The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 สำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 สำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี

คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 สำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี

Keywords: ปฐมวัยต่ำกว่า3ปี

44 คมู่ อื หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เด็กอายุต่ํากว่า ๓ ปี ตวั อยา่ ง

การวิเคราะหส์ าระการเรยี นรู้ ส�ำ หรับเดก็ อายุ ๒ - ๓ ปี

คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงคท์ ่ี ๒ ใชอ้ วยั วะของรา่ งกายได้ประสานสัมพนั ธ์กนั

คณุ ลักษณะ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ สาระการเรยี นร้ ู ตวั อยา่ งหวั เรือ่ ง (theme)
• ร่างกายของหนู
ประสบการณ์สำ�คัญ สาระท่ีควรเรียนรู้ • อาหารดีมีประโยชน์

๒.๑ ใชก้ ล้ามเนือ้ ใหญ่ • นัง่ ยองๆ เล่นโดยไมเ่ สยี การทรงตวั • การเคล่ือนไหวสว่ นต่างๆ ของ - • ร่างกายของหนู
ไดเ้ หมาะสมกับวยั - • หนทู ำ�ได้
๒.๒ ใช้กลา้ มเนือ้ เล็ก • เดนิ ถอยหลังได้ ร่างกายตามจงั หวะดนตรี
และประสานสมั พันธ์
มือ - ตา ไดเ้ หมาะสม • เดินข้ึนลงบนั ไดโดยมือข้างหนึง่ • การเคลื่อนไหวและการทรงตัว
กับวยั
จบั ราว และก้าวเท้าวางบน • การประสานสมั พนั ธ์ของกลา้ มเนอ้ื

ข้นั บนั ไดเดียวกนั ก่อน และระบบประสาท

• กระโดดอยกู่ บั ท่โี ดยเทา้ พน้ พื้น • การเลน่ ออกกำ�ลังกลางแจง้

ทั้ง ๒ ขา้ ง อยา่ งอิสระ

• จบั สีเทยี นแทง่ ใหญเ่ พ่ือขีดเขียนได้ • การเลน่ เคร่ืองเลน่ สัมผสั

• เลียนแบบลากเสน้ เป็นวงตอ่ เน่ือง • การวาด

หรือเสน้ ตรงแนวด่ิง • การเขยี นขีดเข่ยี

• การประสานสมั พนั ธ์ของกลา้ มเน้ือ

และระบบประสาท

• การปัน้ การฉกี การตัดปะ

คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงคท์ ่ี ๓ มีความสขุ และแสดงออกทางอารมณ์ไดเ้ หมาะสมกบั วัย

คุณลักษณะ สภาพท่ีพงึ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ ตวั อยา่ งหัวเรอื่ ง (theme)
• ร้อง เลน่ เต้น สนกุ
ประสบการณส์ �ำ คญั สาระท่ีควรเรยี นรู้ • นทิ านหรรษา

๓.๑ รา่ เริง แจ่มใส • อารมณด์ ี ยิม้ แยม้ หัวเราะงา่ ย • การรบั รู้อารมณ์หรือความรู้สึก • การมีความรสู้ ึกที่ดตี ่อตนเอง • ร้อง เล่น เตน้ สนุก
• นทิ านหรรษา
๓.๒ แสดงออกทางอารมณ์ แววตามีความสุข ของตนเอง • การแสดงความร้สู กึ ที่ดตี อ่ ผอู้ ่นื • ธรรมชาติแสนสวย
ไดอ้ ย่างเหมาะสมกบั วยั
๓.๓ สนใจและมีความสุขกับ • การแสดงอารมณ์ท่เี ป็นสขุ • ธรรมชาติรอบตวั
ธรรมชาติ สิง่ สวยงาม - สตั ว์
ดนตรี และจงั หวะ • การฟังนิทาน - พืช
การเคลอ่ื นไหว - ดอกไม้
• การร้องเพลง - ใบไม้

• การท่องคำ�คล้องจอง

ค่มู อื หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เดก็ อายตุ ่าํ กวา่ ๓ ปี 45 • การเล่นบทบาทสมมติ

• การเลน่ อสิ ระ

• แสดงความภาคภูมใิ จเมอ่ื ท�ำ ส่ิงต่างๆ • การควบคมุ อารมณแ์ ละ

สำ�เร็จ การแสดงออก

• ชอบพูดค�ำ ว่า “ไม”่ แมจ้ ะเป็น • การออกไปเล่นนอกบา้ น

สง่ิ ทต่ี อ้ งการ • การไปสวนสาธารณะ

• ตอบสนองต่อธรรมชาติ เสยี งเพลง • การชืน่ ชมธรรมชาติ

จงั หวะดนตรี และสง่ิ สวยงาม • การฟังนทิ านหรือเร่ืองราวสัน้ ๆ

ต่างๆ อยา่ งเพลิดเพลนิ • การรอ้ งเพลง

• การท่องค�ำ คลอ้ งจอง

• การเพาะปลูกอยา่ งงา่ ย

46 คมู่ อื หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เด็กอายุต่ํากว่า ๓ ปี คุณลักษณะทพี่ งึ ประสงคท์ ี่ ๔ รบั รแู้ ละสร้างปฏิสัมพันธ์กบั บุคคลและสิ่งแวดล้อมรอบตัว

คณุ ลักษณะ สภาพที่พึงประสงค ์ สาระการเรียนร้ ู ตัวอย่างหวั เร่ือง (theme)
• มาเล่นด้วยกนั เถอะ
ประสบการณ์ส�ำ คัญ สาระทีค่ วรเรยี นรู้ • เพ่ือนรักของหนู

๔.๑ ปรบั ตัวเขา้ กบั สิ่งแวดล้อม • ชอบเก็บของของตนเองไว้ใกล้ตวั • การเล่นรวมกลมุ่ กับผู้อนื่ • การเล่นร่วมกับผู้อนื่
ใกลต้ วั ได้ และไมช่ อบแบ่งปันผอู้ ืน่ • การอดทนรอคอย • การปฏบิ ัติตามข้อตกลงง่ายๆ
• การเลน่ รวมกลุ่มกับผู้อน่ื
๔.๒ เลน่ และร่วมทำ�กิจกรรม • รอคอยชว่ งสัน้ ๆ • การอดทนรอคอย
กบั ผอู้ ่นื ได้ตามวยั • เลน่ รวมกับคนอ่ืน แต่ต่างคน • การเลน่ อสิ ระ
• การแบง่ ปนั หรอื การให้
ต่างเลน่ • การออกไปเลน่ นอกบา้ น
• การไปสวนสาธารณะ
• การออกไปรว่ มกจิ กรรม
ในศาสนสถาน

คุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ที่ ๕ ชว่ ยเหลือตนเองไดเ้ หมาะสมกบั วัย

คณุ ลกั ษณะ สภาพที่พงึ ประสงค ์ สาระการเรยี นร ู้ ตวั อย่างหัวเรอื่ ง (theme)

• สวมเสอ้ื ผา้ โดยมคี นชว่ ย ประสบการณส์ �ำ คัญ สาระทค่ี วรเรยี นรู้ • ร่างกายของหนู
• บอกได้วา่ ตนเองตอ้ งการขับถ่าย • หนทู ำ�ได้
๕.๑ ทำ�กจิ วตั รประจำ�วัน • การช่วยเหลอื ตนเองในกจิ วตั ร • การดูแลตนเองเบอื้ งตน้
ดว้ ยตนเองได้ตามวยั ประจำ�วนั • การนอนหลับ
• การดแู ลรักษาความสะอาด • การขับถ่าย
ของร่างกาย ของใช้สว่ นตัว • การลา้ งมือ
• การคิดตดั สนิ ใจหรอื คิดแก้ปญั หา • การถอดและสวมใส่เสอ้ื ผา้
ในเรอ่ื งง่ายๆ ด้วยตนเอง • การรับประทานอาหาร

ค่มู อื หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เดก็ อายตุ ่าํ กวา่ ๓ ปี 47

48 คมู่ อื หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เด็กอายุต่ํากว่า ๓ ปี คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ที่ ๖ สอื่ ความหมายและใช้ภาษาไดเ้ หมาะสมกับวัย

คณุ ลักษณะ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ สาระการเรยี นรู้ ตวั อยา่ งหัวเร่ือง (theme)

ประสบการณ์ส�ำ คญั สาระท่คี วรเรยี นรู้ • ชอื่ ฉนั ส�ำ คญั ไฉน
• สง่ิ ต่างๆ น่ารู้
๖.๑ รับรู้และเขา้ ใจความหมาย • ร้องเพลงไดบ้ างคำ� และ • การฟังนทิ านหรือเรื่องราวสั้นๆ • ช่อื ตนเอง
ของภาษาได้ตามวัย ร้องเพลงคลอตามท�ำ นอง • การท�ำ กิจกรรมศิลปะต่างๆ • ชอ่ื ของเลน่ ของใช้ทีอ่ ยรู่ อบตวั • เล่นหรรษาพาเพลิน
ตามความสนใจ • ชอ่ื สง่ิ ต่างๆ ท่อี ยใู่ กลต้ ัว เช่น • มาปลูกผกั กนั เถอะ
• สนใจดหู นงั สอื นิทานภาพ ตัวละครในนิทาน
• การพดู บอกความตอ้ งการ • การเลน่ น้าํ เลน่ ทราย
๖.๒ แสดงออกและ/หรอื พดู • พดู เป็นวลีส้ันๆ • การตอบค�ำ ถามจากการคดิ • การเพาะปลกู อยา่ งงา่ ย
เพ่อื สอ่ื ความหมายได้ • มักจะถามคำ�ถาม “อะไร” • การเล่าเรื่องราว • การท�ำ กิจกรรมศลิ ปะตามวัย
และ “ทำ�ไม” • การท�ำ กิจกรรมศิลปะต่างๆ ปัน้ วาด
ตามความสนใจ
• การเรียงลำ�ดับเหตกุ ารณ์
• การฟงั นิทานหรือเร่ืองราวสนั้ ๆ

คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ที่ ๗ สนใจเรยี นร้สู งิ่ ตา่ งๆ รอบตวั

คณุ ลักษณะ สภาพที่พึงประสงค ์ สาระการเรยี นร้ ู ตัวอย่างหวั เรื่อง (theme)
• ธรรมชาตแิ สนสวย
ประสบการณส์ �ำ คัญ สาระทคี่ วรเรียนรู้ • โรงเรยี นของหนู

๗.๑ สนใจและเรียนรู้สงิ่ ตา่ งๆ • อยากเรียนรู้สง่ิ ต่างๆ • การตอบค�ำ ถามจากการคิด • สงิ่ ต่างๆ ในธรรมชาตริ อบตัว เชน่ • หนนู ้อยมารยาทงาม
รอบตัว • ถามบอ่ ยถามซ้ํา • การส�ำ รวจและการทดลอง สตั ว์ พชื ดอกไม้ ใบไม้
• จดจอ่ ต่อสง่ิ ใดสิ่งหน่ึงไดย้ าวนานข้ึน อยา่ งง่ายๆ • ของเล่นของใช้ทอ่ี ยู่รอบตวั • สัตว์น่ารัก
• สถานทีต่ า่ งๆ ในชมุ ชน • ธรรมชาติแสนสวย
๗.๒ เรียนรผู้ ่านการเลียนแบบ • เลยี นแบบการกระท�ำ ผ้ใู กลช้ ดิ • การออกไปรว่ มกจิ กรรม • สนามเดก็ เลน่ • ของเลน่ ของใช้
หรอื เดก็ อื่น ในศาสนสถาน • รปู ร่าง รปู ทรง • รักบา้ นเกดิ
ค่มู อื หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เดก็ อายตุ ่าํ กวา่ ๓ ปี 49 ๗.๓ สำ�รวจโดยใช้ • พยายามเลยี นเสยี งตา่ งๆ • การเลน่ บทบาทสมมติ • กิจกรรมทางศาสนา วัฒนธรรม • รปู ทรงแปลงร่าง
ประสาทสมั ผัส • คน้ หาของทถ่ี ูกซ่อนโดยมสี ิง่ ปกปิด • การแสดงความคิดสรา้ งสรรค์ ประเพณี
๒ - ๓ ชั้น และจนิ ตนาการ • สถานที่ต่างๆ
• ชอบละเลงสดี ้วยมอื • การเลี้ยงสัตว์ • การทกั ทายดว้ ยการไหว้
• การเพาะปลกู อย่างง่าย
• การทำ�กจิ กรรมศิลปะตา่ งๆ • การเลีย้ งสัตว์โดยที่ไมเ่ ปน็ อนั ตราย
ตามความสนใจ • ชือ่ ของเลน่ ของใชท้ ีอ่ ยูร่ อบตวั
• การแสดงความคดิ สร้างสรรค์ • คณุ สมบัติอย่างงา่ ยๆ ทอ่ี ยู่
และจนิ ตนาการ รอบตวั เดก็ รปู รา่ ง รูปทรง
• การฟงั เสยี งต่างๆ รอบตวั ขนาดผิวสัมผัส
• การสำ�รวจและการทดลอง
อย่างง่ายๆ
• การคดิ วางแผนท่ีไม่ซับซอ้ น
• การคิดตดั สินใจแก้ปญั หา
ในเร่ืองงา่ ยๆ ดว้ ยตนเอง

หมายเหต ุ ตวั อย่างในท่ีนเ้ี ปน็ เพียงแนวทางในการก�ำ หนดหัวเรือ่ ง ควรค�ำ นงึ ถงึ บรบิ ทชุมชน และความตอ้ งการทสี่ อดคลอ้ งกบั ส่งิ แวดล้อมใกลต้ ัว

๒.๒ การจัดทำ�แนวทางการจัดกิจกรรมประจำ�วัน สำ�หรับเด็กแรกเกิด - ๒ ปี (ตัวอย่างหน้า ๗๔)
หรือแผนการจัดประสบการณ์ สำ�หรับเด็กอายุ ๒ - ๓ ปี (ตัวอย่างหน้า ๘๘) พร้อมส่ือการเรียนรู้ ควรคำ�นึงถึง
ความยากงา่ ยตอ่ การเรยี นรตู้ ามความสามารถของเดก็ แตล่ ะวยั และความแตกตา่ งทางสงั คมวฒั นธรรม โดยอาจประยกุ ต์
ใชส้ ื่อทีท่ ำ�ขน้ึ เอง
๒.๓ การจัดประสบการณ์สำ�หรับเด็ก ต้องมุ่งเน้นการจัดประสบการณ์ท่ียึดเด็กเป็นสำ�คัญ โดย
คำ�นึงถึงการพฒั นาเด็กโดยองคร์ วม การจดั กิจกรรมต่างๆ ตามกิจวตั รประจำ�วนั และการบรู ณาการผา่ นการเลน่
๒.๔ การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยต้องจัดบรรยากาศที่อบอุ่นคล้ายบ้าน
หรือครอบครัว ตลอดจนดูแลความปลอดภัยของส่ิงแวดล้อมท้ังภายในและภายนอก รวมทั้งจัดให้มีสื่อและ
อุปกรณ์ต่างๆ ที่หลากหลายเหมาะสมกับเด็ก เพ่ือสนับสนุนให้เด็กได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพและเรียนรู้
อยา่ งมีความสขุ
๒.๕ การประเมิน เป็นขั้นตอนของการตรวจสอบหลักสูตรสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย แบ่งออกเป็น
การประเมินก่อนนำ�หลักสูตรไปใช้ เป็นการประเมินเพ่ือตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตรหลังจากท่ีได้จัดทำ�แล้ว
โดยอาศัยความคิดเห็นจากผู้ใช้หลักสูตร ผู้มีส่วนร่วมในการทำ�หลักสูตร ผู้เช่ียวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิในด้านต่างๆ
การประเมินระหว่างการดำ�เนินการใช้หลักสูตรเป็นการประเมินเพ่ือตรวจสอบว่าหลักสูตรสามารถนำ�ไปใช้
ได้ดีเพียงใด ควรมีการปรับปรุงแก้ไขในเรื่องใด และการประเมินหลังการใช้หลักสูตรเป็นการประเมินเพ่ือตรวจสอบ
หลักสูตรทั้งระบบ หลังจากท่ีใช้หลักสูตรครบแต่ละช่วงอายุเพื่อสรุปผลว่าหลักสูตรที่จัดทำ�ควรมีการปรับปรุง
หรือพฒั นาใหด้ ขี ้นึ อยา่ งไร

๓. บทบาทผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการหลักสูตรและการจัดทำ�หลักสูตรสถานพัฒนา
เด็กปฐมวยั

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ เป็นหลักสูตรท่ีกระจายอำ�นาจการจัดการศึกษา
ให้กับสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านการบริหารวิชาการ การบริหารจัดการ และการใช้หลักสูตร
เป็นกระบวนการนำ�หลักสูตรแกนกลางไปสู่การปฏิบัติในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย เพ่ือนำ�ไปสู่ความสำ�เร็จตาม
จุดหมายของหลักสูตร ซึ่งความสำ�เร็จดังกล่าวนี้ข้ึนอยู่กับการบริหารจัดการหลักสูตรท่ีมีคุณภาพ และได้รับ
การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ และมสี ่วนรว่ มจากบุคคล หน่วยงานที่เกีย่ วข้องทกุ ระดบั
ดังนั้น เพ่ือให้การบริหารจัดการหลักสูตรของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ผู้เก่ียวข้องทุกระดับทุกฝ่ายต้องมีความรู้ความเข้าใจในบทบาท ภารกิจ หน้าที่ ตลอดจนแนวทางการปฏิบัติ
ที่ช่วยส่งเสริมสนับสนุนการใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ผู้ที่เก่ียวข้องกับการนำ�หลักสูตร
การศึกษาปฐมวัยไปใช้ในสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย มีดังน้ี

50 คู่มอื หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เดก็ อายุต่ํากว่า ๓ ปี

๓.๑ ผู้บริหารสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยท่ีจัดการศึกษาประสบผลสำ�เร็จได้ดี
มีคุณภาพ ส่วนหน่ึงเป็นเพราะมีผู้บริหารที่ตระหนักถึงความสำ�คัญของการศึกษาในระดับน้ี และเข้าใจในบทบาท
หน้าที่ของผู้บริหารอย่างถ่องแท้และนำ�ไปปฏิบัติอย่างจริงจังต่อเนื่อง ผู้บริหารสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยจึงนับเป็น
องค์ประกอบส�ำ คัญประการหนงึ่ ในการจัดการศกึ ษาปฐมวัย โดยมีคณุ สมบตั แิ ละบทบาทหนา้ ที่ ดังน้ี
๑) คุณสมบัติของผู้บรหิ ารสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ประกอบดว้ ย
(๑) มคี วามเขา้ ใจในการจัดการศึกษาปฐมวัย
(๒) มวี สิ ัยทัศน์กว้างไกล
(๓) มคี วามมงุ่ มนั่ ในการจดั การศกึ ษาปฐมวยั และมงุ่ มนั่ ตอ่ การสรา้ งระบบคณุ ภาพใหเ้ กดิ ขนึ้
ในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
(๔) เปน็ ผมู้ คี วามสามารถในการสรา้ งความรว่ มมอื และประสานกบั ทกุ ฝา่ ย เพอ่ื ใหส้ ถานพฒั นา
เด็กปฐมวยั ดำ�เนินกจิ การต่างๆ ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
๒) บทบาทหน้าทขี่ องผู้บริหารสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ประกอบด้วย
(๑) จัดให้มีแผนพัฒนาสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย เพ่ือใช้ในการดำ�เนินการจัดการศึกษาของ
สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั
(๒) เป็นผู้นำ�ในการจัดทำ�หลักสูตร โดยร่วมประสานกับบุคลากรทุกฝ่าย เพื่อกำ�หนด
วสิ ยั ทัศน์และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องเดก็ ตลอดจนสาระตามหลกั สตู รสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย
(๓) จัดให้มกี ารประชาสัมพันธห์ ลักสูตรสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั
(๔) สนบั สนนุ การจดั สภาพแวดลอ้ มทเี่ ออื้ อ�ำ นวยตอ่ การเรยี นรู้ สนบั สนนุ ใหบ้ คุ ลากรทกุ ฝา่ ย
ของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยได้รับความรู้และสามารถจัดทำ�หลักสูตรสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย รวมท้ังพัฒนาบุคลากร
ให้เปน็ บุคคลแหง่ การเรยี นรู้
(๕) เป็นผู้สนับสนุนให้สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาอยู่ในระดับมาตรฐาน
การประกันคุณภาพตลอดไป โดยให้การสนับสนุนทั้งบุคลากรและเด็ก ร่วมมือกันพัฒนาสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
ให้เป็นองคก์ รแหง่ การเรยี นรู้
(๖) จดั ใหม้ กี ารนเิ ทศภายใน เพอ่ื นเิ ทศ ก�ำ กบั ตดิ ตามการใชห้ ลกั สตู รสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั
อย่างมรี ะบบ
(๗) จัดให้มีการประเมินการนำ�หลักสูตรไปใช้เพื่อการปรับปรุงพัฒนาสาระของหลักสูตร
สถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ใหท้ นั สมัย สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของเดก็ ชุมชน และทอ้ งถ่ิน

คมู่ อื หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เดก็ อายตุ า่ํ กวา่ ๓ ปี 51

๓.๒ ผู้เลี้ยงดู เป็นองค์ประกอบหนึ่งท่ีสำ�คัญในการจัดประสบการณ์ให้เด็กสามารถพัฒนาตนเต็มตาม
ศักยภาพ ผ้เู ล้ียงดูควรมีคุณสมบัตแิ ละบทบาทหนา้ ที่ ดงั นี้
๑) คุณสมบัตขิ องผู้เลีย้ งดู ประกอบด้วย
(๑) เป็นผู้มีสุขภาพดี ผู้เล้ียงดูต้องเป็นผู้ที่มีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง ไม่มีโรคติดต่อร้ายแรง
สามารถท�ำ หนา้ ทไ่ี ดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ ตอ้ งเปน็ ผทู้ ่ีมีความรู้สึกดตี อ่ ตนเองและผู้อน่ื มีความมั่นคงทางอารมณ์ ร้จู ัก
กาลเทศะ มคี วามรบั ผิดชอบ ปรบั ตัวไดใ้ นสภาวะตา่ งๆ ไมเ่ ปน็ โรคจิตเภท และด�ำ รงตัวอยใู่ นสังคมได้อย่างมคี วามสขุ
(๒) มีระดับวุฒิภาวะและบคุ ลกิ ลักษณะเหมาะสม
ดา้ นบุคลิกลกั ษณะ - รกั เด็ก มคี วามเมตตากรุณา มีคณุ ธรรม เสียสละ อารมณด์ ี รา่ เรงิ
แจ่มใส ใจเย็น มีความมั่นคงทางอารมณ์ มีความอดทนอดกล้ัน ชอบพูดคุยกับเด็ก กระตือรือร้น เป็นคนช่างสังเกต
มมี นษุ ยสัมพนั ธ์ กริยามารยาทเรียบร้อย
ด้านการปฏิบัติงาน - มีความมุ่งมั่นในการทำ�งาน รับผิดชอบ คิดและตัดสินใจอย่างมี
เหตุผล กลา้ เผชิญปัญหาและความยากลำ�บาก มีระเบียบวินยั
(๓) เปน็ ผทู้ มี่ คี วามรแู้ ละประสบการณเ์ กย่ี วกบั การเลยี้ งดเู ดก็ หรอื มคี ณุ สมบตั ติ ามขอ้ ก�ำ หนด
ของหน่วยงานทจี่ ัดบรกิ ารดูแลเดก็
(๔) เป็นผู้พัฒนาตนเองอยู่เสมอ ผู้เล้ียงดูเด็กต้องสนใจใฝ่หาความรู้และประสบการณ์
เพิ่มเตมิ อยา่ งตอ่ เนอื่ งสมาํ่ เสมอ เพ่อื น�ำ ความรู้ท่ีได้รับมาประยุกตใ์ ช้ให้เปน็ ประโยชน์ในการอบรมเล้ยี งดูเด็กไดอ้ ย่างมี
ประสิทธภิ าพ
๒) บทบาทหนา้ ที่ของผ้เู ล้ยี งดู ประกอบดว้ ย
(๑) วางแผนก�ำ หนดกจิ กรรมการเรยี นรใู้ หส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการและพฒั นาการตามวยั
ของเด็ก
(๒) จัดทำ�แผนการเรียนรู้ที่ยึดเด็กเป็นสำ�คัญ เปิดโอกาสให้เด็กปฏิบัติจริงแสดงออก
อยา่ งอิสระ และมีส่วนรว่ มทุกกิจกรรม
(๓) จดั ท�ำ และพฒั นาสอ่ื การเรยี นรใู้ หเ้ ดก็ เกดิ การเรยี นรทู้ งั้ ภายในและภายนอกสถานพฒั นา
เด็กปฐมวัย จัดหาแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ ในชุมชน เช่น ห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ สวนสาธารณะ ศูนย์ศิลปหัตถกรรม
พื้นบ้าน ศาสนสถาน ฯลฯ
(๔) จัดสภาพแวดล้อมของห้องเรียนและสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ให้มี
บรรยากาศดงึ ดดู ความสนใจ ทา้ ทายใหเ้ ด็กอยากมีส่วนร่วม
(๕) ศึกษาเด็กเป็นรายกรณีหรือจัดทำ�วิจัยในช้ันเรียน เพื่อแก้ปัญหา พัฒนาหลักสูตรและ
กระบวนการเรียนรู้

52 คู่มือหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เด็กอายุตํา่ กวา่ ๓ ปี

(๖) จดั ท�ำ ขอ้ มลู เดก็ เปน็ รายบคุ คล โดยใหม้ กี ารประสานกนั ระหวา่ งสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั
บา้ น และชมุ ชน เพือ่ การพัฒนาให้เด็กมคี ณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
(๗) ประสานสมั พันธ์ระหว่างเดก็ กับพ่อแม่ และสมาชิกในครอบครวั
ผเู้ ลยี้ งดจู ะตอ้ งประสานความรว่ มมอื ประชาสมั พนั ธ์ ตลอดจนเปน็ คนกลางในการสร้าง
ความสมั พนั ธ์ทดี่ ีระหวา่ งเด็กกบั พอ่ แม่ และสมาชิกในครอบครัว ดังนี้
ก. พูดคุยสรา้ งความสัมพนั ธ์ทด่ี ีกบั ผู้ปกครอง
ข. ให้ข้อมูลเกย่ี วกับเดก็ ขณะอยู่กบั ผู้เลย้ี งดูเดก็ ซึง่ ผปู้ กครองควรทราบ
ค. ตดิ ตามซกั ถามถงึ พฤตกิ รรมเดก็ ขณะอยกู่ บั พอ่ แม่ เพอ่ื เปรยี บเทยี บกบั พฤตกิ รรมเดก็
ขณะอยู่กบั ผูเ้ ลีย้ งดู เพอื่ ใหค้ วามช่วยเหลอื ตอ่ เนอ่ื งกัน
ง. ชแี้ จง ใหค้ �ำ ปรกึ ษา แนะน�ำ ในการอบรมเลยี้ งดเู ดก็ แกพ่ อ่ แม่ โดยการพดู คยุ ท�ำ บอรด์
ติดท่ีสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย และใหพ้ ่อแมห่ รือผเู้ ลีย้ งดมู าร่วมท�ำ กิจกรรมไปพร้อมกบั เดก็ เพื่อจะไดเ้ ขา้ ใจการเรียนรู้
ของเดก็
จ. เปน็ ตวั กลางในการเชอื่ มความสมั พนั ธท์ ด่ี รี ะหวา่ งสมาชกิ ในครอบครวั และผปู้ กครอง
(๘) ปฏบิ ัตติ นเป็นแบบอยา่ งทด่ี ี มีคุณธรรม ปฏิบตั ดิ ตี ่อเพื่อน ครู และเด็ก
(๙) พฒั นาตนเองให้เป็นบุคคลท่ใี ฝ่รู้ ทันต่อเหตกุ ารณ์
๓.๓ เด็ก การจัดการศึกษาปฐมวัยเป็นการจัดการศึกษาที่ยึดเด็กเป็นสำ�คัญ เพราะเด็กเป็นผลผลิต
ของการจัดการศึกษา เป็นเป้าหมายการจัดการศึกษาของรัฐที่มุ่งหวังพัฒนาให้คนไทยมีความสมบูรณ์และสมดุล
ท้ังร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สติปัญญา และคุณธรรม จริยธรรม การจะให้เด็กมีคุณสมบัติและคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ คือ เป็นคนดี มีปญั ญา และมีความสขุ นัน้ เด็กต้องมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการจดั การเรียนรูท้ ี่สอดคลอ้ ง
กบั ความสนใจและความสามารถของตนเอง
๓.๔ พ่อแม่หรือผู้ปกครอง มีหน้าท่ีจัดให้เด็กท่ีอยู่ในความดูแลได้รับการศึกษาปฐมวัย พ่อแม่หรือ
ผู้ปกครองจึงต้องให้ความร่วมมือและรับผิดชอบต่อพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก ดูแลเอาใจใส่ให้เด็กได้พัฒนา
ตนเองเตม็ ตามศกั ยภาพ ดังน้นั พ่อแมห่ รือผ้ปู กครองจงึ ตอ้ งมีบทบาทหน้าที่ ดังน้ี
๑) มีส่วนร่วมในการกำ�หนดแนวทางในการอบรมเล้ียงดูและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของเด็ก
ร่วมกับเดก็ และผเู้ ลีย้ งดู
๒) มสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาหลกั สตู รและก�ำ หนดแผนพฒั นาสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย
๓) ส่งเสริมสนบั สนุนกจิ กรรมของสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั เพอ่ื พัฒนาเด็กตามศักยภาพ
๔) ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาการด้านต่างๆ ของเด็ก ให้สอดคล้องกับแนวปฏิบัติของ
สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ตลอดจนประสานงาน ปอ้ งกัน และแกไ้ ขปญั หาเก่ียวกับพฤติกรรมที่ไม่พงึ ประสงคข์ องเด็ก

คู่มอื หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เด็กอายตุ ่ํากวา่ ๓ ปี 53

๕) สนับสนุนทรพั ยากรเพ่ือการศกึ ษาตามความเหมาะสมและจ�ำ เปน็
๖) ปฏิบัติตนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีความรู้คู่คุณธรรม เป็นแบบอย่างท่ีดีนำ�ไปสู่
การพฒั นาให้เปน็ สถาบันแหง่ การเรียนรู้
๗) มีส่วนร่วมในการประเมินผลการเรียนรู้ของเด็ก และในการประเมินการจัดการศึกษา
ของสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั
๘) จัดใหเ้ ดก็ ที่อยใู่ นความดูแลได้รบั การศึกษา เตรียมความพรอ้ มกอ่ นการศึกษาภาคบังคบั
๓.๕ ชุมชน การศึกษาของไทยมุ่งเน้นให้มีการศึกษาตลอดชีวิตสำ�หรับทุกคน ดังนั้น ชุมชนต้องมี
ส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและมีบทบาทสำ�คัญในการพัฒนาหลักสูตรทุกระดับ มีส่วนสนับสนุนให้มีการจัด
การเรียนรู้ทเ่ี น้นเดก็ เปน็ ส�ำ คญั ส�ำ หรับการศึกษาปฐมวัย ชมุ ชนมีบทบาทหนา้ ท่สี �ำ คัญ ดงั นี้
๑) มีส่วนร่วมในการกำ�หนดแนวทางในการอบรมเล้ียงดูและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของเด็ก
ร่วมกับพ่อแม่ ผ้ปู กครอง และสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย
๒) มสี ่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรและกำ�หนดแผนพัฒนาสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย
๓) เป็นศนู ย์การเรยี นรู้ เครือขา่ ยการเรยี นรู้ ให้เดก็ ได้มีประสบการณจ์ ากสถานการณจ์ ริง
๔) ใหก้ ารสนับสนุนการจัดประสบการณแ์ ละกจิ กรรมของสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั
๕) มสี ว่ นร่วมในการตรวจสอบและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษาของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
๖) เสนอแนะแนวทางการพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั

54 ค่มู อื หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เดก็ อายุต่ํากว่า ๓ ปี

บทที่ ๔

การอบรมเล้ยี งดูและการพฒั นาเด็ก

ช่วง ๓ ปีแรกของชีวิตวัยเด็กเป็นระยะเวลาที่สำ�คัญท่ีสุด เน่ืองจากสมองของเด็กมีการเจริญเติบโต
อยา่ งรวดเรว็ ท�ำ ใหเ้ ดก็ สามารถรบั รสู้ งิ่ รอบตวั ผา่ นกลไกการท�ำ งานทป่ี ระสานกนั ของประสาทสมั ผสั และการเคลอ่ื นไหว
สว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกาย ในการอบรมเล้ยี งดูและการพฒั นาเด็ก จงึ เปน็ การส่งเสรมิ พฒั นาการและการเรียนร้โู ดยผ่าน
ประสบการณใ์ นชวี ติ ประจ�ำ วนั ทหี่ ลากหลาย การอบรมเลยี้ งดแู ละการพฒั นาเดก็ ประกอบดว้ ย การปฏบิ ตั ทิ เี่ หมาะสม
ในการอบรมเล้ียงดูและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้สำ�หรับเด็กอายุต่ํากว่า ๓ ปี หลักการอบรมเลี้ยงดูและการจัด
ประสบการณ์ และแนวทางการอบรมเลยี้ งดแู ละการจัดประสบการณ์

การปฏบิ ตั ิที่เหมาะสมในการอบรมเลีย้ งดแู ละส่งเสรมิ กระบวนการเรียนรู้
ส�ำ หรับเดก็ อายุตาํ่ กวา่ ๓ ปี

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สำ�หรับเด็กอายุต่ํากว่า ๓ ปี แบ่งการปฏิบัติท่ีเหมาะสมในการอบรมเล้ียงดู
และสง่ เสรมิ กระบวนการเรียนรูเ้ ปน็ ๒ ชว่ งอายุ ประกอบดว้ ย ช่วงแรกเกดิ - ๒ ปี และชว่ งอายุ ๒ - ๓ ปี แตล่ ะ
ช่วงอายุ มีรายละเอยี ดดงั น้ี

ชว่ งแรกเกิด - ๒ ปี

การอบรมเลยี้ งดแู ละสง่ เสรมิ กระบวนการเรยี นรเู้ ดก็ ชว่ งแรกเกดิ - ๒ ปี เนน้ การอบรมตามวถิ ชี วี ติ ประจ�ำ วนั
และสง่ เสริมพฒั นาการทกุ ดา้ น ได้แก่ ดา้ นร่างกาย สง่ เสริมให้เดก็ ไดใ้ ชร้ า่ งกายตามความสามารถ ดา้ นอารมณ์ จติ ใจ
ส่งเสริมการตอบสนองความต้องการของเด็กอย่างเหมาะสม ภายใต้สภาพแวดล้อมที่อบอุ่นและปลอดภัย ด้านสังคม
ส่งเสริมให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลใกล้ชิด และด้านสติปัญญา ส่งเสริมให้เด็กได้สังเกตส่ิงตา่ งๆ รอบตัว เพ่ือสร้าง
ความเข้าใจ และใช้ภาษาเพื่อการส่ือสาร ส่งเสริมการคิดและการแก้ปัญหาที่เหมาะสมกับวัย การอบรมเลี้ยงดูและ
การพฒั นาเดก็ ชว่ งแรกเกดิ - ๒ ปี มขี อบขา่ ยครอบคลมุ การรจู้ กั และเขา้ ใจเดก็ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพอนามยั การสง่ เสรมิ
พัฒนาการและการเรยี นรู้ และแนวทางปฏบิ ัตใิ นการอบรมเล้ยี งดตู ามวถิ ชี ีวิตประจำ�วนั ดังรายละเอียดต่อไปน้ี

ค่มู อื หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เดก็ อายุต่ํากวา่ ๓ ปี 55

๑. รจู้ ักและเข้าใจเด็กวัยแรกเกิด - ๒ ปี
๑.๑ ธรรมชาตขิ องเดก็ วัยแรกเกิด - ๒ ปี
เด็กวัยขวบปแี รกจะเจรญิ เตบิ โตเรว็ มาก เป็นอัตราการเตบิ โตทีเ่ รว็ ทสี่ ดุ ในชีวติ ท้งั รา่ งกาย สมอง
สายตา และระบบประสาท สมองเป็นอวัยวะท่ีสำ�คัญต่อพัฒนาการทุกส่วน ทุกระบบในร่างกาย การได้รับสัมผัส
โอบกอดจากพ่อแม่ ดูดนมแม่ต้ังแต่คร่ึงชั่วโมงแรกหลังคลอด และบ่อยๆ ต่อเน่ืองกัน จะกระตุ้นพัฒนาการของเด็ก
ตอบสนองความตื่นตัวของระบบประสาทอย่างมีคุณค่าท่ีสุด เด็กวัยนี้ยังไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ พ่อแม่หรือ
ผู้เล้ียงดูต้องช่วยเลี้ยงดูและปกป้องอันตราย เด็กวัยน้ีใช้การร้องไห้เพ่ือแสดงความต้องการ พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดู
ตอ้ งตอบสนองอย่างถกู ตอ้ ง จะท�ำ ใหเ้ ด็กมคี วามสขุ ไปตลอดชวี ติ
เด็กอายุ ๑ - ๒ ปี ร่างกายจะเจริญเติบโตเร็วมาก มีความสามารถในการเคลื่อนไหวแขน - ขา
เดินและวิ่งได้ การมองเห็นดีข้ึน แต่ยังช่วยเหลือป้องกันตัวเองไม่ได้ ปฏิเสธต่อต้านมากกว่าขวบปีแรก เป็นวัยกลัว
การอยู่คนเดียว กลัวคนแปลกหน้า และกลัวความมืด พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูไม่ควรขู่หรือลงโทษให้เด็กอยู่คนเดียว
เป็นวัยชอบสำ�รวจ ชอบเลียนแบบ พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูจึงควรให้โอกาสเด็กช่วยเหลือตนเอง สอนด้วยการทำ�เป็น
แบบอยา่ ง
พืน้ ฐานอารมณ์ของเด็ก
พื้นฐานอารมณ์ของเด็ก เป็นผลมาจากพันธุกรรมและสภาพแวดล้อมขณะท่ีอยู่ในครรภ์
สง่ ผลท�ำ ใหท้ ารกแรกเกดิ แสดงพฤตกิ รรมทแ่ี ตกต่างกนั ทง้ั ทถี่ กู เลย้ี งดโู ดยผเู้ ลย้ี งคนเดยี วกนั ในครอบครวั ดยี วกนั กต็ าม
ดังน้ัน เด็กแต่ละคนจะมีการแสดงออกทางอารมณ์และการตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมแตกต่างกัน โดยสามารถ
แยกได้เป็น ๓ กลมุ่ ใหญ่ คือ
๑) เด็กเลี้ยงง่าย เป็นเด็กกลุ่มที่มีลักษณะปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมง่ายในสถานการณ์ต่างๆ
เด็กมพี ฤติกรรมยมิ้ ทักทาย อารมณด์ ี สามารถปรบั ตวั เข้ากบั กิจวัตรประจำ�วนั ต่างๆ ไดอ้ ยา่ งสมํ่าเสมอ ทำ�ใหผ้ ้เู ลี้ยงดู
สามารถใหก้ ารดแู ลและตอบสนองความตอ้ งการของเดก็ กลุ่มนไี้ ด้ดี
๒) เด็กเลี้ยงยาก เป็นเด็กกลุ่มที่มีการปรับตัวได้ยากต่อสภาวะการเปล่ียนแปลงในสถานการณ์
ตา่ งๆ และมีความยากลำ�บากในการตอบสนองส่งิ ต่างๆ ท่เี ข้ามากระตุ้น เดก็ มักมีอารมณท์ ห่ี งดุ หงดิ ง่าย มีพฤติกรรม
ต่อต้าน อารมณ์เสียง่าย มีการแสดงออกท่ีไม่คงที่ในการทำ�กิจวัตรประจำ�วัน เช่น การรับประทานอาหาร การนอน
การขับถ่าย ผู้เล้ียงดูมักจะรู้สึกวิตกกังวลต่อการตอบสนองต่อความต้องการของเด็กท่ีเปล่ียนแปลงตลอดเวลา
และยากที่จะคาดการณส์ ิ่งที่จะเกดิ ขน้ึ ได้
๓) เด็กปรับตัวช้า เป็นกลุ่มเด็กที่มีการปรับตัวล่าช้าในสถานการณ์ต่างๆ บางครั้งดูเหมือน
เด็กเลี้ยงยาก ตอ้ งใชเ้ วลาในการปรับตวั ในสถานการณต์ ่างๆ เดก็ ไมส่ ามารถตอบสนองตอ่ ส่งิ เร้าต่างๆ ท่เี ขา้ มาสตู่ ัวเดก็
ไดอ้ ย่างทันที ดูเหมือนเดก็ ขีอ้ าย หากผ้เู ล้ียงดเู ข้าใจในลกั ษณะของเดก็ และให้เวลาในการปรับตัว รวมถึงเพิ่มโอกาส
ในการฝกึ ทักษะ เดก็ จะสามารถปรับตวั ตอ่ สถานการณน์ ั้นๆ ได้อยา่ งเหมาะสม

56 คู่มอื หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเดก็ อายุต่ํากวา่ ๓ ปี

๑.๒ การเจรญิ เตบิ โตของเด็กแรกเกิด - ๒ ปี
หมายถึง การเปลี่ยนแปลงเพิ่มขนาดของร่างกายและอวัยวะ ซึ่งเกิดจากการเพิ่มจำ�นวนและ

ขนาดของเซลล์และส่วนหลอ่ เลี้ยง และการเพม่ิ จ�ำ นวนการเปลี่ยนแปลงส่วนสดั ดังน้ี

อาย ุ น้ําหนกั โดยเฉลยี่ ในเดก็ ปกติ ความยาวหรอื สว่ นสูงของร่างกาย
แรกเกิด (กโิ ลกรมั ) โดยเฉลย่ี ในเด็กปกติ (เซนตเิ มตร)
๕ - ๖ เดือน ๓
๑ ปี ๕๐
๑ ปี ๓ เดอื น ๖ (๒ เท่าของนา้ํ หนักแรกเกดิ ) ๖๕
๑ ปี ๖ เดือน ๙ (๓ เท่าของนาํ้ หนกั แรกเกดิ ) ๗๕
๒ ปี ๗๗
๑๐ ๘๐
๑๐.๘ ๘๕
๑๒

ความยาวของเส้นรอบศีรษะ แสดงการเตบิ โตของสมอง วดั เหนอื ควิ้

แรกเกดิ ยาวประมาณ ๓๕ เซนตเิ มตร

อายุ ๔ - ๕ เดือน กระหม่อมหลังปิดอยา่ งชา้ ไม่เกิน ๔ เดอื น

อายุ ๑ ปี เส้นรอบศีรษะเพมิ่ ข้นึ อีกปลี ะ ๑ เซนติเมตร

อายุ ๑ ปคี รงึ่ กระหม่อมหนา้ ปิดอย่างชา้ ไม่เกนิ ๑ ปคี รง่ึ

อายุ ๒ - ๕ ปี เส้นรอบศีรษะเพิม่ ขนึ้ อีกปีละ ๑ เซนตเิ มตร

ฟันน้ํานม

เด็กเรม่ิ มฟี ันข้ึนอายุ ๖ - ๘ เดอื น และมีครบ ๒๐ ซี่ เม่อื อายุ ๒ ปี ๖ เดอื น โดยฟนั นํ้านม

มีความสำ�คัญมาก ถ้าฟันนํ้านมแข็งแรง ฟันแท้ท่ีข้ึนมาทดแทนจะไม่เกไม่ซ้อน การดูดนมจากขวดทำ�ให้เด็กฟันผุ

วธิ กี ารปอ้ งกนั คอื ใหเ้ ลกิ นมมอ้ื ดกึ เมอ่ื มฟี นั ขน้ึ ท�ำ ความสะอาดฟนั ใหเ้ ดก็ กอ่ นนอน หดั ดม่ื นมจากถว้ ยเมอ่ื อายุ ๑ ปขี น้ึ ไป

๑.๓ การสร้างความผูกพนั ภูมคิ ้มุ กันทางจติ ใจของพอ่ แมแ่ ละผูเ้ ลยี้ งดู

การสร้างความผูกพัน ภูมิคุ้มกันทางจิตใจของพ่อแม่และผู้เลี้ยงดู สำ�หรับเด็กแรกเกิด - ๒ ปี

มีความสำ�คัญอย่างยิ่งต่อการสร้างรากฐานชีวิตจิตใจของมนุษย์ นอกจากร่างกายและสมองจะเจริญเติบโตสูงสุด

ในช่วงนเ้ี ดก็ ยงั มีความรู้สกึ รับร้สู ัมผัสท้งั รูป รส กลิ่น เสียง กายสัมผัส และยงั เลียนแบบอยา่ ง ต้งั แต่แรกเกิด เดก็ เล็กๆ

เรียนรู้จากประสบการณ์การเล้ียงดูและภาวะแวดล้อมได้เร็ว และฝังลึกในจิตใจ การสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง

พ่อแม่ ผูป้ กครอง หรอื ผเู้ ล้ียงดู กอ่ ใหเ้ กดิ จดุ เริ่มต้นของความผูกพัน ซึง่ ผู้ปกครองสามารถสรา้ งความรักความผกู พนั

ผา่ นทางการให้อาหาร การสัมผสั โอบกอด การส่อื สารพดู คุย การมอง และการพูดคยุ เลา่ นิทาน เลน่ หรือทำ�กจิ กรรม

คมู่ ือหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเด็กอายตุ าํ่ กว่า ๓ ปี 57

ร่วมกัน ซ่ึงสิ่งต่างๆ เหล่านี้จะช่วยสร้างสายสัมพันธ์ให้แก่เด็ก ทําให้เด็กเกิดความรู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง ส่งเสริม

พัฒนาการด้านอารมณ์ และพัฒนาทักษะทางสังคม การเล้ียงดูเด็กวัยน้ีหากผู้ปกครองหรือผู้เลี้ยงดูให้ความรัก

เอาใจใส่ อบรมเล้ียงดูโดยเข้าใจ ดูแลอย่างใกล้ชิดให้มีความสมดุลกันท้ังด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ

สติปัญญาแลว้ เดก็ ก็จะเติบโตอย่างแข็งแรง ใฝ่รู้และใฝ่ดี พรอ้ มทจ่ี ะพฒั นาตนเองเพอ่ื เติบโตเป็นผูใ้ หญท่ ด่ี ีในอนาคต

ให้เป็นคนเก่ง คนดี อยู่อย่างมีความสุข และไม่ลืมท่ีจะเผื่อแผ่ความช่วยเหลือให้กับผู้อ่ืนในสังคมด้วย ผู้ปกครอง

ควรสรา้ งความสมั พันธ์ทด่ี กี บั เด็ก ซง่ึ จําเปน็ ต้องใหเ้ วลาและเอาใจใส่อย่างสมา่ํ เสมอ เพ่อื สร้างความผกู พนั ระหวา่ งกัน

ความมั่นคงทางใจ ซง่ึ เป็นภูมิคมุ้ กันทางจิตใจ จะมคี วามสำ�คญั ตอ่ ชีวติ ของเดก็ มาก

๑.๔ พัฒนาการของเด็กแรกเกิด - ๒ ปี

เด็กแรกเกิด - ๒ ปี มีความเปล่ยี นแปลงดา้ นความสามารถในการท�ำ หน้าท่ขี องอวัยวะตา่ งๆ ตัง้ แต่

ระดบั ง่ายจนยากข้ึน มที กั ษะและปรับตวั ตอ่ ส่ิงแวดล้อมดีข้ึน ดงั นี้

อายุ ๑ เดอื น สบตา จอ้ งหนา้ แม่

อายุ ๒ เดอื น คยุ ออ้ แอ้ ยิม้ ชนั คอในทา่ คว่ํา

อายุ ๓ เดือน ชันคอได้ตรงเม่อื อุม้ นัง่ ส่งเสียงโต้ตอบ

อายุ ๔ เดอื น พยายามควา้ ของเลน่ หวั เราะเสยี งดงั ชคู อตง้ั ขนึ้ ในทา่ ควาํ่ ยม้ิ ทกั ทาย

แสดงอาการดีใจเมือ่ เห็นสง่ิ ทตี่ วั เองพอใจ

อายุ ๕ เดอื น สามารถคืบ พลกิ คว่ํา พลกิ หงาย

อายุ ๖ เดอื น ควา้ ของมือเดียว หนั หาเสยี งเรียกชอื่ สง่ เสียงโต้ตอบ

อายุ ๗ เดือน นง่ั ทรงตวั ได้เอง เปลีย่ นสลับมือถอื ของได้

อายุ ๘ เดือน มองตามของตก กลวั คนแปลกหนา้

อายุ ๙ เดือน เขา้ ใจเสียงห้าม เล่นจะ๊ เอ๋ ตบมือ นง่ั ไดม้ ั่นคง คลานได้ ใชน้ ิ้วชี้

และน้ิวหัวแม่มอื หยบิ ของชิน้ เล็กได้

อายุ ๑๐ เดือน เหนีย่ วตวั เกาะยืน เกาะเดิน สง่ เสียงตา่ งๆ เช่น หมํ่าๆ จ๋า จ๊ะ

อายุ ๑๒ เดอื น ตั้งไข่ พูดได้เป็นค�ำ มคี วามหมาย เลียนเสยี งพูด ท�ำ ท่าทาง

ทำ�ตามคำ�สงั่ ง่ายๆ ได้

อายุ ๑ ปี - ๑ ปี ๖ เดอื น ลุกขึ้นยืนได้ด้วยตนเอง เดินโดยปล่อยแขนเป็นอิสระ เริ่มวิ่งและ

เดนิ เรว็ ๆ ได้ เรมิ่ คนุ้ เคยกบั บคุ คลอนื่ ถอดเสอ้ื ผา้ งา่ ยๆ ได้ ชส้ี ว่ นตา่ งๆ

ของรา่ งกายได้ เลยี นแบบการกระทำ�งา่ ยๆ ของผูใ้ หญ่

อายุ ๑ ปี ๖ เดือน - ๒ ป ี เดินขึน้ บันได มือขา้ งหนึ่งจับราวบันได อีกขา้ งหนง่ึ จบั ผู้ใหญ่ ก้าวเท้า

โดยมสี องเทา้ อยู่ในข้นั เดยี วกัน วง่ิ และหยดุ ไดท้ ันที แสดงความกลวั

เมอ่ื แยกจากคนใกลช้ ดิ ชอบเลน่ ของเลน่ คนเดยี ว สนใจฟงั นทิ านงา่ ยๆ

58 คมู่ ือหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เดก็ อายุตํ่ากว่า ๓ ปี

๒. การสง่ เสริมสุขภาพอนามัยของเดก็ แรกเกิด - ๒ ปี
การส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็กแรกเกิด - ๒ ปี มีความสำ�คัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
ของเด็กเป็นอย่างย่ิง ผู้เลี้ยงดูจึงต้องให้ความสำ�คัญต่อการดูแลสุขภาพอนามัย รวมถึงการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรค
เฝ้าระวัง และป้องกันโรคต่างๆ ท่ีอาจเกิดข้ึน ซ่ึงอาจส่งผลต่อพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ
สตปิ ัญญาได้
๒.๑ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพอนามัยของเดก็ แรกเกดิ - ๑ ปี

กิจกรรม ประโยชน์

๒.๑.๑ การให้นมและอาหารตามวยั ๖ เดือนแรก เป็นระยะสำ�คัญสำ�หรับการสร้าง
๑) การให้นม เร่มิ ใหน้ มแมท่ ันทหี ลังคลอดภายในครงึ่ ชวั่ โมง รากฐานการเจรญิ เตบิ โตของสมอง นมแมเ่ ปน็ อาหาร
โดยให้นมแม่อย่างเดียว อยา่ งน้อย ๖ เดือนเตม็ โดยไม่ต้องใหอ้ าหารอืน่ ที่ดีที่สุด เพราะมีสารอาหารมากกว่า ๒๐๐ ชนิด
แมแ้ ต่นาํ้ ขณะใหน้ มแม่ ควรปฏิบตั ดิ งั นี้ มีสารช่วยสร้างเซลล์สมอง เส้นใยประสาทสมอง
(๑) ใชผ้ า้ สะอาดชุบน้าํ สกุ เชด็ รอบบริเวณเตา้ นม และจอประสาทตา มีภูมิต้านทานโรค ทำ�ให้ลูก
(๒) ส่งเสียงโต้ตอบหากลูกร้องหิวนม ให้ลูกรู้ว่ากำ�ลังจะให้นม แข็งแรง ไม่เจ็บป่วยบ่อย การให้อาหารอ่ืนเป็น
ในไม่ชา้ การให้ส่ิงแปลกปลอมแก่ทารก เพราะร่างกาย
(๓) อุม้ ลูกในทา่ ท่สี บาย อยู่ในวงแขนแนบล�ำ ตัว ให้ปากลูก ยังไม่สามารถย่อยได้ อาจทำ�ให้เกิดท้องร่วงหรือ
อยูใ่ นระดับพอดีกับหวั นมแม่ แพ้โปรตีนนมวัวได้ แม่ควรเล้ียงลูกด้วยนมแม่
(๔) เปลยี่ นขา้ งใหน้ ม หากนาํ้ นมไม่พอ เพียงอย่างเดียว ๖ เดือน และเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
(๕) อุ้มลกู พาดบ่าหลังให้นม เพอื่ ใหเ้ รอ ต่อไป ควบคู่กับอาหารตามวัยจนลูกอายุครบ ๒ ปี
หรือนานกว่านนั้

คู่มือหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเดก็ อายุต่าํ กวา่ ๓ ปี 59

กจิ กรรม ประโยชน์

๒) การให้อาหาร เริ่มให้อาหารอื่นที่ไม่ใช่นม ต้ังแต่อายุ ๖ เดือนเป็นต้นไป โดยประกอบอาหารที่เหมาะสมกับ
ความตอ้ งการของวัยและถกู หลกั โภชนาการ ดงั ตารางตอ่ ไปน้ี

อายุ ชนดิ และปรมิ าณอาหาร
( เดอื น)
จ�ำ นวนมือ้ กลุ่มขา้ ว กลุ่มเน้อื สัตว์ กลุ่มผกั กลุม่ ผลไม ้ กลมุ่ นํา้ มนั
๖ ต่อวนั

๑ ข้าวบดละเอียด ไข่แดงสุกครึง่ ฟอง ผกั ตม้ เปื่อย ผลไม้บด ๑ - ๒ ชิ้น คร่งึ ช้อนชา
๓ ชอ้ นกนิ ข้าว
หรือปลา บดละเอยี ด เช่น กลว้ ยน้ําวา้ สกุ

๑ ช้อนกินขา้ ว หรือ คร่ึงชอ้ นกนิ ข้าว หรือมะละกอสกุ

ตบั บด ๑ ช้อนกินขา้ ว เชน่ ตำ�ลงึ ฟกั ทอง

๗ ๑ ข้าวบดละเอยี ด ไขต่ ้มสกุ ครงึ่ ฟอง ผักสุก ๑ ช้อนกินข้าว ผลไมส้ กุ ๑ - ๒ ชิ้น ครงึ่ ชอ้ นชา
๔ ชอ้ นกนิ ขา้ ว
สลับกับตบั บด เชน่ ผกั หวาน ตำ�ลงึ เช่น มะละกอสกุ

๑ ชอ้ นกนิ ขา้ ว ฟักทอง หรอื มะมว่ งสุก

หรอื เนอ้ื ปลา หรือ

เน้ือหมูหรือเน้ือไก่

๑ ช้อนกนิ ขา้ ว

๘ - ๙ ๒ ขา้ วสวยนิ่มๆ ไขต่ ม้ สกุ คร่ึงฟอง ผักสกุ ๑ ชอ้ นกนิ ข้าว ผลไมส้ ุก ๒ - ๓ ช้นิ ครง่ึ ชอ้ นชา
บดหยาบ
๔ ช้อนกนิ ขา้ ว สลบั กบั ตบั บด ตอ่ มอื้ เชน่ ผักหวาน ต่อมือ้ เชน่ มะละกอสกุ ตอ่ มอื้
ต่อมอื้
๑ ชอ้ นกินข้าว หรือ ตำ�ลงึ ฟักทอง ๓ ชนิ้ หรอื

เนื้อปลา หรอื เนือ้ หมู ผกั กาดขาว แครอท กลว้ ยน้ําวา้ สุก ๑ ผล

หรอื เนอ้ื ไก่

๑ ชอ้ นกนิ ขา้ วต่อมอ้ื

๑๐ - ๑๒ ๓ ข้าวสวยน่ิมๆ ไขต่ ม้ สุกคร่ึงฟอง ผกั สกุ ๑ ๑/๒ ผลไม้สกุ ๓ - ๔ ชนิ้ คร่ึงชอ้ นชา
บดหยาบ
๔ ช้อนกนิ ข้าว สลับกับตบั บด ช้อนกนิ ข้าวต่อมื้อ ตอ่ มือ้ เชน่ มะม่วงสุก ต่อมอ้ื
ตอ่ มื้อ
๑ ช้อนกินขา้ ว หรอื เช่น ผกั หวาน ตำ�ลงึ ๔ ช้นิ หรือสม้ ๑ ผล

เน้ือปลา หรือเนื้อหมู ฟักทอง ผักกาดขาว

หรือเนอ้ื ไก่ แครอท

๑ ช้อนกินข้าวตอ่ มอ้ื

แนวทางการจัดอาหาร
๑. เรมิ่ ใหอ้ าหารทีละอย่างและครั้งละนอ้ ยๆ เม่อื เด็กกินได้ และไมม่ ีปัญหาการแพอ้ าหาร จึงคอ่ ยๆ เพิ่มปริมาณจนได้
ตามท่ีแนะนำ�
๒. จัดอาหารแตล่ ะกล่มุ ให้มคี วามหลากหลายเพอ่ื สรา้ งความค้นุ เคย
๓. อาหารในช่วงอายุ ๗ เดอื นขนึ้ ไป ไม่ต้องบดละเอียด เพิม่ ความหยาบมากข้นึ
ตามอายุ เพ่ือฝกึ การเค้ียวอาหาร
๔. ไม่ควรปรุงอาหารรสจดั ควรใหอ้ าหารรสธรรมชาติ
๕. วตั ถุดิบและภาชนะทใ่ี ช้ปรุงอาหารและใส่อาหาร ตอ้ งสะอาดและปลอดภยั

60 คู่มือหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เดก็ อายตุ ํ่ากวา่ ๓ ปี

กิจกรรม ประโยชน์

๒.๑.๒ การดูแลสุขภาพ
ทารกแรกเกิดยังมีภูมิต้านทานโรคตํ่า จึงต้องการสภาพแวดล้อม - เพือ่ ใหเ้ ดก็ เติบโตมีสขุ ภาพแข็งแรง

ทส่ี ะอาด

๑) การท�ำ ความสะอาดร่างกาย
(๑) หลังการขับถ่ายทุกครั้งควรเปลี่ยนผ้าอ้อม ทำ�ความสะอาด - เพอ่ื ไม่ใหส้ ง่ิ สกปรกยอ้ นกลบั

ด้วยสำ�ลีชุบน้ํา เช็ดให้สะอาด การเช็ดอวัยวะเพศของเด็กหญิง ควรเช็ดจาก - เพื่อป้องกนั การหมกั หมมและติดเช้ือ

ดา้ นหนา้ ลงไปทางดา้ นหลงั ส�ำ หรบั เดก็ ผชู้ าย ควรขยบั หนงั หมุ้ ปลายอวยั วะเพศ

ลา้ งทำ�ความสะอาด

(๒) ควรอาบนํ้าให้เด็กอย่างน้อยวันละ ๒ ครั้ง ตามเวลา - เพื่อให้เด็กเรียนรู้ว่าเวลาไหนต้องทำ�อะไร และ

เป็นประจำ� น้ําไม่ควรร้อนหรือเย็นจนเกินไป ขณะอาบน้ําควรพูดคุยให้เด็ก ทำ�ให้เดก็ รู้จักส่วนตา่ งๆ ของรา่ งกาย

รจู้ ักส่วนต่างๆ ของร่างกาย

(๓) ควรทำ�ความสะอาดสะดือเด็กแรกเกิด ประมาณ ๑ - ๒ - เพือ่ ไม่ให้สะดือแฉะ สะดอื จะไดห้ ลดุ เร็วข้นึ

สัปดาห์ หรือจนกว่าสะดอื จะหลดุ โดยใช้สำ�ลเี ชด็ รอบๆ สะดอื ให้แหง้ แลว้ ใช้

ส�ำ ลีชุบแอลกอฮอล์เช็ดขอบและกน้ สะดือให้ทั่ว

(๔) ท�ำ ความสะอาดตา หู และจมกู โดยใชส้ �ำ ลหี รอื ผา้ นมุ่ ทส่ี ะอาด - ทารกจะสบายตัว สดช่นื

ชบุ น้าํ สะอาดเชด็ เบาๆ

(๕) ตัดเล็บมอื ใหส้ ั้นอยเู่ สมอ - เลบ็ มือจะไม่ขีดข่วนหน้าและเน้อื ตวั ทารก

๒) การดแู ลชอ่ งปากและฟัน
(๑) หลงั ๖ เดอื น ถ้าไม่สามารถใหน้ มแม่ต่อได้ ควรเลอื กนมจืด - ฟันน้ํานมมีความสำ�คัญต่อสุขภาพของเด็ก

ใหเ้ ดก็ ไม่ให้เดก็ ดูดขวดนมจนหลบั คาขวด ไมน่ ำ�ของหวานทกุ ชนิดใสข่ วดนม ถา้ ไมด่ ูแลใหด้ จี ะเกิดฟันผไุ ดง้ า่ ย ถ้าฟนั ผลุ ุกลาม

และเลิกใหข้ วดนมเมื่ออายุ ๑ - ๑ ๑/๒ ปี เด็กจะปวดฟัน นอนไม่หลับ ไม่สามารถ

(๒) เมอื่ อายุ ๖ เดอื น เดก็ เรมิ่ มฟี นั ขนึ้ แลว้ แปรงฟนั ลกู ใหส้ ะอาด รับประทานอาหารได้ ส่งผลต่อการเจริญเติบโต

ด้วยยาสฟี ันผสมฟลอู อไรดว์ ันละ ๒ ครัง้ เชา้ และกอ่ นนอน และพฒั นาการของเดก็

(๓) เด็กอายุ ๖ เดือน ควรเร่ิมให้อาหาร ๑ ม้ือ และเพิ่มเป็น

๓ ม้อื เม่อื อายุ ๑ ปี อาหารระหว่างมือ้ ควรเปน็ นมจืดและผลไม้

(๔) พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูเปิดริมฝีปากดูฟันเด็กเดือนละครั้ง

ถ้าพบฟันมีรอบขาวขุ่นบริเวณคอฟัน ให้รีบพาไปพบทันตบุคลากรหรือ

เจ้าหน้าทส่ี าธารณสุข เพอื่ ทาฟลอู อไรดป์ ้องกันฟันผุ

วิธีแปรงฟัน
ใช้แปรงสีฟันแตะยาสีฟันเป็นจุดเล็กๆ ให้เด็กนอนหนุนตักหันหน้า

ไปทางเดียวกับผู้แปรง ใช้นิ้วมือแหวกกระพุ้งแก้มเพื่อให้มองเห็นฟันที่จะ

แปรงชดั เจน วางขนแปรงตัง้ ฉากกับตัวฟัน ขยับไปมาสนั้ ๆ ใหท้ ั่วทกุ ซี่ ถา้ เดก็

ยังบ้วนน้ําไม่ได้ ให้ใช้ผ้าสะอาดเช็ดฟองยาสีฟันออก เม่ือแปรงสะอาดแล้ว

จะไม่พบคราบเหนยี วสีขาวอมเหลืองติดอยู่ท่ฟี นั

คูม่ อื หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเด็กอายตุ ํา่ กวา่ ๓ ปี 61

กิจกรรม ประโยชน์

๓) การดแู ลของใช้สำ�หรบั เด็ก - เพื่อสุขอนามัยและความปลอดภยั ของทารก

(๑) ควรแยกซักเสื้อผ้าของเด็ก โดยใช้ผงซักฟอกชนิดอ่อนหรือ

นํ้ายาซกั ผ้าเด็ก

(๒) ทำ�ความสะอาดเบาะที่นอนเป็นประจำ� เปล่ียนผ้าปูท่ีนอน

ทกุ ครง้ั ทีเ่ ด็กทำ�เปอ้ื น ซกั ใหส้ ะอาด และตากใหแ้ ห้ง

(๓) ตรวจสอบของเล่นไม่ให้มีช้ินส่วนแตกหักเสียหาย ไม่มีส่วน

แหลมคม หรอื กะเทาะหลุด

๔) การพาเดก็ ไปรบั การตรวจสขุ ภาพและฉดี วัคซีนป้องกนั โรค - เพ่อื สุขภาพและความปลอดภยั ของทารก
ต้องพาเด็กไปตรวจสุขภาพและรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรค

เปน็ ระยะๆ ตามก�ำ หนด

กำ�หนดการรบั วัคซนี ของเดก็ แรกเกิด - ๑ ปี
ตามแผนงานสร้างเสรมิ ภูมคิ ุม้ กันโรคของกระทรวงสาธารณสขุ

อาย ุ วัคซนี ท่ใี ห้ ข้อแนะน�ำ
แรกเกิด บซี ีจี (BCG) ฉดี ใหเ้ ด็กก่อนออกจากโรงพยาบาล
ตับอักเสบบี (HB1) HB1 ควรใหเ้ รว็ ทส่ี ดุ ภายใน ๒๔ ช่วั โมง
หลงั เกิด
๒ เดือน คอตบี ไอกรน บาดทะยัก (DTP) (๑)
ตบั อักเสบบี (๑) โปลโิ อ (๑) -
๔ เดอื น คอตบี ไอกรน บาดทะยกั (DTP) (๒)
ตบั อักเสบบี (๒) โปลิโอ (๒) -
๖ เดอื น คอตีบ ไอกรน บาดทะยกั (DTP) (๓)
ตบั อกั เสบบี (๓) โปลิโอ (๓) -
๙ เดอื น หดั หดั เยอรมนั คางทูม (MMR) (๑)
หากไมไ่ ด้ฉดี เมื่ออายุ ๙ เดือน ใหร้ ีบ
ติดตามฉดี ให้เร็วทสี่ ดุ

คำ�ย่อ : BCG = Bacillus Calmette Guerin; DTP = Diphtheri and Tetanus toxoids, and Pertussis; HB = Hepatitis
B; MMR = Measles, Mumps, and Rubella
หมายเหตุ :
๑. หากพบวา่ เดก็ ไม่สามารถรับวคั ซีนตามก�ำ หนดเวลาให้เด็กไดร้ ับวคั ซีนทนั ที
๒. วัคซีนที่ต้องให้มากกว่า ๑ ครั้ง หากเด็กเคยได้รับวัคซีนมาบ้างแล้ว และไม่ได้รับวัคซีนคร้ังต่อไปตามกำ�หนด
เวลานัด ใหฉ้ ีดวัคซีนครัง้ ต่อไปนั้นไดท้ นั ที โดยไม่ต้องเร่ิมต้นคร้งั ท่ี ๑ ใหม่
๓. หากมีหลักฐานบันทึกว่าเคยได้รับวัคซีน BCG มาก่อน ไม่จำ�เป็นต้องให้ซ้ํา แม้จะไม่มีแผลเป็นบริเวณที่ได้รับ
วัคซนี

62 ค่มู อื หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เดก็ อายุต่าํ กว่า ๓ ปี

กจิ กรรม ประโยชน์

๒.๑.๓ การพักผ่อนนอนหลบั
เด็กแรกเกิดมีเวลาต่ืนและเวลานอนไม่แน่นอน ร่างกาย โดยเฉพาะ เพ่ือสขุ ภาพที่ดีของทารก
สมอง ต้องใช้เวลาในการปรับตัวและเรียนรู้ความแตกต่างของช่วงกลางวัน
และกลางคืน ใน ๒ - ๓ เดอื นแรก เด็กจะตน่ื ทกุ ๓ - ๔ ช่ัวโมง เพือ่ ดูดนม
และมักนอนหลังอิ่ม มีช่วงเวลาต่ืนมาเล่นไม่กี่ชั่วโมง การนอนจึงเป็นเรื่อง
ส�ำ คญั สำ�หรบั เด็ก เดก็ ควรไดน้ อนอย่างมีความสุขและปลอดภยั โดยใหน้ อน
กางมุ้งในท่ีท่ีอากาศถ่ายเท ไม่มีเสียงรบกวน ท่ีนอนต้องสะอาด เด็กตั้งแต่
อายุประมาณ ๔ เดือนเปน็ ต้นไป จะค่อยๆ นอนกลางคืนนานข้ึน ส่วนมากจะ
นอนยาวตลอดคืน โดยไม่ตื่นกลางดึก เมอ่ื อายุ ๙ เดอื น - ๑ ปี ความต้องการ
นอนของเด็กแต่ละคนจะแตกต่างกันบ้าง โดยเฉลี่ยจะแบ่งตามช่วงอายุและ
ชว่ งเวลานอนไดด้ งั นี้

อาย ุ เวลานอนหลบั ลักษณะการนอน
แรกเกิด - ๒ เดือน (ชวั่ โมง/วนั )
๒ - ๑๐ เดอื น ๑๖ - ๑๘ หลบั ช่วงส้ันๆ หลายรอบ
๑๐ - ๑๒ เดือน ๑๔ - ๑๖ นอน ๒ - ๓ ช่วง ท้ังกลางวันและกลางคืน กลางคนื จะนอน
๑๔ - ๑๖ ในชว่ งยาวขึ้น จนหลับไดต้ ลอดคนื

ท่านอนทเี่ หมาะสม ควรใหเ้ ดก็ นอนตะแคงหรอื นอนหงาย ไมค่ วรนอนคว่ํา เพราะจะทำ�ใหเ้ ดก็ อดึ อดั
หายใจไม่สะดวก และท่ีนอนตอ้ งไม่นม่ิ จนเกินไป เพอ่ื ความปลอดภัยของทารก

๒.๒ การสง่ เสรมิ สุขภาพอนามัยของเด็กช่วงอายุ ๑ - ๒ ปี

กจิ กรรม ประโยชน์

๒.๒.๑ การให้นมและอาหารตามวัย
เด็กต้องการพลังงานและสารอาหารมากกว่าผู้ใหญ่ แต่เด็กวัยนี้ - เพื่อนำ�ไปสร้างเนื้อเยื่อของสมอง กล้ามเน้ือ
ไม่สนใจอาหารและไม่เจริญอาหารเหมือนวัยทารก เพราะสนใจสำ�รวจ ส่วนต่างๆ ของร่างกาย
ส่ิงแวดล้อมและการเล่นมากกว่า เดก็ เร่มิ เลือกอาหาร เพราะชอบหรอื ไม่ชอบ - สร้างเสรมิ ภมู ิต้านทานโรค
อาหารบางอย่าง เด็กบางคนอาจจะมีปัญหาเร่ืองอาหารการกิน ควรสร้าง
สุขนิสัยในการรับประทานอาหารอย่างจริงจังในระยะน้ี เพราะเด็กอยู่ในวัย
เจรญิ เตบิ โต การใหอ้ าหารเดก็ อยา่ งไมเ่ หมาะสมหรอื ไมค่ รบทง้ั ๕ หมู่ จะท�ำ ให้
การเจรญิ เตบิ โตหยดุ ชะงัก มีระดับสตปิ ัญญาไม่ดีเท่าทคี่ วร และเจบ็ ป่วยบ่อย
เดก็ ควรไดร้ ับประทานอาหารหลกั ครบทัง้ ๕ หมู่ ในแตล่ ะหม่คู วรรับประทาน
อาหารให้หลากหลายชนดิ วันละ ๓ ม้ือ และด่มื นมเปน็ อาหารเสรมิ

คมู่ อื หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเดก็ อายุตํา่ กว่า ๓ ปี 63

กจิ กรรม ประโยชน์

๑) ปรมิ าณอาหารท่เี ดก็ ควรไดร้ ับในแต่ละวัน

อาหาร ปรมิ าณอาหาร ค�ำ แนะนำ�เพ่มิ เตมิ
นม เดก็ อายุ ๑ - ๒ ป ี
นมสด หรอื นมผง หรือโยเกิรต์ นมสด ๑ แก้ว = โยเกริ ์ต (๑๕๐ กรมั
เนื้อสัตว์ ๒ แกว้ หรอื ๑ ๑/๒ ถว้ ย)
ควรทำ�ใหส้ กุ ห่นั เปน็ ช้นิ เล็กๆ สะดวกในการเคี้ยว และสลบั กับ
การให้ปลา ไข่ เลือดหมู ไก่ เป็ด ตบั อาหารทะเล ปลาตวั เลก็
ขา้ วสุก หรอื ก๋วยเต๋ียว ๓ ชอ้ นกนิ ขา้ ว ก้งุ ฝอย เตา้ หู้
หรอื ขนมจนี ขา้ วสุก (หงุ ไม่เช็ดนํ้าหรอื นง่ึ ) ขา้ วเหนียวน่ึง ขนมจีน ก๋วยเตยี๋ ว
ผักใบเขยี ว ขนมปงั เผอื ก มนั สลบั ผลดั เปล่ยี นหมนุ เวยี น
ควรเป็นผักสีเขยี วเข้มหรอื สเี หลอื งสม้ และผักอนื่ ๆ สลบั ผลดั เปลยี่ น
ผลไมต้ ามฤดกู าล ๓ ทัพพ ี หมนุ เวยี น
ผลไมส้ ดตามฤดูกาล ลา้ งให้สะอาดกอ่ นใหเ้ ด็กรับประทานอาหาร
(๑ สว่ นของผลไมแ้ ต่ละชนิดไม่เท่ากัน ขึ้นอย่กู ับขนาด เชน่
๒ ทัพพี กลว้ ยน้าํ วา้ ๑ ผล สม้ เขยี วหวาน ๒ ผลกลาง เงาะ ๔ ผล
ฝร่งั คร่ึงผล มะม่วงสุกคร่ึงผล มะละกอสกุ ๖ ช้นิ พอค�ำ สับปะรด
น้ํามัน กะทิ ๖ ช้ินพอดีคำ�)
นาํ้ ตาล ๓ สว่ น ไมค่ วรไดร้ บั มากเกนิ ไป เพราะจะทำ�ให้อว้ นได้
ไมค่ วรได้รบั มากเกนิ ไป อาจท�ำ ใหผ้ อมหรอื อ้วน และฟนั ผไุ ด้
จึงไม่ควรให้รับประทานขนมและเครื่องดม่ื ทม่ี รี สหวานจัด เชน่
ลูกอม เยลล่ี น้าํ หวาน นา้ํ อัดลม


นอ้ ยกว่า ๓ ช้อนชา
นอ้ ยกว่า ๒ ช้อนชา




๒) การใหอ้ าหารแกเ่ ด็กตอ้ งค�ำ นงึ ถึงหลกั โภชนาการ ดงั น้ี
(๑) ใหเ้ ดก็ ไดร้ บั ประทานอาหารหลกั ครบ ๕ หมทู่ กุ วนั ในสดั สว่ น
ท่เี หมาะสม และมีการเตรียมท่ีสะอาด ปลอดภัย
(๒) ให้ร่างกายไดร้ ับไขมนั ขนาดพอเหมาะ คอื ประมาณ ๓๐%
ของพลังงานทั้งหมด เด็กควรได้รับน้ํามันพืช ไขมันจากเน้ือสัตว์ และนม
ประมาณ ๒ - ๔ แกว้ และควรเลือกใช้นํา้ มนั ท่ีใหก้ รดไขมันจ�ำ เปน็ ทีร่ ่างกาย
สรา้ งเองไมไ่ ด้ ไดแ้ ก่ น้ํามันถว่ั เหลอื ง นาํ้ มนั ดอกค�ำ ฝอย น้ํามันข้าวโพด และ
นํ้ามันจากปลาทะเล รับประทานไข่ได้วันละ ๑ ฟอง โดยไม่เกิดปัญหา
คอเลสเตอรอลสูง ยกเว้นครอบครวั ท่มี ภี าวะเสย่ี งทางพันธุกรรม
(๓) ใหร้ บั ประทานนา้ํ ตาลแตพ่ อควร การรบั ประทานนาํ้ ตาลทราย
ที่ใส่ในอาหาร ขนม และเคร่ืองดื่มมากเกินไป จะทำ�ให้เกิดโทษ เช่น ฟันผุ
และยังเป็นสาเหตุให้มีการสร้างไขมันไตรกลีเซอไรด์เพ่ิมขึ้น เสี่ยงต่อการ
เป็นโรคหัวใจขาดเลือดและโรคเบาหวานในอนาคต ควรรับประทานอาหาร
คาร์โบไฮเดรตประเภทธัญพืชและแป้ง ซึ่งเม่ือย่อยแล้วจะกลายเป็นนํ้าตาล
ร่างกายนำ�มาใชเ้ ปน็ พลังงานไดด้ ี

64 คูม่ อื หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเด็กอายุตํา่ กว่า ๓ ปี

กิจกรรม ประโยชน์

(๔) ใหร้ ับประทานอาหารทใ่ี หใ้ ยอาหารเป็นประจ�ำ อาหารทใ่ี ห้
ใยอาหารมีส่วนของพืชท่ีน้ําย่อยในลำ�ไส้มนุษย์ย่อยไม่ได้ คงเหลือให้ขับถ่าย

ออกมา ได้แก่ ผัก ผลไม้ ข้าว และแป้ง ซ่ึงเป็นคาร์โบไฮเดรตชนิดโมเลกุล
เชิงซ้อน ใยอาหารเหล่านี้จะทำ�ให้เพ่ิมปริมาณอุจจาระในลำ�ไส้ กระตุ้นให้มี
การขับถ่ายอย่างสม่ําเสมอ เป็นการลดโอกาสท่ีสารพิษต่างๆ จะสัมผัสกับ

ผนังลำ�ไส้ และลดภาวะไตรกลีเซอไรดใ์ นเลอื ดสงู และสามารถลดความเส่ยี ง

ตอ่ การเกิดท้องผูกเป็นประจำ� ซ่งึ นำ�ไปสู่โรคลำ�ไส้โป่งพอง ริดสดี วงทวาร และ
มะเรง็ บางชนดิ
(๕) ให้เด็กรับประทานอาหารรสธรรมชาติ ควรใช้เกลือหรือ

อาหารที่มีโซเดียมสูงน้อยลง เพราะอาหารรสเค็มจะทำ�ให้เด็กมีโอกาส
เป็นโรคความดนั โลหติ สงู ได้ อาหารเหล่านี้ ได้แก่ นา้ํ ปลา ซีอิ๊ว กะปิ ปลาร้า
เต้าเจ้ียว ผักดอง ไข่เค็ม ปลาเค็ม รวมถึงน้ําและเครื่องด่ืมบางชนิด
ทม่ี โี ซเดียมสงู ซึ่งก็ต้องระมดั ระวงั ด้วย

(๖) ให้อาหารที่มีส่วนป้องกันโรคมะเร็ง ได้แก่ การเพิ่มผักและ
ผลไม้ใหม้ ากข้ึน ละเวน้ อาหารทไ่ี หมเ้ กรียม อาหารทมี่ ีความชื้นจนเกดิ เชือ้ รา
จำ�กัดปริมาณไขมัน โดยเฉพาะท่ีมาจากสัตว์ และไขมันท่ีมีกรดไขมันอ่ิมตัว

เชน่ นาํ้ มะพรา้ ว กะทิ และนาํ้ มนั ปาลม์ ควรหลกี เลยี่ งอาหารทใ่ี สส่ แี ละสารเคมี
๓) การตอบสนองที่ควรทำ�
(๑) อายุ ๑ ปี ๖ เดือน
(๑.๑) ถา้ เดก็ รบั ประทานนมแมไ่ ด้ ควรใหร้ บั ประทานตอ่ ไป

แต่เด็กที่รับประทานนมผสม ควรเปล่ียนการดูดนมจากขวด เป็นการดื่ม
จากแก้วแทน และควรงดนมผสมม้อื ดึก
(๑.๒) ฝึกรับประทานอาหารเอง มีช้อนและถ้วยใส่อาหาร

ทไ่ี มห่ กหรือแตกงา่ ยใหเ้ ดก็ ๑ ชุด นัง่ รับประทานเป็นทป่ี ระจำ�

(๑.๓) ให้เห็นการรับประทานอาหารของผู้อื่น เพื่อเป็น
แบบอย่างและเลยี นแบบ
(๒) อายุ ๑ ปี ๖ เดือน - ๒ ปี
(๒.๑) ใหร้ บั ประทานเองเพมิ่ ขน้ึ จนรบั ประทานเองทงั้ หมด
โดยการตดั อาหารให้เปน็ ช้นิ พอดีค�ำ ท�ำ ใหอ้ ่อนนุ่มหรอื เคยี้ วงา่ ย ไมต่ ิดคอ
(๒.๒) ตักให้ทีละส่วน แลว้ ค่อยเตมิ ให้จนอ่มิ

(๒.๓) ดื่มนมจากถว้ ย หรอื ใชห้ ลอดดดู จากกลอ่ ง

(๓) อายุ ๒ ปี - ๓ ปี
(๓.๑) จดั ให้รับประทานอาหารเปน็ ท่ีและเป็นเวลา - ฝึกความสามารถในการใช้สายตา

(๓.๒) ให้มีโอกาสรับประทานอาหารร่วมกับเด็กอ่ืนๆ และ และมอื ประสานกนั

สมาชิกในครอบครัว

(๓.๓) ไม่ควรใช้อาหารหรือขนมเปน็ รางวัล

(๓.๔) ไม่ควรบงั คับหรอื ขู่ใหเ้ ด็กรบั ประทานอาหาร

คู่มอื หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเดก็ อายุตํ่ากวา่ ๓ ปี 65

กจิ กรรม ประโยชน์

(๓.๕) ควรชมเชยและสรา้ งบรรยากาศทผ่ี อ่ นคลายในระหวา่ ง

การรบั ประทานอาหาร ควรมีการพูดคยุ พอสมควร ไมค่ วรดูโทรทัศนร์ ะหว่าง

รับประทานอาหาร

๒.๒.๒ การดูแลสุขภาพ
๑) การรักษาสุขอนามัย
- เพอ่ื ฝกึ สขุ นิสยั ที่ดใี ห้กับเด็ก

(๑) สอนเดก็ ลา้ งมอื กอ่ นรบั ประทานอาหาร และหลงั การขบั ถา่ ย

ทุกคร้ัง

(๒) อาบนา้ํ ใหเ้ ด็กอย่างน้อยวันละ ๒ ครง้ั

(๓) สระผมเดก็ อยา่ งนอ้ ยสปั ดาหล์ ะ ๑ - ๒ ครง้ั ดว้ ยยาสระผม

(๔) ตดั เลบ็ มอื เลบ็ เท้าของเดก็ ให้สั้น

(๕) น�ำ ผ้าหม่ ทีน่ อน หมอน มุง้ ออกผ่งึ แดดสัปดาหล์ ะ ๑ ครัง้

(๖) ล้างมือและของใช้ก่อนท�ำ อาหารให้เด็ก

๒) การดแู ลฟัน - ฟันนา้ํ นมชว่ ยในการบดเค้ยี วอาหาร

พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูมักไม่ให้ความสำ�คัญกับฟันนํ้านม เพราะ - ฟันน้ํานมช่วยในการออกเสียงให้เด็กฝึกพูด

ถือว่าเป็นฟันท่ีใช้ชั่วคราว อีกไม่นานก็มีฟันแท้ไว้ใช้ต่อไป จากทัศนคติน้ี ชัดเจน

ทำ�ให้พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูละเลยการดูแลฟันนํ้านม ทัศนคติเกี่ยวกับฟัน - ฟนั นาํ้ นมชว่ ยใหใ้ บหนา้ สวยงาม และเปน็ ตวั ก�ำ หนด

ที่พ่อแมแ่ ละผู้เลี้ยงดเู ดก็ ควรทราบ คือ ตำ�แหน่งให้ฟันแท้ขึ้นมาในช่องปากอย่างเป็น

- พอ่ แมเ่ ปน็ ผู้มสี ว่ นสำ�คญั ในการทำ�ใหฟ้ นั ลูกดีได้ตลอดชีวติ ระเบียบ

- โรคฟันผุป้องกันได้ โรคฟันผุและโรคเหงือกอักเสบไม่ได้ - ช่วยใหข้ ากรรไกรเจริญเติบโตอย่างปกติ

เกิดจากกรรมพนั ธ์ุ - ป้องกนั การเกดิ ฟันซอ้ นฟันเก

- เด็กสามารถมีฟันดีได้ตลอดชีวิต ถ้ารู้จักวิธีป้องกันและรักษา - เพ่อื ดแู ลสุขภาพเหงอื กและฟัน

เม่อื เดก็ อายุประมาณ ๒ ปี ๖ เดือน เด็กจะมีฟันนํ้านมครบ ๒๐ ซี่

(๑) การแปรงฟนั ใหเ้ ด็ก
เมอื่ เดก็ มฟี นั ขน้ึ ควรเปลยี่ นมาใชแ้ ปรงสฟี นั โดยผใู้ หญแ่ ปรง

ให้กอ่ น อายุ ๒ - ๓ ปี อาจใหเ้ ด็กลองแปรงเอง แตก่ ารทำ�ความสะอาดฟนั

ผใู้ หญ่ยงั ต้องท�ำ ให้ เพราะจากการศกึ ษาพบวา่ ความสามารถในการใชส้ ายตา

และมือประสานงานกันได้อย่างดีในการแปรงฟันน้ัน พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดู

ต้องช่วยแปรงส่วนที่เด็กยังแปรงไม่สะอาด จนกระท่ังเด็กอายุ ๗ - ๘ ปี

จะสามารถแปรงสะอาดไดเ้ อง

(๒) วธิ ีแปรงฟนั ใหเ้ ดก็ - เพอ่ื ใหเ้ ดก็ มคี วามรสู้ กึ ทดี่ กี บั การท�ำ ความสะอาด

ให้พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูน่ังกับพื้น และให้เด็กนอน โดย ฟัน

ศรี ษะอยบู่ นตกั หนั หนา้ ไปทางทศิ เดยี วกนั ทง้ั ผแู้ ปรงและเดก็ โดยใชแ้ ปรงนมุ่ ๆ

หนา้ ตดั เรยี บ ความยาวของหวั แปรงควรครอบคลมุ ฟนั ประมาณ ๓ ซี่ แลว้ แปรง

โดยขยบั ไป - มาสนั้ ๆ ในแนวนอนประมาณ ๑๐ คร้ังต่อฟนั ทุก ๓ ซี่ โดยให้

ขนแปรงต้ังฉากกบั ผวิ ฟนั

66 คมู่ อื หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เด็กอายุตา่ํ กวา่ ๓ ปี

กจิ กรรม ประโยชน์

(๓) การตรวจฟันเดก็ - เพอื่ ป้องกนั ปญั หาฟันผุ

การตรวจสุขภาพภายในช่องปากของเด็กอย่างสมํ่าเสมอ

นบั เปน็ สง่ิ ส�ำ คญั ทล่ี ะเลยไมไ่ ด้ วธิ ตี รวจฟนั เดก็ ท�ำ ไดโ้ ดยใหเ้ ดก็ อ้าปากหนั หนา้

ไปทางทม่ี ีแสงสวา่ งเพียงพอ ตรวจดดู ้วยตาเปลา่ ใหท้ วั่ ทกุ ซี่ ทกุ ดา้ น โดยปกติ

ฟันนํ้านมจะมีสีขาวเหมือนนมสด หากฟันน้ํานมผุ จะเห็นเป็นจุดหรือร่อง

สีดำ�หรือเห็นสีขาวขุ่นบนตัวฟันจนเป็นรูผุเห็นได้ชัดเจน หากตรวจพบ

ความเปล่ียนแปลงของฟันเหลา่ น้ี ให้พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูพาไปพบทันตแพทย์

เพ่อื จะไดไ้ มส่ ูญเสียฟนั นาํ้ นมไปก่อนเวลาอนั ควร

(๔) การเลีย้ งเด็กอย่างถูกวธิ ี ให้ฟนั ดีมีอนามยั
(๔.๑) พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูควรทำ�ความสะอาดฟันให้เด็ก

หลงั อาหารและก่อนนอน

(๔.๒) ให้เด็กดื่มนํ้าตามหลังการด่ืมนมและรับประทาน

อาหารทกุ ครั้ง

(๔.๓) ไม่ควรเตมิ น้าํ ตาลลงในนมใหเ้ ดก็ ดมื่

(๔.๔) ฝึกให้เด็กด่ืมนมผสมจากแก้วหรือใช้หลอดดูดจาก

กล่อง แทนการดดู จากขวด

(๔.๕) ให้อาหารท่ีมีคุณค่าและเหมาะสม ไม่ควรให้เด็ก

อมท๊อฟฟี่หรอื รับประทานขนมหวานบอ่ ยๆ

(๔.๖) เรมิ่ ฝึกให้เด็กรูจ้ ักการแปรงฟัน บ้วนปาก

(๔.๗) ไมใ่ ห้หลบั โดยอมจุกนมหรือขนม

(๔.๘) เสริมฟลูออไรด์ให้เด็กต้ังแต่อายุ ๖ เดือน - ๑๒ ปี

เพื่อให้เน้ือฟันแข็งแรง โดยเฉพาะในพ้ืนที่ท่ีไม่มีระดับฟลูออไรด์ในน้ําด่ืม

สูงพอ

๒.๒.๓ การพกั ผ่อนนอนหลับ
การนอนของเดก็ วัย ๑ - ๒ ปี วัยน้ตี ้องการนอนหลบั วนั ละประมาณ

๑๑ - ๑๓ ชั่วโมง โดยนอนกลางวนั วันละ ๒ คร้ัง ครัง้ ละ ๒ - ๓ ชว่ั โมง แต่

หลงั อายุ ๑๘ เดือน จะลดการนอนกลางวนั เหลอื วันละ ๑ คร้ัง การนอนหลับ

ข้ึนอยู่กับปัจจัยทางพัฒนาการและส่ิงแวดล้อม เนื่องจากวัยน้ีเป็นวัยท่ีเด็กมี

ความรูส้ ึกกังวลกับการแยกจากผ้เู ลย้ี งดู (Separation anxiety) จงึ ทำ�ให้เดก็

อาจเกดิ ปญั หาไมย่ อมเขา้ นอนหรอื การตนื่ กลางคนื ซงึ่ อาจใชห้ มอนหรอื ผ้าหม่

ที่เด็กชอบ เพ่ือลดความวิตกกังวลของเด็กต่อการแยกจากผู้เล้ียงดูในขณะ

นอนหลบั ควรฝึกให้เดก็ นอนตลอดคนื โดยพ่อแมห่ รอื ผู้เลย้ี งดคู วรเตรียมตวั

เดก็ ก่อนเข้านอน โดยใชเ้ วลา ๑๕ - ๒๐ นาที ท�ำ กจิ กรรมเบาๆ เช่น ฟังนิทาน

กอ่ นนอน ดสู มดุ ภาพ หรอื ใหเ้ ดก็ สวดมนตก์ อ่ นเขา้ นอนเปน็ เวลา และอาจชว่ ย

ร้องเพลงกล่อมเบาๆ ท�ำ จนเป็นกจิ วตั รสม่ําเสมอ เพ่ือให้เดก็ เกดิ ความเคยชนิ

พอ่ แมห่ รือผเู้ ลยี้ งดไู มค่ วรใหเ้ ดก็ มีกิจกรรมทต่ี ่นื เต้นกอ่ นนอน เชน่ ดโู ทรทศั น์

ฟังวิทยุ พูดคุยเสียงดัง หากเด็กถูกบังคับให้นอน เด็กจะเกิดอารมณ์เครียด

คู่มอื หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เด็กอายตุ ํา่ กวา่ ๓ ปี 67

กจิ กรรม ประโยชน์

และมักจะโยเยเรียกร้องให้ทำ�สิ่งนั้นส่ิงน้ีก่อนจึงจะยอมนอน แต่พฤติกรรม

เช่นนเ้ี ป็นอยไู่ ม่นาน และจะน้อยลงเมือ่ พ้นอายุ ๔ ปี จงึ จะยินยอมโดยดี และ

จะหลับง่ายขึ้น

๒.๒.๔ การขับถา่ ย
เมื่อสภาพร่างกายของเด็กพร้อม เด็กอายุ ๑ ปี ๖ เดือน - ๒ ปี

จะเร่ิมควบคุมการขับถ่ายอุจจาระได้เมื่ออายุ ๓ ปี จึงจะสามารถควบคุม

การขบั ถา่ ยปสั สาวะในเวลากลางวนั สว่ นการควบคมุ ปสั สาวะในเวลากลางคนื

เดก็ สว่ นใหญจ่ ะทำ�ได้เมอื่ อายปุ ระมาณ ๔ - ๕ ปี การฝกึ การขบั ถา่ ย ไมค่ วรดุ

บังคับ และควรชมเชยเม่ือเด็กทำ�ได้ เด็กจะควบคุมการถ่ายอุจจาระได้ก่อน

การควบคุมการถา่ ยปสั สาวะ

๒.๒.๕ การตรวจสขุ ภาพและการรับวคั ซนี เพือ่ ปอ้ งกนั การตดิ เช้อื ในเด็ก

ในการเลี้ยงดูเด็กน้ัน ถึงแม้พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูจะระวังรักษา

ความสะอาดอย่างดีแล้วก็ตาม เด็กก็อาจติดเชื้อโรคต่างๆ ได้ เนื่องจากเด็ก

ยังไม่มีภูมิคุ้มกันต้านทานโรค และเช้ือโรคต่างๆ เหล่าน้ี ก็อาจปะปนอยู่

ในอากาศ อาหาร นม นาํ้ ดม่ื หรอื แพรก่ ระจายจากคนทอี่ ยใู่ กลช้ ดิ จงึ ท�ำ ใหเ้ ดก็

เจ็บป่วย บางครั้งรุนแรงถึงพิการหรือเสียชีวิตได้ แต่โรคติดเชื้อบางอย่าง

สามารถป้องกันได้ด้วยการให้วัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นระยะตาม

ก�ำ หนด ต้ังแต่แรกเกิด - อายุ ๑๒ ปี แม้เดก็ จะสบายดี ไมม่ ีอาการเจบ็ ปว่ ย

แต่มคี วามจ�ำ เป็นท่พี ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดเู ดก็ ต้องใหเ้ ด็กไดร้ ับวคั ซนี ตามก�ำ หนด

ก�ำ หนดการรบั วัคซนี ของเด็กอายุ ๑ - ๒ ปี
ตามแผนงานการสร้างเสรมิ ภมู คิ ุ้มกันโรคของกระทรวงสาธารณสุข

อายุ วคั ซีนทใ่ี ห้ ขอ้ แนะนำ�

๑ ๑/๒ ปี คอตบี ไอกรน -

บาดทะยัก (DTP) (๔)

โปลิโอ (๔)

คำ�ย่อ : DTP = Diphtheri and Tetanus toxoids, and Pertussis
หมายเหตุ :
๑. หากพบว่าเด็กไม่สามารถรบั วคั ซนี ตามกำ�หนดเวลาใหเ้ ด็กได้รับวคั ซีนทันที
๒. วัคซีนที่ต้องให้มากกว่า ๑ ครั้ง หากเด็กเคยได้รับวัคซีนมาบ้างแล้ว และไม่ได้รับวัคซีนครั้งต่อไปตามกำ�หนด
เวลานัด ให้ฉดี วคั ซีนครงั้ ตอ่ ไปน้นั ได้ทันที โดยไม่ตอ้ งเริม่ ต้นครงั้ ท่ี ๑ ใหม่
๓. หากมีหลักฐานบันทึกว่าเคยได้รับวัคซีน BCG มาก่อน ไม่จำ�เป็นต้องให้ซ้ํา แม้จะไม่มีแผลเป็นบริเวณที่ได้รับ
วคั ซนี

68 คู่มอื หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเด็กอายตุ ่าํ กว่า ๓ ปี

๓. การสง่ เสรมิ พัฒนาการและการเรยี นรู้ของเดก็ อายุแรกเกิด - ๒ ปี

กิจกรรม สอ่ื ประโยชน์
กระตุ้นการใช้สายตากับการใช้
๒ - ๔ เดือน มือให้สัมพันธ์กันดีข้ึน ฝึกการ
๑. ร้องเพลง พดู คยุ โตต้ อบกบั เด็กด้วยสหี นา้ ยิ้มแย้ม ฟังเสียง การสัมผสั

๒. วางของเล่นทอ่ี ่อนน่มุ สีสด ขาว - ดำ� และแดง วางไวข้ ้าง - ของเล่นทท่ี ำ�ด้วยผ้า ฝึกการใช้มือและนิ้วมอื
การสัมผสั การสังเกต
ตัวเดก็ การฟังเสียง

๓. เลน่ กับเดก็ เช่น เกมจะ๊ เอ๋ - เกมจะ๊ เอ๋ หนา้ กาก ฝึกการสังเกต การฟงั เสียง
การเคลอ่ื นไหว การใชม้ ือและ
๔. เขย่าของเล่นทม่ี ีเสียงหรือเมอื่ บีบมเี สยี งให้เดก็ สนใจ - ของเล่นทีม่ ีเสยี ง น้ิวมือใหค้ ลอ่ งแคลว่

๕. อุ้มเดก็ ใหม้ องกระจก - กระจกเงา

๖. ให้เด็กหยบิ สิง่ ของต่างๆ ด้วยมอื - ของเลน่ หลากหลายชนิด

๗. เลน่ กับเด็กโดยชูของเล่นให้เดก็ ไขวค่ ว้า ทม่ี ีสขี าว - ด�ำ

๘. แขวนของเล่นทม่ี ีสีสดใสและมีเสียงไวใ้ หด้ ู ในระยะ - ของเล่นแขวน โมบาย

๘ - ๑๐ นว้ิ

๔ - ๖ เดือน
๑. หาสถานที่โลง่ ใหเ้ ด็กเคล่ือนไหว

๒. ของเล่นสีสดใส มีเสียงเม่ือเขย่า ให้เด็กหยิบจับและคืบ - ของเลน่ ที่มเี สยี งกรุ๋งกร๋ิง

ไปหา ชมเชยเม่ือเด็กทำ�ได้ พูดคุยกับเด็กด้วยน้ําเสียง

นมุ่ นวล

๓. กระตุ้นให้เด็กหัวเราะ พูดคุย ทำ�เสียงสูงๆ ต่ําๆ โดยทำ�

สีหนา้ แตกต่างกัน

๔. รอ้ งเพลงหรอื เปิดเพลงใหเ้ ด็กฟัง - เทปเพลง

๕. ปล่อยให้เด็กได้คลาน น่ังเล่นเอง โดยมีผู้เล้ียงดูคอยระวัง

อยขู่ า้ งหลงั

๖. กลิ้งของเลน่ ให้เด็กมองตาม - ของเลน่ ที่รปู ทรงกลิง้ ได้

๗. ใหเ้ ดก็ เล่นถ่ายของจากมอื หนงึ่ ไปอีกมอื หนึ่ง เช่น ลูกบอล

๘. เลน่ ของเลน่ ทม่ี พี ้ืนผวิ หลากหลาย - ของเลน่ ทีม่ พี ้ืนผิว

๙. เลน่ เกมจา้ํ จี้ แมงมุม ตบมือ ฯลฯ แตกตา่ งกนั

๑๐. เลน่ ของเลน่ ลอยน้าํ - ของเล่นที่ลอยนํา้ ได้

๑๑. เล่นปูไต่

๖ - ๙ เดือน
๑. อมุ้ นอ้ ยลง ให้เด็กน่งั เลน่ คลาน หยบิ จับของด้วยตนเอง

๒. ให้โอกาสเด็กช่วยเหลอื ตนเอง

๓. พาเดก็ ออกเดนิ นอกบา้ น ช้ีชวนใหเ้ ด็กรูจ้ กั ชอ่ื ส่ิงต่างๆ

รอบตวั

๔. บอกชอื่ ส่งิ ต่างๆ ด้วยค�ำ พูดส้ันๆ

๕. ของเล่นประเภทเคาะ เขย่า ของเล่นหยิบเข้า - ออก

จากกล่องได้

คู่มอื หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เด็กอายตุ ํา่ กว่า ๓ ปี 69

กิจกรรม สื่อ ประโยชน์

๖. เปดิ เพลงใหเ้ ด็กโยกตัวตามจังหวะดนตรี - เทปเพลง

๗. ชวนเด็กเลน่ จบั ปูด�ำ ชวนหาของท่ีกลิ้งลบั ตา

๘. ใหย้ างหรอื ผักผลไมช้ ้นิ โตๆ สำ�หรบั กดั - แตงกวา ฝร่ัง

๙. เล่นซอ่ นหา - เกมซอ่ นหา

๑๐. เลน่ กับเงาตัวเองในกระจก - กระจก

๑๑. อา่ นหนังสอื ใหเ้ ด็กฟัง - หนงั สือนทิ าน

๑๒. ดรู ปู ภาพสิง่ ของท่คี นุ้ เคย

๑๓. ให้เด็กหยิบจับของเลน่ ที่มขี นาดแตกต่างกนั - ของเล่นท่ีมีรปู ทรง

๑๔. เรียกช่อื เด็กเพอื่ กระต้นุ ให้เด็กมาหา และชมเชยเด็ก และขนาดแตกตา่ งกัน

ในความสำ�เร็จ เชน่ โอบกอด ตบมือ

๑๕. พูดกบั เด็กดว้ ยค�ำ สนั้ ๆ เสยี งชดั เจน

๑๖. ใหเ้ ดก็ ฉีกกระดาษ และขยำ�กระดาษ - กระดาษ

๑๗. เคาะจงั หวะ ทำ�เสียงกระทบกนั - เครื่องเคาะจังหวะ

๙ - ๑๒ เดือน ฝึกการใช้นิว้ มือ การใชส้ ายตา

๑. จัดหาสถานที่โล่งกว้าง ปลอดภัย จัดโต๊ะ เก้าอี้ที่แข็งแรง และมือให้สัมพันธ์ การสงั เกต

มนั่ คง ใหเ้ ด็กเกาะยนื เกาะเดนิ การเคลอ่ื นไหว การใช้ภาษา

๒. เล่นตบมอื จ๊ะเอ๋ รอ้ งเพลงกับเดก็ ชมเชยเม่อื เด็กทำ�ได้

๓. จัดหาหนังสือรูปภาพสีสดใสให้เด็กเปิดเล่น ดูภาพ ช้ีชวน - หนังสือรูปภาพ

ใหด้ ภู าพ เลา่ นทิ าน

๔. จัดหาของเล่นที่เหมาะสม ปลอดภัย มีขนาดไม่เล็กมาก - บล็อกไม้/พลาสติก ตุก๊ ตา

เช่น บลอ็ กไม้/พลาสติก ตุก๊ ตาผ้าน่มุ กลอ่ งหยอดรูปทรง ผ้านมุ่ กล่องหยอด

ต่างๆ ของเล่นไขลานเดินได้ รถหรือกล่องกระดาษท่ีมี รูปทรงต่างๆ ของเลน่

เชือกลากเดินได้ ไขลานเดินได้

๕. ให้หยิบของด้วยน้ิวช้แี ละนิว้ หวั แม่มอื รถกลอ่ งกระดาษท่ีมีเชอื ก

๖. เล่นตบแปะ ลากเดนิ ได้

๗. ให้เด็กเลน่ เลียนแบบ เชน่ พูดโทรศัพท์ - ของเลน่ จ�ำ ลองท่เี หมอื นจรงิ

๘. ให้เดก็ มีสว่ นรว่ มในการแต่งตัว - เครื่องแต่งกายเดก็

๙. พดู คุยหรือบอกเหตุผลเมือ่ เด็กทำ�ผิด และชมเชย

เมอื่ เดก็ ท�ำ ถกู

๑๐. พูดคำ�สง่ั ง่ายๆ เช่น คำ�ว่า กิน ไป ฯลฯ

๑๑. พูดค�ำ ทม่ี ีความหมายในชีวิตประจ�ำ วัน เช่น พ่อ แม่ ขา้ ว

ฯลฯ

๑๒. สอนร้องเพลง ค�ำ คลอ้ งจองง่ายๆ - เพลง คำ�คล้องจอง

๑๓. บอกสัญลกั ษณง์ า่ ยๆ ทมี่ อี ยูใ่ นชีวติ ประจำ�วัน - ปา้ ยสัญลกั ษณต์ ่างๆ

70 คูม่ ือหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเด็กอายตุ ่าํ กวา่ ๓ ปี

กิจกรรม ส่ือ ประโยชน์
ฝกึ การเคลอื่ นไหว เรยี นรู้
๑ ปี - ๑ ปี ๖ เดือน - ลูกบอล ของเล่นพลาสติก การสงั เกตดว้ ยการสัมผัส
๑. ขวา้ งปา ตอก ถอดใหห้ ลดุ ความแตกตา่ งของรูปทรง
๒. เปิดหนังสือรูปภาพให้เด็กดู พร้อมทั้งเล่านิทานประกอบ กล่องกระดาษ รถลาก ฝกึ การใชส้ ายตาประสาน
รปู ภาพ - หนงั สือนทิ าน สัมพนั ธก์ ัน ฝึกการทรงตัว
๓. เล่นกับเด็กด้วยการแสดงท่าทางต่างๆ เช่น ร้องเพลง - รปู ภาพต่างๆ ฝึกการใช้ภาษา เริ่มปลูกฝงั
ชีต้ า หู จมูก แขน ขา ให้เดก็ เรียนรู้ - กระดาษ ดนิ สอ สเี ทียน คณุ ธรรม จริยธรรม
๔. พูดคยุ โตต้ อบ ช้ชี วนใหเ้ ด็กสงั เกตสิง่ ต่างๆ รอบตัว แท่งใหญ่
๕. หากระดาษ ดินสอ สเี ทยี นแท่งใหญ่ ใหเ้ ดก็ จับขดี เขียน ฝึกตาและมอื ประสานกนั
๖. ให้เดก็ เดิน ว่ิงโดยอิสระ โดยเน้นเร่ืองความปลอดภยั ทักษะการใชก้ ล้ามเนื้อมอื
๗. จงู มือเดก็ ข้นึ บนั ได ขอ้ มือ การเรยี นรู้ การสงั เกต
๘. จงู มือเดก็ ไปยังสถานท่ตี ่างๆ การคดิ การจ�ำ การใชภ้ าษา
๙. ให้เด็กได้ถอดเสื้อผ้าเอง ช่วยเหลือตนเองในการแต่งตัว - เครอื่ งแต่งกายเดก็ การแยกแยะจนิ ตนาการ
ใหม้ ากขน้ึ ความคิดสรา้ งสรรค์
๑๐. เล่นเกมว่งิ เก็บของ วง่ิ ไลจ่ ับ เตะบอล - ลูกบอลผ้า
๑๑. สอนใหเ้ ดก็ รจู้ กั แบง่ ปนั สง่ิ ของตา่ งๆ กบั ผใู้ กลช้ ดิ แตไ่ มค่ วร
บังคบั ใหเ้ ดก็ ตดั สินใจเอง
๑๒. ชวนเด็กให้รว่ มทำ�กจิ กรรมต่างๆ
๑๓. ถามค�ำ ถามง่ายๆ ใหเ้ ด็กตอบ
๑๔. ใหเ้ ด็กได้ขดี เขียนเองโดยอิสระ
๑ ปี ๖ เดือน - ๒ ปี
๑. ให้โอกาสเด็กเล่นทั้งท่ีร่มและกลางแจ้ง ปีนป่าย เล่นนํ้า - เครือ่ งเลน่ สนาม เกม
เลน่ ทรายอยา่ งอสิ ระ โดยคอยดูแลความปลอดภัย
๒. หาไม้บลอ็ ก กลอ่ งกระดาษ ให้เดก็ ไดซ้ ้อนเลน่ ภาพตดั ต่อ
งา่ ยๆ ๓ - ๔ ชิ้น เปน็ รปู ต่างๆ ใหเ้ ด็กน�ำ มาเรยี งกัน โดยวิธี
ลองผดิ ลองถูก
๓. ช้ชี วนใหเ้ ด็กเรียนรคู้ วามแตกต่างของสี รปู ทรงของวตั ถุ
๔. ของเลน่ ลากจูงและผลักไป - มาได้ เพ่ือพัฒนาการเคล่อื นไหว
๕. เล่านทิ านให้เดก็ ฟงั และเปดิ โอกาสให้เด็กได้โตต้ อบ - หนังสือนทิ าน
๖. ใหโ้ อกาสเดก็ เลน่ นาํ้ เลน่ ทราย ปนั้ ดนิ นา้ํ มนั ตามจนิ ตนาการ
๗. ชมเชยและใหก้ ำ�ลงั ใจเพือ่ สร้างความม่ันใจในตนเอง
๘. ให้เด็กใชม้ อื ในการหมนุ บิด - ของเลน่ ทห่ี มุน หรือบดิ
๙. ฝึกใหเ้ ดก็ ชว่ ยเหลือตนเองในการแต่งกายใหม้ ากท่ีสดุ เปน็ เกลยี ว
๑๐. ให้เด็กฝึกกิจวัตรประจำ�วันเอง เช่น รับประทานข้าวเอง
ใชช้ ้อนตักอาหาร ฝึกด่ืมนํ้าจากแก้ว ฝึกการขบั ถ่าย
๑๑. จับมอื ใหเ้ ดก็ กระโดด
๑๒. ใหเ้ ดก็ เตะลกู บอลท่หี า่ งจากตัว ๒ - ๓ กา้ ว - ลูกบอล
๑๓. ให้เดก็ เลน่ ขวา้ งปาสง่ิ ของ
๑๔. ให้เด็กเดินไปข้างหน้า - เดนิ ถอยหลงั
๑๕. ถีบหรือข่ีจกั รยานสามล้อ - จกั รยานสามลอ้
๑๖. เล่นเป่าฟองสบู่

คู่มอื หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เด็กอายตุ า่ํ กวา่ ๓ ปี 71

๔. แนวทางปฏบิ ัติในการอบรมเลยี้ งดูตามวถิ ชี วี ติ ประจำ�วนั
การอบรมเลย้ี งดตู ามวถิ ชี วี ติ ประจ�ำ วนั ส�ำ หรบั เดก็ แรกเกดิ - ๒ ปี มคี วามส�ำ คญั อยา่ งยง่ิ ตอ่ การวางรากฐาน
การเรยี นร้แู ละการพฒั นาทักษะพื้นฐานของเด็กทัง้ ทางรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสตปิ ญั ญา การจัดกิจกรรม
ควรจดั ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการ ความสนใจ และความสามารถของเดก็ ตามวยั โดยบรู ณาการกจิ กรรมการเรยี นรู้
ผา่ นการอบรมเลีย้ งดูตามวถิ ชี วี ิตประจ�ำ วัน และการเลน่ ตามธรรมชาติของเดก็ ดงั น้ี
๔.๑ การฝึกสุขนิสัยและลักษณะนิสัยท่ีดี เป็นการสร้างเสริมสุขนิสัยท่ีดีในการรับประทานอาหาร
ควรฝึกให้เด็กได้รับประทานอาหารเอง หัดตักอาหาร ดื่มนํ้าจากถ้วย การนอน การทำ�ความสะอาดรา่ งกาย แต่งตัว
โดยช่วยเหลือตามสมควร การขับถ่าย ตลอดจนปลูกฝังลักษณะนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพอนามัย และการแสดง
มารยาททสี่ ภุ าพ นุ่มนวล แบบไทย เป็นต้น
๔.๒ การเคล่ือนไหวและการทรงตัว เป็นการส่งเสริมการใช้กล้ามเน้ือแขนกับขา มือกับน้ิวมือ และ
ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ในการเคล่ือนไหวหรือออกกำ�ลังกายทุกส่วน โดยการจัดให้เด็กเคล่ือนไหวกล้ามเนื้อใหญ่
กล้ามเน้ือเล็ก ตามความสามารถของวัย เช่น ควํ่า คลาน ยืน เดิน เล่นนิ้วมือ เคล่ือนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย
ตามเสียงดนตรี ปีนปา่ ยเครอื่ งเลน่ สนาม เล่นมา้ โยก ลากจงู ของเลน่ มีลอ้ ขีจ่ กั รยานทรงตัวโดยใช้เทา้ ช่วยไถ เปน็ ตน้
๔.๓ การฝกึ การประสานสมั พันธ์ระหว่างมือ - ตา เป็นการฝกึ ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อมือ นิ้วมือ
ให้พร้อมท่ีจะหยิบจับ ฝึกการทำ�งานอย่างสัมพันธ์กันระหว่างมือ - ตา รวมทั้งฝึกให้เด็กรู้จักคาดคะเนหรือกะระยะ
ทางของสิ่งต่างๆ ท่ีอยู่รอบตัวเทียบกับตัวเองในลักษณะใกล้กับไกล เช่น โมบายท่ีมีเสียงและสี (สำ�หรับขวบปีแรก
ควรเป็นโมบายสขี าว - ดำ�) ฝึกเกาะเดนิ ฝกึ ให้เดก็ ใชน้ ิว้ หยิบจบั ของกนิ ชนิ้ เลก็ ๆ ใช้นวิ้ ร้อยลูกปัดขนาดใหญ่ เล่นหยอด
บลอ็ กรูปทรงลงกลอ่ ง ตอกหมุด โยนรับลกู บอล เล่นน้ําเล่นทราย ใชส้ ีเทียนแทง่ ใหญ่ เปน็ ต้น
๔.๔ การส่งเสริมด้านอารมณ์ จิตใจ เป็นการส่งเสริมการเลี้ยงดูในการตอบสนองความต้องการของ
เด็กด้านจิตใจ โดยการจดั สภาพแวดลอ้ มที่ส่งเสรมิ ใหเ้ ดก็ เกิดความรสู้ ึกอบอุ่นและมีความสุข เช่น สบตา อมุ้ โอบกอด
สัมผัส การเป็นแบบอยา่ งท่ีดีในดา้ นการแสดงออกทางอารมณ์ ตอบสนองต่อความรู้สึกที่เด็กแสดงออกอยา่ งนุ่มนวล
อ่อนโยน ปลกู ฝังการชน่ื ชมธรรมชาตริ อบตวั ชมเชยเมอ่ื เดก็ ทำ�สงิ่ ตา่ งๆ ได้ เม่ือเดก็ มคี วามพยายามท�ำ สง่ิ ใด ควรสนใจ
ช้แี นะใหก้ �ำ ลงั ใจ เป็นตน้
๔.๕ การส่งเสริมทักษะทางสังคม เป็นการส่งเสริมการสร้างความสัมพันธ์กับพ่อแม่ ผู้เล้ียงดู
และบคุ คลใกล้ชดิ โดยการพดู คุยหยอกล้อหรอื เล่นกบั เดก็ เชน่ เลน่ จ๊ะเอ๋ เล่นจา้ํ จ้ี เล่นโยกเยก เล่นประกอบค�ำ รอ้ ง
เช่น จันทร์เจ้า แมงมุม ตั้งไข่ล้ม ให้เด็กมีส่วนร่วมกิจกรรมต่างๆ ในบ้าน สอนให้เด็กรู้จักทักทาย ขอบคุณ ขอโทษ
ในเวลาท่ีเหมาะสม หรือพาเด็กไปเดินเล่นนอกบ้าน พบปะเด็กอ่ืนหรือผู้ใหญ่ ภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชิด เช่น
พาไปบ้านญาติ พาไปรว่ มกจิ กรรมท่ีศาสนสถาน เปน็ ต้น
๔.๖ การใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า เป็นการกระตุ้นการรับรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้า ในการมองเห็น
การได้ยินเสยี ง การล้มิ รส การได้กล่นิ และการสมั ผัสจับต้องส่งิ ต่างๆ ท่แี ตกตา่ งกันในดา้ นขนาด รปู ร่าง สี นํ้าหนัก
และผิวสัมผัส เช่น การเล่นมองตนเองกับกระจกเงา การเล่นของเล่นที่มีพื้นผิวแตกต่างกัน แขวนของเล่นสีสดใส
ให้มองตาม พูดคยุ ท�ำ เสยี งตา่ งๆ เปน็ ตน้

72 คูม่ ือหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเดก็ อายุตํ่ากวา่ ๓ ปี

๔.๗ การส่งเสริมการสำ�รวจสิ่งต่างๆ รอบตัว เป็นการฝึกให้เด็กเรียนรู้ส่ิงรอบตัว ผ่านเหตุการณ์
และส่ือท่ีหลากหลายในโอกาสต่างๆ รู้จักสำ�รวจ พูดคุยช้ีชวนให้เด็กสังเกตสิ่งของและคนรอบข้าง ให้หาสิ่งของที่
ซ่อนไว้ใต้ผ้า ช้ีให้ดูภาพและเล่าเรื่องสั้นๆ ให้ฟัง พูดคุยชี้ส่วนต่างๆ ของร่างกาย และทดลองสิ่งท่ีไม่คุ้นเคย เช่น
มองตามสงิ่ ของ หนั หาที่มาของเสียง คน้ หาสิง่ ของทป่ี ิดซอ่ นจากสายตา กจิ กรรมการทดลองง่ายๆ เป็นต้น
๔.๘ การส่งเสริมทักษะทางภาษา เป็นการฝึกให้เด็กได้เปล่งเสียง เลียนเสียงพูดของผู้คน
เสียงสัตวต์ ่างๆ รู้จักชอื่ เรยี กของตนเอง ชอื่ อวัยวะสว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกาย ช่อื พ่อแม่หรือผคู้ นใกล้ชดิ และชอื่ สิ่งต่างๆ
รอบตัว ตลอดจนฝึกให้เด็กรู้จักส่ือความหมายด้วยคำ�พูดและท่าทางโดยการพูดคุยทำ�เสียงโต้ตอบกับเด็ก เวลาพูด
ให้เรียกชอ่ื เด็ก ชีช้ วนและสอนใหร้ ู้จกั ชอ่ื เรียกสิ่งต่างๆ จากของจรงิ เลา่ นทิ านหรอื ร้องเพลงง่ายๆ ให้ฟัง เปน็ ตน้
๔.๙ การส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ เป็นการฝึกให้เด็กได้แสดงออกทางความคิด
ตามจนิ ตนาการของตนเอง เชน่ ขดี เขยี นวาดรปู ท�ำ กจิ กรรมศลิ ปะทไี่ มใ่ ชก่ ารระบายสตี ามแบบหรอื ในกรอบ เลน่ บลอ็ ก
ขนาดใหญ่ เลน่ ของเลน่ สร้างสรรค์ พดู เล่าเรอ่ื งตามจนิ ตนาการ เลน่ สมมติ เป็นต้น
จากแนวทางปฏิบัติในการอบรมเล้ียงดูตามวิถีชีวิตประจำ�วัน สามารถนำ�มาออกแบบการจัดกิจกรรม
ประจ�ำ วนั ส�ำ หรบั เดก็ แรกเกดิ - ๒ ปี ซงึ่ เปน็ กจิ กรรมหรอื ประสบการณท์ ถี่ กู จดั เตรยี มในแตล่ ะวนั เพอ่ื สนองความตอ้ งการ
รอบด้านของเด็กอยา่ งเหมาะสม ท้งั เร่อื งความเป็นอยู่ และสง่ เสริมพัฒนาการการเรยี นรู้ของเดก็ มแี นวทางตอ่ ไปน้ี

คมู่ ือหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเดก็ อายตุ า่ํ กวา่ ๓ ปี 73

เวลา แนวทางการจดั กจิ กรรมประจำ�วัน สำ�หรับเดก็ แรกเกิด - ๒ ปี
เช้า
กจิ กรรม
- ให้ดมื่ นมและรบั ประทานอาหารเช้า
- ดูแลความสะอาดด้านรา่ งกายของเด็ก โดยฝกึ ให้เดก็ ไดม้ สี ่วนร่วมในการปฏิบตั ิ
- พาเด็กเดิน ว่ิง หรือเลน่ เครอ่ื งเลน่ เพื่อพัฒนากลา้ มเนอ้ื ใหญ่ และเรียนรสู้ ง่ิ ต่างๆ ตามธรรมชาติ
ในบรเิ วณสถานทที่ ่ีมผี ้ใู หญพ่ ดู คุยหรอื ช่วยแนะน�ำ
- ให้ดม่ื นมและรบั ประทานอาหารว่าง
- เลา่ นิทานหรอื อา่ นหนงั สือให้เด็กฟัง พรอ้ มทงั้ พูดคุยกบั เด็ก
- ฝกึ กจิ กรรมหรือประสบการณท์ ี่ช่วยใหเ้ ด็กเกดิ การเรียนรู้ทักษะ โดยการปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเอง
เชน่ การลา้ งมือ การใชห้ อ้ งนํา้ การดืม่ นมจากถ้วย
กลางวัน - ให้เด็กได้เล่นของเลน่ เพื่อการพฒั นาอย่างอสิ ระ หรอื เล่นกบั พี่น้อง หรอื เพอ่ื นเปน็ กลมุ่ หรือจัดหา
วัสดอุ ุปกรณเ์ กีย่ วกับศลิ ปะใหเ้ ด็กได้เลน่ สลับกนั
- ให้รับประทานอาหารที่มีประโยชนถ์ ูกหลกั โภชนาการ และฝึกการช่วยเหลือตนเองในการ
รบั ประทานอาหาร โดยให้เด็กไดป้ ฏบิ ัติเองบ้าง
- ดูแลความสะอาด อาบนา้ํ ฝกึ สขุ นิสัยทดี่ ใี นการรักษาความสะอาดใหแ้ กเ่ ด็ก ให้เดก็ ช่วยเหลือตนเอง
บ่าย ในการแต่งกายเปล่ียนชุดนอน
- ให้นอนพกั ผ่อนในช่วงเวลากลางวัน โดยไม่จ�ำ กดั เวลา
- ใหด้ มื่ นมและรบั ประทานอาหารวา่ ง
- ฝกึ สขุ นสิ ัยการดูแลความสะอาดอกี คร้ัง
- เล่านทิ านหรืออา่ นหนังสือให้เด็กฟงั พร้อมท้ังพดู คุย แสดงบทบาทสมมตกิ บั เด็ก
เยน็ - ให้ใช้ประสาทสมั ผัสทัง้ หา้ ในการทำ�กจิ กรรมที่เขาสนใจอย่างอสิ ระ โดยผใู้ หญ่คอยแนะนำ�หรือจดั หา
วัสดุอปุ กรณใ์ ห้
กลางคืน - เลน่ อสิ ระ สรา้ งความสมั พันธ์กบั ครอบครวั
- รบั ประทานอาหารเย็น
- ใหด้ ่มื นม
- เล่านทิ าน ร้องเพลงกล่อมใหเ้ ดก็ นอนพกั ผอ่ นแตห่ วั ค่าํ เพ่อื ใหไ้ ดพ้ กั ผอ่ นอยา่ งเต็มท่ี

* ในกรณเี ด็กอายตุ ่าํ กวา่ ๑ ปี การพกั ผ่อนนอนหลบั ถือเปน็ เร่ืองส�ำ คัญ ควรค�ำ นึงถงึ ความต้องการของเด็กเปน็ หลกั
** ในกรณเี ด็กแรกเกิด - ๒ ปี การรบั ประทานอาหาร การขับถ่าย และการพกั ผอ่ นนอนหลบั ควรคำ�นึงความต้องการ
และความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลเป็นหลัก

74 คมู่ อื หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเด็กอายตุ า่ํ กว่า ๓ ปี

ชว่ งอายุ ๒ - ๓ ปี

การอบรมเล้ียงดูและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้เด็กช่วงอายุ ๒ - ๓ ปี เน้นการจัดประสบการณ์ผ่าน
การเล่นตามธรรมชาตทิ ่ีเหมาะสมกบั วยั อย่างเปน็ องค์รวม ทง้ั ทางดา้ นร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสติปัญญา
โดยจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการ ความสนใจ และความสามารถตามวัยของเด็ก ท้ังน้ี เด็กในช่วงวัยนี้
จะมีพัฒนาการเพ่ิมขึ้นมากกว่าในช่วงแรก โดยมีการพึ่งพาตนเอง แสดงความเป็นตัวของตัวเอง จึงจำ�เป็นต้องคำ�นึง
ถึงสาระการเรียนรู้ท่ีประกอบด้วย ประสบการณ์สำ�คัญและสาระที่ควรเรียนรู้ ตลอดจนส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม
เพอ่ื เปน็ พนื้ ฐานการเรยี นรใู้ นระดบั ทส่ี งู ขนึ้ ไป การอบรมเลย้ี งดแู ละการพฒั นาเดก็ ชว่ งอายุ ๒ - ๓ ปี มขี อบขา่ ยครอบคลมุ
การรู้จักและเข้าใจ การส่งเสริมสุขภาพอนามัย การส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมประจำ�วัน
และการจดั ทำ�แผนการจดั ประสบการณ์ ดังรายละเอยี ดต่อไปน้ี

๑. รู้จักและเขา้ ใจเดก็ อายุ ๒ - ๓ ปี
๑.๑ ธรรมชาติของเด็กอายุ ๒ - ๓ ปี
เป็นวัยท่ีชอบปฏิเสธและต่อต้านเมื่อถูกบังคับ ช่วยเหลือตนเองได้หลายอย่าง ช่างซัก ช่างถาม
ช่างจ�ำ ชอบเล่นกับเพื่อน มกั จะแยง่ ของและทะเลาะกนั พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดูจึงควรสอนเด็กใหร้ จู้ กั การใหแ้ ละการรบั
ให้โอกาสเดก็ ไดเ้ ล่นกับเด็กอืน่ ๆ แตต่ อ้ งคอยดูแลอยู่ดว้ ย
๑.๒ การเจริญเติบโตของเด็กอายุ ๒ - ๓ ปี
น้าํ หนักและสว่ นสงู โดยประมาณของเดก็ อายุ ๒ - ๓ ปี
มาตรฐานการเจรญิ เตบิ โตของเด็กโดยเฉล่ยี
อายุ ๒ ปี ๑๒ กโิ ลกรมั ๘๕ เซนตเิ มตร
อายุ ๒ ปี ๖ เดือน ๑๒.๘ กโิ ลกรัม ๘๘ เซนติเมตร
อายุ ๓ ปี ๑๔ กิโลกรมั ๙๒ เซนตเิ มตร
ความยาวของเสน้ รอบศีรษะ
เดก็ อายุ ๒ - ๕ ปี เสน้ รอบศรี ษะเพ่ิมขนึ้ ปลี ะ ๑ เซนตเิ มตร
ฟันนํ้านม
เมื่อเด็กอายุ ๒ ปี ๖ เดือน จะมีฟันน้ํานมครบ ๒๐ ซี่ โดยฟันนํ้านมมีความสำ�คัญมาก
ถ้าฟันนํ้านมแข็งแรง ฟันแท้ที่ข้ึนมาทดแทนจะไม่เกไม่ซ้อน การดูดนมจากขวดทำ�ให้เด็กฟันผุ วิธีการป้องกันคือ
ให้เลิกนมมื้อดกึ เมื่อมีฟนั ขนึ้ ท�ำ ความสะอาดฟันให้เด็กก่อนนอน หัดดม่ื นมจากถว้ ยเมอ่ื อายุ ๑ ปขี ึ้นไป
พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูควรติดตามการเจริญเติบโตของเด็กว่าอยู่ในภาวะปกติหรือไม่ โดยการ
สงั เกต บนั ทกึ นาํ้ หนกั และสว่ นสงู ของเดก็ ลงในกราฟการเจรญิ เตบิ โตทอี่ ยใู่ นสมดุ บนั ทกึ สขุ ภาพแมแ่ ละเดก็ (เลม่ สชี มพ)ู
ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ตามอายุของเด็ก ในแต่ละครั้งท่ีไปช่ังน้ําหนักและวัดส่วนสูง เมื่อเชื่อมโยง
จุดน้ําหนักแต่ละจุดจะเห็นลักษณะการเจริญเติบโตของเด็กได้ชัดเจน หากพบว่าผิดปกติ ควรปรึกษาแพทย์
นอกจากน้ีพ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูควรเอาใจใส่เด็กในเร่ืองการเล้ียงดูอย่างอบอุ่น มีการโอบกอด พูดคุย อบรมส่ังสอน
ใหค้ วามรกั ความผกู พนั และการดแู ลเอาใจใสอ่ ยา่ งใกลช้ ดิ ดแู ลสขุ ภาพอนามยั การปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตแุ ละการปอ้ งกนั โรค
ให้อาหารและนมที่มีคุณค่า การเล่น การออกกำ�ลังกาย การพักผ่อน ยอมรับเด็ก ยกย่องชมเชยเม่ือเด็กทำ�ความดี
หรอื ท�ำ ถูกตอ้ ง เปน็ แบบอยา่ งที่ดขี องเด็ก

คมู่ อื หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เด็กอายุต่ํากวา่ ๓ ปี 75

๑.๓ พัฒนาการของเด็กอายุ ๒ - ๓ ปี
พัฒนาการของเดก็ อายุ ๒ - ๓ ปี มพี ัฒนาการด้านต่างๆ พฒั นาข้นึ เปน็ ไปตามวัย เด็กมักอยไู่ มน่ ่งิ
ซกุ ซนจากการเลน่ ซง่ึ เป็นธรรมชาตขิ องเด็กทีช่ อบเคลื่อนไหวอยตู่ ลอดเวลา ส่งผลใหเ้ ด็กมพี ฒั นาการด้านตา่ งๆ ดังนี้
พัฒนาการด้านร่างกาย ความสามารถของร่างกายในการทรงตัว การเคลื่อนไหวโดยใช้
กล้ามเนือ้ ใหญ่ เชน่ เด็กสามารถนั่ง ยืน เดนิ กระโดด เดนิ ขึน้ บนั ได และขจี่ ักรยาน ๓ ล้อ เปน็ ตน้ นอกจากนย้ี ังมี
การเคล่ือนไหว การสัมผัสรับรู้ ได้แก่ การใช้กล้ามเนื้อเล็ก คือ การใช้ตาและมือทำ�งานประสานกันในการทำ�
กจิ กรรมต่างๆ เชน่ กจิ กรรมการป้นั การขดี เขยี นตามใจชอบ
พฒั นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ คอื การเปลยี่ นแปลงทางอารมณข์ องเดก็ เดก็ วยั นมี้ กี ารเปลยี่ นแปลง
อารมณ์ง่ายกว่าเด็กวัยทารก เอาแต่ใจตัวเองโดยไม่คำ�นึงถึงเหตุผลและกาลเทศะ เพราะอยู่ในวัยช่างปฏิเสธ และ
กำ�ลังพัฒนาความเป็นตัวของตัวเอง ต้องการควบคุมสถานการณ์ พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูสามารถสังเกตอากัปกริยา
และการแสดงอารมณ์ต่างๆ ของเด็กได้ ใช้ตัวเองเป็นศูนย์กลาง ยังส่ือภาษาได้ไม่เต็มท่ี จึงมีความคับข้องใจ ดูเผินๆ
จะเห็นวา่ ดอื้ รัน้ เจา้ อารมณ์ ชา่ งปฏเิ สธ ต่อต้านค�ำ สัง่ เพราะต้องการเป็นอสิ ระ ซงึ่ เดก็ จะเรยี นร้อู ารมณ์ การควบคมุ
อารมณ์ และการแสดงออกทางอารมณ์ที่เหมาะสมมากขึ้น อย่างไรก็ตาม พัฒนาการด้านอารมณ์ของเด็กจะมี
การเปลยี่ นแปลงเป็นล�ำ ดับเพียงใด ข้นึ อย่กู บั วธิ ีการอบรมเล้ยี งดเู ป็นสำ�คัญ อารมณท์ ี่เกิดกับเด็กวยั นี้ ได้แก่
๑) โกรธ เดก็ วยั น้ีรสู้ กึ โกรธได้ง่าย รูส้ กึ ถูกขัดใจเมือ่ ไม่ไดส้ งิ่ ท่ีตนต้องการ
๒) กลัว เด็กจะกลัวสิ่งเร้าเป็นชนิดๆ ตามประสบการณ์และจินตนาการของตน เช่น ความมืด
เสียงดัง คำ�ขตู่ า่ งๆ บางครงั้ ดูเปน็ ความกงั วลท่ไี มม่ ีเหตุผล
๓) อจิ ฉา รษิ ยา เกดิ ข้นึ เม่อื เดก็ มคี วามรสู้ ึกว่าตนเองด้อยกว่าผอู้ ่ืน หรอื กำ�ลังจะสญู เสยี สงิ่ ที่เป็น
ของตนเองไปให้แก่ผู้อื่น เช่น น้องหรือพี่ เด็กจะมีพฤติกรรมแสดงออก เช่น รังแกน้องเพ่ือเรียกร้องความสนใจ
จากพ่อแม่
๔) สุข เม่ือพ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูย้ิมแย้มแจ่มใส และเด็กได้รับการตอบสนองความต้องการ
อย่างเหมาะสมรอบด้านและสมา่ํ เสมอ จะท�ำ ใหเ้ ป็นเด็กทมี่ ีอารมณแ์ จ่มใส ร่าเรงิ หวั เราะ และย้มิ แย้มงา่ ย
การส่งเสริมพัฒนาการทางอารมณ์ ควรเป็นการให้ความรัก เอาใจใส่ ตอบสนองความต้องการ
ของเด็กอย่างเหมาะสม เด็กกินอิ่มนอนหลับ ได้เล่นและเรียนรู้อย่างอิสระ จะทำ�ให้เด็กมีความสุข ร่าเริง ตลอดจน
รับฟังและสังเกตท่าทีของเด็ก พยายามเข้าใจ พูดโต้ตอบอย่างอ่อนโยน และทำ�ตัวเป็นแบบอย่าง ไม่เอะอะโวยวาย
หรือทำ�โทษเด็กโดยไม่อธิบายเหตุผล จะทำ�ให้เด็กเข้าใจ รู้ภาษา พูดรู้เร่ือง นอกจากน้ันต้องให้เด็กได้รู้เห็นวิธีการ
ทจี่ ะได้มาซง่ึ ส่งิ ทต่ี อ้ งการ มสี ่วนร่วมในกิจกรรม และชมเชยเมื่อเด็กมพี ฤติกรรมท่ีเหมาะสม เช่น ร้จู กั รอคอย แบง่ ปัน
ชว่ ยเหลือผู้อน่ื ตามความเหมาะสม
การเฝา้ ระวงั และป้องกนั ปัญหาทางอารมณ์ของเดก็
๑) ไม่ควรแกล้ง เย้าแหย่ หรือบังคับเด็ก ควรใช้วิธีชักชวน จูงใจให้เด็กสนใจอยากทำ�
สง่ิ ทต่ี ้องการ เบย่ี งเบนความสนใจ
๒) อย่าขู่หรือหลอกให้กลัว ควรบอกให้เด็กเตรียมตัวก่อนจะเผชิญหน้ากับสิ่งที่น่ากลัวหรือ
ท�ำ ใหเ้ จบ็

76 คูม่ ือหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เดก็ อายตุ ํา่ กว่า ๓ ปี

๓) อย่าเปรียบเทียบ เยาะเย้ย หรือลำ�เอียงในการเลย้ี งดูเด็ก
๔) อย่าบังคับหรือตามใจอย่างไม่มีเหตุผล ควรบอกให้เด็กรู้และเตรียมตัวก่อน ให้เด็กมี
ส่วนร่วมในการตัดสินใจ และได้ท�ำ สิ่งตา่ งๆ สำ�เรจ็ ด้วยตนเอง
พัฒนาการด้านสังคม เด็กวัยน้ีเริ่มต้องการเป็นอิสระ เป็นตัวของตัวเอง เริ่มห่างจากครอบครัว
มาสู่สังคมภายนอก สามารถเล่นกับเพื่อนบ้านใกล้ๆ ในระยะต้นของวัย เริ่มรู้จักเล่นกับผู้ใหญ่และเด็กคนอ่ืน
ลักษณะการเล่นของเด็กจะอยู่ร่วมกัน แต่ต่างคนต่างเล่น เร่ิมรู้จักการรอคอยช่วงสั้นๆ และชอบเก็บของตัวเองไว้
ใกล้ตัว ชอบเลียนแบบผู้ใหญ่ เช่น กวาดบ้านถูบ้าน ชอบพูดคำ�ซํ้า ชอบฟังนิทาน และชอบฟังเพลงกล่อมเด็ก ทั้งนี้
พฒั นาการดา้ นสังคมจะรวมถงึ การช่วยเหลอื ตนเองในชีวติ ประจ�ำ วนั เชน่ กนิ ขา้ ว ดม่ื นา้ํ ขับถา่ ย เป็นตน้
พัฒนาการด้านสติปัญญา ความสามารถในการเรียนรู้ระหว่างความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงต่างๆ
กับตัวเอง การรับรู้ รู้จักสังเกต จดจำ� วิเคราะห์ การคิด การมีเหตุผล ความสามารถในการแก้ปัญหา ซ่ึงเป็น
ความสามารถในระดับสูง เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาเพ่ิมขึ้น รู้จักใช้เคร่ืองมือช่วยและลองผิดลองถูก
ในการแก้ปญั หา เชน่ ร้องเพลง พดู คำ�คลอ้ งจองง่ายๆ สนใจหนงั สือภาพ เลียนแบบการกระทำ�ของคนใกล้ชิด อยากรู้
สิ่งตา่ งๆ ถามบอ่ ยถามซาํ้ ด้วยคำ�ถามวา่ อะไร ท�ำ ไม จดจอ่ ตอ่ สิ่งใดส่งิ หนง่ึ ได้ยาวนานขึน้ มีความสามารถในเร่อื งของ
การใชภ้ าษามากขน้ึ โดยการซกั ถามสงิ่ ทต่ี อ้ งการ ตอบค�ำ ถามงา่ ยๆ บอกความตอ้ งการของตวั เอง แสดงออกโดยใชภ้ าษา
สือ่ ความหมายโดยการกระท�ำ

๒. การส่งเสริมสุขภาพอนามยั ของเด็กอายุ ๒ - ๓ ปี
การส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็กอายุ ๒ - ๓ ปี เป็นช่วงเวลาท่ีเด็กเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว และ
สำ�คัญท่ีสุดของการสร้างรากฐานชีวิตและจิตใจ นอกจากร่างกายจะเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วแล้ว สมองของเด็ก
ก็เจริญเติบโตในช่วงวัยน้ีเช่นกัน ผู้เล้ียงดูควรให้ความสำ�คัญแก่เด็กในการส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็ก ดังตาราง
ต่อไปนี้

กิจกรรม ประโยชน์

๒.๑ การให้นมและอาหารตามวัย
เดก็ วยั นต้ี อ้ งการพลงั งานและสารอาหาร แตเ่ ดก็ วยั นไ้ี มส่ นใจอาหารและไมเ่ จรญิ อาหาร - เพอ่ื พัฒนาเซลล์ประสาท
เหมือนวัยทารก เพราะสนใจสำ�รวจส่ิงแวดล้อมและการเล่นมากกว่า เด็กเริ่มเลือกอาหาร และสมอง รวมถงึ กลา้ มเน้ือ
เพราะชอบหรอื ไม่ชอบอาหารบางอยา่ ง เดก็ บางคนอาจจะมีปัญหาเรอ่ื งอาหารการกิน ดงั น้นั ส่วนต่างๆ ของรา่ งกาย
พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูควรสร้างสุขนิสัยในการรับประทานอาหารอย่างจริงจังในระยะน้ี โดยเด็ก - สร้างเสรมิ ภมู ติ า้ นทานโรค
อายุ ๑ ปีข้ึนไป อาหารตามวัยจะกลายเป็นอาหารหลักแทนนม เด็กควรได้รับอาหารวันละ
๓ มอื้ รว่ มกบั นม อาหารของเดก็ วยั นคี้ วรดดั แปลงจากอาหารของผใู้ หญ่ โดยท�ำ ใหส้ กุ ออ่ นนมุ่
ช้ินเล็ก เค้ียวง่าย รสไม่จัด อาหารแต่ละมื้อควรเหมาะสมให้ครบ ๕ หมู่ อาจให้อาหารว่าง
ซง่ึ เป็นอาหารทร่ี ับประทานระหวา่ งมอ้ื หลักได้ ไม่ควรเกนิ วนั ละ ๒ มือ้ (อาหารวา่ งที่ดีควรมี
สารอาหารท่ีจำ�เป็นต่อร่างกาย ได้แก่ ผลไม้ ขนมปัง ส่วนอาหารว่างท่ีควรหลีกเลี่ยงได้แก่
อาหารท่ีมีน้ําตาล ไขมัน และเกลือสงู เช่น นํ้าหวาน นาํ้ อัดลม มนั ทอด ชอ็ คโกแลต ทอ๊ ฟฟี่
เปน็ ตน้ )

คู่มือหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเด็กอายตุ ํ่ากวา่ ๓ ปี 77

กจิ กรรม ประโยชน์

๒.๑.๑ ปรมิ าณอาหารทเี่ ดก็ ควรไดร้ ับในแต่ละวนั

อาหาร ปริมาณอาหาร คำ�แนะน�ำ เพมิ่ เติม
นม ๑ - ๓ แก้ว นมสดหรอื นมผง
ไข่ ๑ ฟอง ไข่ไก่หรือไขเ่ ปด็ ควรปรุงสุก เพอ่ื ท�ำ ให้ย่อยงา่ ย
เนอื้ สตั วต์ า่ งๆ และ ๓ ชอ้ นโตะ๊ ควรห่นั เป็นชนิ้ เลก็ เพื่อสะดวกในการเคี้ยว รับประทาน
ถัว่ เมล็ดแหง้ อาหารทะเลและเคร่ืองใน เชน่ ตบั อยา่ งนอ้ ยสปั ดาห์ละ ๒ คร้งั
ขา้ วสกุ หรือกว๋ ยเต๋ียว ข้าวหงุ ไมเ่ ช็ดนา้ํ หรือนึ่ง
หรือขนมจีน ๑ - ๑ ๑/๒ ทัพพี
ผักใบเขียว ควรเปน็ ผกั สเี ขียวเข้มหรอื สเี หลอื งส้ม และผักอ่ืนๆ ดว้ ยทกุ มือ้
ผลไม้ตามฤดูกาล ๓ - ๔ ช้อนโต๊ะ ผลไมส้ ดตามฤดูกาล ลา้ งให้สะอาดก่อนใหเ้ ด็กรับประทาน
๓ สว่ น (๑ ส่วนของผลไม้แตล่ ะชนดิ ไม่เท่ากนั ขนึ้ อยู่กับขนาด เช่น
กล้วยน้าํ ว้า ๑ ผล ส้มเขียวหวาน ๑ ผลกลาง มะมว่ งสกุ ครึ่งผล
มะละกอสุก ๖ ชิน้ พอคำ�)
นาํ้ มันจากพืชและสัตว ์ นาํ้ มัน หรือเนยสด หรือกะทิ
๓ ช้อนชา

๒.๑.๒ การตอบสนองทค่ี วรทำ� ฝกึ การใช้สายตาและมือ

๑) จดั ใหร้ บั ประทานอาหารเปน็ ทแี่ ละเปน็ เวลา ประสานกนั

๒) ฝกึ การใชช้ อ้ นสอ้ ม มารยาทในการรบั ประทานอาหาร และการใชช้ อ้ นกลาง

๓) ให้มีส่วนรว่ มในการท�ำ อาหาร จัดโตะ๊

๔) ให้มีโอกาสกินร่วมกบั เด็กอ่นื ๆ และสมาชกิ ในครอบครัว

๕) ไมค่ วรใชอ้ าหารหรือขนมเป็นรางวลั

๖) ไมค่ วรบังคบั หรอื ขู่ใหเ้ ดก็ กนิ อาหาร

๗) ควรชมเชยและสร้างบรรยากาศท่ีผ่อนคลายในระหว่างรับประทานอาหาร

ควรมีการพดู คุยพอสมควร ไมค่ วรดูโทรทศั นร์ ะหวา่ งกนิ อาหาร

๒.๒ การดแู ลสขุ ภาพ เพ่อื ฝกึ สขุ นสิ ยั ทด่ี ีใหก้ ับเดก็

๒.๒.๑ การรักษาสุขอนามยั
๑) สอนเดก็ ล้างมือกอ่ นรบั ประทานอาหาร และหลังการขบั ถา่ ยทกุ ครั้ง

๒) อาบนา้ํ ให้เดก็ อยา่ งน้อยวนั ละ ๒ ครั้ง

๓) สระผมเด็กอยา่ งน้อยสัปดาหล์ ะ ๑ - ๒ ครั้ง ด้วยยาสระผม

๔) ตัดเลบ็ มือเลบ็ เทา้ ของเดก็ ใหส้ น้ั

๕) น�ำ ผ้าหม่ ท่ีนอน หมอน ม้งุ ออกผง่ึ แดดสปั ดาหล์ ะ ๑ ครง้ั

๖) ล้างมือและของใช้ก่อนทำ�อาหารให้เด็ก

78 คมู่ อื หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เด็กอายตุ าํ่ กว่า ๓ ปี

กิจกรรม ประโยชน์

๒.๒.๒ การดูแลฟนั - ฟันนา้ํ นมชว่ ยในการบดเคยี้ ว

พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูมักไม่ให้ความสำ�คัญกับฟันน้ํานม เพราะถือว่าเป็นฟัน อาหาร

ท่ีใช้ชั่วคราว อีกไม่นานก็มีฟันแท้ไว้ใช้ต่อไป จากทัศนคตินี้ ทำ�ให้พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูละเลย - ฟันนาํ้ นมช่วยในการออกเสียง

การดูแลฟนั นํ้านม ทัศนคตเิ กี่ยวกับฟันท่พี อ่ แม่และผ้เู ล้ียงดเู ด็กควรทราบ คอื ใหเ้ ดก็ ฝกึ พูดชดั เจน

- พ่อแม่เปน็ ผู้มีสว่ นสำ�คัญในการทำ�ใหฟ้ นั ลูกดีไดต้ ลอดชีวิต - ฟันนา้ํ นมช่วยใหใ้ บหนา้ สวยงาม

- โรคฟันผุปอ้ งกนั ได้ โรคฟันผแุ ละโรคเหงือกอกั เสบไม่ไดเ้ กดิ จากกรรมพนั ธ์ุ และเป็นตัวก�ำ หนดต�ำ แหน่ง

- เด็กสามารถมีฟันดีได้ตลอดชีวิต ถ้ารู้จักวิธีป้องกันและรักษาเมื่อเด็กอายุ ให้ฟนั แทข้ ึน้ มาในชอ่ งปาก

ประมาณ ๒ ปี ๖ เดือน เด็กจะมฟี นั นา้ํ นมครบ ๒๐ ซี่ อยา่ งเป็นระเบียบ

๑) การแปรงฟนั ใหเ้ ด็ก - ชว่ ยใหข้ ากรรไกรเจรญิ เตบิ โต

เมื่อเด็กมีฟันข้ึน ควรเปล่ียนมาใช้แปรงสีฟัน โดยผู้ใหญ่แปรงให้ก่อน อายุ อย่างปกติ

๒ - ๓ ปี อาจให้เด็กลองแปรงเอง แต่การทำ�ความสะอาดฟัน ผู้ใหญ่ยังต้องทำ�ให้ เพราะ - ป้องกนั การเกิดฟันซอ้ นฟันเก

จากการศกึ ษาพบวา่ ความสามารถในการใช้สายตาและมอื ประสานงานกนั ได้อย่างดี ในการ - เพือ่ ดูแลสขุ ภาพเหงือกและฟนั

แปรงฟันนั้น พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูเด็กต้องช่วยแปรงส่วนที่เด็กยังแปรงไม่สะอาด จนกระท่ัง

เดก็ อายุ ๗ - ๘ ปี จะสามารถแปรงสะอาดไดเ้ อง

๒) วธิ แี ปรงฟันให้เด็ก
ใหพ้ อ่ แมห่ รอื ผเู้ ลยี้ งดนู งั่ กบั พนื้ และใหเ้ ดก็ นอน โดยศรี ษะอยบู่ นตกั หนั หนา้ - เพอ่ื ใหเ้ ดก็ มคี วามรสู้ กึ ท่ีดกี ับ

ไปทางทิศเดียวกันท้ังผู้แปรงและเด็ก โดยใช้แปรงนุ่มๆ หน้าตัดเรียบ ความยาวของหัวแปรง การท�ำ ความสะอาดฟนั

ควรครอบคลมุ ฟนั ประมาณ ๓ ซ่ี แลว้ แปรงโดยขยบั ไป - มาสน้ั ๆ ในแนวนอนประมาณ ๑๐ ครงั้

ต่อฟนั ทุก ๓ ซี่ โดยให้ขนแปรงต้งั ฉากกับผวิ ฟัน

๓) การตรวจฟันเด็ก
การตรวจสุขภาพภายในช่องปากของเด็กอย่าสมํ่าเสมอ นับเป็นส่ิงสำ�คัญ - เพอ่ื ป้องกันปญั หาฟันผุ

ท่ีละเลยไม่ได้ วิธีตรวจฟันเด็กทำ�ได้โดยให้เด็กอ้าปากหันหน้าไปทางที่มีแสงสว่างเพียงพอ

ตรวจดดู ว้ ยตาเปลา่ ใหท้ วั่ ทกุ ซี่ทกุ ดา้ น โดยปกตฟิ นั นาํ้ นมจะมสี ขี าวเหมอื นนมสดหากฟนั นา้ํ นมผุ

จะเห็นเป็นจุดหรือร่องสีดำ� หรือเห็นสีขาวขุ่นบนตัวฟันจนเป็นรูผุเห็นได้ชัดเจน หากตรวจ
พบความเปล่ียนแปลงของฟันเหล่าน้ี ให้พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูพาไปพบทันตแพทย์ เพ่ือจะได้
ไม่สญู เสียฟนั นาํ้ นมไปก่อนเวลาอนั ควร

๔) การเล้ียงเดก็ อยา่ งถกู วิธี ใหฟ้ นั ดมี ีอนามยั
(๑) พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูควรทำ�ความสะอาดฟันให้เด็กหลังอาหาร
และกอ่ นนอน

(๒) ให้เดก็ ดื่มน้าํ ตามหลงั การดมื่ นมและรบั ประทานอาหารทุกครัง้

(๓) ไมค่ วรเติมนาํ้ ตาลลงในนมใหเ้ ด็กดม่ื
(๔) ฝึกให้เด็กด่ืมนมผสมจากแก้วหรือใช้หลอดดูดจากกล่อง แทนการดูด
จากขวด

คู่มือหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เด็กอายุต่ํากว่า ๓ ปี 79

กิจกรรม ประโยชน์

(๕) ใหอ้ าหารทม่ี คี ณุ คา่ และเหมาะสม ไมค่ วรใหเ้ ดก็ อมทอ๊ ฟฟห่ี รอื รบั ประทาน
ขนมหวานบอ่ ยๆ

(๖) เริม่ ฝกึ ให้เดก็ ร้จู กั การแปรงฟัน บว้ นปาก
(๗) ไม่ใหห้ ลับโดยอมจกุ นมหรอื ขนม
(๘) เสริมฟลูออไรด์ให้เด็กตั้งแต่อายุ ๖ เดือน - ๑๒ ปี เพ่ือให้เน้ือฟัน

แขง็ แรง โดยเฉพาะในพื้นทท่ี ีไ่ มม่ รี ะดบั ฟลูออไรดใ์ นนา้ํ ดมื่ สงู พอ
๒.๓ การพกั ผอ่ นนอนหลับ
การนอนของเดก็ วัย ๒ - ๓ ปี วยั นตี้ อ้ งการนอนหลบั วันละประมาณ ๑๑ - ๑๓ ชวั่ โมง
โดยนอนกลางวนั วนั ละ ๒ ครง้ั ครงั้ ละ ๒ - ๓ ชว่ั โมง แตห่ ลงั อายุ ๑๘ เดอื น จะลดการนอนกลางวนั

เหลือวันละ ๑ ครั้ง การนอนหลับข้ึนอยู่กับปัจจัยทางพัฒนาการและส่ิงแวดล้อม เนื่องจาก
วัยนเ้ี ปน็ วัยท่ีเด็กมีความร้สู ึกกงั วลกบั การแยกจากผเู้ ลย้ี งดู (Separation anxiety) จึงท�ำ ให้
เด็กอาจเกิดปัญหาไม่ยอมเข้านอนหรือการต่ืนกลางคืน ซ่ึงอาจใช้หมอนหรือผ้าห่มท่ีเด็กชอบ

เพ่ือลดความวิตกกังวลของเด็กต่อการแยกจากผู้เล้ียงดูในขณะนอนหลับ ควรฝึกให้เด็กนอน

ตลอดคนื โดยพ่อแมห่ รอื ผู้เล้ียงดูควรเตรียมตัวเดก็ กอ่ นเข้านอน โดยใชเ้ วลา ๑๕ - ๒๐ นาที
ทำ�กิจกรรมเบาๆ เช่น ฟังนิทานก่อนนอน ดูสมุดภาพ หรือให้เด็กสวดมนต์ก่อนเข้านอน
เป็นเวลา และอาจช่วยร้องเพลงกล่อมเบาๆ ทำ�จนเป็นกิจวัตรสม่ําเสมอ เพื่อให้เด็กเกิด

ความเคยชิน พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูไม่ควรให้เด็กมีกิจกรรมที่ตื่นเต้นก่อนนอน เช่น ดูโทรทัศน์
ฟังวิทยุ พูดคุยเสียงดัง หากเด็กถูกบังคับให้นอน เด็กจะเกิดอารมณ์เครียด และมักจะโยเย
เรียกร้องให้ทำ�สิ่งน้ันส่ิงนี้ก่อนจึงจะยอมนอน แต่พฤติกรรมเช่นน้ีเป็นอยู่ไม่นาน และจะ

นอ้ ยลงเม่อื พน้ อายุ ๔ ปี จึงจะยนิ ยอมโดยดี และจะหลบั งา่ ยข้ึน
๒.๔ การขบั ถ่าย
เด็กเม่ืออายุ ๓ ปี จึงจะสามารถควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะในเวลากลางวัน - เพือ่ ปอ้ งกันการติดเชื้อในเดก็
ส่วนการควบคุมปัสสาวะกลางคืน เด็กส่วนใหญจ่ ะทำ�ไดเ้ มื่ออายุประมาณ ๔ - ๕ ปี การฝึก

การขับถ่ายไม่ควรดุ บังคับ และควรชมเชยเมื่อเด็กทำ�ได้ เด็กจะควบคุมการถ่ายอุจจาระ
ได้ก่อนการควบคุมการถ่ายปัสสาวะ
๒.๕ การตรวจสขุ ภาพและการรับวัคซีน
ในการเลี้ยงดูเด็กนั้น ถึงแม้พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูจะระวังรักษาความสะอาดอย่างดี

แลว้ กต็ าม เด็กกอ็ าจติดเชือ้ โรคตา่ งๆ ได้ เนื่องจากเด็กยังมภี ูมคิ ุ้มกันต้านทานโรคไม่ดีพอ และ
เชื้อโรคต่างๆ เหล่าน้ีก็อาจปะปนอยู่ในอากาศ อาหาร นม นํ้าดื่ม หรือแพร่กระจายจากคน
ท่ีอยู่ใกล้ชิด จึงทำ�ให้เด็กเจ็บป่วย บางคร้ังรุนแรงถึงพิการหรือเสียชีวิตได้ แต่โรคติดเชื้อ

บางอย่างสามารถป้องกันได้ด้วยการให้วัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นระยะตามกำ�หนด
ตัง้ แตแ่ รกเกดิ - อายุ ๑๒ ปี แม้เดก็ จะสบายดี ไมม่ ีอาการเจบ็ ปว่ ย แตม่ คี วามจำ�เปน็ ท่พี อ่ แม่
หรือผู้เล้ยี งดเู ดก็ ต้องให้เดก็ ได้รับวคั ซนี ตามก�ำ หนด

80 คมู่ อื หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เด็กอายตุ ่าํ กว่า ๓ ปี

กิจกรรม ประโยชน์

ก�ำ หนดการรบั วัคซีนของเด็กอายุ ๒ - ๓ ปี
ตามแผนงานการสร้างเสริมภูมคิ ุ้มกันโรคของกระทรวงสาธารณสุข

อายุ วคั ซีนทใี่ ห ้ ข้อแนะนำ�

๒ ๑/๒ ป ี ไขส้ มองอักเสบ JE (๓) -

คำ�ย่อ : JE = Japanese Encephalitis
หมายเหตุ :
๑. หากพบว่าเด็กไม่สามารถรบั วัคซีนตามกำ�หนดเวลา ก็ให้เดก็ ได้รบั วคั ซนี ทันที
๒. วัคซีนท่ีต้องให้มากกว่า ๑ คร้ัง หากเด็กเคยได้รับวัคซีนมาบ้างแล้ว และไม่ได้รับวัคซีนคร้ังต่อไปตามกำ�หนด
เวลานดั ให้ฉดี วคั ซนี ครั้งตอ่ ไปนน้ั ได้ทันที โดยไมต่ อ้ งเร่ิมตน้ ครง้ั ที่ ๑ ใหม่
๓. หากมีหลักฐานบนั ทกึ ว่าเคยไดร้ บั วัคซีน BCG มาก่อน ไมจ่ ำ�เป็นตอ้ งให้ซา้ํ แมจ้ ะไม่มีแผลเปน็ บริเวณที่ไดร้ บั วัคซนี

๓. การส่งเสริมพัฒนาการและการเรยี นร้ขู องเดก็ อายุ ๒ - ๓ ปี

พฒั นาการ กิจกรรม ส่ือ ประโยชน์

พฒั นาการด้านร่างกาย - การเลน่ เครอ่ื งเลน่ สนาม - เครอื่ งเล่นสนาม - ฝึกการใช้กลา้ มเน้อื ใหญ่และ
กล้ามเนือ้ เลก็ ไดเ้ หมาะสม
- การเคล่ือนไหวประกอบเพลง - เพลง ตามวัย
- ส่งเสริมการใชก้ ลา้ มเนอื้ ใหญ่
- กระโดดตามเสียงเพลง - สีเทยี น และกล้ามเน้ือเลก็ และประสาน
สมั พันธร์ ะหวา่ งมือกบั ตา
- ชวนเดก็ วิ่งเล่น - บ่อน้าํ ขากับตาได้เหมาะสม

- น่ังหยองๆ เลยี นแบบสัตว์ - บอ่ ทราย

- การเล่นเกมช่วยลกู ไกอ่ อกจากท่อ - ลูกบอล

- วาดรูปอสิ ระ เชน่ วาดรูปบนพนื้ ดนิ

พ้ืนทราย กระดาษ ใชน้ ้วิ มอื หรอื

อปุ กรณ์อื่นๆ เช่น แท่งไม้ สีเทยี น

- เล่นน้าํ เล่นทราย

- การฝึกขน้ึ - ลงบันได

- ชวนโยนบอลลงตระกรา้

คูม่ ือหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เด็กอายตุ าํ่ กวา่ ๓ ปี 81

พัฒนาการ กิจกรรม สื่อ ประโยชน์
พัฒนาการด้านอารมณ์ - สง่ เสรมิ การแสดงออก
จติ ใจ - วาดรปู อิสระ พิมพ์ภาพ - สเี ทียน ทางอารมณ์ไดเ้ หมาะสมกับวัย
- กระตนุ้ ความสนใจและการรบั รู้
- เล่านิทาน - หนงั สือนทิ าน ต่อธรรมชาติสงิ่ สวยงาม ดนตรี
และจังหวะการเคลอ่ื นไหว
- เล่นบทบาทสมมติ - เทปเพลง
- สง่ เสริมใหเ้ ด็กได้มีโอกาส
- รอ้ งเพลง ท่องคำ�คล้องจอง ค�ำ คลอ้ งจอง ปรบั ตวั เขา้ กับสิ่งแวดล้อม
พฒั นาการดา้ นสงั คม - ส่งเสรมิ ให้เดก็ ได้เลน่ และ
- กจิ กรรมการประกอบอาหาร ปรศิ นาค�ำ ทาย ทำ�กจิ กรรมร่วมกับผอู้ ื่น

- เกมการละเล่น - มมุ การเรียนรู้ - สง่ เสรมิ และกระตนุ้ ให้เด็ก
ไดร้ บั รู้และเข้าใจความหมาย
พัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา - เลือกเล่นของเลน่ ของใช้อยา่ งอิสระ - วัสดุอปุ กรณ์ ของภาษาไดต้ ามวยั
- เดก็ ได้มีโอกาสแสดงออกและ
ในการประกอบ สื่อความหมาย
- สง่ เสรมิ และกระตนุ้ ความสนใจ
อาหาร ในการเรยี นรสู้ ง่ิ ตา่ งๆ รอบตวั
- ได้รับโอกาสในการเรยี นรู้
- ของเลน่ ของใช้ ผ่านการเลยี นแบบ
- ใช้ประสาทสมั ผสั ทั้งหา้
ในชวี ติ ประจำ�วนั ในการเรยี นรสู้ ง่ิ ตา่ งๆ รอบตัว

- เปดิ โอกาสให้เด็กได้เล่นกิจกรรม ของใชใ้ นชวี ิต

รว่ มกบั ผอู้ ่ืน เช่น เล่นบล็อก ประจำ�วัน

- การปฏิบตั กิ จิ วัตรประจำ�วัน

เชน่ การใสเ่ ส้อื ผา้ เอง การหยิบจบั

ช้อนส้อม การล้างมอื ฯลฯ

- กิจกรรมประกอบอาหาร - เครอ่ื งเล่นสนาม

- กิจกรรมการเล่นภาคสนาม - ส่งิ ของเครอื่ งใช้

โดยใช้ประสาทสมั ผสั ทัง้ ห้า รอบๆ ตัว

- กจิ กรรมเกมการคน้ หาสง่ิ ของ - หนังสอื นิทาน

- กจิ กรรมเรยี กชอื่ อวยั วะ - ตุ๊กตา

- กจิ กรรมการเลา่ นทิ าน - มุมการเรยี นรู้

โดยเปิดโอกาสใหเ้ ดก็ โต้ตอบ เช่น มุมหนงั สือ

โดยใชค้ �ำ ถาม อะไร ทำ�ไม มุมบทบาทสมมติ

82 คมู่ อื หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเด็กอายตุ ่าํ กวา่ ๓ ปี

๔. การจัดกิจกรรมประจำ�วนั
การจัดกิจกรรมประจำ�วันให้สอดคล้องกับแนวทางการอบรมเล้ียงดูและการจัดประสบการณ์สำ�หรับ
เดก็ ช่วงอายุ ๒ - ๓ ปี ควรค�ำ นงึ ถึง
๔.๑ จัดกิจกรรมหรือประสบการณ์ที่ช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้ทักษะต่างๆ ให้เด็กได้ปฏิบัติด้วย
ตนเองในชีวติ ประจ�ำ วัน โดยผู้ใหญใ่ หก้ ารสนบั สนนุ และกำ�ลงั ใจ เช่น
- การรบั ประทานอาหารด้วยช้อน
- การด่ืมนา้ํ จากถ้วย
- การใช้หอ้ งนาํ้
- การลา้ งมอื
- การแตง่ ตวั
๔.๒ การสนับสนุนให้เด็กได้เล่น และจัดหาของเล่นให้เด็กมีโอกาสเล่นคนเดียวหรือเล่นกับเด็กอื่น
เช่น การเลน่ ตกุ๊ ตา การเล่นเลยี นแบบกิจวตั รประจำ�วนั
๔.๓ การอ่านหนังสือให้เด็กฟังบ่อยๆ เพ่ือปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน อาจให้เด็กน่ังตักหรืออ่านให้ฟัง
ในกลุม่ ย่อย ๒ - ๓ คน นอกจากนี้ควรร้องเพลง เล่นกับนวิ้ มอื แสดงบทบาทสมมติตามเนอื้ เร่อื งในนทิ านกับเดก็
๔.๔ จัดกิจกรรมให้เด็กได้เล่นกับวัสดุอุปกรณ์ท่ีเก่ียวกับศิลปะ เช่น สีเทียนแท่งใหญ่ ป้ันแป้ง
ดนิ นํ้ามนั ดนิ เหนยี ว สีนา้ํ กบั กระดาษแผน่ ใหญ่
๔.๕ จัดกจิ กรรมใหเ้ ด็กเล่นนาํ้ เลน่ ทราย ชน่ื ชมธรรมชาติเปน็ ประจำ�ทกุ วนั
๔.๖ กจิ กรรมให้เด็กเรยี นรจู้ ากการลงมือกระทำ�ผา่ นประสาทสัมผัสท้ังหา้ ได้แก่ ตา - การมองเหน็
หู - การไดย้ นิ จมูก - การรับกลิ่น ลน้ิ - การรับรส ผิวหนัง - การสมั ผสั ซึ่งมรี ายละเอยี ดดังน้ี
ตา - การมองเห็น เป็นการใช้สายตาตรวจจับภาพการสะท้อนแสงจากวัตถุที่มองเห็น การรับรู้
ทางสายตานั้นสำ�คัญมากต่อการเรียนรู้ของเด็ก เช่น การอ่าน การเขียน การนับจำ�นวน ฯลฯ ซึ่งจะส่งผลต่อ
การประสบความสำ�เรจ็ ในชีวติ เดก็ ในวยั ๒ - ๓ ขวบ เปน็ ช่วงวัยที่รู้จกั สีตา่ งๆ เพ่มิ มากข้นึ สนใจวาดรปู และดรู ปู ภาพ
เล่นต่อบล็อกไม้ โยนรับลกู บอลไป - มาเปน็ พิเศษ
หู - การได้ยิน ความสามารถในการรับรู้เสียงผ่านการส่ันสะเทือน เด็กจะฟังเสียงและเรียนรู้
ท่ีจะพัฒนาเสียงของตัวเองตามที่ได้ยินจากพ่อแม่ ทักษะด้านนี้จะเห็นผลดีที่สุดเม่ือเด็กมีปฏิสัมพันธ์กับพ่อแม่
ไม่ใช่กับโทรทัศน์ กิจกรรมท่ีพ่อแม่ทำ�ร่วมกับลูกเพื่อพัฒนาทักษะด้านนี้ ได้แก่ ฟังเสียงดนตรี ร้องเพลง หรือ
เล่านิทานใหล้ กู ฟงั
จมูก - การรับกล่ิน เป็นความสามารถในการรับรู้โมเลกุลสารระเหยในอากาศผ่านตัวรับกลิ่น
ภายในจมูก ในช่วง ๖ เดือนแรก พัฒนาการด้านการรับกล่ินของเด็กจะเป็นไปอย่างรวดเร็ว การกระตุ้นประสาท
สัมผัสด้านนี้ช่วยสร้างความทรงจำ�ให้เด็ก เช่น กล่ินของผิวกายแม่ตอนกอดลูก นอกจากนี้ยังส่งต่อความสุขให้ลูก
และช่วยแยกแยะระหว่างอันตรายและปลอดภัยได้เป็นอย่างดี กิจกรรมที่พ่อแม่เสริมทักษะให้ลูกด้านน้ีคือ การให้
ลูกปดิ ตาและดมกล่ินต่างๆ เช่น ผลไม้ที่เคยทาน หรอื การดมกลนิ่ ของดอกไม้และอาหาร เปน็ ตน้

คมู่ ือหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเด็กอายตุ ่ํากวา่ ๓ ปี 83

ล้ิน - การรับรส ปกติแล้วปุ่มการรับรู้รสชาติบริเวณลิ้นของคนเราสามารถรับรู้ได้ ๕ รส คือ
หวาน เค็ม เปรีย้ ว ขม และรสกลมกลอ่ ม รสชาตทิ ีเ่ ดก็ ๆ สามารถรบั รูไ้ ด้ก่อนรสอน่ื ๆ คอื รสหวาน การรบั รรู้ สมีผล
ต่อความสุขและคุณภาพชีวิต พ่อแม่ช่วยกระตุ้นให้ลูกได้โดยให้ทดลองชิมน้ําตาล เกลือ มะนาว และพูดคุยกันถึง
รสชาติของอาหารนั้นๆ
ผิวหนัง - การสัมผัส การรับรู้ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ผ่านกล้ามเนื้อ เอ็น และข้อต่อ หรือ
เราเรียกว่า ประสาทสัมผัสการเคล่ือนไหว ระบบน้ีจะช่วยให้เด็กสามารถรับรู้ถึงตำ�แหน่งของส่วนต่างๆ บนร่างกาย
ได้อัตโนมัติ ทำ�ให้จดจำ�ท่าทางของแขน ขา โดยไม่ต้องอาศัยการมอง และสามารถรับรู้ถึงบริเวณกล้ามเน้ือ ข้อต่อ
เอ็น เช่น การหลับตาปรบมือ การกระโดดข้ามสิ่งกีดขวางหรือการข้ึนบันไดโดยไม่ต้องมอง ประสาทสัมผัสด้านนี้
สำ�คัญมาก เพราะทำ�ให้เด็กสามารถควบคุมและวางแผนกิจกรรมการเคลื่อนไหวได้อย่างราบรื่น กิจกรรมท่ีช่วย
สง่ เสรมิ ลูกได้ เช่น การเลน่ “แซนด์วชิ ” โดยใช้หมอนนุ่มๆ หนบี ลกู เอาไวส้ องดา้ น หรอื การฝกึ ให้ลกู ตอกไข่ใส่ชาม
การบูรณาการประสาทสัมผัสท้ังห้า เป็นส่ิงจำ�เป็นที่พ่อแม่ควรฝึกฝนให้แก่ลูกน้อยให้เหมาะสม
ตามวยั โดยเฉพาะในช่วงอายุ ๒ - ๖ ขวบ ซ่งึ เราเรียกว่าเปน็ “หน้าต่างแหง่ โอกาส” ของลกู เป็นช่วงเวลาสำ�คญั ของ
การเรยี นรสู้ สู่ มองลกู ทจ่ี ะเปดิ และปดิ ลงในเวลาอนั สนั้ ดงั นน้ั ผใู้ หญต่ อ้ งใหโ้ อกาสเดก็ ไดท้ �ำ กจิ กรรมทใี่ ชป้ ระสาทสมั ผสั
ทง้ั หา้
๔.๗ กำ�หนดระยะเวลาในการจัดกิจกรรมแต่ละกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัยเด็กในแต่ละวัน และ
ยดื หยุน่ ได้ตามความตอ้ งการและความสนใจของเด็ก
๔.๘ กิจกรรมที่ต้องใช้ความคิดท้ังในกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่ ไม่ควรใช้เวลาต่อเน่ืองนานเกินกว่า
๑๐ - ๑๕ นาที กจิ กรรมเล่นอสิ ระใชเ้ วลาประมาณ ๒๐ - ๓๐ นาที
๔.๙ กิจกรรมควรมีความสมดุลระหว่างกิจกรรมในห้องและนอกห้อง กิจกรรมท่ีใช้กล้ามเน้ือใหญ่
และกล้ามเนือ้ เลก็ กจิ กรรมทีเ่ ปน็ รายบคุ คล กลุม่ ยอ่ ย และกลุ่มใหญ่ กิจกรรมทีเ่ ดก็ เป็นผ้รู ิเร่มิ และผู้เล้ยี งดูเปน็ ผรู้ ิเร่มิ
ในท่นี ี้ขอน�ำ เสนอตัวอยา่ งการจัดตารางกจิ กรรมประจำ�วัน ส�ำ หรับเดก็ อายุ ๒ - ๓ ปี ดังน้ี

84 คู่มอื หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเดก็ อายตุ า่ํ กวา่ ๓ ปี

เวลา ตวั อยา่ ง
๐๘.๓๐ น.
ตารางกจิ กรรมประจำ�วัน ส�ำ หรบั เดก็ อายุ ๒ - ๓ ปี

กจิ กรรม
• ทักทายสนทนาประจำ�วัน
• ฟงั นิทาน/ร้องเพลง/คำ�คลอ้ งจอง/เล่นนิ้วมอื /เคลือ่ นไหวประกอบจงั หวะ
หรอื ดนตร/ี เลน่ บทบาทสมมติ
• ด่มื นม/รบั ประทานอาหารวา่ ง
๑๑.๐๐ น. • เลน่ สนาม/เลน่ น้ําเลน่ ทราย/เคร่อื งเลน่ สนาม/ช่ืนชมธรรมชาต/ิ เลน่ อสิ ระ
• เล่นกับศิลปะ
• เกบ็ ของเลน่ ของใช้
๑๒.๐๐ น. • ลา้ งมอื เตรยี มตัวรับประทานอาหาร
๑๔.๐๐ น. • รับประทานอาหารกลางวัน
• ทำ�ความสะอาดร่างกาย แปรงฟัน/อาบน้ํา
๑๕.๐๐ น. • เตรยี มตวั พกั ผอ่ น
• นอนหลบั พักผอ่ น ฟังเพลงบรรเลงเบาๆ
• ด่มื นม/รบั ประทานอาหารว่าง
• เล่านิทาน/ร้องเพลง/สนทนา/เลน่ อิสระ
• เตรียมตวั กลบั บา้ น

คูม่ อื หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเดก็ อายุตํา่ กว่า ๓ ปี 85

ตวั อย่าง

ตารางกจิ กรรมประจำ�วัน ส�ำ หรบั เดก็ อายุ ๒ - ๓ ปี

เวลา กจิ กรรม
๐๘.๐๐ น. • ทกั ทายสนทนากบั ครู ผปู้ กครอง และเพอ่ื นๆ
• เลน่ อสิ ระและรับประทานอาหารเชา้ (ถ้ามี)
๐๙.๐๐ น. • กจิ กรรมผูใ้ หญ่รเิ ร่ิม (นทิ าน ค�ำ คล้องจอง เลน่ น้ิวมอื เพลง เคลือ่ นไหว
ทดลองง่ายๆ กิจกรรมการประกอบอาหาร (Cooking) แบบไม่ใชไ้ ฟ กจิ กรรม
ประเภทไมต่ ้องใช้แบตเตอร)ี่ แต่ละกิจกรรมใชเ้ วลาสัน้ ๆ ประมาณ ๑๐ - ๑๕ นาที
ทั้งรายบคุ คลและกลุ่มเลก็
๑๐.๓๐ น. • อาหารวา่ ง (ดแู ลการทำ�ความสะอาด ลา้ งมอื และอาจใช้วธิ ีจดั เตรียม
อาหารว่างไว้ทีม่ ุมห้อง ใหเ้ ด็กช่วยเหลอื ตนเองเม่ือต้องการ)
๑๑.๐๐ น. • กจิ กรรมเลน่ อิสระ
(ศลิ ปะ เกมการศกึ ษาท่ีเหมาะกับอายุ เล่นบทบาทสมมติ มุมธรรมชาติ
อา่ นหนงั สือ ฯลฯ)
๑๑.๓๐ น. • ล้างมือและรบั ประทานอาหารกลางวัน
• เปลี่ยนเส้ือผา้ ชุดนอน ทำ�ความสะอาดรา่ งกาย
• นิทานก่อนนอน
๑๔.๐๐ น. • ท�ำ ความสะอาดรา่ งกาย รับประทานอาหารว่าง
• กิจกรรมท่ีผใู้ หญ่รเิ ร่ิม (นิทาน เพลง เล่นน้วิ มือ คำ�คล้องจอง)
• เลน่ อิสระ
๑๕.๐๐ น. • เตรียมตวั กลบั บ้าน

* ไม่สนบั สนุนให้เด็กดูโทรทศั น์ก่อนนอนกลางวนั
** กรณที เ่ี ด็กไมเ่ ขา้ รว่ มกิจกรรม ไม่ควรบังคบั

86 ค่มู ือหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเด็กอายตุ ่ํากว่า ๓ ปี

๕. การจัดท�ำ แผนการจัดประสบการณ์ ส�ำ หรับเด็กอายุ ๒ - ๓ ปี
แผนการจัดประสบการณ์ เปน็ เครือ่ งมือสำ�คญั ในการจดั กจิ กรรมและประสบการณ์ ช่วยใหค้ รสู ามารถ
จัดประสบการณ์ผ่านการเล่นตามธรรมชาติท่ีเหมาะสมกับวัยอย่างเป็นองค์รวม ท้ังทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ
สังคม และสติปัญญา โดยจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการ ความสนใจ และความสามารถตามวัยของเด็ก
ทั้งน้ี เด็กในช่วงวัยนี้จะมีพัฒนาการเพ่ิมขึ้นมากกว่าในช่วงแรก โดยมีการพ่ึงพาตนเอง แสดงความเป็นตัวของตัวเอง
จึงจำ�เป็นต้องคำ�นึงถึงสาระการเรียนรู้ที่ประกอบด้วยประสบการณ์สำ�คัญและสาระที่ควรเรียนรู้ ตลอดจนส่งเสริม
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
ในการจัดทำ�แผนการจัดประสบการณ์ ครูสามารถนำ�หัวเรื่องที่ออกแบบไว้ในการวิเคราะห์สาระ
การเรียนรู้รายปี (บทที่ ๓) มากำ�หนดสาระท่ีควรเรียนรู้ย่อย โดยคำ�นึงถึงพัฒนาการเด็กเป็นสำ�คัญตามขั้นตอน
ดงั ต่อไปนี้
๑. นำ�หัวเรอ่ื งมากำ�หนดสาระ
๒. ออกแบบกิจกรรมใหส้ อดคล้องกับสาระทก่ี �ำ หนดในขน้ั ท่ี ๑ ดงั ตัวอย่าง

ตัวอยา่ ง

ตารางก�ำ หนดการจัดประสบการณส์ ถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย
ส�ำ หรับเด็กอายุ ๒ - ๓ ปี

สปั ดาห์ท ี่ วันที ่ หวั เรื่อง สาระ การออกแบบกจิ กรรม
ช่อื อวยั วะ - การเลา่ นทิ าน
๑ ....................... ร่ายกายของหนู ตา หู จมกู ปาก - การรอ้ งเพลง
มอื แขน ขา เท้า
หน้าทขี่ องอวัยวะ - การเล่านทิ าน
- การรอ้ งเพลง
- การแสดงบทบาทสมมติ
- การเลา่ นิทาน
๒ ....................... การดแู ลรกั ษา - การร้องเพลง
- การแสดงบทบาทสมมติ
- การปฏิบัตจิ รงิ
............................................................
.............................. ............................................................
.............................. ............................................................
๓ ....................... .............................. ............................................................
.............................. ............................................................
.............................. ............................................................
.............................. ............................................................
..............................



๔ ....................... ..............................

๕ ....................... ..............................

๖ ....................... ..............................

๗ ....................... ..............................

๘ ....................... ..............................

๙ ....................... ..............................

๑๐ ....................... ..............................

คู่มอื หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เด็กอายุตํ่ากวา่ ๓ ปี 87

88 คมู่ อื หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เด็กอายุต่ํากว่า ๓ ปี ๓. นำ�กิจกรรมทีอ่ อกแบบไวม้ าจดั ท�ำ แผนการจัดประสบการณ์ สำ�หรบั เดก็ อายุ ๒ - ๓ ปี ดังตัวอยา่ ง

ตวั อยา่ ง

แผนการจัดประสบการณ์ ส�ำ หรบั เดก็ อายุ ๒ - ๓ ปี

พัฒนาก าร จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ สาระการเรยี นร ู้ กิจกรรรมการเรยี นร้ ู สอ่ื การประเมินผล
ประสบการณส์ ำ�คญั สาระทคี่ วรเรียนรู้
เด็กร่วมกันตบมือตามจงั หวะเพลง มือของเรา เพลงมอื ของเรา ๑. สังเกตการ
ด้านร่างกาย ๑. ใชอ้ วัยวะของ เคลือ่ นไหวส่วนต่างๆ มือทำ�หนา้ ท่ีได้ และให้เดก็ จบั อวัยวะ เชน่ จบั จมกู จบั ปาก เคล่ือนไหว
ร่างกาย เชน่ มือ ของร่างกายตาม หลายอยา่ ง หยบิ จบั จับหูตามคำ�ส่งั รา่ งกาย
ได้สมั พันธ์กบั จังหวะเพลง ส่ิงต่างๆ ตบมอื ก�ำ กบั
จงั หวะเพลง จังหวะ ๑. ครแู นะนำ�อุปกรณ์ในการพมิ พ์ภาพมือและ ๑. สนี ํ้า -
๒. ใชม้ ือจบั อวยั วะ - ใหเ้ ด็กพูดตาม เช่น ส.ี .. กระดาษ ๒. ฟองนา้ํ
ได้ตามค�ำ สัง่ มือเปล่ยี นแปลง ๒. ครูสาธิตวธิ ีการพิมพ์มือให้เด็กลงมือท�ำ ๓. กระดาษ
ด้านอารมณ์ สรา้ งสรรค์งาน รปู ร่างได้ ด้วยตนเอง
จติ ใจ พมิ พ์ภาพได้ ตัง้ ชอ่ื ภาพ ๓. ครูใหเ้ ด็กตงั้ ช่อื ภาพและบนั ทกึ ชอ่ื
ของตนเองได้ ตาม ค�ำ บอกของเดก็

พัฒนาก าร จุด ประสงคก์ ารเรียนรู ้ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรรมการเรยี นร้ ู สอ่ื การประเมนิ ผล
ประสบการณ์ส�ำ คัญ สาระทค่ี วรเรียนรู้
ครแู ละเด็กชว่ ยกันเก็บอุปกรณ์
ด้านสงั คม ดูแลร่างกาย ๑. ชว่ ยเหลอื ตนเอง ๑. ดแู ลรกั ษา ท�ำ ความสะอาดสถานท่ี และล้างมอื ของตนเอง ๑. กลอ่ ง ๑. ตรวจผลงาน
ใส่อุปกรณ์ ๒. สังเกตจากการ
ความสะอาดของมือได้ ในการดูแล ความสะอาด ๑. เล่านทิ าน “มือน้อยแปลงกาย” สนทนา ๒. สบู่ลา้ งมือ รว่ มกิจกรรม
เนอื้ หาในนทิ าน ๓. ผา้ เช็ดมือ
เกบ็ ของใชเ้ ข้าทไ่ี ด้ ความสะอาด ของมือได้โดย ๒. ใหเ้ ดก็ พูดตามบางประโยคในนทิ าน เชน่
มือ ของ พี่ ใหญ่ มือ ของ น้อง เลก็
รับผิดชอบ การเชด็ มอื ลา้ งมอื ๓. เด็กท�ำ มอื แปลงร่างเป็นผเี ส้ือ เมอื่ ผเี สอื้
บินไปเกาะท่ใี ด ใหเ้ ด็กบอกชอ่ื อวัยวะนัน้ ๆ
ในการเก็บอปุ กรณ์ ๒. มอื เปลย่ี นแปลง ๔. เด็กร่วมกนั ตบมือตามจังหวะเพลง
มือของเรา และออกคำ�สั่งให้เด็กจบั อวยั วะ
ร่วมกนั รูปรา่ งได้ เชน่ จับจมกู จบั ปาก จบั หู

๒. แสดงออกถึงความสุข

กับการทำ�งานศลิ ปะ

ค่มู อื หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เดก็ อายตุ ่าํ กวา่ ๓ ปี 89 ดา้ น ๑. ฟังนทิ านและ ๑. ฟังนิทานและตอบ ๑. มอื ของเรามจี �ำ นวน ๑. นทิ าน ๑. สังเกตการ
สติปัญญา ตอบค�ำ ถามได้ ค�ำ ถามไดจ้ ากการคดิ ๒ ข้าง “มือน้อย ตอบคำ�ถาม
แปลงกาย” การสนทนา
๒. บอกค�ำ ศัพท์ช่ือ ๒. แสดงความคดิ ๒. มือขนาดใหญ่ ๒. เพลง ๒. สังเกตจาก
มอื ของเรา การรว่ มกจิ กรรม
อวัยวะภายนอกได้ สรา้ งสรรคแ์ ละ และเล็ก

๓. พูดเปรยี บเทียบ จินตนาการ ๓. มอื ท�ำ หนา้ ท่ีได้

ขนาดใหญแ่ ละเลก็ ๓. เคลอ่ื นไหวสว่ นตา่ งๆ หลายอยา่ ง เช่น

ของมอื ได้ ของรา่ งกายตาม จบั สง่ิ ของตา่ งๆ

๔. ท�ำ มือแปลงร่าง จังหวะเพลง ตบมือก�ำ กบั จงั หวะ

เป็นผเี ส้อื ตาม ๔. สงั เกตและบอกขนาด

ความคดิ สรา้ งสรรค์ ของวตั ถุ

ในกรณีที่สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยไม่จัดทำ�แผนการจัดประสบการณ์ แต่อย่างไรก็ตาม การจัดกิจกรรมต้อง
สอดคล้องกับพัฒนาการ วุฒิภาวะ และความสนใจของเด็ก ตลอดจนสอดคล้องกับหลักการจัดประสบการณ์สำ�หรับ
เด็กปฐมวัยที่มีอายุตํ่ากว่า ๓ ปี โดยสามารถจัดทำ�เป็นวิธีการจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนของเด็ก
อายุ ๒ - ๓ ปี ดังตัวอย่าง

ตวั อย่าง

วธิ กี ารจดั กิจกรรรมส่งเสริมพฒั นาการและการเรยี นรขู้ องเด็กอายุ ๒ - ๓ ปี

พัฒนาการด้านรา่ งกาย

กจิ กรรม เคลื่อนไหวประกอบเพลง

จดุ ประสงค์ สามารถกระโดดเท้าพน้ พ้ืนทงั้ ๒ ข้าง

วธิ ีสง่ เสริมพัฒนาการ ๑. ผปู้ กครองหรือผู้เลีย้ งดูกระโดดอยูก่ บั ทใ่ี ห้เดก็ ดู

๒. จบั มือทงั้ ๒ ข้างของเดก็ ไว้ ย่อตวั ลงพร้อมกบั เดก็ แลว้ บอกให้เด็กกระโดด ฝกึ หลายๆ คร้งั

จนเด็กมนั่ ใจและสนกุ จึงปลอ่ ยให้กระโดดเล่นเอง

หมายเหตุ ผปู้ กครองหรอื ผ้เู ล้ียงดูอาจเปิดเพลงท่ีมจี ังหวะสนกุ สนานให้เดก็ เตน้ และกระโดด

ตามเสยี งเพลง

พัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ

กจิ กรรม วาดภาพอิสระ ในบรรยากาศท่มี ีเสยี งเพลง

จดุ ประสงค ์ สามารถตอบสนองตอ่ ธรรมชาติ เสียงเพลง จังหวะดนตรี และส่งิ สวยงามอย่างเพลิดเพลิน

วธิ สี ง่ เสริมพฒั นาการ ๑. ผปู้ กครองหรอื ผู้เลีย้ งดูเปดิ เพลงบรรเลงคลอเบาๆ

๒. เดก็ ลงมือวาดภาพลงในกระดาษพน้ื ทราย

๓. ผปู้ กครองหรือผเู้ ลี้ยงดกู ล่าวคำ�ชื่นชมดว้ ยคำ�พดู หรอื การสัมผสั

พัฒนาการด้านสังคม

กจิ กรรม การเลน่ บลอ็ กร่วมกนั

จุดประสงค์ - สามารถรอคอยช่วงสน้ั ๆ

- สามารถเลน่ รว่ มกับคนอนื่ แตต่ ่างคนตา่ งเลน่

วิธสี ง่ เสริมพฒั นาการ ๑. ผ้ปู กครองหรอื ผู้เลี้ยงดูนำ�บล็อกมาจัดวางใสต่ ระกรา้

๒. เด็กๆ หยบิ จบั สมั ผัสบล็อกมาวางเรียงกันตามจินตนาการ

๓. ผู้ปกครองหรือผู้เล้ียงดูกระตุ้นโดยใช้คำ�ถาม เช่น อะไร ทำ�ไม และกล่าวคำ�ชื่นชม

ด้วยค�ำ พูดหรอื การสัมผสั

๔. เม่อื เล่นเสร็จ ใหเ้ ด็กๆ ช่วยผปู้ กครองหรอื ผดู้ ูแลเด็กเก็บบล็อกใส่ตระกรา้

90 ค่มู อื หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เด็กอายุตํา่ กวา่ ๓ ปี

พัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา

กจิ กรรม การเล่นเกมช่วยลกู ไกอ่ อกจากท่อ

จุดประสงค ์ สามารถค้นหาของท่ถี ูกซ่อน โดยมสี ่ิงปกปิด ๒ - ๓ ช้ัน

วิธีสง่ เสริมพฒั นาการ ๑. วางท่อทีม่ ไี หมพรมอยู่กลางทอ่ และแทง่ ไม้ตรงหนา้ เดก็

๒. พดู คุยกบั เดก็ “(ชอื่ ลูก) จะเอาไหมพรมออกมาไดย้ งั ไงนะ”

๓. หยดุ รอจงั หวะใหเ้ ดก็ คดิ

๔. ผ้ปู กครองหรือผเู้ ลี้ยงดูย่นื ท่อทม่ี ีไหมพรมอยู่กลางทอ่ และแทง่ ไม้ใหเ้ ดก็ พร้อมพูดวา่

“(ชือ่ เดก็ ) เอาไหมพรมออกมาหน่อยนะ”

๕. ถา้ เดก็ ท�ำ ไม่ได้ ให้ผปู้ กครองหรือผเู้ ล้ียงดูจบั มือเด็กท�ำ ซา้ํ จนเดก็ สามารถท�ำ ไดเ้ อง

หลกั การอบรมเล้ยี งดูและการจัดประสบการณ์

การอบรมเลี้ยงดูและจัดประสบการณ์ เป็นหน้าท่ีหลักของพ่อแม่หรือผู้เล้ียงดู เน่ืองจากเป็นผู้ท่ีอยู่ใกล้ชิด
และมีบทบาทสำ�คัญต่อชีวิตความเป็นอยู่ของเด็ก ในการเล้ียงดูและอบรมให้เด็กเติบโตเป็นคนดีมีคุณภาพของ
ครอบครัวและสังคม โดยให้เด็กได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ได้พัฒนาท้ังทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจสังคม
และสติปัญญา สามารถจัดในรูปของกิจกรรมบูรณาการผ่านการเล่น การอบรมเลี้ยงดูและพัฒนาเด็กเพ่ือให้เกิด
การเรียนรู้และพัฒนาได้อย่างเต็มที่ ควรปฏิบตั ิดังน้ี
๑. อบรมเล้ียงดูเด็กและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้โดยเน้นเด็กเป็นสำ�คัญ พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดู
ควรให้ความสำ�คัญกับธรรมชาติของเด็ก และตอบสนองความต้องการ ความสนใจ ความแตกต่างระหว่างบุคคล
ของเด็ก ด้วยการเปิดโอกาสให้เด็กมีอิสระ เป็นตัวของตัวเองท่ีจะเรียนรู้ส่ิงต่างๆ รอบตัวด้วยตนเอง โดยพ่อแม่หรือ
ผู้เลี้ยงดูจำ�เป็นต้องทำ�ความเข้าใจกับธรรมชาติของเด็กในแต่ละช่วงวัย และเป็นผู้สนับสนุน อำ�นวยความสะดวก
ให้เด็กได้เรียนรู้และพัฒนาทุกๆ ด้าน อย่างมีความสุข และเติบโตอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับศักยภาพและ
สภาพสังคม - วัฒนธรรมของเด็ก
๒. ตระหนักและสนับสนุนสิทธิขั้นพ้ืนฐานท่ีเด็กพึงได้รับ พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูควรให้ความสำ�คัญกับ
สิทธิขั้นพ้ืนฐานท่ีเด็กพึงได้รับ การดูแลเอาใจใส่ให้มีชีวิตรอดปลอดภัย ได้รับการปกป้องคุ้มครองจากการถูกทอดท้ิง
เอาเปรยี บ และกระท�ำ ทารณุ กรรม ไดร้ บั การพฒั นาสงู สดุ ตามศกั ยภาพ รวมทงั้ มสี ว่ นรว่ มในการแสดงออกและรว่ มท�ำ
กิจกรรมในครอบครวั และชุมชน โดยการศกึ ษาและทำ�ความเข้าใจกับธรรมชาติของเด็ก แสดงความสนใจ เห็นคุณค่า
ของเด็ก รวมท้ังอบรมสัง่ สอนใหไ้ ดร้ ้จู ักหน้าทีแ่ ละความรบั ผิดชอบในตนเอง

คมู่ ือหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเด็กอายุต่ํากวา่ ๓ ปี 91

๓. ปฏิบัติตนต่อเด็กด้วยความรักความเข้าใจและใช้เหตุผล พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูควรอบรมเล้ียงดูเด็ก
ด้วยความรักความเมตตา เอาใจใส่ดูแล ใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์ มีความเข้าใจในพัฒนาการ และตอบสนอง
ความต้องการของเด็กอย่างสม่ําเสมอ โดยการให้เวลา อยูใ่ กล้ชดิ ทักทาย พูดคุยโตต้ อบ แสดงอารมณค์ วามรสู้ กึ ที่ดี
มองหน้าสบตา ยิ้มแย้มแจ่มใส สัมผัสอ่อนโยน เล่นด้วยกัน ใช้แรงเสริมทางบวกหรือชมเชยให้กำ�ลังใจเม่ือเด็ก
มีพฤติกรรมท่ีเหมาะสม และเม่ือเด็กแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ควรพูดคุยกับเด็กด้วยเหตุผล โดยไม่ใช้อารมณ์
เป็นเครื่องตดั สิน
๔. ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กอย่างสมดุลครบทุกด้าน พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูควรเปิดโอกาสให้เด็ก
ได้เรียนรู้ เล่น และฝึกทักษะต่างๆ ในสภาพแวดล้อมท่ีปลอดภัยเป็นมิตร ด้วยการจัดประสบการณ์ท่ีเหมาะสม
กบั วยั ความพรอ้ ม ความสนใจ และความสามารถตามวยั ของเดก็ โดยการจดั กจิ กรรมและการเลน่ ทส่ี ง่ เสรมิ พฒั นาการ
และการเรียนรู้ด้านต่างๆ ท้ังทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ผ่านส่ือการเรียนรู้และการเล่น
ท่หี ลากหลายเหมาะสมกบั วัย
๕. ปลูกฝังระเบียบวินัย คุณธรรม และวัฒนธรรมไทย พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูควรอบรมขัดเกลาและ
ฝึกให้เด็กดำ�เนินชีวิตอย่างมีระเบียบวินัยในตนเอง มีคุณธรรมและมีจิตใจโอบอ้อมอารี ละอายต่อการทำ�ความผิด
รู้จักมารยาทและความเป็นไทยด้วยการทำ�ตนเป็นแบบอย่างที่ดี และจัดกิจกรรมส่งเสริมความรู้และฝึกทักษะต่างๆ
ทีละเล็กละนอ้ ย โดยใชก้ ารเลา่ นทิ าน อา่ นหนงั สือ เลา่ เหตุการณ์ต่างๆ ร้องเพลง เลน่ ดนตรี เลน่ การละเลน่ พืน้ บ้าน
และเข้ารว่ มกิจกรรมทางสังคมตามประเพณนี ิยม ตามความเหมาะสม
๖. ใช้ภาษาที่เหมาะสมกับความสามารถในการรับรู้และการเรียนรู้ของเด็ก พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดู
ควรปรับการใช้ภาษาให้เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็กในการพูดคุย สื่อความหมาย และอบรมสั่งสอนเด็กด้วย
การใช้คำ�ศัพท์ท่ีง่ายๆ เป็นคำ�พูดส้ันๆ ออกเสียงช้าๆ ชัดเจน ในการพูดคุยกับเด็กจำ�เป็นต้องอาศัยความอดทน
ความพยายาม และความต้ังใจสูงในการฟัง เด็กพูดออกเสียงชัดบา้ ง ไม่ชัดบ้าง และช่วยแก้ไขให้เด็ก การเล่านิทาน
ให้เด็กฟัง และการพูดคุยตอบคำ�ถามหรือฟังเรื่องเล่าของเด็กบ่อยๆ และช่วยฝึกหัดทักษะทางภาษาของเด็กให้
พฒั นามากขึน้ ตามวยั ได้
๗. สนับสนุนการเล่นตามธรรมชาติของเด็ก พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูควรให้ความสำ�คัญกับการเล่น
ตามวยั ความตอ้ งการ ความสนใจ และความสามารถของเด็ก ดว้ ยการจดั เตรียมสถานท่ีเลน่ ของเลน่ และเครือ่ งเล่น
ต่างๆ ท่ีเหมาะสมให้กับเด็ก โดยการเปิดโอกาสให้เด็กได้เล่นคนเดียวหรือเล่นกับเด็กอื่น รวมทั้งได้เลือกเล่นกับ
วัตถสุ ่ิงของจรงิ ของเล่นตามวยั และวัสดุอปุ กรณ์ที่เก่ยี วกับศิลปะทห่ี ลากหลาย และสง่ เสรมิ ความคิดสร้างสรรค์
๘. จัดสภาพแวดล้อมท่ีปลอดภัยและเอ้ือต่อการเรียนรู้ของเด็ก พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูควรจัดสถานที่
วัสดุอุปกรณ์ และของเล่นที่กระตุ้นความอยากรู้อยากเห็นและการเรียนรู้ของเด็กด้วยตัวของเด็กเองเป็นหลัก
โดยการจัดสถานทบี่ ริเวณและสิง่ ตา่ งๆ ใหถ้ กู สขุ ลักษณะและเหมาะสมสำ�หรับวยั ของเดก็ การดแู ลอาคารและบริเวณ

92 คู่มือหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเดก็ อายตุ า่ํ กวา่ ๓ ปี

ต่างๆ ให้เด็กได้เคล่ือนไหวสะดวก สะอาด ปลอดภัย อากาศถ่ายเทได้ดี แสงสว่างพอเพียง มีเครื่องเล่นเครื่องใช้
ทเ่ี หมาะสมกบั เดก็ มกี ารจดั มมุ เลน่ ตา่ งๆ เพอ่ื การเรยี นรขู้ องเดก็ ตลอดจนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรแู้ ละการเลน่ ของเดก็
๙. ประเมินการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็กอย่างต่อเน่ืองสมํ่าเสมอ พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูควร
ฝกึ ทกั ษะการสังเกต และบันทกึ พัฒนาการด้านต่างๆ ของเด็ก เพอ่ื ติดตามเฝ้าระวัง ใหท้ ราบถึงการเปลย่ี นแปลงตา่ งๆ
ทเี่ กิดขน้ึ กับเด็กในแต่ละระยะของพฒั นาการตามวยั ในการจัดกิจกรรมส่งเสรมิ พัฒนาการขั้นตอ่ ๆ ไป ให้ดยี ่งิ ๆ ขน้ึ ไป
รวมท้งั การแกไ้ ขปญั หาพฒั นาการอาจเกดิ ข้ึนไดท้ นั ทว่ งที
๑๐. ประสานความร่วมมือระหว่างพ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดู ชุมชน และสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
พ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดู ชุมชน และสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ควรประสานความร่วมมือกันในการดูแลสิทธิเด็ก
และส่งเสริมพัฒนาการ เป็นศูนย์การเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ ให้เด็กมีประสบการณ์จากสถานการณ์จริง
สนบั สนุนงบประมาณและสนบั สนนุ การจัดการศึกษาปฐมวัยให้มคี ุณภาพ

แนวทางการอบรมเล้ียงดแู ละการจดั ประสบการณ์

แนวทางการอบรมเลี้ยงดูและการจัดประสบการณ์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กอายุ
ตํา่ กวา่ ๓ ปี ควรปฏิบัติดงั นี้
๑. ดแู ลสุขภาพอนามยั และตอบสนองความตอ้ งการของเดก็ เปน็ รายบคุ คล ไดแ้ ก่
๑.๑ จัดอาหารท่ีถูกต้องตามหลักโภชนาการให้เด็กรับประทาน โดยพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดู คอยดูแล
และฝึกวิธีการรับประทานอาหารท่ีเหมาะสมกับวัยของเด็ก สร้างบรรยากาศของการรับประทานอาหารให้เป็นเวลา
ท่มี คี วามสุข ทั้งนี้ ผู้เตรียมอาหารเดก็ ต้องลา้ งมอื ใหส้ ะอาดท้งั ก่อนและหลงั การเตรยี มอาหาร
๑.๒ พาเด็กไปรับวัคซีนสร้างภูมิคุ้มกันโรคตามระยะเวลาท่ีกำ�หนด และบันทึกข้อมูลในสมุดบันทึก
สุขภาพของเดก็ ใหเ้ ป็นปจั จุบนั
๑.๓ ดูแลทำ�ความสะอาดร่างกายหลังเปรอะเป้ือนทุกคร้ัง อาบน้ําและดูแลให้เด็กแต่งกายเหมาะสม
กบั สภาพอากาศ
๑.๔ ดูแลจัดสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัย ไม่มีส่ิงเป็นอันตรายกับเด็ก เช่น ปลั๊กไฟต้องปิดให้มิดชิด
เพอ่ื ปอ้ งกนั ไมใ่ ห้เดก็ เอานิ้วไปแหยเ่ ลน่ เปน็ ตน้
๑.๕ ของเล่นทเี่ ขา้ ปากเดก็ ต้องน�ำ มาเปลยี่ นหรอื ท�ำ ความสะอาดเมื่อเดก็ เลน่ เสรจ็
๑.๖ จัดใหเ้ ดก็ อยู่ในการดแู ลของผู้ใหญ่อย่างใกลช้ ิดตลอดเวลา ไมป่ ล่อยให้เดก็ อย่คู นเดยี วเพียงล�ำ พงั
๑.๗ ดูแลระมัดระวังการแพร่เช้ือโรคของบุคคลในครอบครัวหรือผู้เล้ียงดูไปยังเด็ก หากมีการเจ็บป่วย
เกดิ ขึน้ ในสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั

คมู่ ือหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเด็กอายตุ ํา่ กวา่ ๓ ปี 93


Click to View FlipBook Version