The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรกลุ่มสาระ-ปี-2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bumbimva.2015, 2022-07-10 02:30:23

หลักสูตรกลุ่มสาระ-ปี-2564

หลักสูตรกลุ่มสาระ-ปี-2564

อิสลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย ก
หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

คานา

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้จัดทาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ฉบบั นี้ ซงึ่ เป็นเอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย เพอ่ื เป็น
เป้าหมายในการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน และกระบวนการจัดการเรียนรู้ เพื่อเป็นกรอบและทิศทางในการจัดการ
เรียนการสอน ให้ตรงตามมาตรฐานตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี โดยพิจารณาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช
๒๕๖๐) หลักสตู รสถานศึกษา อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ ซ่งึ มีองค์ประกอบดงั นี้

- วิสัยทศั น์ หลักการ จดุ หมาย
- สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น
- คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
- สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
- คุณภาพผู้เรยี น
- ตัวช้ีวัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง
- รายวชิ าทเี่ ปิด
- คาอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวชิ าพ้นื ฐาน
- คาอธบิ ายรายวิชาและโครงสร้างรายวชิ าเพ่มิ เติม
- สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้
- การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้

คณะผ ู ้ จ ั ด ท าขอขอบ คุ ณผ ู ้ ที ่ มีส ่ ว น ร ่ ว มใน การ พั ฒ น าแล ะจ ั ด ท าห ล ั กส ู ต ร กล ุ ่ มสาร ะการ เ ร ี ย น ร ู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและเทคโนโลยี ฉบับนี้ จนสาเร็จลุล่วงเป็นอย่างดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเกิด
ประโยชน์ตอ่ การจัดการเรยี นร้ใู ห้กับผ้เู รียนต่อไป

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คณะผ้จู ัดทา

อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ข
หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

สารบญั หนา้

คานา ข
สารบญั 1
วสิ ัยทศั น์ 2
หลักการ จุดหมาย 3
สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น 3
คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 4
เป้าหมาย 5
ทาไมต้องเรยี นวทิ ยาศาสตร์ 5
เรียนรอู้ ะไรในวทิ ยาศาสตร์ 6
สาระ และมาตรฐานการเรียนรู้ 7
ทักษะ และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 9
คณุ ภาพผ้เู รียน 17
ตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง 37
การเรยี นรู้ และสาระการเรียนรเู้ พิ่มเตมิ 57
รายวชิ าท่ีเปดิ สอน 60
คาอธบิ ายรายวิชา ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 81
คาอธิบายรายวิชา ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 131
การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ 132
ภาคผนวก 133

คณะผจู้ ัดทาหลกั สตู รสถานศึกษาขัน้ พนื้ ฐานกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย 1
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

สาระ และมาตรฐานการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

บทนา

ความสาคญั

วทิ ยาศาสตร์มีบทบาทสาคญั ย่ิงต่อการพัฒนาความคดิ ของมนุษย์ ทาให้มนุษย์ มีความคดิ สรา้ งสรรค์
คดิ อยา่ งมเี หตุผล เป็นระบบ ระเบียบ มีแบบแผน สามารถวเิ คราะห์ปญั หาและสถานการณ์ได้อย่างถ่ีถ้วน
รอบคอบ ทาใหส้ ามารถคาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจและแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสม

วทิ ยาศาสตร์เป็นเครื่องมือในการศึกษาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ตลอดจนศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
วิทยาศาสตร์จึงมีประโยชน์ต่อการดารงชีวิตและช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น นอกจากนี้ยังช่วยพัฒนา
คนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีความสมดุลท้ังทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา และอารมณ์ สามารถคิดเป็น
ทาเปน็ แก้ปญั หาเปน็ และสามารถอยรู่ ่วมกบั ผ้อู ืน่ ได้อย่างมีความสขุ

วสิ ยั ทัศน์อสิ ลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย
( Islamic College of Thailand’s Vision )

เปน็ สถาบันทม่ี ุ่งมน่ั พัฒนาผูเ้ รียนใหม้ คี วามรู้ คคู่ ุณธรรม นากฬี า ลา้ หน้าเทคโนโลยี ยึดวถิ ีความ
พอเพยี ง และอยู่รว่ มกนั อยา่ งสนั ติสขุ

พันธกจิ ( Missions )

๑. ให้การศึกษาขนั้ พ้นื ฐานตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑
๒. ให้การศึกษาอบรมและฝึกทักษะด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดีงาม เพื่อให้นักเรียนเป็น
คนดี ของสงั คมไทย
๓. ให้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับศาสนาอิสลามแก่นักเรียนทั่วไปเพื่อให้สามารถเข้าใจในการอยู่ร่วมกัน
อยา่ งสันตสิ ุข สาหรับนักเรยี นมสุ ลมิ ใหส้ ามารถปฏบิ ัตติ นไดถ้ ูกต้องตามหลกั การ ของ ศาสนาอสิ ลาม
๔. ให้โรงเรียนเป็นศูนย์กลางในการพัฒนาด้านสุขภาพ พลานามัย และการกีฬา โดยใช้ทรัพยากร
รว่ มกับชมุ ชน
๕. พฒั นาระบบการบริหารจัดการให้สอดคลอ้ งกับนโยบายการปฏิรูปการศกึ ษาของรัฐเพื่อให้ผ้เู รียนได้
พฒั นาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ
๖. พัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพของแต่ละบุคคลทั้งทางด้านร่างกายสติปัญญา ความรู้ คุณธรรม
จรยิ ธรรม และสามารถอยู่ร่วมกบั ผ้อู น่ื ไดอ้ ยา่ งสันติสุข

อิสลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย 2
หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

วิสยั ทศั นข์ องหลักสูตรอสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย
พัฒนาผู้เรียนให้มีความสมดุลทางร่างกาย ความรู้ มีคุณธรรม ทักษะพื้นฐาน พร้อมสาหรับการศึกษา
ต่อ หรือการประกอบอาชีพ และสามารถดาเนินชีวติ อยา่ งมีจิตสานึกในความเปน็ พลเมอื งไทย ท่ีดี เป็นพลโลกที่
มคี ณุ ภาพ ยึดม่ันในการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ เปน็ ประมุข

วิสัยทัศนข์ องกลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์เป็นการพัฒนาผู้เรียนให้ได้รับความรู้ มีทักษะกระบวนการ และจิต
วิทยาศาสตร์ มคี วามเข้าใจ ซาบซึง้ และเหน็ ความสาคญั ของธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม

เปา้ หมาย (Goals)
พฒั นานักเรยี นรอ้ ยละ ๙๕ ใหเ้ ป็นคนดี มีคุณธรรมจริยธรรม มีความรู้ ความสามารถ และอยูใ่ น
สงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสุข

หลักการ
๑. พัฒนาความรู้ ความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามศักยภาพของผเู้ รียน และ

สามารถนาไปเป็นเคร่ืองมือในการเรียนรูส้ ง่ิ ตา่ ง ๆ และเปน็ พ้ืนฐานสาหรับการศึกษาต่อ
๒. จัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้อย่างหลากหลายต่อเนื่อง ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดกระบวนการ

เรียนรู้อย่างมีความสุข
๓. จัดแผนการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี ตามความถนัดและความสนใจ
๔. พัฒนาบุคลากรของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้มีความรู้และทักษะ

ตลอดจนนาประสบการณม์ าใช้ในการเรียนการสอนโดยเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั
๕. มกี ารนิเทศและตดิ ตามอย่างเปน็ ระบบในดา้ นการเรยี นการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
๖. จัดการเรียนการสอนโดยการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ในทุกรายวิชาอย่างเป็นรูปธรรม

จัดกิจกรรมวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้นักเรียนกล้าแสดงออก และได้ปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ
ตามความถนัดและความสนใจ

๗. จดั กิจกรรมนาเสนอผลงานนกั เรยี น – ครู ในงานนทิ รรศการทางวชิ าการภายในโรงเรียน
๘. สนับสนนุ สง่ เสรมิ ให้ครู ผลิตส่ือและนวัตกรรมประกอบการเรยี นการสอนตามเนื้อหาการเรียนรู้
๙. จัดกิจกรรมส่งเสริม พัฒนาผู้เรียนที่มีความสามารถ และช่วยเหลือผู้เรียนที่มีปัญหาด้านการเรียน
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
๑๐. วัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง ด้วยวิธีการที่หลากหลายให้ครอบคลุมทั้งทางด้านความรู้
ทักษะ/กระบวนการ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย 3
หลกั สูตรกล่มุ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

จุดมงุ่ หมาย 3
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข

มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ และผู้เรียนมีคุณภาพตามเกณฑ์ของคุณภาพผู้เรียนกลุ่มสาระ
การเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เม่ือจบการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ดังน้ี

๑. มีคุณภาพตามเกณฑ์ของคุณภาพผเู้ รียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๒. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม
หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาทต่ี นนบั ถอื ยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
๓. มคี วามรู้ ความสามารถในการส่อื สาร การคดิ การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทกั ษะชวี ติ
๔. มสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ทดี่ ี มสี ุขนสิ ัย และรักการออกกาลงั กาย
๕. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิต และการปกครอง
ตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข
๖. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
มจี ติ สาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสรา้ งสงิ่ ทีด่ งี ามในสังคม และอยรู่ ว่ มกนั ในสังคมอยา่ งมคี วามสขุ

สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รียน

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มุ่งพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐานมุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนด ซึ่งจะช่วยใหผ้ ู้เรียนเกดิ สมรรถนะสาคัญ ๕
ประการ ดังนี้

๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด
ปญั หาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รบั ขอ้ มูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการ
เลือกใชว้ ิธีการสอื่ สารท่ีมปี ระสิทธิภาพโดยคานงึ ถึงผลกระทบท่มี ีต่อตนเองและสังคม

๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ
เพอื่ การตดั สนิ ใจเกีย่ วกบั ตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข
ปัญหา และมีการตดั สินใจทีม่ ีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบทีเ่ กดิ ขึน้ ต่อตนเอง สงั คมและสิ่งแวดล้อม

๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ
ดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม
ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับ

อสิ ลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย 4
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

การเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบ 4
ต่อตนเองและผอู้ ่นื

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การ
ทางาน การแกป้ ัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ตอ้ งเหมาะสมและมคี ณุ ธรรม

คุณลักษณะอนั พึงประสงค์์

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทย และพลโลก ตามหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ดังน้ี

๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ หมายถงึ มีความภาคภมู ิใจในความเป็นไทย นยิ มไทย ปฏบิ ตั ติ ามคาส่งั สอน
ของศาสนาเคารพเทิดทูนศาสนา แสดงความจงรักภักดี เทิดทูนพระเกียรติและพระราชกรณียกิจของ
พระมหากษตั รยิ ์

๒. ซื่อสัตย์สุจริต หมายถึง การประพฤติปฏิบัติอย่างเหมาะสม และตรงต่อความเป็นจริงประพฤติ
ปฏิบัติอย่างตรงไปตรงมา ทั้งกาย วาจา ใจ ต่อตนเองและผู้อ่ืนรวมตลอดท้ังต่อหน้าท่ีการงานและคาม่ันสัญญา
ความประพฤติที่ตรงไปตรงมาและจริงใจในสิ่งที่ถูกที่ควร ถูกต้องตามทานองคลองธรรมรวมไปถึงการไม่คิดคด
ทรยศ ไม่คดโกงและไม่หลอกลวงนอกจากนี้แล้วความซื่อสัตย์สุจริตยังรวมไปถึงการรักษาคาพูดหรือคามั่น
สัญญาและการปฏิบัติหน้าที่การงานของตนเองด้วยความรับผิดชอบและด้วยความซื่ อสัตย์ไม่แสวงหา
ผลประโยชน์ให้แก่ตนเองและพวกพ้องด้วยการใช้อานาจหน้าที่โดยมิชอบซึ่งความซื่อสัตย์สุจริตนี้จะดาเนินไป
ด้วยความตั้งใจจริงเพื่อทาหน้าที่ของตนเองให้สาเร็จลุล่วง ด้วยความระมัดระวัง และเกิดผลดีต่อตนเอง
และสังคม

๓. มีวินัย หมายถึง การควบคุมความประพฤติให้ถูกต้องและเหมาะสมกับจรรยามารยาท ข้อบังคับ
ข้อตกลง กฎหมายและศีลธรรมการรู้จักควบคุมตนเองให้ประพฤติปฏิบัติตามข้อตกลง ข้อบังคับระเบียบแบบ
แผน และขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามย่อมนามาซึ่งความสงบสุขในชีวิตของตนความเป็นระเบียบ
เรียบร้อยของสังคมและประเทศชาติ

๔. ใฝ่เรียนรู้ หมายถึง การค้นคว้าหาความรหู้ รือส่งิ ทเี่ ป็นประโยชน์ เพื่อพฒั นาตนเองอยู่เสมอ
๕. อยู่อย่างพอเพียง หมายถึง การมีความพอดีในการบริโภค ใช้ทรัพยากรและเวลาว่างให้เป็น
ประโยชน์คานึงถึงฐานะและเศรษฐกิจ คิดก่อนใช้จ่ายตามความเหมาะสมรู้จักการเพิ่มพูนทรัพย์ ด้วยการเก็บ
และนาไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนด์ แู ลรักษาบรู ณทรัพย์ของตนเอง มกี ารเกบ็ ออมเงนิ ไว้ตามสมควร
๖. มุ่งมั่นในการทางาน หมายถึง การศึกษาเรียนรู้เพื่อหาข้อเท็จจริง ซึ่งอาจพัฒนาไปสู่ความจริงใน
สิ่งที่ต้องการเรียนรู้ หรือต้องการหาคาตอบเพื่อนาคาตอบที่ได้นั้นมาใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ เช่น การ
ยกระดับความรกู้ ารนาไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจาวนั หรอื นามาสรปุ เปน็ ความจรงิ ได้
๗. รักความเป็นไทย หมายถึง เข้าใจ หวงแหนความเป็นไทยซึ่งถือเป็นต้นทุนทางสังคมทาให้ทุก
ศาสนา สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติโดยต้องมีการดาเนินชีวิตโดยกายสุจริต วจีสุจริต และมโนสุจริต

อิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย ข
หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

เป็นคุณลักษณะที่เกี่ยวข้องกับการเข้าสังคมและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น เช่น ความมีกิริยามารยาท 5
การปรับตวั ความตรงต่อเวลา ความสภุ าพ การมสี มั มาคารวะ การพดู จาไพเราะ และอ่อนนอ้ มถ่อมตน

๘. มีจิตสาธารณะ หมายถึง คุณลักษณะทางจิตใจของบุคคลเกี่ยวกับการมองเห็นคุณค่า หรือการให้
คณุ ค่าแก่การมีปฏิสัมพนั ธ์ทางสงั คมและส่ิงต่าง ๆ ที่เป็นสิ่งสาธารณะท่ีไม่มีผู้ใดผู้ผู้หน่ึงเป็นเจ้าของ หรือเป็นสิ่ง
ท่ีคนในสังคมเป็นเจ้าของร่วมกันเป็นสิ่งที่สามารถสังเกตได้จากความรู้สึกนึกคิด หรือการกระทาที่แสดงออกมา
ได้แก่ การหลีกเลี่ยงการใช้หรือการกระทาที่จะทาให้เกิดความชารุดเสียหายต่อส่วนรวมที่ใช้ประโยชน์ร่วมกัน
ของกลมุ่ การถือเปน็ หน้าทีท่ ่ีจะมีสว่ นร่วมในการดูแลรกั ษาของสว่ นรวม

เป้าหมาย

ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์มงุ่ เนน้ ให้ผู้เรยี นได้ค้นพบความร้ดู ว้ ยตนเองมากท่สี ุดเพื่อใหไ้ ด้ทั้ง
กระบวนการและความรู้ จากวธิ กี ารสังเกต การสารวจตรวจสอบ การทดลอง แล้วนาผลทีไ่ ด้มาจัดระบบเปน็
หลักการ แนวคิด และองค์ความรู้ การจดั การเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์จงึ มเี ป้าหมายทีส่ าคญั ดังนี้

๑. เพือ่ ให้เข้าใจหลักการ ทฤษฎี และกฎทเี่ ปน็ พนื้ ฐานในวิชาวทิ ยาศาสตร์
๒. เพื่อใหเ้ ข้าใจขอบเขตของธรรมชาติของวชิ าวิทยาศาสตร์และข้อจากดั ในการศึกษาวชิ าวิทยาศาสตร์
๓. เพื่อให้มที ักษะทส่ี าคัญในการศกึ ษาคน้ คว้าและคิดคน้ ทางเทคโนโลยี
๔. เพื่อให้ตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์และ
สภาพแวดล้อมในเชงิ ที่มีอทิ ธพิ ลและผลกระทบซงึ่ กันและกัน
๕. เพื่อนาความรู้ ความเข้าใจ ในวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและ
การดารงชีวติ
๖. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหา และการจัดการ ทักษะ
ในการส่ือสาร และความสามารถในการตัดสินใจ๗. เพื่อให้เป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มคี ุณธรรม จริยธรรม และ
คา่ นิยมในการใช้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีอยา่ งสรา้ งสรรค์

ทาไมต้องเรียนวิทยาศาสตร์

การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ค้นพบความรู้ด้วยตนเองมากที่สุด เพื่อให้ได้ทั้ง
กระบวนการและความรู้ จากวิธีการสังเกต การสารวจตรวจสอบ การทดลอง แล้วนาผลที่ได้มาจัดระบบเป็น
หลักการ แนวคดิ และองค์ความรู้
การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์จึงมเี ป้าหมายทส่ี าคัญ ดงั นี้

๑. เพ่ือให้เข้าใจหลกั การ ทฤษฎี และกฎท่ีเปน็ พนื้ ฐานในวิชาวิทยาศาสตร์
๒. เพื่อให้เขา้ ใจขอบเขตของธรรมชาตขิ องวิชาวิทยาศาสตร์และข้อจากดั ในการศกึ ษาวิชาวิทยาศาสตร์
๓. เพ่ือให้มที ักษะทีส่ าคญั ในการศกึ ษาค้นคว้าและคดิ คน้ ทางเทคโนโลยี
๔. เพื่อให้ตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์และ
สภาพแวดล้อมในเชิงท่ีมีอทิ ธพิ ลและผลกระทบซึ่งกนั และกัน

อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

๕. เพื่อนาความรู้ ความเข้าใจ ในวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและ
การดารงชีวิต

๖. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหา และการจัดการ ทักษะ
ในการสอ่ื สาร และความสามารถในการตดั สนิ ใจ

๗. เพื่อให้เป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีอยา่ งสรา้ งสรรค์

เรยี นรอู้ ะไรในวทิ ยาศาสตร์

ระบวนการ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหา
ความรู้ และแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทากิจกรรมด้วยการลง
มือปฏบิ ัตจิ ริงอยา่ งหลากหลาย เหมาะสมกับระดบั ช้นั โดยกาหนดสาระสาคญั ดังนี้

✧ วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ เรยี นรเู้ กี่ยวกบั ชีวติ ในสิง่ แวดลอ้ ม องค์ประกอบของส่งิ มชี วี ิต การ

ดารงชีวิตของมนุษย์และสัตว์ การดารงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการ

ของสง่ิ มีชวี ิต

✧ วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ธรรมชาติของสาร การเปล่ียนแปลงของสาร การเคล่ือนที่
พลังงาน และคลนื่

✧ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ เรียนรู้เกี่ยวกบั องค์ประกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธ์ ภายในระบบ
สุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการ เปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ
และผลตอ่ สิ่งมชี ีวิตและสงิ่ แวดล้อม

✧ เทคโนโลยี 6
●การออกแบบและเทคโนโลยี เรียนรู้เกี่ยวกับ เทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิตในสังคมที่มีการ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อ
แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอยา่ งมีความคิดสร้างสรรค์ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยี
อยา่ งเหมาะสมโดยคานงึ ถึงผลกระทบต่อชวี ิต สงั คม และสิง่ แวดล้อม
●วิทยาการคานวณ เรียนรู้เกี่ยวกับ การคิดเชิงคานวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็นขั้นตอนและ
เป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการ
แกป้ ญั หาที่พบในชีวิตจริงได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
วทิ ยาศาสตร์เพม่ิ เติม
ผเู้ รยี นจะได้เรียนรู้สาระสาคัญ ดงั น้ี

✧ ชีววิทยา เรียนรู้เกี่ยวกับ การศึกษาชีววิทยา สารที่เป็นองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต เซลล์ของ
สิ่งมีชีวิต พันธุกรรมและการถา่ ยทอด ววิ ัฒนาการ ความหลากหลายทางชีวภาพ โครงสร้างและการทางานของ
ส่วนตา่ ง ๆ ในพืชดอก ระบบและการทางานในอวยั วะตา่ ง ๆ ของสตั ว์ และมนุษย์ และสงิ่ มชี วี ติ และสิ่งแวดลอ้ ม

อิสลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย

หลักสูตรกลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

✧เคมี เรียนรู้เกี่ยวกับ ปริมาณสาร องค์ประกอบและสมบัตขิ องสาร การเปล่ียนแปลงของสาร ทักษะ
และการแกป้ ญั หาทางเคมี

✧ฟสิ กิ ส์ เรียนร้เู กี่ยวกบั ธรรมชาติและการค้นพบทางฟสิ ิกส์ แรงและการเคล่อื นที่และพลังงาน

✧ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เรียนรู้เกี่ยวกับ โลกและกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา
ข้อมูลทางธรณีวิทยาและการนาไปใช้ประโยชน์ การถ่ายโอนพลังงานความร้อนของโลก การเปลี่ยนแปลง
ลักษณะลมฟ้าอากาศกบั การดารงชีวติ ของมนษุ ย์ โลกในเอกภพ และดาราศาสตร์ กบั มนษุ ย์

สาระ และมาตรฐานการเรยี นรู้ 7

สาระท่ี ๑ วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับ

สิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศการถ่ายทอดพลังงาน
การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแกไ้ ขปัญหาสิง่ แวดล้อม
รวมทงั้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออก
จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน
ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์

มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร
พันธกุ รรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมท่ีมีผลต่อสิง่ มีชวี ิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวฒั นาการของ
ส่งิ มีชวี ิต รวมท้งั นาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

สาระท่ี ๒ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ

สสารกับโครงสร้างและแรงยดึ เหนี่ยวระหว่างอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร
การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี

มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุ ลักษณะการ
เคลอื่ นทีแ่ บบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมท้ังนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้อง
กับเสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟา้ รวมทั้งนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

สาระท่ี ๓ วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ

อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย

หลกั สตู รกล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพกาแล็กซี
ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง
ภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมทั้งผล
ตอ่ ส่งิ มชี วี ิตและสงิ่ แวดล้อม

สาระที่ ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง

อย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือ
พัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง
เหมาะสมโดยคานึงถึงผลกระทบตอ่ ชีวิต สงั คม และสิ่งแวดลอ้ ม

มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็น ขั้นตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้การทางาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ รู้เทา่ ทัน และมีจริยธรรม

ทกั ษะ และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

การศึกษาทางวิทยาศาสตร์คือ การศึกษาเกี่ยวกับทุก ๆ สิ่งที่อยู่รอบตัวอย่างมีระเบียบแบบแผน
เพื่อให้ได้ข้อสรุปและสามารถนาความรู้ที่ได้มาอธิบายปัญหาต่าง ๆ ซึ่งการจะตอบหรืออธิบายปัญหาที่สงสัยได้
นั้นจาเปน็ ตอ้ งมีทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (science process skill) หมายถึง ความสามารถ และความ
ชานาญในการคดิ เพื่อค้นหาความรู้ และการแก้ไขปัญหา โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ อาทิ การสังเกต
การวัด การคานวณ การจาแนก การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา การจัดกระทา และสื่อความหมาย
ข้อมูล การลงความคิดเห็น การพยากรณ์ การตั้งสมมติฐาน การกาหนดนิยาม การกาหนดตัวแปร การทดลอง
การวิเคราะห์ และแปรผลข้อมูล การสรุปผลข้อมูลได้อย่างรวดเรว็ ถูกต้อง และแมน่ ยา ทักษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์ ๑๓ ทักษะ แบง่ เปน็ ๒ ระดับ คอื

๑. ระดับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ๘ ทักษะ เป็นทักษะเพื่อการแสวงหา
ความรู้ทว่ั ไป ประกอบดว้ ย

ทักษะที่ ๑ การสังเกต (Observing) หมายถึง การใช้ประสาทสัมผัสของร่างกายอย่างใดอย่างหนึ่ง
หรือหลายอย่าง ได้แก่ หู ตา จมูก ลิ้น กายสัมผัส เข้าสัมผัสกับวัตถุหรือเหตุการณ์เพื่อให้ทราบ และรับรู้ข้อมูล
รายละเอียดของสิ่งเหล่านั้น โดยปราศจากความคิดเห็นส่วนตน ข้อมูลเหล่านี้จะประกอบด้วย ข้อมูลเชิง
คุณภาพ เชงิ ปริมาณ และรายละเอียดการเปลยี่ นแปลงท่ีเกดิ ข้นึ จากการสังเกต

อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

ทักษะที่ ๒ การวัด (Measuring) หมายถึง การใช้เครื่องมือสาหรับการวัดข้อมูลในเชิงปริมาณของสิ่ง 8
ต่าง ๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลเป็นตัวเลขในหน่วยการวัดที่ถูกต้อง แม่นยาได้ ทั้งนี้ การใช้เครื่องมือจาเป็นต้องเลือกใช้
ให้เหมาะสมกับส่ิงที่ตอ้ งการวดั รวมถงึ เขา้ ใจวธิ กี ารวัด และแสดงข้ันตอนการวดั ได้อย่างถกู ต้อง

ทกั ษะ ท่ี ๓ การคานวณ (Using numbers) หมายถงึ การนับจานวนของวัตถุ และการนาตัวเลขท่ีได้
จากนับ และตัวเลขจากการวัดมาคานวณด้วยสูตรคณิตศาสตร์ เช่น การบวก การลบ การคูณ การหาร เป็นต้น
โดยการเกิดทักษะการคานวณจะแสดงออกจากการนับที่ถูกต้อง ส่วนการคานวณจะแสดงออกจากการเลือก
สูตรคณติ ศาสตร์ การแสดงวธิ คี านวณ และการคานวณที่ถกู ตอ้ ง แม่นยา

ทักษะที่ ๔ การจาแนกประเภท (Classifying) หมายถึง การเรียงลาดับ และการแบ่งกลุ่มวัตถุ
หรอื รายละเอียดข้อมูลดว้ ยเกณฑ์ความแตกต่างหรอื ความสัมพนั ธ์ใด ๆอย่างใดอย่างหนึง่

ทักษะที่ ๕ การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา (Using space/Time
relationships) สเปสของวัตถุ หมายถึง ท่วี า่ งทวี่ ตั ถุนัน้ ครองอยู่ ซ่ึงอาจมรี ูปรา่ งเหมือนกนั หรือแตกตา่ งกบั วตั ถุ
นั้น โดยทั่วไปแบ่งเป็น ๓ มิติ คือ ความกว้าง ความยาว และความสูง ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส
ของวตั ถุ ได้แก่ ความสัมพนั ธ์ระหว่าง ๓ มิติ กับ ๒ มติ ิ ความสมั พันธร์ ะหว่างตาแหนง่ ท่ีอยูข่ องวัตถุหน่ึงกับวตั ถุ
หนึ่ง ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสของวัตถุกับเวลา ได้แก่ ความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงตาแหน่งของวัตถุ
กับช่วงเวลา หรอื ความสมั พนั ธข์ องสเปสของวัตถุท่เี ปลี่ยนไปกับชว่ งเวลา

ทกั ษะท่ี ๖ การจัดกระทา และส่ือความหมายขอ้ มลู (Communication) หมายถงึ การนาข้อมูลทไี่ ด้
จากการสังเกต และการวัด มาจัดกระทาให้มีความหมาย โดยการหาความถี่ การเรียงลาดับ การจัดกลุ่ม
การคานวณค่า เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายได้ดีขึ้น ผ่านการเสนอในรูปแบบของตาราง แผนภูมิ วงจร
เขียนหรอื บรรยาย เปน็ ตน้

ทักษะที่ ๗ การลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring) หมายถึง การเพิ่มความคิดเห็นของตนต่อข้อมูลท่ี
ได้จากการสงั เกตอยา่ งมเี หตผุ ลจากพ้ืนฐานความรหู้ รือประสบการณ์ทมี่ ี

ทักษะที่ ๘ การพยากรณ์ (Predicting) หมายถึง การทานายหรือการคาดคะเนคาตอบ โดยอาศัย
ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตหรือการทาซ้า ผ่านกระบวนการแปรความหายของข้อมูลจากสัมพันธ์ภายใต้ความรู้
ทางวิทยาศาสตร์

๒. ระดับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการ ๕ ทักษะ เป็นทักษะกระบวนการขั้นสูง
ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น เพื่อแสวงหาความรู้ โดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
เปน็ พนื้ ฐานในการพฒั นา ประกอบดว้ ย

ทักษะที่ ๙ การตั้งสมมติฐาน (Formulating hypotheses) หมายถึง การตั้งคาถามหรือคิดคาตอบ
ล่วงหน้าก่อนการทดลองเพื่ออธิบายหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ ว่ามีความสัมพันธ์อย่างไร
โดยสมมติฐานสร้างข้ึนจะอาศยั การสังเกต ความรู้ และประสบการณ์ภายใต้หลักการ กฎ หรือทฤษฎีท่ีสามารถ
อธบิ ายคาตอบได้

ทักษะท่ี ๑๐ การกาหนดนิยามเชิงปฏบิ ัติการ (Defining operationally) หมายถึง การกาหนด และ
อธิบายความหมาย และขอบเขตของคาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาหรือการทดลองเพื่อให้เกิดความเข้าใจ
ตรงกันระหวา่ งบคุ คล

อิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย

หลกั สตู รกลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

ทักษะที่ ๑๑ การกาหนด และควบคุมตัวแปร (Identifying and controlling variables) หมายถึง 9
การบ่งชี้ และกาหนดลักษณะตัวแปรใด ๆให้เป็นเป็นตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น และตัวแปรใด ๆให้เป็นตัว
แปรตาม และตวั แปรใด ๆใหเ้ ป็นตวั แปรควบคมุ

ทักษะที่ ๑๒ การทดลอง (Experimenting) หมายถึง กระบวนการปฏิบัติ และทาซ้าในขั้นตอน
เพ่ือหาคาตอบจากสมมตฐิ าน แบ่งเป็น ๓ ขนั้ ตอน คือ

๑. การออกแบบการทดลอง หมายถึง การวางแผนการทดลองก่อนการทดลองจริง ๆ เพื่อกาหนด
วิธีการ และขั้นตอนการทดลองที่สามารถดาเนินการได้จริง รวมถึงวิธีการแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้น
ขณะทาการทดลองเพ่อื ให้การทดลองสามารถดาเนินการใหส้ าเร็จลุล่วงด้วยดี

๒. การปฏิบัติการทดลอง หมายถงึ การปฏิบัตกิ ารทดลองจรงิ
๓. การบันทึกผลการทดลอง หมายถึง การจดบันทึกข้อมูลที่ได้จากการทดลองซึ่งอาจเป็นผลจากการ
สังเกต การวดั และอืน่ ๆ
ทักษะที่ ๑๓ การตีความหมายข้อมูล และการลงข้อมูล (Interpreting data and conclusion)
หมายถึง การแปรความหมายหรือการบรรยายลักษณะและสมบัติของข้อมูลที่มีอยู่ การตีความหมายข้อมูล
ในบางครัง้ อาจตอ้ งใชท้ ักษะอื่น ๆ เช่น ทักษะการสังเกต ทักษะการคานวณ

คุณภาพผู้เรยี น

รายวิชาพนื้ ฐาน
จบชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓

❖ เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบที่สาคัญของเซลล์สิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของการ ทางานของ
ระบบตา่ ง ๆ ในร่างกายมนุษย์ การดารงชวี ิตของพืช การถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม การเปล่ียนแปลงของ
ยีนหรือโครโมโซม และตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม ประโยชน์และผลกระทบของ
ส่ิงมีชวี ิตดัดแปรพันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ ปฏิสมั พนั ธ์ ขององค์ประกอบของระบบนิเวศและการ
ถา่ ยทอดพลงั งานในสงิ่ มชี ีวติ

❖ เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของธาตุ สารละลาย สารบริสุทธิ์ สารผสม หลักการแยกสาร
การเปลี่ยนแปลงของสารในรูปแบบของการเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี
และสมบัตทิ างกายภาพ และการใชป้ ระโยชน์ของวสั ดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามกิ และวัสดผุ สม

❖ เข้าใจการเคลื่อนที่ แรงลัพธ์และผลของแรงลัพธ์กระทาต่อวัตถุ โมเมนต์ของแรง แรงที่ปรากฏ
ในชีวิตประจาวัน สนามของแรง ความสัมพันธ์ของงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์
พลังงาน การถ่ายโอนพลังงาน สมดุลความร้อน ความสัมพันธ์ของปริมาณทางไฟฟ้า การต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน
พลังงานไฟฟ้า และหลกั การเบอื้ งตน้ ของวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์

❖ เข้าใจสมบัติของคลื่น และลักษณะของคลื่นแบบต่าง ๆ แสง การสะท้อน การหักเหของแสง
และทัศนปู กรณ์

อสิ ลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

❖ เข้าใจการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ การเกิดฤดู การเคล่ือนที่ ปรากฏของดวงอาทิตย์ 10
การเกิดข้างขึน้ ข้างแรม การข้ึนและตกของดวงจันทร์ การเกิดนา้ ขึ้นน้าลง ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ และ
ความกา้ วหนา้ ของโครงการสารวจอวกาศ

❖ เข้าใจลักษณะของชั้นบรรยากาศ องค์ประกอบและปัจจัยที่มีผลต่อลมฟ้าอากาศ การเกิดและ
ผลกระทบของพายฟุ ้าคะนอง พายหุ มุนเขตร้อน การพยากรณ์อากาศ สถานการณ์ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
โลก กระบวนการเกิดเชื้อเพลิงซากดึกดาบรรพ์และการใช้ประโยชน์ พลังงานทดแทนและการใช้ประโยชน์
ลักษณะโครงสร้างภายในโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง ทางธรณีวิทยาบนผิวโลก ลักษณะชั้นหน้าตัดดิน
กระบวนการเกิดดิน แหล่งน้าผิวดนิ แหล่งน้าใต้ดิน กระบวนการเกดิ และผลกระทบของภัยธรรมชาติ และธรณี
พบิ ัตภิ ัย

❖ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยี ได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยี
ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือ คณิตศาสตร์ วิเคราะห์
เปรียบเทียบ และตัดสินใจเพื่อเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคานึงถึงผลกระทบ ต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม
ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากรเพ่ือออกแบบและสร้าง ผลงานสาหรับการแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน
หรือการประกอบอาชีพ โดยใช้กระบวนการออกแบบ เชงิ วิศวกรรม รวมทั้งเลือกใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ และเครื่องมือ
ได้อยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสม ปลอดภัย รวมท้งั คานึงถึงทรพั ยส์ ินทางปญั ญา

❖ นาข้อมูลปฐมภูมิเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์ ประเมิน นาเสนอข้อมูล และสารสนเทศได้
ตามวัตถุประสงค์ ใช้ทักษะการคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริง และเขียนโปรแกรมอย่างง่าย
เพ่อื ช่วยในการแกป้ ญั หา ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร อยา่ งรู้เท่าทนั และรับผดิ ชอบต่อสังคม

❖ ตั้งคาถามหรือกาหนดปัญหาที่เชื่อมโยงกับพยานหลักฐาน หรือหลักการทางวิทยาศาสตร์ที่มีการ
กาหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคาตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐาน ที่สามารถนาไปสู่การสารวจ
ตรวจสอบ ออกแบบและลงมือสารวจตรวจสอบโดยใช้วัสดุและเครื่องมือ ที่เหมาะสม เลือกใช้เครื่องมือและ
เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล ท้ังในเชิงปริมาณและคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและ
ปลอดภยั

❖ วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูลที่ได้จากการสารวจตรวจสอบจากพยานหลักฐาน
โดยใช้ความรู้และหลักการทางวิทยาศาสตร์ในการแปลความหมายและลงข้อสรุป และสื่อสารความคิด ความรู้
จากผลการสารวจตรวจสอบหลากหลายรูปแบบ หรือใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่าง
เหมาะสม

❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ ในสิ่งที่จะเรียนรู้มีความคิด
สร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามความสนใจของตนเอง โดยใช้เครื่องมือและวิธีการ ที่ให้ได้ผลถูกต้อง
เชื่อถือได้ ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นของ ตนเอง รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น
และยอมรบั การเปลยี่ นแปลงความรู้ทีค่ น้ พบ เม่อื มขี อ้ มลู และประจกั ษพ์ ยานใหมเ่ พิ่มขนึ้ หรือโตแ้ ย้งจากเดิม

อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

❖ ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจาวันใช้ความรู้ 11
และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดารงชีวิต และการประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม
ยกย่อง และเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น เข้าใจผลกระทบทั้งด้านบวกและ ด้านลบของการพัฒนาทาง
วิทยาศาสตร์ต่อสิ่งแวดล้อมและต่อบริบทอื่น ๆ และศึกษาหาความรู้ เพิ่มเติม ทาโครงงานหรือสร้างชิ้นงาน
ตามความสนใจ

❖ แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ
และความหลากหลายทางชีวภาพ

จบช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๖

❖ เข้าใจการลาเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ กลไกการรักษาดุลยภาพของ มนุษย์ ภูมิคุ้มกัน
ในร่างกายของมนุษย์และความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน การใช้ประโยชน์จากสาร ต่าง ๆ ที่พืชสร้างขึ้น
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วิวัฒนาการ ท่ีทาให้เกิดความหลากหลาย
ของส่ิงมีชีวิต ความสาคัญและผลของเทคโนโลยีทางดีเอน็ เอต่อมนุษย์ สง่ิ มีชีวติ และสง่ิ แวดล้อม

❖ เข้าใจความหลากหลายของไบโอมในเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ ของโลก การเปลี่ยนแปลง แทนที่
ในระบบนิเวศ ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการ อนุรักษ์
ทรพั ยากรธรรมชาติ และการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม

❖ เข้าใจชนิดของอนุภาคสาคัญที่เป็นส่วนประกอบในโครงสร้างอะตอม สมบัติบางประการของธาตุ
การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ ชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคและสมบัติ ต่าง ๆ ของสารที่มี
ความสัมพันธ์กับแรงยึดเหนี่ยว พันธะเคมี โครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์ การเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มี
ผลต่ออตั ราการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี และการเขยี นสมการเคมี

❖ เข้าใจปริมาณท่ีเก่ียวกับการเคล่ือนท่ี ความสัมพันธร์ ะหว่างแรง มวลและความเร่งผลของความเร่ง
ที่มีต่อการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ แรงโน้มถ่วง แรงแม่เหล็ก ความสัมพันธ์ ระหว่างสนามแม่เหล็กและ
กระแสไฟฟา้ และแรงภายในนิวเคลยี ส

❖ เข้าใจพลังงานนิวเคลียร์ ความสัมพันธ์ระหว่างมวลและพลังงาน การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็น
พลังงานไฟฟ้า เทคโนโลยีด้านพลังงาน การสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบน และการรวมคลื่น การได้ยิน
ปรากฏการณท์ เ่ี กีย่ วขอ้ งกับเสียง สกี ับการมองเห็นสี คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และประโยชน์ของคลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟ้า

❖ เข้าใจการแบ่งชั้นและสมบัติของโครงสร้างโลก สาเหตุ และรูปแบบการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
ที่สัมพันธ์กับการเกิดลักษณะธรณีสัณฐาน สาเหตุ กระบวนการเกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟ ระเบิด สึนามิ
ผลกระทบ แนวทางการเฝา้ ระวงั และการปฏิบตั ิตนใหป้ ลอดภัย

❖ เข้าใจผลของแรงเนื่องจากความแตกต่างของความกดอากาศ แรงคอริออลิส ท่ีมีต่อการหมุนเวียน
ของอากาศ การหมุนเวยี นของอากาศตามเขตละติจูด และผลที่มตี ่อภูมอิ ากาศ ความสัมพันธ์ของการหมุนเวยี น
ของอากาศ และการหมุนเวียนของกระแสน้าผิวหน้าในมหาสมุทร และผลต่อลักษณะลมฟ้าอากาศ สิ่งมีชีวิต
และสิ่งแวดล้อม ปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศโลก และแนวปฏิบัติเพื่อลดกิจกรรมของ

อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

มนุษย์ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก รวมทั้งการแปลความหมายสัญลักษณ์ลมฟ้าอากาศที่สาคัญ 12
จากแผนท่อี ากาศ และข้อมลู สารสนเทศ

❖ เข้าใจการกาเนดิ และการเปลีย่ นแปลงพลงั งาน สสาร ขนาด อุณหภูมขิ องเอกภพ หลักฐานที่
สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง ประเภทของกาแล็กซี โครงสรา้ งและองคป์ ระกอบของ กาแล็กซีทางชา้ งเผือก
กระบวนการเกดิ และการสรา้ งพลงั งาน ปจั จยั ที่สง่ ผลต่อความส่องสวา่ งของ ดาวฤกษ์ และความสัมพันธ์
ระหวา่ งความส่องสวา่ งกบั โชติมาตรของดาวฤกษ์ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสี อณุ หภูมผิ ิว และสเปกตรัมของดาว
ฤกษ์ ววิ ัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงสมบตั บิ างประการของ ดาวฤกษ์ กระบวนการเกิดระบบสรุ ยิ ะ การแบ่ง
เขตบริวารของดวงอาทติ ย์ ลกั ษณะของดาวเคราะห์ ที่เอ้ือต่อการดารงชวี ิต การเกิดลมสุริยะ พายุสรุ ิยะและผล
ท่มี ีตอ่ โลก รวมทัง้ การสารวจอวกาศและ การประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีอวกาศ

❖ ระบุปัญหา ต้ังคาถามที่จะสารวจตรวจสอบ โดยมีการกาหนดความสมั พันธ์ระหว่าง ตัวแปรต่าง ๆ
สืบค้นข้อมูลจากหลายแหล่ง ตั้งสมมติฐานที่เป็นไปได้หลายแนวทาง ตัดสินใจเลือก ตรวจสอบสมมติฐาน
ท่ีเปน็ ไปได้

❖ ตั้งคาถามหรือกาหนดปัญหาที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ ที่แสดง
ให้เห็นถึงการใช้ความคิดระดับสูงที่สามารถสารวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้า ได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือ
ได้ สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับหรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบ เพื่อนา ไปสู่การสารวจตรวจสอบ ออกแบบ
วิธีการสารวจตรวจสอบตามสมมติฐานที่กาหนดไว้ได้อย่างเหมาะสม มีหลักฐานเชิงประจักษ์ เลือกวัสดุ
อุปกรณ์ รวมทั้งวิธีการในการสารวจตรวจสอบอย่างถูกต้อง ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ และบันทึกผลการ
สารวจตรวจสอบอยา่ งเป็นระบบ

❖ วิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูล และประเมินความสอดคล้องของข้อสรุปเพื่อตรวจสอบกับ
สมมติฐานที่ตั้งไว้ ให้ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงวิธีการสารวจตรวจสอบ จัดกระทาข้อมูล และนาเสนอข้อมูล
ด้วยเทคนิควิธีที่เหมาะสม สื่อสารแนวคิด ความรู้จากผลการสารวจตรวจสอบ โดยการพูด เขียน จัดแสดงหรือ
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือให้ผู้อ่นื เข้าใจโดยมหี ลักฐานอ้างองิ หรือมีทฤษฎีรองรบั

❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ ในการสืบเสาะหาความรู้ โดยใช้
เครื่องมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้อง เชื่อถือได้ มีเหตุผลและยอมรับได้ว่าความรู้ ทางวิทยาศาสตร์อาจมีการ
เปล่ยี นแปลงได้

❖ แสดงถึงความพอใจและเห็นคุณค่าในการค้นพบความรู้ พบคาตอบ หรือแก้ปัญหาได้ทางาน
ร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นโดยมีข้อมูลอ้างอิงและเหตุผลประกอบ เกี่ยวกับผลของการ
พัฒนาและการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมีคุณธรรมต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม และยอมรับฟังความ
คดิ เหน็ ของผอู้ น่ื

❖ เข้าใจความสัมพันธ์ของความรู้วิทยาศาสตร์ที่มีผลต่อการพัฒนาเทคโนโลยีประเภทต่าง ๆ และ
การพัฒนาเทคโนโลยีท่ีส่งผลให้มีการคิดค้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ท่ีก้าวหน้า ผลของเทคโนโลยีต่อชีวติ สังคม
และส่ิงแวดล้อม

อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

หลักสตู รกลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

❖ ตระหนักถึงความสาคัญและเห็นคุณค่าของความรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีใช้ใชีวิตประจาวัน
ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดารงชีวิต และการประกอบอาชีพ
แสดงความชื่นชม ภูมิใจ ยกย่อง อ้างอิงผลงาน ชิ้นงานที่เป็นผลมาจาก ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการพัฒนา
เทคโนโลยีท่ีทนั สมัย ศึกษาหาความรู้เพ่ิมเตมิ ทาโครงงานหรือ สรา้ งชน้ิ งานตามความสนใจ

❖ แสดงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า เสนอตัวเองร่วมมือปฏิบัติกับชุมชนในการป้องกัน ดูแล ทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อมของท้องถิน่

❖ วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยี ได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อน การเปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ วิเคราะห์
เปรียบเทียบ และตัดสินใจเพื่อเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคานึงถึงผลกระทบ ต่อชีวิต สังคม เศรษฐกิจ
และส่ิงแวดลอ้ ม ประยุกต์ใชค้ วามรู้ ทักษะ ทรัพยากรเพือ่ ออกแบบ สรา้ งหรอื พฒั นาผลงาน สาหรบั แก้ปัญหาท่ี
มีผลกระทบต่อสังคม โดยใช้กระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม ใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบและ
นาเสนอผลงาน เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และ เครื่องมือได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภัย รวมทั้งคานึงถึง
ทรัพยส์ นิ ทางปัญญา

❖ ใช้ความรู้ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เพื่อรวบรวมข้อมูลในชีวิตจริงจากแหล่งต่าง ๆ และความรู้จากศาสตร์อื่น มาประยุกต์ใช้ สร้างความรู้ใหม่
เข้าใจการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีท่ีมีผลต่อการดาเนินชีวิต อาชีพ สังคม วัฒนธรรม และใช้อย่างปลอดภัย
มจี รยิ ธรรม

รายวิชาเพม่ิ เติม

สาระชีววิทยา
๑. เข้าใจธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต การศึกษาชีววิทยาและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ สาร ที่เป็น
องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของส่ิงมีชีวิต กล้องจุลทรรศน์ โครงสร้างและ หน้าที่ของเซลล์
การลาเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ การแบ่งเซลล์ และการหายใจระดบั เซลล์
๒. เข้าใจการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดยีนบนโครโมโซม สมบัติ และหน้าที่ของ
สารพันธุกรรม การเกิดมิวเทชัน เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ หลักฐานข้อมูลและแนวคิด เกี่ยวกับวิวัฒนาการของ
สิ่งมชี ีวติ ภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวนเ์ บิร์ก การเกิดสปชี ีส์ใหม่ ความหลากหลาย ทางชวี ภาพ กาเนิดของส่งิ มชี วี ิต
ความหลากหลายของสงิ่ มชี ีวิต และอนกุ รมวิธาน รวมท้ังนาความรู้ ไปใชป้ ระโยชน์
๓. เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊สและคายน้าของพืช การลาเลียงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต และการตอบสนอง ของพืช รวมทั้งนา
ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย 13
หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

๔. เข้าใจการย่อยอาหารของสัตว์และมนุษย์ การหายใจและการแลกเปลี่ยนแก๊ส การลาเลียงสาร
และการหมุนเวียนเลือด ภูมิคุ้มกันของร่างกาย การขับถ่าย การรับรู้และการตอบสนอง การเคลื่อนที่ การ
สืบพันธุ์และการเจริญเติบโต ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพ และพฤติกรรม ของสัตว์ รวมทั้งนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์

๕. เข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับระบบนิเวศ กระบวนการถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียน สารในระบบ
นิเวศ ความหลากหลายของไบโอม การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ ประชากรและรูปแบบ
การเพิ่มของประชากร ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปัญหาและ ผลกระทบที่เกิดจากการใช้ประโยชน์
และแนวทางการแกไ้ ขปญั หา

สาระเคมี
๑. เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตใุ นตารางธาตุ สมบัตขิ องธาตุ พนั ธะเคมแี ละสมบัตขิ องสาร
แก๊สและสมบัติของแก๊ส ประเภทและสมบัติของสารประกอบอินทรีย์และพอลิเมอร์ รวมทั้งการนาความรู้
ไปใชป้ ระโยชน์
๒. เข้าใจการเขียนและการดุลสมการเคมี ปริมาณสัมพันธ์ในปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิด ปฏิกิริยาเคมี
สมดุลในปฏิกิริยาเคมี สมบัติและปฏิกิริยาของกรด-เบส ปฏิกิริยารีดอกซ์และเซลล์เคมี ไฟฟ้า รวมทั้งการนา
ความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์
๓. เข้าใจหลักการทาปฏิบัติการเคมี การวัดปริมาณสาร หน่วยวัดและการเปลี่ยนหน่วย การคานวณ
ปริมาณของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมทั้งการบูรณาการความรู้และทักษะ ในการอธิบาย
ปรากฏการณ์ในชวี ิตประจาวนั และการแก้ปัญหาทางเคมี

สาระฟิสกิ ส์
๑. เข้าใจธรรมชาติทางฟิสิกส์ ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนที่แนวตรงแรงและกฎการ
เคลื่อนท่ีของนวิ ตัน กฎความโนม้ ถว่ งสากล แรงเสยี ดทานสมดลุ กลของวัตถุ งานและกฎการอนุรักษ์พลงั งานกล
โมเมนตมั และกฎการอนุรกั ษโ์ มเมนตัม การเคล่ือนท่ีแนวโคง้ รวมท้งั นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์
๒. เข้าใจการเคลื่อนท่แี บบฮารม์ อนิกสอ์ ย่างง่าย ธรรมชาติของคลืน่ เสยี งและ การไดย้ ิน ปรากฏการณ์
ที่เกย่ี วข้องกับเสียง แสงและการเหน็ ปรากฏการณท์ ่ีเกยี่ วขอ้ งกบั แสง รวมทง้ั นาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์
๓. เข้าใจแรงไฟฟ้าและกฎของคูลอมบ์ สนามไฟฟ้า ศักย์ไฟฟา้ ความจไุ ฟฟา้ กระแสไฟฟ้า และกฎของ
โอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลังงานไฟฟ้าและกาลังไฟฟ้า การเปลี่ยนพลังงานทดแทน เป็นพลังงานไฟฟ้า
สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กที่กระทากับประจุไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า การเหนี่ยวนา แม่เหล็กไฟฟ้าและกฎ
ของฟาราเดย์ ไฟฟา้ กระแสสลับ คล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟา้ และการส่อื สาร รวมทัง้ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
๔. เข้าใจความสัมพันธ์ของความร้อนกับการเปลี่ยนอุณหภูมิและสถานะของสสาร สภาพยืดหยุ่นของ
วัสดุและมอดุลัสของยัง ความดันในของไหล แรงพยุง และหลักของอาร์คิมีดีส ความตึงผิวและแรงหนืดของ
ของเหลว ของไหลอุดมคติ และสมการแบร์นูลลี กฎของแก๊ส ทฤษฎีจลน์ ของแก๊สอุดมคติและพลังงานใน
ระบบ ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ทวิภาวะ ของคลื่นและอนุภาค กัมมันตภาพรังสี
แรงนิวเคลยี ร์ ปฏิกิรยิ านวิ เคลยี ร์ พลงั งานนวิ เคลยี ร์ ฟสิ กิ ส์ อนภุ าค รวมทง้ั นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 14
๑. เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก ธรณีพิบัติภัยและผลต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม
รวมทง้ั การศกึ ษาลาดับช้นั หนิ ทรพั ยากรธรณี แผนที่ และการนาไปใช้ประโยชน์
๒. เข้าใจสมดุลพลังงานของโลก การหมุนเวียนของอากาศบนโลก การหมุนเวียนของน้า ในมหาสมุทร
การเกิดเมฆ การเปลี่ยนแปลงภูมอิ ากาศโลกและผลต่อสง่ิ มีชวี ิตและส่ิงแวดล้อม รวมทง้ั การพยากรณอ์ ากาศ
๓. เข้าใจองค์ประกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และววิ ัฒนาการของเอกภพ กาแลก็ ซี ดาวฤกษ์ และ
ระบบสุรยิ ะ ความสัมพนั ธ์ของดาราศาสตร์กับมนุษยจ์ ากการศึกษาตาแหนง่ ดาวบนทรงกลมฟ้าและปฏิสัมพันธ์
ภายในระบบสุริยะ รวมท้งั การประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยอี วกาศ ในการดารงชวี ิต

ผู้เรยี นทเี่ รยี นครบทุกผลการเรียนรู้ มคี ณุ ภาพดังนี้

❖ เข้าใจวิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการค้นหาคาตอบเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต สารท่ีเป็น องค์ประกอบของ
สิ่งมีชีวติ และปฏกิ ริ ิยาเคมีภายในเซลล์ การใชก้ ล้องจลุ ทรรศน์ โครงสรา้ ง และหนา้ ท่ีของเซลล์ การลาเลยี งสาร
เข้าและออกจากเซลล์ การแบ่งเซลล์ และการหายใจระดบั เซลล์

❖ เข้าใจหลักการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต การถ่ายทอดยีน บนออโตโซมและ
โครโมโซมเพศ โครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ การจาลองดีเอ็นเอ กระบวนการสังเคราะห์
โปรตีน การเกิดมิวเทชันในสิ่งมีชีวิต หลักการและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ทางดีเอ็นเอ หลักฐานและข้อมูลท่ี
ใช้ในการศึกษาวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต แนวคิดเก่ียวกับ วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต เงื่อนไขของภาวะสมดุลของ
ฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก กระบวนการเกิดสปีชีส์ใหม่ ของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ กาเนิดของสิ่งมีชีวิต
ลกั ษณะสาคัญของส่ิงมีชวี ิต กล่มุ แบคทีเรยี โพรทิสต์ พืช ฟังไจ และสัตว์ การจาแนกสิ่งมีชวี ิตออกเป็นหมวดหมู่
และวิธีการเขยี น ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์

❖ เข้าใจโครงสร้างและส่วนประกอบของพืชทั้งราก ลาต้น และใบ การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้า
การลาเลียงน้าและธาตุอาหาร การลาเลียงอาหาร การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช กระบวนการสร้างเซลล์
สืบพันธุ์และการปฏิสนธิของพืชดอก การเกิดผลและเมล็ด บทบาทของสาร ควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
และการประยกุ ต์ใช้ และการตอบสนองของพืช

❖ เข้าใจกลไกการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต โครงสร้าง หน้าที่ และกระบวนการ ต่าง ๆ ของสัตว์
และมนุษย์ ได้แก่ การย่อยอาหาร การแลกเปลี่ยนแก๊ส การเคลื่อนที่ การกาจัดของเสีย ออกจากร่างกายของ
สิ่งมีชีวิต ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายของมนุษย์ การทางาน ของระบบประสาทและ
อวยั วะรบั ความรูส้ ึก ระบบสืบพนั ธ์ุ การปฏสิ นธิ การเจรญิ เตบิ โต ฮอรโ์ มน
และพฤติกรรมของสตั ว์

❖ เข้าใจกระบวนการถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ ความหลากหลาย
ของไบโอม การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การเปลี่ยนแปลง จานวนประชากรมนุษย์ใน
ระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับโลก แนวทางการป้องกันและแก้ไข ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและ
สง่ิ แวดลอ้ ม

อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

หลักสตู รกล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

❖ เข้าใจการศึกษาโครงสร้างอะตอมของนักวิทยาศาสตร์ การจัดเรียงอิเล็กตรอน ในอะตอม 15
สมบัติบางประการของธาตุและการจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ พันธะเคมี สมบัติของสารที่มี ความสัมพันธ์กับ
พันธะเคมี กฎต่าง ๆ ของแก๊ส และสมบัติของแก๊ส ประเภทและสมบัติของ สารประกอบอินทรีย์ และประเภท
และสมบตั ิของพอลเิ มอร์

❖ เข้าใจการเขียนและการดุลสมการเคมี การคานวณปริมาณสารต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีและปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สมดุล ในปฏิกิริยาเคมีและปัจจัยที่มี
ผลต่อสมดุลเคมี ทฤษฎีกรด-เบส สมบัติและปฏิกิริยาของกรด-เบส สารละลายบัฟเฟอร์ ปฏิกิริยารีดอกซ์ และ
เซลล์เคมไี ฟฟา้

❖ เข้าใจข้อปฏิบัติเบื้องต้นเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทาปฏิบัติการเคมีการเลือกใช้อุปกรณ์
หรือเครื่องมือในการทาปฏิบัติการ หน่วยวัดและการเปลี่ยนหน่วยวัดด้วยการ ใช้แฟกเตอร์เปลี่ยนหน่วย
การคานวณเกี่ยวกับมวลอะตอม มวลโมเลกุล และมวลสูตร ความสัมพันธ์ ของโมล จานวนอนุภาค มวล
และปริมาตรของแก๊สที่ STP การคานวณสูตรอย่างง่ายและสูตร โมเลกุลของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย
การเตรียมสารละลาย และการบูรณาการความรู้และ ทักษะในการอธิบายปรากฏการณ์ในชีวิตประจาวันและ
การแกป้ ญั หาทางเคมี

❖ เข้าใจธรรมชาติของฟิสิกส์ กระบวนการวัด ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการ
เคลื่อนที่ การเคลื่อนที่ในแนวตรง แรงลัพธ์ กฎการเคลื่อนที่ แรงเสียดทาน กฎความโน้มถ่วง สากล สนามโน้ม
ถ่วง งาน กฎการอนุรักษ์พลังงานกล สมดุลกลของวัตถุ เครื่องกลอย่างง่าย โมเมนตัมและการดล กฎการ
อนรุ กั ษโ์ มเมนตมั การชน และการเคล่ือนท่ใี นแนวโคง้

❖ เข้าใจการเคลื่อนที่แบบคลื่น ปรากฏการณ์คลื่น การสะท้อน การหักเหการเลี้ยวเบนและ
การแทรกสอด หลักการของฮอยเกนส์ การเคลื่อนที่ของคล่ืนเสียง ปรากฏการณ์ ท่ีเกี่ยวข้องกับเสียง ความเข้ม
เสียงและระดับเสียง การได้ยิน ภาพที่เกิดจากกระจกเงาและเลนส์ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับแสงและ
การมองเหน็ แสงสี

❖ เขา้ ใจสนามไฟฟา้ แรงไฟฟา้ กฎของคลู อมบ์ ศักยไ์ ฟฟา้ ตัวเก็บประจุ ตัวตา้ นทานและ กฎ
ของโอห์ม พลังงานไฟฟ้า การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า เทคโนโลยีด้าน พลังงาน
สนามแม่เหล็ก ความสัมพันธ์ระหว่างสนามแม่เหล็กกับกระแสไฟฟ้า การเหนี่ยวนาแม่เหล็ก ไฟฟ้า ไฟฟ้า
กระแสสลับ คลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟ้า และประโยชนข์ องคลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟา้

❖ เข้าใจผลของความร้อนต่อสสาร สภาพยืดหยุ่น ความดันในของไหล แรงพยุง ของไหลอุดมคติ
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส แนวคิดควอนตัมของพลังงาน ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี กัมมันตภาพ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ พลังงาน
นวิ เคลียร์ ความสัมพันธ์ระหวา่ งมวลและพลังงาน แรงภายในนิวเคลียส และการคน้ คว้าวิจยั ด้านฟิสิกส์อนุภาค

❖ เข้าใจการแบ่งชั้นและสมบัติของโครงสร้างโลก สาเหตุ และรูปแบบการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
ที่สัมพันธ์กับการเกิดลักษณะธรณีสัณฐานและธรณีโครงสร้างแบบต่าง ๆ หลักฐาน ทางธรณีวิทยาที่พบ

อสิ ลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

ในปัจจุบันและการลาดับเหตกุ ารณ์ทางธรณีวทิ ยาในอดีต สาเหตุ กระบวนการ เกิดแผน่ ดินไหว ภูเขาไฟระเบิด 16
สึนามิ ผลกระทบ แนวทางการเฝ้าระวัง และการปฏิบัติตนให้ปลอดภัย สมบัติและการจาแนกชนิดของแร่
กระบวนการเกิดและการจาแนกชนิดหิน กระบวนการเกิดและ การสารวจแหล่งปิโตรเลียมและถ่านหิน
การแปลความหมายจากแผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ ธรณีวิทยา และการนาข้อมูลทางธรณีวิทยาไปใช้
ประโยชน์

❖ เข้าใจปัจจัยสาคัญที่มีผลต่อการรับและปลดปล่อยพลังงานจากดวงอาทิตย์กระบวนการที่ทาให้
เกิดสมดุลพลังงานของโลก ผลของแรงเนื่องจากความแตกต่างของความกดอากาศ แรงคอริออลิส
แรงสู่ศูนย์กลางและแรงเสียดทานที่มีต่อการหมุนเวียนของอากาศ การหมุนเวียน ของอากาศตามเขตละติจูด
และผลที่มีต่อภูมิอากาศ ปัจจัยที่ทาให้เกิดการแบ่งชั้นน้าและการหมุนเวียน ของน้าในมหาสมุทร รูปแบบการ
หมุนเวียนของน้าในมหาสมุทร และผลของการหมุนเวียนของน้า ในมหาสมุทรที่มีต่อลักษณะลมฟ้าอากาศ
สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างเสถียรภาพ อากาศและการเกิดเมฆ การเกิดแนวปะทะอากาศ
แบบต่าง ๆ และลักษณะลมฟ้าอากาศที่เกี่ยวข้อง ปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก
รวมทั้งการแปลความหมายสัญลักษณ์ ลมฟ้าอากาศ และการพยากรณ์ลักษณะลมฟ้าอากาศเบื้องต้น
จากแผนท่ีอากาศและขอ้ มูลสารสนเทศ

❖ เข้าใจการกาเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลังงาน สสาร ขนาดอุณหภูมิของเอกภพหลักฐาน
ที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง ประเภทของกาแล็กซี โครงสร้างและองค์ประกอบของกาแล็กซี ทางช้างเผือก
กระบวนการเกิดดาวฤกษ์ และการสร้างพลังงานของดาวฤกษ์ ปัจจัยที่ส่งผลต่อ ความส่องสว่างของดาวฤกษ์
และความสัมพันธ์ระหว่างความส่องสว่างกับโชติมาตรของดาวฤกษ์ ความสัมพันธ์ระหว่างสี อุณหภูมิผิว
และสเปกตรัมของดาวฤกษ์ วิธีการหาระยะทางของดาวฤกษ์ ด้วยหลักการแพรัลแลกซ์ วิวัฒนาการและการ
เปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการของดาวฤกษ์ กระบวนการเกิดระบบสุริยะ การแบ่งเขตบริวารของดวงอาทิตย์
ลักษณะของดาวเคราะห์ที่เอื้อต่อการ ดารงชีวิต การโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ด้วยกฎเคพเลอร์
และกฎความโน้มถ่วงของนิวตัน โครงสร้างของดวงอาทิตย์ การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะและผลที่มีต่อโลก
การระบุพิกัดของดาว ในระบบขอบฟ้าและระบบศูนย์สูตร เส้นทางการขึ้นการตกของดวงอาทิตย์และดาวฤกษ์
เวลา สุริยคติ และการเปรียบเทียบเวลาของแต่ละเขตเวลาบนโลก การสารวจอวกาศและการประยุกต์
ใช้ เทคโนโลยีอวกาศ

❖ ระบุปัญหา ต้ังคาถามท่ีจะสารวจตรวจสอบ โดยมกี ารกาหนดความสมั พันธ์ระหว่าง ตัวแปรต่าง ๆ
สืบค้นข้อมูลจากหลายแหล่ง ตั้งสมมติฐานที่เป็นไปได้หลายแนวทาง ตัดสินใจเลือก ตรวจสอบสมมติฐานที่
เป็นไปได้

❖ ต้ังคาถามหรือกาหนดปัญหาที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ ที่แสดง
ให้เห็นถึงการใช้ความคิดระดับสูงที่สามารถสารวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้ อย่างครอบคลุมและเชื่อถือ
ได้ สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับหรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบ เพื่อนาไปสู่ การสารวจตรวจสอบออกแบบ
วิธีการสารวจตรวจสอบตามสมมติฐานที่กาหนดไว้ได้อย่างเหมาะสม มีหลักฐานเชิงประจักษ์ เลือกวัสดุ

อสิ ลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

อุปกรณ์ รวมทั้งวิธีการในการสารวจตรวจสอบอย่างถูกต้อง ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ และบันทึกผล
การสารวจตรวจสอบอย่างเป็นระบบ

❖ วิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูล และประเมินความสอดคล้องของข้อสรุปเพื่อตรวจสอบ
กบั สมมติฐานท่ีตั้งไว้ ให้ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงวิธีการสารวจตรวจสอบ จัดกระทา ขอ้ มูลและนาเสนอข้อมูล
ด้วยเทคนิควิธีที่เหมาะสม สื่อสารแนวคิด ความรู้ จากผลการสารวจ ตรวจสอบ โดยการพูด เขียน จัดแสดง
หรอื ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอ่ื ให้ผอู้ ืน่ เข้าใจ โดยมีหลกั ฐาน อา้ งองิ หรือมีทฤษฎรี องรบั

❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ ในการสืบเสาะหาความรู้ โดย
ใช้เครื่องมือ และวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้อง เชื่อถือได้ มีเหตุผลและยอมรับได้ว่าความรู้ ทางวิทยาศาสตร์
อาจมีการเปล่ยี นแปลงได้

❖ แสดงถึงความพอใจและเห็นคุณค่าในการค้นพบความรู้ พบคาตอบ หรือแก้ปัญหาได้ทางาน
ร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นโดยมีข้อมูลอ้างอิงและเหตุผลประกอบ เกี่ยวกับผลของการ
พัฒนาและการใช้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอย่างมีคุณธรรมต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม และยอมรับฟังความ
คดิ เห็นของผอู้ ื่น

❖ เข้าใจความสัมพันธ์ของความรู้วิทยาศาสตร์ที่มีผลต่อการพัฒนาเทคโนโลยีประเภทต่าง ๆ
และการพัฒนาเทคโนโลยีที่ส่งผลให้มีการคิดค้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ก้าวหน้า ผลของเทคโนโลยีต่อชีวิต
สังคม และสงิ่ แวดลอ้ ม

❖ ตระหนักถึงความสาคัญและเห็นคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ใช้ใน
ชีวิตประจาวัน ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดารงชีวิต และการประกอบ
อาชีพแสดงความชื่นชม ภูมิใจ ยกย่อง อ้างอิงผลงาน ช้ินงานท่ีเป็นผลมาจาก ภูมิปัญญาท้องถิ่นและการพัฒนา
เทคโนโลยีทที่ ันสมัย ศกึ ษาหาความรูเ้ พิ่มเติม ทาโครงงาน หรอื สร้างชนิ้ งานตามความสนใจ

❖ แสดงความซาบซึง้ ห่วงใย มพี ฤตกิ รรมเกีย่ วกบั การใชแ้ ละรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติ และ

สิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า เสนอตัวเองร่วมมือปฏิบัติกับชุมชนในการป้องกัน ดูแลทรัพยากร ธรรมชาติและ

สิง่ แวดลอ้ มของทอ้ งถิน่

17

มาตรฐานการเรยี นร้แู กนกลาง

อิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

สาระที่ ๑ วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับ

สิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศการถ่ายทอดพลังงาน
การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อ
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมแนวทางในการอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและการแก้ไขปญั หาสง่ิ แวดลอ้ ม
รวมทงั้ นาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

ม. ๑ – ๓ ม. ๔ - ๖

ม.๑ - ม.๔

ม.๒ - ๑. สบื ค้นข้อมูลและอธิบายความสมั พนั ธข์ องสภาพ

ม.๓ ทางภมู ศิ าสตรบ์ นโลกกบั ความหลากหลายของไบ

๑. อธบิ ายปฏสิ มั พนั ธ์ขององค์ประกอบของระบบ โอม และยกตวั อยา่ งไบโอมชนิดต่าง ๆ

นิเวศที่ได้จากการสารวจ ๒. สบื คน้ ข้อมูล อภิปรายสาเหตุ และยกตัวอย่างการ

๒. อธบิ ายรูปแบบความสมั พันธร์ ะหว่างส่งิ มชี วี ิต เปลี่ยนแปลงแทนท่ีของระบบนิเวศ

กับสิ่งมชี ีวิตรปู แบบต่าง ๆ ในแหลง่ ทีอ่ ยเู่ ดยี วกันที่ ๓. สืบค้นข้อมูล อธิบายและยกตัวอย่างเกี่ยวกับการ

ไดจ้ ากการสารวจ เปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบทางกายภาพและทาง

๓. สร้างแบบจาลองในการอธิบายการถ่ายทอด ชีวภาพทีม่ ผี ลต่อการเปลย่ี นแปลงขนาด

พลงั งานในสายใยอาหาร ของประชากรสิ่งมชี วี ติ ในระบบนเิ วศ

๔. อธบิ ายความสัมพันธ์ของผู้ผลิต ผบู้ ริโภค และ ๔. สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับปัญหาและ

ผู้ยอ่ ยสลายสารอินทรีย์ในระบบนิเวศ ผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

๕. อธิบายการสะสมสารพิษในสิ่งมชี วี ิตในโซอ่ าหา พร้อมทั้งน าเสนอแนว ทางในการอนุ รักษ์

๖. ตระหนักถึงความสัมพันธ์ของส่ิงมชี ีวิต และ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดลอ้ ม

สงิ่ แวดล้อมในระบบนเิ วศ โดยไม่ทาลายสมดุล

ของระบบนเิ วศ

ม.๕ -

ม.๖ -

18

สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ

อิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้า และออก

จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน

ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ไปใช้

ประโยชน์

ม. ๑ – ๓ ม. ๔ - ๖

ม.๑ ม.๔

๑. เปรียบเทียบรูปร่าง ลักษณะ และโครงสร้าง ๑. อธิบายโครงสร้างและสมบัติของเย่ือหุม้ เซลลท์ ี่

ของเซลล์พชื และเซลล์สตั ว์ รวมท้ังบรรยายหน้าท่ี สัมพนั ธก์ ับการลาเลียงสาร และเปรยี บเทยี บ

ของผนงั เซลล์ เยอ่ื หุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม การลาเลยี งสารผ่านเยอื่ หุม้ เซลลแ์ บบตา่ ง ๆ

นวิ เคลยี ส แวควิ โอล ไมโทคอนเดรียและคลอโรพ ๒. อธบิ ายการควบคมุ ดุลยภาพของน้าและสารใน

ลาสต์ เลือดโดยการทางานของไต

๒. ใช้กลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงศึกษาเซลลแ์ ละ ๓. อธบิ ายการควบคมุ ดลุ ยภาพของกรด-เบสของ

โครงสร้างต่าง ๆ ภายในเซลล์ เลือดโดยการทางานของไตและปอด

๓. อธิบายความสมั พันธ์ระหว่างรูปรา่ งกบั การทา ๔. อธบิ ายการควบคมุ ดุลยภาพของอุณหภมู ภิ ายใน

หนา้ ทข่ี องเซลล์ รา่ งกายโดยระบบหมนุ เวียนเลือด ผวิ หนัง และ

๔. อธิบายการจดั ระบบของส่ิงมชี ีวติ โดยเรม่ิ จาก กลา้ มเน้อื โครงรา่ ง

เซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบอวยั วะ จนเป็น ๕. อธิบาย และเขียนแผนผงั เกยี่ วกับการตอบสนอง

สิง่ มีชวี ิต ของรา่ งกายแบบไม่จาเพาะ และแบบจาเพาะต่อสิ่ง

๕. อธบิ ายกระบวนการแพร่และออสโมซิสจาก แปลกปลอมของร่างกาย

หลักฐานเชงิ ประจักษ์ และยกตวั อย่างการแพร่ ๖. สบื คน้ ข้อมลู อธบิ าย และยกตัวอยา่ งโรคหรือ

และออสโมซสิ ในชวี ติ ประจาวัน อาการที่เกิดจากความผิดปกติของระบบ

๖. ระบปุ ัจจยั ท่จี าเป็นในการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง ภมู คิ ุ้มกนั

และผลผลติ ทีเ่ กดิ ขน้ึ จากการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง ๗. อธิบายภาวะภูมคิ ุ้มกนั บกพรอ่ งที่มีสาเหตมุ าจาก

โดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ การติดเช้ือ HIV

๗. อธิบายความสาคัญของการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง ๘. ทดสอบ และบอกชนดิ ของสารอาหารท่ีพืช

ของพืชต่อส่งิ มชี วี ิตและสิ่งแวดล้อม สงั เคราะห์ได้

๘. ตระหนกั ในคณุ คา่ ของพชื ทมี่ ีตอ่ ส่งิ มชี วี ติ และ ๙. สบื คน้ ข้อมูล อภิปราย และยกตวั อย่างเกี่ยวกับ

สงิ่ แวดลอ้ ม โดยการร่วมกนั ปลูกและดูแลรักษา การใชป้ ระโยชน์จากสารต่าง ๆ ที่พชื บางชนดิ สร้าง

ต้นไม้ในโรงเรยี นและชมุ ชน ขน้ึ

๙. บรรยายลกั ษณะและหน้าท่ีของไซเล็มและโฟล ๑๐. ออกแบบการทดลอง ทดลอง และอธบิ าย

เอม็ เกีย่ วกับปัจจยั ภายนอกท่ีมีผลต่อการเจรญิ เตบิ โตของ

๑๐. เขยี นแผนภาพท่ีบรรยายทิศทางการลาเลียง พืช

สารในไซเลม็ และโฟลเอ็มของพืช

อสิ ลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย

หลกั สตู รกลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

๑๑. อธิบายการสบื พนั ธุ์แบบอาศยั เพศ และไม่ ๑๑. สบื ค้นข้อมลู เกีย่ วกับสารควบคุมการ 19

อาศัยเพศของพืชดอก เจริญเตบิ โตของพชื ท่ีมนุษย์สังเคราะห์ข้นึ และ

๑๒. อธิบายลกั ษณะโครงสรา้ งของดอกท่ีมสี ว่ นทา ยกตัวอย่างการนามาประยุกต์ใช้ทางด้านการเกษตร

ให้เกดิ การถา่ ยเรณู รวมทง้ั บรรยาย การปฏิสนธิ ของพืช

ของพืชดอก การเกดิ ผลและเมลด็ การกระจาย ๑๒. สังเกต และอธิบายการตอบสนองของพชื ต่อส่ิง

เมล็ด และการงอกของเมลด็ เรา้ ในรปู แบบต่าง ๆ ทม่ี ีผลต่อการดารงชวี ติ

๑๓. ตระหนักถงึ ความสาคัญของสตั ว์ท่ชี ่วยในการ

ถา่ ยเรณขู องพืชดอก โดยการไมท่ าลายชีวติ ของ ม.๕ -

สัตวท์ ่ีช่วยในการถ่ายเรณู ม.๖ -

๑๔.อธบิ ายความสาคัญของธาตุอาหารบางชนิดที่

มีผลต่อการเจรญิ เติบโตและการดารงชีวติ ของพชื

๑๕.เลือกใชป้ ยุ๋ ท่มี ธี าตุอาหารเหมาะสมกบั พชื ใน

สถานการณ์ท่กี าหนด

๑๖.เลอื กวธิ ีการขยายพันธ์ุพืชให้เหมาะสมกบั

ความตอ้ งการของมนษุ ย์ โดยใชค้ วามรูเ้ ก่ยี วกับ

การสืบพนั ธข์ุ องพชื

๑๗.อธิบายความสาคัญของเทคโนโลยกี าร

เพาะเลีย้ งเน้ือเยื่อพืชในการใชป้ ระโยชน์ดา้ นต่างๆ

๑๘. ตระหนักถึงประโยชนข์ องการขยายพนั ธ์ุพชื

โดยการนาความรไู้ ปใช้ในชีวิตประจาวัน

ม.๒

๑. ระบอุ วัยวะและบรรยายหน้าที่ของอวัยวะที่

เกยี่ วข้องในระบบหายใจ

๒. อธิบายกลไกการหายใจเข้าและออก โดยใช้

แบบจาลอง รวมท้ังอธิบายกระบวนการ

แลกเปล่ยี นแก๊ส

๓. ตระหนักถึงความสาคัญของระบบหายใจโดย

การบอกแนวทางในการดูแลรกั ษาอวยั วะ

ในระบบหายใจให้ทางานเปน็ ปกติ

๔. ระบุอวัยวะและบรรยายหนา้ ที่ของอวัยวะใน

ระบบขบั ถา่ ยในการกาจัดของเสยี ทางไต

๕. ตระหนกั ถึงความสาคญั ของระบบขบั ถา่ ยใน

การกาจดั ของเสียทางไต โดยการบอกแนวทางใน

อสิ ลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

การปฏิบัตติ นท่ีชว่ ยใหร้ ะบบขับถ่ายทาหน้าที่ได้
อยา่ งปกติ
๖. บรรยายโครงสรา้ งและหน้าท่ขี องหวั ใจหลอด
เลอื ด และเลือด
๗. อธิบายการทางานของระบบหมุนเวยี นเลอื ด
โดยใชแ้ บบจาลอง
๘. ออกแบบการทดลองและทดลอง ในการ
เปรียบเทียบอตั ราการเตน้ ของหวั ใจ ขณะปกติ
และหลังทากิจกรรม
๙. ตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของระบบหมุนเวียน
เลอื ดโดยการบอกแนวทางในการดูแลรักษา
อวัยวะ
๑๐. ระบอุ วัยวะและบรรยายหนา้ ทีข่ องอวัยวะใน
ระบบประสาทส่วนกลางในการควบคุม
การทางานต่าง ๆ ของรา่ งกาย
๑๑. ตระหนกั ถึงความสาคัญของระบบประสาท
โดยการบอกแนวทางในการดูแลรักษา รวมถงึ
การปอ้ งกันการกระทบกระเทือนและอนั ตรายต่อ
สมองและไขสนั หลัง
๑๒. ระบุอวัยวะและบรรยายหนา้ ทขี่ องอวัยวะใน
ระบบสืบพนั ธุข์ องเพศชายและเพศหญิง
โดยใช้แบบจาลอง
๑๓. อธบิ ายผลของฮอร์โมนเพศชายและเพศหญงิ
ท่ีควบคุมการเปลี่ยนแปลงของรา่ งกาย เม่ือเขา้ สู่
วยั หนมุ่ สาว
๑๔. ตระหนักถงึ การเปลี่ยนแปลงของร่างกายเมอ่ื
เขา้ สวู่ ัยหน่มุ สาว โดยการดแู ลรกั ษารา่ งกาย
และจติ ใจของตนเองในช่วงที่มี
การเปลีย่ นแปลง
๑๕. อธิบายการตกไข่ การมปี ระจาเดอื นการ
ปฏิสนธิ และการพัฒนาของไซโกตจนคลอดเป็น
ทารก

อสิ ลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

๑๖. เลอื กวิธกี ารคุมกาเนิดท่เี หมาะสมกบั
สถานการณ์ท่ีกาหนด
๑๗. ตระหนกั ถึงผลกระทบของการต้ังครรภก์ ่อน
วยั อนั ควร โดยการประพฤตติ นให้เหมาะสม
ม.๓ -

อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย 21
หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร

พันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลาย ทางชีวภาพและวิวัฒนาการ
ของส่งิ มีชีวติ รวมทั้งนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

ม. ๑ – ๓ ม. ๔ - ๖

ม.๑ - ม.๔

ม.๒ - ๑. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างยีน การสังเคราะห์

ม.๓ โปรตนี และลักษณะทางพันธกุ รรม

๑. อธิบายความสัมพนั ธร์ ะหว่าง ยนี ดีเอ็นเอ และ ๒. อธบิ ายหลกั การถ่ายทอดลักษณะทีถ่ ูกควบคมุ ดว้ ย

โครโมโซม โดยใชแ้ บบจาลอง ยีนทอี่ ยบู่ นโครโมโซมเพศและมลั ติเปลิ แอลลีล

๒. อธิบายการถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม ๓. อธิบายผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงลาดับนิวคลี

จากการผสมโดยพจิ ารณาลกั ษณะเดียวท่ีแอลลี โอไทดใ์ นดเี อ็นเอตอ่ การแสดงลกั ษณะของสิง่ มชี วี ติ

ลเดน่ ขม่ แอลลีลด้อยอย่างสมบรู ณ์ ๔. สืบค้นข้อมูล และยกตัวอย่างการนามิวเทชันไปใช้

๓. อธบิ ายการเกิดจีโนไทป์และฟีโนไทปข์ องลูก ประโยชน์

และคานวณอัตราสว่ นการเกิดจโี นไทป์ ๕. สบื ค้นข้อมลู และอภปิ รายผลของเทคโนโลยที างดี

และฟีโนไทปข์ องรนุ่ ลูก เอ็นเอทีม่ ตี อ่ มนษุ ยแ์ ละสงิ่ แวดลอ้ ม

๔. อธบิ ายความแตกต่างการแบง่ เซลล์แบบไมโทซิส ๖. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างความ

และไมโอซิส หลากหลายของสิ่งมีชีวิต ซึ่งเป็นผลมาจาก

๕. บอกไดว้ า่ การเปล่ยี นแปลงของยีนหรือ ววิ ัฒนาการ

โครโมโซมอาจทาใหเ้ กิดโรคทางพนั ธุกรรม

พร้อมทั้งยกตวั อยา่ งโรคทางพันธุกรรม ม.๕ -

๖. ตระหนักถงึ ประโยชนข์ องความรู้เร่อื งโรคทาง ม.๖ -

พนั ธุกรรม โดยรู้ว่ากอ่ นแตง่ งานควรปรึกษาแพทย์

เพื่อตรวจและวนิ ิจฉยั ภาวะเสย่ี งของลูกท่ีอาจเกิด

โรคทางพนั ธกุ รรม

๗. อธบิ ายการใช้ประโยชน์จากสิ่งมชี วี ิตดัดแปร
พนั ธุกรรม และผลกระทบทอี่ าจมตี อ่ มนุษย์
และส่งิ แวดลอ้ ม โดยใชข้ ้อมูลท่รี วบรวมได้
๘. ตระหนกั ถึงประโยชนแ์ ละผลกระทบของ
สงิ่ มชี ีวติ ดัดแปรพนั ธกุ รรมทีอ่ าจมตี อ่ มนุษยแ์ ละ

อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย 22
หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

สง่ิ แวดล้อมโดยการเผยแพรค่ วามรู้ทไี่ ด้จากการ
โต้แยง้ ทาง
วทิ ยาศาสตร์ ซง่ึ มีข้อมูลสนบั สนุน
๙. เปรยี บเทียบความหลากหลายทางชีวภาพใน
ระดบั ชนิดส่ิงมชี ีวติ ในระบบนิเวศต่าง ๆ
๑๐. อธิบายความสาคญั ของความหลากหลายทาง
ชีวภาพทมี่ ีตอ่ การรักษาสมดุลของระบบนเิ วศ
และต่อมนษุ ย์
๑๑. แสดงความตระหนกั ในคุณค่าแลความสาคัญ
ของความหลากหลายทางชวี ภาพ โดยมีสว่ นร่วมใน
การดูแลรกั ษาความหลากหลายทางชีวภาพ

อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย 23
หลักสตู รกล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

สาระที่ ๒ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติ ของ

สสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติ ของการเปลี่ยนแปลงสถานะของ
สสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี

ม. ๑ – ๓ ม. ๔ - ๖

ม.๑ ม.๔ -

๑. อธบิ ายสมบัตทิ างกายภาพบางประการของธาตุ ม.๕

โลหะ อโลหะ และกง่ึ โลหะ โดยใช้หลกั ฐาน ๑. ระบวุ า่ สารเปน็ ธาตุหรอื สารประกอบ และอยูใ่ น

เชิงประจกั ษ์ที่ไดจ้ ากการสังเกตและการทดสอบและ รปู อะตอม โมเลกลุ หรอื ไอออนจากสตู รเคมี

ใช้สารสนเทศทีไ่ ดจ้ ากแหลง่ ข้อมูลตา่ ง ๆรวมทั้งจัด ๒. เปรยี บเทยี บความเหมอื นและความแตกต่างของ

กลุ่มธาตเุ ป็นโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ แบบจาลองอะตอมของโบร์กับแบบจาลอง

๒. วิเคราะหผ์ ลจากการใชธ้ าตโุ ลหะ อโลหะ กงึ่ โลหะ อะตอมแบบกล่มุ หมอก

และธาตกุ มั มนั ตรังสี ทม่ี ตี อ่ ส่งิ มชี วี ติ สิ่งแวดล้อม ๓. ระบุจานวนโปรตอน นวิ ตรอน และอิเลก็ ตรอนของ

เศรษฐกจิ และสังคม จากข้อมูลท่รี วบรวมได้ อะตอม และไอออนท่ีเกิดจากอะตอมเดยี ว

๓. ตระหนกั ถึงคุณค่าของการใช้ธาตโุ ลหะ อโลหะกึ่ง ๔. เขียนสัญลกั ษณ์นวิ เคลยี รข์ องธาตุและระบุการเป็น

โลหะ ธาตกุ ัมมันตรังสี โดยเสนอแนวทาง ไอโซโทป

การใชธ้ าตุอยา่ งปลอดภัย คุ้มค่า ๕. ระบุหมแู่ ละคาบของธาตุ และระบวุ ่าธาตเุ ป็นโลหะ

๔. เปรียบเทยี บจดุ เดือด จุดหลอมเหลวของสาร อโลหะ ก่งึ โลหะ กลมุ่ ธาตุเรพรเี ซนเททีฟ

บริสุทธ์ิ หรือกลมุ่ ธาตแุ ทรนซชิ นั จากตารางธาตุ

และสารผสม โดยการวัดอุณหภูมิ เขียนกราฟแปล ๖. เปรยี บเทยี บสมบัติการนาไฟฟ้า การใหแ้ ละรับ

ความหมายข้อมูลจากกราฟ หรอื สารสนเทศ อิเล็กตรอนระหวา่ งธาตใุ นกลุ่มโลหะกับอโลหะ

๕. อธิบายและเปรียบเทียบความหนาแนน่ ของสาร ๗. สืบคน้ ข้อมลู และนาเสนอตัวอยา่ งประโยชนแ์ ละ

บรสิ ทุ ธิแ์ ละสารผสม อนั ตรายท่เี กิดจากธาตุเรพรเี ซนเททฟี และ

๖. ใช้เคร่ืองมอื เพ่ือวัดมวลและปริมาตรของสาร ธาตุแทรนซิชัน

บรสิ ุทธิ์และสารผสม ๘. ระบวุ ่าพนั ธะโคเวเลนต์เป็นพนั ธะเด่ียว พันธะคู่

๗. อธบิ ายเก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างอะตอมธาตุ หรอื พันธะสาม และระบุจานวนคู่อเิ ลก็ ตรอนระหวา่ ง

และสารประกอบ โดยใช้แบบจาลอง อะตอมคู่ร่วมพนั ธะ จากสูตรโครงสรา้ ง

และสารสนเทศ ๙. ระบุสภาพขั้วของสารท่ีโมเลกุลประกอบด้วย๒

๘. อธบิ ายโครงสร้างอะตอมที่ประกอบด้วยโปรตอน อะตอม

นวิ ตรอน และอิเลก็ ตรอน โดยใช้แบบจาลอง ๑๐. ระบุสารท่ีเกิดพนั ธะไฮโดรเจนไดจ้ ากสตู ร

๙. อธบิ ายและเปรยี บเทียบการจดั เรยี งอนภุ าคแรงยดึ โครงสร้าง

เหน่ยี วระหวา่ งอนภุ าค และการเคลอ่ื นที่ของอนุภาค

อสิ ลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

ของสสารชนิดเดยี วกันในสถานะของแข็ง ของเหลว ๑๑. อธบิ ายความสัมพันธร์ ะหวา่ งจดุ เดอื ดของสารโคเว

และแก๊ส โดยใชแ้ บบจาลอง เลนตก์ ับแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลตามสภาพข้ัวหรือ

๑๐. อธิบายความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง พลังงานความร้อน การเกดิ พนั ธะไฮโดรเจน

กบั การเปลี่ยนสถานะของสสาร โดยใชห้ ลักฐานเชงิ ๑๒. เขียนสตู รเคมีของไอออนและสารประกอบไอออ

ประจักษ์และแบบจาลอง นกิ 24

๑๓. ระบวุ ่าสารเกิดการละลายแบบแตกตัวหรือไม่แตก

ตวั พร้อมให้เหตผุ ลและระบวุ ่าสารละลายทีไ่ ดเ้ ปน็
ม.๒ สารละลายอิเล็กโทรไลต์
๑. อธบิ ายการแยกสารผสมโดยการระเหยแห้งการตก หรอื นอนอิเล็กโทรไลต์
ผลกึ การกลัน่ อยา่ งง่ายโครมาโทกราฟแี บบกระดาษ ๑๔. ระบุสารประกอบอินทรีย์ประเภทไฮโดรคารบ์ อน
การสกัดด้วยตวั ทาละลาย โดยใชห้ ลกั ฐานเชิง
ว่าอม่ิ ตัวหรือไม่อ่ิมตัวจากสตู รโครงสรา้ ง
ประจกั ษ์
๑๕. สืบคน้ ข้อมลู และเปรียบเทยี บสมบัตทิ างกายภาพ
๒. แยกสารโดยการระเหยแห้ง การตกผลึกการกล่ัน ระหว่างพอลเิ มอร์และมอนอเมอรข์ องพอลิเมอร์ชนิดนนั้
อยา่ งง่าย โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ
๑๖. ระบุสมบัติความเป็นกรด-เบสจากโครงสร้างของ
การสกดั ดว้ ยตัวทาละลาย
สารประกอบอนิ ทรยี ์
๓. นาวิธกี ารแยกสารไปใชแ้ ก้ปัญหาในชวี ติ ประจาวนั ๑๗. อธิบายสมบตั กิ ารละลายในตวั ทาละลายชนดิ ตา่ ง
โดยบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตรเ์ ทคโนโลยี ๆ ของสาร
และวศิ วกรรมศาสตร์
๑๘. วเิ คราะหแ์ ละอธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหว่าง
๔. ออกแบบการทดลองและทดลองในการอธบิ ายผล โครงสรา้ งกบั สมบตั ิเทอรม์ อพลาสติกและเทอรม์ อเซต
ของชนดิ ตวั ละลาย ชนดิ ตัวทาละลายอุณหภมู ิท่ีมตี ่อ ของพอลิเมอร์ และการนาพอลิเมอร์ไปใช้ประโยชน์
สภาพละลายได้ของสาร รวมทงั้ อธิบายผลของความ ๑๙. สบื ค้นข้อมลู และนาเสนอผลกระทบของการใช้
ดันทม่ี ีต่อสภาพละลายได้
ผลิตภัณฑพ์ อลเิ มอร์ท่มี ีต่อส่งิ มีชีวิตและ
ของสาร โดยใช้สารสนเทศ
สิง่ แวดล้อม พร้อมแนวทางป้องกนั หรือแก้ไข
๕. ระบุปริมาณตัวละลายใน
๒๐. ระบุสูตรเคมีของสารตงั้ ต้น ผลิตภณั ฑ์ และแปล
สารละลาย ในหน่วย
ความหมายของสญั ลักษณ์ในสมการเคมี
ความเข้มข้นเปน็ รอ้ ยละ ปริมาตรต่อปรมิ าตร
ของปฏกิ ิรยิ าเคมี
มวลต่อมวล และมวลตอ่ ปริมาตร
๒๑. ทดลองและอธบิ ายผลของความเข้มข้นพนื้ ท่ีผิว
๖. ตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของการนาความรู้เร่ือง อณุ หภูมิ และตวั เร่งปฏกิ ิรยิ าทม่ี ผี ลต่ออัตราการ
ความเข้มขน้ ของสารไปใช้ โดยยกตวั อย่างการใช้ เกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี
สารละลายในชีวิตประจาวันอย่างถูกต้อง
๒๒. สบื คน้ ขอ้ มลู และอธิบายปัจจยั ทีม่ ผี ลตอ่ อัตราการ
และปลอดภยั
เกิดปฏิกริ ยิ าเคมที ใี่ ชป้ ระโยชนใ์ นชวี ิตประจาวันหรอื ใน
ม.๓ อตุ สาหกรรม
๑. ระบสุ มบัติทางกายภาพและการใช้ประโยชน์ ๒๓. อธบิ ายความหมายของปฏิกริ ิยารีดอกซ์
วสั ดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิก และวสั ดุผสม

อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

โดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจักษ์ และสารสนเทศ ๒๔. อธิบายสมบัติของสารกมั มันตรังสี และคานวณครึ่ง 25

๒. ตระหนักถึงคุณค่าของการใช้วสั ดปุ ระเภท ชวี ิตและปริมาณของสารกัมมันตรงั สี

พอลเิ มอร์ เซรามิก และวัสดุผสม โดยเสนอแนะ ๒๕. สืบค้นขอ้ มูลและนาเสนอตัวอยา่ งประโยชนข์ อง

แนวทางการใชว้ ัสดอุ ย่างประหยัดและคมุ้ คา่ สารกมั มันตรังสแี ละการป้องกันอันตรายทเ่ี กิดจาก

๓. อธิบายการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี รวมถึงการจัด กัมมันตภาพรงั สี

เรียงตัวใหมข่ องอะตอมเม่ือเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี ม.๖ -

โดยใช้แบบจาลองและสมการขอ้ ความ

๔. อธิบายกฎทรงมวล โดยใช้หลักฐานเชงิ ประจักษ์

๕. วิเคราะหป์ ฏิกริ ยิ าดูดความร้อน และปฏกิ ริ ิยา

คายความร้อน จากการเปลย่ี นแปลงพลงั งาน

ความร้อนของปฏิกริ ิยา

๖. อธิบายปฏิกิริยาการเกดิ สนมิ ของเหลก็ ปฏิกิรยิ า

ของกรดกับโลหะ ปฏกิ ริ ยิ าของกรดกับเบส และ

ปฏิกิรยิ าของเบสกบั โลหะ โดยใชห้ ลกั ฐานเชิง

ประจกั ษ์ และอธบิ ายปฏิกริ ยิ าการเผาไหม้

การเกดิ ฝนกรด การสังเคราะหด์ ้วยแสง โดยใช้

สารสนเทศ รวมทั้งเขยี นสมการขอ้ ความแสดง

ปฏกิ ิรยิ าดงั กลา่ ว

๗. ระบุประโยชน์และโทษของปฏิกิรยิ าเคมี

ทม่ี ตี ่อสิ่งมีชีวติ และสงิ่ แวดล้อม และยกตัวอย่าง

วิธีการปอ้ งกนั และแก้ปญั หาที่เกดิ จากปฏิกิรยิ าเคมี ท่ี

พบในชวี ิตประจาวนั จากการสืบคน้ ข้อมูล

๘. ออกแบบวิธแี ก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน โดยใช้

ความรเู้ กย่ี วกบั ปฏิกิรยิ าเคมี โดยบรู ณาการ

วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี และ

วศิ วกรรมศาสตร์

อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย

หลักสูตรกลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 26

สาระท่ี ๒ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุ ลักษณะการ

เคล่อื นทแ่ี บบตา่ ง ๆ ของวัตถุ รวมทัง้ นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ม. ๑ – ๓ ม. ๔ - ๖

ม.๑ ม.๔ -

๑. สร้างแบบจาลองทอี่ ธิบายความสมั พันธร์ ะหวา่ ง ม.๕

ความดันอากาศกบั ความสงู จากพนื้ โลก ๑. วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลความเร็วกับ

ม.๒ เวลาของการเคลื่อนที่ของวตั ถุ เพอื่ อธิบาย

๑. พยากรณ์การเคลอื่ นที่ของวัตถทุ เ่ี ป็นผลของแรง ความเรง่ ของวัตถุ

ลพั ธ์ทเ่ี กิดจากแรงหลายแรงท่ีกระทาต่อวัตถุ ๒. สังเกตและอธิบายการหาแรงลัพธ์ที่เกิดจากแรง

ในแนวเดยี วกนั จากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ หลายแรงที่อยใู่ นระนาบเดียวกันทีก่ ระทาต่อ

๒. เขียนแผนภาพแสดงแรงและแรงลัพธท์ ่ีเกิดจากแรง วัตถุโดยการเขยี นแผนภาพการรวมแบบเวกเตอร์

หลายแรงทกี่ ระทาต่อวัตถุในแนวเดยี วกนั ๓. สังเกต วิเคราะห์ และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง

๓. ออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ยวธิ ีท่ีเหมาะสม ความเรง่ ของวตั ถุกบั แรงลพั ธ์

ในการอธิบายปัจจัยท่มี ผี ลต่อความดัน ทกี่ ระทาตอ่ วัตถแุ ละมวลของวัตถุ

ของของเหลว ๔. สงั เกตและอธบิ ายแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาระหว่าง

๔. วิเคราะห์แรงพยุงและการจม การลอยของวัตถุใน วัตถคุ ู่หนึง่ ๆ

ของเหลวจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ ๕. สังเกตและอธิบายผลของความเร่งที่มีต่อการ

๕. เขยี นแผนภาพแสดงแรงท่ีกระทาต่อวัตถุในของเหลว เคลอ่ื นทแี่ บบตา่ ง ๆ ของวัตถุ ได้แก่ การเคลอื่ นท่ี

๖. อธบิ ายแรงเสียดทานสถติ และแรงเสยี ดทานจลน์ แนวตรง การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์การเคลื่อนที่

จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ แบบวงกลม และการเคล่ือนทแ่ี บบส่นั

๗. ออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ยวธิ ีที่ ๖. สืบค้นข้อมูลและอธิบายแรงโนม้ ถ่วง

เหมาะสมในการอธิบายปัจจัยท่มี ผี ลตอ่ ขนาด ทเ่ี ก่ยี วกับการเคล่อื นท่ขี องวตั ถตุ า่ ง ๆ รอบโลก

ของแรงเสยี ดทาน ๗. สังเกตและอธบิ ายการเกิดสนามแมเ่ หลก็

๘. เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงอนื่ ๆ เน่ืองจากกระแสไฟฟา้

ที่กระทาต่อวัตถุ ๘. สงั เกตและอธบิ ายแรงแมเ่ หล็กทีก่ ระทาตอ่

๙. ตระหนกั ถึงประโยชน์ของความร้เู ร่อื งแรงเสียดทาน อนภุ าคทีม่ ปี ระจุไฟฟา้ ทเ่ี คลอื่ นท่ีในสนามแม่เหลก็

โดยวิเคราะหส์ ถานการณ์ปญั หาและเสนอแนะ และแรงแม่เหล็กทก่ี ระทาตอ่ ลวดตวั นาที่มี

วธิ ีการลดหรอื เพมิ่ แรงเสียดทานท่เี ปน็ ประโยชน์ กระแสไฟฟา้ ผ่านในสนามแม่เหลก็ รวมทงั้

ตอ่ การทากิจกรรมในชวี ติ ประจาวัน อธิบายหลกั การทางานของมอเตอร์

๑๐. ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธี ๙. สงั เกตและอธบิ ายการเกิดอเี อ็มเอฟ รวมทัง้

ที่เหมาะสมในการอธิบายโมเมนต์ ยกตัวอย่างการนาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์

อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย

หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

ของแรง เมือ่ วตั ถุอยู่ในสภาพสมดุลตอ่ ๑๐. สบื ค้นขอ้ มลู และอธิบายแรงเข้มและแรงออ่ น
การหมุน และคานวณโดยใช้สมการ ม.๖ -
M = Fl
๑๑. เปรียบเทยี บแหลง่ ของสนามแม่เหล็ก 27
สนามไฟฟ้า และสนามโนม้ ถ่วง และทศิ ทาง
ของแรงทีก่ ระทาต่อวัตถุที่อยู่ในแต่ละสนาม
จากข้อมลู ที่รวบรวมได้
๑๒. เขยี นแผนภาพแสดงแรงแมเ่ หล็ก แรงไฟฟ้า
และแรงโน้มถว่ งทกี่ ระทาต่อวัตถุ
๑๓. วิเคราะห์ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งขนาดของแรง
แมเ่ หลก็ แรงไฟฟ้า และแรงโนม้ ถ่วงทก่ี ระทา
ต่อวัตถุท่ีอย่ใู นสนามนนั้ ๆ กับระยะหา่ งจาก
แหลง่ ของสนามถึงวตั ถจุ ากข้อมลู ท่รี วบรวมได้
๑๔. อธิบายและคานวณอตั ราเร็วและความเร็วของ
การเคล่ือนท่ขี องวัตถุ โดยใช้สมการ

v = และ ⃑ ⃑⃑ =



จากหลักฐานเชิงประจักษ์
๑๕. เขียนแผนภาพแสดงการกระจดั และความเรว็
ม.๓ -

อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 28

สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติ ของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้อง
กบั เสยี ง แสง และคลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟา้ รวมท้งั นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ม. ๑ – ๓ ม. ๔ - ๖

ม.๑ ม.๔ -

๑. วเิ คราะห์ แปลความหมายขอ้ มูล และคานวณปริมาณ ม.๕

ความร้อนท่ีทาใหส้ สารเปลี่ยนอุณหภูมแิ ละเปลยี่ นสถานะ ๑. สืบค้นข้อมูลและอธิบายพลังงานนิวเคลียร์ฟิชชัน

โดยใชส้ มการ Q = mcΔt และ และฟิวชนั และความสมั พันธ์ระหว่างมวล

Q = mL กบั พลงั งานทีป่ ลดปล่อยออกมาจากฟชิ ชันและฟิวชัน

๒. ใช้เทอร์มอมิเตอร์ในการวัดอุณหภูมขิ องสสาร ๒. สบื ค้นข้อมูล และอธิบายการเปล่ยี นพลังงานทดแทน

๓. สรา้ งแบบจาลองทอ่ี ธิบายการขยายตัวหรอื หดตัว เปน็ พลงั งานไฟฟา้ รวมทง้ั สบื คน้ และ

เนอ่ื งจากได้รับหรือสูญเสยี ความร้อน อภิปรายเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่นามาแก้ปัญหาหรือ

๔. ตระหนกั ถงึ ประโยชน์ของความรขู้ องการหดและ ตอบสนองความตอ้ งการทางด้านพลงั งาน

ขยายตวั ของสสารเนอ่ื งจากความร้อนโดยวิเคราะห์ โดยเนน้ ดา้ นประสทิ ธิภาพและความคมุ้ คา่ ด้านค่าใชจ้ า่ ย

สถานการณ์ปัญหา และเสนอแนะวิธีการนาความรู้มา ๓. สังเกต และอธิบายการสะท้อน การหักเหการ

แกป้ ัญหาในชวี ติ ประจาวนั เลีย้ วเบน และการรวมคลืน่

๕. วิเคราะห์สถานการณ์การถ่ายโอนความรอ้ นและ ๔. สงั เกต และอธบิ ายความถ่ีธรรมชาติ การสนั่ พ้องและ

คานวณปรมิ าณความร้อนท่ถี ่ายโอนระหวา่ งสสารจนเกิด ผลทเ่ี กิดขึน้ จากการสัน่ พอ้ ง

สมดลุ ความรอ้ นโดยใช้ ๕. สังเกต และอธิบายการสะท้อน การหักเหการ

สมการ Q สูญเสีย = Q ไดร้ ับ เลย้ี วเบน และการรวมคล่ืนของคลืน่ เสยี ง

๖. สร้างแบบจาลองทอ่ี ธบิ ายการถา่ ยโอนความร้อนโดย ๖. สืบค้นข้อมูล และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความ

การนาความร้อน การพาความรอ้ นการแผร่ ังสีความร้อน เข้มเสยี งกับระดับเสียงและผลของความถี่กับระดบั เสียง

๗. ออกแบบ เลอื กใช้ และสรา้ งอปุ กรณ์ เพื่อแก้ปัญหาใน ท่มี ตี อ่ การได้ยนิ เสียง

ชวี ติ ประจาวันโดยใช้ความรเู้ กี่ยวกับการถา่ ยโอนความ ๗. สงั เกต และอธิบายการเกดิ เสยี งสะท้อนกลับ บี

ร้อน ตดอปเพลอร์ และการส่ันพอ้ งของเสยี ง

ม.๒ ๘. สืบค้นข้อมูล และยกตัวอย่างการนาความรู้เกี่ยวกับ

๑. วเิ คราะหส์ ถานการณแ์ ละคานวณเก่ียวกับงาน และ เสยี งไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ ประจาวนั

กาลงั ท่ีเกดิ จากแรงที่กระทาต่อวตั ถโุ ดยใชส้ มการ ๙. สังเกต และอธิบายการมองเห็นสีของวัตถุและความ

W = Fs และ P= จากขอ้ มูลท่ีรวบรวมได้ ผิดปกตใิ นการมองเห็นสี

๒. วิเคราะหห์ ลักการทางานของเครื่องกลอย่างง่าย จาก

ขอ้ มลู ท่รี วบรวมได้

อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

๑๐. สังเกต และอธิบายการทางานของแผ่นกรองแสงสี

๓. ตระหนกั ถึงประโยชน์ของความรูข้ องเครื่องกลอยา่ ง การผสมแสงสี การผสมสารสี และการน าไปใช้
ง่าย โดยบอกประโยชน์ และการประยกุ ต์ใช้ใน ประโยชน์ในชีวิตประจาวนั

ชีวิตประจาวัน ๑๑. สืบค้นข้อมูลและอธบิ ายคล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟา้ 29
๔. ออกแบบและทดลองดว้ ยวิธีทเี่ หมาะสม สว่ นประกอบคลืน่ แม่เหล็กไฟฟา้ และหลัก
ในการอธิบายปัจจยั ที่มผี ลตอ่ พลงั งานจลน์ การทางานของอุปกรณบ์ างชนดิ ทอี่ าศัย
และพลงั งานศักย์โนม้ ถ่วง คล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า
๕. แปลความหมายขอ้ มูลและอธบิ ายการเปลีย่ น ๑๒. สืบค้นขอ้ มลู และอธิบายการสอื่ สาร โดยอาศยั
พลงั งานระหว่างพลังงานศักย์โน้มถว่ งและ คลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟ้าในการสง่ ผา่ นสารสนเทศ
พลังงานจลนข์ องวัตถุโดยพลังงานกลของวตั ถุ และเปรยี บเทยี บการสอ่ื สารดว้ ยสญั ญาณ
มีคา่ คงตวั จากข้อมูลทีร่ วบรวมได้ แอนะล็อกกบั สญั ญาณดจิ ิทลั
๖. วิเคราะห์สถานการณ์และอธบิ ายการเปลี่ยน ม.๖ -
และการถ่ายโอนพลงั งานโดยใช้

กฎการอนรุ ักษ์พลังงาน

ม.๓

๑. วิเคราะหค์ วามสมั พนั ธ์ระหว่างความตา่ งศักย์

กระแสไฟฟา้ และความต้านทาน และคานวณ

ปรมิ าณทเ่ี กย่ี วขอ้ งโดยใช้สมการ V = IR

จากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์

๒. เขียนกราฟความสัมพนั ธร์ ะหว่างกระแสไฟฟ้า

และความต่างศักย์ไฟฟา้

๓. ใชโ้ วลตม์ ิเตอร์ แอมมเิ ตอร์ในการวดั ปริมาณทางไฟฟ้า

๔. วิเคราะหค์ วามตา่ งศักยไ์ ฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า

ในวงจรไฟฟ้าเมื่อต่อตัวต้านทานหลายตัว

แบบอนกุ รมและแบบขนานจากหลักฐาน

เชิงประจักษ์

๕. เขยี นแผนภาพวงจรไฟฟ้าแสดงการต่อตวั ตา้ นทาน

แบบอนกุ รมและขนาน

๖. บรรยายการทางานของชนิ้ สว่ นอิเล็กทรอนิกส์

อย่างงา่ ยในวงจรจากข้อมูลท่ีรวบรวมได้

๗. เขียนแผนภาพและต่อช้ินส่วนอเิ ล็กทรอนิกส์

อย่างงา่ ยในวงจรไฟฟา้

๘. อธิบายและคานวณพลังงานไฟฟ้าโดยใชส้ มการ

อสิ ลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

W = Pt รวมทัง้ คานวณค่าไฟฟ้าของเครื่องใช้ ไฟฟ้าในบ้าน

๙. ตระหนกั ในคณุ ค่าของการเลอื กใชเ้ คร่ืองใช้ไฟฟา้ โดย
นาเสนอวธิ ีการใช้เครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ อยา่ งประหยดั และ
ปลอดภัย
๑๐. สร้างแบบจาลองที่อธิบายการเกิดคล่ืน
และบรรยายสว่ นประกอบของคลน่ื
๑๑. อธบิ ายคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้าและสเปกตรัม
คล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้าจากข้อมลู ท่ีรวบรวมได้
๑๒. ตระหนกั ถึงประโยชนแ์ ละอันตรายจาก
คลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ โดยนาเสนอการใช้ ประโยชนใ์ นดา้ น
ตา่ ง ๆ และอนั ตรายจาก คลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟ้าใน
ชีวติ ประจาวนั
๑๓. ออกแบบการทดลองและดาเนนิ การทดลองดว้ ยวธิ ีที่
เหมาะสมในการอธิบาย
กฎการสะท้อนของแสง
๑๔. เขียนแผนภาพการเคลื่อนที่ของแสง แสดงการเกิด
ภาพจากกระจกเงา
๑๕. อธบิ ายการหักเหของแสงเมื่อผา่ นตัวกลางโปร่งใสที่
แตกต่างกนั และอธิบายการกระจาย
แสงของแสงขาวเมื่อผ่านปรซิ ึมจากหลักฐานเชิงประจักษ์
๑๖. เขียนแผนภาพการเคลื่อนทขี่ องแสงแสดงการเกิด
ภาพจากเลนส์บาง
๑๗. อธบิ ายปรากฏการณท์ ่เี กี่ยวกบั แสง และการทางาน
ของทศั นอุปกรณ์จากข้อมลู ท่ีรวบรวมได้
๑๘. เขียนแผนภาพการเคล่ือนที่ของแสง แสดงการเกิด
ภาพของทศั นอปุ กรณแ์ ละเลนส์ตา
๑๙. อธิบายผลของความสวา่ งท่มี ตี ่อดวงตาจากขอ้ มลู ท่ี
ไดจ้ ากการสบื คน้
๒๐. วดั ความสว่างของแสงโดยใช้อุปกรณ์วดั ความสวา่ ง
ของแสง
๒๑. ตระหนกั ในคุณคา่ ของความร้เู ร่อื ง ความสวา่ งของ
แสงทีม่ ีต่อดวงตา โดยวเิ คราะหส์ ถานการณ์

อิสลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

ปัญหาและเสนอแนะการจัดความสวา่ งใหเ้ หมาะสมในการ
ทากจิ กรรมต่าง ๆ

31

สาระที่ ๓ วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ

กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ ที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการ
ประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ

ม. ๑ – ๓ ม. ๔ - ๖
ม.๑ - ม.๔ -
ม.๒ - ม.๕ -
ม.๓ ม.๖
๑. อธบิ ายการโคจรของดาวเคราะหร์ อบ ดวงอาทิตย์ ๑. อธบิ ายการกาเนดิ และการเปล่ียนแปลงพลงั งาน
ด้วยแรงโนม้ ถว่ งจากสมการ สสาร ขนาด อณุ หภมู ขิ องเอกภพหลังเกดิ
F = (Gm๑ m๒ )/r๒ บกิ แบงในชว่ งเวลาต่าง ๆ ตามววิ ฒั นาการของเอกภพ
๒. สรา้ งแบบจาลองทอ่ี ธิบายการเกดิ ฤดู และ การ ๒. อธิบายหลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง จาก
เคลือ่ นที่ปรากฏของดวงอาทิตย์ ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับระยะทางของกาแล็กซี
๓. สรา้ งแบบจาลองท่อี ธบิ ายการเกิดขา้ งขนึ้ ขา้ งแรม รวมทั้งขอ้ มลู การคน้ พบไมโครเวฟ
การเปลยี่ นแปลงเวลาการขน้ึ และตก ของดวงจนั ทร์ พื้นหลังจากอวกาศ
และการเกิดน้าขึ้นน้าลง ๓. อธบิ ายโครงสร้างและองคป์ ระกอบของกาแลก็ ซี
๔. อธิบายการใช้ประโยชนข์ องเทคโนโลยีอวกาศ ทางช้างเผอื ก และระบตุ าแหน่งของระบบสุรยิ ะ
และยกตัวอย่างความก้าวหน้าของโครงการ พร้อมอธิบายเชื่อมโยงกับการสังเกตเห็นทางช้างเผือก
สารวจอวกาศ จากข้อมลู ทรี่ วบรวมได้ ของคนบนโลก
๔. อธิบายกระบวนการเกดิ ดาวฤกษ์ โดยแสดง
การเปลีย่ นแปลงความดัน อณุ หภูมิ ขนาด
จากดาวฤกษก์ ่อนเกิดจนเป็นดาวฤกษ์

อสิ ลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

๕. ระบปุ จั จยั ที่ส่งผลต่อความส่องสว่างของ 32
ดาวฤกษ์ และอธิบายความสัมพันธ์ระหวา่ ง
ความส่องสวา่ งกับโชตมิ าตรของดาวฤกษ์
๖. อธบิ ายความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสี อณุ หภูมผิ วิ
และสเปกตรัมของดาวฤกษ์
๗. อธบิ ายลาดับวิวัฒนาการทส่ี ัมพันธก์ บั มวลตงั้ ต้น
และวิเคราะหก์ ารเปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการ
ของดาวฤกษ์
๘. อธบิ ายกระบวนการเกดิ ระบบสรุ ยิ ะ และการแบ่ง
เขตบรวิ ารของดวงอาทติ ย์ และลักษณะของ
ดาวเคราะหท์ ี่เอ้อื ตอ่ การดารงชีวติ
๙. อธบิ ายโครงสรา้ งของดวงอาทิตย์ การเกิด
ลมสุริยะ พายสุ รุ ิยะ และสบื คน้ ข้อมลู วิเคราะห์
นาเสนอปรากฏการณห์ รอื เหตกุ ารณท์ ีเ่ ก่ยี วข้อง
กบั ผลของลมสรุ ยิ ะ และพายสุ รุ ยิ ะที่มตี อ่ โลก
รวมท้งั ประเทศไทย
๑๐. สบื คน้ ข้อมูล อธบิ ายการสารวจอวกาศ โดยใช้
กล้องโทรทรรศนใ์ นช่วงความยาวคลน่ื ต่าง ๆ
ดาวเทยี ม ยานอวกาศ สถานีอวกาศ และนาเสนอ
แนวคิดการนาความรู้ทางดา้ นเทคโนโลยี
อวกาศมาประยุกต์ใช้ ในชวี ิตประจาวนั
หรอื ในอนาคต

สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง

ภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลง ลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมทั้งผล
ต่อสง่ิ มีชีวติ และส่งิ แวดล้อม

อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

ม. ๑ – ๓ ม. ๔ - ๖

ม.๑ ม.๔ -

๑. สร้างแบบจาลองที่อธิบายการแบ่งชั้นบรรยากาศ และ ม.๕ -

เปรยี บเทียบประโยชน์ของบรรยากาศแต่ละชั้น ม.๖

๒. อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบ ๑. อธิบายการแบ่งช้นั และสมบัตขิ องโครงสร้างโลก

ของลมฟา้ อากาศ จากข้อมูลท่ีรวบรวมได้ พร้อมยกตัวอยา่ งข้อมลู ท่ีสนับสนุน

๓. เปรียบเทียบกระบวนการเกิดพายุ ฝนฟ้าคะนอง และ ๒. อธิบายหลักฐานทางธรณวี ิทยาท่สี นบั สนนุ

พายุหมุนเขตร้อน และผลที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม การเคล่ือนที่ของแผ่นธรณี

รวมทั้งนาเสนอแนวทางการปฏิบัติตนให้เหมาะสมและ ๓. ระบสุ าเหตุ และอธบิ ายรูปแบบแนวรอยตอ่

ปลอดภยั ของแผ่นธรณีที่สัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

๔. อธิบายการพยากรณ์อากาศ และพยากรณ์อากาศอย่าง พร้อมยกตัวอยา่ งหลกั ฐานทางธรณีวิทยาทีพ่ บ

ง่ายจากข้อมูลที่รวบรวมได้ ๔. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกดิ ภูเขาไฟระเบิด

๕. ตระหนักถึงคุณค่าของการพยากรณ์อากาศ โดยนาเสนอ รวมท้ังสบื ค้นข้อมูลพื้นทเ่ี ส่ยี งภยั ออกแบบและ

แนวทางการปฏิบัติตนและการใช้ประโยชน์จากคาพยากรณ์ นาเสนอแนวทางการเฝ้าระวงั และการปฏิบัติตน

อากาศ ให้ปลอดภัย

๖. อธิบายสถานการณ์และผลกระทบการเปลี่ยนแปลง ๕. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกดิ ขนาดและ

ภูมิอากาศโลกจากข้อมูลทีร่ วบรวมได้ ความรุนแรง และผลจากแผ่นดินไหว รวมทั้ง

๗. ตระหนักถงึ ผลกระทบของการเปลยี่ นแปลง สืบค้นข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย ออกแบบและนาเสนอแนว

ภมู อิ ากาศโลก โดยนาเสนอแนวทางการปฏิบตั ติ น ทางการเฝา้ ระวงั และการปฏบิ ัติตน ให้ปลอดภัย

ภายใตก้ ารเปลยี่ นแปลงภูมิอากาศโลก ๖. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกดิ และผลจากสนึ ามิ

ม.๒ รวมทั้งสืบค้นข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย ออกแบบ และนาเสนอ

๑. เปรยี บเทยี บกระบวนการเกิด สมบตั ิ และการใช้ แนวทางการเฝ้าระวังและการปฏิบตั ิตนใหป้ ลอดภยั

ประโยชน์ รวมทัง้ อธิบายผลกระทบจากการใช้ ๗. อธบิ ายปัจจัยสาคญั ท่ีมีผลตอ่ การได้รับพลงั งาน

เชอื้ เพลงิ ซากดึกดาบรรพ์ จากขอ้ มลู ท่รี วบรวมได้ จากดวงอาทติ ย์แตกตา่ งกันในแต่ละบรเิ วณของโลก

๒. แสดงความตระหนักถงึ ผลจากการใช้เช้ือเพลงิ ๘. อธิบายการหมุนเวียนของอากาศ ที่เป็นผลมาจาก

ซากดกึ ดาบรรพ์ โดยนาเสนอแนวทางการใช้ ความแตกตา่ งของความกดอากาศ

เช้ือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ ๙. อธิบายทศิ ทางการเคลือ่ นท่ีของอากาศ ทเี่ ปน็

๓. เปรียบเทยี บข้อดแี ละข้อจากัดของพลงั งาน ผลมาจากการหมนุ รอบตวั เองของโลก

ทดแทนแตล่ ะประเภทจากการรวบรวมข้อมลู ๑๐. อธิบายการหมุนเวียนของอากาศตามเขต ละติจูด

และนาเสนอแนวทางการใชพ้ ลังงานทดแทน และผลท่มี ตี ่อภมู ิอากาศ

ท่ีเหมาะสมในท้องถนิ่ ๑๑. อธิบายปัจจัยที่ทาให้เกิดการหมุนเวียนของน้า

๔. สร้างแบบจาลองทีอ่ ธิบายโครงสรา้ งภายในโลก ผิวหน้าในมหาสมุทร และรูปแบบการหมุนเวียนของน้า

ตามองค์ประกอบทางเคมีจากข้อมลู ทรี่ วบรวมได้ ผวิ หนา้ ในมหาสมทุ ร

๕. อธบิ ายกระบวนการผพุ ังอยู่กบั ท่ี การกรอ่ น

อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

หลกั สูตรกลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

และการสะสมตวั ของตะกอนจากแบบจาลอง ๑๒. อธิบายผลของการหมุนเวียนของอากาศ และน้า

รวมทงั้ ยกตัวอย่างผลของกระบวนการดังกลา่ ว ผิวหน้าในมหาสมุทรที่มีต่อลักษณะ ภูมิอากาศ ลมฟ้า

ทที่ าใหผ้ ิวโลกเกดิ การเปลยี่ นแปลง อากาศ สงิ่ มีชีวิต และส่ิงแวดล้อม

๖. อธบิ ายลักษณะของชัน้ หน้าตดั ดนิ และกระบวนการ ๑๓. อธิบายปจั จยั ทม่ี ีผลต่อการเปลี่ยนแปลง

เกิดดนิ จากแบบจาลอง รวมท้งั ระบปุ จั จยั ภูมิอากาศของโลก พร้อมทั้งนาเสนอแนวปฏิบัติเพื่อลด

ทท่ี าใหด้ ินมลี ักษณะและสมบัติแตกตา่ งกัน กิจกรรมของมนุษย์ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง

๗. ตรวจวดั สมบตั ิบางประการของดนิ โดยใชเ้ ครอ่ื งมือ ภูมิอากาศโลก

ที่เหมาะสมและนาเสนอแนวทางการใช้ ๑๔. แปลความหมายสัญลกั ษณล์ มฟา้ อากาศ

ประโยชน์ดนิ จากข้อมูลสมบัติของดิน ที่สาคัญจากแผนที่อากาศ และนาข้อมูล สารสนเทศต่าง

๘. อธบิ ายปจั จัยและกระบวนการเกดิ แหลง่ น้าผวิ ดนิ ๆ มาวางแผนการดาเนินชีวิตให้สอดคล้องกับสภาพลม

และแหล่งนา้ ใต้ดนิ จากแบบจาลอง ฟ้าอากาศ

๙. สร้างแบบจาลองทอ่ี ธิบายการใช้น้า และนาเสนอ

แนวทางการใชน้ ้าอย่างยั่งยนื ในท้องถน่ิ ของตนเอง

๑๐. สร้างแบบจาลองท่ีอธิบายกระบวนการเกดิ 34
และผลกระทบของนา้ ท่วม การกดั เซาะชายฝงั่

ดินถล่ม หลุมยุบ แผน่ ดินทรุด

ม.๓ -

สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง

อย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ ศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือ

พัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง

เหมาะสม โดยคานึงถงึ ผลกระทบตอ่ ชวี ิต สงั คม และส่งิ แวดล้อม

ม. ๑ – ๓ ม. ๔ - ๖

ม.๑ ม.๔

๑. อธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจาวัน ๑. วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์

และวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อ การ กับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์

เปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี รวมท้ังประเมนิ ผลกระทบที่

๒. ระบุปญั หาหรอื ความต้องการในชวี ติ ประจาวนั จะเกิดขึ้นต่อมนุษย์ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม

รวบรวม วเิ คราะห์ขอ้ มลู และแนวคดิ ทเ่ี กี่ยวข้อง เพื่อเปน็ แนวทางในการพัฒนา

กบั ปญั หา เทคโนโลยี

๓. ออกแบบวธิ ีการแกป้ ัญหา โดยวิเคราะห์ ๒. ระบปุ ญั หาหรือความต้องการที่มีผลกระทบต่อ

สังคม รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง

กับปัญหาที่มีความซับซ้อน เพื่อสังเคราะห์วิธีการ

อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

เปรียบเทียบ และตัดสนิ ใจเลือกข้อมูลท่ีจาเป็น นาเสนอ เทคนิคในการแก้ปัญหา โดยคานึงถึงความถูกต้องด้าน

แนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจวางแผน และ ทรัพยส์ นิ ทางปัญญา

ดาเนินการแก้ปัญหา ๓. ออกแบบวิธกี ารแกป้ ัญหา โดยวเิ คราะห์

๔. ทดสอบ ประเมินผล และระบุข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น เปรยี บเทียบ และตัดสนิ ใจเลือกขอ้ มลู ทจ่ี าเปน็

พร้อมทั้งหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนาเสนอผล ภายใต้เง่อื นไขและทรัพยากรท่ีมอี ยู่ นาเสนอ

การแก้ปัญหา แนวทางการแกป้ ัญหาให้ผอู้ ืน่ เขา้ ใจดว้ ยเทคนคิ

๕. ใช้ความรู้และทักษะเก่ียวกับวัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ หรอื วธิ กี ารที่หลากหลาย โดยใชซ้ อฟต์แวร์

กลไก ไฟฟ้า หรืออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อแก้ปัญหาได้อย่าง ชว่ ยในการออกแบบ วางแผนข้นั ตอนการทางาน

ถกู ต้อง เหมาะสมและปลอดภัย และดาเนินการแก้ปญั หา

ม.๒ ๔. ทดสอบ ประเมินผล วเิ คราะห์ และให้เหตผุ ล

๑. คาดการณแ์ นวโน้มเทคโนโลยที จ่ี ะเกิดข้ึน ของปัญหาหรือข้อบกพร่องท่เี กิดขึ้นภายใต้

โดยพจิ ารณาจากสาเหตหุ รอื ปจั จยั ท่สี ่งผลต่อ กรอบเงือ่ นไข หาแนวทางการปรบั ปรุงแก้ไข

การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี และวเิ คราะห์ และนาเสนอผลการแกป้ ัญหา พรอ้ มทง้ั เสนอ

เปรียบเทียบ ตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคานึงถึง แนวทางการพฒั นาตอ่ ยอด

ผลกระทบทีเ่ กิดขน้ึ ตอ่ ชีวติ สังคม และสิ่งแวดลอ้ ม ๕. ใชค้ วามรแู้ ละทกั ษะเก่ียวกบั วสั ดุ อปุ กรณ์

๒. ระบปุ ัญหาหรอื ความต้องการในชุมชนหรือ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และ

ท้องถิ่น สรปุ กรอบของปญั หา รวบรวม วิเคราะห์ เทคโนโลยีท่ีซับซ้อนในการแก้ปญั หา หรอื พัฒนางาน ได้

ข้อมูลและแนวคดิ ทีเ่ กยี่ วข้องกบั ปญั หา อยา่ งถูกต้อง เหมาะสมและปลอดภยั

ม.๕

๓. ออกแบบวิธีการแกป้ ญั หา โดยวิเคราะห์ ๑. ประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะจากศาสตร์ต่าง ๆ
เปรียบเทียบ และตดั สนิ ใจเลอื กข้อมลู ทจี่ าเปน็ รวมทั้งทรัพยากรในการทาโครงงานเพื่อแก้ปัญหาหรือ
ภายใต้เง่ือนไขและทรัพยากรท่มี ีอยู่ นาเสนอ พัฒนางาน
แนวทางการแกป้ ัญหาให้ผู้อ่ืนเข้าใจ วางแผน ม.๖ -

ขนั้ ตอนการทางานและดาเนินการแกป้ ญั หา

อยา่ งเปน็ ข้ันตอน

๔. ทดสอบ ประเมินผล และอธิบายปญั หาหรือ

ข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น ภายใต้กรอบเงื่อนไขพร้อมทั้งหา

แนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนาเสนอผลการ

แก้ปัญหา

๕. ใช้ความรู้ และทกั ษะเกีย่ วกับวัสดุ อุปกรณ์

เคร่อื งมอื กลไก ไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์

เพอ่ื แก้ปญั หาหรอื พัฒนางานไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง

เหมาะสม และปลอดภยั

อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
36
ม.๓
๑. วเิ คราะหส์ าเหตุ หรอื ปจั จยั ทีส่ ่งผลต่อการ
เปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี และความสัมพันธ์
ของเทคโนโลยีกับศาสตร์อืน่ โดยเฉพาะ
วทิ ยาศาสตร์ หรือคณติ ศาสตร์ เพ่ือเปน็ แนวทาง
การแก้ปญั หาหรือพัฒนางาน
๒. ระบปุ ญั หาหรอื ความตอ้ งการของชมุ ชนหรอื
ทอ้ งถิ่น เพอื่ พฒั นางานอาชพี สรปุ กรอบของ
ปัญหา รวบรวม วเิ คราะหข์ ้อมลู และแนวคิด
ท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั ปัญหา โดยคานงึ ถงึ ความถูกตอ้ ง
ดา้ นทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา
๓. ออกแบบวธิ ีการแก้ปญั หา โดยวเิ คราะห์
เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกขอ้ มลู ทจ่ี าเป็น
ภายใตเ้ งอื่ นไขและทรพั ยากรทมี่ ีอยู่ นาเสนอ
แนวทางการแก้ปัญหาใหผ้ ู้อ่นื เขา้ ใจดว้ ยเทคนคิ
หรือวธิ ีการท่ีหลากหลาย วางแผนขั้นตอน
การทางานและดาเนนิ การแกป้ ัญหาอย่างเปน็
ขนั้ ตอน

๔. ทดสอบ ประเมินผล วเิ คราะห์ และใหเ้ หตผุ ล
ของปญั หาหรอื ขอ้ บกพรอ่ งทเ่ี กดิ ขน้ึ ภายใต้
กรอบเงอ่ื นไข พร้อมทง้ั หาแนวทางการปรบั ปรงุ
แกไ้ ข และนาเสนอผลการแก้ปญั หา
๕. ใช้ความรู้ และทักษะเกี่ยวกับวสั ดุ อุปกรณ์
เครื่องมือ กลไก ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์
ให้ถกู ต้องกับลกั ษณะของงาน และปลอดภัย
เพอื่ แกป้ ญั หาหรอื พัฒนางาน

สาระที่ ๔ เทคโนโลยี

อสิ ลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย

หลักสตู รกลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็น ขั้นตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ รูเ้ ท่าทัน และมีจรยิ ธรรม

ม. ๑ – ๓ ม. ๔ - ๖
ม.๑ ม.๔
๑. ออกแบบอลั กอรทิ ึมท่ใี ช้แนวคิดเชงิ นามธรรมเพ่ือ ๑. ประยกุ ต์ใช้แนวคดิ เชงิ คานวณในการพฒั นา
แกป้ ัญหาหรืออธบิ ายการทางานท่ีพบในชีวติ จริง โครงงานท่มี ีการบรู ณาการกับวิชาอ่ืน
๒. ออกแบบและเขยี นโปรแกรมอยา่ งง่าย อยา่ งสรา้ งสรรค์ และเช่ือมโยงกับชีวิตจรงิ
เพื่อแกป้ ญั หาทางคณิตศาสตร์หรือวทิ ยาศาสตร์ ม.๕
๓. รวบรวมขอ้ มูลปฐมภูมิ ประมวลผล ประเมินผล ๑. รวบรวม วเิ คราะหข์ ้อมลู และใช้ความรู้
นาเสนอข้อมลู และสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์โดยใช้ ด้านวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ สอ่ื ดิจิทัล เทคโนโลยี
ซอฟต์แวร์ หรอื บรกิ ารบนอินเทอรเ์ นต็ ที่หลากหลาย สารสนเทศในการแก้ปัญหาหรือเพิ่มมูลค่าให้กับบริการ
๔. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั ใชส้ อ่ื หรือผลิตภัณฑ์ที่ใชใ้ นชวี ติ จริงอย่างสร้างสรรค์
และแหลง่ ข้อมูลตามข้อกาหนดและข้อตกลง ม.๖
ม.๒ ๑. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการนาเสนอ และ
๑. ออกแบบอลั กอรทิ มึ ทใ่ี ช้แนวคิดเชิงคานวณ ในการ แบง่ ปันขอ้ มลู อยา่ งปลอดภัย มีจรยิ ธรรม และ
แก้ปญั หา หรอื การทางานท่ีพบในชวี ิตจรงิ วิเคราะหก์ ารเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศ
๒. ออกแบบและเขยี นโปรแกรมท่ีใชต้ รรกะ ทม่ี ผี ลตอ่ การดาเนินชีวิต อาชพี สงั คม และ
และฟังกช์ นั ในการแก้ปัญหา วฒั นธรรม
๓. อภิปรายองค์ประกอบและหลักการทางานของ
ระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยกี ารสอื่ สาร
เพอื่ ประยกุ ต์ใช้งานหรอื แก้ปัญหาเบือ้ งตน้

๔. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั มคี วาม
รับผดิ ชอบ สร้างและแสดงสทิ ธิในการเผยแพรผ่ ลงาน
ม.๓
๑. พัฒนาแอปพลิเคชนั ท่มี ีการบูรณาการกับวิชาอ่นื
อย่างสรา้ งสรรค์
๒. รวบรวมขอ้ มูล ประมวลผล ประเมนิ ผล นาเสนอ
ขอ้ มูลและสารสนเทศตามวตั ถุประสงค์ โดยใช้
ซอฟตแ์ วร์หรือบรกิ ารบนอินเทอร์เนต็ ที่
หลากหลาย
๓. ประเมินความน่าเชอื่ ถือของขอ้ มูล วเิ คราะหส์ อื่
และผลกระทบจากการใหข้ ่าวสารทผ่ี ดิ เพอื่ การ

อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

ใชง้ านอย่างรเู้ ทา่ ทัน
๔. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั และมี
ความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม ปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย
เกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์ ใชล้ ขิ สทิ ธขิ์ องผู้อืน่
โดยชอบธรรม

37

การเรียนรู้ และสาระการเรยี นรเู้ พม่ิ เตมิ

สาระชีววิทยา
๑. เข้าใจธรรมชาติของสิง่ มชี ีวิต การศึกษาชวี วทิ ยาและวิธีการทางวทิ ยาศาสตร์สารที่เปน็ องค์ประกอบ

ของสง่ิ มีชีวิต ปฏกิ ริ ิยาเคมีในเซลลข์ องสิ่งมีชีวติ กล้องจลุ ทรรศน์ โครงสร้างและหน้าทีข่ องเซลล์ การลาเลยี งสาร
เขา้ และออกจากเซลล์การแบง่ เซลล์ และการหายใจระดบั เซลล์

อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย

หลักสูตรกลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

ชน้ั ผลการเรียนรู้
ม.๔ ๑. อธิบาย และสรุปสมบัติที่สาคัญของสิ่งมีชีวิตและความสัมพันธ์ของการจัดระบบในสิ่งมีชีวิตที่ทา

ให้สง่ิ มชี วี ิตดารงชีวิตอยไู่ ด้
๒. อภิปราย และบอกความสาคัญของการระบุปัญหา ความสัมพันธ์ระหว่างปัญหา สมมติฐานและ
วิธีการตรวจสอบสมมตฐิ าน รวมทง้ั ออกแบบการทดลองเพื่อตรวจสอบสมมตฐิ าน
๓. สืบค้นข้อมูล อธิบายเกี่ยวกับสมบัติของน้าและบอกความสาคัญของน้าที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและ
ยกตัวอย่างธาตชุ นดิ ตา่ ง ๆ ทมี่ คี วามสาคัญตอ่ ร่างกายส่ิงมชี ีวิต
๔. สืบค้นข้อมลู อธบิ ายโครงสรา้ งของคาร์โบไฮเดรตระบุกลมุ่ ของคาร์โบไฮเดรต รวมทั้งความสาคัญ
ของคารโ์ บไฮเดรตทีม่ ีตอ่ สิ่งมีชีวิต
๕. สืบคน้ ข้อมลู อธบิ ายโครงสรา้ งของโปรตีนและความสาคัญของโปรตีนที่มตี ่อสง่ิ มีชวี ิต
๖. สืบค้นข้อมูล อธบิ ายโครงสรา้ งของลิพิดและความสาคัญของลิพิดท่ีมตี ่อสิง่ มชี ีวิต
๗. อธิบายโครงสรา้ งของกรดนวิ คลอิ ิก และระบุชนิดของกรดนวิ คลิอิก และความสาคัญของกรด
นิวคลอิ ิกท่ีมตี ่อส่ิงมชี ีวิต
๘. สืบคน้ ข้อมลู และอธิบายปฏกิ ริ ยิ าเคมที ่ีเกดิ ข้นึ ในสิ่งมีชีวติ
๙. อธบิ ายการทางานของเอนไซม์ในการเรง่ ปฏกิ ิรยิ าเคมใี นส่ิงมชี วี ติ และระบปุ จั จัยที่มีผลตอ่ การ
ทางานของเอนไซม์
๑๐. บอกวิธกี าร และเตรยี มตัวอย่างส่ิงมชี ีวิตเพ่ือศึกษาภายใต้กลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สง
วดั ขนาดโดยประมาณ และวาดภาพทป่ี รากฏภายใต้กล้อง บอกวธิ กี ารใช้ และการดูแลรักษากล้อง
จลุ ทรรศน์ใชแ้ สงที่ถูกต้อง
๑๑. อธิบายโครงสร้างและหน้าท่ขี องส่วนทห่ี ่อหุ้มเซลลข์ องเซลลพ์ ชื และเซลลส์ ัตว์
๑๒. สืบคน้ ข้อมลู อธิบาย และระบชุ นดิ และหนา้ ท่ีของออรแ์ กเนลล์
๑๓. อธิบายโครงสรา้ งและหน้าทข่ี องนวิ เคลยี ส
๑๔. อธิบาย และเปรียบเทียบการแพร่ ออสโมซสิ การแพรแ่ บบฟาซิลเิ ทต และแอกทีฟทรานสปอร์ต
๑๕. สบื ค้นขอ้ มลู อธิบาย และเขยี นแผนภาพการลาเลียงสารโมเลกลุ ใหญ่ออกจากเซลล์
ดว้ ยกระบวนการเอกโซไซโทซิสและการลาเลียงสารโมเลกุลใหญ่เขา้ สู่เซลล์ดว้ ยกระบวนการเอนโด
ไซโทซิส
๑๖. สังเกตการแบง่ นิวเคลียสแบบไมโทซสิ และแบบไมโอซิสจากตวั อย่างภายใต้กลอ้ งจลุ ทรรศน์
พร้อมทัง้ อธิบายและเปรียบเทียบการแบ่งนวิ เคลยี สแบบไมโทซิส และแบบไมโอซิส
๑๗. อธบิ าย เปรียบเทียบ และสรปุ ข้ันตอนการหายใจระดับเซลล์ในภาวะท่ีมีออกซิเจน
เพยี งพอ และภาวะท่มี ีออกซิเจนไม่เพียงพอ
ม.๕ -
ม.๖ -

อสิ ลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

38

สาระชวี วทิ ยา
๒. เข้าใจการถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดยีนบนโครโมโซม สมบตั ิและหน้าที่ของสาร

พันธุกรรม การเกิดมิวเทชัน เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ หลักฐานข้อมูลและแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของ
สิ่งมีชีวิต ภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์กการเกิดสปีชีส์ใหม่ ความหลากหลายทางชีวภาพ กาเนิดของส่ิงมีชีวิต
ความหลากหลายของสงิ่ มีชีวติ และอนกุ รมวิธาน รวมทัง้ นาความร้ไู ปใช้ประโยชน์

อิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย

หลกั สตู รกล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

ชน้ั ผลการเรยี นรู้
ม.๔ ๑. สืบค้นข้อมลู อธบิ าย และสรุปผลการทดลองของเมนเดล

๒. อธิบาย และสรุปกฎแห่งการแยก และกฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ และนากฎของเมนเดลน้ี ไป
อธิบายการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรมและใช้ในการคานวณโอกาสในการเกดิ ฟีโนไทปแ์ ละจโี น
ไทปแ์ บบต่าง ๆ ของรุ่นF๑ และ F๒
๓. สบื คน้ ข้อมลู วิเคราะห์ อธิบาย และสรปุ เกย่ี วกับการถา่ ยทอดลักษณะทางพันธุกรรม ทีเ่ ปน็
สว่ นขยายของพนั ธศุ าสตรเ์ มนเดล
๔. สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ และเปรียบเทยี บลักษณะทางพนั ธุกรรมท่มี ีการแปรผันไมต่ อ่ เน่ืองและ
ลกั ษณะทางพันธุกรรมทมี่ ีการแปรผนั ตอ่ เน่ือง
๕. อธบิ ายการถา่ ยทอดยีนบนโครโมโซม และยกตัวอย่างลกั ษณะทางพันธุกรรมที่ถูกควบคมุ ดว้ ยยนี
บนออโตโซมและยีนบนโครโมโซมเพศ
๖. สบื คน้ ข้อมลู อธิบายสมบัติและหน้าทีข่ องสารพันธกุ รรม โครงสรา้ งและองค์ประกอบทางเคมีของ
DNA และสรุปการจาลอง DNA
๗. อธิบาย และระบุข้นั ตอนในกระบวนการสังเคราะห์โปรตนี และหนา้ ที่ของ DNA และRNA แตล่ ะ
ชนิดในกระบวนการสงั เคราะห์โปรตีน
๘. สรุปความสัมพันธ์ระหว่างสารพันธกุ รรม แอลลลี โปรตนี ลกั ษณะทางพันธุกรรม และเชอื่ มโยงกับ
ความรเู้ รอื่ งพันธุศาสตรเ์ มนเดล
๙. สบื คน้ ข้อมลู และอธิบายการเกิดมวิ เทชนั ระดับยีนและระดับโครโมโซม สาเหตุการเกิดมวิ เทชนั
รวมท้ังยกตัวอย่างโรคและกลุ่มอาการทีเ่ ป็นผลของการเกิดมวิ เทชัน
๑๐. อธิบายหลักการสร้างส่ิงมีชวี ิตดดั แปรพนั ธกุ รรมโดยใช้ดเี อ็นเอรีคอมบแิ นนท์

๑๑. สบื ค้นข้อมลู ยกตวั อยา่ ง และอภิปรายการนาเทคโนโลยีทางดีเอน็ เอไปประยุกต์ใช้ท้ังในด้าน
สง่ิ แวดล้อม นติ วิ ิทยาศาสตร์ การแพทย์การเกษตรและอุตสาหกรรม และข้อควรคานงึ ถึงดา้ นชวี จรยิ
ธรรม
๑๒. สืบค้นข้อมูล และอธบิ ายเกีย่ วกบั หลักฐานทสี่ นับสนุนและข้อมลู ทใ่ี ช้อธิบายการเกิดววิ ัฒนาการ
ของสง่ิ มชี ีวิต
๑๓. อธบิ าย และเปรียบเทยี บแนวคิดเกี่ยวกับววิ ฒั นาการของสิ่งมชี ีวิตของฌอง ลามารก์
และทฤษฎเี กีย่ วกบั ววิ ฒั นาการของส่ิงมชี วี ติ ของชาลส์ ดาร์วิน
๑๔. ระบสุ าระสาคัญ และอธิบายเง่ือนไขของภาวะสมดลุ ของฮารด์ ี-ไวนเ์ บริ ์ก ปัจจยั ท่ที าใหเ้ กดิ การ
เปลีย่ นแปลงความถ่ีของแอลลีลในประชากร พร้อมท้ังคานวณหาความถ่ขี องแอลลลี และจีโนไทป์ของ
ประชากรโดยใช้หลกั ของฮาร์ดี-ไวนเ์ บิรก์
๑๕. สืบค้นขอ้ มลู อภิปราย และอธบิ ายกระบวนการเกดิ สปีชสี ใ์ หม่ของสิ่งมชี วี ติ
ม.๕ -

อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

หลักสตู รกล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

ม.๖ ๑. อภิปรายความสาคญั ของความหลากหลายทางชวี ภาพ และความเช่ือมโยงระหวา่ งควาหลากหลาย
ทางพนั ธกุ รรม ความหลากหลายของสปีชสี ์ และความหลากหลายของระบบนเิ วศ
๒. อธิบายการเกดิ เซลลเ์ รมิ่ แรกของสิง่ มชี วี ิตและวิวัฒนาการของสิง่ มชี ีวิตเซลลเ์ ดยี ว
๓. อธิบายลักษณะสาคัญ และยกตัวอย่างสิ่งมชี วี ติ กลุ่มแบคทีเรยี สงิ่ มีชีวติ กลุ่มโพรทสิ ต์ ส่งิ มีชีวติ
กลมุ่ พืช สงิ่ มชี ีวิตกลุม่ ฟังไจ และสิ่งมชี ีวิตกลุ่มสตั ว์
๔. อธิบาย และยกตัวอยา่ งการจาแนกสง่ิ มีชวี ิตจากหมวดหม่ใู หญจ่ นถึงหมวดหมยู่ อ่ ย และวธิ กี าร
เขียนช่ือวทิ ยาศาสตร์ในลาดับขน้ั สปีชสี ์
๕. สร้างไดโคโทมสั คยี ใ์ นการระบสุ ิง่ มชี วี ิตหรอื ตวั อย่างท่ีกาหนดออกเป็นหมวดหมู่

39

สาระชวี วิทยา
๓. เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊สและคายน้าของพืช การลาเลียงของพืชการสังเคราะห์ด้วย

แสง การสืบพันธข์ุ องพืชดอกและการเจริญเตบิ โต และการตอบสนองของพชื รวมทั้งนาความร้ไู ปใช้ประโยชน์

ช้ัน ผลการเรยี นรู้
ม.๔ -
ม.๕ ๑. อธิบายเกีย่ วกับชนดิ และลักษณะของเนื้อเย่ือพืชและเขยี นแผนผงั เพ่ือสรปุ ชนดิ ของเนื้อเยอ่ื พืช

๒. สังเกต อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสรา้ งภายในของรากพชื ใบเล้ียงเด่ยี วและรากพืชใบเลีย้ งคูจ่ าก
การตัดตามขวาง

อิสลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

๓. สังเกต อธบิ าย และเปรยี บเทียบโครงสรา้ งภายในของลาตน้ พชื ใบเล้ียงเดย่ี วและลาตน้ พืชใบเลยี้ งคู่

จากการตัดตามขวาง

๔. สังเกต และอธบิ ายโครงสร้างภายในของใบพืชจากการตัดตามขวาง

๕. สืบคน้ ข้อมูล สังเกต และอธบิ ายการแลกเปลยี่ นแกส๊ และการคายนา้ ของพชื

๖. สืบคน้ ข้อมูล และอธบิ ายกลไกการลาเลียงน้าและธาตุอาหารของพืช

๗. สืบคน้ ข้อมลู อธบิ ายความสาคญั ของธาตอุ าหารและยกตวั อยา่ งธาตุอาหารท่ีสาคญั ท่ีมผี ลต่อการ

เจริญเติบโตของพชื

๘. อธบิ ายกลไกการลาเลียงอาหารในพืช

๙. สืบค้นข้อมลู และสรปุ การศกึ ษาทีไ่ ดจ้ ากการทดลองของนกั วทิ ยาศาสตรใ์ นอดตี เก่ียวกักระบวนการ

สงั เคราะหด์ ว้ ยแสง

๑๐. อธบิ ายขั้นตอนทเ่ี กดิ ขึ้นในกระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสงของพชื C๓

๑๑. เปรียบเทยี บกลไกการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ในพชื C๓ พืช C๔ และ พชื CAM

๑๒. สบื คน้ ข้อมลู อภิปราย และสรปุ ปัจจัยความเข้มของแสง ความเข้มขน้ ของคารบ์ อนไดออกไซดแ์ ละ

อณุ หภูมิ ที่มีผลต่อการสังเคราะหด์ ้วยแสงของพชื

๑๓. อธิบายวัฏจักรชีวิตแบบสลับของพชื ดอก

๑๔. อธบิ าย และเปรยี บเทียบกระบวนการสร้างเซลลส์ ืบพันธเ์ุ พศผแู้ ละเพศเมียของพชื ดอกและอธบิ าย

การปฏสิ นธขิ องพชื ดอก

๑๕. อธิบายการเกดิ เมลด็ และการเกดิ ผลของพืชดอกโครงสร้างของเมลด็ และผล และยกตวั อยา่ งการใช้

ประโยชนจ์ ากโครงสรา้ งตา่ ง ๆ ของเมลด็ และผล 40

๑๖. ทดลอง และอธิบายเกยี่ วกบั ปัจจัยตา่ ง ๆ ท่มี ผี ลตอ่ การงอกของเมลด็ สภาพพกั ตัวของเมลด็ และ

บอกแนวทางในการแกส้ ภาพพกั ตวั ของเมล็ด

๑๗. สบื คน้ ข้อมูล อธบิ ายบทบาทและหน้าที่ของออกซิน ไซโทไคนิน จิบเบอเรลลนิ เอทิลีนและกรด

แอบไซซิก และอภิปรายเก่ยี วกบั การนาไปใชป้ ระโยชน์ทางการเกษตร

๑๘. สบื ค้นข้อมลู ทดลอง และอภิปรายเกยี่ วกับสิง่ เร้าภายนอกที่มผี ลต่อการเจรญิ เติบโตของพืช

ม.๖ -

สาระชวี วทิ ยา
๔. เข้าใจการย่อยอาหารของสัตว์และมนุษย์ การหายใจและการแลกเปลี่ยนแก๊สการลาเลียงสาร

และการหมุนเวียนเลือด ภูมิคุ้มกันของร่างกาย การขับถ่าย การรับรู้และการตอบสนอง การเคลื่อนที่ การ
สืบพันธุ์และการเจริญเติบโต ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพ และพฤติกรรมของสัตว์ รวมทั้งนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์

ช้ัน ผลการเรียนรู้
ม.๔ -

อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย

หลักสตู รกล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

ม.๕ ๑. สบื ค้นข้อมูล อธบิ าย และเปรียบเทยี บโครงสรา้ งและกระบวนการยอ่ ยอาหารของสัตว์ท่ไี ม่มีทางเดิน
อาหาร สตั วท์ ่มี ที างเดินอาหารแบบไม่สมบรู ณ์ และสัตว์ทม่ี ีทางเดนิ อาหารแบบสมบูรณ์
๒. สงั เกต อธิบาย การกนิ อาหารของไฮดราและพลานาเรยี
๓. อธบิ ายเกย่ี วกับโครงสรา้ ง หนา้ ท่ี และกระบวนการย่อยอาหาร และการดดู ซึมสารอาหารภายใน
ระบบย่อยอาหารของมนุษย์
๔. สืบค้นข้อมลู อธบิ าย และเปรียบเทียบโครงสรา้ งทีท่ าหน้าทแี่ ลกเปลยี่ นแก๊สของฟองน้า ไฮดรา พลา
นาเรีย ไส้เดือนดนิ แมลง ปลา กบ และนก
๕. สังเกต และอธิบายโครงสร้างของปอดในสตั วเ์ ลีย้ งลกู ดว้ ยนา้ นม
๖. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสรา้ งท่ีใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส และกระบวนการแลกเปลยี่ นแกส๊ ของมนษุ ย์
๗. อธบิ ายการทางานของปอด และทดลองวดั ปรมิ าตรของอากาศในการหายใจออกของมนษุ ย์
๘. สืบค้นขอ้ มูล อธิบาย และเปรียบเทยี บระบบหมุนเวยี นเลอื ดแบบเปิดและระบบหมนุ เวยี นเลอื ดแบบปดิ
๙. สงั เกต และอธิบายทิศทางการไหลของเลอื ดและการเคลื่อนท่ีของเซลล์เม็ดเลอื ดในหางปลาและสรปุ
ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งขนาดของหลอดเลือดกับความเรว็ ในการไหลของเลือด
๑๐. อธบิ ายโครงสร้างและการทางานของหัวใจและหลอดเลอื ดในมนุษย์
๑๑. สงั เกต และอธบิ ายโครงสร้างหวั ใจของสตั วเ์ ล้ียงลกู ด้วยนา้ นม ทิศทางการไหลของเลอื ดผา่ นหัวใจ
ของมนษุ ย์ และเขียนแผนผงั สรปุ การหมุนเวียนเลือดของมนุษย์
๑๒. สบื คน้ ขอ้ มูล ระบุความแตกต่างของเซลลเ์ มด็ เลือดแดง เซลล์เมด็ เลอื ดขาวเพลตเลต และพลาสมา
๑๓. อธิบายหมเู่ ลือดและหลักการใหแ้ ละรับเลือดในระบบ ABO และระบบ Rh
๑๔. อธิบาย และสรุปเกี่ยวกับส่วนประกอบและหน้าท่ีของนา้ เหลือง รวมทงั้ โครงสรา้ งและหนา้ ท่ีของ
หลอดนา้ เหลอื ง และตอ่ มน้าเหลอื ง
๑๕. สืบค้นขอ้ มลู อธิบาย และเปรียบเทียบกลไกการต่อต้านหรือทาลายสิง่ แปลกปลอมแบบไม่จาเพาะ
และแบบจาเพาะ
๑๖. สบื ค้นขอ้ มลู อธิบาย และเปรียบเทยี บการสรา้ งภูมิคุ้มกนั ก่อเองและภูมิคุม้ กนั รบั มา
๑๗. สบื ค้นขอ้ มูล และอธิบายเก่ยี วกบั ความผิดปกติของระบบภูมิคมุ้ กนั ท่ีทาให้เกิดเอดส์ ภูมิแพ้การ
สรา้ งภูมติ ้านทานต่อเน้อื เย่ือตนเอง
๑๘. สืบคน้ ขอ้ มูล อธิบาย และเปรียบเทยี บโครงสร้างและหนา้ ทีใ่ นการกาจดั ของเสยี ออกจากร่างกาย
ของฟองน้า ไฮดรา พลานาเรยี ไสเ้ ดอื นดนิ แมลง และสตั ว์มกี ระดูกสนั หลงั
๑๙. อธบิ ายโครงสรา้ งและหน้าท่ีของไต และโครงสร้างที่ใช้ลาเลยี งปัสสาวะออกจากร่างกาย
๒๐. อธิบายกลไกการทางานของหน่วยไต ในการกาจดั ของเสียออกจากรา่ งกาย และเขียนแผนผงั สรุป
ขั้นตอนการกาจดั ของเสยี ออกจากรา่ งกายโดยหนว่ ยไต
๒๑. สบื ค้นข้อมูล อธบิ าย และยกตัวอย่างเกี่ยวกับความผดิ ปกตขิ องไตอนั เน่ืองมาจากโรคตา่ ง ๆ

ม.๖ ๑. สบื ค้นข้อมลู อธบิ าย และเปรยี บเทียบโครงสรา้ งและหน้าท่ขี องระบบประสาทของไฮดรา พลานา
เรีย ไส้เดอื นดนิ กงุ้ หอย แมลงและสัตว์มกี ระดกู สนั หลงั
๒. อธบิ ายเกี่ยวกับโครงสรา้ งและหน้าทข่ี องเซลลป์ ระสาท


Click to View FlipBook Version