนกออกเปน 2 ประเภท คือ พระราชประเพณี และประเพณีในทองถนิ่ ตาง ๆ

พระราชประเพณีท่สี ําคญั ๆ คือ
พระราชพธิ ถี ือนํ้าพิพัฒนสตั ยา ไดร ับอทิ ธิพลมาจากศาสนาพราหมณทําในโอกาสท่ีพระเจา-
แผนดินขึ้นครองราชยสมบัติ เปนการแสดงออกของจิตใจขาราชการชั้นผูใหญที่ทรงอํานาจอยูใน
แผน ดิน จะมีความยินยอมพรอมใจ พระราชประเพณนี ้ี ไดล ม เลกิ ตั้งแตสมยั เปล่ียนแปลงการปกครองมา
เปนระบอบประชาธิปไตย การถือน้ําพิพัฒนสตั ยานี้ ใชน ้ํา เปน ส่อื กลางอาคมศาสตราวุธตา ง ๆ วาคาถาแลว
เสยี บลงในนํา้ แลวนาํ ไปแจกกนั ดม่ื และในวันที่ 25 มนี าคม พ.ศ. 2512 พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหา-
ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทรงฟนฟูการถอื นา้ํ ในวนั พระราชทานตรารามาธิบดีแกทหารหาญของชาติ ซ่ึงเปน
สิง่ ท่นี า ปลืม้ ใจ ทพ่ี ระองคพยายามรกั ษาพระราชประเพณดี ั้งเดิมไว
พระราชพธิ ที อดพระกฐนิ หลวง โดยการเสดจ็ พระราชดําเนนิ ทางชลมารคขบวนพยุหยาตรา
อยา งแบบโบราณ ปจจุบันทําในวาระสาํ คญั ๆ เปนการอนรุ ักษโบราณประเพณไี ว มกี ารซอมฝพ ายเรอื
พระทนี่ ัง่ สุพรรณหงส เรอื พระท่ีนงั่ อนนั ตนาคราช ฯลฯ ความสวยงามวิจิตร ตระการตา ของพระราชพิธนี ี้
ไมม ปี ระเทศใดเสมอเหมอื น สว นมากการทอดกฐนิ หลวงทําเปนประจาํ ทกุ ป เสด็จทรงชลมารคเปน ปกติ
ประเพณตี า ง ๆ ในทองถิน่ ของไทย
ประเพณีตรุษสงกรานต มีทุกทองถิ่นในวันข้ึนปใหมของไทย มีประเพณีสรงนํ้าพระ ทําบุญ
ไหวพระ รดนํ้าขอพรผูสูงอายุ ตรงกับวันที่ 13 เมษายนของทุกป แตละทองถ่ินจะแตกตางกันใน
รายละเอยี ดปลีกยอย สาํ หรบั ประเพณตี รษุ สงกรานตในภาคเหนอื ยงั คงสวยงามนา ชม สมควรอนุรกั ษ
วฒั นธรรมการรดนา้ํ ดําหัวใหด ํารงสบื ตอไป
ประเพณีลอยกระทง ทาํ ในเดอื น 12 ประเพณีนีเ้ กิดข้ึนต้งั แตส มัยกรุงสุโขทยั มวี ตั ถุประสงค
คอื ตกแตง กระทงดว ยวสั ดดุ อกไม จดุ ธปู เทยี นลอยกระทงลงแมน้ําลําคลอง เพ่อื ขอโทษพระแมคงคาท่ี
ประชาชนไดอาศยั ดม่ื กนิ และเพอื่ ไหวพระพทุ ธเจา ปางประทับอยูใตเ กษียรสมทุ ร
ประเพณีทําบุญวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา วันมาฆบูชา แหเทียนวันเขาพรรษา วันออก-
พรรษา ทําบญุ วนั ธรรมสวนะ ถวายผา อาบน้ําฝน ทอดผาปา ทอดกฐิน เทศนมหาชาติ เปนประเพณี
สาํ คัญของชาวพทุ ธ

71

ประเพณีการแตง งาน การสงตัวคสู มรส การตาย การบวช การเกิด ข้นึ บา นใหม การทําบุญ
ฉลองในโอกาสตาง ๆ ตั้งศาลพระภูมิ เปนประเพณีสวนตัว สวนบุคคล ซึ่งแตกตางไปตามภาคและ
ทองถ่ิน

นอกจากนัน้ ยังมปี ระเพณีสําคัญ ๆ ของภาคตาง ๆ อีก เชน ฮีตสิบสองคลองสิบสี่ ของภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนือ บายศรีสูขวญั ของภาคเหนือและภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ประเพณีแหผตี าโขน
ของจังหวดั เลย แหเ ทยี นพรรษา ของจงั หวัดอบุ ลราชธานี ประเพณที าํ บุญเดอื นสิบ ของภาคใต เปนตน

2. วัฒนธรรม ประเพณีของประเทศในทวีปเอเชีย

ประเทศในเอเชีย สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม รายไดจึงข้ึนอยูกับผลิตผลทางการ
เกษตร แตมีบางประเทศมีความเจริญกาวหนาทางอุตสาหกรรม เชน ญี่ปุน และบางประเทศ
เจรญิ กาวหนาทางการผลติ นาํ้ มนั เชน ประเทศอิรกั อิหราน คเู วต

ในการศึกษาวัฒนธรรม ประเพณีของประเทศในเอเชีย ควรรูเรื่องราวที่เก่ียวกับลักษณะ
สําคัญของประชากรและส่งิ ที่มอี ิทธิพลตอวัฒนธรรม ประเพณี ดงั นี้

2.1 ลกั ษณะสําคญั ทางประชากร

ประชากรทีอ่ ยใู นภมู ิภาคน้มี ีหลายเผา ดว ยกนั คอื
1) ออสตราลอยด เปน พวกทอ่ี ยูในหมูเ กาะ ตงั้ ถน่ิ ฐานในแหลมมาลายู หมูเกาะอินโดนีเซีย
นวิ กินี จนถงึ ทวีปออสเตรเลยี มีรูปรา งเตี้ย ผวิ คลา้ํ ผมหยิก จมูกใหญ
2) นิโกรลอยด อพยพเขามาในขณะท่ีพวกออสตราลอยดมีความเจริญในภูมิภาคนี้แลว
พวกนี้มีลักษณะผิวดํา จมูกใหญ ริมฝปากหนา ผมหยิก ในปจจุบันยังมีอยูในรัฐเปรัค-กลันตัน ของ
มาเลเซยี ภาคใตของอินเดยี (ดราวเิ ดยี น) ไดแก เงาะซาไก เซมงั ปาปวน
3) เมลานีซอยด สันนิษฐานวาเปนเผาผสม ระหวางนิโกรลอยดและออสตราลอยด
ปจ จบุ ัน พวกน้ไี มม อี ยใู นแถบเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต แตมีอยูมากตามหมูเกาะในมหาสมุทรแปซิฟก
หมูเกาะนวิ กนิ ี และออสเตรเลยี
4) มองโกลอยด อพยพมาจากตอนกลางของทวีปเอเชีย เขามาอยูบนผืนแผนดินใหญ
ประชากรสว นใหญใ นปจจบุ ัน เปน พวกเชอ้ื สายมองโกลอยด เชน มอญ เขมร ไทย ลาว เปน ตน
จากลักษณะทําเล ท่ีต้ังทางภูมศิ าสตร และการอพยพของชนเผาตาง ๆ ทําใหเกิดการ
ผสมผสานของเผาพันธุตา ง ๆ จนปจ จุบนั แทบแยกไมออกวาใครมาจากเผาพนั ธุแทจ ริง
นอกจากนย้ี งั มีประชากรที่อพยพมาจากเอเชียตะวนั ออก คือ จนี และมาจากเอเชียใต คือ
อนิ เดยี เขา มาอยูในภมู ิภาคนี้

72

5) คอเคซอยด เปน พวกผวิ ขาว หนาตารปู รางสงู ใหญ อยา งชาวยุโรป แตตา และผมสีดํา
สวนใหญอ าศยั อยใู นเอเชยี ตะวนั ออก และทางภาคเหนอื ของอนิ เดีย ไดแก ชาวอาหรับ ชาวปากสี ถาน
ชาวอินเดยี และประชากรในเนปาล และภูฏาน

2.2 สิง่ ทมี่ ีอทิ ธิพลสาํ คัญตอ วัฒนธรรมของเอเชีย

ส่ิงท่ีมีอิทธิพลสําคัญตอวัฒนธรรมของเอเชีย คือ ภาษาและอิทธิพลของอารยธรรม
ภายนอกหรอื อารยธรรมจากตางชาติ

1) วัฒนธรรมทางภาษา
ลักษณะสาํ คญั ทางภาษาในภมู ิภาคน้ี มีประชากรหลายเช้อื ชาติ หลายวัฒนธรรม จึงทําให

มภี าษาพูด ภาษาเขยี น แตกตา งกนั ไปหลายกลมุ คอื
1. ภาษามาลาโย – โพรีเนเชียน ไดแก ภาษาพูดกันในแหลมมาลายู หมูเกาะอินโดนีเชีย

และภาษาตากาลอก ในหมูเ กาะฟล ิปปนส
2. ภาษาออสโตร – เอเชยี ตกิ ไดแ ก ภาษามอญ เขมร เวยี ดนาม
3. ภาษาทเิ บโต – ไชนิส ไดแ ก ภาษาพมา ภาษาไทย
4. ภาษาอื่น ๆ เชน ภาษาฮินดี ภาษาจีน ภาษาอาหรับ ภาษาของชาวตะวันตก

โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ ซ่ึงใชใ นการติดตอระหวา งประเทศ ทางการศกึ ษา และการคา
สาํ หรบั ภาษาเขยี นหรือตวั หนงั สือ มี 4 ลักษณะ คอื
1. ดัดแปลงมาจากตัวหนังสือของอินเดีย ภาคใตใชกันมาก ในประเทศที่นับถือ

พระพุทธศาสนา เชน พมา ไทย ลาว กัมพชู า
2. ดัดแปลงมาจากภาษาอาหรับ ใชกันมากในประเทศที่นับถือศาสนาอิสลาม เชน

มาเลเซีย บรไู น อนิ โดนเี ซยี
3. ตวั หนงั สอื ท่ีอาศยั แบบของตวั หนังสอื จนี มีท้งั ที่ดัดแปลงมาใช และนาํ ตวั หนังสือจีนมา

ใชโดยตรง มใี ชก นั มากในประเทศเวยี ดนาม สวนกลุมที่ใชภาษาจีน เปนภาษาพูด เชน สิงคโปร กลุม
พอ คา ชาวจีนในทุกประเทศ นิยมใชภาษาจนี เปน ทง้ั ภาษาเขียนและภาษาพูด

4. ตัวหนังสอื โรมัน ใชกันมากในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซยี ฟลปิ ปนส สวนในเวียดนาม
ก็เคยนาํ มาใชเ หมอื นกนั แตป จจุบันนยิ มใชในชนบทบางกลมุ เทา น้นั

2) อทิ ธพิ ลของอารยธรรมภายนอกหรืออารยธรรมจากตา งชาติ ไดแก
อารยธรรมอนิ เดยี
มีหลายดาน เชน กฎหมาย อักษรศาสตร ศาสนา ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี

การปกครอง การเกษตร เปนตน

73

ดานศาสนา อินเดยี นาํ ศาสนาพราหมณและพทุ ธศาสนา เขา มาเผยแพร
ดานการปกครอง มีการปกครองแบบเทวราชา การประกอบพิธีกรรมตาง ๆ ของ
พระมหากษัตรยิ  ใชหลักคมั ภีรของพระมนูธรรมศาสตร เปน หลกั ในการปกครองของภูมภิ าคน้ี
ดา นอักษรศาสตร ไดแ ก วรรณคดีสนั สกฤต ภาษาบาลี เขามาใช
ดา นศลิ ปกรรม สว นใหญเ ปน เรื่องเกย่ี วกับศาสนา เชน วิหาร โบสถ
อารยธรรมจนี
จีนเขามาติดตอคาขายในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ตั้งแตอดีตและเขามามี
อทิ ธพิ ลทางดานการเมอื ง วัฒนธรรมและเศรษฐกจิ แตอ ทิ ธพิ ลดงั กลา วมไี มม าก ทางดา นการเมืองจนี
อยูใ นฐานะประเทศมหาอํานาจ อาณาจักรตาง ๆ ที่เปนเมืองขึ้นตองสงบรรณาการใหจีน 3 ปตอครั้ง
เพ่ือใหจีนคุมครองจากการถูกรุกรานของอาณาจักรอื่น สวนทางดานเศรษฐกิจจีนไดทําการคากับ
ภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต สนิ คา ที่สาํ คัญ ไดแ ก ผาไหม เครือ่ งปนดินเผา เปน ตน การคาของจีน
ทําใหอ าณาจกั รท่เี ปนเสนทางผานมีความเจริญมั่นคงข้ึน ทางดานวัฒนธรรมจีนมีอิทธิพลทางดานน้ี
นอยมาก จีนจะเผยแพรวัฒนธรรมไปยังประเทศของตนเทาน้ัน อาณาจักรเวียดนามเคยตกเปน
ประเทศราชของจีนเปนเวลานานจึงรับวัฒนธรรมของจีนไวมาก เชน การนับถือลัทธิขงจื้อ ลัทธิเตา
ประเพณกี ารแตง กาย การทาํ ศพและการใชชีวิตประจาํ วัน
อารยธรรมอาหรับ
ในราวพุทธศตวรรษท่ี 18 ศาสนาอสิ ลามมาจากตะวันออกกลาง ไดแ ผเขา มาในอินเดีย
ทาํ ใหชาวอินเดียสวนหน่ึงหันมานับถือศาสนาอิสลาม โดยเฉพาะพอคาจากอินเดียตอนใต ซ่ึงติดตอ
คา ขายในบรเิ วณหมูเกาะของเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตอ ยเู ปนประจาํ ไดน าํ ศาสนาอิสลามเขา มาเผยแผ
ในภูมิภาคน้ี ผูนําทางการเมอื งของรัฐในหมเู กาะตาง ๆ ของเอเชียตะวันออกเฉียงใตเวลานั้นตองการ
ตอ ตานอํานาจทางการเมอื งของอาณาจกั รมัชปาหิต อาณาจักรฮินดู บนเกาะชวา ซึ่งกําลังแผอํานาจ
อยูจึงหันมานับถือศาสนาอิสลาม เพราะใหประโยชนทางการคากับพวกพอคามุสลิม ตามหลักของ
ศาสนาอิสลามที่วา ทุกคนท่ีนับถือศาสนาอิสลาม น้ัน เปนพี่นองกัน ชวยเหลือเกื้อกูลกัน จึงทําให
ศาสนาอสิ ลาม เปนทนี่ ิยมของกษัตรยิ ช นชนั้ สงู และสามญั ชนดวย
อารยธรรมตะวนั ตก
ชาตติ ะวันตกเรมิ่ เขามาในภูมิภาคนี้ โดยมีจดุ ประสงคท่ีจะทาํ การคา และเผยแผศ าสนา
สนิ คา ท่ชี าวยโุ รปตอ งการ ไดแก พรกิ ไทย และเคร่ืองเทศตาง ๆ ในระยะแรก ๆ น้ัน ความสนใจของ
ชาวยุโรปจะจํากัดอยูเฉพาะบรเิ วณหมเู กาะ และบริเวณชายฝง ตลอดจนดินแดนในเอเชียตะวันออก
เฉียงใตเกือบท้ังหมด

74

เดมิ อาณาจักรตาง ๆ ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีความแตกตางกันทางดาน
เชอ้ื ชาตแิ ละภาษา หลังจากทไ่ี ดร บั อารยธรรมอินเดีย จีน และอาหรับแลว อารยธรรมใหมที่เกิดจาก
การผสมผสานกัน ทําใหประชาชนมีสังคมขนบธรรมเนียมประเพณีท่ีคลายคลึงกันและยึดม่ันเปน
เอกลักษณประจําชาติ นอกจากนี้ภายในภูมิภาคก็ยังมีการแขงขันกันทางดานการเมือง สังคม และ
เศรษฐกิจ จนขาดความสามคั คี ไมสามารถทจ่ี ะตอตานการขยายตัวของชาติตะวันตกได ในที่สุดก็ตก
เปน อาณานคิ มของชาตติ ะวนั ตก

(ขอมูลจากหนงั สอื สําหรับเยาวชน ชุด ประเทศเพ่ือนบานของไทย ของกรมวัฒนธรรมสัมพันธ กรมสารนิเทศ
กระทรวงการตางประเทศ)

เพอ่ี ใหเกิดความรวู ฒั นธรรม ประเพณีเกยี่ วกบั ประเทศตา ง ๆ ในทวีปเอเชียซ่ึงมีรายละเอียด
วฒั นธรรม ประเพณที ่ีเขมแข็ง คอื วัฒนธรรม ประเพณขี องอินเดีย จนี อาหรับ และตะวนั ตก

2.3 วฒั นธรรม ประเพณขี องประเทศอินเดีย จนี อาหรับ และตะวนั ตก
1) วัฒนธรรม ประเพณขี องประเทศอนิ เดยี
อินเดีย เปนแหลงอารยธรรมใหญของเอเชีย ประชากรสวนใหญของประเทศอินเดีย

นับถือศาสนาฮินดู และมีศาสนาอืน่ เชน ศาสนาอิสลาม ศาสนาพุทธ ศาสนาเชน ศาสนาครสิ ต โดยท่ัวไป
ประชาชนระหวางศาสนา จะใหความเคารพซ่ึงกันและกัน ชาวอินเดียถือวัฒนธรรม ซึ่งจัดเปน
วฒั นธรรมทเ่ี ขม แขง็ และเครงครดั อาทิ สตรนี ิยมสวมสาหรีหรือสลั วารกามิซ การใหเกยี รติสตรี และการ
เคารพบชู าเทพเจา เปน ตน คนอนิ เดยี มีนสิ ัยรักสงบ และสภุ าพ แตคอ นขา งอยากรู อยากเห็น รวมท้ัง
จะไมทํารายสัตวทุกชนิด (ยกเวนงานเทศกาลของบางศาสนา) โดยเฉพาะวัว ซึ่งถือเปนสัตวเทพเจา
อาจเหน็ อยูต ามทอ งถนนเปนกจิ วตั รสว นสตั วเ ล็ก ๆ อยางกระรอกและนก จะมใี หเ ห็นอยเู สมอ แมจะเปน
เมืองใหญก็ตาม การทอ่ี นิ เดียมีประชาชนจํานวนมาก เม่ือเทียบกับทรัพยากรของประเทศ ทําใหการ
ดนิ้ รน เพื่อเลยี้ งชีพและครอบครวั เปน สง่ิ จาํ เปน กอใหเกิดวัฒนธรรมที่มีมาชานาน และซึมซับอยูใน
วถิ ชี วี ติ ของชาวอนิ เดยี ซง่ึ กค็ ือ การตอรองและการแขงขัน เราจะเห็นไดวา ต้ังแตพอคาจนถึงคนขับ
รถสามลอ มักขอราคาเพ่ิมดว ยเงอ่ื นไขตา ง ๆ นานา สวนผูซื้อ ก็มักขอลดราคาอยูเสมอ สําหรับดาน
การแขงขัน เห็นเดนชัดมากข้ึน จากการที่ปจจุบันนักศึกษาคร่ําเครงกับการเรียน เพื่อสอบเขา
มหาวทิ ยาลัยชัน้ นํา ซ่ึงแตละปม ผี สู อบนบั แสนนบั ลา นคน แตรบั ไดเพียงปล ะไมก ี่คนเทาน้ัน การศกึ ษา
จงึ เปนหนึ่งในการแขงขันทเี่ ขม แขง็ เพ่ือทจ่ี ะพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของชาวอินเดียในทุกวนั น้ี

75

วัฒนธรรมของอินเดียทสี่ ําคัญ ๆ พอจะยกมาเปน ตัวอยา ง คอื
1. การถอดรองเทา กอ นเขาศาสนสถานทุกแหง
2. หา มนําเคร่อื งหนัง โดยเฉพาะหนงั ววั เขา ไปในศาสนสถานทกุ แหง
3. หามถายรปู ภายในศาสนสถาน หากตองการใหข ออนุญาตกอ น
4. การไปเยือนศาสนสถาน สามารถชมส่ิงตาง ๆ ไดตามสบาย และอาจอยูรวมประกอบ
พิธกี รรมได แตค วรแตง กายใหสภุ าพ หากไปวดั ซิกข ควรมีหมวกหรือผาคลุมศีรษะ สวมเสื้อแขนยาว
และกระโปรงยาว และควรบริจาคเงนิ ในกลอ งรับบริจาคดว ย

76

5. หากมกี ารเล้ียงอาหารแบบใชมอื เปบ ควรใชมือขวาเทาน้ัน
6. อยา น่งั หันฝาเทาชี้ไปทางใครอยา งเดด็ ขาด เพราะเปนการดหู ม่นิ และไมค วรใชน ิว้ ชส้ี ง่ิ ใด
โดยเฉพาะบคุ คลใหใ ชก ารผายมอื แทน
7. การขยับคอสายศรี ษะไปมาเลก็ นอย หมายถึง " YES"
8. ควรใหเกียรตสิ ตรแี ละไมถ กู เน้อื ตองตัวสตรี การขึ้นรถประจําทางสาธารณะโดยท่ัวไป
ผูชายจะข้นึ และลงดานหลงั เทา นนั้ สวนดานหนา เปนของสตรี
9. ไมควรข้นึ รถประจําทางท่มี ีคนแออัด เพราะอาจมมี ิจฉาชีพปะปนอยู สวนผูหญงิ อาจถูก
ลวนลามได
10. การใชบ ริการบางอยางควรสังเกตใหดี เพราะอาจมีการแยกหญิง – ชาย ซ่ึงอาจทําให
เกิดการลวงละเมดิ โดยไมตง้ั ใจได
11. สตรีไมควรสวมกางเกงขาส้นั เส้ือแขนกุด สายเดี่ยว หรือเอวลอย เพราะนอกจากจะ
ถูกมองมากกวาปกติ (ปกติชาวตางชาติจะเปนเปาสายตาจากความชางสงสัยของชาวอินเดียอยูแลว)
ยงั อาจเปน เปาหมายของอาชญากรรมได

2) วัฒนธรรม ประเพณีของจีน

ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เปนประเทศที่มีประชากรมากท่ีสุดเปนอันดับ
หน่ึงของโลกประชากรรอ ยละ 93 เปน ชาวฮน่ั ทเ่ี หลือเปน ชนกลมุ นอย

ในสมัยโบราณจนี นบั เปนดินแดนทม่ี ศี าสนาและปรัชญารงุ เรอื ง เฟองฟู อยูม ากมาย
โดยลัทธคิ วามเชอื่ เดมิ นั้น มีอยสู องอยา ง คือ ลัทธิเตาและลัทธิขงจื้อ ซึ่งเนนหลักจริยธรรมมากกวาที่
จะเปน หลักศาสนาทแี่ ทจ รงิ สว นพทุ ธศาสนานน้ั จนี เพิ่งรบั มาจากอินเดีย ในชว งคริสตศตวรรษแรกน้ี
เทาน้ัน ครนั้ มาถึงยคุ คอมมิวนิสต ศาสนากลบั ถกู วา เปน ปฏิปกษตอลัทธิทางการเมืองโดยตรง ตอมา
ทางการกไ็ ดยอมผอนปรนใหก ับการนบั ถือศาสนา และความเชื่อตาง ๆ ของประชาชนมากขึ้น ทําให
ลัทธิขงจ้ือลัทธิเตา ศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม (ในเขตตะวันตกของจีน) และศาสนาคริสต จึงได
กลบั มาเฟองฟูข้นึ อีกครั้ง

วัฒนธรรม ประเพณีจีนท่ีสาํ คญั
ความเช่ือ
คนจนี นยิ มมีลูกชายมากกวา ลกู หญิง เพราะลกู ชายเปน ผสู ืบนามสกุล คือ แซ การ
เรียกชื่อสกลุ ของจีน ตรงขา มกับภาษาไทย คือ เรยี กตน เปน ชือ่ สกุล ชอื่ ตัวใชเรียกกันในหมูญาติ และ
เพอ่ื นสนทิ นามสกุล เปนลักษณะพิเศษ เชื้อตระกูล การสืบทอดพงศเผา ตอมาเปนพัน ๆ ป ดังนั้น
วฒั นธรรมจีนจงึ มีจติ สํานกึ การบชู าบรรพบุรุษ เปนแกนแทของวฒั นธรรมนี้
ตราบจนปจ จุบัน ชาวจีนโพนทะเล ท่ีอาศยั อยูตางประเทศยังคงรักษาประเพณีที่
จะกลับมาสืบหาบานเกิด และบรรพบุรุษท่ีแผนดินใหญจีนหลายปมานี้ ในฐานะท่ีเปนผลิตผลจาก

77

ประวตั ิศาสตรท ีม่ ลี กั ษณะพเิ ศษของสังคมโบราณจนี วัฒนธรรมเกีย่ วกบั นามสกลุ และเช้อื ตระกลู ของจีน
ไดกลายเปนคลังสมบัติขนาดใหญ สําหรับการศึกษาประวัติศาสตรอันยาวนานของชนชาติจีน จาก
แงมมุ ใหม เชน การศึกษาแหลงกําเนิด การแบงแยก และการผสมผสานของนามสกุล น้ัน สามารถเพม่ิ
ความเขาใจการเปลี่ยนแปลง รูปแบบสังคม ท่ีแตกตางกัน ในสมัยโบราณใหลึกซึ้งย่ิงขึ้น อีกทั้ง
การศกึ ษาสง่ิ ของทเี่ ปน รูปธรรมตาง ๆ เชน หนังสือลําดับญาติของวงศตระกูล ระบบการสืบชวงวงศ
ตระกูล ฯลฯ สามารถสะทอนถึงบทบาททางประวัติศาสตรของความสัมพันธทางสายเลือดที่มีตอ
พัฒนาการของสังคมโบราณ และชีวิตสังคม อยางไรก็ตาม ลักษณะพิเศษหลายประการของสังคม
โบราณจนี เชน ระบบรวมศูนยอ ํานาจ โครงสรางของสังคมแบบครอบครัว คานิยมทางดานศีลธรรม
และจริยธรรม และหลักความประพฤตทิ ี่ถือความซ่ือสัตยตอกษัตริย และการกตัญูตอพอแม เปน
บรรทัดฐาน เปนตน ลว นแสดงออกมาในวัฒนธรรมช่ือและนามสกุลอยางเต็มท่ี และก็เปนสาเหตุอีก
ประการหนึ่ง ท่วี ฒั นธรรมนามสกุล ไดรบั ความสนใจอยา งมากจากวงวิชาการ

วฒั นธรรมการใหค วามสําคญั ตระกูลสง ผลมาถงึ ปจ จบุ ัน การประกอบอาชพี ความ
ม่ันคงทางเศรษฐกิจ เกดิ จากการสนบั สนุนสง เสรมิ เปน เครอื ขายของตระกลู ตาง ๆ

สงิ่ สาํ คญั อกี อยา ง คือ ชาวจนี มีเครอื ขา ยคนรูจกั กลาวกันวา ชาวจีนที่ไรเครือขาย
คนรูจกั เปนผูท่เี ปนจนี เพียงคร่งึ เดยี ว จงึ จาํ เปน ตองทําความรูจักกับผูคน และชาวตางชาติ ดังน้ัน จีน
จึงใหความสาํ คญั ของวฒั นธรรมนีด้ ว ยการเช้อื เชญิ

อาหาร
เปนวัฒนธรรมท่ีเขมแข็งเผยแพรไปทั่วโลก และเปนท่ียอมรับวา อาหารจีน
มีรสชาติอรอ ย อาหารจนี จะตอ งถงึ พรอมสีสนั รสชาติ และหนา ตา มีอาหารอยูเพยี งไมก ีอ่ ยา งเทา นั้น
ท่ีปรงุ อยา งเดียวโดด ๆ สิ่งสําคญั คอื สวนประกอบตา ง ๆ จะตองกลมกลืนเขากันไดกับเครื่องปรุงรส
จาํ พวกซีอิ๊ว กระเทยี ม ขงิ น้าํ สม นํา้ มนั งา แปง ถวั่ เหลือง และหอมแดง
ประเพณีการแตงงาน
ส่ิงแรกที่บอกถึงพิธีการแตงงานของชาวจีน ก็คือ สีแดงสําหรับชาวจีน สีแดง
หมายถึง ความผาสุก และความมง่ั คง่ั ปจ จุบันเจา สาวจีน จะเลอื กชดุ แตงงานสขี าวตามสไตลตะวนั ตก
แตสําหรับสมัยกอนแลว สีแดง จะปรากฏใหเห็นทุกท่ีในงานแตงงาน ต้ังแตเส้ือผา ของตกแตง
แมก ระท่ังของขวญั
พิธีแตงงานของชาวจีนโบราณ มักจะถูกจัดโดยผูเปนพอแม จะเปนฝายเลือก
เจาสาวให กบั บุตรของตน นอกจากนยี้ งั มขี น้ั ตอนตา ง ๆ ท่ีตอ งปฏิบัตติ ามเปนลําดับ ตั้งแตการเจรจา
ตอรอง การสูขอ การวา จา งซินแสมาตรวจดูดวงของคบู าวสาววา สมพงษกันหรอื ไม จนไปถึงการตกแตง
เรอื นหอ ตอ งเปนสแี ดง เพ่อื ความเปนสิริมงคล จะมกี ารจัดหาชายหนมุ และหญิงสาว มาทาํ การเตรยี ม
เตียงใหก บั เจาสาว

78

นอกจากน้ียังมขี บวนแหรบั เจาสาว จากบา นของเจาสาวมาท่บี า นของเจา บาว ตาม
ดวยพิธีแตงงาน การสักการะบูชาฟาดิน การถวายสัตยปฏิญาณ และการมอบของขวัญใหแกกัน
หลงั จากนนั้ ก็จะเปนงานเล้ียงฉลอง ซึ่งถือเปนเร่ืองสาํ คัญไมแพพิธีแตงงาน ซึ่งเต็มไปดวยแขกเหรื่อ
ญาตสิ นิท มิตรสหาย และคนรูจกั อาหารชัน้ ดี และสุรา จนกระทั้งเจาบาว เจาสาว พรอมท่ีจะยายเขาสู
เรือนหอ หลังจากนั้น เจาสาว ก็จะกลับไปเย่ียมบานเดิมของเธอ เปนเวลาสามวัน กอนที่จะยาย
กลับมาอยูก ับเจา บาว เปน การถาวร พรอมกบั มพี ธิ ฉี ลองย่งิ ใหญอ ีกครง้ั

3) วัฒนธรรม ประเพณีของชาติอาหรบั

ศาสนาอสิ ลาม มอี ทิ ธพิ ลตอ ชีวติ ความเปน อยูของ “ชนชาตอิ าหรบั ” และการแพร
ขยายวัฒนธรรม ประเพณีจากศาสนาอิสลาม จนทําใหศ าสนาอิสลาม เปนศาสนาที่มจี ํานวนผูนับถือมาก
ท่สี ดุ ในเอเชยี วฒั นธรรม ประเพณที ี่สาํ คัญ ๆ ไดแ ก

79

การแตงกาย ผูหญิงมุสลิมแตงกายมิดชิด มีผาคลุมรางกาย และแตละชาติ อาจ
แตกตางกนั บา งในรายละเอยี ด

การถือศีลอด ชาวมุสลิม จะถือศีลอดในชวงเดือนรอมะฎอน และชาวมุสลิม
ทว่ั โลก รวมกันปฏบิ ตั ิศาสนกิจ และเฉลิมฉลองวาระส้ินสุดการถือศีลอด ในเดือนรอมะฏอน อันประเสริฐ
หลงั จากมีผูพบเหน็ จนั ทรเ สีย้ ว หรอื ฮลิ าส เม่ือคาํ่ คนื ทผ่ี านมา ทําใหว นั น้เี ปน วนั แรกของเดือนเชาวาล-
ฮิจเราะห หรือ วันอิด้ิลฟตรี โดยในวันนี้พี่นองมุสลิม จะปฏิบัติตนตามแบบอยางของทานนบีมุฮัมมัด
ศ็อลลลั้ ลอฮอุ ลัยฮิวะซัลลัม โดยจะจายซะกาตฟต เราะห ซ่งึ เปน การนําอาหารหลักไปจา ยใหกับคนยากจน
และทุกคนอาบนํ้าชําระรางกายต้ังแตหัวจรดเทา และแตงกายดวยเสื้อผาท่ีสวยงาม ทานอินทผลัม
กอ นเดินทางไปยังที่ละหมาด หรือ มุศ็อลลา รวมละหมาดอิดิ้ลฟตรี และเดินทางกลับในอีกทางโดย
เม่ือมีการพบปะกัน จะมกี ารกลา วทกั ทายกนั ดวยวา “ตะกอ็ บบะลัล้ ลอฮุ มินนา วะมนิ ก”ุ

4) วฒั นธรรมตะวันตกกับประเทศตาง ๆ ในทวปี เอเชยี

วัฒนธรรมตะวันตก แมแบบมาจากอารยธรรมกรีกและโรมัน (เกรโค - โรมัน)
อารยธรรมนี้ มีแหลงกําเนดิ ในบรเิ วณทะเลเมดิเตอรเ รเนียน และไดร บั อิทธิพลจากศาสนาครสิ ต

การเผยแพรวัฒนธรรมตะวันตก สืบเนื่องมาจากความตอ งการคาขาย และการเผยแผ
ศาสนา ซงึ่ วัฒนธรรมตะวนั ตกที่สาํ คัญ ๆ ไดแ ก

การแตงกาย แบบสากลนิยมใชทั่วไปทุกประเทศในเอเชีย โดยเฉพาะคนช้ันสูง
ในเอเชีย นักปกครอง นักธุรกิจนิยมแตงกายแบบตะวันตก มชี ุดสากล กางเกง เส้ือเช้ิต เส้ือยืด มีบาง

80

ประเทศทมี่ ีวัฒนธรรมของตัวเองเขมแข็ง ยังใสชุดประจําชาติอยู คือ อินเดีย พมา อินโดนีเซีย และ
ประเทศอาหรับ

การศึกษา วัฒนธรรมตะวันตก เหน็ ความสําคัญของการศึกษาทุกแขนง และมี
ความเจริญกาวหนาท่ีสําคัญ คือ การศึกษาท่ีปูพ้ืนฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สงผลให
วิทยาศาสตรโ ลกกาวหนา

อาหาร อาหารของวัฒนธรรมตะวนั ตกแพรห ลายไปท่ัวโลก ใหความสาํ คัญอาหาร
ทม่ี คี ณุ คา ที่มีสว นปรุงจาก แปง สาลี นม เนย เนื้อสตั วตา ง ๆ รวมทัง้ เครอ่ื งด่ืม อนั ไดแก ไวน เปนตน

วฒั นธรรม ประเพณี ไดรับอิทธพิ ลจากศาสนาคริสต เชน ประเพณีเทศกาลเฉลิม
ฉลองวันคริสตมาส เทศกาลอีสเตอรและพิธีแตงงาน ประเทศท่ีไดรับอิทธิพลวัฒนธรรมตะวันตก
คอ นขา งมาก คอื ประเทศสงิ คโปร เปนเกาะเลก็ ๆ ปกครองแบบประชาธิปไตย ประชาชน มหี ลายเชือ้ ชาติ
ไดแ ก จีน มาเลย ประชาชนสวนมากนบั ถอื ศาสนาครสิ ต

ประเทศสิงคโปร มรี ะบบการศกึ ษาที่ดี ประชาชนไดรบั การศกึ ษาสูง และประกอบอาชีพ
การคาธุรกิจ ประชาชนมรี ายไดต อหวั สงู ชาวสิงคโปร เรียกประเทศของเขาวา "Intelligence Island"

ปจจุบันวัฒนธรรมตะวันตกแพรหลายไปในประเทศตาง ๆ ในเอเชีย ทั้งดานอาหาร
ดนตรี การแตง กาย การปกครองระบอบประชาธิปไตย วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี เชน ความเจริญกา วหนา
ทางการแพทย การอตุ สาหกรรม โทรคมนาคมตา ง ๆ เปนตน

81

เรือ่ งท่ี 2 การอนรุ กั ษ
และการสบื สานวฒั นธรรม ประเพณี

สภาพสงั คม วัฒนธรรม ประเพณีของประเทศตาง ๆ มีการเปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลาดวย
อทิ ธพิ ลของประเทศที่มีอารยธรรมเขม แขง็ สงผลใหช ีวิตความเปน อยูของประชาชนเปลี่ยนไปทงั้ ภาษา
การแตง กาย อาหาร ดงั น้นั ประเทศตา ง ๆ มแี นวทางในการอนุรักษและสืบสานวัฒนธรรม ประเพณี
ของชาติตนเองไว โดยระดมสรรพกําลังท้ังภาครัฐและเอกชน นอกจากนั้น โดยสภาพธรรมชาติ
วัฒนธรรม ประเพณีท่ีไมดีจะคอย ๆ สูญหายไปจากสังคม คงเหลือแตวัฒนธรรมที่เขมแข็งเขามา
แทนที่ การดาํ รงรกั ษาวัฒนธรรม ประเพณี เปนการแสดงถึงความเปนชาติเกาแก ท่ีมีมรดกตกทอด
มาถึงลูกหลาน จําเปนตองใชวิธีการรณรงคอยางสมํ่าเสมอ และประพฤติปฏิบัติ จนเปนประเพณี
สบื ตอกนั ชานาน กอใหเ กดิ ความภูมิใจในชาติตัวเอง

ในทวปี เอเชยี ประเทศที่มีความเจรญิ และมีวัฒนธรรม ประเพณที ่แี ข็งแกรง สามารถอนรุ ักษ
และสืบสานวัฒนธรรม ประเพณขี องตนเอาไว เชน ประเทศเกาหลี มีการอนุรักษวัฒนธรรมทางดาน
การแตง กาย อาหารและการแสดง สวนประเทศญีป่ ุนจะคงเอกลักษณของตนในดาน เครื่องแตงกาย
ภาษา และอาหาร เปนตน

2.1 การอนรุ ักษและการสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีไทย

ชาติไทย มคี วามมัน่ คงสืบทอดมาต้ังแตอ ดตี ถึงปจจบุ ัน เปนเพราะบรรพบรุ ษุ ไดร กั ษาไวใ ห
ลูกหลานอยอู าศยั ซ่ึงจะปลอยใหสญู เสียไปยอ มไมไ ด นอกจากรักชาตแิ ลว จะตองรกั ษาเกยี รตภิ ูมิของ
ชาติไวด ว ย และวัฒนธรรม ประเพณีของชาติ เปน ลักษณะเฉพาะ ท่ีแสดงถึงความเปนชาติไทย ท่ีเรา
คนไทยทกุ คนตอ งอนุรกั ษ และชว ยกันสบื สาน เพ่ือใหคงอยตู อไปถึงลกู หลาน

ชาติที่มีอิทธิพลตอวัฒนธรรมไทยแตโบราณ คือ อินเดียและจีน จากการศึกษาในอดีต
พบวา ชาติทม่ี อี ารยธรรมเกา แกแ ละมอี ทิ ธพิ ลตอประเทศตาง ๆ รวมทงั้ ประเทศไทยดว ย คอื ประเทศอินเดยี
มีความเจริญมากอน 4,000 ป พบที่เมืองโมหันโจดาโร มีระบบระบายน้ําเสียท่ีดี มีอักษรใชแลว เปน
อารยธรรมท่ียิ่งใหญ กอนกรีกและโรมัน อารยธรรมของอินเดีย ซึ่งเปนแหลงอารยธรรมศาสนาฮินดู
ที่แพรห ลายมากอนพทุ ธศาสนา และตอ มาอินเดีย เปนแหลงอารยธรรมของศาสนาพุทธ และจีนเปน
ประเทศท่ีเจรญิ รงุ เรืองดว ยอารยธรรมเกาแกท่ีสุดแหงหนึ่งของโลก โดยอารยธรรมนี้ เกิดบริเวณลุม
แมน้ําฮวงโหราว 4,000 ปมาแลว และจีนเปนประเทศทค่ี า ขายกับประเทศตาง ๆ มาในอดีต อิทธิพล
ของอารยธรรมจนี ที่สงผลกบั ไทย คอื เคร่ืองปนดินเผา วรรณคดี เร่ือง สามกก นาฏกรรมจีน หุนจีน
ง้วิ การบูชาบรรพบุรุษ

82

อารยธรรมของชาติตะวันตก ทสี่ งผลตอสังคมไทย คือ ความกาวหนาของเทคโนโลยีและ
การศึกษา รวมท้งั ภาษา คา นยิ ม การบันเทงิ นันทนาการตาง ๆ ยิ่งปจจุบัน ความเจริญในการคมนาคม
ขนสง สอื่ สารตา ง ๆ รวดเรว็ เปนโลกไรพรมแดน สง ผลใหอารยธรรมตะวันตกเขามาสูสังคมไทยอยาง
รวดเร็ว ยิ่งในปจจุบันอารยธรรมตาง ๆ ในเอเชียที่เขมแข็ง เร่ิมมอี ิทธิพลตอสังคมไทยท่ีสําคัญ คือ
ญ่ีปนุ เกาหลี

จากการศึกษา ประวตั ิ ความเปน มา ของวัฒนธรรมไทย จะพบวา มกี ารเปลยี่ นแปลงตลอดมา
ทุกยุคทุกสมัย แตอยางไรก็ตาม วัฒนธรรมไทยท่ียังคงอยูสืบทอดมาจนถึงปจจุบัน แสดงถึงความดี
ความมีประโยชนต อ สงั คมไทย จึงยังคงสิง่ เหลาน้นั อยู ที่สาํ คัญ คอื อาหารไทย ภาษาไทย การแตง กายไทย
มารยาทไทย ประเพณีไทย และการมีศาสนาพุทธเปนศาสนาประจําชาติ การมีพระมหากษัตริยเปน
สถาบันท่ีสาํ คัญของประเทศไทย

2.2 เหตุผลและความจาํ เปนในการอนรุ กั ษแ ละการสบื สานวัฒนธรรม ประเพณี

ความกา วหนา ทางเทคโนโลยี สงผลการเปล่ียนแปลงทางสังคมของแตละประเทศ ทําให
ตอ งอนุรกั ษ และสบื สานวฒั นธรรม ประเพณี

การเปลย่ี นแปลงเปน ลักษณะธรรมชาตขิ องสงั คมมนษุ ย และยอมเกดิ ขน้ึ ในทกุ สังคม แต
จะเรว็ หรือชาข้นึ อยูก ับกาลเวลา และอาจเปลี่ยนไปในทางที่ดขี ึน้ หรอื เลวลงกไ็ ด

ประเภทของการเปล่ียนแปลงเราอาจจําแนกการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นในสังคม
ออกเปน 2 ประเภท คือ

1) การเปลย่ี นแปลงทางสงั คม หมายถึง การเปลีย่ นแปลงโครงสรา งของสงั คม และระบบ
ความสัมพันธข องกลมุ คน เชน ความสัมพันธในครอบครัว ระหวางพอ แม ลกู นายจาง เปนตน

2) การเปลีย่ นแปลงทางวฒั นธรรม หมายถึง การเปล่ียนแปลงวถิ กี ารดาํ เนนิ ชวี ิต ความรู
ความคิด คา นยิ ม อดุ มการณ และบรรทดั ฐานทางสงั คม ซึง่ รวมถงึ ขนบธรรมเนยี มประเพณีตา ง ๆ ของ
สังคม โดยรับวฒั นธรรมของตนเองบางอยา ง

ปจจยั ท่เี ปน สาเหตุทที่ าํ ใหเกดิ การเปล่ียนแปลงทางสังคมและวฒั นธรรม
มีปจ จยั หลกั 2 ประการ ดังนี้
1) ปจจยั ภายในสงั คม หรอื การเปลยี่ นแปลงท่เี กิดจากสาเหตภุ ายในสงั คม หมายถึง การ
เปลี่ยนแปลงท่ีเกิดจากสมาชิกหรือส่ิงแวดลอมภายในสังคม นั่นเอง เชน การที่สังคมมปี ระชากร
เพ่มิ ข้นึ อยางรวดเร็ว ยอมทาํ ใหเ กดิ การเปล่ียนแปลงในดานการต้ังถ่ินฐาน ท่ีอยูอาศัย เกิดการบุกรุก
ท่ีดิน และการทําลายทรพั ยากรธรรมชาติเพิม่ ขนึ้ เปน ตน

83

2) ปจ จัยภายนอกสังคม หรือการเปลยี่ นแปลงท่เี กิดจากสาเหตภุ ายนอกสังคม เน่ืองจาก
ปจจุบันมีการตดิ ตอสัมพนั ธกับสงั คมอืน่ ๆ มากข้นึ สงั คมไทยไดร บั อทิ ธพิ ลมาจากสงั คมตะวันตก และ
ยังรบั วฒั นธรรมแบบตะวันตกอกี มากมาย ไดแก การแตงกาย ดนตรี สถาปตยกรรม และสิ่งประดิษฐ
ตา ง ๆ เปน ตน

เหตผุ ลความจาํ เปนในการอนุรักษส ืบสานวัฒนธรรม
วฒั นธรรม เปน เครื่องวัด เครื่องกาํ หนดความเจริญ หรือความเสื่อมของสังคม ในทํานอง
เดยี วกนั วัฒนธรรม ยังกําหนดชวี ิตความเปน อยขู องประชาชนในสังคม ดังน้ัน วัฒนธรรมจึงมีอิทธิพล
ตอความเปนอยู และความเจรญิ กา วหนาของชาตมิ าก
ความสําคัญของวัฒนธรรม มอี ยูหลายประการ คือ
1. วัฒนธรรม ชวยแกปญหา และสนองความตองการตาง ๆ ของมนุษย มนุษยพนจาก
อนั ตราย สามารถเอาชนะธรรมชาตไิ ด เพราะมนษุ ยส รางวัฒนธรรมขึ้นมาชวย
2. วฒั นธรรม ชวยเหนี่ยวรัง้ สมาชิกในสงั คม ใหมคี วามเปน หนงึ่ อนั เดยี วกนั และสังคมที่มี
วัฒนธรรมเดียวกนั ยอ มจะมีความรูสกึ ผกู พนั เปน พวกเดยี วกนั
3. วัฒนธรรม เปน เคร่อื งแสดงเอกลักษณของชาติ ชาตทิ ่ีมวี ัฒนธรรมสงู ยอมไดรับการยกยอง
และเปน หลกั ประกนั ความมน่ั คงของชาติ
4. วัฒนธรรม เปน เครอื่ งกําหนดพฤติกรรมของคนในสังคม ชวยใหผูคนอยูรวมกันอยาง
สนั ติสุข
5. วัฒนธรรม ชวยใหประเทศชาติมีความรุงเรืองถาวร โดยเฉพาะอยางยิ่ง หากชาตินั้น
มวี ฒั นธรรมที่ดี มที ศั นคติ ในการดําเนนิ ชวี ติ ทเี่ หมาะสม ยดึ มั่นในหลักขยัน ประหยัด อดทน ความมี
ระเบียบวนิ ัยทดี่ ีงาม สงั คมนนั้ จะมคี วามเจรญิ รงุ เรือง
6. วัฒนธรรม ประเพณี เปนส่ิงที่นาสนใจ มผี ลตออุตสาหกรรมการทอ งเทย่ี วมาก ปจ จุบัน
อุตสาหกรรมนี้ เปนจดุ ดงึ ดูดนักทอ งเทีย่ ว สงผลใหภ าวะเศรษฐกจิ ดขี ึน้

84

เรอ่ื งท่ี 3 แนวทางการอนรุ ักษ
และการสืบสานวฒั นธรรม ประเพณี

แนวทางการอนุรกั ษและสบื สานวัฒนธรรม ประเพณี

1. การอนุรักษวัฒนธรรมและประเพณี ควรเร่ิมตนจากการปลูกจิตสํานึกใหเยาวชนและ
ประชาชนทุกคน ตระหนักถึงคุณคา และความสําคัญของวัฒนธรรมที่ถือ เปนหนาท่ีของทุกคนที่
ชว ยกนั อนรุ ักษ โดยการศกึ ษาวฒั นธรรมใหเ ขาใจ จะไดช ว ยกันรวมมอื รักษา

2. รวมกันเผยแพรวัฒนธรรมและประเพณี โดยการศึกษาเรียนรูและสืบทอดวัฒนธรรม
ประเพณขี องชาตติ นเอง ตัวอยา ง คอื การเรียนรูดนตรี การเลนดนตรี การศึกษาเพลงฟงเพลง และ
รองเพลงประจาํ ชาติ ประจาํ ทองถิน่ เปน ตน

3. เริ่มตนจากครอบครัวโดยรวมมือกันในครอบครัว ชุมชน สังคม จัดต้ังชมรมสมาคม
สถาบนั เพอ่ื จดั กิจกรรมอนรุ กั ษส บื ทอดวัฒนธรรม ประเพณใี นทอ งถ่นิ และชาติ

4. สื่อตาง ๆ ในสงั คมเหน็ ความสําคญั ท่จี ะศึกษาและถา ยทอดวฒั นธรรมเปนประจาํ สมาํ่ เสมอ
5. ทุกคนตองรวมมือกันหวงแหน รักษา วัฒนธรรมอันดีงาม ใหคงอยูมิใหแปรเปล่ียน เชน
ประเพณีสงกรานต ตอ งรวมมือกนั ทํากจิ กรรมอันดีงาม คือ สรงนํ้าพระ รดน้ําขอพรผูสูงอายุ ไมควร
สาดนาํ้ ใสกันแบบไมสุภาพเรยี บรอย และรุนแรง
6. การรวมมือรักษา และถายทอดภูมิปญญา ใหไปสูสังคมและรุนบุตรหลาน ภูมิปญญา
หมายถึง ความรู ความสามารถ ความคดิ ความเชอื่ ท่กี ลุมคนเรียนรจู ากประสบการณ สั่งสมไว ในการ
ดาํ รงชพี มกี ารพัฒนาเปลย่ี นแปลง สืบทอดกันมา มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรกู บั กลุม คนอน่ื ทมี่ กี ารตดิ ตอ
สัมพนั ธกัน แลวนํามาปรบั ใชใ หเปน ประโยชนส าํ หรบั ตนเอง ตวั อยา งภมู ิปญ ญา การปลูกพชื พนั ธุพน้ื เมอื ง
การทาํ นา้ํ ปลา การปน ปูน เปน ตน
7. หาแนวทางการอนรุ กั ษ และสืบสานวฒั นธรรมของชุมชน และของประเทศตาง ๆ ในทวปี เอเชยี
รว มกนั ทั้งหนว ยงาน ท้งั ภาครฐั และเอกชน ที่ทําหนาที่สงเสริมสนับสนุน การแลกเปล่ียนวัฒนธรรม
ระหวา งชุมชน และประเทศตา ง ๆ ตัวอยางคือ เรามกี ารแลกเปล่ียนวัฒนธรรม แสดงการละเลนของ
ประเทศตา ง ๆ ทหี่ อประชมุ วัฒนธรรมแหงชาติ
โดยเฉพาะอยา งย่ิงปจจบุ นั วัฒนธรรม ประเพณีของเอเชีย เปนท่ีดึงดูดนักทองเที่ยวจากท่ัวโลก
ท่นี ิยมศึกษาทอ งเทยี่ ว เพราะมีเร่ืองราวทางวฒั นธรรมท่ีนาสนใจ นาศึกษาเรียนรู นักทองเที่ยวสนใจ
วัฒนธรรม ประเพณีตาง ๆ ในประเทศเอเชียท่ีนาสนใจแตกตางกันไป ตัวอยาง เชน นาฏศิลปไทย
อินเดีย ญี่ปุน อินโดนีเซีย และทุกประเทศตางอนุรักษสืบสานวัฒนธรรมของตนเอง โดยมีหลักสูตร
สอนในโรงเรียนสถานศึกษาตาง ๆ เพื่อใหวัฒนธรรมคงอยูซึ่งสงผลตอเอกลักษณของชาติตนเองเปน

85

ความภาคภูมิใจและที่สําคัญ คือ ทําใหอุตสาหกรรมการทองเที่ยวเจริญเติบโต มีเงินตราไหลเขา สู
ประเทศไดเ ปนอยางดี

เรื่องท่ี 4 คานยิ มทีพ่ ึงประสงค

คานิยมที่ดีงามของชาตติ า ง ๆ ในเอเชีย

คานยิ มทคี่ วรสงเสริมพัฒนาใหเกิดขนึ้ ในประเทศตาง ๆ ในเอเชีย คือ
1. ความสุภาพออ นโยนเปน นสิ ัยที่ดขี องประชาชนในทวีปเอเชยี
2. ความสามารถในการสรางสรรควัฒนธรรมดานศิลปะสาขาตาง ๆ ซึ่งมีความสวยงาม
มสี ุนทรียะ คงความเปนวัฒนธรรมเอเชยี ไวอยา งโดดเดน
3. ความสะอาด ความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง เพื่อใหเปนแหลง ทองเท่ียวที่มี
คณุ คา
4. ความซ่อื สัตย ความขยันในการประกอบอาชพี และตรงตอเวลา

86

คานิยมสําคัญท่ีกลาวมานี้ลวน เปนพื้นฐานใหความเปนชาติม่ันคง และคงเอกลักษณ
วัฒนธรรม ประเพณีที่สงผลใหเอเชีย ยังคงเปนแรงดึงดูดใจที่มีเสนหในการเรียนรู ศิลปวัฒนธรรม
ประเพณี และอุตสาหกรรมการทอ งเที่ยวสืบตอไปนานเทานาน

คา นิยมในสังคมไทย

คานิยม คือ ส่ิงที่กลุมสังคมหนึ่ง ๆ เห็นวาเปนสิ่งที่นานิยม นากระทํา นายกยอง เปนส่ิงที่
ถกู ตอ งดงี าม เหมาะสมท่จี ะยดึ ถอื พงึ ปฏบิ ัตริ วมกันในสังคม

คา นิยม เปนสวนหน่งึ ของวัฒนธรรม เนอื่ งจากมีการเรียนรู ปลูกฝง และถายทอด จากสมาชิก
รุนหนึ่งไปสูอีกรุนหนึ่ง สังคมแตละสังคม จึงมีคานิยมตางกันไป คานิยม ชวยใหการดําเนินชีวิตใน
สงั คมมีความสอดคลองสมั พนั ธก ัน และทาํ ใหการดาํ เนินชีวติ ของสมาชิก มีเปาหมาย ชวยสรางความ
เปน ปก แผนใหแ กสังคม อยางไรก็ดี คานิยม เปนสิ่งที่มีการเปล่ียนแปลงได ในปจจุบันนี้สังคมไทย มี
คา นยิ มใหม ๆ เกิดขน้ึ มาก เชน คา นิยมในการอนุรกั ษท รพั ยากรธรรมชาติ คานยิ มในการนาํ เทคโนโลยี
ใหม ๆ มาใชใ นชวี ิตประจําวัน เปน ตน

คานิยมทค่ี วรปลกู ฝง ในสังคมไทย ไดแ ก
1) การรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ 
2) ความเอ้อื เฟอ เผื่อแผ
3) ความกตัญูกตเวที
4) ความซือ่ สตั ยส จุ ริต
5) การเคารพผูอ าวุโส
6) การนยิ มใชของไทย
7) การประหยัด

87

กจิ กรรมท่ี 9
1. ใหผูเรียนแบงกลุมกัน 5 - 6 คน คนควาวัฒนธรรม ประเพณีทองถ่ินในประเทศไทย

แตละภาค พรอ มแนวทางการอนรุ ักษวฒั นธรรม ประเพณีนั้น ๆ แลวนํามาแลกเปลี่ยน
เรยี นรูดวยการนาํ เสนอ แลว ใหผ เู รียนชวยกันใหขอ คดิ เหน็ เพ่ิมเตมิ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ใหผเู รียนแบง กลมุ กนั 5 - 6 คน คนควาวัฒนธรรม ประเพณีที่สําคัญของประเทศตาง ๆ
ในเอเชีย พรอ มท้ังแนวทางอนุรักษวัฒนธรรม ประเพณีของประเทศนั้น ๆ แลวนํามา
แลกเปลีย่ นเรียนรดู วยการนําเสนอ แลว ใหผเู รียนชวยกนั ใหข อ คดิ เห็นเพิ่มเตมิ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ใหผูเรียนอภิปรายปญหาคานิยมของประเทศ และชุมชน พรอมท้ังใหขอเสนอแนะ
วิธีการสรางเสริมคานิยม ความซื่อสัตย ความสามัคคี ใหเกิดขึ้นในชุมชนและสังคมได
อยางไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

88

บทที่ 3

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย

฀ สาระสาํ คญั

ประเทศไทย มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข
มรี ัฐธรรมนญู ซงึ่ เปน กฎหมายสงู สดุ ในการปกครองประเทศ ท่ีประชาชนชาวไทย ควรมีความรู ความ
เขาใจเก่ียวกับความเปนมา หลักการ เจตนารมณ โครงสราง และสาระสําคัญของรัฐธรรมนูญแหง
ราชอาณาจักรไทย ตลอดจนการศึกษาจุดเดนของรัฐธรรมนูญในสวนที่เกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพ และ
หนาทข่ี องประชาชน เพอื่ การปฏิบตั ติ นไดอยา งถูกตอ ง ตามท่ีรัฐธรรมนญู กําหนด

฀ ผลการเรยี นรูท ่ีคาดหวัง

1. อธิบายความเปนมา หลักการ และเจตนารมณ ของรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทยได
2. มคี วามรู ความเขา ใจ โครงสราง และบอกสาระสาํ คญั ของรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย
3. อธิบายจุดเดน ของรัฐธรรมนญู ท่ีเกีย่ วกบั สิทธิ เสรีภาพ หนาทข่ี องประชาชนได

฀ ขอบขา ยเนอ้ื หา

เร่อื งที่ 1 ความเปน มา หลักการ และเจตนารมณ ของรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย
เรื่องท่ี 2 โครงสรา ง และสาระสาํ คัญ ของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย
เร่อื งท่ี 3 จุดเดนของรัฐธรรมนญู ท่เี ก่ียวกบั สทิ ธิ เสรีภาพ และหนา ที่ของประชาชน

฀ ส่ือการเรยี นรู

1. คอมพิวเตอร อินเทอรเ นต็
2. รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2550
3. บทความตา ง ๆ
4. หนงั สอื พมิ พ

89

เร่อื งท่ี 1 ความเปน มาหลกั การและเจตนารมณ
ของรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย

1.1 ความเปนมาของรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย

รฐั ธรรมนูญ (Constitution) หมายถึง กฎหมายสูงสุดในการจัดการปกครองรัฐ ถาแปลความ
ตามคาํ จะหมายถึง การปกครองรฐั อยางถกู ตองเปนธรรม (รัฐ + ธรรม + มนญู )

ในความหมายอยางแคบ “รัฐธรรมนูญ” ตอ งมีลักษณะเปนลายลกั ษณอ ักษร และไมใ ชส ิ่งเดียวกับ
กฎหมายรฐั ธรรมนญู (Constitutional Low) “เพราะกฎหมายรัฐธรรมนูญ” มีความหมายกวางกวา
และจะเปน รูปแบบลายลักษณอกั ษร หรือจารตี ประเพณีกไ็ ด

สหรัฐอเมริกาและฝรั่งเศสเปนประเทศแรก ๆ ท่ีรางรัฐธรรมนูญข้ึนมาในภาษาของประเทศ
ท้ังสองคําวา รัฐธรรมนูญ ตางใชคําวา (Constitution) ซ่ึงแปลวา การสถาปนา หรือ การจัดตั้ง ซึ่ง
หมายถงึ การสถาปนา หรือการจัดตั้งรัฐ น่ันเอง โดยท้ังสองประเทศมีรัฐธรรมนูญท่ีเปนลายลักษณอักษร
แตประเทศอังกฤษ ไมมีรัฐธรรมนูญท่ีเปนลายลักษณอักษร มีแตจารีตประเพณี หรือ “ธรรมเนียม
ทางการปกครอง” ที่กระจายอยูตามกฎหมายคาํ พิพากษาตาง ๆ รวมทั้ง ธรรมเนียมปฏิบัติที่สืบทอดกันมา
จนกลายเปนจารตี ประเพณี ซ่งึ ถือเปนกฎหมายรัฐธรรมนูญท่ีสืบทอดมาจากประวัติศาสตรของชาติ
น่ันเอง
(ท่มี า http://www.sale2thai.com/constiution.htm 13 #<เมือ่ วันท่ี 11 กมภาพนั ธ 2552>)

หลวงประดิษฐมนูธรรม (ดร.ปรดี ี พนมยงค) ไดอธิบายวา “กฎหมายธรรมนูญการปกครอง
แผน ดิน เปน กฎหมายทบ่ี ัญญัตถิ งึ ระเบียบแหง อํานาจสูงสุดในแผน ดนิ ทงั้ หลาย และวิธีการดาํ เนินการ
ทั่วไปแหงอาํ นาจสูงสดุ ในประเทศ”

ศาสตราจารยห ยุด แสงอทุ ยั ทานอธบิ ายวา หมายถงึ “กฎหมายทก่ี าํ หนดระเบียบแหง อาํ นาจ
สูงสุดในรฐั และความสัมพนั ธระหวา งอาํ นาจเหลา นต้ี อ กันและกัน”
(ท่ีมาhttp://e-learning.mfu.ac.th/mflu/1604101/chapter1/Lesson1.htm#13 <เม่ือวันท่ี 11
กมุ ภาพันธ 2552>)

ประเทศไทย เร่ิมใชรัฐธรรมนญู เปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ เมื่อเกิดการ
ปฏิวัติโดยคณะราษฎร เพื่อเปล่ียนแปลงการปกครองประเทศ จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย
มาเปนระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนพระประมุข ที่ทรงอยูใตรัฐธรรมนูญ เม่ือ
วันท่ี 24 มิถุนายน 2475 ในรชั สมัยพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา เจา อยหู ัว รัชกาลที่ 7 แหงราชวงศจกั รี

90

หลงั การเปลยี่ นแปลงการปกครองพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงพระราชทาน
รัฐธรรมนูญใหแ กปวงชนชาวไทย ตามท่ีคณะราษฎรไดน าํ ขึ้นทูลเกลาฯ ถวายใหทรงลงพระปรมาภิไธย
นอกจากน้ี พระองคก็ทรงมีพระราชประสงคมาแตเดิมแลววา จะพระราชทานรัฐธรรมนูญใหเปน
กฎหมายสงู สุดในการปกครองประเทศแกป ระชาชนอยูแลว จึงสอดคลองกับแผนการของคณะราษฎร
ประกอบกบั พระองค ทรงเห็นแกความสงบเรียบรอยของบานเมือง และความสุขของประชาชนเปน
สําคญั ยิง่ กวาการดํารงไวซ งึ่ พระราชอํานาจของพระองค

รฐั ธรรมนูญทคี่ ณะราษฎรไดนําข้ึนทลู เกลาฯ ถวายเพ่ือทรงลงพระปรมาภิไธยมี 2 ฉบับ คือ
พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผนดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475 และรัฐธรรมนูญแหง
ราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475

กองกาํ ลังของคณะราษฎรถา ย ณ บริเวณหนา วงั ปารสุ กวัน

ตอมา เม่ือเกิดความขัดแยงระหวางพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวกับคณะราษฎร
จนกระทั่ง พระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจาอยหู วั ไดตัดสนิ พระทัยสละราชสมบตั ิ เมื่อวันท่ี 2 มีนาคม
พ.ศ. 2477 โดยทรงมพี ระราชหัตถเลขาสละราชสมบัตคิ วามละเอยี ด ดังนี้

91

(สําเนาพระราชหตั ถเลขาสละราชสมบตั )ิ

ปปร
บา นโนล
แครนลี ประเทศอังกฤษ

เมื่อ พระยาพหลพลพยุหเสนา กับพวก ไดทําการยึดอํานาจการปกครองโดยใช
กําลังทหาร ในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 แลว ไดมีหนังสือมาอัญเชิญขาพเจา ให
ดํารงอยูใตตําแหนง พระมหากษัตริยภายใตรัฐธรรมนูญ ขาพเจาไดรับคําเชิญดังน้ัน
เพราะเขาใจวา พระยาพหลฯ และพวก จะสถาปนารัฐธรรมนูญตามแบบอยางประเทศ
ทั้งหลาย ซึ่งใชการปกครองตามหลักน้ัน เพ่ือใหประชาราษฎรไดมีสิทธิที่จะออกเสียงใน
วธิ ีดําเนนิ การปกครองประเทศ และนโยบายตาง ๆ อันเปนผลไดเสียแกประชาชนท่ัวไป
ขาพเจามีความเล่ือมใสในวิธีการเชนนั้นอยูแลว และกําลังดําริ จะจัดการเปลี่ยนแปลง
การปกครองของประเทศสยามใหเ ปนไปตามรปู แบบนั้น โดยมิไดมีการกระทบกระเทือน
อันรา ยแรง เมื่อมามีเหตุรุนแรงข้ึนเสียแลว และเม่ือมีผูกอการรุนแรงนั้น อางวามีความ
ประสงคจ ะสถาปนารฐั ธรรมนญู ขน้ึ เทา นั้น ก็เปนไมผ ิดกับหลักการทข่ี าพเจามีความประสงค
อยเู หมอื นกนั

ขาพเจา จึงเห็นสมควรโนมตามความประสงคของผกู อ การยึดอาํ นาจนัน้ ได เพื่อหวงั
ความสงบราบคาบในประเทศ ขา พเจาไดพยายามชวยเหลือ ในการท่ีจะรักษาความสงบ
ราบคาบ เพ่ือใหการเปล่ียนแปลงอันสําคัญน้ัน เปนไปโดยราบร่ืนท่ีสุด ที่จะเปนไดแต
ความพยายามของขา พเจาไรผ ล โดยเหตุท่ผี กู อการเปล่ียนแปลงการปกครอง ไดกระทําให
บังเกิดมีความเสรีภาพในบานเมืองอยางบริบูรณข้ึนไม และมิไดฟงความคิดเห็นของ
ราษฎรโดยแทจริง และจากรัฐธรรมนูญท้ัง 2 ฉบับ จะพึงเห็นไดวาอํานาจท่ีจะดําเนิน
นโยบายตา ง ๆ นน้ั จะตกอยแู กค ณะผกู อการ และผทู สี่ นับสนนุ เปนพวกพองเทาน้ัน มิได
ตกอยแู กผ ูแ ทนซึง่ ราษฎรเปนผูเลือก เชน ในฉบับชั่วคราว แสดงใหเห็นวา ถาผูใดไมไดรับ
ความผิดชอบของผกู อการ จะไมใหเปน ผแู ทนราษฎรเลย ฉบบั ถาวรไดมีการเปล่ียนแปลง
ใหดีขึ้นตามคํารองขอของขาพเจา แตก็ยังใหมีสมาชิกซ่ึงตนเลือกเขากํากับอยูในสภา
ผูแ ทนราษฎรที่ 1 การทวี่ า ขาพเจาไดย นิ ยอมใหม สี มาชกิ 2 ประเภท ก็โดยหวังวา สมาชิก
ประเภทที่ 2 ซึ่งขา พเจา ต้ังน้นั จะเลือกจากบุคคลท่ีรอบรูการงาน และชํานาญในวิธีการ
ดําเนินการปกครองประเทศโดยท่ัว ๆ ไป ไมจํากัดวาเปนพวกใด คณะใด เพ่ือจะได
ชว ยเหลือนาํ ทางใหแ กสมาชกิ ซงึ่ ราษฎรเลอื กตั้งขน้ึ มา แตครั้นเมือ่ ถึงเวลาท่จี ะต้ังสมาชิก
ประเภทท่ี 2 ข้นึ ขา พเจา หาไดม โี อกาสแนะนําในการเลือกเลย และคณะรัฐบาลก็เลือกเอา
แตเฉพาะผูท่ีเปนพวกของตนเกือบท้ังนั้น มิไดคํานึงถึงความชํานาญ นอกจากนี้


Click to View FlipBook Version