The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการขอรับการสนับสนุนเงินในรูปแบบโค

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thanapong.12, 2021-02-10 21:26:20

คู่มือการขอรับการสนับสนุนเงินในรูปแบบโค

คู่มือการขอรับการสนับสนุนเงินในรูปแบบโค

กจิ กรรม/ กลมุ่ จ�ำ นวนหนว่ ยนบั อตั รา รวมเปน็ เงนิ รวมเปน็ เงนิ
รายการคา่ ใชจ้ า่ ย เปา้ หมาย ของรายการ คชจ. (ทง้ั โครงการ) (เสนอขอ)

5.  ผู้ช่วยผู้จัดการโครงการส่วน  1  8  20,800  20,800  166,400 
S o f t w a r e   D e v e l o p m e n t          
ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า   ป ริ ญ ญ า โ ท          
ประสบการณ์ 7 ปี

6 .   นั ก วิ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ อ อ ก แ บ บ 1  8  15,400  15,400  123,200 
ร ะ บ บ ส า ร ส น เ ท ศ   ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า          
ปรญิ ญาตร ี ประสบการณ ์ 5 ปี

7 .   โ ป ร แ ก ร ม เ ม อ ร์ ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า  1  8 × 2 10,250  10,250  164,000 
ปริญญาตรี ประสบการณ์ 1 – 2 ปี        
คา่ ด�ำ เนนิ การออกแบบและพฒั นา

8 .   ค่ า ฝึ ก อ บ ร ม ผู้ใช้ ง า น ซ่ึง เ ป็ น  80 คน  1,500  1,500  120,000 
หน่วยงานจากศาลพนักงานสอบสวน       
และพนกั งานอยั การรวม 80 ทา่ น

   8.1 คา่ อาหาร 1 มื้อ 80 คน 350 350 28,000

   8.2 คา่ อาหารวา่ ง 2 มื้อ 80 คน 100 100 8,000

   8.3 คา่ เอกสารอบรม 80 คน 250 250 20,000

   8.4 ค่าเช่าเคร่ืองคอมพิวเตอร์และ  80 คน 800 800 64,000
        อุปกรณต์ อ่ พ่วง

2.12 ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ
1. ได้ระบบฐานข้อมูลศาล เฉพาะส่วนท่ีเก่ียวข้องกับคดีค้ามนุษย์ท่ีมีความเชื่อมโยงกับระบบฐานข้อมูล 
การป้องกนั และปราบปรามการค้ามนษุ ยท์ ่มี อี ยู่ ใหม้ คี วามครอบคลุมและสมบูรณ์มากขึน้
2. มีรายงานผลคำ�พิพากษาในระบบฐานข้อมูลการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ เพ่ือใช้ประโยชน์ 
ในการตดิ ตามคด ี และจดั เกบ็ สถติ คิ ดคี ้ามนุษย ์ ประกอบการจัดทำ�นโยบายส�ำ หรบั ผู้บรหิ าร

ค่มู อื การขอรบั การสนับสนนุ เงินในรปู แบบโครงการจากกองทนุ เพอื่ การป้องกนั และปราบปรามการค้ามนษุ ย์ 143

เพื่อประโยชน์ต่อการพิจารณาโครงการของท่าน กรุณาตรวจสอบความครบถ้วนสมบูรณ์ของเอกสารท่ี
กำ�หนดให้จัดส่งทุกรายการ โดยทำ�เครื่องหมาย  หน้าหัวข้อเอกสารที่ท่านจัดส่งมา พร้อมกับแนบรายละเอียด 
ดังนี้

1. เอกสารโครงการ 3 ชดุ  พรอ้ มแผน่ ดสิ ก ์ 1 แผน่  (ถา้ ม)ี  โดยแต่ละชุดประกอบด้วย
 รายละเอยี ดโครงการ ตามแบบเสนอโครงการ
 มตทิ ่ีประชมุ ขององคก์ ร ซง่ึ ใหค้ วามเหน็ ชอบโครงการทีเ่ สนอขอรับการสนบั สนนุ  (ถ้าม)ี

2. เอกสารประกอบการพจิ ารณาโครงการอยา่ งละ 3 ชดุ
 แผนทอ่ี งค์กรของท่าน
 แผนที่ของพนื้ ท่ดี ำ�เนนิ งาน
 อืน่ ๆ (ท่เี ปน็ ประโยชน์ต่อการพจิ ารณาโครงการ)..........................................................

3. กรณเี ป็นองค์กรเอกชนให้แนบเอกสารเพ่ิมเติมประกอบ อยา่ งละ 3 ชดุ  ดงั นี้
 สำ�เนาตราสารหรอื ระเบยี บขอ้ บงั คบั
 ผลงานในรอบปที ่ผี า่ นมา
 งบดลุ หรืองบแสดงรายรับ – รายจ่ายสำ�หรับรอบปที ผี่ า่ นมา
 ส�ำ เนาใบส�ำ คญั แสดงการจดทะเบยี นเปน็ องคก์ รเอกชนดา้ นปอ้ งกนั และปราบปรามการคา้ มนษุ ย์

ข้าพเจ้าขอรับรองว่า รายการและวงเงินที่ขอรับการสนับสนุนจากกองทุนเพ่ือการป้องกันและปราบปราม 
การค้ามนุษย์น้ี ไม่ซํ้าซ้อนกับเงินท่ีได้รับการสนับสนุนจากแหล่งทุนอ่ืนๆ และยินยอมปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ 
และเงือ่ นไขที่กองทุนกำ�หนด

ลงชอื่ .....................ก..............................
(นาย ก)

ผูเ้ สนอโครงการ
(วัน/เดือน/ป)ี .............................
หมายเหตุ *กรณีเป็นองค์กรเอกชน ต้องเป็นผู้มีอำ�นาจลงนามผูกพันองค์กร และกรณีเป็นหน่วยงานภาครัฐ 
ตอ้ งเป็นผบู้ รหิ ารของหน่วยงานหรือผู้ทไี่ ด้รบั มอบหมาย

144 คู่มือการขอรับการสนับสนนุ เงนิ ในรูปแบบโครงการจากกองทุนเพอื่ การปอ้ งกันและปราบปรามการค้ามนุษย์

7. กฎหมาย ระเบยี บ และประกาศทเ่ี ก่ยี วข้อง

คมู่ อื การขอรบั การสนับสนนุ เงินในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพ่อื การปอ้ งกนั และปราบปรามการคา้ มนษุ ย์ 145

146 คู่มอื การขอรบั การสนับสนนุ เงนิ ในรูปแบบโครงการจากกองทนุ เพื่อการป้องกนั และปราบปรามการคา้ มนษุ ย์

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๙ ก หนา ๒๘ ๖ กุมภาพนั ธ ๒๕๕๑
ราชกจิ จานเุ บกษา

พระราชบญั ญตั ิ

ปอ งกนั และปราบปรามการคา มนุษย
พ.ศ. ๒๕๕๑

ภูมพิ ลอดลุ ยเดช ป.ร.

ใหไว ณ วนั ที่ ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑
เปนปท ่ี ๖๓ ในรชั กาลปจจุบนั

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ
ใหประกาศวา

โดยท่ีเปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยมาตรการในการปองกันและปราบปราม
การคา หญิงและเดก็

พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๑
และมาตรา ๔๕ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจ
ตามบทบัญญตั แิ หงกฎหมาย

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและยินยอมของ
สภานติ บิ ัญญัตแิ หงชาติ ดงั ตอไปนี้

มาตรา ๑ พระราชบญั ญัตนิ ี้เรียกวา “พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย
พ.ศ. ๒๕๕๑”

คมู่ อื การขอรบั การสนบั สนุนเงินในรูปแบบโครงการจากกองทนุ เพอ่ื การปอ้ งกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ 147

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก หนา ๒๙ ๖ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๑
ราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีใหใชบังคับเม่ือพนหน่ึงรอยย่ีสิบวันนับแตวันประกาศใน
ราชกิจจานเุ บกษาเปนตนไป

มาตรา ๓ ใหยกเลิกพระราชบัญญัติมาตรการในการปองกันและปราบปรามการคาหญิง
และเดก็ พ.ศ. ๒๕๔๐

มาตรา ๔ ในพระราชบญั ญัติน้ี
“แสวงหาประโยชนโดยมิชอบ” หมายความวา การแสวงหาประโยชนจากการคาประเวณี
การผลิตหรือเผยแพรวัตถุหรือสื่อลามก การแสวงหาประโยชนทางเพศในรูปแบบอื่น การเอาคน
ลงเปนทาส การนําคนมาขอทาน การบังคับใชแรงงานหรือบริการ การบังคับตัดอวัยวะเพื่อการคา
หรือการอื่นใดทคี่ ลายคลึงกนั อนั เปน การขูดรีดบุคคล ไมวา บคุ คลนน้ั จะยนิ ยอมหรือไมก็ตาม
“การบังคับใชแรงงานหรือบริการ” หมายความวา การขมขืนใจใหทํางานหรือใหบริการ
โดยทําใหกลัววาจะเกิดอันตรายตอชีวิต รางกาย เสรีภาพ ช่ือเสียง หรือทรัพยสินของบุคคลนั้นเอง
หรือของผอู ืน่ โดยขูเขญ็ ดว ยประการใด ๆ โดยใชก ําลังประทษุ รา ย หรือโดยทําใหบ คุ คลนน้ั อยูในภาวะ
ทไ่ี มส ามารถขดั ขนื ได
“องคกรอาชญากรรม” หมายความวา คณะบุคคลซ่ึงมีการจัดโครงสรางโดยสมคบกันตั้งแต
สามคนข้ึนไปไมวาจะเปนการถาวรหรือช่ัวระยะเวลาหน่ึง และไมวาจะเปนโครงสรางท่ีชัดเจน
มี ก า ร กํ า ห น ด บ ท บ า ท ข อ ง ส ม า ชิ ก อ ย า ง แ น น อ น ห รื อ มี ค ว า ม ต อ เ นื่ อ ง ข อ ง ส ม า ชิ ก ภ า พ ห รื อ ไ ม
ท้ังน้ี โดยมีวตั ถุประสงคท จ่ี ะกระทําความผิดฐานใดฐานหนึ่งหรือหลายฐานท่ีมีอตั ราโทษจําคุกข้ันสูงตั้งแต
สี่ปข้ึนไปหรือกระทําความผิดตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติน้ี เพื่อแสวงหาผลประโยชน
ทางทรัพยส นิ หรือผลประโยชนอ นื่ ใดอันมชิ อบดว ยกฎหมายไมวา โดยทางตรงหรือทางออม
“เด็ก” หมายความวา บุคคลผูมีอายตุ ่ํากวา สิบแปดป
“กองทนุ ” หมายความวา กองทุนเพ่อื การปอ งกนั และปราบปรามการคามนุษย
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการคามนุษย
“กรรมการ” หมายความวา กรรมการปองกนั และปราบปรามการคามนษุ ย
“พนักงานเจาหนาท่ี” หมายความวา พนักงานฝายปกครองหรือตํารวจชั้นผูใหญ และ
ใหหมายความรวมถึงขาราชการซ่ึงดํารงตําแหนงไมต่ํากวาขาราชการพลเรือนสามัญระดับสาม

148 คู่มือการขอรับการสนบั สนุนเงนิ ในรปู แบบโครงการจากกองทนุ เพ่ือการปอ้ งกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๙ ก หนา ๓๐ ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑
ราชกิจจานเุ บกษา

ซึ่ ง รั ฐ ม น ต รี แ ต ง ตั้ ง จ า ก ผู ที่ มี คุ ณ ส ม บั ติ ต า ม ที่ กํ า ห น ด ใ น ก ฎ ก ร ะ ท ร ว ง เ พื่ อ ใ ห ป ฏิ บั ติ ก า ร ต า ม
พระราชบัญญัตนิ ี้

“รฐั มนตรี” หมายความวา รฐั มนตรผี รู กั ษาการตามพระราชบัญญตั นิ ี้
มาตรา ๕ ใหประธานศาลฎีกา และรัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความม่ันคงของมนุษย รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ในสวนที่เกี่ยวของกับอํานาจหนาท่ี
ของตน
ใหประธานศาลฎีกามีอํานาจออกขอบังคับ และรัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความม่ันคงของมนุษยมีอํานาจแตงตั้งพนักงานเจาหนาที่กับออกกฎกระทรวงและระเบียบ
เพอ่ื ปฏบิ ัติการตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี
ขอ บงั คับประธานศาลฎกี า กฎกระทรวงและระเบียบนัน้ เม่ือไดป ระกาศในราชกิจจานเุ บกษาแลว
ใหใชบ ังคบั ได

หมวด ๑
บททัว่ ไป

มาตรา ๖ ผใู ดเพอ่ื แสวงหาประโยชนโ ดยมชิ อบ กระทําการอยา งหน่งึ อยางใด ดังตอ ไปนี้
(๑) เปนธุระจัดหา ซ้ือ ขาย จําหนาย พามาจากหรือสงไปยังที่ใด หนวงเหนี่ยวกักขัง
จัดใหอยูอาศัย หรือรับไวซ่ึงบุคคลใด โดยขมขู ใชกําลังบังคับ ลักพาตัว ฉอฉล หลอกลวง
ใชอํานาจโดยมิชอบ หรือโดยใหเงินหรือผลประโยชนอยางอื่นแกผูปกครองหรือผูดูแลบุคคลนั้น
เพ่ือใหผูปกครองหรือผูดูแลใหความยินยอมแกผูกระทําความผิดในการแสวงหาประโยชนจากบุคคล
ทีต่ นดแู ล หรือ
(๒) เปนธุระจัดหา ซ้ือ ขาย จําหนาย พามาจากหรือสงไปยังที่ใด หนวงเหน่ียวกักขัง
จดั ใหอยูอ าศยั หรอื รับไวซงึ่ เดก็
ผูนน้ั กระทาํ ความผิดฐานคา มนษุ ย
มาตรา ๗ ผูใดกระทําการดังตอไปนี้ตองระวางโทษเชนเดียวกับผูกระทําความผิดฐาน
คามนษุ ย

คูม่ ือการขอรับการสนบั สนุนเงนิ ในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพือ่ การปอ้ งกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์ 149

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก หนา ๓๑ ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑
ราชกจิ จานเุ บกษา

(๑) สนับสนนุ การกระทําความผิดฐานคามนุษย
(๒) อุปการะโดยใหทรัพยสิน จัดหาที่ประชุมหรือที่พํานักใหแกผูกระทําความผิดฐาน
คา มนุษย
(๓) ชว ยเหลือดว ยประการใดเพอื่ ใหผกู ระทาํ ความผดิ ฐานคา มนษุ ยพ นจากการถกู จับกมุ
(๔) เรียก รับ หรือยอมจะรับทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืนใดจากผูกระทําความผิดฐาน
คามนุษยเ พอ่ื มใิ หผูก ระทําความผดิ ฐานคา มนษุ ยถ ูกลงโทษ
(๕) ชักชวน ชี้แนะ หรือติดตอบุคคลใหเขาเปนสมาชิกขององคกรอาชญากรรม
เพือ่ ประโยชนใ นการกระทาํ ความผดิ ฐานคามนุษย
มาตรา ๘ ผูใดตระเตรียมเพื่อกระทําความผิดตามมาตรา ๖ ตองระวางโทษหนึ่งในสาม
ของโทษทก่ี ําหนดไวสาํ หรบั ความผิดนนั้
มาตรา ๙ ผใู ดสมคบโดยการตกลงกันต้ังแตสองคนข้ึนไปเพื่อกระทําความผิดตามมาตรา ๖
ตอ งระวางโทษไมเกนิ ก่ึงหนึง่ ของโทษทก่ี ฎหมายกาํ หนดไวสําหรับความผดิ นนั้
ถาผูท่ีสมคบกันกระทําความผิดคนหนึ่งคนใดไดลงมือกระทําความผิดตามที่ไดสมคบกัน
ผรู วมสมคบดว ยกันทกุ คนตองระวางโทษตามทไี่ ดบญั ญตั ิไวสาํ หรบั ความผดิ น้นั อกี กระทงหน่ึงดวย
ในกรณีท่ีความผิดไดกระทําถึงข้ันลงมือกระทําความผิด แตเนื่องจากการเขาขัดขวางของ
ผสู มคบทําใหก ารกระทาํ นั้นกระทําไปไมต ลอด หรอื กระทําไปตลอดแลวแตการกระทํานั้นไมบรรลุผล
ผสู มคบทกี่ ระทําการขดั ขวางนนั้ ตอ งรบั โทษตามทีก่ ําหนดไวในวรรคหน่ึง
ถาผูกระทําความผิดตามวรรคหนึ่งกลับใจใหความจริงแหงการสมคบตอพนักงานเจาหนาที่
กอนที่จะมีการกระทําความผิดตามที่ไดมีการสมคบกัน ศาลจะไมลงโทษหรือลงโทษผูน้ันนอยกวา
ทีก่ ฎหมายกาํ หนดไวสาํ หรับความผิดน้ันเพยี งใดก็ได
มาตรา ๑๐ ถา การกระทาํ ความผิดตามมาตรา ๖ ไดกระทําโดยรวมกันตั้งแตสามคนข้ึนไป
หรือโดยสมาชกิ ขององคก รอาชญากรรม ตอ งระวางโทษหนกั กวา โทษท่กี ฎหมายบญั ญตั ไิ วก ึง่ หนงึ่
ในกรณีที่สมาชิกขององคกรอาชญากรรมไดกระทําความผิดตามมาตรา ๖ สมาชิกของ
องคกรอาชญากรรมทุกคนท่ีเปนสมาชิกอยูในขณะที่กระทําความผิด และรูเห็นหรือยินยอมกับการ
กระทําความผิดดังกลาว ตองระวางโทษตามที่บัญญัติไวสําหรับความผิดน้ันแมจะมิไดเปนผูกระทํา
ความผดิ น้ันเอง

150 คมู่ อื การขอรับการสนบั สนนุ เงินในรปู แบบโครงการจากกองทนุ เพ่อื การปอ้ งกันและปราบปรามการคา้ มนษุ ย์

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก หนา ๓๒ ๖ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๑
ราชกจิ จานุเบกษา

ถาการกระทําความผิดตามวรรคหนึ่งไดกระทําเพื่อใหผูเสียหายท่ีถูกพาเขามาหรือสงออกไป
นอกราชอาณาจักรตกอยูในอํานาจของผูอื่นโดยมิชอบดวยกฎหมาย ตองระวางโทษเปนสองเทาของ
โทษท่กี ําหนดไวสําหรับความผิดนั้น

มาตรา ๑๑ ผูใดกระทําความผิดตามมาตรา ๖ นอกราชอาณาจักร ผูน้ันจะตองรับโทษ
ในราชอาณาจักรตามทีก่ ําหนดไวใ นพระราชบัญญัตินี้ โดยใหนํามาตรา ๑๐ แหงประมวลกฎหมายอาญา
มาใชบ ังคบั โดยอนุโลม

มาตรา ๑๒ ผูใดกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติน้ี โดยแสดงตนเปนเจาพนักงานและ
กระทาํ การเปน เจาพนกั งาน โดยตนเองมิไดเปนเจา พนักงานทมี่ อี าํ นาจหนา ทกี่ ระทาํ การน้ัน ตอ งระวางโทษ
เปน สองเทาของโทษท่กี ําหนดไวส ําหรบั ความผดิ นั้น

มาตรา ๑๓ ผูใดเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาทองถ่ิน
ผบู ริหารทอ งถน่ิ ขาราชการ พนักงานองคกรปกครองสวนทองถิ่น พนักงานองคการหรือหนวยงานของรัฐ
กรรมการหรือผูบริหารหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ เจาพนักงาน หรือกรรมการองคกรตาง ๆ
ตามรัฐธรรมนญู กระทาํ ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ตองระวางโทษเปนสองเทาของโทษท่ีกําหนดไว
สาํ หรบั ความผดิ น้ัน

กรรมการ กรรมการ ปกค. อนุกรรมการ สมาชิกของคณะทํางาน และพนักงานเจาหนาท่ี
ตามพระราชบญั ญตั ินี้ ผูใ ดกระทําความผิดใดตามพระราชบญั ญัติน้ีเสียเอง ตองระวางโทษเปนสามเทา
ของโทษท่กี าํ หนดไวสําหรบั ความผิดนั้น

มาตรา ๑๔ ใหความผิดตามพระราชบัญญัตินี้เปนความผิดมูลฐานตามพระราชบัญญัติ
ปองกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ พ.ศ. ๒๕๔๒

หมวด ๒
คณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการคามนุษย

มาตรา ๑๕ ใหมีคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการคามนุษย เรียกโดยยอวา
“คณะกรรมการ ปคม.” ประกอบดวย นายกรัฐมนตรีเปนประธานกรรมการ รองนายกรัฐมนตรี
ซึ่งเปนประธานคณะกรรมการ ปกค. เปนรองประธานกรรมการ รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม

คู่มือการขอรับการสนบั สนุนเงินในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพ่อื การปอ้ งกนั และปราบปรามการค้ามนษุ ย์ 151

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก หนา ๓๓ ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑
ราชกจิ จานุเบกษา

รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา
รัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
รัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงาน และผูทรงคุณวุฒิจํานวนส่ีคน
ซึ่งนายกรัฐมนตรีแตงตั้งจากผูเชี่ยวชาญและมีประสบการณโดดเดนเปนที่ประจักษดานการปองกัน
การปราบปราม การบาํ บดั ฟน ฟู และการประสานงานระหวา งประเทศเกย่ี วกับการคามนุษยไมนอยกวา
เจ็ดปดานละหน่ึงคนโดยตองเปนภาคเอกชนไมนอยกวากึ่งหนึ่งเปนกรรมการ และมีปลัดกระทรวง
การพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษยเปนเลขานุการ อธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการและ
ผูอ ํานวยการสาํ นกั งานสง เสริมสวัสดิภาพและพทิ ักษเ ด็ก เยาวชน ผดู อ ยโอกาส คนพิการ และผูสูงอายุ
เปน ผูชว ยเลขานกุ าร

กรรมการผูทรงคุณวุฒิตามวรรคหนึ่งตอ งเปน สตรีไมนอ ยกวาก่งึ หนึง่
มาตรา ๑๖ ใหคณะกรรมการมีอํานาจหนา ทด่ี งั ตอ ไปนี้
(๑) เสนอความเห็นตอคณะรัฐมนตรีในการกําหนดนโยบายเก่ียวกับการปองกันและ
ปราบปรามการคามนษุ ย
(๒) เสนอความเห็นตอคณะรัฐมนตรีเพ่ือใหมีการปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือ
โครงสรางของสวนราชการท่ีเก่ียวของกับการปองกันและปราบปรามการคามนุษย เพ่ือใหการปฏิบัติ
ตามพระราชบญั ญตั ินมี้ ีประสทิ ธภิ าพยง่ิ ขนึ้
(๓) กําหนดยุทธศาสตรแ ละมาตรการในการปองกนั และปราบปรามการคา มนุษย
(๔) กําหนดแนวทางและกํากับดูแลการดําเนินการตามพันธกรณีระหวางประเทศตลอดจน
การใหความรวมมือและประสานงานกบั ตา งประเทศเกยี่ วกบั การปองกันและปราบปรามการคา มนุษย
(๕) ส่ังการและกาํ กับดูแลใหมีการศึกษาวิจัยและจัดทําขอมูลแบบบูรณาการ เพ่ือประโยชน
ในการปองกนั และปราบปรามการคามนษุ ย
(๖) วางระเบียบเกี่ยวกับการจดทะเบียนองคกรเอกชนท่ีมีวัตถุประสงคดานการปองกันและ
ปราบปรามการคามนษุ ย ตลอดจนหลักเกณฑใ นการชว ยเหลอื การดําเนินกิจกรรมขององคก รดังกลาว
(๗) วางระเบียบโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลังเก่ียวกับการรับเงิน การจายเงิน
การเก็บรักษาเงนิ การจัดหาผลประโยชน และการจดั การกองทนุ

152 คมู่ ือการขอรับการสนบั สนุนเงนิ ในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพอ่ื การป้องกันและปราบปรามการคา้ มนุษย์

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก หนา ๓๔ ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑
ราชกิจจานเุ บกษา

(๘) วางระเบียบเก่ียวกับการรายงานสถานะการเงินและการจัดการกองทุนเพ่ือปฏิบัติตาม
พระราชบัญญัตนิ ี้

(๙) ส่ังการและกํากับดแู ลการดาํ เนนิ งานของคณะกรรมการ ปกค.
(๑๐) ดําเนนิ การตามทค่ี ณะรัฐมนตรีมอบหมาย
มาตรา ๑๗ กรรมการผทู รงคุณวุฒมิ วี าระการดํารงตําแหนง คราวละสป่ี 
กรรมการผูทรงคุณวุฒิซ่ึงพนจากตําแหนงตามวาระอาจไดรับแตงต้ังอีกไดแตตองไมเกิน
สองวาระตดิ ตอ กนั
มาตรา ๑๘ นอกจากการพนจากตาํ แหนง ตามวาระ กรรมการผทู รงคุณวุฒิพน จากตําแหนง เมอ่ื
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) นายกรัฐมนตรีใหออก เพราะบกพรองหรือไมสุจริตตอหนาท่ีหรือมีความประพฤติ
เสื่อมเสยี
(๔) เปนบคุ คลลมละลาย
(๕) เปนคนไรค วามสามารถหรือคนเสมอื นไรความสามารถ
(๖) ไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุด เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดท่ีไดกระทํา
โดยประมาทหรอื ความผดิ ลหุโทษ
(๗) ขาดการประชมุ สามคร้งั ติดตอ กนั โดยไมม เี หตุอนั สมควร
มาตรา ๑๙ ในกรณีท่ีกรรมการผูทรงคุณวุฒิพนจากตําแหนงกอนวาระ ใหนายกรัฐมนตรี
แตง ตงั้ บคุ คลซึ่งมคี ุณสมบัตเิ ชน เดยี วกนั เปน กรรมการแทน เวนแตว าระการดาํ รงตําแหนงของกรรมการ
ผูทรงคุณวุฒิเหลือไมถึงเกาสิบวันจะไมแตงตั้งก็ได และใหผูที่ไดรับแตงต้ังใหดํารงตําแหนงแทน
อยใู นตาํ แหนงเทากบั วาระที่เหลืออยูของกรรมการซง่ึ ตนแทน
มาตรา ๒๐ ในกรณีท่ีกรรมการผูทรงคณุ วุฒดิ าํ รงตําแหนง ครบวาระแลวแตยังมิไดมีการแตงตั้ง
กรรมการผูทรงคุณวุฒิขึ้นใหม ใหกรรมการผูทรงคุณวุฒิที่พนจากตําแหนงตามวาระปฏิบัติหนาท่ี
ไปพลางกอ นจนกวาจะมกี ารแตง ต้งั กรรมการผูทรงคุณวฒุ ขิ ้ึนใหม
มาตรา ๒๑ การประชมุ ของคณะกรรมการตอ งมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวาก่ึงหน่ึงของ
จาํ นวนกรรมการทง้ั หมด จงึ จะเปนองคประชมุ

คูม่ ือการขอรบั การสนับสนุนเงินในรูปแบบโครงการจากกองทนุ เพอ่ื การป้องกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์ 153

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก หนา ๓๕ ๖ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๑
ราชกิจจานเุ บกษา

ในกรณที ีป่ ระธานกรรมการไมมาประชุมหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ใหรองประธานกรรมการ
เปนประธานในที่ประชุม หากรองประธานกรรมการไมมาประชุมหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได
ใหก รรมการซ่งึ มาประชุมเลอื กกรรมการคนหนึ่งเปนประธานในทปี่ ระชุม

การลงมติของทปี่ ระชุมใหถอื เสยี งขางมาก กรรมการคนหนึ่งใหมีหน่ึงเสียงในการลงคะแนน
ถา คะแนนเสยี งเทา กนั ใหประธานในที่ประชุมออกเสยี งเพมิ่ ข้นึ อีกเสยี งหนง่ึ เปนเสียงชี้ขาด

คณะกรรมการตอ งมีการประชมุ อยา งนอ ยปล ะสามครัง้
มาตรา ๒๒ ใหมีคณะกรรมการประสานและกํากับการดําเนินงานปองกันและปราบปราม
การคา มนุษย เรียกโดยยอ วา “คณะกรรมการ ปกค.” ประกอบดว ย รองนายกรฐั มนตรที นี่ ายกรฐั มนตรี
มอบหมายเปนประธานกรรมการ รฐั มนตรีวา การกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย
เปนรองประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงการตางประเทศ ปลัดกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา
ปลัดกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย ปลดั กระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงยุตธิ รรม
ปลัดกระทรวงแรงงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข อัยการสูงสุด
ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ อธิบดีกรมการปกครอง อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ เลขาธิการ
คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน เลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
เลขาธิการสภาความม่ันคงแหงชาติ ปลัดกรุงเทพมหานคร และผูทรงคุณวุฒิจํานวนแปดคน
ซง่ึ รัฐมนตรแี ตงตง้ั จากผูเ ช่ยี วชาญและมีประสบการณด านการปอ งกัน การปราบปราม การบําบัดฟนฟู
และการประสานงานระหวางประเทศเกยี่ วกับการคามนษุ ยไ มนอยกวา เจด็ ปด า นละสองคน โดยตองเปน
ภาคเอกชนไมน อ ยกวา ก่งึ หนึ่ง เปนกรรมการ และมรี องปลดั กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคง
ของมนุษย เปนกรรมการและเลขานกุ าร
ใหคณะกรรมการ ปกค. มีอาํ นาจแตงตั้งผูชวยเลขานุการ โดยอาจแตงตั้งจากขาราชการหรือ
ภาคเอกชนกไ็ ด
กรรมการผทู รงคุณวฒุ ิตามวรรคหนง่ึ ตองเปนสตรีไมนอยกวา กง่ึ หนึ่ง
มาตรา ๒๓ ใหค ณะกรรมการ ปกค. มอี าํ นาจหนาทีด่ ังตอ ไปนี้
(๑) จดั ทําและกาํ กับการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการและแผนประสานงานของหนวยงาน
ที่เกยี่ วขอ ง ทงั้ ในระดับสว นกลาง สวนภูมิภาค สวนทองถ่ิน ชุมชน และประชาสังคมใหสอดคลองกับ
นโยบาย ยทุ ธศาสตร และมาตรการในการปองกันและปราบปรามการคา มนุษย

154 คู่มอื การขอรบั การสนับสนุนเงินในรูปแบบโครงการจากกองทนุ เพือ่ การป้องกนั และปราบปรามการคา้ มนุษย์

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก หนา ๓๖ ๖ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๑
ราชกิจจานเุ บกษา

(๒) จัดทําและกํากับการดําเนินการตามแผนงานและแนวทางในการพัฒนาศักยภาพของ
บุคลากรทีเ่ กีย่ วขอ งกบั การดําเนนิ งานปองกันและปราบปรามการคามนษุ ย

(๓) จัดใหม ีและกํากบั การดาํ เนินการตามโครงการรณรงคแ ละการใหการศึกษากับประชาชนทั่วไป
เพื่อประโยชนในการปอ งกันและปราบปรามการคามนุษย

(๔) จดั ใหมีการรายงานผลการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบาย ยุทธศาสตร
มาตรการ และการปฏิบัตติ ามพระราชบญั ญัตินีเ้ สนอตอ คณะกรรมการ

(๕) ติดตามและจัดทํารายงานเกี่ยวกับการดําเนินการตามพันธกรณีระหวางประเทศ
การใหค วามรวมมือและประสานงานกับตางประเทศเกี่ยวกับการปองกันและปราบปรามการคามนุษย
เสนอตอ คณะกรรมการ

(๖) กําหนดหลกั เกณฑและอนมุ ัติการใชเงนิ และทรัพยส นิ ของกองทนุ ตามมาตรา ๔๔ (๔)
(๗) จัดทําและกํากับแผนปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน้ี เพื่อใหการบังคับใชกฎหมาย
เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และสอดคลองกับกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน
กฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติและกฎหมายอ่ืนที่เก่ียวของ และ
พันธกรณีระหวางประเทศ
(๘) ดาํ เนินการตามทค่ี ณะกรรมการมอบหมาย
มาตรา ๒๔ ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๗ มาตรา ๑๘ มาตรา ๑๙ มาตรา ๒๐ และมาตรา ๒๑
มาใชบงั คับกับการดํารงตําแหนง การพนจากตําแหนงของกรรมการผูทรงคุณวุฒิ และการประชุมของ
คณะกรรมการ ปกค. โดยอนโุ ลม
คณะกรรมการ ปกค. ตองมีการประชมุ อยางนอ ยปละหกคร้ัง
มาตรา ๒๕ คณะกรรมการและคณะกรรมการ ปกค. จะแตงต้ังคณะอนุกรรมการหรือ
คณะทาํ งานเพ่ือพจิ ารณาและเสนอความเหน็ ในเรื่องหนึ่งเรื่องใดหรือปฏิบัติการอยางหน่ึงอยางใดตามท่ี
คณะกรรมการและคณะกรรมการ ปกค. มอบหมายกไ็ ด
ใหนาํ มาตรา ๒๑ วรรคหน่ึง วรรคสองและวรรคสาม มาใชบังคับกับการประชุมของคณะอนุกรรมการ
หรอื คณะทํางานโดยอนโุ ลม

คู่มือการขอรบั การสนบั สนุนเงนิ ในรูปแบบโครงการจากกองทุนเพอ่ื การปอ้ งกันและปราบปรามการคา้ มนุษย์ 155

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก หนา ๓๗ ๖ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๑
ราชกิจจานเุ บกษา

มาตรา ๒๖ ใหสํานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย
ทาํ หนา ทเี่ ปน สํานักงานเลขานุการของคณะกรรมการและคณะกรรมการ ปกค. โดยใหมีอํานาจหนาท่ี
ดังตอไปนี้

(๑) ปฏิบตั ิงานธุรการทว่ั ไปของคณะกรรมการและคณะกรรมการ ปกค.
(๒) เปนศูนยกลางในการประสานงานและรวมมือกับสวนราชการ หนวยงานของรัฐ และ
เอกชนทเ่ี ก่ยี วของทง้ั ภายในและตา งประเทศ ในการดําเนนิ งานตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี
(๓) จัดระบบงานดา นการปองกันและปราบปรามการคามนุษย รวมทั้งชวยเหลือเยียวยาและ
คุมครองสวสั ดภิ าพผเู สียหายใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ
(๔) จดั ใหม กี ารรวบรวม ศึกษา วิเคราะหข อ มูลเพื่อประโยชนใ นการปองกันและปราบปราม
การคามนุษย รวมทงั้ จัดใหม ีการศกึ ษาวิจยั เพื่อประโยชนใ นการปฏิบัตติ ามพระราชบญั ญตั ินี้
(๕) จัดใหมีขอมูลสารสนเทศและการเช่ือมโยงระบบฐานขอมูลดานการปองกันและ
ปราบปรามการคา มนุษย
(๖) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการและคณะกรรมการ ปกค. หรือตามท่ีคณะกรรมการ
และคณะกรรมการ ปกค. มอบหมาย
ใหสํานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยจัดงบประมาณและ
บุคลากรใหเ พยี งพอและเหมาะสมกับการปฏบิ ัติหนา ที่ตามวรรคหน่งึ

หมวด ๓
อาํ นาจหนา ท่ีของพนักงานเจาหนาท่ี

มาตรา ๒๗ เพื่อประโยชนในการปองกันและปราบปรามการกระทําความผิดฐานคามนุษย
ใหพนกั งานเจา หนาทม่ี ีอํานาจหนาท่ีดังตอไปนี้

(๑) มีหนังสือเรยี กใหบคุ คลใดมาใหถอยคาํ หรอื สง เอกสารหรือพยานหลักฐาน
(๒) ตรวจตวั บุคคลท่ีมเี หตุอันควรเชื่อไดวาเปนผูเสยี หายจากการกระทาํ ความผิดฐานคามนุษย
เม่อื ผูน น้ั ยนิ ยอม แตถา ผูนั้นเปนหญงิ จะตอ งใหหญิงอ่นื เปน ผูตรวจ

156 คู่มอื การขอรบั การสนับสนนุ เงินในรปู แบบโครงการจากกองทนุ เพอ่ื การป้องกันและปราบปรามการคา้ มนษุ ย์

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก หนา ๓๘ ๖ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๑
ราชกิจจานเุ บกษา

(๓) ตรวจคนยานพาหนะใด ๆ ที่มีเหตุอันควรสงสัยตามสมควรวามีพยานหลักฐานหรือ
บุคคลท่ีตกเปนผูเสียหายจากการกระทาํ ความผิดฐานคา มนุษยอยใู นยานพาหนะน้ัน

(๔) เขาไปในเคหสถานหรือสถานที่ใด ๆ เพื่อตรวจคน ยึด หรืออายัด เมื่อมีเหตุอันควร
เชื่อไดวามีพยานหลักฐานในการคามนุษย หรือเพ่ือพบและชวยบุคคลท่ีตกเปนผูเสียหายจากการ
กระทําความผิดฐานคามนุษย และหากเน่ินชากวาจะเอาหมายคนมาได พยานหลักฐานน้ันอาจถูก
โยกยา ย ซอ นเรน หรือทาํ ลายไปเสียกอน หรอื บคุ คลนั้นอาจถูกประทษุ ราย โยกยาย หรือซอ นเรน

ในการใชอํานาจตาม (๔) พนักงานเจาหนาท่ีตองแสดงความบริสุทธิ์กอนการเขาคนและ
รายงานเหตุผลที่ทาํ ใหสามารถเขาคนได รวมทงั้ ผลการตรวจคนเปนหนังสือตอผูบังคับบัญชาเหนือข้ึนไป
ตลอดจนจัดทําสําเนารายงานดังกลาวใหไวแกผูครอบครองเคหสถานหรือสถานท่ีคน ถาไมมี
ผคู รอบครองอยู ณ ทีน่ ้ัน ใหพนักงานเจาหนาท่ีสงมอบสําเนารายงานนั้นใหแกผูครอบครองดังกลาว
ในทันทีท่กี ระทําได และหากเปน การเขา คนในเวลาระหวางพระอาทิตยตกและข้ึน พนักงานเจาหนาที่
ผูเปนหัวหนาในการเขาคนตองดํารงตําแหนงนายอําเภอหรือรองผูกํากับการตํารวจขึ้นไป หรือ
เปนขาราชการพลเรือนตั้งแตระดับเจ็ดข้ึนไป ท้ังนี้ ใหพนักงานเจาหนาที่ผูเปนหัวหนาในการเขาคน
สงสําเนารายงานเหตผุ ลและผลการตรวจคน บัญชีพยานหลักฐานหรือบุคคลท่ีตกเปนผูเสียหายจากการ
กระทําความผิดฐานคามนุษยและบัญชีทรัพยท่ีไดยึดหรืออายัดไวตอศาลจังหวัดที่มีเขตอํานาจเหนือ
ทอ งท่ีทีท่ าํ การคน หรอื ศาลอาญา ภายในส่ีสิบแปดชั่วโมงหลังจากสน้ิ สดุ การตรวจคน เพื่อเปนหลักฐาน

ในการดาํ เนนิ การตาม (๒) และ (๓) พนกั งานเจาหนาที่อาจสั่งใหผ ูใ ตบ งั คบั บัญชาทาํ แทนได
ในการปฏบิ ัตหิ นา ทต่ี ามพระราชบัญญัตนิ ี้ พนกั งานเจา หนาท่ีจะขอความชวยเหลือจากบุคคลใกลเคียง
เพอ่ื ดําเนินการตามพระราชบัญญตั ินี้ก็ได แตจ ะบงั คบั ใหผ ใู ดชว ยโดยอาจเกิดอนั ตรายแกผ ูนนั้ ไมได
มาตรา ๒๘ ในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัติน้ี พนักงานเจาหน าที่ตองแสดง
บตั รประจําตัวพนกั งานเจาหนาที่ตอ บุคคลทีเ่ กยี่ วขอ ง
บัตรประจําตัวพนักงานเจาหนาท่ีใหเปนไปตามแบบท่ีรัฐมนตรีกําหนดโดยประกาศใน
ราชกจิ จานุเบกษา
มาตรา ๒๙ ในกรณที ่ีมเี หตุจาํ เปน เพ่อื ประโยชนในการแสวงหาขอเท็จจริงเกี่ยวกับการคามนุษย
และเพอื่ คุม ครองปอ งกนั ภยั แกบุคคลที่มีเหตุอันควรเชื่อไดวาเปนผูเสียหายจากการกระทําความผิดฐาน
คามนุษย พนักงานเจาหนาท่ีอาจจัดใหบุคคลดังกลาวอยูในความคุมครองเปนการชั่วคราวไดแตตอง

คู่มือการขอรบั การสนบั สนนุ เงนิ ในรปู แบบโครงการจากกองทนุ เพื่อการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ 157

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก หนา ๓๙ ๖ กุมภาพนั ธ ๒๕๕๑
ราชกจิ จานุเบกษา

ไมเกินยี่สิบส่ีช่ัวโมง ทั้งนี้ ใหรายงานใหผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ
อธบิ ดกี รมพฒั นาสงั คมและสวัสดกิ ารหรอื ผวู าราชการจงั หวัด แลวแตกรณี ทราบโดยไมช ักชา

ในกรณีที่มีความจําเปนตอ งใหการคมุ ครองบุคคลซ่ึงอาจจะเปนผูเสียหายเกินกวากําหนดเวลา
ในวรรคหนึ่ง ใหพนักงานเจาหนาที่ยื่นคํารองตอศาลเพื่อมีคําสั่งอนุญาต ทั้งน้ี ศาลจะอนุญาตได
ไมเ กนิ เจด็ วนั โดยจะกําหนดเงื่อนไขใด ๆ ไวดว ยกไ็ ด

การจัดใหบุคคลซ่ึงอาจจะเปนผูเสียหายอยูในความคุมครองเปนการชั่วคราวตามมาตรานี้
ตองจัดใหบุคคลดังกลาวอยูในสถานท่ีอันสมควรซ่ึงมิใชหองขังหรือสถานคุมขัง ท้ังนี้ ตามระเบียบ
ทีร่ ฐั มนตรกี าํ หนด

การปฏบิ ตั ิหนา ที่ตามมาตรานีใ้ หค ํานงึ ถึงหลกั สิทธมิ นุษยชนโดยเครง ครัด
มาตรา ๓๐ ในกรณีท่ีมีเหตุอันควรเชื่อไดวาเอกสารหรือขอมูลขาวสารอื่นใดซึ่งสงทาง
ไปรษณีย โทรเลข โทรศัพท โทรสาร คอมพิวเตอร เคร่ืองมือหรืออุปกรณในการส่ือสาร
สอื่ อิเล็กทรอนกิ สหรือส่ือสารสนเทศอ่ืนใด ถูกใชหรืออาจถูกใชเพื่อประโยชนในการกระทําความผิด
ฐานคามนุษย พนักงานเจาหนาที่ซึ่งไดรับอนุมัติเปนหนังสือจากผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ อธิบดี
กรมสอบสวนคดีพิเศษ หรือผูวาราชการจังหวัด แลวแตกรณี จะย่ืนคําขอฝายเดียวตอศาลอาญาหรือ
ศาลจังหวัดทมี่ ีเขตอํานาจเพอ่ื มีคาํ ส่ังอนุญาตใหพนักงานเจาหนาที่ไดมาซ่ึงเอกสาร หรือขอมูลขาวสาร
ดงั กลาวก็ได ท้งั น้ี ตามหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารที่กําหนดในขอ บงั คับประธานศาลฎีกา
การอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ใหศาลพิจารณาถึงผลกระทบตอสิทธิสวนบุคคลหรือสิทธิอื่นใด
ประกอบกับเหตผุ ลและความจําเปน ดังตอไปนี้
(๑) มีเหตอุ นั ควรเช่ือวา มกี ารกระทาํ ความผดิ หรือจะมกี ารกระทําความผิดฐานคา มนุษย
(๒) มีเหตุอันควรเช่ือวาจะไดขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการกระทําความผิดฐานคามนุษยจาก
การเขาถึงขอมูลขาวสารดงั กลา ว
(๓) ไมอ าจใชว ิธีการอน่ื ใดทเ่ี หมาะสมหรอื มปี ระสทิ ธภิ าพมากกวา ได
การอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ใหศาลส่ังอนุญาตไดคราวละไมเกินเกาสิบวันโดยจะกําหนด
เง่อื นไขใด ๆ กไ็ ด และใหผูเกี่ยวของกับเอกสารหรือขอมูลขาวสารตามคําส่ังดังกลาวใหความรวมมือ
เพื่อใหเปนไปตามความในมาตรานี้ ภายหลังท่ีมีคําส่ังอนุญาต หากปรากฏขอเท็จจริงวาเหตุผล
ความจําเปนไมเปนไปตามที่ระบุหรือพฤติการณเปล่ียนแปลงไป ใหศาลมีอํานาจเปล่ียนแปลง
คําส่งั อนุญาตไดต ามที่เหน็ สมควร

158 คู่มอื การขอรับการสนบั สนุนเงนิ ในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพื่อการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๙ ก หนา ๔๐ ๖ กุมภาพนั ธ ๒๕๕๑
ราชกิจจานเุ บกษา

ในการดาํ เนินการตามคาํ สง่ั ของศาล ใหพนกั งานเจาหนาท่ีมีอํานาจรองขอใหบุคคลใดชวยเหลือ
ในการปฏิบัติหนาที่ได เมื่อพนักงานเจาหนาที่ไดดําเนินการตามที่ไดรับอนุญาตแลว ใหพนักงาน
เจาหนา ทบี่ นั ทกึ รายละเอยี ดผลการดําเนินการน้ัน และใหส ง บันทกึ น้ันไปยังศาลท่ีมีคําสัง่ โดยเรว็

บรรดาเอกสารหรือขอมูลขาวสารท่ีไดมาตามวรรคหน่ึง ใหเก็บรักษาและใชประโยชน
ใ น ก า ร สื บ ส ว น แ ล ะ ใ ช เ ป น พ ย า น ห ลั ก ฐ า น ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ค ดี ค ว า ม ผิ ด ฐ า น ค า ม นุ ษ ย เ ท า น้ั น
ทงั้ น้ี ตามระเบียบที่รฐั มนตรีกําหนด

มาตรา ๓๑ กอนฟองคดีตอศาล ในกรณีที่มีเหตุจําเปนเพ่ือประโยชนในการปองกันและ
ปราบปรามการคามนุษย พนักงานอัยการโดยตนเองหรือโดยไดรับคํารองขอจากพนักงานสอบสวน
จะนาํ ผูเสยี หายหรือพยานบุคคลมายน่ื คํารอ งตอศาล โดยระบกุ ารกระทาํ ท้ังหลายที่อางวาไดมีการกระทํา
ความผดิ และเหตแุ หงความจาํ เปน ท่จี ะตองมีการสบื พยานไวโ ดยพลนั ก็ได

ในกรณีที่ผูเสียหายหรือพยานบุคคลจะใหการตอศาลเอง เม่ือผูเสียหายหรือพยานบุคคล
แจงแกพ นักงานอัยการแลว ใหพนกั งานอัยการยน่ื คาํ รอ งตอ ศาลโดยไมชักชา

ใหศ าลสบื พยานทันทีท่ไี ดรบั คํารองตามวรรคหน่ึงหรือวรรคสอง ในการน้ี หากผูมีสวนไดเสีย
ในคดีคนใดยื่นคํารองตอศาลแถลงเหตุผลและความจําเปนขอถามคานหรือต้ังทนายความถามคาน
เมือ่ เห็นสมควรก็ใหศ าลมคี าํ ส่งั อนญุ าตได และใหนาํ ความในมาตรา ๒๓๗ ทวิ วรรคสาม และวรรคส่ี
แหงประมวลกฎหมายวธิ พี ิจารณาความอาญามาใชบ ังคับโดยอนุโลม

ถาตอมามีการฟองผูตองหาเปนจําเลยในการกระทําความผิดตามที่กําหนดไวในหมวด ๑
ก็ใหรับฟงพยานดังกลา วในการพิจารณาพพิ ากษาคดีนนั้ ได

มาตรา ๓๒ ในการปฏิบัตหิ นา ท่ตี ามพระราชบัญญตั นิ ้ี ใหพนักงานเจาหนาท่ีเปนเจาพนักงาน
ตามประมวลกฎหมายอาญา

หมวด ๔
การชวยเหลอื และคมุ ครองสวัสดภิ าพผูเสยี หายจากการคามนุษย

มาตรา ๓๓ ใหกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ยพิจารณาใหค วามชว ยเหลอื
แกบุคคลซ่ึงเปนผูเสียหายจากการกระทําความผิดฐานคามนุษยอยางเหมาะสมในเรื่องอาหาร ท่ีพัก
การรักษาพยาบาล การบําบัดฟนฟูทางรางกายและจิตใจ การใหการศึกษา การฝกอบรม การใหความชวยเหลือ

คู่มอื การขอรับการสนับสนุนเงินในรปู แบบโครงการจากกองทนุ เพื่อการป้องกนั และปราบปรามการคา้ มนุษย์ 159

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก หนา ๔๑ ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑
ราชกจิ จานุเบกษา

ทางกฎหมาย การสงกลับไปยังประเทศเดิมหรือภูมิลําเนาของผูนั้น การดําเนินคดีเพ่ือเรียกรอง
คา สนิ ไหมทดแทนใหผ ูเ สยี หายตามระเบยี บที่รัฐมนตรีกําหนด โดยใหคํานึงถึงศักด์ิศรีความเปนมนุษย
และความแตกตา งทางเพศ อายุ สญั ชาติ เช้ือชาติ ประเพณีวัฒนธรรมของผูเสียหาย การแจงสิทธิของ
ผูเสยี หายท่ีพึงไดรับการคุมครองในแตละข้ันตอนท้ังกอน ระหวาง และหลังการชวยเหลือ ตลอดจน
ขอบเขตระยะเวลาในการดําเนินการชวยเหลือในแตละขั้นตอน และตองรับฟงความคิดเห็นของ
ผเู สียหายกอ นดว ย

การใหความชวยเหลือตามวรรคหน่ึง อาจจัดใหบุคคลซ่ึงเปนผูเสียหายไดรับการดูแลใน
สถานแรกรบั ตามกฎหมายวา ดวยการปองกันและปราบปรามการคาประเวณี สถานแรกรับตามกฎหมาย
วาดวยการคมุ ครองเด็ก หรือสถานสงเคราะหอ ่ืนของรัฐหรอื เอกชนก็ได

มาตรา ๓๔ เพ่อื ประโยชนใ นการชวยเหลือผูเ สียหาย ใหพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการ
แจงใหผูเสียหายทราบในโอกาสแรกถึงสิทธิที่จะเรียกคาสินไหมทดแทนอันเน่ืองมาจากการกระทํา
ความผิดฐานคามนษุ ย และสทิ ธิท่จี ะไดรบั ความชว ยเหลอื ทางกฎหมาย

มาตรา ๓๕ ในกรณีท่ีผูเสียหายมีสิทธิและประสงคท่ีจะเรียกคาสินไหมทดแทน
อันเน่ืองมาจากการกระทําความผิดฐานคามนุษย ใหพนักงานอัยการเรียกคาสินไหมทดแทน
แทนผูเสียหายตามท่ีไดรับแจงจากปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยหรือ
ผทู ่ีไดรบั มอบหมาย

การเรียกคาสินไหมทดแทนตามวรรคหนึ่ง พนักงานอัยการจะขอรวมไปกับคดีอาญา
หรือจะยื่นคํารอ งในระยะใดระหวางทีค่ ดีอาญากําลงั พิจารณาอยใู นศาลชน้ั ตนกไ็ ด

คาํ พพิ ากษาในสวนท่ีเรยี กคา สนิ ไหมทดแทน ใหร วมเปนสวนหนง่ึ แหง คาํ พิพากษาในคดีอาญา
และในกรณีที่ศาลส่ังใหใชคาสินไหมทดแทน ใหถือวาผูเสียหายเปนเจาหนี้ตามคําพิพากษา และ
ใหอ ธิบดีกรมบังคบั คดีมหี นา ท่ดี าํ เนินการบงั คบั คดตี ามคาํ พพิ ากษาในกรณนี ด้ี วย

ในการดําเนนิ กระบวนพจิ ารณาเพ่ือเรียกคาสินไหมทดแทนตามวรรคหน่ึง และการบังคับคดี
ตามวรรคสามมิใหเรียกคาธรรมเนียม และใหนําความในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาบงั คับใชโ ดยอนโุ ลมเทา ที่ไมข ัดหรอื แยงกับบทบญั ญัตใิ นพระราชบญั ญตั นิ ้ี

มาตรา ๓๖ ใหพนักงานเจาหนาที่จัดใหมีการคุมครองความปลอดภัยใหแกผูเสียหาย
ระหวา งทีอ่ ยใู นความดแู ลไมว า บุคคลนั้นจะพํานกั อยู ณ ท่ีใด ไมว ากอ น ขณะ หรือหลังการดําเนินคดี
ทงั้ นี้ ใหค าํ นึงถึงความปลอดภยั ของบคุ คลในครอบครวั ของผูเสยี หายดว ย

160 คู่มอื การขอรับการสนบั สนุนเงินในรปู แบบโครงการจากกองทนุ เพ่ือการปอ้ งกนั และปราบปรามการค้ามนษุ ย์

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก หนา ๔๒ ๖ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๑
ราชกิจจานเุ บกษา

ในกรณีทีผ่ เู สยี หายจะใหก ารหรือเบกิ ความเปนพยานในความผดิ ฐานคามนุษยตามพระราชบัญญัตินี้
ใหผูเ สยี หายซง่ึ เปน พยานไดรับความคมุ ครองตามกฎหมายวาดวยการคุมครองพยานในคดีอาญา

ถาผเู สยี หายตอ งเดินทางกลบั ประเทศท่ีเปนถิ่นที่อยูหรือภูมิลําเนา หรือถาบุคคลในครอบครัว
ของผูเ สยี หายอาศัยอยูในประเทศอ่ืน ใหพนักงานเจาหนาทีป่ ระสานงานกับหนวยงานในประเทศน้ัน ๆ
ไมวาจะเปนหนวยงานภาครัฐหรือภาคเอกชน และไมวาจะกระทําผานสถานทูตหรือสถานกงสุลของ
ประเทศนั้น ๆ หรือไมก็ตาม เพ่ือใหมีการคุมครองความปลอดภัยใหแกผูเสียหายและบุคคล
ในครอบครัวอยางตอเน่ืองในประเทศนนั้

มาตรา ๓๗ เพื่อประโยชนในการดําเนินคดีกับผูกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติน้ี
การรักษาพยาบาล การบาํ บดั ฟนฟู การเรียกรองสิทธิของผูเสียหาย พนักงานเจาหนาที่อาจดําเนินการ
ใหมีการผอนผันใหผูเสียหายน้ันอยูในราชอาณาจักรไดเปนการช่ัวคราว และไดรับอนุญาตใหทํางาน
เปน การชั่วคราวตามกฎหมายได ทั้งนี้ โดยใหคํานึงถึงเหตผุ ลทางดา นมนุษยธรรมเปนหลกั

มาตรา ๓๘ ภายใตบ ังคบั มาตรา ๓๗ ใหพ นกั งานเจาหนาท่ีสงตัวผูเสียหายซึ่งเปนคนตางดาว
กลับประเทศทเ่ี ปน ถน่ิ ท่อี ยหู รอื ภมู ิลําเนาโดยไมช กั ชา เวนแตบ คุ คลนัน้ เปนผูไดรับอนุญาตใหมีถ่ินที่อยู
ในราชอาณาจักรตามกฎหมายวาดวยคนเขาเมือง หรือเปนผูไดรับการผอนผันใหอยูในราชอาณาจักร
เปนกรณีพิเศษจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย โดยมีหลักฐานเอกสารตามกฎหมายวาดวย
การทะเบียนราษฎรหรือกฎหมายวาดวยการทะเบยี นคนตา งดา ว

ในการดําเนินการตามวรรคหน่งึ ใหคาํ นงึ ถงึ ความปลอดภัยและสวัสดิภาพของบุคคลนั้น
มาตรา ๓๙ ในกรณีที่บุคคลผูมีสัญชาติไทยตกเปนผูเสียหายจากการกระทําความผิดฐาน
คามนุษยในตางประเทศ หากผูน้ันประสงคจะกลับเขามาในราชอาณาจักรหรือถ่ินที่อยู ใหพนักงาน
เจาหนาที่ดําเนินการตรวจสอบวาบุคคลน้ันเปนผูมีสัญชาติไทยจริงหรือไม หากบุคคลนั้นเปนผูมี
สัญชาติไทยใหพนักงานเจาหนาที่ดําเนินการตามท่ีจําเปนเพื่อใหบุคคลน้ันเดินทางกลับเขามา
ในราชอาณาจกั รหรือถ่ินทอ่ี ยโู ดยไมช ักชา และใหค ํานึงถงึ ความปลอดภัยและสวสั ดิภาพของผนู น้ั
ในกรณีทผ่ี ูเสยี หายในตา งประเทศเปนคนตา งดา วทไี่ ดรับอนญุ าตใหม ีถนิ่ ที่อยูในราชอาณาจักร
ตามกฎหมายวาดวยคนเขาเมือง หรือเปนผูไดรับการผอนผันใหอยูในราชอาณาจักรเปนกรณีพิเศษ
จากรฐั มนตรีวา การกระทรวงมหาดไทยและกอนออกนอกราชอาณาจักร สถานะของการไดรับอนุญาต
ใหมีถ่ินท่ีอยูเปนการช่ัวคราวยังไมส้ินสุด เม่ือไดตรวจพิสูจนขอเท็จจริงเก่ียวกับความถูกตองของ
ผูเสียหายที่ถือเอกสารแลว หากผูน้ันประสงคจะกลับเขามาในราชอาณาจักร ใหพนักงานเจาหนาท่ี

ค่มู อื การขอรบั การสนบั สนนุ เงนิ ในรูปแบบโครงการจากกองทนุ เพ่ือการป้องกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์ 161

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก หนา ๔๓ ๖ กุมภาพนั ธ ๒๕๕๑
ราชกจิ จานุเบกษา

ดําเนินการตามท่ีจําเปนเพ่ือใหผูเสียหายนั้นเดินทางกลับเขามาในราชอาณาจักรโดยไมชักชา
ทั้งนี้ ใหคํานึงถึงความปลอดภัยและสวัสดิภาพของผูนั้น และใหไดรับการพิจารณาใหอยูในราชอาณาจักร
ตอ ไปไดต ามสถานะและระยะเวลาที่เปนอยูเ ดมิ กอนออกไปนอกราชอาณาจกั ร

ในกรณีที่ผูเสยี หายในตา งประเทศเปนคนตา งดาวและไมมีเอกสารประจําตัว แตมีเหตุอันควร
เช่ือไดวาเปนผูท่ีมีหรือเคยมีภูมิลําเนาหรือถ่ินที่อยูในราชอาณาจักรโดยถูกตองตามกฎหมาย
เม่ือไดตรวจพิสูจนสถานะของการมีภูมิลําเนาหรือถ่ินท่ีอยูในราชอาณาจักรของผูน้ันแลว หากผูน้ัน
ประสงคจ ะกลับเขา มาในราชอาณาจกั ร ใหพนักงานเจาหนาที่ดําเนินการตามท่ีจําเปนเพื่อใหผูเสียหายน้ัน
เดินทางกลับเขามาในราชอาณาจักรโดยไมชักชา ท้ังน้ี ใหคํานึงถึงความปลอดภัยและสวัสดิภาพของ
ผนู นั้ และใหไดรับการพิจารณาใหอยูในราชอาณาจักรตอไปไดตามสถานะและระยะเวลาที่เปนอยูเดิม
กอนออกไปนอกราชอาณาจักร

มาตรา ๔๐ ใหก ระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจัดทํารายงานประจําป
เก่ียวกับสถานการณ จํานวนคดี การดําเนินการของหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ และแนวทาง
การดาํ เนนิ งานในอนาคตเก่ียวกับการปอ งกันและปราบปรามการคามนุษยเ สนอตอคณะรัฐมนตรี

มาตรา ๔๑ เวนแตจะไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม
หามมิใหพนักงานสอบสวนดําเนินคดีกับผูเสียหายในความผิดฐานเขามา ออกไปหรืออยูในราชอาณาจักร
โดยไมไดรับอนุญาตตามกฎหมายวาดวยคนเขาเมือง ความผิดฐานแจงความเท็จตอเจาพนักงาน
ฐานปลอมหรือใชซง่ึ หนงั สือเดนิ ทางปลอม ตามประมวลกฎหมายอาญา ความผิดตามกฎหมายวาดวย
การปอ งกนั และปราบปรามการคาประเวณเี ฉพาะทเ่ี ก่ียวกบั การติดตอ ชักชวน แนะนําตัว ติดตามหรือ
รบเราบุคคลเพ่อื คาประเวณีและการเขาไปม่ัวสุมในสถานการคาประเวณีเพ่ือคาประเวณี หรือความผิด
ฐานเปนคนตา งดา วทาํ งานโดยไมไดรบั อนุญาตตามกฎหมายวา ดวยการทาํ งานของคนตา งดาว

หมวด ๕

กองทนุ เพ่อื การปอ งกนั และปราบปรามการคามนุษย

มาตรา ๔๒ ใหจัดตั้งกองทุนในกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย
เรียกวา “กองทนุ เพ่อื การปองกันและปราบปรามการคามนุษย” เพื่อเปนทุนใชจายสําหรับการปองกัน
และปราบปรามการคา มนษุ ย และเปน คาใชจ า ยในการบรหิ ารกองทนุ ประกอบดวย

162 คมู่ อื การขอรบั การสนับสนนุ เงนิ ในรปู แบบโครงการจากกองทนุ เพ่อื การปอ้ งกันและปราบปรามการคา้ มนษุ ย์

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๙ ก หนา ๔๔ ๖ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๑
ราชกจิ จานเุ บกษา

(๑) เงนิ ทนุ ประเดิมท่ีรฐั บาลจดั สรรให
(๒) เงนิ อุดหนุนทีร่ ัฐบาลจดั สรรใหจ ากงบประมาณรายจา ยประจาํ ป
(๓) เงินหรือทรัพยสนิ ทม่ี ีผูบรจิ าคหรืออุทิศให
(๔) เงนิ ท่ไี ดรบั จากตางประเทศหรือองคการระหวางประเทศ
(๕) ดอกผลและผลประโยชนท เี่ กิดจากกองทนุ
(๖) เงินที่ไดจากการขายทรัพยสินของกองทนุ หรือที่ไดจากการจดั หารายได
(๗) เงนิ หรอื ทรพั ยส นิ ที่ตกเปน ของกองทนุ หรอื ที่กองทนุ ไดร ับตามกฎหมายอ่นื
มาตรา ๔๓ เงินและดอกผลทกี่ องทนุ ไดรบั ตามมาตรา ๔๒ ไมต องนําสงกระทรวงการคลัง
เปนรายไดแ ผนดิน
มาตรา ๔๔ เงนิ และทรพั ยสินของกองทุนใหใชจา ยเพอ่ื กจิ การ ดังตอ ไปนี้
(๑) การชวยเหลือผเู สยี หายตามมาตรา ๓๓
(๒) การคมุ ครองความปลอดภยั ใหแ กผูเสยี หายตามมาตรา ๓๖
(๓) การชวยเหลือผูเสียหายในตางประเทศใหเดนิ ทางกลบั เขามาในราชอาณาจกั รหรือถิ่นท่ีอยู
ตามมาตรา ๓๙
(๔) การปอ งกันและปราบปรามการคามนษุ ย ตามระเบยี บที่คณะกรรมการ ปกค. กาํ หนด
(๕) การบรหิ ารกองทนุ
มาตรา ๔๕ ใหมีคณะกรรมการบริหารกองทุนคณะหน่ึง ประกอบดวย ปลัดกระทรวง
การพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยเปนประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงการตางประเทศ
ปลัดกระทรวงยุติธรรม ผูแทนสํานักงบประมาณ ผูแทนกรมบัญชีกลาง และผูทรงคุณวุฒิ
ซ่ึงคณะกรรมการแตงตั้งจํานวนสามคน ในจํานวนน้ีตองเปนผูแทนจากภาคเอกชนจํานวนสองคน
ซ่งึ เกี่ยวของกับงานดานพัฒนาสังคม ดานสังคมสงเคราะห ดานปองกันและปราบปรามการคามนุษย
หรอื ดา นการเงนิ เปน กรรมการ และใหรองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย
ซ่งึ ปลดั กระทรวงมอบหมายเปน กรรมการและเลขานกุ าร
มาตรา ๔๖ ใหน าํ มาตรา ๑๗ มาตรา ๑๘ มาตรา ๑๙ มาตรา ๒๐ มาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๕
มาใชบ ังคับกับการดํารงตําแหนงและการพนจากตําแหนงของกรรมการผูทรงคุณวุฒิ การประชุมของ

คูม่ อื การขอรบั การสนับสนุนเงนิ ในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพ่ือการป้องกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์ 163

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก หนา ๔๕ ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑
ราชกจิ จานเุ บกษา

คณะกรรมการบริหารกองทุน และการแตงตั้งคณะอนุกรรมการของคณะกรรมการบริหารกองทุน
โดยอนโุ ลม

มาตรา ๔๗ ใหคณะกรรมการบรหิ ารกองทุนมอี ํานาจหนาท่ี ดังตอ ไปน้ี
(๑) พิจารณาอนุมตั กิ ารจา ยเงินตามทีก่ ําหนดไวใ นมาตรา ๔๔
(๒) บริหารกองทนุ ใหเ ปน ไปตามระเบียบทคี่ ณะกรรมการกําหนด
(๓) รายงานสถานะการเงินและการจัดการกองทุนตอคณะกรรมการตามระเบียบ
ทคี่ ณะกรรมการกาํ หนด
มาตรา ๔๘ การรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน การจัดหาผลประโยชน และ
การจัดการกองทุน ใหเปนไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนดโดยความเห็นชอบของ
กระทรวงการคลงั
มาตรา ๔๙ ใหมคี ณะกรรมการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของกองทุนจํานวนหาคน
ประกอบดวย ประธานกรรมการและกรรมการผูทรงคุณวุฒิซึ่งคณะกรรมการแตงต้ังจากผูที่มีความรู
ความสามารถและประสบการณด านการเงิน การสังคมสงเคราะห และการประเมินผลดานละหน่ึงคน
และใหรองปลดั กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยซ่ึงปลัดกระทรวงมอบหมายเปน
กรรมการและเลขานกุ าร
ใหน ํามาตรา ๑๗ มาตรา ๑๘ มาตรา ๑๙ มาตรา ๒๐ และมาตรา ๒๑ มาใชบังคับกับการ
ดํารงตําแหนง การพนจากตําแหนง และการประชุมของคณะกรรมการติดตามและประเมินผล
การดาํ เนินงานของกองทนุ โดยอนโุ ลม
มาตรา ๕๐ คณะกรรมการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของกองทุนมีอํานาจหนาที่
ดังตอไปนี้
(๑) ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานของกองทุน
(๒) รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานพรอ มท้ังขอเสนอแนะตอคณะกรรมการ
(๓) เรยี กเอกสารหรือหลกั ฐานทีเ่ ก่ยี วขอ งกับกองทุนจากบุคคลใดหรือเรียกบุคคลใดมาชี้แจง
ขอเทจ็ จริงเพ่ือประกอบการพิจารณาประเมนิ ผล
มาตรา ๕๑ ใหคณะกรรมการบริหารกองทุนจัดทํางบดุลและบัญชีทําการสงสํานักงาน
การตรวจเงินแผน ดนิ ตรวจสอบและรบั รองภายในหนง่ึ รอ ยยสี่ บิ วนั นบั แตว นั ส้ินปบ ญั ชีทกุ ป

164 คมู่ ือการขอรับการสนับสนุนเงนิ ในรูปแบบโครงการจากกองทนุ เพือ่ การป้องกนั และปราบปรามการค้ามนษุ ย์

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๙ ก หนา ๔๖ ๖ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๑
ราชกิจจานเุ บกษา

ใหสํานักงานการตรวจเงินแผนดินทํารายงานผลการสอบและรับรองบัญชีและการเงินของ
กองทุนเสนอตอคณะกรรมการภายในหนึ่งรอยหาสิบวันนับแตวันสิ้นปบัญชี เพ่ือใหคณะกรรมการ
เสนอตอ คณะรัฐมนตรีเพ่ือทราบ

รายงานผลการสอบบัญชีตามวรรคสอง ใหรัฐมนตรีเสนอตอนายกรัฐมนตรี เพ่ือนําเสนอ
สภาผแู ทนราษฎรและวุฒิสภาทราบและจัดใหมกี ารประกาศในราชกิจจานเุ บกษาตอไป

หมวด ๖
บทกําหนดโทษ

มาตรา ๕๒ ผใู ดกระทาํ ความผิดฐานคามนุษย ตองระวางโทษจําคุกต้ังแตส่ีปถึงสิบป และ
ปรบั ตัง้ แตแปดหมนื่ บาทถึงสองแสนบาท

ถาการกระทําความผดิ ตามวรรคหน่ึง ไดกระทําแกบุคคลอายุเกินสิบหาป แตไมถึงสิบแปดป
ตอ งระวางโทษจาํ คุกตง้ั แตหกปถ งึ สิบสองป และปรบั ตง้ั แตห นึ่งแสนสองหมน่ื บาทถงึ สองแสนสห่ี ม่ืนบาท

ถาการกระทําความผดิ ตามวรรคหนึ่ง ไดกระทําแกบุคคลอายุไมเกินสิบหาป ตองระวางโทษ
จําคกุ ตงั้ แตแปดปถึงสบิ หาป และปรับตง้ั แตหนง่ึ แสนหกหมนื่ บาทถงึ สามแสนบาท

มาตรา ๕๓ นติ บิ คุ คลใดกระทําความผดิ ฐานคา มนุษย ตองระวางโทษปรบั ตั้งแตสองแสนบาท
ถึงหน่ึงลา นบาท

ในกรณีท่ีผูกระทําความผิดเปนนิติบุคคล ถาการกระทําความผิดของนิติบุคคลนั้นเกิดจาก
การสง่ั การ หรอื การกระทาํ ของบคุ คลใด หรอื ไมส่งั การ หรือไมกระทําการอันเปนหนาที่ท่ีตองกระทํา
ของกรรมการผูจดั การ หรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการดําเนินงานของนิติบุคคลนั้น บุคคลดังกลาว
ตอ งระวางโทษจาํ คุกตงั้ แตหกปถ ึงสิบสองป และปรับตัง้ แตหนึง่ แสนสองหมนื่ บาทถงึ สองแสนสี่หมน่ื บาท

มาตรา ๕๔ ผูใดขัดขวางการสืบสวน การสอบสวน การฟองรอง หรือการดําเนินคดี
ความผิดฐานคามนุษย เพ่ือมิใหเปนไปดวยความเรียบรอย ถาเปนการกระทําอยางหนึ่งอยางใด
ดงั ตอ ไปน้ี ตองระวางโทษจาํ คกุ ไมเกนิ สิบป หรอื ปรับไมเกินสองแสนบาท หรือทั้งจาํ ท้งั ปรบั

(๑) ให ขอให หรือรับวาจะใหทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดแกผูเสียหายหรือพยาน
เพื่อจูงใจใหผูน้ันไมไปพบพนักงานเจาหนาที่ พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ หรือไมไปศาล

คมู่ อื การขอรบั การสนับสนุนเงินในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพอ่ื การป้องกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์ 165

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๙ ก หนา ๔๗ ๖ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๑
ราชกิจจานุเบกษา

เพอื่ ใหข อ เท็จจริงหรอื เบิกความ หรอื เพอ่ื ใหข อเท็จจริงหรือเบิกความอันเปนเท็จ หรือไมใหขอเท็จจริง
หรอื เบกิ ความ ในการดาํ เนินคดีแกผ กู ระทาํ ความผิดตามพระราชบัญญัตนิ ี้

(๒) ใชกําลังบงั คบั ขูเขญ็ ขมขู ขม ขนื ใจ หลอกลวง หรือกระทําการอันมิชอบประการอื่น
เพื่อมิใหผูเสียหายหรือพยานไปพบพนักงานเจาหนาที่ พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ หรือ
ไมไปศาลเพ่ือใหขอเท็จจริงหรือเบิกความ หรือเพ่ือใหผูน้ันใหขอเท็จจริงหรือเบิกความอันเปนเท็จ
หรือไมใหขอ เท็จจริงหรอื เบกิ ความ ในการดําเนินคดีแกผูกระทาํ ความผดิ ตามพระราชบญั ญัติน้ี

(๓) ทาํ ใหเ สยี หาย ทาํ ลาย ทําใหสูญหายหรือไรประโยชน เอาไปเสีย แกไข เปลี่ยนแปลง
ปกปด หรือซอนเรน เอกสารหรือพยานหลักฐานใด ๆ หรือปลอม ทํา หรือใชเอกสารหรือ
พยานหลกั ฐานใด ๆ อนั เปน เทจ็ ในการดาํ เนินคดีแกผ ูก ระทาํ ความผิดตามพระราชบัญญัตนิ ้ี

(๔) ให ขอให หรือรบั วาจะใหทรัพยสินหรอื ประโยชนอ ่ืนใดแกกรรมการ กรรมการ ปกค.
อนกุ รรมการ สมาชิกของคณะทํางาน หรือพนักงานเจาหนาท่ีตามพระราชบัญญัตินี้ หรือเจาพนักงาน
ในตาํ แหนง ตุลาการ พนกั งานอยั การ หรอื พนกั งานสอบสวน หรือเรียก รับ หรือยอมจะรับทรัพยสิน
หรือประโยชนอ่นื ใด เพ่ือจูงใจใหกระทําการ ไมก ระทาํ การ หรือประวงิ การกระทาํ อนั มชิ อบดวยหนาท่ี
ตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี หรือ

(๕) ใชกําลงั บงั คบั ขเู ขญ็ ขมขู ขม ขืนใจ หรอื กระทําการอันมชิ อบประการอื่นตอกรรมการ
กรรมการ ปกค. อนกุ รรมการ สมาชิกของคณะทํางาน หรือพนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัติน้ี
หรือเจาพนักงานในตําแหนง ตุลาการ พนกั งานอยั การ หรอื พนักงานสอบสวน เพ่ือจูงใจใหกระทําการ
ไมก ระทําการ หรอื ประวิงการกระทาํ อนั มิชอบดวยหนาที่ตามพระราชบญั ญตั ินี้

มาตรา ๕๕ ผูใดกระทําการดังตอไปนี้ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกิน
หนึ่งแสนบาท เวนแตเปนการเปด เผยในการปฏิบัตติ ามหนา ท่หี รอื กฎหมาย

(๑) รูวามีการยื่นคําขอเพื่อใหไดมาซ่ึงเอกสารหรือขอมูลขาวสารตามมาตรา ๓๐
แลวเปดเผยแกบุคคลท่ีไมมีหนาท่ีเก่ียวของใหรูวามีหรือจะมีการยื่นคําขอเพื่อใหไดมาซ่ึงเอกสารหรือ
ขอมูลขาวสารดังกลาวโดยประการที่นาจะทําใหผูยื่นคําขอสูญเสียโอกาสท่ีจะไดมาซึ่งเอกสารหรือ
ขอ มูลขา วสารนน้ั หรือ

(๒) รหู รือไดมาซ่ึงเอกสารหรือขอมูลขาวสารท่ีไดมาตามมาตรา ๓๐ แลวเปดเผยแกบุคคล
ทไี่ มม ีหนาทีเ่ กีย่ วของใหรเู อกสารหรอื ขอ มลู ขา วสารดังกลาว

166 คมู่ อื การขอรับการสนบั สนนุ เงนิ ในรูปแบบโครงการจากกองทนุ เพ่อื การปอ้ งกนั และปราบปรามการคา้ มนษุ ย์

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๙ ก หนา ๔๘ ๖ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๑
ราชกจิ จานุเบกษา

มาตรา ๕๖ ผูใดกระทําการหรือจัดใหมีการกระทําการดังตอไปน้ี ตองระวางโทษจําคุก
ไมเ กินหกเดอื น หรือปรับไมเกนิ หกหม่นื บาท หรือท้ังจาํ ท้ังปรับ

(๑) บนั ทกึ ภาพ แพรภ าพ พิมพรูป หรอื บนั ทึกเสยี ง แพรเ สียงหรือส่ิงอื่นที่สามารถแสดงวา
บคุ คลใดเปนผูเ สยี หายจากการกระทาํ ความผดิ ฐานคา มนษุ ย ทงั้ นี้ ไมว า ขั้นตอนใด ๆ

(๒) โฆษณาหรือเผยแพรขอความ ซึ่งปรากฏในทางสอบสวนของพนักงานสอบสวนหรือ
ในทางพิจารณาคดีของศาลท่ีทําใหบุคคลอ่ืนรูจักช่ือตัว ช่ือสกุลของผูเสียหายจากการกระทําความผิด
ฐานคามนษุ ยหรือบคุ คลในครอบครัวผูเสียหายนน้ั ทงั้ น้ี ไมว าโดยสื่อสารสนเทศประเภทใด

(๓) โฆษณาหรือเผยแพรขอความ ภาพหรือเสียง ไมวาโดยส่ือสารสนเทศประเภทใด
เปดเผยประวัติ สถานท่อี ยู สถานทีท่ ํางาน หรือสถานศึกษาของบุคคลซึ่งเปนผูเสียหายจากการกระทํา
ความผดิ ฐานคา มนุษย

ความในวรรคหน่ึงมิใหใชบังคับแกการกระทําที่ผูกระทําจําตองกระทําเพื่อประโยชนของ
ทางราชการในการคมุ ครองหรือชวยเหลอื ผูเสยี หาย หรือผูเ สียหายยินยอมโดยบรสิ ุทธ์ใิ จ

บทเฉพาะกาล

มาตรา ๕๗ ใหโอนเงินทุนสงเคราะหเก่ียวกับการปองกันและแกไขปญหาการคามนุษย
ตามระเบยี บคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการคามนษุ ยว า ดวยการดําเนินงานและการใชจายเงิน
สําหรับการปองกันและแกไขปญหาการคามนุษย พ.ศ. ๒๕๕๐ มาเปนทุนประเดิมแกกองทุน
ตามพระราชบญั ญตั ิน้ี

ผรู ับสนองพระบรมราชโองการ
พลเอก สรุ ยุทธ จุลานนท
นายกรฐั มนตรี

ค่มู ือการขอรับการสนบั สนุนเงินในรปู แบบโครงการจากกองทนุ เพื่อการปอ้ งกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ 167

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก หนา ๔๙ ๖ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๑
ราชกิจจานุเบกษา

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญตั ฉิ บับน้ี คือ โดยทพ่ี ระราชบญั ญตั มิ าตรการในการปองกัน
และปราบปรามการคาหญิงและเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๐ ยังมิไดกําหนดลักษณะความผิดใหครอบคลุมการกระทํา
เพ่ือแสวงหาประโยชนโดยมิชอบจากบุคคลท่ีมิไดจํากัดแตเฉพาะหญิงและเด็กและกระทําดวยวิธีการที่
หลากหลายมากขึ้น เชน การนําบุคคลเขามาคาประเวณีในหรือสงไปคานอกราชอาณาจักร บังคับใชแรงงาน
บรกิ ารหรือขอทาน บงั คบั ตดั อวยั วะเพ่อื การคา หรือการแสวงหาประโยชนโดยมชิ อบประการอื่น ซึ่งในปจจุบัน
ไดกระทําในลักษณะองคกรอาชญากรรมขามชาติมากข้ึน ประกอบกับประเทศไทยไดลงนามอนุสัญญา
สหประชาชาติเพ่อื ตอตา นอาชญากรรมขามชาตทิ ี่จัดต้ังในลักษณะองคกร และพิธีสารเพ่ือปองกัน ปราบปรามและ
ลงโทษการคามนษุ ย โดยเฉพาะผหู ญงิ และเด็ก เพมิ่ เตมิ อนสุ ัญญาสหประชาชาตเิ พอ่ื ตอตานอาชญากรรมขามชาติ
ทจ่ี ัดตงั้ ในลกั ษณะองคก ร จงึ สมควรกําหนดลักษณะความผดิ ใหครอบคลมุ การกระทําดังกลา วเพ่อื ใหก ารปองกัน
และปราบปรามการคามนษุ ยมปี ระสิทธภิ าพย่งิ ขนึ้ สอดคลองกับพันธกรณีของอนุสัญญาและพิธีสารจัดต้ังกองทุน
เพื่อปองกันและปราบปรามการคามนุษย รวมทั้งปรับปรุงการชวยเหลือและคุมครองสวัสดิภาพผูเสียหาย
ใหเ หมาะสม ทั้งนี้ เพือ่ ประโยชนส ูงสดุ ของผูเสยี หาย จงึ จําเปนตอ งตราพระราชบัญญัติน้ี

168 คูม่ ือการขอรบั การสนับสนุนเงนิ ในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพ่ือการป้องกนั และปราบปรามการคา้ มนษุ ย์

เลม่ ๑๓๒ ตอนท่ี ๓๔ ก หน้า ๒๗ ๒๘ เมษายน ๒๕๕๘
ราชกิจจานุเบกษา



พระราชบัญญตั ิ

ปอ้ งกนั และปราบปรามการคา้ มนุษย์ (ฉบบั ที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๘

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.

ให้ไว้ ณ วนั ที่ ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘
เปน็ ปที ่ี ๗๐ ในรชั กาลปจั จุบนั

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ
ใหป้ ระกาศวา่

โดยทเี่ ปน็ การสมควรแกไ้ ขเพ่ิมเตมิ กฎหมายว่าดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของ
สภานติ ิบญั ญตั ิแห่งชาติ ดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ีเรียกว่า “พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์
(ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปน็ ตน้ ไป
มาตรา ๓ ให้เพิ่มความต่อไปน้ีเป็นมาตรา ๑๓/๑ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม
การคา้ มนษุ ย์ พ.ศ. ๒๕๕๑
“มาตรา ๑๓/๑ ผู้ใดแจ้งแก่พนักงานเจ้าหน้าท่ีหรือพนักงานฝ่ายปกครองหรือตํารวจให้ทราบว่า
มีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ถ้าได้กระทําโดยสุจริตย่อมได้รับความคุ้มครองไม่ต้องรับผิด
ท้งั ทางแพ่งและทางอาญา”
มาตรา ๔ ให้ยกเลิกความในวรรคหน่ึงของมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติป้องกัน
และปราบปรามการคา้ มนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ และให้ใช้ความตอ่ ไปน้ีแทน

ค่มู อื การขอรับการสนับสนุนเงินในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพ่ือการปอ้ งกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์ 169

เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๓๔ ก หน้า ๒๘ ๒๘ เมษายน ๒๕๕๘
ราชกิจจานุเบกษา

“มาตรา ๑๕ ให้มีคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ เรียกโดยย่อว่า
“คณะกรรมการ ปคม.” ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ รองนายกรัฐมนตรี ซ่ึงเป็น
ประธานคณะกรรมการ ปกค. เป็นรองประธานกรรมการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
การพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ยุติธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน และผู้ทรงคุณวุฒิจํานวนสี่คน ซ่ึงนายกรัฐมนตรีแต่งต้ังจาก
ผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์โดดเด่นเป็นที่ประจักษ์ด้านการป้องกัน การปราบปราม การบําบัดฟ้ืนฟู
และการประสานงานระหว่างประเทศเกี่ยวกับการค้ามนุษย์ไม่น้อยกว่าเจ็ดปี ด้านละหน่ึงคน โดยต้องเป็น
ภาคเอกชนไม่น้อยกว่าก่ึงหน่ึงเป็นกรรมการ และมีปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
เป็นเลขานุการ และให้ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์แต่งต้ังข้าราชการของ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ จํานวนไม่เกินสองคน เป็นผู้ชว่ ยเลขานุการ”

มาตรา ๕ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (๒/๑) ของมาตรา ๑๖ แห่งพระราชบัญญัติป้องกัน
และปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑

“(๒/๑) เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกําหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์
ในสถานประกอบกิจการ โรงงาน และยานพาหนะ และกําหนดให้สถานประกอบกิจการ โรงงาน
และยานพาหนะ ตอ้ งอยู่ภายใตบ้ งั คบั ของมาตรการดังกล่าว”

มาตรา ๖ ให้เพิ่มความต่อไปน้ีเป็นมาตรา ๑๖/๑ มาตรา ๑๖/๒ และมาตรา ๑๖/๓
แห่งพระราชบญั ญตั ิป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑

“มาตรา ๑๖/๑ ให้นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีมีอํานาจออกประกาศ
กําหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ในสถานประกอบกิจการ โรงงาน และยานพาหนะ
และประกาศกําหนดให้สถานประกอบกิจการ โรงงาน และยานพาหนะใด ๆ ต้องอยู่ภายใต้บังคับของ
มาตรการดังกล่าว ท้งั น้ี โดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา

มาตรา ๑๖/๒ ในกรณีท่ีพนักงานเจ้าหน้าท่ีตรวจพบว่ามีการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรการป้องกัน
และปราบปรามการค้ามนุษย์หรือพบการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติน้ีในสถานประกอบกิจการ
โรงงาน หรือยานพาหนะตามมาตรา ๑๖/๑ หากเจ้าของ ผู้ครอบครอง หรือผู้ดําเนินกิจการสถานประกอบกิจการ
โรงงาน หรือยานพาหนะ ดงั กลา่ วไม่สามารถชแ้ี จงหรือพิสูจน์ให้คณะอนุกรรมการตามมาตรา ๒๕ วรรคสอง
เช่อื ได้ว่าตนได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควรแก่กรณีแล้ว ให้คณะอนุกรรมการตามมาตรา ๒๕ วรรคสอง
มีอาํ นาจสัง่ อยา่ งหน่ึงอยา่ งใด ดงั ต่อไปนี้

(๑) ปิดสถานประกอบกิจการหรอื โรงงานช่ัวคราว
(๒) พกั ใช้ใบอนญุ าตประกอบการสาํ หรับการประกอบธรุ กิจหรือโรงงาน
(๓) ห้ามใช้ยานพาหนะเปน็ การช่ัวคราว
(๔) ดําเนินมาตรการทจ่ี ําเปน็ เพือ่ ป้องกนั มใิ ห้มกี ารกระทําผดิ เกดิ ขน้ึ อีก

170 คู่มือการขอรบั การสนบั สนุนเงนิ ในรปู แบบโครงการจากกองทนุ เพ่อื การป้องกนั และปราบปรามการค้ามนษุ ย์

เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๓๔ ก หน้า ๒๙ ๒๘ เมษายน ๒๕๕๘
ราชกิจจานุเบกษา

ทั้งน้ี การสั่งตาม (๑) (๒) และ (๓) ต้องไม่เกินคร้ังละสามสิบวันนับแต่วันท่ีเจ้าของ ผู้ครอบครอง
หรือผูด้ ําเนนิ กจิ การสถานประกอบกิจการ โรงงาน หรอื ยานพาหนะ ไดร้ บั ทราบคาํ ส่งั

ในกรณีมีการออกคําสั่งใด ๆ ตามวรรคหน่ึง ให้คณะอนุกรรมการตามมาตรา ๒๕ วรรคสอง
แจ้งให้หน่วยงานซง่ึ ควบคุมสถานประกอบกจิ การ โรงงาน หรอื ยานพาหนะน้นั ทราบ และให้หน่วยงานดังกล่าว
ถอื ปฏิบัตติ ามนน้ั

การพิจารณาปิดสถานประกอบกิจการหรือโรงงานช่ัวคราว การพักใช้ใบอนุญาตประกอบการ
สําหรับการประกอบธุรกิจหรือโรงงาน การห้ามใช้ยานพาหนะเป็นการช่ัวคราวหรือการดําเนินมาตรการ
ท่ีจําเป็นเพื่อป้องกันมิให้มีการกระทําผิดเกิดขึ้นอีก ตามวรรคหน่ึง และการแจ้งให้หน่วยงานรับทราบ
ตามวรรคสามให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขทรี่ ัฐมนตรีประกาศกําหนด

มาตรา ๑๖/๓ ให้แจ้งคําส่ังตามมาตรา ๑๖/๒ ต่อเจ้าของ ผู้ครอบครองหรือผู้ดําเนินกิจการ
สถานประกอบกิจการ โรงงาน หรือยานพาหนะนั้นทราบเป็นหนังสือ ณ ภูมิลําเนาของผู้นั้น ภายในเจ็ดวัน
นับแต่วนั ออกคําสัง่

ในกรณีที่ไม่มีผู้รับ ให้ปิดคําสั่งไว้ที่ภูมิลําเนาของผู้น้ันในที่เปิดเผย และให้ถือว่าเจ้าของ ผู้ครอบครอง
หรือผู้ดําเนินกิจการสถานประกอบกิจการ โรงงาน หรือยานพาหนะ ได้รับแจ้งคําส่ังน้ันแล้ว เมื่อพ้นกําหนด
สบิ หา้ วนั นบั แต่วนั ปิดคาํ สงั่

ในกรณเี จ้าของ ผู้ครอบครอง หรือผู้ดําเนินกิจการสถานประกอบกิจการ โรงงาน หรือยานพาหนะ
ไม่เห็นด้วยกับคําส่ังของคณะอนุกรรมการตามมาตรา ๒๕ วรรคสอง ให้อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการภายใน
สามสิบวันนับแต่วันทไี่ ด้รับแจ้งคําส่งั จากคณะอนุกรรมการ

การอทุ ธรณ์ไม่เปน็ เหตใุ ห้ทเุ ลาการบังคบั ตามคาํ ส่ังของคณะอนุกรรมการตามมาตรา ๒๕ วรรคสอง
คาํ วนิ จิ ฉัยของคณะกรรมการให้เป็นที่สดุ ”
มาตรา ๗ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๒๕ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม
การคา้ มนษุ ย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ และใหใ้ ช้ความตอ่ ไปน้ีแทน
“มาตรา ๒๕ คณะกรรมการและคณะกรรมการ ปกค. จะแต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางาน
เพื่อพิจารณาและเสนอความเห็นในเรื่องหนึ่งเรื่องใดหรือปฏิบัติการอย่างหน่ึงอย่างใดตามที่คณะกรรมการ
และคณะกรรมการ ปกค. มอบหมายกไ็ ด้
ให้คณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนกุ รรมการเพอ่ื ทาํ การตามมาตรา ๑๖/๒
ใหน้ าํ มาตรา ๒๑ วรรคหน่ึง วรรคสอง และวรรคสาม มาใช้บังคับกับการประชุมของคณะอนุกรรมการ
หรือคณะทาํ งานโดยอนุโลม”
มาตรา ๘ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (๖/๑) ของมาตรา ๔๒ แห่งพระราชบัญญัติป้องกัน
และปราบปรามการคา้ มนษุ ย์ พ.ศ. ๒๕๕๑
“(๖/๑) ค่าปรับตามที่กระทรวงการคลังอนุญาต ให้นําไปใช้ได้โดยไม่ต้องนําส่งคลังเป็นรายได้
ของแผ่นดิน”

คมู่ ือการขอรับการสนับสนุนเงนิ ในรปู แบบโครงการจากกองทนุ เพ่อื การป้องกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์ 171

เลม่ ๑๓๒ ตอนท่ี ๓๔ ก หนา้ ๓๐ ๒๘ เมษายน ๒๕๕๘
ราชกจิ จานุเบกษา

มาตรา ๙ ให้เพ่ิมความต่อไปน้ีเป็นมาตรา ๕๓/๑ และมาตรา ๕๓/๒ แห่งพระราชบัญญัติ
ป้องกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑

“มาตรา ๕๓/๑ ถ้าการกระทําผิดตามมาตรา ๕๒ หรือมาตรา ๕๓ วรรคสอง เป็นเหตุให้
ผถู้ กู กระทาํ

(๑) รับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจําคุกต้ังแต่แปดปีถึงย่ีสิบปี และปรับต้ังแต่หนึ่งแสน
หกหมนื่ บาทถงึ สแ่ี สนบาท หรือจาํ คุกตลอดชีวติ

(๒) ถึงแก่ความตาย ต้องระวางโทษจาํ คกุ ตลอดชีวติ หรือประหารชวี ิต
มาตรา ๕๓/๒ เจ้าของ ผู้ครอบครอง หรือผู้ดําเนินกิจการสถานประกอบกิจการ โรงงาน
หรือยานพาหนะ ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคําส่ังตามมาตรา ๑๖/๒ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน
หรือปรับต้งั แต่หน่ึงหม่ืนบาทถึงหนง่ึ แสนบาท หรอื ทงั้ จําทงั้ ปรบั ”

ผรู้ บั สนองพระบรมราชโองการ
พลเอก ประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา

นายกรัฐมนตรี

172 คู่มือการขอรบั การสนับสนนุ เงินในรูปแบบโครงการจากกองทนุ เพ่อื การปอ้ งกันและปราบปรามการคา้ มนุษย์

เลม่ ๑๓๒ ตอนที่ ๓๔ ก หนา้ ๓๑ ๒๘ เมษายน ๒๕๕๘
ราชกิจจานุเบกษา

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม
การค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ มีบทบัญญัติบางประการไม่เหมาะสมต่อการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์
ในปัจจุบันท่ีมีความรุนแรง ซับซ้อน และเป็นอาชญากรรมข้ามชาติ จึงเห็นควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วย
การป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์
โดยกําหนดให้มีมาตรการสร้างแรงจูงใจให้ผู้พบเห็นเหตุการค้ามนุษย์แจ้งข้อมูลต่อเจ้าหน้าท่ีของรัฐ และกําหนด
มาตรการเพิ่มอํานาจทางปกครองให้แก่เจ้าหน้าที่ รวมทั้งปรับปรุงบทกําหนดโทษที่เกี่ยวข้องให้เหมาะสมยิ่งขึ้น
จงึ จาํ เปน็ ตอ้ งตราพระราชบัญญตั นิ ี้

คู่มอื การขอรับการสนับสนนุ เงนิ ในรปู แบบโครงการจากกองทนุ เพื่อการป้องกนั และปราบปรามการคา้ มนษุ ย์ 173

เลม่ ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๒ ก หนา้ ๑๙ ๒๗ มกราคม ๒๕๖๐
ราชกจิ จานุเบกษา



พระราชบญั ญตั ิ

ปอ้ งกนั และปราบปรามการค้ามนษุ ย์ (ฉบับที่ ๓)
พ.ศ. ๒๕๖๐

สมเด็จพระเจา้ อยู่หัวมหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร

ให้ไว้ ณ วันท่ี ๒๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐
เป็นปีที่ ๒ ในรัชกาลปจั จุบนั

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ
ให้ประกาศวา่

โดยทเ่ี ปน็ การสมควรแกไ้ ขเพิม่ เตมิ กฎหมายว่าดว้ ยการป้องกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของ
สภานิตบิ ัญญตั แิ หง่ ชาติ ดงั ต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์
(ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เป็นต้นไป
มาตรา ๓ ให้ยกเลิกบทนยิ ามคําวา่ “แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ” และคําว่า “การบังคับใช้
แรงงานหรอื บริการ” ในมาตรา ๔ แหง่ พระราชบญั ญตั ิปอ้ งกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑
มาตรา ๔ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์
พ.ศ. ๒๕๕๑ และให้ใชค้ วามต่อไปนแี้ ทน
“มาตรา ๖ ผ้ใู ดกระทําการอยา่ งหน่งึ อย่างใด ดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) เป็นธรุ ะจดั หา ซอ้ื ขาย จาํ หน่าย พามาจากหรือส่งไปยังท่ีใด หน่วงเหนี่ยวกักขัง จัดให้อยู่อาศัย
หรือรบั ไวซ้ ึง่ บคุ คลใด โดยข่มขู่ ใช้กาํ ลงั บังคับ ลักพาตัว ฉ้อฉล หลอกลวง ใชอ้ ํานาจโดยมิชอบ ใช้อํานาจ
ครอบงําบุคคลด้วยเหตุท่ีอยู่ในภาวะอ่อนด้อยทางร่างกาย จิตใจ การศึกษา หรือทางอ่ืนใดโดยมิชอบ ขู่เข็ญ

174 ค่มู ือการขอรบั การสนบั สนุนเงนิ ในรูปแบบโครงการจากกองทนุ เพอ่ื การป้องกนั และปราบปรามการคา้ มนุษย์

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๒ ก หน้า ๒๐ ๒๗ มกราคม ๒๕๖๐
ราชกจิ จานุเบกษา

ว่าจะใช้กระบวนการทางกฎหมายโดยมิชอบ หรือโดยให้เงินหรือผลประโยชน์อย่างอื่นแก่ผู้ปกครอง
หรือผูด้ แู ลบุคคลนัน้ เพ่ือให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลให้ความยินยอมแก่ผู้กระทําความผิดในการแสวงหาประโยชน์
จากบุคคลทต่ี นดแู ล หรือ

(๒) เป็นธุระจัดหา ซื้อ ขาย จําหน่าย พามาจากหรือส่งไปยังที่ใด หน่วงเหน่ียวกักขัง
จัดใหอ้ ยูอ่ าศัย หรอื รับไว้ซงึ่ เด็ก

ถ้าการกระทําน้ันได้กระทําโดยมีความมุ่งหมายเพื่อเป็นการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ
ผูน้ ้นั กระทาํ ความผดิ ฐานค้ามนษุ ย์

การแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบตามวรรคหน่ึง หมายความว่า การแสวงหาประโยชน์จาก
การค้าประเวณี การผลิตหรือเผยแพร่วัตถุหรือส่ือลามก การแสวงหาประโยชน์ทางเพศในรูปแบบอ่ืน
การเอาคนลงเป็นทาสหรือให้มีฐานะคล้ายทาส การนําคนมาขอทาน การตัดอวัยวะเพื่อการค้า การบังคับ
ใช้แรงงานหรือบริการ หรือการอื่นใดท่ีคล้ายคลึงกันอันเป็นการขูดรีดบุคคล ไม่ว่าบุคคลนั้นจะยินยอม
หรอื ไมก่ ต็ าม

การบงั คับใช้แรงงานหรือบริการตามวรรคสอง หมายความว่า การข่มขืนใจให้ทํางานหรือให้บริการ
โดยวิธกี ารอยา่ งหน่งึ อย่างใด ดังตอ่ ไปนี้

(๑) ทําใหก้ ลวั วา่ จะเกิดอันตรายตอ่ ชีวิต รา่ งกาย เสรภี าพ ชอ่ื เสียง หรือทรัพย์สินของบุคคลนั้นเอง
หรือของผอู้ ่ืน

(๒) ขู่เขญ็ ดว้ ยประการใด ๆ
(๓) ใช้กาํ ลังประทษุ ร้าย
(๔) ยึดเอกสารสําคัญประจําตัวของบุคคลน้ันไว้ หรือนําภาระหนี้ของบุคคลนั้นหรือของผู้อื่น
มาเปน็ สง่ิ ผูกมัดโดยมิชอบ
(๕) ทาํ ใหบ้ คุ คลนนั้ อยใู่ นภาวะท่ไี ม่สามารถขดั ขนื ได”้
มาตรา ๕ ให้ยกเลิกวรรคสอง วรรคสาม และวรรคส่ีของมาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัติ
ป้องกนั และปราบปรามการคา้ มนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑
มาตรา ๖ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๕๒ และมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติป้องกัน
และปราบปรามการค้ามนษุ ย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ และใหใ้ ชค้ วามต่อไปน้แี ทน
“มาตรา ๕๒ ผู้ใดกระทําความผิดฐานค้ามนุษย์ ต้องระวางโทษจําคุกต้ังแต่ส่ีปีถึงสิบสองปี
และปรับตั้งแตส่ ี่แสนบาทถงึ หนึง่ ลา้ นสองแสนบาท
ถ้าการกระทําความผิดตามวรรคหนึ่ง ได้กระทําแก่บุคคลอายุเกินสิบห้าปีแต่ไม่ถึงสิบแปดปี
ต้องระวางโทษจาํ คุกตั้งแต่หกปีถงึ สิบหา้ ปี และปรับตง้ั แต่หกแสนบาทถึงหนงึ่ ลา้ นหา้ แสนบาท
ถ้าการกระทําความผิดตามวรรคหน่ึง ได้กระทําแก่บุคคลอายุไม่เกินสิบห้าปีหรือผู้มีกายพิการ
หรือมีจิตฟ่ันเฟือนไม่สมประกอบ ต้องระวางโทษจําคุกต้ังแต่แปดปีถึงย่ีสิบปี และปรับต้ังแต่แปดแสนบาท
ถงึ สองล้านบาท

คมู่ อื การขอรบั การสนับสนนุ เงินในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพ่อื การปอ้ งกันและปราบปรามการคา้ มนษุ ย์ 175

เลม่ ๑๓๔ ตอนที่ ๑๒ ก หน้า ๒๑ ๒๗ มกราคม ๒๕๖๐
ราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๕๓ นิติบุคคลใดกระทําความผิดฐานค้ามนุษย์ ต้องระวางโทษปรับตั้งแต่หนึ่งล้านบาท
ถึงหา้ ลา้ นบาท

ในกรณีที่การกระทําความผิดตามวรรคหนึ่งของนิติบุคคลเกิดจากการส่ังการหรือการกระทํา
ของกรรมการ หรือผู้จัดการ หรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการดําเนินงานของนิติบุคคลน้ัน หรือในกรณี
ท่ีบุคคลดังกล่าวมีหน้าที่ต้องส่ังการหรือกระทําการและละเว้นไม่ส่ังการหรือไม่กระทําการจนเป็นเหตุให้
นติ บิ คุ คลนั้นกระทําความผิด ผู้นั้นต้องระวางโทษจําคุกต้ังแต่หกปีถึงสิบสองปี และปรับตั้งแต่หกแสนบาท
ถงึ หน่งึ ลา้ นสองแสนบาท แต่ถ้าเปน็ การกระทําแก่บุคคลตามมาตรา ๕๒ วรรคสอง หรือมาตรา ๕๒ วรรคสาม
ต้องระวางโทษตามท่ีกาํ หนดไว้ในมาตราดังกล่าว แล้วแตก่ รณี”

มาตรา ๗ ให้ยกเลิกความใน (๑) ของมาตรา ๕๓/๑ แห่งพระราชบัญญัติป้องกัน
และปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม
การคา้ มนษุ ย์ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใชค้ วามตอ่ ไปน้แี ทน

“(๑) รับอันตรายสาหัส หรือเป็นโรคร้ายแรงซ่ึงอาจเป็นอันตรายต่อชวี ิตต้องระวางโทษจําคุก
ตง้ั แต่แปดปีถงึ ยีส่ บิ ปี และปรบั ตง้ั แต่แปดแสนบาทถงึ สองลา้ นบาท หรือจําคกุ ตลอดชวี ติ ”

มาตรา ๘ ให้เพ่ิมความต่อไปน้ีเป็นมาตรา ๕๖/๑ ในหมวด ๖ บทกําหนดโทษ
แห่งพระราชบญั ญตั ิปอ้ งกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑

“มาตรา ๕๖/๑ ผ้ใู ดเป็นธุระจัดหา ซื้อ ขาย จําหน่าย พามาจากหรือส่งไปยังที่ใด หน่วงเหนี่ยวกักขัง
จัดให้อยู่อาศัย หรือรับไว้ ซ่ึงบุคคลอายุไม่เกินสิบห้าปี ให้ทํางาน หรือให้บริการท่ีเป็นอันตรายอย่างร้ายแรง
และมีผลกระทบต่อร่างกายหรอื จิตใจ การเจรญิ เตบิ โต หรอื พัฒนาการ หรือในลกั ษณะหรอื ในสภาพแวดล้อม
ที่เป็นอันตรายต่อความปลอดภัยของบุคคลนั้น หรือขัดต่อศีลธรรมอันดี ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินส่ีปี
และปรับไมเ่ กินสีแ่ สนบาท

ถ้าการกระทําความผิดตามวรรคหนึ่ง เป็นกรณีท่ีผู้บุพการีให้ผู้สืบสันดานทํางานหรือให้บริการ
เพราะเหตุความยากจนเหลือทนทาน หรือเม่ือพิจารณาถึงสภาพความผิด หรือเหตุอันควรปรานีอ่ืนแล้ว
ศาลจะไม่ลงโทษผูก้ ระทาํ ความผดิ เลยกไ็ ด้”

ผู้รบั สนองพระราชโองการ
พลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา

นายกรัฐมนตรี

176 คมู่ ือการขอรับการสนบั สนนุ เงินในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพ่ือการป้องกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์

เลม่ ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๒ ก หน้า ๒๒ ๒๗ มกราคม ๒๕๖๐
ราชกจิ จานุเบกษา

หมายเหตุ :- เหตผุ ลในการประกาศใช้พระราชบญั ญตั ฉิ บับนี้ คอื โดยทีป่ จั จุบันพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม
การค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ มีบทบัญญัติบางประการท่ีไม่เหมาะสมต่อการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์
ทีม่ ีความรุนแรงและซับซอ้ นมากย่ิงขึ้น สมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดําเนินมาตรการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ โดยแก้ไขบทนิยามคําว่า
“แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ” และ “การบังคับใช้แรงงานหรือบริการ” ให้ชัดเจนยิ่งข้ึน ปรับปรุงบทบัญญัติ
เกี่ยวกับหลักเกณฑ์การเรียกค่าสินไหมทดแทนอันเนื่องมาจากการกระทําความผิดฐานค้ามนุษย์ และกําหนด
ฐานความผิดซึ่งได้กระทําต่อเด็กท่ีมีอายุไม่เกินสิบห้าปีให้ทํางานหรือให้บริการอันอาจเป็นอันตรายอย่างร้ายแรง
และมีผลกระทบต่อร่างกายหรือจิตใจ การเจริญเติบโต หรือพัฒนาการของบุคคลนั้น รวมท้ังแก้ไขเพ่ิมเติม
บทกําหนดโทษใหเ้ หมาะสมย่ิงข้นึ จึงจาํ เปน็ ต้องตราพระราชบญั ญัตนิ ้ี

ค่มู อื การขอรับการสนบั สนนุ เงนิ ในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพอ่ื การปอ้ งกันและปราบปรามการคา้ มนุษย์ 177

เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๙๒ ก หน้า ๑ ๒๕ กนั ยายน ๒๕๕๘
ราชกจิ จานุเบกษา



พระราชบญั ญัติ

การบรหิ ารทุนหมนุ เวยี น
พ.ศ. ๒๕๕๘

ภมู ิพลอดุลยเดช ป.ร.

ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘
เปน็ ปที ่ี ๗๐ ในรชั กาลปจั จุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ
ใหป้ ระกาศว่า

โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการให้อํานาจกระทรวงการคลังรวมหรือยุบเลิก
ทุนหมุนเวียน

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของ
สภานติ บิ ญั ญัติแห่งชาติ ดังต่อไปน้ี

มาตรา ๑ พระราชบัญญัตนิ ี้เรียกว่า “พระราชบญั ญัติการบริหารทุนหมนุ เวียน พ.ศ. ๒๕๕๘”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกําหนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศใน
ราชกจิ จานเุ บกษาเปน็ ตน้ ไป
มาตรา ๓ ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติให้อาํ นาจกระทรวงการคลังรวมหรือยุบเลิกทุนหมุนเวียน
พ.ศ. ๒๕๔๓
มาตรา ๔ ในพระราชบญั ญัตินี้
“ทุนหมุนเวียน” หมายความว่า กองทุน กองทุนหมุนเวียน เงินทุน เงินทุนหมุนเวียน ทุน
หรือทุนหมุนเวียน ที่ตั้งขึ้นเพ่ือกิจการท่ีอนุญาตให้นํารายรับสมทบทุนไว้ใช้จ่ายได้ โดยไม่ต้องนําส่งคลัง
เป็นรายไดแ้ ผน่ ดิน

178 คูม่ ือการขอรับการสนบั สนนุ เงนิ ในรูปแบบโครงการจากกองทุนเพื่อการป้องกนั และปราบปรามการคา้ มนษุ ย์

เลม่ ๑๓๒ ตอนท่ี ๙๒ ก หนา้ ๒ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๘
ราชกิจจานุเบกษา

“หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่เรียกช่ืออย่างอ่ืน
และมีฐานะเป็นกรม ส่วนราชการสังกัดรัฐสภา หรือหน่วยงานอื่นของรัฐท่ีคณะกรรมการประกาศกําหนด
โดยความเหน็ ชอบของคณะรฐั มนตรี

“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการนโยบายการบริหารทุนหมนุ เวียน
“คณะกรรมการบริหาร” หมายความว่า คณะกรรมการบรหิ ารทนุ หมุนเวียน
“ผู้บริหารทุนหมุนเวียน” หมายความว่า ผู้อํานวยการ ผู้จัดการ หรือผู้ทําหน้าที่บริหารทุนหมุนเวียน
ที่เรยี กชื่ออยา่ งอ่ืน
“พนกั งาน” หมายความว่า พนกั งานของทนุ หมุนเวียน
“ลูกจา้ ง” หมายความว่า ลกู จา้ งของทุนหมนุ เวียน
“รัฐมนตรี” หมายความวา่ รัฐมนตรีผรู้ ักษาการตามพระราชบัญญตั นิ ี้
มาตรา ๕ ทุนหมุนเวียนใดที่มีกฎหมายกําหนดบทบัญญัติในเรื่องใดไว้เป็นการเฉพาะแล้ว
ให้การดําเนินงานของทุนหมุนเวียนน้ันเป็นไปตามที่กฎหมายกําหนด เว้นแต่ในกรณีที่กฎหมายมิได้บัญญัติไว้
ใหน้ ําบทบัญญตั แิ หง่ พระราชบญั ญัตนิ ม้ี าใชบ้ ังคับ
มาตรา ๖ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี และให้มี
อาํ นาจออกประกาศเพอื่ ปฏบิ ัตกิ ารตามพระราชบญั ญตั นิ ี้
ประกาศน้นั เมอ่ื ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้

หมวด ๑
คณะกรรมการนโยบายการบริหารทุนหมุนเวยี น

มาตรา ๗ ใหม้ ีคณะกรรมการนโยบายการบริหารทนุ หมนุ เวียนคณะหนึ่ง ประกอบด้วย
(๑) รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงการคลงั เป็นประธานกรรมการ
(๒) ปลดั กระทรวงการคลัง เป็นรองประธานกรรมการ
(๓) ผู้อํานวยการสํานักงบประมาณ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
และผวู้ า่ การธนาคารแห่งประเทศไทย เปน็ กรรมการ
(๔) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจํานวนสามคนซ่ึงคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้มีความรู้ความเช่ียวชาญ
และประสบการณด์ า้ นการเงิน การคลัง เศรษฐศาสตร์ บรหิ าร หรอื กฎหมาย
ให้อธิบดกี รมบัญชกี ลางเป็นกรรมการและเลขานุการ และใหอ้ ธบิ ดีกรมบัญชกี ลางแต่งต้ังข้าราชการ
ในกรมบญั ชีกลาง จาํ นวนสองคน เป็นผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร
มาตรา ๘ กรรมการผ้ทู รงคุณวฒุ ติ อ้ งมีคณุ สมบตั ิและไมม่ ีลักษณะต้องหา้ ม ดงั ต่อไปน้ี
(๑) มีสัญชาติไทย
(๒) มีอายุไมเ่ กนิ หกสิบห้าปีบริบรู ณ์

คู่มอื การขอรับการสนับสนนุ เงินในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพ่ือการปอ้ งกันและปราบปรามการคา้ มนษุ ย์ 179

เลม่ ๑๓๒ ตอนท่ี ๙๒ ก หนา้ ๓ ๒๕ กนั ยายน ๒๕๕๘
ราชกจิ จานุเบกษา

(๓) เปน็ หรือเคยเปน็ ผู้ดาํ รงตําแหน่งไม่ต่ํากว่าอธิบดีหรือเทียบเท่า หรือผู้สอนในสถาบันอุดมศึกษา
ซึ่งมีตําแหน่งทางวิชาการไม่ตํ่ากว่ารองศาสตราจารย์ หรือผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานภาครัฐหรือหน่วยงาน
ธุรกิจภาคเอกชน

(๔) ไม่เปน็ บุคคลล้มละลาย คนไร้ความสามารถ หรอื คนเสมอื นไรค้ วามสามารถ
(๕) ไม่เคยได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก เว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิด
ทไ่ี ด้กระทาํ โดยประมาทหรอื ความผิดลหโุ ทษ
(๖) ไม่เคยถูกลงโทษไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากงาน เพราะทุจริตต่อหน้าท่ี หรือประพฤติชั่ว
อยา่ งรา้ ยแรง
(๗) ไม่เป็นผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถ่ิน หรือกรรมการ
หรือผู้ดํารงตําแหน่งที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมือง ที่ปรึกษาพรรคการเมืองหรือเจ้าหน้าที่ของ
พรรคการเมอื ง
(๘) ไมเ่ ป็นผู้มีส่วนได้เสยี ในการดําเนินงานของทุนหมุนเวียนไม่วา่ โดยตรงหรือโดยอ้อม
มาตรา ๙ กรรมการผ้ทู รงคุณวฒุ ิมีวาระการดาํ รงตาํ แหน่งคราวละสี่ปี
ในกรณีท่ีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาํ แหน่งก่อนวาระ ให้ผู้ได้รับแต่งตั้งแทนตําแหน่งที่ว่าง
อย่ใู นตาํ แหนง่ เท่ากับวาระที่เหลอื อย่ขู องกรรมการซ่ึงได้แต่งตงั้ ไว้แล้ว
เมื่อครบกําหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังมิได้มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิข้ึนใหม่
ให้กรรมการซึ่งพ้นจากตําแหน่งตามวาระนั้นอยู่ในตําแหน่งเพื่อดําเนินงานต่อไปจนกว่ากรรมการซึ่งได้รับ
แต่งต้งั ใหม่เขา้ รับหน้าที่
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงพ้นจากตําแหน่งตามวาระ อาจได้รับแต่งตั้งอีกได้แต่จะดํารงตําแหน่ง
ติดตอ่ กนั เกนิ สองวาระไม่ได้
มาตรา ๑๐ นอกจากการพน้ จากตําแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิพน้ จากตาํ แหนง่ เม่ือ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) คณะรฐั มนตรีให้ออก เพราะบกพร่องตอ่ หน้าที่ มคี วามประพฤตเิ สือ่ มเสีย หรือหยอ่ นความสามารถ
(๔) ขาดคณุ สมบตั หิ รอื มีลกั ษณะต้องหา้ มตามมาตรา ๘
มาตรา ๑๑ คณะกรรมการมอี ํานาจหน้าท่ี ดังต่อไปน้ี
(๑) กาํ หนดนโยบายและแผนการบรหิ ารทนุ หมุนเวยี นเสนอตอ่ คณะรัฐมนตรี
(๒) พจิ ารณากล่ันกรองการขอจดั ตัง้ ทนุ หมุนเวยี น
(๓) กาํ กบั ตดิ ตามการบริหารทนุ หมุนเวยี น
(๔) เสนอให้มีหลักเกณฑ์ในการกําหนดจํานวนเงินสะสมสูงสุดสําหรับทุนหมุนเวียนต่าง ๆ
ตามความเหมาะสมตอ่ คณะรฐั มนตรี โดยหลกั เกณฑด์ งั กล่าวตอ้ งตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
(๕) เสนอแนะตอ่ คณะรฐั มนตรีในการรวมหรอื ยบุ เลิกทนุ หมุนเวียน

180 ค่มู ือการขอรับการสนับสนนุ เงนิ ในรูปแบบโครงการจากกองทนุ เพ่อื การป้องกนั และปราบปรามการค้ามนษุ ย์

เลม่ ๑๓๒ ตอนที่ ๙๒ ก หน้า ๔ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๘
ราชกิจจานุเบกษา

(๖) เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีในการนําทุนหรือผลกําไรส่วนเกินของทุนหมุนเวียนส่งคลังเป็น
รายได้แผ่นดนิ ทงั้ นี้ ตามหลักเกณฑ์ที่ตราเปน็ พระราชกฤษฎกี า

(๗) ประกาศกําหนดหลักเกณฑ์การประเมินผลทุนหมุนเวียนและการจัดทํารายงานทางการเงิน
ของทุนหมุนเวยี น

(๘) กําหนดมาตรฐานเก่ียวกับการบริหารงานบุคคล การเงิน การพัสดุ ตลอดจนการกําหนด
ค่าตอบแทน สทิ ธิประโยชนห์ รือสวสั ดกิ ารต่าง ๆ ของคณะกรรมการบรหิ าร ผบู้ ริหารทุนหมุนเวียน พนักงาน
และลกู จา้ ง

(๙) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดให้เป็นอํานาจหน้าท่ีของคณะกรรมการหรือตามที่
คณะรัฐมนตรมี อบหมาย

มาตรา ๑๒ การประชุมของคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าก่ึงหน่ึงของ
จํานวนกรรมการทงั้ หมดจึงจะเปน็ องคป์ ระชมุ

ในการประชุมของคณะกรรมการ ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุม หรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้
ให้รองประธานกรรมการเป็นประธานในท่ีประชุม ถ้ารองประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติ
หนา้ ท่ีได้ ใหท้ ป่ี ระชมุ เลือกกรรมการคนหนึง่ เปน็ ประธานในทป่ี ระชุม

การวินิจฉัยชี้ขาดของท่ีประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหน่ึง ในการลงคะแนน
ถา้ คะแนนเสยี งเท่ากันให้ประธานในท่ีประชุมออกเสียงเพมิ่ ขน้ึ อีกเสยี งหนง่ึ เป็นเสียงชี้ขาด

มาตรา ๑๓ คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานเพ่ือปฏิบัติการ
ตามท่คี ณะกรรมการมอบหมาย

การประชมุ ของคณะอนกุ รรมการ ให้นําบทบญั ญตั มิ าตรา ๑๒ มาใชบ้ ังคบั โดยอนุโลม
หมวด ๒

ทนุ หมนุ เวียนทไี่ มม่ สี ถานะเป็นนติ บิ ุคคล

ส่วนที่ ๑
การขอจดั ตัง้

มาตรา ๑๔ ให้หนว่ ยงานของรฐั ทีป่ ระสงค์จะขอจัดตั้งทุนหมุนเวียนท่ีไม่มีสถานะเป็นนิติบุคคล
เสนอเรอื่ งตอ่ คณะกรรมการเพอ่ื พิจารณาเสนอความเหน็ ตอ่ คณะรฐั มนตรี

หลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเง่ือนไขในการขอจัดตงั้ ทนุ หมุนเวียนตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามท่ีรัฐมนตรี
ประกาศกาํ หนดโดยความเหน็ ชอบของคณะรัฐมนตรี

มาตรา ๑๕ ทุนหมุนเวียนท่ีหน่วยงานของรัฐขอจัดตั้งตามมาตรา ๑๔ จะต้องมีลักษณะ
ดังตอ่ ไปน้ี

คูม่ ือการขอรบั การสนับสนนุ เงินในรูปแบบโครงการจากกองทนุ เพอ่ื การปอ้ งกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์ 181

เล่ม ๑๓๒ ตอนท่ี ๙๒ ก หน้า ๕ ๒๕ กนั ยายน ๒๕๕๘
ราชกิจจานุเบกษา

(๑) มีความจําเปน็ ต้องจดั ตงั้ ตามนโยบายของรัฐบาล
(๒) ไม่มีการดําเนินการในลักษณะเดียวกับภารกิจปกติของหน่วยงานของรัฐที่ขอจัดต้ัง และไม่ซํ้าซ้อน
กบั หน้าทีข่ องหน่วยงานของรัฐอ่นื หรอื ทนุ หมนุ เวยี นท่ีไดด้ าํ เนนิ การอย่แู ล้ว
(๓) ไม่เป็นการประกอบกิจการแข่งขันกับภาคเอกชน รัฐวิสาหกิจ หรือกิจกรรมที่เอกชน
หรือรฐั วสิ าหกิจสามารถดําเนินการได้
(๔) มลี กั ษณะอนื่ ตามทค่ี ณะกรรมการประกาศกาํ หนด

ส่วนท่ี ๒
การบรหิ าร

มาตรา ๑๖ ใหห้ น่วยงานของรฐั ทีม่ ที ุนหมุนเวยี นทไ่ี ม่มีสถานะเปน็ นติ บิ ุคคลกําหนดโครงสร้าง
การบริหารทุนหมุนเวียนเพ่ือรองรับการดําเนินงานด้านต่าง ๆ ตามหลักเกณฑ์และแนวทางท่ีคณะกรรมการ
ประกาศกาํ หนด

มาตรา ๑๗ ให้ผู้บริหารทุนหมุนเวียนท่ีไม่มีสถานะเป็นนิติบุคคลจัดทําแผนการดําเนินงาน
ประจําปี ซ่ึงอย่างน้อยต้องประกอบด้วยผลการดําเนินงานของปีที่ผ่านมา แผนการปฏิบัติงาน ประมาณการ
รายรับรายจ่ายประจําปี และประมาณการกระแสเงินสด ท้ังนี้ ตามแบบที่กระทรวงการคลังกําหนด
เพอื่ นําเสนอคณะกรรมการบรหิ ารพิจารณาอนุมัตอิ ย่างน้อยหกสบิ วนั ก่อนวันเร่ิมต้นปีบัญชีของทุกปี และให้ส่ง
กระทรวงการคลังอย่างน้อยสามสิบวันก่อนวันเริ่มต้นปีบัญชีของทุกปีเพ่ือใช้ประกอบการกํากับดูแล การบริหาร
ทนุ หมนุ เวยี นและติดตามการประเมินผลการดาํ เนินงาน

สว่ นท่ี ๓
คณะกรรมการบรหิ ารทนุ หมนุ เวียน

มาตรา ๑๘ ในแต่ละทุนหมุนเวียน ให้มีคณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียนคณะหน่ึง
ประกอบดว้ ย

(๑) หัวหนา้ หนว่ ยงานของรฐั ท่ีมที ุนหมุนเวยี น เป็นประธานกรรมการ
(๒) ผู้แทนกระทรวงการคลัง ผู้แทนสํานักงบประมาณ และผู้แทนหน่วยงานของรัฐท่ีมีทุนหมุนเวียน
ทไ่ี ม่มสี ถานะเป็นนติ ิบุคคล เปน็ กรรมการ
(๓) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจํานวนไม่เกินสามคนซ่ึงประธานกรรมการแต่งตั้งโดยความเห็นชอบ
ของกระทรวงการคลัง จากผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ ด้านการเงิน เศรษฐศาสตร์
การลงทุน กฎหมาย หรอื ด้านอนื่ ทีเ่ ก่ียวข้อง
ใหผ้ ู้บริหารทนุ หมุนเวียนเปน็ กรรมการและเลขานุการ

182 คู่มอื การขอรับการสนบั สนนุ เงินในรปู แบบโครงการจากกองทุนเพ่ือการปอ้ งกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์

เล่ม ๑๓๒ ตอนท่ี ๙๒ ก หน้า ๖ ๒๕ กนั ยายน ๒๕๕๘
ราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๑๙ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารต้องไม่เป็นผู้ประกอบกิจการ
ทข่ี ัดหรือแย้งกบั วตั ถปุ ระสงค์ของทนุ หมุนเวียน และให้นําบทบัญญัติมาตรา ๘ (๑) (๒) (๔) (๕) (๖) (๗)
และ (๘) และมาตรา ๙ มาใช้บังคับกับคุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม และวาระการดํารงตําแหน่งของ
กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ใิ นคณะกรรมการบรหิ าร

มาตรา ๒๐ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการ
บริหารพน้ จากตําแหน่งเม่อื

(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ประธานกรรมการให้ออกโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง เพราะบกพร่องต่อหน้าท่ี
มีความประพฤตเิ ส่อื มเสีย หรือหย่อนความสามารถ
(๔) ขาดคุณสมบตั หิ รือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๘
มาตรา ๒๑ คณะกรรมการบรหิ ารมีอาํ นาจหน้าที่ ดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) กําหนดนโยบาย กํากับดูแลการบริหารจัดการ และติดตามการดําเนินงานให้เป็นไป
ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องทุนหมนุ เวยี น
(๒) กาํ หนดขอ้ บังคับว่าด้วยการบริหารงานบุคคล การเงิน การพัสดุ ตลอดจนการกําหนดค่าตอบแทน
สิทธิประโยชนห์ รอื สวสั ดกิ ารตา่ ง ๆ ของผูบ้ รหิ ารทุนหมุนเวียน พนกั งาน และลกู จ้างใหส้ อดคล้องกับมาตรฐาน
ทค่ี ณะกรรมการกําหนดตามมาตรา ๑๑ (๘)
(๓) พจิ ารณาอนุมตั แิ ผนการดาํ เนินงานประจําปี
(๔) แตง่ ต้งั ผบู้ รหิ ารทนุ หมนุ เวยี น
มาตรา ๒๒ คณะกรรมการบริหารมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติการตามที่
คณะกรรมการบริหารมอบหมาย
การประชุมของคณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการ ให้นําบทบัญญัติมาตรา ๑๒
มาใช้บงั คับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๓ ให้กรรมการบริหารและอนุกรรมการ ได้รับเบี้ยประชุมหรือประโยชน์ตอบแทนอ่ืน
ตามหลกั เกณฑท์ ่คี ณะกรรมการกําหนดตามผลการประเมนิ ผลการดําเนนิ งาน

ส่วนท่ี ๔
ผู้บริหารทนุ หมุนเวยี น พนักงาน และลูกจ้าง

มาตรา ๒๔ ใหค้ ณะกรรมการบริหารแต่งต้ังผู้บริหารทุนหมุนเวียนทําหน้าที่บริหารทุนหมุนเวียน
ที่ไม่มีสถานะเปน็ นติ บิ คุ คลให้เปน็ ไปตามวัตถุประสงค์ของทุนหมุนเวียน โดยให้คํานึงถึงลักษณะการดําเนินงาน
ของทุนหมนุ เวยี น ความรบั ผิดชอบ ความประหยัด และความคุ้มค่า ทั้งนี้ ตามมาตรฐานท่ีคณะกรรมการ
กําหนดตามมาตรา ๑๑ (๘)

คมู่ ือการขอรับการสนับสนนุ เงนิ ในรปู แบบโครงการจากกองทนุ เพอื่ การปอ้ งกันและปราบปรามการคา้ มนุษย์ 183

เล่ม ๑๓๒ ตอนท่ี ๙๒ ก หน้า ๗ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๘
ราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๒๕ ในกรณที ่ผี ้บู ริหารทุนหมนุ เวยี นมิใช่เจ้าหนา้ ท่ีในหน่วยงานเจ้าของทุนหมุนเวียน
ให้การดํารงตําแหน่ง การพ้นจากตําแหน่ง และเงื่อนไขการจ้างเป็นไปตามข้อบังคับท่ีคณะกรรมการบริหาร
กําหนด

มาตรา ๒๖ การกําหนดตําแหน่ง คุณสมบัติของตําแหน่ง อัตราเงินเดือน ค่าตอบแทน
อํานาจหน้าที่ ระยะเวลาการจ้าง การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการเลิกจ้างพนักงานและลูกจ้าง
ให้เปน็ ไปตามข้อบังคับที่คณะกรรมการบริหารกําหนด

ส่วนที่ ๕
การบญั ชแี ละการตรวจสอบ

มาตรา ๒๗ ให้คณะกรรมการบริหารวางและรักษาไว้ซึ่งระบบบัญชีที่เหมาะสมเพื่อให้สามารถ
จัดทํารายงานการเงิน แสดงฐานะทางการเงิน และผลการดําเนินงานของทุนหมุนเวียนท่ีไม่มีสถานะเป็น
นติ บิ คุ คลได้อย่างถกู ตอ้ งตามหลักการบญั ชีท่ีรับรองโดยท่ัวไป

มาตรา ๒๘ ให้คณะกรรมการบริหารจัดทํารายงานการเงินของทุนหมุนเวียนที่ไม่มีสถานะ
เปน็ นติ ิบุคคลส่งผสู้ อบบัญชีภายในหกสบิ วนั นบั แตว่ ันสิ้นปีบัญชี

ปีบัญชีของทุนหมุนเวียนให้เป็นไปตามปีงบประมาณ เว้นแต่คณะกรรมการบริหารจะประกาศกําหนด
เปน็ อยา่ งอ่ืนโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ

มาตรา ๒๙ ให้สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดินหรือบุคคลท่ีสํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
ให้ความเห็นชอบเป็นผู้สอบบัญชีของทุนหมุนเวียนท่ีไม่มีสถานะเป็นนิติบุคคล และให้ทําการตรวจสอบ
รับรองบัญชีและการเงนิ ทุกประเภทของทนุ หมุนเวยี นทกุ รอบปบี ัญชี

ให้ผู้สอบบัญชีของทุนหมุนเวียนท่ีไม่มีสถานะเป็นนิติบุคคลทํารายงานการสอบบัญชีเสนอต่อ
คณะกรรมการบรหิ ารภายในหน่ึงรอ้ ยห้าสบิ วันนบั แตว่ นั ส้นิ ปบี ญั ชี

ใหค้ ณะกรรมการบริหารนําสง่ รายงานการเงินพร้อมด้วยรายงานการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีต่อ
กระทรวงการคลังภายในสามสิบวันนบั แต่วนั ทไี่ ดร้ บั รายงานจากผู้สอบบญั ชี

มาตรา ๓๐ ให้หน่วยงานของรัฐท่ีมีทุนหมุนเวียนท่ีไม่มีสถานะเป็นนิติบุคคลจัดให้มีระบบ
การตรวจสอบภายในเพื่อตรวจสอบการดําเนินงานต่าง ๆ ของทุนหมุนเวียน ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่
คณะกรรมการประกาศกาํ หนด

ส่วนที่ ๖
การประเมนิ ผล

มาตรา ๓๑ ให้กรมบัญชีกลางมีหน้าท่ีประเมินผลการดําเนินงานทุนหมุนเวียนที่ไม่มีสถานะ
เปน็ นติ บิ คุ คลเปน็ ประจําทกุ ปี โดยตอ้ งประเมนิ ในดา้ นตอ่ ไปนี้

184 คูม่ ือการขอรบั การสนับสนนุ เงนิ ในรูปแบบโครงการจากกองทนุ เพือ่ การป้องกนั และปราบปรามการคา้ มนษุ ย์

เล่ม ๑๓๒ ตอนท่ี ๙๒ ก หนา้ ๘ ๒๕ กนั ยายน ๒๕๕๘
ราชกจิ จานุเบกษา

(๑) การเงนิ
(๒) การปฏิบัตกิ าร
(๓) การสนองประโยชนต์ ่อผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสีย
(๔) การบริหารจดั การทนุ หมนุ เวยี น
(๕) การปฏบิ ัติงานของคณะกรรมการบริหาร ผ้บู รหิ ารทุนหมุนเวียน พนกั งาน และลกู จา้ ง
(๖) ด้านอืน่ ๆ ตามทค่ี ณะกรรมการประกาศกาํ หนด
การประเมินผลตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขที่คณะกรรมการ
ประกาศกําหนด
ใหก้ รมบญั ชกี ลางรายงานการประเมินผลทุนหมุนเวียนต่อคณะกรรมการภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวัน
นับแต่วันสิ้นปีบัญชีของทนุ หมุนเวยี น
มาตรา ๓๒ ในกรณีท่ีทุนหมุนเวียนที่ไม่มีสถานะเป็นนิติบุคคลมีกฎหมายกําหนดระบบ
การประเมินผลการดําเนินงานไว้เป็นการเฉพาะแล้ว ให้คณะกรรมการบริหารจัดทํารายงานผลการประเมินผล
การดาํ เนนิ งานเสนอตอ่ กรมบญั ชกี ลางภายในหกสิบวนั นบั แตว่ ันส้ินปบี ญั ชี
หลักเกณฑ์การจัดทํารายงานของทุนหมุนเวียนตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการ
ประกาศกําหนด
มาตรา ๓๓ ให้กรมบัญชีกลางรวบรวมและจัดทํารายงานสรุปผลการดําเนินงานในภาพรวม
ของทุนหมุนเวียนท้ังหมดต่อคณะกรรมการ เพ่ือเสนอต่อคณะรัฐมนตรี สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา
เพ่ือทราบตอ่ ไป

หมวด ๓
ทุนหมุนเวียนท่ีมีสถานะเป็นนิตบิ คุ คล

มาตรา ๓๔ ให้นําบทบัญญัติในส่วนที่ ๑ การขอจัดตั้ง ของหมวด ๒ ทุนหมุนเวียนที่ไม่มี
สถานะเป็นนิติบุคคล มาใช้บงั คับกบั ทนุ หมนุ เวียนทมี่ สี ถานะเปน็ นติ ิบคุ คลด้วย

มาตรา ๓๕ ให้นําบทบัญญัติในส่วนท่ี ๒ การบริหาร ส่วนท่ี ๓ คณะกรรมการบริหาร
ทุนหมนุ เวียน สว่ นท่ี ๔ ผบู้ รหิ ารทนุ หมนุ เวยี น พนกั งาน และลกู จ้าง สว่ นที่ ๕ การบญั ชแี ละการตรวจสอบ
และส่วนที่ ๖ การประเมินผล ของหมวด ๒ ทุนหมุนเวียนท่ีไม่มีสถานะเป็นนิติบุคคล มาใช้บังคับกับ
ทุนหมุนเวยี นทีม่ ีสถานะเปน็ นติ บิ ุคคลซ่งึ กฎหมายมิไดบ้ ัญญตั เิ ร่อื งดังกล่าวไว้เปน็ การเฉพาะโดยอนโุ ลม

มาตรา ๓๖ ในกรณีมีปญั หาในการปฏบิ ัตติ ามมาตรา ๓๔ และมาตรา ๓๕ ให้คณะกรรมการ
เปน็ ผ้วู นิ ิจฉัยชข้ี าด

คูม่ ือการขอรับการสนับสนนุ เงินในรูปแบบโครงการจากกองทุนเพ่อื การป้องกนั และปราบปรามการค้ามนษุ ย์ 185

เลม่ ๑๓๒ ตอนที่ ๙๒ ก หนา้ ๙ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๘
ราชกิจจานุเบกษา

หมวด ๔
การรวมหรอื ยุบเลิกทนุ หมุนเวียน

มาตรา ๓๗ บทบญั ญัติในหมวดนใ้ี หใ้ ช้บังคับกบั การรวมหรือยบุ เลิกทุนหมุนเวียนท่ีไม่มีสถานะ
เปน็ นิตบิ คุ คลและทนุ หมุนเวียนทมี่ สี ถานะเปน็ นติ ิบคุ คล

มาตรา ๓๘ ให้คณะกรรมการมีอํานาจรวมหรือยุบเลิกทุนหมุนเวียนได้ตามหลักเกณฑ์ท่ีกําหนด
ในพระราชบญั ญตั ิน้ี ทัง้ นี้ โดยได้รบั อนุมัตจิ ากคณะรัฐมนตรี

มาตรา ๓๙ การรวมทุนหมุนเวียน ให้กระทําได้เม่ือทุนหมุนเวียนท่ีจะรวมกันนั้นมีวัตถุประสงค์
เดียวกันหรือสามารถดําเนนิ การรว่ มกนั ได้ และจะต้องไม่มีผลเป็นการขยายวัตถุประสงค์เกินกว่าวัตถุประสงค์เดิม
ของทุนหมุนเวียนที่นาํ มารวมกันนั้น

การรวมทุนหมุนเวียนตามวรรคหน่ึง อาจเป็นการรวมกับทุนหมุนเวียนใดทุนหมุนเวียนหน่ึง
หรือรวมกันเปน็ ทุนหมนุ เวียนใหม่ก็ได้

มาตรา ๔๐ การยุบเลิกทุนหมุนเวียน ใหก้ ระทําได้ในกรณีดังตอ่ ไปน้ี
(๑) หมดความจําเปน็ ที่จะตอ้ งดําเนินการตามวตั ถุประสงค์ในการจัดต้งั ทนุ หมุนเวยี นนน้ั แลว้
(๒) ทุนหมนุ เวียนได้หยุดการดําเนนิ งานโดยไมม่ ีเหตผุ ลอันสมควร
(๓) มีผลการประเมนิ ผลการดําเนินงานตํ่ากว่าเกณฑ์ท่ีคณะกรรมการกําหนดเป็นเวลาสามปีติดต่อกัน
และคณะกรรมการเหน็ สมควรใหย้ ุบเลิกทุนหมนุ เวยี นนน้ั
(๔) มีเหตอุ น่ื อนั สมควรต้องยบุ เลกิ ทุนหมนุ เวยี นตามท่คี ณะกรรมการประกาศกําหนด
มาตรา ๔๑ ในการเสนอขออนุมัติจากคณะรัฐมนตรีเพื่อรวมหรือยุบเลิกทุนหมุนเวียน
ให้คณะกรรมการเสนอข้อเทจ็ จริงและความเหน็ เพ่อื ประกอบการพิจารณาของคณะรฐั มนตรดี ้วย
เมือ่ คณะรัฐมนตรมี ีมตใิ หย้ บุ เลิกทนุ หมนุ เวยี นใด ใหถ้ ือว่าเปน็ การยบุ เลกิ ทนุ หมนุ เวยี นน้ันตามกฎหมาย
เว้นแตใ่ นกรณีทท่ี นุ หมุนเวียนใดจดั ตัง้ ขน้ึ โดยกฎหมายเฉพาะ ให้ดําเนนิ การยกเลิกหรือแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย
เพ่อื ยุบเลกิ ทุนหมุนเวียนน้ัน
มาตรา ๔๒ เมื่อคณะรฐั มนตรมี ีมติอนุมตั ิให้รวมทุนหมุนเวียนใด ให้มีผลเป็นการโอนทรัพย์สิน
หนี้สิน ภาระผูกพัน สิทธิ หน้าท่ี พนักงานและลูกจ้างของทุนหมุนเวียนเดิมไปเป็นของทุนหมุนเวียนท่ีคงอยู่
ภายหลังการรวมทุนหมุนเวียนหรือของทุนหมุนเวียนใหม่ เว้นแต่ในกรณีที่ทุนหมุนเวียนใดจัดต้ังข้ึน
โดยกฎหมายเฉพาะ ให้ดาํ เนนิ การยกเลิกหรือแกไ้ ขเพิม่ เติมกฎหมายเพ่อื รวมทนุ หมุนเวียนน้ัน
มาตรา ๔๓ เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอ่ืน การจัดการเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์
ของผู้บริหารทุนหมุนเวียน พนักงาน และลูกจ้างของทุนหมุนเวียนท่ีรวมหรือยุบเลิกให้เป็นไปตามที่รัฐมนตรี
ประกาศกาํ หนด

186 คู่มอื การขอรบั การสนับสนุนเงนิ ในรูปแบบโครงการจากกองทุนเพ่อื การปอ้ งกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์

เลม่ ๑๓๒ ตอนท่ี ๙๒ ก หนา้ ๑๐ ๒๕ กนั ยายน ๒๕๕๘
ราชกจิ จานุเบกษา

มาตรา ๔๔ เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น เมื่อยุบเลิกทุนหมุนเวียน ให้หัวหน้า
หน่วยงานของรัฐที่มีทุนหมุนเวียนหรือท่ีเป็นผู้กํากับดูแลทุนหมุนเวียนแต่งต้ังผู้ชําระบัญชีเพื่อชําระบัญชี
ของทุนหมุนเวียน และให้นําบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยการชําระบัญชี
หา้ งหุ้นส่วนจดทะเบยี น หา้ งหุ้นสว่ นจาํ กดั และบริษทั จํากดั มาใชบ้ งั คับโดยอนโุ ลม

ในระหว่างการชําระบัญชี ให้ถือว่าทุนหมุนเวียนน้ันยังคงต้ังอยู่ตราบเท่าเวลาท่ีจําเป็น
เพอ่ื การชาํ ระบัญชี

ในกรณียุบเลิกทุนหมุนเวียน หากภายหลังจากการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินตามวรรคหนึ่ง
เสรจ็ สิน้ แลว้ มเี งนิ คงเหลือ ใหน้ ําส่งคลงั เป็นรายได้แผ่นดนิ ทั้งหมด

บทเฉพาะกาล

มาตรา ๔๕ ในระหว่างที่ยังไม่มีข้อบังคับ ประกาศ และหลักเกณฑ์เกี่ยวกับทุนหมุนเวียน
ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้นํากฎ ข้อบังคับ ประกาศ ระเบียบ และหลักเกณฑ์เก่ียวกับทุนหมุนเวียนซึ่งใช้
บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มาใช้บังคับไปพลางก่อน เท่าท่ีไม่ขัดหรือแย้งกับ
พระราชบญั ญัตนิ จ้ี นกว่าจะไดอ้ อกข้อบงั คบั ประกาศ และหลักเกณฑเ์ ก่ยี วกบั ทุนหมุนเวยี นตามพระราชบญั ญตั นิ ี้
ซงึ่ ตอ้ งดาํ เนินการภายในเวลาไมเ่ กินสองปีนบั แตว่ นั ทพี่ ระราชบญั ญตั ินี้ใชบ้ ังคับ

มาตรา ๔๖ ให้กรรมการบริหารของทุนหมุนเวียน ซึ่งดํารงตําแหน่งอยู่ในวันท่ีพระราชบัญญัตินี้
ใช้บังคับ ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียนตามพระราชบัญญัติน้ีจนกว่าจะครบวาระ
การดํารงตําแหนง่

มาตรา ๔๗ ให้ผู้บริหารทุนหมุนเวียน พนักงาน และลูกจ้างตามสัญญาจ้างซึ่งปฏิบัติหน้าที่
อยู่ในวันทพ่ี ระราชบัญญัติน้ีใช้บงั คับ ปฏิบัติหน้าท่ีต่อไปไดจ้ นกวา่ สญั ญาจา้ งจะส้นิ สดุ ลง

ผรู้ ับสนองพระบรมราชโองการ
พลเอก ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา

นายกรัฐมนตรี

คูม่ อื การขอรับการสนับสนุนเงินในรูปแบบโครงการจากกองทุนเพือ่ การปอ้ งกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์ 187

เลม่ ๑๓๒ ตอนที่ ๙๒ ก หนา้ ๑๑ ๒๕ กนั ยายน ๒๕๕๘
ราชกจิ จานุเบกษา

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากพระราชบัญญัติให้อํานาจ
กระทรวงการคลงั รวมหรือยบุ เลกิ ทุนหมุนเวียน พ.ศ. ๒๕๔๓ มีบทบัญญัติที่ยังไม่ครอบคลุมการบริหารทุนหมุนเวียน
ทั้งกระบวนการ ประกอบกับปัจจุบันได้มีการจัดตั้งทุนหมุนเวียนขึ้นเป็นจํานวนมากเพ่ือเป็นทุนในการใช้จ่าย
บริหารกิจการของหน่วยงานของรัฐให้เกิดความคล่องตัวทางการเงิน โดยไม่ต้องนําส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน
แต่การบริหารทุนหมุนเวียนยังขาดประสิทธิภาพและไม่สามารถดําเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ได้อย่างแท้จริง
ดังนั้น เพื่อใหก้ ารบรหิ ารทนุ หมนุ เวียน มปี ระสทิ ธิภาพ ลดความเส่ียง และเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ
ดา้ นการเงินการคลังของรัฐ สมควรกําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจัดต้ังกํากับและบริหารทุนหมุนเวียนให้มีประสิทธิภาพ
และบงั เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม จึงจาํ เปน็ ตอ้ งตราพระราชบญั ญัตนิ ้ี

188 คู่มอื การขอรบั การสนับสนนุ เงนิ ในรปู แบบโครงการจากกองทนุ เพ่ือการป้องกนั และปราบปรามการคา้ มนษุ ย์

เลม่ ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๑๘๗ ง หนา้ ๑ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๕๗
ราชกิจจานุเบกษา

ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี

วา่ ดว้ ยการขอจัดตัง้ การดําเนินงาน และการประเมนิ ผลการดําเนินงานทุนหมนุ เวยี น
พ.ศ. ๒๕๕๗

เพ่ือให้การขอจัดต้ังและการดําเนินงานทุนหมุนเวียนเป็นมาตรฐานเดียวกัน รวมทั้ง
การประเมินผลการดําเนินงานทุนหมุนเวียนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น อันจะทําให้เกิดประโยชน์ต่อการบริหาร
การเงนิ การคลงั ภาครฐั

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๑ (๘) แหง่ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
พ.ศ. ๒๕๓๔ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติในฐานะผู้ใช้อํานาจนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี
ตามมาตรา ๔๓ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับช่ัวคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗
จึงวางระเบยี บไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้

ขอ้ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการขอจัดต้ัง การดําเนินงาน
และการประเมนิ ผลการดําเนนิ งานทุนหมนุ เวยี น พ.ศ. ๒๕๕๗”

ขอ้ ๒ ระเบยี บน้ใี ห้ใชบ้ ังคบั ต้งั แต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ในระเบียบนี้
“ทุนหมุนเวียน” หมายความว่า กองทุน กองทุนหมุนเวียน เงินทุน เงินทุนหมุนเวียน ทุน
ทุนหมุนเวียน หรือที่เรียกช่ืออย่างอื่น ซึ่งมีกฎหมายต้ังขึ้นเพ่ือกิจการที่อนุญาตให้นํารายรับสมทบทุน
ไว้ใช้จา่ ยได้
“ผู้บริหารทุนหมุนเวียน” หมายความว่า ผู้อาํ นวยการ ผจู้ ดั การ หรอื ทีเ่ รยี กชอื่ อย่างอ่ืนซ่ึงทําหน้าที่
บรหิ ารทนุ หมนุ เวียน
“พนักงาน” หมายความว่า พนักงาน ลูกจ้างชั่วคราว ลูกจ้างประจํา หรือท่ีเรียกชื่ออย่างอ่ืน
ทจี่ ้างจากเงินทุนหมนุ เวียนเพื่อปฏบิ ัตงิ านเกี่ยวกับภารกิจของทนุ หมุนเวียน
“หน่วยงานเจ้าของทุนหมุนเวียน” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการ
ที่เรียกช่ืออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ส่วนราชการสังกัดรัฐสภา รัฐวิสาหกิจ ทุนหมุนเวียนที่เป็นนิติบุคคล
และหนว่ ยงานอื่นของรฐั แตไ่ ม่หมายความรวมถงึ องค์การมหาชน หรือองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน
ขอ้ ๔ ให้นายกรัฐมนตรรี กั ษาการตามระเบียบน้ี

หมวด ๑
บททัว่ ไป

ข้อ ๕ ทุนหมุนเวียนใดที่มีกฎหมายบัญญัติเกี่ยวกับการบริหารจัดการทุนหมุนเวียนการเงิน
และการบัญชี การตรวจสอบและการรายงานทางการเงิน และการประเมินผลการดําเนินงาน
ทุนหมุนเวยี นไวเ้ ป็นการเฉพาะแลว้ ใหเ้ ปน็ ไปตามบทบัญญตั แิ ห่งกฎหมายนั้น แต่กรณีท่ีมิได้มีบทบัญญัติ
ในเรอื่ งใดไว้ ใหถ้ อื ปฏิบัตติ ามระเบียบนี้

คูม่ ือการขอรบั การสนบั สนนุ เงนิ ในรูปแบบโครงการจากกองทนุ เพอื่ การปอ้ งกันและปราบปรามการคา้ มนษุ ย์ 189

เลม่ ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๑๘๗ ง หน้า ๒ ๒๓ กันยายน ๒๕๕๗
ราชกจิ จานุเบกษา

ขอ้ ๖ วิธีปฏิบัติอื่นใดท่ีมิได้กําหนดไว้ในระเบียบนี้ ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ
วา่ ดว้ ยการน้นั โดยอนุโลม

ขอ้ ๗ ในกรณีที่ทุนหมุนเวียนใดมีความจําเป็นต้องปฏิบัตินอกเหนือจากท่ีกําหนดไว้
ในระเบียบนี้ ใหข้ อทําความตกลงกับกระทรวงการคลัง

หมวด ๒
การขอจัดต้ังทนุ หมนุ เวยี น

ขอ้ ๘ ก่อนท่ีจะมีการเสนอคณะรัฐมนตรีเพ่ือพิจารณาอนุมัติให้มีการจัดต้ังทุนหมุนเวียน
ให้หน่วยงานของรัฐท่ีประสงค์จะจัดต้ังทุนหมุนเวียน จัดทําเร่ืองเสนอคณะกรรมการกล่ันกรองการจัดต้ัง
ทุนหมุนเวียนท่ีคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง เพ่ือให้คณะกรรมการดังกล่าวเสนอความเห็นประกอบการพิจารณา
ของคณะรัฐมนตรี โดยหน่วยงานของรัฐต้องจัดทํารายละเอียดในการเสนอขอจัดตั้งทุนหมุนเวียน
ตามหลักเกณฑ์การขอจัดตั้งทุนหมุนเวียนของทางราชการท่ีกระทรวงการคลังกําหนด ในกรณี
ทุนหมุนเวียนใดมีความจําเป็นต้องจัดตั้งและมีความสําคัญเฉพาะในช่วงระยะเวลาใดเวลาหน่ึง ต้องมี
การกาํ หนดกรอบระยะเวลาการดําเนินงานและวงเงินดําเนินการไว้ให้ชัดเจนดว้ ย

ให้กรมบัญชีกลางทําหน้าที่เป็นหน่วยงานธุรการของคณะกรรมการกล่ันกรองการจัดตั้ง
ทนุ หมนุ เวยี น

ขอ้ ๙ ทุนหมนุ เวยี นที่ขอจดั ต้งั ตอ้ งมีลกั ษณะ ดังต่อไปน้ี
(๑) ไม่ซํ้าซ้อนกับทุนหมุนเวียนท่ีได้ดําเนินการอยู่แล้ว หรือไม่ซํ้าซ้อนกับหน้าท่ีหลัก
ของหน่วยงานของรัฐอื่น หรอื มกี ารดําเนนิ งานในลกั ษณะเดยี วกบั การปฏิบตั ิงานตามภารกิจปกติของสว่ นราชการ
(๒) ไม่เป็นการแข่งขันกับภาคเอกชน หรือรัฐวิสาหกิจ หรือกิจกรรมที่เอกชนหรือรัฐวิสาหกิจ
สามารถดําเนนิ การได้
(๓) ไม่มีลักษณะที่กําหนดให้ใช้จ่ายเฉพาะดอกผลโดยขอรับการจัดสรรเงินงบประมาณเป็นทุน
ประเดิมและเงินสมทบ เพ่ือนําไปฝากสถาบันการเงินเพื่อให้ได้ดอกผลมาเป็นค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน
ของทุนหมนุ เวยี น
(๔) มลี ักษณะอ่ืนใดตามทค่ี ณะกรรมการกล่นั กรองการจัดตั้งทุนหมนุ เวียนกาํ หนด
ขอ้ ๑๐ เม่ือคณะรัฐมนตรีได้อนุมัติให้จัดตั้งทุนหมุนเวียนแล้ว ให้หน่วยงานเจ้าของทุน
หมนุ เวียนดาํ เนนิ การดงั ตอ่ ไปนี้เพ่ือรองรับการดําเนนิ งานทุนหมนุ เวียนต่อไป
(๑) แจ้งกระทรวงการคลัง เพื่อกําหนดโครงสร้างของทุนหมุนเวียนในระบบการบริหารการเงิน
การคลังภาครัฐแบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ เพอ่ื รองรับการบันทกึ รายการทางการเงินของทนุ หมุนเวียน
(๒) จัดทําระเบียบการบริหารทุนหมุนเวียนและระเบียบอื่นท่ีเกี่ยวข้อง เสนอให้ผู้มีอํานาจ
ดงั ต่อไปนพี้ ิจารณาและใหค้ วามเหน็ ชอบก่อนการประกาศใช้

190 ค่มู ือการขอรบั การสนับสนนุ เงนิ ในรูปแบบโครงการจากกองทุนเพ่อื การปอ้ งกนั และปราบปรามการค้ามนษุ ย์

เล่ม ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๑๘๗ ง หน้า ๓ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๕๗
ราชกิจจานุเบกษา

(ก) ทุนหมุนเวียนที่จัดตั้งตามกฎหมายเฉพาะ ให้เสนอผู้มีอํานาจตามท่ีกําหนดไว้
ในกฎหมาย

(ข) ทุนหมุนเวียนท่ีจัดตั้งตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ
ให้เสนอกระทรวงการคลัง

หมวด ๓
การดาํ เนนิ งานทุนหมนุ เวียน

ส่วนที่ ๑
การบริหารจัดการทุนหมุนเวียน

ขอ้ ๑๑ ในการบริหารจัดการทุนหมุนเวียนหนึ่ง ๆ ให้มีคณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียน
คณะหนงึ่ ประกอบดว้ ย รฐั มนตรเี จ้าสังกัดหรือหัวหน้าหน่วยงานเจ้าของทุนหมนุ เวียนเป็นประธานกรรมการ
ผู้แทนสํานักงบประมาณ ผู้แทนสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ผู้แทนสํานักงานคณะกรรมการพัฒนา
การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผู้แทนกระทรวงการคลัง และผู้แทนหน่วยงานเจ้าของทุนหมุนเวียน
ไม่เกินสองคน เป็นกรรมการ และผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งประธานกรรมการแต่งต้ัง โดยความเห็นชอบของ
กระทรวงการคลัง จํานวนไม่เกินสามคน จากผู้ที่มีความรู้ด้านการเงิน เศรษฐศาสตร์ หรือการลงทุน
ด้านกฎหมาย หรือด้านอืน่ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับทนุ หมุนเวยี น เป็นกรรมการ

ให้ผู้บริหารทนุ หมุนเวียนเปน็ กรรมการและเลขานุการ
ขอ้ ๑๒ กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒติ ้องมคี ณุ สมบัติและไมม่ ีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
(๑) มีสญั ชาตไิ ทย
(๒) มอี ายุไมเ่ กนิ หกสิบห้าปีบริบูรณ์
(๓) ไม่เป็นบุคคลซึ่งทางราชการหรือรัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอ่ืนของรัฐไล่ออก ให้ออกหรือ
เลิกจา้ งเพราะทจุ ริตต่อหนา้ ที่
(๔) ไม่เป็นผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง หรือกรรมการ ที่ปรึกษา และเจ้าหน้าที่ของ
พรรคการเมืองหรอื ผูบ้ รหิ ารทอ้ งถ่นิ
(๕) ไม่เปน็ ผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสยี ในการดําเนนิ งานของทนุ หมุนเวียน
ในกรณีที่มีความจําเป็นต้องแต่งตั้งชาวต่างประเทศเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ให้ขออนุมัติ
กระทรวงการคลงั เปน็ การเฉพาะราย
ขอ้ ๑๓ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละส่ีปี และอาจได้รับการแต่งต้ังอีกได้
แตไ่ ม่เกนิ สองวาระติดต่อกัน

คู่มอื การขอรบั การสนบั สนนุ เงินในรูปแบบโครงการจากกองทุนเพ่อื การป้องกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์ 191

เลม่ ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๑๘๗ ง หนา้ ๔ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๕๗
ราชกิจจานุเบกษา

ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่งก่อนวาระ ให้ประธานกรรมการแต่งต้ังกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิแทน โดยให้มีวาระการดํารงตําแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ทพ่ี ้นจากตาํ แหน่ง

เมื่อครบกําหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังมิได้มีการแต่งต้ังกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่
ใหก้ รรมการผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงพ้นจากตําแหน่งตามวาระนั้นปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่ากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ซ่งึ ไดร้ ับแต่งต้งั ใหม่เขา้ รบั หนา้ ท่ี

ข้อ ๑๔ นอกจากการพน้ จากตาํ แหนง่ ตามข้อ ๑๓ กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ พิ น้ จากตําแหนง่ เมอ่ื
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) เป็นบุคคลล้มละลาย
(๔) เปน็ คนไรค้ วามสามารถหรอื คนเสมือนไร้ความสามารถ
(๕) ถูกลงโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก เว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิด
ทีไ่ ดก้ ระทําโดยประมาทหรอื ความผิดลหุโทษ
(๖) ขาดคณุ สมบตั หิ รือมีลกั ษณะต้องหา้ มตามข้อ ๑๒
ข้อ ๑๕ ใหค้ ณะกรรมการบริหารทนุ หมุนเวยี นมีอํานาจหน้าที่ ดงั ต่อไปน้ี
(๑) กําหนดนโยบายและแผนยทุ ธศาสตรข์ องทนุ หมนุ เวียน
(๒) กําหนดระเบียบหรือข้อบังคับเก่ียวกับการบริหารงานบุคคล ตลอดจนกําหนด
ค่าตอบแทน สิทธิประโยชน์ หรือสวัสดิการต่าง ๆ ของผู้บริหารทุนหมุนเวียนที่มาจากการสรรหา
และพนักงาน โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง
(๓) พิจารณาอนุมัติหรือให้ความเห็นชอบแผนงบประมาณรายรับและรายจ่ายประจําปี
และแผนการดําเนินงานของทุนหมุนเวียน
(๔) กาํ กบั ดูแล และติดตามการดําเนนิ งานใหเ้ ปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ของทุนหมุนเวียน
(๕) แต่งต้ังคณะอนุกรรมการ หรือคณะทํางาน เพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการตามท่ี
คณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียนมอบหมาย
(๖) ปฏบิ ตั หิ น้าท่ีอนื่ ใดตามท่ีกาํ หนดไวใ้ นระเบียบน้ี
ข้อ ๑๖ หน่วยงานเจ้าของทุนหมุนเวียนต้องจัดให้มีการประชุมคณะกรรมการบริหาร
ทุนหมุนเวียนอย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้งหรือเท่าที่จําเป็นโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหาร
ทุนหมุนเวียน
ข้อ ๑๗ การประชุมของคณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียนต้องมีกรรมการมาประชุม
ไมน่ อ้ ยกวา่ กึ่งหนง่ึ ของจาํ นวนกรรมการทง้ั หมด จงึ จะเปน็ องคป์ ระชุม
ในการประชุมของคณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียน ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุม
หรือไมอ่ าจปฏิบตั ิหน้าทีไ่ ด้ ให้กรรมการท่มี าประชมุ เลือกกรรมการคนหน่ึงเป็นประธานในทีป่ ระชุม

192 คูม่ ือการขอรับการสนับสนนุ เงนิ ในรูปแบบโครงการจากกองทุนเพ่อื การปอ้ งกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์


Click to View FlipBook Version