๖. เด็กในการจัดการศึกษาโดยครอบครัว (Home School) พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูสามารถให้
การช่วยเหลือเด็กที่บ้านได้ โดยขอคำ�แนะนำ�และคำ�ปรึกษาจากแพทย์และนักวิชาชีพสาขาต่างๆ ได้ เพื่อนำ�มา
จัดการช่วยเหลือให้เหมาะสมกับปัญหาของเด็กท่ีบ้านด้วยตัวเอง รวมถึงมีการติดตามผลการช่วยเหลือและการรักษา
ร่วมกับแพทย์และนักวิชาชีพเป็นระยะๆ ตามแนวปฏิบัติในการจัดการศึกษาโดยครอบครัว ควรศึกษาหลักสูตร
การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และเอกสารอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้อง รวมถึงประสานงานกับหน่วยงานที่เก่ียวข้อง
เพื่อวางแผนการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียน บริบทและเป้าหมายท่ีต้องการพัฒนา โดยยึดจุดเน้นของ
การจัดการศึกษาปฐมวัย และออกแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นการอบรมเล้ียงดูและส่งเสริมพัฒนาการ
ทุกดา้ นด้วยวิธีการทห่ี ลากหลาย
แหลง่ บรกิ ารใหก้ ารช่วยเหลือเด็กกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
๑. ศูนย์การศึกษาพิเศษเขตการศึกษา หรือศูนย์การศึกษาพิเศษประจำ�จังหวัด ศูนย์การศึกษาพิเศษ
มหาวิทยาลัยราชภัฏต่างๆ พ่อแม่หรือผู้ปกครองสามารถขอรับบริการจากศูนย์การศึกษาพิเศษท่ีใกล้บ้านได้
โดยเจ้าหน้าท่ีท่ีเก่ียวข้องจะจัดการศึกษาให้กับเด็กที่มีความบกพร่องทุกประเภท รวมไปถึงการให้คำ�ปรึกษาแนะนำ�
แก่ผู้ปกครองในการดูแลเด็ก นอกจากนี้ศูนย์การศึกษาพิเศษยังมีการจัดอบรมต่างๆ เพ่ือให้พ่อแม่และผู้ปกครอง
ไดเ้ ข้าร่วมอบรม เพ่ือจะใช้เป็นประโยชน์ในการพฒั นาเดก็ ต่อไป
๒. โรงเรยี นเฉพาะความพกิ าร หรอื โรงเรยี นเรยี นรว่ ม เดก็ ทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางพฒั นาการและการเรยี นรู้
ที่ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพและเตรียมความพร้อมจากศูนย์การศึกษาพิเศษมาแล้ว เมื่อเด็กสามารถช่วยเหลือ
ตัวเองได้ และมีความพร้อมในการเรียน สามารถนำ�เด็กเข้ารับการศึกษาต่อในสถานศึกษาเฉพาะความพิการ
หรือโรงเรียนเรียนร่วมได้ โดยโรงเรียนจะจัดทำ�แผนการศึกษาเฉพาะบุคคล และให้การพัฒนาเด็กตามแผนท่ีกำ�หนด
รว่ มกับการดูแลของพอ่ แม่และครอบครัว
๓. สถานพยาบาล ในสถานพยาบาลนักวิชาชีพที่หลากหลายในการบำ�บัดรักษาเด็ก เช่น แพทย์และ
พยาบาลเวชศาสตร์ฟนื้ ฟู นกั กจิ กรรมบำ�บัด นักกายภาพบำ�บัด นกั แก้ไขการพดู นกั จติ วทิ ยา เปน็ ต้น
๔. สถานบริการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น สมาคมหรือมูลนิธิเพ่ือบุคคลที่มีความต้องการพิเศษ ซึ่งอาจจัด
ในรูปแบบของภาครัฐและเอกชน พ่อแม่ ผู้ปกครองสามารถนำ�เด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการและการเรียนรู้
ไปรับบริการจากสถานท่ีดังกล่าว เพ่ือขอรับบริการด้านสื่อ ส่ิงอำ�นวยความสะดวกที่เหมาะสมตามความต้องการ
จ�ำ เปน็ ของเดก็
144 ค่มู ือหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เดก็ อายตุ า่ํ กวา่ ๓ ปี
บทบาทของพอ่ แม่ ผูป้ กครองตอ่ การชว่ ยเหลอื เดก็ กลมุ่ เป้าหมายเฉพาะ
๑. การเล้ียงดูลูกอย่างปกติทั่วไป เด็กควรได้รับการสนับสนุนและช่วยเหลือในการดำ�รงชีวิตทั้งในบ้าน
และในสังคม โดยยึดหลักพึ่งตัวเองให้มากที่สุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้ การดำ�เนินชีวิตต่างๆ ควรปฏิบัติอย่างปกติทั่วไป
การเล้ียงดูเด็กกลุ่มเป้าหมายเฉพาะควรเล้ียงดูให้เหมือนกับเด็กท่ัวไป ฝึกฝนให้รู้จักส่ิงที่ควรและไม่ควรกระทำ�
หากเด็กมีพฤติกรรมทไ่ี ม่ถกู ต้องควรชีแ้ นะดว้ ยวธิ ีการทีถ่ กู ต้อง เหมาะสมกับระดับความสามารถของเด็ก
๒. การจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศท่ีส่งเสริมการเรียนรู้ที่เหมาะสม พ่อแม่ ผู้ปกครองจะต้อง
ช่วยเหลือเด็กโดยการจัดสภาพแวดล้อมแห่งการเรียนรู้ให้แก่เด็ก ส่งเสริมให้เด็กได้รับการศึกษาที่เหมาะสม
ตามศักยภาพ เพ่ือให้เด็กได้รับประโยชน์สูงสุดในการพัฒนาศักยภาพ ควรให้เด็กมีโอกาสได้ร่วมกิจกรรมอย่างเต็มที่
ท้ังในบ้านและโรงเรียน และเปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรู้และแก้ปัญหาด้วยตนเอง โดยมีผู้ใหญ่คอยให้การสนับสนุน
และเปน็ ตวั อยา่ งทดี่ ี
๓. การยอมรับของครอบครัว ต้องทำ�ให้เด็กรู้สึกว่าเด็กเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว มีความรับผิดชอบ
ทเี่ สมอภาคกันในหมพู่ ่ีนอ้ ง และใหเ้ ดก็ ไดเ้ รียนรู้ท่จี ะมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมต่างๆ ของครอบครัว รับฟงั และตอบสนอง
ความตอ้ งการทเ่ี หมาะสมกบั เด็ก ปฏิบัตติ อ่ เด็กอย่างเท่าเทียมกนั ใหส้ ทิ ธสิ ว่ นบคุ คลแกเ่ ด็ก
๔. ความเชื่อมั่นในความสามารถของเด็ก เชื่อม่ันว่าเด็กมีความสามารถท่ีจะเรียนรู้ได้ ซ่ึงจะทำ�ให้
ครอบครัวพยายามสร้างเสริมและแสวงหาโอกาสต่างๆ มาให้กับเด็กทั้งด้านการบำ�บัดรักษา การฟื้นฟูสมรรถภาพ
การศึกษา การสังคม และการอาชีพ โดยพ่อแม่สามารถจะขอรับบริการจากบุคคลต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เช่น
นักสงั คมสงเคราะห์ นักจิตวทิ ยา แพทย์ โรงเรียน เปน็ ต้น
๕. การตระหนักถึงความมีสิทธิ แม้เด็กจะมีความบกพร่อง แต่ก็มีสิทธิทั้งทางนิตินัยและพฤตินัย สิทธิ
ทางนิตินัยเป็นสิทธิทางกฎหมายที่ผู้ที่มีความบกพร่องพึงมีพึงได้ ท้ังตามหลักกฎหมายท่ีเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
ในฐานะพลเมืองของประเทศ สิทธิตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ และกฎหมายอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ซ่ึงบัญญัติรับรองสิทธิ
ทั้งด้านการศึกษา การรักษา การฟื้นฟู การพัฒนา ส่วนสิทธิโดยพฤตินัยเป็นสิทธิที่เกิดโดยธรรมชาติ เช่น สิทธิแห่ง
ความเป็นเดก็ เด็กพงึ ได้รบั อิสระ พึงได้รับความรกั การดแู ล การเอาใจใส่จากครอบครวั เพื่อนฝงู สังคม และศีลธรรม
เมื่อเด็กเกิดมาในครอบครัวและดำ�รงชีวิตอยู่ในสังคม พ่อแม่จะต้องให้สิทธิขั้นพื้นฐานแก่เด็กในทุกๆ ด้าน เช่น
การดูแลเอาใจใส่ การมีชีวิตอยู่รอด การปกป้องคุ้มครอง การแสดงความคิดเห็นหรือความต้องการของเด็ก เป็นต้น
พ่อแม่สามารถเรียกร้องและขอรับสิทธิที่เด็กพึงจะได้รับ เช่น การรับการรักษาบำ�บัด การรับการศึกษาที่เหมาะสม
เปน็ ต้น
บทบาทของบ้านและชุมชนในการสง่ เสริมพฒั นาการเด็กกลุ่มเปา้ หมายเฉพาะ
สำ�หรบั เด็กอายุต่าํ กวา่ ๓ ปี
เด็กจำ�เป็นต้องได้รับการพัฒนาศักยภาพของตนเองจากพ่อแม่ท่ีบ้าน รวมถึงอาจนำ�เด็กไปรับบริการ
ในการส่งเสริมพัฒนาการจากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เช่น โรงพยาบาล ศูนย์การศึกษาพิเศษ มูลนิธิต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง
กับการให้ความช่วยเหลือเด็กกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ และเข้ารับบริการการเลี้ยงดูจากผู้เล้ียงดูเด็กท่ีสถานพัฒนา
เด็กปฐมวัย ดังนั้น ทั้งพ่อแม่และผู้เลี้ยงดูเด็กจึงควรสามารถจัดกิจกรรมง่ายๆ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้
ของเด็กกลุ่มเป้าหมายเฉพาะด้วยตนเอง โดยบูรณาการกิจกรรมต่างๆ เข้ากับการดำ�รงชีวิตประจำ�วันของเด็กและ
ครอบครวั ดงั ตัวอย่างกจิ กรรมต่อไปนี้
คมู่ ือหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเดก็ อายุตา่ํ กว่า ๓ ปี 145
๑. กิจกรรมพัฒนาทักษะด้านกล้ามเนื้อใหญ่และการเคลื่อนไหว เป็นการส่งเสริมพัฒนาการทักษะ
กลา้ มเน้อื มดั ใหญใ่ หก้ บั เดก็ อาจน�ำ มาควบค่กู ับการท�ำ งานบ้านเล็กๆ น้อยๆ ได้ เช่น
๑.๑ กิจกรรมหยิบของตามคำ�สั่งง่ายๆ โดยพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูสามารถบอกให้เด็กเคล่ือนไหว
ไปหยิบของท่ีต้องการมาให้ได้ เช่น หยิบเสื้อ กางเกง ขณะท่ีทำ�กิจวัตรเร่ืองการแต่งตัว หรือหยิบช้อน หยิบแก้ว
ขณะทรี่ บั ประทานอาหาร เปน็ ต้น
๑.๒ กจิ กรรมการท�ำ ความสะอาดบา้ น พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดสู ามารถใหเ้ ดก็ ท�ำ งานบา้ นงา่ ยๆ ทใ่ี ชท้ กั ษะ
กล้ามเนื้อมัดใหญ่ได้ เช่น การกวาดบา้ น การเชด็ โต๊ะ เป็นต้น โดยไม่คำ�นงึ ถึงความสะอาด
๑.๓ กิจกรรมการออกกำ�ลังกาย พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูสามารถนำ�เด็กออกกำ�ลังกายเคลื่อนไหว
ส่วนต่างๆ ของอวัยวะได้ตามความเหมาะสม หรืออาจนำ�กิจกรรมเข้าจังหวะมาเช่ือมโยงกับการออกกำ�ลังกาย หรือ
การบรหิ ารร่างกายในท่าง่ายๆ ฯลฯ
๒. กิจกรรมพัฒนาทักษะกล้ามเนื้อเล็กและประสาทสัมผัส เป็นการส่งเสริมพัฒนาการด้านการใช้
กลา้ มเนอื้ เลก็ และประสาทสมั ผสั ให้ทำ�งานประสานกนั เช่น
๒.๑ กจิ กรรมบรหิ ารกลา้ มเนื้อเล็ก พ่อแม่หรอื ผเู้ ลยี้ งดูกระตนุ้ ให้เดก็ เอ้อื มคว้าของ/วัตถุท่อี ยู่ตรงหน้า
ด้านขา้ ง ดา้ นบน หรือดา้ นลา่ ง การก�ำ มอื - แบมอื การสลดั มอื การนับนิว้ มอื การป้นั ดนิ น้าํ มนั การระบายสี และ
การลากเสน้ อย่างอิสระ เปน็ ต้น
๒.๒ กิจกรรมถือของด้วยมือหรือนิ้วมือ พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูกระตุ้นให้เด็กใช้มือในการเล่นของเล่น
ในลักษณะต่างๆ หรือใช้มือถือถ้วยท่ีมีด้ามจับ ใช้มือถือของสองมือ หรือถือของมือเดียว หรือด่ืมนํ้าโดยการถือ
แก้วน้าํ มือเดยี ว เปน็ ต้น
๒.๓ กจิ กรรมการฝกึ การทำ�งานของประสาทสมั ผัส พอ่ แมห่ รือผเู้ ลย้ี งดูกระตนุ้ ให้เดก็ ฝกึ การดมกลิ่น
จากสภาพแวดล้อมรอบตัวเด็ก เช่น กล่ินอาหารที่เด็กรับประทาน กลิ่นเครื่องปรุง ฝึกการมองเห็นโดยการมองภาพ
การฝึกการฟังโดยให้ฟงั เพลงหรอื ฟังนทิ าน การฝกึ ชิมเครื่องปรุงหรือชิมรสชาตอิ าหาร เป็นตน้
๒.๔ กิจกรรมการฝึกการทำ�งานประสานกันของมือและตา พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูส่งเสริมให้เด็ก
ปั้นดินนํา้ มนั ระบายสี ร้อยลูกปัด การนับส่งิ ของ เปน็ ต้น
๓. กิจกรรรมพัฒนาทักษะทางสังคม พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูส่งเสริมให้เด็กได้ดำ�รงชีวิตในสังคมและ
สภาพแวดล้อม กิจกรรมสามารถทำ�ไดง้ า่ ยและไมย่ งุ่ ยากเกนิ ไป เชน่
๓.๑ กิจกรรมเสริมสร้างมนุษยสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้าง เช่น การฝึกการสังเกตและจดจำ�ลักษณะ
ของบคุ คลในครอบครวั การทักทายบุคคลท่ีรูจ้ กั การเล่นกับเพือ่ นอย่างถกู วิธี เปน็ ต้น
๓.๒ กิจกรรมเสริมสร้างมารยาทและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่น เช่น การทักทายเพื่อนหรือผู้ใหญ่
การกลา่ วค�ำ ขอบคณุ เมอ่ื ไดร้ ับสงิ่ ของหรอื ไดร้ บั การช่วยเหลอื การเข้าแถวรอตามล�ำ ดบั การนั่งอยา่ งถกู วธิ ี เปน็ ต้น
๓.๓ กิจกรรมส่งเสริมการเข้าสังคมและใช้บริการสาธารณะ เป็นการนำ�เด็กไปในสถานท่ีต่างๆ
เพ่ือให้เด็กได้สังเกตและเรียนรู้ที่จะดำ�รงชีวิตอยู่ในสังคมที่ตนอาศัยอยู่ได้ เช่น ตลาด ห้างสรรพสินค้า โรงพยาบาล
โรงเรียน ห้องนํา้ สาธารณะ สถานตี ำ�รวจ ฯลฯ
146 คูม่ ือหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเดก็ อายุต่ํากว่า ๓ ปี
๔. กิจกรรมพัฒนาทักษะทางภาษาและการส่ือสาร พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูสามารถฝึกเด็กได้ในขณะที่เด็ก
อยูท่ ่ีบา้ นหรอื สถานท่ีต่างๆ โดยใชบ้ ริบทของสภาพแวดล้อมในการฝกึ ภาษาและการสอื่ สารได้ เช่น
๔.๑ กิจกรรมการบริหารอวัยวะที่ใช้ในการพูด เช่น การเป่าฟองสบู่ การเป่าเทียน การห่อปาก
การเหยยี ดปาก การเป่าปาก การอา้ ปาก การเลยี การแลบลิน้ การเดาะล้นิ เป็นต้น
๔.๒ กจิ กรรมสง่ เสรมิ การออกเสียงและการอา่ น เชน่ การเลยี นแบบเสยี งสตั ว์ การออกเสียงตามแบบ
เป็นตน้
๔.๓ กิจกรรมส่งเสริมการส่ือสาร เช่น การบอกช่ือของตนเอง การร้องเพลงง่ายๆ การตอบคำ�ถาม
ง่ายๆ การทำ�ตามคำ�ส่งั งา่ ยๆ การใชท้ า่ ทางและการแสดงสหี นา้ การเลา่ เรอ่ื ง เปน็ ตน้
๕. กิจกรรมพัฒนาทักษะการช่วยเหลือตนเอง พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูสามารถบูรณาการเข้ากับกิจวัตร
ประจำ�วันของเด็กได้ ซ่ึงถือว่าทักษะการช่วยเหลือตนเองเป็นทักษะท่ีสำ�คัญและจำ�เป็นสำ�หรับเด็กที่มีความบกพร่อง
ทางพัฒนาการ เพื่อนำ�มาใช้ในการดำ�รงชีวิตในสังคมต่อไป ผู้ปกครองสามารถให้คำ�แนะนำ�ในการปฏิบัติอย่าง
ถูกวธิ ไี ด้ ดังน้ี
๕.๑ กิจกรรมการรับประทานอาหาร เช่น การฝึกการใช้มือหยิบอาหารทานเอง ใช้ช้อนตักอาหาร
การด่ืมนาํ้ จากแกว้ การดมื่ นํ้าโดยหลอดดูด การลา้ งมอื ก่อนรบั ประทานอาหาร เป็นตน้
๕.๒ กิจกรรมการทำ�ความสะอาดร่างกาย เช่น การฝึกการอาบนํา้ การถูสบู่บริเวณต่างๆ ของร่างกาย
การเชด็ ตัว การแปรงฟัน เปน็ ต้น
๕.๓ กิจกรรมการสวมใส่เครื่องแต่งกาย เช่น การถอด - ใส่เส้ือผ้าอย่างง่ายๆ การถอด - ใส่ถุงเท้า
และรองเท้า เป็นต้น
๕.๔ กิจกรรมการเข้าห้องน้ํา เช่น การฝึกการเข้าห้องนํ้าให้เป็นเวลา การล้างมือหลังจากการ
เขา้ ห้องนํา้ ฯลฯ
กิจกรรมท่ีกล่าวมาข้างต้นน้ี พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูสามารถนำ�ไปฝึกกับลูกที่บ้านได้ เน่ืองจากพ่อแม่
หรือผู้เลี้ยงดูเป็นบุคคลสำ�คัญที่จะทำ�ให้เด็กมีพัฒนาการท่ีดีข้ึนตามศักยภาพของเด็กเอง ดังนั้น ในการฝึกพัฒนาการ
สำ�หรับเด็ก พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูจะต้องคำ�นึงถึงความปลอดภัยและความสามารถของเด็กเป็นสำ�คัญ รวมไปถึง
การให้การเสรมิ แรงสำ�หรับเด็กเพอ่ื ใหเ้ ดก็ สามารถพฒั นาตนเอง และมกี �ำ ลงั ใจที่จะเรยี นรู้ต่อไป
ค�ำ แนะนำ�ในการเล้ียงดูกลมุ่ เป้าหมายเฉพาะ ส�ำ หรบั เดก็ อายตุ า่ํ กว่า ๓ ปี
พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูเป็นบุคคลที่สำ�คัญต่อการช่วยเหลือและพัฒนาเด็กให้มีศักยภาพ พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดู
ต้องตระหนักถึงความสำ�คัญของบทบาทในการช่วยเหลือเด็ก และส่งเสริมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับเด็กแต่ละ
ประเภท โดยการยอมรับและเข้าใจถึงสภาพความต้องการ และความจำ�เป็นของเด็กที่จะต้องได้รับการช่วยเหลือ
ก่อนที่จะขอความช่วยเหลือจากบุคลากรฝ่ายอ่ืน ดังนั้น พ่อแม่ ผู้ปกครองสามารถช่วยเหลือเด็กที่มีความบกพร่อง
ทางพัฒนาการและการเรียนรู้ ดงั น้ี
คู่มือหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เดก็ อายตุ า่ํ กว่า ๓ ปี 147
๑. ยอมรับและเขา้ ใจในลกั ษณะของความบกพร่องทีเ่ กิดข้ึนกบั เด็ก
๒. ใหค้ วามรกั และความสนใจในตัวเด็ก
๓. พัฒนาและชว่ ยเหลอื เด็กให้สามารถช่วยเหลอื ตนเองไดต้ ามศกั ยภาพของเด็ก
๔. ใช้เทคนิคการปรับพฤติกรรมที่เหมาะสมกับเด็กแต่ละราย ตลอดจนให้คำ�ชมเชยและช่ืนชมเมื่อเด็ก
มกี ารแสดงออกท่ีเหมาะสม เพ่อื ให้เด็กรู้สึกว่ามคี ุณคา่
๕. เน้นในสิ่งท่ีเด็กสามารถทำ�ได้ หรือยังไม่สามารถทำ�ได้อย่างสมบูรณ์ โดยไม่จัดกิจกรรมหรืองานท่ียาก
เกนิ ความสามารถของเดก็ เพอื่ เด็กจะได้ภมู ิใจในสิ่งทท่ี ำ� และประสบความส�ำ เร็จในงาน
๖. ช่วยเหลือเด็กอย่างต่อเนื่องสม่ําเสมอ มีการวางแผนการช่วยเหลือที่เหมาะสมกับวัย และระดับ
ความสามารถของเด็ก
๗. สนับสนุนและให้การช่วยเหลือเด็กเหมือนกับเด็กท่ัวๆ ไป ให้รู้จักช่วยเหลือตัวเองตามวัย ตามความ
สามารถ และข้อจำ�กัดของเด็ก เริ่มจากการดูแลรักษาความสะอาดร่างกาย การขับถ่าย การฝึกรับประทานอาหาร
และมารยาทสังคม
๘. เปิดโอกาสให้เด็กได้ทำ�ส่ิงต่างๆ ด้วยตนเอง ภายใต้การดูแล การให้กำ�ลังใจ และการสนับสนุนตาม
ความจำ�เป็นและเหมาะสม
๙. ฝึกให้เด็กรู้จักกับการมีระเบียบวินัย เช่น รู้จักการเข้าแถว การรอคอย การรู้จักกฎ กติกาในการเล่น
และอยรู่ ว่ มกนั กบั ผอู้ ืน่ ซง่ึ ถอื เป็นพ้ืนฐานในการที่เด็กจะไปอยใู่ นโรงเรียนและสงั คมเมือ่ เติบโตข้ึน
๑๐. รู้แหล่งท่ีจะให้บริการ ให้คำ�ปรึกษาและแนะนำ�ช่วยเหลือ รวมทั้งเข้าใจการประสานงานและทำ�งาน
ร่วมกับบคุ คลเหลา่ นั้น
๑๑. ควรก�ำ หนดเปา้ หมายในการชว่ ยเหลอื ให้ชัดเจน
๑๒. ทำ�งานประสานความร่วมมือกับนักวิชาชีพสาขาอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้อง และติดตามผลการช่วยเหลือ
เป็นระยะๆ เพื่อทำ�ให้เห็นภาพรวมของการช่วยเหลือและความก้าวหน้าของพัฒนาการและการเรียนรู้ ตลอดจน
ทิศทางทีว่ างไวว้ า่ มีการเปลยี่ นแปลงหรือไม่ จำ�เป็นต้องมีการปรับปรงุ เปลีย่ นแปลงแผนการช่วยเหลอื หรอื ไม่
๑๓. จดั สภาพแวดลอ้ มของเด็กให้เอือ้ อ�ำ นวยตอ่ การเรยี นรู้อยา่ งเหมาะสม
๑๔. ควรมีข้อตกลงและแนวปฏิบัติกับเดก็ ใหช้ ดั เจน เพือ่ ทำ�ให้เดก็ เขา้ ใจและเรียนรูไ้ ด้งา่ ยข้นึ
การติดตามพฒั นาการของกลมุ่ เป้าหมายเฉพาะ สำ�หรับเด็กอายตุ ่ํากวา่ ๓ ปี
พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูเป็นบุคคลที่สำ�คัญต่อการเล้ียงดูและให้ความช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
โดยพ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูจะต้องให้การยอมรับ และทำ�ความเข้าใจในข้อบกพร่องของเด็ก พยายามช่วยเหลือเด็กให้มี
พัฒนาการและการเรียนรู้เต็มตามศักยภาพของเด็กเอง ดังน้ัน พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูจึงมีวิธีการในการติดตามผล
การพัฒนาการของเด็กเป็นระยะ โดยการสังเกตพฤติกรรมที่เกิดข้ึนของเด็กตามช่วงวัย และเปรียบเทียบกับช่วงวัย
ของเด็กทั่วไปท่ีควรจะทำ�ได้ ทำ�ให้สามารถสังเกตพฤติกรรมได้ง่ายข้ึน หากพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูได้สังเกตพัฒนาการ
และบันทึกพัฒนาการของลูก จะพบว่าเด็กมีพัฒนาการเปล่ียนแปลงไปจากเดิมหรือไม่ และเด็กมีพัฒนาการ
อยใู่ นช่วงวัยใด ซงึ่ จะสามารถจดั กจิ กรรมสง่ เสริมพฒั นาการใหก้ บั เด็กได้อยา่ งเหมาะสมต่อไปได้
148 คมู่ ือหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรบั เด็กอายตุ าํ่ กวา่ ๓ ปี
บทที่ ๙
การเช่อื มตอ่ การพัฒนาเด็กปฐมวัย
การเชื่อมต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัยมีความสำ�คัญยิ่ง และการเชื่อมต่อน้ีต้องได้รับความร่วมมือร่วมใจจาก
ทกุ ฝา่ ยท่ีเก่ียวขอ้ งกับการพฒั นาเด็ก ในบทน้ีจะกล่าวถงึ การเชอ่ื มต่อ ๒ ระยะ ประกอบด้วย
๑. การเช่ือมตอ่ การอบรมเล้ียงดขู องพอ่ แม่ ผ้เู ลยี้ งดกู ับสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย
๒. การเช่ือมต่อสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแรกเกดิ ถงึ ๓ ปี กับสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย อายุ ๓ - ๖ ปี
การเชื่อมต่อการพัฒนาเด็กมีความสำ�คัญ เนื่องจากการพัฒนาต้องมีความต่อเน่ือง และพัฒนาการของ
เด็กวัยน้ียังไม่เอื้อต่อการยอมรับการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึน ในขณะเดียวกันพัฒนาการของเด็กวัยน้ีขึ้นอยู่กับ
การปรับตัวให้ทันกับสิ่งแวดล้อม และเรียนรู้พฤติกรรมทางสังคมท่ีเหมาะสม เพื่อเตรียมความพร้อมอยู่ ณ สังคม
ทก่ี ว้างข้นึ ดังนน้ั เด็กจ�ำ เปน็ ตอ้ งเรยี นรแู้ ละปรบั ตวั การปรบั ตวั ของเดก็ ในรอยเช่อื มตอ่ จำ�เปน็ ต้องไดร้ ับการสนับสนุน
การช่วยเหลือจากบุคลากรท่ีเกี่ยวข้อง การเชื่อมต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัยจึงประกอบด้วยบทบาทที่สำ�คัญของพ่อแม่
หรอื ผเู้ ลี้ยงดแู ละบุคลากรในสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั
บทบาทพอ่ แม่และผ้เู ลีย้ งดู
พอ่ แมแ่ ละผู้เล้ยี งดู มบี ทบาทส�ำ คญั ในการเชือ่ มตอ่ การพัฒนาเด็กปฐมวัย ดงั นี้
๑. เป็นแบบอย่างท่ีดีของเด็กในการใช้ชีวิตครอบครัวอย่างอบอุ่น มั่นคง มีการส่ือสารทางบวกระหว่าง
สมาชิกในครอบครัว มีการปฏิบัติต่อกันด้วยความรัก ความเอื้ออาทร และการช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน มีการใช้
เหตุผลในการแกป้ ญั หาต่างๆ และมคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรมในการด�ำ เนนิ ชวี ติ รวมถงึ การปฏิบตั ติ นในด้านตา่ งๆ
๒. มีความพร้อมในการให้ข้อมูลพื้นฐานของเด็ก โดยให้รายละเอียดตามผลการบันทึกในสมุดบันทึก
สุขภาพแม่และเด็กของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข หรือของหน่วยงานอ่ืน ตลอดจนรายละเอียดและ
ขอ้ มลู ต่างๆ ของเดก็ ทีพ่ ่อแม่ ผูเ้ ล้ยี งดู ได้รวบรวมและบันทกึ ไว้ด้วยวิธกี ารตา่ งๆ
๓. พิจารณาเลือกสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพ โดยอาจพาไปดูสถานท่ีจริง สังเกตการจัด
สภาพแวดล้อมทเ่ี หมาะสมกับเด็ก ตลอดจนสอบถามรายละเอยี ด วธิ กี ารพัฒนาเดก็ ต่างๆ
๔. ตระหนักถึงความสำ�คัญท่ีจะร่วมมือกับสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยในการส่งเสริมพัฒนาการและ
การเรียนรู้ของเด็กตามวยั
คมู่ อื หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเดก็ อายตุ ํ่ากว่า ๓ ปี 149
๕. ให้ความร่วมมือปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย เลี้ยงดูเด็กด้วยการให้ความรัก
ความอบอนุ่ ความเออ้ื อาทร ความปลอดภยั และสง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ มอี สิ ระในการท�ำ สง่ิ ตา่ งๆ ดว้ ยตนเอง ตลอดจนสง่ เสรมิ
ใหเ้ ด็กมจี นิ ตนาการและความคิดรเิ รม่ิ สร้างสรรค์
๖. ประสานความร่วมมือระหว่างบ้านและสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยในการพัฒนาเด็กไปในทิศทางเดียวกัน
ในขณะเดยี วกนั กใ็ ห้ความรว่ มมือกับครู เพราะเวลาทีเ่ ดก็ มปี ัญหาหรอื อาจจะเกดิ ปญั หาเพียงเลก็ นอ้ ย หากผู้ปกครอง
และครไู ดร้ ่วมกนั วิเคราะหห์ าสาเหตุและชว่ ยกันแกไ้ ขต้งั แตต่ น้ กจ็ ะสามารถแก้ปัญหาไปไดด้ ้วยดี
๗. สร้างความคุ้นเคยระหว่างเด็กกับสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ก่อนท่ีจะให้เด็กรับการอบรมเลี้ยงดู
ในสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั โดยอาจจะเลา่ ถงึ สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ใหเ้ ดก็ ฟงั บอ่ ยๆ หรอื อาจจะพาไปสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั
เพื่อทำ�ความคุ้นเคยก่อนพาเด็กไปสัมผัสห้องเรียนจริงๆ พาเด็กไปร่วมกิจกรรมของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
ก่อนจะเข้ารับการอบรมเลี้ยงดู เพื่อที่เด็กๆ จะได้ทำ�ความคุ้นเคยและเล่นด้วยกันก่อน เด็กจะได้มีเพ่ือนท่ีคุ้นหน้า
ในวนั ทเ่ี ขา้ รับการอบรมเล้ยี งดใู นสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
ท้งั นี้ พ่อแมห่ รอื ผเู้ ลี้ยงดูจะสามารถเตรยี มให้เด็กพร้อมที่สดุ เพ่ือให้ชีวติ ในสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ของเด็ก
เร่มิ ต้นอย่างราบร่ืนและมีความสุข ออกสูโ่ ลกกว้างไดอ้ ยา่ งม่ันใจ เป็นคนดี เกง่ และมคี วามสขุ ได้ดงั นี้
๑. ส่งเสริมให้เด็กฝึกปฏิบัติการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจำ�วัน หรือฝึกให้เด็กช่วยเหลือตัวเองได้
ซึ่งเป็นเรื่องสำ�คัญ เม่ือเด็กเข้าไปอยู่ในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ถือว่าเป็นสังคมใหม่ที่ไม่มีคนมาดูแลใกล้ชิดเหมือน
อยู่ที่บ้าน เด็กที่ช่วยเหลือตนเองได้ดีจะสามารถปรับตัวได้ดี เช่น การรับประทานอาหารได้ด้วยตนเอง การบอก
ความต้องการของตนเอง การแต่งกาย การฝึกให้เด็กรู้จักช่วยเหลือตนเองได้น้ันควรฝึกให้สอดคล้องกับวัยและ
พัฒนาการ เด็กอายุ ๑ - ๒ ปี จะเร่ิมสนใจตักอาหารเข้าปากเองได้ พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูควรปล่อยให้เด็กลองทำ�เอง
อาจจะเลอะเทอะบา้ ง หรือฝึกให้ลูกร้จู กั พดู บอก เม่ือปวดปัสสาวะ ฝึกการขับถ่ายใหเ้ ปน็ เวลา การแตง่ ตัวใสเ่ ส้อื ผ้า
ติดกระดมุ ใส่รองเท้า ถอดรองเท้าเอง เปน็ ตน้
๒. ส่งเสริมให้เด็กเช่ือม่ันในตนเอง ด้วยการเปิดโอกาสให้เด็กได้ทำ�อะไรด้วยตนเอง ตลอดจนเตรียมเด็ก
ให้มั่นใจในตนเอง มั่นใจในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย เช่น ควรบอกเด็กว่าตอนเช้าจะมาส่งและตอนเย็นจะกลับมารับ
ไม่ได้ท้ิงไปไหน โดยวันแรกของการไปสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูควรไปรับและส่งลูกด้วยตนเอง
ทั้งนี้ หากสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยมีนโยบายให้ผูป้ กครองอยูด่ ว้ ยกับเดก็ ในชว่ งแรกของการไปสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั
เช่น ชว่ ง ๓ วนั แรก หรอื นโยบายการปรบั ตวั แบบค่อยเป็นค่อยไป โดยวันแรกอยูส่ ถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั เพียงครึง่ วนั
ก็จะช่วยให้การปรับตัวของเด็กประสบความสำ�เร็จได้ นอกจากน้ันควรพูดถึงสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยในแง่บวก และ
แสดงใหเ้ ดก็ รวู้ ่าการที่เดก็ ไปสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั เป็นสงิ่ ทพี่ ่อแมแ่ ละผเู้ ล้ยี งดภู ูมใิ จ
๓. สง่ เสริมใหเ้ ด็กรู้จักฟัง เรียบเรยี งความคิด ฝกึ การใชภ้ าษาด้วยการถามให้เด็กแสดงความคดิ เหน็ พูดถึง
เรื่องราวหรือแสดงท่าทางตามท่ีเด็กเข้าใจ หลังจากท่ีเด็กได้พบกับเหตุการณ์ต่างๆ หรือจากท่ีพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดู
เล่านิทานใหฟ้ ัง ตลอดจนฝึกให้เดก็ ร้จู กั บอกความต้องการของตนเองได้ โดยเร่มิ ตน้ ฝึกง่ายๆ ดว้ ยการใหเ้ ดก็ สามารถ
พดู ไดว้ า่ ตอ้ งการหรือไมต่ ้องการอะไร ชอบหรอื ไมช่ อบอะไร
๔. ส่งเสริมให้เด็กมีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง ด้วยการดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิด ด้วยความรักและเข้าใจ
ซง่ึ จะทำ�ใหเ้ ด็กมีโอกาสโต้ตอบ สรา้ งความคนุ้ เคย ท�ำ ให้เกดิ ความรัก ความผกู พนั และรู้สกึ ได้รับความรัก
150 ค่มู อื หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเดก็ อายตุ ่าํ กว่า ๓ ปี
๕. ส่งเสริมให้เด็กรู้สึกสนุก มีความสุขกับการกระทำ�ส่ิงท่ีสร้างสรรค์ ด้วยการเปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรู้
เล่น และฝึกทำ�ส่ิงต่างๆ ในสภาพแวดล้อมที่เป็นมิตรและปลอดภัย การให้เด็กมีโอกาสได้เล่น ช่วยกระตุ้นประสาท
สัมผัสท้ังห้า ท้ังการรับภาพ การได้ยินเสียง การได้กล่ิน การรับรส และการสัมผัสทางร่างกาย ตลอดจนยังช่วยให้
กลา้ มเนือ้ ทำ�งานไดด้ ี ทำ�ให้เดก็ รจู้ กั อดทน รอคอย ท�ำ ใหเ้ ดก็ มีสมาธดิ ขี ้ึน และสง่ เสรมิ การเขา้ สงั คมด้วย
๖. ส่งเสริมให้เด็กเป็นผู้ที่มีความเป็นมิตร และเป็นท่ียอมรับในสังคมได้ง่ายด้วยการยิ้มแย้มสัมผัสเด็ก
อยา่ งออ่ นโยน คอยสังเกตการแสดงออกของเดก็ สนใจท่ีจะตอบค�ำ ถามและเล่าเรอ่ื งต่างๆ ทีเ่ หมาะสมกบั เดก็ เพ่ือให้
เด็กเรยี นร้ภู าษาได้เร็วและมีกำ�ลงั ใจใฝ่ร้ใู ฝเ่ รยี น
๗. ส่งเสริมให้เด็กมีจิตใจม่ันคงไม่สับสนด้วยการอบรมเลี้ยงดูด้วยความรัก ความเมตตา เป็นแบบอย่าง
ที่ดีงามในการใช้เหตุผลอย่างเสมอต้นเสมอปลาย ฝึกให้เป็นคนรู้จักคิด มีนํ้าใจและคุณธรรม หลีกเลี่ยงการทำ�โทษ
รุนแรงหรือละเลยทอดทิ้งเด็ก ใช้เวลาอย่างมีคุณภาพอยู่กับเด็ก ให้ความสนใจต่อกัน ปฏิบัติต่อกันด้วยความรัก
ความเข้าใจ
๘. สง่ เสริมใหเ้ ปน็ เด็กใฝร่ ู้ กล้าแสดงความคดิ เห็นและความรสู้ กึ อย่างเหมาะสมตามกาลเทศะ ด้วยการให้
ความสนใจในส่ิงที่เดก็ ก�ำ ลงั ท�ำ ตอบคำ�ถามของเด็ก ฝกึ ให้เดก็ สงั เกตสิ่งตา่ งๆ รอบตวั ใหโ้ อกาสท่ีจะแสดงความรสู้ กึ
นกึ คดิ ของตนเองอย่างเตม็ ท่ี เปิดโอกาสให้ลองผิดลองถกู ในโอกาสทไ่ี ม่เสยี หายและเปน็ อนั ตราย
๙. ส่งเสริมให้เด็กเกิดแรงจูงใจที่จะทำ�ส่ิงท่ีดีๆ ด้วยการให้ความสนใจ ชมเชยหรือให้รางวัลตามสมควร
ทันทีที่เด็กมีพฤติกรรมที่พึงปรารถนา เช่น ไหว้ผู้ใหญ่ เล่นกับน้อง ช่วยหยิบของ พูดเพราะ รับฟัง และปฏิบัติตาม
คำ�แนะนำ� นอกจากน้ันพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูต้องฝึกให้เด็กได้ดูแลตนเองได้เหมาะสมกับวัย เพราะการที่เด็กดูแล
ตนเองได้ เด็กจะรู้สึกว่าพึ่งตนเองได้ นำ�ไปสู่ความรู้สึกที่ม่ันคงและเป็นสุข และในระหว่างการฝึกพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดู
ควรให้คำ�ชมเชย ใหก้ �ำ ลงั ใจ
๑๐. ส่งเสริมการใช้ภาษาของเด็กด้วยการพูดคุยกับเด็กด้วยภาษาที่ฟังเข้าใจง่ายและชัดเจน ด้วยท่าทาง
ที่เปน็ มิตร อาจใช้การเล่านทิ าน อ่านหนังสือใหฟ้ งั เล่าเหตกุ ารณท์ ่ีเกิดข้ึนให้ฟัง
การเตรียมเด็กอายุตํ่ากว่า ๓ ปี ให้พร้อมท่ีจะเข้าสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย อายุ ๓ ปี พร้อมท่ีจะเข้า
สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั หรอื ไปรบั บรกิ ารจากสถานทท่ี รี่ บั เลยี้ งเดก็ ปฐมวยั เชน่ ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดู
สามารถช่วยเตรียมความพร้อมให้เด็กท่ีจะไปเรียนรู้โลกกว้างได้ ด้วยการสร้างทัศนคติท่ีดีต่อสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
ด้วยการเล่าเร่ืองเก่ียวกับสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยให้ฟัง พาไปรู้จักกับสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ให้เด็กๆ ไปอยู่ใน
สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั กอ่ นทจี่ ะเข้าเรยี น ไปเลน่ เครอื่ งเลน่ หรอื ชวนเดก็ ฝกึ ซอ้ มบทบาทสมมตใิ นสถานการณต์ า่ งๆ เชน่
พาไปที่สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และบอกเด็กว่าตอนเย็นพ่อกับแม่จะมารับตรงจุดน้ี หรือสร้างสถานการณ์ว่ามีคน
อ้างว่าให้พ่อแม่มารับหรือสถานการณ์ท่ีเด็กได้รับบาดเจ็บจากการเล่นว่าเด็กควรจะทำ�อย่างไร เพ่ือให้มั่นใจว่าเด็ก
ดูแลตนเองในเบ้ืองต้นได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ควรสร้างทัศนคติที่ดีต่อผู้เลี้ยงดูเด็ก ด้วยการพูดคุยกับเด็ก
ถ้าเป็นไปไดค้ วรท�ำ ความคุ้นเคยรจู้ ักกบั ผูเ้ ลี้ยงดเู ดก็ ก่อนพาเด็กไปดูการจดั กจิ กรรมในสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั
คู่มอื หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เด็กอายุต่าํ กวา่ ๓ ปี 151
บทบาทบุคลากรในสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั
บุคลากรในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยทุกคนมีความสำ�คัญในการช่วยเหลือการปรับตัวของเด็กในระยะ
เช่ือมต่อ โดยมีบทบาท ดงั น้ี
๑. บุคลากรทุกคนในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยต้องตระหนักในเร่ืองการกลัวการพลัดพรากว่าเป็น
เร่ืองปกติ การสร้างบรรยากาศของความรัก ความอบอุ่น ความไว้วางใจ มีความเมตตาต่อเด็กจะช่วยส่งเสริม
ใหเ้ ด็กมีความไว้วางใจผู้อืน่ อนั เปน็ พืน้ ฐานสำ�คัญของการพัฒนาบุคลิกภาพ
๒. รวบรวมข้อมูลพ้ืนฐานของเด็ก ซ่ึงเป็นข้อมูลเก่ียวกับการเจริญเติบโตทางร่างกาย ข้อมูลด้าน
พัฒนาการเด็ก ขอ้ มลู สขุ ภาพและประวัตกิ ารเจบ็ ป่วย ตลอดจนข้อมลู พ้นื ฐานสว่ นตวั ของเด็กและครอบครวั
๓. บุคลากรทุกคนในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยควรมีการปฏิบัติต่อเด็กอย่างอ่อนโยน เช่น สัมผัสโอบกอด
สบตา ใช้คำ�พูดที่ไพเราะ ตลอดจนเป็นแบบอย่างท่ีดีให้กับเด็ก เช่น ใช้ภาษาท่ีสร้างสรรค์ มีกิริยามารยาทสุภาพ
ใชเ้ หตผุ ลมากกวา่ อารมณ์
๔. จัดกจิ กรรมส่งเสรมิ ให้เดก็ เกิดความคุ้นเคยกับสงิ่ แวดลอ้ มใหม่ ผเู้ ล้ียงดูคนใหม่ และสง่ เสริมการเรยี นรู้
ให้โอกาสเดก็ ได้ท�ำ กิจกรรมด้วยตนเอง จดั เตรยี มของเลน่ และสือ่ เพือ่ การเลน่ สง่ิ ใหมๆ่ ทดลองส่งิ ใหม่ๆ ในท่ปี ลอดภัย
ตามล�ำ พังบา้ ง แต่สามารถสังเกตเห็นเดก็ ได้ ในระยะแรกอาจยนิ ยอมให้เดก็ นำ�สงิ่ ของท่ีเดก็ รกั จากบา้ นมาได้
๕. ประสานความรว่ มมอื ด้วยการส่อื สารสองทาง เพือ่ ใหพ้ อ่ แม่ ผู้เลย้ี งดูรบั รู้และเข้าใจกระบวนการอบรม
เลีย้ งดู และการจดั ประสบการณ์การเรยี นรทู้ ่สี ถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยจัดให้
ทงั้ น้ี แนวปฏิบตั ทิ บี่ คุ ลากรในสถานพฒั นาเด็กปฐมวัยทกุ คนต้องช่วยเหลอื ดแู ล และปฏิบตั ติ อ่ เด็กเพือ่ ให้
เดก็ เกิดความรู้สกึ อบอุ่น มน่ั ใจ และมีความสุข คลายความกงั วลใจกับสถานท่ีใหม่ๆ ดังนี้
๑. สร้างบรรยากาศทางอารมณ์และสังคม การสร้างบรรยากาศทางอารมณ์และสังคมมีผลต่อเด็ก
ปฐมวัยมาก บรรยากาศในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่ดีจะเป็นจุดเร่ิมต้นของพัฒนาการทางการเรียนรู้ของเด็ก วิธีการ
ท่สี �ำ คญั ทสี่ ุด คือ
๑.๑ ใหค้ วามรกั และการเหน็ คณุ คา่ ในตวั เดก็ บคุ ลากรในสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ควรแสดงความจรงิ ใจ
สือ่ สาร (บอกกลา่ ว) กับเดก็ อย่างเปิดเผย ชดั เจน ตลอดจนมคี วามเขา้ ใจเดก็ และไวต่อความร้สู กึ ของเดก็
๑.๒ จดั ใหเ้ ดก็ รสู้ กึ สขุ สบายและปลอดภยั รสู้ กึ อสิ ระในการแสดงออกตอ่ ครแู ละผอู้ นื่ มอี สิ ระในการเลน่
และทำ�กิจกรรม ให้เวลาแก่เด็กและรับฟังเด็กด้วยความต้ังใจ
๑.๓ แสดงอาการยอมรับ ชน่ื ชมในตวั เด็ก พดู คุยกบั เดก็ อย่างเปน็ กันเอง สภุ าพออ่ นโยน และปฏบิ ตั ิ
ต่อเดก็ อยา่ งเทา่ เทยี มกนั ตลอดจนคาดหวงั พฤตกิ รรมทพ่ี ัฒนาไปตามวัยอยา่ งเหมาะสม
๑.๔ สร้างบรรยากาศในห้องเรียนให้อบอุ่นเป็นกันเอง มีความสนุกสนาน ผ่อนคลาย และเปิดโอกาส
ใหเ้ ด็กได้แสดงออกตา่ งๆ ด้วยการพูดและแสดงความรู้สึก
๒. สร้างปฏิสัมพันธ์ที่สร้างสรรค์ ซึ่งเป็นปฏิสัมพันธ์เชิงบวกที่นำ�มาใช้เพ่ือส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
โดยองค์รวม เพอื่ ให้เด็กได้รับการพัฒนาท้งั ทางร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม และสติปญั ญา ปฏิสมั พันธ์สร้างสรรค์
ประกอบด้วย การใช้ปฏิสัมพันธ์ในเชิงบวกทั้งการสบสายตา การพูดจาอย่างสร้างสรรค์ และการสัมผัสด้วยความรัก
และอบอุ่น จะทำ�ให้เกิดบรรยากาศท่ีประทับใจ เด็กมีความมั่นใจและภาคภูมิใจในตนเอง นำ�ไปสู่การพัฒนาเด็ก
ในดา้ นตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งมัน่ คงและยืนยาว
152 คมู่ ือหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเด็กอายตุ ํา่ กวา่ ๓ ปี
๒.๑ การสบสายตา เป็นภาษาท่าทางท่ีส่ือความหมายได้ดี บุคลากรในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยมอง
และสบสายตากับเด็กจะทำ�ให้เด็กรู้ได้ถึงความรัก ความเมตตา และความอบอุ่น และได้รับกำ�ลังใจอย่างดี ทำ�ให้
เด็กม่ันใจในการทำ�สิ่งต่างๆ ได้ด้วยตนเอง บางคร้ังการสบสายตากับเด็กจะทำ�ให้เห็นและเรียนรู้เด็กได้หลายเร่ือง
เช่น รูว้ ่าเด็กมีสุขภาพดี หรือเจ็บป่วยหรอื ไม่ เดก็ ร้สู ึกอย่างไร จะท�ำ ให้บุคลากรในสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยตอบสนอง
เดก็ ได้ตรงกับสภาพท่เี ด็กก�ำ ลังประสบอยู่
๒.๒ วาจาสร้างสรรค์ การเลือกใช้คำ�พูดท่ีเหมาะสมและสร้างสรรค์หรือการพูดในเชิงบวกจะส่งผล
ต่อพัฒนาการโดยรวมของเด็ก โดยเฉพาะบุคลิกภาพภายใน ได้แก่ ความเชื่อมั่นในตนเอง ความสุภาพเรียบร้อย
ความมีวนิ ัย การจัดการและควบคมุ อารมณใ์ หส้ อดคล้องกับสถานการณ์
๒.๓ การสัมผสั ที่อบอนุ่ การสัมผสั ดว้ ยการโอบกอด การสัมผัสเดก็ อยา่ งเหมาะสมจะเปน็ ภมู ิคมุ้ กนั ที่ดี
ทำ�ให้เด็กมีพฤติกรรมท่ีดีด้วย เด็กจะรู้สึกถึงความอบอุ่น และการส่ือสารความรัก ความปรารถนาดีที่มีให้ได้อย่าง
มน่ั คง การกอดเด็กด้วยความนุ่มนวลจึงถือเปน็ วธิ เี สริมสร้างความมั่นใจและความร้สู กึ ปลอดภยั ให้กบั เด็ก
กล่าวโดยสรุป การเช่ือมต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัยสำ�หรับเด็กอายุตํ่ากว่า ๓ ปี เป็นความรับผิดชอบของ
ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ด้วยการประสานพลังความเข้าใจและการปฏิบัติที่ถูกต้องเพ่ือบรรลุเป้าหมายการพัฒนาเด็ก
โดยพ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูต้องมีบทบาทสำ�คัญในการเป็นแบบอย่างท่ีดี มีความพร้อมในการให้ข้อมูลพ้ืนฐานแก่เด็ก
พิจารณาเร่ืองสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยท่ีผ่านเกณฑ์ ตระหนักถึงความสำ�คัญท่ีจะร่วมมือ ร่วมปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�
ของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย เพื่อให้การพัฒนาเด็กเป็นไปในทิศทางเดียวกัน นอกจากน้ันพ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูต้องเตรียม
ให้เด็กพร้อมก่อนเข้าสู่สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โดยฝึกปฏิบัติการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจำ�วัน ส่งเสริมให้เด็ก
เชอ่ื มัน่ ในตนเอง ส่งเสริมให้เดก็ รู้จกั ฟงั เรยี บเรยี งความคดิ ส่งเสริมให้เดก็ รู้สึกดตี ่อตนเอง มีความรู้สกึ กบั การกระทำ�
ที่สร้างสรรค์ มีความเปน็ มติ ร มจี ิตใจทม่ี นั่ คง ตลอดจนกลา้ แสดงความคิดเหน็ รวมทงั้ ส่งเสริมการใช้ภาษาในการพูด
ตลอดจนบทบาทของบุคลากรในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยทุกคนต้องช่วยเหลือในการปรับตัวของเด็กในระยะเช่ือมต่อ
ด้วยการสร้างบรรยากาศทางสังคมและอารมณ์ และการสรา้ งปฏิสัมพนั ธท์ ่สี ร้างสรรค์ เพ่อื ใหเ้ ดก็ เกดิ ความรสู้ ึกอบอนุ่
มน่ั ใจ และมคี วามสุข คลายกังวลใจกับสถานท่ีใหม่
คมู่ อื หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเดก็ อายุตา่ํ กว่า ๓ ปี 153
บรรณานุกรม
การพฒั นาชมุ ชน, กรม, กระทรวงมหาดไทยและสถาบนั แหง่ ชาตเิ พอื่ พฒั นาเดก็ และครอบครวั . แนวทางการด�ำ เนนิ งาน
โครงการพัฒนาครอบครวั . มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล, ๒๕๓๙.
กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ, ศุภมิตร ชุณห์สุทธิวัฒน์ และพอพิศ วรินทร์เสถียร. การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ในประเทศไทย. ใน: โอฬาร พรหมาลิขติ , อจั ฉรา ตงั้ สถาพรพงษ์ และอษุ า ทสิ ยากร. บรรณาธกิ าร. วคั ซนี .
กรงุ เทพมหานคร: นพชยั การพมิ พ์; ๒๕๕๔: หนา้ ๗๙๕ - ๘๑๑.
กลุ ยา ตันตผิ ลาชีวะ. รายงานการวิจัยเรอ่ื ง บทบาทของครปู ฐมวยั ในทศวรรษหนา้ (๒๕๔๑ - ๒๕๕๐). วารสาร
การศกึ ษาปฐมวยั ปที ี่ ๑ ฉบับที่ ๓ กรกฎาคม, ๒๕๔๐.
คณะกรรมการการศึกษาเอกชน, สำ�นักงาน. เอกสารประกอบคำ�บรรยายหลักสูตรการอบรมผู้บริหารและครู
โรงเรยี นอนุบาลเอกชน. กรงุ เทพมหานคร: ครุ ุสภาลาดพร้าว, ๒๕๓๖.
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สำ�นักงาน. ขั้นตอนการพัฒนาของเด็กปฐมวัยตั้งแต่ปฏิสนธิถึง ๕ ปี.
กรุงเทพมหานคร: ครุ ุสภาลาดพรา้ ว, ๒๕๔๓.
คณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาต,ิ ส�ำ นกั งาน. หลกั การและขอ้ เสนอแนะการประเมนิ ผลเดก็ ปฐมวยั ของสหรฐั อเมรกิ า.
กรุงเทพมหานคร: ที พี พร้นิ ท์, ๒๕๔๒.
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สำ�นักงาน. มาตรฐานการเล้ียงดูเด็กอายุต่ํากว่า ๓ ปี. กรุงเทพมหานคร:
วฒั นาพานชิ , ๒๕๔๕.
คณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหง่ ชาต,ิ ส�ำ นกั งาน. คมู่ อื การจดั การศกึ ษาระดบั กอ่ นประถมศกึ ษา. กรงุ เทพมหานคร:
ศรีเมืองการพมิ พ์, ๒๕๓๒.
คณะกรรมการการประถมศกึ ษาแห่งชาต,ิ ส�ำ นกั งาน. คมู่ ือครปู ระกอบแผนการจดั ประสบการณ์ระดบั อนบุ าลศึกษา
ถามอย่างไรช่วยใหเ้ ดก็ …คดิ เป็น. กรุงเทพมหานคร: คุรสุ ภาลาดพร้าว, ๒๕๓๗.
จันท์ฑิตา พฤกษานานนท์, บานชื่น เบญจสุวรรณเทพ และพัฎ โรจน์มหามงคล. ปัญหาการกิน. ใน: ทิพวรรณ
หรรษคุณาชัย, รวิวรรณ รุ่งไพรวัลย์, ชาครียา ธีรเนตร, อดิศร์สุดา เฟ่ืองฟู, สุรีย์ลักษณ์ สุจริตพงศ์
และพงษ์ศักด์ิ น้อยพยัคฆ์. บรรณาธิการ. ตำ�ราพัฒนาการและพฤติกรรมเด็ก สำ�หรับเวชปฏิบัติทั่วไป.
กรงุ เทพมหานคร: บยี อนด์ เอน็ เทอร์ไพรซ์: ๒๕๕๔.
154 คูม่ อื หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เดก็ อายุตํ่ากวา่ ๓ ปี
จิตตินันท์ เดชะคุปต์. การเล่น นิทาน และเพลงสำ�หรับเด็กปฐมวัย. เอกสารประกอบการดำ�เนินงานมุมส่งเสริม
โภชนาการและพฒั นาการเด็กปฐมวยั , ส�ำ นกั ส่งเสริมสุขภาพและกรมอนามัย, ๒๕๔๔.
ฉันทนา ภาคบงกช. เอกสารประกอบการศึกษาวิชา ปว.๕๔๑ การศึกษาสำ�หรับผู้ปกครอง. กรุงเทพมหานคร:
มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมิตร, ๒๕๓๑, อัดสำ�เนา.
ทศิ นา แขมมณี และคณะ. หลกั การและรปู แบบการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามวถิ ชี วี ติ ไทย. โครงการเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั
ฝ่ายวิจัย, จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, ๒๕๓๕.
เทอดพงศ์ เต็มภาคย.์ การดูแลแผลเบ้ืองตน้ . ใน: สา่ หรี จิตตนิ นั ท์, นวลจันทร์ ปราบพาล, สชุ รี า ฉัตรเพริดพราย,
เทอดพงศ์ เต็มภาคย์, ฉันท์สุดา พงศ์พันธ์ุผู้ภักดี และอรภา สุธีร์โรจน์ตระกูล. บรรณาธิการ. คู่มือดูแล
และส่งเสริมสุขภาพเด็กในโรงเรียน. โครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อส่งเสริม
สุขภาพเด็ก; ๒๕๕๘: ๑๐๖ - ๑๐๙.
เทอดพงศ์ เต็มภาคย์. แผลไฟไหม้ นาํ้ ร้อนลวก. ใน: สา่ หรี จติ ตินันท์, นวลจนั ทร์ ปราบพาล, สชุ ีรา ฉตั รเพรดิ พราย,
เทอดพงศ์ เต็มภาคย์, ฉันท์สุดา พงศ์พันธุ์ผู้ภักดี และอรภา สุธีร์โรจน์ตระกูล. บรรณาธิการ. คู่มือดูแล
และส่งเสริมสุขภาพเด็กในโรงเรียน. โครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อส่งเสริม
สขุ ภาพเดก็ ; ๒๕๕๘: ๑๑๐ - ๑๑๒.
เทอดพงศ์ เต็มภาคย์. เลือดกำ�เดาไหล. ใน: ส่าหรี จิตตินันท์, นวลจันทร์ ปราบพาล, สุชีรา ฉัตรเพริดพราย,
เทอดพงศ์ เต็มภาคย์, ฉันท์สุดา พงศ์พันธ์ุผู้ภักดี และอรภา สุธีร์โรจน์ตระกูล. บรรณาธิการ. คู่มือดูแล
และส่งเสริมสุขภาพเด็กในโรงเรียน. โครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาเพ่ือส่งเสริม
สขุ ภาพเด็ก; ๒๕๕๘: ๑๑๓ - ๑๑๕.
นพวรรณ ศรีวงศ์พาณิช และอดิศร์สุดา เฟื่องฟู. ปัญหาพฤติกรรมท่ีพบบ่อยในเด็กปฐมวัยและการฝึกวินัย
เชิงบวก. ใน: ทิพวรรณ หรรษคุณาชัย, รวิวรรณ รุ่งไพรวัลย์, ชาครียา ธีรเนตร, อดิศร์สุดา เฟื่องฟู,
สุรีย์ลักษณ์ สุจริตพงศ์ และพงษ์ศักด์ิ น้อยพยัคฆ์. บรรณาธิการ. ตำ�ราพัฒนาการและพฤติกรรมเด็ก
สำ�หรบั เวชปฏิบตั ิทวั่ ไป. กรุงเทพมหานคร: บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ:์ ๒๕๕๔.
นติ ยา ประพฤติกจิ . การพัฒนาเด็กปฐมวัย. หนว่ ยศกึ ษานเิ ทศก์ กรมการฝึกหัดคร,ู ๒๕๓๖.
นิตยา คชภกั ดี. ป้องกนั ภยั ใหล้ ูกรัก (วธิ ปี ้องกนั ภยั ให้ลกู รกั วยั ๑ - ๓ ปี). เนสทเ์ ล่ โปรดักทส์ (ไทยแลนด์) อินด.์
นิตยา คชภกั ด.ี สโู่ ลกกวา้ งอย่างแข็งแรง (จิตวทิ ยาและสังคมของลูกรกั วัยแรกเกิด - ๓ เดอื น). เนสทเ์ ล่ โปรดกั ทส์
(ไทยแลนด)์ อนิ ด์.
นิตยา คชภักดี. สู่โลกกว้างอย่างแข็งแรง (จิตวิทยาและสังคมของลูกรักวัย ๓ - ๖ เดือน). เนสท์เล่ โปรดักท์ส
(ไทยแลนด)์ อนิ ด.์
คมู่ ือหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเด็กอายตุ ํา่ กวา่ ๓ ปี 155
นิตยา คชภักดี. สู่โลกกว้างอย่างแข็งแรง (จิตวิทยาและสังคมของลูกรักวัย ๑ - ๓ ปี). เนสท์เล่ โปรดักท์ส
(ไทยแลนด์) อนิ ด.์
นติ ยา คชภกั ด.ี เอกสารค�ำ แนะน�ำ การเลย้ี งดลู กู หลาน (อายุ ๖ - ๑๒ ป)ี . ภาควชิ ากมุ ารเวชศาสตร์ คณะแพทยศ์ าสตร์
โรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวิทยาลัยมหดิ ล.
นิตยา คชภักดี. เอกสารคำ�แนะนำ�การเล้ียงดูลูกหลาน (อายุ ๙ - ๑๒ เดือน). ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวทิ ยาลยั มหิดล.
นิตยา คชภักดี. เอกสารคำ�แนะนำ�การเลี้ยงดูลูกหลาน (อายุ ๑๒ - ๑๘ เดือน). ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
คณะแพทยศ์ าสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวทิ ยาลัยมหิดล.
นิตยา คชภักดี. เอกสารคำ�แนะนำ�การเลี้ยงดูลูกหลาน (อายุ ๑๘ - ๒๔ เดือน). ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
คณะแพทยศ์ าสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล.
นิตยา คชภกั ด.ี เอกสารค�ำ แนะน�ำ การเลย้ี งดูลกู หลาน (อายุ ๒ - ๓ ปี). ภาควชิ ากมุ ารเวชศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์
โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลยั มหดิ ล.
เบญจมาภรณ์ กรรณวัลลี แปลและเรยี บเรียง. คมู่ อื ตรวจสอบพฒั นาการของลกู น้อย. กรงุ เทพมหานคร: พมิ พส์ มิต,
๒๕๔๐.
ปยิ ะลักษณ์ สิมะ แสงยาภรณ์ แปลและเรียบเรยี ง. โลกของคนตวั เลก็ (เตบิ ใหญว่ ัยเยาว์ ๓ - ๖ ปี). กรุงเทพมหานคร:
พมิ พ์ดี, ๒๕๓๖.
ประมวญ คดิ คนิ สนั . บา้ นเดก็ การพฒั นาเดก็ ตามแบบมอนเตสซอรี่ นติ ยสารลกู รกั . กรงุ เทพมหานคร : อกั ษรสมั พนั ธ,์
๒๕๓๐.
พราวพรรณ เหลือสุวรรณ. ปฐมวัยศึกษา: กิจกรรมและสื่อการสอนเพื่อฝึกทักษะพัฒนาการและการเรียนรู้.
ส�ำ นกั พมิ พจ์ ุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย, ๒๕๓๗.
ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย. ขนมและอาหารว่างสำ�หรับเด็ก ๒ ปีขึ้นไป. วารสารกุมารเวชศาสตร์
๒๕๔๘; ๔ : ๕ - ๖.
วัฒนา ปญุ ญฤทธ.์ิ การจัดห้องเรียนกบั การพัฒนาคุณลักษณะเด็กปฐมวัย เพื่อชีวิตทส่ี ขุ อยา่ งพอเพียง. แหล่งทม่ี า
(ออนไลน์): http://www.poonyarit.com.2698.53/. ๒๕๕๒.
วิชาการ, กรม, กระทรวงศึกษาธิการ. แนวการจัดกิจกรรมและส่ือการเรียนการสอนระดับก่อนประถมศึกษา.
กรุงเทพมหานคร: คุรสุ ภาลาดพร้าว, ๒๕๓๙.
วิชาการ, กรม, กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. แนวการจดั ประสบการณ์ระดบั ก่อนประถมศกึ ษา. กรงุ เทพมหานคร: ครุ ุสภา
ลาดพรา้ ว, ๒๕๓๙.
156 คูม่ อื หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเดก็ อายตุ า่ํ กวา่ ๓ ปี
วิชาการ, กรม, กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔. กรุงเทพมหานคร:
ครุ สุ ภาลาดพร้าว, ๒๕๔๕.
วชิ าการ, กรม, กระทรวงศกึ ษาธิการ. หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๔๖. กรงุ เทพมหานคร: คุรสุ ภา
ลาดพร้าว, ๒๕๔๖.
วิชาการ, กรม, กระทรวงศึกษาธิการและสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว. คู่มือการอบรมเลี้ยงดู
เด็กแรกเกดิ - ๓ ป.ี กรงุ เทพมหานคร: ครุ ุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๓.
วิฐารณ บุญสิทธิ. ปัญหาพฤติกรรมท่ีพบบ่อยในเด็กวัย ๐ - ๕ ปี. ใน : จันท์ฑิตา พฤกษานานนท์, รัตโนทัย
พลบั รู้การ, พงษ์ศกั ดิ์ นอ้ ยพยคั ฆ์ และประสบศรี อ้งึ ถาวร. บรรณาธิการ. การบรหิ ารความเสี่ยงในการดูแล
สุขภาพเด็ก. กรงุ เทพมหานคร: ภาพพิมพ์: ๒๕๔๖.
วโิ รจน์ พงษ์พันธ์ุเลิศ และสาธดิ า พนู มากสถิตย์. ภาวะฉุกเฉนิ ในเด็ก : ท�ำ อย่างไรเมอ่ื เดก็ ชกั . ใน : สา่ หรี จติ ตินนั ท์,
นวลจนั ทร์ ปราบพาล, สุชรี า ฉัตรเพรดิ พราย, เทอดพงศ์ เต็มภาคย,์ ฉนั ท์สุดา พงศพ์ ันธผุ์ ูภ้ ักด,ี และอรภา
สุธีร์โรจน์ตระกูล. บรรณาธิการ. คู่มือดูแลและส่งเสริมสุขภาพเด็กในโรงเรียน. โครงการพัฒนาครู
และบคุ ลากรทางการศกึ ษาเพื่อสง่ เสรมิ สขุ ภาพเดก็ ; ๒๕๕๘ : ๑๑๘ - ๑๒๑.
ศึกษาธิการ, กระทรวง. หลักสูตรก่อนประถมศึกษา พุทธศักราช ๒๕๔๐. กรุงเทพมหานคร: คุรุสภาลาดพร้าว,
๒๕๔๐.
ศูนย์พัฒนาการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาและหน่วยศึกษานิเทศก์, สำ�นักงานการประถมศึกษาจังหวัด
สมุทรสงคราม. เอกสารการอบรมผู้บริหารและครูผู้สอนระดับก่อนประถมศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๓๗.
อดั สำ�เนา.
ศูนย์วิจัยมี้ด จอห์นสัน สหรัฐอเมริกา. การเจริญเติบโตและพัฒนาการของเจ้าตัวเล็ก. บริสตอล-ไมเยอร์ สควิบบ์
(ประเทศไทย).
ศูนยส์ ขุ ภาพจติ ท่ี ๔, กรมสขุ ภาพจติ . ค่มู อื ปฏบิ ัตงิ านบูรณาการพัฒนาการเด็กแรกเกิด - ๕ ป.ี ๒๕๕๐.
สถาบันราชานกุ ลู , กรมสขุ ภาพจติ . คูม่ อื การจัดกจิ กรรมส�ำ หรับพ่อแมเ่ ดก็ อายุ ๐ - ๕ ป.ี กรุงเทพมหานคร: บยี อนด์
พับลชิ ชิ่ง, ๒๕๕๒.
สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี, กรมการแพทย์. การเลี้ยงและพัฒนาเด็ก. กรุงเทพมหานคร: สถาบัน
สขุ ภาพเดก็ แห่งชาติมหาราชนิ ,ี ๒๕๓๙. อดั ส�ำ เนา.
สาธารณสขุ , กระทรวง. สมดุ บันทึกสขุ ภาพแมแ่ ละเด็ก. ๒๕๕๓.
สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. การวัดและประเมินเด็กแนวใหม่ : เด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาหลักสูตร
และการสอน สาขาการศึกษาปฐมวยั . คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ, ๒๕๔๗.
คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเด็กอายุตํา่ กวา่ ๓ ปี 157
ส�ำ นกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา, กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (๒๕๖๐). หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐.
กรุงเทพมหานคร: ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย.
ส�ำ นกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา,กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.(๒๕๔๙).คมู่ อื หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช๒๕๔๖.
กรงุ เทพมหานคร: ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สุชีรา ฉัตรเพริดพราย. การปฐมพยาบาลอาการทีพ่ บบ่อยเบอื้ งต้นและการปอ้ งกัน: หกลม้ . ใน: สา่ หรี จติ ตนิ นั ท,์
นวลจันทร์ ปราบพาล, สชุ รี า ฉัตรเพรดิ พราย, เทอดพงศ์ เตม็ ภาคย,์ ฉนั ท์สดุ า พงศ์พนั ธ์ุผู้ภกั ดี และอรภา
สุธีร์โรจน์ตระกูล. บรรณาธิการ. คู่มือดูแลและส่งเสริมสุขภาพเด็กในโรงเรียน. โครงการพัฒนาครู
และบคุ ลากรทางการศกึ ษาเพอื่ สง่ เสรมิ สขุ ภาพเดก็ ; ๒๕๕๘: ๑๐๓ - ๑๐๕.
สุรีย์ลักษณ์ สุจริตพงศ์. การกำ�กับดูแลสุขภาพเด็กสำ�หรับเด็กปฐมวัย. ใน: ทิพวรรณ หรรษคุณาชัย, รวิวรรณ
รุ่งไพรวัลย์, ชาครียา ธีรเนตร, อดิศร์สุดา เฟื่องฟู, สุรีย์ลักษณ์ สุจริตพงศ์ และพงษ์ศักดิ์ น้อยพยัคฆ์.
บรรณาธิการ. ตำ�ราพัฒนาการและพฤติกรรมเด็ก สำ�หรับเวชปฏิบัติทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: บียอนด์
เอ็นเทอรไ์ พรซ์: ๒๕๕๔.
สโุ ขทยั ธรรมาธิราช, มหาวทิ ยาลยั . ฝึกอบรมครูและผูเ้ กีย่ วข้องกับการอบรมเลยี้ งดูเด็กปฐมวัย หน่วยที่ ๖ - ๑๐.
กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พม์ หาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช, ๒๕๓๒.
สุโขทยั ธรรมาธิราช, มหาวทิ ยาลัย. พฤติกรรมการสอนปฐมวยั ศึกษา หนว่ ยท่ี ๖ - ๑๐. กรงุ เทพมหานคร: ส�ำ นัก
เทคโนโลยกี ารศึกษา มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช, ๒๕๓๔.
สโุ ขทยั ธรรมาธิราช, มหาวิทยาลยั . หลกั การและแนวคิดทางการปฐมวยั ศึกษา หน่วยที่ ๕ - ๘. กรงุ เทพมหานคร:
ส�ำ นักเทคโนโลยกี ารศึกษา มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช, ๒๕๓๗.
สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย. เอกสารการสอนชุดวิชาการประเมินและสร้างเสริมพฤติกรรมเด็กปฐมวัย.
กรุงเทพมหานคร: ส�ำ นกั เทคโนโลยีการศกึ ษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๕๗.
สุชา จันทนเ์ อม. จติ วทิ ยาพฒั นาการ. กรุงเทพมหานคร: ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๓๖.
อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์. ความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บในเด็กไทย. ใน: จันท์ฑิตา พฤกษานานนท์, รัตโนทัย
พลบั รกู้ าร, พงษศ์ กั ด์ิ นอ้ ยพยัคฆ์ และประสบศรี อง้ึ ถาวร. บรรณาธิการ. การบริหารความเส่ียงในการดูแล
สุขภาพเด็ก. กรงุ เทพมหานคร: ภาพพมิ พ์: ๒๕๔๖.
อนามยั , กรม, กระทรวงสาธารณสขุ . เอกสารคำ�แนะน�ำ การเล้ยี งดแู ละส่งเสรมิ พฒั นาการเด็กแรกเกดิ - ๑๒ เดือน.
กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พม์ หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๓๙.
158 คู่มือหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเด็กอายตุ ํ่ากว่า ๓ ปี
อนามยั , กรม, กระทรวงสาธารณสขุ . หลกั สตู รการอบรมผดู้ �ำ เนนิ การสถานรบั เลยี้ งและพฒั นาเดก็ (แรกเกดิ - ๓ ป)ี .
๒๕๔๑.
อนามัย, กรม, กระทรวงสาธารณสุข. การประเมินการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย. แหล่งท่ีมา (ออนไลน์):
http://www.ceediz.com/chonhub/community/.2561
Bredekamp, S. & Copple, C. Editors. Developmentally Appropiate Practice in Early Childhood
Programs. Revised Edition. NAEYC,: Washington D.C., 1997.
Charlesworth, Rosalind. Understanding Child Development. New York: Delmar 1996.
Cherry, Harkness, B. and Kuzma K. Nursery School & Day Care Center Management Guide.
2nd ed. Belmont California: David S. Lake, 1987.
Gullo, Dominic F. Understanding Assessment and Evaluation in Early Childhood Education.
New york: Teachers College Press. 1994.
Peterson, Evelyn A. Early Childhood planning, Methods and Materials. Boston: Allyn and
Bacon. 1996.
Sobut, Mary A., Complex Early Childhood Curriculum Resource; The Center for Applied
Research in Education, New York, 1991.
คู่มอื หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเดก็ อายตุ ํ่ากว่า ๓ ปี 159
ภาคผนวก
นิยามคำ�ศัพทค์ ูม่ อื หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐
สำ�หรับเดก็ อายุตาํ่ กวา่ ๓ ปี
ค�ำ ศัพท ์ ความหมาย
หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรท่ีใช้ในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยอายุแรกเกิดถึง
๖ ปีบริบรู ณ์ โดยมุ่งหวงั พัฒนาเดก็ ท้งั ด้านรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม
หลักสูตรสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั และสตปิ ญั ญา ตามท่ีกำ�หนดไว้ในคุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ส�ำ หรบั เด็ก
อายตุ ํา่ กว่า ๓ ปี และถอื เปน็ กรอบทศิ ทางหรอื แนวปฏิบตั ิส�ำ หรบั สถาน
ปรัชญาการศึกษาปฐมวัย พัฒนาเด็กปฐมวัย และหน่วยงานที่เก่ียวข้องใช้ในการจัดการศึกษา
วสิ ัยทัศน์ ปฐมวัย
หลักสูตรท่ีเกิดจากการท่ีสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยนำ�สภาพต่างๆ ท่ีเป็น
ปัญหา จดุ เด่น/เอกลกั ษณ์ของชุมชน สงั คม ศิลปวัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญา
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ท้องถ่ิน และคุณลักษณะที่พึงประสงค์เพ่ือการเป็นสมาชิกท่ีดีของ
คุณลกั ษณะ ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ มากำ�หนดเป็นปรัชญาการ
ศกึ ษาปฐมวยั วสิ ยั ทศั น์ ภารกจิ หรอื พนั ธกจิ เพอ่ื น�ำ ไปออกแบบหลกั สตู ร
สถานพัฒนาเด็กปฐมวยั อย่างมคี ณุ ภาพ โดยความรว่ มมอื ของทุกคนใน
สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั และชมุ ชน
อุดมการณ์ ความเชื่อ ความศรัทธาในความคิดทางการศึกษาปฐมวัย
ท่ีทำ�ให้สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับความคิด
นั้นๆ
ค�ำ อธบิ ายเกย่ี วกบั ความคาดหวงั ทเี่ ปน็ ไปไดข้ องสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั
กำ�หนดเพ่ือเป็นทิศทางในการวางแผนจัดการศึกษาปฐมวัย ออกแบบ
หลกั สตู ร การจัดประสบการณ์ และการดำ�เนนิ งานในการพฒั นาคุณภาพ
เดก็ ปฐมวยั ที่สามารถน�ำ ไปสูก่ ารปฏิบัตไิ ด้ตามเวลาที่ก�ำ หนด
คุณภาพท่ีต้องการให้เกิดขึ้นในตัวเด็กบนพ้ืนฐานพัฒนาการและ
ความสามารถตามธรรมชาติในแตล่ ะระดับอายุ
เป้าหมายในการพัฒนาเด็กที่มีความสัมพันธ์สอดคล้องกับคุณลักษณะ
ทพี่ ึงประสงค์ เป็นคณุ ลกั ษณะสำ�คัญรเพือ่ ตรวจสอบคุณภาพเด็ก
162 คมู่ อื หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเดก็ อายตุ ่ํากวา่ ๓ ปี
นิยามค�ำ ศพั ทค์ ่มู อื หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐
สำ�หรบั เดก็ อายุต่าํ กว่า ๓ ปี (ตอ่ )
ค�ำ ศพั ท์ ความหมาย
สภาพทีพ่ ึงประสงค์ พฤติกรรมหรือความสามารถตามวัยที่คาดหวังให้เด็กเกิด บนพื้นฐาน
เด็กปฐมวยั พัฒนาการตามวยั หรอื ความสามารถในแตล่ ะระดบั อาย ุ
สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั เดก็ ตงั้ แต่แรกเกดิ จนถึงอายุ ๖ ปีบริบูรณ์ ส�ำ หรับในคู่มือฉบบั นห้ี มายถึง
เด็กอายุต่ํากวา่ ๓ ปี
กลุ่มเปา้ หมายเฉพาะ ศนู ยเ์ ดก็ เลก็ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กก่อนเกณฑ์ของสถาบัน
ศาสนา ศูนย์บริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่มของเด็กพิการและเด็กซ่ึงมี
ความต้องการพิเศษ หรอื สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยทีเ่ รยี กชอ่ื อยา่ งอนื่
เดก็ ทีค่ วรได้รบั การดแู ล ชว่ ยเหลือ และให้การศกึ ษาท่ีสนองตอบสภาพ
ความแตกตา่ ง ความต้องการและความจ�ำ เป็น ได้แก่
การประเมินผลจากสภาพจรงิ - เดก็ ทมี่ คี วามบกพรอ่ งในดา้ นตา่ งๆ เชน่ ดา้ นรา่ งกาย สขุ ภาพ สตปิ ญั ญา
บรู ณาการ การไดย้ นิ การมองเหน็ การเรยี นรู้ การพดู และภาษา พฤตกิ รรมหรอื
อารมณ์ เปน็ ตน้
- เดก็ ทไ่ี มม่ ผี ดู้ แู ลหรอื ดอ้ ยโอกาส เชน่ เดก็ ก�ำ พรา้ เดก็ เรร่ อ่ น เดก็ ชาวเล
เด็กชนเผา่ เดก็ ไรส้ ัญชาติ เปน็ ตน้
- เดก็ ถกู ละเมดิ จากการถกู กระท�ำ ทางรา่ งกาย จิตใจ รวมทง้ั การละเมดิ
ทางเพศ เด็กท่ไี ดร้ บั ผลกระทบจากการตดิ เชอ้ื เอชไอวี
ใช้กระบวนการสังเกต การบันทึก การรวบรวมข้อมูลจากการปฏิบัติ
กิจกรรมประจ�ำ วนั ตามสภาพความเป็นจริง
รูปแบบการจัดกิจกรรมหนึ่งกิจกรรมท่ีเด็กเรียนรู้ได้หลายทักษะ และ
หลายประสบการณ์สำ�คญั หรอื หน่ึงแนวคิดเดก็ เรียนรูไ้ ด้หลายกจิ กรรม
คู่มอื หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเด็กอายตุ า่ํ กว่า ๓ ปี 163
นยิ ามคำ�ศพั ทค์ มู่ ือหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐
สำ�หรบั เด็กอายุตา่ํ กวา่ ๓ ปี (ตอ่ )
คำ�ศพั ท์ ความหมาย
ประสบการณ์ส�ำ คญั ชว่ ยอธบิ ายใหผ้ เู้ ล้ียงดเู ขา้ ใจว่าเด็กปฐมวยั ต้องท�ำ อะไร เรียนรสู้ ่ิงตา่ งๆ
รอบตัวอยา่ งไร ช่วยแนะผ้เู ลี้ยงดูในการสังเกต สนับสนนุ และวางแผน
การจัดกิจกรรมให้เดก็ ไดเ้ รยี นรู้ ลงมือปฏิบตั ิ ซงึ่ สง่ ผลใหเ้ ด็กเกดิ ความรู้
พฒั นาการ หรือทักษะท่ีส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม
และสติปญั ญา
พฒั นาเด็กโดยองคร์ วม การเปลี่ยนแปลงด้านการทำ�หน้าท่ีและวุฒิภาวะของอวัยวะและระบบ
ตา่ งๆ ท�ำ ใหส้ ามารถท�ำ หนา้ ทไี่ ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ ท�ำ สงิ่ ทยี่ าก
พฒั นาการดา้ นร่างกาย สลับซบั ซอ้ นมากข้ึน รวมถึงการเพม่ิ ทักษะใหม่ๆ และความสามารถใน
การปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมท่ีเป็นตัวบุคคลและสภาพแวดล้อม
ทางกายภาพในบรบิ ทต่างๆ
การพัฒนาเด็กอย่างสมดุลทุกด้าน ท้งั ด้านรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม
และสตปิ ัญญา
ความสามารถของรา่ งกายในการทรงตวั ในอริ ยิ าบถตา่ งๆ การเคลอ่ื นไหว
การเคล่อื นที่โดยการใช้กลา้ มเน้ือใหญ่ เช่น การน่งั ยืน เดนิ ว่ิง กระโดด
การใช้ประสาทสัมผัสรับรู้ และการใช้ตาและมือประสานกันในการ
ทำ�กิจกรรมต่างๆ เช่น การหยิบ การจับของ การขีดเขียน การปั้น
การประดิษฐ์ เป็นต้น ขอบข่ายพัฒนาการด้านร่างกาย ในหลักสูตร
การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ประกอบด้วย มีนํ้าหนัก ส่วนสูง
และเส้นรอบศีรษะตามเกณฑ์อายุ มีร่างกายแข็งแรง ใช้กล้ามเนื้อใหญ่
ได้เหมาะสมกับวยั และใช้กล้ามเนื้อเลก็ และประสานสมั พันธม์ ือ - ตาได้
เหมาะสมกับวยั
164 คู่มอื หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเด็กอายุตา่ํ กวา่ ๓ ปี
นิยามคำ�ศพั ทค์ ู่มอื หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐
สำ�หรบั เด็กอายุต่าํ กวา่ ๓ ปี (ตอ่ )
คำ�ศัพท์ ความหมาย
พัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ความสามารถในการรสู้ กึ และแสดงความรู้สกึ เช่น ดใี จ เสียใจ รกั ชอบ
โกรธ เกลยี ด กลวั และเปน็ สขุ ความสามารถในการแยกแยะ และควบคมุ
พัฒนาการดา้ นสังคม การแสดงออกของอารมณอ์ ยา่ งเหมาะสมเมอ่ื เผชญิ กบั สถานการณต์ า่ งๆ
ตลอดจนการสร้างความรสู้ กึ ทีด่ ตี อ่ ตนเองและผ้อู ื่น ขอบข่ายพัฒนาการ
ดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ในหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐
ประกอบด้วย ร่าเริงแจ่มใส แสดงออกทางอารมณ์ได้เหมาะสมกับวัย
สนใจและมีความสุขกับธรรมชาติ ส่ิงสวยงาม ดนตรีและจังหวะการ
เคลอื่ นไหว การปรับตวั เข้ากบั ส่ิงแวดล้อมใกลต้ ัวได้ และเล่น และรว่ ม
ทำ�กจิ กรรมกบั ผู้อ่นื ได้ตามวยั
ความสามารถในการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อ่ืน มีทักษะการปรับตัว
ในสังคม คือ สามารถทำ�หน้าท่ีตามบทบาทของตน ร่วมมือกับผู้อ่ืน
มคี วามรับผดิ ชอบ ความเปน็ ตวั ของตวั เอง และร้กู าลเทศะ สำ�หรับเดก็
หมายความรวมถงึ ความสามารถในการชว่ ยเหลอื ตวั เองในชวี ติ ประจ�ำ วนั
นอกจากน้ันพัฒนาการด้านสังคมยังเก่ียวข้องกับพัฒนาการด้านจิต
วิญญาณ คุณธรรม และเก่ียวข้องกับพัฒนาการด้านสติปัญญา ทำ�ให้
รจู้ กั แยกแยะความรสู้ กึ ผดิ ชอบชวั่ ดี และความสามารถในการเลอื กด�ำ รง
ชวี ติ ในทางสรา้ งสรรค์ เปน็ ประโยชนต์ อ่ สงั คมสว่ นรวมอกี ดว้ ย ขอบขา่ ย
พฒั นาการด้านสงั คมในหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐
ประกอบด้วย การท�ำ กจิ วัตรประจ�ำ วันดว้ ยตนเอง
คมู่ ือหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เด็กอายุต่าํ กวา่ ๓ ปี 165
นยิ ามคำ�ศัพท์คูม่ อื หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐
สำ�หรบั เด็กอายตุ า่ํ กวา่ ๓ ปี (ตอ่ )
คำ�ศัพท์ ความหมาย
พัฒนาการด้านสตปิ ัญญา ความสามารถในการเรียนรู้ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงต่างๆ กับตนเอง
การรบั รู้ สงั เกต จ�ำ แนก เปรยี บเทยี บ จดจ�ำ วเิ คราะห์ การรคู้ ดิ รเู้ หตผุ ล
และความสามารถในการสืบค้น แก้ปัญหา ตลอดจนการสังเคราะห์
ซงึ่ เปน็ ความสามารถเชงิ สตปิ ญั ญาในระดบั สงู ซง่ึ แสดงออกดว้ ยการใชภ้ าษา
ส่ือความหมายและการกระทำ� ขอบข่ายพัฒนาการด้านสติปัญญาใน
หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ประกอบดว้ ย รบั รแู้ ละ
เขา้ ใจความหมายของภาษาไดต้ ามวยั แสดงออก และ/หรอื พดู เพอื่ สอ่ื
ความหมายได้ สนใจและเรยี นรสู้ ง่ิ ตา่ งๆ รอบตวั เรยี นรผู้ า่ นการเลยี นแบบ
และการส�ำ รวจโดยใช้ประสาทสมั ผสั
166 ค่มู ือหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเดก็ อายุตา่ํ กวา่ ๓ ปี
คำ�ส่ังส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน
ที่ ๖๑/๒๕๖๑
เรอ่ื ง แต่งตงั้ คณะท�ำ งานจดั ทำ�คู่มือหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยและชุดฝึกอบรมหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
-----------------------
ด้วยกระทรวงศึกษาธิการได้มีคำ�สั่งที่ สพฐ. ๑๒๒๓/๒๕๖๐ เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยให้สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยทุกสังกัดนำ�หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ไปใช้ และปรบั ปรุงให้เหมาะสมกบั เด็กและสภาพทอ้ งถิ่น ต้งั แตป่ ีการศึกษา ๒๕๖๑ เปน็ ตน้ ไป
ดงั นัน้ เพ่ือให้หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยสามารถน�ำ ไปสูก่ ารใช้ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ จ�ำ เปน็ ต้องจัดทำ�คู่มือหลักสูตร
การศึกษาปฐมวัยและชุดฝึกอบรมหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และเพ่ือให้การดำ�เนินการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
จึงเห็นสมควรแต่งตั้งคณะทำ�งานจัดทำ�คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและชุดฝึกอบรมหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
ดังน้ี
คณะทำ�งาน
๑. นางสุกัญญา งามบรรจง ทป่ี รึกษาด้านพัฒนากระบวนการเรยี นร ู้ ประธาน
รองประธาน
๒. นางวาทนิ ี ธีระตระกลู ขา้ ราชการบ�ำ นาญ รองประธาน
คณะท�ำ งาน
๓. นางสาวนจิ สดุ า อภนิ ันทาภรณ ์ ผอู้ �ำ นวยการสำ�นกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา คณะท�ำ งาน
คณะท�ำ งาน
๔. รองศาสตราจารยพ์ ชั รี ผลโยธนิ ผู้อำ�นวยการโรงเรยี นเกษมพิทยา (แผนกอนุบาล) คณะท�ำ งาน
คณะท�ำ งาน
๕. นางสาววรนาท รักสกุลไทย ข้าราชการบำ�นาญ คณะท�ำ งาน
คณะท�ำ งาน
๖. นางเอมอร รสเครอื ขา้ ราชการบำ�นาญ คณะท�ำ งาน
คณะท�ำ งาน
๗. นางสาวแน่งนอ้ ย แจง้ ศริ กิ ลุ ข้าราชการบ�ำ นาญ คณะท�ำ งาน
คณะท�ำ งาน
๘. นางร่งุ รวี กนกวบิ ลู ยศ์ รี ข้าราชการบำ�นาญ
๙. นายอารมณ์ วงศบ์ ัณฑติ ขา้ ราชการบำ�นาญ
๑๐. นางสาวดารารตั น์ อทุ ยั พยคั ฆ์ ขา้ ราชการบำ�นาญ
๑๑. นางเกสร สมรรคเสวี ข้าราชการบ�ำ นาญ
๑๒. นางวิภา ตณั ฑลุ พงษ ์ ขา้ ราชการบำ�นาญ
๑๓. นางทรงพร พนมวนั ณ อยธุ ยา ข้าราชการบ�ำ นาญ
๑๔. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์อุไรวรรณ มีเพียร ข้าราชการบำ�นาญ
ค่มู ือหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ สำ�หรับเด็กอายุต่าํ กวา่ ๓ ปี 167
๑๕. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยข์ วัญฟ้า รังสิยานนท์ มหาวทิ ยาลัยสวนดุสติ คณะท�ำ งาน
คณะท�ำ งาน
๑๖. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารยอ์ รพรรณ บตุ รกตญั ญ ู มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ คณะท�ำ งาน
คณะท�ำ งาน
๑๗. นางปนัฐษรณ์ จารชุ ัยนิวัฒน ์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย คณะท�ำ งาน
คณะท�ำ งาน
๑๘. นางประภาศรี นันท์นฤมิต จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั คณะท�ำ งาน
คณะท�ำ งาน
๑๙. นางสาวจินตนา สุขสำ�ราญ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั จนั ทรเกษม คณะท�ำ งาน
คณะท�ำ งาน
๒๐. นางสาวสุภทั รา คงเรือง มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยุธยา คณะท�ำ งาน
คณะท�ำ งาน
๒๑. นางอรทยั เลาอลงกรณ์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ล�ำ ปาง คณะท�ำ งาน
๒๒. นางสาวสทุ ธาภา โชตปิ ระดิษฐ์ มหาวิทยาลัยบรู พา คณะท�ำ งาน
๒๓. นางสาวชนาสร นม่ิ นวล มหาวทิ ยาลยั บรู พา คณะท�ำ งาน
๒๔. นางปิยะธดิ า เกษสวุ รรณ สำ�นักการศกึ ษา กรุงเทพมหานคร คณะท�ำ งาน
๒๕. นางสาวลกั คะณา เสโนฤทธิ ์ ส�ำ นกั การศกึ ษา กรุงเทพมหานคร คณะท�ำ งาน
๒๖. นางสาวเทพกญั ญา พรหมขัตแิ ก้ว สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย ี คณะท�ำ งาน
๒๗. นางสรุ สั วดี จันทรกลุ สำ�นักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา คณะท�ำ งาน
ปทมุ ธานี เขต ๑ คณะท�ำ งาน
๒๘. นางนฤมล จันทร์ฉาย ส�ำ นักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา คณะท�ำ งาน
พิษณโุ ลก เขต ๒
๒๙. นางปฤษณา ดำ�รงชพี สำ�นกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา
พะเยา เขต ๒
๓๐. นายบรรพต ขนั คำ� ส�ำ นักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษา
เชยี งราย เขต ๑
๓๑. นางหริญญา รุง่ แจ้ง ส�ำ นกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษา
ประจวบคีรขี นั ธ์ เขต ๑
๓๒. นางสาวธติ มิ า เรอื งสกุล ส�ำ นกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษา
นราธวิ าส เขต ๒
๓๓. นายชยั วฒุ ิ สนิ ธุวงศานนท์ ส�ำ นกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษา
นครราชสมี า เขต ๑
๓๔. นางสาวสวุ รรณยี ์ ศริ สิ มฤทยั สำ�นักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษา
พจิ ติ ร เขต ๒
๓๕. นางสนุ ิทรา พรมมล ส�ำ นกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษา
เชยี งใหม่ เขต ๔
168 คู่มือหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เด็กอายตุ า่ํ กวา่ ๓ ปี
๓๖. นายสมบตั ิ เนตรสว่าง ส�ำ นกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา คณะทำ�งาน
สระบุรี เขต ๑ คณะท�ำ งาน
๓๗. นางสาวสนุ ันทา ยอดรกั สำ�นกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา คณะทำ�งาน
ร้อยเอด็ เขต ๒ คณะทำ�งาน
๓๘. นางสาวนฤมล เนียมหอม สำ�นกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา คณะทำ�งาน
กรุงเทพมหานคร คณะท�ำ งาน
๓๙. นางปทั มา พงั เครือ ส�ำ นักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา คณะท�ำ งาน
กรงุ เทพมหานคร คณะทำ�งาน
๔๐. นายบญุ เลิศ ค่อนสะอาด สำ�นักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษา คณะท�ำ งาน
ฉะเชงิ เทรา เขต ๑ คณะทำ�งาน
๔๑. นางสุพร โขขดั สำ�นกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา คณะทำ�งาน
ตรงั เขต ๑ คณะท�ำ งาน
และเลขานกุ าร
๔๒. นางสาวอุทัย ธารมรรค สำ�นักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษา คณะท�ำ งาน
และผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร
ราชบรุ ี เขต ๑ คณะทำ�งาน
และผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร
๔๓. นางจฬุ าลักษณ์ พงษส์ งั ข์ ส�ำ นักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา
พระนครศรอี ยธุ ยา เขต ๒
๔๔. นางนิทรา ช่อสงู เนิน ส�ำ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
อุดรธานี เขต ๑
๔๕. นางสาวจเี รียง บุญสม ส�ำ นกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา
กาญจนบรุ ี เขต ๑
๔๖. นางสาวภิญญาพชั ญ์ เชอ้ื จนั ทรย์ อด หนว่ ยศกึ ษานเิ ทศก์
สำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
๔๗. นางสาวรัตนา แสงบวั เผอื่ น สำ�นักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา
สำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
๔๘. นางภาวิณี แสนทวสี ขุ สำ�นกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา
ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
๔๙. นางกันยา แสนวงษ ์ สำ�นักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา
สำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
คมู่ ือหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรบั เด็กอายตุ ํ่ากว่า ๓ ปี 169
อำ�นาจหนา้ ที่
๑. กำ�หนดแนวทางและพิจารณาดำ�เนินการจัดทำ�คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและชุดฝึกอบรม
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
๒. ให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และสนับสนุนการจัดทำ�คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและชุดฝึกอบรม
หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย
๓. ด�ำ เนนิ การอืน่ ใดตามทเ่ี ห็นสมควร
ทง้ั น้ี ตัง้ แตบ่ ัดนีเ้ ป็นต้นไป
สงั่ ณ วนั ที่ ๑๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๑
(นายบญุ รักษ์ ยอดเพชร)
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
170 ค่มู ือหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเดก็ อายตุ าํ่ กวา่ ๓ ปี
คณะผู้จดั ท�ำ
ทป่ี รกึ ษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน
รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
๑. นายบุญรักษ์ ยอดเพชร ผู้อ�ำ นวยการสำ�นักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา
๒. นางสกุ ัญญา งามบรรจง
๓. นางสาวนิจสดุ า อภนิ ันทาภรณ ์ โรงเรยี นอนุบาลเกษมพทิ ยา (แผนกอนบุ าล)
ข้าราชการบ�ำ นาญ
คณะบรรณาธกิ ารขัน้ ตน้ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏจันทรเกษม
๑. นางสาววรนาท รกั สกุลไทย มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏล�ำ ปาง
๒. นางรงุ่ รวี กนกวบิ ลู ย์ศรี มหาวทิ ยาลยั บูรพา
๓. นางประภาศรี นนั ทน์ ฤมิต สำ�นกั การศกึ ษา กรุงเทพมหานคร
๔. นางสาวจนิ ตนา สุขส�ำ ราญ ส�ำ นักการศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร
๕. นางอรทัย เลาอลงกรณ์ ส�ำ นักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
๖. นางสาวชนาสร นิม่ นวล สำ�นกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา
๗. นางปิยะธดิ า เกษสุวรรณ
๘. นางสาวลกั คะณา เสโนฤทธ์ ิ
๙. นางภาวิณี แสนทวสี ขุ
๑๐. นางกันยา แสนวงษ์
คู่มือหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเด็กอายตุ าํ่ กว่า ๓ ปี 171
คณะบรรณาธกิ ารข้ันสุดทา้ ย โรงเรยี นอนุบาลเกษมพิทยา (แผนกอนุบาล)
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏลำ�ปาง
๑. นางสาววรนาท รักสกุลไทย ส�ำ นกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา
๒. นางอรทัย เลาอลงกรณ ์ ส�ำ นกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา
๓. นางภาวิณี แสนทวีสขุ
๔. นางกันยา แสนวงษ ์
172 คมู่ ือหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ส�ำ หรับเด็กอายตุ า่ํ กวา่ ๓ ปี
วิสัยทศั น
หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐
“มงุ พฒั นาเดก็ ทกุ คนใหไ ดร บั การพฒั นาดา นรา งกาย อารมณ จติ ใจ สงั คม
และสติปัญญา อยางมีคุณภาพและตอเน่ือง ไดรับการจัดประสบการณ
การเรียนรูอยางมีความสุขและเหมาะสมตามวัย มีทักษะชีวิต และปฏิบัติตน
ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ คนดี มวี นิ ยั และสาํ นกึ ความเปน็ ไทย
โดยความรวมมือระหวางสถานศึกษา พอแม ครอบครัว ชุมชน และทุกฝาย
ที่เกีย่ วขอ งกบั การพฒั นาเดก็ ”