The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by off29_37, 2019-03-25 04:37:23

Final E-Book Santi Tip-osot


ชือย่อ แฟ้มสะสมผลงานครู (PORTFOLIO)
















ปีการศึกษา 2/2561
นาย สันติ ทิพโอสถ








แผนกวิชา

ช่างเชื่อมโลหะและเทคนิค

โลหะ


















วิทยาลัยเทคนิคระยอง



ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา



กระทรวงศึกษาธิการ

ค ำน ำ


แฟ้มสะสมผลงำน (Portfolio) และรำยงำนกำรประเมินตนเอง (SAR) ฉบับนี้ จัดท ำขึ้นเพื่อ


รำยงำน ผลกำรปฏิบัติงำนประจ ำปีกำรศึกษำทั้งงำนในหน้ำที่ และงำนพิเศษที่ได้รับมอบหมำยจำก

วิทยำลัย เพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ของกำรประกันคุณภำพกำรอำชีวศึกษำ มำตรฐำนวิชำชีพของคุรุ

สภำ และแนวกำรประเมินเพื่อ รักษำมำตรฐำนในหน้ำที่กำรท ำงำน โดยผู้จัดท ำรำยงำนได้รวบรวม

ข้อมูลและผลงำนที่ได้ด ำเนินกำรระหว่ำงปี กำรศึกษำ ด้วยควำมรู้ ควำมสำมำรถและควำมตั้งใจใน


กำรปฏิบัติงำน


หวังว่ำรำยงำนฉบับนี้ คงจะท ำให้คณะกรรมกำรวิทยำลัยและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้แนวทำงใน

กำร ประเมินคุณภำพของผู้จัดท ำ รำยงำน และขอขอบคุณผู้บริหำร เพื่อนครู และนักเรียนนักศึกษำ


วิทยำลัยเทคนิคระยองทุกท่ำนที่มีส่วนร่วมในกำรจัดท ำรำยงำนฉบับนี้











( นำย สันติ ทิพโอสถ )


ต ำแหน่งครูอัตรำจ้ำง


แผนกวิชำช่ำงเชื่อมโลหะและเทคนิคโลหะ

ด้านวินัย


- ประวัติการ ขาด ลา มาสาย และการหยุดราชการในรอบปี 2/2561

ข้อมูลทั่วไป



1.1 ประวัติ

ชื่อ นาย สันติ ทิพโอสถ
วุฒิการศึกษาระดับ ปริญญาตรี ครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี

สาขาวิชา วิศวกรรมอุตสาหการ ( งานเชื่อม )

สถาบัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ปริญญาโท.....................................................สาขาวิชา.....................................

ปริญญาเอก....................................................สาขาวิชา.....................................

ใบประกอบวิชาชีพครูอนุญาตเลขที่ 60109000411940
เริ่มปฏิบัติงาน เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2559 (ส าหรับครูอัตราจ้างนับตั้งแต่ปฏิบัติการสอน)

1.2 ต ำแหน่ง

ครูอัตราจ้างสาขาวิชางานเชื่อมโลหะและเทคนิคโลหะ

เงินเดือน 10,340 บาท สังกัดแผนกวิชาชีพงานเชื่อมโลหะและเทคนิคโลหะ
1.3 ที่อยู่ปัจจุบัน (ที่สามารถติดต่อได้)

บ้านเลขที่ 30/3 หมู่ที่ 6 ต าบล หนองบัว อ าเภอ บ้านค่าย จังหวัด ระยอง รหัสไปรษณีย์ 21120

โทร 081-982-5068

E-mail :: [email protected]

ภาพการด าเนินกิจกรรม






1. ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการ ณ บริษัท ดาเนลลี่ จ ากัด

2.

2. จัดท าเครื่องกลเติมอากาศแบบใบพัดหมุนตีผิวน ้าและพ่นน ้าใต้ผิวตามโครงการ “เราท า


ดีด้วยหัวใจ”

3.งานท าบุญตักบาตรในวันพ่อ

4.ท าที่พวงมาลัยหน้าองค์พระใหญ่หน้าวิทยาลัยเทคนิคระยอง

5. งานเทเหล้าเผาบุหรี่

6.งานแข่งขันทักษะภายในแผนกช่างเชื่อมและเทคนิคโลหะ



7.) งานแข่งขันทักษะวิชาชีพด้านงานเชื่อมระดับภาค จังหวัดจันทบุรี

8.) งานแข่งขันทักษะวิชาชีพด้านงานเชื่อมระดับชาติ จังหวัด สุราษฎร์ธานี

























ด้านการเรียนการสอน (ตารางสอน 2/2561)

โครงการสอน


รหัสวิชา 3100 0105 วิชา ความแข็งแรงของวัสดุ

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)



ประเภทอุตสาหกรรม















จัดท าโดย


นาย สันติ ทิพโอสถ
















แผนกวิชาช่างเชื่อมโลหะและเทคนิคโลหะ


วิทยาลัยเทคนิคระยอง

ค าน า…………………………………………………..

โครงการสอน วิชา ความแข็งแรงของวัสดุ รหัสวิชา 3100 0105 จัดท าขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการ

เรียนการสอนวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) โดยได้จัดการเรียน

การสอนทั้งหมด 18 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง เนื้อหาภายใน ประกอบด้วย ความเค้นและความเครียด
ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียดของวัสดุ กฎสภาพยืดหยุ่นของฮุค มอดุลลัส ความยืดหยุ่น งานหมุด

ย ้า งานเืืออม ฤษฎฎีของคาน แนนภาพแรงเืือนและมมเมน์์์ัด ความเค้น์ัดและความเค้นเืือนนนคาน การหา

ระยะแอ่น์ัวของคานมดยวิธีมมเมน์์-พื้นฤีอ พื้นฐานการรวมความเค้น การประยุก์์ความรู้นนงานอาืีพ

ในการจัดท าโครงการสอนนี้ผู้จัดท าได้จัดท าการเรียนการสอนที่บูรณาการคุณธรรม จริยธรรมค่านิยม และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ท้ายที่สุดนี้ ผู้จัดท าขอขอบคุณผู้ที่สร้างแหล่งความรู้ และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องต่างๆ ซึ่ง

เป็นส่วนส าคัญและท าให้โครงการสอนวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ เล่มนี้เสร็จสมบูรณ์เป็นที่เรียบร้อย หากมี

ข้อบกพร่อง ประการใดขออภัยมา ณ โอกาสนี้







นาย สันติ ทิพโอสถ

ครูอัตราจ้างแผนกวิชาช่างเชื่อมโลหะและเทคนิคโลหะ

โครงการสอน/การเรียนรู้รายวิชา

ชื่อรายวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ รหัสวิชา 3100 0105 (ท-ป-น.) 3-0-3

ระดับชั้น ปวส. สาขา/กลุ่มวิชา/แผนกวิชา ช่างเชื่อมโลหะและเทคนิคโลหะ

หน่วยกิต 3 จ านวนคาบ 3 คาบ
ทฤษฏี 3 คาบ/สัปดาห์ ปฏิบัติ 0 คาบ/สัปดาห์

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561



จุดประสงค์รายวิชา

1. เข้าใจหลักการของ ความเค้น ความเครียดและ ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียด
2. เข้าใจหลักการค านวณหาความเค้นและความเครียด

3. เข้าใจเกี่ยวกับการสร้างกราฟแสดงแรงเืือนและมมเมน์์ดัดนนคาน

4. เข้าใจเกี่ยวกับการค านวณหาค่ามมเมน์์เืือนและมมเมน์์ดัดนนคาน

สมรรถนะรายวิชา
1. อธิบายเรือองความเค้นความเครียดและความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียดของวัสดุ

ได้อย่างถูก์้อง

2. ค านวณหาความเค้นและความเครียดได้
3. สร้างกราฟแสดงแรงเืือนและมมเมน์์ดัดนนคานได้อย่างถูก์้อง

4. ค านวณหาค่ามมเมน์์เืือนและมมเมน์์ดัดนนคานได้อย่างถูก์้อง

ค าอธิบายรายวิชา

ศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดและองค์ประกอบความเค้น และความเครียด ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและ
ความเครียดของวัสดุ กฎสภาพยืดหยุ่นของฮุค มอดุลลัส ความยืดหยุ่น งานหมุดย ้า งานเืืออม ฤษฎฎีของคาน

แนนภาพแรงเืือนและมมเมน์์์ัด ความเค้น์ัดและความเค้นเืือนนนคาน การหาระยะแอ่น์ัวของคานมดยวิธี

มมเมน์์-พื้นฤีอ พื้นฐานการรวมความเค้น การประยุก์์ความรู้นนงานอาืีพ

การเรียนการสอนที่บูรณาการคุณธรรม จริยธรรมค่านิยม


และคุณลักษณะอันพึงประสงค์


วิชา ความแข็งแรงของวัสดุ รหัสวิชา 3100 0105



หน่วยที่ ชื่อหน่วย - รายการสอน สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่


SI Unit
-หน่วยพื้นฐาน

1 ความเค้น (Stress) 1-2 3-6

-ชนิดของความเค้น
-แบบฝึกหัดความเค้น

ความเครียด (Strain)

2 -ความหมายความเครียด 3-4 7-12

-ืนิดของความเครียด

ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียด
ค่าความปลอดภัย

-ความปลอดภัยนนการฤ างานเืืออม

3 ความเค้นในวัสดุที่ใช้เชื่อมต่อ 5-6 13-18
-ืนิดของวัสดุฤีอนื้เืืออม

-วัสดุ อุปกรณ์นนการฤ างาน



งานหมุดย ้า
4 -ความเป็นมาของการย ้าหมุดนนงาน 7-8 19-24

-ืนิดของการย ้าหมุด

-ประมยืน์และการรับแรงของหมุด

การเชื่อมต่อ




5 สรุปและประเมินผลการเรียนรู้กลางภาค 1/2561 9 27

โมเมนต์ดัดในคานและแรงเฉือนของคาน

-ความหมายของแรงมมเมน์์

6 -ืนิดของมมเมน์์ 10-11 28-33

ชนิดของการรองรับและแรงกระท าบนคาน
แรงเฉือนในคานและโมเมนต์ดัดในคาน

7 ความเค้นดัดในคาน

ความเค้นเฉือนในคาน 12-14 34-42
การรวมความเค้นดัดและความเค้นตรง

7 การรวมความเค้น 15-16 43-48

การหาค่าความเค้น การหาค่าความเค้นเฉือน

8 ทบทวนเนื้อหาพร้อมสรุปเนื้อหา 17 51


- สรุปและประเมินผลการเรียนรู้ปลายภาค 1/2561 18 54


รวม 18 54



3 วิธีการสอน/รูปแบบการสอน

- บรรยาย

4 สื่อการเรียนการสอน
- Power point

- ใบงาน

- กระดาน ไวท์บอร์ด
- แบบทดสอบ

5 การวัดผล



รายการ คะแนน(ร้อยละ) หมายเหตุ


5.1 การทดสอบความรู้เกี่ยวกับเนื้อหา

5.1.1 สอบกลาง-ปลายภาคเรียน

5.1.2 แบบฝึกหัด 40
5.1.3 สอบประเมินผล

5.2 การสังเกตเกี่ยวกับคุณธรรม 20

จริยธรรม

5.3 การพิจารณาผลงาน ผลการปฏิบัติ

5.3.1 แบบฝึกหัด 40
5.3.2 แบบทดสอบ

5.3.3 ใบงาน

รวม 100

โครงการสอน


วิชา กลศาสตร์วิศวกรรม รหัสวิชา 3100 0101
สาขาวิชา เทคนิคโลหะ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561

เนื้อหาหลักสูตร วัตถุประสงค์รายวิชา

ศึกษาหลักกลศาสตร์และการประยุกต์ใน เมื่อนักศึกษาเรียนจบวิชานี้แล้วจะ สามารถ

งานเครื่องกล ระบบแรง โมเมนต์ สมดุล 1. บอกความส าคัญของวิชากลศาสตร์และการ
จุดศูนย์ถ่วง ความเสียดทาน ความเร็ว ความเร่ง ประยุกต์ใช้ในงานเครื่องกลได้อย่างถูกต้อง

แรงในระบบพิกัดฉาก การเคลื่อนที่ในแนวราบ การ 2. อธิบายความหมายของ แรง โมเมนต์ สมดุล

เคลื่อนที่ในแนวโค้ง จุดศูนย์ถ่วง ความเสียดทาน ความเร็ว ความเร่ง ใน

เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจหลัก งานเครื่องกลได้อย่างถูกต้อง
กลศาสตร์และการประยุกต์ใช้ในงานเครื่องกล 3. อธิบายหลักการพื้นฐานต่าง ๆ ของกลศาสตร์ในงาน

เครื่องกลได้อย่างถูกต้อง

4. บอกชนิดและลักษณะของ แรง ความเร็ว ความเร่ง

ความเสียดทาน สมดุล พลังงานกล ได้อย่างถูกต้อง
5. ค านวณหาค่า แรง ความเร็ว ความเร่ง โมเมนต์

ความเสียดทาน โมเมนต์ จุดศูนย์ถ่วง ในงาน

เครื่องกลเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง




สัปดาห์ หัวเรื่อง วัตถุประสงค์ หมายเหตุ

1 1. หลักทั่วไป 1. บอกปริมาณพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง LE,QU
1.1 กลศาสตร์ 2. บอกหน่วยในการวัดได้อย่างถูกต้อง

1.2 หลักการพื้นฐาน 3. เปลี่ยนหน่วยในการวัดได้อย่างถูกต้อง

1.3 กฎของความโน้มถ่วง 4. ก าหนดค่าอุปสรรคได้อย่างถูกต้อง
1.4 หน่วยในการวัด

1.5 การเปลี่ยนหน่วย

1.6 ค่าอุปสรรค

1.7 กฎทั่วๆไป

สัปดาห์ หัวเรื่อง วัตถุประสงค์ หมายเหตุ

2 1. ฟังก์ชั่นตรีโกณมิติ 1. บอกความสัมพันธ์ของสามเหลี่ยมมุม LE,DE

1.1 ความสัมพันธ์ของสามเหลี่ยมมุม ฉากได้อย่างถูกต้อง AS
ฉาก

3 2. แรงในระบบพิกัดฉาก 1. อธิบายความหมายของแรงได้อย่าง LE,DE

2.1 การแตกแรง ถูกต้อง AS

2.2 การหาแรงลัพธ์ 2. ค านวณค่าแรงได้อย่างถูกต้อง


4 หลักการพื้นฐานของแรง 1. รวมแรงและแยกแรงได้อย่างถูกต้อง LE,DE

1.1 การรวมแรง 2. หาแรงลัพธ์ได้อย่างถูกต้อง AS
1.2 การแยกแรง 3. เขียนเวคเตอร์ของแรงได้อย่างถูกต้อง.

1.3 การเขียนเวคเตอร์ของแรง

5 แรงสองมิติที่พบกัน 1. เขียนไดอาแกรมของเวคเตอร์ของแรง LE,DE
1.1 หลักการสมดุลของแรงสองมิติ ได้อย่างถูกต้อง

1.2 การเขียนไดอาแกรมของเวคเตอร์ 2. ค านวณหาผลรวมของแรงได้อย่างถูกต้อง

ของแรง


6 1 แรงสองมิติที่ขนานกัน 1. อธิบายหลักการสมดุลของแรง LE,DE

1.1 หลักการสมดุลของแรง 2. ค านวณหาแรงคู่ควบได้อย่างถูกต้อง AS

1.2 แรงคู่ควบ 3. ค านวณหาการสมดุลของแรงคู่ควบ

1.3 การสมดุลของแรงคู่ควบ 4. ค านวณหาผลรวมของแรงคู่ควบได้อย่าง
1.4 การหาผลรวมของแรงคู่ควบ ถูกต้อง

1.5 การใช้แรงขนานชุดหนึ่งแทน

แรงอันหนึ่ง
7 1. แรงสองมิติที่ไม่พบกัน 1. บอกหลักการการสมดุลของแรงได้อย่าง LE,QU

1.1 หลักการสมดุลของแรง ถูกต้อง



8 แรงสองมิติบนชิ้นส่วนโค้ง 1. บอกความหมายของชิ้นส่วนโค้งแบบ LE,QU
1.1 ชิ้นส่วนโค้งแบบอ่อนตัว อ่อนตัวได้

1.2 การค านวณหาแรง 2. ค านวณหาแรงในชิ้นส่วนโค้งได้อย่าง

1.3 การค านวณความยาวของชิ้นส่วน ถูกต้อง
โค้งแบบอ่อนตัว 3. ค านวณหาความยาวของชิ้นส่วนโค้ง

แบบอ่อนตัวได้

สัปดาห์ หัวเรื่อง วัตถุประสงค์ หมายเหตุ

9 แรงสองมิติบนชิ้นส่วนโค้ง 1. ค านวณชิ้นส่วนโค้งต่างระดับได้อย่าง LE,DE
1.1 การค านวณชิ้นส่วนโค้งต่าง ถูกต้อง QU,AS

ระดับ 2. ค านวณหาแรงในชิ้นส่วนโค้งแบบแข็ง

1.2 ชิ้นส่วนโค้งแบบแข็ง ได้อย่างถูกต้อง

10 1. แรงเสียดทาน 1. อธิบายความหมายของความเสียดทาน LE,DE
2.1 ทฤษฎีแรงเสียดทาน ได้ QU,AS

2.2 คุณสมบัติของแรงเสียดทาน 2. บอกกฎของแรงเสียดทานได้

2. สัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน 3. จ าแนกชนิดของแรงเสียดทานได้อย่าง
3.1 สัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน 4. อธิบายความหมายสัมประสิทธิ์แรงเสียด

ในแนวระดับ ทานได้

3.2 สัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน 5. ค านวณหาสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานได้
ในแนวระนาบเอียง 6. บอกวิธีการลดแรงเสียดทานในงาน

เครื่องกลได้



11 1. แรงเฉือนและโมเมนต์ดัด 1. อธิบายลักษณะแรงเฉือนและโมเมนต์ดัด LE,DE
1.1 ลักษณะการเกิดแรงเฉือนและ ได้อย่างถูกต้อง QU,AS

โมเมนต์ดัด 2. ค านวณหาแรงเฉือนได้อย่างถูกต้อง

1.2 หลักการหาแรงเฉือน

12 2. แรงเฉือนและโมเมนต์ดัด 1. เขียนไดอะแกรมของแรงเฉือนได้อย่าง LE,DE
ถูกต้อง QU,AS

2.1 การเขียนไดอะแกรมของแรงเฉือน


13 3. แรงเฉือนและโมเมนต์ดัด 1. เขียนไดอะแกรมโมเมนต์ดัดได้อย่าง LE,DE

3.1 หลักการเขียนไดอะแกรม ถูกต้อง QU,AS

โมเมนต์ดัด

สัปดาห์ หัวเรื่อง วัตถุประสงค์ หมายเหตุ

14 1. จุดศูนย์ถ่วง 1. อธิบายความหมายจุดศูนย์ถ่วงได้ LE,DE

2.1 ทฤษฎีจุดศูนย์ถ่วง 2. บอกวิธีการหาจุดศูนย์ถ่วงได้ AS

2.2การหาจุดศูนย์ถ่วงของรูปทรง 3. หาจุดศูนย์ถ่วงได้
4. อธิบายความหมายจุดศูนย์กลางมวลได้



15 โมเมนต์ความเฉื่อย 1. ค านวณหาโมเมนต์ความเฉื่อยได้อย่าง LE,DE

1.1โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ ถูกต้อง AS
1.2 สูตรโมเมนต์ความเฉื่อย 2. สามารถย้ายแกนโมเมนต์ความเฉื่อยได้

.3 การย้ายแกนโมเมนต์ความเฉื่อย อย่างถูกต้อง




16 ความเร็ว (Velocity) 1. อธิบายความหมายของความเร็วและ LE,DE

- ความหมายของความเร็ว อัตราเร็วได้ถูกต้อง AS
- ลักษณะความเร็วคงที่และอัตราเร็วเฉลี่ย 2. อธิบายลักษณะของความเร็วคงที่และ

- การค านวณหาความเร็ว ความเร็วเฉลี่ยได้ถูกต้อง

3. ค านวณหาความเร็วและอัตราเร็วได้

ถูกต้อง


17 ความเร่ง (Acceleration) 1. อธิบายความหมายของความเร่งได้ LE,QU

- ความหมายของความเร่ง ถูกต้อง

- ลักษณะของความเร่ง 2. อธิบายลักษณะของความเร่งคงที่และ
- การค านวณหาความเร่ง ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก

ได้ถูกต้อง

3. ค านวณหาความเร่งได้ถูกต้อง


18 งานและพลังงาน 1. อธิบายความหมายของพลังงานได้อย่าง LE,QU

- ความหมายของงานและพลังงาน ถูกต้อง
- ชนิดของพลังงาน 2. จ าแนกชนิดของพลังงานกลได้ถูกต้อง

- กฎของพลังงาน 3. ค านวณหางาน และพลังงาน ได้ถูกต้อง

- การค านวณหางาน พลังงานกล



หมายเหตุ :
LE คือ การสอนแบบบรรยาย (Lecture) , QU คือ การสอนแบบถามตอบ (Questioning)

DE คือ การสอนแบบสาธิต (Demonstration) , AS คือ การสอนแบบมอบหมายงาน

โครงการสอน


วิชา ทดสอบวัสดุ 3103 2007

สาขาวิชา เทคนิคโลหะ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561
เนื้อหาหลักสูตร วัตถุประสงค์ของวิชา

ศึกษาเกี่ยวกับหลักการและวิธีการของการทดสอบวัสดุแบบ 1.อธิบายหลักการและวิธีการทดสอบวัสดุแบบต่างๆได้

ต่างๆ ทดสอบหาค่าความเค้นของวัสดุทดสอบหาค่าความแข็ง 2.ใช้เครื่องทดสอบวัสดุแบบต่างๆได้
ของวัสดุ เทคนิคการทดสอบ ข้อควรระวังและหลักการทดสอบ 3.หาค่าความเค้นของวัสดุแบบต่างๆได้

ด้วยความปลอดภัย 4.หาค่าความแข็งของวัสดุแบบต่างๆได้

5.หาค่าความคงทนของวัสดุต่อแรงกระแทกแบบต่างๆ

ได้
6.แสดงนิสัยในการใฝ่หาความรู้

สัปดาห์ หัวข้อเรื่อง วัตถุประสงค์ หมายเหตุ

1 1.หลักการและวิธีการทดสอบวัสดุเบื้องต้น 1.บอกหลักการพื้นฐานในการ

1.1หลักการพื้นฐานในการทดสอบวัสดุ ทดสอบวัสดุได้
1.1.1ความหมายของการทดสอบวัสดุ 2.อธิบายความหมายต่างๆของ

1.1.2ความหมายของผลการทดสอบ วัสดุวิศวกรรมและวิธีการตรวจสอบ

1.1.3ความเปลี่ยนแปลงของวัสดุ ได้
1.1.4เทคนิคของการทดสอบ 3.เตรียมชิ้นทดสอบแรงดึงได้

1.2วัสดุวิศวกรรมและการทดสอบตรวจสอบ

1.2.1ความหมายของวัสดุวิศวกรรม
1.2.2คุณสมบัติของวัสดุวิศวกรรม

1.2.3การเลือกใช้วัสดุวิศวกรรม

1.4.1ลักษณะชิ้นทดสอบการดึง

1.4.1ปฏิบัติการเตรียมชิ้นทดสอบการดึง
2 1.2.4ชนิดของการทดสอบวัสดุ 1.บอกชนิดของการทดสอบวัสดุได้

1.2.5จุดประสงค์ของการทดสอบและการตรวจสอบ 2.เตรียมชิ้นทดสอบการดึงได้

1.5.1เตรียมชิ้นทดสอบการดึง 3.อธิบายคุณสมบัติทางกลของวัสดุ

1.3คุณสมบัติทางกลของวัสดุ ได้
1.3.1ความแข็งแรงของวัสดุ 4.เตรียมชิ้นทดสอบแรงดึงได้

1.3.2ความเค้นและความเครียด 5.อธิบายทฤษฎีความยืดหยุ่นของวัสดุ

สัปดาห์ หัวข้อเรื่อง วัตถุประสงค์ หมายเหตุ



3 1.3.4 การแปรรูปวัสดุ 1.บอกคุณสมบัติการแปรรูปของ
1.3.5 แรงที่กระท าเป็นจังหวะ วัสดุได้

1.3.6 การคืบของวัสดุ 2.บอกทฤษฎีของแรงที่กระท าเป็น

1.3.7ปริมาตรพลังงาน จังหวะ
1.5.1การเตรียมชิ้นทดสอบการดึง 3.บอกทฤษฎีปริมาตรพลังงานได้

4.สามารถเตรียมชิ้นทดสอบการดึง




4 3. การทดสอบวัสดุด้วยเครื่องทดสอบอเนกประสงค์ 1.บอกหลักการท างานของเครื่องได้

3.1หลักการท างานของเครื่อง 2.เตรียมชิ้นทดสอบโดยการดึงได้

3.1.1ส่วนประกอบของเครื่อง
3.1.2ชนิดของเครื่องทดสอบ

3.1.3ระบบการท างานของเครื่อง

1.5 ปฏิบัติการเตรียมชิ้นทดสอบ
1.5.1 เตรียมชิ้นทดสอบการดึง





5 3.2การทดสอบวัสดุด้วยการดึง 1.อธิบายการทดสอบวัสดุโดยการ
3.2.1 ส่วนประกอบของเครื่อง ดึงได้

3.2.2ลักษณะการจับยึดชิ้นทดสอบ 2.ปฏิบัติการทดสอบโดยการดึงได้

3.2.3ความเค้นและความเครียด

3.2.4ข้อสังเกตในการทดสอบ
3.2.5ผลกระทบที่มีต่อการทดสอบ

3.2.6วิธีการทดสอบและผลการกระทบ

3.2.7ความปลอดภัยในการทดสอบ
3.5ปฏิบัติการทดสอบวัสดุ

3.5.1ปฏิบัติการทดสอบการดึง

สัปดาห์ หัวข้อเรื่อง วัตถุประสงค์ หมายเหตุ



6 4.การทดสอบโดยการเฉือน 1. อธิบายพฤติกรรมของวัสดุภายใต้
4.1 พฤติกรรมของวัสดุภายใต้แรงเฉือน แรงเฉือนได้

4.1.1 ลักษณะของแรงเฉือน 2. บอกลักษณะชิ้นทดสอบโดยการ

4.1.2 ลักษณะแรงเฉือนบิด เฉือนได้
4.2.3ข้อสังเกตในการทดสอบ 3. เตรียมชื้นทดสอบโดยการเฉือน

1.4.4 ชิ้นทดสอบโดยการเฉือน ได้

1.5 ปฏิบัติการเตรียมชิ้นทดสอบ

1.5.4 เตรียมชื้นทดสอบการเฉือน




7 4.2 หลักการทดสอบโดยการเฉือน 1.อธิบายหลักการการทดสอบโด
4.2.1 การทดสอบโดยการเฉือนตรง การเฉือนได้

4.2.2การทดสอบโดยการเฉือนบิด 2.บอกการท างานของเครื่องได้

4.3 เครื่องทดสอบโดยการเฉือน 3.ทดสอบโดยการเฉือนได้
4.3.1 เครื่องทดสอบโดยการเฉือนทางกล

4.3.2 เครื่องทดสอบการเฉือนระบบอิเล็กฯ

4.3.3 ความปลอดภัยในการใช้เครื่อง

4.4 ปฏิบัติการทดสอบการเฉือน
4.4.1 ปฏิบัติการทดสอบการเฉือนตรง

4.4.2 ปฏิบัติการทดสอบการเฉือนบิด




8 1.4.2ชิ้นทดสอบการอัด 1.บอกลักษณะชิ้นทดสอบการดัดได้

1.4.3ชิ้นทดสอบการดัดโค้ง 2.บอกลักษณะชิ้นทดสอบการดัด

3.3.1พฤติกรรมของวัสดุภายใต้แรงอัด โค้งได้
3.4.1 พฤติกรรมของวัสดุภายใต้แรงดัดโค้ง 3. อธิบายพฤติกรรมของวัสดุภายใต้

แรงอัดและการดัดโค้งได้

9 สอบกลางภาค วันที่



10 3.3 การทดสอบโดยการอัด 1.อธิบายวิธีการทดสอบโดยการอัด
3.3.1พฤติกรรมของวัสดุภายใต้แรงอัด ได้

3.3.2 วิธีการทดสอบและผลการทดสอบ 2.อธิบายวิธีการทดสอบโดยการ

1.4.6 ชิ้นทดสอบความแข็ง ดัดได้
1.5ปฏิบัติการเตรียมชิ้นทดสอบ 3.บอกลักษณะชิ้นทดสอบความแข็ง

1.5.3 เตรียมชิ้นทดสอบความแข็ง ได้

4.เตรียมชื้นทดสอบความแข็งได้




11 2.การทดสอบความแข็งของวัสดุ 1.บอกการทดสอบความแข็ง

2.2การทดสอบความแข็งแบบชอร์ แบบชอร์ได้
2.2การทดสอบความแข็งแบบบริเนลล์ 2.บอกการทดสอบความแข็งแบบ

1.5 ปฏิบัติการเตรียมชิ้นทดสอบ บริเนลล์ได้

1.5.3 เตรียมชิ้นทดสอบความแข็ง 3.เตรียมชื้นทดสอบความแข็งได้







12 2.3การทดสอบความแข็งแบบวิกเกอร์ 1.บอกหลักการทดสอบความแข็ง

2.3.1 เครื่องทดสอบวิกเกอร์ แบบวิกเกอร์ได้

2.3.2 หลักการและวิธีการทดสอบ 2.ปฏิบัติการทดสอบความแข็งแบบ

2.3.3 การหาค่าความแข็ง วิกเกอร์ได้
2.3.4 การบันทึกผลการทดสอบ

2.5 ปฏิบัติการทดสอบความแข็ง

2.5.4 ทดสอบความแข็งวิกเกอร์

สัปดาห์ หัวข้อเรื่อง วัตถุประสงค์ หมายเหตุ



13 2.4 การทดสอบความแข็งแบบร็อคเวลล์ 1.อธิบายหลักการทดสอบความแข็ง
2.4.1 เครื่องทดสอบร็อคเวลล์ แบบร็อคเวลล์ได้

2.3.2 หลักการและวิธีการทดสอบสเกล B และสเกล

C
2.3.2การหาค่าความแข็ง

2.3.4 การบันทึกผลการทดสอบ

2.5 ปฏิบัติการทดสอบความแข็ง

2.5.4 ทดสอบความแข็งแบบร็อคเวลล์




14 5. การทดสอบความล้า 1.อธิบายการเกิดความเค้น
5.1 ความเค้นเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลงบนชิ้นทดสอบความล้า

1.5 ชิ้นทดสอบความล้า ได้

5.3หลักการทดสอบความล้า 2.บอกลักษณะชิ้นทดสอบความล้า
1.1.5 ชิ้นทดสอบการกระแทก ได้

1.5 ปฏิบัติการเตรียมชิ้นทดสอบ 3.อธิบายหลักการทดสอบความล้า

1.5.3 เตรียมชิ้นทดสอบการกระแทก ได้

4.เตรียมชิ้นทดสอบการกระแทกได้




15 5.2เครื่องทดสอบความล้า 1.บอกหลักการในการเลือกชนิด

5.2.1ชนิดของเครื่องทดสอบความล้า เครื่องทดสอบความล้าได้
1.5 ปฏิบัติการเตรียมชิ้นทดสอบ 2.เตรียมชิ้นทดสอบการกระแทกได้

1.5.5 เตรียมชิ้นทดสอบการกระแทก

สัปดาห์ หัวข้อเรื่อง วัตถุประสงค์ หมายเหตุ



16 6. การทดสอบโดยการกระแทก 1.อธิบายหลักการและวิธีการ
6.1 หักการวิธีการทดสอบโดยการกระแทก ทดสอบโดยการกระแทกได้

6.1.1การทดสอบการกระแทกแบบชาร์ปี 2.เตรียมชิ้นทดสอบการกระแทกได้

6.1.2 การทดสอบการกระแทกแบบอิซอล
1.5 ปฏิบัติการเตรียมชิ้นทดสอบ

1.5.5 เตรียมชิ้นทดสอบการกระแทก




17 6.2 ผลกระทบที่มีผลต่อการทดสอบการกระแทก 1.บอกผลกระทบที่มีต่อการทดสอบ

6.2.1ชิ้นทดสอบ การกระแทกได้

6.2.2ความเร็วขณะทดสอบ 2.อธิบายการท างานของเครื่อง
6.2.3อุณหภูมิในการทดสอบ ทดสอบการกระแทกแบบต่างๆได้

6.2.4การแตกหักของชิ้นทดสอบ 3.ปฏิบัติการทดสอบการกระแทก

6.3 เครื่องทดสอบโดยการกระแทก ได้
6.3.1แบบน ้าหนักตกกระทบ

6.3.2แบบล้อเหวี่ยง

6.3.4ความปลอดภัยในการทดสอบ

6.4 ปฏิบัติการทดสอบการกระแทก
6.4.1ทดสอบการกระแทกแบบชาร์ปี

6.4.2ทดสอบการกระแทกแบบอิซอล



18 สอบปลายภาค

1


แผนก ช่างเชื่อมและเทคนิคโลหะ วิทยาลัยเทคนิคระยอง

หน่วยเตรียมการสอนที่1 ( UNIT LESSON PREPARATION )


วิชา ความแข็งแรงของวัสดุ1 การสอนครั้งที่ 1
หัวข้อเรื่อง-หัวข้อย่อย วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม

บทที่1ความเค้นและความเครียด -เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้หน่วยตัดหน่วยได้อย่างถูกต้อง
แนวคิดเกี่ยวกับความเค้นและความเครียด - เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายหมายหมายหลักการและ
1.1ระบบหน่วย ความส าคัญของความเค้นได้ อย่างถูกต้อง

1.2ความเค้น - เพื่อให้ผู้เรียนสามารถค านวณหาค่าความเค้นต่างๆที่เกิดขึ้นใน
- ความเค้นดึง ความเค้นอัด ความเค้นเฉือน ชิ้นงานได้ อย่างถูกต้อง

1.3 ความเครียด - เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายความหมายของความเครียดในเนื้อ
- ความเครียดดึง ความเครียดอัด ความเครียดเฉือน วัสดุได้อย่างถูกต้อง
1.4 ความเค้นอนุญาต - เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้สูตรค านวณหาค่าความเครียดได้อย่าง

ถูกต้อง
- เพื่อให้ผู้เรียนสามารถหาขนาดชิ้นงานที่ปลอดภัยได้อย่างถูกต้อง








เนื้อหา วิธีการสอน รหัส เวลา
กิจกรรมผู้สอน/ ผู้เรียน หนังสือ นาที

(สัปดาห์ที่ 1 )
บทน าของวิชาความแข็งแรงของวัสดุ การสอนแบบบรรยาย

เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ภาระภายนอก(External Load)ที่ใส่เข้า Explainning Skill
ไปในวัตถุซึ่งจะพิจารณาผลที่อาจท าให้มันเปลี่ยนรูปร่างไป กับความเข้มของแรง อธิบายความส าคัญของควาเค้น
ภายใน(Internal Forces)ซึ่งกระท าภายในวัตถุ วิชานี้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการ ความหมายต่างๆของความเค้น

เปลี่ยนแปลงรูปร่างของวัตถุและความคงที่ของวัตถุ (Stability) เมื่อมีแรง อธิบายว่าความแข็งแรงของ
ภายนอกมากระท า เครื่องจักรและโครงสร้างต่างๆที่ออกแบบขึ้น เช่น วัสดุนั้น ต้องพิจารณาถึงสิ่ง B 10

สะพาน อาคาร รถยนต์เครื่องก าเนิดไฟฟ้า ล้วนสร้างขึ้นมาด้วยวัตถุหลายชิ้น ต่าง ใดบ้างใช้สื่อแสดงรูปให้เห็น
ชนิดกัน สิ่งที่ส าคัญที่สุดเป็นอันดับแรกคือ การใช้หลักการสถิตย์ (Statics) Questioning Skill

เพื่อที่จะหาแรงที่กระท าทั้งภายนอกและภายในวัตถุ การที่โครงสร้างทั้งหมดหรือ . ใช้ค าถามน าว่า”เมื่อวัสดุได้รับ
เพียงบางส่วนช ารุดหรือเสียหายอาจเนื่องจาก แรงภายในเนื้อวัตถุ วัสดุนั้นๆมาก แรงจะเกิดอะไรขึ้นกับวัสดุ ?”
เกินกว่า ที่ก าลังของวัสดุจะรับได้ หรือมีการเปลี่ยนรูปไปอย่างมากจนถาวร Reinforcement Skill

พูดเร่งเร้าให้ผู้เรียนเกิดความ
สนใจที่จะอยากรู้ว่าท าไมต้อง

ศึกษาเรื่องความเค้น

2

เนื้อหา วิธีการสอน รหัส เวลา

กิจกรรม ผู้สอน/ผู้เรียน หนังสือ นาที
การเปลี่ยนรูป เช่นการโก่งของคานเป็นต้น การคงที่ของวัตถุนั้นไม่ได้ขึ้นอยู่กับแรง Explainning Skill
ภายในวัตถุเท่านั้น ยังต้องพิจารณาประเภทของวัสดุที่ใช้ท าอีกด้วย สิ่งต่างๆ อธิบายถึงแนวคิดและองค์

เหล่านี้เป็น “พฤติกรรมวัสดุ ” (Material Behaviour) ซึ่งเป็นสิ่งที่ส าคัญ ที่เรา ประกอบของความแข็งแรงของ
สามารถทดลองให้เห็นจริงได้ผลลัพธ์ของการทดลองสามารถอธิบายถึงการน าวัสดุ วัสดุ

(ของแข็ง) ไปใช้งาน ในที่นี้เราจะศึกษาถึงสูตรที่เราจะใช้ หรือกฎของการออกแบบ Variability Skill
สัญลักษณ์ต่างๆที่เป็นพื้นฐานของวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ แปรเปลี่ยนสื่อ และท่าทาง
การศึกษาวิชาความแข็งแรงของวัสดุนี้ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับก าลังต้านของ

วัสดุหรือส่วนโครงสร้าง อยู่ในสภาวะสมดุลย์โดยกล่าวถึงการหา เขียนกระดาน แสดงถึง ลักษ
ก. ความสัมพันธ์ระหว่างภาระภายนอก กับ หน่วยของแรงต้านทานที่ ณะ ของโหลดที่ท าให้วัสดุเกิด

เกิดขึ้นในโครงสร้างของวัสดุ ความเค้น
ข. ความสัมพันธ์ระหว่างน ้าหนักบรรทุกกับการเปลี่ยนแปลงรูปร่างใน

ส่วนโครงสร้าง
 สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของวัตถุนั้นพิจารณาได้ 2 กรณีคือ การสอนแบบบรรยาย พร้อม

1. เกิดแรงต้านทานภายในชิ้นส่วน เพื่อสร้างความสมดุลกับแรงภายนอก ถ้าแรงทั้งซักถามผู้เรียนบ้าง ให้ผู้เรียน B 25
ต้านภายในนั้นมากเกินไปจากคุณสมบัติของวัสดุนั้นๆวัสดุก็จะพิบัติไป คิดตาม
2. เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเมื่อมีน ้าหนักกระท ามากเกินไปให้เกิดแรงต้าน

มากขึ้นด้วยและในขณะเดียวกันวัตถุมีการเปลี่ยนรูปร่าง(Deformation)
พร้อมกันไป วัตถุที่เปราะก็จะพังพิบัติก่อนการเห็นการเปลี่ยนรูปร่าง

 ชนิดของน ้าหนักหรือแรงที่กระท าภายนอก
1. ลักษณะของแรงกระท าบนวัตถุ เช่นน ้าหนักคงที่(Static Load), น ้าหนักกระท า

ซ ้าๆ(Repeated Load)และน ้าหนักกระแทก(Impact Load)
2. ลักษณะของพื้นที่การรับแรง

- น ้าหนักแผ่เฉลี่ย(Distribution Load) มีทั้งแบบแผ่อย่าง
สม ่าเสมอ และแบบแผ่อย่างไม่สม ่าเสมอ(Uniformly
and non-Uniformly Load)

- น ้าหนักที่กระท าบนพื้นที่เล็กมากๆเมื่อเปรียบเทียบกับ
พื้นที่ของวัตถุนั้น(Concentrated or Point Load)

3. ลักษณะที่ท าให้วัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง(Deformation) แบ่งเป็น
- แรงกระท าตามแนวแกน(Axial Load)
- โมเมนต์ดัด(Bending Load)

- แรงบิด (Torsional or Twisting Load)

3

เนื้อหา วิธีการสอน รหัส เวลา

กิจกรรม ผู้สอน/ผู้เรียน หนังสือ นาที
 อิทธิพลของอุณหภูมิและเวลา (Influence of Temperature and Time)
ความสามารถในการรับก าลังของวัตถุนั้น นอกจากจะขึ้นอยู่กับคุณสมบัติและ

ขนาดของวัสดุแล้วยังขึ้นอยู่กับอุณหภูมิและระยะเวลาในการรับก าลัง นั่นคือเมื่อ
ชิ้นส่วนของโครงสร้างที่ถูกกระท าด้วยแรงต่างๆเป็นเวลานานหลายปีภายใต้การ การสอนแบบบรรยาย

เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในลักษณะต่างๆไม่ว่าจะเป็นเพิ่มขึ้นหรือลดลง ก็จะเป็นผล ให้ผู้เรียนทบทวนความรู้เดิมที่
ให้ก าลังการับน ้าหนักของวัสดุนั้นๆเปลี่ยนไปด้วย เคยเรียนมาแล้ว และผู้สอน

หน่วยพื้นฐาน เขียนกระดานประอบการบรร
1.1หน่วยพื้นฐาน ยาย และให้ผู้เรียนเมื่อสงสัย
หน่วยที่ใช้นี้เป็นหน่วย เอสไอ ซึ่งเป็นหน่วยที่ใช้กันทั่วโลก หน่วยเมตริกและ
หน่วยอังกฤษไม่นิยมใช้เพราะไม่ค่อยสะดวกแต่ก็มีใช้บ้างในงานบางประเภท Reinforcement Skill

SI Units ประกอบด้วยหน่วยรากฐาน 7 หน่วยดังนี้ เน้นเสียงพูดและเน้นจังหวะ
1) ความยาว วัดเป็น เมตร (m) พูดเพื่อให้ผู้เรียนสนใจมากขึ้น

2) มวล วัดเป็น กิโลกรัม (kg)
3) เวลา วัดเป็น วินาที (s) A , B 25

4) กระแสไฟฟ้า วัดเป็น แอมแปร์ (A) Questioning Skill
5) อุณหภูมิทางเทอร์โมไดนามิกส์ วัดเป็น เคลวิน (K) ท าการสุ่มถามเกี่ยวกับหน่วย
6) ความเข้มแห่งการส่องสว่าง วัดเป็น แคนเดลา (cd) เอส. ไอ. เพื่อทดสอบความจ า

7) ปริมาณสาร วัดเป็น โมล (mol)
หน่วย เอส.ไอ.อนุพัทธ์ (derived SI Units ) ได้มาจากผลคูณหรือผลหาร

ของหน่วยรากฐานโดยตรงเช่นหน่วยพื้นที่ (m ) ตัวอย่างที่ใช้มากมีดังนี้
2
1) พื้นที่ วัดเป็น เมตร (m )
2
2
3
3
2) ปริมาตร วัดเป็น เมตร (m )
3) ความเร็ว วัดเป็น เมตร / วินาที (m/s)
4) ความเร็วเชิงมุม วัดเป็น เรเดียน / วินาที (rad/s)

5) ความเร่งเชิงมุม วัดเป็น เรเดียน / วินาที (rad/s )
2
2
6) ความเร่ง วัดเป็น เมตร / วินาที (m/s )
2
2
7) โมเมนต์ วัดเป็น นิ วตันเมตร (N.m)
2
2
8) ความเค้น วัดเป็น นิ วตัน/ เมตร (N/m )
9) โมเมนต์ตัม วัดเป็น กก.ม / วินาที (kgm / s )
2
10) Second moment of area วัดเป็น ม (m )
4
4
2
2
11) Moment of inertia วัดเป็น กก.ม (kgm )

4



เนื้อหา วิธีการสอน รหัส เวลา
กิจกรรม ผู้สอน/ผู้เรียน หนังสือ นาที
1.2 ความเค้น(Stress)

เมื่อมีแรงภายนอกมากระท าบนวัตถุใดๆจะมีแรงภายในต้านโดยมีขนาด การสอนแบบบรรยาย
รวมแล้วเท่ากับแรงภายในท่อนวัตถุ(bar)ที่ถูกกระท าด้วยแรงในแนวแกน
Questioning Skill
(axial force)ที่พยายามท าให้เกิดการยืดตัว(Elongate)ตามแนวแกนเราเรียก
ถามน าว่า”ถ้าหากวัตถุรับแรง
ว่าท่อนวัตถุนั้นถูกกระท าโดยแรงดึง(tension) แต่ถ้าแรงภายนอกที่กระท านั้นจะเกิดอะไรขึ้นกับวัตถุ มันจะยืด
พยายามท าให้เกิดการหดตัวตามแนวแกน เราเรียกว่าท่อนวัสดุนั้นถูกกระท าด้วยได้หรือไม่ ? “

แรงกดหรือแรงอัด(compression) “ แรงที่เราน ามาพิจารณานั้น
เป็นแรงภายนอกหรือภายใน?”


Explainning Skill

อธิบายว่าความเค้นที่เกิดขึ้น
เกิดขึ้นจากองค์ประกอบใดบ้าง


A ,B 25
รูป1-1 ความเค้นในวัสดุ กิจกรรมผู้เรียน

= F F ผู้เรียนนั่งฟัง จดตาม
=

A A

เมื่อ  ค่าความเค้นที่เกิดขึ้น Reinforcement Skill

F แรงต้านภายในเนื้อวัสดุ พูดเสียงดังเพื่อกระตุ้นผู้เรียน

A พื้นที่หน้าตัดที่พิจารณา ใช้ท่าทางดึงปากกา แล้วภายใน

โดยสรุป ความเค้น คือ แรงภายในต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ ที่วัตถุต่อต้าน (internal ปากกาจะเกิดความเค้นขึ้นใน
resisting force) แรงภายนอกที่มากระท าต่อวัตถุนั้น โดยมีแรงรวมเท่าแรง แนวแกน

ภายนอกแต่มีทิศทางตรงกันข้าม Explainning Skill
ค่าแรงเค้นที่ค านวณได้นี้เป็นเพียงค่าเฉลี่ยเท่านั้น(โดยสมมุติว่าความเค้น อธิบายว่าค่าที่ได้นั้นเป็นค่า

กระจายอย่างสม ่าเสมอทั่วหน้าตัดที่รับแรง) แต่ในความเป็นจริงการกระจายของ โดยเฉลี่ยเท่านั้น
ความเค้นอาจยุ่งยากมากกว่านี้แล้วแต่กรณี Questioning Skill
ชนิดของความเค้น ใช้ค าถามว่า “มีแรงแบบใดบ้าง

ที่ท าให้เกิดความเค้นขึ้น?”
แรงเค้นอาจแบ่งออกได้เป็นหลายชนิดดังนี้

1. แรงเค้นอย่างง่ายหรือแรงเค้นโดยตรง (Simple or Direct stress)
ซึ่งอาจจะเป็น
ก). แรงดึง (Tension)

ข). แรงอัด (Compression)
ค). แรงเฉือน (Shear)

5



เนื้อหา วิธีการสอน รหัส เวลา
กิจกรรม ผู้สอน/ผู้เรียน หนังสือ นาที
2. แรงเค้นโดยอ้อม (Indirect stress) ซึ่งอาจจะเป็น

ก). แรงดัด (Bending) การสอนแบบบรรยาย
ข). แรงบิด (Torsion) Explainning Skill

3.แรงเค้นผสม (Combined stress) ซึ่งเกิดจากการรวมเอาแรงเค้น อธิบายถึงลักษณะของความ
ชนิดใดชนิดหนึ่งจากข้อ 1 และข้อ 2 เข้าด้วยกัน เค้นแบบต่างๆ
Reinforcement Skill

Tensile Stress  คือความเค้นดึง เกิดเมื่อวัสดุอยู่ภายใต้แรงดึง แสดงท่าทางการดึงวัตถุ
t
แรงดึงที่กระท าต้องตั้งฉากกับพื้นที่หน้าตัดที่พิจารณาเท่านั้นดังรูป1-2 Explainning Skill
อธิบายลักษณะความเค้นดึง
Reinforcement Skill

เขียนกระดานประกอบ


รูป1-2 ความเค้นดึง กิจกรรมผู้เรียน


   F F ผู้เรียนนั่งฟัง จดตาม A , B 25
t t
A A ให้ผู้เรียนซักถามเมื่อสงสัย

ความเค้นอัด ( Compressive Stress ) หรือ c จะเกิดขึ้นเมื่อ วัตถุอยู่
ภายใต้ แรงอัดโดยแรงอัดจะกระท าตั้งฉากกับพื้นที่หน้าตัดของท่อนวัตถุนั้น Reinforcement Skill


แสดงท่าทางการอัดวัตถุ
Explainning Skill
อธิบายลักษณะความเค้นอัด

เขียนกระดานประกอบ
รูป1-3 ความเค้นอัด
อธิบายถึงสูตรที่ใช้ค านวณหา
FF
จะได้   ค่าความเค้น
C C
AA

ความเค้นเฉือน ( Shear Stress ) Questioning Skill
เกิดขึ้นเมื่อวัตถุอยู่ภายใต้แรงเฉือน โดบแรงนั้นจะพยายามท าให้วัตถุขาด ถามว่า “แรงของความเค้นเฉือน

ออกจากกันตามแนวระนาบที่ขนานกับทิศทางของแรงนั้น และดึง ต่างกันอย่างไร ?”
รูป1-4 ความเค้นเฉือน Reinforcement Skill
แสดงท่าทางการเฉือน แรง
การเฉือนจะต้องขนานกับพื้นที่

ถ้าให้  คือความเค้นเฉือนที่เกิดขึ้น หน้าตัดที่พิจารณาเท่านั้น
A คือพื้นที่หน้าตัดที่ขนานกับแนวแรง Explainning Skill
F คือแรงเฉือนที่กระท าต่อวัตถุ อธิบายความหมายของความ

จะได้ความสัมพันธ์ เค้นเฉือน
F
F
 =

 = …
A
A

6



เนื้อหา วิธีการสอน รหัส เวลา
กิจกรรม ผู้สอน/ผู้เรียน หนังสือ นาที
ตัวอย่างที่1-1

แท่งวัสดุในรูปถูกแรงกระท าด้วยแรงดึงขนาด 1200 กิโลกรัมจงค านวณหาความ การสอนบรรยาย และเขียน
เค้นบนหน้าตัด 1- 1, 2-2 , 3-3 กระดาน

Questioning Skill
ใช้ค าถาม “ถามว่าวัสดุแต่ละ
ท่อนนั้นรับความเค้นเท่ากัน

หรือไม่ ?”
Explainning Skill

อธิบายถึงการวิเคราะห์



วิธีท า กิจกรรมผู้เรียน
F
จากสูตร 1-1 = ให้ผู้เรียนตรวจสอบค าตอบ
A
 ที่ได้โดยกดเครื่องค านวณตาม A,B,C 25
2
2
เมื่อแรง F = 1200 x 9.81 N และ A = (30) = 706.858 mm
4 ว่าตรงกันหรือไม่
1200 . 9 81
  = 
1-1
706 . 858 กิจกรรมผู้เรียน
 ให้ผู้เรียนคิดตามโดยท าพร้อม
16.654 KN/mm ANS
2
กันกับผู้สอน


F 
จากสูตร  = A = (24) = 452.389 mm ผู้เรียนนั่งฟัง จดตาม
2
2
2-2
A 4
1200 . 9 81 Questioning Skill
 =
452 . 389 ท าการสุ่มถามเพื่อสอบถาม
= 26.0218 KN / mm ANS ถึงความเข้าใจของผู้ เรียน
2

ให้ผู้เรียนซักถามเมื่อสงสัย

F 
จากสูตร = A = (12) = 113.097 mm
2
2
A 4
1200 . 9 81
 =

113 . 097
= 104.087 KN / mm ANS
2




หมายเหตุ ค่าที่หาได้เป็นความเค้นดึง

7



เนื้อหา วิธีการสอน รหัส เวลา
กิจกรรม ผู้สอน/ผู้เรียน หนังสือ นาที
ตัวอย่างที่1-2 แผ่นไม้ A และ B ในรูปติดกาวทั้งสองข้างเข้ากับแผ่นไม้อัด 2แผ่น

ซึ่งยาว L จงหาค่า L ที่ท าให้ความเค้นเฉือนทีในกาวมีค่า 10 นิ วตัน/ตาราง การสอนบรรยาย และเขียน
มิลลิเมตร กระดาน

Questioning Skill
ถามผู้เรียนว่า เราควรจะใช้
พื้นที่ตรงไหน มาพิจารณา


น ารูปเขียนกระดานเพื่อชัด

เจน


อธิบายเหตุการใช้พื้นที่หน้าตัด

ว่าควรใช้ส่วนไหน
F
วิธีท า จากสูตร  เมื่อ
A กิจกรรมผู้เรียน B 25
  10 N / mm , F  30  10 3 N และ A  (L  ) 6  130mm
2
2

ให้ผู้เรียนตรวจสอบค าตอบ
30 10 3 ว่าถูกต้องหรือไม่
แทนค่า 10 
( L ) 6  130 ผู้เรียนนั่งฟัง จดตาม

และซักถามเมื่อสงสัย
30 10 3
L 6 
10 130


23 . 0769 mm

L  29 . 077 mm ค่าความยาว L เท่ากับ 29.077 มิลลิเมตร ANS


ตัวอย่างที่1-3 ท่อนอลูมิเนียมแข็งต่ออยู่ระหว่างท่อนเหล็กและบรอนซ์ดังรูป โดย การสอนแบบบรรยาย

มีแรงกระท าตรงกลางแกนท่อดังรูป จงหาค่าความเค้นที่เกิดขึ้นในโลหะแต่ละชนิด

ให้ผู้เรียนลองออกมาเขียนรูป

อิสระของแรงที่กระท า


Click to View FlipBook Version