The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการขอรับการสนับสนุนเงินในรูปแบบโค

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thanapong.12, 2021-02-10 21:26:20

คู่มือการขอรับการสนับสนุนเงินในรูปแบบโค

คู่มือการขอรับการสนับสนุนเงินในรูปแบบโค

เล่ม ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๑๘๗ ง หนา้ ๕ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๕๗
ราชกิจจานุเบกษา

การวินิจฉัยชี้ขาดของท่ีประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหน่ึงให้มีเสียงหน่ึง
ในการลงคะแนน ถา้ คะแนนเสยี งเทา่ กันให้ประธานในท่ปี ระชมุ ออกเสยี งเพมิ่ ข้นึ อกี เสียงหนึง่ เปน็ เสียงชข้ี าด

ขอ้ ๑๘ คณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียน คณะอนุกรรมการ หรือคณะทํางาน
ที่คณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียนแต่งตั้ง อาจได้รับค่าตอบแทน เบี้ยประชุม หรือค่าใช้จ่ายอื่น ๆ
ตามอตั ราท่ีกระทรวงการคลังกาํ หนด

ในกรณีที่ทุนหมุนเวียนใดมีความจําเป็นต้องกําหนดอัตราค่าตอบแทน เบ้ียประชุม หรือ
ค่าใช้จ่ายอน่ื ๆ นอกจากท่ีกระทรวงการคลังกําหนดตามวรรคหนึ่ง ใหข้ อทาํ ความตกลงกับกระทรวงการคลัง

ขอ้ ๑๙ ในทุนหมุนเวียน ให้มีผู้บริหารทุนหมุนเวียนคนหนึ่ง ซึ่งหัวหน้าหน่วยงานเจ้าของ
ทุนหมนุ เวียนแต่งต้ังจากขา้ ราชการ หรอื บคุ คลภายนอกทไี่ ดร้ บั การสรรหาตามขอ้ ๒๐

ใหน้ ําความในขอ้ ๑๒ มาใชบ้ ังคับกบั ผู้บริหารทนุ หมนุ เวียนจากการสรรหา โดยอนุโลม
ข้อ ๒๐ ในการสรรหาผู้บริหารทุนหมุนเวียน ให้คณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียนแต่งต้ัง

คณะอนุกรรมการสรรหาคณะหน่ึง จํานวนไม่เกินห้าคน ทําหน้าท่ีสรรหาผู้ที่มีความเหมาะสม

ในการบรหิ ารทุนหมุนเวยี น และเสนอรายช่ือให้คณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียนพิจารณา โดยอาจเสนอ

รายชอ่ื ผู้มคี วามเหมาะสมมากกว่าหน่ึงชื่อก็ได้

ข้อ ๒๑ การดาํ รงตําแหน่ง การพ้นจากตําแหน่ง และเง่ือนไขในการจ้างผู้บริหารทุนหมุนเวียน

ให้เป็นไปตามสัญญาจ้างท่ีคณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียนกําหนด โดยความเห็นชอบของ

กระทรวงการคลงั

ให้หัวหน้าหน่วยงานเจ้าของทุนหมุนเวยี นเปน็ ผ้มู ีอาํ นาจทาํ สัญญาจ้างผู้บริหารทุนหมุนเวยี น

ขอ้ ๒๒ ผู้บริหารทุนหมุนเวียนมีหน้าที่บริหารกิจการของทุนหมุนเวียนให้เป็นไปตาม

วตั ถุประสงคข์ องทนุ หมนุ เวยี นหรอื ปฏิบตั ิงานอืน่ ตามทคี่ ณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวยี นมอบหมาย

ขอ้ ๒๓ ให้หน่วยงานเจ้าของทุนหมุนเวียนกําหนดโครงสร้างการบริหารงานของทุนหมุนเวียน

เพ่ือรองรับการดําเนินงานด้านต่าง ๆ ซ่ึงอย่างน้อยต้องประกอบด้วยด้านนโยบายและแผนงาน

ด้านการเงินและบัญชี และด้านกฎหมาย โดยให้มีอัตรากําลังที่เหมาะสมในการดําเนินงานและฐานะ

การเงินของทุนหมุนเวยี น โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลงั

ข้อ ๒๔ การกําหนดตําแหน่ง คุณสมบัติของตําแหน่ง อัตราเงินเดือน ค่าตอบแทน อํานาจหน้าที่

ระยะเวลาการจ้าง การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการเลิกจ้างพนักงาน ให้เป็นไปตามระเบียบ

หรือข้อบังคบั เกยี่ วกบั การบริหารงานบคุ คลที่คณะกรรมการบริหารทนุ หมนุ เวยี นกําหนดข้นึ

ค่มู อื การขอรบั การสนับสนุนเงนิ ในรูปแบบโครงการจากกองทนุ เพ่อื การปอ้ งกนั และปราบปรามการคา้ มนษุ ย์ 193

เลม่ ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๑๘๗ ง หนา้ ๖ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๕๗
ราชกิจจานุเบกษา

สว่ นท่ี ๒
การเงินและการบญั ชี

ข้อ ๒๕ ให้ผู้บริหารทุนหมุนเวียนท่ีจัดตั้งข้ึนตามกฎหมายเฉพาะจัดทําแผนงบประมาณรายรับ
และรายจ่ายประจําปี รวมท้ังแผนงบประมาณรายรับและรายจ่ายประจําปีล่วงหน้าสามปี
พร้อมแผนการดําเนินงานของทุนหมุนเวียน ซ่ึงอย่างน้อยต้องประกอบด้วย แผนปฏิบัติงาน ประมาณการ
รายรับและรายจ่ายประจําปี ประมาณการกระแสเงินสด เสนอให้คณะกรรมการบริหาร
ทุนหมุนเวียนพิจารณาอนุมัติหรือให้ความเห็นชอบ เพื่อใช้เป็นกรอบงบประมาณในการบริหารจัดการ
ทุนหมุนเวียน แล้วส่งให้กระทรวงการคลังภายในหกสิบวันก่อนเริ่มต้นปีบัญชีของทุกปี เพื่อใช้
ประกอบการติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน

ทุนหมุนเวียนที่มีกฎหมายหรือระเบียบกําหนดให้ขออนุมัติประมาณการรายจ่ายประจําปี
ต่อกระทรวงการคลัง ให้หน่วยงานเจ้าของทุนหมุนเวียนจัดทําประมาณการรายจ่ายประจําปีที่ผ่าน
การอนุมัติหรือความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียนเสนอต่อกระทรวงการคลังภายใน
หกสิบวันก่อนเริ่มต้นปีบัญชีของทุกปี เพื่อพิจารณาอนุมัติก่อนการใช้จ่ายเงินตามแนวทาง
ทีก่ ระทรวงการคลังกาํ หนด

ขอ้ ๒๖ ให้ทุนหมุนเวียนมีระบบบัญชีท่ีเหมาะสมตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป
และการควบคมุ ภายในท่ดี ี

ขอ้ ๒๗ ให้ทุนหมุนเวียนมีการบันทึกรายการบัญชีในระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ
แบบอเิ ล็กทรอนิกสท์ ี่ถกู ตอ้ งและเป็นปัจจุบนั ตามรูปแบบและเงือ่ นไขที่กรมบัญชกี ลางกําหนด

ข้อ ๒๘ ให้มีการจัดทํางบการเงินของทุนหมุนเวียน และส่งให้แก่สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
หรือบุคคลภายนอกซึ่งคณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียนแต่งต้ังโดยความเห็นชอบของสํานักงาน
การตรวจเงินแผ่นดินเป็นผู้สอบบัญชีของทุนหมุนเวียน เพื่อทําการตรวจสอบและรับรองงบการเงิน
ของทุนหมุนเวยี น ท้ังนี้ ภายในหกสบิ วนั นบั แต่วันส้ินปบี ญั ชีทุกปี

เมื่องบการเงนิ ไดร้ ับการตรวจสอบและรับรองแล้ว ให้ส่งกรมบัญชีกลางภายในสามสิบวันนับแต่
วนั ที่ไดร้ ับแจ้งผลการตรวจสอบและรับรองจากผูส้ อบบญั ชี

ขอ้ ๒๙ ให้หน่วยงานเจ้าของทุนหมุนเวียนเปิดบัญชีเงินฝากไว้ที่กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
หรือสํานักงานคลังจังหวัด แล้วแต่กรณี ชื่อ “บัญชี . . . (ชื่อทุนหมุนเวียน) . . .” เพื่อฝากเงิน
ของทุนหมุนเวียนท่ีได้รับจากหน่วยงานในราชการส่วนกลางหรือส่วนภูมิภาค และห้ามมิให้นําเงินไปใช้จ่าย
กอ่ นส่งเขา้ บัญชเี งนิ ฝาก

ในกรณีท่ีมีความจําเป็น หน่วยงานเจ้าของทุนหมุนเวียนอาจขอเปิดบัญชีเงินฝากไว้
ณ ธนาคารพาณิชย์ ในช่ือบัญชีเช่นเดียวกับวรรคหนึ่ง เพ่ือไว้ใช้จ่ายตามวัตถุประสงค์ ภายในวงเงิน
และเงือ่ นไขท่ีคณะกรรมการบรหิ ารทนุ หมุนเวียนกําหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง

194 ค่มู อื การขอรับการสนับสนนุ เงินในรูปแบบโครงการจากกองทุนเพ่อื การป้องกนั และปราบปรามการคา้ มนษุ ย์

เลม่ ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๑๘๗ ง หน้า ๗ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๕๗
ราชกิจจานุเบกษา

ขอ้ ๓๐ ให้หน่วยงานเจ้าของทุนหมุนเวียนนําเงินที่ได้รับส่งเข้าบัญชีของทุนหมุนเวียนท่ีเปิดไว้
ที่กรมบญั ชีกลางหรอื สํานกั งานคลงั จังหวดั แล้วแต่กรณี ภายในสามวนั ทาํ การนบั แต่วนั ทร่ี ับเงนิ

ขอ้ ๓๑ การใชจ้ ่ายเงนิ ของทุนหมนุ เวยี น ใหใ้ ชจ้ ่ายเพือ่ กิจการตามวตั ถุประสงคข์ องทนุ หมนุ เวยี น
ขอ้ ๓๒ เมื่อทุนหมุนเวียนได้รับอนุมัติหรือเห็นชอบแผนการดําเนินงานประจําปี หรือประมาณการ
รายจ่ายประจําปีตามข้อ ๒๕ ให้ผู้บริหารทุนหมุนเวียนหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายมีอํานาจสั่งจ่าย
และเบกิ จา่ ยเงนิ ของทนุ หมนุ เวยี น
ขอ้ ๓๓ การนําเงินของทุนหมุนเวียนไปดําเนินการเพ่ือหาผลประโยชน์ต้องได้รับอนุมัติจาก
คณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียน โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง และให้กระทําได้เฉพาะกรณี
ดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) ฝากไวก้ บั ธนาคารพาณชิ ย์
(๒) ซ้อื พนั ธบตั รรฐั บาล พันธบตั รธนาคารแห่งประเทศไทย หรอื รฐั วิสาหกจิ
(๓) ซ้ือตราสารแห่งหนี้โดยมีกระทรวงการคลังรับรอง หรืออาวัล หรือคํ้าประกันเงินต้น
และดอกเบ้ีย

สว่ นที่ ๓
การตรวจสอบและการรายงานทางการเงิน

ข้อ ๓๔ ให้คณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียนจัดให้มีการตรวจสอบภายในที่ดี โดยอย่างน้อย
ใหผ้ ู้ตรวจสอบภายในรายงานปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานของทุนหมุนเวียน พร้อมข้อเสนอแนะ
ต่อคณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียนอย่างน้อยสามเดือนต่อหน่ึงคร้ัง เพื่อให้การดําเนินงานของทุนหมุนเวียน
มปี ระสทิ ธิภาพ

ขอ้ ๓๕ ให้กรมบัญชีกลางกําหนดรูปแบบและวิธีการในการจัดทํารายงานทางการเงิน
ของทุนหมนุ เวยี น เพอ่ื ให้หน่วยงานเจา้ ของทนุ หมนุ เวยี นถอื ปฏบิ ตั ิ ดงั ตอ่ ไปน้ี

(๑) รายงานแผนรายรับและแผนรายจ่ายประจําปี
(๒) รายงานผลรายรับและผลรายจ่ายรายเดอื น
(๓) งบทดลองรายเดือนและภาระผูกพนั ณ วนั ส้ินเดอื น
(๔) รายงานการรับจ่ายและการใชจ้ ่ายเงินรายไดท้ ่ไี ม่ต้องนําส่งเปน็ รายไดแ้ ผ่นดิน
(๕) รายงานทางการเงินอืน่ ๆ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการดาํ เนินงานของทนุ หมุนเวยี น
ใหห้ นว่ ยงานเจา้ ของทนุ หมุนเวียนส่งรายงานทางการเงินตามวรรคหน่ึงต่อกรมบัญชีกลางภายใน
ระยะเวลาที่กรมบัญชกี ลางกาํ หนด

คู่มือการขอรับการสนับสนนุ เงินในรูปแบบโครงการจากกองทนุ เพ่ือการป้องกนั และปราบปรามการคา้ มนุษย์ 195

เลม่ ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๑๘๗ ง หน้า ๘ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๕๗
ราชกจิ จานุเบกษา

หมวด ๔
การประเมนิ ผลการดําเนนิ งานทนุ หมุนเวียน

ข้อ ๓๖ ให้มีคณะกรรมการประเมินผลการดําเนินงานทุนหมุนเวียน ประกอบด้วย
ปลดั กระทรวงการคลงั เปน็ ประธานกรรมการ ผูแ้ ทนสํานักงบประมาณ ผู้แทนสํานักงานคณะกรรมการ
กฤษฎีกา ผู้แทนสํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ผู้แทนสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผู้แทนสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ผู้แทนกรมบัญชีกลาง
ผู้แทนสํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เป็นกรรมการ และผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงประธานกรรมการแต่งต้ัง
โดยความเห็นชอบของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง จํานวนไม่เกินหกคน โดยผู้ทรงคุณวุฒิดังกล่าว
ต้องเป็นผู้เช่ียวชาญด้านการเงินการคลัง ด้านกฎหมาย ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านการบัญชี และด้านอื่น ๆ
ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับการประเมินผล

ให้ผูอ้ าํ นวยการกองกํากับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ กรมบัญชีกลาง เป็นกรรมการ
และเลขานุการ และให้มีเจ้าหน้าท่ีกองกํากับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ กรมบัญชีกลาง
เป็นผู้ช่วยเลขานกุ าร

ขอ้ ๓๗ ให้นําความในข้อ ๑๒ (๑) (๓) และ (๔) มาใช้บังคับกับคุณสมบัติและลักษณะ
ต้องห้ามของกรรมการผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ โดยอนโุ ลม

ข้อ ๓๘ ให้นําความในข้อ ๑๓ และข้อ ๑๔ มาใช้บังคับกับวาระการดํารงตําแหน่ง และ
การพน้ จากตาํ แหน่งของกรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ โดยอนุโลม

ขอ้ ๓๙ ให้นําความในข้อ ๑๗ มาใช้บังคับกับการประชุมของคณะกรรมการประเมินผล
การดําเนินงานทนุ หมนุ เวียน โดยอนุโลม

ข้อ ๔๐ ใหค้ ณะกรรมการประเมนิ ผลการดาํ เนินงานทนุ หมนุ เวยี น มอี ํานาจหนา้ ท่ี ดงั นี้
(๑) กาํ หนดกรอบแนวทางการประเมินผลการดําเนินงานทนุ หมุนเวียน
(๒) กาํ หนดหลกั เกณฑก์ ารประเมินผลการดําเนินงานทนุ หมนุ เวยี น และการนําผลการประเมิน
ทุนหมุนเวยี นไปใช้ในการพจิ ารณาจดั ทาํ ข้อเสนอรวมหรอื ยบุ เลิกทนุ หมนุ เวียน
(๓) เจรจาและจัดทําบันทึกข้อตกลงการประเมินผลการดําเนินงานทุนหมุนเวียนกับฝ่ายบริหาร
ของแต่ละทุนหมนุ เวียน
(๔) ประเมินผลการดาํ เนนิ งานทนุ หมนุ เวยี น
(๕) ให้ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรี เพ่ือใช้ประกอบการพิจารณาในการรวม
หรอื ยบุ เลิกทนุ หมนุ เวียน
(๖) นําเสนอรายงานผลการประเมินทุนหมุนเวียนประจําปี พร้อมข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ
เกยี่ วกับการดําเนินงานของทนุ หมนุ เวยี นต่อคณะรัฐมนตรี
(๗) พฒั นาปรบั ปรงุ ระบบประเมินผลการดาํ เนนิ งานทุนหมนุ เวยี น

196 คู่มือการขอรับการสนบั สนนุ เงินในรปู แบบโครงการจากกองทนุ เพือ่ การปอ้ งกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์

เล่ม ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๑๘๗ ง หน้า ๙ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๕๗
ราชกจิ จานุเบกษา

(๘) กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ในการสร้างแรงจูงใจในการดําเนินงาน
ของทุนหมุนเวียน

(๙) แต่งต้ังคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางาน เพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการตามท่ีคณะกรรมการ
ประเมินผลการดาํ เนินงานทนุ หมนุ เวยี นมอบหมาย

(๑๐) ปฏิบัติงานอ่ืนใดเพ่ือให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของระบบประเมินผลการดําเนินงาน
ทนุ หมุนเวียน

ข้อ ๔๑ ให้นําความในข้อ ๑๗ มาใช้บังคับกับการประชุมของคณะอนุกรรมการ หรือ
คณะทาํ งานท่คี ณะกรรมการประเมินผลการดําเนินงานทุนหมนุ เวยี นแตง่ ตงั้ โดยอนุโลม

ข้อ ๔๒ ให้คณะกรรมการประเมินผลการดําเนินงานทุนหมุนเวียน คณะอนุกรรมการ
หรอื คณะทํางานตามข้อ ๔๐ (๙) อาจเชิญบุคคลท่ีเก่ียวข้อง หรือขอเอกสารหลักฐานจากหน่วยงานเจ้าของ
ทนุ หมุนเวยี น เพื่อประโยชนใ์ นการดําเนินงานกไ็ ด้

ข้อ ๔๓ ให้หน่วยงานเจ้าของทุนหมุนเวียนเสนอรายละเอียดท่ีเก่ียวข้องกับการประเมินผล
การดําเนินงานทุนหมุนเวียนต่อกรมบัญชีกลาง เพื่อเสนอให้คณะกรรมการประเมินผลการดําเนินงาน
ทุนหมนุ เวยี นพิจารณา

หลักเกณฑ์ วิธีการ และข้ันตอนในการเสนอรายละเอียดเกี่ยวกับการประเมินผล
การดําเนินงานทุนหมุนเวียนตามวรรคหน่ึง ให้เป็นไปตามท่ีคณะกรรมการประเมินผลการดําเนินงาน
ทุนหมนุ เวียนกาํ หนด

ขอ้ ๔๔ ใหก้ รมบญั ชีกลางนําผลการประเมินผลการดําเนินงานทุนหมุนเวียน พร้อมข้อเสนอรวม
หรือยุบเลิกทุนหมุนเวียนของคณะกรรมการประเมินผลการดําเนินงานทุนหมุนเวียนเสนอต่อ
คณะรฐั มนตรี

วธิ กี ารรวมหรอื ยบุ เลิกทนุ หมุนเวียนใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายว่าดว้ ยการนน้ั
ข้อ ๔๕ ให้คณะกรรมการประเมินผลการดําเนินงานทุนหมุนเวียนแจ้งผลการประเมินผล
การดําเนินงานของทุนหมุนเวียนต่อคณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียน ผู้บริหารทุนหมุนเวียน
และบุคลากรที่ปฏิบัติงานในกิจการของทุนหมุนเวียน เพื่อนําไปใช้พัฒนาหรือปรับปรุงการดําเนินงาน
ของทุนหมนุ เวียนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึน้ และสร้างแรงจงู ใจในการปฏิบตั ิงานในกิจการของทนุ หมุนเวยี น
ข้อ ๔๖ ทุนหมุนเวียนที่จัดตั้งโดยกฎหมายเฉพาะและมีบทบัญญัติให้มีการประเมินผล
การดําเนินงานทุนหมุนเวียน ให้นําหลักเกณฑ์การประเมินผลการดําเนินงานทุนหมุนเวียนตามท่ี
คณะกรรมการประเมินผลการดําเนินงานทุนหมุนเวียนกําหนดมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับการดําเนินงาน
ของทุนหมุนเวียน ในกรณีท่ีกฎหมายเฉพาะไม่มีบทบัญญัติให้มีการประเมินผลการดําเนินงาน
ทุนหมนุ เวยี นให้ปฏบิ ัติตามข้อ ๔๓

คูม่ ือการขอรบั การสนบั สนุนเงินในรปู แบบโครงการจากกองทนุ เพอื่ การป้องกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์ 197

เล่ม ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๑๘๗ ง หนา้ ๑๐ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๕๗
ราชกิจจานุเบกษา

ให้หน่วยงานเจ้าของทุนหมุนเวียนตามวรรคหน่ึง รายงานการประเมินผลการดําเนินงาน
ทุนหมุนเวียนต่อกรมบัญชีกลางภายในสามสิบวันนับแต่วันสิ้นปีบัญชี เพื่อรวบรวมและจัดทํารายงาน
สรปุ ผลการดาํ เนนิ งานในภาพรวมของทุนหมนุ เวียนเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเปน็ ประจําทกุ รอบสนิ้ ปีบญั ชี

บทเฉพาะกาล

ข้อ ๔๗ ในวาระเริ่มแรก ให้ดําเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียนให้แล้วเสร็จ
ภายในหนึ่งร้อยยส่ี บิ วันนับแตว่ นั ท่ีระเบยี บนี้ใชบ้ งั คับ

ให้คณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียนซึ่งปฏิบัติหน้าท่ีอยู่ในวันที่ระเบียบน้ีใช้บังคับ
ปฏิบัติหน้าท่ีคณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียนตามระเบียบน้ีไปพลางก่อนจนกว่าจะได้มีการแต่งต้ัง
คณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวยี นตามระเบียบน้ี

ข้อ ๔๘ ให้ผู้บริหารทุนหมุนเวียนซ่ึงปฏิบัติหน้าที่อยู่ในวันที่ระเบียบนี้ใช้บังคับ ปฏิบัติหน้าท่ี
ต่อไปจนกว่าสัญญาจ้างจะสิ้นสุดลง และเมื่อสัญญาจ้างสิ้นสุดลงแล้วให้ดําเนินการสรรหาผู้บริหาร
ทนุ หมนุ เวยี นตามระเบยี บนต้ี อ่ ไป

ประกาศ ณ วนั ที่ ๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗
พลเอก ประยุทธ์ จันทรโ์ อชา

หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ

198 ค่มู ือการขอรับการสนับสนุนเงนิ ในรูปแบบโครงการจากกองทุนเพอ่ื การปอ้ งกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์

เลม ๑๒๖ ตอนพเิ ศษ ๑๓๖ ง หนา ๑ ๑๘ กันยายน ๒๕๕๒
ราชกิจจานุเบกษา

ระเบยี บคณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการคา มนษุ ย

วา ดว ยการรับเงิน การจา ยเงนิ การเก็บรกั ษาเงนิ การจัดหาผลประโยชน และการจัดการกองทนุ
เพ่อื การปอ งกนั และปราบปรามการคา มนุษย
พ.ศ. ๒๕๕๒

อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา ๑๖ (๗) แหงพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย
พ.ศ. ๒๕๕๑ คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการคามนุษย โดยความเห็นชอบของ
กระทรวงการคลัง จึงวางระเบียบไว ดังตอ ไปน้ี

ขอ ๑ ระเบียบน้ีเรียกวา “ระเบียบคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการคามนุษย
วาดวยการรับเงิน การจายเงิน การเกบ็ รกั ษาเงนิ การจัดหาผลประโยชน และการจดั การกองทนุ เพื่อการ
ปองกันและปราบปรามการคา มนุษย พ.ศ. ๒๕๕๒”

ขอ ๒ ระเบยี บนใี้ หใชบ ังคบั ตงั้ แตว นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน ตนไป
ขอ ๓ ใหปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยเปนผูรักษาการ
ตามระเบียบ และมอี าํ นาจกาํ หนดวิธีปฏิบัติอื่นใด รวมทั้งเปนผูวินิจฉัยช้ีขาดปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติ
ตามระเบียบน้ี

หมวด ๑
ขอความทว่ั ไป

ขอ ๔ ในระเบียบน้ี
“กองทนุ ” หมายความวา กองทนุ เพ่ือการปอ งกนั และปราบปรามการคา มนุษย
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการคา มนษุ ย
“คณะกรรมการบริหารกองทนุ ” หมายความวา คณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อการปองกัน
และปราบปรามการคามนษุ ย
“ปลัดกระทรวง” หมายความวา ปลัดกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย
“สํานักงาน” หมายความวา กองบริหารกองทุน สาํ นักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความม่นั คงของมนษุ ย

คู่มือการขอรับการสนับสนุนเงินในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพือ่ การป้องกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์ 199

เลม ๑๒๖ ตอนพเิ ศษ ๑๓๖ ง หนา ๒ ๑๘ กนั ยายน ๒๕๕๒
ราชกิจจานเุ บกษา

ขอ ๕ กองทุนมีวัตถุประสงคเพื่อเปนทุนใชจายสําหรับการปองกันและปราบปราม
การคา มนษุ ย และเปน คาใชจายในการบรหิ ารกองทนุ

หมวด ๒
การรับเงนิ การจายเงนิ และการเก็บรกั ษาเงิน

ขอ ๖ ใหเ ปด บัญชีกองทุนไวที่กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลงั หรอื สํานักงานคลังจังหวัด
แลวแตกรณี เรียกวา “บญั ชีกองทนุ เพือ่ การปองกันและปราบปรามการคา มนุษย”

ขอ ๗ เพื่อความคลองตวั ในการบริหารกองทุนและมีความจําเปน กองทุนสามารถเปดบัญชี
เงินฝากไว ณ ธนาคารท่ีเปนรัฐวิสาหกิจท้ังในสวนกลางและสวนภูมิภาค ช่ือบัญชีเดียวกันกับขอ ๖
เพื่อใชจ ายตามแผนงานประจาํ ป หรือภายในวงเงินและเงื่อนไขท่ีคณะกรรมการบริหารกองทุนกําหนด
โดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลัง

ขอ ๘ เงนิ ท่จี ะเขา บญั ชีกองทนุ เพื่อการปองกนั และปราบปรามการคา มนษุ ย ไดแก
(๑) เงนิ ทนุ ประเดมิ ที่รัฐบาลจัดสรรให
(๒) เงนิ อุดหนนุ ที่รฐั บาลจัดสรรใหจากงบประมาณรายจา ยประจาํ ป
(๓) เงินหรอื ทรพั ยสินทีม่ ีผบู รจิ าคหรืออุทศิ ให
(๔) เงนิ ที่ไดรับจากตางประเทศหรือองคก ารระหวา งประเทศ
(๕) ดอกผลและผลประโยชนท เี่ กิดจากกองทนุ
(๖) เงนิ ทีไ่ ดจ ากการขายทรัพยสินของกองทุนหรอื ทไ่ี ดจากการจดั หารายได
(๗) เงนิ หรือทรพั ยสนิ ทตี่ กเปน ของกองทุนหรือที่กองทนุ ไดร ับตามกฎหมายอ่นื
ขอ ๙ เงินที่ไดร ับตามขอ ๘ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) และ (๗) ในสวนกลางใหนําสง
เขา บัญชีกองทนุ เพื่อการปอ งกนั และปราบปรามการคามนุษยท่ีเปดไวท่ีกรมบัญชีกลาง ในสวนภูมิภาค
ใหนาํ สง เขาบัญชีกองทุนเพื่อการปองกันและปราบปรามการคามนุษยที่เปดไวที่สํานักงานคลังจังหวัด
ตามขอ ๖ ภายในสามวนั ทําการ นบั แตว ันท่ีไดร บั เงนิ หากไดร ับเงนิ ในวนั เดียวเกินกวาหนึ่งหมื่นบาท
ใหน ําฝากในวันรุงขน้ึ นบั จากวนั ที่ไดรับเงิน
ขอ ๑๐ การใชจายเงนิ หรอื ทรัพยส ินของกองทุนใหใ ชจ า ยเพอ่ื กิจการ ดงั ตอ ไปน้ี
(๑) การชว ยเหลอื ผเู สียหายตามมาตรา ๓๓
(๒) การคมุ ครองความปลอดภยั ใหแกผ เู สียหายตามมาตรา ๓๖

200 คู่มือการขอรบั การสนบั สนนุ เงินในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพือ่ การป้องกันและปราบปรามการคา้ มนุษย์

เลม ๑๒๖ ตอนพเิ ศษ ๑๓๖ ง หนา ๓ ๑๘ กันยายน ๒๕๕๒
ราชกจิ จานเุ บกษา

(๓) การชวยเหลือผูเสียหายในตางประเทศใหเดินทางกลับเขามาในราชอาณาจักร
หรอื ถิ่นที่อยตู ามมาตรา ๓๙

(๔) การปองกันและปราบปรามการคามนุษย ตามระเบียบท่ีคณะกรรมการประสาน
และกํากับการดาํ เนนิ งานปอ งกันและปราบปรามการคามนษุ ยกาํ หนด

(๕) การบรหิ ารกองทนุ
ขอ ๑๑ หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการอนุมัติการใชเงินและทรัพยสินของกองทุน
ตามขอ ๑๐ (๑) (๒) (๓) และ (๕) ตลอดจนวิธีปฏิบัติงานในเร่ืองตาง ๆ ที่เก่ียวของใหเปนไปตาม
ทค่ี ณะกรรมการบรหิ ารกองทนุ กาํ หนด
ขอ ๑๒ ใหปลัดกระทรวง หรือผูซึ่งปลัดกระทรวงมอบหมายสั่งจายเงินจากกองทุน
หลงั จากไดรับการอนุมัติจากคณะกรรมการบรหิ ารกองทนุ แลว
ขอ ๑๓ วิธีปฏิบัตเิ ก่ียวกับการเบกิ เงิน การรบั เงนิ การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนําสง
การพสั ดหุ รอื การปฏิบัติอืน่ ใดที่มิไดกําหนดไวในระเบียบน้ี ใหถือปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ
วาดวยการน้ันโดยอนุโลม หากไมสามารถปฏิบัติตามระเบียบของราชการไดใหทําความตกลง
กับกระทรวงการคลัง

หมวด ๓
การจัดหาผลประโยชนข องกองทุน

ขอ ๑๔ ใหนาํ เงนิ กองทนุ ไปหาผลประโยชนไ ด ดงั น้ี
(๑) ฝากไวก ับธนาคารทเ่ี ปนรฐั วิสาหกิจ
(๒) ซ้อื พันธบัตรรฐั บาล
(๓) ซอื้ ตราสารการเงินอ่นื ตามท่ีกระทรวงการคลังเห็นชอบ
(๔) ดําเนนิ การอน่ื ตามท่ีคณะกรรมการกําหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง

หมวด ๔
การจัดการกองทนุ

ขอ ๑๕ การบัญชีใหจ ดั ทําตามหลักบัญชีคูเกณฑค งคา ง ตามมาตรฐานการจัดทําบัญชีภาครัฐ
ที่กระทรวงการคลังกําหนด

คมู่ อื การขอรับการสนับสนนุ เงินในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพ่ือการป้องกันและปราบปรามการคา้ มนุษย์ 201

เลม ๑๒๖ ตอนพเิ ศษ ๑๓๖ ง หนา ๔ ๑๘ กนั ยายน ๒๕๕๒
ราชกิจจานเุ บกษา

การปดบญั ชีใหกระทําปล ะครง้ั โดยถือปง บประมาณเปนรอบปบัญชี และใหสํานักงานจัดทํา
งบการเงินพรอมท้ังรายละเอียดประกอบสงหนวยตรวจสอบภายในกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมัน่ คงของมนุษยตรวจสอบและเสนอคณะกรรมการบริหารกองทุนใหความเห็นชอบกอนเพ่ือสง
สํานักงานการตรวจเงินแผนดินตรวจสอบภายในระยะเวลาเกาสิบวัน นับจากวันส้ินปบัญชี และเม่ือ
สาํ นกั งานการตรวจเงนิ แผน ดนิ ตรวจสอบรบั รองแลว ใหสงสาํ เนางบการเงินดังกลาวใหกรมบัญชีกลาง
และสํานักงบประมาณเพื่อทราบตอไป

ขอ ๑๖ ใหสาํ นกั งานการตรวจเงนิ แผน ดินทาํ รายงานผลการตรวจสอบงบการเงินของกองทุน
เสนอตอคณะกรรมการภายในหนึ่งรอยหาสิบวันนับแตวันส้ินปบัญชี เพื่อใหคณะกรรมการเสนอตอ
คณะรัฐมนตรีเพ่อื ทราบ

รายงานผลการสอบบัญชีตามวรรคหน่ึง ใหรัฐมนตรีเสนอตอนายกรัฐมนตรี เพ่ือนําเสนอ
สภาผูแทนราษฎรและวุฒสิ ภาทราบและจดั ใหมีการประกาศในราชกิจจานุเบกษาตอ ไป

ขอ ๑๗ เพ่ือประโยชนในการจัดทํารายงานการเงินในภาพรวมของแผนดิน ใหสํานักงาน
จัดสงขอมูลทางบัญชีของกองทุนเขาสูระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส
(GFMIS) ตามวธิ กี ารและระยะเวลาท่กี รมบญั ชกี ลางกาํ หนด

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๘ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๒
อภิสิทธิ์ เวชชาชวี ะ
นายกรัฐมนตรี

ประธานกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการคา มนุษย

202 คมู่ ือการขอรบั การสนบั สนนุ เงินในรปู แบบโครงการจากกองทนุ เพอ่ื การป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์

เลม ๑๒๖ ตอนพเิ ศษ ๑๓๖ ง หนา ๕ ๑๘ กนั ยายน ๒๕๕๒
ราชกจิ จานุเบกษา

ระเบยี บคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการคามนษุ ย

วาดว ยการรายงานสถานะการเงินและการจัดการกองทุน
เพอ่ื การปองกนั และปราบปรามการคา มนษุ ย
พ.ศ. ๒๕๕๒

อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา ๑๖ (๘) แหงพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย
พ.ศ. ๒๕๕๑ คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการคามนษุ ย จึงวางระเบียบไว ดงั ตอไปนี้

ขอ ๑ ระเบียบน้ีเรียกวา “ระเบียบคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการคามนุษย
วาดวยการรายงานสถานะการเงินและการจัดการกองทุนเพ่ือการปองกันและปราบปรามการคามนุษย
พ.ศ. ๒๕๕๒”

ขอ ๒ ระเบยี บนใ้ี หใชบ ังคับตงั้ แตวันถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน ตนไป
ขอ ๓ ในระเบียบนี้
“กองทุน” หมายความวา กองทุนเพือ่ การปองกนั และปราบปรามการคา มนุษย
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการคามนษุ ย
“คณะกรรมการบริหารกองทนุ ” หมายความวา คณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อการปองกัน
และปราบปรามการคา มนษุ ย
“ปลดั กระทรวง” หมายความวา ปลัดกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย
“สํานักงาน” หมายความวา กองบริหารกองทุน สาํ นักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความม่ันคงของมนุษย
ขอ ๔ ใหสํานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยจังหวัด จัดทํารายงานการ
ใชจายเงินตามท่ีปลัดกระทรวงกําหนด และนําสงใหกองบริหารกองทุนภายในสิบหาวัน หลังส้ินสุด
แตละไตรมาส
ขอ ๕ ใหคณะกรรมการบริหารกองทุนรายงานสถานะการเงินและการบริหารกองทุน
ตอ คณะกรรมการ อยา งนอ ยปล ะหนึง่ ครัง้ หรือตามท่ีคณะกรรมการกาํ หนด
ขอ ๖ ใหคณะกรรมการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของกองทุนติดตาม
ตรวจสอบและประเมินผลการดําเนินงานของกองทุน โดยรายงานผลพรอมทั้งขอเสนอแนะตอคณะ
กรรมการอยางนอ ยปละหนึง่ คร้ัง

คมู่ ือการขอรบั การสนับสนุนเงินในรูปแบบโครงการจากกองทุนเพอ่ื การป้องกันและปราบปรามการคา้ มนุษย์ 203

เลม ๑๒๖ ตอนพเิ ศษ ๑๓๖ ง หนา ๖ ๑๘ กนั ยายน ๒๕๕๒
ราชกิจจานเุ บกษา

ขอ ๗ ใหปลัดกระทรวงรักษาการตามระเบียบน้ีและกําหนดวิธีปฏิบัติ ตลอดจนกําหนด
แบบเอกสารตา ง ๆ รวมทั้งเปนผูวินิจฉัยช้ีขาดในกรณีที่มีปญหาหรือขอขัดแยงเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม
ระเบยี บน้ี

ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๘ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๒
อภิสทิ ธ์ิ เวชชาชวี ะ
นายกรัฐมนตรี

ประธานกรรมการปองกนั และปราบปรามการคามนษุ ย

204 คู่มอื การขอรบั การสนับสนนุ เงินในรูปแบบโครงการจากกองทุนเพ่ือการป้องกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์

เลม ๑๒๖ ตอนพเิ ศษ ๗๐ ง หนา ๑๕ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๒
ราชกจิ จานุเบกษา

ระเบียบคณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการคามนษุ ย

วาดว ยการจดทะเบียนองคกรเอกชนดา นการปองกนั และปราบปรามการคามนุษย
พ.ศ. ๒๕๕๒

เพื่อใหองคกรเอกชนที่มีการดําเนินงานดานการปองกันและปราบปรามการคามนุษยไดรับ
การสนบั สนนุ เพื่อเพ่ิมศักยภาพในการดําเนินงานปองกันและปราบปรามการคามนุษย ไดอยางเปนระบบ
และตอเน่ือง อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๖ (๖) แหงพระราชบัญญัติปองกันและปราบปราม
การคามนุษย พ.ศ. ๒๕๕๑ คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการคามนุษยจึงออกระเบียบไว
ดังตอไปนี้

ขอ ๑ ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการคามนุษย
วา ดวยการจดทะเบียนองคกรเอกชนดา นการปองกันและปราบปรามการคา มนุษย พ.ศ. ๒๕๕๒”

ขอ ๒ ระเบยี บนี้ใหใ ชบ งั คับตงั้ แตว ันถดั จากวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน ตน ไป
ขอ ๓ ในระเบียบน้ี
“องคกรเอกชน” หมายความวา องคกรที่มิใชสวนราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ
หรือองคกรอ่ืนของรัฐ ซึ่งไมไดแสวงหากําไร และมีการดําเนินงานดานการปองกันและปราบปราม
การคามนุษย ท้ังนี้ ไมวาจะเปนนิติบุคคลหรือไม และใหรวมถึงมูลนิธิ สมาคม ที่จดทะเบียน
ตามกฎหมายแพง และพาณิชย หรือตามกฎหมายอน่ื
“การปอ งกันและปราบปรามการคา มนุษย” หมายความวา การดําเนินการเก่ียวกับการปองกัน
ปราบปราม และแกไขปญหาการคามนุษย เชน การปองกัน การคุมครองชวยเหลือ การใหที่พัก
อาหาร การรักษาพยาบาล การบําบัดฟนฟูทางรางกายและจิตใจ การดําเนินคดีและการบังคับใช
กฎหมาย การสง กลบั และคนื สูสังคม ความรวมมือระหวา งประเทศ รวมท้งั การปองกันและปราบปราม
การคา มนษุ ยใ นดานอืน่ ๆ ตามท่ีคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการคามนษุ ยกาํ หนด เปน ตน
“สํานักงาน” หมายความวา สาํ นักงานเลขานุการคณะกรรมการปองกันและปราบปราม
การคา มนษุ ย
“ปลัดกระทรวง” หมายความวา ปลดั กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย
ขอ ๔ องคกรเอกชนใดมีความประสงคท่ีจะย่ืนคําขอจดทะเบียนองคกรเอกชน
ดานการปอ งกนั และปราบปรามการคา มนษุ ย ตองมีคณุ สมบตั ิดงั นี้

คมู่ อื การขอรบั การสนบั สนนุ เงินในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพอื่ การป้องกันและปราบปรามการคา้ มนุษย์ 205

เลม ๑๒๖ ตอนพเิ ศษ ๗๐ ง หนา ๑๖ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๒
ราชกจิ จานเุ บกษา

(๑) จะตองดําเนินกิจการและมีผลงานเก่ียวของกับการปองกันและปราบปรามการคามนุษย
ตอเนือ่ งจนถงึ วนั ย่ืนคาํ ขอไมน อ ยกวาหนึ่งป

(๒) มีทที่ าํ การตงั้ อยูในทอ งที่ทจี่ ะยนื่ คาํ ขอไมน อยกวาหนึ่งป
(๓) มีบุคลากร หรืออาสาสมัครในการปฏิบัติงาน หรือมีที่ปรึกษาที่มีความรูเก่ียวกับ
การปองกนั ปราบปราม หรือแกไ ขปญ หาการคามนษุ ย
(๔) มแี ผนงาน โครงการ และกจิ กรรมเก่ียวของกับการปองกัน ปราบปราม หรือแกไขปญหา
การคามนุษยอ ยางชดั เจน
(๕) ผูบริหารองคกรเอกชน ไมเปนผูมีความประพฤติเส่ือมเสีย ไมเปนบุคคลลมละลาย
และไมเคยไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตในความผิดอันไดกระทําดวย
ความประมาท หรอื ความผดิ ลหุโทษ
ขอ ๕ การยื่นคําขอจดทะเบียนเปนองคกรเอกชนดานการปองกันและปราบปรามการคา
มนุษยต ามระเบียบน้ี ใหผูบริหารองคกร หรือผูไดรับมอบฉันทะจากองคกรเอกชนย่ืนคําขอตามแบบ
ทายระเบยี บนี้ พรอ มแนบเอกสารและหลกั ฐานประกอบการพจิ ารณา ดงั ตอ ไปนี้
(๑) สําเนาทะเบียนบานและสําเนาบัตรประจําตวั ประชาชนของผูบริหารองคกรทย่ี ่ืนคาํ ขอ
(๒) สําเนาตราสารจดทะเบียนมูลนิธิ สมาคม หรือสําเนาขอบังคับ ระเบียบขององคกรเอกชน
ซึ่งผูบรหิ ารองคกร หรอื ผซู ่ึงไดรบั มอบฉนั ทะใหคํารับรอง
(๓) รายนามคณะกรรมการหรือคณะผูบรหิ ารองคก ร
(๔) แผนงานโครงการขององคกรเอกชนทจ่ี ะดําเนนิ การ
(๕) ผลการดําเนนิ งานขององคก รเอกชนในระยะเวลาไมน อ ยกวาหนง่ึ ป
การย่ืนคําขอตามวรรคหนึ่งใหยื่นคําขอดวยตนเอง หรือสงโดยทางไปรษณียลงทะเบียน
ตอบรับกไ็ ด

ขอ ๖ การยื่นคําขอในสวนภูมิภาคใหย่ืนคําขอที่สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง

ของมนุษยจังหวัดท่ีองคกรเอกชนนั้นมีสถานท่ีทําการตั้งอยู และใหพัฒนาสังคมและความม่ันคง

ของมนุษยจังหวดั พจิ ารณาเสนอความเห็นตอ ผูวาราชการจังหวัด เพ่ืออนมุ ัติใหจดทะเบียน แลวรายงานผล

ใหปลดั กระทรวงทราบ

ในกรุงเทพมหานครใหย่ืนคําขอตอสํานักงาน เพ่ือพิจารณาเสนอความเห็นตอปลัดกระทรวง

เพื่ออนุมัตใิ หจดทะเบียน

206 คมู่ อื การขอรับการสนบั สนนุ เงนิ ในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพอื่ การปอ้ งกันและปราบปรามการค้ามนุษย์

เลม ๑๒๖ ตอนพเิ ศษ ๗๐ ง หนา ๑๗ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๒
ราชกิจจานเุ บกษา

ขอ ๗ ในกรณีองคกรเอกชนใดท่ีไดรับการจดทะเบียนเปนองคกรเอกชนดานการปองกัน
และปราบปรามการคา มนษุ ยแ ลว ใหสาํ นกั งาน หรือสาํ นกั งานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย
จงั หวัด ท่ีรบั คําขอออกใบสําคัญแสดงการจดทะเบียนตามแบบแนบทายระเบยี บนใ้ี หแ กองคก รเอกชนน้นั

หลักเกณฑการขอรับการชวยเหลือจากกองทุนเพ่ือการปองกันละปราบปรามการคามนุษย
ใหเปนไปตามระเบียบคณะกรรมการประสานและกํากับการดําเนินงานปองกันและปราบปราม
การคามนุษย วาดวยหลักเกณฑและอนุมัติการใชจายเงินและทรัพยสินของกองทุนเพื่อการปองกัน
และปราบปรามการคามนษุ ย

องคกรเอกชน ตามวรรคหนึ่งอาจไดรับการพิจารณาสงเสริมสนับสนุนงบประมาณในการ
ดาํ เนินกจิ การขององคก รจากกองทุนเพือ่ การปอ งกนั และปราบปรามการคา มนุษย

ขอ ๘ ในกรณีท่ีผูรับคําขอ เห็นวาการย่ืนคําขอจดทะเบียนเปนองคกรเอกชน
ดานการปองกันและปราบปรามการคามนุษยมิไดปฏิบัติใหถูกตองครบถวน ใหแจงผูยื่นคําขอ
โดยไมช กั ชา

ในกรณีที่ไมไดรับการอนุมัติใหจดทะเบียนตามระเบียบนี้ ใหแจงเหตุผลใหผูย่ืนคําขอทราบ
ภายในสีส่ ิบหาวนั นับแตวันที่ไดร บั เอกสารครบถว นแลว

ขอ ๙ ใหปลดั กระทรวง ผูวาราชการจังหวัด หรือผูที่ไดรับมอบหมายจากปลัดกระทรวง
หรือผวู า ราชการจังหวัด มอี ํานาจเขา ไปดูแล ใหค าํ แนะนํา แกองคก รเอกชนท่ีจดทะเบียนตามระเบียบนี้
ซ่ึงรับผูเสียหายจากการคามนุษยไวดูแล ในเรื่องความปลอดภัย การคุมครองดูแล และสภาพความเปนอยู
ของผเู สยี หาย

ขอ ๑๐ ในกรณที ่มี กี ารเลกิ กิจการหรือเปลี่ยนช่ือองคกรเอกชนใด ใหองคกรเอกชนน้ันแจง
ตอ สาํ นักงานทร่ี บั จดทะเบียน เพอ่ื ใหม กี ารแกไ ขทะเบียนรายชอื่ ตอไป

ขอ ๑๑ องคกรเอกชนใดขาดคุณสมบัติ ใหผูอนุมัติคําขอมีอํานาจเพิกถอนรายชื่อ
จากทะเบียนองคก รเอกชน

ขอ ๑๒ ใหสํานักงานทบทวนรายชื่อองคกรเอกชนท่ีจดทะเบียน ทุกสองป เพ่ือเปนขอมูล
ในการประสานงานการดาํ เนินงานรว มกนั ของหนวยงานทีเ่ ก่ียวขอ ง

คู่มอื การขอรบั การสนบั สนุนเงินในรูปแบบโครงการจากกองทนุ เพ่อื การป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ 207

เลม ๑๒๖ ตอนพเิ ศษ ๗๐ ง หนา ๑๘ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๒
ราชกจิ จานเุ บกษา

ขอ ๑๓ ใหปลัดกระทรวงรักษาการตามระเบียบนี้ และใหมีอํานาจกําหนดแบบแนวปฏิบัติ
รวมทง้ั วินิจฉัยชขี้ าดในกรณที มี่ ปี ญ หา หรือขอ ขดั แยง เก่ียวกบั การปฏบิ ัติตามระเบยี บนี้

ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๒
อภสิ ทิ ธ์ิ เวชชาชีวะ
นายกรฐั มนตรี

ประธานกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการคา มนษุ ย

208 ค่มู อื การขอรับการสนบั สนุนเงินในรูปแบบโครงการจากกองทนุ เพ่อื การปอ้ งกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์

คู่มอื การขอรับการสนบั สนุนเงินในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพอ่ื การปอ้ งกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์ 209

เลม ๑๒๖ ตอนพเิ ศษ ๘๐ ง หนา ๒๒ ๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๒
ราชกจิ จานุเบกษา

ระเบยี บคณะกรรมการประสานและกํากบั การดาํ เนินงานปองกนั และ

ปราบปรามการคา มนษุ ย

วาดวยหลกั เกณฑแ ละอนุมตั ิการใชเงินและทรพั ยสิน
ของกองทนุ เพ่ือการปองกนั และปราบปรามการคา มนษุ ย

พ.ศ. ๒๕๕๒

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๓ (๖) ประกอบมาตรา ๔๔ (๔) แหงพระราชบัญญัติ
ปองกนั และปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. ๒๕๕๑ คณะกรรมการประสานและกํากับการดําเนินงาน
ปอ งกนั และปราบปรามการคา มนษุ ย จงึ วางระเบียบไว ดังตอไปน้ี

ขอ ๑ ระเบยี บนี้เรยี กวา “ระเบยี บคณะกรรมการประสานและกํากับการดําเนินงานปองกัน
และปราบปรามการคามนุษยวาดวยหลักเกณฑและอนุมัติการใชเงินและทรัพยสินของกองทุนเพ่ือการ
ปอ งกันและปราบปรามการคา มนุษย พ.ศ. ๒๕๕๒”

ขอ ๒ ระเบียบนี้ใหใชบ งั คับตงั้ แตว ันถดั จากวันประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเปน ตนไป
ขอ ๓ ใหป ลดั กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษยรักษาการตามระเบียบน้ี
และกําหนดวธิ ปี ฏิบัติ ตลอดจนกาํ หนดแบบเอกสารตาง ๆ รวมทัง้ เปน ผวู นิ ิจฉัยช้ีขาดในกรณีท่ีมีปญหา
หรือขอ ขดั แยงเกี่ยวกบั การปฏบิ ัตติ ามระเบียบนี้

หมวด ๑
ขอ ความทั่วไป

ขอ ๔ ในระเบยี บนี้
“กองทุน” หมายความวา กองทนุ เพ่อื การปองกันและปราบปรามการคามนุษย ตามพระราชบัญญัติ
ปองกันและปราบปรามการคา มนษุ ย พ.ศ. ๒๕๕๑
“หนวยงานภาครัฐ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการที่เรียกชื่อ
อยา งอนื่ ซง่ึ มีฐานะเปน กรมหรอื เทยี บเทา กรมหรอื เทียบเทากอง/สํานัก ราชการสวนภูมิภาค หนวยงาน
สวนกลางท่ีตั้งอยูในสวนภูมิภาค สถานีตํารวจ โรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาของรัฐ ราชการ
สวนทองถิ่นหรือหนวยงานอื่นของรัฐท่ีดําเนินการตามวัตถุประสงคหรือกิจกรรมเก่ียวกับการปองกัน
และปราบปรามการคามนุษย

210 คู่มือการขอรับการสนับสนุนเงินในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพื่อการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์

เลม ๑๒๖ ตอนพเิ ศษ ๘๐ ง หนา ๒๓ ๘ มถิ นุ ายน ๒๕๕๒
ราชกจิ จานุเบกษา

“องคก รเอกชน” หมายความวา องคก รทบ่ี คุ คลรวมกันข้ึนและไดจดทะเบียนดานการปองกัน
และปราบปรามการคา มนุษย ตามพระราชบัญญตั ปิ อ งกันและปราบปรามการคามนษุ ย พ.ศ. ๒๕๕๑

“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการประสานและกํากับการดําเนินงานปองกัน
และปราบปรามการคามนุษยต ามพระราชบัญญตั ิปอ งกนั และปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. ๒๕๕๑

“คณะกรรมการบริหารกองทุน” หมายความวา คณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อการปองกัน
และปราบปรามการคา มนุษย

“ปลัดกระทรวง” หมายความวา ปลัดกระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย
“สํานักงาน” หมายความวา กองบริหารกองทุน สํานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย

หมวด ๒
หลกั เกณฑแ ละการอนุมัตกิ ารใชเงนิ ของกองทุน

ขอ ๕ การใชจ า ยเงินเพื่อประโยชนต ามมาตรา ๔๔(๔) ไดแ กก รณีดังตอไปน้ี
(๑) การดําเนินการเกี่ยวกับการปองกันปญหาการคามนุษยท้ังในระดับบุคคล ครอบครัว
และชุมชน เชน การรณรงคและประชาสัมพันธ การสรางความรูความเขาใจและปรับเปลี่ยนทัศนคติ
ตลอดจนคา นยิ มเกีย่ วกบั ปญหาการคามนุษย การสงเสริมการศึกษา ทักษะชีวิต การยายถ่ินท่ีปลอดภัย
และการฝก อาชีพหรือการประกอบอาชพี การสง เสรมิ และสนบั สนุนระบบเฝาระวังในชุมชน
(๒) การพัฒนาระบบการใหความชวยเหลือและคุมครอง เชน การพัฒนาข้ันตอน การให
ความชวยเหลือคุมครองกลุมบุคคลที่ตกเปนเหย่ือการคามนุษยใหเปนระบบมีคุณภาพและมาตรฐาน
ตลอดจนการประสานงานเครอื ขา ยระหวา งหนว ยงานและองคก รที่เก่ียวของ
(๓) การดําเนินงานทางกฎหมายและการปราบปราม เชน การผลักดันใหมีการบังคับใช
กฎหมายอยางจรงิ จัง การดาํ เนินคดกี ับผูกระทําผิด การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและการสรางเครือขาย
ทางกฎหมายเกย่ี วของกับการปราบปรามการคามนุษย การสนับสนุนเงินรางวัลและคาตอบแทนในการ
นาํ จับผูกระทาํ ความผิด
(๔) การฟนฟูเยียวยาและการคืนสูสังคม เชน การพัฒนาที่พักอาศัยชั่วคราว การบริการ
ฝกอาชีพ การสงเสริมการประกอบอาชีพ การสนับสนุนคาครองชีพระหวางการหางานทํา การสราง
เครือขายกระบวนการการสงกลับอยางเปนระบบท้ังในประเทศและระหวางประเทศ การเยียวยา
ผูเสียหายและครอบครัว และการติดตามผล รวมทั้งการดูแลภายหลังการคืนสูสังคมเพ่ือปองกันมิให
กลบั เขาสูขบวนการคา มนษุ ยอีก

คูม่ ือการขอรับการสนับสนุนเงินในรปู แบบโครงการจากกองทนุ เพ่อื การป้องกันและปราบปรามการคา้ มนษุ ย์ 211

เลม ๑๒๖ ตอนพเิ ศษ ๘๐ ง หนา ๒๔ ๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๒
ราชกิจจานุเบกษา

(๕) การจัดทําและพัฒนาระบบขอมูล การติดตามและการประเมินผล เชน การสราง
ฐานขอมลู ทงั้ ระดับจังหวัด ระดบั ประเทศ และระหวา งประเทศท่ีเก่ียวของกับสถานการณสภาพปญหา
การยา ยถ่นิ สถติ กิ ารดําเนินงาน เสนทางการคามนุษย พ้ืนที่และกลุมเสี่ยงและการติดตามประเมินผล
การดาํ เนนิ งานและสนบั สนุนการทําวิจัย

(๖) การพัฒนากลไกการบรหิ ารงานและการจัดการในดานการปองกันและปราบปรามการคา
มนุษย เชน การจัดทาํ แผนงานระดับจงั หวดั และแผนปฏิบตั ิการของแตล ะหนวยงาน มีการพัฒนาระบบ
เครอื ขา ยการดําเนินงานทุกระดบั การพัฒนาศกั ยภาพบุคลากรและองคกรเครือขาย และการสนับสนุน
องคก รท่ปี ฏบิ ตั ิงานในทกุ ระดบั

(๗) การประสานความรวมมือระหวางประเทศ เชน การพัฒนากลไกความรวมมือบริเวณ
ชายแดนในการปองกันปราบปรามและแกไขปญหาการคามนุษย การพัฒนาความรวมมือระหวาง
ประเทศ การจัดทําขอตกลงและแผนปฏิบัติการทั้งระดับทวิภาคี พหุภาคีและระดับภูมิภาคหรือ
อนุภูมิภาค และจัดใหมีการแลกเปล่ียนประสบการณขอมูลขาวสารของประเทศตนทาง ทางผาน
และปลายทาง

(๘) สนับสนุนการแกไขปญหาการคามนุษย การคุมครองชวยเหลือผูเสียหายจากการคา
มนุษย และเรื่องอื่น ๆ ตามท่ีคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการคามนุษยหรือคณะกรรมการ
กาํ หนด

ขอ ๖ วงเงนิ และรายการคาใชจาย ตลอดจนหลักเกณฑและเง่ือนไขอื่น ใหเปนไปตามที่
คณะกรรมการกาํ หนด หรอื อาจมอบหมายใหคณะกรรมการบรหิ ารกองทุนประกาศกาํ หนดแทนกไ็ ด

ขอ ๗ เพ่ือใหไดรายละเอียดประกอบการพิจารณาอนุมัติ คณะกรรมการบริหารกองทุน
หรือสํานักงานอาจใหผูแทนหนวยงานหรือองคกรท่ีเสนอขอรับการสนับสนุนหรือบุคคลท่ีเก่ียวของ
ชแ้ี จงรายละเอียดหรอื แสดงหลกั ฐานเพ่ิมเติม หรือจัดสงเจาหนาท่ีไปตรวจสอบขอเท็จจริงยังสํานักงาน
หรอื สถานท่ีดําเนนิ งานของหนว ยงานหรือองคกรท่ีเสนอขอรบั การสนบั สนุนจากกองทนุ ดวยกไ็ ด

ขอ ๘ ผูประสงคข อรบั การสนบั สนุนเงนิ จากกองทนุ จะตองมคี ุณสมบตั ิดงั นี้
(๑) เปน หนวยงานภาครฐั หรือองคก รเอกชน

กรณโี ครงการหรอื กจิ กรรมของหนวยงานของรฐั ตองเปน โครงการทร่ี เิ รมิ่ ใหม หรือเปน
โครงการท่ีไมส ามารถขอรับการสนบั สนนุ จากงบประมาณปกติได หรือไดร ับแตไ มเพียงพอ

212 คู่มอื การขอรบั การสนบั สนนุ เงินในรูปแบบโครงการจากกองทนุ เพื่อการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์

เลม ๑๒๖ ตอนพเิ ศษ ๘๐ ง หนา ๒๕ ๘ มิถุนายน ๒๕๕๒
ราชกจิ จานุเบกษา

กรณโี ครงการหรอื กจิ กรรมขององคกรเอกชนตองเปนโครงการหรือกิจกรรมท่ีไมไดรับ
การสนบั สนนุ งบประมาณจากสว นราชการหรือแหลงทนุ อ่ืน หรอื ไดรับแตไ มเ พียงพอ

(๒) เปนองคกรอ่นื ตามท่ีปลดั กระทรวงกาํ หนด
ขอ ๙ การยื่นขอรับการสนับสนุนในเขตกรุงเทพมหานครใหยื่นตอสํานักงานปลัด
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย สําหรับในสวนภูมิภาคใหย่ืนตอสํานักงานพัฒนา
สังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด เพ่ือนําเสนอตอคณะกรรมการหรือคณะกรรมการบริหาร
กองทุนแลวแตก รณี
ใหสํานักงานตามวรรคหนึ่ง ทําหนาท่ีตรวจสอบและวิเคราะหความเปนไปไดของแตละ
โครงการพรอมทั้งเสนอความเห็นประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการหรือคณะกรรมการบริหาร
กองทนุ ดว ย
ขอ ๑๐ ใหคณะกรรมการบริหารกองทุนพิจารณาการสนับสนุนเงินกองทุนอยางนอย
เดอื นละครงั้ เวนแตไมม กี ารเสนอเรือ่ งเพ่อื ขอรับการสนบั สนนุ
ในกรณีกรรมการหรือกรรมการบริหารกองทุนหรือบุคคลท่ีมีสวนไดเสียกับโครงการที่ขอรับ
การสนบั สนนุ ไมวา ทางตรงหรอื ทางออ ม หา มมิใหเ ขารวมพจิ ารณาโครงการนนั้
ขอ ๑๑ ใหสํานักงานแจงผลการอนุมัติใหผูขอรับการสนับสนุนทราบ ภายในสามสิบวัน
นับแตว นั ทไี่ ดร บั การพิจารณาอนมุ ัติ
ขอ ๑๒ ใหสํานักงานและสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด
ดําเนนิ การดงั นี้
(๑) จัดทําทะเบียนหนวยงานภาครัฐ หรือองคกรเอกชน หรือองคกรอ่ืนที่ไดรับ
การสนับสนุนจากกองทุน เพ่ือประโยชนในการควบคุมกํากับดูแลและติดตามประเมินผล
การดาํ เนนิ งานและการใชจา ยเงนิ ของกองทุน
(๒) สงเสริมและสนบั สนุนการดาํ เนินงานของโครงการหรือกจิ กรรมทไ่ี ดร ับอนมุ ัติ
ขอ ๑๓ หนวยงานภาครัฐ หรือองคกรเอกชน หรือองคกรอื่นท่ีไดรับเงินจากกองทุนตอง
รายงานผลการปฏิบัตงิ านและการใชจายเงินที่ไดรับจากกองทุนตอสํานักงานตามแบบที่ปลัดกระทรวง
กําหนด
หากหนวยงานภาครัฐ หรือองคกรเอกชน หรือองคกรอ่ืนที่ไดรับเงินจากกองทุนมิได
ดาํ เนินการหรือดําเนนิ การไมเปนไปตามแผนการใชจายเงิน ใหปลัดกระทรวงหรือผูซ่ึงปลัดกระทรวง
มอบหมายระงับการจายเงินงวดตอไปไวกอน แลวดําเนินการตรวจสอบและรายงานผลตอ
คณะกรรมการบริหารกองทนุ เพือ่ ดําเนนิ การตอ ไป

คมู่ ือการขอรบั การสนับสนนุ เงินในรูปแบบโครงการจากกองทุนเพื่อการป้องกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์ 213

เลม ๑๒๖ ตอนพเิ ศษ ๘๐ ง หนา ๒๖ ๘ มถิ ุนายน ๒๕๕๒
ราชกจิ จานุเบกษา

กรณีหนวยงานภาครัฐ หรือองคกรเอกชน หรือองคกรอ่ืนท่ีไดรับเงินจากกองทุนขอแกไข
ปรบั ปรุงแผนงานโครงการหรือกิจกรรมโดยไมมีผลกระทบตอสาระสําคัญของโครงการหรือกิจกรรม
ท่ีไดรับอนุมัติ ใหปลัดกระทรวงหรือผูซ่ึงปลัดกระทรวงมอบหมายพิจารณาแลวรายงาน
ใหคณะกรรมการบรหิ ารกองทนุ ทราบตอไป

ขอ ๑๔ หนวยงานภาครัฐ หรอื องคกรเอกชน หรือองคกรอื่นที่ไดรับเงินจากกองทุนจะตอง
ยินยอมใหสํานักงานตรวจเยี่ยมการดําเนินงานตามท่ีไดรับเงินจากกองทุน หรือใหเจาหนาที่เขาตรวจ
เอกสารเกี่ยวกับบัญชีทะเบียนและหลักฐานอ่ืน ๆ ตลอดจนสอบถามหรือสัมภาษณบุคคลที่เก่ียวของ
ไดด วย

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๒
พลตรี สน่นั ขจรประศาสน
รองนายกรัฐมนตรี

ประธานคณะกรรมการประสานและกาํ กบั การดําเนนิ งาน
ปอ งกันและปราบปรามการคา มนุษย

214 คมู่ อื การขอรบั การสนบั สนนุ เงนิ ในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพ่ือการปอ้ งกนั และปราบปรามการค้ามนษุ ย์

เลม ๑๒๗ ตอนพิเศษ ๑๔ ง หนา ๑๐๗ ๒๗ มกราคม ๒๕๕๓
ราชกจิ จานเุ บกษา

ประกาศคณะกรรมการประสานและกาํ กับการดาํ เนนิ งานปอ งกนั
และปราบปรามการคามนษุ ย

เรอ่ื ง วงเงนิ และรายการคา ใชจาย ตลอดจนหลกั เกณฑและเง่อื นไขอื่นในการใหการ
สนบั สนนุ จากกองทุนเพ่อื การปอ งกนั และปราบปรามการคา มนุษย

อาศัยอาํ นาจตามขอ ๖ ของระเบยี บคณะกรรมการประสานและกํากับการดําเนินงานปองกัน
และปราบปรามการคามนุษย วาดวยหลักเกณฑและการอนุมัติการใชเงินและทรัพยสินของกองทุน
เพ่ือการปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. ๒๕๕๒ คณะกรรมการประสานและกํากับ
การดําเนนิ งานปองกนั และปราบปรามการคา มนุษย จึงออกประกาศไว ดงั ตอไปนี้

ขอ ๑ ประกาศน้ีเรียกวา “ประกาศคณะกรรมการประสานและกํากับการดําเนินงาน
ปองกันและปราบปรามการคามนุษย เร่ือง วงเงินและรายการคาใชจาย ตลอดจนหลักเกณฑ
และเง่ือนไขอนื่ ในการใหการสนับสนุนจากกองทุนเพือ่ การปอ งกันและปราบปรามการคามนุษย”

ขอ ๒ ประกาศนีใ้ หใ ชบ งั คับตง้ั แตว นั ถัดจากวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน ตนไป
ขอ ๓ ในประกาศน้ี

“กองทุ น” หมายความว า กองทุนเพื่ อการป องกั นและปราบปรามการคามนุ ษย

สํานกั งานปลดั กระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษย

“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการบรหิ ารกองทุนเพอื่ การปองกนั และปราบปราม

การคามนุษย

“หนว ยงานภาครัฐ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอื่น

ซึ่งมีฐานะเปนกรมหรือเทียบเทากรมหรือเทียบเทากอง/สํานัก ราชการสวนภูมิภาค หนวยงาน

สว นกลางท่ตี งั้ อยูในสว นภมู ิภาค สถานตี าํ รวจ โรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาของรัฐ ราชการสวนทองถิ่น

ห รื อ ห น ว ย ง า น อ่ื น ข อ ง รั ฐ ท่ี ดํ า เ นิ น ก า ร ต า ม วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค ห รื อ กิ จ ก ร ร ม เ ก่ี ย ว กั บ ก า ร ป อ ง กั น

และปราบปรามการคามนษุ ย

“องคกรเอกชน” หมายความวา องคกรท่บี คุ คลรวมกนั ขน้ึ และไดจดทะเบยี นดา นการปองกัน

และปราบปรามการคา มนษุ ยต ามพระราชบญั ญัตปิ อ งกันและปราบปรามการคา มนุษย พ.ศ. ๒๕๕๑

“องคก รอืน่ ” หมายความวา องคกรอื่นตามทปี่ ลัดกระทรวงกําหนด

คู่มอื การขอรบั การสนบั สนนุ เงินในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพื่อการปอ้ งกนั และปราบปรามการคา้ มนุษย์ 215

เลม ๑๒๗ ตอนพิเศษ ๑๔ ง หนา ๑๐๘ ๒๗ มกราคม ๒๕๕๓
ราชกจิ จานเุ บกษา

“ผูเ สียหาย” หมายความวา ผูเสียหายจากการกระทําความผิดฐานคามนุษยตามพระราชบัญญัติ
ปอ งกนั และปราบปรามการคา มนษุ ย พ.ศ. ๒๕๕๑

“โครงการ” หมายความวา โครงการหรือกิจกรรมหรือแผนปฏิบัติการที่ขอรับการสนับสนุน
จากกองทุน เพื่อใชในการปองกนั และแกไขปญ หาการคามนุษย

“ปลดั กระทรวง” หมายความวา ปลดั กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย
“สํานักงาน” หมายความวา กองบริหารกองทุน สํานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมน่ั คงของมนุษย
ขอ ๔ วงเงินของโครงการทข่ี อรบั การสนบั สนุนจากกองทุน ประกอบดวย
(๑) วงเงินที่ต่าํ กวา ๕๐,๐๐๐ บาท หมายถึงโครงการขนาดเล็ก
(๒) วงเงินตัง้ แต ๕๐,๐๐๐ บาทขึน้ ไป แตไ มเกิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท หมายถงึ โครงการขนาดกลาง
(๓) วงเงินทเ่ี กิน ๓๐๐,๐๐๐ บาทข้นึ ไป แตไมเกิน ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท หมายถึงโครงการ
ขนาดใหญ
ในกรณีท่ีมีความจําเปนเพ่ือการดําเนินโครงการซึ่งมีวงเงินเกิน ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาทข้ึนไป
ใหเสนอตอ คณะกรรมการพิจารณาเปน รายกรณไี ป
ขอ ๕ ผปู ระสงคขอรับการสนบั สนนุ จากกองทนุ จะตอ งมคี ุณสมบัติ ดงั น้ี
(๑) เปนหนวยงานภาครัฐ ตองเปนโครงการที่ริเร่ิมใหม หรือเปนโครงการที่ไมสามารถ
ขอรับการสนบั สนุนจากงบประมาณปกตไิ ด หรือไดรบั แตไมเพยี งพอ
(๒) เปนองคกรเอกชน ตองเปนโครงการท่ีมีการดําเนินงานมาแลวซึ่งมีทุนอยูบางสวน
หรือเปนโครงการริเริ่มใหม ท้ังน้ี โครงการนั้นตองไมไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากสวนราชการ
หรอื แหลง ทุนอืน่ หรอื ไดรบั แตไ มเพยี งพอ
(๓) เปนองคก รอื่นตามท่ีปลัดกระทรวงกาํ หนด
ขอ ๖ โครงการที่จะไดรับการสนับสนุนรายการคาใชจายจากกองทุน ไดแก โครงการ
ลักษณะดังตอไปน้ี
(๑) โครงการท่ีดําเนินการเก่ียวกับการปองกันปญหาการคามนุษยท้ังในระดับบุคคล
ครอบครัว และชุมชน เชน การรณรงคและประชาสัมพันธ การสรางความรูความเขาใจ
และปรับเปล่ยี นเจตคตติ ลอดจนคา นิยมเกยี่ วกบั ปญ หาการคามนุษย การสงเสริมการศึกษา ทักษะชีวิต
การยา ยถนิ่ ทปี่ ลอดภยั การฝก อาชีพหรือการประกอบอาชีพ หรือการสงเสริมและสนับสนุนระบบเฝาระวัง
ในชมุ ชน

216 ค่มู อื การขอรบั การสนบั สนุนเงินในรปู แบบโครงการจากกองทนุ เพอ่ื การป้องกันและปราบปรามการคา้ มนุษย์

เลม ๑๒๗ ตอนพิเศษ ๑๔ ง หนา ๑๐๙ ๒๗ มกราคม ๒๕๕๓
ราชกจิ จานเุ บกษา

(๒) โครงการพัฒนาระบบการใหความชวยเหลือและคุมครอง เชน การพัฒนาขั้นตอน
การใหความชวยเหลือคุมครองกลุมบุคคลที่ตกเปนผูเสียหายใหเปนระบบมีคุณภาพและมาตรฐาน
ตลอดจนการประสานงานเครอื ขายระหวางหนวยงานและองคก รท่ีเกย่ี วขอ ง

(๓) โครงการท่ดี าํ เนนิ งานทางกฎหมายและการปราบปราม เชน การผลักดนั ใหม ีการบังคับ
ใชกฎหมายอยางจริงจัง การดําเนินคดีกับผูกระทําผิด การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและการสราง
เครือขา ยทางกฎหมายเก่ียวของกับการปองกันและปราบปรามการคามนุษย การสนับสนุนเงินรางวัล
และคา ตอบแทนในการนําจับผูกระทําความผดิ ของหนวยงานภาครฐั

(๔) โครงการฟนฟูเยียวยาและการคืนสูสังคม เชน การพัฒนาท่ีพักอาศัยช่ัวคราว
การบริการ ฝก อาชีพ การสง เสริมการประกอบอาชพี การสนับสนุนคา ครองชีพระหวางการหางานทํา
การสรางเครือขายกระบวนการการสงกลับอยางเปนระบบทั้งในประเทศและระหวางประเทศ
การเยียวยาผูเสียหายและครอบครัว และการติดตามผล รวมทั้งการดูแลภายหลังการคืนสูสังคม
เพอ่ื ปองกนั มิใหก ลบั เขา สูขบวนการคา มนุษยอีก

(๕) โครงการจัดทาํ และพฒั นาระบบขอ มูล การติดตามและการประเมินผล เชน การสราง
ฐานขอมูลทั้งระดับจังหวัด ระดับประเทศ และระหวางประเทศที่เก่ียวของกับสถานการณ
สภาพปญหา การยายถิ่น สถิติการดําเนินงาน เสนทางการคามนุษย พ้ืนท่ีและกลุมเสี่ยงและการ
ตดิ ตามประเมินผลการดาํ เนินงานและสนบั สนุนการทําวิจยั

(๖) โครงการพัฒนากลไกการบรหิ ารงานและการจัดการในดา นการปองกันและปราบปราม
การคามนุษย เชน การจัดทําแผนงานระดับจังหวัดและแผนปฏิบัติการของแตละหนวยงาน
มีการพฒั นาระบบเครอื ขา ยการดําเนินงานทุกระดับ การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองคกรเครือขาย
และการสนับสนนุ องคกรท่ีปฏบิ ัตงิ านในทุกระดับ

(๗) โครงการประสานความรวมมือระหวางประเทศ เชน การพัฒนากลไกความรวมมือ

บริเวณชายแดนในการปองกันปราบปรามและแกไขปญหาการคามนุษย การพัฒนาความรวมมือ

ระหวางประเทศ การจัดทําขอตกลงและแผนปฏิบัติการท้ังระดับทวิภาคี พหุภาคีและระดับภูมิภาค

หรืออนภุ มู ภิ าคและจัดใหมีการแลกเปลี่ยนประสบการณขอมูลขาวสารของประเทศตนทาง ทางผาน

และปลายทาง

(๘) โครงการทม่ี วี ัตถปุ ระสงคและกระบวนการในการดาํ เนนิ งานชัดเจน มีผลตอการแกไขปญหา

การชว ยเหลือ หรอื การคมุ ครองสวัสดิภาพผเู สยี หาย หรอื การปอ งกันและปราบปรามการคามนษุ ย

คมู่ อื การขอรบั การสนับสนนุ เงนิ ในรปู แบบโครงการจากกองทนุ เพื่อการปอ้ งกันและปราบปรามการคา้ มนษุ ย์ 217

เลม ๑๒๗ ตอนพิเศษ ๑๔ ง หนา ๑๑๐ ๒๗ มกราคม ๒๕๕๓
ราชกิจจานุเบกษา

(๙) โครงการท่ีเสรมิ สรางการมีสวนรวมของบคุ คล หรอื หนว ยงาน หรือประชาชนเกี่ยวกับ
แกไขปญหา การชวยเหลือ หรือการคุมครองสวัสดิภาพผูเสียหาย หรือการปองกันและปราบปราม
การคา มนษุ ย

(๑๐) โครงการอนื่ ตามท่ีคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการคา มนุษยก าํ หนด
ขอ ๗ รายการคาใชจายตามขอ ๖ (๑) ถึง (๑๐) ใหเปนไปตามอัตราและรายการ
ตามกฎเกณฑของทางราชการ และเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอัตราหรือรายการตามกฎเกณฑของทางราชการ
ใหใชอัตราหรือรายการที่เปนปจจุบัน หรือกรณีที่อัตราวงเงินและรายการคาใชจายกําหนดไว
ไมส ามารถใชดาํ เนนิ งานไดอ ยางเพยี งพอกับความจําเปน หรอื กรณีไมม ีอตั ราวงเงนิ และรายการกําหนดไว
ใหนําเสนอตอ คณะกรรมการพจิ ารณาเปนกรณีไป
ขอ ๘ การยนื่ ขอรบั การสนับสนุนจากกองทนุ
(๑) กรณีองคกรท่ีขอรับการสนับสนุนจากกองทุน ประสงคจะดําเนินโครงการในเขต
กรุงเทพมหานครใหย น่ื ตอสาํ นกั งาน
(๒) กรณีองคก รทขี่ อรบั การสนับสนนุ จากกองทนุ ประสงคจ ะดาํ เนินโครงการในจังหวัดใด
ใหย ่ืนตอสํานกั งานพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจ ังหวดั นนั้ เพอื่ นาํ เสนอตอ คณะกรรมการ
ใหสาํ นักงาน ทาํ หนา ท่ตี รวจสอบและวิเคราะหค วามเปนไปไดของแตละโครงการ พรอมทั้ง
เสนอความเหน็ ประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการ
ขอ ๙ โครงการท่ีไดรับสนบั สนนุ จากกองทนุ จะตองดําเนินโครงการในเขตพื้นที่ท่ีขอรับ
การสนบั สนนุ ตามขอ ๘ (๑) หรือ (๒) เทาน้นั จะดําเนนิ โครงการนอกเขตพ้นื ทด่ี งั กลา วมิได
ขอ ๑๐ ในการอนมุ ัติโครงการ ใหคณะกรรมการพิจารณาตามความจําเปนและเหมาะสม
อีกท้ังจะตองพิจารณาการสนับสนุนเงินกองทุนอยางนอยเดือนละหนึ่งครั้ง เวนแตไมมีการเสนอ
โครงการเพอ่ื ขอรับการสนับสนุน
ขอ ๑๑ ระยะเวลาการรับโครงการ เปดรับตลอดป และการเสนอโครงการใหเปนไปตาม
แบบท่ีปลดั กระทรวงกําหนด
ขอ ๑๒ เง่ือนไขการปฏิบัติอ่ืน รวมท้ังการรายงานและการติดตามผลใหเปนไปตามแบบ
ทีป่ ลดั กระทรวงกาํ หนด

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๘ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๒
พลตรี สน่ัน ขจรประศาสน
รองนายกรฐั มนตรี

ประธานกรรมการประสานและกาํ กบั การดาํ เนนิ งาน
ปองกันและปราบปรามการคามนษุ ย

218 คมู่ ือการขอรับการสนับสนนุ เงนิ ในรูปแบบโครงการจากกองทนุ เพอ่ื การป้องกนั และปราบปรามการค้ามนษุ ย์

คู่มอื การขอรับการสนบั สนุนเงินในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพอ่ื การปอ้ งกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์ 219

220 คู่มอื การขอรบั การสนับสนนุ เงนิ ในรูปแบบโครงการจากกองทนุ เพื่อการป้องกนั และปราบปรามการคา้ มนษุ ย์

คู่มอื การขอรับการสนบั สนุนเงินในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพอ่ื การปอ้ งกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์ 221

222 คู่มอื การขอรบั การสนับสนนุ เงนิ ในรูปแบบโครงการจากกองทนุ เพื่อการป้องกนั และปราบปรามการคา้ มนษุ ย์

คู่มอื การขอรับการสนบั สนุนเงินในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพอ่ื การปอ้ งกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์ 223

เลม ๑๒๓ ตอนพิเศษ ๙๘ ง หนา ๑๗ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๙
ราชกจิ จานุเบกษา

ระเบยี บกระทรวงการคลงั

วาดว ยคา ใชจายในการฝก อบรม การจัดงาน และการประชุมระหวา งประเทศ
พ.ศ. ๒๕๔๙

โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงหลักเกณฑเกี่ยวกับการเบิกจายคาใชจาย ในการฝกอบรม
การจดั งาน และการประชุมระหวา งประเทศ ใหเหมาะสมยงิ่ ข้ึน

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๑ (๒) แหง พระราชบัญญตั วิ ิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒
กระทรวงการคลังโดยความเหน็ ชอบของคณะรัฐมนตรจี งึ กําหนดระเบยี บไวด งั ตอไปน้ี

ขอ ๑ ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยคาใชจายในการฝกอบรม
การจัดงาน และการประชมุ ระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙”

ขอ ๒ ระเบยี บนใ้ี หใ ชบ ังคบั ตงั้ แตว นั ถดั จากวันประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เปนตน ไป
ขอ ๓ ใหยกเลิก
(๑) ระเบียบกระทรวงการคลังวา ดวยคา ใชจ ายในการประชมุ ระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙
(๒) ระเบยี บกระทรวงการคลังวา ดว ยคา ใชจ ายในการฝก อบรมของสวนราชการ พ.ศ. ๒๕๔๕
บรรดาหลกั เกณฑ หรอื แนวปฏิบตั ใิ ดทม่ี กี ําหนดไวแลวในระเบยี บนี้ ใหใชระเบยี บนี้แทน
ขอ ๔ ในระเบียบนี้
“สว นราชการ” หมายความวา สํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม สวนราชการท่ีเรียกชื่อ
อยา งอนื่ ท่มี ฐี านะเปนหรอื เทยี บเทา กระทรวง ทบวง กรม สวนราชการทเี่ รยี กช่อื อยา งอื่น ซ่งึ ไมม ีฐานะ
เปนกรมแตม ีหัวหนา สวนราชการซ่ึงมฐี านะเปนอธบิ ดี
“บคุ ลากรของรัฐ” หมายความวา ขาราชการทุกประเภท รวมท้ังพนักงาน ลูกจางของสวนราชการ
รัฐวิสาหกิจ หรอื หนว ยงานอ่ืนของรฐั
“เจาหนาท่ี” หมายความวา บุคลากรของรัฐท่ีไดรับมอบหมายใหปฏิบัติงานตามระเบียบนี้
และใหห มายความรวมถึงบคุ คลอน่ื ทไี่ ดร ับแตง ตั้งใหปฏบิ ตั ิงานและเจา หนาทีร่ กั ษาความปลอดภยั ดวย
“เจาหนาท่ีปฏิบัติงานลักษณะพิเศษ” หมายความวา บุคคลซึ่งมิไดเปนบุคลากรของรัฐ
และไดร บั แตงตั้งจากหัวหนา สวนราชการผูจัดการประชุมระหวางประเทศใหปฏิบัติงานในการประชุม

224 คู่มือการขอรบั การสนับสนุนเงนิ ในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพ่อื การป้องกันและปราบปรามการคา้ มนุษย์

เลม ๑๒๓ ตอนพิเศษ ๙๘ ง หนา ๑๘ ๒๒ กนั ยายน ๒๕๔๙
ราชกจิ จานเุ บกษา

ระหวางประเทศ อาทเิ ชน พนกั งานพมิ พด ีด พนกั งานบันทกึ ขอ มลู พนกั งานแปล ลามและผูจ ดบนั ทึก

สรุปประเด็นในการประชุมระหวา งประเทศ เปน ตน
“การฝกอบรม” หมายความวา การอบรม การประชุมทางวิชาการหรือเชิงปฏิบัติการ

การสัมมนาทางวิชาการหรือเชิงปฏิบัติการ การบรรยายพิเศษ การฝกศึกษา การดูงาน การฝกงาน
หรอื ท่เี รียกชอ่ื อยา งอน่ื ท้งั ในประเทศและตางประเทศ โดยมีโครงการหรือหลักสูตรและชวงเวลาจัดที่แนนอน
ที่มีวัตถุประสงคเพ่ือพัฒนาบุคคลหรือเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน โดยไมมีการรับปริญญา
หรือประกาศนียบัตรวชิ าชพี

“การฝกอบรมระดับตน” หมายความวา การฝกอบรมที่ผูเขารับการฝกอบรมเกินกึ่งหน่ึง
เปน บุคลากรของรัฐซ่ึงเปนขาราชการระดับ ๑ ถึงระดับ ๒ หรือมีระดับตําแหนงเทียบเทาขาราชการ
ระดับ ๑ ถงึ ระดบั ๒

“การฝกอบรมระดับกลาง” หมายความวา การฝกอบรมที่ผูเขารับการฝกอบรมเกินกึ่งหน่ึง
เปน บคุ ลากรของรฐั ซึง่ เปนขาราชการระดับ ๓ ถึงระดับ ๘ หรือมีระดับตําแหนงเทียบเทาขาราชการ
ระดับ ๓ ถึงระดบั ๘

“การฝกอบรมระดับสูง” หมายความวา การฝกอบรมท่ีผูเขารับการฝกอบรมเกินก่ึงหน่ึง
เปนบุคลากรของรัฐซ่ึงเปนขาราชการต้ังแตระดับ ๙ ข้ึนไป หรือมีระดับตําแหนงเทียบเทาขาราชการ
ต้งั แตระดับ ๙ ข้นึ ไป

“การฝกอบรมบคุ คลภายนอก” หมายความวา การฝกอบรมทผ่ี เู ขารับการฝกอบรมเกินก่ึงหนึ่ง
มใิ ชบคุ ลากรของรัฐ

“ผเู ขา รับการฝกอบรม” หมายความรวมถึง บุคลากรของรัฐหรือบุคคลซึ่งมิใชบุคลากรของรัฐ
ท่เี ขารับการฝก อบรมตามโครงการหรือหลกั สตู รการฝก อบรม

“การประชุมระหวางประเทศ” หมายความวา การประชุมหรือสัมมนาระหวางประเทศ
ทส่ี วนราชการหรือหนว ยงานของรัฐ รัฐบาลตางประเทศหรือองคการระหวางประเทศจัด หรือจัดรวมกัน
ในประเทศไทยโดยมผี แู ทนจากสองประเทศขน้ึ ไปเขารว มประชุมหรือสัมมนา

“การดูงาน” หมายความวา การเพิ่มพูนความรูหรือประสบการณดวยการสังเกตการณ
ซึ่งกําหนดไวในโครงการหรือหลักสูตรการฝกอบรม หรือกําหนดไวในแผนการจัดการประชุม
ระหวา งประเทศ ใหม กี ารดงู าน กอน ระหวา ง หรือหลงั การฝก อบรมหรือการประชุมระหวางประเทศ

คมู่ อื การขอรบั การสนบั สนุนเงนิ ในรูปแบบโครงการจากกองทนุ เพอื่ การปอ้ งกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์ 225

เลม ๑๒๓ ตอนพเิ ศษ ๙๘ ง หนา ๑๙ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๙
ราชกจิ จานเุ บกษา

และหมายความรวมถึงโครงการหรือหลกั สตู รการฝกอบรมเฉพาะการดูงานภายในประเทศท่ีหนวยงาน
ของรัฐจัดข้ึน

“ผแู ทน” หมายความวา ผูแทนประเทศไทยและทป่ี รึกษาของผูแทนดังกลาวซ่ึงไดรับความเห็นชอบ
จากคณะรัฐมนตรี หรือไดรับอนุมัติจากรัฐมนตรีเจาสังกัด ประธานรัฐสภา หัวหนาสวนราชการ
เจา ของงบประมาณหรือผูท่ีไดรับมอบหมายตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการของขาราชการ
แตละประเภท แลว แตก รณี

“ผูเขารวมประชุม” หมายความวา ผูแทน และผูแทนของตางประเทศที่เขารวมการประชุม
ระหวา งประเทศ

ขอ ๕ ใหป ลดั กระทรวงการคลังรกั ษาการตามระเบยี บนี้
หมวด ๑
บททวั่ ไป

ขอ ๖ การเบิกจายคาใชจ ายในการฝกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหวางประเทศ
ใหเ ปนไปตามระเบยี บนี้

ขอ ๗ การเบกิ จา ยคา ใชจายในการฝกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหวางประเทศ
นอกเหนือจากที่กําหนดไวในระเบียบน้ี หรือที่กําหนดไวแลวแตไมสามารถปฏิบัติไดตามระเบียบนี้
ใหอยูในดุลพินิจของหัวหนาสวนราชการเจาของงบประมาณ โดยคํานึงถึงความจําเปน เหมาะสม
และประหยัด ภายในวงเงนิ งบประมาณทไี่ ดร บั โดยยึดถือประโยชนของทางราชการเปนหลกั

หมวด ๒
คาใชจายในการฝกอบรม

ขอ ๘ โครงการหรือหลักสูตรการฝกอบรมที่สวนราชการเปนผูจัด หรือจัดรวมกับ
หนวยงานอ่ืนตองไดรับอนุมัติจากหัวหนาสวนราชการเจาของงบประมาณ เพื่อเบิกจายคาใชจาย
ตามระเบียบน้ี

ขอ ๙ การจัดการฝกอบรมและการเขา รบั การฝกอบรมใหสวนราชการพิจารณาอนุมัติเฉพาะ
ผูที่ปฏิบัติหนาที่ท่ีเก่ียวของหรือเปนประโยชนตอสวนราชการนั้นตามจํานวนที่เห็นสมควรและให
พิจารณาในดานการเงนิ กอ นดว ย

226 คูม่ ือการขอรับการสนับสนุนเงินในรูปแบบโครงการจากกองทนุ เพอื่ การปอ้ งกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์

เลม ๑๒๓ ตอนพิเศษ ๙๘ ง หนา ๒๐ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๙
ราชกจิ จานุเบกษา

ขอ ๑๐ การฝกอบรมบคุ คลภายนอกใหจ ดั ไดเ ฉพาะการฝก อบรมในประเทศเทานั้น

ขอ ๑๑ บุคคลที่จะเบิกจายคา ใชจา ยในการฝก อบรมตามระเบยี บนี้ ไดแ ก
(๑) ประธานในพิธีเปด หรอื พิธีปดการฝกอบรม แขกผูมีเกยี รติ และผูตดิ ตาม
(๒) เจาหนาที่
(๓) วิทยากร
(๔) ผเู ขารบั การฝกอบรม
(๕) ผูสงั เกตการณ
คาใชจายตามวรรคหน่ึงใหสวนราชการผูจัดการฝกอบรมเปนผูเบิกจาย แตถาจะเบิกจายจาก
สวนราชการตนสังกัด ใหทําไดเมื่อสวนราชการผูจัดการฝกอบรมรองขอและสวนราชการตนสังกัด
ตกลงยินยอม
ขอ ๑๒ การเทียบตําแหนงของบุคคลตามขอ ๑๑ (๑) (๒) (๓) และ (๕) ท่ีมิไดเปน
บคุ ลากรของรัฐ เพอื่ เบกิ จายคาใชจายตามระเบยี บนี้ ใหส ว นราชการผจู ดั การฝก อบรมเทยี บตาํ แหนง ได ดังน้ี
(๑) บคุ คลที่เคยเปนบุคลากรของรัฐมาแลว ใหเทียบตามระดับตําแหนงหรือชั้นยศคร้ังสุดทาย

กอนออกจากราชการหรือออกจากงาน แลว แตก รณี
(๒) บคุ คลที่กระทรวงการคลงั ไดเ ทียบระดับตาํ แหนงไวแลว
(๓) วิทยากรในการฝกอบรมระดับตนและระดับกลาง ใหเทียบเทาขาราชการระดับ ๘

ในการฝก อบรมระดบั สงู ใหเทยี บเทาขา ราชการระดับ ๑๐ เวนแตวิทยากรท่ีเปนบุคคลตาม (๑) ท่ีมีชั้นยศ
สูงกวา ใหใ ชชนั้ ยศท่สี งู กวานั้นได

(๔) นอกจาก (๑) (๒) หรอื (๓) ใหห วั หนา สว นราชการเจาของงบประมาณพิจารณาเทียบ
ตําแหนงตามความเหมาะสม โดยถือหลักการเทียบตําแหนงของกระทรวงการคลังตาม (๒)
เปน เกณฑในการพิจารณา

ขอ ๑๓ การเทียบตําแหนงของบุคคลตามขอ ๑๑ (๔) ท่ีมิไดเปนบุคลากรของรัฐ
เพอื่ เบิกจายคา ใชจายตามระเบียบนี้ ใหสวนราชการผูจดั การฝกอบรมเทียบตาํ แหนงไดดงั นี้

(๑) ผูเขารับการฝกอบรมในการฝกอบรมระดับตน ใหเทียบเทาขาราชการตั้งแตระดับ ๑
ถงึ ระดบั ๒

(๒) ผูเขา รับการฝก อบรมในการฝกอบรมระดับกลาง ใหเทียบเทาขาราชการต้ังแตระดับ ๓
ถงึ ระดับ ๘

ค่มู อื การขอรบั การสนับสนุนเงนิ ในรูปแบบโครงการจากกองทนุ เพ่ือการปอ้ งกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์ 227

เลม ๑๒๓ ตอนพเิ ศษ ๙๘ ง หนา ๒๑ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๙
ราชกิจจานเุ บกษา

(๓) ผเู ขารับการฝก อบรมในการฝกอบรมระดบั สูง ใหเ ทียบเทา ขา ราชการต้ังแตร ะดบั ๙ ขึ้นไป

ขอ ๑๔ การเบกิ จา ยคาพาหนะเดนิ ทางไปกลับระหวางสถานทอี่ ยู ท่พี กั หรอื ที่ปฏิบัตริ าชการ
ไปยังสถานที่จัดฝกอบรมของบุคคลตามขอ ๑๑ ใหอยูในดุลพินิจของหัวหนาสวนราชการผูจัดการ
ฝกอบรมหรอื ตน สังกัด

ขอ ๑๕ ใหสวนราชการผูจัดการฝกอบรมใชดุลพินิจเบิกจายคาใชจายในการจัดฝกอบรม
ไดเทาที่จายจริง โดยคํานึงถึงความจําเปน เหมาะสม และประหยัด เพื่อประโยชนของทางราชการ
ยกเวน คา สมนาคุณวิทยากร คา อาหาร คา เชา ที่พัก และคา พาหนะ ใหเบิกจายตามหลักเกณฑและอัตรา
ตามทก่ี าํ หนดไวในระเบยี บนี้

ขอ ๑๖ การจายคา สมนาคณุ วทิ ยากรใหเปน ไปตามหลกั เกณฑและอตั รา ดงั นี้
(๑) หลักเกณฑการจา ยคาสมนาคุณวทิ ยากร

(ก) ช่ัวโมงการฝกอบรมที่มีลักษณะเปนการบรรยาย ใหจายคาสมนาคุณวิทยากรได
ไมเ กิน ๑ คน

(ข) ชั่วโมงการฝก อบรมท่ีมลี กั ษณะเปน การอภิปรายหรือสัมมนาเปนคณะ ใหจายคาสมนาคุณ

วทิ ยากรไดไมเ กนิ ๕ คน โดยรวมถงึ ผดู ําเนนิ การอภปิ รายหรือสัมมนาที่ทาํ หนาทเี่ ชน เดียวกับวทิ ยากรดวย
(ค) ช่วั โมงการฝก อบรมที่มีลักษณะเปนการแบงกลุมฝกภาคปฏิบัติ แบงกลุมอภิปราย

หรือสัมมนา หรือแบงกลุมทํากิจกรรม ซ่ึงไดกําหนดไวในโครงการหรือหลักสูตรการฝกอบรม
และจาํ เปน ตองมวี ิทยากรประจาํ กลุม ใหจ ายคาสมนาคุณวทิ ยากรไดไ มเ กินกลมุ ละ ๒ คน

(ง) ช่ัวโมงการฝกอบรมใดมวี ทิ ยากรเกินกวาจาํ นวนทก่ี ําหนดไวต าม (ก) (ข) หรอื (ค)
ใหเ ฉล่ยี จา ยคา สมนาคุณวทิ ยากรไมเกนิ ภายในจาํ นวนเงินทีจ่ า ยไดตามหลกั เกณฑ

(จ) เพื่อประโยชนในการเบิกจายคาสมนาคุณวิทยากร การนับช่ัวโมงการฝกอบรม
ใหน บั ตามเวลาที่กาํ หนดในตารางการฝกอบรม โดยไมตองหักเวลาท่ีพักรับประทานอาหารวางและเครื่องดื่ม
แตละช่ัวโมงการฝกอบรมตองมีกําหนดเวลาการฝกอบรมไมนอยกวาหาสิบนาที กรณีกําหนดเวลา
การฝก อบรมไมถงึ หา สิบนาทีแตไมนอยกวา ยส่ี บิ หา นาทีใหเบิกจายคา สมนาคุณวิทยากรไดก ึง่ หน่ึง

(๒) อตั ราคาสมนาคุณวิทยากร
(ก) วทิ ยากรท่เี ปนบุคลากรของรัฐ ใหไดรับคาสมนาคุณวิทยากรสําหรับการฝกอบรม

ระดับตน การฝกอบรมระดับกลาง และการฝกอบรมบุคคลภายนอก ไมเกินชั่วโมงละ ๖๐๐ บาท
และสาํ หรับการฝกอบรมระดับสงู ไมเ กินช่ัวโมงละ ๘๐๐ บาท

228 คมู่ อื การขอรบั การสนับสนนุ เงินในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพือ่ การป้องกันและปราบปรามการคา้ มนุษย์

เลม ๑๒๓ ตอนพเิ ศษ ๙๘ ง หนา ๒๒ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๙
ราชกิจจานเุ บกษา

(ข) วทิ ยากรทม่ี ิใชบ คุ คลตาม (ก) ใหไ ดร ับคาสมนาคณุ วทิ ยากร ในการฝก อบรมระดบั ตน
การฝกอบรมระดบั กลาง และการฝก อบรมบคุ คลภายนอก ไมเ กินชั่วโมงละ ๑,๒๐๐ บาท และสําหรับ
การฝกอบรมระดบั สูงไมเกนิ ชว่ั โมงละ ๑,๖๐๐ บาท

(ค) กรณที ีจ่ ําเปนตอ งใชว ทิ ยากรท่ีมีความรู ความสามารถและประสบการณเปนพิเศษ
เพ่ือประโยชนในการฝกอบรมตามโครงการหรือหลักสูตรที่กําหนด จะใหวิทยากรไดรับคาสมนาคุณ
วิทยากรสูงกวาอัตราท่ีกําหนดตาม (ก) หรือ (ข) ก็ได โดยใหอยูในดุลพินิจของหัวหนาสวนราชการ
เจา ของงบประมาณ

(ง) การฝก อบรมทสี่ ว นราชการเปน ผจู ัดหรือจัดรว มกับหนวยงานอื่น ถาวิทยากรไดรับ
คา สมนาคณุ วทิ ยากรจากหนว ยงานอนื่ แลว ใหสว นราชการผูจดั การฝกอบรมงดเบิกคา สมนาคณุ วทิ ยากร
จากทางราชการ

(จ) กรณีวิทยากรสังกัดสวนราชการผูจัดการฝกอบรม ใหอยูในดุลพินิจของหัวหนา
สว นราชการผูจดั การฝก อบรม ทจ่ี ะพิจารณาจา ยคาสมนาคุณวิทยากรไดตามความจําเปน และในอัตรา
ท่ีเหมาะสม แตตอ งไมเกินอัตราตาม (ก)

ขอ ๑๗ ในโครงการหรือหลักสูตรการฝกอบรมท่ีมีการจัดอาหารใหแกบุคคลตามขอ ๑๑
ใหสวนราชการผูจัดการฝกอบรมเบิกคาอาหารไดเทาที่จายจริงแตไมเกินอัตราตามบัญชีหมายเลข ๑
ทายระเบยี บนี้

ขอ ๑๘ ในโครงการหรือหลักสูตรการฝกอบรมที่มีการจัดที่พักและออกคาเชาที่พักใหแก
บคุ คลตามขอ ๑๑ ใหส ว นราชการผจู ดั การฝกอบรมเบิกจายคาเชาท่ีพักไดเทาที่จายจริงแตไมเกินอัตรา
คาเชา ทพ่ี กั ตามบญั ชหี มายเลข ๒ และบัญชีหมายเลข ๓ ทายระเบียบน้ี และตามหลกั เกณฑด งั น้ี

(๑) การจัดที่พักใหแกผูเขารับการฝกอบรมสําหรับการฝกอบรมระดับตน การฝกอบรม
ระดับกลาง และการฝกอบรมบุคคลภายนอก ใหพักรวมกันตั้งแตสองคนขึ้นไปโดยใหพักหองพักคู
เวน แตเ ปน กรณีท่ไี มเ หมาะสมหรอื มีเหตุจําเปนไมอาจพักรวมกับผูอื่นได หัวหนาสวนราชการผูจัดการ
ฝกอบรมอาจจัดใหพักหอ งพักคนเดยี วได

(๒) การจัดที่พกั ใหแ กผูสังเกตการณหรือเจาหนาที่ซ่ึงมีระดับตําแหนงหรือชั้นยศ ไมสูงกวา
ขาราชการระดบั ๘ หรือเทยี บเทา ใหพกั รวมกนั ต้ังแตส องคนขนึ้ ไปโดยใหพักหองพักคู เวนแตเปนกรณี
ที่ไมเหมาะสมหรือมีเหตุจําเปนไมอาจพักรวมกับผูอื่นได หัวหนาสวนราชการผูจัดการฝกอบรม

คู่มอื การขอรับการสนับสนนุ เงินในรปู แบบโครงการจากกองทนุ เพ่ือการปอ้ งกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์ 229

เลม ๑๒๓ ตอนพเิ ศษ ๙๘ ง หนา ๒๓ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๙
ราชกจิ จานุเบกษา

อาจจัดใหพักหองพักคนเดียวได สวนผูสังเกตการณหรือเจาหนาท่ีซึ่งมีระดับตําแหนงหรือชั้นยศ

ตงั้ แตขาราชการระดบั ๙ หรือเทียบเทา ขึ้นไป จะจดั ใหพ กั หอ งพักคนเดียวกไ็ ด
ขอ ๑๙ กรณีสวนราชการผูจัดการฝกอบรม จัดยานพาหนะในการฝกอบรม และออกคา

พาหนะสาํ หรบั บคุ คลตามขอ ๑๑ ใหเ ปนไปตามหลกั เกณฑ ดงั น้ี
(๑) กรณใี ชย านพาหนะของสวนราชการผูจัดฝก อบรม หรือกรณียมื ยานพาหนะจากสวนราชการ

หรือหนวยงานอื่นใหเบกิ คานา้ํ มนั เช้ือเพลิงไดเทา ทีจ่ า ยจริง
(๒) กรณีใชยานพาหนะประจําทางหรือเชาเหมายานพาหนะใหจัดยานพาหนะโดยอนุโลม

ตามสิทธิของขาราชการตามพระราชกฤษฎีกาคาใชจายในการเดินทางไปราชการ โดยใหเบิกจายได
เทา ที่จา ยจริงตามความจาํ เปนและประหยัด ดังน้ี

(ก) การฝกอบรมระดบั ตน หรือการฝกอบรมบุคคลภายนอกใหจัดยานพาหนะตามสิทธิ
ของขาราชการระดับ ๕ หรือเทียบเทา สําหรับการฝกอบรมระดับกลางใหจัดยานพาหนะตามสิทธิ
ของขา ราชการระดับ ๖ หรือเทยี บเทา

(ข) การฝกอบรมระดับสงู ใหจ ดั ยานพาหนะตามสทิ ธขิ องขาราชการระดบั ๑๐ หรือเทยี บเทา

เวนแตกรณีเดินทางโดยเครื่องบินใหใชช้ันธุรกิจ กรณีท่ีไมสามารถเดินทางโดยช้ันธุรกิจใหเดินทาง
โดยชน้ั หนงึ่

ขอ ๒๐ กรณีสวนราชการผูจัดการฝกอบรมไมจัดอาหาร ที่พัก หรือยานพาหนะท้ังหมด
หรอื จัดใหบ างสว น ใหส วนราชการผจู ดั การฝก อบรมเบิกจา ยคาใชจายท้ังหมดหรือสวนที่ขาดใหแกบุคคล
ตามขอ ๑๑ แตถ า บคุ คลตามขอ ๑๑ (๔) และ (๕) เปนบคุ ลากรของรัฐใหเบิกจายจากตนสังกัด ทั้งนี้
ตามหลกั เกณฑแ ละวธิ ีการท่กี ําหนดไวใ นพระราชกฤษฎีกาคา ใชจายในการเดินทางไปราชการ

การคํานวณเวลาเพ่ือเบิกเบี้ยเล้ียงเดินทางใหนับตั้งแตเวลาที่เดินทางออกจากสถานที่อยู
หรือสถานทีป่ ฏบิ ตั ิราชการตามปกติจนกลับถงึ สถานท่ีอยูหรอื สถานทปี่ ฏิบัตริ าชการตามปกติ แลวแตกรณี
แลวนําจํานวนวันทั้งหมดมาคูณกับอัตราเบ้ียเลี้ยงเดินทางเหมาจายตอวัน เพื่อเปนคาเบี้ยเล้ียงเดินทาง
ในกรณีท่ีผูจัดการฝกอบรมจัดอาหารบางมื้อในระหวางการฝกอบรม ใหหกั เบยี้ เลี้ยงเดินทางทค่ี ํานวณได
ในอตั รามื้อละ ๑ ใน ๓ ของอัตราเบยี้ เลีย้ งเดินทางเหมาจายตอวัน

การคํานวณเวลาตามวรรคสองใหนับยี่สิบส่ีชั่วโมงเปนหนึ่งวัน ถาไมถึงยี่สิบส่ีช่ัวโมง

หรือเกินยี่สิบสี่ช่ัวโมงและสวนที่ไมถึงยี่สิบสี่ช่ัวโมงหรือเกินย่ีสิบส่ีช่ัวโมงนั้นมากกวาสิบสองชั่วโมง
ใหถ ือเปนหนึง่ วัน

230 คมู่ อื การขอรบั การสนับสนนุ เงินในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพอ่ื การป้องกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์

เลม ๑๒๓ ตอนพเิ ศษ ๙๘ ง หนา ๒๔ ๒๒ กนั ยายน ๒๕๔๙
ราชกิจจานเุ บกษา

ขอ ๒๑ กรณีเปน การจดั ฝก อบรมบคุ คลภายนอก ถาสวนราชการผจู ดั การฝกอบรมไมจัดอาหาร
ท่ีพกั หรือยานพาหนะ ท้งั หมดหรือจดั ใหบ างสว น ใหส ว นราชการผจู ดั การฝกอบรม เบกิ จายคาใชจาย
ใหแกผูเขารบั การฝก อบรมที่เปน บคุ ลากรของรฐั ตามหลักเกณฑท ี่กําหนดไวใ นขอ ๒๐ และใหส ว นราชการ
ผูจัดการฝกอบรมเบิกจายคาใชจายท้ังหมดหรือสวนท่ีขาดใหแกผูเขารับการฝกอบรมท่ีมิไดเปนบุคลากร
ของรัฐตามหลกั เกณฑ ดงั นี้

(๑) คาเบ้ียเลยี้ ง
(ก) การฝกอบรมท่ไี มจดั อาหารท้ัง ๓ มอ้ื ใหเบิกจายคา เบ้ียเล้ยี งไดไ มเกินคนละ ๑๒๐ บาท

ตอวัน
(ข) การฝก อบรมทจี่ ดั อาหารให ๒ ม้ือ ใหเบิกจายคาเบี้ยเลี้ยงไดไมเกินคนละ ๔๐ บาท

ตอวัน
(ค) การฝก อบรมท่ีจดั อาหารให ๑ มอื้ ใหเบกิ จายคาเบีย้ เลี้ยงไดไ มเกินคนละ ๘๐ บาท

ตอ วนั
(๒) คาเชา ทพ่ี ัก ใหเ บกิ จา ยในลกั ษณะเหมาจายไมเกนิ คนละ ๕๐๐ บาท ตอวนั
(๓) คาพาหนะเดนิ ทางยกเวน คา โดยสารเคร่ืองบิน ใหอยูใ นดุลพินิจของหัวหนาสวนราชการ

ผจู ัดการฝก อบรมที่จะพิจารณาใหเบกิ จายตามทจี่ า ยจริง หรอื ใหเ บิกในลักษณะเหมาจา ยตามความจําเปน
และเหมาะสม

การเบิกจายคา ใชจายตามขอนี้ใหใ ชแบบใบสําคัญรบั เงนิ ทายระเบยี บนี้
ขอ ๒๒ การเบกิ คา เครื่องแตงตวั ในการเดินทางไปฝกอบรมในตางประเทศ ใหเบิกจายไดเฉพาะ
ผเู ขา รบั การฝกอบรมทีเ่ ปน บคุ ลากรของรัฐ หรอื เจาหนา ท่ี ตามบัญชีหมายเลข ๔ ทา ยระเบยี บน้ี
ขอ ๒๓ คา ใชจายเปน คาลงทะเบียน คาธรรมเนียม หรือคาใชจายทํานองเดียวกันท่ีเรียกช่ือ
อยางอ่ืนสําหรับผูเขารับการฝกอบรม ใหเบิกจายเทาท่ีจายจริงในอัตราท่ีสวนราชการหรือหนวยงาน
ผจู ดั การฝกอบรมเรียกเกบ็
ขอ ๒๔ กรณีคาใชจ า ยตามขอ ๒๓ ไดรวมคาอาหาร คาเชาที่พัก หรือคาพาหนะของผูเขารับ
การฝกอบรมไวท้ังหมด หรือสวนราชการหรือหนวยงานผูจัดการฝกอบรมไดออกคาใชจายเกี่ยวกับ
คา อาหาร คา เชา ที่พกั หรอื คาพาหนะท้งั หมดใหแกผ เู ขา รับการฝก อบรมหรือผูสังเกตการณ ใหผูเขารับ
การฝกอบรมหรือผสู ังเกตการณง ดเบิกจา ยคาใชจ า ยดงั กลา ว

คู่มือการขอรับการสนบั สนนุ เงินในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพอื่ การป้องกันและปราบปรามการคา้ มนุษย์ 231

เลม ๑๒๓ ตอนพเิ ศษ ๙๘ ง หนา ๒๕ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๙
ราชกิจจานุเบกษา

กรณีคาใชจายตามขอ ๒๓ ไมรวมคาอาหาร คาเชาที่พัก หรือคาพาหนะ หรือรวมไวบางสวน
หรอื สวนราชการหรอื หนว ยงานผจู ดั การฝก อบรมไมอ อกคาอาหาร คาเชาที่พัก หรือคาพาหนะทั้งหมด
หรือออกใหบางสวน ใหผูเขารับการฝกอบรมหรือผูสังเกตการณเบิกจายคาใชจายท้ังหมดหรือ
เฉพาะสวนที่ขาดหรอื สวนทม่ี ิไดออกใหต ามหลักเกณฑท ีก่ าํ หนดไวใ นขอ ๒๐

ขอ ๒๕ โครงการหรือหลักสูตรการฝกอบรมท่ีสวนราชการผูจัดการฝกอบรมไดรับ
ความชว ยเหลือคาใชจายท้ังหมดจากหนวยงานภายในประเทศหรือตางประเทศ ใหงดเบิกจายคาใชจาย
สว นกรณีทส่ี วนราชการผจู ัดการฝกอบรมไดรับความชวยเหลือคาใชจายบางสวน ใหเบิกจายคาใชจายสมทบ
ในสวนทไ่ี มไ ดร ับความชว ยเหลือตามหลกั เกณฑแ ละอัตราทีก่ ําหนดไวในระเบยี บน้ี

กรณีท่ีบุคลากรของรัฐไดรับอนุมัติใหเดินทางไปฝกอบรมในตางประเทศโดยไดรับ
ความชวยเหลือคาใชจายในการเดินทางไปฝกอบรมท้ังหมด ใหงดเบิกจายคาใชจาย สวนกรณีไดรับ
ความชวยเหลือคาใชจายในการเดินทางไปฝกอบรมบางสวน ใหเบิกจายคาใชจายสมทบในสวนท่ี
ไมไดรับความชวยเหลือไดตามพระราชกฤษฎีกาคาใชจายในการเดินทางไปราชการ แตตองไมเกิน
วงเงนิ ทไ่ี ดร ับความชว ยเหลอื ภายใตเ งื่อนไข ดงั นี้

(๑) กรณีไดรับความชวยเหลือคาโดยสารเครื่องบินไป-กลับแลว แมจะตํ่ากวาสิทธิที่ไดรับ
ก็ใหง ดเบกิ จายคา โดยสารเครอื่ งบิน สว นกรณีไดร บั ความชวยเหลือคาโดยสารเครื่องบินเพียงเที่ยวเดียว
ใหเบิกจายคาโดยสารเครื่องบินอีกหนึ่งเท่ียวในช้ันเดียวกับที่ไดรับความชวยเหลือแตตองไมสูงกวา
สิทธิท่พี ึงไดรับ

(๒) กรณีมีการจัดท่ีพักให ใหงดเบิกจายคาเชาท่ีพัก ถาไดรับความชวยเหลือคาเชาท่ีพัก
ตํ่ากวาสิทธทิ ีพ่ ึงไดร บั ใหเบิกจายคา เชา ทพี่ ักสมทบเฉพาะสว นทข่ี าดตามท่จี า ยจริง แตเมอ่ื รวมกับคาเชา
ที่พกั ทไี่ ดร บั ความชว ยเหลอื แลวจะตองไมเ กินสทิ ธทิ ี่พงึ ไดรับ

(๓) กรณีไดร บั ความชว ยเหลอื คาเบีย้ เลีย้ งเดินทางต่ํากวาสิทธิท่ีพึงไดรับ ใหเบิกจายคาเบ้ียเล้ียง
เดนิ ทางสมทบเฉพาะสวนทขี่ าด สวนกรณีมีการจัดอาหารในระหวางการฝกอบรมการเบิกจายคาเบี้ยเลี้ยง
เดินทางใหเ ปน ไปตามหลกั เกณฑท ก่ี ําหนดไวในขอ ๒๐

(๔) กรณีมิไดรับความชวยเหลือคาเคร่ืองแตงตัว ใหเบิกจายไดตามบัญชีหมายเลข ๔
ทายระเบียบน้ี ถาไดรับความชว ยเหลือคาเคร่ืองแตงตัวต่ํากวาสิทธิท่ีพึงไดรับ ใหเบิกจายคาเคร่ืองแตงตัว
สมทบเฉพาะสว นทขี่ าด

232 คู่มือการขอรบั การสนบั สนุนเงินในรูปแบบโครงการจากกองทนุ เพอื่ การปอ้ งกนั และปราบปรามการค้ามนษุ ย์

เลม ๑๒๓ ตอนพิเศษ ๙๘ ง หนา ๒๖ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๙
ราชกจิ จานเุ บกษา

การเบิกจายคาใชจายตามวรรคสอง ใหจัดทํารายละเอียดคาใชจายตามแบบรายละเอียด
คาใชจายกรณีไดรับความชวยเหลือทายระเบียบนี้ พรอมแนบสําเนาหนังสือของสวนราชการ
หรือหนวยงานที่ใหความชวยเหลือเพื่อเปนหลักฐานประกอบการเบิกจาย และกรณีหนวยงานที่ให
ความชวยเหลือไมไดระบุวงเงินใหความชวยเหลือไว ใหคํานวณเงินคาใชจายท่ีไดรับความชวยเหลือ
โดยองิ อัตราคา ใชจายตามระเบียบนี้

ขอ ๒๖ กรณีสวนราชการผูจัดการฝกอบรมประสงคจะจางจัดฝกอบรมในโครงการ
หรือหลักสูตรการฝกอบรมไมวาท้ังหมดหรือบางสวน ใหดําเนินการไดตามหลักเกณฑและอัตรา
คาใชจายตามระเบียบน้ี และถาใชเครื่องบินโดยสารเปนยานพาหนะในการเดินทางไปฝกอบรมใน
ตางประเทศ ใหปฏิบตั ติ ามมตคิ ณะรฐั มนตรแี ละหนงั สือกระทรวงการคลังท่ีกาํ หนดในเรื่องดงั กลา วดว ย

การเบิกจายคา ใชจา ยตามวรรคหนึง่ ใหใชใบเสรจ็ รับเงินของผรู ับจางเปน หลกั ฐานการเบิกจา ย
ขอ ๒๗ ใหมีการประเมินผลการฝกอบรม และรายงานตอหัวหนาสวนราชการผูจัดการ
ฝกอบรมภายใน ๖๐ วนั นับแตสนิ้ สดุ การฝกอบรม
สํา ห รั บ ผู เ ข า รั บ ก า ร ฝก อ บ ร ม ห รื อ ผู สั ง เ ก ตก า ร ณ ท่ี เ ข า รั บ ก า ร ฝก อ บ ร ม ที่ ส ว น ร า ช ก า ร
หรอื หนว ยงานอื่นเปนผจู ดั การฝกอบรม ใหจ ัดทํารายงานผลการเขารับการฝกอบรมเสนอหัวหนาสวนราชการ
ตน สงั กัดภายใน ๖๐ วัน นบั ตัง้ แตว ันเดนิ ทางกลบั ถงึ สถานทปี่ ฏบิ ัติราชการ

หมวด ๓
คา ใชจา ยในการจัดงาน

ขอ ๒๘ การจัดงานตามแผนงานโครงการตามภารกิจปกติหรือตามนโยบายของทางราชการ
เชน การจัดงานวันคลายวันสถาปนาของสวนราชการ การจัดงานนิทรรศการ การจัดงานแถลงขาว
การจัดการประกวดหรือแขงขัน หรือการจัดกิจกรรมตาง ๆ เปนตน ใหหัวหนาสวนราชการเจาของ
งบประมาณพิจารณาอนุมตั ิการเบกิ จายคา ใชจ ายไดเ ทา ที่จายจรงิ ตามความจาํ เปน เหมาะสม และประหยัด

ขอ ๒๙ กรณีสวนราชการประสงคจะจางดําเนินการตามขอ ๒๘ ก็ใหดําเนินการได
โดยอยูในดุลพินิจของหัวหนาสวนราชการเจาของงบประมาณ โดยใหใชใบเสร็จรับเงินของผูรับจาง
ในการจดั งานเปนหลักฐานการเบิกจาย

คู่มือการขอรับการสนบั สนุนเงินในรูปแบบโครงการจากกองทุนเพ่ือการป้องกันและปราบปรามการคา้ มนษุ ย์ 233

เลม ๑๒๓ ตอนพเิ ศษ ๙๘ ง หนา ๒๗ ๒๒ กนั ยายน ๒๕๔๙
ราชกจิ จานุเบกษา

หมวด ๔
คาใชจายในการประชมุ ระหวางประเทศ

ขอ ๓๐ บุคคลที่จะเบกิ จา ยคา ใชจายในการประชุมระหวา งประเทศ ตามระเบยี บน้ี ไดแ ก
(๑) ประธานในพธิ เี ปด หรือพิธีปดการประชมุ แขกผูมีเกยี รติ และผูตดิ ตาม
(๒) เจาหนาที่
(๓) เจา หนา ทีป่ ฏิบตั งิ านลักษณะพเิ ศษ
(๔) วทิ ยากร
(๕) ผูเ ขา รว มประชุม
ขอ ๓๑ คาใชจายกอน ระหวาง และหลังการจัดประชุมระหวางประเทศ ใหเบิกจายได
เทาที่จา ยจริงตามความจําเปน เหมาะสมและประหยดั ยกเวนคา สมนาคุณวิทยากร เงนิ รางวัลของเจาหนาท่ี
คาอาหาร คาเชาที่พัก และคา พาหนะ ใหเบิกจายตามหลักเกณฑแ ละอตั ราที่กําหนดไวใ นระเบียบน้ี
ขอ ๓๒ การประชุมระหวางประเทศที่มีการจัดอาหาร ที่พัก หรือยานพาหนะใหแกบุคคล
ตามขอ ๓๐ ใหสวนราชการผจู ดั การประชุมระหวางประเทศเบกิ จายคาอาหาร คาเชาท่ีพัก หรือคาพาหนะได
ดงั นี้
(๑) การประชุมระหวางประเทศที่กําหนดผูเขารวมประชุมเปนบุคคลระดับรัฐมนตรีหรือ
สมาชิกรัฐสภาข้ึนไป ใหเบิกจายคาใชจายไดเทาท่ีจายจริงโดยใหอยูในดุลพินิจของหัวหนาสวนราชการ
เจา ของงบประมาณ
(๒) การประชมุ ระหวางประเทศนอกจาก (๑) ใหเบิกจายคาใชจายไดเทาท่ีจายจริง ไมเกิน
อัตรา ดงั น้ี

(ก) คาอาหารและเคร่ืองด่ืม กรณีจัดครบทุกมื้อไมเกินคนละ ๑,๒๐๐ บาทตอวัน
กรณจี ดั ไมค รบทกุ ม้อื ไมเ กินคนละ ๘๐๐ บาทตอ วัน

(ข) คาเชาทพี่ ักไมเกินคนละ ๒,๐๐๐ บาทตอวนั
(ค) คาพาหนะใหเบิกจายไดเทาที่จายจริงตามความจําเปนและเหมาะสม โดยใหอยูใน
ดุลพนิ ิจของหวั หนาสวนราชการเจา ของงบประมาณ

234 คูม่ ือการขอรับการสนบั สนนุ เงินในรูปแบบโครงการจากกองทุนเพื่อการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์

เลม ๑๒๓ ตอนพิเศษ ๙๘ ง หนา ๒๘ ๒๒ กนั ยายน ๒๕๔๙
ราชกจิ จานุเบกษา

ขอ ๓๓ การจา ยคา สมนาคุณวทิ ยากรใหเ ปน ไปตามหลักเกณฑขอ ๑๖ สวนอัตราคาสมนาคุณ
วิทยากรใหเบิกจายตามความจําเปนและเหมาะสม โดยใหอยูในดุลพินิจของหัวหนาสวนราชการ
เจา ของงบประมาณ

ขอ ๓๔ เจา หนาที่ซ่งึ ปฏบิ ตั ิงานในการประชมุ ระหวางประเทศใหไ ดร ับเงินรางวลั เฉพาะวันที่
ปฏบิ ตั ิงานคนละไมเ กนิ ๒๐๐ บาทตอวัน

ขอ ๓๕ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานลักษณะพิเศษใหเบิกจายคาตอบแทนเฉพาะวันที่ปฏิบัติงาน
ตามหลกั เกณฑและอตั ราท่ีหัวหนาสวนราชการเจา ของงบประมาณกาํ หนด

ขอ ๓๖ คาใชจายที่เปนคาลงทะเบียน คาธรรมเนียม หรือคาใชจายทํานองเดียวกัน
ทเ่ี รียกชื่ออยา งอนื่ สําหรบั ผูเ ขา รว มประชมุ ใหเ บกิ จา ยเทา ทจ่ี ายจรงิ ในอตั ราที่ผูจัดการประชุมระหวางประเทศ
เรยี กเก็บ

ขอ ๓๗ กรณีคาใชจายตามขอ ๓๖ ไดรวมคาอาหาร คาเชาท่ีพัก หรือคาพาหนะ
ของผูเขารวมประชุมไวทั้งหมด หรือสวนราชการหรือหนวยงานผูจัดการประชุมไดออกคาใชจาย
เกี่ยวกับคาอาหาร คาเชาที่พัก หรือคาพาหนะทั้งหมดใหแกผูเขารวมประชุม ใหผูเขารวมประชุม
งดเบิกจา ยคาใชจาย

กรณีคาใชจา ยตามขอ ๓๖ ไมรวมคาอาหาร คา เชา ทพี่ ัก หรอื คาพาหนะ หรือรวมไวบางสวน
หรือสวนราชการหรือหนวยงานผูจัดการประชุมไมออกคาอาหาร คาเชาท่ีพัก หรือคาพาหนะทั้งหมด
หรอื ออกใหบ างสวน ใหผูเขา รวมประชุมเบิกจา ยคาใชจายทั้งหมดหรือเฉพาะสวนที่ขาด หรือสวนท่ีมิได
ออกใหจากสว นราชการตน สังกดั ไดตามขอ ๓๒

ขอ ๓๘ กรณีสวนราชการผูจัดการประชุมระหวางประเทศไดรับความชวยเหลือ คาใชจาย
จากสวนราชการหรอื หนวยงานในประเทศหรือตางประเทศ ใหเบิกจายคาใชจายสมทบเฉพาะในสวน
ท่ีขาดไดตามระเบยี บน้ี

ขอ ๓๙ กรณีสวนราชการประสงคจะจางจัดการประชุมระหวางประเทศก็ใหดําเนินการได
โดยใหอยูในดุลพินิจของหัวหนาสวนราชการเจาของงบประมาณ และใหใชใบเสร็จของผูรับจาง
จดั การประชมุ ระหวางประเทศเปนหลกั ฐานการเบิกจาย

คู่มือการขอรบั การสนบั สนนุ เงนิ ในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพื่อการปอ้ งกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ 235

เลม ๑๒๓ ตอนพเิ ศษ ๙๘ ง หนา ๒๙ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๙
ราชกจิ จานุเบกษา
บทเฉพาะกาล

ขอ ๔๐ กรณีสวนราชการเบิกจายคาใชจายในการฝกอบรม การจัดงาน และการประชุม
ระหวา งประเทศตามระเบียบหรือหลกั เกณฑท่ีใชบังคับอยูในวันท่ีระเบียบน้ีใชบังคับ หรือตามที่ไดรับ
อนุมัติจากกระทรวงการคลังกอนวันท่ีระเบียบนี้ใชบังคับ ใหดําเนินการตอไปตามระเบียบหรือ
หลกั เกณฑห รอื ตามทีไ่ ดร บั อนมุ ตั จิ ากกระทรวงการคลงั ตอ ไปจนแลวเสรจ็

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๙
ทนง พิทยะ

รฐั มนตรีวาการกระทรวงการคลัง

236 คมู่ ือการขอรับการสนบั สนนุ เงินในรูปแบบโครงการจากกองทนุ เพือ่ การป้องกันและปราบปรามการคา้ มนุษย์

บัญชีหมายเลข ๑

อตั ราคาอาหารในการฝก อบรม
(บาท : วนั : คน)

คู่มอื การขอรับการสนบั สนุนเงินในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพอ่ื การปอ้ งกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์ การฝก อบรมในสถานทข่ี องสว นราชการ รัฐวิสาหกจิ การฝก อบรมในสถานทขี่ องเอกชน
หรอื หนว ยงานอนื่ ของรฐั

ระดบั การฝก อบรม ในประเทศ ในตา งประเทศ ในประเทศ ในตางประเทศ
จดั ครบทกุ มอื้ จดั ไมครบทุกมอื้ จดั ครบทกุ มอ้ื จดั ไมครบทกุ มอ้ื

๑. การฝกอบรมระดับตน ไมเ กิน ๕๐๐ ไมเกนิ ๓๐๐ ไมเกิน ๒,๕๐๐ ไมเ กิน ๘๐๐ ไมเกิน ๖๐๐ ไมเ กนิ ๒,๕๐๐
การฝ กอบรมระดั บกลาง
แ ล ะ ก า ร ฝ ก อ บ ร ม
บุคคลภายนอก

๒.การฝกอบรมระดับสงู ไมเ กิน ๗๐๐ ไมเ กิน ๕๐๐ ไมเกนิ ๒,๕๐๐ ไมเ กิน ๑,๐๐๐ ไมเกิน ๗๐๐ ไมเ กิน ๒,๕๐๐

237

บญั ชีหมายเลข ๒

อตั ราคา เชา ท่ีพกั ในการฝกอบรมในประเทศ

(บาท : วนั : คน)

ระดับการฝก อบรม คา เชาหอ งพกั คนเดยี ว คา เชา หอ งพกั คู
ไมเ กิน ๑,๒๐๐ ไมเกนิ ๗๕๐
๑. การฝก อบรมระดบั ตน
การฝก อบรมระดับกลางและ
การฝก อบรมบคุ คลภายนอก

๒. การฝกอบรมระดับสูง ไมเกิน ๒,๐๐๐ ไมเกนิ ๑,๑๐๐

หมายเหตุ : คาเชาหองพักคนเดยี ว หมายความวา คาใชจา ยในการเชา หองพักหนงึ่ หอ งทส่ี ถานทพ่ี กั แรมเรียกเกบ็
กรณที ี่ผเู ชาเขา พักเพยี งคนเดียว

คาเชาหองพักคู หมายความวา คา ใชจ ายในการเชา หองพกั ทส่ี ถานทีพ่ ักแรมเรียกเกบ็ กรณที ผี่ ูเ ชา เขา พกั
รวมกนั ต้งั แตส องคนขน้ึ ไป

238 คูม่ ือการขอรบั การสนับสนนุ เงนิ ในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพื่อการป้องกนั และปราบปรามการคา้ มนษุ ย์

บญั ชีหมายเลข ๓

อตั ราคา เชา ท่ีพักในการฝก อบรมในตา งประเทศ
(บาท : วัน : คน)

คู่มอื การขอรับการสนบั สนุนเงินในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพอ่ื การปอ้ งกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์ ประเภท ก. ประเภท ข. ประเภท ค.

ระดับการฝก อบรม คาเชาหอ งพกั คา เชาหองพกั คู คาเชา หอ งพกั คา เชา หอ งพักคู คาเชา หอ งพกั คาเชา หอ งพกั คู
คนเดียว คนเดยี ว คนเดียว
๑. การฝกอบรมระดับตน และ
การฝกอบรมระดับกลาง ไมเ กิน ๖,๐๐๐ ไมเกนิ ๔,๒๐๐ ไมเ กิน ๔,๐๐๐ ไมเกนิ ๒,๘๐๐ ไมเ กนิ ๒,๔๐๐ ไมเ กิน ๑,๗๐๐

๒. การฝก อบรมระดับสูง ไมเ กิน ๘,๐๐๐ ไมเ กิน ๕,๖๐๐ ไมเกนิ ๕,๖๐๐ ไมเ กิน ๓,๙๐๐ ไมเ กนิ ๓,๖๐๐ ไมเ กนิ ๒,๕๐๐

หมายเหตุ : (๑) คาเชาหองพกั คนเดียว หมายความวา คา ใชจ า ยในการเชา หอ งพักหนงึ่ หองทสี่ ถานทพี่ กั แรมเรยี กเก็บกรณที ผ่ี ูเชาเขาพกั เพียงคนเดียว
(๒) คาเชาหอ งพักคู หมายความวา คาใชจ า ยในการเชา หอ งพกั ทส่ี ถานทีพ่ กั แรมเรยี กเกบ็ กรณที ผี่ เู ชาเขา พกั รวมกนั ตั้งแตส องคนขน้ึ ไป
(๓) ประเภท ก. ประเภท ข. และ ประเภท ค. หมายถงึ ประเทศ รฐั เมือง ตามบญั ชแี นบทายบัญชีนี้

239

บัญชีหมายเลข ๔

คา เครื่องแตง ตวั ในการเดินทางไปฝก อบรม
ในตา งประเทศ

__________________________

๑. รายชือ่ ประเทศทีไ่ มส ามารถเบกิ จา ยคาเคร่ืองแตงตวั ในการเดินทางไปฝกอบรมในตางประเทศ
(๑) สหภาพพมา

(๒) เนการาบรไู นดารสุ ซาลาม

(๓) สาธารณรฐั อนิ โดนีเซยี

(๔) ราชอาณาจักรกัมพชู า

(๕) สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว

(๖) มาเลเซยี

(๗) สาธารณรัฐฟล ปิ ปน ส

(๘) สาธารณรฐั สงิ คโปร

(๙) สาธารณรฐั สงั คมนยิ มประชาธปิ ไตยศรลี ังกา
(๑๐) สาธารณรัฐสังคมนยิ มเวยี ดนาม

(๑๑) สาธารณรัฐหมเู กาะฟจ ิ

(๑๒) ปาปวนวิ กนิ ี

(๑๓) รัฐเอกราชซามวั

(๑๔) สาธารณรฐั ประชาธิปไตยตมิ อร- เลสเต
๒. ขาราชการระดบั ๕ หรอื ตําแหนง ท่ีเทยี บเทา ลงมา ใหเ บิกจา ยคาเคร่อื งแตงตวั เหมาจายไดค นละ
๗,๕๐๐ บาท ขา ราชการะดับ ๖ หรือตําแหนงท่ีเทยี บเทา ขน้ึ ไป ใหเบกิ จายคา เครื่องแตงตัวเหมาจา ยไดค นละ
๙,๐๐๐ บาท
๓. ผูที่เคยไดรับคาเครื่องแตงตัวในการเดินทางไปฝกอบรมในตางประเทศมาแลว หรือเคยไดรับ
คาเครอื่ งแตงตวั จากสวนราชการ รฐั วิสาหกิจ หรอื หนวยงานอ่ืนของรฐั ตามกฎหมายหรอื ระเบยี บอน่ื ใดไมว า จะเบกิ จา ยจาก
เงนิ งบประมาณ เงนิ นอกงบประมาณ หรือเคยไดร บั ความชวยเหลอื จากหนว ยงานใด ๆ ท้ังในประเทศและตางประเทศ
ถา ตองเดินทางไปฝก อบรมในตา งประเทศ ใหมีสทิ ธเิ บกิ คาเครอ่ื งแตง ตวั ไดอ กี เม่อื การเดนิ ทางครั้งใหมมีระยะหาง
จากการเดินทางไปตางประเทศครั้งสุดทายท่ีไดรับคาเคร่ืองแตงตัวเกิน ๒ ป นับแตวันที่เดินทางออก
จากประเทศไทย หรือมรี ะยะเวลาเกินกวา ๒ ป นับแตวันที่เดินทางกลับถึงประเทศไทยสาํ หรับผูที่รับราชการ
ประจาํ ในตา งประเทศ

240 คมู่ ือการขอรับการสนบั สนนุ เงินในรปู แบบโครงการจากกองทนุ เพ่อื การป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์

เลม ๑๒๖ ตอนพเิ ศษ ๑๘๓ ง หนา ๑๐ ๒๒ ธนั วาคม ๒๕๕๒
ราชกิจจานุเบกษา

ระเบยี บกระทรวงการคลงั

วาดว ยคา ใชจ า ยในการฝกอบรม การจดั งาน และการประชมุ ระหวา งประเทศ
(ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๒

โดยท่ีเปน การสมควรแกไขเพม่ิ เติมระเบยี บกระทรวงการคลังวาดวยคาใชจายในการฝกอบรม
การจดั งาน และการประชุมระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ เพื่อใหสอดคลองกับตําแหนงขาราชการพลเรือน
ตามพระราชบญั ญตั ริ ะเบียบขา ราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๑ (๒) แหงพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒
กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรฐั มนตรี จึงกําหนดระเบยี บไว ดังตอไปนี้

ขอ ๑ ระเบยี บนเ้ี รยี กวา “ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยคาใชจายในการฝกอบรม การจัดงาน
และการประชมุ ระหวางประเทศ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๒”

ขอ ๒ ระเบียบนใ้ี หใชบ งั คบั ตั้งแตว ันถัดจากวนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเปนตน ไป
ขอ ๓ ใหยกเลิกบทนิยามคําวา “การฝกอบรมระดับตน” “การฝกอบรมระดับกลาง”
“การฝกอบรมระดับสูง” ในขอ ๔ แหงระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยคาใชจายในการฝกอบรม
การจดั งาน และการประชุมระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ และใหใ ชความตอไปน้ีแทน
“การฝก อบรมประเภท ก” หมายความวา การฝกอบรมทผี่ ูเ ขา รับการฝกอบรมเกินก่ึงหน่ึงเปน
บุคลากรของรัฐ ซ่ึงเปนขาราชการตําแหนงประเภทท่ัวไประดับทักษะพิเศษ ขาราชการตําแหนง
ประเภทวิชาการระดับเชีย่ วชาญและระดับทรงคุณวุฒิ ขาราชการตําแหนงประเภทอํานวยการระดับสูง
ขาราชการตาํ แหนง ประเภทบรหิ ารระดับตน และระดบั สงู หรอื ตาํ แหนง ท่ีเทียบเทา
“การฝกอบรมประเภท ข” หมายความวา การฝกอบรมทีผ่ เู ขารับการฝกอบรมเกินก่ึงหนึ่งเปน
บุคลากรของรัฐ ซึ่งเปนขาราชการตําแหนงประเภทท่ัวไประดับปฏิบัติงาน ระดับชํานาญงานและระดับอาวุโส
ขาราชการตําแหนงประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการ ระดับชํานาญการและระดับชํานาญการพิเศษ
ขา ราชการตาํ แหนงประเภทอํานวยการระดบั ตน หรอื ตาํ แหนงทเี่ ทยี บเทา
ขอ ๔ ใหยกเลิกความใน (๓) ของขอ ๑๒ แหงระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยคาใชจาย
ในการฝกอบรม การจดั งาน และการประชมุ ระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ และใหใ ชค วามตอ ไปนแี้ ทน

ค่มู อื การขอรับการสนบั สนุนเงินในรูปแบบโครงการจากกองทนุ เพ่อื การป้องกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์ 241

เลม ๑๒๖ ตอนพเิ ศษ ๑๘๓ ง หนา ๑๑ ๒๒ ธนั วาคม ๒๕๕๒
ราชกิจจานุเบกษา

“(๓) วิทยากรในการฝกอบรมประเภท ก ใหเทียบเทาขาราชการตําแหนงประเภทบริหาร
ระดับสูง สําหรับวิทยากรในการฝกอบรมประเภท ข และวิทยากรในการฝกอบรมบุคคลภายนอก
ใหเทียบเทาขาราชการตําแหนงประเภทอํานวยการระดับตน เวนแตวิทยากรที่เปนบุคคลตาม (๑)
ทม่ี รี ะดับตาํ แหนงหรือชนั้ ยศสงู กวา ใหใ ชร ะดับตาํ แหนง หรือชนั้ ยศที่สงู กวานั้นได”

ขอ ๕ ใหยกเลิกความในขอ ๑๓ แหงระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยคาใชจาย ในการ
ฝก อบรม การจัดงาน และการประชมุ ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ และใหใชความตอ ไปนี้แทน

“ขอ ๑๓ การเทยี บตําแหนง ของบุคคลตามขอ ๑๑ (๔) ที่มิไดเปนบุคลากรของรัฐ เพื่อเบิกจาย
คา ใชจา ยตามระเบยี บนี้ ใหสวนราชการผูจัดการฝก อบรมเทียบตาํ แหนง ได ดังน้ี

(๑) ผเู ขารับการฝกอบรมในการฝกอบรมประเภท ก ใหเทียบไดไมเกินสิทธิของขาราชการ
ตําแหนง ประเภทบริหารระดับสูง

(๒) ผเู ขา รบั การฝกอบรมในการฝกอบรมประเภท ข ใหเทียบไดไมเกินสิทธิของขาราชการ
ตําแหนงประเภทอํานวยการระดบั ตน ”

ขอ ๖ ใหย กเลกิ ความใน (ก) และ (ข) ของขอ ๑๖ (๒) แหงระเบียบกระทรวงการคลัง
วาดวยคา ใชจายในการฝก อบรม การจัดงาน และการประชมุ ระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ และใหใช
ความตอ ไปนแ้ี ทน

“(ก) วิทยากรที่เปนบุคลากรของรัฐ ใหไดรับคาสมนาคุณวิทยากรสําหรับ
การฝกอบรม ประเภท ก ไมเกินชั่วโมงละ ๘๐๐ บาท สําหรับการฝกอบรมประเภท ข และการ
ฝก อบรมบคุ คลภายนอก ไมเกนิ ชัว่ โมงละ ๖๐๐ บาท

(ข) วิทยากรที่มิใชบุคคลตามขอ (ก) ใหไดรับคาสมนาคุณวิทยากรสําหรับ
การฝก อบรม ประเภท ก ไมเกินช่ัวโมงละ ๑,๖๐๐ บาท สําหรับการฝกอบรมประเภท ข และการ
ฝกอบรมบคุ คลภายนอก ไมเ กนิ ชั่วโมงละ ๑,๒๐๐ บาท”

ขอ ๗ ใหยกเลิกความในขอ ๑๘ แหงระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยคาใชจาย ในการ
ฝกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ และใหใชค วามตอ ไปนแ้ี ทน

“ขอ ๑๘ ในโครงการหรือหลักสูตรการฝกอบรมท่ีมีการจัดท่ีพักและออกคาเชาที่พักใหแก
บคุ คลตามขอ ๑๑ ใหสวนราชการผูจ ัดการฝกอบรมเบิกจายคาเชาที่พักไดเทาที่จายจริงแตไมเกินอัตรา
คา เชาที่พัก ตามบัญชหี มายเลข ๒ และบัญชีหมายเลข ๓ ทายระเบียบนี้ และตามหลกั เกณฑ ดังนี้

(๑) การจัดท่ีพักใหแกผูเขารับการฝกอบรม สําหรับการฝกอบรมประเภท ข และการ
ฝกอบรมบุคคลภายนอก ใหพักรวมกันตั้งแตสองคนข้ึนไปโดยใหพักหองพักคู เวนแตเปนกรณีที่ไม
เหมาะสมหรือมีเหตุจําเปนไมอาจพักรวมกับผูอ่ืนได หัวหนาสวนราชการผูจัดการฝกอบรมอาจจัดให
พกั หอ งพักคนเดยี วได

242 ค่มู อื การขอรบั การสนับสนุนเงนิ ในรปู แบบโครงการจากกองทนุ เพ่อื การป้องกันและปราบปรามการคา้ มนษุ ย์


Click to View FlipBook Version