The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวบรวมองค์ความรู้รายบุคคลของเจ้าหน้าที่สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนนทบุรี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BytThk, 2021-07-22 04:07:09

การจัดการความรู้ (KM) พช.นนทบุรี ปี 2564

รวบรวมองค์ความรู้รายบุคคลของเจ้าหน้าที่สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนนทบุรี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

การจัดการความรู้
(KM)

สาํ นกั งานพฒั นาชุมชนจงั หวดั นนทบุรี

ปงบประมาณ พ.ศ. 2564

KM
กลุ่มงานส่งเสริม
การพัฒนาชุมชน

องค์ความรู้ เรือ่ ง “การพฒั นาศกั ยภาพอาสาพัฒนาชมุ ชนและผ้นู าอาสาพัฒนาชุมชน”

1. ชื่อเจา้ ของความรู้ นางปทุมมาศ ช่วงกรุด
ตาแหน่ง นักวิชาการพัฒนาชมุ ชนชานาญการ (ผช.ผอ.กลุ่มงานสง่ เสริมการพฒั นาชุมชน)
สังกัด สานักงานพฒั นาชมุ ชนจังหวัดนนทบุรี

2. หมวดองค์ความรู้ เสริมสร้างองค์กรให้มีขดี สมรรถนะสูง

3. ท่ีมาและเป้าหมายของการจดั การความรู้
เน่ืองจากภาวะปัจจุบัน พัฒนากรผู้ปฏิบัติงานในพื้นท่ีมีจานวนลดลง มีภารกิจ

รายงานเพม่ิ ขึ้นทาใหบ้ ทบาทในการลงปฏิบัติงานพื้นท่ีนอ้ ยลงตามไปด้วย ความสัมพันธ์กับชุมชน/หม่บู ้าน เรมิ่ หา่ งหายไป
ทีละน้อย ดังน้ัน เม่ือมีอาสาพัฒนาชุมชน (อช.) และผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน (ผู้นา อช.) ซึ่งอยู่ในหมู่บ้านชุมชน
เป็นผู้ปฏิบัติงานร่วมกับพัฒนากร เปรียบเสมือนเงาของพัฒนากร จึงต้องพัฒนาศักยภาพของบุคคลเหล่านั้นให้มี
องค์ความรู้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานเปรียบเสมือนเป็นพัฒนากรท่ีประสานงานอยู่ใน หมู่บ้าน
ตาบล

4. เป้าหมายของการจดั การความรู้
แก้ไขปัญหาเกีย่ วกบั การดาเนินงานตามภารกจิ ของอาสาพัฒนาชมุ ชนและผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน

5. วิธีการและขั้นตอน
1. คัดเลอื กบคุ คลในหมูบ่ า้ นท่ีมลี กั ษณะเป็นผนู้ าที่มีจติ อาสา เข้ามาเปน็ อาสาพัฒนาชุมชน (อช.)
หม่บู ้านละไมน่ ้อยกว่า 4 คน (ชาย 2 คน หญงิ 2 คน)
2. จัดเวทปี ระชาคมอาสาพฒั นาชมุ ชน คดั เลือกผนู้ าอาสาพฒั นาชมุ ชน (ผูน้ า อช.) เพื่อให้ปฏิบัติงาน
อาสาสมัครในฐานะผู้นาของอาสาพฒั นาชมุ ชนในตาบลหนง่ึ เรยี กชือ่ ยอ่ ว่า “ผนู้ า อช.” มีจานวน 2 คน
(ชาย 1 คน หญงิ 1 คน)
3. เจ้าหน้าทพ่ี ัฒนาชุมชนควรชแ้ี จง และนาเสนอข้อมูลเก่ียวกับบทบาทหน้าที่ แนวทางการดาเนนิ งาน
ของ อช. และ ผูน้ า อช. เปน็ ประจาทุกปี เพอ่ื สร้างความเข้าใจในการดาเนินงาน ใหส้ ามารถขับเคล่ือน
ภารกิจให้ประสบความสาเร็จได้ และควรพูดสอดแทรกเน้นย้าในการประชุมหมู่บ้าน หรือประชุม
อ่ืน ๆ ที่สามารถทาได้ เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์และสร้างความคุ้นเคยให้คนในชุมชนรู้จัก อช.
และผู้นา อช. ซ่ึงการที่ อช. และผู้นา อช. เข้าใจบทบาทหน้าท่ีของตนเอง คนในชุมชนรู้จักและ
เข้าใจว่า อช. และผู้นา อช. คือใคร ทาหน้าที่อะไร จะทาให้การขับเคลื่อนกิจกรรมต่าง ๆ เป็นไป
อยา่ งราบร่ืน
4. สร้างเครือข่ายการทางานร่วมกันกับกลุ่ม องค์การต่าง ๆ ในชุมชน เช่น องค์กรสตรี กลุ่ม OTOP
กลุ่มเยาวชน ศูนยป์ ระสานงานองค์การชุมชน (ศอช.) องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน และภาคีตา่ ง ๆ
ในชุมชน เพื่อให้เกิดการยอมรับและสร้างพลังในการทางาน รวมถึงเพ่ิมขีดความสามารถในการ
ขับเคลื่อนกจิ กรรมของ อช. และผู้นา อช. และยงั เป็นการบูรณาการในการทางานร่วมกนั อีกดว้ ย
5. เจา้ หนา้ ที่พฒั นาชุมชนควรส่งเสริมให้มีการประชมุ อช. และผ้นู า อช. เปน็ ประจาทุกเดือน เพอ่ื ให้
เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้และประสบการณ์ร่วมกัน รวมถึงได้มีโอกาสรับทราบปัญหา อุปสรรค
ในการดาเนินการ และรว่ มกนั ค้นหาวิธแี กไ้ ขปญั หา
6. สานกั งานพฒั นาชุมชนอาเภอควรจัดกจิ กรรมพัฒนาศักยภาพ ความรูค้ วามสามารถของ อช. และ
ผ้นู า อช. ร่วมกับหนว่ ยงานภาคเอกชนและภาคราชการ เปน็ ประจาทุกปี

7. แสวงหา...

-2-

7. แสวงหางบประมาณจากองค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ เพื่อจดั กิจกรรม พฒั นาองค์กร และ
เครอื ขา่ ย ในดา้ นตา่ ง ๆ

8. สง่ เสริม อช. และผูน้ า อช. ทม่ี ีความรคู้ วามสามารถ เข้าประกวดเพ่ือรบั รางวลั ต่าง ๆ จาก
หนว่ ยงานภาครัฐและเอกชน

9. จัดทาแผนและปฏทิ ินการปฏิบัติงานประจาเดือน โดยสานักงานพัฒนาชมุ ชนอาเภอ เป็นผ้เู รยี ก
ประชุมทุกส้ินไตรมาส

10.สนับสนนุ สง่ เสริม ให้อช. และผนู้ า อช. ริเริม่ การจัดกิจกรรม/โครงการพัฒนาชุมชน ที่เป็น
ประโยชนต์ ่อชมุ ชน โดยใช้ชมรมอาสาพฒั นาชมุ ชนเปน็ ตัวขับเคลอ่ื น เพื่อให้มีการจัดกิจกรรมอย่าง
ตอ่ เน่อื ง และเปน็ การประชาสัมพันธ์ให้ อช. และ ผูน้ า อช. เปน็ ท่ีรจู้ ัก

11.สนับสนนุ ใหม้ ีการจัดทาสญั ลักษณ์ของ อช. และผูน้ า อช. เชน่ หมวก เสอ้ื ยดื เสอ้ื คลุม เป็นตน้
เพอื่ เปน็ การประชาสัมพนั ธ์

12.อช. และผนู้ า อช. ตอ้ งรายงานแผนและผลการดาเนินงานเปน็ ประจา ดงั นี้
13.อช. รายงานผลต่อผู้นา อช. เปน็ ประจาทุกเดอื น (แนบรายงานพรอ้ มภาพถา่ ย)
14.ผนู้ า อช. รายงานผลตอ่ นายอาเภอเปน็ ประจาทุกเดือน (แนบรายงานพร้อมภาพถา่ ย)
15.นายอาเภอ รายงานผลต่อผวู้ ่าราชการจังหวดั ๓ เดือน/คร้ัง (แนบรายงานพร้อมภาพถ่าย)
16.เน้นการประชาสัมพันธ์ โดยการสร้างเอกลักษณ์ จุดเด่นเฉพาะตัว ผ่านทางสัญลักษณ์ เช่น เส้ือ

อช./ผนู้ า อช.
17.ประชาสัมพันธ์ใหอ้ งค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้รู้จักบทบาทหน้าท่ีของ อช. และผู้นา อช. เพื่อขอ

สนับสนนุ งบประมาณจากองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ และหนว่ ยงานเอกชนอนื่ ๆ
18.พัฒนากรต้องไม่ทอดท้ิง และคอยสนับสนุน ส่งเสริม และประสานงาน ให้อช. และผู้นา อช. ได้มี

กิจกรรมร่วมกนั อย่างตอ่ เนือ่ ง
19.พัฒนากร อช. และผู้นา อช. ควรถอดบทเรียนการดาเนินงานเป็นเอกสารรูปเล่ม แผ่นซีดี หรือ

เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ เพ่ือเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ทั้งนี้ทั้งนั้น
การดาเนินงาน อช. และผู้นา อช. ให้เป็นที่รู้จักของคนในชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ตลอดจนเป็นทรี่ ู้จักของกลุ่ม องคก์ รต่าง ๆ ในชมุ ชนนนั้ จะต้องอาศยั เจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนเป็นตัว
ช่วยสนับสนุน ส่งเสริม และประสานงาน ในกิจกรรมต่าง ๆ และสร้างจุดสนใจให้เกิดข้ึนกับ อช.
และผู้นา อช. ผ่านทางกิจกรรม/โครงการพัฒนา ที่ อช. และผู้นา อช. ร่วมกันคิดและดาเนินการ
รวมทั้งสร้างเอกลักษณ์เฉพาะตัว โดยใช้สัญลักษณ์เป็นตัวช่วยประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จัก และท่ีสาคัญ
คือ เน้นการบูรณาการทางานรวมกับกลุ่ม องค์กร เครือข่าย ต่าง ๆ โดยเฉพาะกับศูนย์ประสานงาน
องค์การชุมชน ซึ่งมีภารกิจท่ีคล้ายคลึงกันในหลายข้อ หรืออย่างน้อยที่สุดก็ควรจัดให้มีการประชุม
อช. และผ้นู า อช. เป็นประจา

6. ผลลัพธท์ ีไ่ ดจ้ ากการจดั การความรู้
ผลสาเร็จทเี่ กิดข้นึ คือ การทางานเป็นทีม การพัฒนางานใหเ้ ป็นไปตามบทบาทภารกจิ มีความกระตือรือร้น

ทจ่ี ะพฒั นางาน แสดงศักยภาพของผู้นาสามารถเป็นแกนนาในหมู่บา้ น ตาบล ในการติดต่อประสานงานดาเนนิ กจิ กรรม
รว่ มกบั ชุมชนอย่างภาคภูมิใจ เกิดผลสาเรจ็ ในการดาเนนิ งาน

-------------------------------------------

ชอื่ องค์ความรู้ การดาเนนิ งานโครงการสร้างสัมมาชีพชุมชน
เจ้าของความรู้ นางสาวนิรตั น์ เก้อื เสง้
ตาแหนง่ /สงั กัด นักวชิ าการพฒั นาชมุ ชนชานาญการ สานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวดั นนทบรุ ี
องคค์ วามรู้ทบ่ี ่งชี้ เทคนคิ การพฒั นาอาชีพของครัวเรอื นสมั มาชีพชมุ ชน

ท่มี าและความสาคญั ในการจดั ทาองค์ความรู้
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ได้กาหนดยุทธศาสตร์การ

สร้างความเป็นธรรม ลดความเหล่ือมล้าในสังคม ภายใต้แผนงานการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแขง็
ซ่ึงกระทรวงมหาดไทย ได้มอบหมายให้กรมการพฒั นาชมุ ชนเป็นหน่วยงานหลักในการบรู ณาการไปส่กู ารปฏิบัติ

ปัจจุบันสถานการณ์ท่ีเกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพของเกษตรกรภาคเกษตรกรรม มีภาวะความเส่ียง
ของอาชีพเกษตรกรรม ทเี่ กดิ จากการประกอบอาชีพแบบด้ังเดิม เช่น การปลูกพืชเชงิ เด่ยี ว โรคพชื ราคาผลผลิต
ตกต่า การไม่มีอาชีพหลังฤดูการผลิต ประกอบกับเกษตรกรมีการรวมตัวเป็นกลุ่มอาชีพค่อนข้างน้อย ส่งผลให้มี
การเคลื่อนย้ายท่ีอยู่อาศัยไปประกอบอาชีพในเขตเมือง หรือ ต่างถิ่น เพื่อให้มีอาชีพและรายได้มาใช้จ่ายภาย
ครวั เรอื นอย่างเพียงพอ

ด้วยเหตุปัจจัยข้างต้น กรมการพัฒนาชมุ ชนจึงมุ่งเน้นการพัฒนา/ยกระดับเศรษฐกิจฐานราก เกิดเป็นท่ีมา
ของโครงการสร้างสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2560 เพ่ือให้คนในชุมชนมีการสร้างงาน
สรา้ งอาชพี และสร้างรายได้ ภายใตห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ในบทบาทนักวิชาการพัฒนาชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวดั นนทบุรี ได้รับมอบหมายให้กากับดูแล
ส่งเสริม สนับสนุน ให้หมู่บ้านเป้าหมายตามโครงการสร้างสัมมาชีพชุมชน ขับเคล่ือนการปฏิบัติงานให้เป็นไปตาม
แนวทางที่กรมการพัฒนาชุมชนกาหนด โดยมีเป้าหมายให้ครวั เรือนสัมมาชีพชุมชน ได้มีโอกาสในการเรียนรู้ และ
พัฒนาอาชีพ เพิ่มสร้างงาน สร้างรายได้ ให้ครัวเรือนเพ่ิมมากข้ึน ผ่านกระบวนการส่งเสริมสนับสนุนภายใต้
หลักการ “เพื่อน สอนเพื่อน ชาวบ้าน สอนชาวบ้าน” เรียกว่า “ปราชญ์สัมมาชีพชุมชน” หรือ “วิทยากรสัมมาชพี
ชมุ ชน” ซ่งึ มคี วามคนุ้ เคยสอนกันเอง ตามอาชพี ที่ชาวบ้านอยากทาจริง ฝกึ ปฏบิ ตั ิและเพม่ิ รายได้ ได้จริง ซึง่ นับเป็น
กระบวนการสาคัญในการขับเคล่ือนสัมมาชีพชุมชนให้บรรลุเป้าหมายตามวัตถุประสงค์ของการสร้างสัมมาชีพ
ชมุ ชน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง อยา่ งยั่งยืน

รูปแบบ กระบวนการลาดบั ข้นั ตอน
1. ศึกษาแนวทางการดาเนนิ งานกจิ กรรม/โครงการส่งเสรมิ การสร้างสมั มาชีพชุมชน
2. กาหนดแผนงานการดาเนนิ กจิ กรรม/โครงการ ให้ชัดเจน
3. ประสานความร่วมมือผู้นาชุมชน ผู้นากลุ่ม/องค์กรต่างๆในชุมชน ภาคีการพัฒนาในการสนับสนุนการ

ดาเนินงานโครงการ โดยคัดเลือกผู้แทนจากครัวเรือนๆละ 1 คน รวม 20 ครัวเรือน/คน เรียกว่า “ครัวเรือน
สมั มาชีพชุมชน” และคัดเลือกผู้ทม่ี คี วามเชีย่ วชาญในอาชีพจานวน 5 คน เรยี กวา่ “ปราชญ์สัมมาชพี ชุมชน” หรอื
“วทิ ยากรสัมมาชีพชุมชน”

/4. จัดเวท…ี

-2-

4. จดั เวทีประชาคม ประชุม ชีแ้ จง ทาความเขา้ ใจแก่กลุ่มเปา้ หมายท่ีร่วมโครงการ และผู้มีส่วนเกี่ยวขอ้ งใน
การขบั เคลือ่ นโครงการ เพื่อร่วมกนั กาหนดเป้าหมายตามแนวทางการดาเนินงานท่กี รมการพัฒนาชมุ ชนกาหนด

5. ให้การสนับสนุนกิจกรรม /อาชีพ ตามท่ีครัวเรือนสัมมาชพี ชุมชนต้องการอย่างแท้จริง โดยสนับสนุนให้
“ปราชญ์สัมมาชีพชุมชน” หรือ “วิทยากรสัมมาชีพชุมชน” ดาเนินตามหลักการ “เพื่อน สอนเพ่ือน ชาวบ้าน
สอนชาวบ้าน” สาธิต หรอื ฝกึ ปฏบิ ตั อิ าชพี ตามความเหมาะสมของแตล่ ะประเภทอาชพี

6. ถอดองคค์ วามรู้ และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เมนูอาชีพ ทีค่ รัวเรือนเปา้ หมายคัดเลอื ก

มเี ทคนิคในการปฏิบัติงาน
การจัดการองค์ความรสู้ ัมมาชพี ชุมชน เพ่ือให้เกิดประโยชน์ต่อครวั เรือนเป้าหมาย ดาเนินการสง่ เสรมิ ให้

ครัวเรือนสัมมาชีพท่ีผ่านการฝึกปฏิบัติ นาความรู้ที่ได้ไปประกอบอาชีพใหม่ หรือ พัฒนาอาชีพเดิม ให้เกิดเป็น
อาชีพและรายได้ สามารถลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ อย่างต่อเน่ือง โดยมุ่งเน้นตามหลักสัมมาชีพชุมชน คือ อาชีพท่ี
สจุ รติ ไม่เบียดเบียนตอนเอง ไม่เบียดเบียนผู้อน่ื และ ไม่เบยี ดเบยี นสิง่ แวดลอ้ ม ซงึ่ องค์ความรูท้ ีไ่ ดจ้ าก “ปราชญ์
สมั มาชีพชมุ ชน” หรือ “วิทยากรสมั มาชีพชุมชน” หลายประการ เช่น

1. การสังเกต
2. การสมั ภาษณ์ พูดคยุ (แบบไมเ่ ป็นทางการ) เพ่ือสรา้ งความค้นุ เคย และสรา้ งความเปน็ กนั เอง เพือ่ ให้ได้
ขอ้ มลู เชิงลกึ ทั้งความคดิ ทัศนคติ
3. การถอดองค์ความรูอ้ ยา่ งละเอยี ด เปน็ ข้นั ตอน เข้าใจงา่ ย เพ่ือสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ไดจ้ ริง
4. การกระตุ้นการเปดิ ใจ สร้างความเป็นกันเอง สร้างการยอมรบั การพฒั นาอย่างจริงใจ
5. มีการพัฒนาภาวะผู้นา การเป็นวิทยากร เพ่ือสนับสนุนการขับเคลื่อนครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน และ
กลุม่ อาชพี อยา่ งต่อเนอ่ื ง

ปัญหาที่พบและแนวทางแกไ้ ข
ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ยังขาดความมั่นใจ หรือ ขาดความเช่ือในการสร้างอาชีพตามความต้องการ

ของตนเอง วา่ สามารถสร้างอาชพี สร้างรายได้ อย่างแทจ้ รงิ

ประโยชนข์ ององคค์ วามรู้
1. การถอดบทเรียนองค์ความรู้จากปราชญ์สัมมาชีพชุมชน ผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ และประสบ

ความสาเร็จในการประกอบสัมมาชีพ สร้างแรงจูงใจใหค้ รัวเรือนสัมมาชพี ชุมชน เป็นการกระตุ้นความมุ่งมั่นใหเ้ กดิ
ได้ ตามหลักการ “เพือ่ น สอนเพื่อน ชาวบา้ น สอนชาวบ้าน”

2. ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ที่เข้าร่วมโครงการสร้างสัมมาชีพชุมชน มีการพัฒนาตนเอง สามารถเพ่ิม
อาชีพ หรอื เพมิ่ รายได้ ลดรายจา่ ย ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

...............................................................................................................................................................

ชอื่ องค์ความรู้

“หนอง” ทางรอดของการจดั การแก้ไขปญั หาน้าเสีย และปัญหานา้ เค็ม
ด้วยโคก หนอง นา โมเดล ฉบับนนทบรุ ี

ช่ือเจา้ ของความรู้

นายกฤตพจน์ เจริญสุข
นักวิชาการพัฒนาชุมชนปฏิบัตกิ าร
กลุม่ งานสง่ เสริมการพัฒนาชุมชน

องคค์ วามรู้ทบี่ ง่ ช้ี

การพฒั นาพืนทีต่ ้นแบบการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎใี หม่
ประยกุ ต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”

ทม่ี าและความสาคญั ในการจัดทาองค์ความรู้

กรมการพัฒนาชุมชน ก้าหนดด้าเนินงานโครงการพัฒนาพืนที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” โดยมุ่งหวังว่าจะช่วยท้าให้พ่ีน้องประชาชน มีเศรษฐกิจ
ฐานรากท่ีม่ันคง ชุมชนพ่ึงตนเองได้ ตามเป้าหมายที่ก้าหนดไว้ในปี 2565 ถือได้ว่าเป็นประโยชน์กับประชาชน
มีความส้าคัญต่อการอยู่รอดของประเทศชาติ โดยเฉพาะการขับเคล่ือนโครงการพัฒนาพืนที่ต้นแบบการพัฒนา
คุณภาพชีวิต ตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” จะเป็นวิธีการหน่ึงที่จะท้าให้
กรมการพฒั นาชมุ ชนขบั เคลือ่ นการด้าเนินงานไปสู่จุดมงุ่ หมายทีไ่ ด้วางไว้ได้

กรมการพัฒนาชุมชน จึงได้น้อมน้าแนวพระราชด้าริน้อมน้าเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงและทฤษฎีใหม่มาประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” มาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชนควบคู่ไปด้วย เพ่ือสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมขน ยกระดับคุณภาพชีวิตของตนเองให้มีความสุข
สามารถพ่ึงพาตนเอง ก็จะท้าให้เศรษฐกิจฐานรากเกิดความม่ันคงและยั่งยืนอย่างแท้จริง ขณะท่ีปัจจุบัน
ประเทศชาติก้าลังเผชิญกับวิกฤตการแพร่ระบาดโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ส่งผลให้ประชาชน
ได้รับผลกระทบในด้านการด้ารงชีวิต ซ่ึงโครงการพัฒนาพืนที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตามหลักทฤษฎีใหม่
ประยุกตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล” จะชว่ ยใหพ้ ีน่ อ้ งประชาชนสามารถฟ้ืนตวั และสรา้ งความเข้มแข็งได้อยา่ งยั่งยืน
เม่ือเทียบกับการลงทุนในด้านอ่ืน ๆ ถือว่ามีความเส่ียงท่ีน้อย แต่กลับได้ผลประโยชน์อย่างคุ้มค่าและท่ัวถึง
ตามหลักทฤษฎีใหม่ ซ่ึงถือเป็นหลักประกันในการสร้างเศรษกิจฐานรากให้มั่นคง จากหลักการด้าเนินการ
ของ “โคก หนอง นา โมเดล” ซ่ึงมีการกา้ หนดพนื ที่เป็น 3 ส่วน ดงั นี

ส่วนที่ 1 โคก คือ พืนท่ีอยู่อาศัยปลูกพืชผักสวนครัว เลียงสัตว์ ปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4
อยา่ ง ปลูกไม้ 5 ระดับ

ส่วนที่ 2 หนอง คือ พืนท่ีในการกักเก็บน้าไว้ใช้ในยามหน้าแล้ง และสามารถใช้เป็นที่รองรับน้า
ในยามท่ีน้าท่วมหลาก รวมทังเป็นแหล่งท่ีอยู่อาศัยของปลา และสัตว์น้าอื่น ๆ และพืนที่ส้าหรับการเก็บน้า
ตามแนวทางของ “โคก หนอง นา โมเดล” อีก 2 ลักษณะ คอื

คลองไส่ไก่ คือ พืนท่ีส้าหรับกระจายน้าไปยังพืนท่ีท่ีอยู่ห่างไกล ซ่ึงประโยชน์จะช่วย
สร้างความอุดมสมบูรณ์แก่ต้นไม้และความชุ่มชืนท่ับริเวณพืนท่ี ซ่ึงจะท้าให้ประหยัดค่าใช้จ่ายส้าหรับการติดตัง
วางทอ่ หรอื ตดิ สปรงิ เกอร์

หลุมขนมครก คือ พืนที่กักเก็บน้าทังบนดิน และใต้ดิน ช่วยระบายน้าผ่านไปยัง
คลองไสไ้ ก่ ส้าหรับกระจายความชุ่มชืนให้ท่วั พืนท่ี รวมถงึ เปน็ จดุ กรองตะกอนต่าง ๆ ก่อนที่น้าจะถูกลา้ เลียงไปสู่ที่อ่ืน

สว่ นที่ 3 นา คือ พนื ทีส่ า้ หรบั ปลูกขา้ วอนิ ทรยี ์พนื บา้ น ปลูกพชื ผักบนคนั นา
โดยการด้าเนนิ การปรับปรุง/ออกแบบ/พัฒนาพืนท่ี ให้มคี วามยืนหยุ่นในการออกแบบและวางแผนการพัฒนาที่ดิน
ดว้ ยการบริหารจดั การพืนที่อย่างเหมาะสมตามหลกั ภมู ิสังคม

ท่ีมา : http://cddata.cdd.go.th/apps/knn/info/km.php

ในส่วนของจังหวัดนนทบุรี มีพืนท่ีด้าเนินการในการใช้งบประมาณของทางราชการส้าหรับ
พัฒนาพืนที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”
จ้านวน 4 แปลง คือโครงการพฒั นาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ประจา้ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ที่มีการใชง้ บประมาณ
ของทางราชการในการพนื ท/ี่ ปรบั ปรงุ พืนท่ี (ขุด) จา้ นวน 2 แปลง ประกอบดว้ ย

พนื ที่ นายประจวบ เอี่ยมโสต หมู่ที่ 1 ต.บางพลับ อ.ปากเกรด็ ขนาด 1 ไร่ และ
พืนที่ นายอาคม แกว้ เอ่ียม หมทู่ ่ี 9 ต.บ้านใหม่ อ.บางใหญ่ ขนาด 1 ไร่
และโครงการพัฒนาพืนท่ีต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่
"โคก หนอง นา โมเดล" จ้านวน 2 แปลง ประกอบดว้ ย
พนื ที่ นายสินชัย ทองม่ัง หมู่ท่ี 6 ต.ราษฎรน์ ยิ ม อ.ไทรน้อย ขนาด 3 ไร่ และ
พืนที่ นางสาวเขมจิรา ปานกลา่้ หมทู่ ่ี 10 ต.บางแมน่ าง อ.บางใหญ่ ขนาด 3 ไร่
รวมถึงมีผู้น้าชุมชนท่ีเข้าร่วมการอบรมตามโครงการเสริมสร้างและพัฒนาผู้น้าการเปลี่ยนแปลง
ประจ้าปี 2563 เพ่ือเพิ่มขีดความสามารถของผู้น้าชุมชนในการพัฒนา สามารถเป็นแกนหลักในการบริหารจัดการชุมชน
ให้เข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และทฤษฎีใหม่รูปแบบประยุกต์ “โคก หนอง นา โมเดล”
อกี จา้ นวน 17 ราย
จากการศึกษาการด้าเนินงานในการออกแบบและวางแผนการปรับปรุง และพัฒนาพืนท่ี ตาม
หลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” ในจังหวัดนนทบุรี พบว่า เดิมทีพืนท่ีส่วนใหญ่มีลักษณะ
ของความเป็นร่องสวนเดิมอยู่แล้ว ซ่ึงมีการใช้น้าในร่วมสวนส้าหรับให้ความชุ่มชืนแก่ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่
ปลกู อยู่บนพืนทีร่ อ่ งสวนซึ่งเป็นพืชและผลไมเ้ ศรษฐกจิ เช่น ทุเรยี น มะมว่ ง กะท้อน มะปราง เป็นต้น มบี อ่ น้าขนาด
พอเหมาะส้าหรับเกบ็ น้า และพืนทโี่ ดยรอบมีการท้าเป็นที่อยู่อาศยั รวมถึงมกี ารด้าเนินการปลูกพชื ผกั ทางเลือกเพมิ่ เตมิ
และยังพบปัญหาเพ่ิมเติมของการใช้น้าเพื่อท้าการเกษตรของจังหวดั นนทบุรี คือ ปัญหาแหล่งน้า
เน่าเสีย และปัญหาน้าเค็ม ทังนี จังหวัดนนทบุรี มีแม่น้าเจ้าพระยาซ่ึงเป็นแม่น้าสายหลักในเขตจังหวัดนนทบุรี
ไหลผ่านพืนที่อ้าเภอปากเกร็ด อ้าเภอเมืองนนทบุรี และอ้าเภอบางกรวย รวมถึงยังมีคลองส่งน้าที่เชื่อมต่อจาก
แมน่ ้าเจา้ พระยา เชน่ คลองแสนแสบ คลองออ้ มนนท์ คลองบางใหญ่ คลองบางม่วง คลองบางสีทอง คลองบางภูมิ
คลองพระอุดม เป็นต้น ซึ่งพืนที่ทางการเกษตรของจังหวัดนนทบุรี ไม่พบปัญหาการขาดแคลนน้า แต่ปัญหาท่ีพบ
คือ แหล่งน้าเน่าเสียท่ีมีสาเหตุมาจากการขยายตัวของความเป็นเมือง และปัญหาน้าเค็มท่ีเกิดจากน้าทะเลหนุน
ส่งผลให้ค่าความเค็มของน้าในคลองธรรมชาติไม่สามารถน้ามาใช้ทางการเกตษตรได้ ปัจจุบันเกษตรกรส่วนใหญ่
ใช้วธิ กี ารแกไ้ ขปญั หา คอื ใช้น้าประปาในการทา้ การเกษตร ซึง่ สง่ ผลทา้ ใหเ้ กษตรกรมีตน้ ทุนเพ่ิมสูงมาก
ดังนนั การน้อมน้าแนวพระราชด้าริน้อมน้าเอาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่
มาประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” โดยเฉพาะการขุดหนอง มาประยุกต์ใช้ในการกักเก็บน้าเอาไว้ใช้ทาง
การเกษตรทดแทนน้าในคลองธรรมชาติท่ีมีคุณภาพไม่ดี และมีความเค็ม หรือน้ามาผสมกับน้าจากคลองธรรมชาติ
เพื่อให้ค่าความเค็มลดลง เหมาะแก่การน้ามาใช้ทางการเกษตรต่อไป ในส่วนของหลุมขนมครก ก็ยังเป็นพืนท่ี
ใช้ประโยชน์ในการกรองตะกอนต่าง ๆ เช่น ตะกอนเกลือ หรือส่ิงสกปรก ก่อนท่ีน้าจะถูกล้าเลียงไปสู่พืชผล
ทางการเกษตรให้คุณภาพต่อไปได้

รปู แบบ กระบวนการลาดบั ข้นั ตอน

เทคนคิ ในการปฏิบตั ิงาน

• อธบิ ายให้ผูน้ ้าชุมชน หรือผูส้ นใจ เขา้ ใจถึงแนวคิดของการการนอ้ มน้าแนวพระราชดา้ ริ
นอ้ มนา้ เอาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎใี หม่มาประยุกต์สู่
“โคก หนอง นา โมเดล” เพ่อื สรา้ งความยั่งยนื ให้แกก่ ารเกษตร และเป็นตน้ แบบการเรียนรู้
ใหแ้ กค่ นในชุมชน และผสู้ นใจ

• ชใี ห้ผู้น้าชุมชน หรือผู้สนใจ เล็งเห็นถงึ ปัญหาของคณุ ภาพน้าทางการเกษตรของนนทบรุ ี
โดยเฉพาะปัญหาแหล่งนา้ เนา่ และปญั หาน้าเค็ม

• น้ารูปแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” มาประยุกตใ์ ชเ้ พอ่ื การจัดการแก้ไขปัญหา
แหล่งนา้ เน่าเสีย และปัญหาน้าเคม็ ในการทา้ การเกษตรพนื ทร่ี อ่ งสวน และพนื ที่อน่ื ๆ
ของจงั หวัดนนทบรุ ี

“หนอง” ทางรอดของการจัดการปัญหานา้ เสยี /นา้ เคม็ ดว้ ยโคก หนอง นา โมเดล ฉบบั นนทบุรี

ปัญหาที่พบและแนวทางแกไ้ ขปัญหา

ปัญหา : ประชาชนในจังหวัดนนทบุรี มีทัศนคติในการออกแบบพืนที่ทางการเกษตรที่มุ่งเน้น
ปริมาณผลผลิตกับมูลค่าทางเศรษฐกิจเป็นหลัก จึงมาความเช่ือว่า หากน้าพืนท่ีมาประยุกต์ตามหลักการ
“โคก หนอง นา โมเดล” แลว้ จะท้าให้มีพนื ท่ีเพาะปลูกเหลอื น้อย สง่ ผลใหไ้ ด้ผลผลิตน้อย

แนวทางแก้ไขปัญหา : น้าข้อมูลหลักการ “โคก หนอง นา โมเดล” และหลัการ
“กสิกรรมธรรมชาติ” มาอธิบาย สร้างความรู้ความเข้าใจกับเกษตรกร และผู้สนใจ ได้เข้าใจถึงประโยชน์ของ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่มาประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” มาใช้เป็นเคร่ืองมือ
ในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของตนเอง สรา้ งความเข้มแข็งใหก้ บั ชุมขน ยกระดับคณุ ภาพชีวิตของตนเองให้มคี วามสุข
สามารถพ่ึงพาตนเอง และจะเกิดความยง่ั ยนื อยา่ งแทจ้ ริง

ประโยชนขององค์ความรู้

1. เจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนจังหวัด/อ้าเภอ มีข้อมูล และแนวทางในการประชาสัมพันธ์
แ ล ะ รั บ ส มั ค ร ผู้ ส น ใ จ เ ข้ า ร่ ว ม โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า พื น ที่ ต้ น แ บ บ ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ต า ม ห ลั ก ท ฤ ษ ฎี ใ ห ม่
ประยุกตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล” และโครงการพฒั นาหม่บู า้ นเศรษฐกจิ พอเพียง ในปีต่อไป

2. ผู้น้าชุมชน/ผู้สนใจ ในของจังหวัดนนทบุรี ท่ีมีความสนใจ/ปรับปรุงพืนที่ ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่มาประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” มีความรู้ ความเข้าใจหลักการ
“โคก หนอง นา โมเดล” และหลัการ “กสิกรรมธรรมชาติ” มากขึน และสามารถน้ามาจัดการแก้ไขปัญหา
นา้ เสยี /นา้ เค็ม ในพนื ท่ีของตนเองได้

3. ผู้น้าชุมชน/ผู้สนใจ ในจังหวัดอ่ืน ๆ ท่ีประสบกับปัญหาแหล่งน้าเน่าเสีย และปัญหาน้าเค็ม
ในการทา้ การเกษตร สามารถน้าแนวทางไปปรบั ใชก้ บั พนื ที่ของตนได้

แบบบนั ทกึ องคค วามรรู ายบุคคล

1. ชือ่ องคค วามรู
แนวทางการดําเนินงานกองทุนพัฒนาเด็กชนบทในพระราชูปถัมภ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

สยามบรมราชกุมารี
2. ช่ือเจา ของความรู นางสาวสาวนิ ี อินทรป ระสิทธ์ิ นักวิชาการพฒั นาชุมชนปฏบิ ตั กิ าร
กลุม งานสง เสริมสงเสริมการพัฒนาชมุ ชน สาํ นกั งานพัฒนาชุมชนจงั หวดั นนทบุรี
3. องคความรูท่บี ง ช้ี (เลือกไดจ าํ นวน 1 หมวด)

 หมวดท่ี 1 สรางสรรคช ุมชนพึง่ ตนเองได
 หมวดท่ี 2 สง เสริมเศรษฐกิจฐานรากใหขยายตวั อยางสมดุล
 หมวดที่ 3 เสริมสรางทนุ ชมุ ชนใหมธี รรมาภบิ าล
 หมวดท่ี 4 เสริมสรางองคกรใหม ีสมรรถนะสูง
4. ท่ีมาและความสาํ คัญในการจดั ทําองคค วามรู
กองทุนพัฒนาเด็กชนบทในพระราชูปถัมภ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เปนกองทุนที่
จัดต้ังข้ึนโดยกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย และในป 2536 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา
กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระมหากรุณาและพระราชทานพระราชานุญาต
ใหใ ชชื่อวา “กองทนุ พฒั นาเด็กชนบทในพระราชูปถัมภ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี” ประกอบ
ไปดวยกองทุนสวนกลาง และสวนภูมิภาคทั้ง 76 จังหวัด กระทรวงมหาดไทยมีระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา
ดว ยกองทุนพัฒนาเดก็ ชนบทในพระราชูปถัมภ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พ.ศ. 2543 ลงวนั ที่
9 กุมภาพันธ 2543 และฉบับท่ี 2 ลงวันท่ี 21 พฤศจิกายน 2544 โดยกองทุนพัฒนาเด็กชนบท
มีวัตถุประสงคเพื่อเปนกองทุนในการใหความชวยเหลือและสนับสนนุ การพัฒนาเดก็ กอนวยั เรียนอายุตั้งแตแ รก
เกิดถึงหกป ท่ีครอบครัวยากจนและดอยโอกาส ซ่ึงถือเปนภารกิจงานหนึ่งท่ีสําคัญของกรมการพัฒนาชุมชน
กระทรวงมหาดไทย โดยกองทนุ อาจมีรายไดจากการจัดกจิ กรรมเพื่อหาทุน หรือรบั บริจาคทรัพยส ิน หรือการได
งบประมาณอุดหนุนจากรัฐบาล ซ่ึงกิจกรรมหนึ่งท่ีกรมฯ ไดดําเนินการเปนประจําทุกป ไดแก การจัดกิจกรรม
ทอดผา ปาสมทบกองทุน ทั้งในสวนกลางและภูมิภาคท้งั 76 จงั หวัด และการมอบทนุ อปุ การะเด็ก เปน ตน
ดังนั้นขาพเจาเห็นวาการดําเนินงานกองทุนพัฒนาเด็กชนบทเปนภารกิจงานหลักหน่ึงของกรมฯ ที่มี
ขั้นตอนและรายละเอียดงานคอนขางมากที่เจาหนาท่ีผูรับผิดชอบตองดําเนินการ จึงไดจัดทําองคความรู
“แนวทางการดําเนินงานกองทุนพัฒนาเด็กชนบทในพระราชูปถัมภ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกมุ ารี” นขี้ ึน้
5. รูปแบบ กระบวนการลําดับข้นั ตอน
การดําเนนิ งานกองทนุ พัฒนาเด็กชนบทในพระราชูปถัมภ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
มรี ูปแบบ/กระบวนการลําดบั ข้ันตอน โดยแบงไดตามตารางดงั ตอ ไปนี้

2

หนังสอื ราชการที่
หัวของาน รายละเอยี ดของงาน เกยี่ วของ/ขั้นตอนการ
ดําเนนิ การ
1. การแตงตั้งคณะกรรมการ - คณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาเด็ก -บนั ทกึ ขอ ความ
บ ริ ห า ร ก อ ง ทุ น แ ล ะ ชนบทจงั หวัด (ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย - แตงตงั้ คณะกรรมการ
คณะกรรมการเบกิ จา ย วาดวยกองทุนพัฒนาเด็กชนบท ฉบับป 2543 - คําสง่ั จงั หวัด
ขอ 7) จํานวนไมนอยกวา 7 คน ไดแก ผูวา - หนงั สือส่ังการ
ราชการจังหวัด เปนประธาน หัวหนาสวน - แจงหนวยงานราชการ/
ราชการ ภาคประชาชน พฒั นาการจงั หวัด และ คณะกรรมการที่เกย่ี วของ
ผูอํานวยการกลุมงานประสานแล ะการ - แจงประชมุ คณะกรรมการ
บริหารงานพัฒนาชุมชนเปนกรรมการและ อาทิ การรายงานผลการ
เ ล ข า นุ ก า ร มี ว า ร ะ ค ร า ว ล ะ 4 ป - ดําเนินงานประจําป หรือ
คณะกรรมการผูมีอํานาจสั่งจายเงินกองทุน การพิจารณาเด็กท่ีไดรับทุน
พั ฒ น า เ ด็ ก ช น บ ท ( ต า ม ร ะ เ บี ย บ อุปการะ รวมไปถึงการ
กระทรวงมหาดไทย วาดวยกองทุนพัฒนาเด็ก กําหนดแนวทางกิจกรรมที่
ชนบท ฉบับป 2543 ขอ 14) เก่ียวของ
2. การมอบทนุ อปุ การะ - ทุนอุปการะเด็กสวนกลาง (ตามเกณฑที่กรมฯ -บันทึกขอความ
กําหนด) มอบทุนอุปการะประจําปใหแกเด็กที่ - เสนอผูวาราชการจังหวัด
ไดรับการจัดสรรทุนทกุ ปต ามจํานวนเงินท่กี รมฯ ขออนุมัตทิ นุ อปุ การะ
จัดสรรจนถึงอายุ 6 ป เมื่ออายุเด็กเกิน 6 ป - ห นั ง สื อ แ จ ง อํ า เ ภ อ
แลว ใหพ ิจารณาจัดสรรทนุ แกเ ดก็ คนใหม คัดเลือกเด็กอุปการะตาม
- ทนุ อปุ การะเด็กจากจงั หวัด เ ก ณ ฑ ต า ม ท่ี ไ ด รั บ ก า ร
(ตามการพจิ ารณาของจงั หวดั ) จัดสรรทุน
- หรือไดรับมอบทุนสมทบจากผูสนับสนุนอ่ืนๆ -แนบใบถอนเงินใหผูมี
ผา นกองทนุ พัฒนาเด็กชนบทจังหวัด อํานาจลงนามเบิกจาย (ตาม
- มอบทุนอุปการะแกเด็กที่อยูในเกณฑทุกป คําส่ังของจังหวัด) ลงลายมือ
จนกวาเด็กจะพนเกณฑตามจํานวนเงินท่ีไดรับ ชื่อ (ผูวาราชการจังหวัด/
จัดสรรปล ะหน่งึ ครั้ง รองผูวาราชการจังหวัดท่ี
-เด็กท่ีไดรับควรเปนเด็กท่ียากจนและดอย กํากับดูแลสํานักงานพัฒนา
โอกาส มีอายุต้ังแตแรกเกิดถึงหกป และมีที่อยู ชุมชนจังหวัด/พัฒนาการ
ในจงั หวัด/อาํ เภอนั้นๆ จงั หวัด)
-ทั้งนี้ ขอมูล (Data) ของเด็กที่เคยไดรับทุนจะ - แบบรายงานเด็กท่ีไดรับ
สามารถเปนประโยชนในการใหความชวยเหลือ ทนุ เดิม และปจจุบัน
เด็กๆ เพ่ิมเติม อาทิ การพิจารณาใหความ - แบบคําขอทนุ อุปการะ
ชวยเหลือจากการประชุม ศจพจ. หรือเปน - แนบสําเนาสตู ิบัตรของเดก็
ครวั เรือนทต่ี กเกณฑ จปฐ. - แนบสําเนาทะเบียนบาน
ของเด็กและผูปกครองตาม
กฎหมาย

3

หนังสอื ราชการท่ี
หวั ของาน รายละเอยี ดของงาน เกีย่ วของ/ขั้นตอนการ
ดําเนินการ
2. การมอบทุนอปุ การะ - แนบสาํ เนาบตั รประชาชน
ของผูปกครองเดก็ ตาม
กฎหมาย
3. การทอดผาปาสมทบ - การจัดกิจกรรมทอดผาปาสมทบกองทุน - บนั ทึกขอความ
กองทุนพัฒนาเด็กชนบท พัฒนาเด็กชนบทจังหวัด โดยจังหวัดนนทบุรี - ข อ อ นุ มั ติ จ า ก ผู ว า
ในพระราชูปถัมภสมเด็จ รวมบูรณาการจัดงานกับงานวันขาราชการ ร า ช ก า ร จั ง ห วั ด ดํ า เ นิ น
พระเทพรัตนราช สุดาฯ พลเรอื น (31 มนี าคมของทกุ ป) และขออนุญาต กิจกรรม
สยามบรมราชกมุ ารี จากวัดทดี่ าํ เนนิ กจิ กรรมทอดผา ปา ฯ - ประกาศจังหวัด (สวน
-การเตรียมพธิ ี ราชการ องคกร/เครือขาย)
- ขออนมุ ัตดิ ําเนินการจัดงานทอดผา ปาฯ เ ร่ื อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร
- ประสานเจาหนาที่สํานักงานจังหวัด และ ทอดผาปา
เจาหนาท่ีสํานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด - หนั ง สื อแ จ ง เ วีย น ส ว น
เกี่ยวกับลําดับ หรือขั้นตอนของพิธีการ ราชการตามประกาศเชิญ
ทอดผาปา โดยหากมีการมอบทุนในงาน ช ว น ร ว ม บ ริ จ า ค ส ม ท บ
ทอดผาปา จะตองประสานแจงกับอําเภอเพื่อ กองทุน
นําเด็กมารับมอบทุน (ประมาณ 10 ทุน) โดยมี - ซองผาปา และตนผา ปา
หนวยงานผูมอบทุนในงานพิธี ไดแก ผูวา - หนังสือขอบคุณ พรอม
ราชการจังหวัด ศาล ทหาร ตํารวจ รองผูวา แนบใบเสร็จแกผ ูรวมบริจาค
ราชการจังหวดั ตามลาํ ดบั - คําสั่งแตงต้ังคณะทํางาน
- จัดเตรียมตนผาปาฯ และปจจัยตางๆ ทอดผา ปา ฯ ของสพจ.
ประกอบตนผา ปา ฯ รวมถึงผาไตรถวายพระ - ห นั ง สื อ ถึ ง หั ว ห น า
- คํากลาวพัฒนาการจังหวัด รายงานผลการ สํานักงานจังหวัด แจงการ
ทอดผาปาฯ และยอดบรจิ าค ณ วันทีจ่ ัดพธิ ี อนุมัติการจัดงานทอดผาปา
- รายงานยอดรายไดการทอดผาปาใหกรมฯ ในวันงานขาราชการพล
ทราบจํานวน 2 คร้ัง และรายงานสถานะ เรอื น พรอ มแนบกําหนดการ
ทางการเงินของกองทุนพัฒนาเด็กชนบทจังหวัด
ใหก รมทราบ
- สงใบเสร็จรับเงินใหผูบริจาคเงินสมทบผาปา
กองทนุ ฯ (สามารถนําไปลดหยอนภาษไี ด)
- ประชาสัมพนั ธทางเว็บไซตส ํานักงานพัฒนา
ชมุ ชน และเครอื ขา ยตา งๆ
- นําเงินท่ีหักคาใชจายในการทอดผาปาฯ ฝาก
เขา บญั ชกี องทุนพฒั นาเดก็ ชนบทจังหวัด
- รายงานการดําเนินกิจกรรมใหผูวาราชการจังหวัด
ทราบ

4

หนงั สือราชการที่
หัวของาน รายละเอียดของงาน เกยี่ วของ/ขั้นตอนการ
ดําเนนิ การ
4. บัญชีธนาคาร และต๋ัว - จังหวัดมีเงินฝากบัญชีของ “กองทุนพัฒนา -บั นทึ กข อค ว า มถึ งผู ว า
สัญญาใชเงินสหกรณออม เด็กชนบทฯ จังหวัดนนทบุรี” กับธนาคารออม ราชการจังหวัด เสนอการตอ
ทรพั ยก รมการพฒั นาชุมชน สิน สาขานนทบุรี ท้ังน้ีกรมการพัฒนาชุมชน ตว๋ั สญั ญาฯ
แ น ะ นํ า ใ ห เ ป ด บั ญ ชี เ งิ น ฝ า ก ไ ว กั บ - ห นั ง สื อ แ จ ง ก า ร ต อ ต๋ั ว
ธนาคารกรุงไทยเพ่ิมเติมเพื่อความสะดวกใน สญั ญา
การรองรับการโอนจดั สรรเงนิ อปุ การะกรมฯ - เสนอใหผูมีอํานาจลงนาม
- จังหวัดไดซื้อตั๋วสัญญาสหกรณออมทรัพย เ บิ ก จ า ย ล ง น า ม ห ลั ง ตั๋ ว
กรมการพฒั นาชมุ ชนไว 1 ฉบับ สัญญา พรอมแนบสําเนาผูมี
-ท้ังนี้ ในการถอนเงินเพื่อมอบทุนอุปการะ อํานาจลงนามสั่งจายตั๋ว
สามารถถอนเงินไดจากบัญชีธนาคาร เน่ืองจาก สญั ญา
มีเงนิ เพยี งพอ ไมจ าํ เปน ตอ งถอนจากต๋วั สญั ญา
- เม่ือต๋ัวสัญญาใกลหมดอายุ ใหทําหนังสือจาก
จังหวัดพิจารณาการตอตั๋วสัญญา หรือถอน ถึง
สหกรณฯ
-ในกรณีมีการเปล่ียนแปลงตําแหนงของผูมี
อํ า น า จ เ บิ ก จ า ย ใ ห ทํ า ห นั ง สื อ เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง
ลายมือช่ือแจงไปยังธนาคารและสหกรณออม
ทรพั ยก รมฯ

6. มีเทคนิคในการปฏบิ ตั ิงาน
ขา พเจามีเทคนิคในการปฏบิ ัติงาน โดยแบง เปนหวั ขอ ดังนี้
6.1 การประสานงาน ผูรับผิดชอบงานประสานงานกับเจาหนาที่ที่รับผิดชอบคนกอนหนา หรือ

ผูบังคับบัญชาเปนลําดับแรกเพ่ือสอบถามขอมูลของการดําเนินงานกองทุนของจังหวัด หรือสอบถามขอมูล
เพ่ิมเติมจากเจาหนาที่สวนกลาง อาทิ ขอมูลเด็กที่ไดรับทุนอุปการะจากสวนกลางควรเปนรายชื่อที่ตรงกับ
รายช่อื สวนจังหวัด

6.2 การจดั เก็บขอมลู จัดเก็บเอกสาร/หนังสือราชการเกีย่ วกับกองทุนพัฒนาเด็กชนบทในแฟม เอกสาร
รวมไปถึงการสรางแฟมไฟลขอมูลในคอมพวิ เตอร แยกกบั เรื่องอ่ืนๆ

6.3 อานและทบทวนระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยกองทุนพัฒนาเด็กชนบทในพระราชูปถัมภ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พ.ศ. 2543 ลงวันท่ี 9 กุมภาพันธ 2543 และฉบับที่ 2
ลงวนั ที่ 21 พฤศจิกายน 2544
7. ปญหาทพ่ี บและแนวทางการแกไขปญหา

ปญหาท่ีขา พเจา พบขณะทํางานแบงออกไดเปน 3 ประเดน็ ดงั นี้
7.1 การเขาถึงขอมูล ขาพเจาพบวาเม่ือผูปฏิบัติงานตองการคนหาระเบียบกระทรวงมหาดไทย หรือ
หนังสือ/ขอมูลการจัดตั้งกองทุน วาดวยกองทุนพัฒนาเด็กชนบท ในเว็บไซตของกรมการพัฒนาการพัฒนา

5

ชุมชน หรือเว็บไซตกองทุนพัฒนาเด็กชนบท หรือสวนกลาง คอนขางหาขอมูลไดยาก ขาพเจาจึงเห็นวากรมฯ
ควรมีขอมูลหรือระเบียบที่สําคัญเกี่ยวกับการดําเนินงานกองทนุ ไวในเว็บไซตของสวนกลาง เพ่ือใหผูปฏิบัติงาน
และผูท เ่ี กี่ยวของไดใชข อมูลที่สําคัญในการดําเนินงาน อาทิ การอา งถงึ ระเบียบในหนังสือราชการ หรือการเบกิ จาย

7.2 ความเปน ปจจุบันของขอ มูล ขา พเจาพบวาความตอ เนอ่ื งและเปนปจ จบุ ันของขอมูลการทํางานน้ัน
สําคัญ ในระดับภูมิภาคควรปรับคําส่ังของคณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาเด็กชนบท ระดับจังหวัด ซึ่ง
กรรมการท่ีไดรับการแตงตั้งอยูในตําแหนงไดคราวละสี่ป และคําสั่งคณะกรรมการผูมีอํานาจลงนามเบิกจาย
ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยของกองทุนพัฒนาเด็กชนบท จะเปนช่ือของบุคคลตามตําแหนง ไดแก
ผูวาราชการจังหวัด รองผูวาราชการจังหวัดท่ีกํากับดูแลงานสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด และพัฒนาการ
จงั หวัด ซ่ึงมีผลตอการสั่งจา ยเงินกับสถาบนั การเงินทีก่ องทุนพฒั นาเดก็ ชนบทฝากเงินไว โดยบุคคลดังกลา วอาจ
มีการเปลี่ยนแปลงหรือยายไปราชการจังหวัดอื่น จึงควรปรับปรุงหรือแตงต้ังคําสั่งคณะกรรมการฯ ใหเปน
ปจจบุ ัน

7.3 การจัดทําขอ มูล/แนวทางสาํ หรับผปู ฏิบตั ิงาน เนื่องจากกองทุนพฒั นาเดก็ ชนบท มีข้ันตอนในการ
ทาํ หนงั สอื ราชการ และมีระเบียบทเ่ี ก่ยี วของ ขา พเจา จึงเห็นวากรมฯ ควรมีคูมอื หรือแนวทางในการปฏบิ ัติงาน
ใหเจาหนาท่สี ามารถศกึ ษาและทาํ ตามขนั้ ตอน เพ่ือความสะดวกและความถูกตอ งในการปฏบิ ตั ิงาน
8. ประโยชนขององคความรู

ผูที่เก่ียวของหรือผูปฏิบัติงานกองทุนพัฒนาเด็กชนบทในพระราชูปถัมภ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกมุ ารีสามารถนําองคความรูน้ีไปใชเ ปนแนวทางในการทํางาน หรอื ประชาสัมพนั ธงานกองทนุ ไปยัง
หนวยงาน หรือองคกรเครือขายท่ีมีความประสงคสมทบเงินเขากองทุน หรือสํารวจเด็กที่มีความตองการ
การอุปการะหรอื สนบั สนุน

แบบบนั ทึกองค์ความรรู้ ายบุคคล

1. ชื่อองค์ความรู้ การลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ท่ีสามารถใช้งานได้จริงและนาไปสู่การพัฒนา
ผลติ ภณั ฑ์

2. ชื่อเจ้าของความรู้ นางสาวรัชชุดา จนั ทร์ทรง ตาแหน่ง นักส่งเสรมิ การพัฒนาชุมชน

3. องค์ความรู้ทีบ่ ง่ ชี้ สง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ฐานรากใหข้ ยายตวั อยา่ งสมดลุ

4. ทมี่ าและความสาคญั ในการจัดทาองคค์ วามรู้
โครงการหน่ึงตาบล หนงึ่ ผลติ ภณั ฑ์ (OTOP) ดาเนนิ การตง้ั แต่ปี พ.ศ. 2544 เปน็ ตน้ มา โดยมี

วัตถปุ ระสงคเ์ พื่อ (1) สร้างงานและเพิม่ รายไดใ้ ห้แก่ชุมชน (2) เสรมิ สร้างความเขม้ แขง็ ใหแ้ ก่ชมุ ชน (3) สง่ เสรมิ
การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น (4) ส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และ (5) ส่งเสริมความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์
ของชมุ ชน ซง่ึ เป็นการสร้างเศรษฐกจิ ฐานรากให้เข้มแข็ง โดยการสนับสนนุ ชว่ ยเหลือด้านความรู้ เทคโนโลยี ทนุ
การบริหารจัดการ เช่ือมโยงสินค้าจากชุมชนไปสู่ตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยกลไกการขับเคล่ือน
นโยบายไปสู่การปฏิบัติในช่วงเริ่มต้น เป็นการคัดเลือกผลิตภัณฑ์ขึ้นทะเบียนเป็น OTOP ด้วยกระบวนการ
จัดประชาคมตาบลท่ัวประเทศ จานวน 80,000 ผลิตภัณฑ์ และต่อมาได้มีการพัฒนาระบบลงทะเบียนผู้ผลิต
ผู้ประกอบการ OTOP ให้สามารถจัดเก็บรวบรวมเป็นฐานข้อมูล มีการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ และรูปแบบ
ผลิตภัณฑ์ให้มีมาตรฐานข้ึน เพื่อเป็นการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ OTOP ให้เป็นที่ยอมรับของสังคมและ
ผู้บริโภคท้ังในประเทศและต่างประเทศ เช่น มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) มอก. อย. ฮาลาล ฯลฯ มีการ
คัดสรรสุดยอดผลิตภัณฑ์ (OTOP Product Champion : OPC) ในระดับ 1 - 5 ดาว ส่งผลให้ผู้ผลิต
ผู้ประกอบการ OTOP มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ พัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ และเพ่ิมความสามารถในการผลิตให้มี
ประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น มีการส่งเสริมช่องทางการตลาด ท้ังในรูปแบบช่องทาง Offline เช่น การจัดแสดงและ
จาหน่ายสินค้าในงานต่าง ๆ ของหน่วยงานราชการ เอกชน หรือภาคีเครือข่าย และช่องทาง Online เช่น
Facebook, Line Official, Youtube เป็นต้น การพัฒนาเครือข่ายองค์ความรู้ KBO (Knowledge – Based
OTOP) ในการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายองค์ความรู้ KBO และพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP โดยเครือข่ายองค์
ความรู้ KBO เปน็ ต้น

จากการดาเนินงานและการขับเคล่ือนงานท่ีผ่านมา พบว่าข้อมูลการลงทะเบียนผู้ผลิต
ผู้ประกอบการ OTOP ยังมคี วามไมส่ มบูรณ์ ขอ้ มลู บางรายการมีไมค่ รบถว้ น ทาใหก้ ารใชง้ านจริงมีความยุ่งยาก
บางคร้ังต้องขอข้อมูลเพิ่มเติมจากเจ้าหน้าที่ท่ีรับผิดชอบหรือผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP นั้น ๆ ในการนา
ข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อพิจารณาในการสนับสนุน ส่งเสริม และพัฒนาผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP และพัฒนา
ผลติ ภัณฑ์ OTOP ตอ่ ไป

5. รปู แบบ กระบวนการลาดบั ขัน้ ตอน
การลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP เป็นการสร้างฐานข้อมูลผู้ผลิต ผู้ประกอบการ

OTOP ให้เป็นปัจจุบัน และเพ่ือนาไปใช้ประโยชน์ในการกาหนดแผนการส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP
ไดอ้ ย่างเหมาะสม โดยมีหลักเกณฑ์ กระบวนการลาดบั ข้นั ตอนการลงทะเบียน OTOP ดังนี้

ประเภทผผู้ ลิต ประเภทผลิตภณั ฑ์ เอกสารประกอบการยน่ื ขน้ั ตอนการลงทะเบียน
ผ้ปู ระกอบการ
ลงทะเบียน วธิ ีท่ี 1 การยน่ื ลงทะเบยี น Online
1. กลุม่ ผผู้ ลติ ชุมชน เวบ็ ไซต์ https://otop.cdd.go.th
2. ผผู้ ลิตชุมชนที่เป็น 1. อาหาร (ผลผลิตทาง 1. สาเนาบัตรประจาตวั เพือ่ สมัครเปน็ สมาชกิ และย่นื คาร้อง
เจ้าของรายเดยี ว ขอลงทะเบียนดว้ ยตนเอง
3. ผู้ผลติ ท่ีเป็น การเกษตรและอาหารแปรรูป) ประชาชน และทะเบียน วิธที ่ี 2 การย่ืนลงทะเบียน
วิสาหกจิ ขนาดกลาง ณ สานกั งานพฒั นาชมุ ชนอาเภอ
และขนาดย่อม 2. เคร่อื งด่ืม (มีแอลกอฮอล์/ ขอ้ มลู ของผู้ย่นื โดยใช้ทต่ี ้งั ของสถานท่ีผลติ เป็น
หลักในการยนื่ ขอลงทะเบียน
ไม่มแี อลกอฮอล)์ 2. หนงั สือมอบอานาจจาก

3. ผา้ และเคร่อื งแตง่ กาย กลุม่ ฯ

(เส้อื ผ้า/เครื่องนุ่งห่ม และ 3. ภาพถา่ ยผลิตภัณฑ์ที่

เคร่อื งแต่งกายท่ใี ชป้ ระดับ ลงทะเบยี น ขนาด 4*6 นว้ิ

ตกแต่งประกอบการแตง่ กาย) หรือไฟลภ์ าพดจิ ิตอล

4. ของใช้ ของตกแต่ง ของที่ 4. เอกสารอนญุ าตให้ทา

ระลึก (วัสดทุ ท่ี าจากไม้/จกั การผลติ (กรณีมีกฎหมาย

สาน/ดอกไม้ประดิษฐ/์ วสั ดุ กาหนด)

จากธรรมชาต/ิ โละหะ/ 5. หนังสือรับรองมาตรฐาน

เซรามิค/เคร่อื งปนั้ ดนิ เผา/ ผลิตภัณฑ์ (ถ้ามี)

เคหะส่งิ ทอ/อื่น ๆ)

5. สมุนไพรทีไ่ มใ่ ช่อาหาร (ยา

จากสมุนไพร/เครื่องสาอาง

สมนุ ไพร/วัตถุอันตราทีใ่ ชใ้ น

บา้ นเรือน)

การลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ที่ได้ข้อมูลเป็นจริง ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถ
นามาวิเคราะห์เพ่ือพิจารณาในการสนับสนุน ส่งเสริม และพัฒนาผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP และพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ OTOP ต่อไปได้ ซ่ึงเมื่อได้ข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน จะสามารถแยกผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพแตกต่าง
กันนาไปสูก่ ารพฒั นาเฉพาะกลมุ่ ดังนี้

1. กลุ่ม A กลุ่มดาวเดน่ สสู่ ากล เปน็ สินคา้ มคี ณุ ภาพ/ราคาสูงและผลิตได้ปรมิ าณมาก “ม่งุ เน้น
การเพ่ิมโอกาสเข้าถึงตลาดเป้าหมาย” โดยส่งเสริม ประชาสัมพันธ์สาหรบั ผลติ ภัณฑ์ที่มีความพร้อม มีศักยภาพสูง
นาไปสูก่ ารพัฒนาในดา้ นตา่ ง ๆ เช่น OTOP Brand name, OTOP ขนึ้ เครอื่ ง เปน็ ต้น

2. กลุ่ม B อนุรักษ์สร้างคุณค่าในกลุ่มลูกค้าเฉพาะ (คุณภาพ/ราคาสูง) + ปริมาณน้อย
“มุ่งเนน้ การสรา้ งคณุ คา่ มูลค่าเพมิ่ ในตลาดเฉพาะ” โดยส่งเสรมิ ประชาสมั พนั ธส์ าหรบั ผลิตภัณฑ์ที่มคี วามพร้อม
มีศกั ยภาพสงู มีอัตลกั ษณเ์ ฉพาะตัว นาไปสู่การพฒั นาในด้านต่าง ๆ เช่น ศิลปนิ OTOP เปน็ ต้น

3. กลุ่ม C พัฒนาเขา้ สู่ตลาดการแขง่ ขนั (คณุ ภาพ/ราคาต่า) + (ปรมิ าณมาก) “มุ่งเน้นการเพิ่ม
ผลิตภาพและประสทิ ธภิ าพสู่การแข่งขัน” ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมช่องทางการตลาด เช่น การจัดแสดงและ
จาหน่ายสินคา้ ในงานตา่ ง ๆ การพัฒนาศกั ยภาพผผู้ ลิต ผปู้ ระกอบการ สยู่ คุ 4.0 เป็นต้น

4. กลุ่ม D ปรับตัวเข้าสู่การพัฒนา (คุณภาพ/ราคาต่า) + (ปริมาณน้อย) “มุ่งเน้นการรับช่วง
การผลติ โดยคานึงถึงทักษะฝีมือเดิม และเพิม่ ทางเลือกการมีอาชีพเสริม” โดยการส่งเสริมและพฒั นาผลิตภัณฑ์
ให้สามารถแข่งขันสู่ท้องตลาด มีบรรจุภัณฑ์ท่ีสวยงาม เช่น การพัฒนาผลิตภัณฑ์ Quadrant และสามารถ
นาไปสู่การขอมาตรฐานผลิตภัณฑ์ และนาไปสู่การคัดสรรสุดยอดหน่ึงตาบล หน่ึงผลิตภัณฑ์ (OTOP Product
Champion : OPC) ในระดับ 1 - 5 ดาว

6. มีเทคนิคในการปฏบิ ัตงิ าน
เทคนิคในการปฏิบัติงานเพื่อให้บรรลุการลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ท่ีสามารถ

ใชง้ านไดจ้ รงิ และนาไปส่กู ารพัฒนาผลิตภัณฑ์ ดงั น้ี
1. การส่ือสาร เป็นสิ่งสาคัญในการทาความเข้าใจจากผู้บริหาร สู่เจ้าหน้าท่ีที่รับผิดชอบงาน

และการนาไปสูก่ ารปฏิบตั ทิ ่ถี ูกตอ้ ง เพอ่ื ใหไ้ ด้ข้อมลู ท่ีเป็นจริง ครบถ้วนสมบรู ณ์
2. มีการประชาสัมพันธ์ไปยังช่องทางต่าง ๆ เพื่อสร้างการรับรู้แก่ประชาชนที่สนใจ และ

ตอ้ งการทราบขอ้ มูลการลงทะเบียนผูผ้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP
3. จัดส่งคู่มือแก่เจ้าหน้าท่ีท่ีรับผิดชอบ เพื่อศึกษาทาความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้งานระบบ

ลงทะเบียน OTOP กอ่ นนาไปสู่การปฏิบตั ิงานจรงิ

7. ปญั หาทพ่ี บและแนวทางแกไ้ ขปญั หา
ปัญหาท่ีพบและแนวทางแก้ไขปัญหาสาหรับการลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP

ปจั จบุ ัน ดังนี้
1. ข้อมลู การลงทะเบียนในระบบ ยงั มคี วามไม่สมบรู ณ์ ข้อมลู บางรายการมีไม่ครบถ้วน โดยมี

สาเหตุมาจากการกรอกข้อมูลที่ไม่ถูกต้องและครบถ้วน ทาให้การใช้งานจริงมีความยุ่งยาก บางคร้ังต้อง
ขอข้อมูลเพิ่มเติมจากเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบหรือผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP นั้น ๆ ในการนาข้อมูล
มาวิเคราะห์เพ่ือพิจารณาในการสนับสนุน ส่งเสริม และพัฒนาผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP และพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ OTOP ต่อไป โดยเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบต้องทาการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลและเอกสารที่
ผูผ้ ลิต ผู้ประกอบการ OTOP ยน่ื คาร้องมาทกุ ครั้งก่อนบันทกึ ข้อมูลในระบบ

2. ระบบท่ีใช้สาหรับลงทะเบียน ยังไม่มีความสเถียร มีการเปล่ียนแปลง/ปรับปรุง ระบบหลายครั้ง
เพื่อให้มีความเหมาะสมกับการใช้งานในปัจจุบัน ดังน้ัน หากพบปัญหาที่ระบบ เช่น เข้าระบบไม่ได้ ระบบมี
ปัญหา หรือบันทึกข้อมูลไม่ได้ ควรรีบแจ้งเจ้าหน้าท่ีที่ดูแลระบบโดยเร็ว เพ่ือดาเนินการตรวจสอบและเร่งแก้ไข
และเนื่องจากระบบมีการปรับปรุง เปล่ียนระบบใหม่ เจ้าหน้าท่ีที่รับผิดชอบควรทบทวนข้อมูลในระบบ และ
ปรบั ปรงุ แก้ไขใหถ้ ูกต้องและเปน็ ปจั จุบนั

3. เจา้ หน้าที่ยงั ไมม่ คี วามเข้าใจในการใชง้ านระบบข้อมลู ขนาดใหญ่ หน่ึงตาบล หนึ่งผลติ ภณั ฑ์
(OTOP Big Data) ซึ่งเป็นระบบที่กรมการพัฒนาชุมชนพัฒนาขึ้นใหม่ ให้มีความเหมาะสมกับการใช้งานใน
ปัจจุบัน ดังนั้น ควรมีการจัดประชุมเพ่ือช้ีแจงถ่ายทอดการใช้งานระบบลงทะเบียนแก่เจ้าหน้าที่ท่ีรับผิดชอบ
พรอ้ มทาเปน็ ค่มู ือการใชง้ านแก่เจา้ หนา้ ท่ี และทาเปน็ คมู่ ืออย่างงา่ ยสาหรับประชาชนท่สี นใจลงทะเบียน

8. ประโยชน์องค์ความรู้
1. สามารถใช้ในการลงทะเบยี นผ้ผู ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP ไดอ้ ย่างถกู ต้อง
2. ข้อมูลท่ีถูกต้องจะสามารถนาไปใช้งานได้จริง โดยไม่ต้องขอข้อมูลเพ่ิมเติมจากเจ้าหน้าท่ี

หรอื จากผู้ผลติ ผู้ประกอบการ OTOP
3. ข้อมูลที่ถูกต้องสามารถนามาวิเคราะห์เพื่อพิจารณาในการสนับสนุน ส่งเสริม และพัฒนา

ผูผ้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP และพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ OTOP ต่อไปได้

KM
กลุ่มงานยุทธศาสตร์

การพัฒนาชุมชน

แบบบนั ทึกชดุ ความรู้รายบุคคล

1. ชอื่ องคค์ วามรู้ เทคนคิ การสานต่องานเพ่อื ให้ขบั เคลอื่ นอย่างมีประสิทธิภาพภายใน

ระยะเวลา 2 เดอื น

2. เจ้าขององค์ความรู้ นางสาวรติ ยา รอดนม่ิ
ผูอ้ านวยการกลมุ่ งานยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาชุมชน
สานกั งานพฒั นาชมุ ชนจงั หวดั นนทบรุ ี โทร. ๐๘๑-8209514

3. องค์ความรู้ท่ีบง่ ช้ี เสรมิ สรา้ งองค์กรให้มสี มรรถนะสูง
4. ท่ีมาและความสาคัญในการจัดทาองคค์ วามรู้

เน่ืองจากสถานการณ์ปัจจุบัน กรมการพัฒนาชุมชนมีการแต่งต้ังโยกย้าย การปรับเปล่ียน
ตาแหน่งอยู่ในชว่ งรอยต่อของงานที่มีความสาคัญ ในฐานะท่ีได้รับการแต่งต้ังจากตาแหน่งพัฒนาการอาเภอให้
มาดารงตาแหน่งผู้อานวยการกลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน นับว่าเป็นการปรับเปล่ียนบทบาท ภารกิจ
ในระดับอาเภอมาเปน็ ในระดับจังหวัดซึ่งมีความแตกต่างกัน สาหรับตาแหน่งผอู้ านวยการกลมุ่ งานยุทธศาสตร์
การพัฒนาชุมชน ถือว่าเป็นหน้าที่ที่จะต้องขับเคลื่อนงานของกลุ่มงานฯ ในฐานะของ “ต้นน้า” เมื่อได้รับการ
แต่งต้ังมาดารงตาแหน่งและสานต่องานท่ีได้รับมอบหมาย จึงมีความจาเป็นท่ีจะต้องขับเคล่ือนงานให้
ประสิทธิภาพ รวดเร็ว และถกู ต้องตามระเบียบ กฎหมายทีเ่ ก่ียวข้อง ซง่ึ บทบาทภารกิจจะเก่ยี วข้องกบั นโยบาย
สาคญั ต่าง ๆ ดังนน้ั การประสานความรว่ มมือ การสนบั สนนุ และกาหนดทิศทางการดาเนนิ งานเพอ่ื ใหส้ ามารถ
เชื่อมต่อไปยังกลุ่มงานท่ีเป็น “กลางน้า”และ “ปลายน้า” รวมทั้งสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอทุกอาเภอ และ
หน่วยงานภาคที ่เี กี่ยวข้องท่จี ะต้องทางานรว่ มกนั ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพต่อไป

5. รูปแบบ กระบวนการ ลาดับขนั้ ตอน

๕.๑ ศกึ ษาโครงสร้าง บทบาท ภารกิจของหน่วยงานท่ีได้รบั การแต่งตง้ั ให้ไปดารงตาแหนง่
5.2 ศกึ ษาข้อมูลการมอบหมายงานจากผูท้ ีด่ ารงตาแหน่งที่ผา่ นมา
5.3 ศกึ ษาและจัดทาข้อมลู หนว่ ยงานภาคที ี่เกย่ี วข้องในการดาเนนิ งานรว่ มกนั เพ่อื ใชใ้ นการ
ประสานความรว่ มมือ
5.4 ประชมุ ทมี งานเพื่อรับทราบข้อมูลภายในหน่วยงาน การแบง่ บทบาทหน้าทแ่ี ละภารกิจงานของ
แต่ละคน ข้อมูลงานทีด่ าเนนิ การทงั้ หมดท่ีจะต้องดาเนินการตอ่ หรอื สิน้ สดุ การดาเนินงานแลว้
5.5 กาหนดรปู แบบ กระบวนการทางาน แผนการดาเนนิ งาน ใหส้ อดคลอ้ งกับหว้ งระยะเวลา
จดั ลาดบั ความสาคัญก่อน-หลัง และบูรณาการงานให้สามารถทาควบคู่กันไปได้ ไม่ว่าจะเปน็ ในเรอื่ งของคน งาน
งบประมาณ และบูรณาการความร่วมกบั สว่ นราชการและหน่วยงานภาคีต่าง ๆ
๕.๔ วางแผนการบริหารความเสย่ี งทจี่ ะเกดิ ข้ึนในแตล่ ะงาน
๕.๕ ดาเนนิ งานตามแผนการดาเนินงาน โดยใช้การบรู ณาการคน งาน และงบประมาณ เปน็ หลัก
๕.๖ ตดิ ตามผลการดาเนนิ งาน ปญั หา อปุ สรรค เปน็ ระยะ และร่วมกันกาหนดแนวทางแก้ไข
เพ่อื ไมใ่ หเ้ กดิ ความเสย่ี งขึ้นในอนาคต

-2-

6. เทคนิคในการปฏิบตั งิ าน

6.1 ศึกษาข้อมูลทีเ่ กย่ี วข้อง ระเบียบ กฎหมายตา่ ง ๆ
6.2 สร้างทีมงานและประชมุ ทีม
6.3 กาหนดรปู แบบ กระบวนการทางาน
6.4 จดั ทาแผนการปฏิบัติงาน
6.5 จดั ลาดบั ความสาคัญของงาน กอ่ น - หลัง และความเร่งด่วน
6.6 บูรณาการการคน งาน และงบประมาณ
6.7 บรู ณาการความรว่ มมอื กบั หน่วยงานภาคีที่เกยี่ วขอ้ ง
6.8 วางแผนการบรหิ ารความเสี่ยง
6.8 ตดิ ตามผลการดาเนินงาน ปญั หา/อปุ สรรค เป็นระยะ และกาหนดแนวทางแกไ้ ข
6.9 รายงานผลให้ผบู้ งั คบั บญั ชาทราบอย่างต่อเน่ือง
7. ปญั หาทพี่ บและแนวทางแก้ไข

ปัญหาที่พบ
ในระหว่างดาเนินการ จะมีงานหรอื นโยบายทส่ี าคัญและเร่งด่วน ทีไ่ ด้รบั มอบหมายเพ่ิมเติมอย่าง
ต่อเนือ่ ง สง่ ผลให้การวางแผนการปฏิบัติงานจะตอ้ งดาเนินการปรบั เปล่ยี นทุกห้วงระยะเวลา
แนวทางการแกไ้ ข
1) ศึกษางานหรือนโยบายดงั กลา่ วทไี่ ดร้ ับมาเพ่ิมเตมิ โดยมีการสร้างความรู้ ความเข้าใจใหก้ ับ
กับทีมงาน รว่ มกันกาหนดแผนและแนวทางการดาเนินงานเพื่อไม่ให้กระทบกับงานทกี่ าลงั ดาเนนิ การอยู่
2) มอบหมายภารกิจให้กบั บุคลากรทีม่ ีความรู้ ความเขา้ ใจในงานหรือนโยบายนน้ั ๆ โดยมกี าร
ทางานควบคู่ไปกับงานท่ีกาลังดาเนินการ
3) หากเปน็ งานหรือนโยบายที่สามารถบูรณาการได้ ก็จะกาหนดใหม้ ีการบรู ณาการงานนน้ั ๆ
โดยไมใ่ หเ้ กิดผลกระทบ เกดิ ความเสียหาย และผดิ ระเบยี บ กฎหมายทเ่ี กย่ี วข้อง
4) วางแผนการบรหิ ารความเส่ยี งและตดิ ตามผลอยา่ งต่อเน่ือง

8. ประโยชนข์ ององคค์ วามรู้

1) สามารถใช้เป็นแนวทางในการสานต่องานเพื่อให้ขับเคล่ือนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพใน
ชว่ งระยะเวลาทีจ่ ากัด

2) สามารถนาองค์ความรู้ไปปรับเปลี่ยนเป็นรูปแบบหรือแนวทางการขับเคลื่อนงานที่สาคัญหรือ
งานนโยบายทเ่ี รง่ ดว่ นได้ และการบริหารความเสีย่ งได้

....................................

แบบบนั ทึกองค์ความรรู้ ายบุคคล

1. ชื่อองคค์ วามรู้ การเขยี นโครงการ “มือใหม่”
2. ชอ่ื เจ้าของความรู้ นางสาวภัสสมณฑ์ กาเนดิ เพช็ ร
3. องค์ความรทู้ บ่ี ่งช้ี เทคนคิ การเสริมสรา้ งองค์กรให้มีสมรรถนะสูง (เป็นบุคลากรทันสมัย พฒั นาองค์กร)
4. ท่มี าและความสาคญั ในการจัดทาองคค์ วามรู้

โครงการ (Project) เป็นแผนงานทจ่ี ัดทาขึ้นอย่างรอบคอบ เป็นระบบ พร้อมกบั มีแนวทางปฏิบัติ เพ่ือให้
บรรลวุ ัตถุประสงค์ตามเป้าหมายของแผนงานท่ีได้กาหนดไว้ โครงการเปน็ ส่วนหน่ึงของกจิ กรรมในหน่วยงาน
การเขียนโครงการ เป็นการเขยี นเพ่ือประโยชน์ในการดาเนินงาน เพราะมสี ว่ นช่วยให้เกดิ การวางแผนการทางาน
การศึกษา การริเร่ิมปฏิบัติงานใหม่ ดังน้นั โครงการย่อมมีบทบาทสาคัญต่อการปฏบิ ัตงิ านของบคุ ลากรและ
หนว่ ยงาน ซึ่งควรมีแนวทางในการจัดทางบประมาณทเ่ี หมาะสมเพื่อการขออนุมัติและดาเนินงานต่อไป

5. ขน้ั ตอนการจดั ทาองคค์ วามรู้
การเขียนโครงการจะต้องรู้และเข้าใจโครงสร้างของโครงการเสียก่อนว่าประกอบไปด้วยส่วนใดบ้าง

ซง่ึ โดยทว่ั ไปโครงสร้างของโครงการประกอบดว้ ย
5.1 ช่ือโครงการ ส่วนใหญ่มาจากงานที่ต้องการปฏิบัติ เป็นชื่อที่ส้ัน กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อ

ความหมายไดอ้ ยา่ งชดั เจน
5.2 หลักการและเหตุผล เป็นการกล่าวถึงปัญหาและสาเหตุและความจาเป็นท่ีต้องมีการจัดทา

โครงการโดยหาเหตุผล หลักการ ทฤษฎี แนวทางนโยบายของรัฐบาล นโยบายของกระทรวง /กรม ตลอดจน
ความต้องการในการพัฒนา และที่สาคัญคือบอกได้ว่า ถ้าได้ทาโครงการแล้วจะแก้ไขปัญหานี้ตรงไหน ทั้งนี้เพ่ือ
แสดงข้อมูลท่ีมีน้าหนักน่าเชื่อถือและให้เห็นความสาคัญของสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึน โดยมีการอ้างอิงแหล่งที่มา
ของข้อมูลดว้ ยเพ่ือท่ีผู้อนุมตั โิ ครงการจะได้ตดั สินใจสนับสนนุ โครงการต่อไป

5.3 วัตถุประสงค์ โดยแสดงให้เห็นถึงผลท่ีต้องการจะบรรลุไว้อย่างกว้าง ๆ มีลักษณะเป็นนามธรรม
แตช่ ดั เจนและไม่คลมุ เครือ อาจมวี ตั ถปุ ระสงคม์ ากกว่า 1 ข้อก็ได้ คือ มวี ัตถปุ ระสงคห์ ลัก และวตั ถุประสงค์รอง
หรือวัตถุประสงค์ทว่ั ไป และวตั ถุประสงค์เฉพาะกไ็ ด้

5.4 วธิ กี ารดาเนินงาน เป็นการใหร้ ายละเอียดในการปฏิบัติ จะแยกเปน็ กิจกรรมย่อย ๆ หลายกจิ กรรม
แต่เป็นกิจกรรมเด่น ๆ ซึ่งจะแสดงให้เห็นความเด่นชัดต้ังแต่กิจกรรมเริ่มต้นจนถึงกิจกรรมสุดท้ายว่ามีกิจกรรม
ใดที่ตอ้ งทาบา้ ง

5.5 เป้าหมาย ผลลัพธ์สุดท้ายที่คาดว่าจะได้จากการดาเนินโครงการ ทั้งผลท่ีเป็นเชิงปริมาณ
และผลเชิงคุณภาพ เป้าหมายจึงคล้ายกับวัตถุประสงค์แต่มีลักษณะเฉพาะเจาะจงมากกว่า มีการระบุสิ่งท่ี
ตอ้ งการทาไดช้ ดั เจนและระบเุ วลาทต่ี ้องการจะบรรลุ

5.6 ผู้รับผิดชอบโครงการ ระบวุ ่าใครหรอื หนว่ ยงานใดเป็นผ้รู ับผิดชอบและมีขอบเขตความรับผิดชอบ
อย่างไรบ้าง ท้งั นเี้ พอื่ วา่ มปี ญั หาจะไดต้ ิดตอ่ ประสานงานได้งา่ ย

5.7 งบประมาณ เป็นค่าใช้จ่ายท่ีต้องใช้ในการดาเนินกิจกรรมขั้นต่าง ๆ จะแจกแจงเป็นหมวดย่อยๆ
เช่น หมวดค่าวัสดุ หมวดค่าใช้สอย หมวดค่าตอบแทน หมวดค่าครุภัณฑ์ ซ่ึงการแจกแจงงบประมาณจะมี
ประโยชน์ในการตรวจสอบความเป็นไปได้และตรวจสอบความเหมาะสมในสถานการณ์ต่าง ๆ บอกแหล่งที่มา
ของงบประมาณดว้ ยวา่ เปน็ งบประมาณแผ่นดนิ งบช่วยเหลอื จากประเทศตา่ งประเทศ เงินกู้ หรอื งบบรจิ าค

5.8 สถานท่ีดาเนินการ สถานที่ต้ังของโครงการหรือกิจกรรมน้ันจะทา ณ สถานท่ีแห่งใด เพ่ือสะดวก
ตอ่ การจดั เตรยี มสถานที่ให้พรอ้ มก่อนที่จะทากจิ กรรม

5.9 ระยะเวลาในการดาเนินการ ระยะเวลาเริ่มต้นโครงการและระยะเวลาสิ้นสุดโครงการจะต้อง
บอกวนั เดือน ปี

5.10 ผลประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รับ จากการดาเนินโครงการประกอบดว้ ยผลทางตรงและผลทางอ้อม
นอกจากน้ันต้องระบุด้วยวา่ ใครจะได้รบั ประโยชน์จากโครงการบ้าง ได้รับประโยชนอ์ ยา่ งใด ทั้งเชงิ ปริมาณ และ
เชงิ คณุ ภาพ

5.11 การประเมนิ ผลโครงการ เป็นการแสดงรายละเอียดวา่ จะมีวิธีการควบคุมติดตามและประเมินผล
โครงการอยา่ งไร ใช้เครอื่ งมืออะไรในการประเมินผล ระยะเวลาในการประเมินผลและใครเปน็ ผ้ปู ระเมนิ ผล

6. ปัญหาที่พบและแนวทางการแกไ้ ขปัญหา
การเขียนโครงการมักจะได้ยินการพูดอยู่เสมอว่า เขียนโครงการไม่เป็น เขียนโครงการไม่ชัดเจน

เขียนโครงการไม่สอดคล้องกับแผนงานและกรอบนโยบาย มีข้อมูลสาหรับการตัดสินใจในการเขียนโครงการ
น้อย และที่สาคัญช่วงเวลาที่ให้เขียนโครงการนั้นส้ัน จึงทาให้เขียนโครงการแบบขอไปทีหรือนาเอโครงการ
เดิม ๆ ที่เคยทาอยู่มาปรับใหม่ ปรับเปลี่ยนบางประเด็นเท่าน้ัน โครงการจึงไม่ผ่านการวิเคราะห์ความเป็นไปได้
ในด้านต่าง ๆ ขาดการวิเคราะห์ตามหลัก SWOT และขาดการกล่ันกรองโครงการก่อนท่ีจะเสนอผู้บริหาร
ดังนน้ั ควรมีการฝึกอบรมเชงิ ปฏิบัติการเขียนแผนหรอื เขียนโครงการข้ึนมา ถา้ เราเขา้ ใจองค์ความรเู้ กีย่ วกับการ
จัดทาแผนและการจัดทาโครงการ ตลอดจนเทคนิคและวิธีการเขียนโครงการแล้ว จะทาให้เขียนโครงการได้
ถูกต้อง ครอบคลุมชดั เจน และสามารถนาไปปฏบิ ตั ิไดง้ า่ ย

7. ประโยชน์ขององค์ความรู้
การเขียนโครงการจะต้องมีการเสนอความคิดเหน็ อย่างถูกต้อง มีเหตผุ ล แสดงถึงรายละเอยี ดได้อยา่ ง

ชดั เจน โดยมไิ ดค้ านึงถงึ ตวั บุคคลผู้ปฏิบตั โิ ครงการ เพ่ือใหก้ ารปฏิบตั ิงานสามารถบรรลุจดุ ประสงค์ตามท่ีหวังไว้
ได้ โครงการที่ถูกต้องชดั เจนจะช่วยใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ กห่ น่วยงานหลายประการด้วยกนั ไดแ้ ก่

7.1 ชว่ ยอานวยความสะดวกแก่ผอู้ า่ นใหม้ คี วามเข้าใจในเนื้อหาสาระได้อย่างถูกต้องชดั เจนและตรง
ตามเจตนาของผ้เู ขยี นโครงการ

7.2 ชว่ ยประหยัดเวลาแก่ผอู้ นมุ ตั ดิ ว้ ยการใชเ้ วลาอ่านเพียงเลก็ น้อยกส็ ามารถทีจ่ ะตัดสนิ ใจได้
7.3 ชว่ ยให้การปฏิบตั งิ านตามโครงการเป็นไปตามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมายท่ีกาหนดไว้
8. เทคนิคในการปฏิบตั ิงาน
การเขียนโครงการเป็นเรื่องที่ไม่ง่าย และไม่ยากเกินความสามารถของนักวางแผน หรือผู้ท่ีมีหน้าท่ี
รับผิดชอบในการจัดทาแผนและโครงการของหน่วยงานต่างๆ ทั้งนี้จะต้องมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ
ความสัมพันธ์ระหว่าง นโยบาย แผนงาน และโครงการ เพื่อท่ีจะได้เขียนโครงการได้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
ของแผนงาน และนโยบายต่อไป นอกจากนั้นการจะเป็นผู้เขียนโครงการได้ดีก็จะต้องหม่ันฝึกฝน และเขียน
โครงการบ่อยๆ มีข้อมูลมาก ข้อมูลถูกต้อง เพียงพอ และทันสมัยวิเคราะห์สถานการณ์อย่างถ่องแท้ ก่อนเขียน
โครงการ และหลังจากน้ันก็นาข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์แล้วมาเขียนตามแบบฟอร์มการเขียนโครงการ
ของแต่ละหนว่ ยงาน

…………………………………………………..



แบบบนั ทึกองค์ความรรู้ ายบคุ คล

1. ชื่อองค์ความรู้ การประสานงานและการสื่อสาร

2. ช่ือเจ้าขององคค์ วามรู้ นางสาวพิชชานนั ท์ โคตรศรีเพชร นกั วิชาการพัฒนาชุมชนปฏิบัติการ

กลมุ่ งานยทุ ธศาสตร์การพฒั นาชมุ ชน สานกั งานพัฒนาชมุ ชนนนทบุรี

3. องคค์ วามรู้ท่บี ง่ ชี้ หมวดที่ ๔ เสรมิ สรา้ งองค์กรให้มีสมรรถนะสงู

4. ที่มาและความสาคัญในการจดั ทาองคค์ วามรู้

นักวชิ าการพัฒนาชมุ ชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย มหี น้าทีค่ วามรบั ผิดชอบหลัก ดงั น้ี

๔.๑ ด้านการปฏบิ ัติการ

ดาเนินการการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ด้านพัฒนาชุมชน เพ่ือจัดทาแผนงาน สนับสนุนการ

รวมกลุ่มของ ประชาชนในชุมชนประเภทต่าง ๆ รวมถึงแสวงหาและพัฒนาศักยภาพของผู้นาชุมชน

กลมุ่ องค์กร และเครือข่ายองค์กรประชาชน เพื่อกาหนดมาตรการและกลไกในการพัฒนาและสง่ เสริมการสร้าง

ความเข้มแข็งของชุมชน การส่งเสริมกระบวนการเรียนรูและการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการ

ชุมชน ตลอดจนการพัฒนาและส่งเสริมความเข้มแข็ง สมดุลและม่ันคงของเศรษฐกิจชุมชนระดับฐานราก

รวมทั้งในการพัฒนารูปแบบ วิธีการพัฒนาชุมชนให้มีความเหมาะสมกับพื้นที่ จัดทาและพัฒนาระบบข้อมูล

สารสนเทศในการพัฒนาชุมชน และระบบสารสนเทศชุมชน เพื่อกาหนดนโยบาย แผนงาน ตลอดจนกาหนด

แนวทางหรือวางแผนการพัฒนาในทุกระดับ รวมถึงเสนอแนะแนวทางการพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพชุมชน

และเศรษฐกิจชุมชนเพื่อสร้างความสมดุลในการพัฒนาชุมชน และความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชนระดับฐานราก

นาไปสู่ความเข้มแข็งของชมุ ชนอยา่ งย่งั ยนื

4.2 ดา้ นการวางแผน

วางแผนการทางานท่ีรับผิดชอบ ร่วมดาเนนิ การวางแผนการทางานของหน่วยงานหรอื โครงการ

เพือ่ ใหก้ ารดาเนนิ งานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธท์ิ ่กี าหนด

๔.๓ ด้านการประสานงาน

ประสานการทางานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือ

และผลสัมฤทธิ์ตามที่กาหนด รวมถงึ ช้ีแจงและให้รายละเอยี ดเก่ียวกบั ข้อมูล ข้อเทจ็ จริง แกบ่ ุคคลหรือหน่วยงาน

ที่เกี่ยวข้องเพ่ือสร้างความเข้าใจหรือความรว่ มมือในการดาเนนิ งานตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย

๔.๔ ด้านการบรกิ าร

ให้คาปรึกษาแนะนาด้านพัฒนาชุมชนแก่หน่วยงานที่เก่ียวข้องหรือบุคคลท่ีสนใจ เพื่อให้มี

ความรู้และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและส่วนรวม เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล

ข่าวสารเก่ียวกับการดาเนนิ งานพฒั นาชุมชนเพอ่ื ใหบ้ ริการแก่หนว่ ยงานภาคกี ารพัฒนา ประชาชน ผู้นาชุมชน

กลุ่ม องค์กรชุมชน เครือขา่ ยองคก์ รชุมชน และชมุ ชน

เพอื่ ปฏบิ ัติหน้าทใี่ นตาแหน่งนักวิชาการพัฒนาชุมชนระดับปฏิบัติการ ในการพัฒนาความเป็นอยู่ของ

ประชาชน ให้เศรษฐกิจฐานรากม่ันคงและชุมชนพ่ึงตนเองได้ โดยในการปฏิบัติหน้าท่ีของนักวิชาการพัฒนา

ชมุ ชน กลุม่ งานยุทธศาสตร์การพฒั นาชมุ ชน มีลักษณะงานท่ีตอ้ งตดิ ต่อประสานงาน ทางานร่วมกบั หน่วยงาน

ราชการอื่นๆ เพื่อขับเคล่ือนการดาเนินงานกิจกรรม/โครงการ และงานอ่ืน ๆ ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ซ่ึง

ทกั ษะในการสื่อสารและประสานงานเป็นสิ่งสาคัญอยา่ งยงิ่ ที่นกั วิชาการพฒั นาชุมชนตอ้ งมี และสามารถนามา

ปรบั ใช้ในสถานการณต์ า่ ง ๆ ไดเ้ ปน็ อย่างดี

ดังนั้นเพ่ือให้การปฏิบัติงานของนักวิชาการพัฒนาชุมชน กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนเกิด
ประสิทธิภาพสูงสุด และสามารถขับเคลื่อนงานพัฒนาชุมชนจนก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแกก่ ารขับเคลือ่ นการ
ดาเนินงานกิจกรรม/โครงการ และงานอื่น ๆ จึงเล็งเห็นความสาคัญของการประสานงานและการส่ือสาร จึง
ได้ทาการรวบรวมแนวทางการประสานงานและการสื่อสารท่ีสามารถทาให้การขับเคลื่อนงานเกิด
ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ
5. รูปแบบ กระบวนการลาดับขั้นตอน

ทาไมต้องมีการประสานงาน เนื่องจากการประสานงานเกิดจากความต้องการที่จะให้งานที่จะทา
ประสบผลสาเร็จ และเกิดประสิทธิภาพสูงสดุ โดยก่อนการประสานงานควรกาหนดความต้องการให้แน่ชัดว่า
จะประสานงานให้เกิดอะไรหรือเป็น อย่างไร หรือจะทาให้ได้ผลรับอย่างไร เพราะหากไม่มีวัตถุประสงค์ท่ี
ชดั เจนก็อาจจะประสานงานไปผิดจากที่ควรจะเป็นได้

ซึ่งโดยทั่วไปจะ ประสานงานเพ่ือให้การดาเนินงานมีความสะดวกราบรื่นไม่เกิดปัญหา ข้อขัดแย้ง
โดยในการประสานในแตล่ ะอาจมวี ตั ถปุ ระสงค์ ดงั นี้

1. เพ่ือแจง้ ให้ผ้ซู ึ่งมสี ว่ นเก่ียวข้องทราบ
2. เพือ่ ขอความชว่ ยเหลอื
3. เพอื่ ขอคายินยอมหรอื ความเห็นชอบ
4. เพอ่ื ขจดั ขอ้ ขดั แย้งในการปฏบิ ัตงิ าน
5. เพื่อใช้เพม่ิ ประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลขององค์กร
6. เพื่อช่วยให้การดาเนนิ การเปน็ ไปตามแผน และทาให้มี การวางแผนอย่างละเอียดรอบคอบ
7. เพอ่ื ตรวจสอบอุปสรรคและสภาพปัญหา
การประสานงานจะมาพร้อมกับการสื่อสาร โดยการสือ่ สารที่ดี มีการสื่อสารทเี่ ข้าใจตรงกัน อย่าง
รวดเร็ว และราบร่นื กจ็ ะทาให้การประสานงานประสบความสาเร็จ บรรลวุ ตั ถุประสงคข์ องเรอ่ื งนน้ั ๆ ไดด้ ี
มากขนึ้
องค์ประกอบของการประสานงาน ประกอบดว้ ย
1. ความร่วมมือ จะต้องสร้างสัมพันธภาพในการทางาน ร่วมกันของทุกฝ่าย โดยอาศัยความเข้าใจ
หรือการตกลงร่วมกัน มีการรวบรวมกาลังความคิด วิธีการ เทคนิค และระดมทรัพยากร มาสนับสนุนงาน
รว่ มกนั เพอ่ื ให้เกดิ ความเปน็ อันหนึง่ อันเดียวกนั เต็มใจที่จะทางานรว่ มกนั
2. จังหวะเวลา จะต้องปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าท่ี และ ความรับผิดชอบของแต่ละคน ตาม
กาหนดเวลาทีต่ กลงกันให้ตรงเวลา
3. ความสอดคลอ้ ง จะตอ้ งพิจารณาความพอเหมาะพอดี ไม่ทางานซ้อนกัน
4. ระบบการสื่อสาร จะตอ้ งมีการส่ือสารที่เขา้ ใจตรงกนั อย่างรวดเร็ว และราบร่ืน
5. ผู้ประสานงาน จะต้องสามารถดึงทุกฝ่ายเข้าร่วมทางาน เพ่ือตรงไปสู่จุดหมายเดียวกัน ตามท่ี
กาหนดเป็นวตั ถปุ ระสงค์ของงาน
การประสานงาน อาจกระทาได้เป็น 2 ลกั ษณะ คือ
1. การประสานงานอย่างเป็นทางการ เช่น การประสานโดยมหี นังสอื ตดิ ต่อหรือ แจ้งเป็นลายลักษณ์
อักษร หรอื เสนอรายงานเปน็ ลาดับชั้น เป็นต้น
2. การประสานงานอย่างไม่เป็นทางการ หมายถึง การ ประสานงานแบบไม่มีพิธีรีตรองเพียงแต่ทา
ความตกลงให้ทราบถึง การที่จะปฏิบัติให้เป็นไปตามจังหวะเวลาเดียวกัน และด้วยจุดประสงค์ เดียวกัน การ
ดาเนนิ การตอ้ งอาศัยความใกล้ชิดสนทิ สนมเปน็ สว่ นตัวเทคนิคการประสานงาน (Cooperation Technique)
ระหว่างบุคคล ไม่มีแบบแผน เป็นการติดต่อแบบเผชิญหน้าซ่ึงกันและ กัน ผลดีก็คือ สามารถมีความเข้าใจที่
ตรงกนั และชดั เจนทีส่ ดุ เชน่ การ ประสานงานดว้ ยวาจาทางโทรศพั ท์หรอื การเขา้ พบผ้ทู ่ีตดิ ต่อโดยตรง

กระบวนการลาดับขนั้ ตอน
สิ่งทต่ี ้องคานงึ ถึงในการประสานงานในแต่คร้งั ดงั ต่อไปนี้
1. วัตถปุ ระสงค์ การประสานงานเพื่อบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ ต้องอาศยั ความร่วมมือและจงั หวะเวลาใน

การปฏิบัตจิ ากผู้เกีย่ วข้อง หลายฝ่าย
2. กระบวนการ การประสานงานในเรื่องท่มี ีข้นั ตอนการ ปฏิบัตอิ ย่างเปน็ กระบวนการ จะต้อง

กระทาใหส้ อดคล้องกับ วัตถปุ ระสงค์ซ่ึงเป็นสงิ่ ท่ีจะต้องระมัดระวงั อยา่ งย่ิง เพราะงานท่มี ี วตั ถปุ ระสงคด์ แี ตม่ ี
การปฏิบัติผิดขั้นตอน กจ็ ะทาใหไ้ ม่ได้รับผลตาม ต้องการ

3. บคุ คลที่ตอ้ งทาการส่ือสารด้วย การประสานงานระหว่างคนต้อง คานึงถงึ ความเขา้ ใจและ
ความรู้สกึ ที่ดตี ่อกนั ต้องทาความเข้าใจวัตถุประสงค์ให้ตรงกนั และรบู้ ทบาทหน้าที่ของตนในงานที่จะ
ประสานกัน มีความรว่ มมือให้แกก่ ัน

4. นโยบายและแนวทางการปฏบิ ตั ิของหนว่ ยงานทีต่ ้องทาการประสานงานดว้ ย เพอ่ื ผปู้ ระสานจะ
ไดป้ ฏบิ ตั ติ นได้ถกู ต้องและทาใหก้ ารประสานราบรน่ื มากยิ่งขน้ึ

6. มีเทคนิคในการปฏิบัติงาน
โดยขา้ พเจา้ ยึดหลัก 7 C's model for communication ในการสอื่ สาร (โดย ศศิมา สขุ สว่าง) โดย

มีรายละเอียด ดงั น้ี
1. Complete มีความสมบูรณ์ครบถ้วน การสื่อสารท่ีดี สารท่ีส่งควรมีความครบถ้วนสมบูรณ์

เสียก่อน ที่จะส่งออกไปยังผู้รับสาร เพื่อให้เข้าใจจุดมุ่งหมายของการสื่อสารตรงกัน จะช่วยพัฒนาองค์กร ให้
ทุกคนเห็นเป้าหมายและทิศทางการเติบโตในทางเดียวกัน การส่ือสารท่ีสมบูรณ์จะให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ไม่มีข้อ
สงสัยใด ๆ ในใจของผู้รับสาร ช่วยในการตัดสินใจได้ดีข้ึนโดยผู้รับสาร / ผู้อ่าน / ผู้รับข้อความตามท่ีได้รับ
ข้อมลู ที่ต้องการและสาคญั ท้งั หมด

2. Conciseness กระชับ การส่ือสารท่ีดีควรพูดหรือเขียนให้มีความส้ันกระชับ ลักษณะของการ
ส่ือสารให้กระชับ เน้นเน้ือหาและข้อความท่ีสาคัญเป็นหลัก หลีกเล่ียงการใช้คาที่มากเกินไปโดยไม่มีความ
จาเปน็ ข้อความทกี่ ระชบั ไม่ซา้ ซอ้ นกันจะชว่ ยให้ประหยดั เวลาและประหยัดค่าใชจ้ ่าย

3. Consideration - พินิจพเิ คราะห์/เหน็ อกเห็นใจผอู้ ่นื การสอื่ สารทด่ี ี ต้องพิจารณา ถงึ มุมมอง
ของผรู้ บั สารในด้านความคิด ความเช่อื ระดบั การศึกษา พยายามทาความเข้าใจผ้รู ับสาร ความต้องการ
อารมณ์ และปญั หาของเขา

4. Clarity ชัดเจน การสอ่ื สารไม่ว่าจะดว้ ยการพูด การเขียน จะตอ้ งเปน็ การสอ่ื สารท่ีมีความชัดเจน
เรียบง่าย เม่ือสื่อสารออกไปแล้ว ผู้รับสารต้องมีความเข้าใจที่ชัดเจนเช่นเดียวกับผู้ส่งสาร ความชัดเจนจะทา
ให้เข้าใจง่ายขึ้น ความชัดเจนและความคิดท่ีสมบูรณ์จะช่วยเพ่ิมความหมายของข้อความ เหมาะสม และเห็น
เป็นรูปธรรม

5. Concrete เป็นรูปธรรม การสื่อสารแบบชัดเจนและเป็นรูปธรรม ด้วยข้อความประกอบด้วย
ข้อเท็จจริงและตวั เลขทช่ี ัดเจน ช่วยเพ่ิมความมนั่ ใจ ซ่งึ จะทาให้ไม่ถูกตีความผิดๆคะ่

6. Courtesy สุภาพ การสื่อสารทส่ี ภุ าพ เป็นมารยาทอยา่ งหน่ึงในการแสดงออกถงึ ความคดิ และ
ความรสู้ กึ ของผู้สง่ สาร ท่จี ะถึงผรู้ บั สาร ดังนนั้ จงึ ควรให้เคารพสิทธขิ องผูร้ บั สารทจี่ ะไดส้ ารท่ีดี มีความสุภาพ
โดยการคานึงถึงมุมมองท้ังสองฝา่ ยรวมทง้ั ความรสู้ กึ ของผู้รับขอ้ ความดว้ ย

7. Correct ถกู ต้อง ความถูกต้องเป็นสิ่งทผี่ ู้ส่งสารควรพิจารณา และตรวจสอบก่อนท่จี ะสง่ สาร
ออกไป วา่ สารทผ่ี ้สู ง่ สารต้องการจะส่อื สารออกไป เปน็ ข้อมูลข่าวสารที่มคี วามถกู ต้องชัดเจนหรือไม่ หากไม่
ถูกต้องควรแก้ไขให้ถูกต้องก่อนท่จี ะส่งสารออกไป

การนา 7C's communication มาปรบั ใช้เพื่อการสื่อสาร ทาให้มีการสอื่ สารกันด้วยใจ ดว้ ย
มิตรภาพ จะชว่ ยในการสรา้ งความม่นั ใจ ความไวว้ างใจ ตลอดจนความไว้วางใจ

เทคนคิ วิธีในการประสานงาน
1. การใชเ้ ครอื่ งมือส่อื สาร เช่น โทรศพั ทโ์ ทรสาร จดหมาย อิเลก็ ทรอนิกส์เปน็ เคร่อื งมือสื่อสารท่ี

รวดเรว็ ประหยัดเวลา มแี นวทาง ปฏบิ ัตดิ ังนี้
1.1 วางแผนในการประสานงาน ว่าเราต้องการอะไร เม่ือไร ทไ่ี หน อย่างไร ควรติดต่อใคร

หนว่ ยงานใด และควรมีช่องทางการสื่อสารกบั หนว่ ยงานตา่ ง ๆ อยกู่ บั ตัว และเมอ่ื ได้ติดต่อประสานงานกับ
ผ้ใู ด ควรจดบันทึกไว้ เพ่ือการติดตอ่ ประสานงานในอนาคตอีก

1.2 ควรประสานกับระดับเดียวกัน หรือตา่ กว่าก่อน
1.3 ควรใชค้ าพดู สภุ าพ ใหเ้ กียรตคิ ่สู นทนาแมร้ วู้ า่ เขามตี าแหนง่ ตา่ กวา่ ควรกลา่ วคาขอบคณุ ทุก
ครง้ั กอ่ นจบการสนทนา
2. การประสานดว้ ยหนังสอื
การประสานงานด้วยหนงั สือใชใ้ นกรณีท่ีเป็นงานประจาท่ีทั้ง สองหนว่ ยงาน ทราบระเบยี บปฏบิ ตั อิ ยู่
แลว้ มีแนวทางปฏบิ ตั ิดงั นี้
2.1 การรา่ งหนังสือ ควรใหถ้ ูกหลักการ ถูกต้อง
2.2 การร่างหนังสือขอรบั การสนับสนุน หรือขอความอนุเคราะห์ ควรประกอบด้วย เหตุที่มีหนังสือ
มา เร่ืองราวที่ต้องการขอรับ การสนับสนุน/ขอความอนุเคราะห์ ต้ังความหวังท่ีจะได้รับการ สนับสนุน/ขอ
ความอนเุ คราะห์และ ขอบคุณ
2.3 เมอ่ื ได้รับการสนับสนุน การอนเุ คราะหแ์ ล้ว ควรมหี นังสือ ไปขอบคณุ หน่วยงานนั้นๆ เสมอ เพื่อ
สานความสมั พันธ์ไวส้ าหรบั โอกาสตอ่ ไป
3. การพบปะด้วยตนเอง
การพบปะด้วยตนเอง เป็นการประสานงานท่ีดีท่ีสุดเพราะได้ พบหน้า ได้เห็นบุคลิกลักษณะ สีหน้า
ท่าทาง ของผู้ติดต่อท้ังสองฝ่าย มีเวลาในการซักถามทาความเข้าใจกันได้อย่างพอเพียง แต่มีข้อเสีย คือ ใช้
เวลามาก มแี นวทางปฏิบัติดงั นี้ ควรเตรียมหัวขอ้ หารือไปให้พร้อม และจดบนั ทึกไว้ และหากรบั ปากเรือ่ งใดไว้
ต้องรีบทา เช่น จะรบี สง่ เอกสาร ไปใหห้ รือจะรบี ทาหนังสอื ไป

ควรมสี ่ิงทจ่ี ะยึดถือเป็นแนวปฏิบัติในการประสานงานมี ดังนี้
1. เต็มใจท่ีจะติดต่อกบั ผู้อื่นก่อน
2. แสดงความมนี ้าใจต่อผอู้ ืน่ ก่อน สร้างสมั พันธท์ ี่ดี มคี วามไวว้ างใจกัน
3. หลกี เลยี่ งการโตแ้ ย้ง
4. ฟงั ผอู้ ่นื พดู ให้มาก
5. เสริมสร้างมติ ร ไมตรแี ละความเป็นกันเอง
6. ติดต่อตามสายงาน และชอ่ งทางการสือ่ สารท่ีถูกตอ้ ง
7. จะตอ้ งประสานโดยพจิ ารณาถึงระเบียบวิธปี ฏิบตั ิงาน การใช้เวลา วัสดุอปุ กรณ์ กาลงั คน กาลังเงนิ และ
วธิ ีการสอ่ื สาร
7. ปญั หาทพ่ี บและแนวทางการแก้ไขปัญหา
ปญั หาท่ีพบ

ปัญหาท่ีเกดิ ขึ้นจากการตดิ ต่อประสานงานส่วนใหญ่จะเกย่ี วข้องกับคน ซง่ึ ไมส่ ามารถบังคับใหใ้ ครทา
อะไร ตามใจไดค้ นเปน็ เรือ่ งที่ควบคุมค่อนขา้ งลาบาก เร่ืองหนกั ใจอยู่ทวี่ ่าจะ ต้องไปติดต่อประสานงานกับคน
ท่ีคุยกันแล้วจูนกนั ไมต่ ิด พดู กันไม่รู้ เร่อื ง คดิ กนั คนละอย่าง ก็จะย่งิ ทาใหก้ ารประสานงานน้ันยากลาบากมาก
ขน้ึ ซง่ึ ไม่มีใครท่ีไม่เคยเจอปญั หาในการตดิ ต่อประสานงาน แต่ส่งิ สาคัญคือ จะเอาชนะปัญหาทเ่ี กิดขน้ึ นั้นได้
อยา่ งไร ซง่ึ ปัญหาสว่ นใหญ่เกิดจากการให้ข้อมูลล่าชา้ เกินไป การทีต่ ดิ ต่อประสานงานกับ อีกหน่วยงานหนึ่ง

ลา่ ชา้ จึงทาใหส้ ่งขอ้ มูลให้หนว่ ยงานที่เกี่ยวข้องล่าช้า การรบั - สง่ ข้อมลู ผิดพลาด การรับ และส่งมอบข้อมลู
รายงาน เอกสารท่ีผดิ พลาด
แนวทางการแกไ้ ขปัญหา

แนวทางการแก้ไขปัญหา คือ การประสานงานไม่ควรจะกระทาโดยใช้อานาจส่ังการ แต่อย่างเดียว
ควรใช้ความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกันเป็นหลัก เพราะความ มีน้าใจต่อกัน ไว้วางใจกันจะเป็นผลให้เกิดการร่วมใจ
มากกว่าการใช้อานาจหน้าที่ การพยายามผูกมิตรตั้งแต่ต้นและป้องกันไม่ให้เกิดความรู้สึกเป็นปฏิปักษ์ ไม่
นนิ ทาว่าร้ายกนั ไม่โยนความผิด ให้แก่ผู้อืน่ เมอื่ มีสงิ่ ใดจะช่วยเหลือแนะนากันได้ก็อยา่ ลังเล และ พร้อมจะรับ
ฟงั คาแนะนาของผเู้ กยี่ วข้องแม้จะไมเ่ ห็นด้วยก็อยา่ แสดงปฏกิ ิริยาโตต้ อบในทางลบ
8. ประโยชนข์ ององค์ความรู้

การประสานงาน เป็นศิลปะอย่างหนึ่ง ซึ่งต้องอาศัยความ สุภาพ อ่อนน้อมถ่อมตน ความจริงใจ
ความอดทนอดกล้ัน ความยิ้ม แย้มแจ่มใส ในการติดต่อกับบุคคลอื่น เพื่อขอรับการสนับสนุน ขอความ
ร่วมมอื เพอ่ื ใหเ้ กิดความเขา้ ใจตรงกนั

การประสานงานที่ดีช่วยให้การทางานบรรลุเป้าหมายได้ อย่างราบรื่นและรวดเร็ว ทุกคน ทุกฝ่ายมี
ความเข้าใจตรงกัน ช่วยประหยัดเวลา เงนิ วัสดุ และ ส่ิงของตา่ งๆ ในการทางาน ทาให้การดาเนนิ งานเป็นไป
อยา่ งมี ประสิทธิภาพ เพ่มิ ผลสัมฤทธิ์ชองงานมากข้นึ

KM
กลุ่มงานสารสนเทศ

การพัฒนาชุมชน

องค์ความรู้ เรื่อง “การคดั สรรกจิ กรรมพฒั นาชุมชนดเี ดน่ ”

1. ช่ือเจา้ ของความรู้ นางสายชล สุวรรณเชษฐ์

ตาแหน่ง นักวิชาการพฒั นาชมุ ชนชานาญการ (ผช.ผอ.กลุ่มงานสารสนเทศการพฒั นาชุมชน)

สังกดั สานกั งานพฒั นาชุมชนจังหวัดนนทบุรี

2. หมวดองคค์ วามรู้ เสรมิ สร้างองค์กรให้มีขดี สมรรถนะสูง

3. ท่มี าและเปา้ หมายของการจดั การความรู้

กิจกรรมการคัดสรรพัฒนาชุมชนดีเด่น มีวัตถุประสงค์เพ่ือสรรหาและคัดเลือกหมู่บ้านเศรษฐกิจ
พอเพียง “อยู่เย็นเป็นสุข”ดีเด่นระดับจังหวัด และกิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่นระดับจังหวัด รวมท้ังครัวเรือนสัมมาชีพ
ชุมชนตัวอย่างระดับภาค ที่มีส่วนสาคัญในการขับเคล่ือนการพัฒนาพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เป็นที่
ประจักษ์แก่สาธารณชน เพื่อเขา้ รับรางวัลในส่วนกลาง

4. เปา้ หมายของการจัดการความรู้

เพือ่ ส่งเสรมิ หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงท่ีโดดเด่น ใหเ้ ป็นทร่ี ู้จักและเพือ่ พฒั นาศักยภาพของผู้นา กลุม่ องค์กร
ชมุ ชน และเครอื ข่ายองคก์ รชุมชน
5. วิธกี ารและขัน้ ตอน

1. คดั เลอื กหม่บู า้ นที่มคี วามพรอ้ มและสมัครใจทจี่ ะเขา้ รับการคดั สรร
2. สร้างความร้คู วามเขา้ ใจ และวตั ถุประสงค์ในการคัดสรรกิจกรรมให้กบั ผนู้ า กลมุ่ องคก์ รชุมชน เครอื ข่าย

องค์กรชมุ ชน และหนว่ ยงานภาคี
3. แบ่งความรับผดิ ชอบให้เจา้ หน้าทีพ่ ฒั นาชมุ ชนท่ีรบั ผดิ ชอบงาน เสริมสมรรถนะความรู้ให้กับผูน้ า กลมุ่

องค์กรชุมชน และเครือขา่ ยองคก์ รชุมชน
4. ประสานหน่วยงานภาคีทที่ างานในพ้นื ท่เี ป้าหมายเขา้ ร่วมกิจกรรม
5. ประชาสัมพันธ์หรือประชาคมใหป้ ระชาชนในพน้ื ทีเ่ ป้าหมายทราบและเขา้ ร่วมกิจกรรม
6. เตรียมความพรอ้ มของเอกสาร หลกั ฐาน ผลงานการพฒั นาทผ่ี ่านมา เพ่ือนาเสนอในการคดั สรรกิจกรรม
7. ซกั ซอ้ มความรู้ ความเขา้ ใจแนวทางการพัฒนาหมบู่ า้ นตามหลักของปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และ

กิจกรรมทเ่ี ข้ารับการคัดสรร
8. เตรียมสถานท่ีให้มีความพรอ้ มในการเข้ารับการคัดสรรกิจกรรม
6. ผลลพั ธ์ท่ไี ด้จากการจดั การความรู้
6.1 เทคนิคและแนวทางในการทางาน

(๑) การเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา รว่ มทุกข์ รว่ มสุข เขาทา เราทา เพือ่ ให้คนในชุมชน และผู้นากลุ่ม
องค์กรต่าง ๆ เกิดความเชอื่ มั่น ศรทั ธา พร้อมท่จี ะเขา้ รับการพัฒนาหมู่บา้ นและตนเอง

(2) สรา้ งขวัญและกาลงั ใจให้แก่ผูน้ าและกลุ่มกจิ กรรมทเี่ ขา้ รบั การคดั สรร
(3) ประสานหน่วยงานภาคี ใหก้ ารสนับสนุนในการคัดสรรกิจกรรม
6.2 ปจั จยั แห่งความสาเร็จ
6.2.1 ผนู้ า กลมุ่ องค์กร เครือข่าย มีอุดมการณ์และความพรอ้ มที่จะพัฒนาหมบู่ ้านและตนเอง
6.2.2 ความเข้มแขง็ ของของกลมุ่ องคก์ ร เครือขา่ ย
6.2.3 ความสามัคคีของคนในชุมชน
6.2.4 หนว่ ยงานภาคใี ห้การยอมรบั และสนบั สนุนกิจกรรม

2

6.3 ผลลัพธ์จากการแกไ้ ขปัญหาและพฒั นาเรือ่ งน้นั
ผลลัพธ์
1. เกิดการพัฒนาอยา่ งต่อเน่อื งและยง่ั ยืน
2. มีขวญั และกาลังใจในการพัฒนา และมกี ารทางานร่วมกันแบบบรู ณาการ
3. มีภาคีการทางานในการสนับสนนุ การพฒั นาหมู่บา้ น
ตวั ช้วี ดั ความสาเรจ็
- เชิงปริมาณ
1) หมู่บา้ นไดร้ ับการพัฒนาและเข้ารับการคัดสรรกจิ กรรม
2) หมู่บ้าน ผ้นู า กล่มุ /องคก์ รชมุ ชน เครอื ข่ายองค์กรผ่านการรับรองด้วยระบบมาตรฐานการ
พัฒนาชุมชน (มชช.)
- เชิงคุณภาพ
1) ชมุ ชนมีความเขม้ แข็งแก้ไขปัญหาและพ่งึ ตนเองได้
2) หมบู่ ้านได้รับการจดั ระดับการพัฒนาหมู่บ้านที่ผ่านเกณฑ์ เปน็ หมูบ่ า้ น ระดับ “พออยู่ พอกนิ ”
และขน้ั ก้าวหน้าเป็นหม่บู ้าน ระดับ “อยู่ดี กนิ ดี”และระดบั “มง่ั มี ศรีสุข”
-------------------------------

3

องคค์ วามรู้ เรอ่ื ง “การเป็นผู้บริหารทก่ี ารดี”

ชอื่ เจ้าของความรู้ นางสายชล สวุ รรณเชษฐ์
ตาแหน่ง นกั วชิ าการพัฒนาชมุ ชนชานาญการ
สังกัด สานักงานพฒั นาชุมชนจงั หวดั นนทบรุ ี
หมวดองคค์ วามรู้ เสรมิ สร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง
ที่มาและเปา้ หมายของการจดั การความรู้

ตาแหน่งผู้บริหารมีผลอย่างยง่ิ ต่อความสาเร็จขององค์กร ถ้าองค์กรใดได้ผู้บริหารท่ีเก่ง ดี มีวิสัยทศั น์
ก็มีแนวโน้มว่าองค์กรน้ัน จะมีอนาคตสดใส เปรียบเสมือนนาวาลาน้อยใหญ่ ท่ีมีนายท้ายเรือท่ีเข้มแข็งคอยคัดหางเสือ
กาหนดทิศทาง ให้เรือแล่นไปยังจุดหมายปลายทางได้สาเร็จ แต่หากนายท้ายเรือไม่มีประสิทธิภาพ นาวาลาน้อยก็มีอัน
ต้องจมหายไปในทะเลเป็นแน่

ดังนั้น ผู้บริหารจึงจาเป็นต้องมีการพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลาเช่นกัน เพื่อนาพาองค์กร
ไปสู่ความสาเร็จ ได้รับการยกย่อง นับถือจากพนักงาน และคนในแวดวงธุรกิจ บางคนเป็นถึงผู้บริหาร ที่ทา งานไม่
เป็น บริหารคนไม่ถกู ไม่รูว้ ่าเขาทากนั อยา่ งไร
ผบู้ รหิ ารที่ดี ควรมีลกั ษณะ ดังนี้

1. การส่ือสารให้มคี วามชัดเจน
การจะถา่ ยทอดความคิดออกไปสกู่ ารปฏิบตั ินัน้ จาเป็นต้อง อาศัยทักษะ การสื่อสารท่ดี ี เข้าใจงา่ ย

ไม่เยิน่ เย้อ เม่ือมอบหมายแลว้ ใหท้ าตามหนา้ ท่ี และคอยตดิ ตามในภายหลงั
2. เชื่อมัน่ ในศักยภาพของพนกั งาน
เชอ่ื ว่าพวกเขาสามารถเรียนรแู้ ละพัฒนา ได้ ซง่ึ จะทาให้พนกั งานเกดิ กาลงั ใจ มแี รงจูงใจในการทางานให้ดี

4

และสาเรจ็ ดว้ ยตัวของพวกเขาเอง สว่ นผู้บรหิ ารกค็ อยแนะนา ให้การสนับสนนุ อย่หู า่ ง ๆ
3.รับฟังความคดิ เหน็ ของลูกน้อง
เปิดใจรบั ฟงั หาคาตอบให้กับส่ิงท่ีลูกน้องสงสัย เป็นคนชา่ งสังเกต ลกู น้องมีปญั หาอะไร ใส่ใจในรายละเอยี ด

ของลูกน้อง อย่าทาเป็นไม่สนใจ
4. อย่าเปน็ เหมือนผูค้ ุม
กากับดแู ลทุกกระบวนการ ทกุ ขั้นตอน จนสรา้ งความกดดันใหล้ ูกนอ้ งและเกดิ ความตึงเครยี ด ควรเป็นเหมือน

ครทู ่ปี รกึ ษา ใหค้ าแนะนา ให้คาปรกึ ษา
5. เปน็ ผกู้ ล้าหาญ
กล้าทจี่ ะยนื หยัด ยึดมัน่ ในส่ิงทถี่ กู ท่ีควร กลา้ ทีจ่ ะพูด กลา้ ทจี่ ะทา นอกจากนต้ี อ้ งกล้าทจ่ี ะปกปอ้ งลูกน้อง

เมื่อเห็นวา่ เป็นสิ่งท่ีถูกต้อง ดีกวา่ น่ิงเฉย ปลอ่ ยใหล้ ูกน้องเผชิญชะตากรรมแต่เพียงลาพัง
6. ประเมินผลงานอย่างยุติธรรม
มอบขวญั และกาลงั ใจ ให้คาชืน่ ชม ยกย่อง ใหเ้ กยี รติเขา เพอ่ื เป็นกาลงั ใจให้เขารกั ษาความดงี ามเอาไว้ต่อไป

ในทางตรงกันขา้ มพนักงานท่ีไมต่ งั้ ใจทางาน หรือสร้างปญั หาอยูเ่ สมอก็ควรไดร้ บั การประเมินผลงานตามเนื้อผา้ แม้ว่าเขา
อาจจะเปน็ คนสนิทและใกล้ชิดกับคณุ ก็ตาม

แบบบันทกึ องค์ความรรู้ ายบุคคล
1. ชือ่ องค์ความรู้ การดาเนนิ งานดา้ นการประชาสัมพันธ์งานพัฒนาชมุ ชน
2. เจา้ ของความรู้ นางสาวเบญญาทพิ ย์ ทองคา
3. องค์ความรู้ทบ่ี ่งช้ี (เลือกได้จานวน 1 หมวด)

 หมวดท่ี 1 สร้างสรรคช์ มุ ชนพึ่งตนเองได้
 หมวดที่ 2 สง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ฐานรากให้ขยายตัวอย่างสมดลุ
 หมวดที่ 3 เสริมสรา้ งทนุ ชุมชนใหม้ ธี รรมาภบิ าล
 หมวดท่ี 4 เสรมิ สร้างองค์กรให้มีขดี สมรรถะสูง
4. ที่มาและความสาคัญในการจดั ทาองค์ความรู้

ปัจจุบันข่าวสารมีความสาคัญอย่างมากต่อประชาชน ทั้งในด้านการดารงชีวิต การศึกษา การทาธุรกิจ การ
ปกครอง ฯลฯ ล้วนแต่เป็นส่ิงท่ีประชาชนควรรบั รู้ ดังนั้นในฐานะท่ีข่าว เป็นส่ือกลางในการรับรู้ของประชาชน จึง
จาเป็นอย่างย่งิ ท่ีผ้เู ขียนข่าว ต้องมีความรู้ หลกั การในการเขียนขา่ วอย่างถูกต้อง เพ่อื ใหไ้ ด้มาซง่ึ ขา่ วสารท่ีครบถ้วน
ส้ัน กระชับ ง่ายต่อการเข้าใจ การเขียนข่าวเปน็ ท้ังศาสตร์ทง้ั ศิลป์ ท่ีต้องอาศัยเทคนิคในการเขียน เพ่ือสร้างความ
เขา้ ใจและความสนใจแกป่ ระชาชน กอ่ นทเี่ ราจะเขียนข่าว เราต้องมีการเรียนรขู้ า่ วประเภทน้นั ๆ ก่อน ซง่ึ สามารถ
ชว่ ยใหเ้ ราเขยี นข่าวได้ง่ายข้ึน

“ข่าว” คือ เหตุการณ์หรือเรื่องราวท่ีเกิดขึ้น มีความสาคัญเป็นที่สนใจของประชาชน มีผลกระทบต่อประชาชน
และได้รับการนาเสนอผ่าน “สื่อ” ซึ่งการเสนอข่าวน้ันเป็นการตอบสนองความสนใจใคร่รู้ อันเป็นความต้องการ
ตามธรรมชาติของมนุษย์ โดยมวี ตั ถุประสงค์ดงั นี้

1.เพือ่ เป็นการแจง้ ข่าวหรอื เหตกุ ารณท์ ่เี กดิ ขน้ึ ใหป้ ระชาชนได้ทราบ

2.เพอ่ื เปน็ การอธิบายรายละเอียดของเหตุการณ์ ให้เกดิ ความเข้าใจตามขอ้ เท็จจริง

3.เพื่อทจ่ี ะให้คาแนะนาและขอ้ ปฏบิ ัตใิ นแนวทางที่ถูกต้อง เพ่อื ให้เกิดความปลอดภยั

ข้อควรระวงั ในการเขียนข่าวประชาสมั พันธ์

1. ช่อื และนามสกุลต้องสะกดใหถ้ ูกต้อง เพราะว่าถา้ ผดิ พลาดอาจกลายเปน็ คนละบุคคล

หรือเกิดความเสยี หายได้

2. ยศตาแหน่งต้องระบใุ หต้ รงกบั ความเป็นจรงิ ขณะนน้ั

3. คานาหนา้ ชือ่ และบรรดาศักดต์ิ ้องระบเุ รียงลาดบั ใหถ้ กู ต้อง

4. การใช้อักษรยอ่ หรือตวั ยอ่ ต่าง ๆ ควรตรวจสอบใหด้ ี

5. ไมส่ อดแทรกความคิดเหน็ ส่วนตัวเข้าไป

6. การเขยี นตัวเลขถ้ามีจานวนมากอาจใชต้ วั อักษรแทน ถ้าไมใ่ ชต่ วั เลขทแ่ี นน่ อนควรใช้คาว่าประมาณ

7. หลกี เล่ยี งการใช้ศัพท์เทคนคิ ทเี่ ขา้ ใจยาก

5. รปู แบบ กระบวนการลาดับขนั้ ตอน
การเขยี นข่าวสารท่จี ะประชาสมั พนั ธ์หรือสารที่จะส่ือออกไปยังสื่อมวลชนหรอื ประชาชน ควรต้องมีรูปแบบ

โครงรา่ งในการเขยี นข่าวสาร โดยจะต้องประกอบด้วย
1. ช่อื เรื่อง ควรใชก้ ารพาดหัวขา่ วใหค้ รอบคลมุ เนื้อหาข่าว
2. ผู้เข้ารว่ มงาน มบี คุ คลสาคัญทีเ่ กยี่ วข้องกบั ข่าวนี้บา้ ง และระบสุ ถานที่
3. บอกรายละเอียดของการดาเนินงาน/โครงการ ทั้งรายละเอยี ดภาพรวม และรายละเอียดในเชงิ พืน้ ท่ี
4. บอกรายละเอียดของการลงพื้นท่ีหรือกจิ กรรมดงั กลา่ ว โดยระบุใหช้ ดั เจน
5. ส่วนสรุป โดยสรุปผลการดาเนนิ กิจกรรมในวันน้ี บอกถึงประโยชน์ที่เกดิ แกพ่ ี่น้องประชาชนในพนื้ ที่

-2-

ขนั้ ตอนในการเขยี นข่าว
1. ศึกษา หาข้อมูล รวบรวมข้อมูลใหไ้ ด้มากทสี่ ุด
2. ตอ้ งมีการร่างเน้อื หาครา่ วๆ กาหนดหัวขอ้ ทจ่ี ะเขียน เลอื กประเดน็ หลกั ๆมาใช้ในการเขียน
3. เขยี นข่าวโดยใชร้ ปู แบบการเขียนข่าวตา่ ง ๆ ทไี่ ดก้ ลา่ วไวข้ ้างตน้
4.จัดรูปแบบ ตรวจทานการเขียนหลายๆรอบ โดยเฉพาะเร่ืองของการใช้ภาษาในการเขียน ควรสะกดให้

ถูกตอ้ ง
5. อ่านทบทวนอกี คร้งั หรอื ใหผ้ ู้อืน่ ช่วยอ่าน เพ่ือใหไ้ ดม้ าซ่งึ ขา่ วทส่ี มบรู ณ์ ครบถ้วน

6. เทคนคิ ในการปฏิบัตงิ าน
เทคนิคในการเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ โดยเฉพาะในสังคมออนไลน์ ควรมีลักษณะของก่ึง

ทางการ รวมถึงการอธิบายให้เข้าใจและทาอย่างง่าย ไม่ควรต้องคิดว่าคนอ่านจะเข้ามาเพื่อต้องการสอบถาม
ข้อมูล ควรอธิบายในลักษณะการอธิบายส่ิงต่าง ๆ เหมือนให้ผู้อ่านได้ฟัง จะได้ไม่เกิดความเบื่อหน่ายในการ
อ่าน และทาให้เข้าใจง่าย นอกจากน้ียังสามารถทาให้เนื้อหาข่าวมีความน่าสนใจโดยอาจจะทาเป็น
Infographic เพอื่ ใหม้ สี ีสนั สวยงาม ดงึ ดูดใหค้ นสนใจได้
7. ปัญหาท่ีพบและแนวทางการแก้ไขปัญหา
๑. ความผิดพลาดในการสะกดช่ือ นามสกุล รวมทั้งยศและตาแหน่งของบุคคลในข่าว ควรต้องตรวจสอบ

ความถูกต้องอย่างถี่ถ้วน เพราะถ้าผดิ พลาดจะทาให้เกิดความเสยี หายได้
๒. การใช้ตัวอักษรย่อต่าง ๆ ในข่าว ท่ีทาให้ผู้อ่ืนจะแปลความหมายไปในทางท่ีผิด ควรมีการตรวจสอบให้

ละเอียดถ่ีถ้วน วา่ เปน็ การใช้อกั ษรย่อท่ีใชก้ นั ตามหลกั สากลหรอื ไม่
๓. เกิดการสอดแทรกความคิดเห็นส่วนตัว ซ่ึงจะทาให้เกิดการช้ีนามากจนเกินไป จึงไม่ควรใส่ความคิดเห็น

สว่ นตวั ลงไปในเน้ือข่าว
๔. การใช้ศัพท์เทคนิคที่ยากเกินไป ทาให้ผู้อ่านตีความได้ยาก หรือไม่เข้าใจศัพท์เทคนิคนั้นๆ ควรใช้ศัพท์ท่ี

เป็นพน้ื ฐานทัว่ ไป ไมเ่ ฉพาะทางจนเกินไป
8. ประโยชนข์ ององค์ความรู้

ทาให้ทราบถงึ หลกั การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพนั ธอ์ ยา่ งถกู วธิ ี และสมบรู ณแ์ บบ

-------------------------------------------------------

การประชาสมั พนั ธ์ สํานักงานพฒั นาชุมชนจังหวัดนนทบรุ ี
งานพฒั นาชมุ ชน
วตั ถปุ ระสงค์ในการเขยี นขา่ ว
“ขา่ ว” คอื เหตกุ ารณห์ รอื เรอื งราวทเี กดิ
ขนึ มคี วามสาํ คญั เปนทสี นใจของ 1.เพอื แจง้ ขา่ วหรอื เหตกุ ารณใ์ หป้ ระชาชน
ประชาชน มผี ลกระทบตอ่ ประชาชน และ ทราบ
ไดร้ บั การนําเสนอผา่ น “สอื ” ซงึ การเสนอ
ขา่ วนนั เปนการตอบสนองความสนใจใคร่ 2.เพอื อธบิ ายรายละเอยี ดของเหตกุ ารณ์
รู้ อนั เปนความตอ้ งการตามธรรมชาติ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจขอ้ เทจ็ จรงิ
ของมนษุ ย์
3.เพอื ใหค้ ําแนะนาํ และขอ้ ปฏบิ ตั ทิ ถี กู ตอ้ ง
ขอ้ ควรระวงั ในการเขยี นขา่ ว
ขนั ตอนในการเขยี นขา่ ว
1.การสะกดคํา โดยเฉพาะ ชอื -สกลุ ยศ
ตําแหนง่ 1. ศกึ ษา หาขอ้ มลู รวบรวมขอ้ มลู ใหไ้ ดม้ ากทสี ดุ
2. ตอ้ งมกี ารรา่ งเนอื หาครา่ วๆ กํา เลอื กประเดน็ หลกั ๆ
2.การใชอ้ กั ษรยอ่ ควรมกี ารตรวจสอบใหด้ ี มาใชใ้ นการเขยี น
3.ไมส่ อดแทรกความคดิ เหน็ สว่ นตวั 4.จดั รปู แบบ ตรวจทานการเขยี นหลายๆรอบ โดย
4.ไมใ่ ชศ้ พั ทเ์ ทคนคิ ทยี าก เฉพาะเรอื งของการใชภ้ าษาในการเขยี น ควรสะกดให้
ถกู ตอ้ ง
รปู แบบกระบวนการลําดบั ขนั 5. อา่ นทบทวนอกี ครงั หรอื ใหผ้ อู้ นื ชว่ ยอา่ น เพอื ใหไ้ ด้
ตอนเนอื หาขา่ ว มาซงึ ขา่ วทสี มบรู ณ์ ครบถว้ น

1. ชอื เรอื ง ควรใชก้ ารพาดหวั ขา่ วใหค้ รอบคลมุ เนอื หาขา่ ว ปญหาทพี บ และแนวทาง
2. ผเู้ ขา้ รว่ มงาน มบี คุ คลสาํ คญั ทเี กยี วขอ้ งกบั ขา่ วนบี า้ ง การแกไ้ ขปญหา
และระบสุ ถานที
3. บอกรายละเอยี ดของการดาํ เนนิ งาน/โครงการ ทงั ราย 1.ความผดิ พลาดในการสะกดชอื -
ละเอยี ดภาพรวม และรายละเอยี ดในเชงิ พนื ที สกลุ ยศตําแหนง่ ควรตอ้ งตรวจ
4. บอกรายละเอยี ดของการลงพนื ทหี รอื กจิ กรรมดงั กลา่ ว สอบใหถ้ ถี ว้ นกอ่ นนาํ เสนอขา่ ว
โดยระบใุ หช้ ดั เจน
5. สว่ นสรปุ โดยสรปุ ผลการดาํ เนนิ กจิ กรรมในวนั นี บอกถงึ 2.การใชต้ วั อกั ษรยอ่ ตา่ ง ๆ ตอ้ ง
ประโยชนท์ เี กดิ แกพ่ นี อ้ งประชาชนในพนื ที ตรวจสอบใหถ้ กู ตอ้ งตามหลกั
สากล

3.การสอดแทรกความคดิ เหน็ สว่ น
ตวั ตอ้ งไมม่ กี ารสอดแทรกความ
คดิ เหน็ สว่ นตวั ลงไปในขา่ ว

4.การใชศ้ พั ทเ์ ฉพาะทยี ากเกนิ ไป
ควรใชศ้ พั ทพ์ นื ทาง ไมเ่ ฉพาะทาง
จนเกนิ ไป

น.ส.เบญญาทิพย ทองคาํ นักวิชาการพัฒนาชมุ ชนปฏบิ ตั ิการ

KM
กลุ่มงานประสาน
และสนับสนุนการบริหารงาน

พัฒนาชุมชน

แบบบันทึกองค์ความร้รู ายบุคคล

1.ช่ือองค์ความรู้ การพฒั นาศักยภาพตนเองในบทบาทหน้าท่ีผ้ปู ระสานและสนับสนนุ การบริหารงานพฒั นาชมุ ชน
2.ชือ่ เจา้ ของความรู้ นางวณี า ปาระมี ตาแหน่ง ผอู้ านวยการกลุม่ งานประสานและสนบั สนุนการบรหิ ารงาน

พฒั นาชมุ ชน สานกั งานพัฒนาชุมชนจังหวดั นนทบรุ ี

3.องคค์ วามรูท้ ี่บ่งช้ี

 หมวดท่ี 1 สร้างสรรค์ชุมชนพึ่งตนเองได้
 หมวดท่ี 2 สง่ เสรมิ เศรษฐกิจฐานรากใหข้ ยายตวั อย่างสมดุล
 หมวดท่ี 3 เสรมิ สร้างทนุ ชมุ ชนให้มธี รรมาภิบาล
 หมวดท่ี 4 เสริมสรา้ งองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง

4.ท่มี าและความสาคัญในการจัดทาองค์ความรู้
กรมการพัฒนาชุมชนมีภารกิจในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชน

มีวิสัยทัศน์ “เศรษฐกิจฐานรากม่ันคงและชุมชนพ่ึงตนเองได้ภายในปี 2564” และยุทธศาสตร์ที่ 4 เสริมสร้าง
หน่วยงานให้มีขีดสมรรถนะสูง โดยมีสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด เป็นหน่วยงานในภูมิภาค ที่ทางานใกล้ชิดกับ
ประชาชน มีอานาจหน้าที่เก่ียวกับการจัดทายุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนของจังหวัด ดาเนินการประสานงาน
เก่ียวกับการพัฒนาชุมชนในจังหวัด กาหนด กากับดูแล ให้คาแนะนาและสนับสนุนการปฏิบัติงานของสานักงาน
พฒั นาชมุ ชนอาเภอ และปฏิบัตงิ านร่วมกบั หรือสนบั สนุนการปฏิบัตงิ านของหน่วยงานอน่ื ที่เกีย่ วขอ้ ง แบ่งออกเป็น
3 กลุ่มงาน 1 ฝ่าย คือ 1) กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน 2) กลุ่มงานส่งเสริมการพฒั นาชุมชน 3) กล่มุ งาน
สารสนเทศการพัฒนาชุมชน และ 4) ฝ่ายอานวยการ

กลุ่มงานประสานและสนับสนุนการบริหารงานพัฒนาชุมชน เป็นหน่วยสาคัญของสานักงานพัฒนา
ชมุ ชนจงั หวัด มหี น้าที่ความรับผดิ ชอบทเี่ ก่ียวกบั การบริหารจดั การงานทว่ั ไป งานบรหิ ารงานบคุ คล งานสารบรรณ
งานพสั ดุ งานอาคารสถานทแ่ี ละยานพาหนะ งานการเงนิ และบญั ชี

สาหรับข้าพเจ้า ถือเป็นบทบาทภารกิจงานที่ใหม่และท้าทายเป็นอย่างมากของเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน
ตาแหน่ง ผู้ช่วยหัวหน้ากลุ่มงาน คนหน่ึง นับแต่วันที่ได้รับคาสั่งแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ในตาแหน่ง หัวหน้าฝ่าย
อานวยการ เม่ือวนั ที่ 2 ธันวาคม 2562 จนถึงการปรับตาแหน่งในปัจจุบัน ด้วยความเช่ือที่วา่ การทางานทกุ อย่าง
ต้องมีปัญหา มากบ้างน้อยบ้าง แตกต่างกันไป สิ่งท่ีพบก็คือ “ตัวเอง” ที่ต้องมีการเรียนรู้ พัฒนาตนเอง
อยู่ตลอดเวลา

5. รูปแบบ กระบวนการลาดบั ขัน้ ตอน
การพัฒนาศักยภาพตนเองในบทบาทหน้าที่ผู้ประสานและสนับสนุนการบริหารงานพัฒนาชุมชน

ของข้าพเจา้ มีดังน้ี
1. ตอ้ งวิเคราะห์ศักยภาพตนเอง เพื่อประเมนิ สภาพการณ์ภายในของตนเองวา่ มีจดุ อ่อน จดุ แข็ง

อย่างไรบ้าง และประเมินสภาพการณ์ภายนอกของตนเองว่ามีปัญหาอุปสรรค โอกาส อย่างไรบ้าง เพ่ือนาผล
การวิเคราะห์มาใชก้ าหนดทศิ ทางการพฒั นาตนเองต่อไป

/2 ต้องศกึ ษา...

-2-

2. ตอ้ งศึกษาค้นควา้ ทาความเข้าใจเกยี่ วกับเอกสารระเบียบ ขอ้ บังคับ ขอ้ กฎหมายทีเ่ กยี่ วขอ้ ง
รวมทัง้ แนวทางและวิธีการทางานในกลมุ่ งานให้มีความถูกต้อง

3. ต้องทางานด้วยวิธีการปฏิบัติงานจริงในภารกิจงานที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มงาน แบบ Learning
by Doing เพ่ือสร้างทักษะการทางานให้มีความเช่ียวชาญรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ดังน้ัน จึงต้องทางานควบคู่ไปกับ
การศกึ ษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง

4. ต้องมีการสอบถาม แลกเปล่ียนเรียนรู้กับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานโดยตรง และเจ้าหน้าที่
ทีเ่ กี่ยวข้อง เพอ่ื ให้ได้ข้อเท็จจริง เน่ืองจากงานบางอย่างเป็นเรื่องเฉพาะ มีเจ้าหน้าที่ที่มีประสบการณ์การทางาน
มานาน มคี วามเช่ยี วชาญชาญสงู เพ่อื ใหก้ ารทางานเป็นไปด้วยความเรยี บร้อย ถูกตอ้ งตามระเบยี บและแนวทางท่ี
กาหนด

5. ต้องมีการปรึกษา และขอคาแนะนาผู้บังคับบัญชาในเร่ืองท่ีเก่ียวข้อง การขอคาปรึกษาและ
แนะนาของผ้บู งั คบั บัญชา เป็นกระบวนการหน่ึงในการพัฒนาตนเอง คือ

5.1 ช่วยเสรมิ สรา้ งวฒุ ิภาวการณ์ปรับตวั ในหนว่ ยงาน
5.2 ชว่ ยสรา้ งความตระหนักและรับผิดชอบในหน้าท่ีของตนเอง
5.3 ชว่ ยให้กลา้ เผชิญความจริงและเอาใจใส่ผ้อู นื่ มากขึ้น
5.4 ช่วยกระตุ้นและนาศักยภาพมาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์มากขน้ึ
5.5 ช่วยปรบั แกพ้ ฤตกิ รรมให้ถูกตอ้ งเหมาะสม
6. ต้องตรวจสอบวิธีปฏิบัติที่ถูกต้องอย่างสม่าเสมอ นับว่าเป็นหัวใจสาคัญของการพัฒนางาน
ให้มีความก้าวหน้า ทาให้ดีข้ึน โดยใช้แนวคิด PDCA (P=วางแผน D=ปฏิบัติตามแผน C=ตรวจสอบการปฏิบัติ
ตามแผน A=ปรบั ปรงุ แกไ้ ข)

6. มีเทคนิคในการปฏบิ ตั ิงาน

6.1 ต้องมมี นุษย์สมั พันธ์ในการทางาน เพ่ือเกิดการแลกเปล่ยี นเรียนร้ซู ง่ึ กันและกัน
6.2 ต้องทางานเปน็ ทีม เพื่อสรา้ งความรักความสามัคคี
6.3 ตอ้ งมคี วามซอ่ื สตั ยส์ ุจริต เพอื่ สรา้ งความโปร่งใสในการทางาน

7. ปัญหาทีพ่ บและแนวทางแก้ไขปญั หา

7.1 ปริมาณงานมีจานวนมาก แก้ไขปัญหาด้วยการเรียงลาดับความสาคัญ และความจาเป็น
เรง่ ด่วนของงานเปน็ หลัก

8. ประโยชนข์ ององคค์ วามรู้

8.1 ทาให้ทราบถึงแนวทางการพัฒนาตนเองในบทบาทหน้าท่ีผู้ประสานและสนับสนุน
การบรหิ ารงานพัฒนาชมุ ชน

8.2 สามารถใช้เปน็ แนวทางในการปฏิบัติงานในกลุม่ งานประสานและสนับสนุนการบริหารงาน
พัฒนาชุมชนได้

1

แบบบนั ทึกความรรู้ ายบุคคล

ช่ือเรื่อง เทคนคิ การเขียนบทความเพือ่ เผยแพร่

ชือ่ -นามสกุล นางสาวศิรพิ ร พรหมมา

ตาแหน่ง เจา้ พนกั งานโสตทัศนศึกษาชานาญงาน

สังกัด กลมุ่ งานประสานและสนับสนุนการบรหิ ารงานพัฒนาชมุ ชน

สานักงานพัฒนาชมุ ชนจังหวดั นนทบุรี

เป็นการแก้ไขปญั หาเก่ียวกับ การเขียนบทความใหน้ ่าสนใจ

เน้ือเรอื่ ง

บทความ เป็นอีกสื่อหน่ึงที่จะทาให้คุณได้มีโอกาสถ่ายทอดความรู้ และประสบการณ์ให้แก่ผู้อ่าน

ได้ในวงกว้าง การเขียนบทความเป็นศิลปะอย่างหนึ่ง เพราะการเขียนบทความคือการใช้ตัวอักษรเป็นส่ือ

ระหว่างผู้เขียนและผู้อ่าน เพ่ือถ่ายทอดข้อความหรือสาระบางอย่างที่ผู้เขียนต้องการให้ผู้อ่านได้รู้ ได้เข้าใจ

เพียงแต่ว่าความพยายามของผู้เขียนจะประสบผลสาเร็จอย่างที่ต้องการได้มากน้อยเพียงใดเท่าน้ัน การเขียน

บทความให้ดีจริงๆ น้ัน ไม่ใช่เรื่องยากเย็นแสนเข็ญอย่างท่ีหลายคนเคยคิดเอาไว้ หลายคนที่เขียนบทความ

ลงในวารสารไม่เคยเขียนบทความมาก่อนเลย และไม่เคยม่ันใจมาก่อนว่าตนเองจะเขียนได้ดี แต่มีแรงจูงใจ

ที่อยากจะเผยแพร่ความรู้ อยากจะให้คนอ่ืนได้รู้ในสิ่งที่คุณรู้และคิดว่าเป็นประโยชน์ ขอเพียงคุณได้ทดลอง

เขียนและปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องอยู่เสมอ ความฝันท่ีจะเป็นนักเขียนท่ีดีจึงจะถูก“สร้าง”ขึ้นมาได้เป็น

ผลสาเรจ็

วัตถุประสงค์ของบทความ เพ่ือให้ผู้อ่านได้รับความรู้ ข้อคิดเห็น ได้แนวทางปฏิบัติ วิธีการ

แก้ปัญหา ไดร้ ับข้อคิด แรงบันดาลใจ ได้รับข้อแนะนา และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับเรอ่ื งใดเร่อื งหนึ่ง การเขียน

บทความ อาจมีจุดประสงค์เดียวหรือหลายจุดประสงค์ เช่น เพ่ือนาเสนอความรู้ ข้อเท็จจริง ความคิดเห็น

ตั้งข้อสังเกต วิเคราะห์ วิจารณ์ เป็นต้น โดยต้องเขียนอย่างมีหลักฐาน มีเหตุผล น่าเช่ือถือ หากมี

ขอ้ เสนอแนะใดๆ ตอ้ งเปน็ ไปในทางทส่ี รา้ งสรรค์

บทความที่ดี ควรมีลักษณะที่สาคญั 4 ประการ คือ

1. มีเอกภาพ กล่าวคือ เนื้อหาของบทความมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน มีทิศทางของเน้ือหา

เป็นไปในทางเดยี วกนั เพ่อื มงุ่ สปู่ ระเด็นหลกั ท่ีตอ้ งการนาเสนอ

2. มีการเน้นข้อความสาคัญ กล่าวคือ ผู้เขียนต้องเน้นย้าประเด็นสาคัญให้ชัดเจนว่าต้องการ

นาเสนอแนวคิดสาคัญอะไร ด้วยประโยคใจความสาคัญ หรือสาระสาคัญที่โดดเด่น เน้ือความตลอดเรื่อง

ควรกลา่ วยา้ ประเด็นหลกั ของเรอื่ งเสมอๆ

3. มีสัมพันธภาพ กล่าวคือ มีความต่อเนื่องสัมพันธ์กันโดยตลอด ท้ังในด้านการเรียบเรียงถ้อยคา

ข้อความ และการจัดลาดับเร่ือง ทุกประโยคในแต่ละย่อหน้า และทุกย่อหน้าในแต่ละเร่ืองต้องเช่ือมโยง

เข้าด้วยกัน ด้วยการใช้คาเช่ือมข้อความ ได้แก่ คาบุพบท เช่น กับ แต่ แด่ เพื่อ คาสันธาน เช่น และ รวมทั้ง

ตลอดจน นอกจากนี้ คาประพันธสรรพนาม เช่น ที่ ซง่ึ อัน เปน็ ตน้

4. มีความกระจ่าง กลา่ วคือ มีความสมบูรณใ์ นด้านเนอื้ หา มีเนอ้ื ความชัดเจนกระจา่ งแจ้ง อธบิ าย
ได้ครอบคลุมความคิดหลักที่ต้องการนาเสนอ ข้อมูลที่นาเสนอเป็นข้อเท็จจริงท่ีถูกต้อง หากเป็นความคิดเห็น

2

ต้องมีความสมเหตุสมผล นอกจากนี้ต้องมีความสมบูรณ์ด้านการใช้ภาษา คือ ต้องเลือกใช้ภาษาให้เหมาะสม
กับจดุ มงุ่ หมายการเขียน ประเภทของบทความ เนื้อหาบทความ และกลุม่ ผูอ้ ่าน นัน่ เอง

บนั ทึกขุมความรู้
10 ขั้นตอนสคู่ วามสาเร็จของการเขียนบทความ
บทความท่ีดีต้องสามารถถ่ายทอดข้อมูลมาสู่ผู้อ่านได้รวดเร็วและเข้าใจได้ง่าย มีผู้เขียนหลายๆ คน

ไม่ประสบความสาเร็จ เพราะพยายามเขียนบทความเป็นทางการมากเกินไป ดังนั้น จึงไม่สามารถถ่ายทอด
เน้ือหา สาระให้ผ้อู ่านเขา้ ใจได้ง่ายเทา่ ทค่ี วร ให้คุณลองปฏิบัติตามคาแนะนาตอ่ ไปนี้

1. อย่าเป็นกังวล คนส่วนใหญ่มักกังวลว่าจะเขียนได้ไม่ดี กังวลว่าเขียนไปแล้วคนที่เรียนสูงๆ จะมา
คอยจับผิด หรือกังวลว่าจะเขียนได้ไม่สมกับภูมิรู้ที่คุณมี เสนอข้อมูลท่ีคุณคิดว่าถูกต้องที่สุดออกมา จงเขียน
ในทานองเดยี วกบั ทค่ี ุณพยายามจะอธิบายดว้ ยคาพูดให้ใครสักคนหนึ่งที่ไมร่ เู้ ร่ืองนฟี้ ังแลว้ เขาสามารถเข้าใจได้

2. เลือกหัวข้อท่ีจะเขยี น บทความทีด่ ี คือ บทความท่ีสามารถอธบิ ายบางส่ิงบางอย่างท่ีใหป้ ระโยชน์
ในแง่ใดแง่หนึ่งแก่ผู้อ่าน แต่ไม่ควรเป็นบทความท่ีเพียงตั้งใจแสดงว่าคุณมีความรู้สูงกว่าผู้อ่าน ดังน้ัน
ควรเลอื กหวั ขอ้ ทีค่ ดิ วา่ ผู้อ่านจะสนใจและได้รับประโยชน์

3. วางแผนก่อนเขียน ส่ิงนี้สาคัญมากสาหรับนักเขียนมือใหม่ การเขียนบทความนั้นไม่ยากนัก
แต่มักจะมายากเอาตรงท่ีไม่รู้จะเร่ิมต้นเขียนอย่างไร เพราะใจมัวแต่กังวลอยากจะเขียนทีเดียว
ให้ใช้ได้เลย กว่าจะเขียนบรรทัดแรกหรือย่อหน้าแรกได้แต่ละที คิดแล้วคิดอีก อะไรๆ มักจะไปเรียบเรียง
อยู่ในสมองก่อน การเร่ิมต้นจึงดูยากเย็นแสนเข็ญ พลอยทาให้ไม่ได้เร่ิมต้นสักที มีหลักการเริ่มต้นง่ายๆ คือ
ควรวางเค้าโครงหัวข้อย่อยต่างๆ ที่ต้องการจะเขียนลงในเศษกระดาษก่อน (ควรให้แต่ละหัวข้อ อยู่คนละ
แผ่นกระดาษ) ในแต่ละหัวข้อย่อยอาจจะมีใจความสาคัญที่ต้องการใส่ลงไป อาจเขียนออกมาเป็นท่อนๆ คือ
นึกถงึ จดุ สาคัญหรือประโยคสาคัญอะไรได้ ใหเ้ ขียนใส่ลงไปกอ่ น จากนั้นจึงค่อยมาจดั เรียงลาดับหวั ข้อย่อย
และประโยคสาคัญเหล่านั้นตามลาดับความต่อเนื่องท่ีควรจะเป็น ข้อสาคัญคือ ไม่ควรเอาส่วนปลีกย่อย
ขึ้นก่อน เพราะผู้อ่านจะเบื่อเร็ว ควรจะเอาหัวข้อที่กล่าวรวมๆ ขึ้นมาก่อน แล้วเก็บหัวข้อที่เน้นรายละเอียด
เอาไว้ทีหลัง อย่าลืมว่าเนื้อเร่ืองต้องเรียงลาดับต่อเนื่องกัน เพื่อให้ผู้อ่านลาดับความคิดและติดตามเรื่องได้ง่าย
ขึ้น มาถึงขั้นนี้ก็เหลือเพียงแต่ใส่รายละเอียดลงไปในแต่ละหัวข้อ และเพ่ิมคานาในตอนต้นเร่ืองสักหน่อย
กเ็ รยี บรอ้ ยแลว้

4. ไม่ต้องเขียนรวดเดียวจบ ถ้าไม่ใช่นักเขียนอาชีพจริงๆ แล้ว ยากที่จะเขียนให้จบรวดเดียวได้
ควรเขียนเพียงคร้ังละ 1 หรือ 2 หัวข้อที่สาคัญก็พอ ควรเขียนแต่ละหัวข้อแยกกระดาษกันคนละแผ่น
แล้วขยายแนวความคิดของแต่ละหัวข้อย่อยลงไปบนกระดาษ ไม่จาเป็นต้องเขียนเรียงตามลาดับหัวข้อ
หัวข้อไหนที่ยากหรือยังนึกไม่ออกว่าจะเขียนอย่างไรให้เก็บไว้ก่อน เขียนหัวข้อท่ีคิดว่าจะเขียนได้เร็วก่อน
เขยี นไปเขยี นมาแลว้ มักจะนกึ ออกเองวา่ จะเขยี นหัวข้อที่เหลอื นั้นอย่างไร

5. เชื่อมโยงความคดิ ตา่ งๆ เข้าด้วยกนั หลังจากเขียนเนื้อความของหัวข้อสาคัญๆไปแลว้ ให้จดั เรียง
กระดาษตามลาดับหัวข้อท่ีได้วางแผนมาก่อน ลองอ่านทานดูว่ายังขาดข้อความอะไรมาเชื่อมโยงแต่ละหัวข้อ
เข้าด้วยกันหรือไม่ ถ้ายังขาดอยู่ให้เพิ่มข้อความหรือเพิ่มหัวข้อเข้ามาอีก โดยให้ข้อความของแต่ละหัวข้อ
สัมพันธ์กัน ไม่ใช่ไปกันคนละเรื่อง ในการน้ีอาจจะต้องเพ่ิมหรือเปลี่ยนแปลงประโยคในตอนต้นหรือตอนท้าย
ของแต่ละหัวข้อไปบา้ งเพื่อความสอดคล้องกนั

3

6. ลงรูปที่จาเป็น กราฟ ตาราง โมโนแกรม หรือรูปประกอบ จะช่วยให้การอธิบายต่างๆ ง่ายข้ึน
ชัดเจนข้ึน และยังช่วยกระตุ้นความสนใจได้อีกด้วย แต่ละรูปควรมีคาอธิบายอยู่ใต้รูปด้วยว่าเป็นอะไร
ใชท้ าอะไรหรือต้องการแสดงให้เหน็ อะไร

7. ให้รูปและเนื้อหาสอดคล้องกัน ทุกครั้งที่ข้อเขียนอ้างถึงรูป ควรอ่านตรวจสอบด้วยว่า ข้อเขียน
ตรงกับข้อมูลในรปู หรอื ไม่

8. ตรวจชื่อบทความและข้อความนาเร่ือง ถ้ายังต้ังชอ่ื บทความและเขียนข้อความในชว่ งตน้ ๆเรอื่ ง
ยงั ไมเ่ รียบร้อยดี ให้ยอ้ นกลับไปใหม่ ผู้เขียนบางคนอาจเขียนส่วนน้ีก่อน แต่บางคนสะดวกที่จะเขียนทีหลังสุด
เพราะเขียนตอนแรกอาจจะยังนึกข้อความนาเร่ืองไม่ได้ ตรวจดูช่ือบทความและข้อความนาเร่ืองว่าช้ีนาผู้อ่าน
หรือเปล่าว่า บทความนชี้ ่วยเขาได้อย่างไร ใหป้ ระโยชน์อะไรกบั เขา ไม่ใช่วา่ ต้องให้อ่านจนจบเรอื่ งก่อนแล้วจึง
จะทราบว่าบทความนี้เกย่ี วกับอะไร และถ้าเป็นไปได้ควรจะมีข้อความตวั โตๆ 1-2 บรรทดั โปรยอยู่ใต้ชื่อเร่ือง
เพือ่ อธบิ ายครา่ วๆ วา่ บทความนเ้ี กี่ยวกับอะไร เป็นการจูงใจใหผ้ อู้ ่านสนใจอา่ นมากข้นึ

9. แก้สานวน ลองอ่านทบทวนบทความของคุณให้ตลอดตั้งแต่ต้นจนจบดูว่าเน้ือหาตรงกับ
จุดมุ่งหมายหรือไม่ มีสานวนท่ีอ่านแล้วกากวมหรือไม่ มีศัพท์บางคาหรืออักษรย่อบางตัวท่ีผู้อ่านจะไม่เข้าใจ
บ้างหรือไม่ ถ้าไม่แน่ใจ อาจขอให้เพ่ือนสักคนหนึ่งซ่ึงรู้เรื่องน้ันน้อยกว่ามาลองอ่านดูซิว่าเขาสามารถเข้าใจได้
ตลอดทั้งเรอื่ งหรอื ไม่ ถ้าไม่ ลองหาทางปรบั ปรุงแกไ้ ขให้ดขี น้ึ

10. เขียนคาสรุป การเขียนไม่จาเป็นต้องขึ้นหัวข้อย่อยว่า “สรุป” เพราะเม่ือใดที่เน้ือหาหมด
หรือสิ้นสุดของบทความแล้ว ย่อมหมายถึงการสรุป การสรุปที่ดี ผู้เขียนอาจมีคาชี้ชวนให้ผู้อ่านคิด ให้ลอง
ปฏิบัติ หรือเป็นการสรุปประเด็นสาคัญของเร่ืองแล้วทิ้งท้ายให้ผู้อ่านคิดหรือสังเคราะห์ความรู้ท่ีได้จาก
บทความตอ่

แกน่ ความรู้ คุณสมบตั ิของผู้เขียนบทความที่ดี มี 3 ประการ

ประการแรก ตอ้ งมคี วามตง้ั ใจ และกล้าที่จะเขียน
ประการที่สอง ตอ้ งเต็มใจ และยินดีท่จี ะทางานหนกั
ประการที่สาม ตอ้ งร้แู ละปฏบิ ัติตามแนวทางการเขียนบทความท่ดี ี

กลยุทธ์ในการทางาน
เกร็ดเล็กเกรด็ น้อยทีอ่ าจจะช่วยให้บทความของคณุ นา่ อ่านย่ิงขนึ้ และชดั เจนขน้ึ เชน่
1. ต้งั ช่ือบทความใหน้ า่ อา่ น เปน็ การเริ่มต้นที่จะสามารถดงึ ดดู ผู้อา่ น ชวนให้ติดตามอ่าน
2. ไม่ควรให้ข้อความของแต่ละย่อหน้ายาวเกินไป ถ้ายาวมากไป สายตาผู้อ่านจะล้าเร็ว ยิ่งถ้ายาว

มากๆ กว่าผู้อ่านจะอ่านจนจบได้แทบหมดความต้ังใจ โดยทั่วไปอาจถือเป็นเกณฑ์ได้ว่าแต่ละย่อหน้าไม่ควร
ยาวเกินกว่า 15 ถึง 20 บรรทัด ถ้าเขียนบทความเสร็จแล้วพบว่ามีท่อนใดท่ียาวเกินไปลองอ่านทานดูซิว่า
มีช่วงใดทพี่ อจะตัดตอนให้ข้ึนย่อหนา้ ใหม่ได้หรอื ไม่

3. แบ่งเป็นหัวข้อย่อย ถ้าบทความยาวพอสมควร ควรแบ่งเป็นหัวข้อย่อย เพ่ือให้ผ้อู ่านได้พักสายตา
เป็นระยะๆ นอกจากนี้หัวข้อย่อยยังช่วยให้มีจุดสนใจข้ึนมาเป็นช่วง และช่วยให้ผู้อ่านกวาดสายตาหาท่อน
หรือเนื้อหาที่เขาสนใจได้เร็วขึ้น อาจจะต้ังชื่อหัวข้อย่อยให้ดูน่าอ่านขึ้น ในลักษณะของคาถามเพ่ือกระตุ้น
ความสนใจของผู้อา่ น

4

4.ขีดเส้นใต้หรือทาตัวเข้มท่ีข้อความท่ีต้องการจะเน้น แต่ไม่ควรเน้นมากเกินกว่าที่จาเป็นจริงๆ
มฉิ ะนน้ั ผอู้ ่านจะร้สู ึกราคาญ

5. ใช้ศพั ท์เทคนิคเท่าทจี่ าเป็น และพยายามใชภ้ าษาอังกฤษให้น้อยที่สุด
6. ตีกรอบแยกส่วนเน้ือหา ถ้ามีเน้ือหาบางส่วนเก่ียวข้องกับบทความ แต่ไม่สามารถเช่ือมเข้าไป
ในบทความไดโ้ ดยตรง อาจแยกออกมาจากเน้อื เรือ่ งปกติได้โดยตีกรอบล้อมรอบเนอื้ หาสว่ นนั้นเอาไว้
7. อย่าให้หวือหวามากเกินไป แม้ว่าการแทรกอารมณ์ขัน การใช้ศัพท์แสลง จะช่วยผ่อนคลาย
ความเครียดขณะอ่านไปได้ แต่ไม่ควรใช้มากเกินไปจนบทความวิชาการกลายเป็นบทความทั่วไปท่ีให้
แต่ความสนกุ อยา่ งเดียว
8. พยายามใช้คาธรรมดาง่ายๆ ซึ่งคนท่ัวไปเข้าใจได้ง่ายและยังคงความถูกต้องอยู่ได้
ตัวอย่างเช่น “....เราจะวัดความต่างศักย์ของสายไฟบ้านได้ 220โวลต์....” ผู้อ่านอาจจะงงกับคาว่า
“ความต่างศักย์” ซ่ึงเป็นศัพท์วิชาการ ในกรณีเช่นน้ีควรใช้คาว่า “แรงดันไฟฟ้า” แทน เพราะจะทาให้
คนอา่ นเขา้ ใจไดด้ กี วา่
9. ใช้ประโยคท่ีกระชบั ไม่กากวม พยายามหลีกเล่ยี งการใช้ประโยคยาวๆ ทดี่ ูยดื ยาด และประโยค
ซ้อนประโยคทอ่ี าจทาใหเ้ ข้าใจความหมายผิดไป
10. ให้เป็นเหตุเป็นผลตามลาดับที่ควรจะเป็น ตัวอย่างเช่น “....เน่ืองจากสบู่น้ีสีฟ้า ยอดขาย
จึงไม่ดีนัก” ผู้อ่านคงสงสัยแน่ๆ ว่าสีฟ้ามีผลอย่างไร จึงทาให้ยอดขายไม่ดี ผู้เขียนควรให้เหตุ ผล
เพื่อขยายความให้ชดั เจน
11. เนื้อหาใช้ เป็นปัจจุบันหรือไม่? ให้พิจารณาดูว่ามีข้อมูลใดท่ีอาจจะไม่เป็นจริงในปัจจุบัน
การเขียนบทความไมค่ วรใช้คาวา่ ในปจั จบุ ัน แตค่ วรใช้การระบุเวลา เชน่ ในปีพ.ศ. 2549 พบว่า .....

กฎ ระเบียบ แนวคดิ ทฤษฎที ีเ่ กีย่ วข้อง แนวคดิ หลกั การเขยี นบทความ

..................................................................

แบบบนั ทกึ องคค์ วามรู้รายบุคคล

ช่อื เร่ือง : การคดั เลือกบุคคลต้นแบบค่านิยมองค์การดีเด่น
เจ้าของเร่ือง : นางสาวยอดขวัญ วา่ นเครอื
ตาแหน่ง : นกั วชิ าการพฒั นาชมุ ชนชานาญการ
สังกัด : สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวดั นนทบรุ ี

กรมการพัฒนาชุมชน กาหนดให้ดาเนินโครงการพัฒนาชุมชนใสสะอาด ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้หน่วยงานในสังกัดท้ังในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค
ยึดหลักธรรมาภิบาลเปน็ แนวทางในการบรหิ ารงาน ซึ่งได้กาหนดตัวชี้วัดใน ๕ มิติ สาหรับมิติที่ ๑ ด้านบทบาท
ผู้บริหารและความพยายามริเริ่มของหน่วยงานในการสร้างความโปร่งใส ได้กาหนดแนวทางไว้ 5 ด้าน
โดยด้านท่ี 4 ด้านการส่งเสริมค่านิยมองค์การ ABC DEF และ S&P ได้กาหนดให้มีการยกย่องเชิดชูเกียรติ
เพือ่ เปน็ สรา้ งขวัญกาลงั ใจให้กบั บคุ ลากรในสังกดั ทมี่ ีการนาค่านยิ มองคก์ ารไปปฏิบตั อิ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม

1. รูปแบบ กระบวนการ หรือลาดับขนั้ ตอน
1.1 สร้างความรับรู้ความเข้าใจค่านิยมองค์การ ABC DEF และ S&P ให้กับบุคลากรในสังกัด

สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนนทบุรี โดยการประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางส่ือต่าง ๆ อาทิ การประชุม
ประจาเดือน การติดป้ายประชาสัมพันธ์ การประชาสัมพันธ์ผ่านแอปพลิเคชัน Line /เว็บไซต์สานักงานพัฒนา
ชมุ ชนจังหวัด

1.2 แจ้งแนวทางและแผนปฏิบัติการในการนาค่านิยมองค์การไปใช้ โดยจัดทาหนังสือ
ถึงหน่วยงานในสงั กัดสานักงานพฒั นาชุมชนจังหวัดนนทบุรี และสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ

1.3 ดาเนินการคัดเลือกบุคลากรที่มีการนาค่านิยมองค์การไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม
“บุคคลต้นแบบค่านิยมองค์การดีเด่น” สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนนทบุรี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
โดยมขี ัน้ ตอนการคดั เลอื ก ดงั นี้

1) การเสนอรายช่ือบุคลากร โดยให้กลมุ่ งาน/อาเภอ เสนอชอ่ื บุคลากรท่ีมคี วามเหมะสม
ให้ครบทุกด้าน ซึ่งสามารถเสนอชื่อบุคลากรซ้ากันได้ เน่ืองจากมีบุคลากรน้อย และบุคลากรแต่ละคนอาจ
มคี วามเหมาะสมหลายด้าน

2) คัดเลือกผู้ได้รับการเสนอช่ือจากกลุ่มงาน/อาเภอ โดยการลงคะแนนของบุคลากร
ในสังกัดสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด และสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ ผ่านระบบ Google form ซ่ึงบุคลากร
หนงึ่ คนสามารถลงคะแนนเลอื กได้ 1 ดา้ น/1 คน/1 คะแนน เท่าน้ัน

3) สรุปผลการลงคะแนน โดยคัดเลือกจากผู้ที่ได้รับคะแนนมากท่ีสุด 3 ลาดับแรก
ของแตล่ ะด้าน

4) พิจารณาคัดเลือกผู้ท่ีเหมาะสม เพื่อมอบรางวัล “บุคคลต้นแบบค่านิยมองค์การ
ดเี ดน่ ” สานกั งานพัฒนาชมุ ชนจงั หวัดนนทบรุ ี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ด้านละ 1 คน โดยพฒั นาการ
จังหวัด ผู้อานวยการกลุ่มงานฯ และพัฒนาการอาเภอ พิจารณาคัดเลือกจากผู้ที่ได้รับคะแนนผ่านระบบ
Google form มากทส่ี ดุ 3 ลาดับแรกของแต่ละด้าน

1.4 จัดกิจกรรมยกย่องเชิดชูเกียรติ “บุคคลต้นแบบค่านิยมองค์การดีเด่น” สานักงานพัฒนา
ชุมชนจังหวัดนนทบุรี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยมอบเกียรติบัตรให้กับบุคลากรที่ได้รับการ
พิจารณาคัดเลือกจากการนาค่านิยมไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ในการประชุมประจาเดือน หรือในวาระ
ท่ีเหมาะสม

/2. เทคนิค...

-2-

2. เทคนคิ ในการปฏิบตั ิงาน
2.1 จัดทาคาสั่งแต่งตั้งคณะทางานส่งเสริมค่านิยมองค์การ ABC DEF และ S&P สานักงาน

พฒั นาชุมชนจังหวัดนนทบุรี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยคณะทางานจะมหี นา้ ที่พจิ ารณาแผนปฏิบัติ
การในการนาค่านิยมองค์การ ABC DEF และ S&P ไปใช้ในการปฏิบัติงาน และแนวทางการคัดเลือกบุคคล
ค่านยิ มองค์การดเี ดน่ ฯ รวมทง้ั สง่ เสรมิ การเผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธค์ า่ นิยมองคก์ ารผ่านชอ่ งทางต่าง ๆ

2.2 สร้างความรับรู้ความเข้าใจค่านิยมองค์การ ABC DEF และ S&P ให้กับบุคลากรในสังกัด
สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนนทบุรีอย่างสม่าเสมอ โดยการประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางส่ือต่าง ๆ อาทิ
การประชุมประจาเดือน การติดป้ายประชาสัมพันธ์ การประชาสัมพันธ์ผ่านส่ือออนไลน์ เช่น Line /เว็บไซต์
สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด เปน็ ตน้

2.3 ศึกษาการใช้งานระบบ Google Form ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงในบริการของกลุ่ม Google
Docs ท่ีช่วยสร้างแบบสอบถามออนไลน์ หรือใช้สาหรับรวบรวมข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว โดยที่ไม่ต้องเสีย
ค่าใช้จ่าย และสามารถนาไปปรับใช้กับงานได้หลายรูปแบบ อาทิ การทาแบบฟอร์มสารวจความคิดเห็น
การทาแบบฟอรม์ สารวจความพึงพอใจ การทาแบบฟอรม์ ลงทะเบียน และการลงคะแนนเสียง

2.4 เน้นการมีส่วนร่วม และการใช้ประโยชน์จากสมาร์ทโฟนและแอปพลิเคชันในปัจจุบัน
ท่ีมีความสะดวก รวดเร็ว และทาได้ง่ายเพียงแค่ปลายน้ิว โดยการร่วมกันลงคะแนนเสียงจากบุคลากรสังกัด
ทุกคน เพือ่ คดั เลือกบคุ ลากรท่มี ีการนาค่านิยมไปปฏิบัติอยา่ งเป็นรปู ธรรม ผา่ นระบบ Google Form

3. ปญั หาทีพ่ บและแนวทางการแกไ้ ขปญั หา
ปัญหาท่ีพบ : ทาอย่างไรจึงจะทาให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วม และสร้างขวัญกาลังใจให้กับ

บคุ ลากรทกุ คน
แนวทางการแกไ้ ขปญั หา
1) การใช้ประโยชน์จากสมาร์ทโฟนและแอปพลิเคชนั ในปัจจุบัน เพื่อเออ้ื อานวยในการทางาน
2) การเปิดโอกาสให้บุคลากรทุกคนได้ร่วมลงคะแนนเสียงผ่านระบบ Google Form

เพื่อเลอื กคนทเ่ี ห็นวา่ มกี ารนาคา่ นยิ มไปปฏบิ ัติอย่างเป็นรปู ธรรม และสามารถเป็นต้นแบบได้
3) การจดั กิจกรรมยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรติ “บคุ คลต้นแบบค่านิยมองค์การดีเดน่ ” โดยมอบเกียรติบัตร

ในการประชุมประจาเดือน หรือในวาระทีเ่ หมาะสม เพ่อื สรา้ งขวญั กาลังใจให้กบั บุคลากรท่ไี ด้รบั การคัดเลือก

4. ประโยชนข์ ององคค์ วามรู้
การพัฒนาตนเอง
4.1 ด้านการจัดการความรู้ ทาให้รู้จักลาดับขั้นตอนการทางาน คิดงานอย่างเป็นระบบ

การมองภาพรวมของงาน และสามารถรายงานความก้าวหนา้ ของงานใหผ้ ้บู ังคบั บัญชาทราบได้
4.2 ด้านการพัฒนาศักยภาพ ทง้ั การคดิ วเิ คราะห์หาแนวทางในการทางานใหเ้ กดิ กระบวนการ

มีส่วนร่วม และการหาความรู้เพิ่มเติมโดยศึกษาการใช้งานระบบ Google Form ซ่ึงสามารถนาไปพัฒนาและ
ปรบั ใช้กับการทางานดา้ นอืน่ ๆ ไดอ้ ีกด้วย

*************************************************




Click to View FlipBook Version