The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ancha wan, 2021-09-06 23:59:49

แบบรายงานการปฏิบัติงาน 1/2564

รวมเล่ม sar

รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน

และผลการประเมินตนเองรายบคุ คล

ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๔

นางสาวอัญชลี ใจคาํ โรงเรียนเศรษฐบตุ รบาํ พญ็

ตําแหนง ครู สาํ นักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา
งานแนะแนว กรงุ เทพมหานคร เขต ๒
สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ

Self-Assessment Report : SAR

1

รายงานการปฏิบตั งิ านในหนา ท่ีครู ปการศึกษา 2564
ของ นางสาวอัญชลี ใจคำ

บทนำ

การจัดการเรียนการสอนเปนภาระงานของครูที่ตองรับผิดชอบใหการจัดการศึกษาเปนไป
ตามเจตนารมณของหลักสูตรสถานศึกษาที่มุงเนนใหผูเรียนมีทั้งความรู ความคิด ความสามารถ คุณธรรม
กระบวนการเรียนรู และความรับผิดชอบตอสังคม เพื่อพัฒนาคนใหมีความสมดุล โดยยึดหลักผูเรียนสำคัญที่สุด
ทุกคนมีความสามารถในการเรียนรูและพัฒนาตนเอง สงเสริมใหผูเรียนพัฒนาความธรรมชาติและ
เต็มศักยภาพ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 หมวด 4 เรื่อง แนวการจัดการศึกษา
มาตรา 24 ขอ 4 แสดงใหเห็นถึงความสำคัญของคุณธรรม จริยธรรม โดยการจัดกระบวนการเรียนรู
ใหสถานศึกษาและหนวยงานที่เกี่ยวของดำเนินการ คือ การจัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรูดาน
ตาง ๆ อยางสมดุลกัน รวมทั้งใหม ีการปลกู ฝงคุณธรรม คานิยมทีด่ ีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค เปนคนเกง
มีสมรรถภาพในการดำเนินชีวิต มีความสุขบนพื้นฐานความเปนไทย เปนผูที่มีความสามารถพึ่งตนเองได ครูผูสอน
นอกจากจะมีหนาที่จัดการเรียนรูที่หลากหลายเพื่อใหสอดคลองกับสภาพผูเรียนแลว ยังตองดูแลนักเรียนตาม
บทบาทครูที่ปรึกษา รวมทั้งรับผิดชอบงานพิเศษอื่น ๆ อีกดวย ทั้งนี้เพื่อใหโรงเรียนดำเนินกิจกรรมการจัด
การศกึ ษาเปนไปตามมาตรฐานการศกึ ษาและการประกันคณุ ภาพ

วตั ถปุ ระสงคข องการปฏบิ ตั งิ าน

1. เพื่อใหก ารจดั การเรยี นรใู หแกผเู รียนเปน ไปตามจุดมุงหมายของหลักสตู ร
2. เพื่อใหงานการจัดการศึกษาประสบผลสำเร็จตามนโยบาย วิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค
ของกลุมสาระการเรียนรแู ละของโรงเรียน
3. เพอ่ื ปลูกฝง คุณธรรม จริยธรรม และคานยิ มอนั พึงประสงคใหผเู รียน

เปาหมายการปฏบิ ตั งิ าน

1. เพื่อใหการจัดการเรียนรูใหแกผูเรียนเปนไปตามจุดหมายของหลักสูตรถานศึกษา มุงพัฒนาผูเรียน
แบบองครวม เปน คนดี มีความรู ความสามารถ

2. เพื่อจัดการเรียน ใหผูเรียน มีความคิดสรางสรรค มีทักษะ มีคุณธรรม มีจิตสำนึก ในการใชพลังงาน
ทรัพยากรและส่งิ แวดลอมในการทำงาน เพ่ือการดำรงชีวิตและครอบครัว

3. เพื่อจัดการเรียน ใหผูเรียน มีทักษะ กระบวนการทำงาน และการจัดการ การทำงานเปนกลุม การ
แสวงหาความรู สามารถแกปญ หาในการทำงาน รักการทำงาน และมเี จตคติท่ดี ีตอ งาน

4. เพื่อจดั การเรยี นใหผ ูเรยี นมีประสบการณในงานอาชีพสจุ ริตมคี ุณธรรมมเี จตคตทิ ่ดี ีตอ งานอาชีพ และ
เหน็ แนวทางในการประกอบอาชพี สจุ รติ

2

1. ขอ มูลทว่ั ไป

ชือ่ ผูขอ นางสาวอญั ชลี ใจคำ อายุ 30 ป

คุณวุฒิ ปริญญาตรี (5 ป) การศึกษาบณั ฑิต (กศ.บ.) วชิ าเอก จิตวิทยาการแนะแนว .

ตำแหนง ครู ตำแหนงเลขท่ี 2525 .

รบั เงนิ เดือนอันดับ ครู ขั้น/เงนิ เดอื น 23,060 บาท

สถานศกึ ษา/หนวยการศึกษา โรงเรียนสตรีเศรษฐบตุ รบำเพญ็ เขต/อำเภอ มนี บุรี .

จงั หวดั กรงุ เทพมหานคร สังกัด สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 2

สงั กดั สวนราชการ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน .

2. ชัว่ โมงการปฏิบัติงาน

ช่วั โมงสอนตามตารางสอน 420 ชั่วโมง

ชั่วโมงงานสนับสนนุ การจัดการเรยี นรู 200 ช่ัวโมง

ชั่วโมงการมสี ว นรว มในชมุ ชนวชิ าชีพทางการเรยี นรู (PLC) 68 ชว่ั โมง

ช่ัวโมงงานตอบสนองนโยบายและจดุ เนน 200 ชว่ั โมง

รวม 888 ชว่ั โมง

3. ภาระงาน ปก ารศกึ ษา 2564

1. งานการสอน ไดปฏบิ ัตหิ นาทสี่ อน ดังน้ี

ภาคเรียนที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2564

ที่ รหสั วิชา รายวชิ า กลุม สาระ ชน้ั /หอ ง จำนวน จำนวน รวม
นกั เรยี น ชัว่ โมง/สปั ดาห
1 ก23901 กจิ กรรมแนะแนว แนะแนว ม.3/1 1
2 ก23901 กิจกรรมแนะแนว แนะแนว ม.3/2 42 1 1
3 ก23901 กจิ กรรมแนะแนว แนะแนว ม.3/3 43 1 1
4 ก23901 กจิ กรรมแนะแนว แนะแนว ม.3/4 44 1 1
5 ก23901 กจิ กรรมแนะแนว แนะแนว ม.3/5 44 1 1
6 ก23901 กิจกรรมแนะแนว แนะแนว ม.3/6 42 1 1
7 ก23901 กิจกรรมแนะแนว แนะแนว ม.3/7 42 1 1
8 ก23901 กจิ กรรมแนะแนว แนะแนว ม.3/8 41 1 1
9 ก23901 กจิ กรรมแนะแนว แนะแนว ม.3/9 41 1 1
10 ก23901 กิจกรรมแนะแนว แนะแนว ม.3/10 41 1 1
11 ก23901 กิจกรรมแนะแนว แนะแนว ม.3/11 34 1 1
12 ก32901 กิจกรรมแนะแนว แนะแนว ม.5/1 35 1 1
13 ก32901 กิจกรรมแนะแนว แนะแนว ม.5/2 43 1 1
14 ก32901 กจิ กรรมแนะแนว แนะแนว ม.5/3 40 1 1
15 ก32901 กิจกรรมแนะแนว แนะแนว ม.5/4 40 1 1
40 1

3

ที่ รหัสวิชา รายวชิ า กลุมสาระ ชน้ั /หอง จำนวน จำนวน รวม
นักเรียน ช่วั โมง/สปั ดาห
16 ก32901 กจิ กรรมแนะแนว แนะแนว ม.5/5 1
แนะแนว ม.5/6 38 1 1
17 ก32901 กิจกรรมแนะแนว แนะแนว ม.5/7 40 1 1
แนะแนว ม.5/8 1
18 ก32901 กจิ กรรมแนะแนว แนะแนว ม.5/9 42 1 1
แนะแนว ม.ปลาย 1
19 ก32901 กจิ กรรมแนะแนว ม. 2 42 1 1
รวม 42 1 22
20 ก32901 กิจกรรมแนะแนว
50 1
21 ก32901 ชุมนมุ
- 1
22 ก32901 ยุวกาชาด

ตารางท่ี 1 ตารางแสดงภาระงานสอนภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศึกษา 2564

2. งานครทู ป่ี รึกษา ไดจ ัดทำแฟมรวมผลงานครทู ่ปี รึกษาชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 1/9 ตามคำสง่ั เลขที่ 53/2563
ท่ปี ระกอบดวย ประวัตนิ กั เรยี นรายบุคคล ทอี่ ยนู กั เรยี น สมดุ ระบบดแู ลนกั เรียน รายการเย่ยี มบาน แบบวิเคราะห

พฤติกรรมนกั เรยี นรายบคุ คล (SDQ) แบบรายงานการโฮมรูม ฯลฯ จำนวน …3… แฟม

2.1 แฟมประวตั นิ กั เรียน

2.2 สมดุ บันทกึ เวรประจำวัน

2.3 สมุดระบบดูแลนักเรียน
งานคณะสี
หนา ทคี่ รเู วรประจำคณะสี เปน ครปู ระจำคณะอินทนิล ( สมี วง ) ตามคำสงั่ เลขท่ี 55/2563
ภาคเรยี นท่ี 1/2564 ปฏบิ ตั ิหนา ทตี่ ามคำสง่ั เลขท่ี 55/2563

1) ครูเวรหนาประตตู อนเชา

2) ครเู วรประจำสำนักงานกิจการนกั เรียน
3. งานอืน่ ท่ีไดร บั มอบหมาย

ที่ งาน ปฏบิ ัตหิ นา ท่ี คำสั่งเลขที่
53/2564
1 ครทู ่ีปรกึ ษาประจำช้ัน - บริหารจดั ทำขอ มูลสารสนเทศนกั เรยี นเปนรายบคุ คล

มัธยมศึกษาปท ี่ 1/9 - จัดก็บขอมูลทเี่ กี่ยวขอ งกบั นักเรยี น เชน ท่ีอยูอ าศยั

ผูป กครองท่ดี ูแลนกั เรียน แบบสำรวจผลกระทบจากหารแพร

ระบาด โควดิ 19 การเยยี่ มบา นนกั เรยี น แบบวิเคราะห

พฤติกรรม (SDQ ) และการโฮมรูม

- ดูแล แนะนำ อบรม ใหคำปรึกษาทุกดานแกนกั เรยี นในหอ งที่

ประจำชนั้ ในดานตางๆ เชน การปรับตวั การเรียนออนไลน

- ประสานขอ มลู กับผูปกครอง เพื่อตดิ ตามดูแลชว ยเหลอื

นกั เรยี น และติดตามสนับสนุนนักเรียน

4

ท่ี งาน ปฏิบัตหิ นา ที่ คำสัง่ เลขที่
55/2564
2 แตง ตั้งครทู ี่ปรกึ ษา - ปฏิบตั หิ นา ที่เปน ครูที่ปรึกษานกั เรยี นคณะ ใหนกั เรียนดแู ล 69/2564

คณะสี รับผิดชอบในการพฒั นาบริเวรพ้ืนท่โี รงเรยี นในสปั ดาหท ่ีเปน 86/2564

เวร

- เปน ที่ปรึกษานกั เรยี นในการจดั กจิ กรรมคาบคณะ และดูแล

นักเรียนใหเขา รว มกจิ กรรมทกุ สัปดาห เพอ่ื สง เสรมิ คณุ ลกั ษณะ

นสิ ัยในดานตางๆและดูแลใหก จิ กรรมดำเนินไปดว ยความ

เรียบรอยตามวัตถุประสงค

- ใหค วามรว มมือหวั หนา คณะปฏิบตั หิ นาที่เวรประจำวนั อยา ง

เครงครัดและปฏบิ ัตงิ านตามทีไ่ ดร ับมอบหมาย พรอ มบันทึก

การปฏบิ ตั หิ นาทที่ ุกคร้งั

3 งานระบบดูแล -ใหความรแู กค รทู ป่ี รกึ ษาในการดำเนนิ งานระบบดแู ลชวยเหลอื

ชว ยเหลอื นักเรยี น นกั เรยี น

-ประสานงานกบั ครทู ่ีปรกึ ษา ครูแนะแนว ครูพยาบาล ครู

โภชนาการ และหนว ยงานท่เี ก่ยี วขอ งในการดำเนนิ งานระบบ

ดูแลชว ยเหลอื นักเรยี น

-จัดแฟมและทำบนั ทกึ การคดั กรองพฤติกรรมนักเรียน แบบ

ประเมนิ พฤติกรรมอืน่ ๆ และเอกสารอ่ืนๆทีเ่ ปน ขอ มลู ในการ

ดำเนนิ การ

-นิเทศ ติดตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผล งานระบบดแู ล

ชวยเหลือนักเรียนของครูทีป่ รกึ ษาอยา งใกลช ิด

-รวบรวมขอมลู การประเมนิ พฤติกรรมเดก็ (SDQ) รายหอ งเรยี น

เพ่ือสรปุ ผลนำเสนอผบู ริหาร

-จดั ประชมุ ครทู ี่ปรกึ ษาใหเ กดิ ความเขา ใจในการทำงานท่ี

ตรงกนั

-จดั ทำสรปุ และรายงานการปฏิบตั งิ าน

4 งานแนะแนวการศึกษา -จดั ทำแผนและโครงการงานแนะแนวการศกึ ษา

-จดั ระบบการแนะแนวทางวชิ าการ และวชิ าชพี ภายใน

สถานศกึ ษาโดยเชือ่ มโยงกับระบบดูแบชวยเหลือนักเรียน

-ดำเนนิ การแนะแนวการศกึ ษา โดยการรวมมอื ของครทุ กุ คน

-ระดมทุนการศกึ ษาจากหนว ยงายภายใน และภายนอก

สนบั สนนุ การจดั การศกึ ษาของโรงเรยี น

-ประสานงานความรว มมอื และแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณ

ดวยการแนะแนวการศึกษากบั สถานศึกษาหรอื เครอื ขา ยการ

แนะแนวภายในและภายนอกเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา

5

ท่ี งาน ปฏบิ ัตหิ นา ท่ี คำส่งั เลขท่ี
69/2564
4 งานแนะแนวการศึกษา -ใหบรกิ ารสนเทศดา นการศึกษาตอและประกอบอาชพี

(ตอ) -บริการใหคำปรึกษาแกนกั เรยี นทีป่ ระสบปญ หาดา นการเรียน

และปญหาสว นตัว

-ติดตามขอมลู การศกึ ษาตอ และการประกอบอาชีพของ

นักเรยี นทจี่ บการศกึ ษา ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปท ี่ 3 และ6 ทุกป

การศกึ ษา

-ดำเนินการรบั สมคั ร คัดเลือกนักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปท ่3ี เพือ่

ศกึ ษาตอ ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี 4(โรงเรยี นเดมิ )

-ประสานการจัดทำแผนการจดั การเรยี นรูส ำหรบั นกั เรียน

เฉพาะทางตามหลักสตู ร IEP รว มกับครูประจำวชิ า

-ประชาสัมพันธก ารรบั สมคั รนักเรียนเขาศึกษาจอในระดับชนั้

มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 1

-ประเมนิ และรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านตอ ผอู ำนวยการ

โรงเรียน และหนว ยงานทเ่ี กี่ยวของ

5 งานระดมทรัพยากร -ศึกษา วเิ คราะหก จิ กรรม และภารกจิ งาน/โครงการ ตาม

และการลงทนุ เพ่อื กรอบประมาณการระยะปานกลาง (MTEF)และแผนปฏิบัติการ

การศกึ ษา ประจำปท ี่มคี วามจำเปน ตองใชวงเงินเพมิ่ เติมจากประมาณการ

รายไดง บประมาณไวเ พ่อื จดั ลำดับความสำคญั ของกิจกรรมให

เปน ไปตามความเรง ดวนและชว งเวลา

-จดั ทำแผนระดมทรพั ยากรเพือ่ การศึกษา

-ประสานงานเกยี่ วกบั การระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา

-ดำเนินการบริหารจดั การทรัพยากรเพือ่ การศกึ ษา

-สรุปประเมินผล และรายงานผลการดำเนินงาน

ตารางท่ี 2 ตารางงานอนื่ ๆ ทีไ่ ดรับมอบหมาย ปก ารศกึ ษา 2564

6

4. ผลการปฏิบตั ิงาน

1. งานการสอน มดี งั นี้

1.1 การเตรียมการสอน
1.1.1 ไดจดั ทำแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู

ที่ รายการ จำนวน จำนวน จำนวนแผน
ชัว่ โมง ทงั้ หมด
1 แผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรรู หสั วชิ า ก23901 . ทัง้ หมด หนว ยการ
ชอื่ วชิ า แนะแนว ระดับชั้น มัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 เรยี นรู
20
2 แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรรู หัสวิชา ก32901 . 3 20
ช่อื วิชา แนะแนว ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 5
รวม 20 3 20
40 6 40

ตารางท่ี 3 ตารางแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ภาคเรียนท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2564

1.1.2 รายการส่ือ - เอกสารประกอบการสอนท่ีจัดทำ – จัดหาเพื่อประกอบ

ท่ี รายการ/ประเภท ช้นั /หอ ง ประเภทสื่อ
1 ประมวลการสอน ขอบขา ยรายวชิ าและการทำความรจู กั กัน ม.3/1-11 สื่อนำเสนอ
2 เสนทางการวางแผนการศึกษาตอเม่อื จบชัน้ ม.3 ม.3/1-11 สื่อนำเสนอ
3 แนวทางการเลือกแผนการเรยี น วิทยาศาสตร- คณิตศาสตร ม.3/1-11 สื่อนำเสนอ
4 แนวทางการเลอื กแผนการเรยี น ศิลป- คำนวณ ,ศลิ ป-ภาษา ม.3/1-11 ส่อื นำเสนอ
5 แนวทางการเลอื กแผนการเรยี น ศลิ ป- สงั คม ,ศิลป-คหกรรม ม.3/1-11 สอ่ื นำเสนอ
6 การวางแผนการศึกษาตอ รูปแบบอาชวี ศึกษา ม.3/1-11 สอ่ื นำเสนอ
7 การทำความรูจักตนเอง แบบทดสอบวัดบุคลกิ ภาพ ม.3/1-11 สอื่ นำเสนอ
8 ทำความรูจกั กับความเครียด แบบทดสอบวดั ระดับความเครียด ม.3/1-11 สื่อนำเสนอ
9 ทำความเขาใจระบบการรับนักเรยี นเขามหาวิทยาลัย TCAS ม.5/1-9 สอ่ื นำเสนอ
10 ระบบ TCAS รอบที่ 1 PORFOLIO แฟมสะสมผลงาน ม.5/1-9 สอ่ื นำเสนอ
11 ระบบ TCAS รอบ 2 โควตา ม.5/1-9 สอ่ื นำเสนอ
12 ระบบ TCAS รอบ 3 admission ม.5/1-9 ส่ือนำเสนอ
13 การทดสอบระดับภาษา จนี ญ่ปี นุ เกาหลี ม.5/1-9 สอ่ื นำเสนอ
14 สรปุ คาใชจายทีต่ อ งใชนระบบ TCAS ม.5/1-9 สอ่ื นำเสนอ
15 สรปุ แนวทางการรับนกั เรียนเขามหาวิทยาลัย TCAS 65 จากทปอ. ม.5/1-9 สอ่ื นำเสนอ
16 แบบทดสอบ วัดระดบั ความเขาใจระบบ TCAS ม.5/1-9 แบบทดสอบ

ตารางท่ี 4 ตารางรายการสอื่ /เอกสารประกอบการสอนท่จี ดั ทำ/จดั หาเพ่อื ประกอบ

1.2 ผลการสอน สรปุ ได ดงั นี้ 7
ผลการเรยี น ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศกึ ษา 2564
รวม
ท่ี วิชา ช้นั ระดับผลการเรียน
ผาน ไมผ า น

1 แนะแนว ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3/1
2 แนะแนว ช้นั มัธยมศึกษาปท่ี 3/2
3 แนะแนว ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 3/3
4 แนะแนว ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3/4
5 แนะแนว ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 3/5
6 แนะแนว ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 3/6
7 แนะแนว ชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี 3/7
8 แนะแนว ชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 3/8
9 แนะแนว ช้ันมัธยมศึกษาปท ี่ 3/9
10 แนะแนว ชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 3/10
11 แนะแนว ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3/11
12 แนะแนว ชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 5/1
13 แนะแนว ชนั้ มธั ยมศึกษาปท่ี 5/2
14 แนะแนว ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ี่ 5/3
15 แนะแนว ชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 5/4
16 แนะแนว ชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 5/5
17 แนะแนว ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5/6
18 แนะแนว ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5/7
19 แนะแนว ชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 5/8

20 แนะแนว ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 5/9

รวม
คิดเปน รอยละ

ตารางท่ี 5 ผลการเรียนของนักเรียนภาคเรยี นที่ 1 ปการศกึ ษา 2564

โดยสรปุ รวม ผลการเรยี นมี ดังนี้ 8

ที่ รวม ภาคเรียนท่ี 1 – 2 รวม
ระดับผลการเรียน
1 ภาคเรยี นที่ 1
2 ภาคเรียนท่ี 2 ผา น ไมผ า น

รวม
รอ ยละ

ตารางที่ 6 คา เฉล่ียผลการเรียนของนักเรยี น ปก ารศึกษา 2564

1.3 รายงานวจิ ัยในชนั้ เรยี น

ที่ เร่อื ง ชนั้ /หอ ง หมายเหตุ

1- --

ตารางที่ 7 เคา โครงวิจัยในชนั้ เรยี น

1.4 ผลงานนกั เรยี น สรุปรวบรวมได ดงั น้ี วัน/เดอื น/ป หนวยงาน หมายเหตุ
1.4.1 ผลงานท่ีไดรบั รางวลั -- -

ที่ รายการ
--

ตารางท่ี 8 ตารางแสดงผลงานนักเรียนทไ่ี ดรบั รางวลั ปการศึกษา 2564
1.4.2 ผลงานอน่ื ๆ

1.4.2 ผลงานอืน่ ๆ

ท่ี รายการ/กจิ กรรม ชน้ั /หอง ลกั ษณะของผลงาน/กิจกรรมสอดรับกับ

STEM ASEAN ลดเวลาเรียน คุณธรรม เศรษฐกจิ อื่น ๆ
เพม่ิ เวลารู 12 ประการ พอเพียง (ระบ)ุ

- - - -- - - --

ต1า.ร5างผทล่ีง9านตคารร/ู ากงาแรสไดดรงับกริจากงรวรลั ม/ลปดรเะวกลาาศเรเกยี ยีนรตเพิคมิ่ ุณเวลารู ปการศกึ ษา 2564

9

1.5 ผลงานคร/ู การไดร ับรางวลั /ประกาศเกยี รตคิ ุณ

ที่ รายการ วนั /เดอื น/ป หนว ยงาน หมายเหตุ

1- -- -

ตารางท่ี 10 ตารางแสดงผลงานครู/การไดร ับรางวลั /ประกาศเกียรตคิ ุณ ปการศึกษา 2564

5. การพฒั นาตนเอง - ชว่ั โมง
5.1 เขา รับการพฒั นาตามวทิ ยฐานะ รวมท้งั ส้ิน

ที่ หลักสูตร ระหวา ง หนวยงานท่ีจดั จำนวน การนำผลงานมาใช
1- วนั ที่ - (ชัว่ โมง) -

- -

ตารางท่ี 11 ตารางการพฒั นาตนเองตามหลกั เกณฑ ก.ค.ศ. ปก ารศึกษา 2564

5.2 เขา รบั การพฒั นาตนเองและพฒั นาวชิ าชพี

ที่ หลักสตู ร ระหวาง หนว ยงานท่จี ดั จำนวน การนำผลงานมาใช
(ชว่ั โมง)
วันที่ ใชในการพัฒนา
6 ตนเองและพฒั นา
1 โครงการพฒั นาขา ราชการครูและ 1 สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ี
6 วิชาชพี
บุคคลากรทางการศกึ ษาตาม สิงหาคม การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา
ใชใ นการพฒั นา
หลักเกณฑแ ละวิธีการประเมิน 2564 กรงุ เทพมหานคร เขต ตนเองและพัฒนา

ตาํ แหนงการเล่ือนวิทยฐานะ 1 วิชาชพี

ขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการ

ศึกษาตามขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน

2 ประชุมช้ีแจงการสรางเสรมิ ความ 13 สาํ นักงาน

ปลอดภัยในมติ สิ วนตัว สังคม และ สงิ หาคม คณะกรรมการ

สขุ ภาพจติ นักเรียนดวยระบบการ 2564 การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

แนะแนวและ School Health

HERO

10

ที่ หลักสตู ร ระหวาง หนว ยงานทจ่ี ดั จำนวน การนำผลงานมาใช

วันที่ (ชวั่ โมง)

3 การอบรมการพฒั นาทักษะการ 14 – 15 สํานกั งาน 15 ใชใ นการจัดการเรียน

จัดการเรียนรแู บบออนไลน สาหรบั สงิ หาคม คณะกรรมการ การสอน

ครูสังกัดสานกั งานคณะกรรมการ 2564 การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

4 การเขา รวมกจิ กรรมเสวนาทาง 29 ภาควิชาเทคโนโลยีและ 6 ใชใ นการจดั การเรียน

วิชาการ “ครไู ทยพรอมแคไหนกบั สงิ หาคม ส่ือสารการศกึ ษา คณะ การสอน

สถานการณก ารเรยี นการสอน 2564 ศกึ ษาศาสตร

ออนไลนป จ จบุ นั ” มหาวิทยาลยั นเรศวร

5 การเขารว มการอบรมและผานการ 16 สาํ นกั งานเขตพื้นที่ ใชใ นการพัฒนา

ทดสอบวดั ความรคู วามเขาใจ กรกฎาค การศึกษา ตนเองและพฒั นา

หลกั เกณฑแ ละวิธีการประเมิน ม 2564 ประถมศึกษาปทมุ ธานี วิชาชพี

ตำแหนง และ เขต 2

วทิ ยฐานะขา ราชการครแู ละบคุ ลากร

ทางการสกึ ษา ตำแหนง ครู ว9/2564

ดวยระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส

ตารางท่ี 12 ตารางเขา รับการพัฒนาตนเองและพัฒนาวชิ าชพี ปก ารศกึ ษา 2564

6. การเปน วทิ ยากร/การเผยแพรผลงาน

ที่ วัน/เดือน/ป รายการ/กิจกรรม หนว ยงาน จำนวน (ช่ัวโมง) หมายเหตุ
- --
-- -

ตารางท่ี 13 การเปน วทิ ยากร/การเผยแพรผลงาน ปก ารศกึ ษา 2563

11

สรุปผลการปฏบิ ัติหนาที
จากการปฏิบัติหนาที่ สรุปไดวา การจัดการเรียนการสอนในปการศึกษา 2563 เปนไปตามเปาหมายที่กําหนดไวใน
ระดบั ................... รวมท้ังงานครทู ีป่ รึกษาและงานอ่นื ทไ่ี ดรบั มอบหมายไดป ฏิบตั ิหนา ทอ่ี ยูใ นระดับ .........................................
ปญ หาและขอ เสนอแนะเพือ่ ปรับปรงุ งาน
..……………………………………………………………………………………………………………..............…………………………………………………………..

ลงชอ่ื ................................................ผูร ายงาน
(นางสาวอญั ชลี ใจคํา)

ความเห็นของหัวหนา กลุมสาระฯ
………………………………………………………………................………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….........

ลงชื่อ ........... ......................................หวั หนา งานแนะแนว
( นางสาวสุภตั รา สหี าบญุ ลี )

ความเห็นของรองผูอาํ นวยการกลุม บริหารวิชาการ
จดุ เดน.................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................
สิ่งทีค่ วรพัฒนา...................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื .................................................
(นายปรชั ญา พมิ ลภัทรกุล)

วนั ท.่ี ...............เดือน.........................พ.ศ...............
ความเหน็ ของรองผอู ํานวยการกลมุ บรหิ ารงานบคุ คล
จดุ เดน .................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................
ส่งิ ท่ีควรพัฒนา...................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................

ลงชอื่ .................................................
(นายปรัชญา พิมลภัทรกุล)

วันท.ี่ ...............เดอื น.........................พ.ศ...............
ความเห็นของผูอํานวยการสถานศึกษา
จดุ เดน .................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................
สิง่ ที่ควรพัฒนา...................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................

(ลงชอื่ )................................................................
(นายเกษม วิจิโน)

วนั ท่.ี ...............เดอื น.........................พ.ศ...............

12

ภาคผนวก ก

ผลการประเมินผลงานทเี่ กดิ จากการปฏิบัติหนาท่ี
(3 ดาน 13 ตวั บง ช)้ี

ขอ 5 ตามแบบฟอรม วฐ.2

13

ผลงานการประเมินผลงานทเี่ กิดจากการปฏบิ ัตหิ นา ท่ี (3 ดา น 13 ตัวบง ช)ี้

ผลการประเมนิ ตนเอง ผลการประเมนิ ของ
ผูอาํ นวยการสถานศกึ ษา
ตวั บงช้ี
ระดบั คณุ ภาพ
1 234 5 ระดบั คณุ ภาพ/เหตผุ ล

1. ดา นการจัดการเรียนการสอน ระดับ................................

1.1 การสรางและหรอื การพัฒนาหลักสูตร  เหตุผล..............................
..........................................

..........................................

1.2 การจดั การเรยี นรู ระดับ................................

1.2.1 การออกแบบหนวยการเรยี นรู  เหตุผล..............................
..........................................

..........................................

1.2.2 การจัดทาํ แผนการจดั การเรียนร/ู ระดบั ................................

แผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะ  เหตุผล..............................
บคุ คล/แผนการสอนรายบคุ คล/ ..........................................

แผนการจัดประสบการณ ..........................................

1.2.3 กลยุทธใ นการจดั การเรยี นรู ระดบั ................................

 เหตผุ ล..............................
..........................................

..........................................

1.2.4 คณุ ภาพผเู รียน ระดบั ................................

 เหตุผล..............................
..........................................

..........................................

1.3 การสรา งและพัฒนาสื่อ นวัตกรรม ระดบั ................................

เทคโนโลยที างการศกึ ษา และ  เหตุผล..............................
แหลงเรียนรู ..........................................

..........................................

1.4 การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู ระดับ................................

 เหตุผล..............................
..........................................

..........................................

14

ผลการประเมนิ ตนเอง ผลการประเมนิ ของ
ผอู ํานวยการสถานศึกษา
ตัวบงช้ี
ระดบั คณุ ภาพ
1 234 5 ระดบั คณุ ภาพ/เหตผุ ล

1.5 การวจิ ัยเพื่อการจดั การเรยี นรู ระดับ................................

 เหตผุ ล..............................
..........................................

..........................................

2. ดา นการบรหิ ารจัดการชั้นเรยี น ระดบั ................................

2.1 การบรหิ ารจดั การชน้ั เรยี น  เหตุผล..............................
..........................................

..........................................

2.2 การจดั ระบบดูแลชว ยเหลือนักเรยี น ระดบั ................................

 เหตุผล..............................
..........................................

..........................................

2.3 การจดั ทําขอมลู สารสนเทศ และ ระดบั ................................

เอกสารประจําชัน้ เรยี นหรอื ประจาํ วิชา  เหตุผล..............................
..........................................

..........................................

3. ดา นการพฒั นาตนเองและพัฒนาวชิ าชีพ ระดับ................................

3.1 การพัฒนาตนเอง  เหตุผล..............................
..........................................

..........................................

3.2 การพฒั นาวิชาชีพ ระดบั ................................

 เหตุผล..............................
..........................................

..........................................

ขาพเจา ขอรับรองวาขอมูลดงั กลาวขางตนถูกตอ งและตรงตามความจรงิ ทกุ ประการ พรอมน้ไี ดแนบ

เอกสารหลกั ฐานมาดว ยแลว

(ลงชื่อ)............................................ผรู ายงาน

( นางสาวอญั ชลี ใจคาํ )

ตาํ แหนง ครู

วันท.ี่ ..7.....เดือน....กันยายน....พ.ศ...2564...

15

ภาคผนวก ข

หลักฐานประกอบ
การรายงานท่เี กดิ จากการปฏบิ ตั หิ นา ที่

(ตามตวั บง ช)้ี

การจดั การเรยี นการสอน ดา นที่ 1

 หลกั สตู รกลุม สาระ /รายวิชาทส่ี อน
 ประมวลรายวิชา
 แผนการจดั การเรยี นรู
 สือ่ นวตั กรรมและเทคโนโลยี
 แบบรายงานการสอนออนไลน
 การวดั และประเมนิ ผล

ธนบดี ธีรธาดาธรณ หลักสตู รกลุม สาระ

E-book หลกั สูตรกิจกรรมแนะแนว

ประมวลรายวชิ า (Course syllabus)

รายวิชา แนะแนว รหสั วชิ า ก 23901
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ 3/1-11
เวลาเรียน 1 ชวั่ โมง/สปั ดาห ปการศึกษา 2564

ภาคเรยี นที่ 1
ครูผูสอน นางสาวอัญชลี ใจคํา

1. คาํ อธบิ ายรายวชิ า

กิจกรรมแนะแนวในชั้นเรียน เปนหนึ่งในกิจกรรมพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลาง พุทธศักราช 2551
เปนกระบวนการพัฒนาและสงเสริมผูเรียนดวยการจัดบริการและกิจกรรมแนะแนวที่หลากหลาย เปนรายบุคคลและ
เปนกลุม โดยมุงสงเสริมและเติมเต็มใหผูเรียนสามารถจัดการชีวิตของตนได ตามความสนใจ ความถนัด และ
ความสามารถบนพื้นฐานของความเชื่อวา ทกุ คนมคี วามแตกตางกนั ทกุ คนมีคณุ คา สามารถพฒั นาตนเองใหเจริญงอก
งาม ไดเต็มตามศักยภาพของแตละบุคคล โดยผูสอนทุกคนจะทําหนาที่ แนะแนวใหคําปรึกษาดานชีวิต การศึกษาตอ
และการพัฒนาตนเองสูโลกอาชพี และการมีงานทําดวย“การพ่ึงตนเอง” พรอมทั้งการสงเสริมกิจกรรมเพื่อการมีรายได
ระหวางเรียน

กิจกรรมแนะแนวชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 มุงสงเสริม พัฒนาผูเรียนใหพัฒนาตนเองอยางเต็มตามศักยภาพ รักและ
เห็นคุณคาในตนเองและผูอื่น พึ่งตนเอง มีทักษะในการเลือกแนวทางการศึกษา การงานและอาชีพ ชีวิตและสังคม
ใหม ีสุขภาพจิตทดี่ ี มีจติ สาํ นกึ ในการทําประโยชนต อครอบครัว สังคมและประเทศชาติ

การจัดกิจกรรมแนะแนว มีขอบขายการจัดกิจกรรม 3 ดาน คือ ดานการศึกษา ดานอาชีพ ดานสวนตัวและสังคม
ซึ่งการจัดกจิ กรรมแตล ะดา นจะเปนประโยชนตอผูเรียน ดังนี้

1. การจัดกิจกรรมแนะแนวดานการศึกษา มุงใหผูเรียนไดพัฒนาตนเอง ในดานการเรียนอยางเต็มตามศักยภาพ
รูจักแสวงหาและใชขอมูลประกอบการวางแผนการเรียน การศึกษาตอไดอยางมีประสิทธิภาพ มีเทคนิค วิธีการและ
ทักษะการเรียนรู มีนิสยั ใฝรใู ฝเ รยี น และสามารถวางแผนการเรียนการศกึ ษาตอไดอ ยางเหมาะสมกบั ตนเอง

2. การจัดกิจกรรมแนะแนวดานการงานและอาชีพ มุงใหผูเ รียนไดรูจักตนเองในทุกดาน รูโลกของงานอาชีพอยาง
หลากหลาย มีเจตคติที่ดีและทักษะพื้นฐานที่จําเปนในอาชีพ มีการเตรียมตัวสูอาชีพตลอดจนมีการพัฒนางานอาชีพ
ตามที่ตนเองถนดั และสนใจ

3. การจัดกิจกรรมดานชีวิตและสังคม มุงใหผูเรียนรูจักและเขาใจตนเอง รักและเห็นคุณคาในตนเองและผูอื่น มี
วุฒิภาวะทางอารมณ มีเจตคติที่ดีตอการมีชีวิตที่ดีมีคุณภาพ มีทักษะในการดําเนินชีวิตและสามารถปรับตัวให
ดํารงชีวิตอยใู นสงั คมไดอ ยา งมคี วามสขุ

ดังนั้นการจัดกิจกรรมแนะแนวจึงจําเปนตองจัดใหกับนักเรียนทุกคนอยางตอเนื่องในทุกระดับชั้น และมีการ
ดําเนินการจดั กิจกรรมเพอื่ การเรียนรูอยา งเปน ระบบ

2. มาตรฐานการเรียนรูแ ละผลการเรียนรู
ผลการเรียนรูท่ี 1 ผูเรยี นรูจกั เขา ใจ และเห็นคณุ คาในตนเองและผอู น่ื

มีความสามารถในการรูจักและเขาใจตนเอง ทั้งในดานความถนัด ความสนใจ จุดเดนจุดดอย นิสัย อารมณ
ความภมู ิใจ และเห็นคณุ คา ในตัวเองและผูอื่น
ผลการเรยี นรูท่ี 2 ผูเ รียนมีความสามารถแสวงหา และใชข อ มลู สารสนเทศ

มีทักษะ และวิธีการในการแสวงหาขอมูลจากแหลงตางๆ รวบรวม และจัดระเบียบขอมูล สามารถ จัดระบบ
กลัน่ กรอง เลือกใชข อ มูลอยางฉลาด เหมาะสม และเหน็ คณุ คาในการใชข อ มูลสารสนเทศ
ผลการเรียนรทู ี่ 3 ผูเรยี นมคี วามสามารถในการตัดสินใจและแกปญหาไดอ ยา งเหมาะสม

สามารถกําหนดเปาหมาย วางแผนวิเคราะห สังเคราะห และประเมินผลตลอดจนปรับปรุงแผนการ
ดาํ เนนิ การ โดยใชขอ มลู คุณธรรมและจรยิ ธรรมเปน พื้นฐานในการตดั สินใจ
ผลการเรยี นรูท่ี 4 ผูเ รียนสามารถวางแผนเกยี่ วกับการศึกษาตอ การประกอบอาชีพไดอ ยางเหมาะสมและตรงตาม
ความถนดั และความสนใจ

ผูเรียนสามารถกําหนดเปาหมายในชีวิตไดอยางชัดเจน ตลอดจนการรูจักวางแผน ในการดําเนินชีวิต รวมทั้ง
เร่อื งการเรียนตอ การประกอบอาชีพ สามารถวิเคราะห องคประกอบตางๆไดอยา งเหมาะสม และสามารถทําตามแผน
ทีว่ างไวได
ผลการเรียนรทู ่ี 5 ผูเรยี นมคี วามสามารถในการปรบั ตัวและการดํารงชีวิตอยา งมคี วามสุข

การเขาใจ ยอมรับตนเอง และผูอื่น มีวุฒิภาวะทางอารมณ แสดงออกอยางเหมาะสม มีมนุษยสัมพันธ
สามารถทํางานรวมกับผอู ่นื และดาํ รงชวี ติ อยูในสังคมไดอยางมคี วามสขุ

3. อาชีพทส่ี อดคลอ งกบั รายวชิ า
กิจกรรมแนะแนวเนนการเรียนการสอนที่ใหผูเรียนสามารถคนหาศักยภาพของตนเอง ตามความถนัด

ความสามารถ และเจตคติทด่ี ีตออาชีพเพอื่ พฒั นาไปสูอาชีพในอนาคตของตนเองไดอยางเหมาะสม

4. การนําไปใชในชวี ติ ประวัน

รแู ละเขา ใจความตองการพนื้ ฐานทางจติ ใจของมนษุ ย สามารถปฏิบตั ิตนในการอยูรวมกับผูอน่ื อยา งเขา ใจ
ตระหนักถึงความสําคัญของคนทุกคนที่มีสวนเกื้อกูลตอชีวิตตน มีความรูสึกเห็นคุณคาและกตัญู ตระหนักใน
ความสําคัญและคุณคาของตนเองและผูอื่น มีวุฒิภาวะทางอารมณ คุณภาพ มีทักษะในการดําเนินชีวิตและสามารถ
ปรับตวั ใหด ํารงชีวติ อยใู นสงั คมไดอ ยา งมีความสุข

5. โครงสรางรายวชิ า

ลาํ ดับ หนวยการเรยี น ตวั ช้วี ัด / ผลการเรยี น สาระสาํ คัญ เวลา นาํ้ หนกั
ที่ ช่ัวโมง คะแนน
กิจกรรมแนะแนวเปน กจิ กรรมที่มี
1 ปฐมนิเทศ 2.1 ชวยใหนกั เรียนรจู ักและ ประโยชน ที่ชว ยพฒั นาและสง เสรมิ ผูเรียน 1 5
ใหร จู กั และเขา ใจทง้ั ตนเองและ ผอู ่นื ไม
กิจกรรม เขาใจการเขา รวมกิจกรรม วา จะเปนดา นการศึกษา อาชพี สวนตัว 20
และสังคม สามารถตดั สินใจแกปญ หาดว ย
แนะแนว แนะแนว ตนเองได และใชช วี ติ อยู รว มกับผอู ่ืนใน 10
สงั คมไดอ ยา งมคี วามสุข
2.2 เพอ่ื ใหน ักเรียนไดมี

ทัศนคตทิ ด่ี ตี อ กจิ กรรมแนะ

แนว

2.3 เพ่ือใหน ักเรยี นมองเหน็

คณุ คา และประโยชนจาก

กิจกรรมแนะแนว

2 เรียนรูเพื่อรูจัก 2.1 รแู ละบอกคุณคา ส่งิ ทต่ี น การวิเคราะหและสามารถสํารวจตนเองได 4
นั้นเปนการประเมินตนเองถึงขอเดน - 2
ตนเอง ทาํ แลว เกิดประโยชนต อผูอื่น ขอดอยเพื่อเปนแนวทางในการสงเสริม
ขอเดนและปรับปรุงขอดอยของตนเอง
2.2 รแู ละบอกวิธกี ารพัฒนา และเปนสิ่งจูงใจในการพัฒนาตนเองอยาง
เต็มความสามารถ เพื่อเปนประโยชนใน
ตนอยา งตอเน่ือง การรูจักตนเองและเห็นคุณคาในตนเอง
ม า ก ข ึ ้ น ต ล อ ด จ น ส า ม า ร ถ ป ร ั บ ต ั ว อ ยู
3 ขอ มลู 1.เพื่อใหน กั เรยี นตระหนักถึง รว มกับผอู ่ืนได
สารสนเทศ โทษของส่อื ตางๆในโลก
ออนไลน ส ื ่ อ ม ี ห ล า ก ห ล า ย ร ู ป แ บ บ แ ล ะ มี
2.เพอ่ื ใหน ักเรียนตระหนัก หลากหลายชองทาง สื่อที่ไดรับความนิยม
และรูเทาทนั สอื่ ตางๆในโลก และเขาถึงนักเรียนไดงายที่สุดคือสื่อทาง
ออนไลน คอมพิวเตอรและสื่อจากโทรทัศนสื่อมี
อิทธิพลตอชีวิตประจําวัน ทั้งทางอารมณ
จิตใจ ความนกึ คิด และจติ ใต สาํ นกึ ของตัว
เรา และเปนสิ่งที่เราคลอยตามไดงาย ส่ือ
ไมสามารถเชื่อถือไดทั้งหมด เราควรให
ความสําคัญกับการบริโภคสื่อมากขึ้นมีสติ
เพื่อใหนักเรียนรูเทาทันจึงควรที่จะมีการ
แนะแนวทางเพือ่ ใหนักเรียนเกิดทักษะการ
เลือกรบั ส่ือไดอยางเหมาะสม

ลาํ ดับ หนว ยการเรียน ตวั ชวี้ ัด / ผลการเรยี น สาระสําคญั เวลา นา้ํ หนกั
ท่ี ชว่ั โมง คะแนน

4 ตัดสนิ ใจและ 2.1 .เพ่อื ใหน ักเรยี นจาํ แนก การตดั สินใจ คอื กระบวนการแกป ญหา 3 15

แกปญหา ความคิดทางบวกและทางลบ ซึ่งประกอบดว ย การศกึ ษาปญหา แนว

ได ทางเลอื ก และวธิ ีการแกปญ หาทด่ี ที ่ีสุด

2.2 เพ่อื ใหนกั เรียนเหน็ โดยอาศยั ความมีเหตผุ ล ความละเอยี ด

ความส าคญั และเหน็ รอบคอบในการตดั สนิ ใจ การตัดสนิ ใดก็

ประโยชนข องการคิดเชิงบวก ตาม ทุกคร้ังจะมีผลตอชีวติ ของผูต ดั สินใจ

ได เสมอ การตัดสนิ ใจจึงมคี วามสําคัญตอชีวติ

2.3 นกั เรียนบอกความคดิ มนุษยม าก การตัดสินใจท่ดี ีทส่ี ุดควรเปน

เชงิ บวกในสถานการณต างๆท่ี การตัดสนิ ใจทร่ี อบคอบ เปน กระบวนการ

เปนทกุ ขหรอื ไมพงึ พอใจได และมรี ะบบโดยการคาํ นึงถงึ ผลดีผลเสยี

พจิ ารณาอยางรัดกมุ เลอื กทางท่เี หมาะสม

5 มงุ มัน่ สู 2.1 บอกระดับความสามารถ การศึกษาขอมูลเรื่องการเรียนตอเมื่อจบ 4 20

เปาหมาย และความถนดั ทางการเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 นั้นมีความสําคัญตอ

ทางการเรียน ของตน การเลือกเรียนของนักเรียนยิ่งไปกวานั้น

2.2 บอกวธิ กี ารพฒั นาตนดาน การทราบถึงขอมูลในการศึกษาตอเมื่อจบ

การเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 นั้นยังมีผลตอการ

2.3 อธิบายโลกกวา ง เลือกเรียนตอในระดับอุดมศึกษา ซึ่งมี

การศึกษาตอส าหรบั ผจู บช้ัน ความสัมพันธและมีผลกระทบตอการ

มัธยมศกึ ษาปท่ี 3 ประกอบอาชีพในอนาคตของนักเรียนเอง

2.4 อธิบายความสาํ คัญของ นักเรียนจึงควรทราบขอมูลการศึกษาตอ

การวางแผนการศกึ ษาตอ วานักเรียนสามารถเลือกศึกษาตอในดาน

และสามารถวางแผน ใด ความสามารถทางการเรียนเปน

การศกึ ษาตอ องคประกอบสําคัญที่จะชวยในการเลือก

แผนการเรียนที่เหมาะสมกับนักเรียน การ

เ ล ื อ ก แ ผ น ก า ร เ ร ี ย น ท ี ่ เ ห ม า ะ ส ม กั บ

ความสามารถ เพื่อเปนแนวทางในการ

ตัดสินใจเลือกเรียนตอของนักเรียนจะเปน

พื้นฐานที่สนับสนุนใหนักเรียนเรียนรูได

อยางเต็มความสามารถ และสามารถ

วางแผนการศึกษาตอไดอยางเหมาะสม

เพื่อไปสูเปาหมายท่ตี อ งการ

ลาํ ดับ หนวยการเรยี น ตวั ช้ีวัด / ผลการเรียน สาระสําคัญ เวลา นํา้ หนัก
ท่ี ชั่วโมง คะแนน

6 มุงมั่นสู 2.1 เพอ่ื ใหน กั เรียนสามารถ การเตรยี มความพรอมเพอื่ กา วสโู ลกอาชพี 2 10

เปา หมายทาง บอกระดับความสามารถ เปนอกี ปจ จัยหนึ่งในการตัดสินใจเลือกการ

อาชพี ทางการเรยี นของตนได วางเปาหมายในชวี ิตใหนักเรยี นระดบั ชั้น

2.2 เพอ่ื ใหนกั เรยี นเขาใจ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย การสบื คนขอมลู

ระหวางอาชพี รับจางและ การสมคั รงานและการประเมนิ

อาชีพอิสระ ความสามารถของตน เพื่อเตรียมความ

2.3 เพอื่ ใหนักเรยี นอธิบาย พรอมและพัฒนาทกั ษะตางๆเพ่อื กาวสู

แนวทางการตดั สนิ ใจเลือก โลกอาชพี จงึ เปนส่ิงท่ีจาเปนอยา งมากการ

อาชีพสําหรับผูทจ่ี บชัน้ สืบคน ขอมูลเพอ่ื เตรยี มความพรอ มสโู ลก

มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3 อาชีพ มิใชการสรางคานิยมทางการศึกษา

แตประการใด เพยี งแตเ ปนการประเมนิ

ปจจยั ตา งๆ ทงั้ ความสามารถ ความสนใจ

ความพงึ พอใจในการทางาน เพ่อื ให

นกั เรยี นไดม ที กั ษะและสามารถในการ

วางแผนเพ่ือประกอบการตัดสนิ ใจ

ตลอดจนกาวสโู ลกอาชีพไดอ ยา งเต็ม

ศกั ยภาพ

7 การปรบั ตัวและ 2.1 เพ่ือใหผ เู รยี นไดเรยี นรู เหตุการณตางๆที่เกิดขึ้นในชีวิตประจ าวัน 4 20

การดํารงชีวิต การปฏบิ ตั ติ นและการวางตวั มักจะมีเรื่องใหไมสบายใจหรือทุกขใจอยุ

อยาง มคี วามสุข กบั เพ่อื นตา งเพศ บอยครั้งนอกจากการจดั การ กับเหตกุ ารณ

2.2 เพือ่ ใหผ เู รยี นปฏบิ ตั ติ น ตางๆแลวนั้น การคิดหรือคาดการณตางๆ

กบั เพอ่ื นตา งเพศไดอยา ง กอนที่จะเกิดขึ้นจริงกสามารถทําใหตนเอง

เหมาะสม เปนทุกขได ถาคนเรา มีทักษะการคิดเชิง

2.3. เพอ่ื ใหผเู รียนสามารถ บวกยอมสงผลตอสภาพจิตใจของเราไมให

ปฏิบตั ิตน ปรับตวั รูเทา ทนั เปนทุกข รูจักมองปญหาตางๆในดานดีซ่ึง

สงั คม และความเปลย่ี นแปลง จะสามารถ ปรับตัวใหเขากับสภาพปญหา

2.4 ผูเรียนสามารถคดิ ไดอ ยา งเหมาะสม

วเิ คราะห ตัดสินใจ แกป ญ หา

และวางแผนดานชวี ิตและ

สงั คม

รวมตลอดภาคเรยี นที่ 1/2564 100

6. การออกแบบหนว ยการเรียนรู

หนวย ช่อื หนวยการเรยี นรู สาระการเรียนรู แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรู
ท่ี
1 ปฐมนเิ ทศ กิจกรรม - สาระแกนกลาง กระบวนการสอนแบบ ทกั ษะ
เปน กจิ กรรมทสี่ ง เสรมิ และพฒั นา กระบวนการเผชญิ สถานการณ
แนะแนว ผูเ รยี นใหร จู ักตนเอง รูร ักษส ิ่งแวดลอม 1. ทบทวนความรูเ ดิม

สามารถคดิ ตดั สนิ ใจ คดิ แกป ญ หา 2. แสวงหาความรใู หม
กาํ หนดเปาหมาย วางแผนชวี ิตท้งั ดา น 3. สรปุ และจดั ระเบียบความรู
การเรียน และอาชพี
สามารถปรบั ตนไดอยางเหมาะสม
นอกจากนยี้ งั ชวยใหครรู ูจ กั และเขา ใจ
ผเู รยี น
ทง้ั ยงั เปนกิจกรรมที่ชว ยเหลอื และให
คําปรกึ ษาแกผ ปู กครองในการมีสว น
รว มพัฒนาผเู รียน
-สาระทองถนิ่
2 เรียนรูเพอ่ื รจู กั ตนเอง -สาระแกนกลาง กระบวนการสอนแบบ ทักษะ
เปน กจิ กรรมทสี่ ง เสริมและพฒั นา กระบวนการเผชญิ สถานการณ
ผเู รียนใหรจู ักตนเอง รรู กั ษสง่ิ แวดลอม 1. ทบทวนความรูเดิม
สามารถคดิ ตดั สนิ ใจ คดิ แกปญ หา 2. แสวงหาความรูใหม
กาํ หนดเปาหมาย วางแผนชีวิตทัง้ ดา น 3. สรุปและจดั ระเบยี บความรู
การเรียน และอาชีพ
สามารถปรับตนไดอยา งเหมาะสม
นอกจากนยี้ งั ชวยใหค รรู จู กั และเขา ใจ
ผเู รียน
ทงั้ ยังเปน กิจกรรมทีช่ ว ยเหลอื และให
คาํ ปรึกษาแกผ ปู กครองในการมสี วน
รวมพัฒนาผูเรยี น
-สาระทองถนิ่
………………………………….
3 ขอ มูลสารสนเทศ -สาระแกนกลาง กระบวนการสอนแบบ ทักษะ
เปนกจิ กรรมทสี่ งเสริมและพฒั นา กระบวนการเผชญิ สถานการณ
ผเู รียนใหรูจ ักตนเอง รูรักษสิง่ แวดลอ ม 1. ทบทวนความรเู ดมิ
สามารถคดิ ตดั สินใจ คดิ แกป ญ หา 2. แสวงหาความรูใ หม
กาํ หนดเปาหมาย วางแผนชีวิตทั้งดาน 3. สรุปและจัดระเบยี บความรู
การเรียน และอาชพี

หนว ย ชอื่ หนวยการเรียนรู สาระการเรียนรู แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรู
ท่ี
สามารถปรบั ตนไดอยา งเหมาะสม
นอกจากน้ยี ังชวยใหครรู ูจักและเขาใจ
ผูเรียน
ทงั้ ยังเปน กิจกรรมทีช่ วยเหลอื และให
คําปรกึ ษาแกผ ปู กครองในการมีสวน
รว มพฒั นาผเู รียน
-สาระทองถนิ่
………………………………….
4 ตดั สินใจและแกปญ หา -สาระแกนกลาง กระบวนการสอนแบบ ทักษะ
เปนกิจกรรมทส่ี ง เสริมและพัฒนา กระบวนการเผชญิ สถานการณ
ผเู รยี นใหรูจักตนเอง รูรกั ษสิ่งแวดลอม 1. ทบทวนความรเู ดมิ
สามารถคดิ ตดั สินใจ คดิ แกปญ หา 2. แสวงหาความรูใหม
กําหนดเปา หมาย วางแผนชวี ิตทงั้ ดา น 3. สรปุ และจัดระเบยี บความรู
การเรยี น และอาชพี
สามารถปรับตนไดอยา งเหมาะสม
นอกจากน้ยี ังชวยใหครูรูจักและเขา ใจ
ผูเรียน
ทง้ั ยงั เปน กิจกรรมทีช่ ว ยเหลอื และให
คําปรึกษาแกผปู กครองในการมีสวน
รวมพัฒนาผเู รียน
-สาระทองถิ่น
………………………………….

5 มุง ม่ันสเู ปาหมายทางการ - สาระแกนกลาง กระบวนการสอนแบบ ทกั ษะ
เรยี น เปน กจิ กรรมทส่ี งเสริมและพัฒนา กระบวนการเผชญิ สถานการณ
ผูเรยี นใหรจู กั ตนเอง รรู กั ษสิ่งแวดลอ ม 1. ทบทวนความรเู ดิม
สามารถคิดตดั สนิ ใจ คดิ แกปญ หา 2. แสวงหาความรูใ หม
กําหนดเปา หมาย วางแผนชวี ิตทั้งดา น 3. สรุปและจัดระเบียบความรู
การเรียน และอาชพี
สามารถปรบั ตนไดอยา งเหมาะสม
นอกจากนีย้ ังชวยใหค รรู จู กั และเขาใจ
ผูเ รียน
ทงั้ ยังเปน กิจกรรมท่ชี วยเหลอื และให
คําปรึกษาแกผ ปู กครองในการมีสว น
รว มพัฒนาผเู รียน
-สาระทองถน่ิ
………………………………….

หนว ย ชอ่ื หนวยการเรียนรู สาระการเรยี นรู แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรู
ท่ี - สาระแกนกลาง กระบวนการสอนแบบ ทักษะ
6 มุงม่นั สเู ปาหมายทางอาชีพ เปน กจิ กรรมทสี่ ง เสรมิ และพัฒนา กระบวนการเผชญิ สถานการณ
ผูเรยี นใหรูจ ักตนเอง รูรักษส ิ่งแวดลอม 1. ทบทวนความรเู ดิม
7 การปรับตัวและการ สามารถคิดตดั สินใจ คิดแกป ญ หา 2. แสวงหาความรใู หม
ดํารงชีวิตอยา ง มคี วามสุข กาํ หนดเปา หมาย วางแผนชีวิตท้ังดา น 3. สรปุ และจดั ระเบียบความรู
การเรยี น และอาชีพ
สามารถปรบั ตนไดอยา งเหมาะสม กระบวนการสอนแบบ ทกั ษะ
นอกจากนย้ี ังชวยใหค รรู จู กั และเขา ใจ กระบวนการเผชญิ สถานการณ
ผูเ รียน 1. ทบทวนความรูเดมิ
ท้ังยังเปนกิจกรรมทช่ี วยเหลอื และให 2. แสวงหาความรูใหม
คําปรกึ ษาแกผปู กครองในการมสี ว น 3. สรปุ และจดั ระเบยี บความรู
รวมพฒั นาผูเรียน
-สาระทอ งถน่ิ
…………………………………
- สาระแกนกลาง
เปนกิจกรรมทส่ี งเสรมิ และพฒั นา
ผเู รียนใหร ูจักตนเอง รูรักษส ง่ิ แวดลอม
สามารถคิดตัดสนิ ใจ คิดแกป ญ หา
กาํ หนดเปา หมาย วางแผนชวี ิตทัง้ ดาน
การเรียน และอาชีพ
สามารถปรับตนไดอยา งเหมาะสม
นอกจากนีย้ งั ชวยใหค รูรจู ักและเขา ใจ
ผเู รยี น
ท้ังยังเปน กิจกรรมท่ชี ว ยเหลอื และให
คําปรกึ ษาแกผปู กครองในการมสี ว น
รวมพัฒนาผเู รียน
-สาระทอ งถน่ิ
………………………………….

7. การวดั และประเมนิ ผล
7.1 การประเมนิ ตามตัวช้ีวัด

หนว ย ชื่อหนว ยการ มาตรฐานการเรยี นร/ู ตวั ชี้วดั / ช้ินงาน/ภาระ การวัดและประเมนิ ผล
ท่ี เรยี นรู (หรือผลการเรยี นรู) งาน - วธิ ีการวัด
1 ปฐมนิเทศ 1 ชวยใหน ักเรยี นรูจักและเขา ใจการ - 1. สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
2 เรยี นรูเพือ่ รูจัก - เครือ่ งมอื วดั
ตนเอง เขา รว มกจิ กรรมแนะแนว 1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
- เกณฑก ารใหค ะแนน
2 เพ่อื ใหน ักเรยี นไดมีทศั นคติทีด่ ีตอ 1. รอยละ 60 ผานเกณฑ
2. ระดับคณุ ภาพ 2 ผานเกณฑ
กิจกรรมแนะแนว - วิธีการวัด
3 เพ่อื ใหนกั เรยี นมองเห็นคณุ คาและ 1. ตรวจใบงาน
ประโยชนจ ากกจิ กรรมแนะแนว 2. สังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
- เครื่องมือวดั
1 รแู ละบอกคณุ คาสง่ิ ที่ตนทาํ แลว ใบงาน/กจิ กรรม 1. ใบงาน
เกิดประโยชนตอผูอืน่ 2. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2 รแู ละบอกวิธกี ารพัฒนาตนอยาง - เกณฑการใหค ะแนน
ตอ เนือ่ ง 1. รอยละ 60 ผานเกณฑ
2. ระดบั คณุ ภาพ 2 ผานเกณฑ

3 ขอมลู สารสนเทศ 1.เพือ่ ใหนกั เรยี นตระหนักถึงโทษ ใบงาน/กิจกรรม - วธิ ีการวดั
กลุม 1. ตรวจใบงานที่
ของสือ่ ตางๆในโลกออนไลน 2. สังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
3. สงั เกตพฤตกิ รรมการทาํ งานกลมุ
2.เพือ่ ใหนกั เรียนตระหนกั และรูเทา - เคร่ืองมอื วดั

ทันสอื่ ตางๆในโลกออนไลน

1. ใบงาน
2. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
3. แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางาน
กลมุ
- เกณฑก ารใหค ะแนน
1. รอยละ 60 ผานเกณฑ
2. ระดับคุณภาพ 2 ผานเกณฑ
4 ตดั สนิ ใจและ 1 .เพือ่ ใหน ักเรยี นจําแนกความคดิ ใบงาน/กจิ กรรม - วิธีการวัด
กลุม 1. ตรวจประเมนิ ผลงาน
แกปญหา ทางบวกและทางลบได 2. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล

3. สังเกตพฤตกิ รรมการทาํ งานกลมุ

หนว ย ช่อื หนว ยการ มาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวชี้วดั / ชน้ิ งาน/ภาระ การวัดและประเมินผล
ท่ี เรยี นรู (หรอื ผลการเรยี นรู) งาน 4. การนาํ เสนอผลงาน
- เคร่อื งมือวดั
2 เพือ่ ใหน กั เรยี นเหน็ ความสําคญั 1. แบบประเมนิ ผลงาน
2. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
และเห็นประโยชนข องการคิดเชิง 3. แบบสงั เกตพฤติกรรมการทาํ งาน
กลมุ
บวกได 4. แบบประเมินการนําเสนอผลงาน
- เกณฑการใหคะแนน
2.3 นักเรียนบอกความคดิ เชิงบวก 1. รอยละ 60 ผา นเกณฑ
2. ระดับคุณภาพ 2 ผานเกณฑ
ในสถานการณต างๆทีเ่ ปนทุกข - วธิ ีการวดั
1. ตรวจประเมนิ ผลงาน
หรือไมพงึ พอใจได 2. สังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
- เคร่ืองมือวดั
5 มุงม่ันสูเปา หมาย 1 บอกระดบั ความสามารถ ใบงาน/กิจกรรม 1. แบบประเมินผลงาน
2. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
ทางการเรยี น และความถนดั ทางการเรียนของตน - เกณฑก ารใหค ะแนน
1. รอ ยละ 60 ผานเกณฑ
2 บอกวธิ กี ารพัฒนาตนดา นการ 2. ระดับคุณภาพ 2 ผานเกณฑ

เรยี น - วธิ ีการวดั
1. ตรวจประเมินผลงาน
3 อธบิ ายโลกกวา งการศึกษาตอส 2. สังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
3. สังเกตพฤตกิ รรมการทาํ งานกลมุ
าหรบั ผูจบชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 4 - เครือ่ งมือวัด
1. แบบประเมนิ ผลงาน
อธบิ ายความสําคญั ของการวางแผน 2. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
3. แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางาน
การศึกษาตอ และสามารถวางแผน กลมุ
- เกณฑการใหค ะแนน
การศกึ ษาตอ 1. รอ ยละ 60 ผานเกณฑ
2. ระดับคุณภาพ 2 ผา นเกณฑ
6 มุงม่นั สเู ปา หมาย 2.1 เพ่อื ใหน กั เรยี นสามารถบอก ใบงาน/กจิ กรรม - วธิ ีการวดั
ระดบั ความสามารถทางการเรยี น กลุม 1. ตรวจประเมนิ ผลงาน
ทางอาชีพ 2. สังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
3. สังเกตพฤตกิ รรมการทํางานกลมุ
ของตนได 4. การนาํ เสนอผลงาน

2.2 เพอ่ื ใหนักเรียนเขาใจระหวาง

อาชีพรบั จางและอาชพี อสิ ระ

2.3 เพ่ือใหน ักเรียนอธบิ ายแนว

ทางการตัดสนิ ใจเลือกอาชพี สําหรบั

ผทู ีจ่ บช้ันมัธยมศกึ ษาปท ่ี 3

7 การปรับตัวและ 2.1 เพือ่ ใหผ ูเรยี นไดเ รียนรูก าร ใบงาน/กจิ กรรม
การดาํ รงชวี ิต ปฏิบัติตนและการวางตัวกบั เพ่อื น กลมุ
อยาง มีความสขุ ตางเพศ
2.2 เพือ่ ใหผ ูเรยี นปฏบิ ัติตนกับเพอ่ื น
ตางเพศไดอยางเหมาะสม

หนว ย ชื่อหนวยการ มาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวชว้ี ดั / ชน้ิ งาน/ภาระ การวัดและประเมินผล
ที่ เรยี นรู (หรือผลการเรยี นรู) งาน
- เครอ่ื งมอื วัด
2.3. เพือ่ ใหผ เู รียนสามารถปฏบิ ตั ติ น 1. แบบประเมินผลงาน
2. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
ปรบั ตวั รูเทา ทันสงั คม และความ 3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทาํ งาน
เปลย่ี นแปลง กลมุ
2.4 ผเู รียนสามารถคดิ วิเคราะห 4. แบบประเมนิ การนําเสนอผลงาน
ตดั สนิ ใจ แกป ญ หา และวางแผน - เกณฑก ารใหค ะแนน
ดานชีวติ และสังคม

1. รอยละ 60 ผานเกณฑ
2. ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา นเกณฑ

7.2 อัตราสวนคะแนน

คะแนน

หนว ยการ ประเมนิ ความความรูทางวชิ าการ ประเมนิ การทำงาน/ รวม
เรียนรู (คะแนน) กิจกรรมในชนั้ เรยี น/งานที่

มอบหมาย

สอบยอย กลางภาค ปลายภาค งาน
จำนวนชน้ิ คะแนน

1-- - - 55

2 - - - 3 20 20

3 - - - 1 10 10

4 - - - 2 15 15

5 - - - 3 20 20

6 - - - 1 10 10

7 - - - 2 20 20

รวม - - - 12 100 100

7.3 ปฏิทินงานท่ีมอบหมายสาํ หรบั นักเรียน

ท่ี วัน เดอื น ป ภาระงาน/ชิน้ งานที่มอบหมาย จาํ นวน คะแนน วัน เดือน ป เวลาในการทาํ งาน

ทส่ี ัง่ งาน (ชนิ้ ) ท่กี ําหนดสง ในคาบ การบาน

1 อัตชีวประวัติ 15 

2 ประวัตสิ ว นตวั id plan 15 

3 ความสนใจทางดา นอาชีพ 15 

4 การวิเคราะหข อมูลจากส่อื 1 10 

5 ตารางชวี ีต 15 

6 บคุ คลบนั ดาลใจ MY IDOL 1 10 

7 การเตรียมความพรอมทางการ 1 5 

เรยี นจากพ่สี นู อง

8 การวางแผนเลอื กแผนการเรยี น 1 10 

9 อัพเกรด อัพชวี ติ 15 

10 career path 1 10 

11 วเิ คราะหเสน ทางความรัก 15 

12 โครงการจติ สาธารณะ 1 15 

13 สมดุ งาน 1 10 

***เกณฑการมอบหมายภาระงานใหกับนกั เรยี น

1. การมอบหมายภาระงานตองไมยากจนเกินไป โดยใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด ผล

การเรียนรขู องแตละรายวิชา

2. การมอบหมายภาระงานตองมีจํานวนไมเยอะจนเกนิ ไป และกําหนดระยะเวลาในการดาํ เนินการให

เหมาะสมกบั ภาระงาน

3. การมอบหมายภาระงาน(การบา น / ชิ้นงาน) ตองใหคะแนนทุกรายการ

4. ภาระงานที่เปนเอกสารหรือชิ้นงาน ตองคํานึงถึงภาระคาใชจายของนักเรียนเปนสําคัญโดยเฉล่ีย

นกั เรยี นตอ คนท้งั งานเดีย่ วและงานกลมุ ไมเกิน 100บาท/คน /ชน้ิ งาน

8. เกณฑการประเมนิ

เกณฑค ะแนน

0 - 59 คะแนน ไมผ าน

60 -100 คะแนน ผาน

เกณฑก ารเขา รวมกจิ กรรม

1. ผเู รียนตอ งมเี วลาเขา รว มกจิ กรรมอยา งนอ ย รอ ยละ 80

2. ผูเ รยี นตอ งปฏบิ ตั ิกจิ กรรมไดอ ยางนอย รอยละ 60

การตดั สนิ ผลการเรียน

ผ หมายถึง ผา น

มผ หมายถึง ไมผ าน

9. สือ่ และแหลงเรียนรู

1. เอกสารประกอบการเรยี น / ใบงาน / ใบกจิ กรรม

1.1 แบบประเมนิ ความฉลาดทางเชาวนป ญญา 3 ดาน

1.2 แบบประเมนิ ความฉลาดทางอารมณ

1.3 ใบความรู เรยี นอยา งไร ใหเขาใจ

1.4 ใบงาน อักษรไขวอาชพี

1.5 แบบวดั ความถนดั พหปุ ญญาทัง้ 8 ดาน

1.6 แบบวดั บคุ ลกิ ภาพ MBTI (Myers-Briggs Type Indicator)

1.7 ตวั อยาง แผน พบั เร่อื งอาชีพของฉัน

2. สอ่ื นาํ เสนอ

2.1 สอ่ื นําเสนอ เรอื่ ง มารูจัก IQ และ EQ

2.2 สอ่ื นําเสนอ เรอ่ื ง องคป ระกอบในการตดั สินใจเลอื กอาชพี

2.3 ส่ือนาํ เสนอ เรอื่ ง ขอ มลู บุคคลตน แบบ

2.4 สือ่ นาํ เสนอ เรอ่ื ง เสนทางการวางแผนการศกึ ษาตอเมอ่ื จบชั้นม.3

2.5 สื่อนําเสนอ เรื่อง แนวทางการเลือกแผนการเรียน วิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ,
คณิตศาสตร -ภาษาอังกฤษ , ภาษาอังกฤษ-ภาษาที่ 3 (จนี ญี่ปนุ เกาหล)ี , ภาษาองั กฤษ-สงั คมศกึ ษา-
คหกรรมศาสตร

2.6 ส่ือนาํ เสนอ เร่อื ง การวางแผนการศึกษาตอ รูปแบบอาชวี ศึกษา
2.7 สื่อนําเสนอ เรอื่ ง การทําความรจู กั ตนเอง แบบทดสอบวดั บคุ ลกิ ภาพ
2.8 สื่อนําเสนอ เรื่อง ทาํ ความรจู กั กับความเครยี ด แบบทดสอบวัดระดับความเครยี ด
3. สอ่ื อิเล็กทรอนิกส
3.1 สอื่ วดิ ีทศั น เรอื่ ง บรหิ ารสมองเปน 2 เทา
3.2 สือ่ วดี ที ัศนขา ว เร่ือง ชอ งวางของ IQ และ EQ ระหวา งเดก็ เมอื งและเด็กในชนบท
3.3 สื่อวิดีทัศน อนิ โฟกราฟก เรือ่ ง สงเสริมการพัฒนา E.Q
3.4 ส่ือวดิ ีทัศน เรือ่ ง เคลด็ ลบั การบรหิ ารเวลา
3.5 ส่ือวดิ ที ัศนเรอื่ ง ทฤษฎกี ระปกุ ทราย
3.6 สอื่ วิดที ศั น ชดุ โฆษณา เรือ่ ง อยากเปน นักบินอวกาศ
3.7 ส่อื วดี ที ัศน “ทฤษฎพี หุปญ ญา (Mutiple Intelligences)”
3.8 ส่ือวีดที ศั น“ อยาคดิ วา คณุ โง พหปุ ญ หา 8 ความถนดั (Mutiple Intelligences)”
3.9 สอ่ื วิดที ัศน เรอ่ื ง I AM :……..
3.10 ส่ือวิดีทศั น เร่ือง อาชพี นอกกระแส
3.11 สอื่ วดิ ที ศั นเ รอ่ื ง วดิ ีทัศน คําสมั ภาษณข องดาราในเรอ่ื งความมุงมนั่ ต้งั ใจในการเรยี น
3.12 สื่อวดิ ที ศั น เรอื่ ง รวมความคิดของผูนาํ ที่ประสบความสําเรจ็ ท่ัวโลก
4. สื่ออ่นื ๆ
4.1 รปู ภาพแหลง การเรียนรตู า งๆ
5. เว็บไซดทีเ่ กี่ยวขอ ง
10. แหลง เรยี นรูภ ายในและภายนอกสถานศึกษา
- นำนกั เรยี นเขา รว มกิจกรรมเปด บานของสถาบนั ตา ง ๆทงั้ สถาบนั ของรฐั ละเอกชน

ลงช่อื ......................................................ครผู สู อน
( นางสาวอัญชลี ใจคำ )

ลงช่อื ................................................................... ลงชื่อ...................................................................
( นางสาวสภุ ัตรา สหี าบญุ ลี ) (นายปรชั ญา พมิ ลภทั รกลุ )
หัวหนา งานแนะแนว
รองผอู ำนวยการกลุมบริหารวชิ าการ

ลงช่อื ..........................................................................
( นายเกษม วจิ โิ น )

ผอู ำนวยการโรงเรียนสตรีเศรษฐบตุ รบำเพญ็

แผนการจดั การเรยี นรู

E-book แผนการจัดการเรียนรู

ตวั อยางแผนการจัดการเรียนรู

หนว ยการจัดการเรียนรู เรยี นรูเ พื่อรูจกั ตนเอง

กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น รายวชิ า กิจกรรมแนะแนว
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ ปการศึกษา ๒๕๖๔
หนวยการเรียนรทู ่ี ๒ เรยี นรเู พื่อรจู กั ตนเอง เวลา ๔ ชว่ั โมง

๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวชี้วดั
มาตรฐานการเรียนรู (หรือผลการเรียนร)ู
ผลการเรียนรทู ี่ ๑ ผเู รียนรูจกั เขาใจ และเห็นคุณคา ในตนเองและผูอื่น
๑.๑ ผเู้ รยี นรูจ้ กั เขา้ ใจ เหน็ คณุ คา่ ในตนเองและพฒั นาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ

๒. จดุ ประสงคการเรียนรู

๒.๑ รแู ละบอกคุณคา ส่งิ ที่ตนทาํ แลว เกิดประโยชนตอผูอื่น
๒.๒ รูและบอกวิธีการพฒั นาตนอยา งตอเน่ือง
๓. สาระสาํ คญั
การวิเคราะหและสามารถสำรวจตนเองไดนั้นเปนการประเมินตนเองถึงขอเดน ขอดอยเพื่อเปนแนวทาง
ในการสงเสริมขอเดนและปรับปรุงขอดอยของตนเอง และเปนสิ่งจูงใจในการพัฒนาตนเองอยางเต็ม
ความสามารถ เพื่อเปนประโยชนในการรูจักตนเองและเห็นคุณคา ในตนเองมากขึ้นตลอดจนสามารถปรับตัวอยู
รวมกบั ผูอืน่ ได
๔. สมรรถนะสาํ คญั ของผเู รยี น
 ความสามารถในการสอ่ื สาร
 ความสามารถในการคดิ
 ความสามารถในการแกปญหา
 ความสามารถในการใชท กั ษะชีวติ
 ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี
๕. สาระการเรียนรู
ดา นความรู (K)
- นักเรียนทราบถงึ ขอดี ขอบกพรอ งของตนเอง การวเิ คราะห และพิจารณาตนเอง
- นกั เรียนวเิ คราะหถึงขอดี ขอบกพรองของผอู นื่ และการเลอื กใชค ำวิจารณผอู ื่นอยางสรา งสรรค

ทกั ษะทสี่ าํ คัญ (P)
- นกั เรยี นวเิ คราะหค์ วามสามารถ ขอ้ ดี ยอมรบั และพฒั นาขอ้ งพรอ่ งของตนเองใหส้ ามารถปรบั ตวั

อย่ใู นสงั คมไดอ้ ย่างมีความสขุ

คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค (A)

 รกั ชาติ ศาสน กษัตริย  ซ่ือสตั ยส ุจริต
 มวี นิ ยั  ใฝเ รยี นรู
 อยูอ ยางพอเพียง  มุงมั่นในการทํางาน
 รกั ความเปน ไทย  มีจิตสาธารณะ

๖. ช้นิ งานหรอื ภาระงาน (หลกั ฐาน /รองรอยแสดงความรู)
๖.๑ ชน้ิ งาน ประวัตสิ วนตัวในสมุด
๖.๒ ชิน้ งาน ตารางวเิ คราะหตนเองและฉนั เป็นเชน่ ไรในสายตาผอู้ ่นื ในสมดุ

๗. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู
๗.๑ การสาํ รวจตนเองวเิ คราะหขอ เดน -ขอ ดอย
๗.๒ เสนอแนวคิดวิธีการพัฒนาขอเดนของตนเองใหพัฒนาอยางตอเนื่อง และปรับปรุงขอบกพรอง

ของตนเองไดอ ยางเหมาะสม
๗.๓ การตระหนักถงึ คณุ คาในตนเองท่ีตนเองกระทําแลวเกิดประโยชนตอคนรอบขา ง

แผนการจดั การเรยี นรู ที่ ๒ กระจกสะทอนตนเอง

กิจกรรมพัฒนาผเู รียน รายวิชา กิจกรรมแนะแนว
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ ปการศกึ ษา ๒๕๖๔
หนว ยการเรยี นรูท ่ี ๒ เรยี นรเู พอ่ื รจู ักตนเอง เวลา ๔ ชวั่ โมง
เรือ่ ง กระจกสะทอ นตนเอง เวลา ๒ ชั่วโมง

๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู ตวั ชวี้ ดั
มาตรฐานการเรยี นรู (หรือผลการเรยี นร)ู
ผลการเรียนรทู ่ี ๑ ผเู รียนรูจกั เขา ใจ และเหน็ คณุ คาในตนเองและผูอน่ื

๑.๑ ผเู้ รยี นรูจ้ กั เขา้ ใจ เหน็ คณุ คา่ ในตนเองและพฒั นาตนเองไดเ้ ต็มตามศกั ยภาพ

๒. จุดประสงคก ารเรยี นรู
๒.๑ สาํ รวจ วิเคราะหและประเมินตนเองทงั้ ขอเดน-ขอดอ ยและสิ่งที่อยากจะพัฒนาและปรับปรุง

๒.๒ รวู ิธกี ารพัฒนาพฒั นาตนเองอยา งตอเนื่อง

๒.๓ เพื่อใหนกั เรยี นเขา ใจและยอมรับจดุ เดน-จุดดอยของตนเองได

๓. สาระสาํ คญั
มนุษยทุกคนยอมมีทั้งขอดีและขอบกพรองในตนเอง ซึ่งการดำเนินชีวิตและการอยูรวมกับผูอื่นในสังคม

จึงจำเปนที่จะตองเรียนรู การวิเคราะหตนเอง รูจักและเขาใจตนเอง เพื่อนำมาแกไขปรับปรุงในสวนที่เรายัง
บกพรอง หรือพัฒนาไดไมเต็มที่ของตนเองใหดียิ่งๆขึ้นไป ยอมรับในการเปนตนเอง และในขณะเดียวกันก็ตอง
เรียนรุทีจ่ ะยอมรับถึงความแตกตางระหวา งบุคคล ขอดีและขอบกพรองของผูอ่ืน เพื่อการสรางสัมพันธอันดตี อ
การอยูรวมกัน การปรบั ตวั ใหส ามารถอยรู ว มกนั ไดอยา งมีความสขุ ในสังคม

๔. สมรรถนะสาํ คัญของผเู รียน
 ความสามารถในการสอ่ื สาร

 ความสามารถในการคดิ

 ความสามารถในการแกปญหา

 ความสามารถในการใชท ักษะชวี ติ

 ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี
๕. สาระการเรยี นรู

ดา นความรู (K)
- นักเรยี นทราบถงึ ขอดี ขอบกพรอ งของตนเอง การวเิ คราะห และพจิ ารณาตนเอง
- นักเรียนวิเคราะหถงึ ขอ ดี ขอบกพรอ งของผูอื่นและการเลือกใชคำวิจารณผอู ่ืนอยางสรางสรรค

ทักษะทีส่ าํ คญั (P)
- นกั เรยี นวเิ คราะหค์ วามสามารถ ขอ้ ดี ยอมรบั และพฒั นาขอ้ งพรอ่ งของตนเองใหส้ ามารถปรบั ตวั

อยใู่ นสงั คมไดอ้ ย่างมีความสขุ

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค (A)

 รกั ชาติ ศาสน กษตั ริย  ซ่อื สตั ยส ุจริต

 มวี นิ ัย  ใฝเ รยี นรู

 อยอู ยางพอเพยี ง  มุงม่นั ในการทํางาน

 รกั ความเปนไทย  มจี ติ สาธารณะ

๖. จุดเนน สูการพัฒนาคณุ ภาพผเู รยี นทกั ษะศตวรรษท่ี ๒๑

การเรยี นรู ๓R x ๘C

⬜ Reading (อานออก) ⬜ (W)Riting(เขียนได) ⬜ (A)Rithemetics(คดิ เลขเปน )

⬜ Critical Thinking and Problem Solving:มีทกั ษะในการคดิ วิเคราะห และแกไ ขปญหาได

⬜ Creativity and Innovation:คดิ อยา งสรางสรรค คดิ เชิงนวตั กรรม

⬜ Collaboration Teamwork and Leadership:ใหค วามรว มมอื ในการทํางานเปนทีมมีภาวะผูนาํ

 Communication Information and Media Literacy:มที ักษะในการสือ่ สาร และรูเทาทนั ส่อื

⬜ Cross-Cultural Understanding:มีความเขาใจความแตกตา งทางวฒั นธรรม

⬜ Computing and ICT Literacy:มีทกั ษะการใชค อมพิวเตอร และรูเ ทา ทนั เทคโนโลยี

⬜ Career and Learning Skills:มีทักษะทางอาชพี และกระบวนการเรียนรูตา งๆ

 Compassion:มคี ุณธรรม มเี มตตากรุณา มีระเบียบวินยั

ทกั ษะดา นชีวติ และอาชพี

 ความยดื หยนุ และการปรบั ตวั

 การรเิ ริม่ สรา งสรรคและเปน ตัวของตัวเอง

⬜ ทกั ษะสงั คมและสงั คมขามวฒั นธรรม

⬜ การเปนผสู รางหรอื ผผู ลติ (Productivity) และความรบั ผิดชอบเช่ือถอื ได (Accountability)

 ภาวะผูนาํ และความรับผดิ ชอบ (Responsibility)

คุณลกั ษณะสําหรบั ศตวรรษท่ี ๒๑

⬜ คณุ ลกั ษณะดานการทํางาน ไดแก การปรับตวั ความเปนผนู าํ

 คณุ ลกั ษณะดานการเรยี นรู ไดแ ก การชนี้ าํ ตนเอง การตรวจสอบการเรียนรูของตนเอง

 คณุ ลกั ษณะดา นศีลธรรม ไดแก ความเคารพผูอ ่ืน ความซอื่ สัตย ความสํานกึ พลเมอื ง

๗. จดุ เนน ของสถานศกึ ษา

๗.๑ ผเู รยี นเปน กุลสตรีไทยสมัยนิยม (SSTB School's ๔G)

⬜ มคี ณุ ธรรม (Good Moral) ⬜ นาํ ปญ ญา (Good Wisdom)

⬜ จิตอาสาเดน (Good Service) ⬜ เนน มารยาท (Good Manners)

๗.๒ ผเู รียนมศี กั ยภาพเปน พลโลก (World Citizen) เทียบเคียงมาตรฐานสากล

⬜ เปนเลศิ วชิ าการ ⬜ สือ่ สารไดอ ยางนอ ย ๒ ภาษา

⬜ ลา้ํ หนาทางความคิด ⬜ ผลิตงานอยางสรางสรรค

⬜ รวมกนั รบั ผิดชอบตอ สังคมโลก

๘. ชิ้นงานหรอื ภาระงาน (หลักฐาน /รอ งรอยแสดงความรู)

๘.๑ ชน้ิ งาน ประวัตสิ ว นตวั ในสมดุ

๘.๒ ชิน้ งาน ตารางวิเคราะหตนเองและฉนั เป็นเชน่ ไรในสายตาผอู้ ่นื ในสมุด

๙. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

ชัว่ โมงท่ี ๑

ขนั้ นำ

๑. ครูกลาวทักทายนักเรียน และใหนักเรียนเลนเกมทายบุคลิกภาพของเพื่อนๆในชั้นเรียนจาก

ภาพวาดสัตว สิ่งของ หรืออุปกรณตางๆ ที่แทนเตนเอง หลังจากนั้นครูนำเขาสูบทเรียนโดยตั้งคำถามกับ

นกั เรยี นวาหลังจากเปดเทอมท่ผี า นมาไดร ะยะหนึ่งแลว นักเรียนรจู ักเพ่อื นรว มหองครบทกุ คนรึยัง

ขัน้ สอน

๒. ครูกลาวกบั นักเรยี นวา ในวันน้ีครูจะมีเกมมาใหนกั เรียน เพอื่ จะใหนกั เรยี นไดรูจกั ตนเองเพ่ิมมากขึ้น

โดยครูมีขอคำถามมาถามนักเรียน โดยจะเปนลักษณะคำถามปลายเปด เพื่อใหนักเรียนตอบใหเปนประโยคที่

สมบรู ณท ีส่ ดุ

๓. ครูกลาวย้ำกับนักเรียนวานักเรียนตองตั้งใจฟงกติกาและ ตรงตอเวลา มีความซื่อสัตยโดยนักเรียน

ตองตอบคำถามภายใน เวลา ๑ นาที โดยไมยอนกลับมาตอบคำถามขอกอนหนา เพื่อเปนการใหคำตอบจาก

จิตสำนึก

๔. ครูอธิบายกติกากับนักเรียนวา ครูจะอานคำถามทีละ ๑ ขอคำถาม แลวใหนักเรียนตอบคำถามที่

ตรงตามความคิดของตนเอง เมื่อครบเวลา ๑ นาที เมื่อเสร็จแลวครูก็จะอานขอคำถามขอตอไป นักเรียนก็ทำ

เชนนเี้ รอื่ ยๆจนครบทั้ง ๑๒ ขอ โดยมคี ำถามดังน้ี

๑. ฉนั คดิ วาฉนั เปน คนท.่ี ............... ๗. สิ่งเดยี วทีฉ่ ันไมช อบในตนเองคือ.....

๒. บคุ คลท่เี ปนแรงบนั ดาลใจของฉนั คือ....... ๘. สง่ิ เดียวที่ฉนั ชอบในตนเอง คือ.................

๓. ความคาดหวงั สงู สุดในชวี ิตของฉนั คือ....... ๙. ชวี ติ โดยรวมของฉันมนั ช่ัง....... ซะเหลือเกนิ

๔. ……..เปนคนแรกทฉี่ ันนึกถึงเมอื่ มีปญหา ๑๐. ชวี ติ ของฉันคงจะดีกวา นี้ ถา.....................

๕. สงิ่ แรกทฉี่ นั อยากในในวนั ทป่ี ระสบความสำเรจ็ .... ๑๑. สิง่ ที่ฉันอยากจะกลับไปแกไ ขท่ีสดุ คอื ......

๖. ความภาคภมู ใิ จทส่ี ุดในชวี ิตของฉัน คือ ...... ๑๒.จุดเดน/ความสามารถพิเศษของฉนั คอื ......

ข้นั สรปุ
๕ .ครกู ลา วกับนกั เรยี นวาการเราจะเรมิ่ ตน รจู กั ผูอ นื่ เราควรจะคนหาศกั ยภาพและตวั ตนของตนเอง

กอ น รวู าเราชอบ ไมช อบอะไร ถนดั หรือไมถ นัดดา นไหน เพอื่ ท่นี ักเรียนจะสามารถพฒั นาทักษะความสามารถ
ทมี่ ีอยูใหเตม็ ทม่ี ากยง่ิ ขน้ึ และแกไขในขอ ทบี่ กพรองของตนเอง และนำมาสกุ ารวางแผนในดานอน่ื ๆท้งั ดา นการ
เรยี น การประกอบอาชพี ในอนาคต และความสามารถใชชวี ิตเพื่ออยรู วมกบั ผูอนื่ ไดอ ยา งมีความสุข

ช่ัวโมงที่ ๒
ขน้ั นาํ

๑. ครูใหนกั เรียนเขียนนิยามคํา ๓ คําที่สื่อถึงความเปนตนเอง เชน เกง ฮา สู ลงในกระดาษแผนเล็กๆ
พรอมทั้งเตรียมคําอธิบายถึงนิยามของคําสามคําน้ี โดยครูใหเวลาเขียน ๓ นาทีและเก็บรวบรวมของนักเรียน
ทุกคนลงในกลุม เพื่อที่จะสุมนิยามขึ้นมาและใหเพื่อนในหองเรียนรมกันทายวา นิยามนั้นเปนใครไดบางและมี
จุดสงั เกตอยา งไร พรอ มทั้งหาเจาของนิยามตัวจริงเพ่อื ทจ่ี ะอธบิ ายนยิ ามนั้นวาเปนอยางไร
ข้ันสอน

๒ ครูอธิบายถึงความสําคัญของการรูจักและเขาใจตนเองและประโยชนข องการวิเคราะหและประเมิน
ตนเอง

๓ ครูใหนักเรียน ออกแบบตารางเพื่อการวิเคราะหตนเอง โดยอธิบายวิธีการตอบของโดยในแตละ
หัวขอจะแบงเปนสองฝงท้ังขอเดน-ขอดอยของตนเอง และแนวทางการพัฒนาขอเดนอยางไรและพัฒนา
ขอ ดอ ยอยา งไรโดยใหเวลา ๒๐ นาที

๔. เมื่อนักเรยี นทุกคนเขียนเสรจ็ เรียบรอ ย ครูใหน้ กั เรยี นจบั ค่เู พ่ือนท่ีน่งั ใกลน้ กั เรยี นมากท่ีสดุ โดยให้
นกั เรียนตกลงกันว่าใครจะเป็นท่ี๑ และคนท่ี ๒ โดยครูกาํ หนดใหน้ กั เรียนคนท่ี ๑ เป็นผูพ้ ูด คนท่ี ๒ เป็น
ผฟู้ ัง โดยนกั เรยี นท่ีเป็นผฟู้ ังจะตอ้ งรบั ฟังโดยไม่มีขอ้ โตแ้ ยง้ และผพู้ ดู ตอ้ งพดู ในลกั ษณะเชงิ สรา้ งสรรค์ การ
กล่าวคาํ ชมในสิ่งท่ีดีและการขอเสนอแนะในส่ิงท่ีควรแกไ้ ข พัฒนาของผูฟ้ ังอย่างเหมาะสม โดยเป็นการ
สลบั กนั แสดงความคิดเหน็

ข้นั สรปุ
๕.ครูสรุปลักษณะของแตละคนและความแตกตางระหวางบุคคลโดยครูและนักเรียนรวมกันสรุป

แนวทางพัฒนาตนเองจากที่เพื่อนนาเสนอเพิ่มเติม วามีขอใดบางที่เราและเพื่อนมีความคิดเห็นที่ตรงกันและมี
ขอเสนอแนะอื่นๆเพิ่มเติมจากเพื่อน อยางไรบางตรงตามความเปนจริงและนักเรียนสามารถยอมรับไดหรือไม
อยางไร โดยสมุ นกั เรียน ๓ - ๔ คนพดู ความรสู ึกหลังจากทีไ่ ดแ ลกเปลีย่ นความคดิ เห็นกบั เพ่ือน

๖. ครูบอกกับนักเรียนวาเมื่อเราไดสํารวจตนเอง รวมถึงขอเดน ขอดอยของตนเอง และแนวทางใน
การปรบั ปรุงพัฒนาในวนั นี้ เรากจ็ ะไดม มุ มองทหี่ ลากหลายทั้งทีเ่ รามองตนเอง ผอุ นื่ มองตนเองและเห็นถึงความ
หลากหลายและแตกตางกันของคนในสงั คม ซึ่งเปน ส่งิ ทเี่ ราตอ งเรยี นรูแ ละปรับตวั ไปในอนาคต
๑๑. แหลงเรยี นรใู นหรือนอกสถานสถานศึกษา

- สื่อนําเสนอ เร่อื ง การวิเคราะหต์ นเองเพ่ือปรบั ปรุงตนเอง

๑๒. การวดั ผลและประเมินผลการเรยี นรู

รายการวดั วธิ กี ารวดั ผล เคร่ืองมือการวัด เกณฑก ารวดั และ
และประเมนิ ประเมนิ ผล

๑. นักเรียนวิเคราะหและ ๑. ตรวจช้นิ งานของ ๑. แบบบนั ทกึ การ ๑. ผลการตรวจผลงาน

ประเมินตนเองทั้งขอเดน- นักเรียน ประเมนิ ผลงานนกั เรียน ผา นรอยละ ๖๐
ขอดอยและส่ิงที่อยากจะพัฒนา ๒. สังเกตพฤตกิ รรม โดยใชเ กณฑการประเมนิ
และปรบั ปรุง ๒. ผลการนาํ เสนอ
การทาํ งานรายบุคคล แบบรบู รกิ ส ผลงาน ผานรอยละ ๖๐
๒. นักเรียนบอกวิธีการพัฒนา ๓. สงั เกตพฤตกิ รรม ๒. แบบสงั เกตพฤติกรรม ๓. ผลการสังเกต
ตนเองอยา งตอเนือ่ ง พฤติกรรม การทํางาน
๓. นักเรียนเขาใจและยอมรับ การทาํ งานรายกลมุ การทาํ งานรายบุคคล รายบคุ คล ผา นรอ ยละ
๓. แบบสังเกตพฤตกิ รรม ๖๐
จุดเดน-จุดดอยของตนเองและ ๔. ผลการสงั เกต
การทํางานรายกลุม
ผอู ืน่ ได

พฤตกิ รรม การทํางาน

รายกลมุ ผา นรอ ยละ ๖๐

๑๓. การบรู ณาการการจดั การเรยี นรู

บรู ณาการกระบวนการคิด

 การคดิ วิเคราะห ⬜ การคดิ เปรยี บเทยี บ ⬜ การคดิ สงั เคราะห

⬜ การคดิ วิพากษ ⬜ การคดิ อยา งมวี ิจารณญาณ ⬜ การคิดประยุกต

⬜ การคดิ เชงิ มโนทัศน ⬜ การคดิ เชงิ กลยุทธ ⬜ การคิดแกปญ หา

⬜ การคดิ บรู ณาการ ⬜ การคดิ สรา งสรรค ⬜ การคิดอนาคต

⬜ บรู ณาการอาเซียน

⬜ บูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

⬜ บรู ณาการกบั หลักสูตรตานทจุ ริตศึกษา

⬜ บูรณาการกับการจัดการเรยี นรู STEM EDUCATION

⬜ บูรณาการกบั การจัดการเรียนรู Active Learning

⬜ บูรณาการกับกรอบสาระการเรยี นรูทอ งถน่ิ

⬜ บรู ณาการกบั โครงการการจดั การศกึ ษาเพือ่ การมีงานทาํ ในศตวรรษที่ ๒๑

⬜ บูรณาการกับกลุม สาระการเรยี นรูอ่ืนๆ

๑ กลมุ สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร ไดแ ก …………………………………

๒. กลุมสาระการเรยี นรูภาษาตางประเทศ ไดแ ก ……………………………….

๓. กลุม สาระการเรียนรูภ าษาไทย ไดแก ……………………………….

๔. กลมุ สาระการเรียนรศู ิลปะ ไดแ ก ..........................................

⬜ บูรณาการในลักษณะอน่ื ๆ ไดแ ก. .......................................................
๑๔. กิจกรรมเสนอแนะ

................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
๑๕. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน

สรปุ ผลการเรียนการสอน

๑๕.๑ นกั เรียนทัง้ หมดจาํ นวน........................คน

จุดประสงคก ารเรียนรขู อท่ี นักเรียนท่ผี า น นักเรียนไมผ า น
จาํ นวน(คน) รอยละ จาํ นวน(คน) รอยละ

๑. นักเรียนวิเคราะหและประเมิน

ตนเองทั้งขอเดน-ขอดอยและสิ่งท่ี

อยากจะพฒั นาและปรับปรุง

๒. นักเรียนบอกวิธีการพัฒนาตนเอง

อยางตอเนอ่ื ง

๓. นักเรียนเขาใจและยอมรับจุดเดน-

จดุ ดอยของตนเองและผูอื่นได

รายชือ่ นกั เรยี นที่ไมผ านจดุ ประสงคขอที่....๑....ไดแก
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
รายชอื่ นกั เรียนทไ่ี มผา นจุดประสงคขอ ท.ี่ ...๒....ไดแก
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
รายช่ือนกั เรียนทีไ่ มผา นจดุ ประสงคข อท่.ี ...๓....ไดแ ก
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
นกั เรียนที่มคี วามสามารถพิเศษ/นักเรียนพกิ ารไดแ ก
๑) ..........................................................................................................................................
๒) ..........................................................................................................................................
๑๕.๒ นกั เรียนมีความรคู วามเขาใจ

................................................................................................................................................
๑๕.๓ นกั เรียนมีความรเู กดิ ทกั ษะ
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
๑๕.๔ นกั เรียนมีเจตคติ คานยิ ม ๑๒ ประการ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

๑๖. ปญหา/อปุ สรรค /แนวทางแกไข
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
๑๗. ขอ เสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ........................... .........................
( นางสาวอญั ชลี ใจคาํ )
ตําแหนงครู

ความเหน็ ของหัวหนาสถานศึกษา / ผูท่ไี ดร บั มอบหมาย
ไดทาํ การตรวจแผนการจัดการเรียนรูของ………………………………………………….. ตาํ แหนง …………………

แลวมีความคดิ เห็นดงั นี้
1. เปน แผนการจดั การเรยี นรูท่ี
⬜ ดมี าก
⬜ ดี
⬜ พอใช
⬜ ควรปรับปรุง
2. การจดั กจิ กรรมไดน าํ เอากระบวนการเรยี นรู
⬜ เนนผูเรียนเปนสําคญั มาใชใ นการสอนไดอยา งเหมาะสม
⬜ ยงั ไมเ นนผเู รยี นเปน สาํ คญั ควรปรบั ปรุงพัฒนาตอไป
3. เปนแผนการจดั การเรียนรูท่ี
⬜ นําไปใชไ ดจ ริง
⬜ ควรปรับปรงุ กอ นนําไปใช
4. ขอเสนอแนะอ่นื ๆ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.................. .................................................
( นางสาวสภุ ตั รา สหี าบญุ ลี )

หวั หนา กลมุ สาระการเรียนร/ู งานแนะแนว
…….……./……………/…………..

สอื่ การจัดการเรียนรู้

รวมสอ่ื และนวตั กรรมทีใ่ ช้
ในการจัดการเรียนรู้

E-book รวมสื่อการสอน

ตวั อยางส่อื นวัตกรรมและเทคโนโลยี

ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 3 เรอ่ื ง การทําความรจู กั ตนเองและแบบทดสอบวัด
บคุ ลกิ ภาพ

ตัวอยางส่อื นวตั กรรมและเทคโนโลยี

ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ 3 เรอ่ื ง เสนทางการวางแผนการศกึ ษาตอ เมอ่ื จบช้ัน
มัธยมศกึ ษาปท่ี 3

ตัวอยา งสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยี

ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 3 เรอ่ื ง เจาะลกึ การวางแผนการศกึ ษาตอ รูปแบบสามัญศกึ ษา

ตวั อยางสอื่ นวตั กรรมและเทคโนโลยี

ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3 เรอ่ื ง เจาะลกึ การวางแผนการศกึ ษาตอ รปู แบบอาชีวศกึ ษา

ตวั อยา งส่อื นวตั กรรมและเทคโนโลยี

ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที่ 3 เรอ่ื ง การเรยี นรจู ักภาวะเครียดและการจดั การความเครียด
พรอ มชอ งทางการประเมนิ ระดับความเครยี ด

ตัวอยางสือ่ นวัตกรรมและเทคโนโลยี

ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปท่ี 5 เรอื่ ง การทาํ ความเขา ใจระบบการเขาศกึ ษาตอ
มหาวิทยาลัย TCAS


Click to View FlipBook Version