สืืบสืาน อนุรัักษ์์ศิิลป์์ผ้้าถิ่ิ�นไทย ดำำารังไว้้ในแผ้่นดำิน Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land 傳承泰國鄉土傳統織布 สืืบ สืาน อ นุรัักษ์์ศิิลป์์ผ้้าถิ่ิ�นไทย ดำำารังไว้้ในแ ผ้่น ดำิน Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land傳承泰國鄉土傳統織布 สืืบสืานอนุรัักษ์์ศิิลป์์ผ้้าถิ่ิ�นไทย ดำำารังไว้้ในแผ้่นดำิน Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land 傳承泰國鄉土傳統織布
傳承泰國鄉土傳統織布 Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land สืืบสาน อนุุรัักษ์์ศิิลป์์ผ้้าถิ่่�นไทย ดำำรงไว้้ในแผ่่นดิิน
ภาพผ้้ายกดอก ลายราชิินีี
“…… 我矢志如同泰王決志遵奉延續、保存、 宏揚浦美蓬父皇及詩麗吉母后陛下出於皇室尊貴 的發想... 我以生為泰國女人而深感自豪。泰國婦 女在家庭體制中的角色職責和代代相傳如何成為 優秀泰國婦女的教養,都是家庭以及導致未來社 會和國家穩定的基石 ……” 以上節錄自蘇提達•帕查拉素塔皮蒙拉王后 陛下於2019年8月1日星期四泰國婦女節在曼谷 近郊巴 革區蒙通他尼英配 IMPACT 會展中心所發表 標題為「國王陛下對婦女永續發展」的演說。 “... I have a determination to serve Her Majesty Queen Sirikit The Queen Mother in continuing, preserving and expanding the royal aspiration the same way as that of His Majesty the King in his determination to continue, preserve, extend and expand the prestige of His Majesty’s father and mother. ...And I am proud to have been born a Thai woman. The roles and duties of Thai women in the family institution, as well as the teaching and grooming of how to become a good Thai woman passed down from generation to generation are the cornerstone of the stability of the family, which will lead to that of society and the country respectively...” Part of a royal speech of Her Majesty Queen Suthida Bajrasudhabimalalakshana on Thai Women’s Day 2019 under the theme “The Royal Graciousness towards Sustainable Women’s Development” at IMPACT Arena, Exhibition and Convention Center, Muang Thong Thani, Thursday, 1 August 2019 “...ข้้าพเจ้้ามีีความตั้้�งมั่่�นที่่�จะสนองพระเดชพระคุุณ พระมหากรุุณาธิิคุุณ ในการสืืบสาน รัักษา และต่่อยอดพระราชปณิิธานแห่่งสมเด็ ็ จพระนางเจ้้าสิิริิกิิติ์์� พระบรมราชิินีีนาถ พระบรมราชชนนีีพัันปีีหลวง เหมืือนดั่่�งที่่�พระบาทสมเด็ ็ จพระเจ้้าอยู่่หััวทรงตั้้�งพระราช ปณิิธานที่่�จะสืืบสาน รัักษา และต่่อยอด และแผ่่ขยายพระบารมีีแห่่งสมเด็ ็ จพระบรม ชนกนาถและสมเด็จ ็ พระบรมราชชนนีี ...ข้้าพเจ้้ารู้้สึึกภููมิิใจที่่�ได้้เกิิดมาเป็็นสตรีีไทยคนหนึ่่�ง บทบาทหน้้าที่่�สำำคััญที่่�สตรีีไทยมีีต่่อสถาบัันครอบครััว ตลอดจนการถ่่ายทอด สั่่�งสอน การเป็็นสตรีีไทยที่่�ดีีไปสู่่รุ่่นลููกรุ่่นหลานนั้้�น นัับเป็็นรากฐานสำำคััญสำำหรัับความมั่่�นคง ของครอบครััว และจะนำำ พาไปสู่่ความมั่่�นคงของสัังคมและประเทศชาติิต่่อไป...” ความตอนหนึ่งจากพระราชดำ รัสใน สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี ในงานวันสตรีไทย ประจำ ปี ๒๕๖๒ “สายธารแห่งพระบารมี สู่การพัฒนาสตรีที่ยั่งยืน” ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี วันพฤหัสบดีที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๒
คำำนิิยม ประธานสภาสตรีีแห่่งชาติิ ในพระบรมราชิินููปถััมภ์ ์ สืบสานพระราชปณิธาน สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ในการอนุรักษ์ ส่งเสริม และเผยแพร่ผ้าไทย ศิลปะอันล้ำ ค่าของชาติให้ดำ รงคงอยู่เป็นความภาคภูมิใจ ของคนไทย ด้วยสำ นึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น สภาสตรีแห่งชาติในพระบรมราชินูปถัมภ์ ซึ่งมีภารกิจในการสนับสนุน เสริมสร้าง และพัฒนาศักยภาพสตรีโดยความร่วมมือทั้งในและต่างประเทศ จึงได้ขับเคลื่อนพลังสตรีในชนบททั่วประเทศ ด้วยการร่วมกันรณรงค์ สนับสนุนการใช้และสวมใส่ผ้าไทย ในชีวิตประจำ วัน และเพื่อต่อยอดกิจกรรมดังกล่าวจึงได้จัดทำ โครงการ “สืบสาน อนุรักษ์ศิลป์ ผ้าถิ่นไทย ดำ รงไว้ในแผ่นดิน” โดยจัดทำ บันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย และส่วนราชการระดับหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ กรุงเทพมหานคร และจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศ ซึ่งต่อมาคณะรัฐมนตรีได้เล็งเห็นความสำ คัญและเห็นชอบให้ส่วนราชการ หน่วยงาน รัฐวิสาหกิจ ร่วมกันรณรงค์ สนับสนุนการใช้และสวมใส่ผ้าไทยอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๒ วัน หากคนไทยเพียง ๓๕ ล้านคน ร่วมใจกันใช้และสวมใส่ผ้าไทยเป็นประจำ ทุกวัน โดยเฉลี่ยคนละ ๑๐ เมตร รวม ๓๕๐ ล้านเมตร เมตรละ ๓๐๐ บาท จะช่วยสร้างอาชีพและรายได้แก่ชุมชนเป็นเงินกว่า ๑๐๐,๐๐๐ ล้านบาท นำ ไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตกลุ่มสตรีทั่วประเทศ และลดปัญหาการว่างงาน การย้ายถิ่นฐาน และลดความเหลื่อมล้ำ ในสังคมอย่างเห็นได้ชัด เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ความงดงามของผ้าไทยให้เป็นที่ประจักษ์ในวงกว้าง การจัด ให้มีโครงการประกวดผ้าไทยและรวบรวมผลงานของผู้ชนะเลิศระดับจังหวัดทั่วประเทศไว้ในหนังสือ เล่มนี้ นับว่าเป็นประโยชน์ มีคุณค่าต่อวงการผ้าไทยเป็นอย่างยิ่ง หวังว่าโครงการนี้จะช่วยกระตุ้น ให้คนไทย โดยเฉพาะเยาวชนรุ่นใหม่ ได้เห็นคุณค่าและภาคภูมิใจในเอกลักษณ์ความเป็นไทย และ ยังเป็นส่วนหนึ่งของการเสริมสร้างเศรษฐกิจฐานรากให้มั่นคง ยั่งยืนตลอดไป (ดร.วันดี กุญชรยาคง จุลเจริญ) ประธานสภาสตรีแห่งชาติในพระบรมราชินูปถัมภ์ สมัยที่ ๒๖ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๔) 4 สืืบสาน อนุุรัักษ์์ศิิลป์์ผ้้าถิ่่�นไทย ดำำรงไว้้ในแผ่่นดิิน
感言 承蒙王室贊助的全國婦女理事會主席 繼續執行泰國詩麗吉皇太后陛下的皇家願望,為了 保存,推廣和傳播國家藝術珍品泰國織物,使泰國織物 仍然是泰國的驕傲。與皇太后陛下感恩沒法比,承蒙王 室贊助的全國婦女理事會的使命是通過國內和國外合作 來支持,增強和發展婦女的潛力。因此,全國農村地區 中推動了女性的力量,通過聯手推廣使用,並在日常生 活中的泰國織物的穿著。為了開展此類活動,已開發了 “繼續和保存泰國傳統面料以保留在土地上的傳承藝術 品”的項目。通過與內政部小區發展廳,政府機構,曼 谷及全國其他省份的國有企業簽署諒解備忘錄。後來, 部長會議認識到了重要性,並同意允許政府機構和國有 企業每周至少兩天共同促進泰國織物的使用和穿著。 如果每天只有3500萬泰國人一起使用和穿著泰國布, 平均每人10米,總計3.5億米,每米300泰銖的價格將創 造社區事業並賺取超過1000億泰銖的收入,可以改善全 國婦女的生活質量,減少失業,移民和社會不平等現象 的顯著減少。 為了促進和廣泛傳播泰國面料的美感,組織了泰國 織物比賽項目,並於本書中彙編了全國省級獲獎作品。 此對泰國的面料行業非常有價值。希望這個項目可以幫 助鼓勵泰國人民,特別是年輕一代看到泰國身份的價值 和自豪感,並幫助發展經濟的永久穩定和可持續性。 旺迪•昆聰雅空•尊紥仁博士 承蒙王室贊助的全國婦女理事會主席 第二十六屆會議(2018年 - 2021年) Foreword President of The National Council of Women of Thailand Under The Royal Patronage of Her Majesty The Queen Honoring the royal aspiration of Her Majesty Queen Sirikit The Queen Mother to conserve, promote, and publicize Thai traditional fabrics, which are precious arts, in order for them to stay on as the pride of Thais, the National Council of Women of Thailand under the Royal Patronage of Her Majesty The Queen out of its overwhelming gratitude to The Queen Mother has driven rural women across the country into campaigning and supporting the use and wearing of Thai textiles in everyday life. With the mission to support, promote and empower women through cooperation both within Thailand and beyond, the council has stepped up the efforts further with a project entitled “Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land” by signing a Memorandum of Understanding (MOU) with the Interior Ministry’s Community Development Department and state organizations at the levels of state-owned enterprises, the Bangkok Metropolitan Administration and provincial authorities across Thailand. The Cabinet has later recognized the importance of these efforts and finally approved measures for government agencies and state-owned enterprises to encourage their staff to use and wear Thai textiles two days each week. If 35 million Thais utilize and wear Thai textiles every day, using 10 meters of the textiles each, their usage means 350 million meters of Thai textiles will be sold. If each meter costs Bt300, such consumption will generate more than Bt100 billion and create jobs for communities. Such results will be translated into a better quality of life among women across the nation, lower unemployment rate, curb migrations and significantly reduce social disparity. To widely promote beautiful Thai textiles, a Thai fabric contest was held with winning entries at the provincial level compiled and featured in this book that has delivered immense benefits and value to Thai textile industry. This project is expected to encourage Thais, especially youth, to recognize the value and be proud of Thainess, and also to consistently strengthen a more stable and sustainable grassroot economy. (Dr. Wandee Khunchornyakong Juljarern) President of The National Council of Women of THAILAND Under The Royal Patronage of Her Majesty The Queen, the 26th (2018 - 2021) Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land 傳承泰國鄉土傳統織布 5
โครงการเผยแพร่่ประชาสััมพัันธ์์ ผ้้าที่่�ได้้รัับรางวััล ชนะเลิิศการประกวด ในโครงการ “ประกวดผ้้าสืืบสาน อนุุรัักษ์์ศิิลป์์ผ้้าถิ่่�นไทย ดำำรงไว้้ในแผ่่นดิิน” คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ เห็นชอบ มาตรการส่งเสริมและสนับสนุนการใช้และสวมใส่ผ้าไทย โดยมอบหมาย ให้กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย เป็นหน่วยงานเจ้าภาพ ร่วมกับกระทรวงวัฒนธรรม (กรมส่งเสริมวัฒนธรรม) ในการดำ เนินการ ส่งเสริมและสนับสนุนตามมาตรการส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ และสวมใส่ผ้าไทย ภายใต้ความร่วมมือระหว่างสภาสตรีแห่งชาติ ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ร่วมกับกระทรวงมหาดไทย โดยกรมการพัฒนา ชุมชน ได้จัดทำ โครงการ “สืบสาน อนุรักษ์ศิลป์ผ้าถิ่นไทย ดำ รงไว้ ในแผ่นดิน” มีวัตถุประสงค์เพื่อสืบสานพระราชปณิธานของสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ในการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาของคนไทย โดยได้ร่วมกันจัดทำ บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ดำ เนินการตามโครงการ “สืบสาน อนุรักษ์ศิลป์ผ้าถิ่นไทย ดำ รงไว้ในแผ่นดิน” กับ ๗๖ จังหวัด และ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจในส่วนกลาง เพื่ออนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม อันล้ำ ค่าของบรรพบุรุษที่สะท้อนให้เห็นบริบททางสังคมและวัฒนธรรม ของแต่ละพื้นที่ ด้วยการส่งเสริมและเผยแพร่ผ้าพื้นถิ่นไทยให้ดำ รง คงอยู่ต่อไป นอกจากนี้เพื่อเป็นการต่อยอดโครงการ “สืบสาน อนุรักษ์ศิลป์ ผ้าถิ่นไทย ดำรงไว้ในแผ่นดิน” และเชิดชูเกียรติแก่ผู้สืบทอดภูมิปัญญา ผ้าไทย กรมการพัฒนาชุมชนได้จัดทำ โครงการ “ประกวดผ้าสืบสาน อนุรักษ์ศิลป์ผ้าถิ่นไทย ดำ รงไว้ในแผ่นดิน” ในพื้นที่ ๗๖ จังหวัด โดยได้ดำ เนินการประกวดผ้าเสร็จสิ้นแล้ว มีผ้าที่ชนะเลิศการประกวด จำ นวน ๗๕ ชิ้น จาก ๗๕ จังหวัด จึงได้จัดทำ เอกสารเพื่อเป็นการ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ้าไทยที่ชนะเลิศการประกวดให้เป็นที่รู้จัก แก่สาธารณชนทั่วไป และบันทึกไว้ให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาเรียนรู้ สืบสาน รักษา ต่อยอดมรดกภูมิปัญญางานทอผ้าไทยให้คงไว้คู่แผ่นดินไทยสืบไป รวมทั้งให้มีการจัดทำ โครงการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ้าที่ได้รับรางวัล ชนะเลิศการประกวดในโครงการ “ประกวดผ้าสืบสาน อนุรักษ์ศิลป์ ผ้าถิ่นไทย ดำ รงไว้ในแผ่นดิน” ขึ้นด้วย 6 สืืบสาน อนุุรัักษ์์ศิิลป์์ผ้้าถิ่่�นไทย ดำำรงไว้้ในแผ่่นดิิน
展覽計畫 展覽中得獎的織品 「傳承泰國鄉土傳統織布工藝比賽」 內閣於2010年6月9日通過了一項決議,批准了促進 及支持使用和穿著泰國布料的措施。指定內政部社區發展 局及文化部(文化推廣局)共同為主辦機構,以在泰國全 國委員會的合作下,採取措施以促進和支持泰國布料的 使用和穿著。而且在全國婦女理事會的合作和皇家的讚 助下與內政部合作由社區發展局合作創建了一個「傳承 泰國本土傳統織布工藝」的計畫,通過與中部地區的76 個府和國有企業共同訂定一份合作備忘錄(MOU),以 保存和繼承泰國人民的智慧,目的是實現詩麗吉皇太后 「傳承泰國鄉土傳統織布工藝」的願望。 此外,為了擴展「傳承泰國鄉土傳統織布」計畫並 向那些繼承泰國織布智慧的人們致敬,社區發展局創建了 一個「在國內鄉村延續保存泰國傳統織布比賽」計畫。來 自75個府的75件獲獎布料,各自隨附編製一份文件紀錄, 以便向公眾宣揚,以供後代研究,學習,及保存以擴展 泰國編織智慧的沿襲傳承。這是籌辦「傳承泰國鄉土傳 統織布工藝比賽」計畫的緣起。 The project to publicize the Thai fabric winning pieces from “Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land” Fabric Contest The Cabinet passed a resolution on June 9, 2010, approving measures to promote and support the use and wearing of Thai fabrics. They assigned the Community Development Department, the Ministry of Interior to be the host agency with the Ministry of Culture (Department of Cultural Promotion) to implement measures to promote and support the use and wearing of Thai fabrics under the cooperation between the National Council of Women of Thailand under the Royal Patronage of Her Majesty The Queen in collaboration with the Ministry of Interior. The Community Development Department has created a project entitled “Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land” with the objective to carry on the royal wishes of Queen Sirikit The Queen Mother to conserve and maintain the traditional wisdom of the Thai people. They have jointly prepared a Memorandum of Understanding (MOU) to implement the project “Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land” with 76 provinces and state enterprises in the central area so as to preserve the valuable cultural heritage handed down by the ancestor. In addition, in order to extend the project “Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land” and honor those who have inherited Thai fabric wisdom, the Community Development Department has created a project called “Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land” Fabric Contest. There were 75 winning fabric pieces from 75 provinces, so a document has been produced to publicize and record the Thai fabric winning pieces to the general public for future generations to examine and learn in order to preserve and extend the heritage of the Thai weaving wisdom to ascertain its sustainability in Thailand. As such, a project was organized to publicize the fabric pieces that have won the awards under the project “Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land” Fabric Contest. Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land 傳承泰國鄉土傳統織布 7
คำำ�นำำ� นับเป็นระยะเวลากว่า ๖๐ ปี ที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ได้ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณต่อการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาของคนไทย ตั้งแต่เมื่อครั้งตามเสด็จพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในคราวเสด็จพระราชดำ เนินไปทรงเยี่ยมเยียน ราษฎรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ ๒ ธันวาคม ปีพุทธศักราช ๒๔๙๘ ได้ทอดพระเนตร เห็นราษฎรนุ่งซิ่นไหมมัดหมี่กันเป็นส่วนใหญ่ จึงมีพระราชดำ ริว่าควรจะมีการนำ ภูมิปัญญาการทอผ้าที่ใช้กันอยู่ มาพัฒนาเป็นอาชีพให้เกิดรายได้แก่ราษฎร เนื่องในโอกาสที่สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี ทรงประกอบพระราชกรณียกิจ น้อยใหญ่ และทรงมุ่งมั่นพระราชหฤทัยที่จะสนองพระมหากรุณาธิคุณในการสืบสาน รักษา และต่อยอด พระราชปณิธานแห่งสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ในด้าน “ผ้าไทย” ให้คงเอกลักษณ์ไทย และการพัฒนาประเทศ ควบคู่ไปกับการสร้างความมั่นคงของครอบครัว อันจะนำ ไปสู่ ความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติต่อไป อีกทั้ง นับเป็นพระกรุณาธิคุณต่อวงการผ้าไทยที่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา ได้มีพระดำ ริแก่วงการผ้าไทยว่า “ผ้าไทยใส่ให้สนุก” คือความสุขที่ได้เลือกใช้ศิลปหัตถกรรมไทย เพื่อสร้าง รายได้กลับเข้าสู่ชุมชน เป็นวงจรเศรษฐกิจเชิงมหภาค พร้อมพระราชทานแบบลายผ้า ชื่อลาย “ผ้ามัดหมี่ ลายขอเจ้าฟ้าสิริวัณณวรีฯ” แก่พสกนิกรชาวไทย เพื่อเป็นของขวัญปีใหม่ อันสื่อความหมายถึงการส่งมอบ ความรักและความสุขให้แก่ชาวไทยทุกคน ผ่านอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน เมื่อวันจันทร์ที่ ๒๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ เวลา ๑๔.๐๐ น. ณ อาคารชาเลนเจอร์ ๒ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี อำ เภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ในพิธีเปิดงาน OTOP City 2020 ด้วยความสำ นึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นอันหาที่สุดมิได้ กรมการพัฒนาชุมชน ได้ดำ เนินการสานต่อ พระราชปณิธานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เพื่อสืบสานภูมิปัญญา และอนุรักษ์ผ้าไทยให้คงอยู่คู่แผ่นดิน โดยได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับสภาสตรีแห่งชาติ ในพระบรมราชินูปถัมภ์ จัดทำ โครงการ “สืบสาน อนุรักษ์ศิลป์ผ้าถิ่นไทย ดำ รงไว้ในแผ่นดิน” ขึ้น อีกทั้ง คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ เห็นชอบมาตรการส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ และสวมใส่ผ้าไทย โดยมอบหมายให้กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย เป็นหน่วยงานเจ้าภาพในการ ดำ เนินการ และกรมการพัฒนาชุมชน ยังได้ต่อยอดโครงการดังกล่าว โดยจัดทำ โครงการ “ประกวดผ้าสืบสาน อนุรักษ์ศิลป์ผ้าถิ่นไทย ดำ รงไว้ในแผ่นดิน” เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ้าไทยแต่ละประเภท และเชิดชูเกียรติ แก่ผู้สืบทอดภูมิปัญญาผ้าไทยให้เป็นที่รู้จัก เพื่อสนองพระราชปณิธานและเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ขอทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายหนังสือ “สืบสาน อนุรักษ์ศิลป์ผ้าถิ่นไทย ดำ รงไว้ในแผ่นดิน” ที่ได้รวบรวมเรื่องราวผ้าชนะเลิศการประกวด จำ นวน ๗๕ ชิ้น จาก ๗๕ จังหวัด ซึ่งจะเป็น ข้อมูลในการศึกษาความเป็นมาของผ้าทออันทรงคุณค่า และเป็นการบันทึกไว้ให้คนรุ่นหลังได้เรียนรู้ สืบสาน รักษา ต่อยอดมรดกภูมิปัญญางานทอผ้าไทยให้คงไว้คู่แผ่นดินไทยสืบไป (นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ) อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน 8 สืืบสาน อนุุรัักษ์์ศิิลป์์ผ้้าถิ่่�นไทย ดำำรงไว้้ในแผ่่นดิิน
序言 對於超過60年,詩麗吉皇太后陛下已兌現的泰國 智慧的保護和傳承。自從跟隨陛下國王普密蓬·阿杜德 (Bhumibol Adulyadej)於公元1955年12月2日對東北的 人民進行首次皇家訪問之際,看到人們穿著紮結染織布。 因此,皇太后陛下的想法是應用人民的編織智慧來發展為 人民創造收入的職業。 在此場合,蘇提達•帕查拉素塔皮蒙拉王后在履行 其王室職責中,矢志服膺國王陛下,以延續並保持詩麗 吉皇太后陛下的王室願望,同時維持泰國在「泰國布 料」領域中的獨特性以及國家發展,並維繫家庭以致社 會和國家的穩定。 是對泰國布料業的一種皇室恩寵。 希里萬納瓦瑞公 主殿下向泰國布料業發出了一項皇家提案,稱“泰國布料 穿起來很有趣”。使用泰國手工藝品是在宏觀經濟周期 中將收入帶回社區。公主殿下還向泰國人民提供了一種 名為 “希里萬納瓦瑞公主”的紮結染織布圖案。 作為新 年禮物,這是一種向所有泰國人傳遞愛與幸福的方式。 通過小區發展廳廳長於公元 2020 年 12月 21日星期一 下午 2:00 點, 位於 OTOP (一區一品) 市 2020 年開幕 典禮上, 暖武里府北革縣孟通塔尼 IMPACT 展覽會議中 心挑戰者 2 號樓。 為了完滿推崇蘇提達•帕查拉素塔皮蒙拉王后陛下 尊榮的宏願,內政部社區發展局僅獻上《傳承泰國鄉土 傳統織布》一書,該書收集了來自75個府的75件獲獎 布料的故事,這將成為研究編織歷史寶貴的紀錄,可供 後代子孫學習、傳承、且發揚光大泰國編織智慧的遺產, 並藉以維護泰國鄉土智慧的文獻。 蘇提蓬•尊紥仁先生 小區發展廳廳長 Preface For over six decades, HM Queen Sirikit The Queen Mother has been tirelessly active in the preservation and nurture of Thai wisdom. Her royal benevolence dates back to 2 December 1955, on which Her Majesty accompanied HM King Bhumibol Adulyadej The Great to pay their first royal visit to the Northeast of the Thai Kingdom. Calling upon people in that locality, HM Queen Sirikit discerned that most women wore “mudmee silk sinh”. Her Majesty therefore initiated that the locals’ wisdom in weaving fabrics for their own use should be developed into a profession that could generate income to their families. On this occasion, HM Queen Suthida Bajrasudhabimalalakshana has performed her royal duties and is determined to serve His Majesty the King in continuing and maintaining the royal initiatives of HM Queen Sirikit The Queen Mother in the field of “Thai fabrics” to maintain the Thai identity and national development along with achieving the stability of the family, which will respectively lead to those of society and the nation. Moreover, the royal grace has also been bestowed upon the Thai textile industry when HRH Princess Sirivannavari Nariratana Rajakanya has graciously delivered the royal idea “Pleasure in Wearing Thai Fabrics”. The statement implies the pleasure when Thai folk arts and crafts are utilized and in turn bring income to local communities as a macroeconomic cycle. Together with her royal design, she also graciously bestowed upon Thai people the “HRH Princess Sirivannavari’s Hook Design”, as a precious new year gift meant to deliver love and happiness to all Thai people. On Monday, 21 December 2020, Director-General of the Community Development Department (CDD), representing Thai people, received her royal grace at the opening ceremony of OTOP City 2020, held at 2 p.m. at the Challenger Hall 2, IMPACT Exhibition and Convention Center, Muang Thong Thani in Pak Kret, Nonthaburi. With the realization that Her Majesty’s grace is incomparable, the CDD has determined to uphold the royal wishes of Queen Sirikit The Queen Mother, in order to pass on the wisdom and maintain Thai fabrics in our homeland. The Department signed a Memorandum of Understanding (MOU) with the National Council of Women of Thailand under the Royal Patronage of Her Majesty the Queen to create a project called “Continuing and preserving Thai traditional fabrics in the land”. In addition, the Cabinet passed a resolution on 9 June 2020, approving measures to promote and support the use and wearing of Thai fabrics and assigning the CDD, the Ministry of Interior, to be the host. And the CDD has also extended the scope of the project by organizing “The Fabric Contest to Continue and Preserve Thai Traditional Fabrics in the Land” to publicize each Thai fabric type and honor the successors of Thai fabric wisdom to be known in order to meet the royal wishes and in honor of HM Queen Suthida Bajrasudhabimalalakshana. The CDD, the Ministry of Interior, would like to present to Her Majesty “Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land”, a collection of 75 stories of the Thai fabric winning pieces from 75 provinces. This information will be used for recording the history of valuable woven fabrics for future generations to learn, continue to preserve and extend the heritage of Thai weaving wisdom for Thailand. (Mr. Suttipong Juljarern) Director-General Community Development Department Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land 傳承泰國鄉土傳統織布 9
2020年8月10日,總理兼國防部長帕育•詹奧查將軍主持了「追隨泰王陛下發展泰國OTOP(一鄉鎮一產品)藝術及工藝展」的開幕式,藉以推崇詩麗吉皇太后 陛下的懿德。2020年8月12日適逢詩麗吉皇太后八八壽誕吉日,領銜率同慶賀的有總理夫人納拉波恩•詹奧查;詩麗吉皇太后陛下所贊助的美術工藝促進基金會 助理、烏汶府的一品夫人科布庫爾•鄔波•德啪權拉(Thanpuying Kobkul Uboldejpracharak);各國外交使節和以及如下各內閣首長:副總理兼公共衛生部長阿努 丁•查恩維拉庫爾先生(Mr. Anutin Charnvirakul);內政部部長阿努蓬•保津達(Anupong Paochinda) 將軍;內政部副部長頌薩•通喜 (Songsak Thongsri) 先生; 内政部常任祕書 (Chatchai Promlert) 先生;小區發展廳廳長蘇提蓬•尊紥仁 (Suttipong Juljarern) 先生;承蒙王室贊助的全國婦女理事會主席旺迪•昆聰雅空• 尊紥仁博士(Dr. Wandee Khunchornyakong Juljarern),以及內政部高級主管衆。 On August 10, 2020, General Prayut Chan-o-cha, Prime Minister and Minister of Defense, chaired the opening ceremony, “Prateep Thai OTOP Arts and Crafts: Advancing with Her Majesty”, Year 2020, in honor of HM Queen Sirikit The Queen Mother. On the auspicious occasion and celebration of HM Queen Sirikit’s birthday on 12 August 2020, Prime Minister’s wife, Mrs. Naraporn Chan-o-cha; Thanpuying Kobkul Uboldejpracharak, Support Arts and Crafts Assistant, The Support Foundation of Her Majesty Queen Sirikit; Diplomacy and the Cabinet honored the event along with Mr. Anutin Charnvirakul, Deputy Prime Minister and Minister of Public Health; Gen. Anupong Paochinda, Minister of Interior; Mr. Songsak Thongsri, Deputy Minister of Interior; Mr. Chatchai Promlert, Permanent Secretary of the Ministry of Interior; Mr. Suttipong Juljarern, Director-General of the Community Development Department; Dr. Wandee Khunchornyakong Juljarern, President of The National Council of Women of Thailand Under The Royal Patronage of Her Majesty The Queen as well as senior executives of the Ministry of Interior. วัันที่่� ๑๐ สิิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ พล.อ.ประยุทุธ์์ จัันทร์์โอชา นายกรััฐมนตรีีและรััฐมนตรีว่ี่าการกระทรวงกลาโหม เป็น็ ประธานในพิธีิีเปิิดงาน “ศิิลปาชีีพประทีีปไทย OTOP ก้้าวไกลด้้วยพระบารมีี” ประจำำปีี พ.ศ. ๒๕๖๓ เพื่่�อเทิิดพระเกีียรติิ สมเด็จ็พระนางเจ้้าสิิริกิติ์์� พระบรมราชิินีีนาถ พระบรมราชชนนีีพันปีั ีหลวง เนื่่�องในโอกาสมหามงคลเฉลิิมพระชนมพรรษา ๑๒ สิิงหาคม ๒๕๖๓ โดยมีีภริิยา นางนราพร จัันทร์์โอชา, ท่่านผู้้หญิิงกอบกุุล อุุบลเดชประชารัักษ์์ ผู้้ช่่วยงานส่่งเสริิมศิิลปาชีีพ มููลนิิธิิส่่งเสริิมศิิลปาชีีพในสมเด็็จพระนางเจ้้าสิิริิกิิติ์์� พระบรมราชิินีีนาถ คณะทููตานุุทููต และคณะรััฐมนตรีี ร่่วมเป็็นเกีียรติิ ในงาน พร้้อมด้้วยนายอนุุทิิน ชาญวีีรกููล รองนายกรััฐมนตรีีและรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงสาธารณสุุข, พล.อ.อนุุพงษ์์ เผ่่าจิินดา รััฐมนตรีีว่่าการ กระทรวงมหาดไทย, นายทรงศัักดิ์์� ทองศรีี รััฐมนตรีีช่่วยว่่าการกระทรวงมหาดไทย, นายฉััตรชััย พรหมเลิิศ ปลััดกระทรวงมหาดไทย, นายสุุทธิิพงษ์์ จุุลเจริิญ อธิิบดีีกรมการพััฒนาชุุมชน, ดร.วัันดีี กุุญชรยาคง จุุลเจริิญ ประธานสภาสตรีีแห่่งชาติิในพระบรมราชิินููปถััมภ์์ ตลอดจนผู้บ้ริิหารระดัับสููง ของกระทรวงมหาดไทย 10 สืืบสาน อนุุรัักษ์์ศิิลป์์ผ้้าถิ่่�นไทย ดำำรงไว้้ในแผ่่นดิิน
總理兼國防部長(Prayut Chan-o-cha) 帕育•詹奧查將軍帶 領其夫人 (Naraporn Chan-o-cha) 納拉波恩•詹奧查女士;諸內閣首 長小區發展廳廳長蘇提蓬•尊紥仁 (Suttipong Juljarern) 先生,和承蒙 皇家贊助的全國婦女理事會主席旺迪• 昆聰雅空•尊紥仁博士 (Dr. Wandee Khunchornyakong Juljarern)一起參 觀了在「傳承泰國鄉土傳統織布工藝 比賽」中獲獎的布料。 那空那育府 那拉提瓦府 楠府 帕堯府 穆達漢府 羅勇府 舉辦傳承編織工藝比賽是為了在泰國各府層級維護鄉土傳統織布工藝: Organization of the fabric contests to conserve traditional Thai fabrics in the land at the provincial level Nakhon Nayok Narathiwat Nan Phayao Mukdahan Rayong Gen. Prayut Chan-o-cha, Prime Minister and Minister of Defense along with his wife Mrs. Naraporn Chan-o-cha; the Cabinet; Mr. Suttipong Juljarern, Director-General of the Community Development Department, and Dr. Wandee Khunchornyakong Juljarern, President of The National Council of Women of Thailand Under The Royal Patronage of Her Majesty The Queen visited and watched the winning fabrics in the project “Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land”. พล.อ.ประยุุทธ์์ จัันทร์์โอชา นายกรััฐมนตรีีและรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงกลาโหม พร้้อมด้ว้ยภริิยา นางนราพร จัันทร์์โอชา, คณะรััฐมนตรีี, นายสุทธิุิพงษ์์ จุุลเจริญิ อธิิบดีีกรมการพััฒนาชุุมชน และ ดร.วัันดีี กุญช ุรยาคง จุุลเจริญิ ประธานสภาสตรีีแห่่งชาติิในพระบรมราชิินููปถััมภ์์ เยี่่�ยมชมผ้้าชนะเลิิศการประกวดในโครงการ “ประกวดผ้้า สืืบสาน อนุุรัักษ์์ศิิลป์์ผ้้าถิ่�นไ ่ทย ดำำ รงไว้้ในแผ่่นดิิน” จััดประกวดผ้้าสืืบสาน อนุุรัักษ์์ศิิลป์์ผ้้าถิ่่�นไทย ดำำรงไว้้ในแผ่่นดิินระดัับจัังหวััด จัังหวััดนครนายก จัังหวััดนราธิิวาส จัังหวััดน่่าน จัังหวััดพะเยา จัังหวััดมุุกดาหาร จัังหวััดระยอง Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land 傳承泰國鄉土傳統織布 11
สารบััญ Contents 目錄 4 คำำ�นิิยม ประธานสภาสตรีีแห่่งชาติิ ในพระบรมราชิินููปถััมภ์์ Foreword President of the National Council of Women of Thailand Under The Royal Patronage of Her Majesty The Queen 感言 承蒙王室贊助的全國婦女理事會主席 6 โครงการเผยแพร่่ประชาสััมพัันธ์์ ผ้้าที่่�ได้้รัับรางวััลชนะเลิิศการประกวด ในโครงการ “ประกวดผ้้าสืืบสาน อนุุรัักษ์์ศิิลป์์ผ้้าถิ่่�นไทย ดำำ�รงไว้้ ในแผ่่นดิิน” The project to publicize the Thai fabric winning pieces from “Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land” Fabric Contest 展覽計畫展覽中得獎的織品「傳承泰國鄉土傳統織布 工藝比賽」 8 คำำ�นำำ� Preface 序言 15 - 23 ๔ ทหารเสืือราชิินีีผ้้าไหมไทย Queen’s Four Musketeers of Thai Silk 泰國皇太后御前絲綢四虎將 24 - 33 เทคนิิค/กรรมวิิธีีในการทอผ้้า Techniques/Processes in Weaving 編織技術/過程 34 - 69 เส้้นทางผ้้าไทยภาคเหนืือ Northern Thai Fabric Route 泰國北部織布工藝路線 จังหวัดกำแพงเพชร............................................................................. 38 Kamphaeng Phet Province 甘烹碧府 จังหวัดเชียงราย ................................................................................... 40 Chiang Rai Province 清萊府 จังหวัดเชียงใหม่...................................................................................42 Chiang Mai Province 清邁府 จังหวัดตาก..........................................................................................44 Tak Province 來興府 จังหวัดนครสวรรค์.................................................................................46 Nakhon Sawan Province 那空沙旺府 จังหวัดน่าน..........................................................................................48 Nan Province 楠府 จังหวัดพะเยา....................................................................................... 50 Phayao Province 帕堯府 จังหวัดพิจิตร........................................................................................ 52 Phichit Province 披集府 จังหวัดพิษณุโลก.................................................................................. 53 Phitsanulok Province 彭世洛府 จังหวัดเพชรบูรณ์................................................................................. 54 Phetchabun Province 碧差汶府 จังหวัดแพร่...........................................................................................56 Phrae Province 帕府 จังหวัดแม่ฮ่องสอน............................................................................... 58 Mae Hong Son Province 湄宏順府 จังหวัดลำ ปาง.......................................................................................60 Lampang Province 南邦府 จังหวัดลำ พูน ........................................................................................61 Lamphun Province 南奔府
จังหวัดสุโขทัย.................................................................62 Sukhothai Province 素可泰府 จังหวัดอุตรดิตถ์..............................................................64 Uttaradit Province 程逸府 จังหวัดอุทัยธานี..............................................................66 Uthai Thani Province 烏泰他尼府 70 - 115 เส้้นทางผ้้าไทยภาคกลาง Central Thai Fabric Route 泰國中部織布工藝路線 จังหวัดกาญจนบุรี..........................................................74 Kanchanaburi Province 北碧府 จังหวัดฉะเชิงเทรา.......................................................... 75 Chachoengsao Province 北柳府 จังหวัดชลบุรี...................................................................76 Chon Buri Province 春武里府 จังหวัดชัยนาท...............................................................77 Chai Nat Province 猜納府 จังหวัดตราด .................................................................. 78 Trat Province 達叻府 จังหวัดนครนายก............................................................80 Nakhon Nayok Province 那空那育府 จังหวัดนครปฐม..............................................................82 Nakhon Pathom Province 佛統府 จังหวัดนนทบุรี................................................................84 Nonthaburi Province 暖武里府 จังหวัดปทุมธานี..............................................................85 Pathum Thani Province 巴吞他尼府 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์....................................................86 Prachuap Khiri Khan Province 巴蜀府 จังหวัดปราจีนบุรี............................................................88 Prachin Buri Province 巴真府 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา................................................89 Phra Nakhon Si Ayutthaya Province 大城府 จังหวัดเพชรบุรี...............................................................90 Phetchaburi Province 佛丕府 จังหวัดระยอง..................................................................92 Rayong Province 羅勇府 จังหวัดราชบุรี.................................................................94 Ratchaburi Province 叻武里府 จังหวัดลพบุรี.................................................................. 96 Lop Buri Province 華富里府 จังหวัดสมุทรปราการ......................................................98 Samut Prakan Province 北欖府 จังหวัดสมุทรสงคราม....................................................100 Samut Songkhram Province 沙沒頌堪府/夜功府 จังหวัดสมุทรสาคร........................................................102 Samut Sakhon Province 龍仔厝府 จังหวัดสระแก้ว.............................................................104 Sa Kaeo Province 沙繳府 จังหวัดสระบุรี...............................................................106 Saraburi Province 沙拉武里府 จังหวัดสิงห์บุรี...............................................................108 Sing Buri Province 信武里府 จังหวัดสุพรรณบุรี.........................................................110 Suphan Buri Province 素攀武里府 จังหวัดอ่างทอง.............................................................112 Ang Thong Province 紅統府 116 - 153 เส้้นทางผ้้าไทยภาคอีีสาน Northeastern Thai Fabric Route 泰國東北織布工藝路線 จังหวัดกาฬสินธุ์............................................................120 Kalasin Province 加拉信府 จังหวัดขอนแก่น...........................................................122 Khon Kaen Province 孔敬府 จังหวัดชัยภูมิ...............................................................124 Chaiyaphum Province 猜也蓬府 จังหวัดนครพนม ..........................................................125 Nakhon Phanom Province 那空拍儂府 จังหวัดนครราชสีมา......................................................126 Nakhon Ratchasima Province 呵叻府
จังหวัดบึงกาฬ.............................................................127 Bueng Kan Province 汶干府 จังหวัดบุรีรัมย์..............................................................128 Buri Ram Province 武里喃府 จังหวัดมหาสารคาม ......................................................129 Maha Sarakham Province 馬哈沙拉堪府 จังหวัดมุกดาหาร..........................................................130 Mukdahan Province 穆達漢府 จังหวัดยโสธร...............................................................132 Yasothon Province 益梭通府 จังหวัดร้อยเอ็ด ............................................................134 Roi Et Province 黎逸府 จังหวัดเลย....................................................................136 Loei Province 黎府 จังหวัดศรีสะเกษ..........................................................138 Si Sa Ket Province 四色菊府 จังหวัดสกลนคร............................................................140 Sakon Nakhon Province 沙功那空府 จังหวัดสุรินทร์..............................................................142 Surin Province 素林府 จังหวัดหนองคาย.........................................................144 Nong Khai Province 廊開府 จังหวัดหนองบัวลำ ภู.....................................................146 Nong Bua Lam Phu Province 農寶林富府 จังหวัดอำ นาจเจริญ......................................................147 Amnat Charoen Province 安納乍能府 จังหวัดอุดรธานี............................................................148 Udon Thani Province 烏隆他尼府 จังหวัดอุบลราชธานี......................................................150 Ubon Ratchathani Province 烏汶叻差他尼府 154 - 179 เส้้นทางผ้้าไทยภาคใต้้ Southern Thai Fabric Route 泰國南部織布工藝路線 จังหวัดกระบี่.................................................................158 Krabi Province 甲米府 จังหวัดชุมพร................................................................160 Chumphon Province 春蓬府 จังหวัดตรัง....................................................................162 Trang Province 董里府 จังหวัดนครศรีธรรมราช.................................................163 Nakhon Si Thammarat Province 洛坤府 จังหวัดนราธิวาส...........................................................164 Narathiwat Province 那拉提瓦府 จังหวัดปัตตานี..............................................................166 Pattani Province 北大年府 จังหวัดพังงา.................................................................168 Phang-nga Province 攀牙府 จังหวัดพัทลุง................................................................169 Phatthalung Province 博他倫府 จังหวัดภูเก็ต................................................................170 Phuket Province 普吉府 จังหวัดยะลา .................................................................171 Yala Province 也拉府 จังหวัดระนอง ..............................................................172 Ranong Province 拉廊府 จังหวัดสงขลา..............................................................173 Songkhla Province 宋卡府 จังหวัดสตูล..................................................................174 Satun Province 沙敦府 จังหวัดสุราษฎร์ธานี......................................................176 Surat Thani Province 素叻府 180 คำำสั่่�งแต่่งตั้้�ง 181 บรรณานุุกรม 184 คณะผู้้จััดทำำ
泰國皇太后 御前絲綢四虎將 Queen’s Four Musketeers of Thai Silk ๔ ทหหารรเสสือ ราชินี ผ้าไหมไทย
加拉信府 咖嚜頌·絲拉通 (Khamson Srathong) 女士 Mrs. Khamson Srathong Kalasin Province นางคำำ สอน สระทอง จัังหวััดกาฬสิินธุ์์� 16 สืืบสาน อนุุรัักษ์์ศิิลป์์ผ้้าถิ่่�นไทย ดำำรงไว้้ในแผ่่นดิิน
咖嚜頌·絲拉通 (Khamson Srathong) 媽媽或稱咖嚜頌 (Khamson) 奶奶很受社會敬重,因為她是國寶藝術家,並 且是時代先鋒。奶奶現年81歲,但身體依舊硬朗,也還可 以編織。夫人所編織的布料尺寸通常為26-30厘米寬,其 他尺寸的布料則由咖嚜頌夫人小組的織者協力完成。 咖嚜頌•絲拉通夫人既熟悉傳統編織又極具創造力開 創了培娃編織 (Praewa weaving),從傳統到時尚都能創 造出精美的圖案。夫人曾帶領了小組成員編織99米世界上 最長共含60種圖案設計的培娃絲綢呈獻給詩麗吉皇太后陛 下。當年獻給九世皇普美蓬·阿杜亞德寬80厘米,長9 m, 含10個圖案,共43行的培娃絲織品,就使培娃絲織品舉 國聲名大燥。 基於她傑出的絲綢編織作品,泰國皇家家庭局任命咖嚜 頌·絲拉通 (Khamson) 夫人為沙功那空府乍倫信 (Charoen Sin) 區坤娜翰 (Kudnakham) 家庭藝術和手工藝促進中心 的編織業師,而她以勤奮,誠實和美德傳授編織工藝因而 也是加拉信府堪孟區班蓬當地的民俗智慧老師兼培娃絲綢 編織開發小組的顧問。作品屢獲殊榮,例如1990年獲得泰 國絲綢產品促進委員會在4-8條絲編織類別中頒發「傑出 絲綢編織獎」, 1992年獲得國家文化委員會頒發視覺藝術 (培娃絲綢編織)傑出貢獻獎。咖嚜頌•絲拉通夫人也因而 受尊奉為視覺藝術創作國寶藝術家。 Mother Khamson Srathong or Grandmother Khamson is a person who is respected by society because she is a national artist and is a person in the Praewa pioneer era. Grandma is now 81 years old, but she is healthy and can still weave. However, the fabric that Grandma now weaves is the size of a shoulder cloth which is 26-30 cm. wide, while other sizes of fabric are carried out by the weavers in her weaving group. Mother Khamson Srathong was the originator of the Praewa weaving technique. She has gained the expertise and developed beautiful patterns, both traditional and contemporary. She is able to create exquisite patterns. In addition, Grandma was the leader of the group who wove the longest Praewa silk fabric of 99 meters long, with 60 designs which was presented to Her Majesty Queen Sirikit The Queen Mother. Furthermore, the Praewa silk fabric with the extra width of 80 cm. and 9 meters long with 10 patterns, totaling 43 rows was presented to King Bhumibol Adulyadej The Great, making Praewa silk popularly known. From her outstanding silk weaving works, the Bureau of the Royal Household has appointed Mother Khamson a weaving teacher at Kudnakham Home Arts and Crafts Promotion Center, Charoen Sin District, Sakon Nakhon Province where she teaches weaving with diligence, honesty, and virtue. She is also a teacher of folk wisdom in Ban Phon, Kham Mueang District, Kalasin Province, as well as being an advisor to the Praewa Silk Development Group of Ban Phon, leading to award-winning, such as, an outstanding silk weaving group under the category of 4 - 8 ply silk fabric from the Thai Silk Products Promotion Committee in 1990. She received an award for her outstanding contributions to culture under the Visual Arts category (Praewa Weaving) from the National Culture Commission in 1992. Mother Khamson Srathong was, therefore, honored as a national artist in Visual Arts (Weaving). คุุณแม่่คำำ�สอน สระทอง หรืือคุุณ ยายคำำ�สอน เป็็นบุุคคลที่ ่� สัังคมให้้การยกย่่อง เพราะท่่านเป็็นศิิลปิินแห่่งชาติิ และเป็็นบุุคคลที่่�อยู่่ในยุุคบุุกเบิิกวิิจิิตรแพรวา ปััจจุุบัันคุุณยายอายุุ ๘๑ ปีี แต่่สุุขภาพยัังแข็็งแรงและยัังคงทอผ้้า ผ้้าที่่�คุุณยายทอจะเป็็นผ้้าขนาดสไบ คืือ กว้้าง ๒๖ - ๓๐ เซนติิเมตร ส่่วนผ้้าขนาดอื่่�น ๆ จะเป็็นช่่างทอในกลุ่่ม คุุณแม่่คำำ�สอน คุุณแม่่คำำ�สอน สระทอง เป็็นผู้้มีีความคิิดริิเริ่่�มสร้้างสรรค์์งานทอผ้้าแพรวา จนกระทั่่�งเกิิดความเชี่่�ยวชาญและ ได้้พััฒนารููปแบบลวดลายให้้สวยงามทั้้�งแบบดั้้�งเดิิมและแบบสมััยนิิยม สามารถประดิิษฐ์์ลวดลายได้้อย่่างประณีีต งดงาม อีีกทั้้�งคุุณยายได้้เป็็นผู้้นำำ�กลุ่่มทอผ้้าไหมแพรวาที่่�ยาวที่สุ ่� ุดในโลก ขนาด ๙๙ เมตร ๖๐ ลาย ขึ้้�นทููลเกล้า้ฯ ถวาย สมเด็็จพระนางเจ้้าสิิริิกิิติ์์� พระบรมราชิินีีนาถ และผ้้าไหมแพรวา ขนาดหน้้ากว้้างพิิเศษ ๘๐ เซนติิเมตร ยาว ๙ เมตร จำำ�นวน ๑๐ ลาย รวม ๔๓ แถว ขึ้้�นทููลเกล้้าฯ ถวายพระบาทสมเด็็จพระปรมิินทรมหาภููมิิพลอดุุลยเดช ทำำ�ให้้ผ้้าไหมแพรวาเป็็นที่ ่�รู้้จัักแพร่่หลาย จากผลงานการทอผ้้าไหมที่่�โดดเด่่น สำำ�นัักพระราชวัังได้มีี้หนัังสืือแต่่งตั้้�งให้้เป็็นครููสอนการทอผ้้าที่ศูู ่� นย์ส่์ ่งเสริมิ ศิิลปาชีีพบ้้านกุุดนาขาม อำำ�เภอเจริิญศิิลป์์ จัังหวััดสกลนคร ทำำ�หน้้าที่่�สอนการทอผ้้า ด้้วยความขยัันหมั่่�นเพีียร ซื่่�อสัตย์ั ์สุุจริิต และมีีคุุณธรรมเสมอมา นอกจากนี้้�ยัังเป็็นครููภููมิิปััญญาให้้แก่่ชาวบ้้านบ้้านโพน อำำ�เภอคำำ�ม่่วง จัังหวััด กาฬสิินธุ์์อีีกทั้้�งทำำ�หน้้าที่่�วิิทยากร ที่ ่�ปรึึกษาให้้แก่่กลุ่่มพััฒนาผ้้าไหมแพรวาของบ้า้นโพน ทำำ�ให้้มีีผลงานและได้้รัับ รางวััล เช่่น รางวััลชนะเลิศิกลุ่่มทอผ้้าไหมดีีเด่่น ประเภทผ้้าไหมทอ ๔ - ๘ เส้้น จากคณะกรรมการส่่งเสริมสิินค้้า ไหมไทย พ.ศ. ๒๕๓๓ ได้้รัับรางวััลผู้้มีีผลงานดีีเด่่นทางด้้านวััฒนธรรม สาขาทััศนศิิลป์์ (ทอผ้้าแพรวา) จาก คณะกรรมการวััฒนธรรมแห่่งชาติิ พ.ศ. ๒๕๓๕ คุุณแม่่คำำ�สอน สระทอง จึึงได้้รัับการยกย่่องเชิิดชููเกีียรติิเป็็นศิิลปิิน แห่่งชาติิ สาขาทัศันศิิลป์์ ในการสร้้างสรรค์ผ์ลงาน Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land 傳承泰國鄉土傳統織布 17
武里南府 葩初阿彭·詹煖 Prachuap Channuan 女士 納潑 (Ban Na Pho) 紮結染絲綢織造中心的成員葩 初阿彭·詹煖 (Prachuap Channuan) 老師說,這裡每個 人對詩麗吉皇太后陛下都滿懷感恩戴德。皇太后陛下一 向鼓勵村民在以往乾旱的地區植桑養蠶發展絲織工藝創 業。過去,村民長年以來必須攜帶絲綢到其他偏遠地區 才能換得大米,如今透過絲綢織造中心,村民的生活品 質都已大幅改善。 獲獎的布料織紋是根據原始紋樣用三綜片改編成三 鉤織紋 (Khor Sam design) 的新設計。此織紋於1999年 在沙功那空府獲頒第一名。夫人所帶的這條項鍊是由詩 麗吉皇太后陛下頒發的。皇太后還招募夫人為王室代表, 在美國華盛頓特區弘揚絲綢編織文化。 Mrs. Prachuap Channuan Buri Ram Province Teacher Prachuap Channuan, together with all members of the Mudmee Silk Weaving Center at Ban Na Pho, was proud of the benevolence of Her Majesty Queen Sirikit The Queen Mother for encouraging the villagers to have a weaving career and plant mulberry trees to feed the silkworms in the areas that used to suffer from severe droughts. Back then, in certain years silk fabric had to be exchanged for rice in remote areas. Nowadays, the villagers have a better career and quality of life. The award-winning fabric pattern was a newly developed Khor Sam design. It was adapted from the original pattern, and the designer received the first prize in Sakon Nakhon Province in 1999. A gold necklace was awarded by Her Majesty Queen Sirikit. The Queen Mother also recruited her as a representative in the royal mission to publicize the silk weaving culture in Washington, D.C., USA. ครููประจวบ จัันทร์์นวล และสมาชิิกศููนย์์ศิิลปาชีีพทอผ้้าไหมมััดหมี่บ้ ่� า้นนาโพธิ์์� ทุุกคนมีีความภาคภููมิิใจ ในพระมหากรุุณาธิิคุุณของสมเด็จ็พระนางเจ้าสิ้ริกิติ์์� พระบรมราชินีีินาถ อย่า่งที่สุ ่� ุด ที่่�พระองค์์ทรงสนับัสนุุน ให้้ชาวบ้า้นมีีอาชีีพทอผ้้าและปลููกหม่่อนเลี้้�ยงไหมเกืือบทุุกครััวเรืือน จากพื้้�นที่ ่� ที่่�เคยแห้้งแล้้ง ในบางปีี ต้้องนำำ�ผ้้าไหมไปแลกข้าว้ ในต่า่งพื้้�นที่ห่ ่� า่ งไกล ซึ่่�งในปัจจุับัุันชาวบ้า้นมีีอาชีีพและมีีคุุณภาพชีีวิิตที่ดีีขึ้่� ้�น ลวดลายผ้้าที่่�ได้รั้บัรางวััลจะเป็็น ลายขอสาม ที่พั ่� ัฒนาออกแบบลายใหม่่ โดยนำำ�ลายดั้้�งเดิมมาดัิ ัดแปลง จนได้รั้บัรางวััลชนะเลิศอัิ ันดับั ๑ ของจัังหวััดสกลนคร เมื่่�อปีี พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้รั้บัรางวััลสร้้อยคอพระราชทาน จากสมเด็จ็พระนางเจ้าสิ้ริกิติ์์� พระบรมราชินีีินาถ อีีกทั้้�งยัังได้รั้บคััดเลืือกเป็็นตัวัแทนตามเสด็จ็ฯ ไปเผยแพร่่ วััฒนธรรมการทอผ้้าไหม ณ กรุุงวอชิิงตััน ดีี.ซีี. สหรััฐอเมริิกา นางประจวบ จัันทร์์นวล จัังหวััดบุุรีีรััมย์์ 18 สืืบสาน อนุุรัักษ์์ศิิลป์์ผ้้าถิ่่�นไทย ดำำรงไว้้ในแผ่่นดิิน
Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land 傳承泰國鄉土傳統織布 19
那空拍儂府 翁端·烏多嗲叉葳 (Wongduean Udomdechawet) 女士 Mrs. Wongduean Udomdechawet Nakhon Phanom Province นางวงเดืือน อุ ุ ดมเดชาเวทย์์ จัังหวััดนครพนม 20 สืืบสาน อนุุรัักษ์์ศิิลป์์ผ้้าถิ่่�นไทย ดำำรงไว้้ในแผ่่นดิิน
1972年,翁端·烏多嗲叉葳 (Wongduean Udomdechawet) 老師有幸得以覲見詩麗吉皇太后陛 下並奉獻織品。陛下看到夫人獻上的織品時,誇讚說: “這很漂亮。你自己編織的嗎?” 讓翁端 (Wongduean) 老師倍感欣榮的是隨後還有機會再度覲見並獲頒發皇家 絲綢獎。此殊榮改善了她的家庭生活質量。另外,她幾 乎每年都有機會在皇家紮結染絲綢編織比賽中獲得第二 名或安慰獎等獎項。 自從皇太后秘書處主任一品夫人 (Thanpuying Supraphada Kasemsan) 女士叮嚀翁端 (Wongduean) 老 師要幫忙照顧人民的第一天開始,就讓老師受寵若驚,驚 覺像她這樣的普通村民竟然能有機會為皇太后皇室服務。 因此,她盡心盡力全力以赴在那窪中心 Ban Na Wa 發 展紮結染絲綢編織。1973年,翁端 (Wongduean) 老師 擔任詩麗吉皇太后轄下皇家秘書處的輔導員。自2013年 至今,她一直在那空拍儂府那窪區 (Na Wa District) 那 窪中心 (Ban Na Wa) 藝術與手工藝基金會擔任紮結染絲 綢編織傳習業師。 In 1972, Teacher Wongduean Udomdechawet had an opportunity to present her silk fabric to Her Majesty Queen Sirikit The Queen Mother. Upon seeing her work, Her Majesty said, “It is very beautiful. Did you weave it yourself?” Wongduean was deeply touched. After that she had another opportunity to be in audience with Her Majesty again to receive a Royal Silk Award. The event made her proud and resulted in a better quality of life for her family. She also had a chance to receive the 2nd highest award and a consolation prize almost every year in the Royal Mudmee Silk Contest. From the first day that Thanpuying Supraphada Kasemsan told Teacher Wongduean to help look after the people on Her Majesty’s behalf, it has brought so much pride that an ordinary villager like her could have had an opportunity to work in the service of the Queen. Therefore, she has devoted her utmost ability both physically and mentally to continue and further develop the Mudmee silk fabric at Ban Na Wa. In 1973, Teacher Wongduean served as a Coordinator of the Royal Secretariat of Her Majesty Queen Sirikit, the Queen’s Foundation for the Promotion of Arts and Crafts at Suan Chitralada Palace. Since 2013 uptil the present, she has been a teacher of handicraft, in Mudmee silk weaving at the Arts and Crafts Foundation, Ban Na Wa, Na Wa District, Nakhon Phanom Province. เมื่่�อปีี พ.ศ. ๒๕๑๕ ครููวงเดืือน อุุดมเดชาเวทย์์ ได้มีี้ โอกาสเข้้าเฝ้้าฯ และถวายผ้้าไหมแด่่สมเด็็จพระนางเจ้้า สิิริิกิิติ์์� พระบรมราชิินีีนาถ เมื่่�อพระองค์์ได้้ทอดพระเนตร พระองค์์ท่่านตรััสว่่า “สวยมาก ทอเองหรืือจ๊๊ะ” ทำำ�ให้้ แม่่วงเดืือนซาบซึ้้�งและดีีใจเป็็นที่ ่� สุุด หลัังจากนั้้�นได้้มีีโอกาสเข้้าเฝ้้าฯ พระองค์์อีีกครั้้�ง คืือ การเข้้ารัับพระราชทาน รางวััลประกวดผ้้าไหม ทำำ�ให้้เกิิดความภาคภููมิิใจ อีีกทั้้�งยัังส่่งผลให้้คุุณภาพชีีวิิตของครอบครััวดีีขึ้้�น และมีีโอกาส ได้้รัับพระราชทานรางวััลประกวดผ้้าไหมมััดหมี่่�ชนะเลิศอัิ ับดัับ 2 และรางวััลชมเชยมาเกืือบทุุกปีี นัับตั้้�งแต่่วัันแรกที่ ่� ท่่านผู้้หญิิงสุุประภาดา เกษมสัันต์์ บอกกัับครููวงเดืือนว่่า “วงเดืือนช่่วยดููราษฎร ดููต่่างพระเนตรพระกรรณ” ทำำ�ให้้เกิิดความภาคภููมิิใจว่่า ชาวบ้้านธรรมดาได้้มีีโอกาสทำำ�งานรัับใช้้พระองค์์ จึึงทุ่่มเททั้้�งกำำ�ลัังกาย กำำ�ลัังใจ เพื่่�อสืืบสานและต่่อยอดผ้้าไหมมััดหมี่บ้ ่� ้านนาหว้า้อย่่างเต็็มกำำ�ลััง ในปีี พ.ศ. ๒๕๑๖ ครููวงเดืือนได้้ทำำ�หน้้าที่่�เป็็นเจ้้าหน้้าที่ ่�ประสานงานกองราชเลขานุุการในสมเด็็จพระนางเจ้้า สิิริิกิิติ์์� พระบรมราชิินีีนาถ มููลนิิธิิส่่งเสริิมศิิลปาชีีพฯ สวนจิิตรลดา และนัับตั้้�งแต่่ปีี พ.ศ. ๒๕๕๖ จนถึึงปััจจุุบััน ได้้เป็็น ครููศิิลปาชีีพการทอผ้้าไหมมััดหมี่่� มููลนิิธิิส่่งเสริิมศิิลปาชีีพฯ บ้้านนาหว้้า อำำ�เภอนาหว้้า จัังหวััดนครพนม Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land 傳承泰國鄉土傳統織布 21
烏隆他尼府 蘇娜·絲佈托蔻 (Suna Sributrkot) 女士 1982年(佛曆2525年),詩麗吉皇太后陛下前往她在 沙功那空府富潘宮的皇室住所,順道參拜當時稱為烏隆他 尼府農布林富區臥佛寺的高僧龍普考,選取了蘇娜·絲佈 托蔻老師圖案精美的緹花織品帶回皇室,並予以召見頒 獎,且邀請蘇娜老師的編織團隊參加在班農推廣編織緹 花工藝的計畫。陛下還任命蘇娜老師為皇家老師,並跟 隨她在皇宮裡教孤兒。 當蘇娜老師返回社區時,她將編織的知識傳給了她 的孩子們和感興趣的村民。透過將東北地區傳統編織於 棉布上的緹花 (Khit) 織紋轉而編織在絲綢上,蘇娜老師 因而聲名大噪廣受學生尊崇。2004年,泰皇拉瑪九世授 予聲譽崇高的迪雷•克古拉霍恩 (Direkgunabhorn) 勋章。此後, 蘇娜老師還獲得了許多其他獎項。 Mrs. Suna Sributrkot Udon Thani Province In 1982, Her Majesty Queen Sirikit The Queen Mother went to her royal residence at Phu Phan Palace in Sakon Nakhon Province to pay respect to Luang Pu Khao, Wat Tham Klong Phen, Nong Bua Lam Phu District, Udon Thani Province (at that time). Her Majesty selected the Khit silk piece with a beautiful pattern of Teacher Suna Sributrkot and granted her an audience. Her Majesty bestowed Teacher Suna an award and accepted Teacher Suna’s weaving group to participate in a project to promote the arts and crafts of weaving Khit silk at Ban Nong Or. Her Majesty also appointed Teacher Suna to be a royal teacher and to follow her to teach the orphans in the palace. When Teacher Suna returned to the community, she passed on the knowledge of weaving to her children and interested villagers. Through the development of weaving Khit pattern cotton into Khit pattern silk fabric, she became famous and respected by her students. And in 2004 she was awarded the Most Admirable Order of the Direkgunabhorn from King Rama IX. Teacher Suna has also received many other awards ever since. ในปีี พ.ศ. ๒๕๒๕ สมเด็จ็พระนางเจ้้าสิิริิกิิติ์์� พระบรมราชินีีินาถ เสด็จ็ฯ แปรพระราชฐานมาประทับั ณ พระตำำ�หนัักภููพานราชนิิเวศน์์ จัังหวััดสกลนคร และพระองค์์เสด็จ็ฯ ไปนมััสการหลวงปู่่�ขาววััดถ้ำำ��กองเพล อำำ�เภอหนองบัวลำั ำ�ภููจัังหวััดอุุดรธานีี (ในขณะนั้้�น) ได้้ทรงคััดเลืือกผ้้าไหมลายขิิดของครููสุุนา ศรีีบุุตรโคตร ที่ ่�มีีลวดลายสวยงามจนเป็็นที่่�พอพระราชหฤทััย ได้้รัับสั่่�งให้้เข้้าเฝ้้าฯ และพระราชทานรางวััล อีีกทั้้�ง ทรงรับักลุ่่มทอผ้้าของครููสุุนาเข้าร่้วม่ โครงการส่่งเสริมิศิิลปาชีีพการทอผ้้าขิิดไหมบ้า้นหนองอ้้อ และทรงแต่่งตั้้�ง ครููสุุนาเป็็นครููหลวง ตามเสด็็จฯ ไปสอนเด็็กกำำ�พร้้าในวััง เมื่่�อครั้้�งครููสุุนาได้้กลัับมายัังชุุมชน ก็็ได้้ถ่่ายทอดความรู้้เรื่่�องการทอผ้้าให้้แก่่ลููกหลานและชาวบ้้าน ที่่�สนใจ ร่่วมกัับพััฒนาการทอผ้้าฝ้้ายลายขิิดเป็็นผ้้าไหมลายขิิด จนมีีชื่่�อเสีียงและเป็็นที่่�เคารพนัับถืือของ ลููกศิิษย์์ และในปีี พ.ศ. ๒๕๔๗ ได้รั้บัพระราชทานเครื่่�องราชอิิสริิยาภรณ์อั์ันเป็็นที่่�สรรเสริิญยิ่่�งดิิเรกคุุณาภรณ์์ จากพระบาทสมเด็จ็พระปรมิินทรมหาภููมิิพลอดุุลยเดช และครููสุุนายัังได้รั้บัรางวััลสรรเสริิญต่า่ง ๆ มากมาย นางสุุนา ศรีีบุุตรโคตร จัังหวััดอุุดรธานีี 22 สืืบสาน อนุุรัักษ์์ศิิลป์์ผ้้าถิ่่�นไทย ดำำรงไว้้ในแผ่่นดิิน
Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land 傳承泰國鄉土傳統織布 23
編織工藝技術 Techniques/processes in weaving ผ้้ามืือทอถืือเป็็นศิิลปหััตถกรรมอย่่างหนึ่่�ง อาจเรีียกชื่่�อตามความคุ้้นเคยว่่าผ้้าไทยหรืือผ้้าพื้้�นเมืือง ที่ ่�มีีมา แต่่โบราณซึ่่�งเป็็นมรดกของกลุ่่มชาติิพัันธุ์์ที่่�หลากหลาย ผ้้าจึึงมิิได้้เป็็นเครื่่�องแต่่งกายแต่่เพีียงอย่่างเดีียว แต่ยั่ ังเป็็น สิ่่�งบ่่งชี้้�ความเป็็นมาแห่่งเชื้้�อชาติิ สะท้้อนด้า้นเศรษฐกิิจ ด้้านสัังคม ด้้านวััฒนธรรม ด้้านศาสนา ด้้านคติิความเชื่่�อ ตลอดจนถึึงด้า้นการพััฒนาภููมิปัิัญญา ผ้้าไทยหรืือผ้้าพื้้�นเมืืองของไทยจึึงมีีอัตลัักษณ์ที่์ ่�โดดเด่่นเฉพาะเป็็นของตนเอง ในแต่่ละท้้องถิ่่�น รููปแบบลวดลายก็็ไม่่เหมืือนกััน วััสดุุที่ ่� นำำ�มาใช้้ทอก็็ไม่่เหมืือนกััน การนำำ�ผ้้าไปใช้้ก็็ไม่่เหมืือนกััน เครื่่�องมืืออุุปกรณ์์ที่่�ใช้้ทอผ้้าก็็ไม่่เหมืือนกััน โดยเฉพาะวิิธีีการทอที่ ่� ทำำ�ให้้เกิิดลวดลายบนพื้้�นผ้้าก็็แตกต่่างกััน หากจำำ�แนกตามเทคนิิคการทอ อาจจำำ�แนกได้้พอสัังเขปดัังนี้้� ผ้้าลายขััด ผ้้าลายขััด เป็็นผ้้าทอมืือที่่�ใช้้ลายทอพื้้�นฐาน ทอด้ว้ยกี่่�แบบพื้้�นบ้า้น กี่่�กระตุุก หรืือกี่่�เอว เป็็นลายผ้้าที่มีี่� โครงสร้า้ง ที่ง่ ่� า่ยที่สุ ่� ุดและมีีความแข็็งแรงกว่า่ โครงสร้า้งผ้้าแบบอื่่�น เนื่่�องจากเส้้นด้า้ยแต่่ละเส้้นขััดสานกัันอย่า่งแน่่นหนา โครงสร้า้ง ผ้้าลายขััดมีีลัักษณะการขััดแบบข้้าม ๑ เส้้น ลอด ๑ เส้้น วิิธีีการทอผ้้าลายขััดนี้้�ก็็ง่่ายมาก โดยการแบ่่งด้้ายยืืน ออกเป็็น ๒ กลุ่่ม ใช้้ตะกออย่่างน้้อย ๒ ตะกอ (๒ เขา) เมื่่�อร้้อยเส้้นด้้ายเข้้าตะกอจะร้้อย ๑ สลับกัันตะกอละ ๑ เส้้น เวลายกตะกอด้า้ยยืืนกลุ่่มหนึ่่�งจะขึ้้�นและด้า้ยยืืนอีีกกลุ่่มหนึ่่�งจะลง เพื่่�อเปิิดกลุ่่มด้า้ยยืืนให้้เป็็นช่่อง แล้ว้สอดกระสวย พาด้า้ยพุ่่งผ่า่นเข้า้ไปได้ต้ลอดหน้า้ผ้้า เมื่่�อช่า่ งทอใช้้ฟัันหวีีกระทบด้า้ยพุ่่งจะชิิดแน่่นเป็็นผืืนผ้้า ผ้้าลายขััดมีีหลายชนิิด และขนาดน้ำำ��หนัักต่า่งๆ ตั้้�งแต่่เนื้้�อบางโปร่่งจนถึึงเนื้้�อหนามาก ผ้้าลายขััดยัังสามารถดััดแปลงวิิธีีการทอให้้แตกต่า่ง กัันออกไปได้อีี้กมาก เช่่น การเพิ่่�มจำำ�นวนเส้้นพุ่่ง การทอสลับัเส้้นด้า้ยสีีต่า่ง ๆ เช่่น ผ้้าลายเกล็็ดเต่า่ และผ้้าพื้้�นเมืือง ของกลุ่่มชาติิพัันธุ์์ต่่างๆ แต่่ก็็ยัังคงรัักษากระบวนการทอที่ ่�มีีการขััดสานไว้้ซึ่่�งลายขััด ผ้้าลายขััดเป็็นผ้้าที่ ่� นิิยมทอ และใช้กั้ันมากที่สุ ่� ุดเมื่่�อเทีียบกับั ผ้้าที่่�ใช้้ลายอื่่�นๆ ผ้้าทอมืือที่่�ทอด้ว้ยเทคนิคอื่่ ิ �น ๆ ก็ยั็ังคงใช้้ลายขััดเป็็นลายพื้้�น หรืือใช้้ ลายขััดไปทอสลัับกัับลวดลายด้้วยเสมอ ผ้้ามััดหมี่ ่� ผ้้ามััดหมี่่� หมายถึึง ผ้้าที่มีี่� ลวดลายโดยใช้้เทคนิคิการมััดเส้้นด้า้ยให้้เกิิดลวดลายตามที่กำ ่� ำ�หนดแล้วนำ้ ำ�ไปย้้อมสีีก่่อน แล้้วจึึงนำำ�ไปทอผ้้า กรณีีที่่�เส้้นด้้ายมีีสีีขาว ตรงส่่วนที่ ่� มััดไว้้ด้้วยเชืือกกล้้วยหรืือเชืือกพลาสติิก เมื่่�อนำำ�ไปย้้อมสีี สีีจะไม่่ติิด สีีจะติิดเฉพาะตรงส่่วนที่่�ไม่่ได้้มััดไว้้ เมื่่�อแกะเชืือกที่ ่� มััดออกจะเห็็นรอยสีีซึึมเข้้าไปตรงช่่วงที่ ่� มััดไว้้ อย่่างมีีศิิลปะ ทำำ�ให้้ในส่่วนรายละเอีียดจากสีีที่ซึึม่� ไม่่อาจซ้ำำ��กัันได้้ในแต่่ละผืืน เมื่่�อต้้องการย้้อมสีีที่่�สองก็็จะแก้้เชืือก ที่ ่� มััดไว้้ออกเป็็นบางส่ว่น แต่ก็่ ็อยู่่ภายใต้้ลวดลายหมี่ที่ ่� ่� กำำ�หนด เมื่่�อนำำ�ไปย้้อมจะได้้สีีที่่�สองตามต้้องการ วิิธีีนี้้�เรีียกว่่า “โอบ” หากต้้องการย้้อมทับสีี ัเดิมซึ่่ ิ �งก็จ็ะได้สีีที่้ ่�สาม เรีียกวิิธีีนี้้ว่�า่ “ถม” นอกจากนี้้ยั�ังสามารถแยกประเภทผ้้ามััดหมี่่� ซึ่่�งแยกได้้เป็็น ๓ ประเภท คืือ 1. ผ้้ามััดหมี่่�เส้้นพุ่่ง 2. ผ้้ามััดหมี่่�เส้้นยืืน 3. ผ้้ามััดหมี่่�เส้้นยืืนและเส้้นพุ่่ง (หมี่่�สองทางหรืือหมี่ ่� ซ้้อน) เทคนิิค/กรรมวิิธีีในการทอผ้้า 24 สืืบสาน อนุุรัักษ์์ศิิลป์์ผ้้าถิ่่�นไทย ดำำรงไว้้ในแผ่่นดิิน
編織是一種手工藝,所編織出來的布料可能用我們 所熟悉的泰國布料或某地布料之類的名稱來稱呼,是各 個民族自古以來就留存下來的遺產。各種織品並不僅只 是用為服飾而已,還反映出經濟、社會、文化、宗教、信 仰、種族等背景以及其智慧的延續。因此,泰國布料或傳 統泰國布料在各地方都有其獨特的標誌。其用於編織的材 料、布料、編織工具、圖案、尤其是在織品上產生圖案的 編織方法都可能有所不同。 編織技術可以簡述如下: 平紋布 平紋布是使用基本編織織紋的手工編織布。是用傳 統的織機織造的,具有最簡單的結構,因而比其他織紋 布堅固,因為每根紗線都緊密地交織在一起。平織法的 特徵是緯紗先穿一股經紗然後再穿過另一股經紗。先將 經紗分為兩組,至少用兩組提綜片 (heddles) 來穿經紗, 就可以輕鬆完成平紋布。兩組提綜片將經紗交換提起或 放下,然後讓一組經紗打開到可以讓梭芯 (bobbin) 帶著 緯紗穿過一整組經紗表面。當織工用梳經齒 打緊緯紗時, 經緯紗就交織密合成為織布。平紋布有各種類型、尺寸 和重量,從輕薄到非常厚重都有。平紋布也可以變化成 多種不同的編織方法,例如增加緯紗數量或以不同顏色 的紗線編織成龜甲圖案的布料或不同族群的傳統織布。 但是,編織技法仍屬平織法。和其他織紋的織布相比, 平織是最普遍使用的織法。其他手工織布大部分仍以平 紋打底再交替參入其他織紋。 紮結染織布 紮結染織布 (Mudmee) 是指依指定圖紋使用捆紮 紗線方式,將紮好的紗線先進行染色後再繼續編織而產 出的有圖案的布料。染色前紗線是白色的,用香蕉纖維 或塑膠繩紮結後的部份在染色時不會著色。只有在沒紮 結的部分才會著色。拆開結線時,色彩也會稍稍滲入紮 結的部分,因而造成每次每一作品在細節上都有些許不 同。當原圖案需要加染第二種顏色時,就要將部份紮結 的線繩拆解開後再加染第二種顏色 此方法稱為 “解結二 次染 Obb(原意為纏繞)”。如果在原先已染色的圖案上 再紮結或拆解紮結的線繩加染上第三種顏色時,則稱此 種方法為 “紮解結三次染 Thom(原意為填充)”,而紮 結染又可以再細分為3種類型: 1. 緯線紮結染織布 2. 經線紮結染織布 3. 經線和緯線都紮結染織布 Weaving is a handicraft, the resulting cloth of which may habitually be called the Thai fabric or the local fabric. It has existed since ancient times and been regarded as the heritage of various ethnic groups. The cloth is therefore seen not just as an attire, but also an indication of the ethnic background reflecting the economic, social, cultural, religious, and belief aspects, as well as the development of wisdom. Thai textile or traditional Thai textile, therefore, has its own unique identity in each locality. Design patterns are not uniform, nor are the materials used for weaving. Textile usages are also varied. Weaving tools are not the same. In particular, the weaving methods that create patterns on the fabric are different. The weaving techniques may be classified as briefly as follows: Lai Khad Fabric (Plain Fabric) Lai Khad fabric is a handwoven piece using the basic weaving pattern. The fabric is woven with a throwing shuttle handloom, flying shuttle handloom and back-strap loom and has the simplest structure but is stronger than the other types of fabric because each thread is densely interwoven. The Lai Khad pattern has the characteristics of crossing over one thread and then going under another thread. The method of weaving this Lai Khad pattern is easily achieved by dividing warps into 2 groups, using at least 2 heddles. Alternately, one group of warps will go up and the other group will go down, thus opening all warps into a channel for a bobbin to carry the thread through the entire surface. When the weaver hits the weft with a reed dent, the weft yarn will fit tightly into the fabric. Lai Khad fabric comes in different types and sizes with varying weights, from thin and sheer to very thick. Lai Khad textile’s weaving method can also be modified, such as by increasing the number of wefts, or weaving in different colors, yielding the turtleshell pattern and various indigenous patterns from different ethnic groups. However, the weaving process still maintains the Lai Khad pattern. Lai Khad textile is the most popular and widely used, compared with the other patterned fabrics. Handwoven fabrics that are woven via the other techniques still use the Lai Khad pattern as the base pattern or use the Lai Khad pattern to alternate with the other patterns. Mudmee Fabric Mudmee fabric refers to a patterned textile using the technique of tying yarns to create a specified pattern and then dyeing before weaving. If the yarn is white, the color of the part tied with banana or plastic string, when being stained, will not stick. The color will stick only on the part that is not tied. When the string is unwrapped, the color marks artistically seep into the part which was previously tied, making the details from the color that seeps unique in each piece. When a second dye is used, the stringed part will be partially untied according to the specified Mudmee pattern. When dyed, the second color desired is obtained. This method is called “Obb”. If you want to dye over the original color which will get the third color, this method is called “Thom”. Mudmee fabric can be divided into 3 types namely: 1. Mudmee with weft yarns 2. Mudmee with warp yarns 3. Mudmee with both warp and weft yarns Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land 傳承泰國鄉土傳統織布 25
緯線紮結染織布 經線紮結染織布 經線和緯線都紮結染織布 延續紮結染織布 分段紮結染織布 斜紋紮結染織布 紮結染織布也可以根據編織圖案的結構進行分類: 1. 延續紮結染織布 (Mudmee Lode) 的布料是指在 同一塊布料上同一紮結染圖案結構一直重複延伸。 2. 分段紮結染織布 (Mudmee Khan or Khor) 又 稱「墈--Khan 紮結染」或稱 「廓--Khor 紮結染」, 是指花紋間斷交替的紮結染織布,也就是當中會有 單色的紗線或其他圖案將紮結染圖案分段。當用緹 花Khit圖案將紮結染圖案分開時,稱為「緹花紮結染 Mee Khit」。 3. 斜紋紮結染織布 (Mudmee Rai) 是指圖案整體都 呈斜向或對角線織紋。每個民族紮結染織布的圖案和顏 色都有其獨特的標識。尤其是,排列延續紮結染。 泰國東北部南部的族人稱為「密·霍爾--Mee Hol」 的紮結染織布是一種編織歷史悠久的古老的布料,還能依 其復雜的故事和圖案進一步加以細分,而泰國東北地區眾 所周知是紮結染織布的本源。 Mudmee with weft yarns Mudmee with warp yarns Mudmee with both warp and weft yarns Mudmee Lode Mudmee Khan or Khor Mudmee Rai Mudmee fabric can also be divided according to the structure of weaving patterns as follows: 1. Mudmee Lode means Mudmee textile with a similar pattern structure and is woven continuously throughout the entire piece. 2. Mudmee Khan or Khor refers to the intermittent Mudmee patterned textile, and there will be colored yarns or other patterns separating the Mudmee pattern. When the Mudmee Khan pattern is separated by the Khit pattern, it is called “Mee Khit”. 3. Mudmee Rai means the Mudmee textile with a slanting or diagonal pattern in the same direction throughout the entire piece. However, the pattern and color of the Mudmee fabric of each ethnic group has a distinct identity. In particular, the Mudmee fabric of the Southern Isan ethnic group called “Mee Hol” is still further subdivided and has a complicated story and pattern. It is an ancient textile that has been woven and passed down many generations. The Isan region is the most common source of Mudmee weaving. ผ้้ามััดหมี่ ่� ยัังสามารถแบ่่งตามโครงสร้า้งลายทอได้้อีีกเป็็น ๓ โครงสร้้าง คืือ 1. ผ้้ามััดหมี่่�โลด หมายถึึง ผ้้ามััดหมี่ที่ ่� มีี่� โครงสร้า้งลวดลายเหมืือน ๆ กัันและทอต่่อเนื่่�องกัันเป็็นส่ว่ นใหญ่ต่ลอดทั้้�งผืืน 2. ผ้้ามััดหมี่คั่่� �นหรืือหมี่ข้ ่� ้อ หมายถึึง ผ้้ามััดหมี่ที่ ่� มีี่� ลวดลายไม่่ต่่อเนื่่�องกััน แต่จ่ะมีีเส้้นด้า้ยสีีพื้้�นหรืือลายอื่่�นมาคั่่�น ลายหมี่่�ไว้้ ยกเว้้นกรณีีที่่�ลายหมี่คั่่� �นด้้วยลายขิิด จะเรีียกว่่า “หมี่่�ขิิด” 3. ผ้้ามััดหมี่ร่ ่� า่ย หมายถึึง ผ้้ามััดหมี่ที่ ่� ่�ลวดลายมีีลัักษณะเอีียงหรืือทแยงไปในทิศิทางเดีียวกัันตลอดทั้้�งผืืน ผ้้ามััดหมี่่�เส้้นพุ่่�ง ผ้้ามััดหมี่่�เส้้นยืืน ผ้้ามััดหมี่่�เส้้นยืืนและเส้้นพุ่่�ง ผ้้ามััดหมี่่�โลด ผ้้ามััดหมี่่�คั่่�นหรืือหมี่่�ข้้อ ผ้้ามััดหมี่่�ร่่าย นอกจากนี้้� ลวดลายและสีีในผ้้ามััดหมี่่�ของแต่่ละกลุ่่มชาติิพัันธุ์์ก็ยั็ังมีีเอกลัักษณ์ที่์ ่�โดดเด่่นแตกต่า่งกัันออกไปอีีก โดยเฉพาะผ้้ามััดหมี่่�ของกลุ่่มชาติิพัันธุ์์อีีสานใต้้ ที่่�เรีียกว่า่ “หมี่่�โฮล” นั้้�นก็ยั็ังมีีการแบ่่งประเภทออกไปได้อีี้ก ซึ่่�งมีีเรื่่�องราว และลวดลายที่ซั ่� บซ้ั ้อน เป็็นผ้้าโบราณที่มีี่� การทอสืบืทอดมานาน และภาคอีีสานเป็็นแหล่่งที่มีี่� การทอผ้้ามััดหมี่มา ่� กที่สุ ่� ุด 26 สืืบสาน อนุุรัักษ์์ศิิลป์์ผ้้าถิ่่�นไทย ดำำรงไว้้ในแผ่่นดิิน
織錦緞 在方言中這種布料又稱為「踏板布 Yieb (原意是 踩/踏)」,是從編造過程而得名,用於利用腳踏板提綜片 織出圖案的布料,沒有用浮綜片 (floating heddles) 或木 劍桿 (sword sticks) 來提挑出經紗,也沒有添加額外的 緯紗或經紗。通常,這種織布都會有重複的圖案。整經時, 織工依據所指定的的圖案將經紗(排線、貼圖、挑花) 分成幾組用於整理綜片進行規劃設計。所採用的可能是 古老或創新的圖案。圖案可大可小,具體取決於織工在 織布時是否能靈活保持手腳同步,工藝過程包括:織工 整理經線(整經)、依整個圖案所需排整連結好(聯繫), 繫好提綜片和腳踏板(綁好踏板),以便編織時手腳適時 同步。依圖案可以織成單面或雙面布,並且可以用不同 類型的手動織機編織,例如用民間織機、腰織機或其他 手動織機。踏板織機的合適綜片數介於3片到6片,如此 可以保持經緯線適時適度敞開好讓梭芯順利穿梭。如果 提綜片數更多,能使圖案更繁雜,但也將導致編織比較 複雜技藝更高而不便操作。幾乎每個地區編織的織錦緞 (Yok Dok) 種類都相當繁多,但是今天仍然流行並且經常 看到的傳統圖案有琉璃珠 (Look Kaeo) 圖案,拉賈瓦塔納 (Ratchawat) 圖案,皮庫爾/子彈木 (Pikul) 花朵圖案,藤球 (Look Whai) 圖案,胡椒 (Pepper) 花朵圖案等。 Yok Dok Fabric Yok Dok fabric may be dialectally called “Yieb textile”. It is the name of the fabric obtained from the weaving process which creates a pattern from the heddles, without Lai Khad heddles, nor floating heddles, nor wooden sword sticks to support the warp yarns. No extra weft or warp yarns are added. In general, this kind of textile has a repetitive pattern throughout the entire textile. To prepare the warp, weavers will design and plan by selecting the warp (concerning the yarn, the screening, and the flower pattern) into groups according to the pattern specified by the weaver regarding where to position the heddles. It can be an ancient pattern or a newly invented pattern. The pattern can be small or large, depending on the weaver’s skill to keep the heddles in line with the design and the planning, linking them and the yarn pedals to synchronize while weaving. The pattern can be dominant on one or both sides of the textile and can be woven using different types of hand looms, such as, throwing shuttle handloom, flying shuttle handloom, back-strap loom, etc.The suitable and easy number of heddles for hand-weaving weavers will start from 3 to 6 whereby pedaling while weaving can be easily done, making the warp channel wide enough to allow the bobbin to pass through conveniently. If the number of heddles is greater, which will make the pattern bigger, it will also make weaving more difficult. There are many types of Yok Dok woven fabric in almost every region, but the traditional patterns that are still popular and often seen today are: Look Kaeo, Ratchawat, Pikul flower, Look Whai, Pepper flower, etc. ผ้้ายกดอก ผ้้ายกดอก ภาษาถิ่่�นอาจเรีียก “ผ้้าเหยีียบ” เป็็นชื่่�อผ้้าที่่�ได้้จากกรรมวิิธีีการทอให้้เกิิดลวดลายจากการยก เส้้นยืืนด้้วยตะกอ ไม่่มีีตะกอลายขััด ไม่่มีีตะกอลอย ไม่่มีีไม้้ดาบค้ำำ��เส้้นยืืน ไม่่มีีการเพิ่่�มเส้้นพุ่่งหรืือเส้้นยืืนพิิเศษ โดยทั่่�วไปเป็็นลวดลายที่ ่�มีีรููปเป็็นลายซ้ำำ�� ๆ กัันเต็็มผืืนผ้้า การเตรีียมเส้้นยืืน ช่่างทอจะใช้้วิิธีีออกแบบและวางแผน โดยคััดเส้้นยืืน (คััดด้า้ย คััดลาย คััดดอก) ให้้เป็็นกลุ่่ม ๆ ตามลวดลายที่ช่ ่� า่งทอกำำ�หนดเพื่่�อเก็บต็ะกอ อาจเป็็นลวดลาย โบราณหรืือลวดลายที่คิ ่� ิดขึ้้�นใหม่่ ลวดลายอาจมีีขนาดเล็็กหรืือขนาดใหญ่ขึ้่ ้�นอยู่่กับความชำั ำ�นาญของช่า่ งทอในการคััดลายเพื่่�อเก็บต็ ะกอ (เก็บ็เขา) ตลอดถึึงการวางแผนโยงตะกอ (โยงเขา) และโยงไม้้เท้้าเหยีียบ (ผููกหรืือโยงไม้้ตีีนเหยีียบ) ให้้สััมพัันธ์์กัันกัับการ เหยีียบในขณะทำำ�การทอ ลวดลายอาจมีีความเด่่นด้้านใดด้้านหนึ่่�งหรืือทั้้�งสองด้้าน ใช้้ทอได้้กัับกี่่�ทอมืือแบบต่่างๆ เช่่น กี่่�แบบพื้้�นบ้า้น กี่่�กระตุุก กี่่�เอว และกี่่�ทอมืือแบบอื่่�น ๆ จำำ�นวนตะกอที่่�เหมาะสมและง่า่ยสำำ�หรับช่ัา่ งทอผ้้ายกดอก จะเริ่่�มจาก ๓ ตะกอถึึง ๖ ตะกอ จะเป็็นจำำ�นวนตะกอที่่�สามารถเหยีียบเท้้าในเวลาทอได้้สะดวกและง่า่ย ทำำ�ให้้เส้้นยืืน เปิิดเป็็นช่่องให้้กระสวยผ่า่ นได้้อย่า่งเหมาะสม หากจำำ�นวนตะกอมากกว่านี้้ ่ �แม้จ้ะทำำ�ให้้ลวดลายโตขึ้้�น แต่ก็่จ็ะทำำ�ให้้ทอ ไม่่สะดวก ผ้้ายกดอกที่ ่�มีีจำำ�นวนมากมายมีีทอกัันเกืือบทุุกภาค แต่่ลายดั้้�งเดิิมที่ ่� ยัังนิิยมทอกัันอยู่่ทุุกวัันนี้้�ที่ ่�รู้้จัักกัันดีี และพบเห็็นอยู่บ่่่อยครั้้�ง เช่่น ลายลููกแก้้ว ลายราชวัตัร ลายดอกพิิกุุล ลายลููกหวาย ลายดอกพริิกไทย เป็็นต้้น Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land 傳承泰國鄉土傳統織布 27
松鼠尾紋布 松鼠尾紋 (Hangkrarok) 布,有時也通稱為「交捻 紗布-- Kuab Sen (原意是交捻)」, 是一種傳統的布料, 採用棉紗、絲或人造纖維以平織的技術編織,但是,織者 通常更喜歡使用兩種或更多不同顏色的紗線,捻成一條線 來織成布。泰國中部地區的人稱之為「松鼠尾紗、穆蘭紗 (或多元紗--Hangkrarok/mouline yarn」, 用來作為緯 紗或經紗,或者同時用作經紗和緯紗。當編織成織品時, 看起來像松鼠虹彩般色澤絢麗的尾巴。這種將兩種顏色的 紗線捻合在一起的技術在泰國方言中稱為「芯--Sinh」, 如應用於稱芯裙 (Sinh)。大多是使用綠色和黑色的交 捻紗線,稱為“拌蓋 (Pun Gai)”,其中 “蓋 (Gai)” 是指苔蘚。當編織成織布時,它會變成有如光澤璀璨的 苔蘚,在老撾式泰語中,稱之為 “嘛買 (Mabmai)” 或 “肯 (Ken)”。可見於素可泰府哈德地區哈肖中心 (Ban Hat Siew) 的傣盆 (Tai Phuan) 族,該族稱這種布為 “肯馬 琅買 (Ken Malang Mai)”。在東南地區,稱松鼠尾紋布 (Hangkrarok) 為 “勘牛 (Kraneaw)” 布,有時在呵叻府 (Nakhon Ratchasima) 也可能會聽到稱為 “多樣紗 (Sen Look Lai)” 或 “ 交捻紗 (Sen Kuab)”。說起松鼠尾紋布 經常令人不免想到男士和女士的沙龍圍裙。然而,當今 這種松鼠尾紋布料事實上也可以像其他布料一樣用於製 作衣服或裝飾品。這是由於絞捻紗時可以調節速度, 因此在中等旋速和快速之間螺紋形成不同的距離,以及 螺紋的方向。例如,螺紋線 Hangkrarok Fabric Hangkrarok fabric, or sometimes called Kuab Sen, is a kind of ancient traditional fabric usually woven in a plain/base pattern using the technique of combining cotton, silk or artificial fibers. Weavers generally prefer to use two or more different colored yarns and then twist them together to become one strand. Those in the central region call it "Hangkrarok yarn" (mouline yarn), which is used as a weft or a warp yarn, or both. When woven into a fabric, it looks like the iridescent tail of a squirrel (hence the name “Hangkrarok” which means as such). This technique of combining two colors of yarns is called “Pha Sinh” in a Tai Yuan dialect. Green and black yarns called "Pun Gai", in which "Gai" means moss are mostly used. When woven into a fabric, it will turn out to be an iridescent color like that of moss. In the Thai Lao language, it is called "Mabmai" or "Ken". This type of textile found in the Tai Phuan group of Ban Hat Siew is called "Ken Malang Mai". In the lower area of the southeast region, the people call it “Kraneaw” textile, and sometimes we may hear the word “Sen Look Lai” or “Sen Kuab”. In Nakhon Ratchasima province, when it comes to Hangkrarok fabric, one often thinks of men's and women's sarongs. In reality today, however, this textile can be used to make various types of clothes and decorative items, just like a variety of other fabrics. This is due to the number of twists in the yarn that can be adjusted to render a relatively loose twisted, medium twisted, or tight twisted yarn. In addition, direction of the twisted yarn can also be adjusted. For example, if a twist inclines towards the left-hand side, it is called “left twist”, while the one inclines towards the righthand side, is called, “right twist”. These detailed techniques affect the variation and beauty of the pattern and beauty of the fabric as well as having a different surface texture. ผ้้าหางกระรอก ผ้้าหางกระรอก หรืือบางทีีเรีียก ควบเส้้น เป็็นผ้้าพื้้�นเมืืองโบราณชนิิดหนึ่่�ง ปกติิทอแบบลายขััด ใช้้เทคนิิค การควบเส้้นด้้ายฝ้้าย ไหม หรืือเส้้นด้้ายใยประดิิษฐ์์ แต่่โดยทั่่�วไปนิิยมใช้้เส้้นไหมที่ ่�มีีสีีแตกต่่างกัันตั้้�งแต่่ ๒ เส้้น หรืือมากกว่่า แล้วนำ้ ำ�มาตีีเกลีียวเป็็นเส้้นเดีียวกัันภาคกลาง เรีียกว่่า “เส้้นด้้ายหางกระรอก (mouline yarn)” ใช้้ทอเป็็นเส้้นด้้ายพุ่่ง หรืือเป็็นเส้้นด้้ายยืืน หรืือใช้้เป็็นทั้้�งด้้ายยืืนและด้้ายพุ่่ง เมื่่�อเวลาทอเป็็นผืืนผ้้าทำำ�ให้้มองดูู เป็็นสีีเหลืือบคล้า้ยหางกระรอก เทคนิคิการควบเส้้นด้า้ยสองสีีนี้้� ภาษาถิ่่�นไท-ยวนเรีียก ผ้้าซิ่่�น ที่่�ใช้้การควบเส้้นด้า้ย สองสีีส่ว่นมากจะเป็็นเส้้นด้า้ยสีีเขีียวกับสีีดำ ั ำ� ว่า่ “ปั่่�นไก” ซึ่่�ง “ไก” (ไค) หมายถึึง ตะไคร่น้ำ่ ำ�� เพราะเมื่่�อทอเป็็นผ้้าแล้ว้ จะออกเป็็นสีีเหลืือบคล้้ายตะไคร่น้ำ่ ำ�� ส่่วนภาษาไทลาวเรีียกว่่า “มัับไม” หรืือ “เข็็น” ผ้้าชนิิดนี้้�ที่่�พบในกลุ่่มไทพวน บ้้านหาดเสี้้�ยว จะเรีียกว่่า “เข็็นมะลัังมััย” ภาคอีีสานตอนใต้้เรีียกผ้้าหางกระรอกว่่า “ผ้้ากระเนว” และบางครั้้�ง เราอาจได้ยิ้ินคำำ�ว่่า “เส้้นลููกลาย” หรืือ “เส้้นควบ” ที่ ่� จัังหวััดนครราชสีีมา เมื่่�อกล่่าวถึึงผ้้าหางกระรอก มัักนึึกถึึง ผ้้าโสร่่งผู้้ชาย และโสร่่งผู้้หญิิง แต่่ความเป็็นจริิงในปััจจุุบัันผ้้าหางกระรอกเป็็นผ้้าที่่�ใช้้ทำำ�เสื้้�อผ้้าและตกแต่่งได้้ หลากหลายเช่่นเดีียวกัับผ้้าชนิิดอื่่�น ๆ ทั้้�งนี้้� เนื่่�องจากจำำ�นวนเกลีียวด้้าย สามารถปรัับให้้ถี่ ่� ห่่างได้้ เช่่น เกลีียวห่่าง เกลีียวปานกลาง และเกลีียวถี่่� ตลอดจนทิศิทางของเกลีียวด้า้ยก็็สามารถปรับัได้้ เช่่น เกลีียวที่มีีทิ่� ศิทางไปทางด้า้นซ้า้ย เรีียกว่า่ “เกลีียวซ้้าย” และเกลีียวที่มีีทิ่� ศิทางไปทางด้า้นขวา เรีียกว่า่ “เกลีียวขวา” ซึ่่�งส่่งผลต่่อความเปลี่่�ยนแปลง และความสวยงามของลวดลายและความสวยงามของผ้้า ตลอดจนได้้ผิิวสััมผััสแบบต่่าง ๆ 28 สืืบสาน อนุุรัักษ์์ศิิลป์์ผ้้าถิ่่�นไทย ดำำรงไว้้ในแผ่่นดิิน
流水紋布 或稱 拼接布/水撈布 流水紋布泰語稱萊楠萊布 (Lai Nam Lai),以平紋布 (Lai Khad) 為基礎,並根據織布工所設計的花樣織入各色 緯紗來回穿梭,並用掛在腳踏板經紗上的掛鉤和有適當重量 的環圈來增加織布的強度和緊密度。最初, 在帕堯府清橄 (Chiang Kham) 區和清蠻 (Chiang Muan) 區,還有在清 萊府清空 (Chiang Khong) 區的傣仂族都將這種編織技術 稱為 “拼接布 (Koh)(原意為粘黏)”。楠府的傣仂族其實最 初就將這種編織工藝稱為 “水撈布 (Luang) (原意為撈)”。 大約在1977年,一群來自楠府的傣仂族 (Tai Lue) 織工 認為他們所織的布看起來像一條流淌的河水,所以他們 將這種新布統稱為 “流水紋布 (Lai Nam Lai)”。從那時 起至2000年10月27日,楠府他那彭·賈咖帕 (Thanapong Chakkaphak) 先生 總督驚見流水紋布是一種漂亮的織紋 布,因而公告此種布料為楠府的特有布料(摘自對詹搜 麼·彭潘雅 (Chansom Phrompanya) 女士的一次採訪)。 最初,流水紋布的織紋不會像現在這樣大的圖案。整體 來說,織工將織紋大約分3段編織,用平紋、或連續圖 案將全幅織布分隔開。例如先編織一些圖案,然後再用 挑花法挑織出挑花圖案,緹花法提織出緹花圖案或素色 圖案等等而將主體圖案分段分隔開,最後變成所謂的流 水紋布 (Lai Nam Lai)、有如混合拼接布 (Mixed Koh)、 混合流水紋布 (Mixed Lai Nam Lai),其中接圖中間還 可以插入五顏六色亮晶晶的絲線編織來增進美觀。 Lai Nam Lai or Koh/Luang Fabric Lai Nam Lai fabric uses a weaving technique based on Lai Khad pattern with a method of inserting a multi-colored weft yarn going back and forth intermittently, according to the pattern set by the weaver, at the same time making loops around the warp yarn to increase the strength of the fabric. Originally, the Tai Lue group in Chiang Kham district and Chiang Muan district of Phayao province, and the Tai Lue group in Chiang Khong District of Chiang Rai province named this technique of weaving "Koh", while the Tai Lue group in Nan province formerly named this weaving technique "Luang". Around 1977, a group of Tai Lue weavers in Nan province thought that the fabric they had woven looked like a flowing river, so they unanimously renamed it "Lai Nam Lai fabric" from then on. On October 27, 2000, upon noticing that Lai Nam Lai fabric was so beautiful, Mr. Thanapong Chakkaphak, Nan’s Governor proclaimed it the unique fabric of Nan Province (from an interview with Mrs. Chansom Phrompanya). Originally, Nam Lai pattern would not be woven into a very large pattern like that of the present. Weavers would weave about 3 layers separated by other patterns. They would never have woven Nam Lai pattern continuously throughout the entire piece. They would generally weave part of Nam Lai design and then follow by other patterns, such as, Jok, Khit or plain. The finished fabric would be called Lai Nam Lai, Mixed Koh or Mixed Lai Nam Lai, and it may be supplementarily woven with brocade yarns in different colors for added beauty. ผ้้าลายน้ำ ำ�ไหล หรืือผ้้าเกาะ/ล้้วง ผ้้าลายน้ำำ��ไหล ใช้้เทคนิิคการทอโดยอาศััยพื้้�นฐานผ้้าลายขััด ด้้วยวิิธีีสอดด้้ายพุ่่งหลายสีีย้้อนกลัับไปกลัับมา เป็็นช่่วง ๆ ตามลวดลายที่ ่� ช่่างทอกำำ�หนด พร้้อมกัับเกี่่�ยวและผููกเป็็นห่่วงรอบเส้้นยืืน เพื่่�อเพิ่่�มความแข็็งแรงให้้กัับ เนื้้�อผ้้า แต่่เดิิมนั้้�นกลุ่่มไทลื้้�อที่ ่� อำำ�เภอเชีียงคำำ�และอำำ�เภอเชีียงม่่วน จัังหวััดพะเยา และกลุ่่มไทลื้้�อที่ ่� อำำ�เภอเชีียงของ จัังหวััดเชีียงราย เรีียกเทคนิคิการทอนี้้ว่�า่ “เกาะ”ส่ว่นกลุ่่มไทลื้้�อในจัังหวััดน่า่น เดิมิเรีียกเทคนิคิการทอนี้้ว่�า่ “ล้้วง” ประมาณปีี พ.ศ. ๒๕๒๐ กลุ่่มช่า่ งทอผ้้าไทลื้้�อจัังหวััดน่า่น เห็็นว่า่ ผ้้าที่ ่� ตนทอนั้้�นดููคล้้ายสายน้ำำ��ไหล จึึงพร้้อมใจกััน เรีียกชื่่�อผ้้าใหม่่ว่่า “ผ้้าลายน้ำ ำ�ไหล” ตั้้�งแต่่นั้้�นมา และเมื่่�อวัันที่่� ๒๗ ตุุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๓ นายธนะพงษ์์ จัักกะพาก ผู้้ว่่าราชการจัังหวััดน่่าน เห็็นว่่าผ้้าลายน้ำำ��ไหลเป็็นผ้้าที่ ่�มีีความสวยงาม จึึงได้้ประกาศเป็็นผ้้าเอกลัักษณ์์ประจำำ� จัังหวััดน่่าน (จากการสััมภาษณ์์นางจัันทร์์สม พรหมปััญญา) แต่่เดิิมการทอลายน้ำำ��ไหลจะไม่่ทอลายให้้ใหญ่่มาก เหมืือนปัจจุัุบััน แต่จ่ะทอประมาณ ๓ ชั้้�น แล้วคั่่ ้ �นด้้วยลายอื่่�นๆ ไม่่ทอลวดลายต่่อเนื่่�องเต็ม็หน้้าผ้้า แต่จ่ะทอลวดลาย เป็็นบางส่ว่น แล้วคั่่ ้ �นด้ว้ยลวดลายอื่่�นๆ เช่่น คั่่�นด้ว้ยลายจก คั่่�นด้ว้ยลายขิิด หรืือลายพื้้�นธรรมดา ก็จ็ะเรีียกว่า่ ผ้้าลาย น้ำำ��ไหลหรืือเกาะผสม หรืือลายน้ำำ��ไหลผสม และอาจสอดแทรกด้ว้ยดิ้้�นสีีต่่าง ๆ เพื่่�อความสวยงาม Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land 傳承泰國鄉土傳統織布 29
ภาพผ้้าตีีนจกลาวครั่่�ง ผ้้าตีีนจก ผ้้าตีีนจก หมายถึึง ผ้้าที่่�ทอตกแต่่งลวดลายด้้วย เทคนิิค “จก” โดยมีีวััตถุุประสงค์์เพื่่�อที่ ่� จะนำำ�ไปใช้้เป็็น ส่ว่นประกอบของผ้้าซิ่่�นในส่ว่นบริิเวณที่่�เรีียกว่า่ “เชิิงซิ่่�น” หรืือ “ตีนี ซิ่่�น” การที่ส่ ่� ว่นประกอบของผ้้าซิ่่�นส่ว่นตีีนซิ่่�น เป็็นการทอด้้วยเทคนิิค “จก” จึึงเรีียกขานผ้้าที่ ่� ต่่อเป็็น ตีีนซิ่่�นชนิิดนี้้�ว่่า “ผ้้าตีีนจก” และเรีียกผืืนผ้้าซิ่่�นที่ ่� ต่่อ ตีีนซิ่่�นด้้วยผ้้าตีีนจกว่่า “ผ้้าซิ่่�นตีีนจก” เทคนิคิ “จก” คืือ เทคนิคิการทอลวดลายบนผืืนผ้้าด้ว้ยวิิธีีการเพิ่่ม�เส้้นด้า้ยพุ่่งพิิเศษเข้า้ไปในขณะทอ โดยเสริมิ เป็็นช่่วง ๆ ไม่่ติิดต่่อกัันตลอดหน้า้กว้้างของผ้้า โดยแต่่ละกลุ่่มวััฒนธรรมมีีการใช้้อุุปกรณ์์ในการจกเส้้นด้า้ยแตกต่่าง กัันออกไป บางกลุ่่มใช้้ “ขนเม่่น” บางกลุ่่มใช้้ “นิ้้�วมืือ” ทำำ�การจกหรืือสะกิิดนับัเส้้นด้้ายยืืนขึ้้�นเพื่่�อสอดเส้้นด้า้ยพุ่่ง พิิเศษทอแทรกเสริิมเข้้าไปเป็็นช่่วง ๆ ตามตำำ�แหน่่งลวดลายและสีีที่ต้ ่� ้องการจนครบแล้้วจึึงสอดกระสวยเส้้นด้้ายพุ่่ง สำำ�หรัับขััดเส้้นด้้ายที่่�ทอจกไว้้ตลอดแนวผ่่านไป แล้ว้กระทบฟัันหวีีเพื่่�อให้้เส้้นด้้ายชิิดกัันแน่่น การทอผ้้าด้้วยเทคนิิค การจกนี้้� จึึงเป็็นเทคนิิคที่ ่� ช่่างทอผ้้าของกลุ่่มชาติิพัันธุ์์ต้้องใช้้การจดจำำ�จำำ�นวนเส้้นด้้ายยืืนที่ ่� ต้้องการจกสะกิิดยกขึ้้�น ในแต่่ละช่ว่ง เพื่่�อให้้เกิิดลวดลายที่ถูู ่� กต้้องตามแบบที่ต้ ่� ้องการ ระยะเวลาที่่�ใช้้ในการทอผ้้าด้ว้ยวิิธีีการนี้้จึึ�งต้้องใช้้ระยะเวลา นานหลายเดืือนกว่่าที่ ่� จะได้้เป็็นผืืนผ้้าตีีนจกที่่�สมบููรณ์์อัันงดงามให้้ได้้ชื่่�นชม ส่ว่ นวิิธีีการผููกเก็บ็เส้้นด้า้ยพุ่่งพิิเศษในการทอผ้้าตีีนจกนั้้�น แบ่่งออกเป็็น ๒ ลัักษณะคืือ วิิธีีผููกเก็บปม ็เส้้นด้า้ยพุ่่ง พิิเศษไว้้ด้้านบน และวิิธีีผููกเก็บปม ็เส้้นด้้ายพุ่่งพิิเศษไว้้ด้้านล่่าง 1. วิิธีีผููกเก็็บปมเส้้นด้้ายพุ่่งพิิเศษไว้้ด้้านบน ได้้ข้้อสัังเกตพบว่่า การมััดปมจะสามารถทำำ�ได้้แน่่น และ เส้้นด้า้ยพุ่่งพิิเศษจำำ�นวนหลากหลายสีีก็็สามารถแยกไม่่ให้พั้ ันกัันได้ง่้า่ย เพราะมองเห็็นจากด้า้นบน ในการตรวจสอบ ความถููกต้้องของลวดลายจะใช้้กระจกเป็็นอุปุกรณ์ส่์ ่องมองลวดลายที่่�อยู่่ด้า้นล่า่ง ซึ่่�งต้้องตรวจดููทุุกแถวในขณะที่่�ทอ เพื่่�อสามารถแก้้ไขได้ทั้ ัน ลัักษณะการทอวิิธีีนี้้นิ�ิยมใช้้ในกลุ่่มลาวครั่่�ง และไท-ยวน ยกเว้้นเฉพาะกลุ่่มไท-ยวนที่อำ ่� ำ�เภอ ลัับแล จัังหวััดอุุตรดิิตถ์์ 2. วิิธีีผููกเก็บปม ็เส้้นด้า้ยพุ่่งพิิเศษไว้ด้้า้นล่า่ ง เป็็นเทคนิคที่ิช่ ่� า่ งทอผ้้าให้ความ้เห็็นว่า่สามารถมองเห็็นลวดลาย ที่่�ทอได้ชั้ัดเจนดีีส่ว่นการก้ม้ ไปมััดปมเส้้นด้า้ยพุ่่งพิิเศษที่ด้ ่� า้นล่า่งก็็ไม่่เป็็นปััญหาสำำ�หรับผู้้ที่ ั มีีความชำ ่� ำ�นาญแล้ว้ และ ในวิิถีีชีีวิิตสมััยก่่อนการทอผ้้าตีีนจกก็็ไม่่มีีความจำำ�เป็็นต้้องเร่่งรีีบ หรืืออาจเป็็นไปได้ว่้าครั้้ ่ �งเมื่่�ออดีีตไม่่มีีกระจกที่จ ่� ะใช้้ ส่่องลวดลายด้้านล่่าง หากทอด้้วยวิิธีีการผููกเก็็บเส้้นด้้ายพุ่่งพิิเศษไว้้ด้้านบนซึ่่�งเป็็นวิิธีีที่่� นิิยมใช้้มากในปััจจุุบััน กลุ่่มวััฒนธรรมที่่�ทอผ้้าตีีนจกด้้วยวิิธีีการผููกเก็็บเส้้นด้้ายพุ่่งพิิเศษไว้้ด้้านล่่าง ได้้แก่่ กลุ่่มชาติิพัันธุ์์ไทพวน จัังหวััด สุุโขทััย และไท-ยวนที่อำ ่� ำ�เภอลับัแล จัังหวััดอุตุรดิิตถ์์ การที่ ่� จะสัังเกตได้้ว่่า ผ้้าตีีนจกชิ้้�นใดทอยากง่่ายกว่่ากััน นอกจากจะดููที่่�ลวดลายแล้้ว จำำ�นวนปมที่่� ผููกมััด เส้้นด้า้ยพุ่่งพิิเศษก็็เป็็นข้้อที่่�ใช้สั้ังเกตได้อีี้กประการหนึ่่�ง โดยสัังเกตว่า่หากชิ้้�นใดมีีจำำ�นวนปมที่ผูู ่� กมััดเส้้นด้า้ยพุ่่งพิิเศษ มากก็็แสดงว่่า เป็็นชิ้้�นที่่�ใช้้ระยะเวลาในการทอยาวนานและมีีความสลัับซัับซ้้อนของลวดลายมากกว่่า ทอยากกว่่า แน่่นอน ในหมู่่นัักสะสมและมีีความรู้้ในเรื่่�องผ้้าจะทราบข้้อสัังเกตนี้้�เป็็นอย่่างดีี โดยถืือว่่าเป็็นผ้้าชิ้้�นที่ ่�มีีราคาสููง กลุ่่มชาติิพัันธุ์์ที่่� ยัังทอผ้้าจกจนกระทั่่�งปััจจุุบัันนี้้� เช่่น กลุ่่มไท-ยวน ไทพวน ไทครั่่�ง (ลาวครั่่�ง ลาวเวีียง) กลุ่่ม ไทลื้้�อ กลุ่่มภููไท กลุ่่มกะเหรี่่�ยงปกากะญอ และกลุ่่มกะเหรี่่�ยงโปว์์ ซึ่่�งผ้้าจกของแต่่ละกลุ่่มชาติิพัันธุ์์ต่่างก็มีี็ลวดลาย และสีีสัันเป็็นเอกลัักษณ์์ของตนเอง 30 สืืบสาน อนุุรัักษ์์ศิิลป์์ผ้้าถิ่่�นไทย ดำำรงไว้้ในแผ่่นดิิน
裙襬挑花布 裙襬挑花是指用挑花技術編織和裝飾的織布,是在 “裙尾 (Cherng Sinh)” 或 “裙腳 (Teen Sinh)” 部份用來 作為裙子的組成部分。因為這種編織是基於 “挑花 (Jok)” 技術,所以該織布稱為 “裙襬挑花布 (Teen Jok)”,而使 用裙襬挑花技術編織的裙子被稱為 “裙襬挑花芯裙 (Sinh Teen Jok)”。 裙襬 “挑花 (Jok)” 技術是一種在織布上織造的技術, 會在裙襬織造整塊布幅時不時添加特殊的紗線。每個文化 族羣使用穿線設備的方式都不同。有些族羣會使用 “刺猬 的涂刺”,還有些族群會使用 “手指” 等來戳開或輕推紗 線,使其凸出以便插入特殊的緯紗,並根據所需的圖案 和顏色位置陸陸續續完成編織。編織時會用梭芯來回穿 梭,然後用梳經齒將經緯紗線敲打密實。用挑花技術編 織的民族織工必須記住許多細節。如每次挑集多少經紗 數才能逐步織出正確的圖案。這種織法往往需要花費幾 個月的時間才能完成一整塊令人賞心悅目的織布。 在裙襬挑花編織中,有兩類結紮和留存特殊緯紗的 方法:在表面或在底面打結。 1. 在表面打結插入緯紗的方法。請注意由於可以從 上面看到,所以可以緊密地打結,並且可以分離 各種顏色的特殊緯紗而不容易糾結。可用鏡子查 看下面圖案是否正確。重要的是在編織時檢查每 一行,以便能夠及時修復。這種編織在老撾克朗 族 (Lao Khrang) 和傣阮族 (Tai Yuan) 當中廣泛 運用,但是不包括程逸府拉普拉Laplae地區的傣 阮族。 2. 在底面結紮特殊緯紗的方法。織工認為也可以清楚 地看到編織的圖案的技術。至於在底面將插入緯 線打結,對於專業的織工來說並不是問題。而在 昔日的生活步調裙襬挑花的編織無須趕工。可能 因為過去也沒有鏡子照亮下面的圖案。因此,現 在最常用的方法多是將插入的緯紗在表面結紮。 使用在底面將插入的緯紗打結編織裙襬挑花布料 的文化群體分佈在程逸府拉普拉地區的傣盆族和 傣阮族。 想看出哪一塊裙襬挑花布 (Teen Jok) 做工的粗細並不 難。除了觀察花樣以外還可以計算在緯紗上額外打結的結 數。請注意,如果某一塊布有非常多特殊的打結,便是一 塊圖案更複雜,很耗時費工的作品。以此認定一塊布料是 否珍貴對內行的收藏家而言是眾所周知理所當然的。 時至今日仍繼續傳承編織這種布料的族群,有如傣阮 族 (Tai Yuan),傣盆 (Tai Phuan),傣克朗族 (Tai Khrang) [老撾康族 (Lao Khang),老撾維昂 (Lao Wiang)], 傣仂族 (Tai Lue),富傣 (Phu Tai),富傣 (Phu Tai), 白克倫甲良 族 (Paganyaw Karen), 和波·甲良族族 (Pwo Karen),而 每一族群的布料都有其獨特的圖案和顏色。 Teen Jok Fabric Teen Jok fabric refers to a fabric woven and decorated with the “Jok” (picking) technique in order to be used as a hem piece of Sinh, known as “Cherng Sinh”, or “Teen Sinh”. Because this type of weaving is based on the “Jok” technique, the fabric is called “Teen Jok” and the Sinh having the Jok technique hem piece is thus called “Sinh Teen Jok”. The “Jok” technique is a weaving technique on fabric by periodically adding special weft yarns while weaving. Each cultural group uses a different device for this “Jok” technique. Some groups use a “hedgehog hair”, while others use “fingers”, etc. to pick and count the warp yarns, making a channel for supplementary weft yarns. This is carried out intermittently according to the desired pattern and color position. Once, the weft yarn bobbin is passed through the “Jok” channel, a reed dent is then pressed to keep the yarns tightly together. Weaving with the Jok technique requires ethnic weavers to remember the exact number of warps that need to be picked each time in order to achieve the accurate pattern as desired. Therefore, the length of time it takes to weave a piece of fabric with this method takes several months for it to become a beautiful, finished piece for people to admire. There are 2 methods of tying and tidying the special weft yarn knots in the Teen Jok weaving namely: 1. A method of tying knots of supplementary weft yarns on top - It is noticeable that tying knots this way can be done tightly and special weft yarns of various colors can easily be separated and thus not entangled because it is seen from above. To check the correctness of the pattern, a mirror is used as a device for viewing the pattern underneath. It is important to check every row while weaving in order to be able to rectify it in time. This method of weaving is widely used in Lao Khrang and Tai Yuan groups, except for Tai Yuan group in Laplae District, Uttaradit Province. 2. A method of tying knots of supplementary weft yarns underneath - It is a technique in which the weaver thinks that the woven patterns can be seen clearly. As for tying supplementary weft knots underneath, it is not a problem for expert weavers. And as in the old way of life, the weaving of Teen Jok did not need to be hasty. Or it could be that there were times when there was no mirror in the past to illuminate the pattern below. Thus, weaving with supplementary weft yarns being tied on top is the most common method used today. The cultural groups that weave Teen Jok fabric using supplementary weft yarns tying below are the Tai Phuan Sukhothai and Tai Yuan ethnic groups in Laplae District, Uttaradit Province. To evaluate which piece of Teen Jok fabric is easy to weave, apart from looking at the pattern, the number of knots of supplementary weft yarns which are tied is another noticeable measure. If a particular piece has far more number of knots binding supplementary weft yarns, then it certainly is a piece that takes longer to weave and has a more complex pattern. This observation is well known among collectors and those knowledgeable about the fabric, noting that the fabric of this kind is considered a high-priced piece. Such ethnic groups who have continued to weave this fabric uptil now are: the Tai Yuan, Tai Phuan, Tai Khrang (Lao Khang, Lao Wiang), Tai Lue, Phu Tai, Paganyaw Karen, and Pwo Karen. Each ethnic fabric has its own unique patterns and colors. Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land 傳承泰國鄉土傳統織布 31
ภาพผ้้ายก ผ้้ายก เป็็นผ้้าที่ ่�มีีกระบวนการทอโดยใช้้เส้้นด้า้ย ๒ กลุ่่มกลุ่่มหนึ่่�งใช้้สำำ�หรับัเป็็นเส้้นด้า้ยทอพื้้�น อีีกกลุ่่มหนึ่่�งใช้้สำำ�หรับั ทอลวดลายให้้เกิิดเป็็นลวดลายนููนได้้อย่่างอ่่อนช้้อยและประณีีตบนเนื้้�อผ้้า การเริ่่�มต้้นจะใช้้ขนเม่่นหรืือวััสดุุ ปลายแหลมเพื่่�อคััดเส้้นยืืนขึ้้�นและลงตามจำำ�นวนเส้้นที่ต่ ่� ่างกัันตามลวดลายที่ ่� ต้้องการ (คล้้ายการคััดลายขิิด) แล้้วใช้้ เส้้นพุ่่งกลุ่่มที่่�ใช้้สำำ�หรัับทอลาย (ไหม ดิ้้�นเงิิน ดิ้้�นทอง) สอดเข้า้ไป และทอสอดสลับด้ัว้ยเส้้นพุ่่งส่ว่นที่่�ใช้สำ้ ำ�หรับั ทอพื้้�น จุุดเด่่นอีีกประการหนึ่่�งคืือในลวดลายของผ้้ายกนั้้�น มัักจะมีีเส้้นพุ่่งที่มีีสีีต่� า่งกับัลวดลายใช้้สอดตรงกลางดอก เป็็นเกสรอยู่่ด้ว้ย ปัจจุับัุันได้มีี้การพััฒนาด้า้นภููมิปัิัญญา โดยมีีการเก็็บตะกอลอย (ตะกอดอก) แทนการใช้้วััสดุุ ปลายแหลม ทำำ�ให้้ทอได้้เร็็วขึ้้�น ในอดีีตผ้้ายกได้้รัับการ ยกย่่องว่า่ เป็็นผ้้าที่่�สวยงาม นิิยมใช้้ในหมู่่คนชั้้�นสููง ผ้้ายก มีีเอกลัักษณ์์ที่ ่� สำำ�คััญคืือ มีีลายท้้องผ้้า ลายสัังเวีียน ลายเชิิง ที่ ่�มีีความประณีีต ผ้้ายกอาจแบ่่งได้้เป็็น ๒ ชนิิด ได้้แก่่ ผ้้ายกใหญ่่ และผ้้ายกเล็็ก ผ้้ายกมีี ๒ ประเภท ได้้แก่่ 1. ผ้้ายกใหญ่่แบบไม่่มีีลายสัังเวีียน หมายถึึง ผ้้ายกที่มีี่� โครงสร้า้งประกอบด้ว้ย ลายท้้องผ้้า และลายเชิิงหัวท้ัา้ย เต็็มทั้้�งผืืน ผืืนผ้้ามีีความกว้้างไม่่ต่ำำ��กว่่า ๑ เมตร ความยาว ๒.๒ เมตร ความยาวของเชิิงแต่่ละข้้างอยู่่ระหว่่าง ๕๐ - ๕๖ เซนติิเมตร หรืือ ๒๐ - ๒๒ นิ้้�ว ผ้้ายกใหญ่่แบบมีีลายสัังเวีียน หมายถึึง ผ้้ายกที่ ่�มีีโครงสร้้าง ประกอบด้้วย ลายท้้องผ้้า ลายสัังเวีียน และลายเชิิงหัวท้ัา้ยของผ้้า ผืืนผ้้ากว้า้งไม่่น้้อยกว่า่ ๑ เมตร ความยาว ๒.๒ เมตร (ไม่่รวมพื้้�น) ความยาวของเชิิงแต่่ละข้้างอยู่่ระหว่่าง ๕๐ - ๕๖ เซนติิเมตร หรืือ ๒๐ - ๒๒ นิ้้�ว (สัังเวีียนหมายถึึง ลายที่่�อยู่่ริิมผ้้า ทั้้�งสองด้้าน ซึ่่�งมีี ๓ ขนาด คืือ สัังเวีียนเล็็ก มีีขนาดกรอบสัังเวีียนกว้้าง ๓ นิ้้�ว สัังเวีียนกลาง มีีขนาดกรอบสัังเวีียน กว้้าง ๕ นิ้้�ว และสัังเวีียนใหญ่่ มีีขนาดกรอบสัังเวีียนกว้้าง ๗ นิ้้�ว) 2. ผ้้ายกเล็็ก หมายถึึง ผ้้ายกที่ ่�มีีส่่วนประกอบของผ้้าพื้้�นและส่่วนที่่�เป็็นลวดลายผ้้าทั้้�งผืืน ผืืนผ้้ามีีความกว้้าง ไม่่น้้อยกว่่า ๑ เมตร ผืืนผ้้ามีีลวดลายทั้้�งผืืนความยาว ๑.๘ - ๒ เมตร กรณีีผ้้ายกเล็็กที่ ่�มีีลวดลายและลายพื้้�นรวมอยู่่ ด้้วยเป็็นชุุด ความยาวของผ้้า ๔.๒ เมตร (ลวดลายผ้้ายาว ๒ เมตร พื้้�นยาว ๒.๒ เมตร) และมีีหน้้านางไม่่ต่ำำ��กว่่า ๑๒ เซนติิเมตรอย่่างน้้อย ๑ ข้้าง มีีเชิิง ๑ ข้้าง ขนาด ๑/๓ ของหน้้าผ้้า หรืือประมาณ ๓๐ เซนติิเมตร หรืือ ๑๒ นิ้้�ว แหล่่งทอผ้้ายกที่มีีชื่่� �อเสีียง เช่่น จัังหวััดลำำ�พููน จัังหวััดแพร่่ จัังหวััดสุุริินทร์์ จัังหวััดพระนครศรีีอยุุธยา จัังหวััด สุุราษฎร์์ธานีีจัังหวััดนครศรีีธรรมราช เป็็นต้้น 32 สืืบสาน อนุุรัักษ์์ศิิลป์์ผ้้าถิ่่�นไทย ดำำรงไว้้ในแผ่่นดิิน
緙絲布 緙絲布 (Yok Fabric) 是一種使用兩組紗線進行織造工 藝的織品,其中一組紗線用於編織基底布紋,而另一組用於 織造圖案,從而在織布上創編出微妙整潔而突出的花紋。 首先,使用刺猬的涂刺或尖頭的工具根據所需的圖案來選 擇上下不同的經紗股數,類似緹花,然後,插入用於編織 花樣(絲線、銀線和金線)的緯線並與用於編織基底布紋 的緯線交織。目前,已經發展出新的工藝技能,用浮綜片 (Dok heddle) 來替代尖頭的工具,已經可以使編織速度加 快了。緙絲布公認是一種最華麗的織品。昔日貴族使用花 紋突顯的的布料作為尊貴身份的標識,這樣一塊布料的基 本構成包刮精緻緙絲的主體織紋 (Lai Tong Pha)、邊框 織紋 (Lai Sangwian) 和頭尾織紋 (Lai Cherng)。緙絲布 可以分為兩類:大緙絲布和小緙絲布。 緙絲布有兩類: 1. 無邊紋的一整塊大緙絲布是由布頭、布身、布尾 所編織而成。整塊布的寬度不少於1米,長2.2米, 布頭和布尾的長度在50-56厘米之間(或換算為英寸 是寫成阿拉伯數字的整數)。有邊紋的一整塊大緙絲布 是由布頭、布身、布尾、和邊紋所編織而成。一塊布 的寬度不少於1米,長2.2米(不包括素面紋基底布), 布頭和布尾的長度在50-56厘米或20-22英寸之間 (織品兩側的邊紋有3種尺寸:3英寸寬的窄邊、5英 寸寬的中邊和寬度為7英寸寬的寬邊)。 2. 小緙絲布是指由素色圖案和整塊突出花紋布所組成的 布料。整幅圖案布料的寬度不得小於1米,長度不得 小於1.8-2米。如果這一塊小緙絲布包含一組圖案和 素色圖案,則布料的長度為4.2米(織品圖案長2米, 素底布長2.2米),而且其布面長度至少要有12厘 米。至少一邊要有1英尺,大小為布面的1/3或約30 厘米,即12英寸。 著名的織造地區來源有如:南奔 (Lamphun),帕 府 (Phrae),素林 (Surin)、大城府 (Phra Nakhon Si Ayutthaya)、素叻府 (Surat Thani)、和洛坤府 (Nakhon Si Thammarat) 等等。 Yok Fabric It is a fabric based on a weaving process of using two groups of yarns: one used for the plain weaving, while the other used for weaving to create a subtle and intricate motif pattern on the fabric. To start, a hedgehog hair or a pointed device is used to pick different numbers of warp yarns, according to the desired patterns (similar to Khit pattern). The motif weft yarns (silk, silver and gold brocade) are then passed through the channel, alternating with the yarns used for plain weaving. Another highlight is the pattern of Yok fabric having a different color weft yarn inserted as pollen in the center of the flower brocades. However, there has been a development concerning the traditional technique. At present, the floating heddle (Dok heddle) is used, instead of a pointed device, which makes weaving faster than before. In the past, Yok fabric was regarded as a beautiful fabric used in the royal court. Its uniqueness lies in the elaborate pattern consisting of the central area of pattern (Lai Tong Pha), the vertical narrow band pattern (Lai Sangwian), and the end border pattern (Lai Cherng). Yok fabric can be divided into two types: large and small. There are 2 types of Yok Fabric: Yok fabric can be divided into two types: large and small. 1. A Large Yok Fabric: it can be subdivided into the one with or without Lai Sangwian. The latter refers to a piece consisting of Lai Tong Pha and Lai Choeng at both the waistband and the hem. Hence, various patterns fill the entire piece. Its width is not less than 1 meter, while the length is 2.2 meters and the length of both end borders is between 50 - 56 centimeters or 20 - 22 inches. A large Yok with Lai Sangwian refers to a fabric piece consisting of Lai Tong Pha, Lai Sangwian and Lai Cherng at both ends. Sangwian means the vertical narrow bands on both edges of the fabric, having 3 sizes: 3 inches wide (small), 5 inches (medium) and 7 inches (large). 2. A Small Yok Fabric consists of a plain woven section and the remaining patterned area. Its width is not less than 1 meter and the patterned fabric is 1.8 - 2 meters long. If the plain and the patterned areas are woven in the same set, the total length is 4.2 meters (the patterned area is 2 meters long, while the plain area is 2.2 meters). Moreover, it has to have one end border, sized one third of the fabric’s width, or about 30 centimeters (12 inches), together with a decorative pleating area not less than 12 centimeters on one side at least. Famous places for hand-woven Yok fabric are: Lamphun, Phrae, Surin, Phra Nakhon Si Ayutthaya, Surat Thani, Nakhon Si Thammarat, etc. Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land 傳承泰國鄉土傳統織布 33
ภาพผ้้าซิ่่�นตีีนจก 泰國北部織布工藝路線 Northern Thai Fabric Route เส้นทางผ้าไทย ภาคเหนือ
ภาพผ้้าลายน้ำ ำ�ไหล 泰北地區山稜起伏森林茂密氣候寒冷,因此泰北的服裝大多是用棉紗織成,因為棉紗在炎熱的夏天既保暖又吸汗。機織布料的圖案源自生活方式、美麗的自 然環境以及刺繡時的想像力,導致各個種族有其獨特的織紋,例如清萊府阿卡族阿魯梅拉圖案 (Ah-Lu-Mae-Laa) 的繡花布、黑拉祜族/黑目舍 (Black Muhsur) 的民族服飾、楠府的流水紋織布。 泰北有四種著名的織布:緹花布 (Khit) 、紮結染織布 (Mudmee)、挑花布 (Jok)、織錦緞 (Yok)。散居於各地的東北人也採用了紮結染織布法,對某些地區 的緹花和紮結染織布法也產生了一些影響。調查發現,楠府興汗市 (Gan Sinh) 的紮結染織布法受原居老撾人民民主共和國的傣仂族人 的影響。然而,北部的紮 結染織布大多結紮於經線上。 With a terrain replete with mountains and dense forests plus cold weather, the northern garments are mostly woven from cotton because cotton fibers can warm the body and allow moisture to evaporate well in the hot summer. The patterns of the woven fabrics are related to the way of life and the beautiful natural surroundings mixed with imagination in embroidery, leading to a unique pattern of each ethnicity, such as Akha embroidery fabric: Lai Ah-Lu-Mae-Laa pattern in Chiang Rai, or Black Lahu ethnic dress (Black Muhsur) in Mae Hong Son province, and Nam Lai woven fabric in Nan province. There are 4 types of famous fabric patterns in the North namely: Khit, Mudmee, Jok and Yok. Part of Khit and Mudmee fabrics are influenced by the Isan people who settled down in different localities and adopted the method of mudmee weaving. It was also found that Mudmee in Gan Sinh of Nan province was influenced by the Tai Lue people who had lived in the Lao People’s Democratic Republic. Mudmee in the north, however, is mostly tied at warp yarns. ด้้วยสภาพภููมิิประเทศที่มีีภู่� ูเขาและป่่าไม้้หนาทึึบ บวกกัับสภาพอากาศที่่�หนาวเย็็น ทำำ ให้้เครื่่�องนุ่่�งห่่มของภาคเหนืือ ทอมาจากผ้้าฝ้้ายเป็็นส่่วนใหญ่ เพราะเ่ส้้นใยฝ้้ายสามารถสร้้างความอบอุ่่�นให้้แก่่ร่่างกายได้้ดีีอีีกทั้้�งระบายความชื้�น้ ได้้ดีีในยามหน้้าร้้อน และเอกลัักษณ์์ของการทอผ้้าพื้้�นเมืืองของภาคเหนืือในแต่่ละจัังหวััดจะแฝงอิิทธิิพลของแต่่ละ ชาติิพัันธุ์์ด้้วยเสมอ ซึ่่�งกลุ่่�มชาติิพัันธุ์์ส่่วนใหญ่่จะทอผ้้าใช้้เอง โดยลวดลายของผ้้าทอจะสััมพัันธ์์กัับวิิถีีชีีวิิตและ ธรรมชาติิรอบตััวที่่�สวยงาม ผสมผสานจิินตนาการในการปัักผ้้า ทำำ ให้้เกิดิเป็็นลายต่าง ๆ บนเ่ นื้้�อผ้้าที่่�เป็็นเอกลัักษณ์์ของ แต่่ละชาติิพัันธุ์์ เช่่น ผ้้าปัักอาข่่า ลายอ้้าลููแหม่่ล้้า ในจัังหวัดัเชีียงราย หรืือชุุดชาติิพัันธุ์์ลาหู่่�ดำำ (มููเซอดำำ ) ในจัังหวััด แม่่ฮ่่องสอน ผ้้าทอลายน้ำ ำ�ไหลจัังหวัดน่่ ัาน ลวดลายผ้้าที่ ่�มีีชื่่�อเสีียงในภาคเหนืือมีี ๔ ประเภท ได้้แก่่ ผ้้าขิิด ผ้้ามััดหมี่่� ผ้้าจก และผ้้ายก ซึ่่�งผ้้าขิิดและ ผ้้ามัดัหมี่ส่่� วนหนึ่่�งจะได้้รัับอิิทธิิพลมาจากชาวอีีสานที่่�อพยพเข้้ามาตั้้�งถิ่่�นฐานในท้้องถิ่่�นต่าง ๆ และ่นำำเอาวิธีีิการมัดัหมี่่� มาใช้้ในท้้องถิ่่�นที่่�อาศััยในปััจจุุบััน นอกจากนี้้�ยัังได้้พบว่่า การมััดหมี่่�ในซิ่่�นก่่านของจัังหวััดน่่านได้้รัับอิิทธิิพลจาก ชาวไทลื้้�อที่่�เคยอาศััยอยู่่�ในสาธารณรััฐประชาธิิปไตยประชาชนลาว ขณะที่่�การมััดหมี่่�ในภาคเหนืือนิิยมมััดที่่�เส้้นยืืน เป็็นส่่วนใหญ่่ หาดููได้้จากผ้้าซิ่่�นของกะเหรี่่�ยง ซึ่่�งเป็็นผ้้าหน้้าแคบ หรืือในผ้้าซิ่่�นลายขวางทางภาคเหนืือ Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land 傳承泰國鄉土傳統織布 35
ภาพผ้้าตีีนจกแม่่แจ่่ม 泰北著名的緹花 (Khit) 布和紮結染織布是有緹花(有織花卉圖案)的織布,例如:那空沙旺府菱角(牛角板栗)花卉圖案 (Water Caltrops flower) 的緹花布、 沙拉武里府傣阮族手工編織出的緹花布、帶有代表披集府的鐵木花/印度玫瑰栗花/邦納花 (Bunnak) 白色花瓣圖案天然染色的絲綢、彭世洛府 (Phitsanulok) 孟宏/ 紫香花中心 (Ban Muang Hom) 的紮結染織布混織了窺視花 (Peep flower) 紋樣,是該府原創的織紋、碧差汶府傣隆族的分段紮結染織布 Mee Khan Noi Khad Gan Tai Lom 的各種織紋與東北地區的絲綢織紋頗有異曲同工。 挑花布 (Jok) 是一種可以編織出類似刺繡效果的編織法。這是一種許多民族共享的編織文化。然而由於傳承來自不同祖先,在細節、圖案和顏色上自然有所 不同。第一組,是源自蘭納王國 (Lanna Kingdom) 傣阮族或傣勇譨(萬岳)族 (Tai Yonok) 的後裔,他們繼承並保存了足以識別其身份的緹花芯裙, 例如:清邁 府湄曾 (Mae Chaem) 區裙襬挑花芯裙 (Teen Jok Sinh)、嘉藍東樹花織紋 (Climbing Lily flower) 裙襬挑花芯裙 (Teen Jok Sinh)、程逸府 (Uttaradit) 的基亞 (Kia) 花織紋和拌蓋 (Pun Gai/松鼠尾紋 Hangkrarok) 交織圖案的芯裙。 Examples of famous Khit and Mudmee fabrics in the North are: Water Caltrops flower pattern in Khit fabric of Nakhon Sawan province; hand-woven fabric developed from Tai Yuan’s Khit technique of Saraburi province; natural dyed silk with white petal Bunnak flower pattern, Bunnak being the symbolic flower of Phichit; Mudmee from Ban Muang Hom with a mixture of Peep flower pattern, which is the original woven pattern of Phitsanulok province; and Mee Khan Noi Khad Gan Tai Lom of Phetchabun province in which some patterns are similar to the silk patterns of the Isan region. As for the Jok fabric, it is a weaving method that creates a pattern similar to embroidery, which is a weaving culture similar to those of many ethnic groups. The differences are in details of patterns and colors due to inheritance from different ancestors. The first group, who descended from Tai Yuan or Tai Yonok from the Lanna Kingdom has inherited and maintained the identity of such Jok fabric as Mae Chaem Teen Jok (hem piece) Sinh of Chiang Mai Province; Climbing Lily flower patterned Teen Jok with Kia flower pattern and Pun Gai (Hangkrarok) body sinh of Uttaradit Province. ตััวอย่่างของผ้้าขิดิและผ้้ามัดัหมี่ที่ ่� มีีชื่� ่�อเสีียงในภาคเหนืือ เช่่น ผ้้าขิดิลายดอกกระจัับจัังหวัดันครสวรรค์์ ผ้้าทอมืือ ที่พั ่� ัฒนาทอจากขิดิไท-ยวนของจัังหวัดัสระบุุรีี, ผ้้าไหมย้้อมสีีธรรมชาติิ ลายดอกบุุนนาคกลีีบดอกสีีขาว ซึ่่�งเป็็นดอกไม้้ ประจำำจัังหวััดพิิจิิตร, ผ้้ามััดหมี่ ่� บ้้านม่่วงหอมลายดอกปีีบผสม ซึ่่�งเป็็นลวดลายผ้้าทอดั้้�งเดิิมของจัังหวััดพิิษณุุโลก และหมี่ ่�คั่่�นน้้อยคาดก่่านไทหล่่ม จัังหวััดเพชรบููรณ์์ ซึ่่�งประกอบด้้วยลาย ๙ ลาย ดัังนี้้� ปราสาทผึ้้�ง นาค ลายขอ ลายตุ้้ม เสาหลา ขาเปีีย หมากจัับ กระเบื้้�องคว่ำ ำ� กระเบื้้�องหงาย และคองเอี้้�ย ซึ่่�งบางลายคล้้ายคลึึงกัับลายผ้้าไหม ของภาคอีีสาน ส่่วนผ้้าจกเป็็นวิิธีีการทอผ้้าเพื่่�อให้้เกิิดลวดลายคล้้ายการปััก เป็็นวััฒนธรรมการทอผ้้าที่่�คล้้ายคลึึงกัันของ ชนหลายกลุ่่�ม แต่่มีีความแตกต่่างกัันในรายละเอีียดของลวดลายและสีีสััน เนื่่�องมาจากการสืืบทอดจากบรรพบุุรุุษ ที่่�ต่่างกััน กลุ่่�มแรกผู้้สืืบเชื้้�อสายไท-ยวน หรืือไทโยนก จากอาณาจัักรล้้านนาแขวงเชีียงแสนโบราณ ได้้สืืบทอดกััน มาจากรุ่่�นสู่่�รุ่่�น เพื่่�อรัักษาอััตลัักษณ์์ผ้้าซิ่่�นตีีนจก เช่่น ผ้้าซิ่่�นตีีนจกแม่่แจ่่ม จัังหวััดเชีียงใหม่่ ผ้้าซิ่่�นตีีนจกลายดอก ดาวดึึงส์์ ต่อ่ตััวซิ่่�นด้้วยลายดอกเคี๊๊�ยะและปั่่�นไก (หางกระรอก) ของจัังหวัดอุุตัรดิตถ์ิ ์ 36 สืืบสาน อนุุรัักษ์์ศิิลป์์ผ้้าถิ่่�นไทย ดำำรงไว้้ในแผ่่นดิิน
ภาพผ้้าขิิดไทย ลายดอกกระจัับประยุุกต์์ ภาพผ้้ายกดอก ลายราชิินีี 還有一種帕府 (Phrae) 用天然染料由手工編織出鉤連 圖案 (wrench pattern) 的裙襬挑花布 (Teen Jok)。這是一 種圖案歷史悠久的布料。茄子切片圖案芯裙 (Gan Makua Pha Phong sinh) 是以鈎紋圖案挑花布 (Koh Lai) 的編織 技術為基礎,交替編織出傣克朗織布 (Tai Khrang) 中獨 特的圖案,而傣克朗織布是烏泰他尼府 (Uthai Thani) 各 族之間的共同文化。其中包括具有缸水漣漪紋圖案 (Nam Ang) 的裙襬挑花布,而素可泰帕絲薩查那萊 (Phuan Si Satchanalai) 的婦女發現,這幾種布紋最適合編織在一 起。泰北極為名貴的是南奔府的「織錦緞布 (Yok」)。 過去,編織圖案起初是用錦緞棉 (brocade cotton)。但 是,後期人們開始使用絲線進行編織,因此被稱為「南 奔織錦緞絲綢 (Lamphun brocade silk fabric」)。編織 圖案有小子彈木 (small Pikul) 花朵圖案,大子彈木 (big Pikul) 花朵圖案,人字形圖案,松木圖案,或者有時也 會同時編入多種圖案。 There is also a Teen Jok fabric of Phrae province, which is handwoven and dyed in natural colors with a wrench pattern. It is an ancient fabric pattern that has been in existence for many decades. A Gan Makua Pha Phong sinh is based on the Koh Lai style of Jok weaving technique, alternating with motif style of weaving, which is unique in the Tai Khrang fabric, a common culture among ethnic groups in Uthai Thani province. Included also is Teen Jok fabric with Nam Ang pattern, which the women of Phuan Si Satchanalai in Sukhothai province find most popular to weave for wearing. And the high value weaving of the north is “Yok fabric” which is very famous in Lamphun province. In the past, Yok technique would be woven in brocade cotton. However, later on, people began to weave by using silk yarns, so it was called “Lamphun brocade silk fabric”. The weaving patterns used are: small Pikul flower, big Pikul flower, herringbone, pine tree, or in some pieces the weaving will include a mixture of many designs. นอกจากนี้้� ยัังมีีผ้้าตีีนจกของจัังหวัดัแพร่่ ที่่�ทอมืือและย้้อมด้้วยสีีธรรมชาติิ ทอด้้วยลายขอประแจ เป็็นลายผ้้า โบราณที่ ่�มีีมานานหลายสิิบปีี ผ้้าซิ่่�นก่่านมะเขืือผ่่าโผ่่ง ที่่�ใช้้เทคนิิคการทอผ้้าจกแบบเกาะลาย สลัับกัับการทอผ้้ายก มีีแม่่ลาย ที่่�เป็็นเอกลัักษณ์์เฉพาะของผ้้าไทครั่่�ง ซึ่่�งเป็็นวััฒนธรรมร่่วมในกลุ่่�มชาติิพัันธุ์์ในจัังหวััดอุุทััยธานีี รวมถึึง ผ้้าตีีนจกลายน้ำ ำ�อ่่าง ซึ่่�งสตรีีชาวพวนศรีีสััชนาลััย จัังหวััดสุุโขทััย นิิยมทอใส่่กัันมากที่ ่� สุุด และผ้้าทอมููลค่่าสููง ของภาคเหนืือก็็คืือ “ผ้้ายก” ซึ่่�งจัังหวััดลำำพููนมีีชื่่�อเสีียงมากในการทอผ้้ายก (ดอก) ทั้้�งผ้้าไหมและผ้้าฝ้้าย รููปแบบการทอในอดีีตจะเป็็นการทอผ้้าฝ้้ายยกดอก แต่่ต่่อมาในระยะหลัังเริ่่�มมีีการทอโดยใช้้เส้้นไหมในการทอ จึึงเรีียกว่่า “ผ้้าไหมยกดอกลำำ พููน” ลวดลายที่่�ใช้้ทอมีีลายดอกพิิกุุลเล็็ก ดอกพิิกุุลใหญ่่ ลายก้้างปลา ลายต้้นสน หรืือในบางผืืนก็็จะมีีการทอผสมกัันหลาย ๆ ลาย Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land 傳承泰國鄉土傳統織布 37
จัังหวััดกำำแพงเพชร ประชากรในจัังหวััดกำำแพงเพชร มีีหลายกลุ่่�มชาติิพัันธุ์์ที่่�เป็็นคนในท้้องที่่� บางส่่วนอพยพมาจากจัังหวััดทาง ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ ได้้แก่่ จัังหวัดันครราชสีีมา อุุบลราชธานีี ขอนแก่่น และชััยภููมิิ ในระยะแรกที่่�อพยพมา แม่่บ้้านจะทอผ้้าพื้้�นเมืืองเอาไว้้ใช้้เองในครอบครััว แต่่ในปััจจุุบัันได้้ทอเพื่่�อจำำหน่่าย เพื่่�อเลี้้�ยงชีีพมากขึ้้�น โดยได้้รัับการส่่งเสริิมและสนัับสนุุนจากหน่่วยงานที่่�เกี่่�ยวข้้อง ลัักษณะผ้้าทอมีีทั้้�งผ้้าไหม และผ้้าฝ้้าย รวมทั้้�งทอเป็็นผ้้ามััดหมี่่� มีีการสอดแทรกสีีสัันลวดลายที่่�สวยงาม โดยเฉพาะในหมู่่�บ้้านหนองเหมืือด ตำำบลแสนตอ อำำเภอขาณุุวรลัักษบุุรีีจัังหวัดกำั ำแพงเพชร ซึ่่�งดั้้�งเดิิมเป็็นชาวลาวครั่่�ง (อพยพมาจากหลวงพระบาง มีีความชำำนาญในการทอผ้้าไหมมาก่่อน) เป็็นกลุ่มช่� นที่มีี่� ความสามารถในการทอผ้้ามัดัหมี่่�และทอผ้้าตีีนจก ลวดลาย ที่่�ปรากฏได้้รัับอิิทธิิพลมาจากกลุ่มช่� าติิพัันธุ์์ของตนเอง ชื่่�อผ้้า “ผ้้าขิิด (คลุุมไหล่่)” ชื่่�อลาย “ดอกพิกุุิล ๘ กลีีบ” ชื่่�อผู้้ครอบครอง นางวิิรส สอนอก ที่่�อยู่่� ๗๘ หมู่่�ที่่� ๙ ตำำบลท่่ามะเขืือ อำำเภอคลองขลุุง จัังหวััดกำำแพงเพชร โทร. ๐๘-๓๖๓๑-๑๗๔๘ Name of Fabric: “Khit Shawl” Name of Pattern: “Dok Pikul Paad Kleeb” Name of Owner: Mrs. Wiros Son-ok Address: 78 Moo 9, Tha Makhuea Subdistrict, Khlong Khlung District, Kamphaeng Phet Tel: 08-3631-1748 布料名稱: “緹花布”(披肩) 圖案名稱: “8瓣子彈木花/皮庫爾花” 業主名稱: 威羅斯·松歐夫人 地址: 甘烹碧府空隆區淮陽鄉第9村門牌78號。 電話: 08-3631-1748 38 สืืบสาน อนุุรัักษ์์ศิิลป์์ผ้้าถิ่่�นไทย ดำำรงไว้้ในแผ่่นดิิน
甘烹碧府 披肩是帶有天然染料的手工編織棉,其中的染料是 來自甘烹碧府豐富的紅土磚的粘土色。 該府的座右銘開 頭說:“護身符存儲府 (Amulet Chamber Province),強 悍的城市人民 (Tough People),御用寶劍 (Phra Saeng), 大紅磚 (Great Laterite)”,此地生成的顏色將是深色的粘 土顏色。用於將織布染色以獲得紅土色的布料。織品末端 收集了八瓣皮庫爾/子彈木花,皮庫爾/子彈木花 (Pikul) 也是甘烹碧府的花。 Kamphaeng Phet Province The shawl is a handwoven cotton piece with natural dyes in which the dye is derived from the clay color of laterite bricks abundant in Kamphaeng Phet. Part of the motto of the province says, “Amulet Chamber Province with Tough People, Phra Saeng (prestigious historic sword), and Great Laterite”, the resulting color will be the color of clay that is dark shade of brick used to dye the fabric to get a cloth that is in laterite color. An eight-petal Pikul flower design using the Khit technique is woven at the end of the fabric, and Pikul is also the symbolic flower of Kamphaeng Phet province. เรื่่�องราวผลิิตภััณฑ์์ / Product Story / 產品故事 ผ้้าคลุุมไหล่่ เป็็นผ้้าฝ้้ายทอมืือย้้อมสีีธรรมชาติิ ซึ่่�งสีีที่ย้ ่� ้อมได้้มาจากสีีดิินของอิิฐศิิลาแลง นำำมาทำำเป็็นผงศิิลา แลง ซึ่่�งจัังหวััดกำำแพงเพชรเป็็นจัังหวัดที่ั ่�มีีหิินศิิลาแลงเป็็นจำำนวนมาก ดัังคำำขวััญของจัังหวััดกำำแพงเพชรตอนหนึ่่�ง ที่ ่�ว่่า “กรุุพระเครื่่�อง เมืืองคนแกร่่ง พระแสงฯ ล้ำค่่ ำ� า ศิิลาแลงใหญ่”่ สีีที่่�ได้้จะเป็็นสีีของดิินที่่�เป็็นสีีอิิฐเข้้ม นำำมา ย้้อมผ้้าจะได้้ผ้้าที่่�เป็็นสีีศิิลาแลง มีีการเก็็บลายขิิดเป็็นลายดอกพิิกุุล ๘ กลีีบใส่่ไว้้ที่่�ปลายผืืนผ้้าและดอกพิิกุุลยัังเป็็น ดอกไม้้ประจำำจัังหวััดกำำแพงเพชร Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land 傳承泰國鄉土傳統織布 39
จัังหวััดเชีียงราย จากภััยของสงครามระหว่่างไทยกัับพม่่าในสมััยกรุุงธนบุุรีีทำำ ให้้เมืืองเชีียงแสนเกืือบล่่มสลาย ประชากรถููก เทครััวลงมาทางใต้้ กระจายไปอยู่่�ในภาคกลางหลายท้้องที่่� จึึงเป็็นมููลเหตุุแห่่งการล่่มสลายของการทอผ้้าจกใน อาณาจัักรเชีียงแสน หลัังจากได้้รัับการสนัับสนุุนจากพระครููไพศาลพััฒนาภิิรััต เจ้้าอาวาสวััดพระธาตุุผาเงา โดยให้รื้้้�อฟื้้�น “ผ้้าทอ ลายเชีียงแสน” ขึ้้�นมาใหม่่ หลัังจากที่่�หายไปจากเชีียงแสนกว่่าสองร้้อยปีีเศษ ซึ่่�งหากเรานำำ ผ้้าของเชีียงแสน มาเทีียบกัับผ้้าราชบุุรีี จะเห็็นว่่าโครงสร้้างของลวดลายผ้้าลายเชีียงแสนมีีความละม้้ายคล้้ายคลึึงผ้้าซิ่่�นตาของคููบััว แตกต่่างกัันในส่่วนรายละเอีียดของลวดลาย ชื่่�อผ้้า “เสื้้�อชนเผ่่าอาข่่า” (เจ้้าสาว) ชื่่�อลาย “อ้้าลููแหม่่ล้้า” ชื่่�อผู้้ครอบครอง นางสาวอััญชิิตา มาเยอ ที่่�อยู่่� ๑๕ หมู่่�ที่่� ๙ ตำำบลศรีีค้ำำ� อำำเภอแม่่จััน จัังหวััดเชีียงราย โทร. ๐๘-๔๓๖๓-๓๒๒๖ Name of Fabric: “Akha Ethnic Attire” (Bride) Name of Pattern: “Ah Lu Mae Laa” Name of Owner: Ms. Anchita Mayer Address: 15 Moo 9, Srikham Subdistrict, Mae Chan District, Chiang Rai Tel: 08-4363-3226 布料名稱: “阿卡族女衫”(新娘) 圖案名稱: “阿嚕美拉” 業主名稱: 安琪噠·嘛葉爾小姐 地址: 清萊府美陳區斯坎鄉第9村門牌15號。 電話: 08-4363-3226 40 สืืบสาน อนุุรัักษ์์ศิิลป์์ผ้้าถิ่่�นไทย ดำำรงไว้้ในแผ่่นดิิน
清萊府 阿卡族婦女必須在(結婚前)編織和縫繡自己的布 料,以用作襯衫衣或裙子,尤其是新娘的禮服。他們不得 不自己編織並製作所有這些織品,如阿卡族女衫。阿卡族 女孩一旦年滿14歲,就必須練習編織阿卡族女衫。他們必 須開始練習以切割-折疊-補丁-刺繡-與應用周圍美麗的自 然生活相關的事物融入編織中,並結合刺繡中的想像力, 創造出各種精美的圖案於布料中為織物之所有者,而且一 直到他們結婚時有自己一整套的新娘禮服可以穿。 Chiang Rai Province Akha women have to weave and embroider their own fabrics (before getting married) to be used as a blouse or a skirt, especially as the bride’s attire. They will have to weave and make all these fabrics themselves. Weaving Akha women’s blouse have to be practiced when the owners of the fabric begin to reach 14 years of age. They must begin to weave and stitch (cut - fold - patch - embroider) in relation to the beautiful natural way of life around them, mixed with imagination in embroidery so as to create various patterns with delicacy until they tie the knot and wear their handiwork in the form of a bride’s costume. ลวดลายของผ้้าทอไทลื้้�อในจัังหวััด เชีียงราย ได้้รัับอิิทธิิพลด้้านลวดลายจาก สาธารณรััฐประชาธิิปไตยประชาชนลาว ซึ่่�งหากมองในแง่่ภููมิิศาสตร์์จะเห็็นว่่า ท้้องที่ ่� ที่ ่�มีีการทอผ้้าพื้้�นเมืืองของกลุ่่�ม ไทลื้้�อนั้้�น อยู่่�ตามรอยตะเข็็บของทั้้�งสอง ประเทศ อีีกมููลเหตุุหนึ่่�ง กลุ่มช่� าวไทลื้้�อ กลุ่่�มนี้้�ได้้อพยพเข้้ามาอาศััยอยู่่�ในแถบนี้้� ตั้้�งแต่บรรพ่บุุรุุษ ดัังนั้้�น ลวดลายที่่�ปรากฏ จึึงมีีส่่วนละม้้ายคล้้ายคลึึงกัันมาก เรื่่�องราวผลิิตภััณฑ์์ / Product Story / 產品故事 หญิิงสาวชาวอาข่่าจะต้้องทอผ้้าและปัักผ้้าใช้้เอง (ก่่อนออกเรืือน) เพื่่�อใช้้เป็็นเสื้้�อหรืือกระโปรง โดยเฉพาะชุุดเจ้้าสาว สาวเจ้้าจะต้้องเป็็นผู้้ทอและทำำขึ้้�นเอง โดยเสื้้�อสตรีีอาข่่าตััวนี้้� เจ้้าของผ้้าจะต้้องฝึึกหัดัเมื่่�อเริ่่ม�เข้้าสู่่วั� ัยสาว อายุุได้้ ๑๔ ปีี เริ่่�มหััดทอผ้้าและเย็็บผ้้า (ตััด - พัับ - ปะ - ปััก - ด้้น) ซึ่�ง่สััมพัันธ์์กัับวิถีีชีีวิิตธรรมชาติิรอบตััวที่่�สวยงาม ผสมกัับ จิินตนาการในการปัักผ้้าทำำ ให้้เกิิดเป็็นลายต่่าง ๆ ด้้วยความประณีีต จนกว่่าหญิิงสาวชาวอาข่่าจะได้้แต่่งงาน และ สวมใส่่เป็็นชุุดเจ้้าสาว Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land 傳承泰國鄉土傳統織布 41
จัังหวััดเชีียงใหม่่ การทอผ้้าพื้้�นเมืืองในจัังหวัดัเชีียงใหม่่มีีความหลากหลาย แต่่ที่ขึ้้่� �นชื่่�อลืือชา ได้้แก่่ ผ้้าซิ่่�นตีีนจกในอำำเภอแม่่แจ่่ม จัังหวััดเชีียงใหม่่ ภููมิิประเทศของอำำเภอแม่่แจ่่มเป็็นแอ่่งกระทะ มีีภููเขาล้้อมรอบ การคมนาคมในสมััยก่่อนเดิินทางไปมาด้้วยความ ยากลำำ บาก ประชากรในท้้องถิ่่�นจึึงสามารถรัักษาเอกลัักษณ์์ของท้้องถิ่่�นไว้้ได้้เป็็นอย่่างดีี ลวดลายในผ้้าซิ่่�นตีีนจก ของอำำเภอแม่่แจ่่มจะมีีอััตลัักษณ์์ของพื้้�นถิ่่�น โดยเฉพาะกลุ่่�มลายหลััก ส่่วนลายประกอบนั้้�นอาจจะมีีความละม้้าย คล้้ายคลึึงกัับท้้องถิ่่�นอื่่�นบ้้าง แต่่โดยรวมยัังมีีเอกลัักษณ์์ทางวััฒนธรรมของผ้้าซิ่่�นตีีนจกของอำำเภอแม่่แจ่่ม จัังหวััด เชีียงใหม่่ เอาไว้้อย่่างเหนีียวแน่่น ชื่่�อผ้้า “ผ้้าซิ่่�นตีีนจกแม่่แจ่่ม” ชื่่�อลาย “รวมลาย 16 ลาย” ชื่่�อผู้้ครอบครอง นางชุุติิมัันต์์ กรรณิิกา ที่่�อยู่่� ๑๖๓ หมู่่�ที่่� ๘ ตำำบลช่่างเคิ่่�ง อำำเภอแม่่แจ่่ม จัังหวััดเชีียงใหม่่ โทร. ๐๘-๔๗๓๙-๘๓๗๘ Name of Fabric: “Mae Chaem Teen Jok Sinh” Name of Pattern: “The Mixture Pattern” Name of Owner: Mrs. Chutiman Kannika. Address: 163 Moo 8, Chang Kheng Subdistrict, Mae Chaem District, Chiang Mai Tel: 08-4739-8378 布料名稱: “湄曾裙襬挑花芯裙布” 圖案名稱: “包括圖案” 業主名稱: 楚蒂曼·坎尼卡夫人 地址: 清邁府湄曾區昌慶鄉第8村門牌163號。 電話: 08-4739-8378 42 สืืบสาน อนุุรัักษ์์ศิิลป์์ผ้้าถิ่่�นไทย ดำำรงไว้้ในแผ่่นดิิน
清邁府 湄乍地方的古老花紋。挑織 (Jok) 花紋時要打20 個結,每次要在布上放一個棉匙,並且在台階上堆放鍋 墊,就能得到如何編織小鳥圖案的靈感,這是祖先傳承 下來的民俗智慧。這種布是使用豪豬的涂刺緹花編織而 成的,夫人用這種古老的手工方式親自編織縫製這樣一 個圖案大約需要一個月零十三天。 Chiang Mai Province It is an ancient Jok pattern of Mae Chaem. This type of fabric has 20 knots, and while weaving, the other colors of yarn are woven in layers for added beauty. Within the lantern design, there are small bird pattern in the design as well. This is the wisdom that has been passed down from ancestors. The fabric is woven by using a porcupine hair to pick the warps and takes roughly one month and 13 days. เรื่่�องราวผลิิตภััณฑ์์ / Product Story / 產品故事 เป็็นผ้้าลายจกโบราณของแม่่แจ่่ม ผ้้าที่่�จกมีี20 เงื่่�อน ตอนจกต้้องสอดเส้้นด้้ายสีีอื่่�นซ้้อนรวมเข้้าไปด้้วย เพื่่�อความสวยงาม และมีีลายขัันซ้้อนกัันอยู่่�ในลายโกม โดยในลายโกมจะมีีลายนกน้้อย ซึ่่�งเป็็นภููมิิปััญญาที่ ่� ถ่่ายทอดกัันมาจากบรรพบุุรุุษ จกด้้วยขนเม่่น ใช้้เวลาทอ ๑ เดืือน ๑๓ วััน สำำหรัับการทอผ้้าตีีนจกใช้วิ้ธีีิคว่ำ ำ� หน้้า แต่่ลวดลายเป็็นอััตลัักษณ์์ของพื้้�นถิ่่�น ในอำำเภอแม่่แจ่่ม หากเป็็นการอนุุรัักษ์์ ให้้เป็็นลวดลายดั้้�งเดิิมของผ้้าจก ช่่างทอจะทอเป็็นพื้้�นแดงตรงเชิิงจก นอกจากนี้ิิ�ยัังมีีการแบ่่งลัักษณะของ ลวดลายออกเป็็น ๒ แบบ ที่่�เรีียกกัันว่่า “ผ้้าจกลายโบราณ” และ “ผ้้าจกลาย ใหม่่” ทำำ ให้้ราคาของผ้้ามีีความแตกต่าง่ กัันมาก ผ้้าจกชนิดนี้้ ิ �จะมีีราคาสููง ส่่วนที่ ่� เป็็นลวดลายพััฒนาขึ้้�นใหม่่โดยทอจก เป็็นพื้้�นสีีดำำราคาจะย่่อมเยากว่่า Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land 傳承泰國鄉土傳統織布 43
จัังหวััดตาก พื้้�นที่ ่�ส่่วนใหญ่ของ่จัังหวัดตัาก เป็็นแนวตะเข็็บชายแดนติิดต่อ่กัับ สาธารณรััฐแห่่งสหภาพเมีียนมา ภาคเหนืือจากจัังหวัดัเชีียงใหม่่จรดภาค กลางถึึงจัังหวััดกาญจนบุุรีีมีีความหลากหลายจากชนเผ่่าบนดอยสููง และวััฒนธรรมของชาติพัิ ันธุ์์ต่่าง ๆ ที่่�อาศััยอยู่่�ในแถบนี้้� จึึงมีีโครงการ พััฒนามากมาย และมีีการส่่งเสริิมการทอผ้้าพื้้�นเมืืองรวมอยู่่�ด้้วย ชื่่�อผ้้า “ชุุดราตรีีปกากะญอ” ชื่่�อลาย “ลุุเคคีีกะป๋๋อ” ชื่่�อผู้้ครอบครอง นางศรีีจัันทร์์ โรจุุยะ ที่่�อยู่่� ๒๙๓/๔ หมู่่�ที่่� ๑ ตำำบลแม่่อุุสุุ อำำเภอท่่าสองยาง จัังหวััดตาก โทร. ๐๘-๑๐๓๙-๖๒๐๐ Name of Fabric: “Paganyaw Evening Dress” Name of Pattern “Lu Khe Khee Ka Po” Name of Owner: Mrs. Srichan Rojooya Address: 293/4 Moo 1, Mae Usu Subdistrict, Tha Song Yang District, Tak Tel: 08-1039-6200 布料名稱: “白克倫晚禮服” 圖案名稱: “盧克•基•卡波” 業主名稱: 絲莉詹•羅九雅夫人 地址: 來興府塔頌陽區湄烏蘇鄉第1村門牌293/4號。 電話: 08-1039-6200 44 สืืบสาน อนุุรัักษ์์ศิิลป์์ผ้้าถิ่่�นไทย ดำำรงไว้้ในแผ่่นดิิน
來興府 本作品是通過觀察,想像而引入自然界,及周圍環 境以及部落傳統中的傑出特徵而產生的紋樣組合。 所 有這些都將盧克•基•卡波 (Lu Khe Khee Ka Po) 的風格 應用並傳遞到織品的圖案中,表現出一個年輕的白克倫 (Paganyaw)女人堅定,勇敢,樂於為自己的家庭和種 族而犧牲以履行職責。 Tak Province It is a combination of patterns that arise from observation, imagination, and introduction of outstanding characteristics from those seen in nature and the surrounding environment, as well as tribal traditions. All these are modified and transformed onto the fabirc’s patterns in the style of Lu Khe Khee Ka Po, showing that a young Paganyaw woman is resilient, courageous and ready to sacrifice herself to perform duties for her own family and race. เรื่่�องราวผลิิตภััณฑ์์ / Product Story / 產品故事 เป็็นการผสมผสานลวดลายที่่�เกิิด จากการสัังเกต การใช้้จิินตนาการ และ การนํําเอาลัักษณะเด่่นจากสิ่่�งที่่�พบเห็็น ในธรรมชาติิและสิ่่�งแวดล้้อมรอบตััว ทั้้�ง พืืชพรรณ ดอกไม้้ ต้้นไม้้ สััตว์์น้้อยใหญ่่ ข้้าวของเครื่่�องใช้้ในชีีวิิตประจํําวััน ตลอดจนประเพณีีและคตินิิยมของชนเผ่่า มาประยุุกต์์แล้้วถ่่ายทอดสู่่�ลวดลายบน ผืืนผ้้า เป็็นลายลุุเคคีีกะป๋๋อ ที่่�แสดง ให้้เห็็นว่่าหญิิงสาวปกากะญอมีีความ หนัักแน่่น กล้้าหาญ พร้้อมเสีียสละ ในการปฏิิบััติิหน้้าที่่�เพื่่�อครอบครััวและ เผ่่าพัันธุ์์ของตนเอง Continuing and Preserving Thai Traditional Fabrics in the Land 傳承泰國鄉土傳統織布 45
จัังหวััดนครสวรรค์ ์ เกษตรกรในอำำเภอตากฟ้้า จัังหวัดันครสวรรค์์นั้้�น มีีอาชีีพหลัักในการเพาะปลููกฝ้้าย สายพัันธุ์์ตากฟ้้า ๒ ทำำ ให้้ กลุ่่�มทอผ้้าฝ้้ายเข็็นมืือเกิดิแรงบัันดาลใจในการทอผ้้า และได้้เก็็บสมอฝ้้ายมารวมกััน อิ้้�ว ดีีด ล้้อ เข็็น จนเป็็นเส้้นใย ฝ้้ายขนาดเล็็ก มััดหมี่ ่� จำำนวน ๖๑ ลำำ เป็็น “ลายนางรำำ ดอกฝ้้ายตากฟ้้า” ย้้อมสีีเหลืือง ย้้อมเป็็นสีีฟ้้า โอบย้้อมสีี บานเย็็น นำำมาทอด้้วยกี่่�กระตุุก โดยมีีความหมาย ดัังนี้้� “ต้้นฝ้้าย” หมายถึึง ฝ้้ายพัันธุ์์ตากฟ้้า ๒ ซึ่�ง่บ่่งบอกถึึงความอุุดมสมบููรณ์์ของ ผลิิตผลทางการเกษตร “สาวน้้อยใส่่ชุุดสีีฟ้้า” ซึ่�งเ่ ป็็นสีีประจำำจัังหวััดนครสวรรค์์ร่่ายรำในท่่าเก็็บสมอ ฝ้้ายใส่่กระบุุงข้้างกาย และมีีการสอดแทรกตััวหนัังสืือ เพื่่�อสื่่�อว่่าได้้ผลิิตจากมืือของ ช่่างทอผ้้าทั้้�งผืืน ชื่่�อผ้้า “ผ้้าขิิดไหม” ชื่่�อลาย “ดอกกระจัับประยุุกต์์” ชื่่�อผู้้ครอบครอง นางชนิิดา โวโลดิิน ที่่�อยู่่� ๔๓ หมู่่�ที่่� ๘ ตำำบลชุุมตาบง อำำเภอชุุมตาบง จัังหวัดันครสวรรค์์ โทร. ๐๘-๑๐๔๓-๘๙๘๓ Name of Fabric: “Khit Silk Fabric” Name of Pattern: “Modified Krajap Flowers” Name of Owner: Mrs. Chanida Volodin Address: 43 Moo 8, Chum Ta Bong Subdistrict, Chum Ta Bong District, Nakhon Sawan Tel: 08-1043-8983 布料名稱: “緹花布” 圖案名稱: “菱角(牛角板栗)花應用” 業主名稱: 差尼達·佛樓叮夫人 地址: 那空沙旺府安非春塔彭區灘文春塔彭鄉 第8村門牌43號。 電話: 08-1043-8983 46 สืืบสาน อนุุรัักษ์์ศิิลป์์ผ้้าถิ่่�นไทย ดำำรงไว้้ในแผ่่นดิิน