The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 สำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 สำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี

คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 สำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี

Keywords: ปฐมวัยต่ำกว่า3ปี

คูมือหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั

พุทธศกั ราช ๒๕๖๐

สําหรับเด็กอายตุ าํ่ กวา ๓ ป

สาํ นักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา
สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ

คู่มอื

หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐

สำ�หรบั เด็กอายตุ าํ่ กวา่ ๓ ปี

สำ�นกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา
ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คมู่ ือหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเดก็ อายุต่าํ กว่า ๓ ปี

ISBN 978-616-395-932-4
จัดพมิ พ์โดย สำ�นกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา
สำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
พมิ พ์คร้งั ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๖๑
จ�ำ นวนพมิ พ์ ๕,๐๐๐ เลม่

พิมพ์ที่ โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จำ�กัด
๗๙ ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร กรงุ เทพมหานคร ๑๐๙๐๐
โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑
นายโชคดี ออสวุ รรณ ผูพ้ มิ พผ์ โู้ ฆษณา

คำ�นำ�

กระทรวงศึกษาธิการ ได้มีคำ�ส่ังกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. ๑๒๒๓/๒๕๖๐
ลงวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ เร่ือง ให้ใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐
ตง้ั แตป่ ีการศึกษา ๒๕๖๑ เปน็ ต้นไป ดงั น้นั เพื่อใหส้ ถานศกึ ษาหรอื สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั
ทุกสงั กดั สามารถน�ำ หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์
และมีประสิทธิภาพ สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจึงจัดทำ�คู่มือหลักสูตร
การศกึ ษาปฐมวยั ขนึ้ จำ�นวน ๒ เลม่ คอื คู่มือหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐
สำ�หรับเด็กอายุต่ํากว่า ๓ ปี และคู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐
ส�ำ หรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ปี
คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ฉบับนี้ เป็นคู่มือหลักสูตร
การศึกษาปฐมวัย สำ�หรับเด็กอายุต่ํากว่า ๓ ปี แบ่งออกเป็น ๒ ช่วงอายุ คือ ช่วงอายุ
แรกเกิด - ๒ ปี เป็นแนวปฏิบตั ิการอบรมเล้ียงดตู ามวิถชี วี ิตประจำ�วนั โดยพ่อแมแ่ ละผ้เู ลยี้ งดู
และช่วงอายุ ๒ - ๓ ปี เป็นแนวปฏิบัติการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการและ
การเรียนรู้โดยพ่อแม่ ผู้เล้ียงดู และสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย สามารถใช้เป็นแนวทาง
ในการอบรมเลยี้ งดแู ละการพฒั นาเดก็ ใหบ้ รรลตุ ามจดุ หมายทก่ี �ำ หนดในหลกั สตู รการศกึ ษา
ปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐
สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิ
ผเู้ ชยี่ วชาญ ศกึ ษานเิ ทศก์ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ผสู้ อน นกั วชิ าการศกึ ษา รวมทงั้ มหาวทิ ยาลยั
มหาวิทยาลัยราชภัฏ ตลอดจนภาคเอกชน ท่ีให้ความร่วมมืออย่างดีย่ิง ทำ�ให้เอกสาร
คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเด็กอายุตํ่ากว่า ๓ ปี ฉบับนี้
สำ�เร็จลุล่วงไปด้วยดี หวังว่าคู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรับ
เด็กอายุตํ่ากว่า ๓ ปี ฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์สำ�หรับพ่อแม่ ผู้เล้ียงดู และสถานพัฒนา
เด็กปฐมวัย ในการอบรมเลี้ยงดแู ละพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ให้มพี ัฒนาการดา้ นรา่ งกาย อารมณ์
จิตใจ สังคม และสติปัญญา ท่ีเหมาะสมกับวัย ความสามารถ ความสนใจ และ
ความแตกต่างระหว่างบุคคล เป็นคนดี มีวินัย สามารถดำ�รงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่าง
มีความสุขตอ่ ไป

(นายบญุ รกั ษ์ ยอดเพชร)
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน



สารบัญ หน้า

ค�ำ น�ำ ๔
ความน�ำ ๑๓
ตอนท่ี ๑ ความรพู้ ื้นฐานเก่ียวกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐
๓๖
บทท่ี ๑ แนวคิดของหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ ๕๕
บทที่ ๒ สาระส�ำ คญั ของหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ๙๗
สำ�หรับเดก็ อายตุ ํ่ากว่า ๓ ปี ๑๐๘
๑๒๕
ตอนท่ี ๒ การน�ำ หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ สูก่ ารปฏบิ ตั ิ ๑๓๗
๑๔๙
บทท่ี ๓ การใชห้ ลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐
ส�ำ หรบั เด็กอายตุ ่าํ กว่า ๓ ป ี ๑๕๔
บทที่ ๔ การอบรมเลีย้ งดแู ละการพฒั นาเดก็ ๑๖๑
บทท่ี ๕ การจัดสภาพแวดลอ้ ม สอื่ และแหล่งเรียนร ู้ ๑๗๑
บทท่ี ๖ การประเมนิ พัฒนาการเดก็
บทที่ ๗ ปัญหาที่พบบ่อยและแนวทางการแก้ไข
บทท่ี ๘ การชว่ ยเหลอื ระยะแรกเรมิ่ ส�ำ หรับกลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะ
บทที่ ๙ การเชอ่ื มต่อการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั

บรรณานุกรม

ภาคผนวก

คณะผจู้ ัดทำ�



ความนำ�

คู่มอื หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เด็กอายตุ ํา่ กวา่ ๓ ปี ฉบบั นจ้ี ดั ทำ�ขึน้ ส�ำ หรบั
ผู้ท่ีมีหน้าที่รับผิดชอบการอบรมเลี้ยงดูและพัฒนาเด็กอายุต่ํากว่า ๓ ปี ท้ังในครอบครัว (พ่อแม่ ผู้ปกครอง)
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และผู้เล้ียงดู ได้มีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาเด็ก สามารถนำ�ปรัชญาการศึกษาปฐมวัย
และหลักการของหลักสูตรลงสู่การปฏิบัติ บรรลุผลตามจุดหมายของหลักสูตรที่ต้องการให้เด็กอายุต่ํากว่า ๓ ปี
ไดพ้ ัฒนาทุกดา้ นอยา่ งสมดุล ทง้ั ดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสตปิ ญั ญา
เด็กในช่วงอายุต่ํากว่า ๓ ปี ถือเป็นวัยรากฐานของชีวิตเพราะร่างกายและสมองของเด็กเจริญเติบโต
อย่างรวดเร็ว เด็กต้องการความรัก ความเอาใจใส่และการดูแลอย่างใกล้ชิด เด็กวัยนี้มีโอกาสเรียนรู้จากการใช้
ประสาทสมั ผสั ทง้ั หา้ ไดส้ �ำ รวจสงิ่ รอบตวั ผา่ นการเลน่ คน้ ควา้ คน้ พบดว้ ยตนเอง ไดม้ โี อกาสคดิ แกป้ ญั หา เลอื ก ตดั สนิ ใจ
ใชภ้ าษาสื่อความหมาย คดิ ริเร่ิมสร้างสรรค์ และอยู่ร่วมกับผูอ้ ่ืนอย่างมีความสุข ผู้ท่ีรบั ผดิ ชอบจงึ มหี น้าทใ่ี นการอบรม
เล้ียงดูและพัฒนาให้เด็กได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ส่งเสริมให้เด็กรู้จักสังเกต สำ�รวจ สร้างความสัมพันธ์กับ
ผคู้ นและสิง่ รอบตัว ย่งิ เดก็ มคี วามสนใจ กระตือรือร้นในตนเอง ยิ่งทำ�ให้เดก็ เกิดการเรียนร้ไู ด้งา่ ย ผู้รบั ผดิ ชอบดแู ลเด็ก
จึงต้องส่งเสริมสนับสนุน ให้ความรัก ความเข้าใจ และความเอาใจใส่เด็กวัยน้ีเป็นพิเศษ เพราะจะเป็นพ้ืนฐานท่ีช่วย
ในการเตรยี มความพรอ้ มให้เด็กไดร้ บั ประสบการณ์พ้นื ฐานเพอื่ การเติบโตอย่างเตม็ ตามศกั ยภาพ
การนำ�หลักสูตรสู่การปฏิบัติของครอบครัวและสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย จึงมีความสำ�คัญอย่างย่ิงต่อ
การพัฒนาเด็ก และถือเป็นหน้าท่ีของบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องทุกฝ่ายจะต้องศึกษาและทำ�ความเข้าใจในเอกสาร
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และคู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรับ
เด็กอายุต่ํากว่า ๓ ปี เพื่อให้เกิดการนำ�สาระในหลักสูตรไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับบริบท
ท่เี ด็กอาศัยอยู่
เอกสารคมู่ อื หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เดก็ อายตุ าํ่ กว่า ๓ ปี ฉบบั นี้ แบ่งออก
เปน็ ๒ ตอน คอื
ตอนที่ ๑ ความรู้พื้นฐานเก่ียวกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ประกอบด้วย
แนวคิดของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และสาระสำ�คัญของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เด็กอายุต่ํากวา่ ๓ ปี
ตอนท่ี ๒ การนำ�หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ สู่การปฏิบัติ ประกอบด้วย การใช้
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเด็กอายุต่ํากว่า ๓ ปี การอบรมเลี้ยงดูและการพัฒนาเด็ก
การจัดสภาพแวดล้อม ส่ือ และแหล่งเรียนรู้ การประเมินพัฒนาการเด็ก ปัญหาท่ีพบบ่อยและแนวทางการแก้ไข
การช่วยเหลอื ระยะแรกเริม่ ส�ำ หรบั กล่มุ เปา้ หมายเฉพาะ และการเช่อื มตอ่ การพัฒนาเดก็ ปฐมวยั

คู่มอื หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เดก็ อายุตํา่ กว่า ๓ ปี 1



ตอนที่ ๑

ความร้พู ื้นฐานเก่ยี วกับหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย
พทุ ธศักราช ๒๕๖๐

การจัดการศึกษาปฐมวัยตามปรัชญาการศึกษาและวิสัยทัศน์ของ
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ บนพ้ืนฐานของความรู้ความเข้าใจ
ในแนวคิดและหลักการจัดการศึกษาปฐมวัยมีส่วนสำ�คัญย่ิงในการพัฒนาเด็ก
โดยองค์รวม ผา่ นการเล่นอยา่ งมคี วามหมาย และสมดุลครบทุกดา้ น ทั้งด้านรา่ งกาย
อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา นอกจากนี้ยังต้องสอดคล้องกับการทำ�งาน
ของสมอง การเสริมสร้างทักษะการคิดท่ีเป็นประโยชน์ต่อการดำ�เนินชีวิตในอนาคต
การอบรมเลี้ยงดูเด็กด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก รวมทั้งการให้การศึกษาท่ีมีคุณภาพ
ด้วยส่ือ เทคโนโลยี และสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมและเอ้ือต่อการเรียนรู้ เพ่ือช่วย
ใหเ้ ดก็ มพี ฒั นาการและเกดิ การเรยี นรตู้ ามจดุ หมายของหลกั สตู ร ดว้ ยวธิ กี ารประเมนิ
ตามสภาพจริงท่ีสะท้อนถึงพัฒนาการและการเรียนรู้ท่ีแท้จริงของเด็ก ซ่ึงครอบครัว
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และชุมชน ต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบในการพัฒนาเด็ก
ใหม้ คี ณุ ภาพ ภายใตบ้ รบิ ทของสงั คม วฒั นธรรม และความเปน็ ไทยกบั การอยรู่ ว่ มกนั
ในสงั คมพหุวฒั นธรรม

บทที่ ๑

แนวคดิ ของหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ จัดทำ�ขึ้นโดยยึดปรัชญาการศึกษา วิสัยทัศน์ หลักการ
บนพ้ืนฐานแนวคิดท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษาปฐมวัยสากล บนพ้ืนฐานของความเป็นไทย ครอบคลุมการอบรมเล้ียงดู
การพัฒนาเด็กโดยองค์รวม และการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้อย่างมีความสุข ตลอดจนเจตคติท่ีดีต่อการเรียนรู้
ที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อการพัฒนาเด็กปฐมวัยท่ีสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และ
การสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตให้แก่เด็ก และมุ่งเน้นการพัฒนาเด็กแต่ละคนให้เต็มตามศักยภาพ ด้วยความร่วมมือ
ของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ครอบครัว ชุมชน สังคม และทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย
สู่การสร้างคนไทยที่มีศักยภาพในอนาคต เพื่อเป็นกำ�ลังสำ�คัญในการพัฒนาประเทศไทยให้ก้าวหน้าอย่างยั่งยืน ทั้งน้ี
หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ พัฒนาข้ึนมาโดยอาศยั แนวคิด ดังนี้

๑. แนวคิดเก่ียวกับพัฒนาการเด็ก พัฒนาการเป็นการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นต่อเนื่องในตัวมนุษย์

เริ่มตั้งแต่ปฏิสนธิไปจนตลอดชีวิตทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ พัฒนาการของเด็กจะมีลำ�ดับข้ันตอนในลักษณะ
เดียวกันตามวัยของเด็ก แต่อัตราการเจริญเติบโตและระยะเวลาในการผ่านข้ันตอนต่างๆ ของเด็กแต่ละคนอาจ
แตกต่างกนั ได้ โดยในขั้นตอนแรกๆ จะเป็นพืน้ ฐานสำ�หรบั พฒั นาการขน้ั ต่อไป พฒั นาการประกอบดว้ ย ดา้ นร่างกาย
อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ซึ่งพัฒนาการแต่ละด้านมีความเก่ียวข้องและสัมพันธ์กัน รวมท้ังส่งผลกระทบ
ซ่ึงกนั และกัน
พฒั นาการแตล่ ะดา้ นมที ฤษฎเี ฉพาะอธบิ ายไว้ และสามารถน�ำ มาใชใ้ นการพฒั นาเดก็ ในแตล่ ะด้าน อาทิ
ทฤษฎีพัฒนาการด้านร่างกาย อธิบายว่า การเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก มีลักษณะต่อเน่ืองเป็นลำ�ดับขั้น
เด็กจะพัฒนาถึงข้ันใดจะต้องเกิดวุฒิภาวะของความสามารถข้ันนั้นก่อน ทฤษฎีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ และสังคม
ระบุว่า การอบรมเล้ียงดูในวัยเด็กส่งผลต่อบุคลิกภาพของเด็กเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ความรักและความอบอุ่นเป็น
พ้ืนฐานสำ�คัญของความเชื่อมั่นในตนเองของเด็ก ซ่ึงจะทำ�ให้เด็กมีความไว้วางใจในผู้อ่ืน เห็นคุณค่าของตนเอง
มีความเชื่อม่ันในความสามารถของตนเอง ทำ�งานร่วมกับผู้อ่ืนได้ดี เคารพผู้อ่ืน ซ่ึงเป็นพื้นฐานสำ�คัญของความเป็น
ประชาธปิ ไตย และทฤษฎพี ฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญาอธบิ ายวา่ เดก็ เกดิ มาพรอ้ มความสามารถในการเรยี นรู้ ซง่ึ จะพฒั นา
ข้นึ ตามอายุ ประสบการณ์ รวมท้ังคา่ นยิ มทางสงั คมและสิง่ แวดลอ้ มทเี่ ดก็ ไดร้ ับ

4 คู่มอื หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เด็กอายุตาํ่ กวา่ ๓ ปี

แนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการเด็กจึงเป็นเสมือนหน่ึงแนวทางให้พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูได้เข้าใจเด็ก
สามารถอบรมเลย้ี งดแู ละจดั ประสบการณ์ทเ่ี หมาะสมกบั วยั และความแตกต่างของแตล่ ะบคุ คล เพือ่ สง่ เสรมิ เฝ้าระวัง
และช่วยแก้ไขปญั หาใหเ้ ด็กได้พฒั นาจนบรรลุผลตามเป้าหมายท่ตี ้องการ และมพี ัฒนาการสมวยั

๒. แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กโดยองค์รวมและการปฏิบัติท่ีเหมาะสมกับพัฒนาการ

การพัฒนาเด็กโดยองคร์ วม เป็นการค�ำ นงึ ถึงความสมดุลและครอบคลมุ พฒั นาการของเดก็ ให้ครบทกุ ดา้ น ในการดูแล
พัฒนา และจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่เด็กต้องไม่เน้นท่ีด้านใดด้านหนึ่ง จนละเลยด้านอื่นๆ ซ่ึงในแต่ละด้าน
ของพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา มีองค์ประกอบต่างๆ ท่ีต้องการการส่งเสริม
ใหเ้ ดก็ เจรญิ เตบิ โต และมพี ฒั นาการสมวยั อยา่ งเปน็ ล�ำ ดบั ขน้ั ตอน ซง่ึ การปฏบิ ตั ทิ เี่ หมาะสมกบั พฒั นาการเปน็ แนวทาง
ท่ีสำ�คัญในการตัดสินใจท่ีจะปฏิบัติต่อเด็กด้วยความรู้ความเข้าใจที่ประกอบด้วย ความเหมาะสมกับวัยหรืออายุ
ของเด็ก ว่าพัฒนาการในช่วงวัยน้ันๆ ของเด็กเป็นอย่างไร ต้องการการส่งเสริมอย่างไร การมีความรู้ทางพัฒนาการ
ตามช่วงวัย จะทำ�ให้สามารถทำ�นายพัฒนาการในลำ�ดับต่อไปได้ และสามารถวางแผนการจัดประสบการณ์เพื่อ
สง่ เสรมิ พฒั นาการและช่วยเหลือเด็กไดอ้ ย่างเหมาะสม สำ�หรบั ความเหมาะสมกับเด็กแตล่ ะคน เปน็ การค�ำ นึงถงึ เด็ก
เป็นรายบุคคลที่มีความชอบ ความสนใจ ความสามารถ และความถนัดท่ีแตกต่างกัน โดยให้ความสำ�คัญกับ
ความแตกต่างระหว่างบุคคลของเด็ก เพ่ือการปฏิบัติต่อเด็กท่ีคำ�นึงถึงเด็กเป็นสำ�คัญ และความเหมาะสมกับบริบท
ทางสังคมและวัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู่ เป็นการคำ�นึงถึงบริบทท่ีแวดล้อมเด็ก เพื่อให้การเรียนรู้ของเด็กเกิดข้ึน
อย่างมีความหมายและมีความเก่ยี วขอ้ งกบั ตวั เด็ก ครอบครัว และชมุ ชนทเ่ี ดก็ อาศัยอยู่ ซ่ึงความร้คู วามเขา้ ใจดังกล่าว
สามารถใชใ้ นการจดั ท�ำ หลกั สตู รสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรทู้ มี่ คี วามหมาย การสรา้ งกลมุ่
การเรยี นรรู้ ว่ มกนั การประเมนิ พฒั นาการ และการสรา้ งความสมั พนั ธท์ ดี่ รี ะหวา่ งสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั กบั ผปู้ กครอง
และชมุ ชน โดยยึดหลกั การตัดสินใจในการปฏบิ ัติบนฐานความรู้ จากแนวคิด ทฤษฎี และองค์ความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการวจิ ยั

๓. แนวคดิ เกย่ี วกบั การจดั การเรยี นรทู้ สี่ อดคลอ้ งกบั การท�ำ งานของสมอง สมองของเดก็ เปน็ สมอง

ทสี่ ร้างสรรค์ และมีการเรียนรู้ที่เกดิ ขน้ึ สัมพันธ์กับอารมณ์ สมองเป็นอวัยวะท่ีสำ�คญั มากที่สดุ และมกี ารพัฒนาตั้งแต่
อยู่ในครรภม์ ารดา โดยในช่วงน้เี ซลล์สมองจะมกี ารพัฒนาเช่อื มตอ่ และท�ำ หน้าท่ีในการควบคมุ การทำ�งานพน้ื ฐานของ
รา่ งกาย ส�ำ หรบั ในชว่ งแรกเกดิ ถงึ อายุ ๓ ปี จะเปน็ ชว่ งทเี่ ซลลส์ มองเจรญิ เตบิ โตและขยายเครอื ขา่ ยใยสมองอยา่ งรวดเรว็
โดยปัจจัยในการพัฒนาของสมองประกอบด้วย พันธุกรรม โภชนาการ และส่ิงแวดล้อม สมองจะมีพัฒนาการ
ทสี่ �ำ คญั ในการควบคุมและมีผลตอ่ การเรียนรู้ ความคิด จินตนาการ ความฉลาด และพัฒนาการทกุ ดา้ น การพัฒนา
ของสมองท�ำ ใหเ้ ดก็ ปฐมวยั สามารถเรยี นรสู้ งิ่ ตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ กวา่ วยั ใด ส�ำ หรบั แนวคดิ การจดั การเรยี นรทู้ ส่ี อดคลอ้ ง
กบั การท�ำ งานของสมอง (Brain - based Learning) เปน็ การจดั กระบวนการเรยี นรทู้ ส่ี มั พนั ธแ์ ละสอดคลอ้ งกบั พฒั นาการ
ทางสมอง โครงสร้างและการทำ�งานของสมองท่ีมีการพัฒนาอย่างเป็นลำ�ดับข้ันตามช่วงวัย และมีความยืดหยุ่น
ทำ�ให้การพัฒนาสมองเกิดข้ึนได้ตลอดชีวิต การเชื่อมโยงต่อกันของเซลล์สมองที่เป็นเครือขา่ ยซับซ้อนและหนาแน่น
จะเกิดข้ึนก่อนอายุ ๕ ปี ซ่ึงเม่ือเซลล์สมองและจุดเช่ือมต่อเหล่าน้ีได้รับการกระตุ้นมากข้ึนเท่าใด ยิ่งทำ�ให้สมอง

คมู่ ือหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเด็กอายตุ า่ํ กว่า ๓ ปี 5

มคี วามสามารถในการเรยี นรอู้ ยา่ งรวดเรว็ และจดจ�ำ ไดม้ ากขนึ้ แตห่ ากไมไ่ ดร้ บั การกระตนุ้ จากประสบการณท์ เี่ ดก็ ไดร้ บั
อย่างหลากหลายจะไม่เกิดการเชื่อมต่อ โดยการกระตุ้นจุดเชื่อมต่อเหล่าน้ันเกิดจากการท่ีเด็กได้รับประสบการณ์ตรง
จากการลงมือทำ� ปฏิบัติด้วยตนเองผ่านการใช้ประสาทสัมผัสท้ังห้า เก่ียวข้องสัมพันธ์กับชีวิตประจำ�วัน การเรียนรู้
ท่ีสัมพันธ์กับพัฒนาการทางสมอง เป็นการเรียนรู้จากของจริงไปหาสัญลักษณ์ จากง่ายไปหายาก จากรูปธรรมไปสู่
นามธรรม โดยคำ�นึงถึงความสามารถตามวัยและพัฒนาการ อย่างไรก็ตาม เมื่อสมองเจริญเติบโตในช่วงวัยต่างๆ
และเริ่มมีความสามารถในการทำ�หน้าท่ีในช่วงเวลาที่ต่างกัน จะเห็นว่าการเรียนรู้และทักษะบางอย่างจะเกิดข้ึน
ไดด้ ที ี่สดุ ในชว่ งเวลาหนงึ่ ทเ่ี รยี กวา่ “หนา้ ต่างโอกาสของการเรยี นร”ู้ ซงึ่ เม่ือผ่านชว่ งเวลานน้ั ในแต่ละช่วงวยั ถ้าสมอง
ไม่ได้รับการกระตุ้นหรือได้รับประสบการณ์ที่เหมาะสม โอกาสท่ีจะฝึกอาจยากหรือทำ�ไม่ได้เลย ผู้ใหญ่ท่ีเลี้ยงดูเด็ก
เป็นคนส�ำ คัญทจี่ ะตอ้ งคอยสังเกต และใชโ้ อกาสนช้ี ่วยเด็กก้าวไปสคู่ วามสามารถเฉพาะด้านในแตล่ ะช่วงวัย
ส�ำ หรับช่วงปฐมวัยเป็นชว่ งโอกาสท่สี ำ�คัญในการพัฒนาทกั ษะสมอง หรอื EF (Executive Function)
ซ่ึงเป็นกระบวนการทางความคิดของสมองส่วนหน้า ทำ�หน้าท่ีเกี่ยวข้องกับการคิด ความรู้สึก และการกระทำ�
โดยสมองส่วนน้ีก�ำ ลังพัฒนามากที่สดุ เปน็ ช่วงของการพัฒนาความสามารถในการคิด การจัดระเบียบตนเอง ซึ่งสง่ ผล
ต่อการยับยั้งชั่งใจ การคิดไตร่ตรอง การควบคุมอารมณ์ การยืดหยุ่นทางความคิด การใส่ใจจดจ่อ การวางแผน
การต้ังเป้าหมาย ความมุ่งม่ัน การจดจำ� การเรียกใช้ข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดลำ�ดับความสำ�คัญของ
เร่ืองต่างๆ และการลงมือทำ�อย่างเป็นขั้นตอนจนสำ�เร็จ ทักษะสมอง (EF) จึงเป็นทักษะท่ีต้องได้รับการฝึกฝน
ในชวี ติ ประจ�ำ วนั ของเดก็ ผา่ นประสบการณต์ า่ งๆ หลากหลายทเี่ ปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ ไดค้ ดิ ลงมอื ท�ำ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความพรอ้ ม
และมีทักษะทส่ี ำ�คญั ต่อชีวติ ในอนาคต
นอกจากนี้ สมองยังเป็นอวัยวะสำ�คัญสำ�หรับการเรียนรู้ภาษาและการส่ือสาร การเรียนรู้ภาษาแม่
ของเด็กจะเกิดข้ึนอย่างเป็นธรรมชาติ จากการปฏิสัมพันธ์กับพ่อแม่และผู้เลี้ยงดูในชีวิตประจำ�วันและสถานการณ์
รอบตัว สมองมีตำ�แหน่งรับรู้ต่างๆ กัน ได้แก่ ส่วนรับภาพ ส่วนรับเสียง ส่วนรับสัมผัสและรับรู้การเคลื่อนไหว
สว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกาย สมองสว่ นตา่ งๆ เหลา่ นพี้ ฒั นาขน้ึ มาไดช้ า้ หรอื เรว็ ขนึ้ อยกู่ บั การกระตนุ้ ของสงิ่ แวดลอ้ มภายนอก
โดยสมองเด็กมีความจำ�ผ่านการฟัง ต้องการรับรู้ข้อมูลเสียงพร้อมเห็นภาพ เริ่มรู้จักเสียงท่ีเหมือนและแตกต่าง
และสามารถเรียนรู้จังหวะของคำ�ได้จากการฟังซํ้าๆ สมองของเด็กท่ีเข้าใจเก่ียวกับภาพ เสียง และสัมผัสแบบต่างๆ
มีความสำ�คัญมาก เพราะข้อมูลจากภาพ เสียง และสัมผัสเหล่าน้ีจะก่อรูปข้ึนเป็นเรื่องราวที่จะรับรู้และเข้าใจ
ซับซ้อนขึ้นเรื่อยๆ ได้ในที่สุด สมองส่วนหน้าน้ันมีหน้าที่คิด ตัดสินใจ เช่ือมโยงการรับรู้ไปสู่การกระทำ�ที่เป็น
ลำ�ดับข้ันตอน สมองเด็กท่ีสามารถเรียนรู้ภาษาได้ดีต้องอยู่ในส่ิงแวดล้อมของภาษาที่เรียนรู้อย่างเหมาะสม
จงึ จะเรียนรูไ้ ดด้ ี

๔. แนวคิดเก่ียวกับการเล่นและการเรียนรู้ของเด็ก การเล่นเป็นกิจกรรมการแสดงออกของเด็ก

อยา่ งอสิ ระตามความตอ้ งการและจนิ ตนาการสรา้ งสรรคข์ องตนเอง เปน็ การสะทอ้ นพฒั นาการและการเรยี นรขู้ องเดก็
ในชีวติ ประจ�ำ วัน จากการมปี ฏสิ ัมพนั ธ์กบั สิ่งต่างๆ บุคคล และส่ิงแวดล้อมรอบตัว การเลน่ ทำ�ให้เกิดความสนุกสนาน

6 ค่มู ือหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเดก็ อายุตา่ํ กว่า ๓ ปี

ผอ่ นคลาย และสง่ เสรมิ พฒั นาการทง้ั ดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ญั ญาของเดก็ การเลน่ ของเดก็ ปฐมวยั
จัดเป็นหัวใจสำ�คัญของการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กอายุต่ํากว่า ๓ ปี ซึ่งการเล่นอย่างมีจุดมุ่งหมายเป็นเคร่ืองมือ
ในการเรยี นรขู้ น้ั พน้ื ฐานทถ่ี อื ว่าเปน็ องคป์ ระกอบส�ำ คญั ในกระบวนการเรยี นรขู้ องเดก็ ขณะทเี่ ดก็ เลน่ จะเกดิ การเรยี นรู้
ไปพร้อมๆ กันด้วย จากการเล่นเด็กจะมีโอกาสเคล่ือนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย ได้ใช้ประสาทสัมผัสและการรับรู้
ผอ่ นคลายอารมณแ์ ละแสดงออกถึงตนเอง ไดเ้ รยี นร้คู วามรสู้ ึกของผูอ้ ื่น เดก็ จะรู้สกึ สนุกสนาน เพลดิ เพลิน ไดส้ งั เกต
มีโอกาสสำ�รวจ ทดลอง คิดสร้างสรรค์ คิดแก้ปัญหาและค้นพบด้วยตนเอง การเล่นช่วยให้เด็กเรียนรู้สิ่งแวดล้อม
บุคคลรอบตัว และส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ก้าวหน้า
ไปตามวยั อยา่ งเหมาะสมและสมดลุ
การเรยี นรขู้ องเดก็ ปฐมวยั เปน็ กระบวนการทมี่ คี วามตอ่ เนอื่ งตลอดเวลาจากการเลน่ และประสบการณต์ รง
ในวิถีชีวิตประจำ�วัน ผ่านการลงมือปฏิบัติ การใช้ประสาทสัมผัสในการสำ�รวจ และการปฏิสัมพันธ์กับบุคคล
และสิง่ ต่างๆ รอบตัวเพอ่ื ให้เกิดการสรา้ งองค์ความรดู้ ้วยตนเอง และการถา่ ยทอดจากผูท้ ่มี ปี ระสบการณแ์ ละมีความรู้
มากกว่า ท�ำ ใหเ้ กดิ การพฒั นาทกั ษะการคดิ และความคดิ สรา้ งสรรค์ พัฒนาภาษา ความร้คู วามเขา้ ใจในสงิ่ ต่างๆ รอบตวั
ทักษะพื้นฐานที่สำ�คัญและความสามารถในด้านต่างๆ ตลอดจนเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ของเด็ก รวมทั้งความรู้สึก
ทีด่ ตี ่อตนเอง บุคคล ส่ิงต่างๆ และสถานการณ์รอบตัว การเรียนรู้ควรยึดเดก็ เปน็ ส�ำ คญั โดยเปน็ กจิ กรรมทีเ่ ปิดโอกาส
ให้เด็กเลือกตามความสนใจ ลงมือกระทำ�ผ่านสื่ออุปกรณ์และของเล่นท่ีตอบสนองการเรียนรู้ เปิดกว้างและ
มีความยืดหยุ่น โดยการเรียนรู้ของเด็กส่วนใหญ่เป็นกิจกรรมท่ีเก่ียวกับการลองผิดลองถูก การได้สัมผัสกระทำ� และ
การกระท�ำ ซา้ํ ๆ ทม่ี คี วามส�ำ คญั ตอ่ พฒั นาการทง้ั ทางรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ญั ญา ซง่ึ เดก็ จะมคี วามสนใจ
อยากรูอ้ ยากเหน็ เกดิ การค้นพบและการแก้ปญั หา ความเขา้ ใจตนเองและผู้อื่น สำ�หรับการเรยี นรขู้ องเดก็ ปฐมวัยนัน้
เกิดจากการที่ผู้ใหญ่เป็นผู้สนับสนุนวิธีการการเรียนรู้และความพยายามของเด็กๆ ในการเรียนรู้ จากการกำ�หนด
จุดมุง่ หมาย รวมท้ังการสรา้ งความทา้ ทายและส่งเสรมิ เดก็ ๆ ในการขยายขดี ความสามารถของตน และให้ค�ำ แนะน�ำ
แกเ่ ด็กในการเรยี นรู้ที่ประสบความสำ�เรจ็ ในการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรูใ้ ห้แก่เดก็ สามารถใชใ้ นบรบิ ทของการเลน่
และกิจกรรมทีม่ ีโครงสร้าง ตลอดจนการจดั สภาพแวดลอ้ มท่ีเหมาะสมในการเรียนรู้

๕. แนวคิดเก่ียวกับการคำ�นึงถึงสิทธิเด็ก การสร้างคุณค่า และสุขภาวะให้แก่เด็กปฐมวัย
ทุกคน เด็กปฐมวัยควรได้รับการดูแลและพัฒนาอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกันทุกคน โดยมีสิทธิในการอยู่รอด

สิทธิได้รับการคุ้มครอง สิทธิในด้านพัฒนาการ และสิทธิการมีส่วนร่วมตามที่กฎหมายระบุไว้ เด็กแต่ละคนมีคุณค่า
ในตนเอง และควรสร้างคุณค่าและคุณภาพชีวิตให้เกิดกับเด็กจากการอบรมเล้ียงดู และการให้การศึกษาที่มีคุณภาพ
พร้อมกบั การส่งเสรมิ ดา้ นสขุ ภาวะทง้ั ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสตปิ ญั ญา จากการได้รบั โภชนาการทีด่ ี
การดูแลสุขภาพอนามัย การมีโอกาสพักผ่อน เล่น การปกป้องคุ้มครองจากการเจ็บป่วย และบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ
ตลอดจนการอยใู่ นสภาพแวดลอ้ มทสี่ ะอาด ปลอดภยั และถกู สขุ อนามยั ซง่ึ เดก็ ปฐมวยั ทเ่ี ปน็ เดก็ ทมี่ คี วามตอ้ งการพเิ ศษ
หรอื กลุ่มเป้าหมายเฉพาะควรได้รบั การดูแล ชว่ ยเหลือ และพฒั นาอย่างเหมาะสมเชน่ กัน

คู่มือหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เดก็ อายตุ ่าํ กวา่ ๓ ปี 7

๖. แนวคดิ เกย่ี วกบั การอบรมเลยี้ งดคู วบคกู่ ารพฒั นาเดก็ การจดั การศกึ ษาปฐมวยั ส�ำ หรบั เดก็ อายตุ า่ํ กวา่

๓ ปี มงุ่ พฒั นาเดก็ บนพนื้ ฐานของการอบรมเลยี้ งดคู วบคกู่ บั การพฒั นาเดก็ หรอื การสง่ เสรมิ กระบวนการเรยี นรทู้ สี่ นอง
ตอ่ ธรรมชาตแิ ละการพฒั นาเดก็ แตล่ ะคนตามวยั ครบทกุ ด้านของพฒั นาการ การอบรมเลยี้ งดเู ดก็ ปฐมวยั หมายรวมถงึ
การดแู ลเอาใจใสเ่ ดก็ ดว้ ยความรกั ความอบอนุ่ ความเออ้ื อาทร การดแู ลสขุ ภาพ โภชนาการ และความปลอดภยั และการ
อบรมกลอ่ มเกลาใหเ้ ดก็ มจี ติ ใจดี มปี ฏสิ มั พนั ธท์ ด่ี กี บั ผอู้ น่ื มกี ารด�ำ เนนิ ชวี ติ ทเี่ หมาะสมและมที กั ษะชวี ติ การมปี ฏสิ มั พนั ธ์
ท่ีดีต่อเด็ก การเป็นแบบอย่างท่ีดีให้แก่เด็ก และการปฏิบัติตนของผู้ใหญ่ที่ดูแลเด็ก ท่ีมุ่งตอบสนองความต้องการ
ท้ังด้านร่างกายและจิตใจของเด็ก โดยมุ่งให้เด็กมีร่างกายแข็งแรง มีสุขภาพดี อารมณ์แจ่มใส มีความประพฤติดี
มีวนิ ยั รจู้ กั ควบคมุ ตนเอง มคี วามสัมพนั ธท์ ี่ดกี บั ผู้อืน่ การอบรมเลย้ี งดทู ี่มีผลดตี อ่ พัฒนาการของเดก็ คือ การทผ่ี ใู้ หญ่
ที่แวดล้อมเด็กให้ความรัก ความอบอุ่น การยอมรับความคิดเห็นของเด็ก การใช้เหตุผลในการอบรมสั่งสอน ผู้ใหญ่
ที่ดูแลเด็กจะต้องเป็นผู้ท่ีมีความม่ันคงทางอารมณ์ และปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เด็ก ใช้การสร้างวินัยเชิงบวก
ในการอบรมบ่มนิสัย ซ่ึงจะช่วยให้เด็กเติบโตข้ึนเป็นผู้ท่ีมีความภาคภูมิใจในตนเอง มีเป้าหมายชีวิต มีวินัยในตนเอง
มีสัมพันธภาพท่ีดีต่อผู้อื่น สามารถจัดการกับความเครียดและปัญหาต่างๆ ได้ การอบรมเลี้ยงดูจึงเป็นแนวคิดสำ�คัญ
ทค่ี รอบครวั และสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยตอ้ งปฏิบัตอิ ย่างสอดคลอ้ งต่อเน่อื งกัน
สำ�หรับการพัฒนาเด็กในช่วงปฐมวัยน้ัน เป็นการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้โดยการจัดประสบการณ์
ที่หลากหลายผ่านกิจกรรมที่เหมาะสมตามวัย ให้เด็กเรียนรู้ด้วยวิธีการต่างๆ จากการลงมือปฏิบัติและการได้รับ
ประสบการณ์ตรง มีการกำ�หนดจุดมุ่งหมายและการวางแผนในการจัดประสบการณ์และกิจกรรมทั้งรายบุคคล
กลุ่มย่อย และกล่มุ ใหญ่ เพ่อื ใหเ้ ดก็ ไดร้ บั การพฒั นาอยา่ งเปน็ องคร์ วมทงั้ รา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม และสติปญั ญา
โดยคำ�นึงถึงเด็กเปน็ ส�ำ คญั และพัฒนาเดก็ แตล่ ะคนอย่างเตม็ ศักยภาพ

๗. แนวคิดเก่ียวกับการบูรณาการ เด็กปฐมวัยเป็นช่วงวัยท่ีเรียนรู้ผ่านการเล่นและการทำ�กิจกรรม

ที่เหมาะสมตามวัย การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่เด็กในวัยน้ี เป็นการวางแผนโดยบูรณาการท้ังวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ ศิลปะ ภาษา ดนตรี และการเคลื่อนไหว คุณธรรม จริยธรรม สุขภาพอนามัย และศาสตร์อ่ืนๆ
โดยไม่แบ่งเป็นรายวิชา แต่จะมีการผสมผสานความรู้ ทักษะกระบวนการ และเจตคติของแต่ละศาสตร์ในการจัด
ประสบการณ์ ซึ่งแตกต่างจากการเรียนรู้ในระดับชั้นอ่ืนๆ เป็นการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างเป็นธรรมชาติ
เหมาะสมตามวัยของเด็ก เพื่อพัฒนาเด็กท้ังร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา โดยการจัดประสบการณ์
การเรียนรู้บูรณาการผ่านสาระการเรียนรู้ที่ประกอบด้วย ประสบการณ์สำ�คัญด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม
และสติปัญญาและสาระท่ีควรเรียนรู้ ได้แก่ ตัวเด็ก บุคคลและสถานท่ีแวดล้อมเด็ก ธรรมชาติรอบตัว และสิ่งต่างๆ
รอบตัวเด็ก โดยออกแบบการจัดประสบการณ์และกิจกรรมท่ีทำ�ให้เกิดความหลากหลาย ภายใต้สาระการเรียนรู้ทั้ง
ประสบการณ์สำ�คัญและสาระที่ควรเรียนรู้ที่มีการเช่ือมโยงกับการพัฒนาคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของเด็ก และ
ความสอดคล้องกับปรัชญาการศึกษาของหลักสูตร โดยมีรูปแบบการจัดประสบการณ์ตามความเหมาะสมของแต่ละ
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ทั้งน้ี ประสบการณ์การเรียนรู้ของเด็กจะจัดขึ้นโดยคำ�นึงถึงธรรมชาติของเด็ก

8 คู่มอื หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เด็กอายุต่ํากวา่ ๓ ปี

ท่ีเรียนรู้ผ่านการเล่น การลงมือปฏิบัติ การสำ�รวจ การทดลอง การสร้างชิ้นงานที่สร้างสรรค์ และการเห็น
แบบอย่างท่ีดี การจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างหลากหลายจะช่วยตอบสนองต่อความแตกต่างระหว่าง
บุคคล ส่งเสริมความชอบ ความสนใจ และความถนัด ซ่ึงเป็นการเปิดโอกาสให้เด็กได้พัฒนาอย่างรอบด้าน
พฒั นาทักษะชีวติ และทกั ษะการเรยี นรทู้ สี่ อดคล้องกบั ธรรมชาติ และพฒั นาการตามวยั ของเด็กท่มี คี วามแตกต่างกัน
ไปในแต่ละบุคคล การจัดประสบการณ์การเรียนการสอนในระดับปฐมวัยยึดหลักการบูรณาการที่ว่า
หน่ึงแนวคิดเด็กสามารถเรียนรู้ได้หลายกิจกรรม หน่ึงกิจกรรมเด็กสามารถเรียนรู้ได้หลายทักษะและ
หลายประสบการณ์สำ�คัญ ดังนั้น เป็นหน้าที่ของผู้เล้ียงดูจะต้องวางแผนการจัดประสบการณ์ในแต่ละวันให้เด็ก
เรียนรู้ผ่านการเล่นท่ีหลากหลายกิจกรรม หลากหลายทักษะ หลากหลายประสบการณ์สำ�คัญอย่างเหมาะสม
กับวัยและพัฒนาการ เพ่ือให้บรรลุจุดหมายของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ท่ีกำ�หนดไว้
ในการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ ให้เด็กมีทักษะชวี ิต และสามารถปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
เปน็ คนดี มวี นิ ัย และมีความสุข

๘. แนวคดิ เกย่ี วกบั สอ่ื เทคโนโลยี และสภาพแวดลอ้ มทเี่ ออื้ ตอ่ การเรยี นรู้ การสรา้ งประสบการณ์

การพฒั นาความเขา้ ใจในแนวคดิ และความรเู้ กย่ี วกบั สง่ิ ต่างๆ นนั้ สามารถน�ำ สอื่ เทคโนโลยี และการจดั สภาพแวดลอ้ ม
ท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้มาสนับสนุนและเสริมสร้างการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยได้ โดยเป็นตัวกลางและเคร่ืองมือเพ่ือให้
เด็กเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ ส่ือสำ�หรับเด็กปฐมวัยนั้นสามารถเป็นบุคคล วัสดุอุปกรณ์ ของเล่น ตลอดจน
เทคนคิ วธิ กี าร ทก่ี �ำ หนดไวไ้ ดอ้ ยา่ งงา่ ยและรวดเรว็ ท�ำ ใหส้ ง่ิ ทเ่ี ปน็ นามธรรมเขา้ ใจยากกลายเปน็ รปู ธรรม เกดิ การเรยี นรู้
และค้นพบด้วยตนเอง การใช้ส่ือการเรียนรู้ต้องปลอดภัยต่อตัวเด็กและเหมาะสมกับวัย วุฒิภาวะ ความแตกต่าง
ระหวา่ งบุคคล ความสนใจ ความชอบ และความต้องการของเด็กท่หี ลากหลาย ควรมีสื่อท่เี ป็นสอ่ื ของจรงิ ส่อื ธรรมชาติ
ส่ือที่อยู่ใกล้ตัวเด็ก ส่ือสะท้อนวัฒนธรรม สื่อภูมิปัญญาท้องถ่ิน และสื่อเพ่ือพัฒนาเด็กในด้านต่างๆ ให้ครบทุกด้าน
ทงั้ นี้ สอื่ ตอ้ งเออื้ ใหเ้ ดก็ เรยี นรผู้ ่านประสาทสมั ผสั ทงั้ หา้ และสง่ เสรมิ การลงมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ ของเดก็ โดยการจดั สอื่ ส�ำ หรบั
เด็กปฐมวยั ต้องเริ่มต้นจากสอื่ ของจรงิ ของจำ�ลอง (๓ มิต)ิ ภาพถ่าย ภาพโครงร่าง (๒ มิติ) และสัญลักษณ์จากรปู ธรรม
ไปส่นู ามธรรมตามล�ำ ดบั
สำ�หรับเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทต่อการดำ�รงชีวิตเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง เพ่ือการตอบสนอง
ความตอ้ งการและการแกป้ ญั หาในชวี ติ ประจ�ำ วนั เทคโนโลยสี �ำ หรบั เดก็ ปฐมวยั สามารถเปน็ อปุ กรณ์ เครอื่ งมอื เครอื่ งใช้
ในชีวิตประจำ�วัน ของเล่นเด็ก และวิธีการใหม่ๆ ในการแก้ปัญหาในชีวิตประจำ�วัน การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
ต้องเป็นการเลือกใช้อย่างมีจุดมุ่งหมาย โดยเคร่ืองมือประเภทดิจิตอลและอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งเป็นส่ิงที่ไม่เหมาะสมต่อ
การใช้กับเด็กอายุต่ํากว่า ๓ ปี สำ�หรับเด็กอายุตั้งแต่ ๓ ปีขึ้นไปควรใช้กับเด็กอย่างมีจุดมุ่งหมาย และใช้เป็น
ส่อื ปฏสิ ัมพันธ์ จ�ำ กดั ชว่ งเวลาในการใช้ และมีขอ้ ตกลงในการใช้อยา่ งเหมาะสมกบั วยั โดยใช้เปน็ ทางเลือกไมบ่ งั คบั ใช้
และใชเ้ ทคโนโลยเี พือ่ เสริมสื่อหลัก

คู่มอื หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเดก็ อายุตํา่ กว่า ๓ ปี 9

ส่วนการจัดสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ เป็นการจัดเตรียมสภาพแวดล้อมท้ังทางกายภาพและ
ทางจติ ภาพ โดยเปน็ การจัดส่ือที่หลากหลายเพอ่ื เสรมิ สรา้ งประสบการณแ์ ละสนบั สนนุ การเรยี นรูข้ องเด็ก พรอ้ มด้วย
การจดั ตารางเวลาทเี่ หมาะสมในแตล่ ะวนั รวมทงั้ การสง่ เสรมิ บรรยากาศทดี่ สี �ำ หรบั การเรยี นรู้ โดยมงุ่ ใหผ้ ใู้ หญแ่ ละเดก็
มคี วามสมั พนั ธท์ ดี่ ตี อ่ กนั มกี ารจดั กจิ กรรมทสี่ ง่ เสรมิ เดก็ ทง้ั กลมุ่ ใหญ่ กลมุ่ ยอ่ ย และตอบสนองความตอ้ งการรายบคุ คล

๙. แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินตามสภาพจริง การประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัยเป็น

กระบวนการที่ต่อเนื่องและสอดคล้องสัมพันธ์กับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ รวมท้ังกิจกรรมประจำ�วัน โดยมี
จดุ มงุ่ หมายเพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มลู เกยี่ วกบั พฒั นาการและการเรยี นรขู้ องเดก็ ส�ำ หรบั การสง่ เสรมิ ความกา้ วหนา้ และชว่ ยเหลอื
สนับสนุนเม่ือพบเด็กล่าช้าหรือมีปัญหาท่ีเกิดจากพัฒนาการและการเรียนรู้ ไม่ใช่การตัดสินผลการศึกษาและไม่ใช้
แบบทดสอบในการประเมิน เป็นการประเมินตามสภาพจริงท่ีมีการวางแผนอยา่ งเป็นระบบ ใช้วิธีการและเคร่ืองมือ
ประเมนิ ท่หี ลากหลายอย่างมจี ุดมุง่ หมาย เหมาะสมกบั ศกั ยภาพในการเรียนรแู้ ละพัฒนาการตามวัยของเดก็ ตลอดจน
รูปแบบการเรียนรู้ ประสบการณ์ที่เด็กได้รับ และแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตัวเด็กที่มีการเก็บข้อมูลอย่างรอบด้าน
โดยใช้เร่ืองราวเหตุการณ์ กิจกรรมตามสภาพจริงหรือคล้ายจริงในชีวิตประจำ�วัน เพื่อให้เด็กมีโอกาสแสดงออกถึง
ความรู้ ความสามารถ และทักษะตา่ งๆ จากการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมหรือการสร้างงานท่ีเป็นผลผลิต เพื่อเปน็ การสะทอ้ น
ภาพที่แท้จริง มีการนำ�เสนอหลักฐานในการประเมินท่ีน่าเชื่อถือในรูปแบบที่เหมาะสม และสื่อสารผลการประเมิน
ให้แก่ครอบครัว รวมท้ังผู้เก่ียวข้องท่ีมีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็ก โดยสามารถบอกได้ว่าเด็กเกิดการเรียนรู้และ
มีความก้าวหน้าเพียงใด ข้อมูลจากการประเมินพัฒนาการจะช่วยผู้เล้ียงดูในการวางแผนการจัดกิจกรรมให้เห็น
ความต้องการพิเศษของเด็กแต่ละคน ใช้เป็นข้อมูลในการส่ือสารกับพ่อแม่ ผู้ปกครองเด็ก และขณะเดียวกันยังใช้
ในการประเมินคณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพการจัดการศึกษาให้กบั เดก็ ในวัยน้ไี ด้อกี ดว้ ย

๑๐. แนวคิดเก่ียวกับการมีส่วนร่วมของครอบครัว สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และชุมชน

การพัฒนาเด็กอย่างมีคุณภาพต้องอาศัยความร่วมมือของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับเด็ก การมีส่วนร่วมของครอบครัว
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และชุมชน เพ่ือพัฒนาเด็กร่วมกัน โดยการดูแลพัฒนาและการจัดการศึกษาให้แก่
เด็กปฐมวัยนั้น ต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจและการส่งเสริมสนับสนุนซึ่งกันและกันของทุกฝ่าย ซึ่งพ่อแม่
ผู้ปกครอง รวมทั้งบุคคลในครอบครัวเป็นผู้ท่ีอยู่ใกล้ชิดเด็กมากที่สุด และครอบครัวเป็นจุดเริ่มต้นในการเรียนรู้
ของเด็ก พ่อแม่เป็นครูคนแรกและเป็นครูท่ีจะอยู่กับเด็กไปตลอดชีวิต โดยสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยจะเป็นส่วนสำ�คัญ
ท่ีดูแลและพัฒนาเด็ก ซ่ึงไม่เพียงแต่การทำ�งานกับเด็กเท่าน้ัน แต่ยังต้องมีการทำ�งานกับครอบครัวและชุมชน
ท่ีมีรูปแบบต่างๆ เพื่อการพัฒนาเด็กร่วมกัน ทั้งในการจัดโปรแกรมการให้การศึกษาผู้ปกครอง และการจัด
อบรมผู้ปกครองในการดูแลและพัฒนาเด็ก การมีโปรแกรมในการช่วยเหลือครอบครัวและเด็กในด้านสุขภาพ
อนามัย โภชนาการ และการส่งเสริมพัฒนาการ รวมทั้งด้านอ่ืนๆ การเยี่ยมบ้านเด็กโดยเฉพาะช่วงรอยเชื่อมต่อ
ทางการศึกษาของเด็กในการเปล่ียนระดับช้ันหรือเข้าสู่สถานศึกษา การสื่อสารกับผู้ปกครองในช่องทางต่างๆ
ที่เหมาะสม การขออาสาสมัครจากผู้ปกครองท่ีมีความสามารถหลากหลาย มีเวลา หรือต้องการช่วยเหลือสนับสนุน

10 คมู่ ือหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เด็กอายุตํ่ากว่า ๓ ปี

ในการทำ�กิจกรรมต่างๆ เพ่ือการดูแลและพัฒนาเด็กของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย การสนับสนุนการเรียนรู้ของเด็ก
ท่ีบ้านท่ีเชื่อมต่อกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย การเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการดำ�เนินงาน
ของสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ในการดแู ลและพฒั นาเดก็ การสรา้ งความรว่ มมอื กบั ชมุ ชนโดยประสานใหช้ มุ ชนมสี ว่ นรว่ ม
ในการจดั กจิ กรรม การใหบ้ รกิ ารและสนับสนุนการดูแลพัฒนา ตลอดจนเป็นแหล่งเรยี นรู้ของเดก็ โดยการมีส่วนร่วม
ท่ีมีประสิทธิภาพจะต้องอาศัยความไว้วางใจ ความเคารพซ่ึงกันและกัน รวมท้ังการร่วมรับผิดชอบสำ�หรับการจัด
การศกึ ษาให้แกเ่ ดก็ ปฐมวัยอยา่ งมคี ุณภาพ

๑๑. แนวคดิ เกยี่ วกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ความเปน็ ไทย และความหลากหลาย

การเปล่ียนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และเทคโนโลยี ส่งผลต่อวิถีชีวิตและการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมเด็กสู่อนาคต
อย่างไรก็ตาม เด็กเมื่อเกิดมาจะเป็นส่วนหนึ่งของสังคมและวัฒนธรรม ซ่ึงไม่เพียงแต่จะได้รับอิทธิพลจากการปฏิบัติ
แบบดั้งเดิมตามประเพณี มรดก และการถ่ายทอดความรู้ภูมิปัญญาของบรรพบุรุษแล้ว ยังได้รับอิทธิพลจาก
ประสบการณ์ ค่านิยม และความเชื่อของบุคคลในครอบครัวและชุมชนของแต่ละที่ด้วย โดยบริบททางสังคม
และวัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู่หรือแวดล้อมรอบตัวเด็กมีอิทธิพลต่อพัฒนาการและการเรียนรู้ ตลอดจนการพัฒนา
ศักยภาพของแตล่ ะคน ผ้เู ล้ียงดคู วรตอ้ งเรยี นรู้บรบิ ททางสงั คมและวฒั นธรรมของเด็กที่ตนรับผดิ ชอบ เพื่อชว่ ยให้เดก็
ได้รับการพัฒนาและเกิดการเรียนรู้และดำ�เนินชีวิตอยู่ในกลุ่มคนที่มาจากพ้ืนฐานเหมือนหรือต่างจากตนได้อย่าง
ราบร่ืนมีความสุข เป็นการเตรียมเด็กไปสู่สังคมในอนาคตกับการอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน การทำ�งานร่วมกับผู้อ่ืนท่ีมี
ความหลากหลายทางความคิด ความเชื่อ และวัฒนธรรม โดยคำ�นึงถึงความเป็นไทยท่ีมีมรดกทางวัฒนธรรม
ทั้งในด้านภาษา มารยาท คุณธรรมจริยธรรม ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีที่งดงาม และท่ีสำ�คัญคือ หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ที่เป็นหลักคิดในการดำ�เนินชีวิตท่ีเน้นความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน การใช้ความรู้
ควบคู่คุณธรรม โดยในการจัดการศึกษาต้องมีการคำ�นึงถึงทั้งด้านเช้ือชาติ ศาสนา เศรษฐสถานะ เพศ วัย
ความต้องการพิเศษที่เป็นความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยสามารถพัฒนาให้เด็กมีความเข้าใจในตนเอง เข้าใจผู้อื่น
และอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้ ในแนวคิดและความหลากหลายเท่าทันการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนอย่างรวดเร็วและรอบด้าน
โดยผู้เล้ียงดูและสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยสามารถจัดทำ�หลักสูตรสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยท่ีมีอัตลักษณ์ การวางแผน
การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรทู้ เี่ กยี่ วขอ้ ง และการจดั กจิ กรรมและโครงการทสี่ รา้ งความเชอื่ มโยงกบั สงั คมวฒั นธรรม
ความเปน็ ไทย และความหลากหลาย

จากแนวคิดข้างต้น การพัฒนาหลักสูตรต้องพิจารณาจากวัยและประสบการณ์ของเด็ก ตลอดจน
บรบิ ททางสงั คมและวัฒนธรรม เพื่อม่งุ เนน้ การพฒั นาเดก็ ทุกด้าน ทง้ั ดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสตปิ ัญญา
บนพ้ืนฐานของประสบการณ์เดิมท่ีเด็กมีอยู่ และสร้างประสบการณ์ใหม่ที่เด็กจะได้รับ โดยต้องมีความหมายกับ
ตัวเด็ก เป็นหลักสูตรที่ให้โอกาสท้ังเด็กปกติ เด็กด้อยโอกาส และเด็กพิเศษ ได้พัฒนารวมท้ังยอมรับในวัฒนธรรม
และภาษาที่แตกต่างของเด็ก พัฒนาเด็กให้รู้สึกเป็นสุขในปัจจุบัน มิใช่เพียงเพื่อเตรียมเด็กสำ�หรับอนาคตข้างหน้า
เท่าน้ัน การสร้างและพัฒนาหลักสูตรควรเกิดจากการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับเด็ก มีองค์ประกอบและ

คมู่ อื หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เด็กอายตุ าํ่ กว่า ๓ ปี 11

รายละเอียดของหลักสูตรที่สอดคล้องกับปรัชญาการศึกษาปฐมวัย โดยมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน และการสร้างอัตลักษณ์
ของแต่ละหลักสูตรที่เหมาะสมกับบริบทของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และจุดมุ่งหมายในการพัฒนาเด็กร่วมกัน
โดยผู้เล้ียงดูเป็นผู้ที่มีความสำ�คัญและเกี่ยวข้องกับการดูแลเด็กมากที่สุด ในการอบรมเลี้ยงดูและการพัฒนา
เด็กน้ัน ผู้เลี้ยงดูต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ และมีความเข้าใจในตัวเด็กและการศึกษาปฐมวัย ซ่ึงการดูแล
และพัฒนาเด็ก รวมท้ังการเตรียมเด็กเพ่ืออนาคตจำ�เป็นต้องคำ�นึงถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งทางด้านสังคม
และการศกึ ษา ผเู้ ล้ียงดจู ึงต้องมคี วามใฝร่ ู้ ตดิ ตามความกา้ วหน้าทางวิชาการ พัฒนาตนเองอยู่เสมอทางด้านวิชาการ
และวิชาชีพ โดยการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ และชุมชนวิชาชีพปฐมวัย จะทำ�ให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
และการพัฒนาวิชาชีพที่จะส่งผลต่อการจัดการศึกษาปฐมวัยและหลักสูตรสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยท่ีมีคุณภาพ
ในส่วนของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยนั้นมีหลากหลายรูปแบบ ทั้งโรงเรียนอนุบาล ศูนย์พัฒนาเด็ก สถานเล้ียงดูเด็ก
ซึ่งแต่ละแห่งจะมีลักษณะ จุดมุ่งหมาย และรูปแบบแตกต่างกันไปตามลักษณะของกลุ่มเด็กแต่ละวัย อย่างไรก็ตาม
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยจะต้องมีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ โดยให้ความสำ�คัญกับการดูแลและพัฒนาเด็ก
ให้บรรลุผลตามจุดมุ่งหมาย การจัดหลักสูตรและประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ การจัดส่ิงแวดล้อม
และบรรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ การสร้างความสัมพันธ์กับครอบครัวและชุมชนเพื่อพัฒนาเด็กร่วมกัน รวมทั้ง
มีการสร้างรอยเช่ือมต่อจากครอบครัวสู่สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย รอยเชื่อมต่อในแต่ละระดับชั้น และรอยเชื่อมต่อ
สกู่ ารศึกษาข้ันพ้ืนฐานหรือระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๑

12 คมู่ ือหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเดก็ อายุต่ํากว่า ๓ ปี

บทที่ ๒

สาระส�ำ คญั ของหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐
ส�ำ หรับเด็กอายตุ ํา่ กว่า ๓ ปี

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กำ�หนดสาระสำ�คัญไว้ให้สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
ยึดเป็นแนวทางเพื่อดำ�เนินการพัฒนาหลักสูตรสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยท่ีหน่วยงานของตนรับผิดชอบ โดยต้อง
ท�ำ ความเขา้ ใจใหช้ ัดเจนในเรื่องของปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวยั วิสัยทศั น์ หลกั การ จดุ หมาย คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์
พัฒนาการของเด็กอายุตํ่ากวา่ ๓ ปี และการอบรมเลยี้ งดูและการพฒั นาเดก็ ดงั น้ี

ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวยั

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กำ�หนดปรัชญาการศึกษาปฐมวัยท่ีสะท้อนให้เห็น
ความเช่ือพน้ื ฐานในการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ต้ังแต่อายแุ รกเกิดถึง ๖ ปบี รบิ ูรณ์ โดยเห็นความส�ำ คัญของการพัฒนาเดก็
โดยองค์รวม การคำ�นึงถึงความสมดุลและครอบคลุมพัฒนาการของเด็กครบทุกด้านในการอบรมเล้ียงดู พัฒนาและ
สง่ เสรมิ กระบวนการเรยี นรขู้ องเดก็ ทผ่ี เู้ ลย้ี งดแู ละผเู้ กย่ี วขอ้ งตอ้ งยอมรบั ความแตกตา่ งของเดก็ ปฏบิ ตั ติ อ่ เดก็ แตล่ ะคน
อย่างเหมาะสม โดยผู้เลี้ยงดูให้ความรัก ความเอื้ออาทร มีความเข้าใจในการพัฒนาเด็กให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์
ทง้ั ดา้ นร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สตปิ ญั ญา คุณธรรม จรยิ ธรรม และอย่รู ว่ มกบั ผ้อู นื่ ได้อยา่ งมคี วามสุข ดังนี้

ปรัชญาการศึกษาปฐมวัย

การศึกษาปฐมวัย เป็นการพัฒนาเด็กต้ังแต่แรกเกิดถึง ๖ ปีบริบูรณ์
อย่างเป็นองค์รวม บนพื้นฐานการอบรมเล้ียงดูและการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้
ที่สนองต่อธรรมชาติ และพัฒนาการตามวัยของเด็กแต่ละคนให้เต็มตามศักยภาพ
ภายใต้บริบทสังคมและวัฒนธรรมท่ีเด็กอาศัยอยู่ ด้วยความรัก ความเอ้ืออาทร
และความเขา้ ใจของทกุ คน เพอ่ื สรา้ งรากฐานคณุ ภาพชวี ติ ใหเ้ ดก็ พฒั นาไปสคู่ วามเปน็ มนษุ ย์
ท่ีสมบรู ณ์ เกิดคณุ ค่าตอ่ ตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ

คมู่ อื หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เด็กอายตุ ่ํากว่า ๓ ปี 13

วิสัยทศั น์

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ก�ำ หนดวสิ ัยทัศนท์ ่สี ะท้อนให้เห็นความคาดหวังท่ีเปน็ จริง
ได้ในอนาคต ในการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีคุณภาพผ่านประสบการณ์ท่ีเด็กปฐมวัยเรียนรู้อย่างมีความสุข
มีทกั ษะชวี ติ ปฏบิ ัตติ นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เปน็ คนดี มวี ินัย และสำ�นึกความเปน็ ไทย และทกุ ฝ่าย
ท้ังครอบครวั สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย และชมุ ชนรว่ มมอื กนั พฒั นาเด็ก ดังนี้

วสิ ยั ทศั น์

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยมุ่งพัฒนาเด็กทุกคนให้ได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย
อารมณ์จติ ใจสงั คมและสตปิ ญั ญาอยา่ งมคี ณุ ภาพและตอ่ เนอ่ื ง ไดร้ บั การจดั ประสบการณ์
การเรียนรู้อย่างมีความสุขและเหมาะสมตามวัย มีทักษะชีวิต และปฏิบัติตนตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นคนดี มีวินัย และสำ�นึกความเป็นไทย
โดยความร่วมมอื ระหวา่ งสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย พอ่ แม่ ครอบครวั ชมุ ชน และทกุ ฝา่ ย
ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการพัฒนาเด็ก

หลักการ

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กำ�หนดหลักการสำ�คัญในการจัดการศึกษาปฐมวัย
ซงึ่ พอ่ แม่หรือผูเ้ ลี้ยงดจู �ำ เปน็ ต้องศกึ ษาใหเ้ ขา้ ใจ เพราะในการจัดประสบการณ์ให้เด็กอายตุ ํา่ กว่า ๓ ปี จะตอ้ งยึดหลกั
การอบรมเลี้ยงดูควบคู่กับการพัฒนาเด็ก โดยต้องคำ�นึงถึงความสนใจและความต้องการของเด็กทุกคน ทั้งเด็กปกติ
เดก็ ท่มี ีความสามารถพิเศษ และเดก็ ทมี่ ีความบกพร่องทางรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม สติปญั ญา รวมท้งั การส่อื สาร
และการเรียนรู้ หรือเด็กท่ีมีร่างกายพิการหรือทุพพลภาพหรือบุคคลซึ่งไม่สามารถพ่ึงตนเองได้ หรือไม่มีผู้ดูแลหรือ
ด้อยโอกาส เพ่อื ให้เด็กพฒั นาทุกด้าน ทัง้ ดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสตปิ ัญญาอยา่ งสมดลุ โดยจัดกจิ กรรม
ทีห่ ลากหลาย บรู ณาการผา่ นการเลน่ และกจิ กรรมที่เปน็ ประสบการณต์ รงผา่ นประสาทสัมผัสทัง้ ห้า เหมาะสมกบั วยั
และความแตกต่างระหว่างบุคคล ด้วยปฏิสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างเด็กกับพ่อแม่ เด็กกับผู้เลี้ยงดูหรือบุคลากรที่มีความรู้
ความสามารถในการอบรมเลยี้ งดแู ละใหก้ ารพฒั นาเดก็ ปฐมวยั เพอ่ื ใหเ้ ดก็ แตล่ ะคนไดม้ โี อกาสพฒั นาตนเองตามล�ำ ดบั ขน้ั
ของพฒั นาการทกุ ดา้ นเตม็ ตามศกั ยภาพและน�ำ ไปใชใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ เปน็ คนดขี องสงั คมและสอดคลอ้ ง
กบั ธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ ม ขนบธรรมเนยี มประเพณี วฒั นธรรม ความเชอื่ ทางศาสนา สภาพเศรษฐกจิ สงั คม และสทิ ธเิ ดก็
โดยความร่วมมอื จากครอบครวั ชุมชน องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ องคก์ รเอกชน สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ
และสถาบนั สังคมอน่ื ดงั น้ี

14 คมู่ อื หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเดก็ อายตุ ํ่ากวา่ ๓ ปี

หลกั การ

๑. ส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรู้และพัฒนาการที่ครอบคลุมเดก็ ปฐมวยั ทกุ คน
๒. ยดึ หลกั การอบรมเลยี้ งดแู ละใหก้ ารศกึ ษาทเ่ี นน้ เดก็ เปน็ สำ�คญั โดยค�ำ นงึ ถงึ ความแตกตา่ ง
ระหว่างบุคคลและวิถีชวี ติ ของเดก็ ตามบรบิ ทของชุมชน สงั คม และวัฒนธรรมไทย
๓. ยึดพัฒนาการและการพัฒนาเด็กโดยองค์รวม ผ่านการเล่นอย่างมีความหมาย และ
มีกิจกรรมท่ีหลากหลาย ได้ลงมือกระทำ�ในสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ เหมาะสมกับวัย และ
มกี ารพักผ่อนเพียงพอ
๔. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กมีทักษะชีวิต และสามารถปฏิบัติตนตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง เปน็ คนดี มีวินัย และมคี วามสุข
๕. สร้างความรู้ ความเข้าใจ และประสานความร่วมมือในการพัฒนาเด็ก ระหว่าง
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยกบั พ่อแม่ ครอบครวั ชมุ ชน และทุกฝา่ ยทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับการพัฒนาเด็กปฐมวยั

จุดหมาย

หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเด็กอายตุ ํ่ากว่า ๓ ปี มุ่งสง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กมีพัฒนาการ
ดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปญั ญา ทเ่ี หมาะสมกับวยั ความสามารถ ความสนใจ และความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล ดังนี้

จุดหมาย

๑. รา่ งกายเจรญิ เติบโตตามวยั แข็งแรง และมสี ขุ ภาพดี
๒. สขุ ภาพจติ ดีและมคี วามสุข
๓. มที กั ษะชวี ติ และสร้างปฏสิ มั พนั ธก์ ับบคุ คลรอบตวั และอยรู่ ่วมกับผอู้ ่นื ได้อยา่ งมคี วามสุข
๔. มีทกั ษะการใช้ภาษาสือ่ สาร และสนใจเรยี นร้สู ิง่ ตา่ งๆ

คู่มอื หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเด็กอายุต่าํ กวา่ ๓ ปี 15

คณุ ลักษณะท่พี ึงประสงค์

หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เดก็ อายตุ า่ํ กวา่ ๓ ปี ก�ำ หนดคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์
ทตี่ อ้ งการใหเ้ กดิ ขน้ึ แกเ่ ดก็ อายตุ า่ํ กวา่ ๓ ปี ทกุ คน คณุ ลกั ษณะและสภาพทพ่ี งึ ประสงคเ์ ปน็ พฤตกิ รรมหรอื ความสามารถ
ตามวัยที่จำ�เป็นต้องให้เกิดกับเด็กบนพ้ืนฐานพัฒนาการตามวัยและความสามารถตามธรรมชาติในแต่ละระดับอายุ
ดงั น้ี
๑. พฒั นาการด้านรา่ งกาย
๑.๑ รา่ งกายเจรญิ เติบโตตามวัยและมีสขุ ภาพดี
๑.๒ ใชอ้ วยั วะของรา่ งกายได้ประสานสัมพนั ธก์ ัน
๒. พฒั นาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ
๒.๑ มคี วามสขุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้เหมาะสมกับวยั
๓. พัฒนาการด้านสังคม
๓.๑ รับร้แู ละสรา้ งปฏสิ ัมพันธ์กับบคุ คลและสง่ิ แวดล้อมรอบตวั
๓.๒ ชว่ ยเหลือตนเองไดเ้ หมาะสมกบั วัย
๔. พัฒนาการดา้ นสติปญั ญา
๔.๑ สื่อความหมายและใช้ภาษาไดเ้ หมาะสมกบั วยั
๔.๒ สนใจเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว

16 คู่มอื หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เดก็ อายตุ ํ่ากว่า ๓ ปี

คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ที่ ๑ ร่างกายเจรญิ เติบโตตามวัยและมสี ขุ ภาพดี

สภาพท่ีพงึ ประสงค์
คณุ ลกั ษณะ
แ๒รกเเดกอื ดิ น- ๒ - ๔ เดอื น ๔ - ๖ เดือน ๖ - ๙ เดอื น ๙ เดอื น - ๑ ปี - ๑ ปี ๖ เดอื น - ๒ - ๓ ปี
๑.๑ มนี ้ําหนัก ส่วนสงู ๑ ป ี ๑ ปี ๖ เดือน ๒ ปี
และเส้นรอบศรี ษะ
ตามเกณฑอ์ ายุ • นํา้ หนักและส่วนสงู ตามเกณฑ์
๑.๒ มรี า่ งกายแขง็ แรง • เสน้ รอบศีรษะตามเกณฑ์

มีภมู ติ า้ นทานโรค ไมป่ ่วยบ่อย ขบั ถา่ ยเป็นเวลา รบั ประทานอาหาร นอนและพกั ผอ่ นเหมาะสมกับวัย

ค่มู อื หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เดก็ อายตุ ่าํ กวา่ ๓ ปี 17 หมายเหต ุ * แรกเกดิ - ๒ เดือน หมายถึง แรกเกดิ - ๑ เดอื น ๒๙ วนั ๙ เดอื น - ๑ ปี หมายถงึ ๙ เดือน - ๑๑ เดอื น ๒๙ วัน
๒ - ๔ เดอื น หมายถงึ ๒ เดอื น - ๓ เดือน ๒๙ วนั
๔ - ๖ เดอื น หมายถึง ๔ เดือน - ๕ เดือน ๒๙ วนั ๑ ปี - ๑ ปี ๖ เดอื น หมายถงึ ๑๒ เดอื น - ๑๗ เดือน ๒๙ วนั
๖ - ๙ เดอื น หมายถึง ๖ เดือน - ๘ เดอื น ๒๙ วัน
๑ ปี ๖ เดอื น - ๒ ปี หมายถึง ๑๘ เดือน - ๒๓ เดอื น ๒๙ วนั

๒ - ๓ ปี หมายถึง ๒๔ เดือน - ๓๕ เดือน ๒๙ วัน

18 คมู่ อื หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เด็กอายุต่ํากว่า ๓ ปี คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ท่ี ๒ ใช้อวยั วะของร่างกายได้ประสานสมั พนั ธก์ ัน

คณุ ลักษณะ สภาพที่พึงประสงค์

แรกเกดิ - ๒ เดอื น ๒ - ๔ เดือน ๔ - ๖ เดอื น ๖ - ๙ เดอื น ๙ เดือน - ๑ ป ี ๑ ปี - ๑ ปี ๖ เดือน ๑ ปี ๖ เดอื น - ๒ ปี ๒ - ๓ ปี

๒.๑ ใช้กลา้ มเนือ้ ใหญ่ • นอนควํ่า • นอนควาํ่ • ยนั หนา้ อกพน้ พน้ื • น่ังหลงั ตรง • ยืนทรงตวั • ลกุ ขน้ึ ยนื • เดินขนึ้ บนั ได • น่งั ยองๆ เล่น
ได้เหมาะสมกับวัย ยกศีรษะและ ยกศีรษะและ โดยใช้แขนชว่ ย และเอีย้ วตวั
หันไปข้างใด อกพ้นพื้น • นัง่ ได้โดยต้อง ใช้มอื เล่น (ตง้ั ไข)่ ได้ ด้วยตนเอง โดยมือข้างหน่ึง โดยไม่เสีย
ขา้ งหน่ึงได้ • เม่ือจับยืน มีผปู้ ระคอง ไดอ้ ย่างอิสระ ช่วงสนั้ ๆ
เร่มิ ลงนา้ํ หนัก • หยอ่ นตวั ลงน่งั • ยนื ไดเ้ อง จบั ราวบันได การทรงตวั
ที่เท้า
ทง้ั ๒ ข้างได้ อย่างอสิ ระ อีกมอื จบั ผใู้ หญ่ • เดนิ ถอยหลังได้
• มองตามวตั ถุ
ทเ่ี คลือ่ นไหว • คลานโดยใช้มือ จากท่ายนื • ยนื แลว้ กม้ ลง และกา้ วเทา้ วาง • เดนิ ขึ้นลงบันได
• กำ�หรอื จบั
สง่ิ ของทใ่ี สใ่ ห้ และเขา่ หยิบของท่พี ้ืนได้ บนข้นั บันได โดยมือข้างหนง่ึ
ในมอื
• ยนื เกาะ • เดนิ ไดเ้ อง เดียวกนั กอ่ น จับราว และ

เคร่ืองเรอื น โดยปลอ่ ยแขน • วิ่งและหยดุ กา้ วเทา้ วาง

สงู ระดบั อกได้ เป็นอิสระและ ได้ทนั ที และ บนขน้ั บนั ได

แกว่งแขน เริ่มวงิ่ ใหม่ เดียวกนั ก่อน

ตามสบาย • กระโดดอยู่กับที่

• เริ่มว่ิงหรอื โดยเทา้ พน้ พื้น

เดินเรว็ ๆ ได้ ทั้ง ๒ ขา้ ง

๒.๒ ใชก้ ลา้ มเน้ือเล็ก • จอ้ งมองได้ • เออื้ มคว้าของ • มองตามของตก • หยิบของใส่ • วางกอ้ นไม้ • วางก้อนไม้ • จบั สีเทยี น
ใกล้ๆ ตวั ได้
และประสานสัมพนั ธ์ มองเห็นใน • เปลีย่ นมือ • จับของมา และเอาออก ซ้อนกันได้ ซอ้ นกันได้ แท่งใหญเ่ พอ่ื
มอื - ตา ได้เหมาะสมกับวัย ระยะห่าง ถอื ของได้
๘ - ๑๒ นวิ้ ทลี ะมอื กระทบกัน จากภาชนะได้ ๒ กอ้ น ๔ - ๖ ก้อน ขดี เขียนได้

ด้วยมอื ๒ ข้าง • ถอื กดั และ • เปิดหนังสอื ทีละ • เปิดพลกิ • เลียนแบบ

• เริม่ ใช้นิ้วหัวแมม่ อื เคย้ี วอาหาร ๓ - ๔ หนา้ หนา้ หนงั สือได้ ลากเส้นเป็นวง

นิ้วช้แี ละ ได้ดว้ ยตนเอง ทีละแผ่น ต่อเนือ่ ง หรอื

นว้ิ กลาง เสน้ ตรงแนวดิง่

หยิบของ

ช้ินเล็กๆ

คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงคท์ ี่ ๓ มีความสขุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ดเ้ หมาะสมกบั วัย

คุณลักษณะ สภาพท่พี ึงประสงค์

๓.๑ รา่ เรงิ แจม่ ใส แรกเกดิ - ๒ เดอื น ๒ - ๔ เดือน ๔ - ๖ เดอื น ๖ - ๙ เดือน ๙ เดือน - ๑ ปี ๑ ปี - ๑ ปี ๖ เดอื น ๑ ปี ๖ เดือน - ๒ ปี ๒ - ๓ ปี
๓.๒ แสดงออกทางอารมณ์
ได้อยา่ งเหมาะสมกบั วยั อารมณด์ ี ย้ิมแย้ม หวั เราะงา่ ย แววตามคี วามสุข

๓.๓ สนใจและมีความสขุ กับ • ย้ิมและ • ผูกพันกบั พ่อแม่ • แสดงอารมณ์ • แสดงอารมณ์ • แสดงความสนใจ • แสดงความชอบ • แสดงความรัก • แสดงความ
ธรรมชาติ สิง่ สวยงาม
ดนตรี และจังหวะ หัวเราะได้ หรอื ผู้เลีย้ งดู ทหี่ ลากหลาย ตามความรสู้ ึก ติดผเู้ ล้ยี งดู ไม่ชอบส่วนตัว ต่อผูอ้ น่ื ภาคภูมิใจ
การเคล่ือนไหว เม่ือพอใจ ใกลช้ ดิ เม่อื ท�ำ ส่ิงต่างๆ
• สบตา • ยม้ิ ทักทาย ผา่ นการส่งเสียง • แสดงอาการกลัว ตนเองมากกว่า อยา่ งชดั เจน • แสดงความ ส�ำ เรจ็

คนแปลกหนา้ คนอนื่ กงั วลเมอ่ื

ค่มู อื หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เดก็ อายตุ ่าํ กวา่ ๓ ปี 19 จอ้ งหน้าแม่ เม่อื เหน็ หนา้ • แสดงความ แยกจาก • ชอบพูดค�ำ วา่
คนคุ้นเคย ตอ้ งการของ คนใกล้ชิด “ไม่” แม้จะเปน็
ตนเองมากขึ้น สง่ิ ทตี่ อ้ งการ

ตอบสนองตอ่ ธรรมชาติ เสียงเพลง จงั หวะดนตรี และสงิ่ สวยงามต่างๆ อยา่ งเพลิดเพลิน

20 คมู่ อื หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เด็กอายุต่ํากว่า ๓ ปี คุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ท่ี ๔ รับรูแ้ ละสร้างปฏสิ ัมพันธ์กับบคุ คลและสง่ิ แวดลอ้ มรอบตัว

คุณลักษณะ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์

แรกเกิด - ๒ เดอื น ๒ - ๔ เดอื น ๔ - ๖ เดือน ๖ - ๙ เดอื น ๙ เดือน - ๑ ปี ๑ ปี - ๑ ปี ๖ เดอื น ๑ ปี ๖ เดือน - ๒ ป ี ๒ - ๓ ปี

๔.๑ ปรับตัวเขา้ กับสิ่งแวดล้อม • หยดุ รอ้ งไห้ • มปี ฏกิ ิริยา • ยิม้ ทกั ทาย • แสดงออกถึง • มองผใู้ หญห่ รอื • เร่ิมคนุ้ เคยกบั • ชอบการออกไป • ชอบเกบ็ ของ
ใกลต้ ัวได้ เมื่อมคี นอมุ้
๔.๒ เล่นและร่วมทำ�กจิ กรรม โต้ตอบด้วย แสดงอาการดีใจ การรับรู้อารมณ์ เด็กคนอ่นื ๆ คนอ่นื เทีย่ วนอกบ้าน ของตนเองไว้
กับผอู้ นื่ ได้ตามวยั • ยม้ิ และส่งเสยี ง
เมื่อมีคนพดู คุย การเคล่อื นไหว เมือ่ เหน็ สิ่งที่ และความรสู้ กึ ท�ำ กิจกรรม • ขอความ • แสดงความ ใกล้ตวั และ
เล่น หรอื
สัมผสั ตัว ร่างกาย เมอ่ื เห็น ตัวเองพอใจ ของผู้อน่ื อยา่ งใกล้ชิด ช่วยเหลือ เป็นเจ้าของ ไมช่ อบแบง่ ปนั

หรอื ไดย้ ินเสียง • จำ�หนา้ แมแ่ ละ • เลียนแบบกริ ยิ า เมอ่ื ตอ้ งการ ผอู้ ืน่

คนและ คนคนุ้ เคยได้ ท่าทางของผอู้ ่นื

สง่ิ ท่ีคุ้นเคย อย่างง่ายๆ

• หัวเราะเสียงดัง • ยิ้มใหค้ นอ่นื • ชอบเลน่ จ๊ะเอ๋ • เล่นกบั ผู้เล้ยี งดู • ชอบดูเด็กคนอ่ืน • ชอบเล่น • รอคอยช่วงสนั้ ๆ

ดีใจเม่ือมคี น ชอบเล่นกบั คน กบั ผเู้ ล้ยี งดู ใกลช้ ิด เลน่ กนั แต่ ของเลน่ • เลน่ รวมกบั

มาเล่นด้วย ใกล้ชิด ไม่ค่อยเขา้ ไป คนเดียว คนอน่ื

เลน่ ด้วย แตต่ า่ งคน

ตา่ งเลน่

คุณลักษณะท่ีพึงประสงคท์ ่ี ๕ ช่วยเหลอื ตนเองได้เหมาะสมกบั วยั

คุณลกั ษณะ สภาพท่พี ึงประสงค์

แรกเกดิ - ๒ เดือน ๒ - ๔ เดอื น ๔ - ๖ เดือน ๖ - ๙ เดือน ๙ เดือน - ๑ ปี ๑ ปี - ๑ ปี ๖ เดอื น ๑ ปี ๖ เดอื น - ๒ ปี ๒ - ๓ ปี

๕.๑ ท�ำ กจิ วตั รประจ�ำ วัน - - - • ตอ้ งการถอื • หยบิ อาหาร • ถอดเสอ้ื ผา้ • ใช้ช้อนตัก • สวมเสอ้ื ผ้า
ดว้ ยตนเองไดต้ ามวัย ขวดนม กินได้ งา่ ยๆ ได้ อาหารเข้าปาก โดยมีคนชว่ ย

ด้วยตนเอง • ดมื่ นาํ้ จากแก้ว • เริ่มช่วยเหลอื แต่หกบา้ ง • บอกได้วา่

• ให้ความร่วมมือ ตนเองในการ • ชอบชว่ ยเหลือ ตนเองตอ้ งการ

เวลาแตง่ ตัว แปรงฟัน งานบ้านงา่ ยๆ ขบั ถ่าย

ลา้ งมอื โดยมี

ค่มู อื หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เดก็ อายตุ ่าํ กวา่ ๓ ปี 21 ผใู้ หญ่ดแู ล

• เร่ิมฝึกขับถา่ ย

22 คมู่ อื หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เด็กอายุต่ํากว่า ๓ ปี คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ที่ ๖ สื่อความหมายและใชภ้ าษาไดเ้ หมาะสมกับวยั

คณุ ลกั ษณะ สภาพทพี่ ึงประสงค์

แรกเกดิ - ๒ เดือน ๒ - ๔ เดือน ๔ - ๖ เดอื น ๖ - ๙ เดือน ๙ เดือน - ๑ ป ี ๑ ปี - ๑ ปี ๖ เดือน ๑ ปี ๖ เดอื น - ๒ ป ี ๒ - ๓ ปี

๖.๑ รบั ร้แู ละเขา้ ใจความหมาย • ตอบสนอง • หยดุ ฟงั เสียง • หนั ตามเสยี ง • รบั รูภ้ าษาและ • ชอบฟังคำ�พูด • หยิบหรือช้ี • ปฏิบตั ติ ามค�ำ สัง่ • รอ้ งเพลงได้

ของภาษาได้ตามวัย ต่อเสยี ง และหันตาม จอ้ งมองปากคน แสดงสีหนา้ ซํ้าๆ ตามคำ�บอก ได้ ๒ คำ�สง่ั บางคำ� และ

เสยี งเคาะ ท่าทาง • รู้ว่าค�ำ แต่ละค�ำ • ชีส้ ่วนต่างๆ ต่อเนอื่ ง รอ้ งเพลงคลอ

• ตอบสนองตอ่ มีความหมาย ของรา่ งกาย • สนใจฟงั นิทาน ตามทำ�นอง

ค�ำ ส่งั งา่ ยๆ ตา่ งกัน ตามคำ�บอก งา่ ยๆ • สนใจดหู นังสือ

• หนั หาเมือ่ • หยุดกระท�ำ อยา่ งนอ้ ย ๑ สว่ น นทิ านภาพ

เรียกชื่อ เมื่อไดย้ นิ

เสียงห้าม • พดู คำ�ตอ่ กัน
• พยายาม • รจู้ ักเชอื่ มโยง • พดู คำ� • พดู เป็นวลีส้นั ๆ
๖.๒ แสดงออกและ/หรอื พูด • สง่ เสยี งในคอ • ส่งเสียงออ้ แอ้ • สง่ เสียงตาม พยางค์เดยี ว เช่น ไปเท่ยี ว • มกั จะถาม
เพอ่ื ส่อื ความหมายได้ โตต้ อบสงู ๆ ตํา่ ๆ เมอ่ื ไดย้ นิ เลยี นเสียงตา่ งๆ ค�ำ พดู กับ ค�ำ ถาม “อะไร”
• ทำ�เสยี งซํ้าๆ การกระทำ� เช่น ทีม่ คี วามหมาย และ “ท�ำ ไม”
เสยี งพดู เช่น หม่าํ หมาํ่ “ไม”่ จะสน่ั หัว ไดอ้ ยา่ งน้อย
• สง่ เสยี งได้ ๒ คำ�

หลายเสยี ง • พดู คำ�

พยางค์เดียว

ได้อยา่ งน้อย

๒ ค�ำ

คุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงคท์ ี่ ๗ สนใจเรียนรสู้ ง่ิ ต่างๆ รอบตวั

คณุ ลักษณะ สภาพที่พึงประสงค์

แรกเกดิ - ๒ เดอื น ๒ - ๔ เดือน ๔ - ๖ เดือน ๖ - ๙ เดือน ๙ เดือน - ๑ ปี ๑ ปี - ๑ ปี ๖ เดือน ๑ ปี ๖ เดือน - ๒ ปี ๒ - ๓ ปี

๗.๑ สนใจและเรียนร้สู ่งิ ต่างๆ • สนใจมอง • กรอกตามอง • มองส่ิงของ • เร่ิมร้จู ักส่ิงของ • คาดคะเนได้ถงึ • ส�ำ รวจส่ิงของ • สังเกต ส�ำ รวจ • อยากเรียนรู้
รอบตวั ใบหน้าคน ตามสิ่งของ ทอ่ี ยรู่ อบๆ และ ในชีวติ ประจำ�วนั การกลบั มา โดยใช้หลายๆ ลองผิดลองถูก ส่งิ ต่างๆ
มากกว่าส่งิ ของ หรอื ส่ิงทม่ี ีเสียง ในระยะใกล้ ของบุคคล วธิ ี กับคณุ สมบัติ • ถามบอ่ ย
• แสดงความ หรือส่งิ ของ ของสิ่งต่างๆ ถามซ้ํา
อยากรู้ • จดจอ่ ต่อสิ่งใด
อยากเห็น สง่ิ หนง่ึ ได้
เก่ียวกบั สิง่ ต่างๆ ยาวนานข้ึน
ค่มู อื หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เดก็ อายตุ ่าํ กวา่ ๓ ปี 23 และพยายาม
หยิบของ
ในระยะ
ทเ่ี ออื้ มถึง
๗.๒ เรียนรผู้ า่ นการเลียนแบบ - - • เลียนแบบ • เลยี นแบบ • เลียนแบบ • เลียนแบบ • เลียนแบบคำ�พูด • เลียนแบบการ
เสยี งเพลงและ เสียงบคุ คล การเคล่ือนไหว ทา่ ทาง ที่ผใู้ หญพ่ ดู กระท�ำ ผใู้ กลช้ ิด
การเคลื่อนไหว หนา้ ตา แลบลิ้น การกระทำ�ง่ายๆ หรือเดก็ อนื่
ปากจู๋ ของผ้ใู หญ่ • พยายาม
เลียนเสียงตา่ งๆ
๗.๓ สำ�รวจโดยใชป้ ระสาทสมั ผัส • จอ้ งมองส่ิงของ • สนใจเลน่ มือ • ชอบสำ�รวจด้วย • ส�ำ รวจร่างกาย • ใชน้ ิว้ ส�ำ รวจ • สำ�รวจสง่ิ ท่ี • ส�ำ รวจตามตู้ • ค้นหาของ
เคลอ่ื นไหวหรือ ตนเองและ การน�ำ สิ่งของ ตนเองและ สง่ิ ของหรือ เกิดขึ้น ลิ้นชัก ทีถ่ ูกซ่อนโดยมี
เคร่อื งแขวน เอาเขา้ ปาก เขา้ ปาก สิ่งต่างๆ รอบตัว พ้นื ทท่ี ่มี ชี อ่ ง • ลองผดิ ลองถูก ช้ันวางของ สิ่งปกปดิ
สขี าว - ดำ� • ชอบปัดวตั ถุ หรอื มีรู เพ่อื แก้ปญั หา ตะกรา้ ผา้ ๒ - ๓ ชัน้
ทมี่ องเล่น • มองอย่างคน้ หา • ชอบเลน่ ลาก • ชอบละเลงสี
• จำ�เสียงบุคคล ดงึ ผลกั โยน ดว้ ยมือ
ทใี่ กลช้ ิด • ชอบวางรปู ทรง
ลงช่อง

พฒั นาการของเดก็ อายตุ ํ่ากว่า ๓ ปี

ในช่วง ๓ ปีแรกของชีวิตวัยเด็กเป็นช่วงระยะท่ีสำ�คัญที่สุด เนื่องจากสมองของเด็กมีการเจริญเติบโต
และพัฒนาอยา่ งรวดเร็ว พ่อแม่หรอื ผเู้ ลย้ี งดจู งึ ควรตระหนักถงึ ความส�ำ คญั ของพัฒนาการหรือการเปลีย่ นแปลงต่างๆ
ท่ีเกิดข้ึน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา โดยท่ีพัฒนาการของเด็กในแต่ละช่วงอายุอาจเร็ว
หรอื ช้ากว่าเกณฑท์ กี่ �ำ หนดตามวุฒิภาวะหรือความพรอ้ มของเดก็ และมกี ารพัฒนาเป็นล�ำ ดบั ขัน้ อย่างตอ่ เน่ืองตามวยั
ถ้าสังเกตพบว่าเด็กไม่มีความก้าวหน้าอย่างชัดเจนในช่วงระยะเวลาหนึ่ง พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูจำ�เป็นต้องพาเด็กไป
ปรกึ ษาผู้เชยี่ วชาญหรอื แพทย์ทันที พัฒนาการท่ีส�ำ คญั ของเด็กอายตุ ่าํ กวา่ ๓ ปี มีดังน้ี
๑. พฒั นาการด้านร่างกาย

เดก็ แรกเกิด - ๒ เดือน เดก็ อายุ ๒ - ๔ เดือน เดก็ อายุ ๔ - ๖ เดอื น
• นอนคว่ํา ยกศรี ษะและหนั ไปขา้ งใด • นอนควาํ่ ยกศรี ษะและอกพ้นพ้นื • ยนั หนา้ อกพน้ พนื้ โดยใชแ้ ขนชว่ ย
ข้างหนงึ่ ได้ • เมือ่ จบั ยนื เรมิ่ ลงนาํ้ หนักท่ีเทา้ • นง่ั ได้โดยตอ้ งมผี ปู้ ระคอง
• พลิกตัวตะแคงขา้ งไดเ้ มอ่ื นอนหงาย ท้ัง ๒ ขา้ งได้ • คบื พลกิ คว่าํ พลกิ หงาย
• จอ้ งมองได้ มองเห็นในระยะห่าง • มองตามวตั ถทุ ่ีเคล่อื นไหว • เออ้ื มควา้ ของใกลๆ้ ตัวได้
๘ - ๑๒ นิว้ • ก�ำ หรือจับสงิ่ ของที่ใสใ่ หใ้ นมอื • เปล่ียนมือถอื ของไดท้ ีละมือ
• จบั ถอื ของได้นาน ๒ - ๓ นาที • เรม่ิ ควา้ จบั สง่ิ ของ • มองตามสง่ิ ทผี่ ่านไปเร็วๆ ได้

เด็กอายุ ๖ - ๙ เดอื น เด็กอายุ ๙ เดอื น - ๑ ปี เด็กอายุ ๑ ปี - ๑ ปี ๖ เดอื น

• น่งั หลังตรงและเอย้ี วตวั ใชม้ อื เลน่ • คลานได้คลอ่ ง • ลกุ ข้ึนยนื ดว้ ยตนเอง
ไดอ้ ย่างอสิ ระ • คลานขึ้นบันไดได้ • ยนื ได้เองอยา่ งอิสระ
• คลานโดยใชม้ ือและเขา่ • ยืนทรงตวั (ตงั้ ไข่) ไดช้ ่วงสนั้ ๆ • ยนื แลว้ ก้มลงหยิบของท่พี ้นื ได้
• ยนื เกาะเคร่ืองเรอื น (เฟอรน์ ิเจอร์) • หย่อนตัวลงน่ังจากท่ายืน • เดนิ ไดเ้ องโดยปลอ่ ยแขนเป็นอสิ ระ
สงู ระดับอกได้ • เกาะเดนิ ได้ และแกว่งแขนตามสบาย
• ลุกขึน้ นัง่ เองได้ • หยบิ ของใส่และเอาออกจากภาชนะได้ • เร่มิ วง่ิ หรอื เดินเร็วๆ ได้
• มองตามของตก • ถอื กดั และเคี้ยวอาหารได้ดว้ ยตนเอง • วางก้อนไมซ้ ้อนกนั ได้ ๒ ก้อน
• จับของมากระทบกนั ดว้ ยมือ ๒ ข้าง • ใชม้ ือทงั้ ๒ ข้างท�ำ งานคนละอยา่ งได้ • เปดิ หนงั สือทลี ะ ๓ - ๔ หนา้
• เร่มิ ใช้น้ิวหัวแม่มือ นว้ิ ช้ี และนว้ิ กลาง • ตบมอื โบกมอื ได้ • เล่นกลิง้ ลกู บอลเบาๆ ได้
หยบิ ของช้นิ เล็กๆ • ถอดเสอ้ื ผา้ งา่ ยๆ เองได้ เช่น
กางเกงเอวรูด ถงุ เทา้
• ถือช้อนและแก้วนาํ้ ได้

เดก็ อายุ ๑ ปี ๖ เดอื น - ๒ ปี เด็กอายุ ๒ - ๓ ปี
• เดินถอยหลงั • นง่ั ยองๆ เล่นโดยไมเ่ สยี การทรงตัว
• เดนิ ขึ้นบนั ไดโดยมือขา้ งหนึง่ จับราวบันได อีกมอื จับผู้ใหญ่ • เดินถอยหลงั ได้
ก้าวเท้า โดยมี ๒ เท้าในขัน้ เดยี วกนั • เดินขึน้ ลงบันไดโดยมอื ขา้ งหนึ่งจบั ราว และก้าวเทา้
• วงิ่ และหยุดไดท้ นั ที และเร่มิ วงิ่ ใหม่ โดยมี ๒ เท้าในขัน้ เดยี วกัน
• วางก้อนไม้ซ้อนกันได้ ๔ - ๖ ก้อน • กระโดดอยกู่ ับท่โี ดยเทา้ พน้ พ้นื ทัง้ ๒ ข้าง
• เปดิ พลิกหนา้ หนังสอื ได้ทีละแผ่น • จับสีเทยี นแทง่ ใหญเ่ พ่ือขีดเขยี นได้
• ใชข้ อ้ มอื ไดม้ ากข้นึ เช่น หมุนมือ หมนุ สง่ิ ของ ฯลฯ • เลยี นแบบลากเสน้ เป็นวงต่อเนอ่ื ง หรือเสน้ ตรงแนวดิ่ง

24 ค่มู อื หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เดก็ อายตุ า่ํ กว่า ๓ ปี

๒. พฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ

เดก็ แรกเกดิ - ๒ เดอื น เดก็ อายุ ๒ - ๔ เดอื น เดก็ อายุ ๔ - ๖ เดอื น
• ย้ิมและหัวเราะได้เม่ือพอใจ • ผกู พันกบั พ่อแมห่ รือผ้เู ลย้ี งดูใกลช้ ิด • แสดงอารมณท์ ีห่ ลากหลายผา่ นการส่งเสยี ง
• สบตา จ้องหน้าแม่ • ยิ้มทกั ทายเมอื่ เห็นหนา้ คนคุน้ เคย • รู้จกั แสดงปฏกิ ริ ิยาตอ่ ตา้ นเมอื่ ไม่พอใจ
• ตกใจง่ายเมือ่ ได้ยนิ เสยี งดัง • แสดงความรู้สกึ ชอบ ไมช่ อบ
• ท�ำ เสียงในคอเบาๆ เมอื่ รู้สกึ พอใจ • แสดงความตอ้ งการทางสหี น้า
• ไมส่ ามารถแยกแยะตนเองจาก • เอานวิ้ มอื เข้าปากหรือดูดมอื
สิง่ รอบตัวได้ เพ่อื ท�ำ ใหต้ นเองสงบ
• ร้องเมือ่ หิวหรือไม่สบายตวั และ • ค้นุ ชนิ กบั กิจวัตรประจ�ำ วันมากขนึ้ เช่น
จะหยดุ เม่ือไดร้ บั การช่วยเหลือ การรบั ประทานอาหารและการนอน

เด็กอายุ ๖ - ๙ เดือน เดก็ อายุ ๙ เดือน - ๑ ปี เด็กอายุ ๑ ปี - ๑ ปี ๖ เดือน

• แสดงอารมณต์ ามความร้สู ึก • แสดงความสนใจ ติดผู้เลีย้ งดตู นเอง • แสดงความชอบไมช่ อบสว่ นตัว
• แสดงอาการกลวั คนแปลกหนา้ มากกวา่ คนอ่นื อยา่ งชดั เจน
• รู้จกั แสดงทา่ ทางดีใจ หัวเราะ อาย • แสดงความต้องการของตนเองมากข้ึน • พยายามท�ำ สิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง ขดั ใจ
จะโกรธ
• แสดงท่าทางพอใจเมอ่ื ไดย้ นิ เสยี งเพลง
เช่น โยกตวั ไปตามจงั หวะเพลง
• อารมณเ์ ปลยี่ นแปลงง่าย อาจขวา้ งของ
เวลาโกรธ

เดก็ อายุ ๑ ปี ๖ เดอื น - ๒ ปี เดก็ อายุ ๒ - ๓ ปี

• แสดงความรักตอ่ ผ้อู ื่น • แสดงความภาคภมู ใิ จเมือ่ ทำ�ส่ิงตา่ งๆ สำ�เร็จ
• แสดงความกงั วลเม่อื แยกจากคนใกลช้ ดิ • ชอบพูดค�ำ ว่า “ไม่” แม้จะเป็นสง่ิ ที่ตนตอ้ งการ
• กลัวความมดื กลัวเสียงดงั กลวั การถกู ท้ิงให้อยู่คนเดยี ว • แสดงความรสู้ ึกต่างๆ ดว้ ยค�ำ พดู
• ใชค้ ำ�พดู แสดงอารมณ์ เชน่ ไมเ่ อา ออกไป • มคี วามรสู้ ึกทด่ี ตี อ่ ตนเองเม่ือไดร้ บั การยอมรับหรอื ชมเชย
• ตอ้ งการความเปน็ ตวั ของตวั เอง ตอ่ ตา้ นคำ�สง่ั • มีความเปน็ ตัวของตัวเอง

ค่มู อื หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเดก็ อายุต่ํากวา่ ๓ ปี 25

๓. พฒั นาการดา้ นสังคม

เด็กแรกเกดิ - ๒ เดือน เด็กอายุ ๒ - ๔ เดอื น เดก็ อายุ ๔ - ๖ เดือน
• หยดุ รอ้ งไหเ้ ม่อื มีคนอมุ้ • มีปฏิกิริยาโตต้ อบด้วยการเคลอ่ื นไหว • ยิม้ ทักทาย แสดงอาการดใี จ เมอ่ื เหน็
• ยมิ้ และสง่ เสยี งเม่อื มีคนพดู คุย เล่น รา่ งกาย เม่ือเห็นหรือไดย้ นิ เสียง ส่ิงท่ตี วั เองพอใจ
หรอื สัมผสั ตัว
• สบตา จ้องหนา้ แม่ สง่ิ ทค่ี นุ้ เคย • จ�ำ หน้าแม่และคนคุ้นเคยได้
• ชอบให้มีคนเลน่ ด้วย
• หัวเราะเสยี งดงั ดีใจเมอ่ื มีคนมาเลน่ ดว้ ย • ยิ้มให้คนอ่ืน ชอบเลน่ กับคน
เดก็ อายุ ๖ - ๙ เดือน
• แสดงออกถึงการรบั รอู้ ารมณแ์ ละ • รอ้ งไหเ้ พอื่ บอกความตอ้ งการและ
ความรู้สึกของผูอ้ น่ื
• เลยี นแบบกิรยิ าทา่ ทางของผ้อู ่ืน เงยี บเสียงเม่ือเหน็ หนา้ คน
อย่างงา่ ยๆ • สง่ เสยี งโต้ตอบเสยี งพูดและรอยย้ิม
• ชอบเลน่ จ๊ะเอก๋ ับผ้เู ลีย้ งดูใกล้ชิด ของแม่
• ต้องการถอื ขวดนมด้วยตนเอง
• สนใจมองและยม้ิ ใหก้ บั ตนเองในกระจก

เด็กอายุ ๙ เดอื น - ๑ ปี เดก็ อายุ ๑ ปี - ๑ ปี ๖ เดอื น

• มองผใู้ หญ่หรอื เดก็ คนอ่นื ท�ำ กจิ กรรม • เร่ิมคนุ้ เคยกับคนอื่น

อยา่ งใกล้ชดิ • ขอความช่วยเหลือเม่ือต้องการ

• เลน่ กบั ผู้เลย้ี งดใู กลช้ ดิ • เขา้ ใจทา่ ทางและสีหน้าคนอน่ื

• หยิบอาหารรบั ประทานได้ • สนใจการกระท�ำ ของผ้ใู หญ่
• ดมื่ น้ําจากแก้ว • ชอบดูเด็กคนอ่นื เล่นกนั แต่ไมค่ อ่ ยเขา้ ไป
• ใหค้ วามร่วมมือเวลาแต่งตวั เล่นดว้ ย

• ติดแม่ กลัวการแยกจาก • ชอบเล่นคนเดยี ว แต่อยู่ในสายตาผใู้ หญ่
• เขา้ ใจทา่ ทางและสีหน้าคนอื่น • ถอดเสือ้ ผ้างา่ ยๆ ได้
• กลวั คนแปลกหน้าและสถานท่ีใหมๆ่ • เริ่มฝกึ ขบั ถ่าย
• เลยี นแบบสหี น้าทา่ ทาง และเสยี ง • เรมิ่ ช่วยเหลอื ตนเองในการแปรงฟนั

• ชบ้ี อกความตอ้ งการได้ ล้างมือ โดยมผี ู้ใหญด่ ูแล
• แยกตวั เองและเงาในกระจกได้

เดก็ อายุ ๑ ปี ๖ เดอื น - ๒ ปี เด็กอายุ ๒ - ๓ ปี

• ชอบการออกไปเที่ยวนอกบ้าน • รอคอยช่วงสน้ั ๆ
• แสดงความเปน็ เจ้าของ • ชอบเก็บของของตนเองไว้ใกลต้ ัว และไม่ชอบแบง่ ปนั ผ้อู ื่น
• ชอบเล่นของเล่นคนเดียว • เล่นรวมกับคนอ่นื แต่ตา่ งคนต่างเล่น
• ใชช้ ้อนตกั อาหารเข้าปากแต่หกบา้ ง • เริ่มรจู้ กั เล่นเป็นกลมุ่ กับเดก็ อื่น
• ชอบชว่ ยเหลืองานบ้านง่ายๆ • พยายามชว่ ยเหลือตัวเองในเร่อื งการแตง่ ตัว
• ร้จู ักการขอ • รูจ้ ักขอและเร่ิมรูจ้ กั ให้
• สวมเสอ้ื ผ้าโดยมคี นช่วย
• บอกเรอื่ งการขับถา่ ยได้

26 คูม่ ือหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเดก็ อายตุ า่ํ กว่า ๓ ปี

๔. พัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา

เด็กแรกเกดิ - ๒ เดือน เด็กอายุ ๒ - ๔ เดือน เด็กอายุ ๔ - ๖ เดอื น
• ตอบสนองต่อเสียง • หยดุ ฟังเสยี ง หันตามเสียงเคาะ • หันตามเสยี ง จ้องมองปากคน
• สง่ เสียงในคอ • สง่ เสียงอ้อแอ้โตต้ อบสูงๆ ต่ําๆ • ส่งเสียงตามเมื่อไดย้ ินเสียงพดู
• สนใจมองใบหน้าคนมากกว่าส่ิงของ • กรอกตามองตามส่ิงของหรือส่ิงทม่ี เี สียง • ส่งเสียงได้หลายเสยี ง
• จ้องมองส่ิงของเคลือ่ นไหว • สนใจเล่นมอื ตนเองเอาเข้าปาก • มองสิ่งของท่อี ยรู่ อบๆ และในระยะใกล้
หรอื เครอื่ งแขวนสขี าว - ดำ� • ชอบปัดวตั ถุที่มองเลน่ • แสดงความอยากร้อู ยากเหน็ เก่ยี วกับ
• ใชเ้ สียงร้องที่ตา่ งกันเม่อื หวิ หรือเจ็บ • จ�ำ เสียงบคุ คลทใี่ กล้ชดิ สิ่งตา่ งๆ และพยายามหยบิ ของในระยะ
• จ�ำ หนา้ แม่และคนในครอบครัวได้ ที่เอ้ือมถึง
เดก็ อายุ ๖ - ๙ เดอื น • สนใจจอ้ งมองสง่ิ ทเ่ี คล่ือนไหวหรอื มเี สยี ง • เลยี นแบบเสียงเพลงและการเคลอ่ื นไหว
• รบั รภู้ าษาและแสดงสหี นา้ ท่าทาง • ชอบส�ำ รวจด้วยการนำ�เขา้ ปาก
• ตอบสนองค�ำ สงั่ งา่ ยๆ • เขา้ ใจคำ�เรยี กชือ่ คนหรือส่งิ ของง่ายๆ
• หนั หาเมอื่ เรยี กชอ่ื • ชอบมองสำ�รวจสิ่งของ สนใจ
• พยายามเลียนเสยี งต่างๆ รายละเอียดต่างๆ
• ท�ำ เสียงซ้ําๆ เช่น หม่ํา หมา่ํ
• เลยี นแบบเสียงบคุ คล เดก็ อายุ ๙ เดอื น - ๑ ปี เดก็ อายุ ๑ ปี - ๑ ปี ๖ เดอื น
• เร่มิ รจู้ ักส่ิงของในชวี ิตประจ�ำ วัน
• ส�ำ รวจรา่ งกายตนเองและสงิ่ ต่างๆ • ชอบฟังค�ำ พดู ซ้ําๆ • หยบิ หรอื ช้ีตามคำ�บอก
รอบตวั • รู้วา่ ค�ำ แตล่ ะค�ำ มคี วามหมายต่างกนั • ชี้ส่วนตา่ งๆ ของรา่ งกายตามคำ�บอก
• พูดคยุ คนเดียว • หยดุ กระทำ�เม่อื ได้ยินเสยี งห้าม อยา่ งน้อย ๑ ส่วน
• รู้จักเช่ือมโยงคำ�พูดกับการกระทำ� เช่น • พูดคำ�พยางค์เดียวทีม่ ีความหมายได้
“ไม่” จะส่นั หัว “บ๊าย บาย” จะโบกมือ อย่างนอ้ ย ๒ ค�ำ
• พูดคำ�พยางคเ์ ดยี วไดอ้ ย่างน้อย ๒ คำ� • ส�ำ รวจส่งิ ของโดยใชห้ ลายๆ วธิ ี เช่น
• คาดคะเนได้ถึงการกลับมาของบุคคล เขยา่ ตี ขวา้ ง
หรือสงิ่ ของ • เลยี นแบบท่าทางการกระท�ำ ง่ายๆ
• เลยี นแบบการเคลื่อนไหวหนา้ ตา ของผ้ใู หญ่
แลบลน้ิ ปากจู๋ • ส�ำ รวจสง่ิ ทีเ่ กดิ ขึน้
• ใช้น้ิวส�ำ รวจสง่ิ ของหรอื พนื้ ที่ท่ีมชี ่อง • ลองผิดลองถูกเพอ่ื แก้ปัญหา
หรอื มรี ู • มองอยา่ งคน้ หา
• รู้ว่าค�ำ ตา่ งๆ เป็นสัญลักษณข์ องวตั ถนุ ัน้ ๆ • บอกสิ่งทตี่ อ้ งการดว้ ยคำ�พดู ง่ายๆ ได้
เช่น ถา้ พูดวา่ นก จะชไี้ ปท่ที อ้ งฟ้า • รู้จักชอื่ ตนเอง
• เรม่ิ พดู เปน็ คำ�ๆ ทมี่ ีความหมาย • แสดงความคิดและจินตนาการ
• เรียนรู้คำ�ใหมๆ่ ท่ีมคี วามหมาย • เรม่ิ เปลง่ เสียงหรือกลา่ วคำ�พดู เก่ียวกบั
• ค้นหาของที่ปิดซอ่ นจากสายตาได้ การกระทำ�ทท่ี �ำ อยู่
• เข้าใจคำ�พดู ง่ายๆ ได้
• พดู เป็นค�ำ ๆ ได้มากขึน้
• ทักทายโดยการใช้เสียงพร้อมท่าทาง
อย่างเหมาะสม
• สนใจส�ำ รวจสงิ่ รอบตัว
• ลองผิดลองถกู เพือ่ แก้ปัญหา
• ขีดเขียนเสน้ ย่งุ ๆ ได้

ค่มู อื หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเด็กอายุต่ํากวา่ ๓ ปี 27

เดก็ อายุ ๑ ปี ๖ เดือน - ๒ ปี เดก็ อายุ ๒ - ๓ ปี

• ปฏบิ ัตติ ามคำ�สั่งได้ ๒ ค�ำ ส่งั ต่อเนื่อง • รอ้ งเพลงได้บางคำ� และรอ้ งเพลงคลอตามทำ�นอง
• สนใจฟังนิทานเรือ่ งง่ายๆ • สนใจดหู นังสอื นิทานภาพ
• พดู คำ�ต่อกัน เช่น ไปเท่ยี ว กินข้าว • พูดเป็นวลสี นั้ ๆ
• สังเกต ส�ำ รวจ ลองผิดลองถกู กับคุณสมบตั ิของส่ิงต่างๆ • มักจะถามค�ำ ถาม “อะไร” และ “ท�ำ ไม”
• เลยี นแบบค�ำ พดู ทผ่ี ้ใู หญพ่ ดู • อยากเรยี นรสู้ งิ่ ต่างๆ
• สำ�รวจตามตู้ ลิ้นชกั ช้นั วางของ ตะกรา้ ผ้า • ถามบ่อยถามซํ้า
• ชอบเลน่ ลาก ดงึ ผลัก โยน • จดจอ่ ต่อส่ิงใดสิ่งหนึ่งได้ยาวนานข้ึน
• ชอบวางรูปทรงลงชอ่ ง • เลยี นแบบการกระท�ำ ผใู้ กล้ชิดหรือเด็กอ่นื
• ชอบฟงั นทิ านเรอ่ื งส้ันๆ • พยายามเลยี นเสยี งต่างๆ
• เขา้ ใจเรอ่ื งเวลาแค่เพียง เด๋ียวนี้ เดย๋ี วก่อน • ค้นหาของทถ่ี กู ซ่อนโดยมีสง่ิ ปกปดิ ๒ - ๓ ชั้น
• เรยี กหรอื ชีส้ ่วนตา่ งๆ ของร่างกายได้ • ชอบละเลงสดี ้วยมอื
• เรม่ิ จำ�ชื่อวัตถสุ ิ่งของทพี่ บเห็นบอ่ ยๆ ได้ • ชอบเล่นนาํ้ เล่นทราย
• ขดี เขียนเสน้ ต่างๆ แต่ยงั ไมช่ ดั เจน • ชอบดูหนงั สอื ภาพ
• ชอบฟังบทเพลง บทกลอน นิทาน ค�ำ คล้องจอง
• เลน่ น้ิวมือประกอบเพลง บทกลอน คำ�คลอ้ งจอง นิทาน
• สนใจคน้ คว้า ส�ำ รวจสงิ่ ตา่ งๆ
• ขีดเขียนเส้นตรงเปน็ แนวดิ่งได้

การอบรมเล้ยี งดูและการพฒั นาเดก็

การอบรมเลี้ยงดูและการพัฒนาเด็กตํ่ากว่า ๓ ปี มุ่งเน้นการอบรมเลี้ยงดู ส่งเสริมพัฒนาการ และ
จัดประสบการณ์ผา่ นการเลน่ ตามธรรมชาติทเี่ หมาะสมกบั วยั ทั้งทางดา้ นร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสติปญั ญา
โดยจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการ ความสนใจ และความสามารถตามวัยของเด็ก อย่างไรก็ตาม เน่ือง
ด้วยช่วงพัฒนาการของเด็กมีความแตกต่างกัน จึงจำ�เป็นต้องมีผู้เล้ียงดูอยา่ งใกล้ชิดและเหมาะสมกับจำ�นวนของเด็ก
ตลอดจนวธิ กี ารอบรมเล้ยี งดูและพัฒนาเดก็ ดังนี้
การจดั ชนั้ หรือกลมุ่ เด็ก ยึดอายเุ ดก็ เป็นหลัก และคำ�นงึ ถงึ อัตราส่วนระหว่างผูเ้ ลี้ยงดเู ด็ก ๑ คน ตอ่ จ�ำ นวน
เดก็ ท่ดี แู ล ดังนี้
อัตราส่วนระหว่างผู้เล้ียงดูเดก็ : เด็ก
ผู้เลย้ี งดเู ดก็ ๑ คน ตอ่ เดก็ แรกเกิด - ๑ ปี อตั ราส่วน ๑ : ๓
ผเู้ ล้ียงดเู ด็ก ๑ คน ต่อเด็กอายุ ๑ - ๒ ปี อตั ราส่วน ๑ : ๕
ผเู้ ลย้ี งดเู ดก็ ๑ คน ตอ่ เด็กอายุ ๒ - ๓ ปี อัตราส่วน ๑ : ๑๐

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สำ�หรับเด็กอายุต่ํากว่า ๓ ปี แบ่งวิธีการอบรมเล้ียงดูและการพัฒนาเด็ก
ออกเป็น ๒ ช่วงอายุ ประกอบด้วย ช่วงอายุแรกเกิด - ๒ ปี เป็นแนวปฏิบัติการอบรมเลี้ยงดูตามวิถีชีวิตประจำ�วัน
โดยพอ่ แม่และผเู้ ลี้ยงดู และชว่ งอายุ ๒ - ๓ ปี เปน็ แนวปฏบิ ัติการอบรมเลีย้ งดูและส่งเสรมิ พฒั นาการและการเรียนรู้
โดยพอ่ แม่และผ้เู ล้ียงดู แตล่ ะช่วงอายมุ ีรายละเอยี ด ดงั นี้

28 คู่มอื หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เดก็ อายตุ าํ่ กวา่ ๓ ปี

ช่วงอายแุ รกเกิด - ๒ ปี

แนวปฏิบตั ิการอบรมเล้ียงดูตามวิถีชวี ิตประจ�ำ วันโดยพ่อแม่และผ้เู ลี้ยงดู ส�ำ หรับเด็กช่วงอายแุ รกเกิด - ๒ ปี
เน้นการอบรมเล้ียงดูตามวิถีชีวิตประจำ�วัน และส่งเสริมพัฒนาการทุกด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย ส่งเสริมให้เด็กได้ใช้
ร่างกายตามความสามารถ ด้านอารมณ์ จิตใจ ส่งเสริมการตอบสนองความต้องการของเด็กอย่างเหมาะสม ภายใต้
สภาพแวดล้อมท่ีอบอุ่นและปลอดภัย ด้านสังคม ส่งเสริมให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลใกล้ชิด และด้านสติปัญญา
ส่งเสริมให้เด็กได้สังเกตส่ิงต่างๆ รอบตัว เพ่ือสร้างความเข้าใจและใช้ภาษาเพื่อการส่ือสาร ส่งเสริมการคิด และ
การแกป้ ญั หาทเี่ หมาะสมกบั วยั
การอบรมเล้ียงดูตามวิถีชีวิตประจำ�วัน สำ�หรับเด็กช่วงอายุแรกเกิด - ๒ ปี มีความสำ�คัญอย่างย่ิงต่อ
การวางรากฐานชีวติ ของเด็กทั้งทางร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสติปัญญา การจดั กจิ กรรมในแตล่ ะวันควรจัด
ให้สอดคล้องกับความต้องการ ความสนใจ และความสามารถตามวัยของเด็ก โดยผ่านการอบรมเลี้ยงดูตามวิถีชีวิต
ประจำ�วนั และการเลน่ ตามธรรมชาตขิ องเดก็ โดยมีแนวปฏบิ ตั กิ ารอบรมเลย้ี งดตู ามวถิ ชี วี ติ ประจำ�วนั ดังน้ี
๑. การฝกึ สุขนิสัยและลกั ษณะนสิ ยั ทีด่ ี เปน็ การสรา้ งเสริมสุขนิสัยที่ดใี นการรับประทานอาหาร การนอน
การท�ำ ความสะอาดร่างกาย การขบั ถา่ ย ตลอดจนปลกู ฝังลกั ษณะนิสยั ทด่ี ใี นการดูแลสขุ ภาพอนามัย ความปลอดภัย
และการแสดงมารยาททส่ี ุภาพ นมุ่ นวล แบบไทย
๒. การเคล่ือนไหวและการทรงตัว เป็นการส่งเสริมการใช้กล้ามเน้ือแขนกับขา มือกับนิ้วมือ และ
สว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกายในการเคล่ือนไหวหรอื ออกกำ�ลังกายทุกสว่ น โดยการจัดให้เดก็ ได้เคล่ือนไหวทัง้ กล้ามเนอื้ ใหญ่
กลา้ มเน้ือเล็ก และตามความสามารถของวยั เช่น คว่ํา คลาน ยืน เดนิ เลน่ นว้ิ มือ เคล่อื นไหวสว่ นตา่ งๆ ของร่างกาย
ตามเสียงดนตรี ปีนป่ายเคร่ืองเล่นสนามเด็กเล็ก เล่นม้าโยก ลากจูงของเล่นมีล้อ ข่ีจักรยานทรงตัวของเด็กเล็ก
โดยใชเ้ ท้าชว่ ยไถ
๓. การฝึกการประสานสัมพันธ์ระหว่างมือ - ตา เป็นการฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อมือ น้ิวมือ
ใหพ้ รอ้ มทจ่ี ะหยบิ จบั ฝกึ การท�ำ งานอยา่ งสมั พนั ธก์ นั ระหวา่ งมอื - ตา รวมทง้ั ฝกึ ใหเ้ ดก็ รจู้ กั คาดคะเนหรอื กะระยะทางของ
สิ่งต่างๆ ท่ีอยู่รอบตัวเทียบกับตนเองในลักษณะใกล้กับไกล เช่น มองตามเครื่องแขวนหรือโมบายท่ีมีเสียงและสี
(สำ�หรับขวบปีแรกควรเป็นโมบายสีขาวดำ�) ร้อยลูกปัดขนาดใหญ่ เล่นหยอดบล็อกรูปทรงลงกล่อง ตอกหมุด
โยนรบั ลูกบอล เล่นนาํ้ เล่นปั้นแปง้ ใชส้ ีเทยี นแท่งใหญ่วาดเขียนขดี เข่ีย
๔. การส่งเสริมด้านอารมณ์ จิตใจ เป็นการส่งเสริมการเลี้ยงดูในการตอบสนองความต้องการของเด็ก
ด้านจิตใจ โดยการจัดสภาพแวดล้อมท่ีส่งเสริมให้เด็กเกิดความรู้สึกอบอุ่นและมีความสุข เช่น สบตา อุ้ม โอบกอด
สัมผัส การเป็นแบบอยา่ งท่ีดีในดา้ นการแสดงออกทางอารมณ์ ตอบสนองต่อความรู้สึกที่เด็กแสดงออกอยา่ งนุ่มนวล
อ่อนโยน ปลูกฝังการชนื่ ชมธรรมชาตริ อบตวั
๕. การส่งเสริมทักษะทางสังคม เป็นการส่งเสริมการสร้างความสัมพันธ์กับพ่อแม่ ผู้เล้ียงดู และบุคคล
ใกล้ชิด โดยการพูดคุยหยอกล้อหรือเล่นกับเด็ก เช่น เล่นจ๊ะเอ๋ เล่นจ้ําจ้ี เล่นโยกเยก เล่นประกอบคำ�ร้อง เช่น
จนั ทร์เจ้าเอ๋ย แมงมุม ต้ังไขล่ ้ม หรือพาเด็กไปเดนิ เล่นนอกบ้าน พบปะเดก็ อ่ืนหรอื ผูใ้ หญ่ภายใต้การดแู ลอย่างใกลช้ ดิ
เชน่ พาไปบ้านญาติ พาไปร่วมกจิ กรรมที่ศาสนสถาน

คมู่ ือหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเดก็ อายตุ า่ํ กวา่ ๓ ปี 29

๖. การใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า เป็นการกระตุ้นการรับรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้า ในการมองเห็น
การได้ยินเสียง การลิม้ รส การได้กล่นิ และการสัมผัสจับต้องสิ่งต่างๆ ที่แตกตา่ งกันในดา้ นขนาด รปู รา่ ง สี นา้ํ หนัก
และผวิ สัมผสั เช่น การเลน่ มองตนเองกบั กระจกเงา การเล่นของเล่นทีม่ ีพ้นื ผวิ แตกต่างกัน
๗. การส่งเสริมการสำ�รวจส่ิงต่างๆ รอบตัว เป็นการฝึกให้เด็กเรียนรู้สิ่งรอบตัวผ่านเหตุการณ์และ
ส่ือท่ีหลากหลายในโอกาสต่างๆ รู้จักสำ�รวจ และทดลองสิ่งท่ีไม่คุ้นเคย เช่น มองตามสิ่งของ หันหาที่มาของเสียง
คน้ หาสง่ิ ของทีป่ ดิ ซอ่ นจากสายตา กิจกรรมการทดลองงา่ ยๆ
๘. การส่งเสริมทักษะทางภาษา เป็นการฝึกให้เด็กได้เปล่งเสียง เลียนเสียงพูดของผู้คน เสียงสัตว์ต่างๆ
รู้จักชื่อเรียกของตนเอง ชื่ออวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกาย ช่ือพ่อแม่หรือผู้คนใกล้ชิด และชื่อสิ่งต่างๆ รอบตัว
ตลอดจนฝึกให้เด็กรู้จักส่ือความหมายด้วยคำ�พูดและท่าทาง ชี้ชวนและสอนให้รู้จักช่ือเรียกส่ิงต่างๆ จากของจริง
อา่ นหนงั สอื นิทานภาพหรอื ร้องเพลงง่ายๆ ใหเ้ ดก็ ฟัง
๙. การส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ เป็นการฝึกให้เด็กได้แสดงออกทางความคิด
ตามจินตนาการของตนเอง เช่น ขีดเขียนวาดรูปอย่างอิสระ เล่นบล็อก เล่นของเล่นสร้างสรรค์ พูดเล่าเร่ือง
ตามจนิ ตนาการ เล่นสมมติ

ช่วงอายุ ๒ - ๓ ปี

การพฒั นาเด็กในชว่ งอายุ ๒ - ๓ ปี ม่งุ เนน้ การเรยี นรูแ้ ละพฒั นาทักษะพน้ื ฐานของเด็กอย่างเปน็ องค์รวม
ทั้งทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา โดยจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการ ความสนใจ
และความสามารถของเด็กตามวัย มีการบูรณาการการเรียนรู้ผ่านการอบรมเล้ียงดูตามวิถีชีวิตประจำ�วันและการเล่น
ของเดก็ ตามธรรมชาตทิ ี่เหมาะสมกับวยั ทัง้ น้ี ควรคำ�นึงถึงสาระการเรียนรู้ ดังน้ี
สาระการเรยี นรู้
สาระการเรียนรู้ของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สำ�หรับเด็กช่วงอายุ ๒ - ๓ ปี เป็นสื่อกลางในการจัด
ประสบการณ์ เพ่ือส่งเสริมพัฒนาการทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ซึ่งจำ�เป็นต่อ
การพัฒนาเด็กให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ โดยอาจจัดในรูปแบบหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ หรือเลือกใช้รูปแบบ
ทเ่ี หมาะสมกบั เด็กปฐมวัย สาระการเรยี นรู้ประกอบไปดว้ ย ๒ ส่วน คอื ประสบการณส์ �ำ คญั และสาระทีค่ วรเรยี นรู้
ดงั น้ี
๑. ประสบการณ์สำ�คัญ เป็นสิ่งจำ�เป็นอย่างย่ิงที่จะต้องให้เด็กได้ลงมือทำ�ด้วยตนเอง เพื่อพัฒนาเด็ก
ท้ังทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา โดยเฉพาะในระยะแรกเร่ิมชีวิตและช่วงระยะปฐมวัย
มีความสำ�คัญเป็นพิเศษ เน่ืองจากเป็นรากฐานของพัฒนาการก้าวต่อไปของชีวิตเด็กแต่ละคน ตลอดจนเป็นปัจจัย
สำ�คัญท่ีกำ�หนดความสามารถ แรงจูงใจใฝ่เรียนรู้ และความกระตือรือร้นในการพัฒนาตนเองของเด็ก ที่จะส่งผล
ต่อเน่ืองจากช่วงวัยเด็กไปสู่วัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่ ประสบการณ์สำ�คัญจะเก่ียวข้องกับการจัดสภาพแวดล้อมทุกด้าน
ท่ีกระตุ้นให้เด็กเกิดการเรียนรู้และมีความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์กับส่ิงต่างๆ รอบตัวในวิถีชีวิตของเด็ก
และในสังคมภายนอก อันจะส่ังสมเป็นทักษะพื้นฐานที่จำ�เป็นต่อการเรียนรู้ และสามารถพัฒนาต่อเน่ืองไปสู่ระดับ
ท่ีสงู ข้ึน

30 คูม่ อื หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเดก็ อายุตํ่ากว่า ๓ ปี

ประสบการณ์สำ�คัญท่ีช่วยส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาของ
เด็กนั้น พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูจำ�เป็นต้องสนับสนุนให้เด็กได้มีประสบการณ์ตรงด้วยการใช้ประสาทสัมผัสท้ังห้า
การเคล่ือนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย การสร้างความรักความผูกพันกับคนใกล้ชิด การปฏิสัมพันธ์กับผู้คนและ
สิ่งต่างๆ รอบตัว และการรู้จักใช้ภาษาส่ือความหมาย ดังนั้น การฝึกทักษะต่างๆ ต้องให้เด็กมีประสบการณ์สำ�คัญ
ผ่านการปฏบิ ตั กิ จิ วัตรประจ�ำ วนั และการเลน่ ให้เด็กเกิดการเรยี นรจู้ ากการเลียนแบบ ลองผิดลองถูก ส�ำ รวจ ทดลอง
และลงมือกระทำ�จริง การปฏิสัมพันธ์กับวัตถุส่ิงของ บุคคล และธรรมชาติรอบตัวเด็กตามบริบทของสภาพแวดล้อม
จำ�เปน็ ตอ้ งมกี ารจัดประสบการณส์ ำ�คญั แบบองคร์ วมท่ยี ึดเด็กเปน็ ส�ำ คญั ดงั ต่อไปน้ี
๑.๑ ประสบการณ์สำ�คัญท่ีส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้มีโอกาส
พัฒนาการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ กล้ามเน้ือเล็ก การประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเน้ือและระบบประสาทในการทำ�
กิจวตั รประจำ�วันหรอื ท�ำ กิจกรรมตา่ งๆ การนอนหลับพักผอ่ น การดูแลสุขภาพอนามัย และความปลอดภยั ของตนเอง
๑.๒ ประสบการณ์สำ�คัญท่ีส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ เป็นการสนับสนุนให้เด็ก
ได้แสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกที่เหมาะสมกบั วัย มคี วามสขุ รา่ เรงิ แจม่ ใส ได้พฒั นาความรูส้ ึกทีด่ ตี ่อตนเอง
และความเชื่อมั่นในตนเอง จากการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำ�วัน พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูเป็นบุคคล
ท่ีมีส่วนสำ�คัญอย่างย่ิงในการทำ�ให้เด็กรู้สึกเป็นที่รัก อบอุ่น มั่นคง เกิดความรู้สึกปลอดภัย ไว้วางใจ ซึ่งจะส่งผล
ให้เดก็ เกดิ ความรสู้ ึกท่ดี ตี อ่ ตนเอง และเรยี นรู้ทีจ่ ะสร้างความสมั พันธ์ท่ีดีกับผูอ้ ื่น
๑.๓ ประสบการณส์ �ำ คญั ทส่ี ง่ เสรมิ พฒั นาการดา้ นสงั คม เปน็ การสนบั สนนุ ใหเ้ ดก็ ไดม้ โี อกาสปฏสิ มั พนั ธ์
กับบุคคลและส่ิงแวดล้อมต่างๆ รอบตัวในชีวิตประจำ�วัน ได้ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ และปรับตัวอยู่ในสังคม เด็กควร
มีโอกาสได้เล่นและทำ�กิจกรรมร่วมกับผู้อื่น ไม่ว่าจะเป็นผู้ใหญ่ เด็กวัยเดียวกันหรือตา่ งวัย เพศเดียวกันหรือตา่ งเพศ
อย่างสมาํ่ เสมอ
๑.๔ ประสบการณ์สำ�คัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้รับรู้และ
เรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัวในชีวิตประจำ�วันผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้า และการเคล่ือนไหว ได้พัฒนาการใช้ภาษา
สื่อความหมายและความคิด รู้จักสังเกตคุณลักษณะต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสี ขนาด รูปร่าง รูปทรง ผิวสัมผัส จดจำ�
ช่ือเรยี กส่ิงต่างๆ รอบตวั

คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เด็กอายตุ ่ํากวา่ ๓ ปี 31

ทั้งนี้ ในการส่งเสริมประสบการณ์สำ�คัญท้ัง ๔ ด้าน นำ�เสนอตัวอย่างกิจกรรมหรือประสบการณ์
ดงั ตารางต่อไปนี้

ประสบการณส์ ำ�คัญ ตัวอยา่ งกจิ กรรมหรือประสบการณ์
ด้านรา่ งกาย • การเคลอื่ นไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายตามจงั หวะดนตรี
• การเล่นออกกำ�ลังกลางแจ้งอย่างอสิ ระ
• การเคลอ่ื นไหวและการทรงตัว
• การประสานสมั พันธ์ของกล้ามเน้อื และระบบประสาท
• การเล่นเครอ่ื งเล่นสัมผสั
• การวาด
• การเขยี นขดี เขย่ี
• การป้นั การฉีก การตัดปะ
• การดแู ลรกั ษาความสะอาดของรา่ งกาย ของใช้สว่ นตวั
• การรกั ษาความปลอดภยั ของตนเอง
ด้านอารมณ์ จติ ใจ • การรบั ร้อู ารมณห์ รือความรสู้ กึ ของตนเอง
• การแสดงอารมณ์ท่ีเป็นสุข
• การควบคุมอารมณ์และการแสดงออกทางอารมณ์
• การเลน่ อิสระ
• การเล่นบทบาทสมมติ
• การช่ืนชมธรรมชาติ
• การเพาะปลูกอยา่ งงา่ ย
• การเลี้ยงสัตว์
• การฟังนิทาน
• การร้องเพลง
• การท่องค�ำ คล้องจอง
• การทำ�กิจกรรมศลิ ปะตา่ งๆ ตามความสนใจ

32 คู่มอื หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เดก็ อายุตา่ํ กวา่ ๓ ปี

ประสบการณ์ส�ำ คญั ตวั อย่างกจิ กรรมหรอื ประสบการณ์
ดา้ นสงั คม • การช่วยเหลือตนเองในกจิ วัตรประจำ�วัน
• การเลน่ อสิ ระ
• การเล่นรวมกลมุ่ กบั ผอู้ น่ื
• การแบง่ ปันหรือการให้
• การอดทนรอคอยตามวัย
• การใชภ้ าษาบอกความตอ้ งการ
• การออกไปเลน่ นอกบ้าน
• การไปสวนสาธารณะ
• การออกไปรว่ มกจิ กรรมในศาสนสถาน
ด้านสติปัญญา • การตอบค�ำ ถามจากการคดิ
• การเช่อื มโยงจากประสบการณเ์ ดิม
• การเรียงล�ำ ดบั เหตุการณ์
• การยืดหยุน่ ความคดิ ตามวยั
• การจดจอ่ ใส่ใจ
• การสงั เกตวตั ถุหรอื ส่ิงของท่มี ีสีสันและรปู ทรงที่แตกตา่ งกัน
• การฟังเสียงตา่ งๆ รอบตัว
• การฟังนิทานหรอื เรือ่ งราวสน้ั ๆ
• การพูดบอกความต้องการ
• การเล่าเรอื่ งราว
• การส�ำ รวจ
• การทดลองอยา่ งง่ายๆ
• การคดิ วางแผนท่ีไม่ซับซ้อน
• การคดิ ตัดสินใจหรือคดิ แกป้ ญั หาในเรือ่ งท่ีงา่ ยๆ ด้วยตนเอง
• การแสดงความคดิ สรา้ งสรรค์และจินตนาการ

ค่มู ือหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เด็กอายตุ าํ่ กว่า ๓ ปี 33

๒. สาระท่ีควรเรียนรู้ สาระที่จะให้เด็กช่วงอายุ ๒ - ๓ ปีเรียนรู้ ควรเป็นเรื่องที่เก่ียวกับตัวเด็กเอง
เป็นล�ำ ดบั แรก แล้วจงึ ขยายไปสู่เร่อื งท่ีอยู่ใกลต้ วั เดก็ เพือ่ น�ำ ไปใช้ในการดำ�เนินชวี ิตประจำ�วนั เด็กควรไดร้ ับการอบรม
เลีย้ งดแู ละส่งเสริมพฒั นาการและการเรยี นรู้ใหเ้ หมาะกับวยั ดงั น้ี
๒.๑ เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้เก่ียวกับช่ือและเพศของตนเอง การเรียกชื่อส่วนต่างๆ
ของใบหน้าและรา่ งกาย การดแู ลตนเองเบื้องต้นโดยมีผู้ใหญ่ให้การชว่ ยเหลือ การลา้ งมือ การขับถา่ ย การรับประทาน
อาหาร การถอดและสวมใส่เสื้อผา้ การรักษาความปลอดภัย และการนอนหลับพักผอ่ น
๒.๒ เรอ่ื งราวเกยี่ วกบั บคุ คลและสถานทแี่ วดลอ้ มเดก็ เดก็ ควรเรยี นรเู้ กย่ี วกบั บคุ คลภายในครอบครวั
และบุคคลภายนอกครอบครัว การรู้จักชื่อเรียกหรือสรรพนามแทนตัวของญาติหรือผู้เลี้ยงดู วิธีปฏิบัติกับผู้อ่ืน
อย่างเหมาะสม การทักทายด้วยการไหว้ การเล่นกับพ่ีน้องในบ้าน การไปเท่ียวตลาดและสถานที่ต่างๆ ในชุมชน
การเล่นทีส่ นามเดก็ เล่น การเขา้ ร่วมกิจกรรมทางศาสนา วฒั นธรรม และประเพณี
๒.๓ ธรรมชาตริ อบตัว เดก็ ควรเรียนร้เู ก่ียวกับการส�ำ รวจสง่ิ ต่างๆ ในธรรมชาตริ อบตัว เชน่ สัตว์ พืช
ดอกไม้ ใบไม้ ผา่ นการใชป้ ระสาทสัมผสั ท้งั หา้ การเล่นนา้ํ เล่นทราย การเลยี้ งสัตว์ต่างๆ ทไี่ ม่เป็นอันตราย การเดินเล่น
ในสวน การเพาะปลูกอยา่ งง่าย
๒.๔ ส่ิงต่างๆ รอบตวั เดก็ เดก็ ควรเรยี นรูเ้ กีย่ วกบั ชอ่ื ของเลน่ ของใชท้ อี่ ยรู่ อบตัว การเชอ่ื มโยงลักษณะ
หรือคณุ สมบตั อิ ยา่ งง่ายๆ ของส่งิ ต่างๆ ทอี่ ย่ใู กลต้ ัวเดก็ เช่น สี รูปรา่ ง รูปทรง ขนาด ผวิ สัมผสั

34 คูม่ ือหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เด็กอายตุ ํ่ากวา่ ๓ ปี

ตอนท่ี ๒

การนำ�หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ สกู่ ารปฏิบัติ

เดก็ อายตุ า่ํ กวา่ ๓ ปี เปน็ ชว่ งวยั แหง่ การวางรากฐานคณุ ภาพชวี ติ เปน็ ภารกจิ
อนั ส�ำ คญั ยงิ่ ทพี่ อ่ แม่ ผเู้ ลย้ี งดู และสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตอ้ งท�ำ หนา้ ทใ่ี นการอบรม
เล้ียงดูและส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ให้กับเด็กอย่างเหมาะสม การศึกษา
หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเด็กอายุต่าํ กวา่ ๓ ปี ให้เขา้ ใจ
อยา่ งถอ่ งแท้ เพ่อื น�ำ สู่การปฏิบตั ไิ ด้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ จึงจำ�เปน็ จะตอ้ งศึกษาและ
ท�ำ ความเขา้ ใจในเรอื่ งตา่ งๆ ดงั นี้ การใชห้ ลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐
ส�ำ หรบั เดก็ อายตุ าํ่ กวา่ ๓ ปี การอบรมเลยี้ งดแู ละการพฒั นาเดก็ การจดั สภาพแวดลอ้ ม
ส่ือ และแหล่งเรียนรู้ การประเมินพัฒนาการเด็ก ปัญหาท่ีพบบ่อยและแนวทาง
การแก้ไข และการช่วยเหลือระยะแรกเร่ิมสำ�หรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ รวมท้ัง
การเช่ือมต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย ทั้งนี้ จากการศึกษาข้อมูลดังกล่าวจะช่วยให้
พอ่ แม่ ผ้เู ลย้ี งดู และสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย สามารถนำ�หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั
พุทธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเด็กอายุต่ํากว่า ๓ ปี ไปใช้ในการพัฒนาเด็กปฐมวัยได้
อยา่ งมีคุณภาพ

บทที่ ๓

การใชห้ ลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐
สำ�หรบั เด็กอายุตํ่ากวา่ ๓ ปี

พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลยี้ งดแู ละสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั จ�ำ เปน็ ตอ้ งศกึ ษาหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช๒๕๖๐
ให้เข้าใจ เพราะในการจัดประสบการณ์ให้เด็กอายุตํ่ากว่า ๓ ปี จะต้องยึดหลักการอบรมเล้ียงดูควบคู่กับการจัด
ประสบการณ์ โดยคำ�นึงถึงความต้องการและความสนใจของเด็กทุกคน เพ่ือให้เด็กได้พัฒนาทุกด้านแบบองค์รวม
ท้ังนี้ พ่อแม่ ผู้เล้ียงดู และสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย สามารถนำ�หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตรงตามเจตนารมณ์ของหลักสูตรที่มุ่งเน้นการอบรมเล้ียงดูและส่งเสริมพัฒนาการ ตลอดจนการเรียนรู้ของเด็ก
ในบรรยากาศที่เต็มไปด้วยความรัก ความเอาใจใส่ ดูแลอยา่ งอบอุ่นใกล้ชิด และสภาพแวดลอ้ มที่ปลอดภัย

การใชห้ ลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั สำ�หรับพอ่ แมห่ รือผเู้ ลย้ี งดู

พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูมีความเชื่อและวิธีการในการอบรมเล้ียงดูเด็กตามแนวคิดและสภาพแวดล้อมของ
ทอ้ งถ่นิ ที่ตนเองอาศยั อยู่ หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัยฉบบั นี้จงึ เปน็ แนวทางใหพ้ อ่ แมห่ รือผู้เล้ยี งดูใช้ในการอบรมเลย้ี งดู
ตามวิถีชีวิตประจำ�วัน และส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของเด็กให้เจริญเติบโตและพัฒนาได้เหมาะสมกับวัย ดังน้ัน
พอ่ แมห่ รอื ผูเ้ ลย้ี งดจู งึ มบี ทบาทสำ�คัญ ดงั นี้

๑. บทบาทหน้าทีต่ อ่ การดำ�เนินการตามหลกั สูตร

หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เดก็ อายุตํ่ากว่า ๓ ปี เปน็ หลกั สูตรท่ีจัดทำ�ขึ้น
บนพื้นฐานการอบรมเลี้ยงดูท่ีตอบสนองต่อธรรมชาติของเด็ก ซ่ีงต้องการความรัก ความอบอุ่น และการส่งเสริม
พัฒนาการของเดก็ แต่ละคนตามศักยภาพ พ่อแมห่ รอื ผู้เล้ยี งดจู ึงควรปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี
๑.๑ ศึกษาปรัชญาการศกึ ษา หลกั การ จุดหมาย เพ่อื ทำ�ความเขา้ ใจกบั แนวทางการพฒั นาเด็กอย่างมี
คุณภาพ

36 คู่มือหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเดก็ อายตุ ่าํ กวา่ ๓ ปี

๑.๒ ศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์เพ่ือใช้เป็นแนวทางการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการ
เด็กปฐมวัยอย่างเหมาะสมกับวัย ในกรณีการอบรมเลี้ยงดเู ด็กชว่ งอายุแรกเกิด - ๒ ปี ใหใ้ ชแ้ นวปฏิบตั กิ ารอบรมเลย้ี งดู
ตามวิถีชีวิตประจำ�วันเป็นกรอบการพัฒนาเด็ก และหากมีการอบรมเล้ียงดูเด็กช่วงอายุ ๒ - ๓ ปี ให้ใช้แนวปฏิบัติ
การอบรมเลี้ยงดูและสง่ เสริมพฒั นาการและการเรยี นรู้
๑.๓ ติดตามประเมินพัฒนาการทุกด้านของเด็ก โดยการสังเกตและบันทึกการเจริญเติบโตและ
พัฒนาการตามช่วงอายุที่กำ�หนด รวมถึงการเฝ้าระวังปัญหาพัฒนาการที่ล่าช้าหรือความผิดปกติท่ีอาจเกิดข้ึนกับเด็ก
หากพบวา่ เดก็ มีพฒั นาการช้ากว่าปกติ ควรปรึกษาแพทย์หรือเจ้าหน้าทส่ี าธารณสุขเพื่อช่วยเหลอื เด็กต่อไป
๑.๔ ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคลของเด็ก เด็กแต่ละคนมีพัฒนาการเร็วช้าต่างกัน พ่อแม่หรือ
ผู้เล้ียงดูหลีกเลี่ยงการเปรียบเทียบเด็ก หรือเลือกปฏิบัติต่อเด็กเฉพาะคน แต่ควรจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการ
ดา้ นทบี่ กพรอ่ งหรอื ดา้ นทเ่ี ดก็ ขาดโอกาสในการพัฒนา

๒. บทบาทหน้าท่ตี อ่ การอบรมเล้ียงดู

๒.๑ พ่อแม่ เป็นคนสำ�คัญท่ีสุดในชีวิตของเด็ก เพราะพ่อแม่เป็นผู้วางรากฐานของชีวิตให้แก่เด็ก
ที่จะเติบโตข้ึนเป็นคนดี คนเก่ง มีความสุข และเป็นกำ�ลังสำ�คัญของครอบครัวและประเทศชาติต่อไป ดังน้ัน พ่อแม่
จงึ ควรปฏิบตั ิดงั น้ี
๑) เลี้ยงดูลูกอย่างใกล้ชิดด้วยความรักความเข้าใจ มีเมตตา มีเหตุผล และปฏิบัติต่อเด็กอย่าง
สมํ่าเสมอ
๒) ให้กำ�ลงั ใจ ชมเชย แสดงความสนใจ เมื่อลกู พยายามหรอื ท�ำ สิง่ ที่ดี
๓) เม่ือลกู ท�ำ ผดิ แนะน�ำ สั่งสอน แก้ไขดว้ ยเหตุผล และแนะทางทถ่ี กู ให้ ไม่ละเลยหรอื ผลัดเวลา
๔) สอนเด็กให้มีค่านิยมและวัฒนธรรมที่ดี เช่น การไหว้ การมีระเบียบ วินัย และการรักษา
สิ่งแวดลอ้ ม อาจเริม่ จากการเลา่ นทิ าน รอ้ งเพลงกล่อมลูก เลน่ ดนตรี
๕) ปฏิบัติตนให้เป็นตัวอย่างท่ีดี ไม่พูดปด ไม่ทำ�ร้ายผู้อื่น รู้จักการรับและการให้ การรอคอย
ร้จู กั ขอบคุณและขอโทษ
๖) อบรมเลี้ยงดูและจัดกิจกรรมที่สร้างเสริมพัฒนาการ รวมท้ังเฝ้าสังเกตพัฒนาการของลูก
แต่ละชว่ งวัย ถ้าพบวา่ พฒั นาการของลกู ชว่ งวัยใดตํ่ากวา่ เกณฑค์ วรรีบปรึกษาแพทย์
๒.๒ ผู้เลี้ยงดู เป็นบุคคลที่มีความสำ�คัญอย่างยิ่ง เพราะอยู่ใกล้ชิดกับเด็กรองจากพ่อแม่ และ
ทำ�หน้าที่ในการถ่ายทอดความรู้ ความดี และประสบการณ์ อันเป็นประโยชน์ต่อเด็ก ตลอดจนดูแลส่งเสริม
พัฒนาการของเด็กทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ให้มีความเจริญงอกงามเต็มตามศักยภาพ
และเตบิ โตเป็นพลเมอื งท่ีมคี ณุ ภาพตอ่ ไป ดังนัน้ ผู้เลีย้ งดูจึงมีบทบาทหน้าท่สี �ำ คญั ดังนี้

ค่มู อื หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเด็กอายุตํ่ากวา่ ๓ ปี 37

๑) ปฏบิ ตั หิ นา้ ทต่ี ่อกจิ วัตรประจ�ำ วันของเด็ก
ผู้เลี้ยงดูมีหน้าที่ดูแลและปฏิบัติตามกิจวัตรประจำ�วันให้เหมาะสมกับเด็ก เพื่อให้เด็ก
เจริญเติบโตมพี ฒั นาการทุกด้านตามวัย โดยมีแนวปฏิบตั ดิ งั นี้
(๑) ทักทาย โอบกอดเด็กด้วยความนุ่มนวลอ่อนโยน
(๒) ดแู ลเรื่องขับถา่ ย ใหเ้ ดก็ ถ่ายทุกวนั ในบรรยากาศที่ไม่เคร่งเครยี ด
(๓) ดแู ลเรือ่ งการทำ�ความสะอาดรา่ งกาย ได้แก่ ล้างหนา้ แปรงฟัน อาบนํา้
(๔) ใหน้ มและอาหารที่เหมาะสมกบั วัย
(๕) เล่นกบั เด็ก พรอ้ มสังเกตพฤติกรรมการแสดงออกหรอื การเจ็บปว่ ย
(๖) ร้องเพลง เล่านิทาน อ่านหนังสือใหฟ้ งั
(๗) ให้อาหารวา่ ง ใหพ้ กั ผอ่ นนอนหลับ
(๘) อ้มุ เด็ก พาเด็กเดนิ เล่น ช้ีชวนให้รจู้ ักสิ่งรอบตัว
๒) ส่งเสริมพัฒนาการของเดก็ ในลกั ษณะบูรณาการ
การส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ผู้เลี้ยงดูต้องตระหนักถึงความสำ�คัญของการส่งเสริม
พัฒนาการเด็กว่าเป็นเสมือนประสบการณ์ช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้และทักษะ เช่น การใช้สายตา การฟัง
การเคล่ือนไหวของมือ พัฒนาการกล้ามเน้ือและประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา เป็นต้น นอกจากน้ีทำ�ให้เด็ก
เกดิ ความคิดสรา้ งสรรค์ มคี วามมั่นใจ กล้าแสดงออก และเลน่ ร่วมกับผู้อื่นได้
ผู้เล้ียงดูควรส่งเสริมพัฒนาการเด็กในลักษณะบูรณาการ โดยให้โอกาสเด็กเรียนรู้
จากสิ่งของและผู้คนท่ีอยู่รอบข้าง ซ่ึงเด็กจะเรียนรู้ได้โดยผ่านประสาทสัมผัสท้ังห้า การเคลื่อนไหว การเล่น และ
การลงมือกระท�ำ ดงั นน้ั ผเู้ ล้ียงดูเด็กจะต้องสง่ เสริมหรอื ให้โอกาสเดก็ ไดพ้ ัฒนาโดยการใชป้ ระสาทสมั ผัสท้ังหา้ เช่น
(๑) สนับสนุนใหเ้ ด็กไดเ้ ลน่ สง่ิ ท่ีไมเ่ ปน็ อนั ตราย อาจเป็นของเลน่ หรอื ของใช้ในบา้ น
(๒) สนบั สนนุ ใหเ้ ดก็ ไดม้ โี อกาสเลน่ ตามจนิ ตนาการ เลน่ คนเดยี วหรอื เลน่ กบั เพอื่ นและผใู้ หญ่
(๓) อ่านหนังสอื ให้เด็กฟงั อาจใหเ้ ด็กนง่ั ตักหรืออา่ นใหฟ้ งั ในกลมุ่ ยอ่ ย ๒ - ๓ คน นอกจากนี้
ควรรอ้ งเพลง เล่นกับน้ิวมือ แสดงบทบาทสมมตติ ามเน้ือเรื่องในนทิ านกบั เดก็
(๔) สง่ เสรมิ เดก็ ทางดา้ นสนุ ทรยี ภาพ เชน่ กจิ กรรมดา้ นศลิ ปะ การใชส้ เี ทยี น สนี า้ํ พบั กระดาษ
ปัน้ แปง้ พิมพภ์ าพ กจิ กรรมดา้ นดนตรี การฟังดนตรี การรอ้ งเพลง การช่ืนชมธรรมชาติ เป็นต้น
(๕) ให้โอกาสเดก็ เลน่ กลางแจง้ เล่นนํา้ เล่นทราย โดยมีผูเ้ ล้ยี งดูเด็กดูแลอย่างใกล้ชิด
(๖) ใหโ้ อกาสเด็กได้เลอื กของเล่นตามทเี่ ด็กชอบและปลอดภัย
(๗) ส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กจากส่ิงแวดล้อมรอบตัว เช่น ของจริงตามธรรมชาติ (ใบไม้
ผลไม้ ฯลฯ) จากบุคคล (หู ตา จมูก ผม ฯลฯ) จากสง่ิ ของ (ชอ้ น จาน แก้วนํ้า ฯลฯ)

38 คมู่ อื หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เดก็ อายตุ ่าํ กว่า ๓ ปี

๓) ปฏิบัตติ ่อเด็กด้วยค�ำ พดู และวธิ กี ารที่อ่อนโยน
ผู้เลี้ยงดูควรปฏิบัติต่อเด็กอย่างอ่อนโยน โดยต้องทำ�ให้เด็กรู้สึกว่ามีผู้ให้ความรัก
ความอบอุ่น ความมัน่ คงปลอดภยั ซ่งึ เปน็ พ้นื ฐานส�ำ คญั ที่จะช่วยพัฒนาทักษะทางด้านรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม
และสติปัญญา ทั้งนี้ การสร้างบรรยากาศที่ม่ันใจว่าจะสามารถพัฒนาทางด้านจิตใจเด็ก และเป็นการสนองอารมณ์
ของเดก็ ให้รู้สึกมีคา่ โดยมีวิธีการต่างๆ ดังนี้
(๑) กอดจบู โอบอมุ้ ยิม้ แยม้ แจ่มใสกบั เด็ก
(๒) พดู คุยโตต้ อบกบั เด็ก
(๓) ชมเชยเม่อื เด็กท�ำ ได้หรอื มีความพยายาม
(๔) รอ้ งเพลง ฮมั เพลง
(๕) พดู คุยหยอกลอ้ ให้เดก็ หัวเราะ
(๖) ไม่ใช้วธิ ขี ูบ่ งั คับ ทำ�โทษรนุ แรง แกลง้ ให้ตกใจหรือโกรธ
๔) สงั เกตและบันทึกการเจรญิ เติบโต พฤติกรรม พฒั นาการด้านตา่ งๆ ของเดก็
ผู้เลี้ยงดูจำ�เป็นอย่างย่ิงที่จะต้องเป็นคนช่างสังเกต โดยเฉพาะพฤติกรรมที่ผิดปกติ
ของเด็ก เพื่อจะได้รีบค้นหาสาเหตุและวิธีแก้ไขได้ทันท่วงที ในการสังเกตควรทำ�อย่างแนบเนียนเป็นธรรมชาติ
จึงจะได้เห็นพฤตกิ รรมที่แทจ้ ริง การบันทกึ ตอ้ งสังเกตเด็กเปน็ ระยะอย่างสมา่ํ เสมอ เช่น ๑ - ๓ เดือนตอ่ ครั้ง เพ่อื จะได้
เห็นความเปลย่ี นแปลงของลกั ษณะพฤตกิ รรมทต่ี า่ งออกไปไดท้ นั ท่วงที
การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรม พัฒนาการ และความสามารถของเด็ก อาจทำ�ได้
หลายวิธี ดงั น้ี
(๑) สอบถามจากพอ่ แม่
(๒) สังเกตพฤติกรรมทั้งท่ีแสดงออกทางวาจาและท่าทางการพูดคุยกับเด็ก หรือการเล่น
กับเด็กในบางครั้ง เพื่อให้ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์จะต้องทำ�อย่างต่อเนื่อง และบันทึกไว้เป็นหลักฐานอย่างสมํ่าเสมอ
ในสมุดบนั ทกึ สขุ ภาพ
(๓) ดจู ากความพรอ้ มของเดก็ ด้านรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสติปัญญา
(๔) สังเกตหรอื พิจารณาจากผลงานของเด็ก เช่น ภาพวาด ส่งิ ประดิษฐ์ เป็นตน้
๕) เฝ้าระวงั ความผดิ ปกตทิ ีอ่ าจเกดิ ขึน้ กับเด็ก
ผู้เลี้ยงดูนอกจากจะเป็นนักสังเกตและจดบันทึกพฤติกรรมและพัฒนาการเด็กแล้ว
การเฝ้าระวังความผิดปกติท่ีเกิดข้ึนกับเด็กเป็นบทบาทหน้าท่ีที่สำ�คัญอีกประการหนึ่งที่ผู้เลี้ยงดูจะต้องให้
ความสนใจ เอาใจใส่เด็กที่เลี้ยงดู เพื่อให้เด็กได้เจริญเติบโต มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีพัฒนาการทั้งทางด้าน
ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสติปญั ญา ดงั ตอ่ ไปนี้

คูม่ อื หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เด็กอายตุ า่ํ กวา่ ๓ ปี 39

(๑) เฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็ก โดยการช่ังน้ําหนัก วัดส่วนสูง และบันทึกไว้เพ่ือ
ดูความเปล่ียนแปลง และความผิดปกติที่อาจเกดิ ข้นึ ได้ เชน่ นํ้าหนกั ลด ควรหาสาเหตุเพือ่ รีบแกไ้ ขหรอื เปรียบเทียบ
นาํ้ หนักกบั สว่ นสูงเพอ่ื ดูการเจรญิ เติบโตของเดก็ (สมดุ บนั ทกึ สุขภาพแมแ่ ละเดก็ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข)
(๒) เฝ้าระวังทางสขุ ภาพในเร่อื งฉดี วคั ซีนป้องกนั โรคและวคั ซีนอ่ืนๆ ตามชว่ งอายุ
(๓) เฝา้ ระวงั พฒั นาการเดก็ ผเู้ ลยี้ งดเู ดก็ สามารถศกึ ษาไดจ้ ากสมดุ บนั ทกึ สขุ ภาพแมแ่ ละเดก็
ค่มู ือเลี้ยงลกู ถูกวธิ ี วัยแรกเรมิ่ ครอบครวั ดมี ีสุข ฯลฯ
(๔) เฝ้าระวังความผิดปกติที่เกิดกับเด็ก โดยผู้เล้ียงดูเด็กต้องเอาใจใส่ดูแลอย่างใกล้ชิด
และหมั่นสังเกตความเปล่ียนแปลงหรือความผิดปกติที่เกิดข้ึนโดยเทียบกับพัฒนาการตามวัยของเด็กปกติ จะช่วยให้
ผู้เลี้ยงดูเด็กสามารถค้นพบปัญหาพัฒนาการของเด็ก และช่วยเหลือเด็กได้ตั้งแต่ปัญหายังไม่รุนแรงนัก โดยพาไป
ตรวจสขุ ภาพหรือพบแพทย์ทนั ทเี ม่ือมีอาการผดิ ปกติ
๖) จัดสิ่งแวดล้อมทป่ี ลอดภัย ถกู สขุ ลกั ษณะ เหมาะสมกบั การพฒั นาเด็กทุกด้าน
เด็กวัยแรกเกิด - ๓ ปี เป็นช่วงวัยที่สำ�คัญย่ิง เพราะพัฒนาการหลายด้านกำ�ลังเร่ิมต้นขึ้น
การจัดสภาพแวดล้อมจึงมีความสำ�คัญต่อเด็กและมีอิทธิพลต่อการพัฒนาเด็กอย่างมาก สภาพแวดล้อมทั้งภายใน
และภายนอกบ้านควรได้รับการดแู ลให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ และปลอดภยั
(๑) การจดั สภาพแวดลอ้ มภายใน ควรมลี กั ษณะดงั ตอ่ ไปน้ี
ก. แสงสวา่ งเพยี งพอ
ข. การถ่ายเทอากาศดี
ค. พ้นื ห้องไม่ล่ืน (ถา้ เปียกต้องเชด็ ) ทำ�ให้เกดิ อันตรายได้
ง. การจดั ทีใ่ หเ้ ดก็ เล่นเหมาะสม มคี วามปลอดภัย
จ. มีประตกู ้ันทางเข้า - ออก
ฉ. จัดเก็บสารมีพิษ ของมีคมปลายแหลม เป็นสัดส่วนพ้นมือเด็ก หรือใส่ตู้และปิด
ให้มดิ ชดิ
ช. จดั หาของใช้/ของเลน่ ทป่ี ลอดภัยสำ�หรบั เดก็ และจดั วางใหเ้ ปน็ ระเบียบ
ซ. มกี ารตรวจตราของเลน่ เคร่ืองใช้ใหอ้ ยูใ่ นสภาพที่แข็งแรง ปลอดภยั และหมนั่ ดูแล
เรอ่ื งความสะอาด
(๒) การจดั สภาพแวดล้อมภายนอก ควรมีลกั ษณะดงั ต่อไปนี้
ก. สภาพภายนอกมีบรรยากาศรม่ รน่ื มีรม่ เงา ปลูกไมด้ อก ไม้ประดับ หรือไม้กระถาง
ส�ำ หรับที่ไมม่ ีบรเิ วณ
ข. มีความสะอาด สวยงาม
ค. ทีเ่ ลน่ ส�ำ หรับเด็กต้องร่มร่ืน ปลอดภัย และมบี รเิ วณกวา้ งพอท่จี ะให้เด็กเคล่อื นไหว
ได้อย่างอิสระ มีท่ีพักน่งั เล่น

40 คมู่ ือหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเด็กอายตุ า่ํ กว่า ๓ ปี

๒.๓ ชุมชน การที่เด็กจะเติบโตเป็นอนาคตที่สดใสของชุมชนได้ เด็กต้องอาศัยการสนับสนุนจาก
ชมุ ชน ชวี ติ เดก็ เรม่ิ ตน้ จากการอบรมเลย้ี งดขู องพอ่ แมแ่ ละผเู้ ลยี้ งดู โดยมชี มุ ชนรว่ มดแู ลสทิ ธเิ ดก็ และสง่ เสรมิ พฒั นาการ
ตลอดจนเปน็ ศนู ยก์ ารเรียนรูแ้ ละเครือขา่ ยการเรยี นรู้ให้เดก็ มปี ระสบการณ์จากสถานการณจ์ ริง
ปจั จบุ ันชมุ ชนตา่ งๆ มกี ารรวมตวั เขม้ แขง็ ข้ึน การมสี ว่ นรว่ มของเครอื ข่ายหนว่ ยงานต่างๆ ของรัฐ
และองค์กรเอกชนจะช่วยให้การพัฒนาเด็กเป็นไปอย่างมีคุณภาพ มีผู้ท่ีรอบรู้เกี่ยวกับการพัฒนาเด็กปฐมวัยดูแล
ประจำ�สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และสนับสนุนให้จำ�นวนของผู้เลี้ยงดูเด็กมีปริมาณท่ีพอเพียงกับจำ�นวนเด็ก ช่วยให้
การสนับสนุนงบประมาณสำ�หรับฝึกอบรมผู้เลี้ยงดูและสวัสดิการ ชุมชน คือ หน่วยหนึ่งท่ีสำ�คัญของสังคม สามารถ
ชว่ ยสรา้ งสรรค์และสนับสนุนให้การพัฒนาเด็กปฐมวัยมคี ณุ ภาพ เร่ิมต้นทางการศึกษาเพอื่ คุณภาพชีวิตอยา่ งแท้จริง

การใช้หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย ส�ำ หรบั สถานพฒั นาเด็กปฐมวัย

เด็กตั้งแต่แรกเกิดจนถึง ๓ ปี ควรได้รับการอบรมเลี้ยงดูจากพ่อแม่หรือบุคคลในครอบครัว แต่เนื่องจาก
สภาพเศรษฐกิจและสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงไป ท�ำ ให้ต้องออกไปท�ำ งานนอกบา้ น ประกอบกับครอบครวั สว่ นใหญ่มกั จะ
เปน็ ครอบครวั เดี่ยว พ่อแม่ตอ้ งน�ำ เด็กไปรับการเลย้ี งดใู นสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ซง่ึ เปรยี บเสมอื นบ้านทสี่ องของเด็ก
ดังน้ัน ผู้บริหารสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยและผู้เก่ียวข้องในการเลี้ยงดูเด็กควรดำ�เนินการใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพตรงตามปรชั ญาและหลกั การของหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั ทมี่ งุ่ เนน้ การอบรมเลยี้ งดแู ละสง่ เสรมิ
พัฒนาการทุกด้าน รวมทั้งการประสานความร่วมมือระหว่างครอบครัว ชุมชน และท้องถ่ิน ให้เข้ามามีส่วนร่วม
ในการพฒั นาเดก็ ดงั น้นั สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยควรจดั ให้มกี ารดำ�เนินการใชห้ ลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย ดังน้ี

๑. การเตรยี มการใช้หลักสตู ร

ก่อนท่จี ะมกี ารใช้หลกั สตู รในทางปฏบิ ัติ ควรดำ�เนินการดงั น้ี
๑.๑ ศึกษารวบรวมข้อมลู ดา้ นต่างๆ เช่น วธิ กี ารอบรมเลยี้ งดูและความตอ้ งการของพอ่ แม่ ผู้ปกครอง
วัฒนธรรม และความเช่ือของท้องถิ่น ความพร้อมของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย รวมทั้งหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
น�ำ ข้อมลู มาวิเคราะห์เพอื่ ก�ำ หนดเปา้ หมายการจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ แต่ละชว่ งอายุ
๑.๒ จดั หาผเู้ ลย้ี งดทู ม่ี คี วามรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ ตลอดจนมเี จตคตทิ ด่ี ตี อ่ การพฒั นาเดก็
และจัดให้มีเอกสารหลักสูตรและคู่มือต่างๆ อย่างเพียงพอท่ีจะใช้เป็นแนวทางดำ�เนินงาน ตลอดจนพัฒนาบุคลากร
ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และมีความเข้าใจในเป้าหมาย
ของการพฒั นาเด็กปฐมวัยอย่างชัดเจน

๒. การดำ�เนนิ การใช้หลักสตู ร

การนำ�หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยไปสู่การปฏิบัติเพ่ือให้บรรลุตามปรัชญา หลักการ และจุดหมาย
มีแนวทางด�ำ เนินงานดงั นี้

คมู่ ือหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เดก็ อายุตาํ่ กวา่ ๓ ปี 41

๒.๑ การจัดทำ�หลักสูตรสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยควรดำ�เนินการจัดทำ�
หลักสูตรสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยร่วมกับพ่อแม่ ครอบครัว คณะกรรมการท่ีมีส่วนเก่ียวข้องและชุมชน เพ่ือพัฒนา
เด็กปฐมวัยให้บรรลุคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ดังนั้น หลักสูตร
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยควรถูกออกแบบและจัดทำ�บนพ้ืนฐานหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐
โดยต้องกำ�หนดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ให้เช่ือมโยงกับปรัชญา วิสัยทัศน์ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามท่ีหลักสูตร
การศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ กำ�หนด ท้งั คำ�นงึ ถงึ สภาพความต้องการ จุดเนน้ ทตี่ อ้ งการพฒั นาหรือจุดเด่น
ภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ ของสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั และชมุ ชน
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ระบุถึงความสามารถหรือพฤติกรรมการเรียนรู้
ที่ต้องเกิดหลังจากเด็กได้รับประสบการณ์การเรียนรู้ที่เหมาะสมในแต่ละช่วงอายุ และกำ�หนดสาระการเรียนรู้
ในแต่ละช่วงอายุอย่างกว้างๆ ใหค้ รอบคลมุ พฒั นาการทัง้ ๔ ดา้ น โดยผ่านประสบการณ์ส�ำ คญั ทเี่ ด็กใช้ในการเรียนรู้
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และสาระที่ควรเรียนรู้ซึ่งอาจจะต่างกันตามบริบทหรือ
สภาพแวดล้อมของเด็ก การจัดประสบการณ์ การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ ส่ือและแหล่งเรียนรู้ และการประเมิน
พฒั นาการ โดยสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั อาจก�ำ หนดหวั ขอ้ อนื่ ๆ ไดต้ ามความเหมาะสมและความจ�ำ เปน็ ของสถานพฒั นา
เดก็ ปฐมวยั แตล่ ะแห่ง ทง้ั น้ี การดำ�เนินการจดั ทำ�หลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัย ส�ำ หรบั เด็กอายุต่ํากวา่ ๓ ปี สถานพัฒนา
เด็กปฐมวัยสามารถศึกษาแนวทางการดำ�เนินการจากคู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐
ส�ำ หรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ปี
การกำ�หนดสาระการเรียนรู้
เด็กแรกเกิด - ๒ ปี ม่งุ เนน้ การอบรมเลยี้ งดตู ามวถิ ีชวี ิตประจ�ำ วนั โดยการจดั กิจกรรมประจ�ำ วนั
ใหส้ อดคล้องกับความต้องการ ความสนใจ ความสามารถตามวัย และการเลน่ ตามธรรมชาติของเด็ก
สำ�หรับเด็กอายุ ๒ - ๓ ปี สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยต้องกำ�หนดสาระการเรียนรู้อย่างกว้างๆ
ให้ครอบคลุมพัฒนาการท้ัง ๔ ด้าน ผ่านประสบการณ์สำ�คัญที่เด็กใช้ในการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
และสาระทคี่ วรเรยี นรู้ ซงึ่ อาจตา่ งกนั ตามบรบิ ทหรอื สภาพแวดลอ้ มของเดก็ การจดั ประสบการณ์ การสรา้ งบรรยากาศ
การเรียนรู้ สื่อและแหล่งเรียนรู้ และการประเมินพัฒนาการ โดยสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยอาจกำ�หนดหัวข้ออื่นๆ
ได้ตามความเหมาะสมและความจำ�เป็นของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแต่ละแห่ง โดยอาจเพิ่มเติมสาระที่ควรเรียนรู้
ได้ตามอัตลักษณ์หรือเอกลักษณ์ของสถานศึกษา โดยคำ�นึงถึงความสอดคล้องของทุกองค์ประกอบ วิธีการวิเคราะห์
สาระการเรียนรใู้ นแต่ละช่วงอายุ มีแนวทางดังนี้

42 คมู่ อื หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เดก็ อายุต่าํ กวา่ ๓ ปี

คำ�อธบิ ายการวิเคราะห์สาระการเรียนรู้ ส�ำ หรับเดก็ อายุ ๒ - ๓ ปี

พฒั นาการ คุณลกั ษ ณะทพ่ี ึงประสงค์ คณุ ลกั ษณะ สภาพทีพ่ งึ ประสงค ์ สาระการเรยี นรู้

ประสบการณ์ส�ำ คัญ สาระที่ควรเรียนรู้

ระบุพฒั นาการว่าเป็น ระบคุ ณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ ระบุคณุ ลักษณะทน่ี ำ�มาจาก ระบุสภาพทพ่ี งึ ประสงค์ กำ�หนดประสบการณส์ ำ�คัญ ก�ำ หนดสาระท่ีควรเรียนรู้
ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จติ ใจ
ด้านสงั คม หรอื ดา้ นสตปิ ญั ญา ใหส้ อดคล้องกับพฒั นาการ หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย ซึง่ เป็นพฤติกรรมหรอื ท่ีคาดว่าจะเป็นแนวทาง ซ่ึงเปน็ สื่อกลางในการจดั

ดา้ นร่างกาย ดา้ นอารมณ์ พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ความสามารถท่คี าดหวงั การจดั กจิ กรรมให้เดก็ ประสบการณใ์ ห้เดก็

จิตใจ ด้านสงั คม หรอื ในแตล่ ะช่วงวัย โดยนำ�มาจาก เกดิ พฤติกรรมหรือมี มีพฤติกรรมและความสามารถ

ด้านสติปญั ญา โดยน�ำ มาจาก ทง้ั นี้ สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั ความสามารถตาม ตามคุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สามารถเพ่มิ เตมิ คุณลกั ษณะ พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ และสภาพที่พงึ ประสงค์

ค่มู อื หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เดก็ อายตุ ่าํ กวา่ ๓ ปี 43 พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ไดต้ ามอัตลักษณห์ รอื และสภาพท่พี ึงประสงค์ โดยนำ�มาจากสาระทค่ี วร

เอกลกั ษณข์ องสถานพฒั นา ท้งั น้ี สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ทีส่ ถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย เรียนรู้ทง้ั ๔ เรือ่ ง ทีก่ ำ�หนด
เดก็ ปฐมวยั สามารถก�ำ หนดสภาพ กำ�หนด โดยเลอื กจาก ไว้ในหลักสูตรการศกึ ษา

ที่พงึ ประสงค์เพิม่ เตมิ ประสบการณ์ส�ำ คญั ที่ระบุไว้ ปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐

ได้ตามอัตลักษณ์หรอื ในหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั ทัง้ นี้ สถานพฒั นาเด็กปฐมวัย

เอกลกั ษณข์ องสถานพฒั นา พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สามารถเพม่ิ เติมสาระ

เดก็ ปฐมวัย ทค่ี วรเรยี นรู้ใหส้ อดคลอ้ งกับ

ความสนใจ ความตอ้ งการ

อัตลักษณ์ เอกลักษณ์

และภูมปิ ญั ญาท้องถิน่

โดยค�ำ นงึ ถงึ ความเหมาะสม

ตามวัยของเดก็

ขอ้ สงั เกต เน่ืองจากหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กำ�หนดจุดหมายไว้แล้ว สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยต้องใช้ตาม แต่สามารถเพ่ิมคุณลักษณะและสภาพ
ทพ่ี ึงประสงค์จากทห่ี ลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ก�ำ หนดได้


Click to View FlipBook Version