The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวบรวมองค์ความรู้รายบุคคลของเจ้าหน้าที่สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนนทบุรี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BytThk, 2021-07-22 04:07:09

การจัดการความรู้ (KM) พช.นนทบุรี ปี 2564

รวบรวมองค์ความรู้รายบุคคลของเจ้าหน้าที่สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนนทบุรี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

-2-

5.๑.๕ ลงพื้นที่สารวจแปลงและจัดประชุมครัวเรือนต้นแบบเป้าหมาย นักพัฒนาพื้นท่ีต้นแบบ
(นพต.) สร้างความเข้าใจการดาเนนิ งาน พร้อมหารือแบบแปลงท่จี ะดาเนนิ การขุดปรับแปลงท่ดี ินรว่ มกัน

5.2 การดาเนนิ การ
๕.2.๑ ขออนุมัติดาเนนิ การโครงการฯ
5.๒.๒ จดั ทาบันทึกเสนอนายอาเภอลงนามหนงั สอื ขอบุคลากรด้านชา่ งจากองค์การบริหารสว่ นตาบล/

เทศบาล ในการสนับสนุนการขับเคลื่อนงาน (ช่างเขียนแบบ คณะกรรมการกาหนดราคากลาง ช่างผู้ควบคุมงาน
และคณะกรรมการตรวจรบั พัสดุ)

5.๒.๓ เม่ือได้รับรายชื่อช่างเขียนแบบ เสร็จเรียบร้อยแล้ว ประสานช่างด้านการจัดทาแบบ
ร่วมลงพ้นื ที่สารวจพน้ื ที่จริง วัดขนาดของพื้นที่ และนาแบบมาตรฐานหรือ Catalog หนอง ท่เี จ้าของแปลงได้
คัดเลือกไว้แล้วมาลงใน layout ที่วัดขนาดจากพ้ืนที่จริง กาหนดส่วนต่างๆ ของแบบ เช่น พื้นท่ีโคกสาหรับ
ปลูกต้นไม้ พื้นที่หนองเก็บน้า ที่อยู่อาศัย แปลงผัก ฯลฯ เพ่ือใช้แบบประกอบการทาเอกสารจัดซื้อจัดจ้าง
ในการออกแบบพ้ืนที่คานึงถึงสภาพความเป็นอยู่ตามภูมิสังคมของเจ้าของแปลงเป็นหลัก กรณีของอาเภอไทรน้อย
ใช้แบบ Catalog หนองมาตรฐานของกรมการพัฒนาชุมชน 15 ไร่ จานวน 1 บ่อ และคลองไส้ไก่ ตามสภาพ
พนื้ ท่ีจริงไมเ่ กิน 100 เมตร จานวนปริมาณดินขดุ ไมเ่ กินงบประมาณท่ไี ดร้ ับจดั สรร (4,000 ลบ.ม.) เนอื่ งจากสภาพ
พื้นที่แปลงที่ดินเหลือในการขุดหนองเพียง 1 ไร่ 50 ตารางวา เท่าน้ัน จึงได้เลือกแบบ Catalog หนองท่ี
เหมาะสมกับสภาพพืน้ ท่ี

5.๒.๔ เม่ือได้รับรายช่ือช่างร่วมกาหนดราคากลาง ผู้ควบคุมงาน และกรรมการตรวจรับ
เรียบร้อยแล้ว จัดทาบันทึกเสนอนายอาเภอลงนามแต่งตั้งคณะกรรมการกาหนดราคากลาง พร้อมหนังสือ
ส่งคาสง่ั ฯ และเชญิ ประชมุ กาหนดราคากลาง

5.๒.๕ ประชุมคณะกรรมการกาหนดราคากลาง ดาเนินการตามแนวทางท่ีกรมฯ กาหนดในคู่มือ
แนวทางฯ โดยคานึงถึงสภาพพื้นที่จริงเป็นหลัก ในการกาหนดราคากลางจึงคิดเฉพาะค่าใช้จ่ายในการขุดดิน
ด้วยเคร่ืองจักรเท่าน้ัน (ไม่คิดค่าใช้จ่ายอ่ืนเพ่ิมเติม เช่น ค่าถากถาง ค่าปรับเกลี่ย ค่าขนดิน ฯลฯ) เน่ืองจาก
งบประมาณจัดสรรใหเ้ ฉพาะค่าขุดดิน ทาให้ราคากลางมีจานวนนอ้ ยกว่างบประมาณที่จัดสรร ในการคิดราคา
กลางนาปริมาณดินขุดท่ีคานวณได้จากแบบ Catalog หนองมาตรฐาน ของอาเภอไทน้อยซึ่งมีปริมาณดินขุด
จานวน ๒,๒๖๙ ลบ.ม. และคลองไส้ไก่ ยาวประมาณ ๑๐๐ ลบ.ม. รวมคานวณเป็นราคาต่อหน่วยของต้นทุน
โดยใช้ตารางอัตราค่างานดนิ ชลประทานที่พิจารณาจากราคาน้ามันดีเซล ณ วันที่คดิ ราคากลาง เม่ือได้ต้นทุน
ต่อหนว่ ยใหน้ าไปคณู กับคา่ Factor F (อัตราสว่ นของคา่ งานต้นทนุ บวกด้วยค่าใช้จ่ายในการดาเนนิ งานกอ่ สรา้ ง
อันประกอบดว้ ย คา่ อานวยการ คา่ ดอกเบย้ี กาไร และภาษี ซ่ึงได้กาหนดไวเ้ ป็นต่อหนง่ึ หน่วยค่างานของตน้ ทุน
โดยได้กาหนดค่าของ Factor F ไว้ในรูปของตารางเรียกว่า ตาราง Factor F) จึงได้เป็นราคากลาง จานวน
55,700 บาท ซึง่ จะนาไปใชใ้ นการจดั ซอื้ จัดจ้างตอ่ ไป

5.๒.๖ จัดทาบันทึกเสนอขอความเห็นชอบราคากลางจากนายอาเภอ
5.๒.๗ จดั ทารายงานขอซ้อื ขอจา้ งในระบบ egp

- จดั ทาคาส่ังแตง่ ตั้งผคู้ วบคมุ งานและคณะกรรมการตรวจรบั พสั ดุ และหนงั สอื จดั ส่งคาสัง่
- ทาหนังสือเชญิ ชวนผูร้ ับจ้างไม่น้อยกว่า 3 ราย มาเสนอราคา เมื่อได้ผู้รับจ้างแลว้
ให้ต่อรองราคา และจดั ทาเอกสารตอ่ รองราคาไวเ้ ป็นหลกั ฐาน
- รายงานผลการขอซอ้ื ขอจา้ ง ประกาศผลผู้ชนะ

/ - แจง้ ผูร้ บั จ้าง …

-3-

- แจ้งผู้รับจ้างลงนามในสัญญาจ้าง (ผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างลงนามในสัญญาจ้างและ
เอ ก สา ร แน บ ท้ าย สั ญ ญ าจ้ าง ทุ ก หน้ า พ ร้ อ ม ติ ด อ าก ร แสตม ป์ฉบับ จริ ง พั น ละ หน่ึ ง บาท และ ส าเน า ห้าบา ท
ให้เรียบร้อย) เอกสารแนบท้ายสัญญาจ้างประกอบด้วย รายละเอียดแบบขุดปรับแปลงท่ีดิน,ใบเสนอราคา,
ราคากลาง, ใบแจง้ ปริมาณงาน ฯลฯ

5.๒.๘ จดั ทาหนังสือสง่ หลักประกนั สัญญาจ้าง พร้อมเงินสด/เช็ค จานวนร้อยละห้าของจานวน
เงินในสัญญาจา้ งให้จังหวดั ออกใบเสรจ็ เกบ็ ไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน

5.๒.๙ หน่วยงานมีหนังสือแจ้งผู้รับจ้างเข้าดาเนินการตามสัญญา และแจ้งช่างผู้ควบคุมงาน
ทราบการเข้าทางาน

๕.2.10 การบรหิ ารสญั ญา
1) เม่ือผู้รับจ้างเข้าดาเนินการขุดปรับแปลงท่ีดิน ช่างผู้ควบคุมงาน เจ้าของแปลง

ชา่ งผูค้ วบคุมงานฝ่ายผูร้ บั จ้าง ร่วมกันกาหนดจดุ การขดุ ปรบั ตามแบบทีก่ าหนดไว้ในสญั ญา
2) ในการขุดปรับแปลงท่ีดนิ ช่างผู้ควบคุมงานต้องเขา้ ดูหน้างานทุกวันพร้อมถ่ายภาพ

ความก้าวหน้างานเป็นประจา รวมถึงจัดทารายงานประจาวัน รายงานประจาสัปดาห์รายงานความก้าวหน้า
งานต่อคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ

๓) กรณีเกิดปัญหาระหว่างการขุดปรับแปลงท่ีดินให้ช่างผู้ควบคุมงานรายงาน
ต่อกรรมการตรวจรับพัสดุเพ่ือประชุมหารือการแก้ปัญหา เช่น ไม่สามารถขุดปรับแปลงท่ีดินตามแบบฯ ได้
ผู้รั บ จ้ า ง จะ ต้ อ ง ท าห นั ง สื อ แจ้ ง ใ ห้ ช่ าง ผู้ ค ว บ คุม ง า น เ พื่ อ ร า ย ง า น ใ ห้ ค ณ ะ กร ร ม ก า รต ร ว จ รั บพั ส ดุ ท ร า บ
คณะกรรมการตรวจรับก็จะประชุมหารือแก้ไขปัญหา และขออนุมัติเปล่ียนแปลงแบบและขออนุมัติแก้ไข
สัญญาให้เป็นไปตามสภาพหน้างานจริง และผู้รบั จ้างตอ้ งหยุดการทางานจนกว่าแบบจะได้รับอนมุ ัติเรยี บรอ้ ย
ในระหว่างหยุดการทางาน ถ้าหาใกล้หมดสัญญา หรือตอ้ งใชเ้ วลาในการขออนุมัตเิ ปล่ียนแปลงแบบหน่วยงาน
ควรมหี นงั สือสงวนสิทธิ์เวลาการทางานใหผ้ ูร้ ับจ้าง ทัง้ นกี้ ารดาเนนิ การเปล่ยี นแปลงแกไ้ ขแบบและแก้ไขสัญญา
จะตอ้ งดาเนนิ การก่อนหมดสัญญาเทา่ นัน้

4) กรณีผู้รับจ้างส่งมอบงานล่าช้า เลยกาหนดเวลาในสัญญา หน่วยงานต้องมีหนังสือ
แจ้งหมดสัญญาและแจ้งสงวนสิทธ์ิค่าปรับไปยังผู้รับจ้าง และควรมีหนังสือเร่งรัดให้ผู้รับจ้างดาเนินการ
ตามสญั ญาจนกวา่ งานจะแล้วเสร็จ

5) เม่ือผู้รับจ้างดาเนินการตามสัญญาเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้ผู้รับจ้างทาหนังสือ
ส่งมอบงานจ้าง มายงั ผูร้ ับจ้าง

6) เมื่อผู้รับจ้างส่งมอบงานจ้างแล้ว คณะกรรมการตรวจรับพัสดุดาเนินการตรวจรับ
โดยเร็ว พร้อมลงพื้นท่ีตรวจสอบปริมาณดนิ และประชมุ ตรวจรบั งานจ้างเสนอผา่ นหัวหน้าเจ้าหน้าทพี่ สั ดุ

7) สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอลงระบบ egp รายงานผลการส่งมอบงานจ้างและ
ตรวจรบั พัสดุ พรอ้ มรวบรวมเอกสารหลกั ฐานเบิกจา่ ยให้จังหวดั เบกิ จา่ ยเงนิ ให้แกผ่ ูร้ บั จา้ งตอ่ ไป

5.3 การติดตาม/ประเมนิ ผล และประชาสัมพนั ธ์
- ตดิ ตาม/ประเมินผลการดาเนินงานตามโครงการฯ ตัง้ แตก่ ่อนดาเนนิ การ ระหว่างดาเนนิ การ

และหลงั ดาเนินการเพ่อื รบั ทราบปญั หาและกาหนดแนวทางแกไ้ ข
- รายงานผลการดาเนนิ การตามโครงการฯ ให้ผ้บู ังคับบัญชาทราบภายหลงั เสร็จส้นิ โครงการฯ

พร้อมจัดเตรียมเอกสาร/หลักฐานพร้อมภาพถ่ายการดาเนินงานโครงการฯ เพื่อรองรับการตรวจสอบโครงการ
จากหนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ งตอ่ ไป

/ ๖. เทคนคิ ...

-4-

6. เทคนคิ /ข้อพึงระวังนนการปฏิบัติงาน
๖.๑ ในการกาหนดราคากลาง รายละเอียดในราคากลางควรยึดรายการท่ีงบประมาณจัดสรรให้เป็นหลัก

หากงบประมาณไม่ได้กาหนดค่าใช้จ่ายอื่นๆ ไว้ให้ไม่ควรนามาคิดเป็นราคากลาง ซึ่งในการดาเนินการ
ตามโครงการฯ ข้างต้น กาหนดเปน็ ค่าใช้จ่ายในการขดุ ดนิ เทา่ น้ัน

๖.๒ การลงนามในสัญญาจ้าง กรณีเป็นสัญญาเต็มรูปแบบ ถึงแม้จะวิธีการซื้อจ้างจะเป็นวิธี
เฉพาะเจาะจง และมีงบประมาณเพียงเล็กน้อย ผู้มีอานาจลงนามในสัญญาจ้างต้องเป็นหัวหน้าหน่วยงาน
เทา่ นั้น (ระเบยี บฯ ขอ้ ๑๖๑) หัวหนา้ เจา้ หนา้ ทีพ่ ัสดุไม่สามารถลงนามในสญั ญาจา้ งได้

๖.๓ ข้อพึงระวังในการกาหนดขอบเขตการขุดปรับแปลงท่ีดิน จะต้องตีกริดช่องละ 2 เมตร ด้วยเชือกฟาง
และโรยปูนขาวตามแบบให้มีขนาดเทา่ กับแบบหรือมากกว่าเล็กน้อยเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาการขุดดินได้
ปริมาณดินน้อยกว่าแบบ และระหว่างการขุดต้องดาเนินการแบบขุดไปวัดไปเพื่อให้ได้ตามแบบท่ีกาหนด
ไม่ควรกาหนดพ้ืนท่ีการขุดโดยไม่ได้ตีกริดวัดขนาดหรือดาเนินการโดยการประมาณการด้วยตาหรือความรู้สึก
จะทาใหเ้ กดิ ปญั หาในการตรวจรับปรมิ าณดนิ ไม่ไดต้ ามแบบทก่ี าหนด

๖.๔ เน้นย้าให้ช่างผู้ควบคุมงานเข้าควบคุมงานทกุ วันเพ่ือให้การขุดปรับแปลงที่ดินเป็นไปตามแบบที่
กาหนด และรบั ทราบปัญหาหน้างานเพื่อการแกไ้ ขไดท้ ันที

6.5 การเลือกผู้รับจ้างท่มี ีความชานาญในการขุดปรับแปลงทดี่ ินมีความสาคัญมาก เนื่องจากเป็นการ
ขุดดนิ แบบ Free form ซงึ่ เป็นงานทต่ี ้องอาศัยฝมี ือและความชานาญ หากได้ผู้รบั จา้ งที่ไม่เข้าใจและไม่สามารถ
ขุดได้ตามแบบการแก้ไขอาจทาได้ยากจะส่งผลเสยี หายในการดาเนนิ โครงการฯ ดังน้ัน ควรมีการพูดคุยให้กับ
ผรู้ บั จา้ งทีจ่ ะเข้ามารบั งานไดท้ ราบก่อนเลอื กมารับงาน

๖.๖ กรณใี ช้แบบที่เขียนขน้ึ เองไม่ได้ใชแ้ บบมาตรฐาน หรอื Catalog หนอง ของกรมการพฒั นาชมุ ชน
จะต้องมีวิศวกรโยธาระดับสามัญรับรองแบบก่อนดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้าง รวมถึงหากเป็นการขุดดินลึกเกิน
3 เมตร จะต้องดาเนินการขออนุญาตต่อองค์การบริหารส่วนตาบลในพื้นที่ตามพระราชบัญญัติการขุดดิน
และถมดนิ พ.ศ. 2543 และท่เี กย่ี วขอ้ ง

๖.๗ ก่อนดาเนินการขุดปรับแปลงที่ดิน ควรเก็บระยะขอบบ่อหรือพ้ืนที่ 00ให้ครบถ้วนอย่างน้อย
จานวน 4 จุด โดยหาจุดอ้างอิงแบบคงที่ และในระหว่างการขุดปรับต้องรักษาระดับขอบบ่อทุกจุดให้เท่ากัน
และมีการตรวจสอบระดับความกวา้ งของชานพัก แนวลาดเอียง และระดบั ความลึกให้เป็นไปตามแบบท่ีระบไุ ว้
ในสัญญา เพ่อื ป้องกนั ปัญหาการดาเนนิ การไมเ่ ป็นไปตามแบบฯ อนั จะสง่ ผลกระทบต่อการตรวจรบั งานได้

6.8 ภายหลังดาเนินการสง่ มอบงานและตรวจงานเรียบรอ้ ยแลว้ อยา่ งน้อย 30 วนั หนว่ ยงานต้องแจ้ง
ช่างผู้ควบคุมงาน คานวณค่า K (ค่าดัชนีเพ่ือใช้ประกอบการคานวณหา Escalation Factors ( K ) สาหรับ
สัญญาแบบปรับราคาไ ด้ กว ดราคาจ้างก่อ สร้าง "ค่า K "เป็นเครื่องมือ ช่วยเหลือท้ังผู้รับจ้าง
และผู้ว่าจ้าง กล่าวคือ ช่วยลดความเสี่ยงของผู้รับจ้าง กรณีที่ได้รับความเดือดร้อนจากวัสดุก่อสร้าง
มีราคาสูงข้ึน โดยให้ได้รบั การชดเชยในส่วนของผลต่างราคาวัสดุก่อสร้าง ณ วันที่ประกวด ราคาได้ เทียบกับ
วันส่งมอบงานในแต่ละงวด ขณะเดียวกันผู้ว่าจ้าง ใช้"ค่า K" เป็น เคร่ืองมือป้องกันมิให้ผู้รับจ้างเอาเปรียบ
โดยการบวกราคาวัสดุก่อสร้างเผ่ือการเปล่ียนแปลงไว้ล่วงหน้ามากจนเกินไป) โดยเมื่อคานวณออกมาแล้ว
พบว่าผู้ว่าจ้างต้องเสียเงินชดเชยแก่ผู้รับจ้าง ให้ผู้รับจ้างทาเร่ืองขอรับเงินชดเชย ภายใน ๙๐ วันนับแต่
วนั ส่งมอบงานงวดสุดทา้ ย หากพ้นกาหนดน้ีไปแล้วผู้รับจ้าง ไม่มีสิทธิ์ท่ีจะเรียกร้องเงินชดเชยค่างานก่อสร้าง
จากผวู้ า่ จ้างไดอ้ ีกตอ่ ไป กรณคี านวณแลว้ ผรู้ ับจ้างต้องเสียเงินชดเชยใหก้ บั ผูว้ ่าจ้าง หน่วยงานเจ้าของโครงการฯ
ต้องเรยี กร้องเอาจากผู้รบั จา้ งได้โดยไม่จากัดห้วงเวลาจนกวา่ จะไดร้ ับชาระจนครบตามจานวนทค่ี านวณได้

/ 6.๙ ควรระบุ ...

-5-

6.๙ ควรระบุค่าพิกัด GPS สถานที่ดาเนินการขุดปรับแปลงท่ีดินในแบบรายการแนบท้ายสัญญาจ้าง
เพ่ือแจ้งตาแหนง่ ของสถานท่ีดาเนินการตามโครงการฯ

7. ปใั หาท่ีพบและแนวทางการแก้ไขปัใหา
๗.๑ การขอบุคลากรด้านช่างเพื่อร่วมดาเนินการตามโครงการฯ ไม่ได้รับความร่วมมือเท่าที่ควร

เน่ืองจากองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในพื้นที่ดาเนินโครงการฯ มีภารกิจงานเร่งด่วนหลายงาน จึงปฏิเสธการให้
ความร่วมมือ แนวทางแก้ไขปัญหา ดาเนินการแก้ไขโดยอาศัยการสร้างความสัมพันธ์กับองค์การบริหารส่วนตาบล
อื่นๆ ใกลเ้ คยี งและได้รับความรว่ มมือเป็นอยา่ งดี

7.2 เนื่องจากเป็นโครงการท่ีกรมการพัฒนาชุมชนยังไม่เคยมีประสบการณ์ในการทามาก่อน ทาให้
เป็นปัญหาต่อการจัดทาเอกสารประกอบการจัดซ้ือจัดจ้าง และขั้นตอนการดาเนินการอื่น ๆ แนวทางแก้ไขปัญหา
สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ ได้ประสานขอคาปรึกษาในแนวทางการดาเนินงานท้ังในส่วนของหน่วยงาน
กรมการพัฒนาชุมชนในหลาย ๆ พ้ืนที่ รวมถึงหน่วยงานอื่นๆ ที่มีความเชี่ยวชาญงานด้านการก่อสร้าง
และนาเอาคาแนะนาที่ได้รับมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานโดยยึด ถือการดาเนินการตามหลักการของระเบียบ
ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง

8. ประโยชนข์ ององค์ความรู้
เพื่อใช้เป็นแนวทางในการขับเคล่ือนการดาเนินโครงการพัฒนาพ้ืนท่ีต้นแบบการพัฒนาคุณภาพ

ชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยกุ ตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล” โดยเฉพาะการขดุ ปรับแปลงท่ีดิน จากตัวอย่างข้างต้น
เป็นเพียงการดาเนินการ จานวน 1 จุด อาจไม่ใช่สูตรสาเร็จตายตัว โดยผู้จัดทาองค์ความรู้ ได้รวบรวมจากวิธีการ
ปฏิบัติจริง รวมถงึ ข้อท้วงติงและขอ้ เสนอแนะจากสานักตรวจเงินแผ่นดินจังหวดั นนทบรุ ี โดยสามารถนาไปปรบั ใชก้ ับ
พ้ืนที่อนื่ ๆ ได้ตามความเหมาะสม

แบบบนั ทกึ องคค์ วามรู้

1. ชอื่ องค์ความรู้ การเสริมสรา้ งกองทนุ ชุมชนตามหลักธรรมาภบิ าล
2. ชอื่ – สกลุ นางสาวนฤมล มสี มบรู ณ์
ตาแหนง่ นักวชิ าการพฒั นาชุมชนชานาญการ
สงั กัด สานักงานพฒั นาชุนอาเภอไทรน้อย
เบอรโ์ ทรศัพท์ 09-3260-6514
3. องค์ความรูท้ ่บี ่งช้ี

กองทนุ ชมุ ชนเข้มแขง็ ตามหลักธรรมาภบิ าลและสมาชกิ สามารถเขา้ ถงึ แหลง่ เงนิ ทุน
4. ทม่ี าและความสาคญั ในการจัดทาองคค์ วามรู้

กรมการพัฒนาชมุ ชน เป็นหน่วยงานหลกั ในการส่งเสรมิ การบริหารจดั การชมุ ชนให้เขม้ แขง็ อย่างยั่งยนื
ตามภารกิจในการขับเคลื่อนวิสัยทัศน์ กรมการพัฒนาชุมชน “เศรษฐกิจฐานรากม่ันคง ชุมชนพ่ึงตนเองได้
ภายในปี 2565” ในประเด็นการพฒั นาเสริมสร้างทนุ ชุมชนให้มปี ระสิทธิภาพ และมีธรรมาภิบาล ทนุ ชมุ ชนใน
ความรับผิดชอบของกรมการพัฒนาชุมชน คือ กลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต และกองทุนโครงการแก้ไขปัญหา
ความยากจน (กข.คจ.)

การเพ่ิมศักยภาพเศรษฐกิจฐานราก ด้วยการส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อ
การผลิต เพื่อแก้ไขปัญหาด้านการเงินในการลงทุนประกอบอาชีพของประชาชน และการจัดสวัสดิการชุมชน
โดยพัฒนากรผูป้ ระสานงานตาบล ทาหน้าทเี่ ปน็ กลไกในการส่งเสรมิ สนับสนุน ขับเคลอื่ นกองทุนชุมชนให้บรรลุ
เป้าหมาย เศรษฐกิจฐานรากเข้มแข็งด้วยการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ส่งเสริมให้เกิดการออม และส่งเสริมให้
ประชาชนในชุมชน สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนท่ีมีอยู่เพื่อนาเงินทุนไปประกอบอาชีพในการสร้างรายได้ให้แก่
ครัวเรอื น
5. รูปแบบ กระบวนการลาดบั ขั้นตอน
1. จัดต้ังทีมคู่หู คู่คิด (Move for fund team)
2. สารวจข้อมลู และจดั ทาทะเบยี นกองทุนชุมชนในพื้นท่ี
3. จัดทาแผนปฏิบัติการส่งเสริมการตรวจสุขภาพทางการเงินกองทุนชุมชนด้วยแบบประเมินศักยภาพตาม

หลักธรรมาภิบาล
4. จัดเวทีประชุมเชิงปฏิบัติการ Mobile Clinic สร้างสุขกองทุนชุมชน ช้ีแจงสร้างความเข้าใจแก่

คณะกรรมการ และสมาชกิ
5. นดั ตรวจสุขภาพกองทนุ ชมุ ชนตามแผนปฏิบตั กิ าร
6. ชแี้ นะแนวทางการแก้ไขข้อทไี่ มผ่ า่ นการตรวจสุขภาพ
7. วางแผนปฏิบัตกิ ารอบรมคณะกรรมการ
8. คณะกรรมการได้รบั ความรแู้ ละทกั ษะการบริหารจัดการ การจดั ทาบญั ชี และทะเบียนต่าง ๆ
6. เทคนิคในการปฏบิ ัตงิ าน

- เลอื กทีมคู่หู ค่คู ดิ (Move for fund team) ท่ีมคี วามชานาญใหค้ รอบคล่มุ ทกุ ดา้ น
- การนาความคดิ เห็นและประสบการณ์ ของแต่ละกลุ่มทปี่ ระสบความสาเรจ็ มาถา่ ยทอดเพ่ือใหเ้ กดิ การ
แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ร่วมกัน

-2-

7. ปญั หาที่พบและแนวทางแกไ้ ขปญั หา
คณะกรรมการไม่มคี วามรพู้ ืน้ ฐานในการจดั ทาบัญชี
แนวทางแกไ้ ข จดั ทีมคูห่ ูคคู่ ิดท่ีมคี วามรูใ้ นการจดั ทาบญั ชี ไปสอนแนะใหท้ กี่ ล่มุ

8. ประโยชนข์ ององคค์ วามรู้
1) ส่งเสรมิ ให้กองทนุ ชมุ ชนมกี ระบวนการบริหารจัดการตามหลกั ธรรมาภิบาล
2) สง่ เสริมใหป้ ระชาชนเขา้ ถึงแหล่งเงินทนุ
3) สร้างขวัญ กาลังใจ และประกาศความสาเร็จให้กบั กองทนุ ท่ีมีการบรหิ ารจัดการดเี ด่น

--------



แบบบนั ทึกองคค์ วามรู้รายบคุ คล
1. ชือ่ องค์ความรู้ การบริหารจดั การเงนิ ยมื โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ. )
2. เจา้ ของความรู้ นางสาวสุชาลี ทองดี
3. องค์ความรู้ทีบ่ ง่ ชี้ (เลือกไดจ้ านวน 1 หมวด)

หมวดท่ี 1 สรา้ งสรรคช์ มุ ชนพ่งึ ตนเองได้
แ หมวดที่ 2 สง่ เสริมเศรษฐกจิ ฐานรากใหข้ ยายตัวอยา่ งสมดุล
√ หมวดที่ 3 เสรมิ สร้างทุนชุมชนให้มธี รรมาภิบาล

หมวดท่ี 4 เสรมิ สร้างองคก์ รให้มขี ีดสมรรถะสงู
4. ทมี่ าและความสาคัญในการจัดทาองคค์ วามรู้

โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) เป็นการสนับสนุนเงินทุนให้ระดับหมู่บ้านแล้วมอบอานาจและ
หน้าที่ความรับผิดชอบให้องค์กรประชาชนในหมู่บ้านเป็นผู้บริหารจัดการเงินทุนให้หมุนเวียนอยู่ในหมู่บ้าน
ตลอดไป โดยสนับสนุนเงินทุนเพ่ือประกอบอาชีพแก่ครัวเรือนเป้าหมาย หมู่บ้านละ 280,000 บาท โดยไม่มี
ดอกเบ้ีย และมีเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนเป็นผู้ส่งเสรมิ สนบั สนุนตรวจสอบ และติดตามการดาเนินงานโครงการ กข.คจ.
ใหม้ ีประสทิ ธิภาพ

จากการตดิ ตามผลการดาเนนิ งาน หมูบ่ ้าน กข.คจ. หมทู่ ่ี 2 ตาบลคลองขวาง อาเภอไทรนอ้ ย พบวา่ ครัวเรือน
เป้าหมายยืมเงินบางราย ไม่ปฏิบัติตามสัญญาตามเง่ือนเวลาท่ีกาหนด ดังนั้น เพ่ือเป็นการป้องกันความเส่ียงท่ีอาจจะ
เกิดความเสียหาย จึงจาเป็นต้องมีแนวทาง/กระบวนการ ในการบริหารจัดการและวิธีป้องกันท่ีดี อันก่อให้เกิด
ประโยชนแ์ ก่สมาชิกและชุมชนตอ่ ไป

5. รูปแบบ กระบวนการลาดบั ขน้ั ตอน
1) จัดทาฐานข้อมูลครัวเรือนเป้าหมาย หมู่บ้าน กข.คจ. เพื่อให้ทราบรายละเอียดต่างๆ ของการกู้ยืมเงิน
และแยกรายละเอียด
- หนี้เกนิ สัญญา
- หนี้อยรู่ ะหวา่ งสัญญา
2) ประชุมคณะกรรมการโครงการ กข.คจ. หมู่บ้าน เพ่ือรายงานภาวะหนี้สินและฐานะการเงินโครงการ
แก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) เพื่อให้คณะกรรมการหมู่บ้าน กข.คจ. ได้ทราบฐานะการเงิน และ
รายงานปัญหา/อปุ สรรค
3) จดั เวทตี รวจสขุ ภาพทางการเงนิ โครงการแก้ไขปญั หาความยากจน (กข.คจ.) โดยลงพนื้ ท่ีเป้าหมายตดิ ตาม
ตรวจสอบ ส่งเสริม และให้ข้อเสนอแนะแก่กลุ่ม พร้อมประเมินการตรวจสุขภาพทางการเงินโครงการ
แก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.
4) ประชุมคณะกรรมการฯ ร่วมประชุมเพื่อร่วมทาแผน/กิจกรรม เพ่ือขับเคลื่อนการดาเนินงานเพ่ือให้ผ่าน
ตัวช้ีวดั ทตี่ กเกณฑ์ และร่วมกนั ปฏบิ ัติตามแผน/กจิ กรรมที่กาหนด
5) ติดตามลูกหน้ี เช่น จัดทาหนังสือขอเชิญประชุมเพ่ือแก้ไขปัญหาพร้อมท้ังคณะกรรมการหมู่บ้าน กข.คจ.
และพัฒนากร ออกเยี่ยมเยียนบ้านสมาชิกผู้กู้ เพ่ือให้กาลังใจ,รับทราบปัญหาและให้คาแนะนาพร้อมหา
แนวทางการแก้ไขปัญหารว่ มกัน
6) จัดทาหนงั สอื แจง้ เตอื น และทวงถาม เรง่ รดั การชาระหน้ี
7) รางานผลการดาเนนิ งานให้ผ้บู ังคบั บัญชา และดาเนนิ การตามกฎหมาย

-2-

6. เทคนคิ ในการปฏบิ ัตงิ าน
1) พฒั นากรประสานงานตาบล ตอ้ งศกึ ษาและดาเนินการตามระเบยี บ,คูม่ ือ,แนวทาง จากกรมการพฒั นา-

ชมุ ชน และอาจตอ้ งรวบรวมข้อมูล/เอกสารตา่ งๆ หากต้องดาเนนิ คดตี ามกฎหมาย
2) ศกึ ษาปัญหา ทม่ี าทไี่ ปของปญั หาของลกู หน้ี รวมท้งั ความรนุ แรงของปญั หา และตอ้ งเตรยี ม

ขอ้ มลู เพ่อื รว่ มกันหาทางแก้ไขปัญหา
3) ต้องตดิ ตาม/พบปะสมาชกิ กล่มุ ที่มปี ญั หา เพอ่ื รับทราบปญั หา,ส่งเสรมิ สนับสนนุ ช่วยเหลือ

เป็นกาลงั ใจใหแ้ ก่กันและกนั และประเมินผลอยา่ งตอ่ เน่ือง เพ่ือแกไ้ ขปญั หาไดอ้ ยา่ งทว่ งทใี นระดบั พื้นที่
4) ป้องการความเสี่ยง ชี้แจงทาความเข้าใจแก่ลูกหน้ี ถึงเรื่องแนวทางของกรมการพัฒนาชุมชน และ
กฎหมายท่ีเกย่ี วข้อง
5) ทางานแบบบรูณาการร่วมกบั คณะทางานระดบั ตาบลและระดับอาเภอ

7. ปญั หาทีพ่ บและแนวทางการแกไ้ ขปัญหา
1) ลูกหน้ไี ม่อยบู่ า้ น/ติดต่อไมไ่ ด้ แนวทางการแกไ้ ขปัญหา ตอ้ งประสานผนู้ าชมุ ชนในพน้ื ที่

เพอ่ื ประชาสมั พนั ธ์ นดั หมาย/ประสานงาน/แจง้ ขอ้ มลู หรือร่วมออกตดิ ตามพรอ้ มเจ้าหน้าท่ี
2) ลกู หนี้ไม่ให้ความรว่ มมือ ไม่มาพบ ไมร่ ่วมประชุม แนวทางแกไ้ ขปญั หา จดั ทาหนังสอื เชญิ

สมาชิกทุกคนร่วมประชุม จานวน 3 คร้ัง และออกติดตามลงพ้ืนท่ีบ้านลูกหน้ี เพื่อชี้แจงแนวทางแก้ไขปัญหาฯ หาก
เพิกเฉยแจง้ จังหวัดดาเนนิ การทางกฎหมาย

3) ลูกหน้ีบางรายต้องการเพ่ิมรายได้ ควรร่วมหาแนวทางแกไ้ ขปญั หา รว่ มกบั ภาคกี ารทางาน
แนะนาการข้ึนทะเบียนผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ หนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ หรือขึ้นทะเบียนกลุ่มวิสาหกิจชุมชน,
การตลาด,การพัฒนาผลิตภัณฑ์,การเข้าถึงแหล่งทุนชุมชน,การเพิ่มสมรรถนะ/ความรู้ความสามารถ หรือแนะนา
เครือขา่ ยกลมุ่ อาชีพตา่ งๆ



แบบบันทึกองค์ความรรู้ ายบุคคล

1. ชือ่ องค์ความรู้ เทคนคิ การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การพฒั นาผลิตภณั ฑส์ นิ คา้ ชมุ ชน

2. ช่อื เจ้าของความรู้ ว่าที่ ร.ต.หญิง ณัชชา โกสากุล ตาแหนง่ นกั วิชาการพัฒนาชมุ ชนปฏบิ ัติการ

3. องคค์ วามรทู้ บ่ี ่งชี้

เทคนคิ การส่งเสรมิ และสนับสนุนการพัฒนาผลติ ภัณฑส์ ินค้าชุมชน

4. ท่ีมาและความสาคัญในการจดั ทาองคค์ วามรู้

ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๗๙) มกี รอบแนวคดิ ด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน
ทม่ี ุ่งเนน้ การพัฒนาภาคการผลิตและบรกิ ารให้สามารถแขง่ ขันได้ เกิดความยง่ั ยนื ประชาชนมคี ุณภาพชีวิต และมี
รายได้ท่ีดขี ้ึน รวมทง้ั แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๓
การสรา้ งความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อยา่ งยงั่ ยืน มแี นวทางเสรมิ สรา้ งขดี ความสามารถการแขง่ ขัน
ในเชิงธุรกจิ ของภาคบริการ และพนั ธกจิ กระทรวงมหาดไทย ขอ้ ๔ เสรมิ สร้างความเข้มแขง็ ของชุมชนและ
เศรษฐกจิ ฐานราก โดยการมสี ่วนรว่ มของทกุ ภาคสว่ นภายใตห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงตลอดจนภารกจิ
อานาจหน้าที่ของกรมการพัฒนาชมุ ชน ในการส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรแู้ ละการมีส่วนรว่ มของประชาชน
ส่งเสรมิ และพัฒนาเศรษฐกจิ ชมุ ชนฐานรากใหม้ คี วามม่นั คง รวมทง้ั เสรมิ สรา้ งความสามารถและความเข้มแข็ง
ของชุมชน

ปัจจบุ ันรฐั บาลมนี โยบายลดความเหลอื่ มล้าของสังคมท่ีมุ่งเนน้ สรา้ งรายได้และความเจรญิ ความเขม้ แขง็
ทางเศรษฐกจิ โดยใหภ้ าคเอกชนและภาคประชาชนเขา้ มามีสว่ นรว่ มดาเนนิ การรว่ มกับภาครฐั เพือ่ ให้บรรลุ
วิสัยทัศน์ ม่นั คง มัง่ คั่ง ยั่งยนื

ดงั นั้น จาเปน็ ต้องมกี าร บูรณาการกันระหว่างภาครฐั และภาคเอกชน ทีจ่ ะส่งเสรมิ สนับสนุนใน
การพฒั นาผลิตภณั ฑช์ ุมชนให้สามารถจาหน่ายได้ โดยใช้เสน่ห์ ภมู ิปญั ญา วิถีชวี ิต วฒั นธรรม และความคิด
สร้างสรรค์แปลงเป็นรายได้ และมีมูลค่าเพมิ่ ให้กบั ผลติ ภัณฑ์ชุมชน เมื่อ คนในชมุ ชนจาหน่ายผลติ ภณั ฑไ์ ด้ เริ่มมี
รายได้ อันจะทาให้ชมุ ชน มีความสขุ เปน็ การสร้างความเข้มแขง็ ใหก้ บั ชุมชน ( Strength with in) และเปน็
การพฒั นาเศรษฐกิจฐานรากอยา่ งแท้จรงิ

6. เทคนคิ ในการปฏิบตั งิ าน

๑. คน้ หาผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนเดน่ ทีส่ ามารถพัฒนาได้ และเชญิ ชวนให้มาขึ้นทะเบยี นหนง่ึ ตาบล หนง่ึ
ผลิตภณั ฑ์ (OTOP) หรือตรวจสอบในฐานขอ้ มลู OTOP จากศูนย์ข้อมูลกลาง คน้ หาผลติ ภัณฑท์ ย่ี งั ไม่ไดร้ ับการ
พัฒนา (Quadrant D) เพอื่ รองรับการสง่ เสรมิ สนับสนุนจากหนว่ ยงานราชการ หรือภาคเอกชน ในการพฒั นา
ศักยภาพผ้ผู ลิต ผ้ปู ระกอบการ ผลิตภัณฑ์ และบรรจภุ ณั ฑ์

๒. ประสานภาคีเครือขา่ ยภาครฐั ภาคเอกชน ท่ีมีงบประมาณทจ่ี ะส่งเสริม สนบั สนุน การพัฒนา
ผลิตภณั ฑส์ นิ ค้าชมุ ชน

/๓.ประสานทีม…

-๒-

๓. ประสานทีม คณะผ้วู จิ ัย สาขาวิชา การออกแบบผลติ ภัณฑอ์ ุตสาหกรรมสาขาวิชาการออกแบบบรรจุ
ภณั ฑแ์ ละการพิมพ์สาขาวชิ าสถาปตั ยกรรมคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี
ราชมงคลพระนคร ที่ในการเป็นหนว่ ยงานหลักในการวิจัยผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน เพอ่ื เสนอ โครงการตอ่ สานักงานการ
วิจัยแหง่ ชาติ (วช.) หากโครงการฯ ผา่ น ผลิตภณั ฑช์ ุมชนจะไดร้ บั การพฒั นา และมีนวตั กรรมใหมๆ่ ใหก้ บั
ผลติ ภณั ฑช์ ุมชน เป็นการเพมิ่ มูลค่าของผลิตภณั ฑ์ชุมชน

๔. ประสาน และตดิ ตามโครงการอย่างสมา่ เสมอ

7. ปัญหาท่ีพบและแนวทางการแกไ้ ขปญั หา

จากสถานการณโ์ ควดิ – ๑๙ ส่งผลกบั การพจิ ารณาโครงการดงั กล่าว

๘. ประโยชนข์ ององค์ความรู้

องค์ความรนู้ ีท้ าให้ทราบว่า การสง่ เสริม สนับสนนุ ในการพัฒนาผลิตภณั ฑช์ ุมชน ไม่จาเป็นตอ้ งรอ
งบประมาณจากทางหนว่ ยงานราชการอยา่ งเดียว สามารถประสาน บูรณาการกบั ทางมหาวิทยาลยั ที่มีบริการงาน
วชิ าการใหก้ บั ชุมชนในการพฒั นาผลิตภัณฑช์ ุมชน อันจะทาใหเ้ กิดประโยชน์กับชุมชนได้ต่อไป



แบบบันทึกองค์ความรู้รายบคุ คล

1. ชื่อชุดความรู้ การเสนอโครงการกองทนุ พฒั นาบทบาทสตรี ประเภทเงินทุนหมนุ เวียน
2. ชือ่ เจ้าของความรู้ นางสาวธนัตถ์ธดิ ากร เทพภูธร
3. ตาแหนง่ นักวิชาการพฒั นาชุมชนปฏิบตั ิการ
4. สงั กดั สานกั งานพัฒนาชุมชนอาเภอไทรน้อย จังหวดั นนทบุรี
5. องค์ความรู้ทบี่ ง่ ชี้

 หมวดที่ 1 สร้างสรรค์ชมุ ชนพ่งึ ตนเองได้
 หมวดท่ี 2 สง่ เสริมเศรษฐกิจฐานรากให้ขยายตัวอย่างสมดลุ
 หมวดที่ 3 เสริมสร้างทุนชุมชนใหม้ ีธรรมาภบิ าล
 หมวดที่ 4 เสริมสรา้ งองค์กรใหม้ ขี ีดสมรรถนะสงู
6. ทีม่ าและความสาคัญในการจัดทาองค์ความรู้
กองทนุ พฒั นาบทบาทสตรเี ป็นนโยบายของรฐั บาล ไดจ้ ัดตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีขึ้น มีวัตถปุ ระสงค์
สาคญั เพื่อเปน็ แหลง่ เงนิ ทนุ หมุนเวียนดอกเบยี้ ตา่ ในการสร้างโอกาสให้สตรเี ข้าถงึ แหลง่ ทุนในการพัฒนาอาชพี
สร้างงาน สร้างรายได้ และการดูแลปัญหาของสตรี ตลอดจนการชว่ ยเหลอื เยยี วยาสตรีที่ประสบปญั หาในทกุ
รปู แบบ ซงึ่ สตรีท่วั ไปหรือสมาชกิ ทส่ี นใจอยากขอรับการสนับสนุนเงนิ ทนุ หมนุ เวียนในปจั จุบนั พบว่า ยังไม่ทราบถงึ
การสมัครสมาชิกกองทนุ พฒั นาบทบาทสตรี รวมถึงสมาชิกสตรีบางรายยังไม่ทราบข้ันตอนในการจดั ทาเอกสาร
เพื่อย่ืนขอรับการสนบั สนนุ เงินทนุ หมุนเวียน ดังนั้นเพ่ือให้สตรีที่สนใจหรือสมาชิกที่มีความประสงค์อยากกู้
เงินทุนหมนุ เวยี นทุกคนเขา้ ใจหลกั เกณฑ์ เงอ่ื นไขและปฏบิ ัตติ ามแนวทางได้ จงึ จาเป็นต้องมีการจัดทาข้ันตอนการ
เสนอโครงการกองทุนพฒั นาบทบาทสตรี ประเภทเงนิ ทนุ หมนุ เวียน เพือ่ เปน็ ประโยชน์ใหส้ ตรีสามารถเขา้ ถึงแหล่ง
เงนิ ทนุ ไดง้ ่าย รวมถึงคณะทางานในระดับต่างๆ และเจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนต้องมีการดาเนินงานให้ถูกต้อง
ตามระเบียบของกองทุน
7. รูปแบบ กระบวนการ หรือลาดบั ข้ันตอน
7.1 จัดประชมุ คณทางานขบั เคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรตี าบล/เทศบาลทุกท่ี และคณะอนกุ รรรม
การกล่ันกรองและติดตามการดาเนนิ งานกองทนุ พฒั นาบทบาทสตรีอาเภอ ทาความเขา้ ใจถึงวธิ กี ารดาเนินงาน
เพอื่ ใหเ้ ป็นแนวทางเดียวกนั เก่ยี วกบั วธิ ีการ ขั้นตอนการดาเนินงาน เอกสาร หลักฐานท่ีตอ้ งยื่นเสนอมาเพื่อนาไป
ประกอบการพจิ ารณาการขอรับการสนับสนนุ เงิน
7.2 จดั ประชุมชีแ้ จงสมาชกิ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีหรอื ประชาชนท่ัวไปทต่ี ้องการเข้าถงึ แหลง่ ทุน
ให้ทราบถงึ นโยบาย ขนั้ ตอนการสมคั รเป็นสมาชิกรวมถึงการเสนอโครงการให้มีความเข้าใจและถกู ตอ้ งตรงกัน

/7.3 สมาชิกผู้ขอ…

-2–

7.3 สมาชกิ ผู้ขอกู้เงินต้องส่งโครงการผ่านคณะทางานขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรตี าบล/เทศบาล

คณะอนุกรรมการกล่ันกรองและติดตามการดาเนินงานองทุนพัฒนาบทบาทสตรีอาเภอ คณะทางาน

ขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด และคณะอนุกรรมการกลั่นกรองและติดตามการดาเนินงาน

กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด ตามลาดับ โดยมีข้ันตอนดังนี้

7.3.1 ยน่ื ขอรับการสนับสนนุ โครงการ

(1) กลมุ่ ผู้ขอกรู้ วมกลมุ่ ไมเ่ กนิ 5 คน จานวนเงนิ ไม่เกิน 200,000 บาท และเขยี นเสนอ

โครงการตามแบบส.01 แบบเสนอโครงการประเภทเงนิ ทุนหมุนเวยี น (เงนิ กู้)

(2) ตอ้ งเป็นสมาชกิ กองทุนพฒั นาบทบาทสตรีเทา่ นั้น

(3) กรณี เชา่ สถานที่ ให้แนบสญั ญาเช่าประกอบการพจิ ารณา

(4) กรณี วัสดอุ ปุ กรณท์ ต่ี ้องการซื้อเกนิ 5,000 บาท/ชิ้นขน้ึ ไป ให้แนบใบเสนอราคาจากทา

ร้านคา้ ประกอบการพิจารณา

(5) กรณจี า้ งผูเ้ ช่ยี วชาญในงานนัน้ นอกเหนือจากคนในกลุ่มใหแ้ นบสัญญาจา้ งพร้อม

รายละเอยี ดการจ้าง จานวน ราคาวสั ดุ รปู แบบในการจ้าง และบัตรประชาชนของผถู้ ูก

จ้าง จานวน 1 ฉบบั

(6) สาเนาบัตรประชาชน สาเนาทะเบยี นบ้าน อย่างละ 1 ฉบับ

(7) กรณที ่ีอย่ไู ม่ตรงกบั บัตรประชาชนใหก้ รอกทอี่ ยู่ปจั จุบนั ไวก้ ับสาเนาบตั รประชาชน

(8) กรณที ะเบยี นบ้านไม่ได้ระบุอยู่ในพ้นื ท่ีต้องใหผ้ ้ใู หญบ่ า้ นลงลายมือชือ่ ในแบบรับรองการ

ประกอบอาชีพในพ้นื ที่ทีย่ น่ื ขอกูเ้ งนิ เทา่ น้ัน พร้อมแนบสาเนาบัตรประชาชน

จานวนอย่างละ 1 ฉบบั

(9) กรณอี ายไุ ม่ถึง 20 ปบี ริบรู ณ์ให้ผู้ปกครองลงลายมือชอ่ื ในแบบยนิ ยอมการกเู้ งินพร้อม

แนบสาเนาบตั รประชาชนผู้ปกครอง จานวนอย่างละ 1 ฉบับ

(10)แนบรูปภาพกจิ กรรมการดาเนนิ การประกอบอาชพี ของกลุ่มเพ่ือประกอบการพิจารณา

7.3.2 พจิ ารณาอนุมตั โิ ครงการ
ระดบั ตาบล
(1) ย่นื เอกสารต่อคณะทางานขับเคลือ่ นกองทุนพฒั นาบทบาทสตรตี าบล/เทศบาล
(2) คณะทางานขับเคล่ือนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตาบล/เทศบาล ประชุมพิจารณาและลง
พน้ื ที่ตรวจสอบโครงการเบื้องตน้
(3) คณะทางานขับเคลื่อนกองทุนพฒั นาบทบาทสตรตี าบล/เทศบาลส่งเอกสารแบบส.01
และรายงานการประชมุ และแนบแบบส.02แบบความเห็นของคณะทางานตาบล/
เทศบาลให้กับเจา้ หน้าพฒั นาชุมชนทท่ี ร่ี ับผิดชอบตาบล/เทศบาลนนั้
/ระดบั อาเภอ…

-3–

ระดับอาเภอ
(4) เจ้าหนา้ พัฒนาชุมชนทรี่ ับผดิ ชอบตาบล/เทศบาลน้ันทาการตรวจเอกสารให้ถูกตอ้ งและ
สง่ ใหเ้ จา้ หน้าท่ีพฒั นาชมุ ชนที่รบั ผิดชอบงานกองทุนพฒั นาบทบาทสตรีอาเภอพร้อมลง
พนื้ ทร่ี ่วมกันเพื่อพิจารณาโครงการและถ่ายรูปสถานท่ีดาเนินการกับสมาชกิ ผู้กู้ทุกคน
(5) เจ้าหนา้ ที่พฒั นาชุมชนท่ีรับผิดชอบงานกองทุนพฒั นาบทบาทสตรีอาเภอ เตรียมเอกสาร
วาระการประชุม และจัดประชมุ คณะอนกุ รรมการกลัน่ กรองและติดตามการดาเนนิ งาน
กองทนุ พัฒนาบทบาทสตรีอาเภอเพ่ือพิจารณาโครงการทีย่ น่ื ขอรับการสนับสนนุ เงินทุน
หมุนเวียนประจาเดือน พร้อมทัง้ ประสานผู้กู้ทุกรายใหเ้ ข้ารว่ มการประชมุ เพ่ือนาเสนอ
โครงการและตอบข้อซักถาม
(6) คณะอนกุ รรมการกลน่ั กรองและตดิ ตามการดาเนินงานกองทุนพฒั นาบทบาทสตรอี าเภอ
สามารถพิจารณาเหน็ ชอบจานวนเงินทีข่ อรบั การสนบั สนนุ มาทัง้ หมดหรือสามารถเพ่ิม
หรอื ตดั รายการบางอย่างออกได้เม่ือเห็นวา่ มคี วามจาเปน็ มากกวา่ นัน้ หรือไมม่ ีความ
จาเป็น และเจา้ หนา้ ท่ีพฒั นาชมุ ชนท่ีรับผดิ ชอบงานกองทุนพฒั นาบทบาทสตรอี าเภอใน
ฐานะเลขานกุ ารอนุกรรมการทาการสรุปจานวนเงินของแต่ละโครงการตามที่ประชุม
อนมุ ัติในแบบ ส.01 หนา้ 4 ในชอ่ งอาเภออนุมตั ิ พร้อมทัง้ ลงลายมือชอื่ รับรอง
(7) ผกู้ ูท้ กุ คนต้องลงลายมอื ช่ือ ท่ีอยู่ เบอรโ์ ทรศัพท์ ชือ่ โครงการ และยนื ยันการขอกู้เงนิ จริง
ในแบบยนื ยันการขอกูย้ ืมเงิน
(8) เจ้าหนา้ ที่พฒั นาชมุ ชนที่รับผิดชอบงานกองทนุ พัฒนาบทบาทสตรีอาเภอจัดทา
เอกสารรายงานการประชมุ พรอ้ มรปู ถา่ ยระหวา่ งการประชุมของคณะอนกุ รรมการ
กล่ันกรองและตดิ ตามการดาเนนิ งานกองทนุ พัฒนาบทบาทสตรีอาเภอ
(9) จัดทางบหน้าย่นื โครงการขอรับการสนบั สนนุ เงนิ ทุนหมนุ เวียน
(10) จดั ทางบหน้าความเหน็ ของคณะอนุกรรมการกล่นั กรองและติดตามการดาเนินงาน
กองทนุ พฒั นาบทบาทสตรอี าเภอและแบบส.03แบบความเหน็ ของคณะอนกุ รรมการ
กล่ันกรองและติดตามการดาเนินงานกองทนุ พัฒนาบทบาทสตรี
(11) จัดทาหนังสือนาส่งและเอกสารท้งั หมดสง่ จงั หวัดดาเนนิ การต่อไป

/ระดบั จังหวัด…

-4–

ระดับจงั หวดั
(12) มอบหมายให้เจ้าหน้าท่ีพฒั นาชุมชนทีร่ บั ผดิ ชอบงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรอี าเภอ
รว่ มให้ข้อมลู และตอบข้อซกั ถามเกยี่ วกบั ตัวโครงการ
(13) คณะทางานขบั เคลอื่ นกองทุนพฒั นาบทบาทสตรจี งั หวัด พจิ ารณาอนมุ ตั โิ ครงการตาม
เอกสาร สามารถพจิ ารณาเหน็ ชอบจานวนเงินท่ีขอรบั การสนบั สนุนมาทง้ั หมดจาก
อาเภอหรอื สามารถเพมิ่ หรือตัดรายการบางอยา่ งออกได้เม่ือเหน็ วา่ มีความจาเปน็
มากกวา่ นน้ั หรอื ไม่มีความจาเปน็ เลขานุการสรปุ ยอดเงนิ ของแตล่ ะโครงการตามท่ี
ประชุมอนุมตั ิในแบบ ส.01 หน้า 4 ในชอ่ งคณะทางานจังหวัดอนมุ ัติ พร้อมท้ังให้
หวั หน้าคณะทางานขับเคล่ือนกองทนุ พฒั นาบทบาทสตรจี ังหวดั ลงลายมอื ชื่อรับรอง
(14) แนบแบบส.04ความเหน็ ของคณะทางานขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรจี งั หวดั
ประเภท เงินทุนหมนุ เวยี น (เงนิ ก)ู้
(15) เจ้าหนา้ ท่กี องทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวดั จดั ประชมุ คณะอนกุ รรมการกล่นั กรองและ
ตดิ ตามการดาเนนิ งานกองทุนพฒั นาบทบาทสตรีจงั หวดั เพื่อพจิ ารณาอนุมัติโครงการ
ในขัน้ ตอนสดุ ทา้ ย
(16) เจา้ หน้าท่พี ฒั นาชมุ ชนทีร่ บั ผิดชอบงานกองทุนพฒั นาบทบาทสตรีอาเภอประสานผ้แู ทน
โครงการอย่างน้อย 1 คนเข้ารว่ มการประชุมเพื่อนาเสนอโครงการพร้อมทั้งตอบข้อซักถาม
คณะกรรมการสามารถพิจารณาเห็นชอบจานวนเงนิ ที่ขอรับการสนบั สนุนมาทัง้ หมด
จากอาเภอ/จังหวัดหรือสามารถเพิม่ หรือตัดรายการบางอย่างออกไดเ้ มื่อเห็นว่ามีความ
จาเปน็ มากกวา่ นัน้ หรือไมม่ คี วามจาเป็น
(17) เมอื่ ผ่านการพิจารณา สามารถแจง้ วันกับผูก้ ู้เพ่ือนัดทาสญั ญาต่อไป

7.3.3 การโอนเงินใหส้ มาชกิ
(18) สมาชกิ ผกู้ ู้สามารถเปิดบัญชีผ่าน 3 ธนาคาร ได้ดังน้ี กรุงไทย,ธกส. และออมสนิ
(19) ช่ือบัญชีตอ้ งมชี ่ือของสมาชกิ ในกลุม่ ทุกคน และใช้คาว่า “และ” ระหวา่ งชอื่ เทา่ น้ัน
(20) เตรียมสาเนาหน้าบญั ชีธนาคาร จานวน 1 ฉบับ พร้อมสมุดบญั ชตี ัวจริง
(21) เตรยี มสาเนาบตั รประจาตัวประชาชน สาเนาทะเบยี นบา้ น อย่างละ 3 ฉบับ/คน
(22) นดั ทาสญั ญากบั เจา้ หน้าที่กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด
(23) สมาชกิ ผู้กตู้ ้องมาลงลายมือชื่อในสญั ญาครบทุกคน

/7.3.4 การชาระคืน…

-5–

7.3.4 การชาระคืนเงนิ /สง่ หลกั ฐานการใช้จา่ ย
(24) สัญญาภายใน 2 ปี และชาระคนื อยา่ งน้อยปีละ 2 งวด
(25) ส่งใบเสรจ็ รับเงนิ ให้สานกั งานพฒั นาชุมชนอาเภอ ภายใน 7 วันทาการ หลังจากไดร้ บั
การโอนเงนิ

7.3.5 การติดตาม
(26) ตดิ ตามใบสาคัญรบั เงินจากกลมุ่ ผู้กู้ ใหด้ าเนินการซ้ือวัสดุ อปุ กรณ์ตามท่เี ขียนมาจริง
และส่งเอกสารหลักฐานตวั จรงิ ใหเ้ จา้ หน้าทพ่ี ัฒนาชมุ ชนอาเภอภายใน 7 วนั ทาการ
(27) เมื่อถึงงวดชาระ เจา้ หน้าท่ีพฒั นาชุมชนทร่ี บั ผิดชอบงานกองทนุ พัฒนาบทบาทสตรีอาเภอ
สามารถตรวจสอบการชาระคนื เงนิ ของแตล่ ะโครงการได้ในโปรแกรม SARA
(28) ถ้าเลยวันกาหนดชาระ ต้องรีบดาเนินการตดิ ต่อลกู หนี้ให้มาชาระ ไมเ่ ช่นนัน้ จะมคี า่ เบีย้
ปรบั เกดิ ขน้ึ คดิ เปน็ ร้อยละ 7.5 บาท/วนั

8. เทคนิคในการปฏิบตั งิ าน
8.1 ลงพื้นทีเ่ พื่อประชาสัมพันธง์ านกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี การรบั สมคั รสมาชิกและการเสนอโครงการ
ขนั้ ตอนการยืน่ เอกสาร รวมถึงการชาระคืนในการขอรบั การสนบั สนนุ เงินทนุ หมุนเวยี น (เงนิ กู้)
8.2 เจา้ หนา้ ทพี่ ัฒนาชมุ ชน คณะทางานขบั เคลื่อนกองทุนพฒั นาบทบาทสตรีตาบล/เทศบาล/จังหวดั และ
คณะอนุกรรมการกล่นั กรองและตดิ ตามการดาเนนิ งานกองทนุ พฒั นาบทบาทสตรีอาเภอ/จงั หวัดต้อง
ยึดแนวทางการปฏบิ ัตติ ามระเบยี บการพิจารณาโครงการให้ถูกต้องและตรงกัน
8.3ใหค้ วามสาคัญในการพิจารณาความเป็นไปได้และเอกสารเบือ้ งต้นของโครงการต่อการตัดสินใจรว่ มกัน
ในการเหน็ ชอบท่จี ะปลอ่ ยเงนิ ใหผ้ กู้ ู้
8.4ตดิ ตามการชาระคนื เงนิ ของแตล่ ะโครงการให้เป็นไปตามสัญญา/ข้อตกลง

9. ปัญหาที่พบและแนวทางการแก้ไขปัญหา
ปญั หาทพ่ี บ
9.1 สมาชกิ บางรายยังไม่ทราบถึงหลักเกณฑ์และขนั้ ตอนในการกยู้ ืมเงินทนุ หมุนเวียน (เงินกู้)
9.2 อาสาสมัครผู้ประสานงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรหี มูบ่ า้ น/ชุมชน คณะทางาน
ขับเคลือ่ นกองทนุ พฒั นาบทบาทสตรตี าบล/เทศบาลบางส่วนยงั เขยี นโครงการขอรบั การสนับสนุน
เงนิ ทุนหมนุ เวียนไมเ่ ปน็ ทาใหไ้ มส่ ามารถให้คาแนะนากบั สมาชกิ ผู้กูใ้ นพนื้ ท่ีของตัวเองได้
9.3 เจ้าหนา้ ทีพ่ ัฒนาชมุ ชนบางครั้งยังไม่ทราบกรณีท่ีต้องมเี อกสารทตี่ ้องย่นื เพิม่ เติม
9.4 เอกสารหลกั ฐานของผกู้ ู้ไม่ครบและไมถ่ กู ต้อง ทาให้ต้องมีการแก้ไขหลายครัง้
/แนวทางแก้ไข…

-6–

แนวทางแก้ไข
9.5 ประชาสัมพันธใ์ หส้ มาชกิ ทราบถงึ หลกั เกณฑ์และขนั้ ตอนในการกู้ยมื เงนิ ทนุ หมนุ เวียน (เงินก)ู้

ผ่านเอกสารหรอื อนิ โฟกราฟฟิค เพ่ือใหเ้ ขา้ ใจได้ง่าย
9.6 จดั ทาการฝกึ อบรมการเขียนโครงการให้กับคณะทางานในระดบั หมู่บา้ นหรือตาบลรวมถึงสมาชิกหรอื

สตรีทัว่ ไปท่ีสนใจ
9.7เจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนที่รับผิดชอบงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีอาเภอ คอยให้คาแนะนากับ

เจ้าหนา้ ทพ่ี ฒั นาชุมชนทร่ี ับผิดชอบแต่ละตาบล เพ่ือใหเ้ อกสารมีความถูกตอ้ ง
9.8 จัดทาตารางรายการเอกสาร เพื่อใหม้ ีความงา่ ยในการตรวจสอบของเจ้าหนา้ ที่รวมถงึ สมาชกิ ผกู้ ู้

10. ประโยชนข์ ององค์ความรู้
การจัดการองค์ความรู้ เพ่ือใช้เป็นคู่มือหรือแนวทางการบริหารงานของคณะทางานขับเคลื่อน

กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตาบล/เทศบาล/จังหวัด คณะอนุกรรมการกล่ันกรองและติดตามการดาเนินงาน
กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีอาเภอ/จังหวัด รวมถึงเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนและสตรีทุกคนที่สนใจ ให้มีความ
เข้าใจในการเสนอโครงการเพ่ือขอรับการสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียน (เงินกู้) รวมถึงเอกสารท่ีจาเพ่ือ
ประกอบการพิจารณาและข้ันตอนการดาเนินงานทั้งในระดับตาบล อาเภอ และจังหวัด ได้อย่างถูกต้อง
ภายใต้ระเบียบของกองทุน

รวบรวมผลงานโดย
สาํ นักงานพัฒนาชุมชน

จังหวัดนนทบุรี


Click to View FlipBook Version