The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เนื้อหาวิชาเขตทางทะเล ม.1-3และ กศน.ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookchon, 2022-05-26 22:57:06

เนื้อหาวิชาเขตทางทะเล ม.1-3และ กศน.ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

เนื้อหาวิชาเขตทางทะเล ม.1-3และ กศน.ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

Keywords: พนัสนิคม



คำนำ

วิชาเขตทางทะเลเขตทางทะเลของประเทศไทย ทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ังและผลประโยชน์ของชาติ
ทางทะเล จัดทาขึ้นเพื่อให้ เยาวชน มีความรู้ความเข้าใจเร่ืองเขตทางทะเลของประเทศไทย ทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝ่ัง และผลประโยชน์ของชาติทางทะเล เห็นคุณค่าและมีส่วนร่วมในการรกั ษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเลและ
ตระหนักในหน้าท่ีของคนไทยในการปกป้องทะเลไทยและผลประโยชน์ของชาติทางทะเล มีความสมดุลระหว่าง
การอนรุ ักษแ์ ละการใช้ประโยชนจ์ ากทะเลไทย

คณะทางาน



สำรบัญ หนำ้

คำนำ 1
สำรบัญ
ควำมเปน็ มำ 2
จดุ เน้นและขอบข่าย วิชาเขตทางทะเลของประเทศไทย ทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่งั และ
ผลประโยชนข์ องชาตทิ างทะเล............................................................................................................ 3
การจัดการเรียนรู้ วชิ าเขตทางทะเลของประเทศไทย ทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่ังและ
ผลประโยชนข์ องชาติทางทะเล............................................................................................................ 5
การเรยี นการสอน วชิ าเขตทางทะเลของประเทศไทย ทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ังและ 7
ผลประโยชนข์ องชาตทิ างทะเล............................................................................................................
คาอธบิ าย วชิ าเขตทางทะเลของประเทศไทย ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง่ั และผลประโยชน์ 9
ของชาตทิ างทะเล................................................................................................................................
ผลการเรียนรู้................................................................................................................ ....................... 10
โครงสรา้ งเนอ้ื หา วิชาเขตทางทะเลของประเทศไทย ทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่งั และ 21
ผลประโยชนข์ องชาตทิ างทะเล............................................................................................................ 22
โครงสรา้ งรายวิชาวชิ าเขตทางทะเลของประเทศไทย ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง่ั และ 25
ผลประโยชนข์ องชาตทิ างทะเล............................................................................................................ 29
หนว่ ยท่ี 1 ลักษณะภูมิศำสตร์ทำงทะเลและควำมสำคญั ของทะเล............................................... 44
เรอื่ งท่ี 1 ลกั ษณะของภูมศิ าสตร์ทางทะเลของโลก............................................................................ 51
เรอื่ งท่ี 2 ลักษณะภูมิศาสตร์ทางทะเลของภูมิภาคเอเชีย................................................................... 52
เรื่องท่ี 3 ลักษณะภมู ิศาสตร์ทางทะเลของไทย.................................................................................. 55
เรื่องที่ 4 ความสาคญั ของทะเล......................................................................................................... 72
หนว่ ยที่ 2 เขตทำงทะเล.................................................................................................................. 76
เรอ่ื งท่ี 1 การกาหนดขอบเขตของทะเล............................................................................................
เรื่องท่ี 2 ลกั ษณะเขตทางทะเล.........................................................................................................
เร่อื งท่ี 3 ขอบเขตทางทะเลของไทย..................................................................................................
เร่ืองที่ 4 อานาจอธปิ ไตย สิทธอิ ธปิ ไตยและเขตอานาจในเขตทางทะเลตา่ งๆของไทย.....................



สำรบัญ (ตอ่ )

หน้ำ

หนว่ ยท่ี 3 เขตกำรปกครองของจังหวดั ทำงทะเล.......................................................................... 86
เรอ่ื งที่ 1 ความเป็นมาของการกาหนดเขตจงั หวัดทางทะเล.............................................................. 87
เรื่องท่ี 2 แนวทางในการกาหนดเขตจงั หวดั ทางทะเล....................................................................... 92
เร่อื งท่ี 3 ลักษณะทางกายภาพทางทะเลที่ปรากฏในแผนผัง แผนที่ทางทะเลในท้องถิ่นตนเอง....... 96
หนว่ ยท่ี 4 ประโยชน์ของทะเล........................................................................................................ 113
เรื่องที่ 1 ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง่ั ในท้องถ่นิ ตนเอง............................................................... 114
เรอ่ื งที่ 2 กิจกรรมการใชป้ ระโยชน์จากทะเลในท้องถิน่ ตนเอง.......................................................... 203
เรอ่ื งท่ี 3 ผลกระทบท่ีเกดิ ข้ึนจากทะเล.............................................................................................. 205
เรอ่ื งท่ี 4 ความปลอดภยั ในการใชป้ ระโยชนท์ างทะเลในท้องถิน่ ตนเอง............................................ 209
หน่วยที่ 5 กฎหมำยและหนว่ ยงำนทำงทะเล.................................................................................. 217
เรอื่ งที่ 1 กฎหมายทะเลระหวา่ งประเทศ.......................................................................................... 218
เรอ่ื งที่ 2 กฎหมายไทยทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั ทะเล....................................................................................... 231
เรื่องท่ี 3 องค์กรและหน่วยงานรบั ผิดชอบในการรักผลประโยชนข์ องชาตทิ างทะเลในท้องถิ่น
ตนเอง.................................................................................................................................................. 234
เร่อื งท่ี 4 ความร่วมมือระหวา่ งประเทศ............................................................................................. 237
หน่วยที่ 6 หนำ้ ทข่ี องคนไทยในกำรปกป้องทะเลไทยและผลประโยชน์ของชำตทิ ำงทะเล........... 244
เรื่องท่ี 1 การปกปอ้ งดูแลและการใชป้ ระโยชน์จากทะเลในภาคและประเทศไทย............................ 245
เรอื่ งท่ี 2 หนา้ ที่ในการเปน็ เจ้าของทะเล............................................................................................ 246

บรรณำนกุ รม 249
คณะทำงำน 251



ความเปน็ มา

รฐั บาลได้ให้ความสาคัญถงึ การรกั ษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเลในทุกมติ จิ ึงกาหนดให้มี
แผนความม่ันคงแห่งชาตทิ างทะเล (พ.ศ. 2558 - 2564) เป็นกรอบแนวทางการดาเนินงานในทุกภาคส่วนท่ีเกีย่ วข้อง
เพื่อร่วมป้องกนั และรักษาผลประโยชนข์ องชาตทิ างทะเล ซึ่งมุ่งเน้นการสรา้ งเสถียรภาพ ความปลอดภัย เสรีภาพ และ
สภาวะแวดล้อม ท่ีเอื้อต่อการดาเนินกิจกรรมทางทะเลของทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน พระราชบัญญัติ เร่ือง การรักษา
ผลประโยชน์ของชาติทางทะเล พ.ศ. 2562 มีพระราชบัญญัติเพ่ือการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันที่ 12 มีนาคม 2562
ประกอบด้วย 5 หมวด 45 มาตรา โดย มาตรา 5 กาหนดให้มคี ณะกรรมการนโยบายการรกั ษาผลประโยชน์ของชาตทิ าง
ทะเล เรียกโดยย่อว่า “นปท.” ประกอบด้วยรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็น
ประธานกรรมการ โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ร่วมเป็นคณะกรรมการโดยตาแหน่ง ทาหน้าท่ีกาหนด
นโยบาย ยุทธศาสตร์แผนความม่ันคงทางทะเล และมาตรการในการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเลให้สอดคล้อง
กับนโยบายของรฐั บาล แผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และยทุ ธศาสตร์ชาติ
ตลอดจนติดตามและประเมินผลการดาเนินงาน และเสนอผลการดาเนินงานต่อสภาความมั่นคงแห่งชาติ และ
คณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ หนังสือ เรื่อง ทะเลและมหาสมุทร และผลประโยชน์ของชาติทางทะเล จัดทาข้ึนภายใต้
โครงการเสริมสร้างองค์ความรู้ทางทะเล รองรับแผนความมั่นคงของชาติทางทะเล (พ.ศ. 2558 – 2564)
วัตถุประสงค์ของการจัดทาเพื่อให้คนไทยเข้าใจ และตระหนักถึงความสาคัญของทะเล พร้อมเข้ามาร่วมปกป้อง
อนุรักษ์ และใช้ประโยชน์อย่างเห็นคุณค่าของทะเลไทย นอกจากนี้คณะอนุกรรมการเร่ืองทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝ่ัง ในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ได้กาหนดแผนการปฏิรูปประเทศใน
ห้วงระยะเวลา 3 ปี (พ.ศ. 2563 – 2565) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดยกาหนดให้
กระทรวงศึกษาธิการนาเร่ืองเขตทางทะเลและชายฝ่ังบรรจุลงไปในหลักสูตรการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ และ
คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันอังคารที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๖๓ มติเห็นชอบ (ร่าง) แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง)
พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕ ตามที่คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติเสนอ ได้กาหนดกิจกรรมปฏิรูปที่จะส่งผลให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงต่อประชาชนอย่างมีนัยสาคัญ (Big Rock) ท่ีเกี่ยวข้องกับการปฏิรูปประเทศเรื่องทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝ่งั โดยกาหนดให้กระทรวงศึกษาธิการ พิจารณาจัดทาสาระสาคัญและเน้ือหาที่จะบรรจุเร่ืองเขตทางทะเล และเขต
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่งั ในหลกั สูตรการศกึ ษาทกุ ระดับชน้ั ประชาสมั พันธส์ รา้ งการรับรู้ของภาคประชาชน

ตามพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กาหนดให้กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ดาเนนิ การ
จัดกระบวนการเรียนรู้ความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม โดยการถ่ายทอดความรู้การฝึกอบรมการสืบสาน
วัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากสภาพแวดล้อม สังคมการ
เรียนรู้ และปัจจัยเก้ือหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต และจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์
ทสี่ มบูรณ์ กระทรวงศึกษาธิการได้เห็นความสาคัญของการรกั ษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล เขตทางทะเล และเขต
ทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่ัง จงึ มีนโยบายให้นาหนังสือเร่อื ง ทะเลและมหาสมทุ ร และผลประโยชน์ของชาติทางทะเล
ทงั้ นี้ เพ่อื ให้การขับเคลื่อนองค์ความรู้ทางทะเลและมหาสมุทร และผลประโยชน์ของชาติทางทะเล เป็นไปอยา่ งต่อเน่ือง
และบูรณาการเรื่องเขตทางทะเลและชายฝั่งเข้าด้วยกัน รวมทั้งเขตทางทะเล และเขตทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง
จงึ ดาเนนิ การโครงการสร้างขับเคลอ่ื นการสรา้ งองคค์ วามรู้ทางทะเล และมหาสมุทร และผลประโยชนข์ องชาติทางทะเล



รวมทั้งเขตทางทะเล และเขตทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งไปสู่การเรียนการสอนในสถานศึกษาในพ้ืนท่ีนาร่อง
ของกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือให้ผู้เรียนได้มีความรู้เร่ืองทะเล และมหาสมุทร และผลประโยชน์ของชาติทางทะเล
รวมท้ังเรื่องเขตทางทะเล และเขตทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง และสร้างให้ผู้เรียนเกิดความตระหนักถึงคุณค่า และ
เกิดความรกั และหวงแหนทรพั ยากรธรรมชาติทางทะเล และผลประโยชน์ของชาติทางทะเล รวมถงึ เหน็ คุณคา่ ของทะเลไทย
อย่างแทจ้ ริง

1

วชิ ำ เขตทำงทะเลของประเทศไทย ทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝ่งั
และผลประโยชน์ของชำตทิ ำงทะเล

จดุ เน้นและขอบขำ่ ย
วชิ ำ เขตทำงทะเลของประเทศไทย ทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝัง่ และผลประโยชนข์ องชำติ

ทำงทะเล

จุดเนน้ ท่ี 1 ควำมรูค้ วำมเขำ้ ใจเร่ืองเขตทำงทะเลของประเทศไทย
1. ความรคู้ วามเข้าใจเรื่องเขตทางทะเลของประเทศไทย
2. ความรูค้ วามเขา้ ใจเร่อื งลักษณะภมู ศิ าสตร์ของเขตทางทะเล
3. ความรคู้ วามเข้าใจเร่อื งเขตการปกครองของจงั หวดั ทางทะเล
4. ความรคู้ วามเข้าใจเรอื่ งอานาจอธปิ ไตยและเขตอานาจในเขตทางทะเลต่าง ๆ ชายฝง่ั

ทะเลและพนื้ ที่ทางทะเลที่ประเทศไทยมีอานาจอธปิ ไตย หรือสิทธิอธปิ ไตย หรือมสี ทิ ธิหรือเสรภี าพในการใชห้ รือ
จะใช้

5. ความรู้ความเข้าใจในหน้าท่ีรับผดิ ชอบตามกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับทะเล ทงั้ ในประเทศ
ระหวา่ งประเทศหรือตามสนธิสัญญาหรือด้วยประการใด ๆ

จดุ เน้นที่ 2 ควำมรู้ควำมเขำ้ ใจเรื่อง ทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝั่ง และผลประโยชน์ของชำติ
ทำงทะเล

1. ความรู้ความเข้าใจเรื่องทรัพยากรทางทะเลและชายฝง่ั
2. ความรู้ความเขา้ ใจเรือ่ งผลประโยชน์ของชาติทางทะเล
3. การรกั ษาผลประโยชนข์ องชาตทิ างทะเล
4. การปกปอ้ งดแู ลและการใช้ประโยชน์จากทะเล
จุดเน้นท่ี 3 หน้ำท่ขี องคนไทยในกำรปกป้องทะเลไทยและผลประโยชนข์ องชำตทิ ำงทะเล
1. ความตระหนักในหน้าที่ของคนไทยในการปกป้องทะเลไทยและผลประโยชน์ของชาติ
ทางทะเล
2. การอนรุ กั ษฟ์ น้ื ฟู พัฒนา รักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลและชายฝ่ังในทอ้ งถิน่ ตนเอง
3. ประโยชน์ของทะเล
4. การสรา้ งความสมดลุ ระหว่างการอนรุ ักษ์และการใชป้ ระโยชนจ์ ากทะเลไทย

2

กำรจัดกำรเรียนรู้
วชิ ำ เขตทำงทะเลของประเทศไทย ทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝัง่

และผลประโยชนข์ องชำตทิ ำงทะเล

ลกั ษณะสำคัญของกำรจัดกำรเรยี นรู้
การจัดการเรยี น วิชา เขตทางทะเลของประเทศไทย ทรพั ยากรทางทะเลและชายฝัง่ และ

ผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ตามจุดเน้นทั้ง 3 นัน้ มเี ป้าหมายสาคญั เพอื่ ให้ เยาวชน มีความรคู้ วามเข้าใจเรือ่ งเขต
ทางทะเลของประเทศไทย ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง และผลประโยชน์ของชาติทางทะเล เห็นคุณค่าและ
มีส่วนร่วม ในการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเลและตระหนักในหน้าที่ของคนไทยในการปกป้องทะเลไทยและ
ผลประโยชน์ของชาตทิ างทะเล เกดิ ความสมดุลระหวา่ งการอนุรักษ์และการใชป้ ระโยชนจ์ ากทะเลไทย

1. วิชา เขตทางทะเลของประเทศไทย ทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่งั และผลประโยชน์ของชาติ
ทางทะเล มีผลการเรยี นรูท้ ่มี ีเป้าหมายเนน้ ใหผ้ เู้ รียนตระหนกั และเห็น คณุ คา่ ในเรื่องที่เรียนรูแ้ ละนาไปปฏบิ ัตไิ ดจ้ รงิ

2. การจัดการเรยี นรวู้ ชิ า เขตทางทะเลของประเทศไทย ทรัพยากรทางทะเลและชายฝงั่ และ
ผลประโยชนข์ องชาติทางทะเล สามารถจัดทาได้ 2 ลกั ษณะ คือ

2.1 การจัดการเรียนรตู้ ามจุดเน้นแตล่ ะจดุ เนน้ สามารถบรู ณาการจดุ เน้นที่เก่ยี วขอ้ ง
ดว้ ยกนั ได้

2.2 การจัดการเรยี นรู้แบบบูรณาการทง้ั 3 จุดเน้น โดยตอ้ งวิเคราะห์ผลการเรยี นรูใ้ นแต่ละ
จดุ เนน้ ว่าเก่ยี วข้องหรือเชือ่ มโยงหรือมีประเดน็ รว่ มกันในเนอื้ หาต่าง ๆ และต้ังเปน็ Theme (หัวเรื่อง)

3. การจดั การเรยี นรู้ในแต่ละหนว่ ยการเรียนรู้อาจจดั ใหส้ อดคล้องกับบริบทของแต่ละพน้ื ท่ี
โดย เกีย่ วขอ้ งกบั จุดเนน้ ทง้ั 3 จดุ เน้น

3

กำรเรียนกำรสอน วิชำ เขตทำงทะเลของประเทศไทย ทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝ่ัง และ
ผลประโยชนข์ องชำติทำงทะเล : แนวปฏบิ ตั ิสำคญั

การเรียนการสอน วชิ าเขตทางทะเลของประเทศไทย ทรพั ยากรทางทะเลและชายฝงั่ และ
ผลประโยชนข์ องชาตทิ างทะเล มีจุดเนน้ สาคัญ คอื ต้องการให้เยาวชนไทยมีความรู้ความเข้าใจเรอ่ื งเขตทางทะเลของ
ประเทศไทย ทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง และผลประโยชน์ของชาติทางทะเล เห็นคุณค่าและมีส่วนร่วมในการ
รักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเลและตระหนักในหน้าที่ของคนไทยในการปกป้องทะเลไทยและผลประโยชน์ของ
ชาตทิ างทะเล เกิดความสมดุลระหว่างการอนุรกั ษ์และการใช้ประโยชน์จากทะเลไทย และแสดงออกถึงความรักชาติ
ยึดม่ันในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ดังน้ัน การเรียนการสอนวิชานี้ จึงเน้นที่การปฏิบัติ ลงมือทา
(Action) ผู้สอนจะตอ้ งทาให้การเรียนการสอนมีความหมายและมคี ุณคา่ แก่ผู้เรยี น

แนวปฏบิ ตั สิ าคัญทจี่ ะทาให้การเรยี นการสอนเรอื่ ง เขตทางทะเลของประเทศไทย ทรัพยากรทาง
ทะเลและชายฝั่ง และผลประโยชนข์ องชาตทิ างทะเล บรรลวุ ัตถุประสงค์ มีดงั น้ี

1. ผ้สู อนตอ้ งเขา้ ใจมโนทัศน์ (Concept) สาคัญของรายวิชาน้ี นน่ั คือ การเขา้ ใจในจุดเน้นทีเ่ ปน็
พื้นฐานสาคัญ ซึ่งวตั ถุประสงค์ของรายวิชาน้ตี ้องการ ให้ผเู้ รยี นมีความรู้ความเขา้ ใจเรื่องเขตทางทะเลของประเทศไทย
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง และผลประโยชน์ของชาติทางทะเล เห็นคุณค่าและมีส่วนร่วมในการรั กษา
ผลประโยชน์ของชาติทางทะเลและตระหนักในหน้าทีข่ องคนไทยในการปกป้องทะเลไทยและผลประโยชน์ของชาติทาง
ทะเล เกดิ ความสมดลุ ระหวา่ งการอนรุ กั ษ์และการใช้ประโยชนจ์ ากทะเลไทย ซ่งึ สะทอ้ นด้วย การปฏบิ ัติ (Action)

2. การวางแผนการสอนจะตอ้ งเน้นการพัฒนาที่ตอ่ เน่ือง (Continuous Development) ของ
กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้น กระบวนการแก้ปัญหา รวมท้ังกระบวนการพัฒนาค่านิยม เพื่อให้ผู้เรียน เกิด
การเรียนรู้และนาไปสู่การเปล่ียนแปลงที่พึงประสงค์ ดังน้ัน การวางแผนการสอนควรเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้ทา
กจิ กรรม ดังน้ี

1) ตง้ั คาถามดว้ ยตนเองเพ่ือการสืบค้น
2) มสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมท่ีหลากหลาย
3) ฝึกการวเิ คราะหโ์ ดยใช้ขอ้ มลู จรงิ (Real Data) ในสภาพจริง
4) ผู้เรียนทางานเป็นกลมุ่ รว่ มกนั กับเพ่ือน รวมทงั้ บุคคลอื่นในชมุ ชน
5) นาเสนองาน หรือผลงานดว้ ยวิธีการทห่ี ลากหลาย เช่น จดั อภิปราย ทาปา้ ยนิเทศ
จดั นิทรรศการ แสดงบทบาทสมมุติ จัดทา Video Clip เปน็ ต้น
3. การสอนเร่อื ง เขตทางทะเลของประเทศไทย ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง และผลประโยชน์
ของชาติทางทะเลต้องเน้นความเชื่อมโยง หรือความเก่ียวข้อง (Relevant) การลงมือทา หรือปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
(Engaging) และเรยี นรู้อยา่ งกระตอื รือรน้ (Active Learning)

4

3.1 ความเชอ่ื มโยง หรอื ความเกี่ยวขอ้ ง (Relevant) คอื การใช้ประเด็นจริง (Real Issue)
ที่เป็นปัจจุบันท่ีเก่ียวข้องกับสถานการณ์จริง เพื่อการเรียนร้ขู องผู้เรียนจะเช่ือมโยงกับประสบการณ์จริง แต่ในกรณีใช้
ประเด็นจริง ผู้สอนควรใช้วิจารณญาณ เพราะบางประเด็นอาจมีความอ่อนไหว (Sensitive) รวมทั้งควรคานึงถึงวัย
และวุฒิภาวะของ ผู้เรียนดว้ ย

3.2 การลงมือทาหรือปฏบิ ัตอิ ยา่ งต่อเนือ่ ง (Engaging) การเรียนจากประสบการณ์จรงิ
ถือว่าเป็นหลักการสาคัญและเป็นท่ียอมรับของนักการศึกษาท่ัวโลก ดังน้ัน การลงมือ ทา (ปฏิบัติ) อย่างต่อเนื่องกับ
ประเด็นจริง (Real Issue) หรือเหตุการณ์จริง ทั้งในระดับครอบครัว ห้องเรียน โรงเรียนหรือชุมชน จึงเป็นสิ่งสาคัญ
ตวั อย่างตอ่ ไปนี้ เป็นขอ้ เสนอแนะในประเด็นจริง หรอื เหตกุ ารณ์จรงิ ทอ่ี าจนามาใช้กับผลการเรียนรู้ของรายวชิ า
เขตทางทะเลของประเทศไทย ทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง และผลประโยชน์ของชาติทางทะเลได้ เช่น จัด
กจิ กรรมการอนุรักษท์ ะเลไทย การสบื คน้ ข้อมลู ท่เี กยี่ วข้องกบั ทะเลไทย

3.3 เรยี นอยา่ งกระตือรอื ร้น (Active) การเรยี นอย่างกระตือรือรน้ ก็คือ การเรยี นที่
ผเู้ รยี นต้อง “ทา” หรือ “do”

3.4 การเรยี น (Learning) การเรยี นร้เู รือ่ ง เขตทางทะเลของประเทศไทย ทรพั ยากรทาง
ทะเลและชายฝั่ง และผลประโยชน์ของชาติทางทะเล จะมีประสิทธิภาพ ต่อเม่ือผู้เรียนเกิดความรู้สึกว่าตนเองเป็น
เจ้าของทะเลไทย มีหน้าท่ีในการปกป้องดูแลทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง ตระหนักในหน้าที่ของคนไทยในการ
ปกปอ้ งทะเลไทยและผลประโยชน์ของชาตทิ างทะเล

3.5 ครูควรคานึงถงึ การเรียนรหู้ ลาย ๆ รปู แบบ (Learning Style) ของผู้เรยี น การจัด
กิจกรรมจึงควรมีหลากหลาย เช่น การสาธิต การตอบคาถาม การอภิปราย การค้นคว้าวิจัย การทาโครงการ การ
สารวจ การแก้ปัญหา การใช้เกม การแสดงบทบาทสมมติ การใชส้ ถานการณ์จาลอง การใชก้ รณศี ึกษา (Case Study)
โดยมกี ารทางานกลุม่ เล็กและรายบุคคล

5

คำอธิบำย

วิชำ เขตทำงทะเลของประเทศไทย ทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝ่ัง และผลประโยชนข์ องชำติทำงทะเล

ชน้ั ม.1-3 เวลา 20/40 ชั่วโมง

เปน็ ผู้มีความรคู้ วามเขา้ ใจในลักษณะของภูมิศาสตร์ทางทะเลของโลก ภมู ภิ าคเอเชียของไทย
ระบุลักษณะของทะเลทวีปเอเชีย บอกความสาคัญของทะเลในด้านต่างๆ วิเคราะห์ความสาคัญของทะเลในด้าน
ต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับชีวิตประจาวันได้ เห็นความสาคัญของเขตทางทะเลของประเทศไทย มีความรู้และเข้าใจ
ลักษณะของเขตทางทะเล มที กั ษะในการนาความร้เู รื่องเขตทางทะเลของประเทศไทยไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวัน
สามารถจาแนกลักษณะของเขตทางทะเลและขอบเขตทางทะเล บอกพืน้ ท่อี าณาเขตทางทะเล (Maritime Zone)
วิเคราะห์ถึงความสาคัญของเขตทางทะเลของประเทศไทย เข้าใจและเห็นความสาคัญของอานาจอธิปไตยและเขต
อานาจในเขตทางทะเลต่าง ๆ ของไทย ชายฝั่งทะเลและพ้ืนท่ีทางทะเลที่ประเทศไทยมีอานาจอธิปไตยหรือสิทธิ
อธิปไตย หรือมีสิทธิหรือเสรีภาพในการใช้หรือจะใช้ มีความเข้าใจในอานาจอธิปไตยและเขตอานาจในเขตทางทะเล
ต่าง ๆ ของไทย ชายฝั่งทะเลและพื้นท่ีทางทะเลท่ีประเทศไทยมีอานาจอธิปไตย หรือสิทธิอธิปไตย หรือมีสิทธิหรือ
เสรีภาพในการใช้หรือจะใช้ วเิ คราะหค์ วามสาคัญของอานาจอธิปไตยและเขตอานาจในเขตทางทะเลตา่ ง ๆ ของไทย
ชายฝั่งทะเลและพ้ืนท่ีทางทะเลที่ประเทศไทยมีอานาจอธิปไตย หรือสิทธิอธิปไตย หรือมีสิทธิหรือเสรีภาพในการใช้
หรือจะใช้ มีความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าท่ีรับผิดชอบตามกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับทะเลในประเทศและทะเล
ระหว่างประเทศได้ บอกบทบาทหน้าท่ีขององค์กรและหน่วยงานรับผิดชอบในการรักษาผลประโยชน์ของชาติ
ทางทะเล บอกความเป็นมาของการกาหนดเขตจังหวัดทางทะเล อธิบายแนวทางในการกาหนดเขตจังหวัดทางทะเล
อธิบายแผนที่และบัญชีค่าพิกัดรายจังหวัดชายทะเล อ่านแผนที่จังหวัดชายทะเลได้ มีความรู้ความเข้าใจในมิติทาง
พ้ืนทขี่ องน่านน้าไทยและจงั หวดั ชายทะเล

เป็นผมู้ ีความรูค้ วามเขา้ ใจเร่อื งทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง บอกความสาคญั ของทรพั ยากรทาง
ทะเลและชายฝ่ัง บอกประเภทของทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ังมีความรู้ความเข้าใจเรื่องกฏหมายท่ีเก่ียวข้องกับ
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ังบอกวิธีในการป้องกันและอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติทางทะเลและชายฝั่ง มีทักษะ
ในการนาความรู้เร่ืองการป้องกันและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลและชายฝ่ังไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
บอกปัญหาที่เกิดขึ้นกับทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง และแนวทางแก้ไข วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดข้ึนกับทรัพยากร
ทางทะเลและชายฝั่ง พร้อมทั้งบอกแนวทางแก้ไข บอกวิธีการใช้ประโยชน์ของพื้นท่ีและทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝัง่ ในประเทศไทย

6

เปน็ ผมู้ คี วามรู้ความเขา้ ใจเรอื่ ง กฎ กตกิ า กฎหมายทะเลระหว่างประเทศและกฎหมายไทย
ที่เก่ียวข้องกับทะเลมีความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่องค์กรและหน่วยงานรับผิดชอบในกา รรักษาผลประโยชน์
ของชาตทิ างทะเลบอกความสาคญั ของความรว่ มมอื ระหว่างประเทศทเ่ี ก่ียวข้องกับทะเล

เปน็ ผมู้ คี วามรคู้ วามเข้าใจเร่ืองผลประโยชนข์ องชาติทางทะเล ผลประโยชน์ที่ประเทศไทย (คนไทย
ทุกคน) พึงได้รับจากทะเลหรือเกี่ยวเนื่องกับทะเลทั้งภายในน่านน้าไทย เห็นคุณค่าและมีส่วนร่วมในการรักษา
ผลประโยชน์ของชาติทางทะเล มีความตระหนักในหน้าที่ของคนไทยในการปกป้องทะเลไทยและผลประโยชน์ของ
ชาติทางทะเล เข้าใจความสมดุลระหว่างการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์จากทะเลไทย ประชาสัมพันธ์บทบาทและ
หนา้ ทใี่ นการรับผดิ ชอบ ดแู ลทะเลในในภาคและประเทศไทยกบั ครอบครัว ชมุ ชน และท้องถิ่นผา่ นรูปแบบต่าง ๆ
บอกแนวทางการปกป้องดูแลและการใช้ประโยชน์จากทะเล บอกหลักการในการ บูรณาการการทางานร่วมกัน
ของทกุ ภาคส่วนในการปกป้องทะเลไทยและผลประโยชนข์ องชาติทางทะเล มีความรู้ความเข้าใจในหน้าที่ในการเป็น
เจา้ ของทะเล อธิบายบทบาทหนา้ ที่ในการเปน็ เจ้าของทะเล

7

ผลกำรเรียนรู้
1.อธบิ ายลักษณะของภมู ิศาสตร์ทางทะเลของไทย ของภมู ิภาคเอเชีย และของโลก
2.ระบุลกั ษณะของทะเลทวปี เอเชีย
3.บอกความสาคญั ของทะเลในดา้ นต่าง ๆ
4.วเิ คราะหค์ วามสาคัญของทะเลในดา้ นต่าง ๆ ทเ่ี กย่ี วข้องกับชวี ติ ประจาวันได้
5. บอกความสาคญั และลักษณะของอาณาเขตทางทะเลของประเทศไทย
6. จาแนกลกั ษณะของอาณาเขตทางทะเลได้
7. สืบคน้ และนาเสนอข้อมลู เกี่ยวกับลกั ษณะ อาณาเขตทางทะเล และพน้ื ท่ีอาณาเขต
8. วเิ คราะห์ถึงความสาคัญของอาณาเขตทางทะเลของประเทศไทยได้
9. อภปิ รายความสาคญั ของเขตอานาจของรัฐเหนือเขตทางทะเลต่าง ๆ ของไทย ชายฝงั่ ทะเลและพนื้ ท่ี

ทางทะเลทปี่ ระเทศไทยมีอานาจอธปิ ไตยหรือสิทธิอธปิ ไตย หรอื มสี ิทธหิ รอื เสรภี าพในการใชห้ รอื จะใช้
10. เสนอแนวคดิ เกี่ยวกบั บทบาทหน้าที่รับผิดชอบตามกฎหมายที่เกย่ี วข้องกับทะเลระหวา่ งประเทศได้
11. บอกบทบาทหนา้ ทขี่ ององคก์ รและหนว่ ยงานรับผดิ ชอบในการรกั ษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล
12. อธบิ ายความเปน็ มาของการกาหนดเขตจังหวัดทางทะเล
13. อธบิ ายแนวทางในการกาหนดเขตจังหวดั ทางทะเล
14. อธิบายแผนทแ่ี ละบัญชีค่าพิกดั รายจังหวดั ชายทะเล (ในพน้ื ที่จงั หวัดของตนเอง)
15. อา่ นแผนท่จี งั หวัดชายทะเลได้ (ในพืน้ ทจ่ี งั หวดั ของตนเองและพ้ืนท่รี อบๆ)
16. มีความรูค้ วามเขา้ ใจในมิตทิ างพื้นทข่ี องนา่ นนา้ ไทยและจังหวัดชายทะเล (ตามบรบิ ทในพืน้ ทข่ี องผู้เรียน)
17. อธบิ ายความสาคญั ของทรพั ยากรทางทะเลและชายฝั่ง
18. สบื ค้น และนาเสนอข้อมลู ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
19.เสนอวธิ ใี นการปอ้ งกันและอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาติทางทะเลและชายฝง่ั
20. มีทักษะในการนาความรู้เร่ืองการป้องกันและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลและชายฝ่ัง

ไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจาวันได้
21.วเิ คราะห์ปญั หาและสาเหตทุ เี่ กิดขึ้นกับทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่งั พร้อมทง้ั เสนอแนวทางแกไ้ ข
22. จดั ทาแผนงาน/โครงงานเก่ยี วกับการใช้ประโยชนข์ องพื้นทีแ่ ละทรัพยากรทางทะเลและชายฝง่ั

ในประเทศไทย
23. มีส่วนรว่ มในการแสดงออกเพ่ืออนรุ กั ษ์ทะเลไทย และวธิ กี ารดแู ลทรพั ยากรทางทะเล
24. ตระหนักในความสาคัญของผลประโยชน์ของชาติทางทะเล และสานึกถึงหน้าท่ีของคนไทยในการดูแล

รกั ษาผลประโยชนข์ องชาติทางทะเล

8

25. วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคข้อขัดข้องในการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเลท่ีผ่านมาและภัย
คุกคามรูปแบบใหม่

26. สืบคน้ ศึกษากฎหมายทะเลระหว่างประเทศ และกฎหมายไทยที่เกี่ยวขอ้ งกับทะเล
27. เข้าใจแนวทางปฏิบัติ และการบงั คบั ใช้กฎหมายทะเลระหว่างประเทศ
28. เชื่อมโยงความสัมพันธข์ องกฎหมายระหวา่ งประเทศและกฎหมายภายในประเทศตามพันธกรณี
29. จดั ทาแผนผังความรเู้ กีย่ วกับบทบาทหน้าที่องค์กรและหนว่ ยงานรบั ผิดชอบในการรกั ษาผลประโยชน์ของ
ชาตทิ างทะเล
30. อธิบายความสาคัญของความร่วมมือระหวา่ งประเทศทเ่ี กยี่ วข้องกับทะเล
31. บอกแนวทางการปกปอ้ งดูแลและการใชป้ ระโยชนจ์ ากทะเล
32. อธิบายหลักการในการบูรณาการการทางานร่วมกันของทุกภาคส่วนในการปกป้องทะเลไทยและ
ผลประโยชนข์ องชาตทิ างทะเล
33. มีความรคู้ วามเข้าใจในหน้าที่ของการเป็นเจ้าของทะเลในการการปกป้องทะเลไทยและผลประโยชน์ทาง
ทะเล

รวมท้ังหมด 33 ผลกำรเรยี นรู้

9

โครงสรำ้ งเนอ้ื หำ
วิชำ เขตทำงทะเลของประเทศไทย ทรพั ยำกรทำงทะเลและชำยฝง่ั

และผลประโยชน์ของชำตทิ ำงทะเล

หนว่ ยกำรเรียนรู้/เวลำเรียน 20/40 ชวั่ โมง

หน่วยท่ี ชอื่ หน่วยกำรเรยี นรู้ ช่ัวโมง น้ำหนกั
20 40 คะแนน
1 ลักษณะภูมิศาสตรท์ างทะเล และความสาคญั ของทะเล 24
2 เขตทางทะเล 48
3 เขตการปกครองของจังหวัดทางทะเล 48
4 ประโยชน์ของทะเล 48
5 กฏหมาย และหน่วยงานทางทะเล 36
6 หนา้ ท่ีของคนไทยในการปกป้องทะเลไทยและผลประโยชน์ของชาติ 36

ทางทะเล 20 40 100
รวมตลอดภำคเรยี น

หนว่ ยท่ี ชือ่ หน่วย ช่วั โมง ผลกำรเรียน
20 40 ผ่ำน ไมผ่ ่ำน
24
1 ลกั ษณะภมู ิศาสตร์ทางทะเล และความสาคญั ของทะเล 48
2 เขตทางทะเล 48
3 เขตการปกครองของจังหวัดทางทะเล 48
4 ประโยชนข์ องทะเล 36
5 กฏหมาย และหน่วยงานทางทะเล 36
6 หน้าท่ขี องคนไทยในการปกป้องทะเลไทยและผลประโยชน์ของชาติ
20 40 ผ่ำน ไม่ผำ่ น
ทางทะเล
รวมตลอดภำคเรยี น

หมำยเหตุ กศน.ระดบั มัธยมศกึ ษำใช้เนื้อหำเดยี วกับระดบั มธั ยมศกึ ษำ

10

โครงสรำ้ งรำยวิชำ

วิชำ เขตทำงทะเลของประเทศไทย ทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝงั่

และผลประโยชนข์ องชำติทำงทะเล

ลำดับ ชอ่ื หน่วยกำร ผลกำรเรยี นรู้ สำระ เวลำ นำ้ หนกั
คะแนน
ที่ เรยี นรู้ (ช่วั โมง)

1 ลักษณะ 1.มคี วามรู้และความเข้าใจ 1. ลักษณะของภมู ิศำสตร์ทำง

ภูมิศำสตรท์ ำง ลกั ษณะของภูมิศาสตร์ทาง ทะเลของโลก
ทะเล และ ทะเลของโลก - ความลึก พ้ืนผวิ พื้นท่ี อาณาเขต
ควำมสำคัญของ 2.มีความรู้และความเข้าใจ ลกั ษณะทางกายภาพทางภมู ิศาสตร์
ทะเล ลักษณะของภมู ิศาสตร์ทาง ทางทะเลของโลก
ทะเลของภูมิภาคเอเชยี - ผนื นา้ ของโลก
3.ระบุลกั ษณะของทะเลทวปี 2. ลกั ษณะภูมศิ ำสตรท์ ำงทะเล
เอเชีย ของภูมิภำคเอเชีย

4.มีความรู้และความเข้าใจ - เขตพื้นท่ตี ดิ ต่อทางทะเลใน

ลักษณะภูมศิ าสตร์ทางทะเล ภมู ภิ าคเอเชีย

ของไทย - ทะเลของทวปี เอเชยี

5.บอกความสาคญั ของทะเล - ตาแหน่งทางภมู ิศาสตรท์ างทะเล
ในดา้ นตา่ ง ๆ ของทวีเอเชยี
6.วเิ คราะหค์ วามสาคัญของ
ทะเลในดา้ นต่าง ๆ ท่เี กยี่ วข้อง - สรปุ ขอ้ มูลตามกระบวนการทาง

กบั ชวี ติ ประจาวนั ได้ ภมู ศิ าสตรท์ างทะเลของทวปี เอเชีย

มาประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจาวัน

3. ลกั ษณะภูมิศำสตร์ทำงทะเล

ของไทย

- พกิ ดั ทางภมู ิศาสตรข์ องทะเลไทย

- พนื้ ท่แี ละอาณาเขตตดิ ต่อทาง

ทะเลของไทย

11

ลำดับ ชอื่ หน่วยกำร ผลกำรเรียนรู้ สำระ เวลำ นำ้ หนัก
ที่ เรยี นรู้ (ชั่วโมง) คะแนน
4. ควำมสำคญั ของทะเล
ความสาคัญของทะเลในเชิง
-ภูมศิ าสตร์
-ภูมิอากาศ
-สังคม
-เศรษฐกิจและทรัพยากร

-การประมง
-การขนส่งและพาณชิ ยนาวี
-พลังงาน
-การท่องเทย่ี วและนนั ทนาการ
-อน่ื ๆ

12

ลำดบั ช่ือหน่วยกำร ผลกำรเรยี นรู้ สำระ เวลำ น้ำหนัก
ท่ี เรยี นรู้ (ชัว่ โมง) คะแนน
2 เขตทำงทะเล
ของประเทศไทย 1. เหน็ ความสาคัญของเขต 1. กำรกำหนดขอบเขตของทะเล

ทางทะเลของประเทศไทย และมหำสมุทร (Limit of Sea and

2. รู้และเขา้ ใจลักษณะของ Ocean)

เขตทางทะเล -การจาแนกลกั ษณะของเขตทาง

3. มที ักษะในการนาความรู้ ทะเลและขอบเขตทางทะเล

เร่ืองเขตทางทะเลของ 2. ลักษณะเขตทำงทะเล

ประเทศไทยไปประยุกต์ใช้ใน -การจาแนกลกั ษณะของเขตทางทะเลและ
ชีวิตประจาวนั ได้ ขอบเขตทางทะเล
4. สามารถจาแนกลักษณะ - ลกั ษณะของเขตทางทะเล
ของเขตทางทะเลได้ - การนาความรเู้ รือ่ งเขตทางทะเลของ
5. สามารถจาแนกขอบเขต ประเทศไทยไปประยุกตใ์ ชใ้ น
ทางทะเลได้ ชวี ติ ประจาวัน

3. ขอบเขตทำงทะเลของไทย

6. บอกพน้ื ที่อาณาเขตทาง -เขตทางทะเลของประเทศไทยตาม

ทะเล (Maritime Zone) ได้ ข้อกาหนดท่ไี ดร้ ะบไุ วใ้ นอนสุ ัญญา

7. วิเคราะห์ถึงความสาคัญ สหประชาชาตวิ า่ ด้วยกฎหมาย ทะเล ค.ศ.
ของเขตทางทะเลของประเทศ 1982 (United Nations Convention
on the Law of the Sea 1982 :
ไทยได้ UNCLOS 1982) [1] หากทาการ

8. เหน็ ความสาคญั ของอานาจ เรียงลาดับจากชายฝ่งั ออกไปจะ
อธิปไตยและเขตอานาจในเขต ประกอบด้วยน่านนา้ ภายใน ทะเลอาณา

ทางทะเลต่าง ๆ ของไทย เขต เขตตอ่ เน่อื ง เขตเศรษฐกิจจาเพาะ

ชายฝ่ังทะเลและพ้ืนที่ทาง และเขตไหล่ทวปี เขตทางทะเลทีไ่ ทยได้

ทะเลท่ีประเทศไทยมอี านาจ ประกาศสามารถจาแนกตามขอบเขต
อธปิ ไตยหรือสิทธิอธิปไตย อานาจได้ 2 ชนิดคือ เขตอานาจ อธปิ ไตย
หรือมสี ิทธิหรือเสรีภาพในการ ไดแ้ ก่ นา่ นนา้ ภายใน และทะเลอาณา
ใช้หรอื จะใช้ เขต และเขตสทิ ธิอธิปไตย ไดแ้ ก่ เขต
ตอ่ เน่อื ง เขตเศรษฐกิจ จาเพาะ และเขต

ไหลท่ วีป

13

ลำดบั ช่อื หน่วยกำร ผลกำรเรียนรู้ สำระ เวลำ นำ้ หนกั

ท่ี เรียนรู้ (ชวั่ โมง) คะแนน

9. มีความเขา้ ใจในอานาจ 4. อำนำจอธปิ ไตย สิทธอิ ธปิ ไตย

อธปิ ไตยและเขตอานาจในเขต และเขตอำนำจในเขตทำงทะเล
ทางทะเลตา่ ง ๆ ของไทย
ชายฝงั่ ทะเลและพน้ื ท่ีทางทะเล ตำ่ ง ๆ ของไทย

ทป่ี ระเทศไทยมีอานาจอธปิ ไตย - อานาจอธิปไตยและเขตอานาจใน
หรอื สทิ ธิอธิปไตย หรอื มีสิทธิ เขตทางทะเลตา่ ง ๆ
หรอื เสรีภาพในการใช้หรอื จะใช้
10. วิเคราะห์ความสาคญั ของ -ชายฝง่ั ทะเลและพื้นที่ทางทะเลท่ี
อานาจอธปิ ไตยและเขตอานาจ ประเทศไทยมีอานาจอธิปไตย
ในเขตทางทะเล ตา่ ง ๆ ของ -สทิ ธหิ รอื เสรีภาพในการใช้หรือจะ
ไทย ชายฝงั่ ทะเลและพ้ืนทที่ าง ใช้ประโยชน์จากทะเลไทย
ทะเลทป่ี ระเทศไทยมอี านาจ - บทบาทหน้าท่รี ับผดิ ชอบตาม
อธปิ ไตย หรอื สิทธิอธปิ ไตย กฎหมายที่เกย่ี วข้องกับทะเลใน

หรือมสี ทิ ธหิ รือเสรีภาพในการใช้ ประเทศ ไดแ้ ก่ 1) ดา้ นประมง
และทรัพยากร 2) ด้านการขนสง่
หรอื จะใช้

11. มีความรคู้ วามเขา้ ใจใน และพาณชิ ยนาวี 3) ดา้ นการ

บทบาทหนา้ ท่ีรบั ผดิ ชอบตาม ท่องเทยี่ วและนนั ทนาการ 4) ดา้ น

กฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ทะเลใน พลังงาน 5) ดา้ นอืน่ ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง

ประเทศได้ - บทบาทหน้าทร่ี บั ผดิ ชอบตาม

12. มีความรคู้ วามเขา้ ใจใน กฎหมายที่เก่ียวข้องกับทะเล

บทบาทหนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบตาม ระหว่างประเทศ
กฎหมายท่เี กยี่ วขอ้ งกบั ทะเล - บทบาทหนา้ ท่ขี ององค์กรและ
ระหวา่ งประเทศได้
หนว่ ยงานรบั ผิดชอบในการรักษา
13. บอกบทบาทหนา้ ท่ขี อง
องคก์ รและหนว่ ยงานรบั ผิดชอบ ผลประโยชนข์ องชาตทิ างทะเล

ในการรกั ษาผลประโยชน์ของ

ชาติทางทะเล

14

ลำดับ ช่ือหน่วยกำร ผลกำรเรียนรู้ สำระ เวลำ นำ้ หนกั
ที่ เรียนรู้ คะแนน
3 เขตกำรปกครอง (ชั่วโมง)
ของจังหวดั ทำง
ทะเล 1.บอกความเปน็ มาของการ 1. ควำมเป็นมำของกำรกำหนด

กาหนดเขตจังหวัดทางทะเล เขตจังหวัดทำงทะเล

2.อธบิ ายแนวทางในการ 2. แนวทำงในกำรกำหนดเขต

จงั หวดั ทำงทะเล
กาหนดเขตจงั หวดั ทางทะเล แนวทางการกาหนดเขตทางทะเลที่
3.อธบิ ายแผนทแี่ ละบญั ชคี า่ เปน็ หลกั สากลนามาประยุกต์ใชใ้ น
พกิ ัดรายจังหวดั ชายทะเล การแบ่งเขตจังหวดั ทางทะเลของแต่
(ในพ้นื ทจี่ ังหวดั ของตนเอง) ละคู่จังหวัดทม่ี ี เขตอยปู่ ระชิดกนั
4.อ่านแผนท่ีจงั หวัดชายทะเล หรอื อยู่ตรงข้ามกันได้ ดังนี้
ได้ 1) ตามพันธะกรณอี นั สืบ
(ในพื้นทจี่ งั หวัดของตนเอง เน่อื งมาจากข้อตกลงทท่ี าไวเ้ ดิม
และพ้นื ทร่ี อบ ๆ)
2) กาหนดตามหลกั กฎหมายทะเล
4.มีความรู้ความเขา้ ใจในมติ ิ ปี ค.ศ.1958
ทางพ้ืนที่ของน่านน้าไทยและ 3) กาหนดตามหลกั กฎหมายทะเลปี
จงั หวัดชายทะเล
ค.ศ.1982
(ตามบรบิ ทในพน้ื ที่ของผเู้ รียน) 3.แผนที่และบญั ชคี ่ำพกิ ดั รำย

จังหวัดชำยทะเล

การกาหนดแบง่ กลุ่มจังหวดั

ชายทะเลท้ัง 23 จงั หวัด ออกเป็น 6

กลุ่มจังหวดั ตามสภาพภมู ิศาสตร์

และพื้นฐานของกิจกรรมทางทะเลท่ี

สง่ ผลกระทบระหว่างกันได้ ดังน้ี

(1) กลุ่มจงั หวัดอา่ วไทยตะวนั ออก

ประกอบดว้ ยจังหวัดชายทะเล 3

จังหวดั ไดแ้ ก่ จ.ตราด จ.จนั ทบุรี

และ จ.ระยอง

15

ลำดับ ชอื่ หน่วยกำร ผลกำรเรยี นรู้ สำระ เวลำ นำ้ หนกั
ที่ เรยี นรู้ (ช่วั โมง) คะแนน
(2) กลุ่มจงั หวัดอา่ วไทยตอนใน
ประกอบด้วยจังหวดั ชายทะเล 7
จงั หวดั ไดแ้ ก่ จ.ชลบรุ ี
จ.ฉะเชงิ เทรา จ.สมทุ รปราการ
จ.สมุทรสาคร จ.สมทุ รสงคราม
จ.เพชรบรุ ี และ กรงุ เทพมหานคร
(3) กลุ่มจังหวดั อ่าวไทยตอนบน
ประกอบด้วยจงั หวดั ชายทะเล 3 จงั หวดั
ได้แก่ จ.ประจวบครี ขี นั ธ์
จ.ชมุ พร และ จ.สุราษฏรธ์ านี
(4) กลุ่มจงั หวดั อ่าวไทยตอนลา่ ง
ประกอบด้วยจงั หวดั ชายทะเล 4 จังหวัด
ไดแ้ ก่ จ.นครศรีธรรมราช
จ.สงขลา จ.ปตั ตานี และ จ.นราธวิ าส
(5) กลุ่มจงั หวัดฝง่ั ตะวนั ตกตอนบน
ประกอบดว้ ยจังหวดั ชายทะเล 3 จงั หวัด
ได้แก่ จ.ระนอง จ.พงั งา และ จ.ภเู กต็
(6) กลมุ่ จงั หวดั ฝั่งตะวันตกตอนลา่ ง
ประกอบด้วยจังหวดั ชายทะเล 3 จงั หวัด
ไดแ้ ก่ จ.กระบี่
จ.ตรัง และ จ.สตลู
4. มิตทิ ำงพืน้ ทีข่ องน่ำนน้ำไทยและ
จงั หวดั ชำยทะเลท่ีควรทรำบ
4.1 พื้นที่ของนา่ นนา้ ไทยแบง่ ตามเขต
ทางทะเล
4.2 พืน้ ที่ของน่านน้าไทยแบ่งตามเขต
อานาจของรัฐ
4.3 ขนาดของพ้ืนที่และความยาวชายฝ่ัง
ทะเลรายจังหวัด
4.4 รายชอื่ อาเภอของจังหวดั ชายทะเล
ในสว่ นทม่ี ีอาณาเขตติดกบั ทะเล

16

ลำดับ ชื่อหน่วยกำร ผลกำรเรยี นรู้ สำระ เวลำ นำ้ หนัก
ท่ี เรยี นรู้ คะแนน
4 ประโยชนข์ อง (ชัว่ โมง)
ทะเล
1. บอกควำมสำคัญของ 1. ทรพั ยำกรทำงทะเลและชำยฝงั่

ทรัพยำกรทำงทะเลและ - ความหมายของทรัพยากรทางทะเล

ชำยฝ่งั และชายฝงั่ ทง้ั ทีม่ ชี ีวติ และไม่มีชวี ติ

2. บอกประเภทของ - ประเภทของทรพั ยากรทางทะเลและ

ทรพั ยำกรทำงทะเลและ ชายฝงั่
- ความสาคญั ของทรพั ยากรทางทะเล
ชำยฝ่ัง
3. มคี วำมรู้ควำมเข้ำใจเร่ือง และชายฝงั่ ท้งั ทีม่ ชี วี ิตและไมม่ ีชวี ติ
2. กิจกรรมกำรใช้ประโยชน์จำก
กฏหมำยทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับ
ทรพั ยำกรทำงทะเลและ ทะเล
- ทาเล ที่ตง้ั ของกจิ กรรมการใช้
ชำยฝงั่
4.บอกวิธีในกำรปเองกนั และ ประโยชนจ์ ากทะเลไทย
- กจิ กรรมทางทะเลดา้ นการประมง
อนุรักษท์ รัพยำกร ดา้ นการขนส่งและพาณชิ ยนาวี ด้าน
ธรรมชาตทิ างทะเลและชายฝ่ัง พลังงาน ดา้ นการทอ่ งเที่ยวและ
5. มีทกั ษะในการนาความรู้ นันทนาการ และอ่ืนๆ

เรอื่ งการป้องกนั และอนุรักษ์ -ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลของ
ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล ไทย
และชายฝั่งไปประยุกต์
3. มลู คำ่ กำรใชป้ ระโยชนจ์ ำกทะเล
ใชใ้ นชวี ิตประจาวันได้
ของไทย
6. บอกปัญหาที่เกิดข้ึนกับ - การใช้ประโยชน์ของพนื้ ท่ีและ
ทรัพยากรทางทะเลและ
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ ใน
ชายฝงั่ และแนวทางแก้ไข ประเทศไทย
7. วเิ คราะหป์ ัญหาที่เกิดขนึ้ กบั 4. ผลกระทบที่เกิดขึน้ จำกทะเล
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง่ั
พรอ้ มท้ังบอก แนวทางแกไ้ ข - ผลกระทบด้านการประมง ด้าน
8. บอกวธิ ีการใชป้ ระโยชน์ของ การขนสง่ และพาณชิ ยนาวี ดา้ น
พน้ื ทแ่ี ละทรัพยากรทางทะเล พลงั งาน ดา้ นการท่องเท่ยี วและ
และชายฝ่ังในประเทศไทย นันทนาการ และดา้ นอื่นๆ อาทิ

17

ลำดบั ช่อื หน่วย ผลกำรเรยี นรู้ สำระ เวลำ น้ำหนกั
ที่ กำรเรียนรู้ (ช่วั โมง) คะแนน

5. ทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝัง่
- ความหมายของทรพั ยากรทางทะเล
และชายฝั่งทง้ั ทมี่ ชี ีวิตและไมม่ ีชวี ิต
- ประเภทของทรพั ยากรทางทะเล
และชายฝ่ัง
- ความสาคัญของทรัพยากรทางทะเล
และชายฝ่ังท้งั ทม่ี ชี วี ติ และไม่มีชวี ติ
6. กจิ กรรมกำรใชป้ ระโยชน์จำก
ทะเล
- ทาเล ทต่ี ั้ง ของกจิ กรรมการใช้
ประโยชนจ์ ากทะเลไทย
- กิจกรรมทางทะเลด้านการประมง
ด้านการขนส่งและพาณชิ ยนาวี ดา้ น
พลงั งาน ดา้ นการท่องเทยี่ วและ
นนั ทนาการ และอ่นื ๆ
-ผลประโยชน์แหง่ ชาติทางทะเลของ
ไทย
7. มูลคำ่ กำรใชป้ ระโยชนจ์ ำก

ทะเลของไทย
- การใช้ประโยชน์ของพน้ื ทีแ่ ละ
ทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่งั ใน
ประเทศไทย
8. ผลกระทบที่เกดิ ขน้ึ จำกทะเล
- ผลกระทบดา้ นการประมง ด้าน
การขนสง่ และพาณิชยนาวี ดา้ น
พลังงาน ด้านการท่องเท่ียวและ
นนั ทนาการ และดา้ นอ่นื ๆ อาทิ

18

ลำดบั ช่อื หน่วยกำร ผลกำรเรียนรู้ สำระ เวลำ นำ้ หนกั

ท่ี เรียนรู้ (ชัว่ โมง) คะแนน

9. บอกข้อปฏบิ ตั ใิ นการอนุรกั ษ์ สึนามิ การกัดเซาะชายฝง่ั และภยั

ทะเลไทย คุกคามอนื่ ๆ

10. บอกวิธีการดูแลทรพั ยากร 5.ควำมปลอดภยั ในกำรใช้ประโยชน์

ทางทะเล ทำงทะเล (รอเพิม่ เติมเน้ือหำ)

11. บอกวธิ ใี นการอนรุ ักษท์ ะเล - การใช้ประโยชน์ของพนื้ ทีแ่ ละ

ไทย ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง่ั ใน

12. มสี ่วนร่วมในการอนรุ กั ษ์ ประเทศไทย

ทะเลไทย - วิธกี ารดูแลทรัพยากรทางทะเลใหค้ ง

13. บอกความหมายของ ความสมบรู ณแ์ ละเกดิ การใชป้ ระโยชน์

ผลประโยชนข์ องชาติทางทะเล อย่างยง่ั ยืน

14. บอกความสาคญั ของทะเล - กิจกรรมการใช้ประโยชนจ์ ากทะเล

และผลประโยชนข์ องชาติทาง ไทย

ทะเลท่ีสาคญั ของประเทศไทย - องคป์ ระกอบของผลประโยชนข์ อง

15. บอกองคป์ ระกอบของ ชาติทางทะเล 1) ผลประโยชน์

ผลประโยชนข์ องชาติทางทะเล แหง่ ชาตทิ างทะเลในมติ ิทางเศรษฐกิจ

16. มีความตระหนกั ในหน้าที่ เชิงพืน้ ท่ี 2) ผลประโยชน์แห่งชาติ

ของคนไทยในการปกปอ้ งทะเล ทางทะเลในมติ ิเชิงลึก

ไทยและผลประโยชน์ของชาติ - การตระหนักในหนา้ ทีข่ องคนไทยใน

ทางทะเล การปกป้องทะเลไทยและผลประโยชน์

17. มคี วามรู้ความเขา้ ใจความ ของชาติทางทะเล

สมดุลระหวา่ งการอนรุ ักษ์และ - การสรา้ งความสมดลุ ระหวา่ งการ

การใช้ประโยชน์จากทะเลไทย อนรุ กั ษแ์ ละการใช้ประโยชนจ์ ากทะเล

18. วิเคราะหป์ ัญหาและ ไทย

อปุ สรรคขอ้ ขดั ข้องในการรักษา - สภาพแวดล้อม ปญั หาและอปุ สรรค

ผลประโยชนข์ อง ข้อขดั ข้องในการรกั ษาผลประโยชน์

ชาตทิ างทะเลท่ีผา่ นมาและภัย ของชาติทางทะเล ทผ่ี ่านมาและ

คกุ คามรปู แบบใหม่ ภัยคุกคามรปู แบบใหม่

19

ลำดบั ช่ือหน่วยกำร ผลกำรเรยี นรู้ สำระ เวลำ นำ้ หนัก
ท่ี เรียนรู้ (ชัว่ โมง) คะแนน
5 กฎหมำย และ 1.มคี วามร้คู วามเข้าใจใน
หน่วยงำนทำง กฎหมายทะเลระหวา่ ง 1. กฎหมำยทะเลระหว่ำงประเทศ
ทะเล ประเทศ - อนสุ ญั ญาระหวา่ งประเทศ
2.มคี วามร้คู วามเข้าใจใน - อนสุ ัญญาสหประชาชาติ
กฎหมายไทยทีเ่ กย่ี วข้องกบั - กฎหมายและความตกลง
ทะเล ระหว่างประเทศกลุ่มการเดนิ เรอื
3. มีความร้คู วามเข้าใจใน และความปลอดภยั ทางทะเล
บทบาทหนา้ ท่ีองคก์ รและ 2. กฎหมำยไทยท่ีเก่ยี วข้องกับ
หนว่ ยงานรบั ผิดชอบในการ ทะเล
รกั ษาผลประโยชน์ของชาติ - พ.ร.บ. ตา่ ง ๆ
ทางทะเล
4. บอกความสาคญั ของความ (ดงึ มาจากเล่มทะเลฯ)
ร่วมมือระหว่างประเทศที่
เกี่ยวข้องกับทะเล 3. องคก์ รและหน่วยงำน
รับผดิ ชอบในกำรรกั ษำ
ผลประโยชน์ของชำติทำงทะเล
-อจชล.
-ศรชล.
-ทช. ทส.
-ทร
4. ควำมรว่ มมือระหวำ่ งประเทศ
ความร่วมมอื ระหว่างประเทศที่

เกยี่ วข้องกบั ทะเลไทย

-เศรษฐกิจ

-สงั คม

-พาณชิ ย์

-อ่นื ๆ

20

ลำดับ ชอ่ื หน่วยกำร ผลกำรเรียนรู้ สำระ เวลำ น้ำหนกั
ท่ี เรยี นรู้ คะแนน
6 หน้ำทข่ี องคนไทย (ชั่วโมง)
ในกำรปกปอ้ ง
ทะเลไทยและ 1.บอกแนวทำงกำรปกปอ้ ง 1. กำรปกปอ้ งดแู ลและกำรใช้
ผลประโยชน์ของ
ชำตทิ ำงทะเล ดูแลและกำรใช้ประโยชนจ์ ำก ประโยชนจ์ ำกทะเล

ทะเล - ความตระหนกั ในหนา้ ที่ของคน

2.บอกหลกั การในการ ไทยในการปกป้องทะเลไทยและ

บูรณาการการทางานรว่ มกนั ผลประโยชนข์ องชาติทางทะเล

ของทุกภาคสว่ นในการปกป้อง - หลักการในการบรู ณาการการ

ทะเลไทยและผลประโยชน์ ทางานร่วมกนั ของทุกภาคสว่ น

ของชาติทางทะเล ในการปกป้องทะเลไทยและ

3.มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจใน ผลประโยชน์ของชาตทิ างทะเล

หน้าทใี่ นการเปน็ เจ้าของทะเล เพ่ือสรา้ งความย่ังยืนให้กับการใช้

4.อธิบำยบทบำทหนำ้ ท่ีใน ประโยชนจ์ ากทะเลไทย

กำรเป็นเจ้ำของทะเล 2. หน้ำทีใ่ นกำรเปน็ เจำ้ ของทะเล

- บทบาทหนา้ ทใี่ นการเปน็ เจ้าของ

ทะเล

- การดแู ลทรัพยากรทางทะเลให้คง

ความสมบูรณ์และเกิดการใช้ประโยชน์

อย่างยงั่ ยืน

- เสริมสรา้ งการอนรุ ักษท์ ะเลไทย

- การมสี ว่ นร่วมของทุกภาคสว่ นใน

การอนรุ ักษท์ ะเลไทย

- ความรักความหวงแหนในการปกปอ้ ง

ผลประโยชนข์ องชาตทิ างทะเล และ

เห็นคณุ คา่ ของทะเลไทย

- ความตระหนักในหน้าทขี่ องคนไทย

ในการปกปอ้ งทะเลไทยและ

ผลประโยชน์ของชาตทิ างทะเล

21

หน่วยท่ี 1
ลกั ษณะภมู ศิ าสตร์ทางทะเล และความสาคญั ของทะเล

ผลกำรเรยี นรู้
1.อธบิ ายลักษณะของภูมิศาสตรท์ างทะเลของไทยของภูมิภาคเอเชยี และของโลก
2.ระบลุ ักษณะของทะเลทวปี เอเชยี
3.บอกความสาคญั ของทะเลในดา้ นตา่ ง ๆ
4.วิเคราะหค์ วามสาคญั ของทะเลในดา้ นตา่ ง ๆ ที่เก่ยี วข้องกับชีวิตประจาวนั ได้

สาระการเรยี นรู้
1. ลักษณะภูมิศาสตร์ทางทะเลของไทย
2. ลกั ษณะภูมิศาสตร์ทางทะเลของภมู ิภาค
3. ลักษณะของภมู ศิ าสตรท์ างทะเลของโลก
4. ความสาคัญของทะเล

22

เนือ้ หา
หน่วยที่ 1
ลกั ษณะภมู ศิ าสตร์ทางทะเล และความสาคญั ของทะเล

(ผูส้ อนสำมำรถเพ่ิมเตมิ /ปรบั เนื้อหำใหเ้ หมำะสมแก่ผูเ้ รยี น)

เรอื่ งที่ 1 ลกั ษณะของภมู ศิ าสตร์ทางทะเลของโลก

ความลึก พนื้ ผิว พนื้ ที่ อาณาเขต ลกั ษณะทางกายภาพทางภูมศิ าสตร์ทางทะเลของโลก
โลกท่ีเราอาศัยอยู่น้ีมีขนาดกว้างใหญ่ ประกอบด้วยแผ่นดินหรือท่ีเรียกว่า “ทวีป” และแผ่นน้า

หรือที่เรียกว่า ทะเลหรือมหาสมุทร หากย้อนอดีตไปกว่า 4 พันล้านปีท่ีผ่านมา โลกเป็นเพียงก้อนหินหลอมเหลว
ร้อนและใหญ่ มีการปะทุของภูเขาไฟจ้านวนมาก และการระเบิดของดาวหางและอุกกาบาต การระเบิดดังกล่าว
น้าไปสู่การผสมธาตุต่าง ๆ ในโลกและจากอวกาศ ก๊าซเหล่านี้ ได้แก่ ออกซิเจน และไฮโดรเจน ซึ่งท้าให้น้าบนโลก
เพิ่มขึ้น ในช่วงแรกผิวโลกอยู่ในรูปของก๊าซ จนพ้ืนผิวของโลกเย็นตัวลงท่ีอุณหภูมิต้่ากว่า 100 องศาเซลเซียส
ในเวลาน้ันเป็นเวลา 3.8 พันล้านปีที่ผ่านมา น้าได้ควบแน่นเป็นฝนและตกลงบนพ้ืนดิน น้าที่สะสมในบริเวณท่ีมี
ท่รี าบลุ่มคอ่ ย ๆ กลายเป็นมหาสมุทร ซึ่งเรยี กวา่ มหาสมทุ ร ดงั เดิม และเปน็ เวลาอีกนบั พันลา้ นปี นา้ สะสมแล้วเอ่อ
ล้นมากข้ึน จนก่อตัวขึ้นเป็นมหาสมุทรที่ขยายพ้ืนที่ออกไปอย่างกว้างขวาง เกือบ 3 ใน 4 ของพื้นผิวโลก พ้ืนผิวท่ี
เป็นน้า หรือเรียกว่า ทะเล และมหาสมุทรนั้น นับเป็นส่วนของเปลือกโลก ท่ีมีลักษณะคล้ายกับแอ่งและมีน้า
ปกคลุมอยู่ มีเนื้อท่ีประมาณ ร้อยละ 71 ของเปลือกโลก ทั้งหมด ทั้งน้ี แผ่นพ้ืนน้าท่ีเป็นมหาสมุทรนี้ เป็นพื้นท่ี
ท่ีเชื่อมต่อกันของน่านน้าต่าง ๆ ของโลก ประกอบด้วยผิวน้าขนาดใหญ่ ซ่ึงครอบคลุมพื้นที่ผิวโลกประมาณ
361,132,000 ตารางกิโลเมตร (139,434,000 ตารางไมล์) นับเป็นปริมาตรน้า รวมประมาณ 1,332,000,000
ลกู บาศกก์ ิโลเมตร (320,000,000 ลูกบาศก์ไมล)์

ลกั ษณะพืน้ ทที่ างทะเลและมหาสมุทร จะอยู่ระหวา่ งทวปี ต่าง ๆ ทเี่ ปน็ แผน่ ดนิ ซึ่งมนษุ ยเ์ ราอยู่
อาศัยกัน ในขณะเดียวกันก็หมายความว่า โลกเรามีมหาสมทุ รล้อมรอบทวปี ต่าง ๆ ไวด้ ้วย เช่นกัน ท้ังนี้ ในส่วนที่อยู่
ขอบ ๆ ของมหาสมทุ รเรียกวา่ ทะเล บางสว่ นเรยี กว่าอ่าว (บางทเี ราใชค้ า้ วา่ ทะเล แต่หมายถงึ มหาสมุทรกม็ ี)

ผิวหน้าของทะเลและมหาสมุทร จะเป็นระดับน้าทะเลซึ่งไม่ได้แบนราบเหมือนแผ่นกระดาษ แต่จะ
โค้งนูนออกมา เหมอื นเป็นส่วนหนึ่งของเปลือกโลก ระดับน้าทะเลและมหาสมุทรจะไม่คงท่ี แต่จะมีการเปลี่ยนแปลง
ไปได้ เพราะน้าเป็นของเหลวสามารถเปลี่ยนรูปทรงได้ง่าย โดยที่การเปล่ียนแปลงของระดับน้าทะเล จะเป็นการ
เปล่ียนเพียงช่ัวครั้งชั่วคราว ซ่ึงอาจจะเกิดขึ้นเพราะมีน้าข้ึนน้าลง หรือมีฝนตกมากผิดปกติ หรือมีลมพัดมาเหนือน้า
ทะเล และจะทิ้งร่องรอยของการเปล่ียนแปลงให้สังเกตได้ตามขอบชายฝั่ง ท้ังนี้ ความลึกโดยเฉลี่ยของมหาสมุทร
ประมาณ 3.7 กิโลเมตร (12,450 ฟุต หรือ 2.36 ไมล์) โดยด้านตะวันตกของ มหาสมุทรแปซิฟิก ถือกันว่าเป็นตอน
ที่ลึกท่ีสุดของทะเลและมหาสมุทรทั้งหมด ที่มีชื่อเรียกว่า ร่องลึกบาดาลมาเรียน่า (Mariana Trench) มีความลึกถึง
10.692 กิโลเมตร (35,640 ฟุต หรอื 6.75 ไมล์)

23

ภาพ ลกั ษณะความลกึ ของทะเล
ทีม่ า http://www.marine.tmd.go.th/thai/oceanhtml/oceandoc.html

ผนื น้าของโลก
ผืนน้าของโลกเปน็ พ้นื แผ่นต่อเนื่องกนั โดยมีการเคล่อื นที่ของน้าไปรอบ ๆ โลก ทงั้ นี้ ผืนนา้ ของ

โลกแบ่งออกเปน็ 5 มหาสมทุ ร ดังน้ี
1. มหาสมทุ รแปซฟิ กิ (Pacific Ocean)
เป็นมหาสมุทรที่ใหญ่ที่สุด คลุมพื้นท่ีจากมหาสมุทรใต้ สู่มหาสมุทรอาร์คติก มหาสมุทรแปซิฟิกเป็น

พ้ืนท่ีเชื่อมต่อ ระหว่างออสเตรเลีย เอเชีย และอเมริกา โดยมหาสมุทร แปซิฟิก มาบรรจบมหาสมุทรแอตแลนติก
ณ บริเวณตอนใต้ ของทวปี อเมริกาใตท้ ่ีแหลมฮอร์น (Cape Horn)

2. มหาสมุทรแปซิฟกิ (Pacific Ocean) มหาสมทุ รแอตแลนตกิ (Atlantic Ocean)
เป็นมหาสมทุ รทใ่ี หญ่เป็นอนั ดับสอง เป็นมหาสมุทรท่ีมพี น้ื ท่ีตอ่ จาก มหาสมุทรใต้ โดยตั้งอยู่ระหวา่ ง
ทวีปอเมริกา แอฟริกา และยุโรป ด้านเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก มหาสมุทรแอตแลนติก ประชิดกับมหาสมุทร
อินเดยี บริเวณตอนใตข้ องทวปี แอฟริกาท่ีแหลมอะกะลสั (Cape Agulhas)
3. มหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Ocean) มหาสมุทรแอตแลนติก (Atlantic Ocean) มหาสมุทร
อินเดีย (Indian Ocean)
เป็นมหาสมุทรท่ีใหญ่เป็นอันดับสาม ต้ังอยู่ทางเหนือมหาสมุทรใต้ และขยายพื้นที่ข้ึนไปจนถึง
ประเทศอินเดีย คาบสมุทรอาหรับ และเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ โดยประกบท้ังสองด้านด้วยแอฟริกาตะวันตก และ
ออสเตรเลียทางตะวันออก มหาสมุทรอินเดียบรรจบกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางทิศตะวันออกบริเวณใกล้กับ
ออสเตรเลยี
4. มหาสมทุ รใต้ (Southern Ocean)
เป็นมหาสมุทรท่ีใหญ่เป็น อันดับสี่ ตั้งอยู่รอบแอนตาร์กติกา ซ่ึงอยู่ใต้ละติจูดที่ 60 องศา มหาสมุทร
ใต้ บางส่วนจะปกคลุมด้วยนา้ แข็ง ซ่งึ มขี นาดขอบเขตของพน้ื น้าแข็งแตกต่างกันไปตามฤดูกาล
5. มหาสมทุ รอารก์ ติก (Arctic Ocean)
เป็นมหาสมุทรท่ีเล็กท่ีสุดใน 5 มหาสมุทร เช่ือมต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก ใกล้เกาะกรีนแลนด์
และไอซ์แลนด์ และเช่ือมต่อกับ มหาสมุทรแปซิฟิกท่ีช่องแคบแบริ่ง มหาสมุทร อาร์กติกครอบคลุมทั้งขั้วโลกเหนือ
และดา้ นตะวนั ตกประชิดกับทวปี อเมรกิ าเหนือ ในซีกตะวันออกประชิดสแกนดเิ นเวียและ ไซบเี รีย มหาสมุทรอาร์กติก
บางส่วนจะปกคลุมดว้ ยน้าแขง็ ทะเล ซ่ึงมขี นาดขอบเขตของพื้นน้าแข็งแตกต่างกันไปตามฤดูกาล

24

ภาพ มหาสมทุ รบนโลก
ทีม่ า : Shutterstock

เรอ่ื งที่ 2 ลักษณะภมู ิศาสตร์ทางทะเลของภมู ภิ าคเอเชีย

เขตพ้ืนท่ตี ิดตอ่ ทำงทะเลในภูมิภำคเอเชีย
เอเชยี เปน็ ภูมภิ าคหรือทวปี ท่ใี หญ่ที่สดุ ครอบคลมุ พน้ื ที่ 44,579,000 ตารางกโิ ลเมตร (17,212,000

ตารางไมล์) ประมาณร้อยละ 30 ของพน้ื ท่ีท้งั หมดของโลก และคดิ เปน็ ร้อยละ 8.7 ของ พ้นื ดนิ ผิวโลกทง้ั หมด
ประชากร

ส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ในภาคตะวันออกและภาคเหนือของทวีป ประชากรรวมกันท้ังเอเชียราว 4.5 พัน
ลา้ นคน นบั เป็นประชากรประมาณร้อยละ 60 ของโลก และทเ่ี ป็นทต่ี ัง้ ของอารยธรรมแหง่ แรก ๆ ของโลก

ในอดีต ทวีปเอเชีย ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา เป็นผืนแผ่นดินเดียวกันหรือทวีปเดียวกัน ต่อมาได้เกิดการ
แยกตัวออกเป็นทวีปต่าง ๆ ดังเช่นในปัจจุบัน โดยเฉพาะทวีป เอเชียกับทวีปยุโรปนับเป็นผืนแผ่นดินท่ีมีขนาดใหญ่
ทีส่ ุด ซ่งึ เราเรียกผืนแผน่ ดินน้ีว่า ยูเรเชีย (Eurasia) มีลักษณะแยกออก จากกนั อย่างชัดเจนกว่าทวีปอ่ืน ๆ พนื้ แผน่ ดิน
ของทวปี เอเชยี เป็นพ้นื แผน่ ดนิ ท่อี ยู่คงท่ี ในขณะท่แี ผน่ ดินอ่นื ๆ เปน็ ฝา่ ยเคล่ือนที่ออกไปอยู่ในตา้ แหนง่ ทต่ี ั้งในปัจจุบัน
ในทางบก ทวีปเอเชยี มีขอบเขตที่ประชิดทั้งแผ่นดินของทวปี ยุโรปและทวีปแอฟรกิ า ส่วนลักษณะภูมิศาสตร์ทางทะเล
ของทวปี เอเชยี นนั้ มมี หาสมุทร ทะเล และช่องแคบส้าคญั ท่ลี อ้ มรอบแผ่นดินของทวีป ไดแ้ ก่

ทิศเหนือ ติดต่อกับมหาสมุทรอาร์กติก ดินแดนท่ีอยู่เหนือที่สุดของทวีป (ไม่รวมเกาะ) คือ แหลมชิลยูสกิน
(Cape Chelyuskin)

25

ทิศตะวันออก ติดต่อกับมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลต่าง ๆ ได้แก่ ทะเลเบริง (Bering Sea) ทะเลโอคอตสค์
(Sea of Okhotsk) ทะเลญี่ปุ่น (Sea of Japan) ทะเลเหลือง (Yellow Sea) ทะเลจีนตะวันออก (East China Sea)
และทะเลจีนใต้ (South China Sea)

ทิศใต้ ติดต่อกับมหาสมุทรอินเดีย มีทะเลและน่านน้าต่าง ๆ ได้แก่ อ่าวเบงกอล (Bay of Bengal) ทะเล
อาหรับ (Arabian Sea) อา่ วเปอรเ์ ซยี (Persian Gulf) และ อา่ วเอเดน (Gulf of Aden)

ทิศตะวันตก ติดต่อกับทะเลแดง (Red Sea) ซ่ึงกั้นระหว่างทวีปเอเชียกับทวีปแอฟริกา (ทะเลเมดิเตอร์
เรเนียนเป็นทะเลท่ีกัน้ อยู่ระหว่าง 3 ทวปี คือ เอเชีย ยุโรป และแอฟริกา) ทะเลอีเจียน (Aegean Sea) และทะเลด้า
(Black Sea) กั้นระหว่างทวีปเอเชียกับทวีปยุโรป เทือกเขาคอเคซัส (Cau - casus Mountains) แม่น้ายูรัล (Ural
River) เทือกเขายูราล (Ural Mountains) บนชายฝ่ังมหาสมุทรอาร์คติกกับทะเลสาบแคสเปียน (Caspian Sea)
(ทะเลภายในท่ีใหญ่ท่ีสุดของโลก) จากที่ตังของทวีปเอเชีย ้ จะเห็นได้ว่า มีดินแดนเกือบทั้งหมดอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร
ยกเวน้ หมเู่ กาะ ของประเทศอินโดนเี ซยี ทม่ี บี างสว่ นอยูเ่ หนือเสน้ ศนู ย์สูตรและใตเ้ ส้นศนู ย์สูตร

ทะเลของทวีปเอเชีย

ประกอบด้วย มหาสมุทรทางทศิ ตะวันออก คอื มหาสมทุ รแปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดียอยู่ทางตอนใต้ ส่วน
ทางเหนือ เป็นมหาสมุทรอาร์กติก

ในส่วนทะเลมีอยู่จ้านวนมาก ได้แก่ ทะเลแบเร็นตส์ (Barents Sea) ทะเลคารา (Kara Sea) ทะเลชุคชี
(Chukchi Sea) ทะเลแลปทิฟ (Laptev Sea) ทะเลไซบีเรียตะวันออก (East Siberian Sea) ทะเล เบริง (Bering
Sea) ทะเลโอคอตสค์ (Sea of Okhotsk) ทะเลเหลือง (Yellow Sea) ่ ทะเลญ่ีปุ่น (Sea of Japan) ทะเลจีน
ตะวันออก (East China Sea) ทะเลจีนใต้ (South China Sea) ทะเลฟิลิปปิน (Philippine Sea) ทะเลเซเลบีส
(Celebes Sea) ทะเลบันดา (Banda Sea) ทะเลชวา (Java Sea) ทะเลอันดามัน (Andaman Sea) ทะเลแลกคาดิฟ
(Laccadive Sea) ทะเลแดง (Red Sea) ทะเลแกลิลี (Sea of Galilee) ทะเลอาหรบั (Arabian Sea) ทะเลดา้ (Black
Sea) และทะเลแคสเปยี น (Caspian Sea)

26

ภาพ ทะเลของทวีปเอเชยี
ท่ีมา : หนังสือ ทะเลและมหาสมุทร และผลประโยชนข์ องชาตทิ างทะเล
โดย คณะอนุกรรมการจดั การความรูเ้ พือ่ ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล (อจชล.)

สานกั งานสภาความมัน่ คงแหง่ ชาติ (สมช.) สานักนายกรฐั มนตรี

27

ตาแหนง่ ทางภูมศิ าสตร์ทางทะเลของทวีปเอเชีย

ตา้ แหน่งทางภูมิศาสตร์ทางทะเล ของทวีปเอเชียที่ล้อมรอบแผ่นดิน และเกาะแกง่ ของทวปี อยู่นั้น เออื้ ต่อการ
เป็นแหล่งท้ามาหากิน แหล่งอาหาร และในยุคใหม่ยังเป็นแหล่งพลังงานอีกด้วย ชาวเอเชียใช้ประโยชน์
ทางภูมิศาสตร์ทางทะเลในการเชื่อมโยงวัฒนธรรม สินค้า และการไปมาหาสู่กันโดยใช้ทะเลเป็นเส้นทางเดินเรือ
สายหลักท่ีเชื่อมภาคใต้และภาคตะวันออกของทวีปเอเชียกับทวีปยุโรป ทวีปอเมริกาเหนือ และทวีปออสเตรเลีย
จากภาคใต้ของทวปี เอเชยี มีเส้นทางเดินเรอื ไปยังทวปี ยุโรป

โดยผ่านทางช่องแคบมะละกา (The Strait of Malacca) คลองสุเอซ (Suez Canal) โดยมีเมืองท่าต่าง ๆ
ที่ตั้ งอยู่ ในเส้นทาง ได้แก่ - เจนไน (Chennai) - โคลัมโบ (Colombo) - มุมไบ (Mumbai) - การาจี (Karachi) - เอ
เดน (Aden) - สเุ อซ (Suez) - พอร์ตซาอดิ (Port Said)

ส่วนการติดต่อระหว่างภาคใต้ของ ทวีปเอเชียกับทวีปอเมริกาเหนือ มีเมืองท่าส้าคัญ อาทิ สิงคโปร์ โฮจิมินห์
ฮ่องกง และโยโกฮามา และช่องแคบมะละกา ท่ีนับเป็นเส้นทางเดินเรือ ส้าคัญเช่ือมระหว่างมหาสมุทรอินเดียและ
มหาสมุทรแปซิฟกิ

เม่ือพิจารณาในมุมมองจากลักษณะทางภูมิศาสตร์ทางทะเลของภูมิภาคเอเชีย ที่มีขอบแผ่นดินเชื่อมต่อกับ
ทะเลและมหาสมุทรท่ียาวและกว้างขวาง รวมทั้ งมีแผ่นดิน และเกาะแก่งอยู่อย่างมากมาย ท้าให้ชาวเอเชียรู้จักและ
แสวงหาประโยชน์จากทะเล มาตั้ งแต่อดีต ท้ั งที่ใช้เป็นเส้นทางคมนาคมขนส่ง การติดต่อค้าขาย และการประมง
รวมถึงการเชือ่ มความสมั พันธท์ างการเมอื งและการเผยแพรล่ ัทธิและศาสนาดว้ ย

ทม่ี า : หนงั สือ ทะเลและมหาสมุทร และผลประโยชนข์ องชาตทิ างทะเล
โดย คณะอนุกรรมการจัดการความรู้เพือ่ ผลประโยชนแ์ ห่งชาติทางทะเล (อจชล.)

สานักงานสภาความม่ันคงแหง่ ชาติ (สมช.) สานกั นายกรัฐมนตรี

28

เร่อื งที่ 3 ลักษณะภูมศิ าสตร์ทางทะเลของไทย

พกิ ดั ทางภูมิศาสตรข์ องทะเลไทย
ประเทศไทยตั้งอยู่ในภมู ภิ าคเอเชยี – แปซฟิ กิ และเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ ระหว่างลองตจิ ดู

97 องศาตะวันออก กับ 106 องศาตะวันออก และละติจูด 5 องศาเหนือ กับ 21 องศาเหนือ นับเป็นรัฐชายฝั่ง
(Coastal State) และรัฐช่องแคบ (Strait State) ท่ีต้ังอยู่ในคาบสมุทรอินโดจีน โดยมีชายฝ่ังทะเล แยกเป็น 2 ด้าน
คือ ด้านตะวันออก ได้แก่ อ่าวไทย ส่วนด้านตะวันตก ประกอบด้วยทะเลอันดามันและช่องแคบมะละกา ท้าให้
ประเทศไทย มีเส้นทางออกสู่ 2 มหาสมุทร คือ มหาสมทุ รแปซฟิ ิก และมหาสมทุ รอนิ เดีย

ทม่ี า : หนงั สือ ทะเลและมหาสมทุ ร และผลประโยชนข์ องชาติทางทะเล
โดย คณะอนกุ รรมการจดั การความรู้เพือ่ ผลประโยชน์แหง่ ชาติทางทะเล (อจชล.)

สานักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) สานกั นายกรฐั มนตรี

29

พ้ืนทแี่ ละอาณาเขตตดิ ต่อทางทะเลของไทย

ในส่วนพน้ื ท่ีทางทะเล ซึ่งอา้ นาจ อธิปไตยและสิทธิอธิปไตยขยายต่อออกไป จากอาณาเขตพนื้ ดินน้ัน
ฝ่ังทะเลด้านอ่าวไทยมีพ้ืนท่ีท่ีไทยอ้างสิทธิตามกฎหมายระหว่างประเทศ ประมาณ 202,676.204 ตารางกิโลเมตร
ยาวประมาณ 2,128.84 กิโลเมตร หรือ 1,149.48 ไมล์ทะเล ส่วนฝั่งตะวันตกหรือท่ีเรียกกันว่าฝ่ังอันดามัน มีพื้นที่
ท่ีไทยอ้างสิทธิตามกฎหมายระหว่างประเทศ ประมาณ 120,812.120 ตารางกิโลเมตร ยาวประมาณ 1,064.6
กิโลเมตร หรือ 574.84 ไมลท์ ะเล

รวมประเทศไทยมีพื้นท่ีทางทะเล ที่ไทยอ้างสิทธิตามกฎหมายระหว่างประเทศ ประมาณ
323,488.324 ตารางกิโลเมตร มีชายฝั่งยาว รวมท้ังสิ้น 3,193.44 กิโลเมตร หรือ 1,724.32 ไมล์ทะเล ลักษณะ
พื้นท้องทะเลอ่าวไทย เป็นโคลนปนทราย มีความลึกเฉลี่ย ประมาณ 40 เมตร และ มีความลึก สูงสุดประมาณ
80 เมตร ส่วนทะเลดา้ นตะวันตกมลี ักษณะโดยทัว่ ไป เป็นทรายและทรายปนโคลน ความลึกนา้ เฉลี่ยประมาณ 1,000
เมตร และมี ความลึกสูงสุดประมาณ 3,000 เมตร ท้ังนี้ พ้ืนที่ทางทะเลท่ีไทยและประเทศเพ่ือนบ้านต่างมีสิทธิตาม
กฎหมายระหว่างประเทศและอา้ งสทิ ธิทับซ้อนกนั จะตอ้ งมีการเจรจาตกลงแบง่ เขตทางทะเลกนั ต่อไป

จากต้าแหน่งทีต่ ั้งทางภูมิศาสตร์ ถือวา่ ประเทศไทย ตงั้ อยู่ในพน้ื ท่ีที่เปน็ ทะเลปิดหรือกง่ึ ปิด
(Enclosed or Semi - Enclosed Sea) กล่าวคือ ด้านอ่าวไทยถ้าวัดจากชายฝั่งตะวันตกของอ่าวไทยที่โกตาบารู
ถึงปลายแหลมญวนหรือแหลมกาเมา มคี วามกวา้ ง ประมาณ 381 กโิ ลเมตร หรอื 206 ไมลท์ ะเล

มีประเทศท่ีมีอาณาเขตติดกับ อ่าวไทยด้านนอก 3 ประเทศ คือ กัมพูชา เวียดนาม และ
มาเลเซยี ท้าให้ เกิดพ้ืนทเี่ หลอ่ื มทับ ไทย – กัมพชู า 34,034.065 ตารางกโิ ลเมตร

ด้านทะเลอันดามันมีความกว้างประมาณ 611 กิโลเมตร หรือ 330 ไมล์ทะเล วัดจาก
ชายฝั่งด้านทะเลอันดามันถึงหมู่เกาะนิโคบาร์ของอินเดีย ประเทศที่มีอาณาเขตติดต่อ กับทะเลด้านตะวันตกของ
ประเทศไทย 4 ประเทศ คอื เมยี นมา อินเดยี อินโดนเี ซีย และ มาเลเซยี

พื้นท่ีทางทะเลของประเทศไทย มีส่วนที่อยู่ในช่องแคบมะละกา ด้านท่ีติดกับมหาสมุทร
อินเดีย โดยขอบช่องแคบท่ีประชิดขอบฝ่งั ของ ประเทศไทยนับจากแหลมพรหมเทพ จังหวัดภูเก็ต ไปจนถึงจังหวัด
สตลู มีความยาวขอบฝง่ั ช่องแคบนับไดป้ ระมาณ 294 กโิ ลเมตร หรอื 158.9 ไมล์ทะเล รวมเป็นพ้นื ที่ประมาณ 32,000
ตารางกโิ ลเมตร จากพนื้ ที่ ทางทะเลด้านตะวันตกทั้งหมด 120,812.12 ตารางกโิ ลเมตร

ดังนั้น ไทยจึงมีสถานะเป็นหนึ่งในรัฐเจ้าของช่องแคบมะละกา หรือรัฐชายฝ่ังช่องแคบมะ
ละกา (The littoral states/coastal states of the Strait of Malacca) ด้วย แต่พื้นที่ของช่องแคบมะละกาใน
บริเวณนี้ มีความกว้างมากกว่า 370 กิโลเมตร หรือ 200 ไมล์ทะเล ท้าให้เส้นทางเดินเรือในช่องแคบมะละกาอยู่ใน
พืน้ ท่ีริมนอกของเขตเศรษฐกิจจา้ เพาะของไทย และการเดินเรอื ไมจ่ ้าเป็นต้องเข้ามาในพ้ืนที่ทะเลอาณาเขต และเขต
ต่อเนื่อง ท่ีเป็นพ้ืนที่อธิปไตยของไทย ซึ่งท้าให้ไทยไม่มีอ้านาจทางกฎหมายในการควบคุมการเดินเรือผ่านเข้า
ออกในช่องทางเดินเรือของช่องแคบมะละกา ในส่วนน้ี ยกเว้นการส้ารวจ แสวงประโยชน์ และการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ ท้ังที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตบนและใต้ท้องทะเล ตามเขตอ้านาจรัฐชายฝั่ง เหนือเขตเศรษฐกิจ
จ้าเพาะ ส่วนกิจกรรมอ่ืน นอกจากนี้ จะไม่ตกอยู่ภายใต้สิทธิอธิปไตยของรัฐชายฝ่ัง อาทิ การเดินเรือผ่าน หรือ
การบนิ ผา่ น

30

ภูมศิ าสตร์ทางทะเลในท้องถน่ิ ตนเอง

จังหวัดชายทะเล มี 23 จังหวัด ดังน้ี
ภาคตะวนั ออก (อา่ วไทยฝั่งตะวันออก)

1. ตราด
2. จนั ทบรุ ี
3. ระยอง
4. ชลบรุ ี
5. ฉะเชงิ เทรา*
จังหวดั ฉะเชิงเทรา : อย่ใู นเขตอา่ วไทยตอนใน/ตอนบน
ภาคกลาง (อา่ วไทยตอนใน/อา่ วไทยตอนบน)
1. สมทุ รปราการ
2. กรงุ เทพมหานคร
3. สมุทรสาคร
4. สมทุ รสงคราม
5. เพชรบรุ ี
6. ประจวบครี ีขนั ธ์*

จงั หวดั ประจวบครี ขี ันธ์ : อยู่ในเขตอ่าวไทยตอนล่าง/ฝงั่ ตะวนั ตก
ภาคใต้ (อา่ วไทยตอนล่าง/ฝัง่ ตะวันตก)

1. ชมุ พร
2. สุราษฎร์ธานี
3. นครศรีธรรมราช
4. สงขลา
5. ปตั ตานี
6. นราธวิ าส

ภาคใต้ (ทะเลอันดามัน)
1. ระนอง
2. พงั งา
3. ภูเก็ต
4. กระบ่ี
5. ตรงั
6. สตลู

31

ท่ีมา : ข้อมลู จังหวัดทางทะเล
http://www.mkh.in.th/index.php?option=com_content&view=article&id=124&Itemid

32

ลักษณะภมู ศิ าสตรท์ างทะเลรายจงั หวัด (ใหผ้ ู้สอนใสเ่ น้ือหาตามบริบทของพื้นทใี่ นจังหวัดของตนเอง)

ภาคตะวันออก (อ่าวไทยฝ่ังตะวันออก)

ที่ จงั หวดั พื้นท่ีตาบลในเขตชายฝั่ง(ไร)่ พ้นื ท่ีในทะเล (ไร)่ รวม (ไร่)
5,038,101
1 ตราด 1,150,992 3,887,110 1,974,418
2,211,331
2 จันทบรุ ี 615,878 1,358,541 3,887,655
374,450
3 ระยอง 643,999 1,567,332

4 ชลบรุ ี 484,430 3,403,225

5 ฉะเชิงเทรา* 255,716 118,734

จังหวดั ฉะเชงิ เทรา : อยใู่ นเขตอ่าวไทยตอนใน/ตอนบน

ภาคกลาง (อ่าวไทยตอนใน/อา่ วไทยตอนบน)

ที่ จังหวัด พื้นท่ีตาบลในเขตชายฝ่ัง(ไร่) พน้ื ท่ีในทะเล (ไร)่ รวม (ไร)่
750,761 954,543
1 สมทุ รปราการ 203,782 46,707 136,030
604,390 933,602
2 กรุงเทพมหานคร 89,324 141,646 297,955

3 สมทุ รสาคร 329,212 1,907,326 2,239,144
3,704,659 5,014,140
4 สมทุ รสงคราม 156,309

5 เพชรบรุ ี 331,818

6 ประจวบครี ีขันธ์* 1,309,481

จังหวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ : อยใู่ นเขตอ่าวไทยตอนลา่ ง/ฝงั่ ตะวนั ตก

ภาคใต้ (อา่ วไทยตอนลา่ ง/ฝ่ังตะวันตก)

ที่ จงั หวดั พื้นทต่ี าบลในเขตชายฝั่ง(ไร่) พ้ืนท่ใี นทะเล (ไร่) รวม (ไร่)
4,810,569 5,937,097
1 ชุมพร 1,126,528 5,626,815 6,596,962
7,864,986 8,793,211
2 สุราษฎรธ์ านี 970,146 6,046,829 7,061,444
8,061,272 8,341,115
3 นครศรีธรรมราช 928,225 1,466,602 1,706,359

4 สงขลา 1,014,615

5 ปตั ตานี 279,842

6 นราธิวาส 239,757

33

ภาคใต้ (ทะเลอันดามนั )

ท่ี จังหวดั พน้ื ท่ีตาบลในเขตชายฝั่ง(ไร)่ พ้นื ที่ในทะเล (ไร)่ รวม (ไร)่

1 ระนอง 1,408,869 1,531,450 2,940,319

2 พังงา 1,610,663 7,227,097 8,837,760

3 ภเู ก็ต 341,943 2,247,543 2,589,486

4 กระบี่ 1,467,990 3,097,917 4,565,907

5 ตรงั 1,108,672 1,862,299 2,970,972

6 สตูล 1,028,800 3,440,499 4,469,299

ทม่ี ำ : กรมทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝ่งั กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละสิง่ แวดล้อม

ลกั ษณะทางภูมิศาสตรจ์ งั หวัดตราด

จงั หวดั ตราดมีตา้ แหน่งทางภูมศิ าสตร์อยู่ในเขตภาคตะวันออกของประเทศไทย ตามการแบง่ ภูมภิ าค

ประเทศไทย โดยใช้เกณฑ์ด้านภูมิศาสตร์ของราชบัณฑิตยสถาน ซึ่งจากการค้านวณเนื้อท่ีด้วยระบบสารสนเทศ

ภูมิศาสตร์ พบว่า จังหวัดตราด มีเนื้อท่ี 2,885.65 ตารางกิโลเมตร หรือ 1,803,531 ไร่ ตั้งอยู่ระหว่าง พิกัดเหนือ

1,279,190 เมตร ถึง 1,411,620 เมตร หรือ ละติจูด 11 องศา 33 ลิปดา 42 พิลิปดา ถึง 12 องศา 45 ลิปดา 27

พิลิปดา และ พิกดั ตะวันออก 200,080 เมตร ถึง 272,750 เมตร หรือ ลองจิจูด 102 องศา 14 ลิปดา 39 พิลิปดา ถึง

102 องศา 54 ลปิ ดา 56 พลิ ิปดา

โดยมอี าณาเขตตดิ ต่อกบั จังหวัดใกล้เคยี ง ดงั น้ี

ทศิ เหนอื ตดิ ต่อกบั อา้ เภอโป่งน้าร้อน จังหวดั จันทบรุ ี

ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ่ กบั ราชอาณาจกั รกมั พูชา

ทศิ ตะวันตก ตดิ ตอ่ กบั อ่าวไทย และอ้าเภอขลุง จังหวดั จันทบรุ ี

ทิศใต้ ตดิ ต่อกับ อ่าวไทย

ลกั ษณะทางภมู ศิ าสตร์จังหวัดจนั ทบุรี
จงั หวัดจนั ทบรุ ี มีท่ีต้ังทางภูมิศาสตร์อยู่ภาคตะวันออกของประเทศไทย ตามการแบ่งภมู ิภาคประเทศ

ไทยอย่างเป็นทางการของราชบัณฑิตยสถาน โดยใช้เกณฑ์ด้านภูมิศาสตร์ ซ่ึงจากการค้านวณเน้ือที่ด้วยระบบ
สารสนเทศภูมิศาสตร์ พบวา่ จังหวัดจันทบุรี มีเนื้อที่ 6,412.46 ตารางกิโลเมตร หรือ 4,007,788 ไร่ ตั้งอยู่ระหว่าง
พิกัดเหนือ 1,359,680 เมตร ถึง 1,476,050 เมตร หรือ ละติจูด 12 องศา 17 ลิปดา 09 พิลิปดา ถึง 13 องศา 20
ลิปดา 02 พิลิปดา และพิกัดตะวันออก 140,560 เมตร ถึง 232,520 เมตร หรือ ลองจิจูด 101 องศา 41 ลิปดา 08
พลิ ปิ ดา ถึง 102 องศา 32 ลิปดา 10 พลิ ปิ ดา

โดยมีอาณาเขตตดิ ต่อ กบั จังหวดั ใกลเ้ คียง ดงั น้ี
ทศิ เหนือ ติดตอ่ กบั อ้าเภอท่าตะเกียบ จงั หวดั ฉะเชิงเทรา อา้ เภอวงั สมบรู ณ์ และอา้ เภอคลองหาด
จงั หวัดสระแก้ว
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อ้าเภอบอ่ ไร่ และอา้ เภอเขาสมงิ จังหวดั ตราด และราชอาณาจักรกมั พูชา
ทิศใต้ ตดิ ต่อกบั อ้าเภอแหลมงอบ จงั หวัดตราด และอา่ วไทย
ทิศตะวันตก ติดตอ่ กบั อา้ เภอบ่อทอง จังหวดั ชลบรุ ี อ้าเภอเขาชะเมา และอา้ เภอแกลง จงั หวัด

34

ลกั ษณะทางภมู ศิ าสตร์จังหวัดระยอง
จงั หวัดระยองมตี า้ แหน่งทางภูมิศาสตรใ์ นเขตภาคตะวันออกของประเทศไทย ตามการแบง่ ภมู ภิ าค

ประเทศไทยโดยใช้เกณฑ์ด้านภูมิศาสตร์ ของราชบัณฑิตยสถาน ซึ่งจากการค้านวณเนื้อท่ีด้วยระบบสารสนเทศ
ภูมิศาสตร์ พบว่าจังหวัดระยอง มีเน้ือที่ 3,671.48 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,294,675 ไร่ ต้ังอยู่ระหว่าง พิกัดเหนือ
1,383,450 เมตร ถึง 1,456,730 เมตร หรือ ละติจูด 12 องศา 30 ลิปดา 12 พิลิปดา ถึง 13 องศา 09 ลิปดา 48
พลิ ิปดา และ พิกดั ตะวันออก 715,500 เมตร ถึง 807,270 เมตร หรือ ลองจิจูด 100 องศา 59 ลิปดา 04 พิลิปดา ถึง
101 องศา 49 ลิปดา 50 พลิ ิปดา

โดยมีอาณาเขตติดตอ่ กับจงั หวัดใกลเ้ คยี ง ดังนี้
ทิศเหนอื ตดิ ตอ่ กบั อ้าเภอศรีราชา อ้าเภอหนองใหญ่ และอา้ เภอบ่อทอง จงั หวัดชลบรุ ี
ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกับ อา่ วไทย
ทศิ ตะวันออก ตดิ ต่อกับ อ้าเภอแกง่ หางแมว และอ้าเภอนายายอาม จังหวัดจนั ทบรุ ี
ทศิ ตะวันตก ตดิ ตอ่ กบั อ้าเภอบางละมุง และอ้าเภอสตั หีบ จังหวัดชลบุรี

ลักษณะทางภูมศิ าสตรจ์ งั หวัดชลบุรี
จังหวัดชลบุรีมีตา้ แหน่งทางภูมศิ าสตรใ์ นเขตภาคตะวันออกของประเทศไทย ตามการแบ่งภมู ภิ าค

ประเทศไทยโดยใช้เกณฑ์ด้านภูมิศาสตร์ของราชบัณฑิตยสถาน ซ่ึงจากการค้านวณเน้ือที่ด้วยระบบสารสนเทศ
ภูมิศาสตร์ พบว่า จังหวัดชลบุรี มีเน้ือที่ 4,524.75 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,827,969 ไร่ ต้ังอยู่ระหว่าง พิกัดเหนือ
1,383,540 เมตร ถึง 1,503,360 เมตร หรือ ละติจูด 12 องศา 30 ลิปดา 30 พิลิปดา ถึง 13 องศา 35 ลิปดา 23
พิลิปดา และ พิกัดตะวันออก 678,650 เมตร ถึง 794,690 เมตร หรือ ลองจิจูด 100 องศา 38 ลิปดา 49 พิลิปดา
ถงึ 101 องศา 43 ลิปดา 07 พิลิปดา

โดยมอี าณาเขตติดตอ่ กบั จังหวดั ใกลเ้ คียง ดงั นี้
ทิศเหนอื ตดิ ตอ่ กบั อา้ เภอบางปะกง อา้ เภอบา้ นโพธ์ิ และอา้ เภอแปลงยาว จังหวดั ฉะเชิงเทรา
ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กับ อา้ เภอเขาชะเมา อา้ เภอวังจันทร์ อา้ เภอปลวกแดง อา้ เภอนคิ มพฒั นา
และอา้ เภอบ้านฉาง จังหวดั ระยอง
ทิศตะวนั ออก ติดตอ่ กบั อ้าเภอท่าตะเกียบ จังหวดั ฉะเชิงเทรา อ้าเภอแก่งหางแมว จังหวดั จนั ทบุรี
ทิศตะวนั ตก ติดต่อกบั อ่าวไทย

ลกั ษณะทางภมู ิศาสตร์จงั หวัดฉะเชิงเทรา
จงั หวัดฉะเชิงเทรา มีต้าแหน่งทางภมู ิศาสตร์ในเขตภาคตะวนั ออกของ ประเทศไทย ตามการแบง่

ภมู ิภาคประเทศไทยโดยใช้เกณฑ์ดา้ นภูมศิ าสตร์ ของราชบัณฑิตยสถาน ซงึ่ จากการค้านวณเน้ือที่ด้วยระบบสารสนเทศ
ภูมิศาสตร์ พบว่าจังหวดั ฉะเชงิ เทรา มีเนื้อท่ี 5,168.60 ตารางกิโลเมตร หรือ 3,230,375 ไร่ ต้ังอยู่ระหวา่ ง พกิ ัดเหนือ
1,458,480 เมตร ถึง 1,546,070 เมตร หรือ ละติจูด 13 องศา 10 ลิปดา 42 พิลิปดา ถึง 13 องศา 58 ลิปดา 35
พลิ ิปดา และ พิกัดตะวนั ออก 700,120 เมตร ถึง 823,920 เมตร หรือ ลองจิจูด 100 องศา 50 ลิปดา 55 พิลิปดา ถึง
101 องศา 59 ลปิ ดา 24 พิลปิ ดา

โดยมีอาณาเขตตดิ ตอ่ กับจงั หวัดใกลเ้ คยี ง ดงั นี้

35

ทศิ เหนือ ติดตอ่ กับ อ้าเภอองครักษ์ จังหวดั นครนายก อา้ เภอบา้ นสร้าง อา้ เภอศรีมโหสถ
อ้าเภอศรมี หาโพธิ และอา้ เภอกบินทรบ์ รุ ี จงั หวัดปราจนี บรุ ี

ทิศใต้ ตดิ ต่อกับ อา้ เภอเมอื ง อา้ เภอพานทอง อ้าเภอพนัสนคิ ม อ้าเภอเกาะจันทร์ อ้าเภอบ่อทอง
จังหวัดชลบรุ ี อา้ เภอแกง่ หางแมว จงั หวดั จันทบรุ ี อา่ วไทย

ทิศตะวันออก ตดิ ต่อกบั อ้าเภอวงั สมบูรณ์ อา้ เภอวังน้าเย็น และอา้ เภอเขาฉกรรจ์ จงั หวัดสระแกว้
ทศิ ตะวันตก ติดต่อกับ อา้ เภอลา้ ลูกกา จงั หวดั ปทมุ ธานี เขตหนองจอก เขตลาดกระบงั
กรงุ เทพมหานคร อ้าเภอบางบอ่ จังหวดั สมุทรปราการ
ลกั ษณะทางภูมศิ าสตรจ์ ังหวัดสมทุ รปราการ
จงั หวดั สมุทรปราการ มตี ้าแหนง่ ทางภูมศิ าสตรใ์ นเขตภาคกลาง ของประเทศไทย ตามการแบ่ง
ภูมิภาคประเทศไทยโดยใช้เกณฑ์ด้านภูมิศาสตร์ของราชบัณฑิตยสถาน ซึ่งจากการค้านวณเน้ือที่ด้วยระบบสารสนเทศ
ภูมิศาสตร์ พบว่าจังหวัดสมุทรปราการ มีเนื้อที่ 956.49 ตารางกิโลเมตร หรือ 597,806 ไร่ ต้ังอยู่ระหว่าง พิกัดเหนือ
1,490,930 เมตร ถึง 1,517,250 เมตร หรือ ละติจูด 13 องศา 28 ลิปดา 47 พิลิปดา ถึง 13 องศา 43 ลิปดา 06
พลิ ิปดา และ พิกัดตะวนั ออก 656,300 เมตร ถึง 712,300 เมตร หรือ ลองจิจูด 100 องศา 26 ลิปดา 40 พิลิปดา ถึง
100 องศา 57 ลปิ ดา 45 พิลปิ ดา
โดยมีอาณาเขตติดตอ่ กับจังหวดั ใกล้เคียง ดงั นี้
ทิศเหนอื ติดตอ่ กบั เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตพระโขนง เขตบางนา เขตประเวศ และเขต
ลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร อา้ เภอเมือง จังหวดั ฉะเชิงเทรา
ทิศใต้ ติดตอ่ กบั อ่าวไทย
ทศิ ตะวันออก ตดิ ต่อกับ อ้าเภอบ้านโพธิ์ และอา้ เภอบางประกง จงั หวัดฉะเชิงเทรา
ทศิ ตะวันตก ติดตอ่ กบั เขตราษฎร์บูรณะ เขตท่งุ ครุ และเขตบางขนุ เทยี น กรุงเทพมหานคร
ลักษณะทางภูมศิ าสตร์กรุงเทพมหานคร
กรงุ เทพมหานคร มตี ้าแหน่งทางภมู ศิ าสตร์ในเขตภาคกลางของ ประเทศไทย ตามการแบง่ ภมู ิภาค
ประเทศไทยโดยใช้เกณฑ์ด้านภูมิศาสตร์ของราชบัณฑิตยสถาน ซึ่งจากการค้านวณเนื้อท่ีด้วยระบบสารสนเทศ
ภูมิศาสตร์ พบว่า กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 1,570.61 ตารางกิโลเมตร หรือ 981,631 ไร่ ตั้งอยู่ระหว่าง พิกัดเหนือ
1,492,000 เมตร ถึง 1,543,260 เมตร หรือ ละติจูด 13 องศา 29 ลิปดา 32 พิลิปดา ถึง 13 องศา 57 ลิปดา 16
พิลิปดา และ พิกดั ตะวนั ออก 643,530 เมตร ถึง 709,550 เมตร หรือ ลองจิจูด 100 องศา 19 ลิปดา 40 พิลิปดา ถึง
100 องศา 56 ลปิ ดา 19 พลิ ิปดา
โดยมีอาณาเขตติดตอ่ กับจงั หวดั ใกลเ้ คยี ง ดงั น้ี
ทิศเหนือ ตดิ ตอ่ กบั อ้าเภอบางกรวย อ้าเภอเมือง และอ้าเภอปากเกร็ด จงั หวดั นนทบุรี อา้ เภอเมอื ง
และอ้าเภอลา้ ลกู กา จงั หวัดปทมุ ธานี
ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กับ อ่าวไทย อ้าเภอพระสมุทรเจดีย์ อ้าเภอพระประแดง อ้าเภอเมอื ง อา้ เภอบางพลี
อา้ เภอบางเสาธง และอ้าเภอบางบอ่ จงั หวดั สมทุ รปราการ
ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ่ กบั อ้าเภอบางน้าเปรยี้ ว และอ้าเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา
ทิศตะวนั ตก ติดต่อกบั อา้ เภอพทุ ธมณฑล และอ้าเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
อ้าเภอกระทุ่มแบน และอา้ เภอเมือง จงั หวัดสมุทรสาคร

36

ลักษณะทางภูมิศาสตร์จงั หวัดสมทุ รสาคร
จงั หวดั สมทุ รสาครเปน็ จงั หวัดชายทะเลอา่ วไทย มแี ม่น้าทา่ จีนผา่ กลางจงั หวดั เป็นจังหวัดในเขต

พ้ืนที่ภาคกลางตอนล่างของประเทศไทยประมาณเส้นรุ้งท่ี 130 องศาเหนือ และเส้นแวงท่ี 100 องศาตะวันออก เป็น
จังหวัดปริมณฑล มีพื้นที่ติดกับเขตหนองแขม เขตบางบอน และเขตบางขุนเทียนของกรุงเทพมหานคร มีพื้นที่
872.347 ตารางกโิ ลเมตร

โดยมอี าณาเขตติดตอ่ กบั จงั หวัดใกลเ้ คยี ง ดังนี้
ทิศเหนือ ติดกบั อ้าเภอสามพราน (จงั หวัดนครปฐม)
ทศิ ตะวันออก ตดิ กบั เขตหนองแขม เขตบางบอน และเขตบางขนุ เทยี น (กรุงเทพมหานคร)
ทิศใต้ ติดกับอา่ วไทย
ทศิ ตะวันตก ติดกบั อ้าเภอบางแพ อา้ เภอด้าเนนิ สะดวก (จังหวดั ราชบุร)ี และอ้าเภอเมอื ง
สมุทรสงคราม (จังหวัดสมทุ รสงคราม)
ลกั ษณะทางภูมศิ าสตร์จงั หวัดสมทุ รสงคราม
สมุทรสงคราม เป็นจงั หวัดในภาคกลาง (หน่วยงานบางแหง่ ถือเป็นส่วนหนง่ึ ของภาค ตะวันตก) มี
ขนาดพ้ืนที่เลก็ ที่สุดของประเทศ คอื ประมาณ 416.7 ตารางกโิ ลเมตร อาณาเขต
โดยมอี าณาเขตติดต่อ กับจังหวัดใกลเ้ คียง ดงั นี้
ทศิ เหนือ ติดจังหวัดราชบุรีและจังหวัดสมุทรสาคร
ทิศใต้ตดิ ทะเลอ่าวไทย และจังหวดั เพชรบรุ ี
ทศิ ตะวันออก ติดจังหวัดสมุทรสาคร
ทศิ ตะวันตก ติดจังหวดั เพชรบรุ แี ละจงั หวดราชบุรี
ลักษณะทางภูมิศาสตร์จังหวัดเพชรบรุ ี
จงั หวัดเพชรบุรีมเี น้ือทปี่ ระมาณ 6,225.138 ตารางกโิ ลเมตรหรือ 3,890,711 ไร ต้ังอยู่ทางตอนใต้
ของภาคกลาง
โดยมอี าณาเขตติดต่อ กบั จังหวัดใกลเ้ คยี ง ดังน้ี
ทศิ เหนือ ตดิ กบั อา้ เภอปากทอ จงั หวดั ราชบรุ ี และอา้ เภออัมพวา จังหวดั สมทุ รสงคราม
ทศิ ใตต้ ดิ กบั อา้ เภอหวั หนิ จงั หวดประจวบคีรขี นธ
ทิศตะวนั ออก ติดกับอาวไทย
ทศิ ตะวันตก ตดิ กับสาธารณรฐั สังคมนยิ มแหงสหภาพเมยี นมาร (พมา)
ลกั ษณะทางภมู ศิ าสตร์จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์
จังหวดั ประจวบคีรขี ันธ เปนจังหวัดหนึ่งใน 25 จังหวัดภาคกลางของประเทศไทยอยู ระหวางเสนรุ้ง
ที่ 12 องศา 31 ลิบดาเหนือ เสนแวงท่ี 99 องศา 9 ลิบดาตะวันออก กับ 100 องศา 1 ลิปดา ตะวันออก ความยาว
จากทิศเหนือจดทิศใตประมาณ 212 กิโลเมตร และชายฝงทะเลยาวประมาณ 224.8 กิโลเมตร มีสวนแคบที่สุดของ
ประเทศอยูในเขตต้าบลคลองวาฬ อ้าเภอเมือง จากอาวไทยถึงเขตแดนพมา ประมาณ 12 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ
6,367.62 ตารางกโิ ลเมตรหรือประมาณ 3,979,762.50 ไร
โดยมอี าณาเขตติดตอ่ กบั จงั หวัดใกลเ้ คยี ง ดังนี้
ทิศเหนือ ติดตอกับอา้ เภอชะอา้ อ้าเภอทายาง และอา้ เภอแกงกระจาน จังหวดั เพชรบุรี
ทศิ ใต้ ติดต่อกบั อ้าเภอปะทวิ และอ้าเภอทาแซะ จังหวัดชมุ พร

37

ทิศตะวันออก ติดกบั อาวไทย
ทิศตะวันตก ตดิ กบั สาธารณรฐั สงั คมนิยมแหงสหภาพเมยี นมาร (พมา)
ลกั ษณะทางภูมิศาสตรจ์ งั หวัดชุมพร
จังหวัดชุมพรต้ังอย่ตู อนบนสุดของภาคใต้ระหวา่ งเสน้ ละตจิ ดู ท่ี 10 องศา 29 ลิปดาเหนอื และเส้น
ลองติจูด ท่ี 99 องศา 11 ลิปดาตะวนั ออก อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 463 กิโลเมตร มีพ้ืนท่ี3.75 ล้านไร่
หรือ 6,010.849 ตารางกิโลเมตร ซ่ึงมากเปน็ อนั ดับ 4 ของภาคใต้
โดยมีอาณาเขตติดตอ่ กบั จังหวดั ใกล้เคยี ง ดงั นี้
ทศิ เหนือ ติดตอ่ กบั จังหวดั ประจวบครี ขี ันธ์
ทิศใตต้ ิดตอ่ กบั จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี
ทศิ ตะวนั ออก ติดต่อกบั อา่ วไทย
ทศิ ตะวันตก ตดิ ตอ่ กบั จังหวัดระนอง และสาธารณรัฐสงั คมนยิ มแหงสหภาพเมยี นมาร (พมา)
ลักษณะทางภูมศิ าสตรจ์ ังหวัดสรุ าษฎร์ธานี
จังหวัดสุราษฎร์ธานี ต้ังอยฝู่ ่ังตะวันออกของภาคใต้อยู่ระหวา่ งละตจิ ดู ที่ 9 องศา 7 ลปิ ดาเหนอื และ
ลองจิจูด 99 องศา 21 ลิปดาตะวันออก มีชายฝงั่ ยาวประมาณ 156 กโิ ลเมตร โดยมเี กาะทอ่ี ยู่ภายใต้เขตการปกครอง
ของจังหวัดได้แก่ เกาะสมุย เกาะพะงัน และหมู่เกาะอ่างทองและยังมีเกาะน้อยใหญ่อีกมากมาย จึงได้ช่ือว่า
เมอื งร้อยเกาะ หา่ งจากกรุงเทพมหานครไปทางทศิ ใต้ 651 กโิ ลเมตร
โดยมีอาณาเขตตดิ ต่อ กับจังหวัดใกลเ้ คยี ง ดังน้ี
ทิศเหนือ ติดตอ่ กบั จงั หวดั ระนอง จงั หวดั ชมุ พรและอ่าวไทย
ทิศใต้ ติดต่อกับ จังหวดั กระบี่และจงั หวัดนครศรีธรรมราช
ทิศตะวนั ออก ตดิ ต่อกบั จังหวัดนครศรีธรรมราชและอ่าวไทย
ทิศตะวันตก ตดิ ต่อกบั จงั หวัดพังงา
ลกั ษณะทางภมู ศิ าสตร์จังหวัดนครศรีธรรมราช
จงั หวดั นครศรีธรรมราชตั้งอยู่ทางภาคใตต้ อนกลาง ระหวางเสนละตจิ ดู ท่ี 8 องศา ถงึ 10 องศา
เหนือ และเสนลองตจิ ดู ท่ี 99 องศา 15 ลิปดา ถึง 100 องศา 5 ลิปดาตะวันออก มีพื้นท่ี 9,942.502 ตารางกโิ ลเมตร
โดยมีอาณาเขตตดิ ตอ่ กบั จังหวัดใกล้เคียง ดังนี้
ทศิ เหนือ ติดตอกับ จังหวัดสรุ าษฎรธานี
ทิศใต ตดิ ตอกบั จงั หวัดสงขลา จงั หวดั พทั ลุง จงั หวดั ตรงั
ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ตอกบั อาวไทย มชี ายฝงทะเลยาว 225 กิโลเมตร
ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอกบั จงั หวัดสรุ าษฎรธานีและจงั หวัดกระบี่
ลกั ษณะทางภมู ิศาสตรจ์ งั หวัดสงขลา
จังหวดั สงขลาเปน็ จังหวัดชายทะเลตงั้ อย่ใู นภาคใตฝ้ งั ตะวนั ออก ที่ละตจิ ูด 7 องศา 12 ลิปดาเหนือ
ลองจิจูด 108 องศา 36 ลิปดาตะวันออก สูงจากระดับน้าทะเลเฉล่ีย 4 เมตร ห่างจากกรุงเทพฯ โดยทางรถไฟ 947
กิโลเมตร โดยทางรถยนต์ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 เลียบฝ่ังตะวันตกประมาณ 1,300 กิโลเมตร สายเลียบ
ฝ่ังตะวันออกประมาณ 1,125 กโิ ลเมตร และประมาณ 725 กิโลเมตรทางทะเล
โดยมีอาณาเขตตดิ ตอ่ กับจงั หวัดใกลเ้ คียง ดงั นี้

38

ทศิ เหนอื ตดิ ต่อกบั จงั หวัดนครศรีธรรมราชและพัทลงุ
ทิศตะวันออก ติดต่อกบั อา่ วไทยด้านทะเลจีน
ทิศใต้ ติดต่อกบั จังหวัดยะลา ปัตตานี และรัฐเคดาร์,เปอรล์ ิส ประเทศมาเลเซีย
ทิศตะวนั ตก ตดิ ต่อกับจังหวัดพัทลุงและสตูล
ลกั ษณะทางภูมิศาสตร์จงั หวัดปัตตานี
จงั หวัดปัตตานเี ปน็ จังหวดั ที่อย่ทู างภาคใตฝ้ ง่ั ตะวนั ออกของประเทศไทย มีพ้นื ทท่ี ้งั สน้ิ 2,013 ตาราง
กโิ ลเมตร อยหู่ า่ งจากกรงุ เทพมหานครโดยทางรถไฟ 1,009 กิโลเมตร โดยทางรถยนต์ประมาณ 1,377 กิโลเมตร
โดยมอี าณาเขตตดิ ตอ่ กับจงั หวัดใกลเ้ คียง ดงั น้ี
ทศิ เหนอื ตดิ ตอ่ จังหวดั สงขลา ในทอ้ งทอ่ี า้ เภอเทพา
ทศิ ใต้ ตดิ ต่อจงั หวดั นราธวิ าส ในทอ้ งท่อี ้าเภอบาเจาะ
ทศิ ตะวนั ออก ติดต่อกบั อา่ วไทย
ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ต่อจงั หวัดยะลา ในท้องท่ีอา้ เภอยะลา
ลกั ษณะทางภูมิศาสตรจ์ ังหวัดนราธิวาส
จังหวัดนราธิวาส มีพื้นทป่ี ระมาณ 4,475,430 ตารางกโิ ลเมตร (2,797,144 ไร่) คดิ เป็น
ร้อยละ 6.22 ของพ้ืนท่ีภาคใต้และนับว่ามีพื้นที่มากเป็นอันดับที่ 8 ของภาคใต้ เป็นจังหวัดชายแดนใต้สุด ซึ่งตั้งอยู่บน
ฝั่งทะเลด้านตะวันออกของแหลมมลายูมีพ้ืนที่อยู่ระหว่างประมาณเส้นรุ้งท่ี 5 องศา 45 ลิบดาเหนือ ถึงเส้นรุ้ง
ท่ี 6 องศา 37 ลิบดาเหนอื และเส้นแวงที่ 101 องศา 23 ลบิ ดาตะวนั ออกถงึ เสน้ แวงที่ 102 องศา 05 ลิบดาตะวนั ออก
โดยมอี าณาเขตติดต่อ กับจังหวัดใกล้เคยี ง ดังน้ี
ทศิ เหนอื ติดจังหวัดปตั ตานีและอา่ วไทย
ทศิ ตะวนั ออก ติดอ่าวไทยและรัฐกลนั ตนั ประเทศมาเลเซีย
ทศิ ใต้ ติดรฐั กลันตนั ประเทศมาเลเซยี
ทศิ ตะวันตก ตดิ จงั หวัดยะลา
ลักษณะทางภูมิศาสตรจ์ ังหวัดระนอง
จังหวัดระนองเปนจงั หวดั ภาคใตตอนบน มลี กั ษณะรปู รางเรียวยาวแคบ จากทิศเหนือสดุ จดใตสุด
ยาว 169 กิโลเมตร มีสวนท่ีกวางท่สี ุดประมาณ 25 กิโลเมตร และมีสวนท่ีแคบท่ีสุด 9 กิโลเมตร มีเน้ือที่ 3,298.045
ตารางกิโลเมตร หรือ 2,061,278 ไร เปนจังหวัดท่ีมีพ้ืนที่มากเปนอันดับที่ 60 ของประเทศไทย เปนพื้นที่ราบ 14%
และภเู ขา 86% มเี กาะใหญนอยในทะเลอันดามนั จา้ นวน 62 เกาะ
โดยมีอาณาเขตตดิ ต่อ กบั จงั หวดั ใกล้เคียง ดงั นี้
ทศิ เหนอื ติดตอกับ จังหวดั ชมุ พร
ทิศใต ตดิ ตอกับ จงั หวัดพงั งา ทศิ ตะวันออก
ตดิ ตอกับ จังหวัดชุมพร และจงั หวดั สรุ าษฎรธานี
ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอกบั ประเทศสาธารณรัฐสงั คมนยิ มแหงสหภาพพมา

39

ลักษณะทางภูมิศาสตร์จังหวัดพงั งา
จังหวัดพงั งาตง้ั อยูท่ างชายฝั่งทะเลด้านตะวนั ตกของภาคใต้ อยรู่ ะหว่างละติจูดท่ี 8 องศา 27 ลปิ ดา

52.3 ฟลิ ิปดาเหนือ และลองติจูดท่ี 98 องศา 32 ลิปดาตะวันออก หา่ งจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 788 กิโลเมตร
มพี ื้นที่ทงั้ หมด 4,170.895 ตารางกโิ ลเมตร หรอื ประมาณ 2,606,809 ไร่

โดยมอี าณาเขตตดิ ต่อ กบั จังหวดั ใกลเ้ คียง ดงั นี้
ทิศเหนอื ตดิ ตอ่ กบั จงั หวดั ระนอง
ทศิ ใต้ ติดต่อกับ ทะเลอนั ดามัน และจงั หวดั ภูเกต็
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ จังหวัดสุราษฎร์ธานแี ละจังหวัดกระบี่
ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ต่อกับ มหาสมุทรอินเดยี
ลกั ษณะทางภูมศิ าสตร์จงั หวัดภูเกต็
จังหวัดภูเกต็ เป็นจงั หวดั ในภาคใต้ตอนบนของประเทศไทย ต้ังอยู่ระหวา่ งละติจดู ท่ี 7 องศา 45
ลิปดา ถึง 8 องศา 15 ลิปดา เหนือ และลองจิจูดท่ี 98 องศา 15 ลิปดา ถึง 98 องศา 40 ลิปดาตะวันออก มีลักษณะ
เป็นเกาะ จัดเป็นเกาะท่ีมีขนาดใหญ่ท่ีสุดของประเทศไทย ต้ังอยู่ทางทิศตะวันตกของภาคใต้ ในทะเลอันดามัน
มหาสมทุ รอินเดีย มีเกาะบรวิ าร 32 เกาะ ส่วนกวา้ งที่สดุ ของเกาะภูเก็ตเท่ากบั 21.3 กิโลเมตร ส่วนยาวทส่ี ุดของเกาะ
ภูเก็ตเท่ากับ 48.7 กิโลเมตร เฉพาะเกาะภูเก็ตมีพื้นที่ 543.034 ตารางกิโลเมตร ส่วนเกาะบริวารมีพ้ืนท่ี 27 ตาราง
กิโลเมตร รวมพื้นที่ทั้งหมด 570.034 ตารางกิโลเมตรหรือ 356,271.25 ไร่ อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครตามเส้นทาง
หลวงแผ่นดินหมายเลข 4 และทางหลวงจังหวัดหมายเลข 402 รวมระยะทาง 867 กิโลเมตร หรือ 688 กิโลเมตร
ทางอากาศ
โดยมีอาณาเขตตดิ ต่อ กบั จงั หวดั ใกลเ้ คียง ดังนี้
ทศิ เหนือ ติดช่องแคบปากพระ จังหวัดพงั งา เช่ือมโดยสะพานสารสิน
ทศิ ตะวันออก ตดิ ทะเลเขตจังหวดั พงั งา
ทิศใต้ ตดิ ทะเลอันดามัน มหาสมทุ รอินเดีย
ทิศตะวันตก ตดิ ทะเลอันดามัน มหาสมุทรอินเดีย

ลักษณะทางภูมศิ าสตร์จงั หวัดกระบี่
จังหวดั กระบ่เี ปน็ จังหวดั ขนาดเล็กทม่ี ากด้วยทรัพยากรทอ่ งทยี่ วทางธรรมชาติ และมรดกทาง

วัฒนธรรมอัน เก่าแก่ การผสมผสานการด้ารงชีวิตของผู้คนที่ต่างเชื้อชาติ ต่างศาสนา และความเช่ือที่แตกต่างอย่าง
กลมกลืน ตั้งอยู่ทางด้านฝ่ังทะเลตะวันตกของภาคใต้ติดกับทะเลอันดามัน อยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ไปตามทางหลวง
แผ่นดินประมาณ ๘๑๔ กโิ ลเมตร มีพ้ืนท่ี ทัง้ หมด ๔,๗๐๘.๕๑๒ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๒,๙๔๒,๘๒๐ ไร่

โดยมอี าณาเขตติดต่อ กบั จงั หวัดใกล้เคียง ดังนี้
ทศิ เหนอื จดจังหวดั พังงา และจังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี
ทศิ ใต้ จดจังหวดั ตรัง และทะเลอนั ดามนั
ทิศตะวนั ออก จดจงั หวดั นครศรธี รรมราช และจงั หวัดตรัง
ทศิ ตะวนั ตก จดจังหวดั พังงา และทะเลอันดามนั

40

ลกั ษณะทางภูมิศาสตร์จงั หวัดตรัง
จงั หวดั ตรงั อยูทางภาคใตของประเทศไทย ตัง้ อยูทเ่ี สนรุงท่ี 7 องศา 31 ลปิ ดาเหนอื และ เสนแวงที่

99 องศา 38 ลปิ ดาตะวันออก อยูหางจากกรงุ เทพมหานคร 828 กิโลเมตร มีเน้ือท่ีรวม 4,917.519 ตารางกิโลเมตร
หรือ 3,07,344.375 ไร

โดยมีอาณาเขตตดิ ต่อ กบั จังหวัดใกล้เคียง ดังนี้
ทศิ เหนือ ติดตอกับ จงั หวัดนครศรีธรรมราช และจังหวดั กระบี่
ทศิ ใต ตดิ ตอกบั จงั หวัดสตลู และทะเลอันดามนั
ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอกบั จังหวัดพัทลุง (มีเทือกเขาบรรทัดก้ันอาณาเขต)
ทิศตะวันตก ตดิ ตอกบั จังหวัดกระบแี่ ละทะเลอนั ดามนั

ลกั ษณะทางภูมิศาสตร์จังหวัดสตลู
จังหวัดสตลู เป็นจังหวัดทีอ่ ยูใ่ ต้สุดของประเทศไทยทางชายฝั่งทะเลอนั ดามนั ซึง่ เป็นชายฝ่ังทะเล

ทางดา้ นตะวนั ตกของประเทศไทย อยรู่ ะหว่างเส้นรงุ้ ที่ 6 องศา 4 ลิปดา ถงึ 7 องศา 2 ลิปดาเหนอื กบั เส้นแวงที่ 99
องศา 5 ลิปดา ถงึ 100 องศา 3 ลิปดาตะวันออก อยู่หา่ งจากกรุงเทพมหานครประมาณ 973 กโิ ลเมตร มีพน้ื ที่ท้ังหมด
2,478.997 ตารางกโิ ลเมตร หรอื ประมาณ 1,549,361 ไร่ เปน็ ลา้ ดับท่ี 63 ของประเทศ และลา้ ดับที่ 12 ของภาคใต้

โดยมีอาณาเขตติดต่อ กับจังหวดั ใกล้เคียง ดงั นี้
ทิศเหนือ จังหวดั ตรงั
ทิศใต้ ประเทศมาเลเซียตลอดแนวชายแดน ยาวประมาณ 56 กโิ ลเมตร ตดิ ตอ่ ฝั่งอันดามันยาว
ประมาณ 144.8 กโิ ลเมตร เป็นพนื้ ทเี่ กาะประมาณ 88 เกาะ
ทศิ ตะวนั ออก จังหวัดสงขลา

41

เรอื่ งท่ี 4 ความสาคัญของทะเล

ทะเลไทยถือเป็นแหล่งทรัพยากรที่มีความอุดมสมบูรณ์อย่างยิง ท้ังทรัพยากรท่ีมีชีวิตและไม่มีชีวิต
ด้วยความอุดมสมบูรณ์นเี้ อง ท้าให้ทะเลไทยเป็นทั้งแหล่งอาหารท่ีส้าคัญของคนไทยและคนท่ัวโลก เพราะมากด้วย
คุณภาพและปริมาณ อีกท้ังยังเป็นแหล่งท่องเท่ียวที่มีความสวยงามระดับโลก ท้าให้เป็นหน่ึงในจุดหมาย
ท่ีนักท่องเที่ยวทั่วโลก หมายตาจะมาสัมผัสความงดงามของทะเลไทย โดยทะเล ทั้งฝั่งอ่าวไทยและฝ่ังอันดามัน
เป็นท่ีเลื่องลือในหมู่นักท่องเท่ียวเสมอมา จึงไม่แปลกนักที่ภาพนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติจ้านวนมากกับทะเลไทย
กลายเป็นเร่ืองท่ีค้นุ ตา รวมถึงสรา้ งรายได้ให้ประเทศอย่างมหาศาล นอกจากนี้ ประเทศไทยมีจุดแข็ง โดยเปน็ ฐาน
การผลิตสินค้าอุตสาหกรรมและสนิ ค้าเกษตรรายใหญ่ของโลก จากสภาพที่ตั้งของประเทศไทยซึ่งมีแผ่นดินติดกับท้ัง
ทะเลอันดามัน ช่องแคบมะละกา และอ่าวไทย ซึ่งเป็นเส้นทางเดินเรือท่ีส้าคัญระหว่างมหาสมุทรอินเดียและ
มหาสมุทรแปซิฟิก จึงเป็นพ้ืนที่ซึ่งมีความส้าคัญทางภูมิรัฐศาสตร์ จากการส้ารวจพบว่า ใต้ท้องทะเลบริเวณอ่าวไทย
มีแหลง่ ปโิ ตรเลียมกระจายอยู่ทั่วไปท่ีสามารถจะน้ามาใชใ้ นเชิงพาณิชย์ และเป็นแหลง่ พลงั งานของประเทศได้

ความสาคัญของทะเลจาแนกได้ ดังน้ี
1. ด้านการประมง
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) ของ ภาคประมงปี 2561
มีมูลค่า 108,789 ล้านบาท เนื่องจากการมีนโยบายส้าคัญ ในการแก้ไข ปัญหาการท้าประมงทะเลอย่างต่อเน่ือง
ซึ่งสง่ ผลบวก ทัง้ ด้านการเพาะเลี้ยงสัตวน์ า้ และ การท้าประมง แต่อยา่ งไรกต็ าม ยังคงมีปจั จยั ลบทอี่ าจกระทบต่อภาวะ
เศรษฐกิจการประมง อาทิ ราคาน้ามนั ตลาดโลกที่มีความผันผวน และปัญหาการชะลอตัวทางเศรษฐกิจ ของประเทศ
คคู่ ้า
การประมงทะเล แบ่งออกเป็น 2 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่
1.1 การประมงชายฝงั่ (Inshore Fisheries) หรือประมงพ้ืนบ้าน (Artisanal Fisheries)
การท้าประมงด้วยการจบั และเลย้ี ง สตั ว์นา้ ในแหล่งน้ากร่อยและน้าเค็มตามบรเิ วณพื้นทีช่ ายฝ่งั ทะเล
ปากแม่น้าการประมงเพื่อยังชีพ หาอาหาร สร้างรายได้ และก่อให้เกิด การสร้างงานในท้องถ่ิน โดยใช้เรือหรือ
เครอื่ งมอื ประมงขนาดเลก็ อาทิ เรือพ้ืนบ้าน แหหรอื เบด็ แบบงา่ ย ๆ ปัจจุบันเรือส่วนใหญ่จะติดเคร่ืองยนต์เขา้ ไปด้วย
รวมถงึ การใช้ประโยชนจ์ ากพ้นื ที่ชายทะเลท่ีมีน้าท่วมถงึ บรเิ วณที่ดอน ชายน้า และปา่ ชายเลน ตลอดจนยา่ นน้าต้ืน
ชายฝ่ังเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า ซึ่งปัจจุบันสัตวน์ ้าชายฝ่ังรายไดใ้ ห้แก่ประเทศเปน็ จ้านวนมาก โดยจ้าหน่ายท้ังในรูป
ของสดและแปรรูปเป็นผลิตภณั ฑอ์ ยา่ งอนื่
การเพาะเล้ียงสัตว์น้าชายฝ่ัง ได้มี การพัฒนาเทคโนโลยีการเล้ียงอย่างต่อเน่ือง เพื่อทดแทนสัตว์น้า
ทะเลทีไ่ ดจ้ ากการจับ ซึ่งมแี นวโน้มลดลง แตย่ ังคงมีความตอ้ งการสูง ชนิดสัตว์น้าทเี่ พาะเลย้ี งกันอย่างแพร่หลาย ไดแ้ ก่
กุ้งทะเล ปลาน้ากร่อย และหอยทะเล โดยจังหวัดท่ีมีการเพาะเล้ียงชายฝั่งมากที่สุด 5 อันดับ ได้แก่ จังหวัด
สมุทรปราการ สมุทรสาคร จนั ทบุรี สุราษฏรธ์ านี และสมทุ รสงคราม
1.2 การประมงพาณิชย์ (Commercial Fisheries)
ไม่ใช่การประมงเพื่อยังชีพ แต่เป็น การประมงในเขตทะเลเพื่อแสวงหาก้าไร ส่วนใหญ่ธุรกิจประมง
แบบน้ีจะผูกพันกับเรือประมงที่จับปลาโดยใช้เรือและเคร่ืองมือ ประมงขนาดกลางหรือใหญ่มีอุปกรณ์ท่ีทันสมัย
เพือ่ เพม่ิ ประสิทธิภาพในการจับสตั ว์น้า และจะใชเ้ วลาท้าการประมงหลายวัน อาทิ อวนลาก อวนลอ้ ม เบ็ดราวทะเล
ลึกหรืออวนลอย โดยทั่วไปเจ้าของเรือจะเป็นผู้ด้าเนินการเอง สัตว์น้าท่ีได้จะขายทังในท้องถ่ินหรือตลาดค้าสัตว์น้า
ที่อยู่ในภาคกลาง อาทิ กรุงเทพมหานคร สมุทรสาคร และสมุทรสงคราม ประมงพาณิชย์ ประกอบด้วย “ประมง

42

น้าลึก” (Deep Sea Fisheries) หรือ “ประมงนอกฝ่ัง” (Offshore Fisheries) คือ การจับปลาในระยะห่างจากฝ่ัง
แต่ไม่เกินระยะ 200 ไมล์ทะเลจากชายฝั่ง ซึ่งส่วนใหญ่จะท้าในเขตน่านน้าไทย และ “ประมงสากล” หรือ “ประมง
ไกลบ้าน” (Distant Water Fisheries) คือ การจับปลา ในน่านน้าอื่น อาทิ เขตทะเลของรัฐชายฝ่ังอ่ืน และมหาสมุทร
ท่ีอยู่เป็นระยะทางไกลจาก ท่าเรือของประเทศนัน ๆ หรืออีกนัยหน่ึงเรียกว่า “ประมงนอกน่านน้า” (Overseas
Fisheries) นอกจากจะจับสัตว์น้าแล้ว ยังอาจมีการแปรรูปสัตว์น้าแบบครบวงจรด้วย เพื่อเตรียมส่ง ผลผลิตสู่ตลาด
หรอื สง่ ไปจ้าหน่ายยงั ตา่ งประเทศ

ผลประโยชน์ของทรัพยากรประมงทะเล (รวมถึงการผลิ ตสัตว์น้าและพืชน้า) ช่วยเสริมสร้างความ
อยู่ดกี ินดีของประชาชน โดยเฉพาะประชากรท่ีอาศัยในบริเวณ ชายฝ่ังทะเลทั้ งดา้ นอา่ วไทยและอันดามนั ผลผลิตของ
การประมงทะเลเหล่าน้ี มผี ลกระทบทางบวกที่มนี ัยส้าคญั ตอ่ ความม่ันคงทางอาหาร ซึ่งแน่นอนวา่ เป็นการเสริมสรา้ ง
ความแข็งแกร่งต่อ ความมั่นคงของประเทศต้ังแต่โบราณกาล เรามีค้าพูดง่าย ๆ ว่า “กินข้าวกับปลา” เพราะ ปลาให้
โปรตีนท่ีมีคุณภาพสูง ย่อยง่าย มีไขมันอ่ิมตัวที่ไม่เป็นอันตรายต่อชีวิต มีเกลือแร่และสารต่อต้านอนุมูลอิสระ อาทิ
ไอโอดนี โอเมกา้ 3, 6 และ 9 ถงึ แม้ว่า คณุ ภาพอาจจะดอ้ ยกวา่ ปลาในเขตอบอุน่ และเขตหนาว

2. การขนสง่ และพาณชิ ยนาวี
พระราชบัญญัติส่งเสริมการพาณิชยนาวี พ.ศ. 2521 ได้ให้ความหมายเกี่ยวกับพาณิชยนาวี ไว้ใน
มาตรา 4 ดงั น้ี
2.1 การพาณิชยน์ าวี
หมายความว่า “การขนส่งทางทะเล การประกันภยั ทางทะเล การเดินเรือ กจิ การอเู่ รือ และกิจการ
ท่าเรือ และหมายความรวมถึงกิจการอย่างอื่นท่ีเก่ียวเนื่องโดยตรงหรือเป็นส่วน ประกอบกับกิจการดังกล่าวตามที่
ก้าหนดในกฎกระทรวง” จากค้าจ้ากัดความดังกล่าว จะเห็นได้ว่า กิจการพาณิชยนาวี เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกับ
กจิ กรรมมากมาย ทั้งทีเ่ กดิ ขึน้ ในทะเลและบนฝ่ัง
2.2 การขนส่งทางทะเล
หมายความว่า “การขนส่งของหรือคนโดยสาร โดยเรือจากประเทศไทย ไปยังต่างประเทศ หรือจาก
ตา่ งประเทศมายังประเทศไทย หรือจากที่หน่ึง ไปยงั อีกที่หน่ึงนอกราชอาณาจักร และให้หมายความรวมถึงการขนส่ง
ของ หรือคนโดยสารทางทะเลชายฝ่ังในราชอาณาจักร โดยเรือที่มีขนาดตั้งแต่ 250 ตันกรอสข้ึนไปด้วย” ซึ่งการ
ขนสง่ ทางทะเลประกอบด้วย
1. ท่าเรือ หมายความว่า สถานท่ีส้าหรับ ให้บริการแก่เรือ ในการจอด เทียบ บรรทุก หรือขนถ่าย
ของ ประกอบด้วย ท่าเรอื สนิ คา้ ทา่ เรอื ประมง ท่าเรอื โดยสาร และท่าเรือทอ่ งเที่ยว
2. เรอื หมายความวา่ เรอื เดินทะเลที่ใชใ้ น การขนส่งทางทะเล ประกอบด้วย เรอื ค้าระหว่างประเทศ
หมายถึง เรือ ทีข่ นสง่ สินคา้ น้าเข้าและส่งออกของ ประเทศ และเรือค้าชายฝงั่ หมายถงึ เรอื ที่ขนสง่ สินคา้ ในประเทศ
3. สินค้า ประกอบดว้ ยสินค้าท่ีขนส่งโดยเรือคา้ ระหว่างประเทศหรือสินค้าน้าเข้าและ สินค้าส่งออก
และสินคา้ ทข่ี นส่งโดย เรือคา้ ชายฝ่ังหรือสนิ ค้าในประเทศ
จากรายงานสถิติการขนส่งสินค้าทางน้าบรเิ วณเมอื งท่าชายทะเล ปี พ.ศ. 2559 ปีงบประมาณ 2560
ของกรมเจ้าท่า พบว่า จ้านวนเรือที่ท้าการขนส่งสินค้า ท่ีมีการแจ้งเข้า - ออก ตามด่านศุลกากรบริเวณเมืองท่า
ชายทะเล ในปี 2559 มีจ้านวนทั้งสิ้น 161,281 เท่ียวล้า โดยแยกเป็นเรือค้าต่างประเทศ 92,531 เท่ียวล้า และเป็น
เรือค้าชายฝ่ังทั้งหมด 68,750 เท่ียวล้า ในส่วนปริมาณสินค้าท่ีท้าการขนส่งบริเวณเมืองท่าชายทะเล ท่ีมีการแจ้ง
เข้า - ออก มีป ริมาณ รวมทั้ งส้ิน ป ระมาณ 262,788,945.902 ตัน เป็น เรือค้าต่างป ระเท ศ ป ระมาณ

43

211,894,489.738 ตัน เรือค้าชายฝ่ัง ประมาณ 50,894,456.164 ตัน โดยสินค้าท่ีมีการขนส่งมากที่สุด ได้แก่
ปโิ ตรเลียม

3. พลังงาน
แหล่งปิโตรเลียม ปิโตรเลียมเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่เกิดจากซากส่ิงมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์
ที่สะสมทับถมปนอยู่กับตะกอนดินท้ังบนบกและในทะเล โดยจะถูกแบคทีเรียและเชื้อราเปลี่ยนสภาพเป็น
อินทรียวัตถุ เม่ือเวลาผ่านไปบริเวณดังกล่าวจะค่อย ๆ ทรุดตัวหรือจมลงภายใต้ผิวโลกลึกมากขึ้น และจากแรงกด
ที่เพ่ิมมากข้ึนจากน้าหนักของช้ันตะกอนที่ทับถมอยู่ด้านบน ตลอดจนอุณหภูมิที่สูงขึ้น มีผลท้าให้อินทรียวัตถุแปร
สภาพและสลายตัวเป็น สารประกอบไฮโดรคารบ์ อนท่ีเรียกวา่ ปโิ ตรเลียม ซึ่งปโิ ตรเลยี มแบ่งได้เปน็ 3 ประเภท คอื
1. น้ามนั ดิบ (Crude Oil) ซง่ึ มผี ลติ ภัณฑ์ท่ีได้จากน้ามันดบิ อาทิ กา๊ ซปิโตรเลียมเหลวหรือกา๊ ซหุงต้ม
น้ามนั เชอ้ื เพลิงรถยนต์ (เบนซินและดีเซล) น้ามันเช้ือเพลงิ เครอ่ื งบนิ น้ามนั กา๊ ด นา้ มนั เตา และยางมะตอย
2. ก๊าซธรรมชาติ (Natural Gas) ซึ่งมีผลิตภัณฑ์ท่ีได้จากก๊าซธรรมชาติ อาทิ ก๊าซส้าหรับรถยนต์
(NGV และ LPG) เชื้อเพลงิ ในการผลิตกระแสไฟฟ้า อุตสาหกรรมถนอมอาหาร และ อตุ สาหกรรมน้าอัดลมและเบียร์
3. ก๊าซธรรมชาติเหลว (Condensate) ซึง่ มีผลติ ภัณฑ์ที่ไดจ้ ากก๊าซธรรมชาติเหลว อาทิ เช้ือเพลงิ ใน
การผลติ กระแส ไฟฟ้า เชอื้ เพลิงสา้ หรบั ยานยนต์ (NGV) และเชอ้ื เพลิงในโรงงานอตุ สาหกรรม
ประเทศไทยเริ่มการเจาะส้ารวจและผลิตปิโตรเลียมในบริเวณอ่าวไทยคร้ังแรกในปี พ.ศ. 2511
ซ่ึงแหล่งปิโตรเลียมแห่งแรกของอ่าวไทย คือ แหล่งเอราวัณ ท้ังน้ี การจัดหาปิโตรเลียมของประเทศไทยในปี 2559
โดยข้อมูลจากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ มีการจัดหาจากแหล่งภายในประเทศ รวมทั้งส้ิ น 0.879 ล้านบาร์เรล
เทยี บเทา่ น้ามนั ดิบต่อวนั เมอ่ื เปรียบเทียบกบั ปี 2558 เพิ่มขนึ้ ร้อยละ 0.5 แบ่งเป็น การจดั หาในรูปนา้ มันดิบ ร้อยละ
19 (163,680 บาร์เรล ตอ่ วนั ) กา๊ ซธรรมชาติเหลว ร้อยละ 11 (97,185 บารเ์ รลตอ่ วัน) และก๊าซธรรมชาติ ร้อยละ 70
(3,544 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน) โดยรวมคิดเป็น ร้อยละ 43 ของการจัดหาปิโตรเลียมทั้งหมด ส่วนท่ีเหลือ ร้อยละ
57 ตอ้ งนา้ เขา้ จากต่างประเทศ
4. ด้านการท่องเที่ยวและนนั ทนาการทางทะเล
ด้วยความอุดมสมบูรณ์และความสวยงามของทะเลไทยและพื้นที่บริเวณชายฝ่ัง ท้าให้ประเทศไทย
กลายเป็นแหล่งท่องเท่ียวที่มีชื่อเสียงท่ีสุดแห่งหนึ่งของชายฝ่ังทะเล ท้ังด้านอ่าวไทยในทะเลจีนใต้ และชายฝั่งทะเล
อันดามันในมหาสมุทรอินเดีย โดยถูกน้ามาพัฒนาทางการท่องเที่ยวของไทยได้อย่างต่อเน่ือง สามารถสร้างรายได้
จากนักท่องเที่ยวไทยและต่างชาติได้เป็นจา้ นวนมาก ก่อให้เกดิ การหมนุ เวยี นเงนิ ตราภายในประเทศ และสรา้ งอาชีพ
แก่ประชาชนในพน้ื ที่ ในปี พ.ศ. 2559 มีผู้เยย่ี มเยียน ใน 23 จังหวัดชายฝั่งทะเล ประมาณ 153 ลา้ นคน น้ารายได้เข้า
ประเทศ 1.83 ล้านล้านบาท จากการส้ารวจพบว่า แหล่งท่องเที่ยวทางทะเลที่ชาวต่างชาตินิยม เช่น หมู่เกาะพีพี
จังหวัดกระบี่ เกาะเต่า จังหวัดสุราษฎร์ธานี และหาดพัทยา จังหวัดชลบุรี เป็นต้น โดยมีกิจกรรมการท่องเที่ยวทาง
ทะเลทีส่ ้าคัญ ไดแ้ ก่
4.1 กิจกรรมดานา้ ดปู ะการงั
เป็นการท่องเที่ยวท่ีให้นักท่องเท่ียวได้ลงไปสัมผัสกับโลกใต้ทะเล ที่มีความสวยงามตระการตา
จุดด้าน้ามีหลายแห่งในทะเลแถบภาคตะวันออก เป็นศูนย์รวมคนรักธรรมชาติทางทะเล สามารถพบปะแลกเปล่ียน
ประสบการณ์ใหม่ ๆ ใต้ท้องทะเล และ สนุกเพลิดเพลินกับกิจกรรมด้าน้า พบฝูงปลามากมายหลากหลายชนิดใต้ท้อง
ทะเลสีคราม น้าทะเลใส ทีอ่ ดุ มสมบูรณ์

44

แหล่งด้าน้าของประเทศไทยกระจาย ออกไปทั้ง 2 ฝั่งทะเล โดยฝั่งอ่าวไทยได้รับอิทธิพลลมมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือ จากประเทศจีน ท้าให้มีฤดูการท่องเท่ียว ตั้งแต่ ปลายเดือนเมษายนถึงเดือน พฤศจิกายน และ
ฝั่งอันดามันได้รับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จากมหาสมุทรอินเดีย ท้าให้มีฤดูการท่องเที่ยวต้ังแต่เดือน พฤศจิกายนถึง
เดือนเมษายน ดังน้ัน เมื่อรวมทะเลไทยทั้งสองฝั่งเข้าด้วยกัน จึงกล่าวได้ว่า ทะเลของประเทศไทยสามารถท่องเที่ยว
ไดต้ ลอดทง้ั ปี โดยผลัดกนั ฝั่งละ 6 เดอื น

4.2 กิจกรรมการแข่งขันกีฬาทางทะเล
ประเทศไทยมีการจัดการแข่งขันกีฬาทางทะเลที่หลากหลาย ท้ังในระดับประเทศและระดับ
นานาชาติ ซึ่งมีการแขง่ ขันทะเล ท้งั ดา้ นอ่าวไทยและดา้ นอันดามัน อาทิ
4.2.1 การแข่งขันตกปลา ประเทศไทยเป็นจุดหมายหน่ึง ซึ่งได้รับความนิยมในหมู่นักท่องเท่ียว
ผู้ชื่นชอบการตกปลา นักท่องเที่ยวเหล่าน้ี มีท้ังกลุ่มท่ีตกปลาเป็นสันทนาการและมาเพื่อร่วมการแข่งกีฬาตกปลา
แบบจริงจัง ทั้งน้ีก็เพราะทะเลไทยเต็มไปด้วยปลาหลายชนิดที่อยู่ในท้าเนียบของ สมาคมนักตกปลานานาชาติ เช่น
ปลาเก๋า ปลาช่อนทะเล ปลาโฉมงาม ปลาสาก เป็นต้น แม้ว่ากีฬาตกปลาจะไม่เคยถูกจัด ให้แข่งขันในโอลิมปิคและ
เอเชยี นเกมส์ แตเ่ รากไ็ ดพ้ บเหน็ การแข่งขันตกปลา อยู่ทัว่ ไปต้งั แตร่ ะดับท้องถนิ่ จนถึง ระดบั นานาชาติ
4.2.2 การแล่นเรือใบ – เรือยอชท์ จังหวัดภูเก็ต เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยว ในทะเลอันดามัน
มีกิจกรรมท่องเท่ียวทางทะเล หลากหลาย หนึ่งในกิจกรรมที่ได้รับความนิยม จากทั้งชาวไทยและต่างประเทศ คือ
การเล่นเรือใบ และท่องเท่ียวทางทะเลด้วยเรือยอชท์ เพื่อชมความงามของท้องทะเลไทยและเกาะแก่งต่าง ๆ รอบเกาะ
ภูเก็ต และบริเวณจังหวัดพังงา มีการจัดการแข่งขันที่มีชื่อเสียงระดับโลกหลายรายการ อาทิ การแข่งขันเรือใบ
นานาชาตชิ ิงถ้วยพระราชทาน หรือ ภูเก็ต คงิ คัพ รีกัตตา ท่ีมผี ้เู ขา้ รว่ มการแข่งขนั จากหลายประเทศทว่ั โลก นอกจากน้ี
ยังสามารถทอ่ งเท่ยี วเมืองพทั ยา โดยการน่ังเรอื ยอรช์ ชมความงามของทอ้ งทะเล ไดอ้ ีกด้วย
4.2.3 การแข่งขันเจ็ตสกี ประเทศไทยมีการจัดการแข่งขันเจ็ตสกี เป็นประจ้าทุกปี ส่วนใหญ่จะจัด
ขึ้นทเ่ี มืองพัทยา จังหวัดชลบุรี อาทิ การแข่งขนั เจ็ตสกโี ปรทัวร์ ชิงแชมป์ประเทศไทย และการแข่งขันเจต็ สกี เวิลด์คัพ
ซงึ่ ในปี 2560 นักกฬี าเจต็ สกขี องไทย สามารถควา้ รางวลั แชมป์โลกไดถ้ งึ 7 คน
4.2.4 การแข่งขันเรือเร็ว สมาคมกีฬาเรือเร็วแห่งประเทศไทย ร่วมกับภาคเอกชนจัดการแข่งขัน
เรือเร็วครั้งแรกในรายการ “World Formula1 Powerboat Thailand Grand Prix 1992” ณ ฐานทัพเรือ สัตหีบ
จงั หวัดชลบุรี ซง่ึ เป็นหนึ่งในสนามการแขง่ ขนั เกบ็ คะแนนชงิ แชมปโ์ ลก ภายใตก้ ารควบคุมของสหพันธ์เรือเรว็ นานาชาติ
4.3 กิจกรรมพกั ผอ่ นและการชมทิวทศั น์ชายหาด
ซึ่งมีลักษณะแตกต่างกันตามสภาพภูมิประเทศ และสภาพแวดล้อมท่ัวไป เช่น หาดทราย อาจมี
ทรายละเอียด หรือทรายหยาบ สีเม็ดทรายที่ต่างกันไป โดยประเทศไทยมีชายหาด สวยงาม มีชื่อเสียง เป็นสถานท่ี
พักผ่อนและชมทิวทัศน์ชายหาดของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย และชาวต่างชาติในหลายจังหวัด อาทิ ประจวบคีรีขันธ์
ตราด กระบี่ ภเู กต็ และพังงา
4.4 กิจกรรมทางทะเลอ่นื ๆ
เป็นกิจกรรมที่นักท่องเท่ียว ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาตินิยม สามารถพบได้ท้ังทะเลฝ่ังอันดามัน
และฝ่ังอา่ วไทย อาทิ บานานา่ โบ๊ท พาราเซลลิง ฟลายบอร์ด และสวนน้านนั ทนาการ


Click to View FlipBook Version