The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปี 2566 โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Phraharuthai Nonthaburi, 2024-05-30 23:37:12

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปี 2566

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปี 2566 โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี

การจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2566 ของโรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี ได้ จัดทำขึ้นตามแนวทางการประกันภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ข้อ 3 ระบุให้สถานศึกษาจัดส่งรายงานการประเมินตนเอง ให้แก่หน่วยงานต้นสังกัด เพื่อรายงานผลการดำเนินงานมาตรฐานการศึกษา สะท้อนคุณภาพการศึกษา ซึ่งเป็นผลสำเร็จ จากการบริหารจัดการศึกษาที่ดำเนินการพัฒนาตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา ระดับปฐมวัย 3 มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพเด็ก กระบวนการบริหารและการจัดการ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ และระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน 3 มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของผู้เรียน กระบวนการบริหารและการจัดการกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อนำเสนอรายงานการจัดการศึกษา ในรอบปีที่ผ่านมา ต่อหน่วยงานต้นสังกัด และเผยแพร่ต่อ สาธารณชน และเป็นข้อมูลในการเตรียมความพร้อมในการรับการประเมินภายนอก โดยสำนักงานรับรองมาตรฐาน การศึกษาและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน) ต่อไป ขอขอบคุณผู้มีส่วนร่วมทุกท่าน และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่ได้มีส่วนร่วมในการประเมินตนเองของสถานศึกษาในปี การศึกษา 2566 คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานการประเมินตนเองฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้พัฒนา การศึกษาต่อไป โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี ค ำน ำ


คำนำ หน้า สารบัญ ส่วนที่ 1 บทสรุปของผู้บริหาร (Executive Summary) 1 หลักฐานสนับสนุนผลการประเมินตนเองตามระดับคุณภาพ 2 โรงเรียนมีแผนจะพัฒนาตนเองต่อไปอย่างไรให้ได้มาตรฐานที่ดีขึ้นกว่าเดิม 1 ระดับ 2 - 4 ส่วนที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน ข้อมูลที่อยู่สถานศึกษาปัจจุบัน 5 ระดับที่เปิดสอนในปัจจุบัน 5 ประวัติโรงเรียน 6 ปรัชญา วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) 7 เป้าหมาย / เป้าประสงค์ (Goal) 8 – 9 เอกลักษณ์ (Uniqueness) อัตลักษณ์ (Unique) 10 ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และบุคลากรทั่วไปในโรงเรียน (เฉพาะที่บรรจุ) 11 จำนวนครู , บุคลากรทางการศึกษา และบุคลากรอื่นๆ (เฉพาะที่บรรจุ) 12 จำนวนครูที่สอนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 13 จำนวนครู จำแนกตามระดับและกลุ่มสาระการเรียนรู้ 13 จำนวนครูที่ทำหน้าที่คัดกรอง และนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ (กรณีโรงเรียนมี นักเรียนพิเศษเรียนร่วม) 13 จำนวนห้องเรียน / ผู้เรียนจำแนกตามระดับที่เปิดสอน 14 ส่วนที่ 3 ผลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย 15 – 31 ระดับขึ้นพื้นฐาน 32 - 79 สำรบัญ


หน้า ความสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ 80 – 81 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนและข้อมูลการวัดผลต่างๆ ระดับปฐมวัย 82 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 82 จำนวนและร้อยละของนักเรียนที่มีผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป ระดับประถมศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ภาคเรียนที่ 1) 83 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ภาคเรียนที่ 2) 84 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ภาคเรียนที่ 1) 84 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ภาคเรียนที่ 2) 85 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 85 ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 85 ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 86 ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ(National Test :NT) 86 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) 87 ผลการประเมินทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอิสลามศึกษา (I-NET) ของโรงเรียนเอกชนอิสลาม 87 ผลการทดสอบระดับชาติ ด้านอิสลาม (I-NET) ของนักเรียนระดับตอนต้น 88 ผลการทดสอบระดับชาติ ด้านอิสลาม (I-NET) ของนักเรียนระดับตอนกลาง 88 ผลการทดสอบระดับชาติ ด้านอิสลาม (I-NET) ของนักเรียนระดับตอนปลาย 88 ผลการทดสอบความสามารถด้านภาษาอังกฤษ (เฉพาะโปรแกรม EP) 89 ค่าประเมินมาตรฐานภาษาอังกฤษจากหน่วยงานทดสอบภาษาอังกฤษ ที่กระทรวงศึกษาธิการ รับรอง 89 จำนวนนักเรียนที่จบหลักสูตร 89 นวัตกรรม/แบบอย่างที่ดี (Innovation /Best Practice) 89 รางวัลที่สถานศึกษาได้รับ 90 – 124 การดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ 125 คุณลักษณะของผู้เรียนที่เป็นไปตามผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา ของชาติพ.ศ. 2561 จากการดำเนินงานของโรงเรียน 126 หน่วยงานภายนอกที่โรงเรียนเข้าร่วมเป็นสมาชิก 126 การประเมินคุณภาพภายนอกในรอบของ สมศ.ที่ผ่านมา 127


หน้า ส่วนที่ 4 สรุปผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา การประเมินคุณภาพตามมาตรฐานของการศึกษา : ระดับปฐมวัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก 128 – 133 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 134 – 138 มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ 139 – 142 การประเมินคุณภาพตามมาตรฐานของการศึกษา : ระดับขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน 143 – 153 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 154 – 162 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 163 – 169 ระดับปฐมวัย จุดเด่น 170 – 171 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 172 - 173 จุดควรพัฒนา ระดับปฐมวัย 174 - 175 ระดับขั้นพื้นฐาน 176 - 177 ความโดดเด่นของสถานศึกษา 178 -179 แนวทางการพัฒนาของสถานศึกษา 180 ความต้องการช่วยเหลือ 180 ภาคผนวก ➢ ประกาศโรงเรียน เรื่อง การกำหนดมาตรฐานการศึกษาและค่าเป้าหมายความสำเร็จของ โรงเรียน ระดับปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ➢ รายงานการประชุมหรือการให้ความเห็นชอบ SARของคณะกรรมการบริหารโรงเรียน ➢ คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานจัดทำ SAR ➢ หลักฐานการเผยแพร่ SARให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหรือสาธารณชนรับทราบ ➢ แผนผังอาคารสถานที่ ➢ โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียน ➢ โครงสร้างหลักสูตร เวลาเรียน ของโรงเรียน ➢ เอกสารเพิ่มเติมอื่นๆ ที่โรงเรียนต้องการแนบประกอบ


1 บทสรุปของผู้บริหาร (Executive Summary) โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรีได้พัฒนาการจัดการปีศึกษา 2566 สู่เป้าหมายของความสำเร็จตามแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษา และกระบวนการในการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ที่กำหนด จากผลการพัฒนาคุณภาพใน การจัดการศึกษาซึ่งประกอบด้วยด้านคุณภาพผู้เรียน กระบวนการบริหารและจัดการ และการจัดการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยดำเนินงานในการพัฒนาตามระบบประกันคุณภาพของสถานศึกษา สรุปได้ดังนี้ ระดับปฐมวัย มาตรฐาน ประเด็น ผลการประเมิน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพเด็ก ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ยอดเยี่ยม ผลการสรุป ยอดเยี่ยม 1. ด้านคุณภาพเด็ก มีผลการประเมินในระดับ ยอดเยี่ยม โรงเรียนมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพเด็ก ด้วยการบูรณาการแนวคิด Happiness Education ซึ่งเป็นรูปแบบการ จัดการศึกษาปฐมวัยอย่างมีความสุขในทุกมิติอย่างสมดุล ผ่านการจัดประสบการณ์ในรูปแบบหน่วยการเรียนรู้ และกิจวัตร ประจำวันด้วยกระบวนการ วิธีการหลากหลายรูปแบบที่มุ่งเน้นให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง และเรียนรู้อย่าง มีความสุขในกิจกรรมหลักประจำวัน การเรียนรู้ในห้องเรียน ดนตรี การเคลื่อนไหว การแสดงบทบาทสมมุติ การเรียนรู้ แบบ Project Approach การเรียนรู้นอกห้องเรียนผ่านการเล่นที่มีเป้าหมาย พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้เด็กได้เข้าร่วมเรียนรู้ ลงมือปฏิบัติในกิจกรรม โครงการ ตามแผนปฏิบัติการประจำปี ส่งผลให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน อย่าง สมดุลเต็มตามศักยภาพ พร้อมทั้งเกิดความสุขในขณะเรียนรู้ จนมีผลการพัฒนาคุณภาพของเด็กอยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม 2. ด้านกระบวนการบริหาร และการจัดการ มีผลการประเมินในระดับ ยอดเยี่ยม โรงเรียนให้ความสำคัญ ในการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม โดยยึดหลักธรรมาภิบาล มีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจไว้อย่างชัดเจน โดยใช้รูปแบบการบริหาร HEARTS MODEL ที่มีมิติการบริหารที่เอื้อต่อเป้าหมาย การศึกษาคาทอลิก มีกระบวนการที่ช่วยขับเคลื่อน แนวคิด Happiness Education ไปสู่เป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ มี การใช้รูปแบบการประชุมที่หลากหลายวิธี การให้บุคลากรได้ออกแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การเสนอความ คิดเห็น การมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน กิจกรรม โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีที่มุ่งเน้นให้เด็กปฐมวัยเติบโตตาม วัย มีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน อย่างสมดุลและเรียนรู้อย่างมีความสุข โดยมีการดำเนินการนิเทศ กำกับติดตาม ประเมินผล โดยใช้วงจรบริหารงานอย่างมีคุณภาพ (PDCA) มาควบคุม กำกับ ขั้นตอนการดำเนินงาน และจัดทำรายงาน ผลการจัดการศึกษา พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง ได้มีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย จนมีผล การพัฒนาคุณภาพของกระบวนการบริหาร และการจัดการอยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม ส่วนที่1 บทสรุปของผู้บริหาร


2 3. ด้านการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ มีผลการประเมินในระดับ ยอดเยี่ยม โรงเรียนมีกระบวนการพัฒนาคุณภาพการจัดประสบการณ์ เพื่อพัฒนาคุณภาพของเด็กอย่างเป็นระบบ และ ต่อเนื่อง โดยให้ครูจัดทำแผนการจัดประสบการณ์การเรียนบูรณาการแนวคิด Happiness Education ที่เปิดโอกาสให้เด็ก ได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเองผ่านกระบวนการคิด แก้ปัญหาที่สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ของหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ในบรรยากาศที่อบอุ่น ปลอดภัย สะอาด สวยงาม และครูมีบบุคลิกภาพที่นุ่มนวล อ่อนโยน มี ปฏิสัมพันธ์เชิงบวกกระตุ้นเสริมแรงเด็กอย่างสม่ำเสมอ มีการทำวิจัยในชั้นเรียน และสร้างนวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อ ส่งเสริมและแก้ไขพัฒนาการของเด็ก เพื่อสร้างแรงจูงใจเด็กให้รักการเรียนรู้ เกิดความสุขในขณะเรียนรู้ จนมีผลการ พัฒนาการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญอยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม หลักฐานสนับสนุนผลการประเมินตนเองตามระดับคุณภาพ โรงเรียนได้พัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ด้านคุณภาพเด็ก กระบวนการบริหารการจัดการและการจัด ประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ โดยมีหลักฐาน เอกสาร ประกอบการพัฒนา ดังนี้ 1. แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ปีการศึกษา 2565 – 2569 2. แผนปฏิบัติงานประจำปี 3. หลักสูตรสถานศึกษา ระดับปฐมวัย 4. โครงการ / กิจกรรม สนับสนุนการพัฒนา ปีการศึกษา 2566 5. รายงานโครงการประจำปี 6. แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ 7. วิจัยในชั้นเรียน 8. นวัตกรรมในการพัฒนาการศึกษา 9. วิธีหรือแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best practice) 10. ผลงาน รางวัล เชิงประจักษ์ ด้านเด็ก ครู ผู้บริหาร และสถานศึกษา โรงเรียนมีแผนจะพัฒนาตนเองต่อไปอย่างไร 1. พัฒนาทักษะกระบวนการคิด การแก้ปัญหา และทักษะด้านคณิตศาสตร์ 2. การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา / วิธีหรือแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best practice) ระดับปฐมวัยสู่การพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐาน ประเด็น ผลการประเมิน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ยอดเยี่ยม สรุปผลการประเมิน ยอดเยี่ยม


3 ด้านคุณภาพผู้เรียน มีผลการประเมินในระดับ ยอดเยี่ยม โรงเรียนดำเนินการในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพด้านต่างๆ ตามกระบวนการใน การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักสูตร การจัดทำโครงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน โครงการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โครงการส่งเสริมทักษะภาษาไทย และโครงการพัฒนาคุณภาพ นักเรียนแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ โครงการส่งเสริมคุณภาพ โครงการส่งเสริมสุขภาพ โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมจากการพัฒนา โครงการส่งเสริมศักยภาพด้านวิชาการ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนแต่ละด้านจะมีกิจกรรมการ เรียนรู้ การฝึกปฏิบัติให้นักเรียนลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง การค้นคว้า การใช้กระบวนการคิด การทำงานเป็นทีม นักเรียน เรียนรู้และสร้างชิ้นงาน นวัตกรรม ผลงานแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ และยังดำเนินการในการพัฒนาด้านคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ ผู้เรียนมีพฤติกรรมการแสดงออกในการปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม เคารพในกฎกติกา และแสดงออกในความ เป็นไทย ภาคภูมิในในท้องถิ่นและประเพณี นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง และปฏิบัติด้านจิตอาสาพัฒนาสังคม โดย จัดทำกระบวนการพัฒนาจิตอาสาทั้งระบบจนเป็นหนึ่งในกิจกรรมที่มีความโดดเด่น สรุปภาพรวมการพัฒนาผู้เรียนมีผล การพัฒนาในระดับ ยอดเยี่ยม ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ มีผลการประเมินในระดับยอดเยี่ยม โรงเรียนตระหนักถึงความสำคัญในการบริหารจัดการซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการปฏิบัติงานทุกๆ ด้าน ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนพัฒนาระบบการบริหารในรูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วม กระจายอำนาจ แบ่งตามสาย งานโดยมีรูปแบบของคณะกรรมการดำเนินงาน และใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารทั้ง 6 ด้าน ได้แก่ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักการมีส่วนร่วม ความโปร่งใส ความรับผิดชอบ และความคุ้มค่า และนอกจากนี้ยังใช้ MODEL ในการ บริหาร HEARTS MODEL ซึ่งโมเดลนี้จะใช้กระบวนการ PDCA และทฤษฎีระบบในการบริหารจัดการ มีโครงสร้างในการ บริหารงาน จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติงานประจำปี พัฒนาหลักสูตรให้มีความหลากหลายสนองตอบ ความต้องการของชุมชนและสังคมในแต่ละระดับชั้นมีแผนการเรียนให้เลือกตามความสนใจ จัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียน โดยจัดทำโครงการพัฒนาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน พัฒนาบรรยากาศการเป็นโรงเรียนคาทอลิก และการมีคุณธรรมของ บุคลากรในองค์กร จัดทำโครงการพัฒนาบุคลากรให้มีคุณภาพโดยสนับสนุนการศึกษาต่อ อบรม ศึกษาดูงาน และ แลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการเรียนรู้ จัดให้ครูใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน และใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน ใช้ในกระบวนการบริหาร การสื่อสารและประชาสัมพันธ์ การพัฒนาสู่เป้าหมาย ความสำเร็จด้วยกระบวนการวางแผน ดำเนินงานกำกับติดตาม และประเมิน ซึ่งโรงเรียนได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและ มีประสิทธิภาพภายในการพัฒนาอย่างเหมาะสม ผลการประเมินอยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีผลการประเมินในระดับยอดเยี่ยม การพัฒนาด้านการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนได้พัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อที่จะสร้างคุณภาพของผู้เรียนให้ บรรลุผลตามหลักสูตรและจุดเน้นในการสร้างผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ โดยจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดปฏิบัติจริง และนำไปประยุกต์ใช้โดยบูรณาการการเรียนรู้กับชีวิตประจำวัน และใช้การปฏิบัติที่สอดแทรกคุณธรรม ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะที่เกิดกับผู้เรียนตามหลักสูตร ครูผู้สอนใช้กระบวนการในการพัฒนาโดยใช้เทคโนโลยีและสื่อ การเรียน ที่จะส่งเสริมการเรียนรู้ ผู้เรียนเรียนรู้และพัฒนาตนเองพร้อมทั้งสามารถนำการเรียนรู้ในด้านที่สนใจ ผู้เรียน สร้างองค์ความรู้ และสามารถสะท้อนกลับให้เห็นถึงการตกผนึก คุณค่าและการนำไปใช้ในการแก้ปัญหาได้ พัฒนา


4 กระบวนการบริหารจัดการชั้นเรียนในเชิงบวกซึ่งในปี 2566 การสร้างบรรยากาศในการอยู่ร่วมกันของครูและนักเรียนมี กระบวนการเรียนรู้จากการคิด และการทำงานร่วมกันขึ้นโดยผ่านกิจกรรมในระบบกลุ่ม หรือทีมของแต่ละสายชั้น นักเรียนทุกระดับชั้นมีการพัฒนาได้อย่างเหมาะสมกับวัย จากแนวทางการพัฒนาเพื่อให้เกิดคุณภาพที่ยั่งยืน ได้มีการ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนานักเรียน และช่วยเหลือนักเรียนที่มีผลการเรียน ต่ำกว่าเกณฑ์ ทั้งนี้การพัฒนาของโรงเรียนยังใช้ระบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อให้เกิดแนวคิดและความหลากหลายใน การเรียนรู้ และเปิดโลกทัศน์ในการเรียนรู้ด้วยการค้นคว้า ศึกษานอกสถานที่ ทัศนศึกษา ใช้แหล่งเรียนรู้ที่ได้ไปสัมผัสกับ บรรยากาศ และประสบการณ์ตรง สรุปผลการพัฒนาตามศักยภาพของนักเรียน โดยมีหลักสูตรที่นักเรียนสนใจ และกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ด้วยกระบวนการคิด การปฏิบัติ การใช้สื่อที่หลากหลาย ครูผู้สอนเป็นผู้แนะนำ และการจัดกิจกรรมในเชิงรุกที่ นักเรียนสร้างสรรค์ รับผิดชอบ และทำงานเป็นทีม วางแผนและพัฒนาการเรียนรู้ตามความเหมาะสม จากแนวทางการ ดำเนินงานส่งผลให้เกิดการพัฒนาคุณภาพตามหลักสูตร และมีกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างเสริมผู้เรียนผ่านตาม เป้าหมายของหลักสูตร และการพัฒนาตามจุดเน้นของโรงเรียน หลักฐานสนับสนุนผลการประเมินตนเองตามระดับคุณภาพ โรงเรียนได้พัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาด้านคุณภาพผู้เรียน กระบวนการบริหารและการจัดการ และ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยมีหลักฐานเอกสารประกอบการพัฒนา ดังนี้ 1. แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ปีการศึกษา 2565 – 2569 2. แผนปฏิบัติงานประจำปี 3. โครงการ / กิจกรรม สนับสนุนการพัฒนา ปีการศึกษา 2566 4. หลักสูตรสถานศึกษา 5. นวัตกรรมในการพัฒนาการศึกษา 6. กิจกรรมในการพัฒนา ครู – นักเรียน 7. การจัดกิจกรรม เสริมศักยภาพผู้เรียน 8. รางวัล / ผลงานในการพัฒนา 9. ผลงานการพัฒนาด้านคุณธรรมจริยธรรม 10. การพัฒนาตามโครงสร้าง และระบบการบริหารจัดการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 11. รายงานการสรุปการดำเนินงานฝ่ายต่างๆ 12. งานวิจัยในชั้นเรียน 13. แผนการจัดการเรียนรู้ โรงเรียนมีแผนจะพัฒนาตนเองต่อไปอย่างไรให้ได้มาตรฐานดีขึ้นกว่าเดิม 1 ระดับ 1. พัฒนาด้านการคิดค้นพัฒนานวัตกรรม และกระบวนการคิด การใช้ทักษะด้านต่างๆ 2. พัฒนาด้านการเรียนรู้เกี่ยวกับวิชาชีพให้เกิดประโยชน์แก่ผู้เรียนในการเลือกอาชีพในอนาคต 3. พัฒนากระบวนการจัดการศึกษาตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาให้เกิดประสิทธิผลตามแนวทางใน การพัฒนาตามเกณฑ์ที่กำหนด


5 ข้อมูลที่อยู่สถานศึกษาปัจจุบัน โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี ที่ตั้ง 59/25 หมู่ 1 ถนนติวานนท์ ตำบลบ้านใหม่ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี รหัสไปรษณีย์ 11120 โทรศัพท์ 0 2961 3617-8 โทรสาร 0 2961 5685 ,0 2961 6586 Email: [email protected] Website: ptn.ac.th Line: P.T.N. School Facebook: ร.ร.พระหฤทัยนนทบุรี (พ.ท.น.) YouTube: Phraharuthai Nonthaburi ระดับที่เปิดสอนในปัจจุบัน (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ) ปกติ(สามัญศึกษา) เตรียมอนุบาล ก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย English Program อนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย ประวัติโรงเรียน โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี เป็นโรงเรียนของคณะภคินีพระหฤทัยของพระเยซูเจ้าแห่งกรุงเทพฯ สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ที่ตั้ง 59/25 หมู่ 1 ถนนติวานนท์ ตำบลบ้านใหม่ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี รหัสไปรษณีย์ 11120 เปิดทำการสอน เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2539 ปัจจุบันดำเนินการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับปฐมวัย ถึง มัธยมศึกษาตอนปลาย มีอาคารเรียน 4 อาคารได้แก่ อาคารพระหฤทัย ,อาคารมารีย์นิรมล, อาคารคุณพ่อปิโอดอนท์อนุสรณ์ อาคาร 50 ปี ปิติพร มีพื้นที่ 27 ไร่ 309 ตารางวา โรงเรียนได้ดำเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 ถึง ปัจจุบันโรงเรียนได้พัฒนาตามลำดับ ดังนี้ ปีการศึกษา 2540 มีนักเรียน 998 คน ครู 42 คน เปิดห้องเรียน 21 ห้อง โรงเรียนจัดระบบการบริหารจัดการ และ พัฒนาด้านการเรียนการสอน การจัดบรรยากาศภายในโรงเรียน และธรรมชาติแห่งการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2541 –2542 มีนักเรียนเพิ่มขึ้นรวมเป็นจำนวน 1,994 คน ครู 76 คน ห้องเรียน 45 คน โรงเรียนได้พัฒนา ตามลำดับ ได้รับความไว้วางใจจากชุมชน และได้มีการพัฒนาอาคารเรียน การจัดการเรียนการสอนทั้งระบบ ปีการศึกษา 2543 – 2545 โรงเรียนมีการพัฒนาด้านการจัดการศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีนักเรียน 3,041 คน ครู 132 คน ห้องเรียน 78 ห้อง และในปีต่อมาได้พัฒนาด้านเทคโนโลยี ระบบคอมพิวเตอร์ พัฒนาด้านวิชาการให้เกิดคุณภาพ ทางการศึกษาจนเป็นที่ยอมรับแก่ชุมชนและสังคม ปีการศึกษา 2547 ได้รับการประเมินคุณภาพจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การ มหาชน) รอบที่ 1 และจัดทำหลักสูตรทางเลือก ด้านภาษาอังกฤษอย่างเข้มข้น รวมถึงมีการพัฒนาด้านเทคโนโลยี ปีการศึกษา 2548 – 2549 โรงเรียนได้พัฒนาด้านการจัดการศึกษา เปิดสอนภาษาจีนและใช้ระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ใน การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ในปีนี้มีจำนวนนักเรียน 3,241 คน ครู 170 คน ห้องเรียน 88 ห้อง ส่วนที่2 ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียน


6 ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนได้รับการประเมินคุณภาพจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) รอบที่ 2 และพัฒนาการจัดการศึกษาอย่างต่อเนื่อง มีนักเรียนจำนวน 3,458 คน ครู 181 คน ห้องเรียน 91 ห้อง ปีการศึกษา 2552 – 2554 โรงเรียนได้พัฒนาด้านอาคารเรียนที่เพิ่มเติม จัดห้องเรียนให้เพียงพอ และเอื้อต่อการเรียนรู้ มีจำนวนนักเรียน 3,612 คน ครู 193 คน ห้องเรียน 106 ห้อง ปีการศึกษา 2555 –2558 มีการเปลี่ยนแปลงคณะผู้บริหาร และมีการพัฒนาในด้านต่างๆ แหล่งเรียนรู้ บรรยากาศและ ภูมิทัศน์และได้รับการประเมินคุณภาพจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) รอบที่ 3 และได้รับรางวัลสัญญาธรรมศักดิ์ (ดี) ในระดับมัธยม ในปีการศึกษา 2558 มีจำนวนนักเรียน 3,619 คน ครู 185 ห้องเรียน 108 ห้องเรียน ปีการศึกษา2559–2561 มีการเปลี่ยนแปลงคณะผู้บริหารได้มีการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ภูมิทัศน์ให้ร่มรื่น สวยงาม มุ่งเน้น การพัฒนาตามเอกลักษณ์ด้านภาษาและเทคโนโลยีและได้รับป้ายพระราชทานโครงการอนุรักษ์พันธุ์กรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี และได้รับรางวัล โรงเรียนคุณธรรม ดร.เทียม โชควัฒนา ปรับปรุงห้องเรียนและสถานที่ด้านกายภาพ ในปีการศึกษา 2561 มีนักเรียนจำนวน 3,648 คน ครู 191 คน ห้องเรียน 108 ห้องเรียน ปีการศึกษา 2562 –2564 มีการเปลี่ยนแปลงคณะผู้บริหาร และได้ดำเนินการในการพัฒนาอาคารสถานที่ ปรับปรุงห้อง ประกอบการ ห้องปฏิบัติงาน พัฒนาด้านการจัดหลักสูตรให้เป็นทางเลือกสำหรับนักเรียน พัฒนาระบบการใช้เทคโนโลยี แพลตฟอร์มในด้านการเรียนการสอนระบบการบริการโดยใช้เทคโนโลยี ได้รับรางวัลคุณธรรมอวอร์ด ประเภทองค์กร ปี 2564 มี จำนวนนักเรียน 3,969 คน ครู 220 คน ห้องเรียน 116 ห้อง ปีการศึกษา 2565 มีการเปลี่ยนแปลงคณะผู้บริหาร ได้รับการประเมินมาตรฐานคุณภาพการศึกษาภายนอก (องค์การ มหาชน) รอบที่ 4 เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2565 ผ่านการประเมินในระดับ ยอดเยี่ยม และได้รับรางวัล โรงเรียนแบบอย่างการ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ให้นักเรียนมีจิตสาธารณะช่วยเหลือสังคม โครงการ The Heart of Giving ปีที่ 15 รางวัลโรงเรียน ร่วมขับเคลื่อนอาสาสมัครพัฒนาสังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง รางวัลเยาวชนดีเด่น เนื่องในวันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2565 จังหวัดนนทบุรี รางวัลชนะเลิศโครงการ กล่องพี่เพื่อน้องจากโครงการ กล่องยูเอสที รีไซเคิลโรงเรียนได้ดำเนินการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง มีการจัดระบบการเรียนการสอนป้องกันความถดถอย สร้างและพัฒนานักเรียนให้เกิดการเรียนรู้ ตามสมรรถนะ และปรับ ระบบการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร และเสริมทักษะการเรียนรู้ให้นักเรียนมีส่วนร่วม และบทบาทในการเรียนรู้และแสดงออกอย่าง เหมาะสม เสริมสร้างคุณธรรม-จริยธรรม ให้เกิด เป็นวิถีชีวิตของนักเรียน ในปีนี้มีจำนวนนักเรียน 3,939 คน ครู 208 คน ห้องเรียน 117 ห้อง ปีการศึกษา 2566 นางสาวสมจิตร์ ทรัพย์อัประไมย ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนผู้รับใบอนุญาต นางสาวรัชนี ตระกูลเง็ก ผู้จัดการ/รองผู้อำนวยการ นางสาวลักษณาวดี วงษ์วิไลวารินทร์ผู้อำนวยการ มีจำนวนนักเรียน ณ วันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2566 จำนวน 4,070 คน จำนวนครู 206 คน และจำนวนห้องเรียน 116 ห้อง แต่เนื่องด้วย นางสาวลักษณาวดี วงษ์วิไลวารินทร์ ผู้อำนวยการ ต้องย้ายไปดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการที่โรงเรียนเซนต์ เทเรซาแสงทอง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จึงถอดถอนตำแหน่งผู้อำนวยการ นางสาวลักษณาวดี วงษ์วิไลวารินทร์ ตามใบอนุญาต เลขที่ พ.ท.น. 2-1-16/2566 และถอดถอนตำแหน่งครู ตามใบอนุญาตเลขที่ พ.ท.น. 2-1-17/2566 ลงวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ.


7 2566 พร้อมถอดถอนตำแหน่งรองผู้อำนวยการ และตำแหน่งผู้จัดการ นางสาวรัชนี ตระกูลเง็ก แล้วจึงแต่งตั้งนางสาวรัชนี ตระกูล เง็กเข้าดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ ตามใบอนุญาตเลขที่ พ.ท.น. 2-1-20/2566 ลงวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2566 ขณะเดียวกัน ก็แต่งตั้งนางสาวสมจิตร์ ทรัพย์อัประไมย เป็นผู้จัดการตามใบอนุญาตเลขที่ พ.ท.น. 2-1-21/2566 ลงวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2566 ในปีนี้ นางสาวอุทัยวรรณ คุโรวาท ผู้รับใบอนุญาตจัดตั้งโรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรีได้โอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียน พระหฤทัยนนทบุรี เลขที่ใบอนุญาต 3/2539 ให้แก่ มูลนิธิประสานใจ โดยนางสาวอรัญญา กิจบุญชู ลงนามแทน ตั้งแต่วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2566 ปี 2566 นี้ โรงเรียนได้ติดตั้งระบบโซล่าร์เซลล์เพื่อผลิตไฟฟ้าโดยความร่วมมือกับบริษัท เอเอ็มอาร์ เอเชีย จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นผู้ลงทุนและขายไฟให้โรงเรียน โดยกำหนดรูปแบบที่สามารถผลิตไฟได้รวม 705 kWp มีสัญญาการซื้อขายไฟ เป็นเวลา 15 ปี สำหรับหม้อไฟระบบ TOU (100 kWp) และ 20 ปีสำหรับหม้อไฟระบบ TOD (605 kWp) วิสัยทัศน์/พันธกิจ ปรัชญา ซื่อสัตย์ เมตตา วิชาเป็นเลิศ รัก เทิดคุณธรรม Honest Merciful Academic Excellence Love Morality วิสัยทัศน์ “โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี เป็นสังคมอุดมปัญญา เด่นภาษาและเทคโนโลยี มีคุณภาพการจัดการศึกษา ตามจิตตารมณ์พระหฤทัยฯ สู่มาตรฐานสากล” พันธกิจ 1. จัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. บริหารจัดการศึกษา ตามจิตตารมณ์พระหฤทัยของพระเยซูเจ้าฯ 3. ปลูกฝัง อบรม และส่งเสริมผู้เรียน ให้มีภาวะผู้นำ มีจิตสาธารณะ มีวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง มีความสุขใน การดำรงชีวิต เพื่อเป็นคนดีสู่สังคม และประเทศชาติ 4. เร่งยกระดับ และพัฒนาคุณภาพงานวิชาการ 5. ส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนรายบุคคลทั้งทักษะทางวิชาการ ทักษะชีวิตและคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 6. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา จัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อความต้องการและศักยภาพของผู้เรียนอย่าง หลากหลาย โดยใช้แนวคิดหลักสูตรฐานสมรรถนะ 7. พัฒนา ส่งเสริมและจัดกิจกรรม ให้ผู้เรียนมีทักษะอาชีพที่หลากหลาย และอาชีพที่เกิดขึ้นใหม่ มีเจตคติที่ดี ต่ออาชีพสุจริต 8. พัฒนาและสนับสนุน ให้ใช้เทคโนโลยี ในการจัดการเรียนรู้ และในการบริหารจัดการศึกษา 9. พัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐานสากล


8 ค่านิยม ค่านิยมของโรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี ซึ่งเป็นจุดเน้นของสถานศึกษา เพื่อให้ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการ ศึกษาและผู้เรียนมุ่งมั่นปฏิบัติตามแนวทางของคุณธรรมตามหลักศาสนา และจิตตารมณ์ของพระหฤทัยของพระเยซูเจ้า แห่งกรุงเทพฯ ตามแนวทาง 8H 1. Heart บุคลากรในสถานศึกษาปฏิบัติงานในสถานศึกษาด้วยความรัก 2. Holy บุคลากรในสถานศึกษามุ่งมั่นปฏิบัติตนและภาระงานด้วยความดีงาม 3. Honest บุคลากรในสถานศึกษาพึงปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ 4. Honor บุคลากรในสถานศึกษาปฏิบัติตนในการอยู่ร่วมกันด้วยความเคารพในเกียรติและศักดิ์ศรี 5. Humble บุคลากรในสถานศึกษาปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความสุภาพ ถ่อมตน 6. Home บุคลากรในสถานศึกษาอยู่ด้วยกันเสมือนเป็นครอบครัวเดียวกัน มีความเป็นพี่น้องและ ความเป็นหนึ่งเดียวกัน 7. Hope บุคลากรในสถานศึกษาปฏิบัติภารกิจหน้าที่อย่างดีและทำด้วยความหวังในสันติสุข ยุติธรรม สร้างสรรค์สังคม 8. Hospitality บุคลากรในสถานศึกษาเป็นผู้ที่มีความเมตตากรุณาต่อกัน และเมตตากรุณาต่อผู้อื่น เป้าหมาย 1. โรงเรียนจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน อย่างมีคุณภาพ 2. โรงเรียนบริหารจัดการศึกษา ตามจิตตารมณ์พระหฤทัยของพระเยซูเจ้า 3. ผู้เรียนมีภาวะผู้นำมีจิตสาธารณะ มีวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง มีความสุขในการดำรงชีวิตเพื่อเป็นคนดีสู่สังคมและ ประเทศชาติ 4. งานวิชาการ ของโรงเรียน มีคุณภาพและประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการ 5. ผู้เรียนรายบุคคล มีทักษะทางวิชาการ ทักษะชีวิต และคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 6. โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษา จัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อความต้องการและศักยภาพของผู้เรียนอย่าง หลากหลาย โดยใช้แนวคิดหลักสูตรฐานสมรรถนะ 7. ผู้เรียนมีทักษะอาชีพที่หลากหลาย และสามารถสร้างอาชีพที่เกิดขึ้นใหม่ มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต 8. โรงเรียน ใช้เทคโนโลยี ในการจัดการเรียนรู้ และในการบริหารจัดการศึกษา 9. โรงเรียนมีคุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐานสากล ยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ที่1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลยุทธ์1 ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน กลยุทธ์2 จัดกิจกรรม ปลูกฝังและพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน


9 ยุทธศาสตร์ที่2 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามจิตตารมณ์พระหฤทัยของพระเยซูเจ้า กลยุทธ์3 จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ให้มีความรู้ เกิดความตระหนัก มีจิตสำนึก และสามารถนำจิต ตารมณพระหฤทัยฯ หรือค่านิยม 8H ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ กลยุทธ์4 วัดและประเมินผลพฤติกรรมที่แสดงออกของผู้เรียน ตามจิตตารมณ์พระหฤทัยของพระ เยซูเจ้า ยุทธศาสตร์ที่3 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีภาวะผู้นำ เป็นคนดีสู่สังคมและประเทศชาติ กลยุทธ์5 จัดกิจกรรมและจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีภาวะผู้นำ ( Leadership ) กลยุทธ์6 จัดกิจกรรมและจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีจิตสาธารณะ กลยุทธ์7 จัดกิจกรรมและจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง มีความสุข ในการดำรงชีวิต เพื่อเป็นคนดีสู่สังคม และประเทศชาติ ยุทธศาสตร์ที่4 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน เน้นผู้เรียนรายบุคคล มีทักษะทางวิชาการ ทักษะชีวิต และ คุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 กลยุทธ์8 จัดกิจกรรมและจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียน มีความสามารถในการสื่อสาร กลยุทธ์9 จัดกิจกรรมและจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียน มีความสามารถในการคิด กลยุทธ์10 จัดกิจกรรมและจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียน มีความสามารถในการแก้ปัญหา กลยุทธ์ 11 จัดกิจกรรมและจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียน มีความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต กลยุทธ์12 จัดกิจกรรมและจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียน มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ยุทธศาสตร์ที่5 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีทักษะอาชีพที่หลากหลาย และสามารถสร้างอาชีพที่เกิดขึ้นใหม่ มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต กลยุทธ์13 จัดกิจกรรมและจัดการเรียนรู้ ส่งเสริมผู้เรียนให้มีทักษะในอาชีพอย่าง หลากหลาย และ เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการสร้างอาชีพใหม่ กลยุทธ์14 จัดกิจกรรมสร้างเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริตแก่ผู้เรียน กลยุทธ์15 วัดและประเมินผลเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริตของผู้เรียน ยุทธศาสตร์ด้านครูและการจัดการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์ที่6 พัฒนาคุณภาพครูและบุคลากร ตามจิตตารมณ์พระหฤทัยฯ กลยุทธ์16 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจ เห็นความสำคัญพร้อมทั้งสร้างวัฒนธรรม องค์กรเกี่ยวกับการจัดการศึกษาตามจิตตารมณ์พระหฤทัยฯ กลยุทธ์17 พัฒนาและส่งเสริมครูและบุคลากร ให้มีความเข้าใจ ในค่านิยม 8H และสามารถนำไปใช้ ในชีวิตประจำวันได้อย่างเป็นรูปธรรม ยุทธศาสตร์ที่7 พัฒนาคุณภาพครู สู่ครูมืออาชีพ กลยุทธ์18 พัฒนาครูผู้สอน ให้มีความรู้ทักษะในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การออกแบบ การ จัดการเรียนรู้และการออกแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้


10 กลยุทธ์19 พัฒนาครูผู้สอน ให้มีทักษะ มีความสามารถ ตามบทบาทของครูในศตวรรษที่ 21 1 ให้นักเรียนเรียนรู้จากการทำโครงงาน (Project Approach) 2. ให้นักเรียนได้เรียนตามหัวข้อที่ต้องการ (On – demand) 3. ให้นักเรียนได้เรียนรู้ตามวิธีที่เหมาะสมตรงกับวิธีการเรียนรู้ของตนเอง (Personalized) 4. ให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยวิธีการทำงานร่วมกัน ( Collaboration ) 5. นำนักเรียนสู่ชุมชนโลกด้วยการเชื่อมโยงกับห้องเรียนของโรงเรียนกับชุมชนนานาชาติ (Global Community) 6. ให้นักเรียนได้สืบค้นความรู้จากเว็บไซต์ (Web-based) 7. มีการประเมินนักเรียนเป็นระยะๆ (Formative Evaluation) 8. มุ่งให้นักเรียนสามารถนำความรู้สู่การปฏิบัติในชีวิประจำวัน (Learning for Life) กลยุทธ์20 พัฒนาครูผู้สอน ในการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ และสร้างนวัตกรรม เพื่อ พัฒนาการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์ที่8 พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมาตรฐานสากล กลยุทธ์21 จัดระบบและดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม และต่อเนื่อง กลยุทธ์22 จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ทุกปีการศึกษา กลยุทธ์23 จัดให้มีการดำเนินงาน และการวัดประเมินผลคุณภาพการจัดการศึกษาสู่มาตรฐานสากล เอกลักษณ์ ภาษาและเทคโนโลยี Language and Technology อัตลักษณ์ รัก สุภาพ ซื่อสัตย์ เมตตา Love Humble Honest Merciful


11 ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษาและบุคลากรทั่วไปในโรงเรียน ซิสเตอร์ ดร.สมจิตร์ ทรัพย์อัประไมย ตำแหน่ง ผู้ลงนามแทนผู้รับใบอนุญาต/อธิการ ระดับการศึกษา ปริญญาเอก เริ่มรับตำแหน่งเมื่อ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2566 โทรศัพท์02 9615685 E-mail : [email protected] ซิสเตอร์รัชนี ตระกูลเง็ก ตำแหน่ง ผู้อำนวยการ ระดับการศึกษา ปริญญาโท เริ่มรับตำแหน่งเมื่อ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2566 โทรศัพท์02 9615685 E-mail : [email protected] ซิสเตอร์ ดร.สมจิตร์ ทรัพย์อัประไมย ตำแหน่ง ผู้จัดการ ระดับการศึกษา ปริญญาเอก เริ่มรับตำแหน่งเมื่อ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2566 โทรศัพท์02 9615685 E-mail : [email protected]


12 จำนวนครู , บุคลากรทางการศึกษา และบุคลากรอื่นๆ (เฉพาะที่บรรจุ) ประเภท/ ตำแหน่ง จำนวนครูและบุคลากร รวม ต่ำกว่า ป.ตรี ป.ตรี ป.บัณฑิต ป.โท ป.เอก ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง 1. ระดับเตรียมอนุบาล - ครูไทย 1 1 - ครูชาวต่างประเทศ 2. ระดับชั้นอนุบาล - ครูไทย 2 31 3 1 37 - ครูชาวต่างประเทศ 1 1 2 3. ระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน ระดับประถมศึกษา - ครูไทย 6 58 9 3 76 - ครูชาวต่างประเทศ 2 2 ระดับมัธยมศึกษา - ครูไทย 5 37 2 7 3 2 56 - ครูชาวต่างประเทศ 1 1 4. บุคลากรทางการศึกษา - บรรณารักษ์ - งานแนะแนวทั่วไป - งานเทคโนโลยีทาง การศึกษา - งานทะเบียนวัดผล 1 1 - บริหารงานทั่วไป 2 10 12 5.บุคลากรทั่วไป - พี่เลี้ยง 22 6 28 - อื่น ๆ 19 2 21 รวม รวมทั้งสิ้น 41 17 149 2 19 0 7 2 237


13 จำนวนครูที่สอนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จำนวนครูผู้สอน ประถมศึกษา มัธยมศึกษา กิจกรรมนักเรียน - ลูกเสือ 45 14 - เนตรนารี 44 13 - ยุวกาชาด - ผู้บำเพ็ญประโยชน์ 1 - รักษาดินแดน (ร.ด.) 0 1 - กิจกรรมชุมนุม ชมรม 21 4 กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ จำนวนครู จำแนกตามระดับและกลุ่มสาระการเรียนรู้ กรณีที่ 1 ครูสอนหลายระดับชั้นให้กรอกข้อมูลในระดับที่มีจำนวนชั่วโมงสอนมากที่สุด กรณีที่ 2 ครูที่จบวิชาเอกการประถมศึกษาถือว่าตรงเอกสามารถสอนได้ในทุกวิชา ในระดับประถมศึกษา ระดับ/กลุ่มสาระการเรียนรู้ จำนวนครู ปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ตรงเอก ไม่ตรงเอก ตรงเอก ไม่ตรงเอก ตรงเอก ไม่ตรงเอก ปฐมวัย 30 10 ภาษาไทย 15 3 5 - คณิตศาสตร์ 10 2 7 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 14 1 12 1 สังคมศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม 7 5 8 1 สุขศึกษาและพลศึกษา 8 - 2 - ศิลปะ 8 1 6 - การงานอาชีพ 3 1 3 - ภาษาต่างประเทศ 10 - 8 - รวม 30 10 75 13 51 2 จำนวนครูที่ทำหน้าที่คัดกรอง และนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ (กรณีโรงเรียนมีนักเรียนพิเศษเรียนร่วม) จำนวนครูที่ทำหน้าที่คัดกรอง จำนวนนักเรียนที่มีความ ต้องการจำเป็นพิเศษ ครูที่ได้รับการขึ้นทะเบียน เป็นผู้คัดกรองของกระทรวงศึกษาธิการ ครูที่มีวุฒิทางการศึกษาพิเศษ ทั้งหมด ขึ้น ทะเบียน ไม่ขึ้น ทะเบียน


14 จำนวนห้องเรียน/ผู้เรียนจำแนกตามระดับที่เปิดสอน ระดับที่เปิดสอน จำนวนห้องเรียน จำนวนผู้เรียน จำนวนผู้เรียนที่มี ความต้องการ พิเศษ รวมจำนวน ผู้เรียน ห้องปกติ EP ปกติ EP ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง เตรียมอนุบาล 1 11 18 29 ระดับก่อนประถมศึกษา อนุบาลปีที่ 1 8 125 127 252 อนุบาลปีที่ 2 9 148 142 290 อนุบาลปีที่ 3 8 130 142 272 รวม 26 414 429 843 ระดับประถมศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 1 10 160 162 322 ประถมศึกษาปีที่ 2 9 167 159 326 ประถมศึกษาปีที่ 3 10 193 176 369 ประถมศึกษาปีที่ 4 10 183 167 350 ประถมศึกษาปีที่ 5 10 195 181 376 ประถมศึกษาปีที่ 6 10 175 195 370 รวม 59 1,073 1,040 2,113 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 5 90 107 197 มัธยมศึกษาปีที่ 2 5 99 91 190 มัธยมศึกษาปีที่ 3 6 111 117 228 รวม 16 300 315 615 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มัธยมศึกษาปีที่ 4 5 74 102 176 มัธยมศึกษาปีที่ 5 5 71 100 171 มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 79 87 166 รวม 15 224 289 513 รวมทั้งสิ้น 116 2,011 2,073 4,084


15 ส่วนทีผลการดำเผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา ยุทธศาสตร์ตาม แผนฯของโรงเรียน โครงการ เป้าหมาย ผลสปริมาณ (ร้อย ละ) คุณภาพ (อธิบาย) ปริมาณ (ร้อย ละ) คุณระดับปฐมวัย ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนคุณภาพผู้เรียน ตามมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน โครงการประเมินและ เสริมสร้างพัฒนาการ เด็กปฐมวัยทั้ง 4 ด้าน 92.00 เด็กปฐมวัยมีผลการ ประเมินพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน และมี คุณลักษณะตาม หลักสูตรการศึกษา ปฐมวัย อยู่ในระดับดี 96.67 เด็กปส่งเสริตามมและมระดับประเมด้าน


ที่ 3 เนินงาน สำเร็จ สอดคล้องกับ มาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและ จุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ สอดคล้องกับ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของ การศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษา ของชาติ พ.ศ. 2561 ณภาพ(อธิบาย) ปฐมวัยได้รับการ ริมครบทั้ง 4 ด้าน มาตรฐาน หลักสูตร มาตรฐานการศึกษา บปฐมวัย มีผลการ มินพัฒนาการทั้ง 4 อยู่ในระดับดีขึ้นไป มาตรฐานที่ 1 ด้านคุณภาพเด็ก 2.การยกระดับคุณภาพ การศึกษา การส่งเสริมสนับสนุนการ จัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ ของผู้เรียน การพัฒนาผู้เรียนให้มี สมรรถนะและทักษะที่ จำเป็นในศตวรรษที่ 21 3.การสร้างโอกาส ความ เสมอภาค และความเท่า เทียมทางการศึกษาทุกช่วง วัย การส่งเสริมสนับสนุนให้ เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการ 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและ คุณภาพชีวิตที่ดี มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจาก ความรู้ ความรอบรู้ด้าน ต่าง ๆ มีสุนทรียะ รักษ์และ ประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย มีทักษะชีวิต


16 ยุทธศาสตร์ตาม แผนฯของโรงเรียน โครงการ เป้าหมาย ผลสปริมาณ (ร้อย ละ) คุณภาพ (อธิบาย) ปริมาณ (ร้อย ละ) คุณโครงการปฐมวัยเรียนรู้ วันสำคัญ 92.00 เด็กปฐมวัยมีความรู้ มี คุณธรรม จริยธรรม ในการดำรงชีวิต เป็นผู้ อนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีอันดีงามของ ไทยให้คงอยู่ต่อไป 97.05 เด็กปจริยธความในวันจิตสำไทย กที่ดีงาภาคภูวัฒนธสามาเหมา


สำเร็จ สอดคล้องกับ มาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและ จุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ สอดคล้องกับ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของ การศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษา ของชาติ พ.ศ. 2561 ณภาพ(อธิบาย) พัฒนาการสมวัยอย่างมี คุณภาพ ปฐมวัยมีคุณธรรม ธรรม เห็น มสำคัญของกิจกรรม นสำคัญต่างๆ มี ำนึกในความเป็น กล้าแสดงออกในสิ่ง าม และมีความ ภูมิใจในประเพณี ธรรมที่ดีงาม และ ารถปฏิบัติตามได้ ะสมตามวัย มาตรฐานที่ 1 ด้านคุณภาพเด็ก 2.การยกระดับคุณภาพ การศึกษา การส่งเสริมสนับสนุนการ จัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ ของผู้เรียน การพัฒนาผู้เรียนให้มี สมรรถนะและทักษะที่ จำเป็นในศตวรรษที่ 21 3.การสร้างโอกาส ความ เสมอภาค และความเท่า เทียมทางการศึกษาทุกช่วง วัย การส่งเสริมสนับสนุนให้ เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการ พัฒนาการสมวัยอย่างมี คุณภาพ 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและ คุณภาพชีวิตที่ดี มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจาก ความรู้ ความรอบรู้ด้าน ต่าง ๆ มีสุนทรียะ รักษ์และ ประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย มีทักษะชีวิต


17 ยุทธศาสตร์ตาม แผนฯของโรงเรียน โครงการ เป้าหมาย ผลสปริมาณ (ร้อย ละ) คุณภาพ (อธิบาย) ปริมาณ (ร้อย ละ) คุณโครงการสานเสริม พัฒนาการเด็กปฐมวัย 92.00 เด็กปฐมวัยมีร่างกาย เจริญเติบโตตามวัย แข็งแรงและมีสุขนิสัย ที่ดี มีสุขภาพจิตดี มี สุนทรียภาพ มี พัฒนาการด้านภาษา ทักษะการคิด ในการ แสวงหาความรู้ และ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีความสุข 95.82 - เด็กร่างกนิสัยทีเบิกบมีสุขภแสดงเหมาตนเอคิด แสามาร่วมกัความ


สำเร็จ สอดคล้องกับ มาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและ จุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ สอดคล้องกับ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของ การศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษา ของชาติ พ.ศ. 2561 ณภาพ(อธิบาย) กปฐมวัยมีสุขภาพ ายแข็งแรง มีสุข ที่ดี มีอารมณ์ร่าเริง บาน มีสุนทรียภาพ ภาพจิตที่ดี งออกทางอารณ์ได้ ะสม ช่วยเหลือ องได้ มีทักษะในการ และสื่อสารได้ดี ารถทำงาน และอยู่ กับผู้อื่นได้อย่างมี มสุข มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก 2. การยกระดับคุณภาพ การศึกษา การส่งเสริมสนับสนุนการ จัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ ของผู้เรียน การพัฒนาผู้เรียนให้มี สมรรถนะและทักษะที่ จำเป็นในศตวรรษที่ 21 การจัดการเรียนรู้ด้วยการ ลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 3. การสร้างโอกาส ความ เสมอภาค และความเท่า เทียมทางการศึกษาทุกช่วง วัย การส่งเสริมสนับสนุนให้ เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการ พัฒนาการสมวัยอย่างมี คุณภาพ 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและ คุณภาพชีวิตที่ดี มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจาก ความรู้ ความรอบรู้ด้าน ต่าง ๆ มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์ นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่ มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน มีทักษะทางปัญญา ทักษะศตวรรษที่ 21


18 ยุทธศาสตร์ตาม แผนฯของโรงเรียน โครงการ เป้าหมาย ผลสปริมาณ (ร้อย ละ) คุณภาพ (อธิบาย) ปริมาณ (ร้อย ละ) คุณโครงการส่งเสริมทักษะ คณิตศาสตร์ปฐมวัย 85.00 เด็กปฐมวัยมีทักษะ กระบวนการคิดทาง คณิตศาสตร์ สามารถ คิดวิเคราะห์อย่างเป็น ระบบ และมีเจตคติที่ ดีต่อการเรียน คณิตศาสตร์ 95.21 เด็กปกระบคณิตวิเคราระบบมีเหตุสามาผู้อื่นไและมีเรียนด้วย


สำเร็จ สอดคล้องกับ มาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและ จุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ สอดคล้องกับ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของ การศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษา ของชาติ พ.ศ. 2561 ณภาพ(อธิบาย) ปฐมวัยมีทักษะ บวนการคิดทาง ศาสตร์สามารถคิด าะห์ อย่างเป็น บ แก้ปัญหาได้อย่าง ตุผลพร้อมทั้ง ารถทำงานร่วมกับ ได้อย่างมีความสุข มีเจตคติที่ดี ต่อการ คณิตศาสตร์อีก มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก 2. การยกระดับคุณภาพ การศึกษา • การพัฒนาผู้เรียนให้มี สมรรถนะและทักษะที่ จำเป็นในศตวรรษที่ 21 • การจัดการเรียนรู้ด้วยการ ลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและ คุณภาพชีวิตที่ดี • มีความเพียร ใฝ่ เรียนรู้ • มีสมรรถนะ (competency) ที่ เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้าน ต่าง ๆ 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์ นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่ มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน • ทักษะการคิด สร้างสรรค์ • สมรรถนะการบูรณา การข้ามศาสตร์


19 ยุทธศาสตร์ตาม แผนฯของโรงเรียน โครงการ เป้าหมาย ผลสปริมาณ (ร้อย ละ) คุณภาพ (อธิบาย) ปริมาณ (ร้อย ละ) คุณยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพเด็ก ตามจิตตารมณ์พระ หฤทัยของพระเยซูเจ้า โครงการ Heart for God - กิจกรรม Heart of Giving - กิจกรรมจิตอาสา ปฐมวัย - กิจกรรม 8 H นำชีวิต - กิจกรรมหนูน้อยรักษ์ สิ่งแวดล้อม : ปลูก เพราะรัก - กิจกรรมหนูน้อย มารยาทงาม - กิจกรรมปลูกวินัยให้ ลูกรัก 92.00 เด็กปฐมวัยมีความ ตระหนัก มีจิต สาธารณะ สามารถ ปฏิบัติตามค่านิยม 8H และนำจิตตารมณ์พระ หฤทัยมาปรับใช้ใน ชีวิตประจำวันได้ เหมาะสมกับวัย 96.55 เด็กปความอัตลัก8H สในชีวิการช่และสิเหมา


สำเร็จ สอดคล้องกับ มาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและ จุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ สอดคล้องกับ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของ การศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษา ของชาติ พ.ศ. 2561 ณภาพ(อธิบาย) ปฐมวัยมีความรู้ มเข้าใจเกี่ยวกับ กษณ์ และค่านิยม สามารถนำไปปฏิบัติ ตประจำวัน โดย ช่วยเหลือ ดูแลผู้อื่น สิ่งแวดล้อมได้ ะสมตามวัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก 1. การจัดการศึกษาเพื่อ ความปลอดภัย การจัดการเรียนรู้เพื่อ ส่งเสริมคุณลักษณะและ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ของ ผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพ การศึกษา การจัดการเรียนรู้ด้วยการ ลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 3. การสร้างโอกาส ความ เสมอภาค และความเท่า เทียมทางการศึกษาทุกช่วง วัย การส่งเสริมสนับสนุนให้ เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการ พัฒนาการสมวัยอย่างมี คุณภาพ 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและ คุณภาพชีวิตที่ดี มีทักษะชีวิต 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อ สันติสุข รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็น พลเมืองไทยและพลโลก มีจิตอาสา


20 ยุทธศาสตร์ตาม แผนฯของโรงเรียน โครงการ เป้าหมาย ผลสปริมาณ (ร้อย ละ) คุณภาพ (อธิบาย) ปริมาณ (ร้อย ละ) คุณยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาคุณภาพเด็ก มี ภาวะผู้นำ เป็นคนดีสู่ สังคมและ ประเทศชาติ โครงการ Sport Day 94.00 เด็กปฐมวัยมีสุขภาพ แข็งแรง กล้า แสดงออกรักการออก กำลังกายมีความเป็น ผู้นำ ผู้ตาม เล่นและ ทำกิจกรรมร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 96.43 เด็กปสุขภาออกกเคลื่อคล่องมั่นใจเป็นผู้สามากิจกรอย่าง


สำเร็จ สอดคล้องกับ มาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและ จุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ สอดคล้องกับ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของ การศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษา ของชาติ พ.ศ. 2561 ณภาพ(อธิบาย) ปฐมวัยมีสุขภาพกาย าพจิตที่ดี รักการ กำลังกาย นไหวร่างกายได้ งแคล่ว มีความ จ กล้าแสดงออก ผู้นำ ผู้ตามที่ดี ารถเล่น และทำ รรมร่วมกับผู้อื่นได้ มีความสุข มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก 1. การจัดการศึกษาเพื่อ ความปลอดภัย การจัดการเรียนรู้เพื่อ ส่งเสริมคุณลักษณะและ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ของ ผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพ การศึกษา การจัดการเรียนรู้ด้วยการ ลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 3. การสร้างโอกาส ความ เสมอภาค และความเท่า เทียมทางการศึกษาทุกช่วง วัย การส่งเสริมสนับสนุนให้ เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการ พัฒนาการสมวัยอย่างมี คุณภาพ


21 ยุทธศาสตร์ตาม แผนฯของโรงเรียน โครงการ เป้าหมาย ผลสปริมาณ (ร้อย ละ) คุณภาพ (อธิบาย) ปริมาณ (ร้อย ละ) คุณกิจกรรม จิตอาสาปฐมวัย 92.00 เด็กปฐมวัยมีความ ตระหนักในการเป็นผู้ มีจิตสาธารณะ มี ความสุขในการได้ ช่วยเหลือผู้อื่น เพื่อ เป็นคนดีสู่สังคม และ ประเทศชาติ 96.07 เด็กปจิตอาน้อง ตามวัภาคภูและมีช่วยเหบำเพ็ดูแลสิเหมา


สำเร็จ สอดคล้องกับ มาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและ จุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ สอดคล้องกับ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของ การศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษา ของชาติ พ.ศ. 2561 ณภาพ(อธิบาย) ปฐมวัยสามารถทำ าสาในการรับส่ง เข้าห้องเรียนได้ วัยเกิดความ ภูมิใจในการทำดี มีความพร้อมที่จะ หลือผู้อื่น มีการ พ็ญประโยชน์ในการ สิ่งแวดล้อมได้ ะสมตามวัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก 1. การจัดการศึกษาเพื่อ ความปลอดภัย การจัดการเรียนรู้เพื่อ ส่งเสริมคุณลักษณะและ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ของ ผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพ การศึกษา การจัดการเรียนรู้ด้วยการ ลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 3. การสร้างโอกาส ความ เสมอภาค และความเท่า เทียมทางการศึกษาทุกช่วง วัย การส่งเสริมสนับสนุนให้ เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการ พัฒนาการสมวัยอย่างมี คุณภาพ 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและ คุณภาพชีวิตที่ดี มีทักษะชีวิต 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อ สันติสุข รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็น พลเมืองไทยและพลโลก มีจิตอาสา


22 ยุทธศาสตร์ตาม แผนฯของโรงเรียน โครงการ เป้าหมาย ผลสปริมาณ (ร้อย ละ) คุณภาพ (อธิบาย) ปริมาณ (ร้อย ละ) คุณกิจกรรม Beaver Day Camp 92.00 เด็กปฐมวัยมีทักษะ ชีวิต และปฏิบัติตน ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง มี ความสุข ในการ ดำรงชีวิต เพื่อเป็นคน ดีสู่สังคม และ ประเทศชาติ 96.93 เด็กปสามาในกาประจำการคิความผู้นำ กิจกรสนุกส


สำเร็จ สอดคล้องกับ มาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและ จุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ สอดคล้องกับ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของ การศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษา ของชาติ พ.ศ. 2561 ณภาพ(อธิบาย) ปฐมวัยมีทักษะชีวิต ารถช่วยเหลือตนเอง รปฏิบัติกิจวัตร จำวันได้ มีทักษะใน คิด การแก้ปัญหา มี มรับผิดชอบ มีภาวะ และสามารถร่วม รรมกับผู้อื่นได้อย่าง สนาน มีความสุข มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก 1. การจัดการศึกษาเพื่อ ความปลอดภัย การจัดการเรียนรู้เพื่อ ส่งเสริมคุณลักษณะและ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ของ ผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพ การศึกษา การจัดการเรียนรู้ด้วยการ ลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 3. การสร้างโอกาส ความ เสมอภาค และความเท่า เทียมทางการศึกษาทุกช่วง วัย การส่งเสริมสนับสนุนให้ เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการ พัฒนาการสมวัยอย่างมี คุณภาพ


23 ยุทธศาสตร์ตาม แผนฯของโรงเรียน โครงการ เป้าหมาย ผลสปริมาณ (ร้อย ละ) คุณภาพ (อธิบาย) ปริมาณ (ร้อย ละ) คุณยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาคุณภาพเด็ก เน้นเด็กรายบุคคล มี ทักษะทางวิชาการ ทักษะชีวิต และ คุณลักษณะ ของเด็ก ในศตวรรษที่ 21 กิจกรรม ภาษาพาสนุก 92.00 เด็กปฐมวัยมีความรู้ ความสามารถในการ ใช้ภาษาอังกฤษ ภาษาจีนในการสื่อสาร ได้ตามวัย 95.21 - เด็กความในกาภาษาการสด้วยปภาษาเด็กมีใช้ภา


สำเร็จ สอดคล้องกับ มาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและ จุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ สอดคล้องกับ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของ การศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษา ของชาติ พ.ศ. 2561 ณภาพ(อธิบาย) กปฐมวัยมีความรู้ มสามารถ มีทักษะ รใช้ภาษาอังกฤษ าจีน ในการสื่อสาร สนทนา ตอบคำถาม ประสบการณ์ทาง าที่หลากหลาย และ ีเจตคติที่ดีต่อการ ษาอย่างมีความสุข มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก 2. การยกระดับคุณภาพ การศึกษา การส่งเสริมสนับสนุนการ จัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ ของผู้เรียน การพัฒนาผู้เรียนให้มี สมรรถนะและทักษะที่ จำเป็นในศตวรรษที่ 21 การจัดการเรียนรู้ด้วยการ ลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 3. การสร้างโอกาส ความ เสมอภาค และความเท่า เทียมทางการศึกษาทุกช่วง วัย การส่งเสริมสนับสนุนให้ เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการ พัฒนาการสมวัยอย่างมี คุณภาพ 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและ คุณภาพชีวิตที่ดี มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจาก ความรู้ ความรอบรู้ด้าน ต่าง ๆ มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์ นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่ มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน มีทักษะทางปัญญา ทักษะศตวรรษที่ 21


24 ยุทธศาสตร์ตาม แผนฯของโรงเรียน โครงการ เป้าหมาย ผลสปริมาณ (ร้อย ละ) คุณภาพ (อธิบาย) ปริมาณ (ร้อย ละ) คุณกิจกรรม ศิลปะสร้างสรรค์ 92.00 เด็กปฐมวัยมี จินตนาการและ ความคิดสร้างสรรค์ สามารถสร้างผลงาน ศิลปะเพื่อสื่อสาร ความคิดได้ 95.33 เด็กปสร้างศิลปะผ่านจิความอย่างมีการและมีงานขเกิดค


สำเร็จ สอดคล้องกับ มาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและ จุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ สอดคล้องกับ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของ การศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษา ของชาติ พ.ศ. 2561 ณภาพ(อธิบาย) ปฐมวัยได้มีโอกาส สรรค์ผลงานทาง ะอย่างหลากหลาย จินตนาการ และ มคิดสร้างสรรค์ อิสระ พร้อมทั้งได้ รนำเสนอผลงาน มีพื้นที่จัดแสดงผล ของเด็ก ทำให้เด็ก วามภาคภูมิใจ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก 2. การยกระดับคุณภาพ การศึกษา การส่งเสริมสนับสนุนการ จัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ ของผู้เรียน การพัฒนาผู้เรียนให้มี สมรรถนะและทักษะที่ จำเป็นในศตวรรษที่ 21 การจัดการเรียนรู้ด้วยการ ลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 3. การสร้างโอกาส ความ เสมอภาค และความเท่า เทียมทางการศึกษาทุกช่วง วัย การส่งเสริมสนับสนุนให้ เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการ พัฒนาการสมวัยอย่างมี คุณภาพ 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและ คุณภาพชีวิตที่ดี มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจาก ความรู้ ความรอบรู้ด้าน ต่าง ๆ มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์ นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่ มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน มีทักษะทางปัญญา ทักษะศตวรรษที่ 21


25 ยุทธศาสตร์ตาม แผนฯของโรงเรียน โครงการ เป้าหมาย ผลสปริมาณ (ร้อย ละ) คุณภาพ (อธิบาย) ปริมาณ (ร้อย ละ) คุณกิจกรรม วิทยาศาสตร์แสนสนุก 92.00 เด็กปฐมวัยมีทักษะ กระบวนการเรียนรู้ ทางวิทยาศาสตร์และ เกิดการเรียนรู้ด้วย ตนเอง 95.45 เด็กเกิกระบวิทยาคิด วิคิดเชื่และคิเหมาทั้งได้กิจกรให้เกิดแสวงที่อยา


สำเร็จ สอดคล้องกับ มาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและ จุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ สอดคล้องกับ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของ การศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษา ของชาติ พ.ศ. 2561 ณภาพ(อธิบาย) กิดทักษะ บวนการเรียนรู้ทาง าศาสตร์ สามารถ เคราะห์ สังเคราะห์ ชอมโยงหาเหตุผล คิดแก้ปัญหาได้ ะสมกับวัย พร้อม ้ลงมือปฏิบัติ รรมด้วยตนเองทำ ดองค์ความรู้ และ งหาคำตอบในเรื่อง ากรู้ได้ด้วยตนเอง มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก 2. การยกระดับคุณภาพ การศึกษา การส่งเสริมสนับสนุนการ จัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ ของผู้เรียน การพัฒนาผู้เรียนให้มี สมรรถนะและทักษะที่ จำเป็นในศตวรรษที่ 21 การจัดการเรียนรู้ด้วยการ ลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 3. การสร้างโอกาส ความ เสมอภาค และความเท่า เทียมทางการศึกษาทุกช่วง วัย การส่งเสริมสนับสนุนให้ เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการ พัฒนาการสมวัยอย่างมี คุณภาพ 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและ คุณภาพชีวิตที่ดี มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจาก ความรู้ ความรอบรู้ด้าน ต่าง ๆ มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์ นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่ มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน มีทักษะทางปัญญา ทักษะศตวรรษที่ 21


26 ยุทธศาสตร์ตาม แผนฯของโรงเรียน โครงการ เป้าหมาย ผลสปริมาณ (ร้อย ละ) คุณภาพ (อธิบาย) ปริมาณ (ร้อย ละ) คุณโครงการปฐมวัยเรียนรู้สู่ โลกกว้าง ทัศนศึกษา 90.00 เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้ จากประสบการณ์ตรง มีความสนุกสนาน และเรียนรู้ร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 97.05 - เด็กประสที่ได้พห้องเีคิด กทักษะแสวงปรับ ชีวิตปเหมา


สำเร็จ สอดคล้องกับ มาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและ จุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ สอดคล้องกับ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของ การศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษา ของชาติ พ.ศ. 2561 ณภาพ(อธิบาย) กปฐมวัยได้รับ สบการณ์ใหม่จากสิ่ง พบเห็นนอก รียน เกิดทักษะการ การแก้ปัญหา มี ะชีวิตสามารถ งหาความรู้นำมา ประยุกต์ใช้ใน ประจำวันได้ ะสมตามวัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก 1. การจัดการศึกษาเพื่อ ความปลอดภัย การส่งเสริมสนับสนุนการ จัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพ การศึกษา การพัฒนาผู้เรียนให้มี สมรรถนะและทักษะที่ จำเป็นในศตวรรษที่ 21 การจัดการเรียนรู้ด้วยการ ลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 3. การสร้าโอกาส ความ เสมอภาค และความเท่า เทียมทางการศึกษาทุกช่วง วัย การส่งเสริมสนับสนุนให้ เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการ 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและ คุณภาพชีวิตที่ดี มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจาก ความรู้ ความรอบรู้ด้าน ต่าง ๆ มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์ นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่ มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน มีทักษะทางปัญญา ทักษะศตวรรษที่ 21 ทักษะการคิดสร้างสรรค์


27 ยุทธศาสตร์ตาม แผนฯของโรงเรียน โครงการ เป้าหมาย ผลสปริมาณ (ร้อย ละ) คุณภาพ (อธิบาย) ปริมาณ (ร้อย ละ) คุณกิจกรรม วิชาการ “อนุบาลสุข สันต์ วันมหัศจรรย์ของ หนู” 92.00 เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้ใน สิ่งที่ตนเองสนใจ ได้ สร้างสรรค์ นำเสนอ ผลงาน และได้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกับบุคคลอื่น 96.44 เด็กปแลกเนำเสโอกาสังเกตร่วมกัเด็กมีผลงนผู้อื่น ความตนเอ


สำเร็จ สอดคล้องกับ มาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและ จุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ สอดคล้องกับ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของ การศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษา ของชาติ พ.ศ. 2561 ณภาพ(อธิบาย) พัฒนาการสมวัยอย่างมี คุณภาพ ปฐมวัยได้มีโอกาส เปลี่ยนเรียนรู้ นอผลงาน ได้มี สฟัง พูด คิด ตในการทำงาน กับผู้อื่น พร้อมทั้ง ีโอกาสได้ชื่นชม นของตนเอง และ เพื่อสร้างความสุข มภาคภูมิใจใน อง มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก 2. การยกระดับคุณภาพ การศึกษา การส่งเสริมสนับสนุนการ จัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ ของผู้เรียน การพัฒนาผู้เรียนให้มี สมรรถนะและทักษะที่ จำเป็นในศตวรรษที่ 21 การจัดการเรียนรู้ด้วยการ ลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 3. การสร้างโอกาส ความ เสมอภาค และความเท่า เทียมทางการศึกษาทุกช่วง วัย การส่งเสริมสนับสนุนให้ เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการ 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและ คุณภาพชีวิตที่ดี มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจาก ความรู้ ความรอบรู้ด้าน ต่าง ๆ มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์ นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่ มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน มีทักษะทางปัญญา ทักษะศตวรรษที่ 21


28 ยุทธศาสตร์ตาม แผนฯของโรงเรียน โครงการ เป้าหมาย ผลสปริมาณ (ร้อย ละ) คุณภาพ (อธิบาย) ปริมาณ (ร้อย ละ) คุณยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาคุณภาพเด็ก มี ทักษะอาชีพที่ หลากหลาย และ สามารถสร้างอาชีพที่ เกิดขึ้นใหม่ มีเจตคติ ที่ดีต่ออาชีพสุจริต กิจกรรม Little Chef 92.00 เด็กปฐมวัยมีเจตคติที่ ดี ต่ออาชีพต่างๆ มี สมรรรถนะ และ ทักษะที่จำเป็นใน ศตวรรษที่ 21 95.33 - เด็กอาชีพในกาในอนตามวัทำงาและสอาหา


สำเร็จ สอดคล้องกับ มาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและ จุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ สอดคล้องกับ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของ การศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษา ของชาติ พ.ศ. 2561 ณภาพ(อธิบาย) พัฒนาการสมวัยอย่างมี คุณภาพ กปฐมวัยมีทักษะ พ เกิดความคิดริเริ่ม รเรียนรู้อาชีพใหม่ นาคตได้เหมาะสม วัย และเรียนรู้การ นอย่างเป็นขั้นตอน สามารถประกอบ ารอย่างง่ายๆ ได้ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก 2. การยกระดับคุณภาพ การศึกษา การส่งเสริมสนับสนุนการ จัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ ของผู้เรียน การพัฒนาผู้เรียนให้มี สมรรถนะและทักษะที่ จำเป็นในศตวรรษที่ 21 การจัดการเรียนรู้ด้วยการ ลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 3. การสร้างโอกาส ความ เสมอภาค และความเท่า เทียมทางการศึกษาทุกช่วง วัย การส่งเสริมสนับสนุนให้ เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการ 3. มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจาก ความรู้ ความรอบรู้ด้าน ต่าง ๆ มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์ นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่ มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน มีทักษะทางปัญญา ทักษะศตวรรษที่ 21


29 ยุทธศาสตร์ตาม แผนฯของโรงเรียน โครงการ เป้าหมาย ผลสปริมาณ (ร้อย ละ) คุณภาพ (อธิบาย) ปริมาณ (ร้อย ละ) คุณยุทธศาสตร์ที่ 6 พัฒนาคุณภาพครูและ บุคลากร ตามจิตตา รมณ์พระหฤทัยฯ โครงการพัฒนาบุคลากร ระดับปฐมวัย 94.00 บุคลากรระดับปฐมวัย มีความรู้ ความสามารถในการ พัฒนาคุณภาพการจัด การศึกษาระดับ ปฐมวัย 96.93 บุคลาได้รับความตามจิหฤทัยสามาคุณภการศึของโรยิ่งขึ้น


สำเร็จ สอดคล้องกับ มาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและ จุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ สอดคล้องกับ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของ การศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษา ของชาติ พ.ศ. 2561 ณภาพ(อธิบาย) พัฒนาการสมวัยอย่างมี คุณภาพ ากรระดับปฐมวัย บการพัฒนาให้มี มรู้ ความสามารถ จิตตารมณ์พระ ยฯ และมีความ ารถในการพัฒนา าพการจัด ศึกษาระดับปฐมวัย รงเรียนได้ดี นไป มาตรฐานที่ 3 การจัด ประสบการณ์ที่ เน้นเด็กเป็นสำคัญ 2. การยกระดับคุณภาพ การศึกษา การส่งเสริมสนับสนุนการ จัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ ของผู้เรียน การพัฒนาผู้เรียนให้มี สมรรถนะและทักษะที่ จำเป็นในศตวรรษที่ 21 การจัดการเรียนรู้ด้วยการ ลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 3. การสร้างโอกาส ความ เสมอภาค และความเท่า เทียมทางการศึกษาทุกช่วง วัย การส่งเสริมสนับสนุนให้ เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการ 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและ คุณภาพชีวิตที่ดี มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจาก ความรู้ ความรอบรู้ด้าน ต่าง ๆ มีทักษะการเรียนรู้ ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลก ยุคดิจิทัลและโลกใน อนาคต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์ นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่ มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน มีทักษะทางปัญญา ทักษะศตวรรษที่ 21


30 ยุทธศาสตร์ตาม แผนฯของโรงเรียน โครงการ เป้าหมาย ผลสปริมาณ (ร้อย ละ) คุณภาพ (อธิบาย) ปริมาณ (ร้อย ละ) คุณยุทธศาสตร์ที่ 7 พัฒนาคุณภาพครู สู่ ครูมืออาชีพ โครงการพัฒนาบุคลากร ปฐมวัยสู่ครูมืออาชีพ กิจกรรม การอบรมสัมมนา กิจกรรม นิเทศการเรียนการสอน กิจกรรม ปันความรู้สู่ครูพี่เลี้ยง กิจกรรม การเรียนรู้ Project Approach 94.00 โรงเรียนมีบุคลากรที่มี ความรู้ ความสามารถ ตามมาตรฐานวิชาชีพ และมีความสามารถใน การจัดการศึกษา ระดับปฐมวัยของ โรงเรียนได้ดียิ่งขึ้น 97.66 โรงเรีความตามมและมีการจัปฐมวัยิ่งขึ้นกิจกรรม One Teacher One In Novation 92.00 โรงเรียน ใช้เทคโนโลยี ในการจัดการเรียนรู้ และในการบริหารจัด การศึกษา 95.85 ครูระสร้างนการศึพัฒนประสิ


Click to View FlipBook Version