The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR63โรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษก(แก้ไข)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chattuporn6599, 2021-05-11 04:02:34

SAR63โรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษก(แก้ไข)

SAR63โรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษก(แก้ไข)



บทสรปุ รายงานการผลการพฒั นาคุณภาพสถานศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

ผสู้ รปุ รายงาน : นายประภาส สนทิ รัมย์ ผ้อู านวยการสถานศกึ ษา เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๙ ๖๒๙ ๕๘๕๕
โรงเรียนละหานทรายรชั ดาภิเษก ทีต่ ง้ั ๒๖๔ หมู่ ๘ ถนนละหานทราย-บา้ นกรวด ตาบลละหานทราย
อาเภอละหานทราย จังหวดั บุรรี ัมย์ ๓๑๑๗๐ เบอรโ์ ทรศัพท์ ๐๔๔ ๖๔๙ ๐๐๗ เว็บไซด์ www.lrp.ac.th
มจี านวนนักเรยี น ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ทง้ั สิน้ ๒,๗๐๙ คน เปน็ โรงเรยี นขนาดใหญ่พิเศษ ผบู้ ริหาร ๕ คน
ขา้ ราชการครู ๑๓๓ คน พนักงานราชการ ๗ คน ครูอัตราจ้าง ๖ คน เจ้าหนา้ ทอ่ี ่ืน ๆ ๑๗ คน รวมบุคลากรท้งั สนิ้
๑๖๙ คน จัดการศกึ ษาในระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑-๖ และประกาศนียบตั รวชิ าชีพชั้นปีที่ ๑-๓ วิสยั ทัศน์ โรงเรยี น
ละหานทรายรชั ดาภิเษกมุ่งม่ันพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียนให้ “เรยี นรอู้ ยา่ งสขุ ใจ ใฝค่ ุณความดี มีปญั ญาเลิศ”
ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาในภาพรวมอยูใ่ นระดบั คณุ ภาพ : ดีเลิศ
จากผลการดาเนนิ งาน โครงการ และกจิ กรรมตา่ ง ๆ ตามแผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปี สง่ ผลใหส้ ถานศึกษา
จัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประสบผลสาเร็จตามที่ตง้ั เป้าหมายไวใ้ นแตล่ ะมาตรฐาน จากผลการประเมนิ
ภาพรวมในระดับดีเลิศ โดยมาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผเู้ รยี น ระดบั ดเี ลิศ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ าร
และการจดั การ ระดับยอดเย่ียม และมาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผ้เู รียนเป็นสาคัญ
ระดบั ยอดเย่ียม
ครมู กี ระบวนการพฒั นาผ้เู รยี นด้วยวิธกี ารทหี่ ลากหลาย ออกแบบการจดั การเรยี นรู้ทีเ่ หมาะสมมุ่งพัฒนาให้
ผู้เรียนทุกคนอ่านออกและเขียนได้ ใช้สื่อเทคโนโลยีในการจัดการเรยี นการสอน ใชก้ ระบวนการ PLC ในการแก้ไข
ปญั หาและพัฒนาผูเ้ รียน ผลการดาเนนิ งานดา้ นคณุ ภาพผเู้ รยี น ผู้เรียนมีความสามารถในการอา่ น การเขยี นการ
สอื่ สาร และการคดิ คานวณ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๙๒.๑๐ ผลการทดสอบระดบั ชาตขิ ้นั พ้ืนฐาน (O-NET) ระดับชนั้ ม.๓
เพม่ิ ขึน้ และมีคา่ เฉลยี่ สูงกว่าระดับประเทศ ผลคะแนน (V-NET) ระดบั ปวช.๓ ภาพรวมสูงกวา่ ระดบั ประเทศ
ในขณะท่ี (O-NET) ระดับ ม. ๖ ภาพรวมสูงข้นึ แตค่ ่าเฉล่ียยังตา่ กว่าระดบั ประเทศ ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์
คิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลย่ี น ความคิดเห็น โดยใช้เหตุผลประกอบการตดั สินใจ และแกป้ ัญหาได้ คดิ
เปน็ รอ้ ยละ ๘๒.๔๗ ความสามารถในการสร้างนวตั กรรม คิดเปน็ รอ้ ยละ ๖๕.๓๓ ในรายวชิ า IS นกั เรยี นมผี ลสมั ฤทธ์ิ
ในระดับดีขนึ้ ไป ร้อยละ ๙๑.๓๖ ขาดการเผยแพรแ่ ละนาไปใช้อย่างเป็นระบบ นักเรียนมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น
ตามหลักสตู รสถานศึกษา คิดเปน็ ร้อยละ ๙๓.๑๙ รอ้ ยละของนกั เรียนทีม่ ผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนระดับดีข้นึ ไปมี
แนวโน้มเพ่ิมขน้ึ ทกุ ปี ร้อยละเฉลีย่ ของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนปี ๒๕๖๓ เพมิ่ ขึ้น ร้อยละ ๐ ร มส แตล่ ะรายวชิ า
เพิ่มขน้ึ นักเรยี นมคี ่าเฉลีย่ ผลการเรยี น ม.๑-๖ รอ้ ยละ ๗๓.๘๘ และร้อยละของนกั เรียนที่ไดร้ ะดับดีขน้ึ ไป ๖๖.๒๘
ซง่ึ ตา่ กวา่ คา่ เปา้ หมายทต่ี ง้ั ไว้ร้อยละ ๗๒ มคี วามรู้ ทกั ษะพ้ืนฐาน และเจตคตทิ ี่ดพี ร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชน้ั ที่
สูงขึน้ การทางานหรืองานอาชีพ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๙๐.๖๒ มคี ุณลักษณะและคา่ นิยมที่ดีสงู กว่าเปา้ หมายทสี่ ถานศึกษา
กาหนด คิดเป็นร้อยละ ๙๕.๒๐ มีผลการประเมนิ คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ การอา่ นคดิ วเิ คราะห์
และเขยี นส่ือความ สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น ตามหลกั สตู รสถานศึกษา ในระดับดีขน้ึ ไปร้อยละ ๙๘.๔๖, ๙๘.๕๖
และ ๙๘.๕๖ ตามลาดับ เปน็ แบบอย่างทดี่ ี มคี วามภูมิใจในท้องถนิ่ เหน็ คุณค่าของความเปน็ ไทย มีส่วนร่วมในการ
อนุรกั ษว์ ัฒนธรรม ประเพณีและภูมิปัญญาไทย คดิ เปน็ ร้อยละ ๙๕.๕๐ สามารถอยรู่ ่วมกันบนความแตกต่างและ
หลากหลาย คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๙๔.๕๗ ผเู้ รยี นมสี ขุ ภาวะทางร่างกาย และจติ สังคมตามเปา้ หมายท่สี ถานศึกษากาหนด

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนละหานทรายรชั ดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)



คิดเปน็ ร้อยละ ๙๔.๘๗ จดุ เดน่ อ่านหนังสือออกและอา่ นคล่อง รวมทัง้ สามารถเขยี นเพื่อการส่ือสารได้ ทุกคน
สามารถใชเ้ ทคโนโลยใี นการแสวงหาความรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง สง่ ผลให้ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นพัฒนาขึ้น มีสขุ ภาพ
ร่างกายแขง็ แรง มสี มรรถภาพทางกายและนา้ หนักสว่ นสูงตามเกณฑ์ มีความใฝ่ดี ใฝร่ ู้ อยู่อย่างพอเพียง
เกิดอัตลักษณ์ เป็นท่ียอมรับของชมุ ชน จุดท่ีควรพัฒนา ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอยา่ งมีวิจารณญาณ
อภปิ รายแลกเปลย่ี น ความคดิ เหน็ โดยใช้เหตุผลประกอบการตดั สินใจและแกป้ ญั หาได้ ความสามารถในการสรา้ ง
นวัตกรรม มกี ารเผยแพร่ และนาไปใช้ให้มากข้ึน แผนการจดั การพฒั นาคณุ ภาพเพ่ือยกระดับคุณภาพมาตรฐาน
ด้านคณุ ภาพผ้เู รยี นใหส้ งู ขึ้น ดาเนนิ การตามโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล สง่ เสรมิ ความสามารถในการคิด
วิเคราะห์ คดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลี่ยน ความคดิ เหน็ โดยใช้เหตผุ ลประกอบการตัดสินใจ และ
แก้ปญั หาได้ พัฒนาความสามารถในการสร้างนวตั กรรม มกี ารเผยแพร่และนาไปใช้ให้เป็นระบบมากขึน้

สถานศกึ ษาดาเนินการวิเคราะห์สภาพปญั หา ผลการจดั การศึกษาท่ีผา่ นมาศกึ ษาข้อมลู สารสนเทศ
ผลการนิเทศ ตดิ ตาม ประเมินการจัดการศกึ ษา จดั ประชุมระดมความคดิ เหน็ เพ่ือวางแผนร่วมกันกาหนดเป้าหมาย
ปรบั วสิ ัยทศั น์ กาหนดพันธกจิ กลยุทธ์ ในการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษาเพื่อพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น
ปรบั แผนพฒั นาคุณภาพจดั การศกึ ษา แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี ใหส้ อดคล้องกับสภาพปัญหา ความตอ้ งการพัฒนา
จดั หาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานผูร้ บั ผิดชอบ ดาเนินการพัฒนาตามแผนงานเพอื่ ให้บรรลุ
เปา้ หมายท่ีกาหนดไว้ มีการดาเนนิ การนเิ ทศ กากับ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดาเนินงาน และสรุปผลการดาเนินงาน
ผลการดาเนนิ งานดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มีเป้าหมายวิสัยทัศนแ์ ละพันธกิจท่ีสถานศึกษากาหนด
ชดั เจน สอดคลอ้ งกับบรบิ ท ทันต่อการเปล่ียนแปลง มรี ะบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษาท่ชี ัดเจนบรหิ าร
จดั การโดยใชว้ งจรคุณภาพ PDCA ของเดมมิง่ ด้วยค่านยิ มองค์กร “ครอบครวั รัชดา LRP” โดยความร่วมมือของ
ผู้เก่ยี วข้องทุกฝา่ ย มกี ารนาข้อมลู มาใชใ้ นการปรับปรุง พัฒนางานอยา่ งต่อเนื่องเปน็ แบบอย่างได้ ดาเนินงานพฒั นา
วิชาการท่ีเน้นคณุ ภาพผเู้ รียนทุกกล่มุ เป้าหมายเช่ือมโยงกับชวี ติ จรงิ ตามหลักสูตรสถานศึกษามุ่งสูม่ าตรฐานสากล
พัฒนาครูและบคุ ลากรใหม้ ีความเชย่ี วชาญทางวชิ าชพี ตรงตามความต้องการของครูและสถานศกึ ษา และจัดให้มี
ชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาชพี PLC เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและพฒั นางาน จัดสภาพแวดล้อมทาง
กายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจดั การเรียนรอู้ ย่างมคี ุณภาพ และมีความปลอดภัย จดั สภาพแวดล้อมให้ “น่าดู น่า
อยู่ น่าเรยี น” พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื สนับสนุนการบริหารจัดการและการจดั การเรยี นรทู้ ่ีเหมาะสม
กับสภาพของสถานศกึ ษา จุดเด่น มกี ารบรหิ ารและการจดั การอย่างเปน็ ระบบ ใช้เทคนคิ การประชุมทีห่ ลากหลายวธิ ี
เพือ่ ให้ทุกฝ่ายมสี ว่ นร่วมในการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษา สอดคล้องกับผลการจดั การศึกษา สภาพ
ปญั หา ความต้องการพฒั นา และให้ผ้เู รยี นมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นร้ตู ามหลักสูตรสถานศึกษา ครผู ู้สอน
สามารถจัดการเรียนรู้ได้อยา่ งมีคุณภาพ มกี ารนเิ ทศ กากบั ติดตาม ประเมินผล การดาเนินงาน และจดั ทารายงาน
ผลการจัดการศึกษา ใช้กระบวนการวิจัยในการรวบรวมขอ้ มลู เพื่อใชเ้ ปน็ ฐานในการวางแผนพัฒนาคุณภาพ
สถานศกึ ษา จดุ ทคี่ วรพฒั นา สรา้ งเครอื ข่ายความรว่ มมือของผ้มู ีส่วนเก่ยี วข้องในการจดั การศึกษาของโรงเรียนให้มี
ความเข้มแข็ง มสี ว่ นรว่ มรบั ผดิ ชอบต่อผลการจัดการศึกษา และการขบั เคลือ่ นคณุ ภาพการจัดการศึกษา แผนการ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)



จัดการพฒั นาคณุ ภาพเพอ่ื ยกระดับคุณภาพมาตรฐานดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจัดการให้สงู ข้ึน พฒั นา

โรงเรียนเข้าส่มู าตรฐานสากลโดยผา่ นการประเมิน ScQA

ครูจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั ใช้วธิ กี ารทห่ี ลากหลาย มกี ารบรู ณาการ การเรยี นการสอน
ที่สรา้ งโอกาสใหน้ ักเรยี นทุกคนมสี ว่ นรว่ ม คดิ ริเริ่ม ลงมอื ปฏิบตั ิจนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง การสอนท่ีเนน้ ทักษะ
การคิด ศึกษาแหลง่ เรียนรู้ตา่ ง ๆ ท้งั ภายในหอ้ งเรียนและนอกห้องเรียน ใชส้ ่ือการเรียนรู้นวตั กรรม/เทคโนโลยี
ภมู ิปญั ญาท้องถิ่น ครูวจิ ยั ในช้ันเรยี นอย่างน้อยปกี ารศกึ ษาละ ๑ เรื่อง และจดั กลุ่ม PLC เพือ่ พฒั นาการสอน ครมู ี
คณุ ภาพตามมาตรฐานระดบั ดีขนึ้ ไป คิดเป็นร้อยละ ๙๒.๙๐ ผลการดาเนนิ งานดา้ นกระบวนการจัดการเรียนการ
สอนทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ ครจู ัดการเรียนรูผ้ ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจรงิ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวดั
ของหลกั สูตรสถานศึกษา มีแผนการจัดการเรียนรูท้ ส่ี ามารถนาไปจดั กจิ กรรมได้จริง และสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้
ในชีวติ ได้ ใช้สื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ รวมท้งั ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ท่ีเอ้ือต่อการเรยี นรู้ ตรวจสอบ
และประเมินผเู้ รยี นอยา่ งเปน็ ระบบ มขี ้นั ตอนโดยใช้เคร่ืองมือและวิธีการวดั และประเมนิ ผลท่ีเหมาะสมกับเป้าหมาย
ในการจดั การเรยี นรู้ ให้ข้อมูลยอ้ นกลับแกผ่ ้เู รยี น และนาผลมาพัฒนาผู้เรยี น มีการบริหารจัดการชน้ั เรียนเชงิ บวก
เดก็ รักท่จี ะเรียนรู้ “ครูรักเดก็ เด็กรักครู”และเรยี นรรู้ ว่ มกันอยา่ งมีความสขุ มีชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ
ระหวา่ งครูเพ่ือพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรยี น แต่ขาดการเผยแพร่นวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้อยา่ ง
กว้างขวาง และขาดเวทใี นการนาเสนอให้ผู้เกี่ยวข้องมีการแลกเปล่ยี นเรยี นรแู้ ละให้ข้อมูลสะท้อนกลบั เพ่ือพฒั นา
และปรบั ปรุงการจัดการเรียนรู้ จดุ เดน่ ครูตงั้ ใจ ม่งุ มน่ั ในการพฒั นาการสอนครจู ัดกิจกรรมให้นกั เรยี นแสวงหา
ความรู้จากสือ่ เทคโนโลยดี ้วยตนเองอย่างต่อเนอ่ื งครูใหน้ ักเรยี นมีส่วนรว่ มในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมท่ีเอื้อ
ต่อการเรียนรู้ครูจดั กจิ กรรมใหน้ ักเรยี นเรียนรูโ้ ดยการคดิ ไดป้ ฏิบตั จิ รงิ ดว้ ยวธิ กี ารและแหล่งเรยี นรทู้ ีห่ ลากหลายครู
ทาวิจยั ในชน้ั เรยี นทกุ คน พร้อมทั้งใช้กระบวนการ PLC ในการพฒั นา จุดทีค่ วรพฒั นา เผยแพร่นวัตกรรมในการ
จดั การเรียนรู้อย่างกว้างขวาง ส่งเสรมิ กิจกรรม PLC สร้างเวทใี นการนาเสนอให้ผู้เกีย่ วข้องมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
และใหข้ ้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพฒั นาและปรับปรุงการจัดการเรยี นรู้ แผนการจดั การพฒั นาคุณภาพเพ่อื ยกระดับ
คุณภาพมาตรฐานดา้ นกระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั ให้สูงข้ึน การพัฒนาโรงเรียนเขา้
สมู่ าตรฐานสากลโดยผา่ นการประเมนิ ScQA ส่งเสรมิ กิจกรรม PLC สง่ เสรมิ ครูเข้ารับการประเมินเพอื่ ใหม้ ีหรือขอ
เล่อื นวิทยฐานะ ส่งเสริมการเผยแพรป่ ระกวดผลงาน เผยแพร่ และแลกเปลี่ยนเรยี นรขู้ องครูในเวทรี ะดับตา่ ง ๆ

โรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภิเษกมงุ่ ม่ันพฒั นาสู่โรงเรยี นมาตรฐานสากล มีแผนพฒั นาเพ่ือให้ได้มาตรฐาน
ที่สงู ข้ึนส่เู ปา้ หมายใหน้ กั เรยี น “เรยี นรอู้ ยา่ งสุขใจ ใฝค่ ุณความดี มีปญั ญาเลิศ โรงเรียนละหานทรายรชั ดาภิเษก
บรหิ ารจดั การโดยใช้วงจรคุณภาพ PDCA ของเดมมิ่ง ดว้ ยค่านยิ มองค์กร “ครอบครวั รชั ดา LRP” ดงั จุดเนน้ ต่อไปน้ี
จุดเน้นที่ ๑ ครอบครวั รชั ดา LRP “ครรู กั เด็ก เด็กรกั คร”ู โดยการพัฒนางาน/โครงการ/กจิ กรรมตามแนวคิด No

Child Left Behind “ไมม่ ีเด็กคนใด ถูกทอดทิ้งไว้ขา้ งหลงั ” โครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล โครงการห้องเรยี น

เขม้ ข้นวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ โครงการพฒั นาอจั ฉริยภาพทกั ษะนักเรียน โครงการพฒั นากิจกรรมแนะแนว

โครงการประชมุ ผู้ปกครองนกั เรียนช้นั ม.๓ ม.๖ และนักเรยี นทีม่ ปี ัญหาขาดเรียนตอ่ เนอ่ื ง โครงการพัฒนาการเรยี น

การสอนทุกกลุม่ สาระการเรยี นรทู้ ุกกลมุ่ วิชา โครงการพัฒนานักเรยี นตามระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน โครงการ

แพะพระราชทานหลกั สูตรบูรณาการการเลย้ี งแพะ การทาปยุ๋ คอก การเลย้ี งไก่ การทาการเกษตร โครงการโคก

หนองนาศนู ย์กสกิ รรมตามรอยพอ่ สานต่องานพระราชดาริ โครงการอบรมส่งเสริมอาชีพ โครงการงานสวน

พฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น โครงการตลาดนัดวิชาการ L.R.P โครงการพฒั นาศักยภาพกีฬาสูค่ วามเปน็ เลิศ ค่ายพัฒนา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรัชดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)



ศักยภาพทางดา้ นกฬี า โครงการพฒั นากีฬาสู่ความเป็นเลิศ หอ้ งเรียนนักกีฬา งาน TO BE NUMBER ONE เปน็ หน่งึ
โดยไม่พง่ึ ยาเสพตดิ
จุดเน้นที่ ๒ ครอบครวั รชั ดา LRP “ครรู กั กัน” โดยการพัฒนางาน/โครงการ/กิจกรรมด้านการพฒั นาบุคลากร
โครงการขับเคล่อื น PLC ในสถานศกึ ษา โครงการนิเทศภายใน โครงการแลกเปลย่ี นเรียนรูน้ วัตกรรมการจัดการ
เรยี นรู้ โครงการพฒั นาครูและบคุ ลากร โครงการเหยา้ เยอื นเพอื่ นรัชดา

ส่วนท่ี ๑ ข้อมูลพน้ื ฐานของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

๑.๑ ขอ้ มูลท่ัวไป

ชื่อโรงเรียนละหานทรายรัชดาภเิ ษก ที่อยู่ ๒๖๔ หมู่ ๘ อาเภอละหานทราย จังหวดั บุรีรัมย์ ๓๑๑๗๐
สังกัดเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๓๒ โทรศพั ท์ ๐๔๔-๖๔๙๐๐๗ โทรสาร ๐๔๔-๖๔๙๐๐๗ เปดิ สอน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ถึงระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ และระดับประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.)

ข้อมูลดา้ นการบรหิ าร
๑. ชือ่ – สกุลผบู้ ริหาร นายประภาส สนิทรัมย์ วฒุ ิการศึกษาสูงสุดปริญญาโท กศ.ม. สาขา

เทคโนโลยีทางการศึกษา ดารงตาแหน่งผ้อู านวยการโรงเรยี น วทิ ยฐานะ ผ้อู านวยการชานาญการพิเศษ
๒. รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา จานวน ๔ คน ประกอบด้วย
๒.๑ นายสพุ จน์ ปานใจนาม วุฒกิ ารศกึ ษาสูงสุดปรญิ ญาโท กศ.ม. สาขาการบรหิ ารการศึกษา

รับผิดชอบบริหารกลุ่มงานบริหารทั่วไป ดารงตาแหน่ง รองผ้อู านวยการ วทิ ยฐานะ รองผอู้ านวยการชานาญการ
พเิ ศษ

๒.๒ นายอภชิ า วงศเ์ มธชนนั วฒุ ิการศึกษาปริญญาโท กศ.ม. สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา
รับผดิ ชอบบรหิ ารงานงบประมาณและงานบุคคล ดารงตาแหนง่ รองผูอ้ านวยการ วทิ ยฐานะ รองผู้อานวยการ
ชานาญการพิเศษ

๒.๓ นายจันทร์เทพ สขุ กระโทก วุฒกิ ารศึกษาสูงสุดประกาศนียบัตรบัณฑติ ทางการบริหารการศกึ ษา
รับผิดชอบบริหารกลุม่ งานบริหารวชิ าการ ดารงตาแหน่ง รองผ้อู านวยการ วิทยฐานะ รองผ้อู านวยการชานาญการ
พเิ ศษ

๒.๔ นายบญุ เย่ยี ม วงศรษี า วุฒกิ ารศึกษาปริญญาโท ศษ.ม. สาขาการบริหารการศึกษา
รบั ผิดชอบบริหารกลุ่มงานกิจการนกั เรียน ดารงตาแหนง่ รองผอู้ านวยการ วิทยฐานะ รองผอู้ านวยการชานาญการ
พเิ ศษ

วสิ ยั ทัศน์ โรงเรยี นละหานทรายรัชดาภิเษกมงุ่ ม่ันพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนให้
“เรียนรู้อย่างสขุ ใจ ใฝค่ ณุ ความดี มีปญั ญาเปน็ เลิศ”

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)



พนั ธกจิ
๑. พฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษา ใหผ้ ูเ้ รยี นเรยี นรอู้ ย่างเต็มศกั ยภาพเทียบเคยี งมาตรฐานสากล
๒. สง่ เสริม พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและใช้นวัตกรรมเพ่ือการจัดการศึกษาสคู่ วามเป็นเลศิ

ดา้ นวิชาการ
๓. สง่ เสรมิ การใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาตา่ งประเทศอื่น ๆ ในการสอ่ื สาร
๔. สง่ เสริมกจิ กรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จดั ทาโครงงานและผลิตผลงานอย่างสรา้ งสรรค์ โดยใช้เทคโนโลยี
๕. จดั ระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ผู้เรียนมีคุณธรรมและจริยธรรม ร้ภู าวการณ์ของโลก

อนุรักษส์ ิง่ แวดลอ้ ม รบั ผิดชอบต่อสังคมโลก
๖. สง่ เสรมิ ใหบ้ คุ ลากรพัฒนาตนเองเปน็ ครูมืออาชีพ และสร้างเครือขา่ ยการเรยี นรู้
๗. สง่ เสริม สบื สาน ตระหนักและอนุรักษใ์ นความเปน็ ไทย เขา้ ใจความหลากหลายทางวฒั นธรรม ดารงชีวติ ตาม

หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๘. พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการแบบบูรณาการและส่งเสริมให้ทุกภาคสว่ นมีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษา

เป้าประสงค์
๑. โรงเรียนมีหลักสตู รสถานศกึ ษาเทียบเคียงกับหลักสูตรมาตรฐานสากล
๒. โรงเรยี นมสี ่ือนวตั กรรม ICT เพอื่ การเรียนการสอนและการบรหิ ารจัดการ นาระบบ ICT มาใช้ในกา

บริหารจดั การและระบบฐานขอ้ มูลที่มปี ระสิทธภิ าพ
๓. ผู้เรียนใชภ้ าษาไทย ภาษาอังกฤษและภาษาต่างประเทศอนื่ ๆ ในการสอ่ื สารไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ
๔. ผู้เรียนนาเทคโนโลยมี าใชใ้ นการเรยี นรู้ ผลิตผลงานอย่างสรา้ งสรรค์ และจัดทาโครงงานไดอ้ ย่างมี

คุณภาพ
๕. โรงเรยี นมีระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรียนที่มีประสิทธิภาพ ผู้เรยี นมีคณุ ธรรมรบั ผดิ ชอบต่อสังคมเปน็

พลเมอื งดแี ละมีค่านิยมท่ีพงึ ประสงค์ร้อยละ ๑๐๐
๖. โรงเรยี นมคี รแู ละบุคลากรมืออาชพี มีความเช่ยี วชาญในการจดั การเรียนการสอนและการบริหาร

จดั การช้ันเรียน
๗. ผู้เรยี นมคี วามภาคภูมิใจตระหนักชืน่ ชมในวฒั นธรรมขนบธรรมเนยี มประเพณีและความเป็นไทย

ดารงชีวิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
๘. ใชเ้ ทคโนโลยใี นการบริหารจัดการเชิงบูรณาการ ใชข้ ้อมูลสารสนเทศและการวิจัยในการขับเคล่อื น

คุณภาพ กากบั ตดิ ตาม ประเมิน และรายงานผลการดาเนนิ งานอยา่ งเป็นระบบ สรา้ งเครือขา่ ยและวัฒนธรรมการ
ทางานอย่างมสี ว่ นรว่ มอย่างมีประสทิ ธิภาพ มรี ะบบบริหารการจดั การและการประกนั คุณภาพการศกึ ษาของ
โรงเรียนอย่างมปี ระสิทธภิ าพตามมาตรฐานสากล

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนละหานทรายรัชดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)



กลยุทธ์
๑. พฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษาเทียบเคียงกับมาตรฐานสากล ให้ผู้เรียนเรียนรูเ้ ตม็ ศกั ยภาพ
๒. พัฒนาระบบข้อมลู สารสนเทศใช้สอ่ื เทคโนโลยเี พ่อื การบริหารจดั การให้มมี าตรฐาน มีเอกภาพ

ประสิทธภิ าพ โปร่งใส และเป็นธรรม พัฒนาสอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรยี นรู้ใหม้ ีคุณภาพระดับสากล
๓. พฒั นาทกั ษะการใช้ภาษา สง่ เสริมการใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาต่างประเทศอ่นื ๆ

ในการส่ือสาร
๔. จัดกจิ กรรมแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ จัดทาโครงงานและผลิตผลงานอยา่ งสรา้ งสรรค์ โดยใชเ้ ทคโนโลยี
๕. จัดระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น ให้มปี ระสทิ ธิภาพ ผู้เรียนมีคณุ ธรรมและจริยธรรม รู้ภาวการณ์

ของโลก อนุรักษ์ส่ิงแวดลอ้ ม รบั ผิดชอบต่อสังคมโลก
๖. สง่ เสริมให้บุคลากรพัฒนาตนเองเป็นครูมอื อาชพี เพือ่ รองรับการเปลยี่ นแปลงสู่โรงเรียน

มาตรฐานสากล ส่งเสรมิ ใหม้ ีการนากระบวนการวจิ ัยมาพัฒนาการจัดการศกึ ษาดา้ นต่าง ๆ อย่างต่อเน่อื งและใช้
ผลงานวจิ ยั ยกระดับคุณภาพเทยี บเคยี งมาตรฐานสากล ส่งเสริมการจัดการศึกษาเปน็ เครือขา่ ยรว่ มพฒั นา
แลกเปล่ยี นเรียนรู้ในระดับทอ้ งถ่ิน ภมู ิภาคประเทศและระหว่างประเทศ

๗. ส่งเสรมิ อนุรกั ษว์ ฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณีไทย และตระหนักในความหลากหลายทาง
วฒั นธรรมประเพณีของนานาชาติ ส่งเสริมสบื สานความเปน็ ไทยยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในการ
ดารงชวี ติ

๘. การพฒั นาระบบบริหารจดั การ และสง่ เสรมิ ให้ทุกภาคส่วนมสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษา

นโยบาย
๑. พัฒนาใหผ้ ู้เรียนมีทกั ษะวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี ภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศ

และเทคโนโลยสี ารสนเทศ
๒. จัดกระบวนการเรยี นการสอนและการประเมนิ ผล โดยเนน้ กจิ กรรมมากขึน้ (๘๐ : ๒๐) รวมทั้งกาหนด

จดุ เนน้ พัฒนาผู้เรียนแตล่ ะระดบั ให้ชัดเจน
๓. สง่ เสรมิ การอ่าน การเรยี นการสอนภาษาต่างประเทศ ภาษาตา่ งประเทศท่ี ๒ และภาษาถ่นิ
๔. ปรบั หลักสตู รสถานศึกษาให้รองรับการเปลี่ยนแปลงของโลกและทดั เทียมกับมาตรฐานสากลบนความเปน็

ท้องถ่นิ และความเปน็ ไทย

จดุ เนน้
๑. ผลสมั ฤทธิ์ในวิชาหลัก (ไทย คณติ วิทย์ อังกฤษ สังคมฯ) เพ่มิ ขึ้นรอ้ ยละ ๕
๒. นกั เรยี น ทกุ คนอ่านคลอ่ ง เขยี นคล่อง คดิ เลขคล่อง และมีทักษะ การคิดขน้ั พื้นฐาน
๓. นกั เรยี นทกุ คนมีความสานกึ ในความเปน็ ไทย จิตสาธารณะ อยู่อย่างพอเพยี ง
๔. เพ่มิ ศกั ยภาพนักเรยี นดา้ นคณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศิลปศาสตร์

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนละหานทรายรชั ดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)



๕. เน้นให้ประชากรวัยเรียนทุกคนเขา้ ถึงโอกาสทางการศกึ ษาอยา่ งทวั่ ถึง ศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ
ลดอตั ราการออกกลางคนั

๖. นกั เรยี น ครู ผ้บู รหิ าร และบุคลากรทางการศึกษา ได้รบั การพฒั นาเตรียมความพร้อมสู่ประชาคม
อาเซยี น มภี ูมิคุม้ กนั ตอ่ การเปลีย่ นแปลงและสังคมพหวุ ฒั นธรรม และโรงเรยี นส่มู าตรฐานสากล

๗. พฒั นาระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแขง็

ประวัติโดยยอ่ ของสถานศึกษา

โรงเรยี นละหานทรายรัชดาภเิ ษก ตง้ั อยูใ่ นเขตเทศบาลตาบลละหานทราย เลขที่ ๒๖๔ หมู่ ๘ ตาบลละหาน

ทราย อาเภอละหานทราย จังหวัดบุรรี มั ย์ ๓๑๑๗๐ มพี ืน้ ท่ี ๒๓๙ ไร่ ๓ งาน ๙๕ ตารางวา ตง้ั ขึ้นเม่ือปกี ารศึกษา

๒๕๑๔ ในวโรกาสพระราชพธิ รี ชั ดาภิเษก อันเปน็ มหามงคลสมัยท่ีพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั

ภูมพิ ลอดลุ ยเดช เสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติครบรอบปที ี่ ๒๕ ในวนั ที่ ๙ มถิ ุนายน ๒๕๑๔

ซ่ึงกระทรวงศึกษาธิการไดป้ ระกาศจัดต้งั โรงเรยี นขึน้ เพือ่ เป็นการเฉลมิ พระเกยี รติพระองคท์ า่ น จานวน ๙ โรงเรยี น

ต้ังอยู่ในทศิ ตา่ ง ๆ ทั้ง ๘ ทศิ และให้ตง้ั อย่สู ่วนกลางอกี ๑ โรงเรยี น และไดต้ ั้งเพิ่มอีกโรงเรียนในภายหลัง รวมเป็น

๑๐ โรงเรยี น

ซ่งึ ประกอบด้วย

๑. โรงเรยี นราชประชาสมาสัยฝา่ ยมัธยมศกึ ษารัชดาภเิ ษก จังหวดั สมทุ รปราการ

๒. โรงเรยี นฉวางรชั ดาภิเษก อาเภอฉวาง จังหวัดนครศรธี รรมราช

๓. โรงเรียนท่าแซะรชั ดาภเิ ษก อาเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร

๔. โรงเรยี นขลุงรชั ดาภเิ ษก อาเภอขลุง จงั หวัดจันทบรุ ี

๕. โรงเรยี นบอ่ พลอยรัชดาภเิ ษก อาเภอบ่อพลอย จงั หวดั กาญจนบรุ ี

๖. โรงเรยี นพรหมบุรรี ชั ดาภิเษก อาเภอพรหมบุรี จงั หวดั สงิ ห์บรุ ี

๗. โรงเรียนปงรัชดาภเิ ษก อาเภอปง จังหวดั พะเยา

๘. โรงเรยี นจตุรพักตร์พิมานรชั ดาภิเษก อาเภอจตรุ พักตร์พมิ าน จงั หวดั ร้อยเอด็

๙. โรงเรียนละหานทรายรชั ดาภิเษก อาเภอละหานทราย จังหวัดบุรรี ัมย์

๑๐. โรงเรียนรชั ดาภเิ ษก อาเภอหนองจิก จังหวัดปตั ตานี

โรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภเิ ษก เปิดทาการสอนครง้ั แรก เมื่อวนั ท่ี ๑๗ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๑๔

โดยนายกมิ ยง นันทวิเชตพงษ์ เปน็ ผบู้ รหิ ารโรงเรียนคนแรก และปัจจบุ ันปีการศึกษา ๒๕๖๒ ผู้บรหิ าร

คือ นายประภาส สนิทรมั ย์

ท่ีตัง้ ของโรงเรยี นอยู่ทางทิศตะวนั ออกของทว่ี า่ การอาเภอละหานทราย ติดทางหลวงสาย

ละหานทราย–บ้านกรวด ห่างจากตัวจงั หวัดบรุ รี ัมย์ ประมาณ ๙๕ กโิ ลเมตร เปน็ โรงเรยี นมัธยมศึกษาขนาดใหญ่

พเิ ศษ สงั กัดสานักงานพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๒

มโี รงเรียนมธั ยมศกึ ษาที่อยใู่ กลเ้ คยี ง ได้แก่

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)



ทิศเหนอื  โรงเรยี นละหานทรายวทิ ยา อาเภอละหานทราย

ระยะทางประมาณ ๗ กิโลเมตร

ทศิ ใต้  โรงเรียนรว่ มจติ ต์วทิ ยา อาเภอละหานทราย

ระยะทางประมาณ ๒๕ กโิ ลเมตร

ทศิ ตะวันออก  โรงเรียนตาจงพทิ ยาสรรค์ อาเภอละหานทราย

ระยะทางประมาณ ๑๒ กิโลเมตร

ทิศตะวันตก  โรงเรียนปะคาพทิ ยาคม อาเภอปะคา

ระยะทางประมาณ ๑๕ กโิ ลเมตร

ชอ่ื โรงเรยี น ละหานทรายรชั ดาภเิ ษก

ประเภทโรงเรียน สหศึกษา

อกั ษรย่อโรงเรยี น ล.ร.ภ.

วนั สถาปนาโรงเรยี น ๙ มถิ ุนายน พ.ศ.๒๕๑๔

สญั ลกั ษณ์ของโรงเรยี น

สปี ระจาโรงเรยี น เหลือง – น้าเงิน

สเี หลอื ง  เปน็ สีประจารชั กาลท่ี ๙ ซ่ึงเปน็ สีประจาวันพระราชสมภพ

เปน็ สัญลกั ษณ์แห่งความจงรักภักดี มีวินัย ซ่ือสตั ย์ เสียสละและอดทน

สีน้าเงนิ  คือสีเงิน เปน็ ความหมาย “รัชดา”

เป็นสัญลักษณ์ของความดี ความมีระเบยี บ ความมีคุณค่า และ

ความกตัญญูกตเวที

คตธิ รรม น สยิ า โลก วฑฒฺ โน “อย่าเป็นคนรกโลก”

คาขวญั โรงเรยี นเฉลิมพระเกียรติ รักษศ์ ักดิ์ศรี มีคุณธรรม นาวิชาการ สืบสานงานพระราชดาริ

คาขวัญโรงเรียน ลกู รัชดาต้อง ขยนั ซ่ือสัตย์ มัธยสั ถ์ อดทน

เอกลักษณ์โรงเรยี น แหลง่ เรียนรูธ้ รรมชาติ สวนพฤกษศาสตร์รื่นรมย์

อตั ลกั ษณโ์ รงเรียน ใฝด่ ี ใฝร่ ู้ อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)



สภาพชมุ ชนโดยรวม

สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรยี นมลี ักษณะเป็นชุมชนท่ีกาลังพฒั นาเปน็ ชมุ ชนเมือง ทง้ั นเ้ี พราะโรงเรียน
ตัง้ อยใู่ นบริเวณเขตเทศบาลตาบลละหานทราย บรเิ วณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ไดแ้ ก่

ทศิ เหนอื จรด ทางหลวงหมายเลข ๒๐๗๕ (ละหานทราย–บ้านกรวด-ประโคนชยั )
ทศิ ตะวนั ออก จรด หมู่บ้านหนองตาแอก
ทิศใต้ จรด หมูบ่ า้ นชลประทานเหนือ
ทิศตะวันตก จรด โรงเรยี นบ้านละหานทราย
อาชพี หลักของชุมชน คอื อาชีพเกษตรกรรม ไดแ้ ก่ ทานา ทาไร่ เลีย้ งสตั ว์เป็นสว่ นใหญ่ สว่ นอาชีพอ่นื ๆไดแ้ ก่
อาชีพรับจ้าง ค้าขาย เปน็ อาชีพรอง เน่อื งจากชุมชนใกล้เคียงโรงเรียนเปน็ ชุมชนทปี่ ระกอบไปด้วยกลมุ่ คนหลายกลุ่ม
ทีอ่ พยพมาจากทีอ่ นื่ จึงทาให้มวี ิถชี ีวิต ขนบธรรมเนยี มประเพณีต่าง ๆ มีความหลากหลาย โดยเฉพาะดา้ นภาษา มีท้ัง
ภาษาไทยอสี าน ภาษาเขมร ภาษาส่วย ภาษาไทยโคราช เปน็ ตน้ แต่อย่างไรกต็ าม ส่วนใหญ่ยังยึดและนับถือศาสนา
พุทธเป็นศาสนาหลัก เพ่ือเป็นแนวทางแหง่ การดาเนินชีวิต สาหรบั ประเพณี ศิลปวฒั นธรรมทอ้ งถ่นิ ที่เปน็ ทร่ี ู้จกั และ
เป็นหนา้ เปน็ ตาของชมุ ชน คือ เจรยี ง กนั ตรมึ ประเพณเี บนทม และเบนตู๊จย์

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรัชดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๑๐

โครงสร้างการบรหิ ารโรงเรียนละหานทรายรชั ดาภิเษก

ผู้อานวยการโรงเรยี น คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

รองผอู้ านวยการ รองผู้อานวยการ รองผอู้ านวย รองผู้อานวย
กลุ่มบริหารวชิ าการ กลุ่มบรหิ ารงาน กลุ่มบรหิ ารงาน กลุ่มบริหารงานท่วั ไป
งบประมาณ
และงานบุคคล กจิ การนกั เรียน

โครงสร้างการบรหิ ารกลุ่มบริหารวิชาการ
ผอู้ านวยการโรงเรยี น

รองผู้อานวยการ
กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ

หัวหนา้ กลุ่มบรหิ ารงานวชิ าการ d หวั หน้างานอานวยการสานกั งานวชิ าการ

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน งานประเมนิ ผลและทดสอบคุณภาพทางการศึกษา
งานอานวยการสานักงานบรหิ ารวชิ าการ งานนิเทศภายใน
งานบรหิ ารหลักสตู ร งานแนะแนว
งานบริหารกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ งานประกนั คุณภาพการศกึ ษา
งานกิจกรรมพฒั นานักเรยี น งานพฒั นาแหล่งเรียนรูแ้ ละภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน
งานกระบวนการเรียนรู้ งานพฒั นาสือ่ นวัตกรรมและเทคโนโลยที างการศึกษา
งานคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ งานหอ้ งสมดุ
งานทะเบียนนักเรยี นและเทยี บโอนผลการ งานรบั นักเรยี น
เรียน งานวิจัยในช้นั เรียน
งานการอ่านคิดวเิ คราะห์และเขยี นส่ือความ งานโรงเรียนในฝนั และโรงเรยี นมาตรฐานสากล
และสมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน งานนกั ศึกษาวิชาทหาร
งานโครงการพิเศษ/งานนโยบาย/งานอื่นที่ได้รับ
มอบหมาย

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรัชดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๑๑

โครงสรา้ งบริหารกลุ่มบริหารงานงบประมาณและงานบคุ คล
ผอู้ านวยการโรงเรยี น

รองผู้อานวยการ
กลุ่มบริหารงานงบประมาณและงานบุคคล

หวั หน้างานงบประมาณ d หัวหน้างานบุคลากร

งานนโยบายและแผน งานวินัย การลงโทษ การส่ังพักราชการ/การ
งานจัดระบบควบคมุ ภายใน ออกจากราชการ
งานเทคโนโลยี งานสง่ เสรมิ วินยั คณุ ธรรม จริยธรรม
งานสารสนเทศ การพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากร
งานระดมทรพั ยากร ทางการศึกษา
งานการเงนิ และการบัญชี งานบุคลากรวางแผนจัดสรรอัตรากาลงั
งานพสั ดแุ ละสนิ ทรพั ย์ เลอ่ื นขน้ั เงนิ เดือน
บ้านพักราชการ ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงาน
งานประกนั ชวี ติ สรรหาบรรจแุ ตง่ ตงั้
งานอ่ืนที่ได้รบั มอบหมาย การยา้ ย
การลา
ส่งเสรมิ วิทยฐานะ
ทะเบียนประวตั ิ
เสนอขอเคร่ืองราชย์
ยกย่องเชดิ ชูเกยี รติ
งานอืน่ ท่ีไดร้ ับมอบหมาย

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนละหานทรายรชั ดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๑๒

โครงสร้างการบริหารกลมุ่ งานบริหารงานทัว่ ไป
ผอู้ านวยการโรงเรยี น

รองผอู้ านวยการ
กลมุ่ บริหารงานทัว่ ไป

หัวหนา้ กลมุ่ บรหิ ารงานทวั่ ไป d หัวหนา้ งานอานวยการสานักงานบริหารทั่วไป

งานอนามัยโรงเรยี น งานโรงเรียนกับชุมชน
งานโภชนาการ งานศนู ยส์ ่งิ แวดลอ้ ม จ.บรุ รี มั ย์
งานยานพาหนะ งานมูลนิธิ
งานสหกรณ์โรงเรยี น งานศนู ย์รับเรอ่ื งร้องเรยี น/ร้องทุกข์
งานโสตทัศนศึกษา งานอาคารสถานท่ีและสภาพ
งานประชาสมั พันธ์ บรกิ ารสาธารณะ ส่งิ แวดลอ้ ม
และเผยแพรเ่ กยี รตปิ ระวตั ขิ อง งานชมรมศิษย์เกา่
โรงเรียน งานอ่ืนท่ีได้รับมอบหมาย
งานดนตรีและโยธวาทติ
งานนาฏศิลปแ์ ละศิลปะพ้นื บ้าน
งานเลขานกุ ารผู้อานวยการ
งานธุรการ
งานเลขานกุ ารคณะกรรมการ
สถานศึกษา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๑๓

โครงสรา้ งการบริหารกลุม่ บริหารงานกิจการนักเรียน
ผอู้ านวยการโรงเรียน

รองผ้อู านวยการ
กลุม่ บริหารงานกจิ การนักเรียน

d

หัวหน้ากลุ่มบรหิ ารงานกจิ การนักเรยี น หัวหนา้ งานอานวยการสานักงานบรหิ ารงานกิจการนกั เรียน

งานอานวยการ งานสง่ เสริมวินัยและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
งานบรหิ ารงานกิจการนกั เรียน งานป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติด เอดส์และอบายมุข
งานส่งเสริมคณุ ธรรมจริยธรรม งานTO BE NUMBER ONE ศนู ย์เพ่ือนใจวยั รุ่น
นกั เรียน (งานเพื่อนที่ปรึกษา YC)
งานยานพาหนะนักเรยี นและจราจร งานตรวจเครอ่ื งแตง่ กายนักเรียน
งานส่งเสริมประชาธปิ ไตย งานโรงเรยี นสีขาว
งานระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น งานประเมินผลการดาเนนิ งาน
งานระดบั ชน้ั /งานครูทีป่ รกึ ษา งานอื่นท่ีไดร้ บั มอบหมาย
งานเวรรักษาความปลอดภยั
งานออมทรัพย์และธนาคารโรงเรียน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรัชดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๑๔

ข้อมูลดา้ นอาคารสถานท่ี

๑. อาคารเรียนและอาคารประกอบ จานวน ๔๘ หลัง ไดแ้ ก่ อาคารเรยี น ๕ หลัง ได้แก่ อาคาร ๑ อาคาร ๒ อาคาร ๓
อาคาร ๔ และอาคาร ๕

อาคารประกอบ ๔๓ หลัง ไดแ้ ก่ หอประชมุ มหาราชพฤกษ์ ๑ หลงั หอประชุมมหาภมู นิ ทร์ ๑ หลัง โดมรชั ดารวมใจ ๑
หลัง โรงอาหาร ๒ หลงั อาคารคหกรรม @ หลัง อาคารอตุ สาหกรรม ๒ หลงั อาคารเกษตร ๑ หลงั อาคารสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น
๑ หลงั อาคารดนตรีสากล ๑ หลงั อาคารนาฏศลิ ป์ ๑ หลัง อาคารเรอื นนอนครเู วร ๑ หลัง อาคารประชาสมั พนั ธ์ ๑ หลงั ศาลาไทย
(ดนตรไี ทย) ๑ หลงั เรือนธรรม ๑ หลงั หอ้ งน้า ๗ หลัง บ้านพักครู จานวน ๑๘ หลัง แฟลตเรอื นพกั ครู จานวน ๑ หลงั บา้ นพกั
นักกฬี า จานวน ๒ หลงั

๒. จานวนหอ้ งเรียนทั้งหมด ๖๓ หอ้ งเรียน แบง่ เป็น
- มัธยมศกึ ษาตอนต้น ๑๑/๑๐/๑๐
- มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ๑๐/๑๐/๙
- หลักสตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) ๑/๑/๑

โครงสรา้ งหลกั สูตร

ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษก จดั สอนตามหลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐานสาหรบั
หลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ.๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐)

และหลกั สตู รโรงเรียนละหานทรายรชั ดาภเิ ษก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ไดจ้ ดั สัดสว่ นสาระการเรียนรู้และเวลาเรียน ดังแสดง

ในตารางต่อไปนี้
ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ีตอนตน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑-๓

ระดับ เวลาเรียน (ช่ัวโมงต่อปี) รวม

ชน้ั ไทย คณติ ฯ วิทย์ฯ สังคมฯ สขุ ศึกษาฯ ศลิ ปะ การงานฯ ภาษาฯ IS เลอื ก กจิ กรรม (ชัว่ โมง)

ม.๑ ๑๔๐ ๑๒๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๑๔๐ - ๘๐ ๓๒๐ ๑,๔๐๐

ม.๒ ๑๒๐ ๑๒๐ ๒๐๐ ๒๒๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๑๒๐ ๘๐ ๘๐ ๒๖๐ ๑,๔๐๐

ม.๓ ๑๒๐ ๑๒๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๑๒๐ - ๑๒๐ ๓๒๐ ๑,๔๐๐

รวม ๓๘๐ ๓๖๐ ๖๐๐ ๖๒๐ ๒๔๐ ๒๔๐ ๑๒๐ ๓๘๐ ๘๐ ๒๘๐ ๙๐๐ ๔,๒๐๐
หมายเหตุ จานวนช่ัวโมงท่จี ดั ให้นักเรียนท้งั ปี เทา่ กบั ๑,๔๐๐ ชั่วโมง แยกรายวิชาพ้ืนฐาน ๘๘๐ ชั่วโมง

รายวชิ าเพิม่ เตมิ ๒๐๐-๒๖๐ ช่ัวโมง และกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๒๖๐-๓๒๐ ช่ัวโมง

สาระเพ่มิ เติมทจี่ ดั คอื เศรษฐกิจพอเพียง ห้องสมดุ และการคน้ ควา้ การศึกษาค้นคว้าอสิ ระ IS ภาษาจนี กิจกรรม

งานสวนพฤกษาศาสตร์โรงเรียน กจิ กรรมลดเวลาเรยี นเพ่ิมเวลารู้ จดั กจิ กรรมลดเวลาเรียนเพม่ิ เวลารู้ จานวน ๑๖
กจิ กรรม ไดแ้ ก่ ด้าน Head ตวิ ONET เรียนรู้สิง่ รอบตวั และนานาอาชีพ ดา้ น Heart งานสวนพฤกษศาสตร์
โรงเรยี น จิปาถะ ทักษะชีวติ ด้าน Hand สงิ่ ประดิษฐ์ งานประดิษฐ์ วาดเส้นเล่นสี ถกั นิตติ้ง ดนตรไี ทย ดนตรีพา

เพลนิ นาฏศลิ ป์ ด้าน Health กีฬาพารู้ อาหารว่าง เพศวิถี

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรัชดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๑๕

ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีทต่ี อนต้น มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔-๖ (แผนการเรยี นวทิ ยาศาสตร์-คณิตศาสตร์)

ระดับ เวลาเรียน (ชว่ั โมงตอ่ ปี) รวม

ชน้ั ไทย คณิตฯ วทิ ยฯ์ สังคมฯ สขุ ศกึ ษาฯ ศลิ ปะ การงานฯ ภาษาฯ IS กิจกรรม (ชวั่ โมง)

ม.๔ ๘๐ ๒๐๐ ๕๒๐ ๑๖๐ ๘๐ ๔๐ - ๑๖๐ - ๑๒๐ ๑,๓๖๐

ม.๕ ๘๐ ๒๐๐ ๕๖๐ ๑๒๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑,๔๐๐

ม.๖ ๘๐ ๒๐๐ ๕๒๐ ๑๒๐ ๘๐ ๔๐ ๒๐ ๑๖๐ - ๑๒๐ ๑,๓๔๐

รวม ๒๔๐ ๖๐๐ ๑๖๐๐ ๔๐๐ ๒๔๐ ๑๒๐ ๖๐ ๔๔๐ ๘๐ ๓๖๐ ๔,๑๐๐

สาระเพม่ิ เตมิ ท่ีจดั คอื โลกและดาราศาสตร์ การศึกษาค้นควา้ อสิ ระ IS ภาษาจีน ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
กจิ กรรมงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น

ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีทต่ี อนปลาย มัธยมศึกษาปที ี่ ๔-๖ (แผนการเรียนศลิ ป์-ทัว่ ไป)

ระดับ เวลาเรียน (ชว่ั โมงต่อป)ี รวม

ชัน้ ไทย คณิตฯ วทิ ยฯ์ สังคมฯ สุขศกึ ษาฯ ศิลปะ การงานฯ ภาษาฯ IS เลอื ก กจิ กรรม (ชว่ั โมง)

ม.๔ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๖๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ - ๔๐๐ ๑๔๐ ๑,๒๖๐

ม.๕ ๘๐ ๘๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ ๘๐ ๓๒๐ ๑๔๐ ๑,๒๖๐

ม.๖ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐ ๔๐ ๒๐ ๑๒๐ - ๔๔๐ ๑๔๐ ๑,๒๔๐

รวม ๒๔๐ ๒๔๐ ๔๐๐ ๔๐๐ ๒๔๐ ๑๒๐ ๑๐๐ ๓๖๐ ๘๐ ๑,๑๖๐ ๔๒๐ ๓,๗๖๐

สาระเพมิ่ เติมทีจ่ ัด คือ ภาษาจีน การศกึ ษาคน้ คว้าอสิ ระ IS ภาษาเขมร ภาษาจนี ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

ภาษาญี่ปุ่น กิจกรรมงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น

ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ีตอนตน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๔-๖ (แผนการเรียนศิลป์-ภาษา)

ระดับ เวลาเรยี น (ชั่วโมงตอ่ ปี) รวม

ชั้น ไทย คณติ ฯ วิทย์ฯ สังคมฯ สุขศึกษาฯ ศลิ ปะ การงานฯ ภาษาฯ IS เลือก กิจกรรม (ช่วั โมง)

ม.๔ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๖๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๓๖๐ - ๑๖๐ ๑๔๐ ๑,๒๖๐

ม.๕ ๘๐ ๘๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๓๖๐ ๘๐ ๘๐ ๑๔๐ ๑,๒๖๐

ม.๖ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐ ๔๐ ๒๐ ๓๖๐ - ๒๐๐ ๑๔๐ ๑,๒๔๐

รวม ๒๔๐ ๒๔๐ ๔๐๐ ๔๐๐ ๒๔๐ ๑๒๐ ๑๐๐ ๑๐๘๐ ๘๐ ๔๔๐ ๔๒๐ ๓,๗๖๐

สาระเพ่มิ เติมทีจ่ ัด คือ ภาษาจีน การศกึ ษาค้นคว้าอิสระ IS ภาษาพเิ ศษ คือ จีน และ ญี่ปุ่น กิจกรรมงานสวน

พฤกษศาสตรโ์ รงเรียน

ระดับประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) (แผนการเรียนคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ )

หมวดวิชา กล่มุ วชิ า จานวนหน่วยกิต คิดเปน็ ร้อยละ
๒.๗๕
หมวดวิชาทักษะชีวิต ภาษาไทย ๓

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรัชดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๑๖

หมวดวชิ า กลมุ่ วชิ า จานวนหน่วยกิต คิดเป็นร้อยละ
๖ ๕.๕๐
ภาษาต่างประเทศ ๔ ๓.๖๗
๔ ๓.๖๗
วทิ ยาศาสตร์ ๓ ๒.๕๕
๒ ๑.๘๓
คณิตศาสตร์ ๑๘ ๑๖.๕๑
๒๔ ๒๒.๐๒
สงั คมศึกษา ๒๑ ๑๙.๒๗
๔ ๓.๖๗
สุขศึกษาและพลศึกษา ๔ ๓.๖๗
๑๒ ๑๑.๐๑
หมวดวชิ าทกั ษะวิชาชพี ทกั ษะวชิ าชีพพืน้ ฐาน ๒ ๑.๘๓
๑๐๙ ๑๐๐.๐๐
ทกั ษะวชิ าชีพเฉพาะ

ทักษะวิชาชีพเลือก

ฝึกประสบการณว์ ิชาชพี

โครงการพัฒนาทักษะวชิ าชีพ

หมวดวิชาเลอื กเสรี

กิจกรรมเสริมหลักสูตร

รวม

หมายเหตุ แสดงจานวนช่ัวโมงท่ีจัดให้นักเรียนทั้ง ๓ ปี

แหล่งเรยี นรู้/ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ิน

มหี อ้ งสมดุ ขนาด ๓๒๘ ตารางเมตร (คดิ เป็นประมาณ ๔ ห้องเรยี น) และมีห้องสมุดเปดิ ขนาดประมาณ

๘๒๐ ตารางเมตร มีหนงั สอื ท้ังหมด ๓๑,๐๑๒ เล่ม การสืบค้นหนังสือและการยืม–คนื ใชร้ ะบบ E–Library ๒๐๐๑

จานวนนักเรยี นที่ใช้ห้องสมุดในปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ คิดเปน็ ๑,๕๐๐ คน/วัน สถิติ ยืม-คืนหนงั สอื ปีการศึกษา

๒๕๖๓ จานวน ๕๕๐ ครัง้ ๗๑๒ เลม่ (สถานการณโ์ ควิด-๑๙)

ขอ้ มูลทรัพยากรท่ีจาเป็น

คอมพวิ เตอร์ มจี านวนทั้งหมด ๓๐๐ เครอ่ื ง

ใชเ้ พอ่ื การเรยี นการสอน ๒๔๖ เครอื่ ง

ใช้สืบค้นขอ้ มลู ทางอนิ เทอร์เน็ตได้ ๓๐๐ เคร่อื ง

ใชใ้ นงานบรหิ าร ๕๔ เครือ่ ง

จานวนนกั เรียนทส่ี ืบคน้ ข้อมูลทางอนิ เตอรเ์ นต็ ในปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ เฉล่ยี ๒,๖๙๐ คน ต่อวนั

คิดเปน็ ร้อยละ ๙๙.๔๕ ของนักเรยี นทั้งหมด

ปริมาณสื่อ มจี านวนประมาณ ๑,๕๐๐–๑,๖๐๐ ชน้ิ

หอ้ งทจ่ี ัดไวใ้ ช้ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมมีทงั้ หมด ๒๙ หอ้ ง ได้แก่

๑. หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารวิทยาศาสตร์ ๓ ห้อง

๒. ห้องปฏบิ ตั กิ ารภาษาอังกฤษ ๑ ห้อง

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนละหานทรายรชั ดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๑๗

๓. ห้องศูนยส์ ื่อฯ สังคมศึกษา ๑ หอ้ ง
๔. หอ้ งอินเทอรเ์ น็ต/แปลภาษา ๑ หอ้ ง
๕. ห้องจรยิ ศึกษา ๑ ห้อง
๖. หอ้ งสมดุ ๑ ห้อง
๗. ห้องปฏิบตั ิการทางคณติ ศาสตร์ ๑ ห้อง
๘. ห้องโสตทศั นศึกษา (หอ้ งประชาสมั พนั ธ์) ๑ ห้อง
๙. ห้องดนตรีสากล ๑ ห้อง
๑๐. ศาลาไทย (ห้องดนตรีไทย) ๑ หลงั
๑๑. ห้องปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอร์ ๖ หอ้ ง
๑๒. ห้องพิมพ์ดีด ๑ ห้อง
๑๓. ศูนยส์ ิ่งแวดลอ้ มศกึ ษา ๑ หอ้ ง
๑๔. ห้องสบื คน้ อินเตอร์เนต็ สาหรับครแู ละบุคลากร ๑ ห้อง
๑๕. ศาลาธัญญาธรรมานสุ รณ์ สาหรบั เรยี น/ปฏบิ ตั ธิ รรม ๑ หลัง
๑๖. อาคารปฏบิ ตั ิการคหกรรมศาสตร์ ๑ หลัง
๑๗. อาคารปฏิบัติการอุตสาหกรรม ๒ หลงั
๑๘. อาคารปฏิบตั กิ ารเกษตรกรรม ๑ หลัง
๑๙. อาคารสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ๑ หลงั
๒๐. บา้ นดิน (ศนู ยก์ สกิ รรมตามรอยพอ่ ฯ) ๑ หลัง
๒๑. ห้องพยาบาล ๑ หอ้ ง
๒๒. อาคารโครงการแพะพระราชทาน ๑ หลงั

พนื้ ทป่ี ฏบิ ัติกิจกรรม/นันทนาการ ไดแ้ ก่ โดมเอนกประสงค์ ลานอเนกประสงค์ ลานกจิ กรรมวทิ ยาลยั ชุมชน

บรุ รี มั ย์ เวทีคนเก่ง สนามฟุตบอล สนามบาสเกตบอล สนามวอลเลย์บอล สนามเซปักตะกร้อ สนาม

ฟตุ ซอล สนามเปตอง สวนกาญจนาภเิ ษก ศูนย์กสิกรรมตามรอยพ่อสานต่องานพระราชดาริ โคกหนองนา

สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน และอื่น ๆ

นอกจากห้องสมุดและห้องปฏิบัติการตา่ ง ๆ แลว้ โรงเรยี นมีแหล่งเรยี นรู้ภายในและภายนอกโรงเรยี นดงั นี้

แหล่งเรยี นรูภ้ ายใน สถิตกิ ารใช้ แหล่งเรยี นร้ภู ายนอก สถติ ิการใช้

ช่อื แหล่งเรียนรู้ จานวนครงั้ /ปี ช่อื แหล่งเรียนรู้ จานวนคร้งั /ปี
๑. หอ้ งสมุดเฉลมิ พระเกยี รติ ๒๐๐ วัน/ปี ๑. แหลง่ กุมภลักษณ์ ๑-๒ ครั้ง/ปี

๒. ศนู ยส์ ่ือกลุม่ สาระ ๒๐๐ วนั /ปี ๒. เขื่อนลานางรอง/ลาจังหัน ๓-๔ ครง้ั /ปี

๓. แปลงเกษตรแนวทฤษฎใี หม่ ๒๐๐ วัน/ปี ๓. ห้องสมุดประชาชน ๒๐ วนั /ปี

๔. ศูนยส์ ่ิงแวดลอ้ มศกึ ษา ๒๐๐ วัน/ปี ๔. อทุ ยานประวัตศิ าสตร์ พนมรุง้ ๑-๒ ครง้ั /ปี

๕. สวนป่าอนุรกั ษธ์ รรมชาติ ๒๐๐ วนั /ปี /เมอื งตา่ /เขาหลบุ /เขาองั คาร

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรัชดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

แหล่งเรยี นรภู้ ายใน สถิตกิ ารใช้ แหล่งเรยี นรภู้ ายนอก ๑๘
จานวนคร้งั /ปี
ช่อื แหล่งเรียนรู้ ชือ่ แหล่งเรยี นรู้ สถิติการใช้
๖. สวนวรรณคดี ๒๐๐ วัน/ปี ๕. หนองละหานทราย จานวนครัง้ /ปี
๗. สวนสมุนไพร ๒๐๐ วัน/ปี ๖. วัดปา่ ละหานทราย
๘. ศนู ย์กสกิ รรมตามรอยพ่อสานต่อ ๒๐๐ วนั /ปี ๗. วดั โพธทิ์ รายทอง ๑-๒ ครง้ั /ปี
งานพระราชดาริ ๘. วดั มนุ รี ตั นศาสดาราม ๓-๔ ครง้ั /ปี
๙. เสน้ ทางศึกษาธรรมชาติ ๒๐๐ วัน/ปี ๙. วดั ชลประทาน ๓-๔ ครั้ง/ปี
๑๐. ศูนยส์ ่อื ประชาคมอาเซียน ๒๐๐ วัน/ปี ๑๐. โรงพยาบาลละหานทราย ๑-๒ ครั้ง/ปี
๑๑. สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ๒๐๐ วนั /ปี ๑๑. เทศบาลตาบลละหานทราย ๑-๒ ครง้ั /ปี
๑-๒ ครั้ง/ปี
๑-๒ ครง้ั /ปี

ภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน ผู้ทรงคุณวุฒทิ ่ีใหค้ วามรแู้ ก่นักเรยี นในปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ มีดงั นี้
๑. พระสวุ รรณจันทรวมิ ล ใหค้ วามรู้/สอนในรายวชิ าสังคมศกึ ษา ระดับชนั้ ม.๔ และ ม.๖

๒. พระอาจารย์เลอศักดิ์ วราสโภ วัดป่าอมั พวนั คณุ านสุ รณ์

ให้ความรู้ คา่ ยคนดศี รรี ชั ดา (ค่ายคณุ ธรรม ระดับชนั้ ม.๔)

๓. พระมหาเรืองฤทธิ์ วัดปา่ ละหานทราย ให้ความรู้ เก่ยี วกบั การสอบธรรมศึกษา

๔. นายไตรภพ โครตวงษา ให้ความรู้ เรือ่ ง การจดั การศกึ ษากบั เศรษฐกิจพอเพยี ง

๕. หลวงพอ่ ดว้ ม วัดโคกแดง ให้ความรู้เรื่อง หลวงปู่สขุ

๖. เจ้าหนา้ ทปี่ ่าไม้ดงใหญ่ ให้ความร้เู รอ่ื ง ธรรมชาตวิ ทิ ยา ในค่ายลูกเสือ-เนตรนารี ม.๒–ม.๓

๗. เจ้าหน้าทดี่ บั เพลิงละหานทราย ใหค้ วามรู้เรอ่ื ง การระงับเหตุอัคคภี ัยค่ายลูกเสือ-เนตรนารี ม.๑

๘. เจา้ หน้าทกี่ รมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม ให้ความรูเ้ ร่ือง มหงิ สาสายสบื

๙. เจ้าหนา้ ที่ตารวจละหานทราย ให้ความรเู้ รอื่ ง ยาเสพตดิ

๑๐. เจ้าหน้าทสี่ าธารณสขุ ละหานทราย ใหค้ วามรู้เรื่อง ทันตสุขภาพ

๑๑. นายอสิ รา โรจนส์ ุกจิ ให้ความรเู้ รอ่ื ง ปะตมิ ากรรมลอยตวั

๑๒. เจา้ หน้าท่ีกรมประมง เขื่อนลานางรอง ใหค้ วามรเู้ ร่ือง การจดั ประมงในเข่ือนลานางรอง

๑๓. นายวอน เส็งไทยแท้ ใหค้ วามร้เู รื่อง การทาไซ/ทาสมุ่

๑๔. นายเต็น ยอดเยย่ี มแกร ให้ความรู้เรือ่ ง การทาสมุ่

๑๕. นายรสั ฉา่ โสฬส ให้ความรเู้ รอ่ื ง หัตถกรรมพื้นบ้าน

๑๖. นางปุ๊ กมลรัมย์ ให้ความรู้เรื่อง การทาบายศรีสู่ขวญั

๑๗. นางเลอื ด สพุ ยุง ให้ความรู้เรื่อง การทาไม้กวาดดอกหญ้า

๑๘. นางสาวนวลฉวี ชื่นพงศา ใหค้ วามรูเ้ รื่อง การทอเส่อื กก

๑๙. นางสาวนวลฉวี ชนื่ พงศา ให้ความรเู้ รื่อง การทอเส่อื กก

๒๐. อยั การศาลจังหวดั นางรอง ใหค้ วามรู้เรื่อง กฎหมาย

๒๑. กกต.จังหวัดบุรรี ัมย์ ใหค้ วามรเู้ รื่อง การเลือกต้งั

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรัชดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๑๙

๒๒. เจ้าหนา้ ท่ีอุทยานแห่งชาตสิ ริ ินธร ให้ความรเู้ รอ่ื ง การอนรุ ักษ์พลังงานทดแทน
๒๓. นายบุญล้อม เตา้ แกว้ ใหค้ วามรเู้ รอื่ ง เกษตรพอเพยี ง
๒๔. นายเล็ก ชนะชยั ผอ.โรงเรยี นบา้ นโป่งเกตุ ให้ความร้เู รอ่ื ง การทาฝายชะลอนา้
๒๕. นายธงชยั อยุ ทบั โพธ์ิ ใหค้ วามรเู้ รอ่ื ง การทาปยุ๋ หมกั /ปุ๋ยนา้
๒๖. นางสมจติ ร์ ชนะชัย ใหค้ วามรู้เรอื่ ง การทาปยุ๋ หมกั แซนวชิ แบบไม่กลับกอง
๒๗. นายศุภณัฐ สุขเถอื่ น สถานบนั เศรษฐกจิ พอเพยี ง ให้ความรู้เรอ่ื ง การดารงชีวิตในภาวะวกิ ฤติ
๒๘. ร.ต.อ.ภูวิศ พงษส์ ุวรรณ (รอง สวป.) ตารวจโรงเรยี น อบรมให้ความรูเ้ กีย่ วกบั การใหค้ วามรเู้ ก่ียวกบั ยา
เสพตดิ ระเบียบวนิ ัย การสรา้ งความภูมิกันแกต่ นเอง
๒๙. นางศศิกาญจน์ ตะเกิงผล โรงพยาบาลละหานทราย อบรมให้ความรู้เกีย่ วกบั การสร้างความภูมกิ นั
สุขภาพแก่ตนเอง

๑.๒ ขอ้ มลู บุคลากรของสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๓

๑) จานวนบคุ ลากร ตาแหน่ง วิทยฐานะ อายเุ ฉลีย่ และอายุราชการเฉลยี่ ของบุคลากร

ตารางที่ ๑ แสดงจานวนบคุ ลากร ตาแหน่ง วิทยฐานะ อายเุ ฉล่ยี และอายรุ าชการเฉล่ยี ของบคุ ลากร

บคุ ลากร ผบู้ ริหาร ครู พนักงาน ครูอัตราจา้ ง เจ้าหน้าท่ี รวม
ประจาการ ราชการ อ่ืน ๆ ๑๖๙
ปีการศกึ ษา ๕ ๑๑
๒๕๖๓ ๒.๙๖% ๑๓๖ ๘ ๖.๕๑% ๙ ๑๕๕
๔.๗๓% เครือ่ ง
ครชู านาญ ๘๐.๔๗% ครูผู้ชว่ ย ๕.๓๓% ราชย์
การพเิ ศษ ครู คศ.๑ ๑๙๑
ครชู านาญการ ๒ พนกั งาน
๔๑ ๑.๒๙% ราชการและครู
๗๑ ๒๒ ๒๔.๔๕% ท.ช./ท.ม.
๔๕.๘๑% ๑๔.๑๙% ร.จ.พ. อตั ราจ้าง
อายุเฉลีย่ อายรุ าชการ ๔๑/๖๕
๑๙ ๑๙
๔๒.๑๗ เฉล่ีย
๑๓.๕๒ ๑๒.๒๖%

ต.ม./
บ.ช./บ.ม.

๕๘/๗/๑

ข้อมูล ณ วันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๖๔

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนละหานทรายรัชดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๒๐

๒) วฒุ ิการศึกษาสงู สุดของบุคลากร ตาแหนง่ และวทิ ยฐานะของบุคลากรประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓
แผนภมู ิท่ี ๑ - ๒ แสดงร้อยละของวุฒิการศึกษาของบุคลากร ตาแหน่งและวทิ ยฐานะของบุคลากร

วุฒกิ ารศึกษาของบุคคลากร ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

ต่ากวา่ ปรญิ ญาตรี ปริญญาตรี สงู กว่าปรญิ ญาตรี
26%
7%

67%

ร้อยละจานวนครแู ยกตามวทิ ยฐานะ

ชานาญการพิเศษ ชานาญการ ไม่มีวิทยฐานะ
ครผู ู้ชว่ ย พนกั งานราชการ ครูอัตราจ้าง

5% 12%
1%

44%

25%

13%

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรัชดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๒๑

๓) สาขาวิชาทจี่ บการศึกษาและภาระงานสอน

ตารางท่ี ๒ แสดงจานวน และภาระงานสอนเฉล่ียของบุคลากร ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

จานวนครูผสู้ อน ๑๔๕ คน (รวมพนักงานราชการและครูอัตราจ้าง)

สาขาวชิ า จานวน (คน) ภาระงานสอนเฉล่ยี ของครู ๑ คน
ในแต่ละสาขาวชิ า (ชม./สปั ดาห)์

๑. บริหารการศกึ ษา ๕ -
๒. คณติ ศาสตร์ ๑๙ ๒๐
๓. วทิ ยาศาสตร์ ๒๔ ๑๙
๔. ภาษาไทย ๑๔ ๑๘
๕. ภาษาต่างประเทศ ๑๙ ๑๘
๖. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๒๒ ๒๐
๗. การงานอาชีพ ๑๐ ๑๘
๘. พาณชิ ยกรรมและเทคโนโลยี ๑๗ ๑๘
๙. สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๑๔ ๑๘
๑๐. ศิลปะ ๑๑ ๑๘
๑๕๕ ๑๘.๕๖
รวม

จานวนบุคลากรด้านการบรหิ าร จานวน ๕ คน

จานวนบคุ ลากรท่จี ัดการเรียนการสอน จานวน ๑๕๕ คน

ครูทไี่ ดร้ บั การพฒั นาศกึ ษา อบรม ดูงาน ฯลฯ

- มีครูท่สี อนวิชาตรงตามวชิ าเอก ๑๔๙ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๙๖.๑๓
คิดเปน็ รอ้ ยละ ๓.๘๗
- มคี รูทสี่ อนวิชาตามความถนัด ๖ คน
คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๐๐
จานวนบคุ ลากรครทู ่ีไดร้ บั การพัฒนาศึกษา อบรม ดงู าน ฯลฯ
คิดเป็นร้อยละ ๙๐.๙๗
จานวน ๑๕๕ คน จาก ๑๕๕ คน

จานวนบคุ ลากรครูท่ีไดร้ ับการยกย่อง

จานวน ๑๔๑ คน จาก ๑๕๕ คน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๒๒

๑.๓ ข้อมลู นกั เรียน

ตารางท่ี ๓ แสดงจานวนนักเรยี นแต่ละระดับชนั้ จาแนกตามเพศ

ระดบั ช้นั จานวนหอ้ ง ชาย หญิง รวม เฉลีย่ /หอ้ ง

ม.๑ ๑๐ ๒๒๔ ๒๕๐ ๔๗๔ ๔๗.๔
ม.๒ ๑๐ ๑๙๕ ๒๖๒ ๔๕๗ ๔๕.๗
ม.๓ ๑๐ ๑๘๑ ๒๓๘ ๔๑๙ ๔๑.๙
รวม ม.ต้น ๓๐ ๖๐๐ ๗๕๐ ๑,๓๕๐ ๔๕
ม.๔ ๑๐ ๑๓๖ ๒๗๒ ๔๐๘ ๔๐.๘
ม.๕ ๙ ๑๒๐ ๒๔๓ ๓๖๓ ๔๐.๓๓
ม.๖ ๙ ๑๓๔ ๒๔๑ ๓๗๕ ๔๑.๖๗
รวม ม.ปลาย ๒๘ ๓๙๐ ๗๕๖ ๑,๑๔๖ ๔๐.๙๓
ปวช.๑ ๑ ๑๐ ๒๘ ๓๘ ๓๘
ปวช.๒ ๑ ๗ ๓๗ ๔๔ ๔๔
ปวช.๓ ๑ ๒ ๓๔ ๓๖ ๓๖
รวม ปวช. ๓ ๑๙ ๙๙ ๑๑๘ ๓๙.๓๓
รวมทั้งหมด ๖๑ ๑,๐๐๙ ๑,๖๐๕ ๒,๖๑๔ ๔๒.๘๕

ขอ้ มูล ณ วันท่ี ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๖๓ (เน่อื งจากสถานการณโ์ ควดิ -๑๙)

ขอ้ มลู ณ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๖๓ (ยอดนักเรียนท่ีเขา้ รบั การประเมนิ ๒,๗๐๙ คน)

๑) จานวนนกั เรยี นที่มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ของกรมพลศกึ ษาหรอื สานักงานกองทุน

สนบั สนุนการสรา้ งเสริมสุขภาพ (สสส. ๒,๖๕๘ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๙๘.๑๒

๒) จานวนนกั เรยี นที่มนี ้าหนกั ตามเกณฑ์ของกรมอนามยั ๒,๖๕๘ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๙๘.๑๒

๓) จานวนนักเรียนที่มีสว่ นสงู ตามเกณฑข์ องกรมอนามยั ๒,๖๕๘ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๙๘.๑๒

๔) จานวนนกั เรยี นท่มี ีนา้ หนักส่วนสงู ตามเกณฑข์ องกรมอนามัย ๒,๖๕๘ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๙๘.๑๒

๕) จานวนนกั เรียนที่มคี วามบกพร่องเรียนรว่ ม - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ -

๖) จานวนนักเรียนมภี าวะทุพโภชนาการ - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ -

๗) จานวนนักเรยี นปัญญาเลิศ ๒๖๘ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๙.๘๙

๘) จานวนนกั เรยี นต้องการความชว่ ยเหลือเปน็ พิเศษ ๕๘๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๑.๕๒

๙) จานวนนักเรยี นทลี่ าออกกลางคัน (ปจั จบุ นั ) ๐ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๐

๑๐) สถติ กิ ารขาดเรยี น ๑๐๒ คน คดิ เป็นร้อยละ ๓.๗๗

๑๑) จานวนนักเรียนที่เรียนซ้าชน้ั ๐ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๐

๑๒) สรปุ ผลการคดั กรองนกั เรียนกลุม่ เสี่ยง/มีปัญหา จากโรงเรียนละหานทรายรชั ดาภเิ ษก

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๒๓

ภาคเรยี น กลุ่มสมใจ กลุม่ พอใจ กล่มุ หว่ งใย กล่มุ ใกลช้ ิด หมายเหตุ
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ

๑/๒๕๖๑ ๒๑ ๐.๘๒ ๑,๘๗๖ ๗๓.๕๑ ๕๑๒ ๒๐.๐๖ ๑๔๓ ๕.๖๑

๒/๒๕๖๑ ๑๙ ๐.๗๖ ๑,๘๔๓ ๗๓.๔๘ ๕๐๖ ๒๐.๐๘ ๑๔๐ ๕.๕๘

๒๕๖๒ ๒๔ ๐.๙๖ ๒,๑๐๑ ๘๓.๗๗ ๓๓๒ ๑๓.๒๔ ๕๑ ๒.๐๓

๒๕๖๓ ๒๐ ๐.๗๔ ๒,๐๒๐ ๗๕.๑๘ ๕๐๘ ๑๘.๙๑ ๑๓๙ ๕.๑๗

ดาเนินการแกป้ ัญหาได้ จานวน ๑๒๒ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๘๗.๗๗

จานวนนกั เรียนที่จบหลกั สตู ร

ปีการศึกษา ม.๓ ม.๖ ปวช.๓ รวม หมายเหตุ
จบ รอ้ ยละ จบ รอ้ ยละ จบ ร้อยละ จบ รอ้ ยละ

๒๕๖๐ ๓๙๙ ๘๑.๙๕ ๓๗๓ ๙๑.๑๕ ๔๕ ๙๓.๓๓ ๘๑๗ ๘๘.๘๑ ๕ เม.ย.๖๑

๒๕๖๑ ๓๗๒ ๙๐.๒๙ ๓๐๙ ๘๙.๕๗ ๒๗ ๙๖.๔๓ ๗๐๘ ๙๐.๑๙ ๙ เม.ย.๖๒

๒๕๖๒ ๓๑๖ ๘๑.๑๔ ๓๒๔ ๘๗.๐๙ ๓๑ ๙๓.๙๔ ๖๗๑ ๘๔.๖๒ ๙ เม.ย.๖๓

๒๕๖๓ ๓๐๑ ๗๓.๐๐ ๒๗๘ ๗๘.๐๕ ๓๕ ๙๒.๑๑ ๖๑๔ ๗๖.๙๔ ๒๙ เม.ย.๖๓

อตั ราส่วนจานวนครตู อ่ จานวนนกั เรียน เป็น ๑ : ๒๐ (จานวนครูผู้สอน ๑๓๖ คน (ไมร่ วมพนักงาน

และครูอตั ราจา้ ง) จานวนนักเรียน ๒,๗๐๙ คน

ประเดน็ ทรี่ ายงานเชงิ ปริมาณ จานวน คดิ เปน็
(คน) รอ้ ยละ
จานวนนักเรยี นท่ีมีความสามารถด้านศิลปะ ๒,๖๒๐ ๙๖.๗๑
จานวนนกั เรียนที่มีความสามารถด้านดนตรี นาฏศิลปแ์ ละนันทนาการ ๒,๖๒๐ ๙๖.๗๑
จานวนนักเรยี นที่มคี วามสามารถด้านกีฬา ๒,๖๒๐ ๙๖.๗๑
จานวนนักเรยี นที่ผ่านการประเมินความสามารถดา้ นภาษา ๒,๔๐๐ ๘๘.๕๙
จานวนนักเรียนท่ีมคี วามสามารถดา้ นคอมพิวเตอร์ ๒,๖๘๒ ๙๙.๐๐
จานวนนักเรียนที่มคี วามสามารถดา้ นมนุษยสัมพนั ธ์ ๒,๖๓๘ ๙๗.๓๘
จานวนนักเรียนท่ีมีความสามารถในการเข้าใจตนเอง ๒,๖๑๑ ๙๖.๓๘
จานวนนกั เรยี นทผ่ี ่านการประเมนิ ความสามารถดา้ นรอบรู้ธรรมชาติ ๒,๖๙๙ ๙๙.๖๓
จานวนนักเรียนที่มีคุณลกั ษณะเป็นลกู ทีด่ ีของพ่อ แม่ ผู้ปกครอง ๒,๖๘๗ ๙๙.๑๙
จานวนนกั เรียนทม่ี คี ณุ ลกั ษณะเปน็ นกั เรยี นท่ีดีของโรงเรยี น ๒,๕๗๙ ๙๕.๒๐
จานวนนกั เรยี นทีท่ ากิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม ๒,๕๘๘ ๙๕.๕๓

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรัชดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

รายงานตามตัวช้ีวดั /มาตรฐานการศึกษา จานวน ๒๔
(คน)
จานวนนักเรยี นทม่ี ีความสามารถดา้ นการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิด คิดเปน็
คานวณ ๒,๔๙๕ รอ้ ยละ
จานวนนักเรยี นทมี่ ีความสามารถด้านการคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ
แลกเปล่ียนความคิดเห็น และแกป้ ญั หา ๒,๒๓๔ ๙๒.๑๐
จานวนนักเรยี นทมี่ ีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
จานวนนกั เรยี นทีม่ ีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา ๑,๗๗๐ ๘๒.๔๗
จานวนนักเรียนทมี่ ีความรู้ ทักษะพ้นื ฐาน และเจตคตทิ ดี่ ีต่องานอาชีพ ๒,๕๐๐
จานวนนักเรียนทม่ี ีคณุ ลักษณะและค่านิยมท่ดี ตี ามที่สถานศึกษากาหนด ๒,๔๕๕ ๖๕.๓๓
จานวนนกั เรียนทม่ี ีความภูมิใจในท้องถ่ินและความเป็นไทย ๒,๕๗๙ ๙๒.๒๘
จานวนนักเรยี นทย่ี อมรับที่จะอยู่รว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย ๒,๕๘๗ ๙๐.๖๒
จานวนนกั เรียนทมี่ สี ุขภาวะทางรา่ งกายและลักษณะจิตสังคม ๒,๕๘๙ ๙๕.๒๐
จานวนครทู ่จี ัดการเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ตั จิ ริง และสามารถนาไป ๒,๕๗๐ ๙๕.๕๐
ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ได้ ๙๔.๕๗
จานวนครทู ่ีใช้สอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรทู้ ่ีเอื้อต่อการเรยี นรู้ ๑๔๔ ๙๔.๘๗
จานวนครูทบี่ ริหารจดั การช้ันเรียนเชงิ บวก
จานวนครูที่ตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนอยา่ งเปน็ ระบบ และนาผลมาพัฒนาผเู้ รยี น ๑๔๔ ๙๒.๙๐
จานวนครทู ี่แลกเปลีย่ นเรียนรู้และใหข้ ้อมูลสะท้อนกลบั เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการ ๑๔๔
จดั การเรยี นรู้ ๑๔๔ ๙๒.๙๐
๙๒.๙๐
๑๔๔ ๙๒.๙๐

๙๒.๙๐

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรัชดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๒๕

๑.๔ ขอ้ มลู ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นระดบั สถานศึกษา

แผนภูมทิ ี่ ๓ ร้อยละของค่าเฉลย่ี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวชิ า ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ม.๑–ม.๖
ภาคเรยี นท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓

ร้อยละของค่าเฉล่ยี ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนแตล่ ะรายวิชา
ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ม.๑ – ม.๖ ภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ - ๒๕๖๒

้รอยละ ้รอยละ ๑๐๐.๐๐ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา สขุ ศึกษาพล ศิลปะ การงาน ภาษาองั กฤษ IS รวม
๙๐.๐๐ ศึกษา อาชีพ
๘๐.๐๐ ๖๔.๔๔ ๗๖.๔๓ ๖๕.๙๘ ๘๒.๑๒ ๗๓.๒๔
๗๐.๐๐ ๖๑.๙๐ ๖๘.๐๔ ๗๑.๙๕ ๗๒.๑๑ ๘๓.๕๖ ๗๖.๖๐ ๘๒.๘๐ ๖๙.๔๑ 90.19 ๗๒.๖๘
๖๐.๐๐ 61.06 68.79 72.52
๕๐.๐๐ ๖๕.๕๕ ๗๔.๖๑ ๖๘.๐๗ ๘๕.๑๓ ๗๗.๕๔
๔๐.๐๐
๓๐.๐๐ 68.92 76 70.99 84.27 70.55 68.38
๒๐.๐๐
๑๐.๐๐
๐.๐๐

๒๕๖๑
๒๕๖๒
๒๕๖๓

แผนภูมิที่ ๔ ร้อยละของค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นแต่ละรายวชิ า ระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ม.๑ – ม.๖
ภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓

ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชา
ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ม.๑ – ม.๖ ภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ - ๒๕๖๒

๑๐๐.๐๐ สขุ ศกึ ษาพล การงาน
๙๐.๐๐ ศกึ ษา อาชีพ
๘๐.๐๐
๗๐.๐๐
๖๐.๐๐
๕๐.๐๐
๔๐.๐๐
๓๐.๐๐
๒๐.๐๐
๑๐.๐๐
๐.๐๐

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ศิลปะ ภาษาองั กฤษ IS รวม

๒๕๖๑ ๖๒.๓๓ ๖๘.๓๐ ๗๑.๘๗ ๗๑.๕๙ ๘๓.๐๓ ๘๓.๒๑ ๗๕.๐๔ ๖๖.๗๕ ๘๕.๘๓ ๗๒.๙๒
89.84 ๗๓.๗๙
๒๕๖๒ ๖๒.๐๓ ๖๘.๘๗ ๗๗.๒๙ ๗๒.๑๖ ๘๓.๖๘ ๗๗.๓๗ ๗๓.๒๓ ๖๖.๗๖ 75.33

๒๕๖๓ 64.11 76.52 79.75 72.44 78.19 75.28 77.38 72.51

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๒๖

จากแผนภูมิ พบวา่ คา่ เฉลยี่ รอ้ ยละของผลสัมฤทธ์ิ เพม่ิ ขึน้ รายวชิ าท่ีรอ้ ยละสงู ที่สดุ คือ IS และสุขศกึ ษาพล
ศึกษา รายวชิ าที่ผลสมั ฤทธิต์ า่ สดุ คอื ภาษาไทยและภาษาอังกฤษตามลาดบั

แผนภมู ิที่ ๕ ร้อยละของนักเรยี นทม่ี ีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนแต่ละรายวชิ าในระดบั ๓ ขึ้นไป
ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ม.๑–ม.๖ ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๙ - ๒๕๖๓

รอ้ ยละของนกั เรียนท่ีมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นแตล่ ะรายวชิ าในระดบั ๓ ข้ึนไป
ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ม.๑–ม.๖ ภาคเรยี นที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙ - ๒๕๖๒

้รอยละ ้รอยละ ๑๙๓๔๒๘๗๕๐๑๖๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐...........๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐ สขุ ศกึ ษาพล การงาน
ศึกษา อาชีพ
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศึกษา ศิลปะ ภาษาองั กฤษ IS รวม

๒๕๕๙ ๓๖.๕๕ ๔๖.๕๒ ๕๒.๕๒ ๔๐.๒๑ ๗๖.๓๗ ๗๒.๔๕ ๗๔.๙๔ ๓๗.๕๔ ๗๘.๙๐ ๖๓.๓๑
90.94 ๖๓.๕๙
๒๕๖๐ ๓๒.๖๑ ๔๕.๒๖ ๒๖.๗๖ ๔๙.๗๕ ๖๖.๓๖ ๘๙.๘๑ ๘๕.๓๒ ๓๒.๖๘ 64.24

๒๕๖๑ ๕๐.๕๒ ๕๓.๗๓ ๕๙.๗๙ ๖๐.๔๖ ๘๑.๔๙ ๖๘.๐๙ ๗๙.๘๑ ๕๒.๕๗

๒๕๖๒ ๔๘.๔๙ ๕๐.๙๗ ๖๔.๘๐ ๕๕.๘๕ ๘๒.๑๒ ๗๒.๘๓ ๗๑.๔๓ ๕๙.๘๒

๒๕๖๓ 45.66 58.89 69.45 61.75 80.81 60.61 62.15 58.06

แผนภมู ิที่ ๖ ร้อยละของนักเรยี นที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตล่ ะรายวิชาในระดับ ๓ ขน้ึ ไป
ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ ม.๑ – ม.๖ ภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

รอ้ ยละของนักเรียนทม่ี ผี ลสัมฤทธิท์ างการเรยี นแต่ละรายวิชาในระดับ ๓ ขึน้ ไป
ระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ม.๑–ม.๖ ภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๙ - ๒๕๖๒

๑๘๓๕๗๒๔๙๐๑๖๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐...........๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐ สขุ ศกึ ษาพล การงาน
ศึกษา อาชีพ
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศึกษา ศิลปะ ภาษาองั กฤษ IS รวม

๒๕๕๙ ๓๖.๕๕ ๔๖.๕๒ ๕๒.๕๒ ๔๐.๒๑ ๗๖.๓๗ ๗๒.๔๕ ๗๔.๙๔ ๓๗.๕๔ ๘๔.๖๒ ๖๓.๓๐
91.82 ๖๕.๘๒
๒๕๖๐ ๔๒.๗๕ ๔๘.๗๘ ๓๓.๘๒ ๓๘.๔๕ ๗๖.๔๓ ๗๘.๖๓ ๖๕.๘๕ ๓๔.๑๕ 68.46

๒๕๖๑ ๔๗.๑๕ ๕๕.๐๖ ๖๒.๐๓ ๖๑.๗๒ ๗๘.๐๐ ๗๙.๒๓ ๖๕.๙๘ ๕๔.๘๑

๒๕๖๒ ๕๐.๓๔ ๕๘.๘๗ ๗๐.๔๕ ๖๓.๐๑ ๘๐.๑๙ ๗๑.๓๖ ๖๕.๗๖ ๕๔.๕๕

๒๕๖๓ 53.26 69.82 74.93 64.27 72.64 67.39 74.51 63.07

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๒๗

จากแผนภมู ิ พบวา่ รอ้ ยละของนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นระดับดีขึน้ ไปทุกระดับมีแนวโน้มเพมิ่ ข้ึน
รายวชิ าทร่ี อ้ ยละระดับ ๓ ข้ึนไปสงู ที่สดุ คือ IS และสุขศึกษาพลศกึ ษา รายวชิ าทร่ี อ้ ยละระดับ ๓ ขน้ึ ไปต่าสดุ คือ
ภาษาไทย และภาษาองั กฤษตามลาดบั

แผนภูมทิ ่ี ๗ แสดงผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนเฉลย่ี ร้อยละ และรอ้ ยละ ๐ ร มส แต่ละรายวชิ า
ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ม.๑–ม.๖ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓

ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวชิ า ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ม.๑–ม.๖
ปีการศึกษา ๒๕๖๐- ๒๕๖๒

ร้อยละ ๑๔๘๑๕๒๙๓๗๖๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐...........๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐

ภาษาไทย คณิต วทิ ย์ สงั คมศึกษา สขุ ศกึ ษา ศิลปะ การงาน องั กฤษ IS รวม
พลศกึ ษา อาชพี

คา่ เฉล่ยี รอ้ ยละ๖๐ ๕๗.๕๐ ๖๓.๕๐ ๖๖.๒๕ ๖๖.๐๐ ๘๔.๒๕ ๗๙.๗๕ ๗๙.๕๐ ๕๙.๗๕ ๗๐.๐๐

ค่าเฉลี่ยร้อยละ๖๑ ๖๓.๔๑ ๖๘.๑๗ ๗๑.๙๑ ๗๑.๘๖ ๘๓.๓๒ ๗๙.๗๓ ๗๘.๕๐ ๖๖.๓๕ ๗๓.๐๘

คา่ เฉล่ียรอ้ ยละ๖๒ ๖๑.๙๖ ๖๗.๑๙ ๗๕.๙๕ ๗๐.๐๑ ๘๔.๔๒ ๗๖.๙๘ ๗๕.๑๘ ๖๘.๑๘ ๘๓.๙๕ ๗๓.๒๒

คา่ เฉล่ยี รอ้ ยละ๖๓ ๖๒.๕๕ ๗๒.๖๘ ๗๗.๗๗ ๗๑.๗๐ ๘๑.๒๙ ๗๑.๙๔ ๗๓.๘๒ ๗๐.๓๗ ๙๐.๐๒ ๗๓.๘๘

ร้อยละ ๐ ร มส ๖๐ ๙.๕๐ ๕.๘๕ ๕.๐๕ ๖.๙๒ ๔.๕๓ ๖.๐๐ ๕.๕๕ ๗.๘๓ ๖.๒๙

รอ้ ยละ ๐ ร มส ๖๑ ๔.๔๙ ๓.๘๘ ๓.๔๔ ๔.๒๔ ๔.๖๒ ๓.๙๗ ๔.๓๙ ๕.๑๓ ๔.๒๗

รอ้ ยละ ๐ ร มส ๖๒ ๙.๙๑ ๗.๒๐ ๔.๔๖ ๖.๒๘ ๔.๙๒ ๗.๙๕ ๖.๒๘ ๗.๙๕ ๖.๐๑ ๖.๕๗

ร้อยละ ๐ ร มส ๖๓ ๑๐.๕๕ ๖.๑๑ ๕.๐๓ ๖.๑๖ ๗.๐๗ ๙.๘๙ ๗.๓๒ ๖.๑๕ ๔.๐๕ ๖.๘๑

จากแผนภูมิ พบว่า รอ้ ยละเฉล่ียของผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น ม.๑ – ๖ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ เพิม่ ข้นึ ใน
รายวชิ าภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศึกษา ภาษาอังกฤษ และ IS และลดลงในรายวิชาสุขศกึ ษา
และพลศึกษา ศลิ ปะ และการงานอาชพี ฯ ในขณะท่ีภาพรวมผลสัมฤทธ์สิ งู ขนึ้ ๐.๖๖ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๐.๙๐ รอ้ ยละ ๐
ร มส แต่ละรายวิชา เพิ่มขึน้ ในรายวชิ าภาษาไทย วทิ ยาศาสตร์ สขุ ศึกษาและพลสกึ ษา ศิลปะ และการงานอาชพี
ภาพรวมเพ่มิ ขน้ึ ๐.๒๔ คิดเป็นรอ้ ยละ ๓.๖๕ ร้อยละ ๐ ร มส ลดลงในรายวชิ ารายวิชาคณิตศาสตร์ สังคมศกึ ษา
ภาษาองั กฤษ และ IS ผลสมั ฤทธ์ิสูงสุด ได้แก่ IS และสุขศึกษาพลศึกษา ต่าสดุ คือ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
รอ้ ยละ ๐ ร มส สูงทีส่ ดุ คอื ภาษาไทย ศิลปะ และการงาน ต่าสดุ คือ IS วิทยาศาสตร์ แลคณิตศาสตร์

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรัชดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๒๘

แผนภมู ิที่ ๘ ร้อยละของผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ ๑ - ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ -๒๕๖๓

้รอยละ ๑๒๐.๐๐ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นแต่ละรายวชิ า ระดบั ชน้ั ประกาศนยี บัตรปีที่ ๑ - ๒
๑๐๐.๐๐ ปีการศึกษา ๒๕๖๑- ๒๕๖๓
๘๐.๐๐
๖๐.๐๐ ปวช.๑ ปวช.๒ ๙๓.๒๖ รวม
๔๐.๐๐ ๗๑.๐๐ ๗๘.๐๐ ๙๕.๗๒ ๗๔.๐๐
๒๐.๐๐ ๗๔.๕๐ ๗๙.๕๐ ๗๗.๐๐
๘๐.๐๗ ๘๒.๗๗ ๘๐.๐๗
๐.๐๐ ๖๑.๒๙ ๖๖.๓๕ ๖๓.๘๖
๖๙.๖๐ ๗๓.๒๖ ๗๑.๓๘
คา่ เฉล่ยี ร้อยละ๖๑ ๖๑.๒๘ ๘๑.๐๒ ๗๓.๗๖
ค่าเฉลย่ี ร้อยละ๖๒
คา่ เฉล่ยี ร้อยละ๖๓
ร้อยละ ๓ ขึน้ ไป ๖๑
รอ้ ยละ ๓ ข้นึ ไป ๖๒
รอ้ ยละ ๓ ขน้ึ ไป ๖๓

จากแผนภมู ิ พบวา่ นกั เรยี น ปวช. มคี า่ เฉลี่ยผลสัมฤทธ์ิเพ่ิมข้นึ ๓.๐๗ คดิ เป็นร้อยละ ๓.๙๙ และรอ้ ยละท่ีไดร้ ะดับดี
ข้ึนไป เพ่ิมขึน้ ๒.๓๘ คิดเป็นร้อยละ ๓.๓๓

๑.๕ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขัน้ พน้ื ฐาน (O-NET) และ (V-NET)

๑) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พนื้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๘ - ๒๕๖๓
ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓

ตารางที่ ๔ แสดงคะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้ันพื้นฐาน (O-NET)
ปีการศกึ ษา ๒๕๕๗ – ๒๕๖๓ ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓

วชิ า ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓
๓๕.๘๑ ๔๒.๙๙
ภาษาไทย ๒๘.๔๘ ๓๑.๒๗ ๔๖.๑๙ ๔๙.๖๒ ๕๖.๕๐ ๕๗.๔๗ ๕๙.๐๔
คณิตศาสตร์ ๔๐.๔๐ ๓๘.๕๕ ๒๖.๔๓ ๒๔.๗๘ ๒๘.๕๔ ๒๕.๙๔ ๒๗.๒๕
วทิ ยาศาสตร์ ๔๘.๐๔ ๔๗.๑๙ ๓๔.๐๓ ๓๑.๗๖ ๓๗.๒๙ ๓๐.๔๒ ๓๐.๕๗
สงั คมศึกษา ๒๕.๓๖ ๒๘.๐๙ ๔๘.๖๙ - - - -
ภาษาองั กฤษ ๓๕.๖๒ ๓๗.๖๒ ๒๘.๔๖ ๒๘.๒๔ ๒๗.๗๑ ๒๙.๗๒ ๓๔.๘๔
ค่าเฉลีย่ รวม ๓๖.๗๖ ๓๓.๖๐ ๓๗.๕๑ ๓๕.๘๙ ๓๗.๙๓
คา่ เฉลย่ี ระดับ สพม.๓๒ - -
ค่าเฉลยี่ ระดบั สพฐ. ๓๕.๗๔
ค่าเฉล่ยี ระดบั ประเทศ ๓๖.๕๒
- - ๓๗.๕๐ ๓๖.๓๐ ๓๖.๐๓

**ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๗ สอบ ๘ วชิ าแตน่ ามาเปรยี บเทยี บและหาค่าเฉลี่ย ๕ วิชา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนละหานทรายรชั ดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๒๙

แผนภูมิที่ ๙ แสดงคะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพืน้ ฐาน (O-NET)
ปีการศกึ ษา ๒๕๕๗–๒๕๖๓ ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓

๗๐.๐๐ ๕๙.๐๔ ๒๕๕๗
๖๐.๐๐ ๒๕๕๘
๕๐.๐๐ 27.25 ๓๐.๕๗ ๓๔.๘๔ ๓๗.๙๓ ๒๕๕๙
๔๐.๐๐ ภาษาองั กฤษ รวม ๒๕๖๐
๓๐.๐๐ ๒๕๖๑
๒๐.๐๐ ๒๕๖๒
๑๐.๐๐ ๒๕๖๓
๐.๐๐

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา

จากตารางท่ี ๔ และแผนภมู ทิ ี่ ๙ พบว่า คะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพืน้ ฐาน
(O-NET) ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ ในรายวชิ าภาษาไทยมแี นวโน้มสูงขึ้นอยา่ งต่อเน่ือง และคะแนนเฉล่ยี เพมิ่ ข้นึ
ทกุ รายวชิ า และเมื่อเปรียบเทียบคา่ เฉล่ยี รวม พบวา่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ัน้ พื้นฐาน (O-NET)
ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ มคี า่ เฉล่ยี รวมสงู ขึน้ และสงู กวา่ ระดับประเทศ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรัชดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๓๐

แผนภูมิท่ี ๑๐ แสดงร้อยละของนกั เรียนท่ีมีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับขน้ั พนื้ ฐาน (O-NET)

ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๐-๒๕๖๓ จาแนกระดับ ดี พอใช้ และปรับปรุงเปน็ รายวิชา

ร้อยละ 100.00 รอ้ ยละของนักเรียนที่มีผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาระดบั ขนั้ พน้ื ฐาน (O-NET)
90.00 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐-๒๕๖๒ จาแนกระดับ ดี พอใช้ และปรบั ปรงุ เป็นรายวชิ า
80.00
70.00 ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ รวม
60.00
50.00
40.00
30.00
20.00
10.00
0.00

ด๖ี ๑ 64.27 13.15 9.68 2.98 22.52

ดี๖๒ 71.62 13.00 9.55 2.65 24.20

ด๖ี ๓ 72.73 14.20 7.39 16.48 27.70

พอใช้๖๐ 41.21 62.73 83.95 92.89 68.81

พอใช้๖๑ 35.48 78.66 79.65 92.31 71.53

พอใช้๖๒ 27.85 82.49 82.49 84.62 69.36

พอใช้๖๓ 26.70 78.98 82.39 75.00 65.77

ปรบั ปรุง๖๐ 0.00 28.87 12.89 5.79 11.06

ปรบั ปรงุ ๖๑ 0.25 8.19 10.67 4.71 5.96

ปรบั ปรุง๖๒ 0.53 4.51 7.96 12.73 6.43

ปรบั ปรุง๖๓ 0.57 6.82 10.23 8.52 6.53

#REF! 1

จากแผนภมู ทิ ่ี ๑๐ พบว่า รอ้ ยละของนักเรยี นที่มผี ลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาระดับขั้นพื้นฐาน
(O-NET) ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ จาแนกระดบั ดี พอใช้ และปรบั ปรงุ เป็นรายวชิ า มี
นกั เรียนคณุ ภาพระดบั ดเี พิ่มขึ้นจากปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ในทกุ รายวิชาและภาพรวม และจานวนนกั เรยี นท่ีอยใู่ น
คุณภาพปรบั ปรุงในปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ลดลงในรายวิชาวทิ ยาศาสตร์ แตเ่ พ่ิมข้นึ ในรายวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์
ภาษาอังกฤษ และภาพรวม

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๒) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา ๒๕๕๗-๒๕๖๒ ๓๑

ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖ ๒๕๖๓
๔๐.๑๙
ตารางท่ี ๕ แสดงคะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พื้นฐาน(O-NET) ๑๙.๖๐
๓๐.๐๐
ปีการศึกษา ๒๕๕๗–๒๕๖๓ ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ ๓๓.๘๒
๒๔.๒๐
วิชา ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๙.๕๕

ภาษาไทย ๔๙.๕๐ ๔๖.๗๘ ๕๑.๓๑ ๔๖.๓๑ ๔๖.๓๕ ๓๘.๘๕ ๓๓.๗๘

คณติ ศาสตร์ ๑๗.๐๗ ๒๒.๘๑ ๒๐.๖๑ ๑๙.๖๒ ๒๔.๓๖ ๑๙.๐๕

วทิ ยาศาสตร์ ๓๑.๘๔ ๓๒.๖๖ ๓๑.๗๑ ๒๖.๕๓ ๒๙.๓๒ ๒๗.๑๑

สังคมศกึ ษา ๓๖.๓๗ ๓๘.๙๐ ๓๕.๖๑ ๓๒.๕๐ ๓๔.๓๒ ๓๔.๐๕

ภาษาองั กฤษ ๑๙.๓๔ ๒๑.๖๔ ๒๒.๘๙ ๒๒.๔๕ ๒๖.๑๕ ๒๓.๗๕

คา่ เฉลี่ยรวม ๓๐.๘๑ ๓๒.๕๖ ๓๒.๔๙ ๒๙.๒๘ ๓๒.๑๐ ๒๘.๕๖

คา่ เฉล่ยี ระดับ สพม.๓๒ ๓๐.๐๕

คา่ เฉล่ียระดับ สพฐ. ๓๒.๖๒

ค่าเฉลีย่ ระดับประเทศ - - - - ๓๕.๐๒ ๓๒.๓๔

**ปกี ารศึกษา ๒๕๕๗ สอบ ๘ วชิ าแตน่ ามาเปรยี บเทียบและหาค่าเฉล่ยี ๕ วิชา

แผนภูมิที่ ๑๑ แสดงคะแนนเฉลีย่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ั้นพ้นื ฐาน(O-NET)
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๗-๒๕๖๓ ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖

๖๐.๐๐ 1 ๒๕๕๘
๕๐.๐๐ ภาษาไทย ๒๕๕๙
๔๐.๐๐ ๒๕๖๐
๓๐.๐๐ ๒๕๖๑
๒๐.๐๐ ๒๕๖๒
๑๐.๐๐ ๒๕๖๓
๐.๐๐

คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ภาษาองั กฤษ รวม

จากตารางท่ี ๕ และแผนภมู ิที่ ๑๑ พบว่า คะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พื้นฐาน
(O-NET) ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๖ ในรายวิชาสงั คมศึกษามีคา่ เฉล่ยี ลดลง แต่ในรายวชิ าภาษาไทย คณิตศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษและคา่ เฉลีย่ รวมมีคา่ เฉล่ียเพิม่ ขึ้น พบว่า ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้นั
พืน้ ฐาน (O-NET) ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ ตา่ กว่าระดับประเทศ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรัชดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๓๒

แผนภมู ิที่ ๑๒ แสดงร้อยละของนักเรยี นที่มีผลการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาระดบั ข้นั พืน้ ฐาน (O-NET)

ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๐-๒๕๖๓ จาแนกระดบั ดี พอใช้ และปรบั ปรุงเปน็ รายวชิ า

1086793451200000000000...........0000000000000000000000 รอ้ ยละของนักเรยี นทมี่ ผี ลการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาระดบั ข้นั พน้ื ฐาน (O-NET) ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๖
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ - ๒๕๖๒ จาแนกระดบั ดี พอใช้ และปรบั ปรงุ เปน็ รายวชิ า
ด๖ี ๐
้รอยละด๖ี ๑

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ภาษาองั กฤษ รวม
51.51 4.09 4.10 5.19 0.82 13.11
53.51 14.04 3.80 4.68 3.51 15.91

ด๖ี ๒ 16.85 2.18 5.25 20.00 3.81 9.60

ด๖ี ๓ 20.23 3.16 5.76 3.74 2.59 7.08

พอใช้๖๐ 46.30 94.55 89.34 77.32 93.73 80.28

พอใช้๖๑ 44.74 85.96 78.07 21.05 93.27 64.62

พอใช้๖๒ 77.90 29.16 75.97 77.53 59.40 63.91

พอใช้๖๓ 60.69 93.68 80.46 79.89 88.22 80.61

ปรับปรุง๖๐ 2.19 1.36 6.56 17.49 5.45 6.61
ปรับปรงุ ๖๑ 1.75 0.00 18.13 74.27 3.22 19.47
ปรับปรุง๖๒ 5.25 68.66 18.78 2.47 36.78 26.49

ปรับปรงุ ๖๓ 19.08 3.16 13.79 16.38 9.20 12.31

จากแผนภมู ทิ ี่ ๑๒ พบว่า รอ้ ยละของนักเรยี นที่มีผลการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาระดบั ข้ันพืน้ ฐาน
(O-NET) ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๖ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ จาแนกระดบั ดี พอใช้ และปรับปรงุ เปน็ รายวชิ า
มนี กั เรยี นคุณภาพระดบั ดีเพ่ิมข้ึนจากปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ในรายวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และ
นักเรยี นมรี ะดับดีลดลงในรายวชิ าสังคมศกึ ษา ภาษาอังกฤษและภาพรวม จานวนนักเรียนทีอ่ ยใู่ นคุณภาพปรบั ปรงุ ใน
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ จานวนนักเรยี นในระดบั ปรับปรุงลดลงในรายวชิ าภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์
ภาษาองั กฤษและภาพรวม จานวนนักเรียนในระดบั ปรบั ปรุงเพ่มิ ขน้ึ ในรายวิชาสงั คมศึก๋ษา แสดงว่าโรงเรยี นควรจดั
กิจกรรมการเรยี นการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรยี นให้มคี ณุ ภาพเพิ่มขน้ึ ในรายวิชาสงั คมศกึ ษา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนละหานทรายรัชดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๓๓

แผนภูมทิ ี่ ๑๓ แสดงคะแนนเฉล่ีย ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับขัน้ พน้ื ฐาน (O-NET) ชั้นมธั ยมศกึ ษา
ปีท่ี ๖ แยกตามแผนการเรยี นปกี ารศึกษา ๒๕๕๘ – ๒๕๖๓

แผนภูมเิ ปรยี บเทยี บคะแนน ONET ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 6 แยกสายการเรียน ปกี ารศึกษา 2558-2563

40 2559 2560 2561 2562 2563
35 วิทย์ ทัว่ ไป ภาษา รวม
30
25
20
15
10
5
0

2558

จากแผนภมู ิที่ ๑๓ พบวา่ คา่ เฉลย่ี คะแนน ONET ของนักเรียนท่ีมีผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาระดับ
ขั้นพน้ื ฐาน (O-NET) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ ในแผนการเรยี นวทิ ยาศาสตร์-
คณติ ศาสตร์ สงู กวา่ แผนการเรยี นภาษา และแผนการเรียนทวั่ ไป ดังน้ันสถานศึกษาควรเปดิ หลักสูตรในแผนการ
เรยี นวทิ ยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ มากกว่าแผนการเรยี นภาษา และแผนการเรียนทวั่ ไปตามลาดบั เพื่อช่วยในการ
ยกระดบั ผลการทดสอบระดับชาติ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรัชดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๓๔

๓) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดา้ นอาชีวศึกษา (V-NET) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๗ - ๒๕๖๓
ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ ๓
ตารางที่ ๖ แสดงคะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET)

ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๗ - ๒๕๖๓ ระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพ ๓

วชิ า ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒
๓๖.๕๘
ทักษะภาษาและการสื่อสาร ๓๕.๔๔ ๓๔.๖๔ ๓๗.๕๐ ๓๙.๒๔ ๔๒.๗๗ ๔๑.๗๒ ๒๓.๙๕
๖๒.๓๗
ทกั ษะการคิดและการแก้ปญั หา ๔๐.๙๖ ๓๐.๐๐ ๒๘.๘๐ ๒๙.๙๒ ๒๖.๓๔ ๓๖.๐๙
๔๑.๕๔
ทกั ษะทางสังคมและการ ๔๙.๕๔ ๕๓.๗๕ ๕๑.๐๙ ๕๖.๘๙ ๕๒.๖๘ ๕๓.๕๒ ๔๑.๑๑
ดารงชวี ิต ๓๗.๖๘ ๔๒.๘๓ ๔๓.๑๑ ๔๗.๒๓ ๔๘.๘๓ ๓๙.๕๒
ทักษะการจดั การงานอาชีพ
๓๔.๙๖
ค่าเฉล่ียรวม - ๓๙.๐๒ ๔๐.๐๕ ๔๒.๒๙ ๔๒.๒๕ ๔๕.๐๔ ๓๘.๗๒
๓๕.๗๔
ความรูด้ า้ นสมรรถนะหลกั ๓๘.๗๓
และสมรรถนะทว่ั ไป

ค่าเฉลย่ี ระดับจงั หวดั ๔๒.๘๖

ค่าเฉล่ียระดับสงั กัด ๔๔.๐๔

ค่าเฉล่ียระดบั ภาค ๔๒.๐๓

ค่าเฉลี่ยระดับประเทศ ๔๒.๔๘ ๔๓.๘๓ ๓๗.๙๓ ๔๑.๖๐ ๔๑.๖๓ ๔๓.๖๓

/

๔๑.๓๘

แผนภมู ิที่ ๑๔ แสดงคะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ ดา้ นอาชีวศึกษา (V-NET)

ปีการศกึ ษา ๒๕๕๗ - ๒๕๖๓ ระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ ๓

๗๐.๐๐ ๖๒.๓๗
๖๐.๐๐
๕๐.๐๐ ๓๖.๕๘ ๔๑.๕๔ ๓๙.๕๒ ๓๙.๕๒ ๒๕๕๗
๔๐.๐๐ ๒๕๕๘
๓๐.๐๐ ๒๓.๙๕ ๒๕๕๙
๒๐.๐๐ ๒๕๖๐
๑๐.๐๐ ๒๕๖๑
๐.๐๐ ๒๕๖๒
๒๕๖๓

จากตารางที่ ๖ และแผนภูมทิ ี่ ๑๔ พบว่า คะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดา้ น
อาชีวศกึ ษา (V-NET) ในปกี ารศึกษา ๒๕๕๗ - ๒๕๖๒ ระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ๓ ค่าเฉลีย่ รวมมีแนวโนม้
เพิ่มขึ้นทุกปี แต่ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ มคี า่ เฉ่ยี ลดลง เมือ่ พิจารณารายองคป์ ระกอบ พบว่า ทกั ษะทางสงั คมและการ
ดารงชวี ิตมแี นวโนม้ เพ่ิมข้นึ ในขณะทีท่ ักษะภาษาและการส่ือสาร ทักษะการคิดและการแกป้ ัญหา ทักษะการจดั การ
งานอาชีพ และภาพรวมลดลง เม่ือพจิ ารณาคา่ เฉลีย่ รวม พบวา่ นักเรยี นระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ๓ มคี ่าเฉลย่ี
รวมสูงกวา่ ระดบั ประเทศทุกปี ยกเวน้ ปี ๒๕๕๘ ซึง่ ต้องรักษามาตรฐานและพัฒนาอยา่ งต่อเนอ่ื งย่ังยนื ตอ่ ไป

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรัชดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๓๕

๑.๖ รางวลั /ผลงานทีโ่ รงเรยี นไดร้ ับ (รายละเอียดเพ่ิมเตมิ อยใู่ นภาคผนวก)

แผนภูมิท่ี ๑๕ แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบ จานวนเหรียญงานศิลปหตั ถกรรมนกั เรียน ระดับกลุ่ม ๓ จงั หวัด
บรุ ีรัมย์ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๗ – ๒๕๖๓ (ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ สถานการณโ์ ควิด-๑๙ งดการจดั กจิ กรรม)

จานวนเหรียญงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดบั กลมุ่ ๓ จงั หวดั บรุ ีรมั ย์
ปีการศึกษา ๒๕๕๗ - ๒๕๖๓

้รอยละ ้รอยละ160.00 เหรยี ญทอง เหรยี ญเงนิ เหรียญทองแดง เขา้ รว่ ม รวม
140.00 56.00 26.00 11.00 14.00 107.00
120.00 32.00 6.00 5.00 0.00 43.00
100.00 74.00 23.00 4.00 0.00 101.00
80.00 99.00 20.00 6.00 1.00 126.00
60.00 98.00 25.00 7.00 3.00 133.00
40.00 111.00 16.00 6.00 2.00 135.00
20.00

0.00

๒๕๕๗
๒๕๕๘
๒๕๕๙
๒๕๖๐
๒๕๖๑
๒๕๖๒

แผนภมู ทิ ่ี ๑๖ แผนภูมแิ สดงการเปรียบเทียบ จานวนเหรยี ญงานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรียน
ระดบั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ปีการศึกษา ๒๕๕๗-๒๕๖๓ (ปีการศึกษา ๒๕๖๓ สถานการณโ์ ควดิ -๑๙ งดการจดั

กิจกรรม)

จานวนเหรียญงานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี น ระดบั ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ
ปีการศกึ ษา ๒๕๕๗ - ๒๕๖๓

4305..0000 เหรียญทอง เหรยี ญเงิน เหรยี ญทองแดง เข้ารว่ ม รวม
232050...000000 13.00 8.00 1.00 8.00 30.00
11055...000000 8.00 1.00 0.00 1.00 10.00
0.00 20.00 8.00 1.00 0.00 29.00
22.00 8.00 2.00 2.00 34.00
๒๕๕๗ 0 0 0 0
๒๕๕๘ 0 0 0 0 0
๒๕๕๙ 0
๒๕๖๐
๒๕๖๑
๒๕๖๒

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรัชดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๓๖

แผนภูมิท่ี ๑๗ แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบ จานวนเหรียญงานศิลปหตั ถกรรมนกั เรียน ระดับชาติ/ประเทศ
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๗ – ๒๕๖๓ (ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ สถานการณโ์ ควิด-๑๙ งดการจัดกจิ กรรม)

จานวนเหรียญงานศิลปหตั ถกรรมนกั เรียน ระดบั ชาติ/ประเทศ
ปกี ารศึกษา ๒๕๕๗ - ๒๕๖๓

้รอยละ 40.00
35.00
30.00 เหรียญทอง เหรียญเงนิ เหรียญทองแดง เข้าร่วม รวม
25.00 1.00 0.00 0.00 0.00 1.00
20.00 1.00 0.00 0.00 0.00 1.00
15.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
10.00 1.00 1.00 0.00 1.00 2.00
5.00 22.00 7.00 4.00 2.00 35.00
0.00 22.00 4.00 4.00 1.00 31.00

๒๕๕๗
๒๕๕๘
๒๕๕๙
๒๕๖๐
๒๕๖๑
๒๕๖๒

จากแผนภมู ิที่ ๑๕ ๑๖ และ ๑๗ พบวา่ จานวนเหรยี ญงานศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี นของโรงเรียนละหาน
ทรายรชั ดาภิเษกปีการศกึ ษา ๒๕๕๗ - ๒๕๖๓ ในทกุ ระดับมแี นวโน้มเพม่ิ ขน้ึ ทกุ ปี อนั เนื่องมาจากการบรหิ ารจดั การ
ทีย่ อดเยยี่ ม และการจัดการเรียนรู้ทีเ่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญ

๑.๗ ข้อมลู การใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรียน ปกี ารศึกษา ๒๕๕๙ - ๒๕๖๓

๑.๗.๑ จานวนนักเรยี นทใี่ ช้แหลง่ เรียนรู้ภายในโรงเรยี น ปกี ารศึกษา ๒๕๕๙-๒๕๖๓
แผนภูมิที่ ๑๘ แสดงจานวนนักเรยี นท่ีใช้แหลง่ เรยี นรู้ภายในโรงเรยี น ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙-๒๕๖๓

จานวน (คน) 3000
2000
1000

0

แหลง่ เรียนรภู้ ายในโรงเรียน ๒๕๕๙
๒๕๖๐
๒๕๖๑
๒๕๖๒
๒๕๖๓

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๓๗

๑.๗.๒ จานวนนักเรียนท่ีใช้แหล่งเรยี นรู้ภายนอกโรงเรยี น ปีการศกึ ษา ๒๕๕๙–๒๕๖๓
แผนภูมิท่ี ๑๙ แสดงจานวนนักเรียนทใี่ ชแ้ หลง่ เรียนรู้ภายนอกโรงเรยี น ปกี ารศึกษา ๒๕๕๙–๒๕๖๓

3,000.00 ห้องส ุมดประชาชนอาเภอ…
2,000.00 เ ่ืขอนลานางรอง
1,000.00 เ ่ืขอนลาจังหัน

0.00 แหล่ง ิหนห ุลม ุกมภ ัลกษ ์ณ
ปราสาทพนมรุ้ง
ปราสาทเ ืมองต่า
วัดเขาหลุบ
วัดเขา ัองคาร

หนองละหานทราย
หนองป ืรอ

วัด ่ปาละหานทราย
วัดโพธ์ิทรายทอง
วัด ุม ีน ัรตนศาสดาราม
วัดชลประทาน
วัดหลวงพ่อโต
วัด ่ปา ้บานไร่
ปราสาทหินพิมาย
เ ่ืขอนด่านปราการชล
โรงเ ีรยนนายร้อย จปร.
วัดพระแก้วมรกต

อยุธยา
้บาน ้ชางสุรินทร์
๒๕๕๙
๒๕๖๐
๒๕๖๑
๒๕๖๒
๒๕๖๓

จากแผนภมู ิที่ ๑๘ และ ๑๙ พบวา่ โรงเรียนละหานทรายรัชดาภเิ ษกไดจ้ ดั แหล่งเรียนรทู้ ี่หลากหลาย
ทั้งภายในและภายนอกให้กับนกั เรียน

กราฟที่ ๑ แสดงจานวนผู้ใช้ห้องปฏบิ ัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๓ – ๒๕๖๓

แสดงจานวนผ้ใู ชห้ ้องปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอร์ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ - ๒๕๖๒

2,650 2,480 2,540 2,583 2,432 2,500 2590 2600 2500

2,048 2,120

ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563

จากกราฟที่ ๑ พบว่าโรงเรยี นละหานทรายรัชดาภิเษกได้จดั ห้องปฏบิ ตั ิการคอมพวิ เตอรใ์ ห้กบั นักเรียนอย่าง
พอเพียงและมแี นวโนม้ ผใู้ ช้เพิ่มขน้ึ ทุกปกี ารศึกษาในปีการศึกษา ๒๕๖๓ ลดลงเนอ่ื งจากสถานการณ์โควิด-๑๙

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนละหานทรายรัชดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๓๘

สว่ นท่ี ๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผู้เรยี น

๑. ระดับคณุ ภาพ : ดีเลศิ

๒. วิธีการพัฒนา/กระบวนการพัฒนา ขอ้ มลู หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ท่สี นับสนุนการประเมนิ ตนเอง

๒.๑ วธิ ีการพฒั นา/กระบวนการ

โรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภเิ ษกมีกระบวนการพัฒนาผเู้ รยี นดว้ ยวธิ ีการทห่ี ลากหลาย ครูจดั การเรียนรูใ้ ห้
เปน็ ไปตามศักยภาพของผ้เู รยี น และเป็นไปตามมาตรฐานและตัวช้ีวัดของหลักสูตรมีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ท่ี
เหมาะสมกับผู้เรียน โดยมีการจัดการเรยี นร้ทู ั้งรปู แบบการระดมสมอง แบบลงมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ แบบร่วมมอื กนั เรียนรู้
แบบใชก้ ระบวนการคิด กระบวนการใช้ปัญหาเปน็ หลัก และเน้นเรอื่ งการอ่านออกของผู้เรียนเป็นเรอื่ งสาคัญท่สี ดุ
โดยมุ่ง พฒั นาใหผ้ ูเ้ รียนทุกคนอ่านออกและเขยี นได้ พัฒนาครูทุกคนให้มคี วามสามารถในการนาเทคนิควิธีสอนให้
ตรงตามศักยภาพผ้เู รียน ใช้สอ่ื เทคโนโลยีในการจดั การเรียนการสอน มแี หลง่ เรยี นรแู้ ละแหลง่ สืบคน้ ข้อมูล ครใู นสาย
ชนั้ เดยี วกันร่วมกันกาหนดแผนการจัดการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผลแบบบรู ณาการ ครูเนน้ การใช้คาถามเพื่อ
พัฒนาทักษะการคิดของผู้เรยี นตามแนวคดิ ในการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑ และใชก้ ระบวนการ PLC ในการ
แก้ไขปัญหาและพฒั นาผเู้ รียน นอกจากนี้ สถานศกึ ษาไดม้ กี ารดาเนนิ การเพอ่ื พฒั นาทักษะชีวิตของผู้เรยี น เพ่ือให้อยู่
ในสงั คมได้อย่างมีความสุข เนน้ การพัฒนาดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน โดยการจดั ค่าย
คณุ ธรรมกับนักเรยี น จัดกจิ กรรมการพัฒนาใหเ้ หมาะสมกับศกั ยภาพ เน้นใหผ้ เู้ รยี นมวี ินัย ซ่ือสัตย์ รับผิดชอบ
และมจี ิตสาธารณะ มรี ะบบการแนะแนวและการดูแลสขุ ภาวะจิต นาภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ มารว่ มกนั วางแผนการจดั การ
เรยี นการสอน

โดยมีกรอบแนวคดิ ทฤษฏีของกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นโรงเรียนละหานทรายรชั ดาภิเษก ดังน้ี

วงจรคณุ ภาพ แนวคิดในการจัดการศึกษา ทฤษฎีระบบ
ของเดมมิ่ง ในศตวรรษที่ ๒๑ Input, Process, Product

PDCA และกระบวนการ PLC

P : PLAN การวางแผนการจัดการเรยี นรู้และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียนโดยใช้ขอ้ มูลผ้เู รียนเป็นรายบคุ คล
D : DO จดั กิจกรรมการเรยี นรแู้ ละกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นตามแนวคิดการจัดการศกึ ษาในศตวรรษที่ ๒๑
C : CHECK นเิ ทศตดิ ตามการจดั การเรยี นรูอ้ ยา่ งเป็นระบบและต่อเนื่อง
A : ACTION ประเมนิ ผลและปรบั ปรงุ พฒั นางานอยเู่ สมอโดยใช้กระบวนการ PLC

ราฤยงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนละหานทรายรัชดาภเิ ษก

(Self - Assessment Report : SAR)

๓๙

๒.๒ ขอ้ มลู หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ทีส่ นับสนุนการประเมนิ ตนเอง

โรงเรียนละหานทรายรชั ดาภเิ ษกมงี าน โครงการ กิจกรรมที่สง่ เสรมิ การพัฒนาคุณภาพด้านผ้เู รยี น ดังน้ี

ท่ี ช่ือ วตั ถุประสงค์ การดาเนนิ การ (ย่อๆ) เป้าหมาย ผลสาเร็จ

งาน/โครงการ/กจิ กรรม

๑ การแข่งขนั พฒั นาอัจฉรยิ ภาพ เพอ่ื พัฒนาอจั ฉรยิ ภาพ พัฒนานักเรียนเพอ่ื ๖๐ ๗๕

ทักษะนักเรียน และทักษะนักเรียนเพอ่ื เข้าแขง่ ขนั ทักษะทาง

เพิ่มผลสัมฤทธ์ิ พัฒนาขดี วิชาการ

ความสามารถของผู้เรียน

ตามศักยภาพ

๒ พฒั นากิจกรรมแนะแนว เพื่อให้บริการงานแนะ จัดกจิ กรรมแนะแนว ๙๕ ๙๕

แนวอยา่ งทั่วถึง มี บริการให้คาปรึกษา

ประสิทธภิ าพ การศึกษาต่อ การ

ประกอบอาชีพ และ

จดั ทาข้อมลู พ้นื ฐาน

นักเรยี นเปน็

รายบุคคล

๓ ปัจฉิมนิเทศนักเรยี น ม.๓ ม.๖ เพือ่ เปน็ ขวัญและกาลังใจ จัดงานปัจฉมิ นเิ ทศ ๙๐ ๙๓

และ ปวช.๓ สาหรับนักเรยี นทส่ี าเรจ็

การศึกษา

๔ พฒั นาการวดั ผลประเมนิ ผล เพือ่ สง่ เสรมิ ครูใหไ้ ดร้ บั อบรมการวดั ผล ๙๕ ๙๕

การพัฒนาการวัดผลตาม วเิ คราะหผ์ ลสัมฤทธิ์

สภาพจริงนกั เรียนมี ทางการเรยี นทกุ กลุ่ม

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น สาระการเรยี นรู้

สงู ข้นึ

๕ โครงการตวิ GAT,PAT และ เพื่อแนะแนวเตรียมความ จัดกิจกรรมตวิ ๙๐ ๙๐

ONET ม.๓ ม.๖ พร้อมในการสอบ GAT,PAT และ

GAT,PAT และ ONET ONET

ให้นักเรยี น ม.๓ ม.๖

๖ โครงการประชมุ ผปู้ กครอง เพอ่ื ใหน้ ักเรียนชั้น ม.๓ ประชมุ ผูป้ กครอง ๙๐ ๙๐

นกั เรยี นชน้ั ม.๓ ม.๖ และ นกั เรยี น ม.๓ ม.๖

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนละหานทรายรชั ดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๔๐

ท่ี ช่ือ วตั ถุประสงค์ การดาเนนิ การ (ย่อๆ) เปา้ หมาย ผลสาเร็จ
งาน/โครงการ/กจิ กรรม

นกั เรียนทม่ี ีปัญหาขาดเรียน ม.๖ ทมี่ ปี ญั หาทางการ

ต่อเน่อื ง เรียนจบพรอ้ มรุ่น

๗ อบรมทักษะอาชีพนักเรยี น เพ่ือใหน้ ักเรียนมีความรู้ อบรมทักษะอาชีพแก่ ๙๐ ๙๐
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ ทักษะในการประกอบ นักเรยี น

อาชพี

๘ หมวดกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน เพื่อส่งเสริมการเรียนร้แู ก่ จดั กิจกรรมทัศน ๑๐๐ ๑๐๐

(ทศั นศึกษา) นักเรียน ศึกษา

๙ หมวดกจิ กรรมผู้เรยี น เพ่ือพฒั นานกั เรยี นตาม จดั กิจกรรมลกู เสือ ๑๐๐ ๑๐๐

(ลกู เสอื -เนตรนารี) กระบวนการเรยี นการ เนตรนารี
สอนลูกเสือ

๑๐ พฒั นานักเรยี นตามระบบการ เพื่อดูแลช่วยเหลอื จัดกิจกรรมเย่ียมบ้าน ๙๐ ๙๐
ประชุมผปู้ กครอง
ดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น นักเรยี น

นักเรียน

๑๑ พัฒนาคณุ ลักษณะ เพื่อพัฒนาคุณลักษณะ จัดคา่ ยพัฒนา ๑๐๐ ๙๘

อนั พงึ ประสงค์ อนั พงึ ประสงค์ของ คณุ ลักษณะอนั พึง
นกั เรียน ประสงค์ จดั สายตรวจ
นอกโรงเรียน

๑๒ โครงการพฒั นาสง่ เสริม พัฒนาสง่ เสริม จดั กิจกรรมสภา ๙๐ ๙๐
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยในโรงเรยี น นกั เรียน

๑๓ โรงเรยี นวถิ พี ุทธ สง่ เสริมนักเรยี นตาม จดั กจิ กรรมคา่ ย ๙๐ ๙๐

แนวทางโรงเรยี นวถิ พี ทุ ธ คณุ ธรรม หอ้ งเรยี น

คณุ ธรรม

๑๔ โรงเรยี นสจุ ริต เพ่ือส่งเสริมให้นกั เรยี นมี อบรม ปปช.น้อย ๙๐ ๙๐

คณุ ลกั ษณะสจุ รติ อบรมครูมาตรฐาน

โรงเรยี นสจุ รติ บรษิ ทั

สรา้ งการดี กิจกรรม
ค่ายเยาวชนคนดี

๑๕ TO BE NUMBER ONE TEEN ส่งเสริมนกั เรยี นเปน็ หน่งึ จัดกิจกรรมสง่ เสรมิ ๙๐ ๙๐

DANCERCISE โดยไมพ่ งึ่ ยาเสพติด นกั เรยี น

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

ท่ี ช่ือ วตั ถปุ ระสงค์ การดาเนินการ (ยอ่ ๆ) ๔๑
งาน/โครงการ/กิจกรรม
เพื่อใหน้ ักเรียนเห็นคุณค่า จดั การเรียนการสอน เปา้ หมาย ผลสาเร็จ
๑๖ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ของแหลง่ เรียนรู้ โดยใช้สวน ๙๐ ๙๐
พฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น
๑๗ โครงการคบลูกรชั ดาสร้างบ้าน เพ่ือใหน้ กั เรยี นตระหนัก เป็นสอ่ื ในการเรียนรู้ ๙๐ ๙๐
สบื สานงานพระราชดาริ และเรียนเรยี นรแู้ นวทาง จดั กจิ กรรมฐานและ
ปรัชญาของเศรษฐกจิ คา่ ยการเรยี นรู้ ๙๐ ๙๐
๑๘ พัฒนาศักยภาพทางดา้ นกีฬา พอเพยี ง เศรษฐกจิ พอเพียง
เพือ่ พฒั นาศักยภาพ
ผู้เรียนด้านกีฬา จัดกิจกรรมกีฬาและ
ค่ายส่งเสรมิ ศักยภาพ
กีฬาแกน่ ักเรยี น

ผลการดาเนนิ งานดา้ นคณุ ภาพผู้เรยี นในภาพรวม
ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการอ่าน การเขียนการสื่อสาร และการคดิ คานวณ คิดเป็นร้อยละ ๙๒.๑๐ ผลการ

ทดสอบระดับชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน (O-NET) ระดบั ชัน้ ม.๓ เพิ่มข้ึนและมีค่าเฉลย่ี สูงกวา่ ระดบั ประเทศ ผลคะแนน (V-

NET) ระดบั ปวช.๓ ภาพรวมสงู กว่าระดบั ประเทศ ในขณะที่ (O-NET) ระดบั ม. ๖ ภาพรวมสูงข้ึนแตค่ ่าเฉลย่ี ยงั ต่า

กวา่ ระดบั ประเทศ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลีย่ น ความคิดเหน็ โดย

ใชเ้ หตุผลประกอบการตัดสนิ ใจ และแกป้ ญั หาได้ คดิ เป็นรอ้ ยละ ๘๒.๔๗ ความสามารถในการสร้างนวตั กรรม คดิ

เป็นร้อยละ ๖๕.๓๓ ในรายวชิ า IS นักเรยี นมผี ลสัมฤทธใ์ิ นระดบั ดขี ้ึนไป รอ้ ยละ ๙๑.๓๖ ขาดการเผยแพรแ่ ละ

นาไปใช้อย่างเป็นระบบ นกั เรียนมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษา คิดเป็นรอ้ ยละ ๙๓.๑๙ รอ้ ยละ

ของนักเรียนทม่ี ีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนระดบั ดีข้ึนไปมแี นวโนม้ เพมิ่ ขนึ้ ทุกปี ร้อยละเฉล่ยี ของผลสมั ฤทธิ์ทางการ

เรยี นปี ๒๕๖๓ เพิม่ ขึ้น ร้อยละ ๐ ร มส แตล่ ะรายวิชา เพ่มิ ขึ้น นกั เรยี นมคี ่าเฉลย่ี ผลการเรียน ม.๑-๖ ร้อยละ

๗๓.๘๘ และร้อยละของนกั เรียนทีไ่ ด้ระดบั ดขี น้ึ ไป ๖๖.๒๘ซง่ึ ตา่ กวา่ คา่ เปา้ หมายทต่ี ง้ั ไว้ร้อยละ ๗๒ มีความรู้ ทักษะ

พื้นฐาน และเจตคตทิ ดี่ ีพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สงู ข้ึน การทางานหรืองานอาชีพ คดิ เป็นร้อยละ ๙๐.๖๒ มี

คุณลกั ษณะและค่านิยมที่ดสี ูงกวา่ เปา้ หมายที่สถานศึกษากาหนด คิดเปน็ รอ้ ยละ ๙๕.๒๐ มีผลการประเมิน

คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ การอ่านคิดวิเคราะห์

และเขียนสื่อความ สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน ตามหลักสตู รสถานศกึ ษา ในระดับดีขนึ้ ไปร้อยละ ๙๘.๔๖,

๙๘.๕๖ และ ๙๘.๕๖ ตามลาดบั เปน็ แบบอยา่ งท่ีดี มีความภูมใิ จในท้องถิน่ เหน็ คณุ ค่าของความเปน็ ไทย มีส่วนรว่ ม

ในการอนรุ ักษ์วัฒนธรรม ประเพณีและภูมปิ ญั ญาไทย คดิ เป็นรอ้ ยละ ๙๕.๕๐ สามารถอยู่รว่ มกนั บนความแตกตา่ ง

และหลากหลาย คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๙๔.๕๗ ผเู้ รียนมสี ขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจิตสงั คมตามเปา้ หมายทส่ี ถานศกึ ษา

กาหนด คดิ เปน็ ร้อยละ ๙๔.๘๗

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนละหานทรายรชั ดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๔๒

แผนภมู ิท่ี ๒๐ จานวนนกั เรียนทีม่ ีผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ของระดับช้ัน ม.๑–ม.๖
จาแนกตามระดับคุณภาพ ปลายปีการศกึ ษา ๒๕๖๑-๒๕๖๓

๑๐๐.๐๐ ผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของระดบั ชนั้ ม.๑ – ม.๖

้รอยละ ๙๐.๐๐

๘๐.๐๐ ซื่อสตั ย์ มวี ินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อยา่ ง มุ่งมน่ั ใน รักความ มจี ิต รวม
สจุ ริต พอเพียง การ เปน็ ไทย สาธารณะ
๗๐.๐๐ ทางาน

๖๐.๐๐ ๙๗.๙๑ ๙๗.๘๙ ๙๗.๘๓ ๙๗.๙๑ ๙๗.๘๗ ๙๗.๙๕ ๙๗.๙๓ ๙๗.๙๑

๕๐.๐๐ ๙๖.๔๖ ๙๖.๓๘ ๙๖.๓๓ ๙๖.๔๒ ๙๖.๓๔ ๙๖.๔๖ ๙๖.๔๒ ๙๖.๔๑

๔๐.๐๐ ๙๘.๘๔ ๙๖.๙๒ ๙๘.๘๔ ๙๘.๘๔ ๙๘.๘๔ ๙๘.๘๔ ๙๘.๐๒ ๙๘.๕๐

๓๐.๐๐ ๐.๒๑ ๑.๒๓ ๐.๒๙ ๐.๒๑ ๐.๒๕ ๐.๑๗ ๐.๑๙ ๐.๒๑

๒๐.๐๐ ๐.๐๖ ๐.๑๔ ๐.๑๙ ๐.๑๐ ๐.๑๙ ๐.๐๖ ๐.๐๖ ๐.๑๑

๑๐.๐๐ ๐.๑๘ ๑.๐๔ ๐.๑๘ ๐.๑๘ ๐.๑๘ ๐.๑๘ ๐.๕๐ ๐.๓๓

๐.๐๐ รกั ชาติ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐
ศาสน์
กษัตรยิ ์ ๐.๐๒ ๐.๐๒ ๐.๐๒ ๐.๐๒ ๐.๐๒ ๐.๐๒ ๐.๐๔ ๐.๐๒

ดเ่ี ยี่ยม๖๑ ๙๗.๙๕ ๐.๒๘ ๐.๖๘ ๐.๒๘ ๐.๒๘ ๐.๒๘ ๐.๒๘ ๐.๓๘ ๐.๓๔
ดเ่ี ยีย่ ม๖๒ ๙๖.๔๘
ด่เี ย่ียม๖๓ ๙๘.๘๔ ๑.๘๗ ๑.๘๗ ๑.๘๗ ๑.๘๗ ๑.๘๗ ๑.๘๗ ๑.๘๗ ๑.๘๗
ด๖ี ๑ ๐.๑๗
ด๖ี ๒ ๐.๐๔ ๓.๔๖ ๓.๔๖ ๓.๔๖ ๓.๔๖ ๓.๔๖ ๓.๔๖ ๓.๔๘ ๓.๔๖
ด๖ี ๓ ๐.๑๘
ผา่ น๖๑ ๐.๐๐ ๐.๗๐ ๑.๓๖ ๐.๗๐ ๐.๗๐ ๐.๗๐ ๐.๗๐ ๐.๗๐ ๑.๑๐
ผ่าน๖๒ ๐.๐๐
ผา่ น๖๓ ๐.๒๘
ไมผ่ า่ น๖๑ ๑.๘๗
ไมผ่ า่ น๖๒ ๓.๔๘
ไมผ่ า่ น๖๓ ๐.๗๐

จากแผนภมู ิ พบว่า ปีการศึกษา ๒๕๖๓ นกั เรยี นมีผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของระดับชั้น
ม.๑–ม.๖ ระดับดีขึ้นไป คดิ เป็นรอ้ ยละ ๙๘.๕๐

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๔๓

แผนภมู ทิ ่ี ๒๑ แสดงรอ้ ยละนกั เรียนทม่ี ผี ลการประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะห์ เขยี น ระดับช้ัน ม.๑–ม.๖
จาแนกตามระดับคณุ ภาพ ปลายปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓

้รอยละ ๑๐๐.๐๐ ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ เขยี น ระดับช้นั ม.๑ – ม.๖
๙๐.๐๐
๘๐.๐๐ รวม
๗๐.๐๐ ๙๗.๗๒
๖๐.๐๐ ๙๕.๙๖
๕๐.๐๐ ๙๖.๓๕
๔๐.๐๐ ๐.๗๒
๓๐.๐๐ ๐.๓๘
๒๐.๐๐ ๑.๕๑
๑๐.๐๐ ๐.๐๐
๐.๐๐ ข้อ ๑ ข้อ ๒ ข้อ ๓ ขอ้ ๔ ขอ้ ๕ ๐.๑๑
๐.๘๓
ด่ีเยี่ยม๖๑ ๙๗.๙๕ ๙๗.๘๐ ๙๗.๕๕ ๙๗.๖๘ ๙๗.๕๙ ๑.๔๐
ด่เี ยี่ยม๖๒ ๙๖.๑๗ ๙๕.๙๔ ๙๕.๘๖ ๙๕.๙๖ ๙๕.๘๔ ๓.๕๕
ดเ่ี ย่ียม๖๓ ๙๕.๙๔ ๙๖.๙๒ ๙๖.๐๒ ๙๕.๙๔ ๙๖.๙๒ 1.31
ด๖ี ๑ ๐.๕๑ ๐.๖๓ ๐.๘๙ ๐.๗๖ ๐.๘๒
ด๖ี ๒ ๐.๒๑ ๐.๓๗ ๐.๔๕ ๐.๓๗ ๐.๔๙
ด๖ี ๓ ๑.๘๔ ๑.๐๔ ๑.๘๐ ๑.๘๔ ๑.๐๔
ผ่าน๖๑ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐
ผา่ น๖๒ ๐.๑๐ ๐.๑๒ ๐.๑๒ ๐.๑๐ ๐.๑๒
ผา่ น๖๓ ๐.๙๒ ๐.๖๘ ๐.๙๖ ๐.๙๒ ๐.๖๘
ไมผ่ ่าน๖๑ ๑.๔๐ ๑.๓๘ ๑.๓๘ ๑.๓๘ ๑.๓๘
ไมผ่ า่ น๖๒ ๓.๕๒ ๓.๕๖ ๓.๕๖ ๓.๕๖ ๓.๕๔
ไมผ่ า่ น๖๓ 1.3 1.36 1.22 1.3 1.36

จากแผนภูมิ พบวา่ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ นกั เรยี นมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ เขยี น ของระดับชั้น
ม.๑–ม.๖ ระดับดขี ึน้ ไป คิดเป็นร้อยละ ๙๖.๓๕

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรัชดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๔๔

แผนภูมทิ ี่ ๒๒ แสดงร้อยละนกั เรยี นทม่ี ีผลการประเมินสมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น ระดบั ช้ัน ม.๑–ม.๖
จาแนกตามระดับคณุ ภาพ ปลายปีการศึกษา ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓

๑๐๐.๐๐ ผลการประเมนิ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ระดับช้ัน ม.๑ – ม.๖
๙๐.๐๐
้รอยละ ๘๐.๐๐
๗๐.๐๐
๖๐.๐๐ การส่ือสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทกั ษะ การใช้ รวม
๕๐.๐๐ ชวี ิต เทคโนโลยี
๔๐.๐๐ ๙๗.๗๕ ๙๗.๗๒
๓๐.๐๐ ๙๖.๑๗ ๙๗.๘๐ ๙๗.๕๕ ๙๗.๖๘ ๙๗.๕๙ ๙๕.๙๖
๒๐.๐๐ ๙๘.๘๔ ๙๘.๐๔
๑๐.๐๐ ๐.๕๑ ๙๕.๙๔ ๙๕.๘๖ ๙๕.๙๖ ๙๕.๘๔ ๐.๗๒
๐.๐๐ ๐.๒๑ ๐.๓๘
๐.๑๘ ๙๖.๐๒ ๙๗.๖๐ ๙๘.๘๔ ๙๘.๗๒ ๐.๖๒
ดี่เยยี่ ม๖๑ ๐.๑๒ ๐.๑๖
ดี่เย่ียม๖๒ ๐.๑๐ ๐.๖๓ ๐.๘๙ ๐.๗๖ ๐.๘๒ ๐.๑๑
ดีเ่ ยีย่ ม๖๓ ๐.๒๘ ๐.๔๘
ดี๖๑ ๑.๔๐ ๐.๓๗ ๐.๔๕ ๐.๓๗ ๐.๔๙ ๑.๔๐
ดี๖๒ ๓.๕๒ ๓.๕๕
ดี๖๓ ๐.๗๐ ๑.๘๐ ๐.๖๘ ๐.๑๘ ๐.๒๔ ๐.๙๐
ผา่ น๖๑
ผ่าน๖๒ ๐.๑๗ ๐.๑๗ ๐.๑๗ ๐.๑๗
ผา่ น๖๓
ไม่ผ่าน๖๑ ๐.๑๒ ๐.๑๒ ๐.๑๐ ๐.๑๒
ไม่ผา่ น๖๒
ไมผ่ า่ น๖๓ ๐.๙๖ ๐.๔๘ ๐.๒๘ ๐.๓๘

๑.๓๘ ๑.๓๘ ๑.๓๘ ๑.๓๘

๓.๕๖ ๓.๕๖ ๓.๕๖ ๓.๕๔

๑.๒๒ ๑.๒๔ ๐.๗๐ ๐.๖๖

จากแผนภมู ิ พบว่า ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ นักเรียนมีผลการประเมนิ สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี นตามหลักสูตร
สถานศกึ ษา ในระดบั ดขี ึน้ ไป คิดเป็นร้อยละ ๙๘.๐๔

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนละหานทรายรัชดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๔๕

แผนภมู ิที่ ๒๓ แสดงรอ้ ยละการจบการศึกษาของนกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖
และชน้ั ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้นั ปีที่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ข้อมลู ณ วันท่ี ๒๙ เมษายน ๒๕๖๓

ร้อยละการจบการศึกษาของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖

Axis Title และประกาศนียบัตรวิชาชพี ชั้นปที ่ี ๓ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ - ๒๕๖๒

150.00

100.00

50.00

0.00 รวม ม.๓ รวม ม.๖ ปวช.๓ รวม

๒๕๖๐ 81.95 91.15 93.33 88.81

๒๕๖๑ 90.29 89.57 96.43 90.19

๒๕๖๒ 81.44 87.09 93.94 84.62

๒๕๖๓ 73.00 78.05 92.11 76.94

จากแผนภูมทิ ่ี ๒๓ พบวา่ การจบการศึกษาของนักเรยี นในระดบั ม.๓ และ ม.๖ ตา่ กว่าร้อยละ ๘๐ เมอ่ื

วิเคราะห์ในรายละเอยี ดนักเรียนในระดบั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ พบวา่ ม.๓/๑ ห้องนักเรียนกีฬา ยอดการจบนอ้ ยท่สี ดุ

คดิ เป็นร้อยละ ๕๑.๒๒ ในระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖ ท่จี บแตล่ ะแผนการเรยี น ได้แก่ แผนการเรยี นวทิ ย์-คณติ ม.๖/

๑ - ๖/๕ รอ้ ยละ ๘๖.๖๐ แผนการเรยี นศิลป์-ภาษา ม.๖/๙ รอ้ ยละ ๘๘.๘๙ และแผนการเรยี นศิลปท์ ่วั ไป ม.๖/๘ –

๖/๙ รอ้ ยละ ๖๐.๖๔ ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ สบื เน่ืองจากสถานการณโ์ ควดิ -๑๙ ทาใหน้ ักเรียนจานวนมากไมจ่ บ

หลักสตู รตามทีก่ าหนด นักเรียนทไี่ มจ่ บการศึกษาโรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษก ได้ตั้งคณะทางานเพ่ือวเิ คราะห์

สาเหตุ และดาเนินการแก้ไขปรบั ปรงุ แกไ้ ขพฒั นาผเู้ รียนให้นักเรยี นจบการศึกษาทันตามที่กาหนด โดยใหน้ กั เรียน

ดาเนนิ การสอบแก้ตวั ออนไลน์และครูสามารถสง่ ผลการเรียนออนไลนไ์ ด้

แผนภมู ิท่ี ๒๔ แสดงทางเลือกหลงั การจบการศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖
และชัน้ ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชน้ั ปที ่ี ๓ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ขอ้ มูล ณ วนั ที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๖๔

๑๐๐.๐๐ ปี การศึกษา ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓
๙๐.๐๐
้รอยละ ๘๐.๐๐
๗๐.๐๐
๖๐.๐๐ ศกึ ษา ศกึ ษา
๕๐.๐๐ ตอ่ ตอ่
๔๐.๐๐ อดุ มศกึ อดุ มศกึ
๓๐.๐๐ ษา ษา
๒๐.๐๐
๑๐.๐๐
๐.๐๐

รวม ม. ศกึ ษา ศกึ ษา ไม่ รวม ม. ศกึ ษา ประกอ อน่ื ๆ รวม ศกึ ษา ประกอ อืน่ ๆ
๓ ตอ่ สาย ตอ่ สาย ศกึ ษา ๖ ตอ่ สาย บอาชีพ ปวช.๓ ตอ่ สาย บอาชีพ
สามญั อาชีพ ตอ่ อาชีพ อาชีพ

๒๕๖๑ ๑๐๐. ๘๗.๓ ๑๐.๖ ๑.๙๔ ๑๐๐. ๕๔.๗ ๑๙.๗ ๒๐.๘ ๕.๒๒ ๑๐๐. ๑๐.๗ ๒๘.๕ ๕๗.๑ ๓.๕๗

๒๕๖๒ ๑๐๐. ๗๗.๓ ๒๐.๘ ๑.๘๐ ๑๐๐. ๕๓.๗ ๒๓.๖ ๑๙.๖ ๒.๙๖ ๑๐๐. ๙.๐๙ ๕๔.๕ ๓๓.๓ ๖.๐๖

รายงา๒น๕ก๖าร๓ประ๑เ๐ม๐นิ ต. นเ๗อง๗ข.อ๓งสถ๑า๖น.ศ๔ึกษา๒ป.ีก๘า๓รศกึ ๑ษ๐า ๐๒.๕๖๔๓๙.๐ ๘.๗๘ ๒๒.๓ ๑๙.๘โรงเ๑รีย๐น๐ล.ะห๐าน.๘ท๕รายร๖ชั .๒ดา๓ภเิ ษ๒ก.๘๓ ๓.๖๘
(Self - Assessment Report : SAR)

๔๖

จากแผนภูมทิ ี่ ๒๔ พบว่า นักเรียนทุกระดับร้อยละ ๙๑.๑๖ มีความพร้อมในการศกึ ษาตอ่ และมีเจตคตทิ ดี่ ี
ตอ่ อาชีพที่สุจริต

๓. จดุ เดน่ จดุ ที่ควรพัฒนา

จดุ เด่น จดุ ทค่ี วรพัฒนา

๑. นกั เรียนอา่ นหนงั สือออกและอ่านคลอ่ ง รวมท้งั ๑. ควรพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ

สามารถเขยี นเพ่ือการสื่อสารได้ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียน ความคดิ เหน็

โดยใช้เหตผุ ลประกอบการตดั สนิ ใจ และแกป้ ัญหาได้

๒. นักเรียนทุกคนยงั สามารถใช้เทคโนโลยใี นการ ๒. ควรพฒั นาความสามารถในการสร้างนวัตกรรม

แสวงหาความรู้ได้ดว้ ยตนเอง สง่ ผลให้ผลสัมฤทธิ์ มีการเผยแพร่ และนาไปใช้ให้มากขึ้น

ทางการเรียนของนักเรียนอยใู่ นระดับดี

๓. นักเรยี นมสี ขุ ภาพรา่ งกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทาง

กายและนา้ หนักส่วนสูงตามเกณฑ์

๔. นกั เรยี นมีความใฝ่ดี ใฝ่รู้ อยอู่ ย่างพอเพยี ง

เกิดอัตลักษณ์ เปน็ ท่ียอมรบั ของชุมชนโดยรอบ

๔. แผนการจดั การพัฒนาคณุ ภาพเพ่อื ยกระดบั คณุ ภาพมาตรฐาน ด้านคุณภาพผู้เรียนให้สูงข้ึน

ดาเนนิ การพฒั นาหลักสตู รและจดั การเรียนการสอนให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล ตามโครงการโรงเรยี น
มาตรฐานสากล สง่ เสรมิ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียน ความคิดเห็น
โดยใชเ้ หตผุ ลประกอบการตดั สนิ ใจ และแกป้ ัญหาได้ พฒั นาความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม มกี ารเผยแพร่ และ
นาไปใช้ให้เป็นระบบมากข้นึ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรัชดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๔๗

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ

๑. ระดบั คุณภาพ : ยอดเยี่ยม

๒. วธิ กี ารพฒั นา/กระบวนการพัฒนา ข้อมูลหลักฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ทีส่ นับสนนุ การประเมินตนเอง

๒.๑ วธิ กี ารพฒั นา/กระบวนการ

โรงเรยี นละหานทรายรัชดาภเิ ษกไดด้ าเนนิ การวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศกึ ษาทผี่ ่านมา โดย
การศกึ ษาข้อมลู สารสนเทศจากผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินการจดั การศกึ ษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา
และจดั ประชุมระดมความคดิ เห็น จากบุคลากรในสถานศึกษาเพ่ือวางแผนรว่ มกันกาหนดเป้าหมาย ปรับวิสัยทศั น์
กาหนดพนั ธกจิ กลยุทธ์ ในการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษาเพ่อื พฒั นาคุณภาพผู้เรยี น มกี ารปรับแผนพัฒนา
คุณภาพจดั การศึกษา แผนปฏิบตั ิการประจาปี ใหส้ อดคล้องกับสภาพปญั หา ความต้องการพฒั นา และนโยบายการ
ปฏิรูปการศึกษา พร้อมทั้งจัดหาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผ้รู ับผิดชอบ ดาเนินการพัฒนาตาม
แผนงานเพ่ือใหบ้ รรลุเป้าหมายทีก่ าหนดไว้ มกี ารดาเนนิ การนิเทศ กากับ ตดิ ตาม ประเมินผลการดาเนนิ งาน และ
สรปุ ผลการดาเนนิ งาน

โดยมีกรอบแนวคดิ ทฤษฏีเพ่ือกระบวนการพฒั นากระบวนการบริหารและการจดั การโรงเรยี นละหานทราย
รชั ดาภเิ ษก ดงั นี้

วงจรคณุ ภาพ การบริหารจัดการ ทฤษฎรี ะบบ
ของเดมมิ่ง แบบมีส่วนร่วม Input, Process, Product
และกระบวนการ PLC
PDCA

P : PLAN การวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาโดยใช้หลกั การมีส่วนร่วม
D : DO จดั กิจกรรมตามแผนปฏิบัตริ าชการประจาปี
C : CHECK ประเมนิ ผลตรวจสอบการทางานตามปฏทิ นิ การดาเนนิ งานอยา่ งเป็นระบบ
A : ACTION ปรบั ปรงุ พฒั นาเพอ่ื พฒั นาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเน่อื ง โดยใชก้ ระบวนการ PLC



จากการดาเนินงานพัฒนากระบวนการบรหิ ารและการจดั การอย่างต่อเน่ือง โรงเรยี นละหานทราย
รัชดาภิเษก ได้พัฒนารปู แบบกระบวนการบริหารโรงเรยี นทเ่ี ป็นเลิศ โดยรูปแบบ L.R.P Model

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนละหานทรายรัชดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

๔๘

๒.๒ ขอ้ มลู หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ทสี่ นับสนนุ การประเมนิ ตนเอง

โรงเรียนละหานทรายรชั ดาภเิ ษกจดั งาน โครงการ กจิ กรรมทีส่ ง่ เสรมิ พัฒนากระบวนการบรหิ ารและการ
จดั การ ดงั นี้

ที่ ชอ่ื วัตถุประสงค์ การดาเนินการ (ยอ่ ๆ) เป้าหมาย ผลสาเร็จ
งาน/โครงการ/กจิ กรรม
เพื่อพัฒนาแหล่ง จัดซื้อสอื่ หนังสือ ๙๐ ๙๐
๑ โครงการพัฒนาปรบั ปรงุ ๙๐ ๙๐
หอ้ งสมดุ เรียนรู้ ปรบั ปรุงภมู ิทศั น์ ๙๐ ๙๐
๙๐ ๙๐
๒ หมวดกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน พฒั นาระบบ ICT จัดซ้ือส่อื ปรับปรุง
(ICT) ๙๐ ๙๐
ระบบ ICT ๙๐ ๙๐
๓ งานสาธารณปู โภค ๙๐ ๙๐
อานวยความสะดวกใน คา่ สาธารณูปโภค ๙๐ ๙๐
๔ งานยานพาหนะ ๙๐ ๙๐
การจดั การศึกษา ๙๐ ๙๐
๕ งานระดมทรัพยากร ๙๐ ๙๐
อานวยความสะดวก พัฒนาระบบงาน ๙๐ ๙๐
๖ งานปฏคิ ม ๙๐ ๙๐
๗ พฒั นาหอ้ งบริหารท่วั ไป จราจร ยานพาหนะใน

๘ วันสาคญั สถาบัน โรงเรยี น
พระมหากษัตริย์และประเพณี
ส่งเสริมสนบั สนุนการ จดั ผา้ ป่า ประชมุ ศษิ ย์
๙ พฒั นางานโสตทัศนศกึ ษา
จดั การศึกษา เก่า
๑๐ พัฒนางานประชาสัมพันธ์
สนบั สนนุ งานบริหาร จดั สวัสดิการ
๑๑ พฒั นางานอนามัยโรงเรยี น
๑๒ พัฒนาคณะกรรมการ สนบั สนุนการจดั พฒั นางานบริหาร

สถานศึกษา การศึกษา ทว่ั ไป
๑๓ งานสารบรรณ
สง่ เสริมการจดั จดั กิจกรรมวันสาคัญ

การศกึ ษา

สนบั สนนุ การจัด พัฒนางานโสตทศั น

การศึกษา ศึกษา

ส่งเสรมิ การจดั พฒั นางาน

การศกึ ษา ประชาสัมพันธ์

สง่ เสรมิ งานอนามยั พฒั นาห้องอนามยั

ส่งเสรมิ การจดั ประชุม สมั มนา

การศึกษา ศกึ ษาดูงาน

สง่ เสริมการจัด พฒั นาระบบงาน

การศกึ ษา สารบรรณ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)

ท่ี ชอ่ื วัตถุประสงค์ ๔๙
งาน/โครงการ/กิจกรรม การดาเนินการ (ย่อๆ) เปา้ หมาย ผลสาเรจ็
พฒั นาแหลง่ เรยี นรู้
๑๔ พัฒนาแหลง่ เรยี นร้ธู รรมชาติ พัฒนาแหลง่ เรยี นรใู้ น ๙๐ ๙๐
ในโรงเรียน สง่ เสริมคุณลักษณะ โรงเรยี น ๙๐ ๙๐
สง่ เสริมการอนุรักษ์ จัดการระบบขยะ ๙๐ ๙๐
๑๕ ธนาคารขยะ จัดกิจกรรมมหิงสา ๙๐ ๙๐
๑๖ มหงิ สาสายสืบ ส่งเสริมการจัด สายสืบ ๙๐ ๙๐
การศกึ ษา ซอ่ มแซม บารงุ ๙๐ ๙๐
๑๗ พัฒนางานอาคารสถานท่ี สง่ เสรมิ การจดั งานอาคารสถานที่ ๙๐ ๙๐
การศึกษา พัฒนาระบบงาน ๙๐ ๙๐
๑๘ พฒั นามาตรฐานสานักงาน สง่ เสริมการจัด วิชาการ
วชิ าการ การศกึ ษา พัฒนาระบบการ
สง่ เสริมการจดั ประกนั คุณภาพ
๑๙ ประกันคุณภาพการศึกษา การศึกษา พฒั นาศนู ย์การเรยี นรู้
ส่งเสริมการจดั อาเซียน
๒๐ พฒั นาศนู ย์อาเซยี น การศกึ ษา จดั ซื้อเครื่อง
คอมพิวเตอร์เพื่อ
๒๑ จัดซอ้ื เคร่ืองคอมพิวเตอร์ สนบั สนุนการศกึ ษา

ผลการดาเนนิ งานดา้ นกระบวนการบริหารและการจัดการในภาพรวม

โรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภเิ ษกมเี ปา้ หมายวิสัยทศั นแ์ ละพันธกิจทสี่ ถานศึกษากาหนดชัดเจน สอดคล้อง
กับบรบิ ทของสถานศึกษา ความตอ้ งการชมุ ชน นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแหง่ ชาติ จดั ทามาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษาตามบรบิ ทที่เปน็ ไปได้ในการปฏิบัติ ทนั ต่อการเปล่ยี นแปลง มีระบบบริหารจดั การคุณภาพ
ของสถานศึกษาทช่ี ัดเจน เป็นรูปแบบการปฏิบัติท่ีเป็นเลิศครอบครัวรัชดา L.R.P. มปี ระสิทธิภาพ มีเป้าหมายสู่
มาตรฐานสากล สง่ ผลตอ่ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยความร่วมมือของผเู้ กี่ยวข้องทุกฝา่ ย
มีการนาข้อมลู มาใชใ้ นการปรับปรุง พฒั นางานอย่างต่อเนือ่ ง และเปน็ แบบอย่างได้ ดาเนนิ งานพฒั นาวิชาการทเี่ นน้
คุณภาพผู้เรียนทุกกลุม่ เป้าหมาย รอบดา้ น เชือ่ มโยงกับชีวิตจรงิ และเป็นแบบอย่างได้ ตามหลักสูตรสถานศึกษามงุ่ สู่
มาตรฐานสากล พฒั นาครูและบคุ ลากรให้มีความเชีย่ วชาญทางวิชาชีพตรงตามความต้องการของครแู ละสถานศึกษา
และจัดให้มีชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี PLC เพ่ือพฒั นาการจัดการเรียนการสอนและพัฒนางาน จัดสภาพแวดล้อม
ทางกายภาพและสงั คมที่เอื้อต่อการจดั การเรยี นรอู้ ย่างมีคุณภาพ และมีความปลอดภัย โดยจัดสภาพแวดลอ้ มให้
“นา่ ดู น่าอยู่ น่าเรียน” จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการและการจัดการเรียนรทู้ ี่
เหมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภเิ ษก
(Self - Assessment Report : SAR)


Click to View FlipBook Version