(นายมนต์สิทธิ์ ไพศาลธนวัฒน์) ผู้ว่าราชการจังหวัดจันทบุรี สารจาก ผู้ว่าราชการจังหวัดจันทบุรี จังหวัดจันทบุรีมีภูมิประเทศติดกับทะเล มีพื้นที่ป่าชายเลน ประมาณ 1 แสนไร่ ซึ่งเป็นที่ขยายพันธุ์ของสัตว์น�้ำวัยอ่อน ท�ำให้พื้นที่ชายทะเล ของจังหวัดจันทบุรี มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะต่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำชายฝั่ง โดยเฉพาะกุ้งทะเล ในอดีตเมื่อปี พ.ศ.2531 จังหวัดจันทบุรีเป็นจังหวัดแรกที่ประสบผล ส�ำเร็จในการเลี้ยงกุ้งทะเล(กุ้งกุลาด�ำ) เป็นต้นแบบให้จังหวัดอื่นๆ ที่มีพื้นที่ติดทะเลหรือ มีพื้นที่ป่าชายเลนไปพัฒนาการเลี้ยงกุ้งทะเล ท�ำให้ประเทศไทยส่งออกสินค้ากุ้งทะเลเป็นอันดับ 1 ของประเทศ ปัจจุบันพื้นที่การเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลของจังหวัดจันทบุรีมีประมาณ 10,000 ไร่ ผลผลิตประมาณ18,000 ตันต่อปี การเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามการพัฒนาของเทคโนโลยี ดังนั้น การจัดงานวันกุ้งจันท์ จึงเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อน�ำความรู้และเทคโนโลยีที่ได้ ไปปรับใช้ ให้เหมาะสมกับพื้นที่ของตนเอง ท้ายสุดนี้ ข้าพเจ้า นายมนต์สิทธิ์ ไพศาลธนวัฒน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดจันทบุรี ขอชื่นชมและเป็นก�ำลังใจ ให้คณะผู้จัดงาน “วันกุ้งจันท์” ครั้งที่ 27 ประสบความส�ำเร็จในการจัดงาน บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ และขอ ขอบคุณหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่ให้การสนับสนุนให้การจัดงานในครั้งนี้ส�ำเร็จลุล่วงทุกประการ
เนื่องในโอกาสที่สมาคมผู้เลี้ยงกุ้งจันทบุรีได้จัดให้มีงาน “วันกุ้ง จันท์”ครั้งที่27ในวันเสาร์ที่18 มีนาคม 2566 ภายใต้หัวข้อ“พลิกฟื้นกุ้งไทย คุณภาพปลอดภัย ก้าวไกลสู่ความยั่งยืน” เพื่อเป็นเวทีเปิดโอกาสให้เกษตรกร ผู้เลี้ยงกุ้งและผู้สนใจได้รับฟังข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์จากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน รวมทั้งเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งที่ประสบความส�ำเร็จในด้านต่างๆ และ เป็นโอกาสในการสร้างเครือข่ายระหว่างเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งและผู้ค้าปัจจัยการผลิต นับเป็นเรื่องน่ายินดียิ่ง ในนาม ของกรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ขอแสดงความชื่นชมและยินดีกับพี่น้องเกษตรกรจังหวัดจันทบุรีและ จังหวัดใกล้เคียง ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมกุ้งทุกภาคส่วน และยิ่งไปกว่านั้นการจัดงานอย่างต่อเนื่องเป็นปี ที่ 27 ยิ่งเป็นที่ประจักษ์ชัดถึงความเข้มแข็ง และมีศักยภาพ พร้อมพัฒนาอุตสาหกรรมกุ้งไทยให้เติบโตได้อย่างมั่นคง และยั่งยืน จากนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในการฟื้นฟูผลผลิตกุ้งทะเลให้ได้400,000ตัน ในปี2566และกรมประมงก�ำหนดเป้าหมายแนวทางการด�ำเนินงานอย่างเร่งด่วน ซึ่งจากความร่วมมือร่วมใจกันในทุก ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องส่งผลให้ในปี2565 ประเทศไทยมีผลผลิตเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา และในปี2566 คณะกรรมการ บริหารจัดการห่วงโซ่การผลิตกุ้งทะเลและผลิตภัณฑ์หรือชริมพ์บอร์ด(Shrimp Board)กรมประมงและผู้เกี่ยวข้อง ในอุตสาหกรรมกุ้งทะเลทุกภาคส่วน ร่วมกันก�ำหนดแผนและแนวทางการด�ำเนินการต่อเนื่อง ทั้งด้านการตลาด การ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต พร้อมทั้งแก้ไขและป้องกันปัญหาด้านโรคกุ้งทะเลอย่างรอบด้าน ซึ่งการจัดงาน “วันกุ้ง จันท์” ในครั้งนี้ผู้จัดงานได้รวบรวมสาระความรู้ในด้านต่างๆ ไว้อย่างครบถ้วน เป็นประโยชน์อย่างยิ่งส�ำหรับพี่น้อง เกษตรกร เพื่อให้มีองค์ความรู้เท่าทันสถานการณ์พร้อมพัฒนาและพลิกฟื้นอุตสาหกรรมกุ้งทะเลไทยต่อไป สุดท้ายนี้ขออวยพรให้การจัดงานในครั้งนี้ส�ำเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ทุกประการ พี่น้องเกษตรกร และทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องร่วมมือร่วมใจกัน น�ำอุตสาหกรรมกุ้งของประเทศเราให้เจริญก้าวหน้าอย่างยั่งยืนตลอดไป (นายเฉลิมชัย สุวรรณรักษ์) อธิบดีกรมประมง สารจาก อธิบดีกรมประมง
อาชีพการเลี้ยงกุ้งเป็นอาชีพที่ส�ำคัญยิ่งอาชีพหนึ่งของจังหวัด จันทบุรีสามารถสร้างงานสร้างรายได้ในระดับต้นๆ กว่า 20 ปีแต่ในช่วง 5 ปี ที่ผ่านมาอาชีพการเลี้ยงกุ้งได้ประสบปัญหาต่างๆ มากมาย ทั้งในด้านโรค, พื้นที่ การเลี้ยง, ปัจจัยการผลิตที่สูงขึ้นทุกอย่างแต่ราคากลับไม่สูงตาม แต่ผลผลิตกุ้งกลับ ลดลงกว่า50%เมื่อเทียบกับช่วงที่เคยผลิตได้มากที่สุด(50,000ตัน/ปี) ปัจจุบันลดลงเหลือ ไม่ถึง 20,000 ตัน ต่อปี สมาคมผู้เลี้ยงกุ้งจันทบุรีได้ตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้น และได้ปรึกษาหารือถึงแนวทางที่จะให้อาชีพการ เลี้ยงกุ้งอยู่รอดอย่างยั่งยืนและมั่นคง มีความปลอดภัยทั้งต่อผู้บริโภคและผู้เลี้ยงกุ้งเองจึงได้ตัดสินใจเลือกแนวทางการ เลี้ยงกุ้งแนวชีวภาพ ซึ่งอาจจะกระทบกับบริษัทผู้ค้าปัจจัยการผลิตบ้างแต่เป็นแนวทางเลือกสุดท้ายแล้วที่เกษตรกรผู้ เลี้ยงกุ้งพยายามดิ้นรนเพื่อเอาตัวรอดและเพื่อรักษาอาชีพการเลี้ยงกุ้งให้ด�ำรงอยู่ต่อไป ตามแนวทางของกรมประมงที่ ส่งเสริมให้มีการใช้จุลินทรีย์แก้ปัญหาแทนการใช้ยาและสารเคมีเพื่อให้อาชีพการเลี้ยงกุ้งมีความยั่งยืน และมั่นคงดัง ค�ำขวัญของงาน “วันกุ้งจันท์”ครั้งที่27 ที่ว่า“พลิกฟื้นกุ้งไทย คุณภาพปลอดภัย ก้าวไกลสู่ความยั่งยืน”(Reviving Thai Shrimp Industry Toward Food Safety and Sustainability.) ท้ายสุดนี้กระผม นายวิรัตน์อรุณพันธุ์ในฐานะประธานการจัดงาน “วันกุ้งจันท์” ครั้งที่ 27 ณ ห้อง ประชุม มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรีขอขอบพระคุณพี่น้องเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งทุกท่าน หน่วยงานของกรม ประมงทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค, มหาวิทยาลัย,จังหวัดจันทบุรี,องค์การบริหารส่วนจังหวัดจันทบุรี,สมาคมเครือ ข่ายผู้เลี้ยงกุ้งไทย,แปลงใหญ่กลุ่มผู้เลี้ยงกุ้งขาวนายายอาม จันทบุรี,คลัสเตอร์กุ้งกุลาด�ำไทยและที่ขาดไม่ได้คือ บริษัท ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายอาหารกุ้ง บริษัทผู้ค้าปัจจัยการผลิต รวมถึงโรงเพาะฟัก และสื่อมวลชน ที่ได้มาร่วมกันสนับสนุน ให้การจัดงานในครั้งนี้ได้ส�ำเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ของคณะผู้จัดงาน เพื่อด�ำรงคงไว้ส�ำหรับอาชีพการเลี้ยงกุ้งและ อาชีพต่อเนื่องต่อไป ขออ�ำนาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายทั้งปวง โปรดดลบันดาลให้ท่านและครอบครัวประสบแต่ความสุขความ ส�ำเร็จ และความเจริญก้าวหน้าตลอดไป (นายวิรัตน์ อรุณพันธุ์) นายกสมาคมผู้เลี้ยงกุ้งจันทบุรี สารจาก นายกสมาคมผู้เลี้ยงกุ้งจันทบุรี
สมาคมผู้เลี้ยงกุ้งจันทบุรีเป็นองค์กรเกษตรด้านการเพาะเลี้ยง กุ้งทะเลที่มีความเข้มแข็งและมีความตั้งใจในการด�ำเนินกิจกรรมต่างๆเกี่ยว กับเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้ง และอุตสาหกรรมกุ้งไทยมาโดยตลอด จะเห็นได้จาก การจัดกิจกรรมงาน “วันกุ้งจันท์” ต่อเนื่องมายาวนานเป็นครั้งที่ 27 ใน การที่จะ“พลิกฟื้นกุ้งไทย คุณภาพปลอดภัย ก้าวไกลสู่ความยั่งยืน” เพื่อ เป็นการพบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนข่าวสารความรู้ประสบการณ์ของเกษตรกร นักวิชาการ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ผลักดันฟื้นฟูผลผลิตกุ้งไทย ตาม นโยบายภาครัฐด้านต่างๆ ให้สอดคล้องกัน ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อ อุตสาหกรรมกุ้งไทย สมาคมเครือข ่ายผู้เลี้ยงกุ้งไทยมีความยินดีและร ่วมกัน สนับสนุนกิจกรรมต่างๆของสมาคมผู้เลี้ยงกุ้งจันทบุรีให้มีความเข้มแข็งมาก ขึ้น ยังผลประโยชน์แก่อุตสาหกรรมกุ้งไทยต่อไป (นายครรชิต เหมะรักษ์) นายกสมาคมเครือข่ายผู้เลี้ยงกุ้งไทย สารจาก นายกสมาคมเครือข่ายผู้เลี้ยงกุ้งไทย
27 35 38 46 52 57 62 70 75 80 87 102 106 107 115 118 127 วิสัยทัศน์การพัฒนาอุตสาหกรรมกุ้งไทย โดย : นายประพันธ์ ลีปายะคุณ โครงการความช่วยเหลือ จากภาครัฐต่อเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งไทย โดย : นายครรชิต เหมะรักษ์ ความมั่นใจคุณภาพ อาหารกุ้งไทย โดย : น.สพ.ปรีชา เอกธรรมสุทธิ์ ความมั่นใจคุณภาพอาหารกุ้งไทย โดย : ลัดดาวัลย์ ครองพงษ์ ความมั่นใจในคุณภาพลูกกุ้งไทย โดย : ดร.ธิดาพร ฉวีภักดิ์ ความมั่นใจในคุณภาพลูกกุ้งไทย โดย : สมประสงค์ เนตรทิพย์ มองกุ้งไทย แลกุ้งโลก โดย : สรพัศ ปณกร “พลังงาน ประหยัดไฟ” ช่วยคุณประหยัดไฟ ราคาไม่แพง โซล่าเซลล์+มอเตอร์ DC โดย : อ.สุระพันธ์สิงหราช และนายชาญยุทธ ก้งซุย (ช่างโย) โอกาสการฟื้นตัวของนากุ้งที่ทิ้งร้างว่างเปล่า โดย : ดร. นิวัติสุธีมีชัยกุล เจาะลึกตลาดกุ้งกุลาด�ำไทย ที่มีโอกาสและท�ำก�ำไรในสถานการณ์ปัจจุบัน โดย : คุณศักดิ์สหกรณ์ คงสมุทร Micro-Probiotic เพื่อการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล โดย : ดร.ชัยวุฒิสุดทองคง การใชัจุลินทรีย์อย่างไรให้มีประสิทธิภาพในกุ้งสายโตเร็ว โดย : นายชาลี จิตรประสงค์ ความส�ำเร็จของการเลี้ยงกุ้ง สายพันธุ์ทนโตปานกลาง ร่วมกับการใช้จุลินทรีย์ ที่มีประสิทธิภาพหลากหลายสายพันธุ์ โดย : นายกิตติพัฒน์ ศรีสมวงศ์ เลี้ยงขาวก็ได้ ด�ำก็ดี สไตล์หมอเจี๊ยบ โดย : น.สพ.สุวรรณ ยิ้มเจริญ เลี้ยงกุ้งด�ำง่ายๆ สไตล์ป๋าเหลิม สามร้อยยอด โดย : นายกิตติคุณ ขาลไธสงษ์ โซลาร์ฟาร์มลอยน�้ำเพื่อการเกษตร โดย : อัษฎา บุญศรีรัตน์ ศาสตร์และศิลป์ดินตะกอน เพื่อการใช้ประโยชน์พื้นบ่ออย่างยั่งยืน โดย : รองศาสตรจารย์ดร. จารุมาศ เมฆสัมพันธ์ สารบัญ 27 35 38 46 52 57 62 70 75 80 87 102 106 107 115 118 127 วิสัยทัศน์การพัฒนาอุตสาหกรรมกุ้งไทย โดย : นายประพันธ์ ลีปายะคุณ โครงการความช่วยเหลือ จากภาครัฐต่อเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งไทย โดย : นายครรชิต เหมะรักษ์ ความมั่นใจคุณภาพ อาหารกุ้งไทย โดย : น.สพ.ปรีชา เอกธรรมสุทธิ์ ความมั่นใจคุณภาพอาหารกุ้งไทย โดย : ลัดดาวัลย์ ครองพงษ์ ความมั่นใจในคุณภาพลูกกุ้งไทย โดย : ดร.ธิดาพร ฉวีภักดิ์ ความมั่นใจในคุณภาพลูกกุ้งไทย โดย : สมประสงค์ เนตรทิพย์ มองกุ้งไทย แลกุ้งโลก โดย : สรพัศ ปณกร “พลังงาน ประหยัดไฟ” ช่วยคุณประหยัดไฟ ราคาไม่แพง โซล่าเซลล์+มอเตอร์ DC โดย : อ.สุระพันธ์สิงหราช และนายชาญยุทธ ก้งซุย (ช่างโย) โอกาสการฟื้นตัวของนากุ้งที่ทิ้งร้างว่างเปล่า โดย : ดร. นิวัติสุธีมีชัยกุล เจาะลึกตลาดกุ้งกุลาด�ำไทย ที่มีโอกาสและท�ำก�ำไรในสถานการณ์ปัจจุบัน โดย : คุณศักดิ์สหกรณ์ คงสมุทร Micro-Probiotic เพื่อการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล โดย : ดร.ชัยวุฒิสุดทองคง การใชัจุลินทรีย์อย่างไรให้มีประสิทธิภาพในกุ้งสายโตเร็ว โดย : นายชาลี จิตรประสงค์ ความส�ำเร็จของการเลี้ยงกุ้ง สายพันธุ์ทนโตปานกลาง ร่วมกับการใช้จุลินทรีย์ ที่มีประสิทธิภาพหลากหลายสายพันธุ์ โดย : นายกิตติพัฒน์ ศรีสมวงศ์ เลี้ยงขาวก็ได้ ด�ำก็ดี สไตล์หมอเจี๊ยบ โดย : น.สพ.สุวรรณ ยิ้มเจริญ เลี้ยงกุ้งด�ำง่ายๆ สไตล์ป๋าเหลิม สามร้อยยอด โดย : นายกิตติคุณ ขาลไธสงษ์ โซลาร์ฟาร์มลอยน�้ำเพื่อการเกษตร โดย : อัษฎา บุญศรีรัตน์ ศาสตร์และศิลป์ดินตะกอน เพื่อการใช้ประโยชน์พื้นบ่ออย่างยั่งยืน โดย : รองศาสตรจารย์ดร. จารุมาศ เมฆสัมพันธ์
25 โดย นายประพันธ์ ลีปายะคุณ รองอธิบดีกรมประมง วิสัยทัศน์การพัฒนา อุตสาหกรรมกุ้งไทย วิสัยทัศน์การพัฒนา อุตสาหกรรมกุ้งไทย 1. สถานการณ์กุ้งทะเลของประเทศไทย ในปี2555 อุตสาหกรรมกุ้งทะเลของไทย ประสบกับวิกฤตปัญหาโรคตายด่วน (Early Mortality Syndrome; EMS) ส่งผลให้ผลผลิตกุ้งทะเลของประเทศ ลดลงเป็นอย่างมาก แต่หลังจากผ่านพ้นวิกฤตโรค EMS ได้ในปี2557ผลผลิตกุ้งทะเลของประเทศก็มีแนวโน้มเพิ่ม ขึ้น อย่างไรก็ตามอุตสาหกรรมกุ้งทะเลยังคงประสบปัญหา ด้านโรค ด้านสิ่งแวดล้อม ลูกพันธุ์ราคา และต้นทุนการ ผลิตที่สูงกว่าประเทศอื่นเรื่อยมา ยิ่งไปกว่านั้น ในปี2562 – 2564 สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ทั่วโลก อุตสาหกรรมกุ้งของไทยก็ได้รับผลกระทบท�ำให้ ปริมาณผลผลิตกุ้งทะเลของไทยไม่สามารถฟื้นฟูได้อย่าง เต็มศักยภาพ ในปี2565กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้แต่งตั้ง คณะกรรมการบริหารจัดการห่วงโซ่การผลิตกุ้งทะเลและ ผลิตภัณฑ์ (Shrimp Board) โดยมีองค์ประกอบ อธิบดี กรมประมง เป็นประธาน และมีคณะกรรมการประกอบ ด้วยอธิบดีกรมการค้าภายใน นายกสมาคมอาหารแช่เยือก แข็งไทย ผู้แทนห้องเย็น โรงงานแปรรูป ผู้แทนเกษตรกร ผู้เลี้ยงกุ้งทะเล นายกสมาคมการค้าปัจจัยการผลิตสัตว์ น�้ำไทย นายกสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย นายกสมาคม ผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย และมีผู้อ�ำนวยการกองวิจัยและ พัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำชายฝั่ง กรมประมง เป็น เลขานุการ โดยมีผลงานที่ส�ำคัญ คือ การประกันราคารับ ซื้อผลผลิตกุ้งทะเลและแนวทางในการแก้ไขปัญหาเพื่อให้ อุตสาหกรรมกุ้งไทยสามารถขับเคลื่อนและยังคงมีศักยภาพ ทางการแข่งขันในระดับโลก นอกจากนี้กรมประมงได้รับ วิสัยทัศน์การพัฒนา อุตสาหกรรมกุ้งไทย
26 มอบหมายเป็นหน่วยงานหลักในการบูรณาการร่วมกับ ทุกภาคส่วนในอุตสาหกรรมกุ้งทะเลเพื่อด�ำเนินการแก้ไข ปัญหาและฟื้นฟูผลผลิตกุ้งทะเลให้ได้400,000ตัน ภายใน ปี2566 กรมประมงจึงได้จัดท�ำแผนการฟื้นฟูผลผลิตกุ้ง ทะเลได้ก�ำหนดเป้าหมายผลผลิตกุ้งทะเล ปี2565 และปี 2566 ไว้ที่320,000 ตัน และ 400,000 ตัน ตามล�ำดับ ซึ่งในปี2565 ที่ผ่านมาได้ด�ำเนินการตามแนวทาง การแก้ไขปัญหาครอบคลุมทุกด้าน ได้แก่ การบริหารเชิง พื้นที่แบบบูรณาการการบริหารจัดการข้อมูลด้านการเพาะ เลี้ยงกุ้งทะเล การแก้ไขปัญหาโรคกุ้งทะเล พันธุ์กุ้งทะเล การจัดการการเลี้ยง การฟื้นฟูพื้นที่เลี้ยงกุ้งทะเล การลด ต้นทุนการผลิตแหล่งทุน ราคา การตลาด และการบังคับ ใช้กฎหมาย โดยประเด็นส�ำคัญของการด�ำเนินการแก้ไข ปัญหา เช่น 1) การบริหารเชิงพื้นที่แบบบูรณาการโดยจัดตั้ง คณะท�ำงานแก้ไขปัญหาการเลี้ยงกุ้งทะเลระดับพื้นที่ในทุก จังหวัดที่มีการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลเพื่อบูรณาการการท�ำงาน ร่วมกับทุกภาคส่วน ส่งเสริม ติดตาม และแก้ไขปัญหาการ เลี้ยงในแต่ละพื้นที่ และมีการติดตามความก้าวหน้าเป็น ประจ�ำทุกเดือน 2) การแก้ไขปัญหาโรคกุ้งทะเล ให้ความส�ำคัญ กับการวิจัยและพัฒนาเพื่อแก้ไขและป้องกันปัญหาด้านโรค กุ้งทะเล มีระบบการควบคุมและเฝ้าระวังโรคกุ้งทะเลตลอด สายการผลิต โดยจัดสรรงบประมาณ ด�ำเนินการกิจกรรม น�ำร่อง Shrimp sandbox มีกระบวนการตรวจสอบการ ผลิตนอเพลียสกุ้งทะเลคุณภาพปลอดโรค การตรวจโรค ในลูกกุ้งระยะPL ทุกรุ่นการผลิต(Whitelisthatchery/ Lot-by-lot) และการพัฒนาระบบความปลอดภัยทาง ชีวภาพในฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเลเพื่อสนับสนุนกุ้งทะเลปลอด โรค ในจังหวัดน�ำร่อง 2 จังหวัด คือ จันทบุรีและสงขลา นอกจากนี้ยังพัฒนาศักยภาพและสร้างเครือข่ายห้องปฏิบัติ การตรวจวิเคราะห์โรคกุ้งทะเลทั้งภายในกรมประมงและ ภาคเอกชน และเพิ่มเติมกิจกรรมการให้บริการด้านสุขภาพ สัตว์น�้ำแก่เกษตรกรผ่านคลินิกเคลื่อนที่ (Mobile clinic) และการให้ค�ำปรึกษาแก้ไขปัญหาทางโทรศัพท์
27 3) พันธุ์กุ้งทะเลโดยพัฒนากุ้งขาวแวนนาไม สาย พันธุ์สิชล1เพื่อเป็นสายพันธุ์ทางเลือกให้แก่เกษตรกรและ อยู่ระหว่างการพัฒนาสายพันธุ์ใหม่ด้านโตดีและต้านทาน โรครวม 2สายพันธุ์เพื่อเป็นทางเลือกให้แก่เกษตรกรโดย ด�ำเนินการต่อเนื่องในปี2566 4) การจัดการการเลี้ยง โดยการส่งเสริมการใช้ จุลินทรีย์ในการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล ผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ ปม.1แบบผงและ ปม.2แบบน�้ำ แจกจ่ายให้กับเกษตรกร พร้อมทั้งส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรจัดตั้งศูนย์ผลิตจุลินทรีย์ เพื่อผลิตหัวเชื้อแจกจ่ายให้กับสมาชิกภายในกลุ่ม และการ ถอดบทเรียนการเลี้ยงกุ้งทะเลของเกษตรกรที่ประสบความ ส�ำเร็จครอบคลุมเกษตรกรแต่ละรูปแบบการเลี้ยงเป็นต้น แบบองค์ความรู้ในวิธีการเลี้ยงกุ้งทะเล ให้เกษตรกรใน แต่ละพื้นที่สามารถศึกษา ปรับใช้ให้ประสบความส�ำเร็จ ในการเลี้ยงเพิ่มขึ้น 5) ราคาShrimp Board ประกาศประกันราคารับ ซื้อผลผลิตกุ้งทะเลส่งผลให้ราคากุ้งทะเลภายในประเทศได้ รับการประกันขั้นต�่ำโดยภาคเอกชนเป็นครั้งแรกตั้งแต่วัน ที่ 15 ตุลาคม 2564 เป็นต้นมา และราคากุ้งทะเลภายใน ประเทศปรับตัวสูงขึ้น จากการด�ำเนินงานในปี2565 ที่ผ่านมา ส่งผล ให้มีปริมาณผลผลิตกุ้งทะเลจากการเพาะเลี้ยง รวมทั้งสิ้น 307,243.31ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ0.78เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564(ที่มา:ข้อมูลผลผลิตกุ้งทะเลจากโปรแกรมประยุกต์ การออกหนังสือก�ำกับการซื้อขายสัตว์น�้ำ APD ของกรม ประมง และจากการติดตามของส�ำนักงานประมงจังหวัด) 2. การฟื้นฟูผลผลิตกุ้งทะเล ปี พ.ศ. 2566 Shrimp Board และกรมประมง ได้เห็นชอบแผน ปฏิบัติการด้านกุ้งทะเล ปีพ.ศ. 2566 โดยมีเป้าหมายเพื่อ ฟื้นฟูผลผลิตกุ้งทะเลของไทยให้ได้400,000ตัน ภายในปี 2566 ประกอบไปด้วยกลยุทธ์หลักขับเคลื่อนตลอดห่วง โซ่อุตสาหกรรมกุ้งทะเล และสอดรับกับนโยบาย “ตลาด น�ำการผลิต” ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จ�ำนวน 3 กลยุทธ์ได้แก่ กลยุทธ์การส่งเสริมด้านการตลาด กลยุทธ์
28 การเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตกุ้งทะเล และ กลยุทธ์แนวทางป้องกันแก้ไข ปัญหาด้านโรคกุ้งทะเล โดยประกอบด้วย 19 กิจกรรม ดังนี้ กลยุทธ์ที่ 1 กลยุทธ์การส่งเสริมด้านการตลาด จ�ำนวน 4 กิจกรรม 1) ประกันราคารับซื้อในปี2566 2) ส่งเสริมการบริโภคกุ้งภายในประเทศและต่าง ประเทศ (การสร้างภาพลักษณ์กุ้งทะเล และส่งเสริมการ บริโภคกุ้งทะเลภายในประเทศ) 3) ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ และกฎระเบียบของการส่งออกกุ้งทะเล 4) การศึกษาสถานการณ์กุ้งทะเลต่างประเทศ กลยุทธ์ที่ 2 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตกุ้ง ทะเล จ�ำนวน 8 กิจกรรม 1) ส่งเสริมการใช้ลูกพันธุ์ที่มีคุณภาพและเหมาะ สมกับศักยภาพการผลิต 2)ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการ เพาะเลี้ยงกุ้งทะเล โดยก�ำหนดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมระบบ การเลี้ยงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ลดต้นทุน และ สอดรับกับนโยบายการใส่ใจสิ่งแวดล้อม ทั้งด้านการเลี้ยง
29 6.2) โครงการอาหารกุ้งทะเลธงเขียวเพื่อการเลี้ยง กุ้งทะเล ส�ำหรับบริโภคภายในประเทศ ปี2566 6.3) การจัดท�ำรูปแบบการเลี้ยงกุ้งทะเลที่เหมาะ สม เพื่อใช้ประกอบการยื่นกู้ขอสินเชื่อจากสถาบันการเงิน หรือแหล่งทุน 6.4)ส่งเสริมการรวมกลุ่มเพื่อขอรับการสนับสนุน เงินจากแหล่งทุน 7)การพัฒนาบุคลากรด้านการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล 8)การฟื้นฟูพื้นที่การเลี้ยงกุ้งทะเล(การเพิ่มพื้นที่ การเลี้ยงกุ้งทะเล และการแก้ไขปัญหาแหล่งน�้ำ) โดยใช้รูปแบบ BCG EconomicModelและการตระหนัก ถึงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต สินค้ากุ้งทะเล หรือ Carbon Footprint ซึ่งเป็นประเด็น ที่ภาคธุรกิจให้ความสนใจและเป็นประเด็นส�ำคัญส่งผลต่อ ตลาดสินค้ากุ้งทะเลในอนาคตอันใกล้ 3) ส่งเสริมองค์ความรู้เรื่องการจัดการการเพาะ เลี้ยงกุ้งทะเลให้เหมาะสมกับศักยภาพและพื้นที่ของ เกษตรกร 4) ส่งเสริมการใช้งาน APD หรือวิธีที่ไม่ขัดต่อ กฎหมาย(จัดท�ำในรูปแบบเอกสารเพื่อใช้เป็นหลักฐานการ ซื้อขาย) 5) ส่งเสริมการรวมกลุ่มเกษตรกร 6) สนับสนุนการเข้าถึงแหล่งทุน 6.1) โครงการเสริมสภาพคล่องเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้ง ทะเล ปี2565ระยะที่1โดยกรมประมงได้รับการอนุมัติโค รงการฯจากคณะรัฐมนตรี(ครม.)และได้รับการสนับสนุน เงินจากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรวงเงิน 510 ล้านบาท ให้เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งทะเลกู้ยืมเงิน รายละไม่เกิน 500,000 บาท จ�ำนวน 1,000รายเพื่อใช้ซื้อปัจจัยการผลิต ปัจจุบัน อยู่ระหว่างเปิดรับสมัครเกษตรกรเข้าร่วมโครงการฯ ณ ส�ำนักงานประมงจังหวัด
30 กลยุทธ์ที่ 3 แนวทางป้องกันแก้ไขปัญหาด้าน โรคกุ้งทะเล จ�ำนวน 7 กิจกรรม 1) การแก้ไขปัญหาโรคกุ้งทะเลในระดับโรงเพาะ ฟัก/โรงอนุบาล 2) การแก้ไขปัญหาโรคกุ้งทะเลในฟาร์มเลี้ยงกุ้ง ทะเล 3) อบรม/ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคกุ้ง ทะเล ให้แก่เจ้าหน้าที่และเกษตรกร 4) คลินิกเคลื่อนที่ แนะน�ำเกษตรกรเรื่องโรคกุ้ง ทะเล 5) ระบบแจ้งปัญหาโรคกุ้งทะเล Online ผ่าน Google form และการเตือนภัยด้านโรคกุ้งทะเล 6) ส ่งเสริมให้มีห้องปฏิบัติการเอกชน เพื่อให้ บริการตรวจโรคสัตว์น�้ำ 7) ส่งเสริมการจัดการ ควบคุมการระบาดของ โรคกุ้งทะเล โดยเครือข่ายเกษตรกร โดยกรมประมงและ Shrimp board ก�ำกับ ดูแล และติดตามผลการด�ำเนิน งานในแต่ละกิจกรรม เพื่อขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการด้าน กุ้งทะเล ปีพ.ศ.2566ให้เป็นไปตามเป้าหมายเป็นประจ�ำ ทุกเดือน 3. กรมประมงและบทบาทด้านมาตรฐานการ เพาะเลี้ยงกุ้งทะเล เพื่อการผลิตกุ้งทะเล คุณภาพ มาตรฐานการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลเป็นเครื่องหมาย เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภคว ่าสินค้ากุ้งทะเลมี คุณภาพ มาจากกระบวนการเลี้ยงการผลิตที่ปลอดภัย ปลอดโรค ไม่มีสารเคมีหรือยาปฏิชีวนะที่เป็นอันตราย ต่อผู้บริโภค ท�ำให้ผลผลิตกุ้งทะเลของไทยสามารถส่งออก ไปยังตลาดโลก สร้างรายได้และส่งผลดีต่ออุตสาหกรรม กุ้งทะเลทั้งประเทศ โดยตั้งแต่ปี2546 กรมประมงมีการ ด�ำเนินการด้านระบบรับรองมาตรฐานฟาร์มเพาะเลี้ยงกุ้ง ทะเลและพัฒนาระบบการรับรองมาตรฐานมาอย่างต่อ เนื่อง มาตรฐานที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน แบ่งเป็น 1. มาตรฐานภายในประเทศ ได้แก่1) มาตรฐาน ของกรมประมง เช่น มาตรฐานการปฏิบัติทางการเพาะ เลี้ยงสัตว์น�้ำที่ดี(Good Aquaculture Practice : GAP) มาตรฐานโค้ดออฟ คอนดัค(Codeof Conduct : CoC) และ 2) มาตรฐานแห่งชาติคือมาตรฐานสินค้าเกษตร (มกษ.)
31 มาตรฐานบังคับ ได้แก่ มาตรฐาน มกษ. 7432 – 2558 การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำที่ดีส�ำหรับ ฟาร์มผลิตลูกกุ้งขาวแวนนาไมปลอดโรค บังคับปี2559 โดยควบคุมตั้งแต่การรับพ่อแม่พันธุ์กุ้งขาวแวนนาไม ไป จนถึงก่อนการเคลื่อนย้ายลูกกุ้งขาวแวนนาไมระยะนอ เพลียสออกจากบ่อฟัก ส�ำหรับมาตรฐานอื่นๆ จัดเป็นมาตรฐานทั่วไป เกษตรกรหรือผู้ประกอบการสามารถเลือกด�ำเนินการโดย สมัครใจ เพื่อให้เป็นไปตามความต้องการของผู้ซื้อทั้งใน และต่างประเทศ โดยมาตรฐานพื้นฐานที่มักถูกก�ำหนด ส�ำหรับสินค้าผลิตภัณฑ์กุ้งทะเลส่งออก เช่น มาตรฐาน GAP รับรองว่าการเลี้ยงกุ้งทะเลมีการจัดการสุขอนามัย ของฟาร์มที่ดีผลิตภัณฑ์มีคุณภาพดีและมีความปลอดภัย (Food Safety) มาตรฐาน CoC ซึ่งมีความเข้มงวดกว่า GAPกรมประมงในด้านสิ่งแวดล้อม รับรองคุณลักษณะ 3 ด้าน คือ กุ้งทะเลมีคุณภาพ ปลอดภัย และเป็นมิตรต่อสิ่ง แวดล้อมเพื่อให้เกิดความยั่งยืน และ มกษ. 7436 - 2563 ส�ำหรับฟาร์มเลี้ยงสัตว์น�้ำเพื่อการบริโภคตามหลักสากล ที่ พัฒนาปรับเปลี่ยนจากมาตรฐาน GAPกรมประมง มุ่งเน้น เรื่องการควบคุมการผลิตที่มีคุณภาพถูกสุขอนามัย และมี ความปลอดภัยต่อผู้บริโภคและเป็นมาตรฐานที่กรมประมง ก�ำลังส่งเสริมให้กับเกษตรกรในปัจจุบัน 2. มาตรฐานต่างประเทศ เช่น มาตรฐาน Aquaculture Stewardship Council (ASC) มาตรฐาน Best Aquaculture Practices (BAP) เป็นต้น - ข้อมูลจ�ำนวนการรับรองมาตรฐาน ณ เดือน มกราคม 2566 ประกอบด้วย1) มาตรฐานภายในประเทศ จ�ำนวน 9,000ฉบับ ประกอบด้วย GAPกรมประมง8,716
32 ฉบับ CoC กรมประมง 47 ฉบับ และ มกษ. จ�ำนวน 237 ฉบับ (ได้แก่ มกษ. 7401 – 2565 จ�ำนวน 96 ฉบับ มกษ. 7422 – 2561 จ�ำนวน 28 ฉบับ มกษ. 7432 – 2558 จ�ำนวน 47 ฉบับ และ มกษ. 7436 – 2563 จ�ำนวน 66 ฉบับ)2) มาตรฐานต่างประเทศได้แก่มาตรฐาน BAP216 ฉบับ (โรงเพาะ 20 ฉบับ และฟาร์มเลี้ยง 196 ฉบับ) และ มาตรฐาน ASC 14 ฉบับ 4. กรมประมงและบทบาทด้านสิ่งแวดล้อมใน การเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล เพื่อความยั่งยืน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ก�ำหนดนโยบาย ในการพัฒนาภาคเกษตรและการสร้างมูลค ่าเพิ่มทาง เศรษฐกิจให้กับภาคเกษตร ภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (Bio-CircularGreen Economic Model; BCG) ด้านการเกษตร เชื่อม โยงกับอุตสาหกรรมเป้าหมาย 4 อุตสาหกรรมสาคัญของ ํ ประเทศได้แก่ (1) เกษตรและอาหาร (2)สุขภาพและการ แพทย์(3) พลังงาน วัสดุและเคมีชีวภาพ และ(4)การท่อง เที่ยวและเศรษฐกิจสร้างสรรค์มีเป้าหมายเพื่อปรับเปลี่ยน ระบบการเกษตรของประเทศไทยสู่3สูงคือ ประสิทธิภาพ สูง มาตรฐานสูง และรายได้สูงด้วยการใช้เทคโนโลยีและ นวัตกรรมผสานภูมิปัญญา ยกระดับผลผลิตเกษตรสู ่ มาตรฐานสูงครอบคลุมทั้งด้านคุณภาพ โภชนาการความ ปลอดภัยและระบบการผลิตที่ยั่งยืน ให้การท�ำการเกษตร เป็นอาชีพที่สร้างรายได้สูง มีการผลิตสินค้าเกษตรพรีเมี่ ยม สินค้าเชิงนวัตกรรมที่หลากหลาย ก�ำหนดราคาขาย ได้ตามคุณภาพของผลผลิต อันจะส่งผลให้ผลิตภัณฑ์มวล
33 รวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product; GDP) ภาคเกษตร เติบโตอย่างสมดุลและมีเสถียรภาพ รายได้ เกษตรกรเพิ่มขึ้น เกิดการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร การเกษตรอย่างสมดุลและยั่งยืน กรมประมงได้รับนโยบายรัฐบาลมาปฏิบัติผ่าน การจัดท� ำโครงการภายใต้แนวทางการขับเคลื่อนภาค การเกษตรด้วยโมเดลเศรษฐกิจBCG ของกระทรวงเกษตร และสหกรณ์และ BCG Value Chain ตั้งแต่ปี2564 เป็นต้นมา รวมถึงส่งเสริมการวิจัยการประมงสู่การพัฒนา เศรษฐกิจBCG และบรรจุเป็นกิจกรรมที่ต้องด� ำเนินการใน แผนปฏิบัติการด้านกุ้งทะเล ปีพ.ศ. 2566 อีกด้วย นอกจากนี้จากกระแสการตระหนักต่อปัญหาการ เกิดสภาวะโลกร้อนทั้งในกลุ่มผู้ผลิตและผู้บริโภค และมี แนวคิดในการใช้เครื่องหมายคาร์บอนฟุตพริ้นท์(Carbon footprint) บนสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ต่างๆแสดงข้อมูลให้ผู้ บริโภคได้ทราบว่า ตลอดวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์เหล่า นั้นมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกออกมาปริมาณเท่าใดซึ่ง จะช่วยในการตัดสินใจชื้อของผู้บริโภค และกระตุ้นให้ผู้
34 ประกอบการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีในการผลิตให้เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น ในอุตสาหกรรมการผลิตกุ้ง ทะเลของประเทศไทย หากมีการด�ำเนินโครงการ และเก็บข้อมูลการลดการปล ่อยก๊าซเรือน กระจกที่ชัดเจน จะช่วยให้มีความสามารถ ในการต่อรองด้านการค้าระดับโลกมากยิ่ง ขึ้น สุดท้ายนี้กรมประมงเล็งเห็นความ ส�ำคัญและมีการด�ำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม มาอย ่างต ่อเนื่อง ปัจจุบันกรมประมงได้ส ่ง เสริมให้เกษตรกรใช้พลังงานสะอาดทดแทนการใช้ พลังงานจากไฟฟ้า เช่น ส่งเสริมการใช้Solar cell ใน ฟาร์มกุ้งทะเล ซึ่งนอกจากจะลดต้นทุนพลังงานได้แล้วนั้น ยังสามารถลดการปล่อย CO2 จากฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเลได้ อีกด้วย ในปี2566 กรมประมงและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ยังคงให้ความส�ำคัญในประเด็น Carbonfootprint โดยได้ บรรจุเป็นกิจกรรมที่ต้องด�ำเนินการในแผนปฏิบัติการด้าน กุ้งทะเล ปีพ.ศ. 2566 เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรตระหนัก รู้ในประเด็นสิ่งแวดล้อม และเตรียมตั้งรับกับสถานการณ์ การค้าโลกที่มุ่งสู่ความยั่งยืน
35 โดย นายครรชิต เหมะรักษ์ นายกสมาคมเครือข่ายผู้เลี้ยงกุ้งไทย โครงการความช่วยเหลือ ปัญหาการผลิตสินค้าเกษตรของเกษตรกรไทย แต่ละชนิด คงหนีไม่พ้นปัญหาหลักๆ 3 เรื่อง ได้แก่ 1. ปัญหาต้นทุนการผลิตสูงจากราคาปัจจัยการ ผลิตต่างๆ 2. ปัญหาด้านการผลิต จากโรคระบาดและด้าน วิชาการ ในการส่งเสริมการเพิ่มผลผลิต 3. ปัญหาด้านราคาผลิตผลที่มีคววามผันผวน ไม่มีเสถียรถาพ และราคาตกต�่ำตามฤดูกาลและกลไก การตลาด กุ้งทะเลทั้งกุ้งขาวแวนนาไมและกุ้งกุลาด�ำจากการ เพาะเลี้ยง เป็นสัตว์เศรษฐกิจที่ท�ำรายได้ให้เกษตรกรไทย และเป็นสินค้าส่งออกที่ส�ำคัญ ที่ท�ำรายได้เข้าประเทศเป็น มูลค่าปีละเกือบแสนล้านบาท ซึ่งภาครัฐได้ให้ความส�ำคัญ ในการให้ความช่วยเหลือ ส่งเสริม แก้ปัญหาและพัฒนา อาชีพการเลี้ยงกุ้งของเกษตรกรไทยมาอย่างต่อเนื่อง จะ เห็นได้จากความพยายามจะแก้ปัญหาผ่านโครงการต่างๆ จากหน่วยงานของรัฐ เช่น โครงการความช่วยเหลือ จากภาครัฐต่อเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งไทย จากภาครัฐต่อเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งไทย
36 โครงการรับจ� ำน� ำกุ้งกุลาด� ำ/กุ้งขาวแวนนาไม ปี2547/ปี2552 โครงการรักษาเสถียรภาพราคากุ้ง(ชดเชยส่วน ต่าง) ปี2555 โครงการปรับปรุงโครงสร้างฟาร์ม ปี2559 โครงการเพิ่มขีดความสามารถการผลิตกุ้งทะเล เพื่อการบริโภคภายในประเทศ (ลูกกุ้ง 40,000 บาท) ปี 2561 (คชก.61) โครงการลดต้นทุนการผลิตกุ้งทะเลเพื่อเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข ่งขัน โดยติดตั้งระบบโซล ่า เซลล์และใช้ระบบควบคุมการเติมอากาศอัจฉริยะและการ พัฒนาโครงสร้างฟาร์ม (ปูPE) ในปี2564 (คชก.64) โครงการส่งเสริมการบริโภคกุ้งภายในประเทศ ปี2564 (ชดเชยกิโลกรัมละ 20 บาท) โครงการส ่งเสริมสภาพคล ่องเกษตรกรผู้ เลี้ยงกุ้งทะเล ปี2565 จากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
37 - เงินให้กู้ยืมปลอดดอกเบี้ยจ�ำนวน 500ล้านบาท - เกษตรกร 1,000 รายๆละ 500,000 บาท เพื่อเป็นเงินทุนซื้อปัจจัยการผลิต เช่น ค่าลูกกุ้ง, ค่าอาหาร, ค่าไฟฟ้า ฯลฯ ซึ่งกรมประมงจะเปิดรับเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ ช่วงกลางเดือนมีนาคม 2566 นี้ และโครงการอาหารกุ้งธงเขียว เพื่อลดต้นทุน ค่าอาหารกุ้งโดยกรมประมงก�ำลังยกร่างโครงการน�ำเสนอ งบประมาณไปยังกองทุนรวมเพื่อช ่วยเหลือเกษตรกร (คชก.) จ�ำนวน 160 ล้านบาท เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรใน การชดเชยค่าอาหารกุ้งกิโลกรัมละ2 บาท รายละ25ตัน ต่อปีเป็นเวลา2 ปี(วงเงินชดเชยรายละ50,000 บาท/ปี) โดยเกษตรกรสั่งจ้างผลิตอาหารกุ้งตามสูตรที่เกษตรกรและ กรมประมงก�ำหนดสูตร ซึ่งโครงการได้ผ่านความเห็นชอบ ในหลักการของคณะกรรมการ Shrimp board แล้ว และ คาดว่าจะน�ำเสนอโครงการเร็วๆ นี้ จะเห็นได้ว่าหน่วยงานภาครัฐได้มีความพยายาม น�ำเสนอโครงการต่างๆ ที่จะแก้ปัญหาและพัฒนาเกษตรกร มาโดยตลอด ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะตัวแทนเกษตรกร ผ่านองค์กร เกษตรกรต่างๆ ซึ่งจะเป็นแนวทางและความหวังของ เกษตรกร เป็นการสร้างความเชื่อมั่นกับอุตสาหกรรมกุ้ง ไทยโดยรวมต่อไป
38 โดย น.สพ.ปรีชา เอกธรรมสุทธิ์ สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ความมั่นใจคุณภาพ อาหารกุ้งไทย ประวัติสมาคม ก่อตั้งเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2521 (44 ปี) นายกสมาคมคนปัจจุบัน (นายพรศิลป์ พัชรินทร์ ตนะกุล) คณะกรรมการบริหาร 16 คน สมาชิก 53 ราย (ครอบคลุม 90% ของการผลิต อาหารสัตว์ในประเทศ) มูลค่าการผลิตอาหารสัตว์ประมาณ 3 แสนล้าน บาทต่อปี วัตถุประสงค์ ส่งเสริมการประกอบวิสาหกิจประเภทที่เกี่ยว กับการผลิต การค้าอาหารสัตว์ การน�ำเข้าวัตถุดิบ เช่น ข้าวโพด ปลาป่น ถั่วเหลือง กากถั่วเหลือง ฯลฯ เพื่อตลาด ภายในประเทศและส่งออกต่างประเทศ สนับสนุนและช่วยเหลือสมาชิก แก้ไขอุปสรรค ข้อขัดข้องต่างๆ รวมทั้งเจรจาท�ำความตกลงกับบุคคล ภายนอกเพื่อประโยชน์ร่วมกันในการประกอบวิสาหกิจของ สมาชิก ส่งเสริมคุณภาพของอาหารสัตว์ ที่สมาชิกเป็น ผู้ผลิตให้เข้าสู่มาตรฐานที่ดี ตลอดจนวิจัยและปรับปรุงการ ผลิตให้ได้ผลดียิ่งขึ้น แลกเปลี่ยนความรู้ความคิดซึ่งกันและกันใน ทาง วิชาการข่าวสารการค้า ตลอดจนท�ำการวิจัยเกี่ยวกับ อาหารสัตว์ ร่วมมือกับรัฐบาลในการส่งเสริมการผลิตอาหาร
39 สัตว์ให้อยู่ในมาตรฐานที่ดี สอดคล้องกับนโยบายของทาง ราชการ ส่งเสริมการผลิตอาหารสัตว์ ให้มีปริมาณเพียง พอแก่ความต้องการของตลาดทั้งภายใน และภายนอก ประเทศ ไม่ประกอบกิจการค้าเพื่อแสวงหาก�ำไรหรือ ด�ำเนินการทางการเมืองอย่างใดทั้งสิ้น สมาชิกที่ผลิตอาหารกุ้ง 1. บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) 2. บริษัท ไทยยูเนียนฟีดมิลล์ จ�ำกัด (มหาชน) 3. บริษัท กรุงไทยอาหาร จ�ำกัด (มหาชน) 4. บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จ�ำกัด 5. บริษัท คาร์กิลล์สยาม จ�ำกัด 6. บริษัท เอเชี่ยน ฟีด จ�ำกัด 7. บริษัท ไทยลักซ์เอ็นเตอร์ไพรส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 8. บริษัท โกรเบสท์คอร์โพเรชั่น จ�ำกัด 9. บริษัท อินเทคค์ ฟีด จ�ำกัด 10. บริษัท โกลด์ คอยน์ สเปเชียลิตี้ส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 11. บริษัท อาร์ที อะกริเทค จ�ำกัด 12. บริษัท ทีอาร์เอฟ อาหารสัตว์ จ�ำกัด 13. บริษัท อินเว (ประเทศไทย) จ�ำกัด
40
41
42 คุณภาพ คืออะไร ความพึงพอใจ, ความเหมาะสม (ผู้ใช้) กติกา หลักการ ที่ควบคุม จริยธรรม จรรยาบรรณ ของผู้ผลิต มาตรฐาน ฯลฯ อาหารกุ้ง อาหารสัตว์ควบคุมเฉพาะ กรมปศุสัตว์ กรมประมง ก�ำกับดูแล ใบส�ำคัญการขึ้นทะเบียน อาหารสัตว์ควบคุมเฉพาะ (แบบ บ.ท.ส. ๒-๑)
43
44
45 มาตรฐานต่างๆ ที่โรงงานมี
46 โดย ลัดดาวัลย์ ครองพงษ์ ผู้อำนวยการกองวิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์น้ำ กองวิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์น้ำ กรมประมง ดังนั้น อาหารกุ้งที่ขายในประเทศไทยทั้งอาหาร ส�ำเร็จรูป พรีมิกซ์ และอาหารเสริม ได้รับการควบคุม คุณภาพโดยกรมประมง ตาม พรบ.ควบคุมคุณภาพอาหาร สัตว์ พ.ศ.2558 ซึ่งเกษตรกรสามารถมั่นใจในคุณภาพและ ความปลอดภัยของอาหารกุ้ง ดังนี้ มั่นใจที่ 1 ออกใบอนุญาต มั่นใจที่ 2 ขึ้นทะเบียนอาหารสัตว์ควบคุมเฉพาะ มั่นใจที่ 3 ตรวจสอบคุณภาพอาหารกุ้ง มั่นใจที่ 4 ห้องปฏิบัติการตรวจสอบอาหารสัตว์น�้ำ มั่นใจที่ 5 รับรองระบบการประกันคุณภาพอาหาร สัตว์ GMP/HACCP มั่นใจที่ 6 ตรวจสอบข้อมูลทะเบียนอาหารกุ้๐ง จากระบบ e-Aquafeed กรมประมงได้รับมอบอ�ำนาจจากกรมปศุสัตว์ให้มีอ�ำนาจด�ำเนินการในกิจการที่เกี่ยวข้อง กับอาหารสัตว์น�้ำซึ่งเป็นอาหารสัตว์ควบคุมเฉพาะตามพระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหาร สัตว์พ.ศ. 2558 อาหารสัตว์น�้ำที่เป็นอาหารสัตว์ควบคุมเฉพาะได้แก่ อาหารส�ำหรับสัตว์น�้ำ ๘ ชนิด ประเภทวัตถุที่ผสมแล้วชนิดอาหารสัตว์ผสมส�ำเร็จรูป หัวอาหารสัตว์และ สารผสมล่วงหน้า (พรีมิกซ์)และประเภทอาหารเสริมส�ำหรับสัตว์ชนิดอาหารเสริมโปรตีน อาหารเสริมไขมัน อาหาร เสริมวิตามิน อาหารเสริมแร่ธาตุ ตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เรื่อง กําหนดอาหาร สัตว์ควบคุมเฉพาะ พ.ศ.2558 ความมั่นใจคุณภาพ อาหารกุ้งไทย
47 มั่นใจที่ 1 ออกใบอนุญาต กฏหมายก�ำหนดให้ผู้ประกอบการอาหารสัตว์น�้ำ ต้องได้รับอนุญาตจากกรมประมงหรือกรมปศุสัตว์ก่อน จึงจะสามารถประกอบการได้ โดย ผู้ผลิต ผู้น�ำเข้า และผู้ ขายอาหารสัตว์น�้ำที่เป็นอาหารสัตว์ควบคุมเฉพาะต้องมีใบ อนุญาตผลิตอาหารสัตว์ควบคุมเฉพาะ ใบอนุญาตน�ำเข้า อาหารสัตว์ควบคุมเฉพาะ และใบอนุญาตขายอาหารสัตว์ ควบคุมเฉพาะ ตามล�ำดับ แต่ผู้ผลิตและผู้น�ำเข้าอาหารสัตว์ น�้ำต้องขึ้นทะเบียนอาหารฯ ก่อนจึงจะผลิตหรือน�ำเข้าเพื่อ ขายได้ ซึ่งกระบวนการออกใบอนุญาต ต้องมีการตรวจสอบ ว่าผู้ประกอบการมีคุณสมบัติตามที่กฏหมายก�ำหนด ดังนี้ - มีตัวตนถูกต้องตามกฎหมาย - มีคุณสมบัติตามที่ กฏหมายก�ำหนด เช่น มีถิ่น ที่อยู่ในประเทศไทย ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย ไม่เป็นบุคคล วิกลจริต เป็นต้น - มีสถานที่ผลิต น�ำเข้า ขาย หรือเก็บอาหารสัตว์น�้ำ ที่สามารถรักษาคุณภาพของอาหารสัตว์น�้ำ รวมถึงวัตถุดิบ ที่ใช้ผลิต ให้มีคุณภาพดี เช่น สะอาด สามารถป้องกันการ ปนเปื้อน มั่นคงแข็งแรง เป็นต้น - อุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตต้องมีครบทั้ง กระบวนการ มีประสิทธิภาพ สะอาด ไม่เกิดการปนเปื้อน - มีการควบคุมคุณภาพตลอดกระบวนการผลิต มั่นใจที่ 2 ขึ้นทะเบียนอาหารสัตว์ควบคุม เฉพาะ ผู้ผลิตและผู้น�ำเข้าอาหารกุ้งต้องน�ำอาหารกุ้งมา ขอขึ้นทะเบียนอาหารสัตว์ควบคุมเฉพาะกับกรมประมง โดยมีคณะกรรมการพิจารณาค�ำขอขึ้นทะเบียนอาหารสัตว์ ควบคุมเฉพาะ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการจากหลายหน่วย งานในกรมประมงร่วมกันพิจารณาสูตรอาหาร โดยมีหลัก เกณฑ์ในการพิจารณาดังนี้ ชื่อทางการค้าต้องไม่อวดอ้าง สรรพคุณ ลักษณะอาหาร ข้อความ “ใช้ส�ำหรับ” ชนิด และปริมาณวัตถุที่เติมในอาหารสัตว์ และคุณภาพทางเคมี เหมาะสมกับชนิดและขนาดของกุ้ง วัตถุดิบที่ใช้เป็นส่วน ผสมมีคุณค่าทางโภชนาการ ชนิดภาชนะบรรจุสามารถ เก็บรักษาให้อาหารคงคุณภาพได้ รวมถึงอายุการเก็บซึ่ง จะพิจารณาจากวัตถุดิบ น�้ำหนัก และชนิดภาชนะบรรจุ เมื่อได้รับใบส�ำคัญการขึ้นทะเบียนอาหารสัตว์ ควบคุมเฉพาะของแต่ละสูตรอาหารแล้ว ผู้ผลิตและผู้น�ำ เข้าจึงจะสามารถผลิตหรือน�ำเข้าอาหารกุ้งเพื่อขายได้
48 มั่นใจที่ 3 ตรวจสอบคุณภาพอาหารกุ้ง หลังจากผู้ผลิตอาหารกุ้งได้รับการขึ้นทะเบียนอาหารสัตว์แล้ว พนักงานเจ้าหน้าที่จากกรมประมงจะสุ่มเข้าตรวจ สอบและเก็บตัวอย่างอาหารกุ้งจากโรงงาน ด่านน�ำเข้า ร้านค้า และฟาร์มเกษตรกร เป็นระยะ เพื่อตรวจสอบข้อความบน ฉลาก รายงานผลวิเคราะห์อาหารกุ้งของโรงงาน และคุณภาพของอาหารกุ้ง ดังนี้ ฉลาก ต้องมีข้อความตามตรงที่ขึ้นทะเบียนไว้ เช่น ชื่อทางการค้า คุณภาพทางเคมี ส่วนผสม วันผลิต วันล่วงอายุ วิธีใช้ วิธีการเก็บรักษา เป็นต้น รายงานผลวิเคราะห์อาหารกุ้งของโรงงานและผลวิเคราะห์คุณภาพโดยห้องปฏิบัติการของกองฯ ต้องเป็นดังต่อ ไปนี้ คุณภาพทางเคมีต้องเป็นไปตามที่ขึ้นทะเบียนไว้ ไม่มียาปฏิชีวนะ ไม่พบเชื้อก่อโรคเช่น ซัลโมเนลลา มีเชื้อแบคทีเรีย รวมไม่เกิน 8 x 106 CFU/g มีเชื้อรารวมไม่เกิน 1x 105 CFU/g และมีสารพิษอะฟลาทอกซิน ไม่เกิน 20 ไมโครกรัมต่อ 1 กก. มั่นใจที่ 4 ห้องปฏิบัติการตรวจสอบอาหาร สัตว์น�้ำ ตัวอย่างอาหารกุ้งที่สุ่มเก็บโดยพนักงานเจ้าหน้าที่ จะถูกส่งไปตรวจวิเคราะห์คุณภาพที่ห้องปฏิบัติการกอง วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์น�้ำ ซึ่งห้องปฏิบัติการมีการ จัดท�ำและรักษาระบบมาตรฐาน ISO/IEC 17025 ซึ่ง เป็นระบบสากลที่รับรองมาตรฐานห้องปฏิบัติการที่เป็น ที่ยอมรับทั่วโลก ว่าห้องปฏิบัติการมีสมรรถนะ และมี มาตรฐานในการรายงานผลการทดสอบ ปัจจุบันห้องปฏิบัติการกองฯ ได้รับการรับรอง จ�ำนวน 10 รายการ ได้แก่ โปรตีน ความชื้น เถ้า ไขมัน กาก ออกซีเตตร้าซัยคลิน คลอเตตร้าซัยคลิน ฟอสฟอรัส อีทอกซีควิน และคลอแรมเฟนิคอล โดยห้องปฏิบัติการ ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารสัตว์น�้ำของกรมประมงได้ เข้าร่วมกิจกรรมการทดสอบความช�ำนาญ (Proficiency Testing) ของกรมวิทยาศาสตร์บริการ และห้องปฏิบัติการ วิเคราะห์สารตกค้างในอาหารสัตว์น�้ำกรมประมงกับกรม ปศุสัตว์ได้มีการเปรียบเทียบผลทดสอบระหว่างห้องปฏิบัติ
49 การ (Interlaboratory Comparison) เป็นประจ�ำทุกปี ซึ่ง กิจกรรมดังกล่าวเป็นเทคนิคหนึ่งของการประกันคุณภาพ ของห้องปฏิบัติการและใช้ส�ำหรับการเฝ้าระวังสมรรถนะ ในการด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่องของห้องปฏิบัติการ นอกจากนี้ห้องปฏิบัติการกองฯ ยังมีการตรวจ วิเคราะห์ทางจุลชีววิทยา ได้แก่ เชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย เชื้อ ซัลโมเนลลา รวมถึงสารพิษจากเชื้อรา และยาปฏิชีวนะ ชนิดอื่นๆ อีกด้วย มั่นใจที่ 5 รับรองระบบการประกันคุณภาพ อาหารสัตว์ GMP/HACCP นอกจากการตรวจสอบผู้ประกอบการอาหารสัตว์ น�้ำตามที่กฎหมายก�ำหนดแล้ว กรมประมงยังให้การรับรอง ระบบประกันคุณภาพอาหารสัตว์ คือ ระบบ GMP และ ระบบ HACCP แก่โรงงานผลิตอาหารสัตว์น�้ำที่สมัครใจขอ การรับรองด้วย ระบบการจัดการสุขลักษณะที่ดีในสถานประกอบ การ (GMP : Good Manufacturing Practice) คือ มาตรฐานสากลที่ได้รับการรับรองจากทั่วโลกว่าเป็น มาตรฐานที่ดีในเรื่องการควบคุมกระบวนการผลิตทั้ง อาหารมนุษย์และอาหารสัตว์ ระบบ GMP ท�ำให้อาหาร สัตว์จากกระบวนการผลิตมีความปลอดภัย ไม่เป็นอันตราย ต่อสัตว์และผู้บริโภคสัตว์ โดยระบบ GMP ครอบคลุมตั้งแต่ สถานที่ตั้งโรงงาน การตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบ การ ควบคุมกระบวนการผลิต การป้องกันการปนเปื้อนต่างๆ จากคน สัตว์ หรืออุปกรณ์สู่อาหารสัตว์ การบ�ำรุงรักษา เครื่องจักร การระบุฉลาก จนถึงการขนส่งผลิตภัณฑ์ ระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้อง ควบคุม (HACCP : Hazard Analysis and Critical Control Point) คือ ระบบการจัดการเพื่อความปลอดภัย ของอาหารมนุษย์และอาหารสัตว์ซึ่งเป็นมาตรฐานสากล โดยมีการวิเคราะห์อันตรายด้านกายภาพ เคมี และชีวภาพ ที่มีโอกาสเกิดขึ้นในวัตถุดิบทุกชนิดและในขั้นตอนการ ผลิตทุกขั้นตอน แล้วก�ำหนดวิธีการควบคุมอันตรายที่มี โอกาสเกิดขึ้นนั้นในแต่ละขั้นตอน เพื่อให้มั่นใจว่าโรงงาน สามารถป้องกันอันตรายหรือสิ่งปนเปื้อนทางชีวภาพ เคมี และกายภาพของอาหารสัตว์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
50 มั่นใจที่ 6 ตรวจสอบข้อมูลทะเบียนอาหารกุ้งจากระบบ e-Aquafeed เกษตรกรสามารถตรวจสอบข้อมูลการขึ้นทะเบียนอาหารกุ้งได้ผ่านระบบออนไลน์ e-Aquafeed โดยเข้าไปที่ เว็บไซต์กรมประมง → บริการประชาชน → ระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ประชาชน → ระบบสืบค้นใบอนุญาต ใบรับรอง ใบส�ำคัญการขึ้นทะเบียนอาหารสัตว์น�้ำ