The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ancha wan, 2021-09-06 23:59:49

แบบรายงานการปฏิบัติงาน 1/2564

รวมเล่ม sar

วฒุ ิบตั รที่ไดร บั จากการเขา รวมประชมุ

รายงานการประชุม กลมุ งานแนะแนว

รายงานการประชุม กลมุ งานแนะแนว

ตัวอยาง แบบบนั ทกึ ผลการดาํ เนนิ การชุมชนแหง การเรียนรู
ทางวชิ าชีพ PLC

แบบบันทกึ ผลการดาํ เนนิ การชมุ ชนแหงการเรยี นรทู างวชิ าชีพ

PLC

โรงเรยี นสตรเี ศรษฐบุตรบาํ เพ็ญ กลุมงานนะแนว

ครงั้ ท่ี 4 นบั เปน ช่ัวโมงท่ี 7-8

วันที่ 7 กรกฎาคม 2564 เวลา 15.10 น. - 17.10 น. (2 ชว่ั โมง)

กลุม บรหิ ารวชิ าการ ภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2564

งานขบั เคลอื่ นกระบวนการ PLC สสู ถานศกึ ษา ปก ารศกึ ษา 2564

ชอื่ กลุมกิจกรรม “พหปุ ญญา เปา หมายชีวิต” จาํ นวนสมาชิก .........3.......... คน ไดแ ก

1. นางสาวอัญชลี ใจคํา บทบาท ครูผสู อน (Model Teacher)

2. นางสาวสุภตั รา สหี าบญุ ลี บทบาท ครูรว มการเรยี นรู (Buddy)

3. นางสาวพจนารถ นุนคง บทบาท ครูผใู หค าํ ปรึกษา (Mentor)

ประเดน็
กลุมครูผูสอนวิชาแนะแนวไดรวมกันสรางสื่อการจัดการเรียนการสอนเรื่องอาชีพในปจจุบันขอมูล

อาชีพ
ท่ดี ีมกั จะตัดสินใจเลอื กเรียนในสาขาวิชาคณะหรือสถาบันการศึกษาท่ีตนเองไดพจิ ารณาแลวและเมื่อตั้งใจเรียน
จนสําเร็จการศกึ ษากม็ ักจะไดงานโดยไมตอ งอยใู นภาวะตกงานหรอื วางงาน
สาเหตุ

นักเรียนสวนใหญไมรูจักตนเอง ตองทําใหนักเรียนรูจักตนเองโดยการสํารวจรูปรางและลักษณะของ
รางกายสติปญญาและความสามารถ อารมณและจิตใจคานยิ ม ความชอบหรอื ความสนใจบคุ ลกิ ภาพ และความ
ถนดั ของตนเอง
ความรู/หลกั การนาํ ไปใช

การรูจักตนเอง (Self awareness) รวมไปถึงการรับรูและรูจักความสามารถของตัวเราเอง จะตองรู
วาเราเปนคนอยางไร ชอบอะไร ไมชอบอะไร เกงอะไร ไมเกงอะไร และที่สําคัญเราตองรูอารมณของตนเอง
ดว ย วา ขณะนี้เรามีอารมณเปนอยางไร การรูจักอารมณต นเองจะนําไปสูการควบคุมอารมณแ ละการแสดงออก
ที่เหมาะสมตอไป ซึ่งการที่จะรูจักตนเอง รูอารมณของตนเองได ตองเริ่มจากการรูตัว หรือการมีสติ การรูจัก
ตนเองเปนรากฐานของการสรางความเชื่อมั่นในตนเอง เพราะการรูจักตนเองหมายรวมถึง ขีดความสามารถ
ของตัวเรา รูขอจํากัดของตัวเองเรา อะไรที่ทําได อะไรที่เกินฝน การรูจักตนทําใหเราเขาใจผูอื่นไดมากขึ้น เรา
จะพบวามีบางเรื่องที่เราคลายคนอื่น และมีอีกหลายเรื่องที่แตกตางกัน เชน เจตคติ ความคิด ความเช่ือ
ประสบการณ ฯลฯ ซึ่งสิ่งเหลานี้เองที่ผลักดันใหเรามีพฤติกรรมหรือการแสดงออกตางกัน เมื่อเราไดเขาใจ
ปจจยั ตา ง ๆ เหลา น้ี กจ็ ะทําใหเ กิดการยอมรับและเขา ใจผูอ่นื ในสังคมไดอยางมคี วามสขุ

ตามทฤษฎีแนวคดิ ของ คารล อาร โรเจอร (Carl R. Roger 1970)
1) ตนเองตามอดุ มคติ (Ideal Self)
2) ตนตามทีร่ ับรู (Perceived Self)
3. ตนตามความเปนจริง (Real Self)

เคร่อื งมอื แบบวัดบุคลกิ ภาพ MBTI (Myers-Briggs Type Indicator)
โดยถูกคิดคนและพัฒนาขึ้นโดย Isabel Briggs Myers และ Katharine C. Briggs ซึ่งตอยอดมาจาก

ทฤษฎีของ Carl Jung (คารล จงุ )
คารล จุง พบวา พฤติกรรมไมไดเปนลักษณะเฉพาะของคนใดคนหนึ่งแตหลายๆ คนสามารถมีแบบ

(patterns) ของพฤติกรรมที่เหมือนหรือคลายๆ กันได โดยเปนพฤติกรรมที่เปนระบบระเบียบ (Orderly) ที่มี
ความถาวรคงเสนคงวา แบบของพฤติกรรมที่ทําใหคนแตกตางกันก็คือแบบที่คนมักแสดงออกบอย ๆ
(preferences) ซึ่งจะสะทอนเจตคติของบุคคลที่มีตอโลก โดยการใชเครื่องมืออาจจะชวยสามารถระบุ
พรสวรรคเ ฉพาะตัวได จะทาํ ใหม คี วามเขาใจตนเอง เขาใจถงึ แรงจงู ใจและจุดเดนตามธรรมชาติของตัวเอง รวม
ไปถึงศักยภาพดานตางๆที่นําพาไปสูการพัฒนาตนเอง นอกจากนี้จะยังเห็นถึงความเปนปจเจกชนที่มีความ
แตกตา งกนั ไป
กิจกรรมท่ีทํา

1. ชว ยกันออกแบบการสรา งสื่อการจดั การเรยี นการสอนเรื่อง การรูจักตนเอง
2. การใชแบบทดสอบตา งๆที่สะทอนความเปน ตัวเองผานการสำรวจและพิจารณาความสามารถของ
ตนเอง
3. สราง 10 อนั ดับอาชพี ทำเงินเกดิ ใหม ในชวง 10 ปท ่ผี า นมาใหผ ูเ รยี นไดรทู ราบเปน แนวทางในการ
เลอื กอาชีพ

ผลทีไ่ ดจากกิจกรรม
1. นกั เรียนไดท ำการศกึ ษา และพจิ ารณาถงึ ความถนัด ความสามารถของตนเองเพือ่ พจิ ารณาตอ ถึง

ปนวทางการออกแบบลกั ษณะอาชีพทต่ี องการในอนาคต
2.มกี ารดำเนนิ การพัฒนาสื่อเรอ่ื ง10 อันดับอาชีพทำเงนิ เกิดใหม ในชวง 10 ปท ผ่ี า นมาใหผเู รยี นไดร ู

ทราบเปน แนวทางในการเลอื กอาชีพ

ผลของการนําไปใช
1. นาํ การพัฒนาสอื่ การจดั การเรียนการสอนเรื่อง 10 อันดบั อาชีพทีเ่ กิดใหมใ นชว ง 10 ปท่ผี านมาให
ผูเรยี นไดไ ดร ูทราบเปนแนวทางในการเลือกอาชพี ในภาคเรยี นท่ี 1 ปก ารศึกษา 2564

ขอ เสนอแนะ/สิง่ ทีจ่ ะปรบั เปล่ียนตอไป
-

ภาพประกอบการดําเนินการชุมชนแหง การเรยี นรทู างวชิ าชพี PLC /ประชุม/open classroom
ภาพสอื่ นวตั กรรม และเทคโนโลยที างการเรยี นร/ู บรรยากาศการจัดการเรียนร/ู ผลงานจากการ PLC

การรับรองการดาํ เนินการชมุ ชนแหง การเรียนรทู างวชิ าชีพ PLC

ลงชื่อ............................................................................ ลงชือ่ ............................................................................

(นายปรัชญา พิมลภทั รกลุ ) (นายเกษม วิจโิ น)

รองผูอํานวยการ กลุมบรหิ ารวิชาการ ผูอาํ นวยการโรงเรยี นสตรีเศรษฐบุตรบาํ เพญ็

บทบาท ผเู ชี่ยวชาญ (Expert) ผูอาํ นวยการ (Administrator)

7 /กรกฎาคม/2564 7 /กรกฎาคม/2564

ปฏทิ ินดําเนนิ การชุมชนแหง การเรียนรทู างวิชาชพี PLC ปการศกึ ษา 2564
ภาคเรียนที่ 1 (การจัดการเรยี นรูแ บบ online)

ท่ี วันท่ี กระบวนการ PLC หมายเหตุ

1 16 มิถนุ ายม 2564 ฝายบริหารประชุมวางแผนการดําเนินการ PLC ครัง้ ท่ี 1 ชัว่ โมง 1-2
ในสถานศกึ ษา

2 23 มิถนุ ายม 2564 คณะกรรมการบริหารวิชาการประชมุ วางแผนการ คร้งั ที่ 2 ชว่ั โมง 3-4
ดาํ เนินการ PLC โดยแบงตามกลุมสาระการเรียนรู

3 30 มิถนุ ายม 2564 คณะกรรมการประชุมวางแผนและจัดทาํ คําสง่ั งาน ครั้งท่ี 3 ช่วั โมง 5-6
ขับเคล่อื น PLC สสู ถานศึกษา (PLAN)

4 7 กรกฎาคม 2564 (กลุมใหญ) กลมุ สาระการเรียนรูจ ดั ต้งั กลุม PLC ครัง้ ที่ 4 ช่วั โมง 7-8
และแบง กลมุ ยอ ยตามประเด็น (PLAN)

5 14 กรกฎาคม 2564 (กลมุ ยอ ย) เลอื กประเดน็ และพัฒนาแผน ครง้ั ที่ 5 ช่ัวโมง 9-10
การจดั การเรียนรู (PLAN)

6 21 กรกฎาคม 2564 (กลุมยอ ย) ออกแบบและพฒั นาแผนการจัด การ คร้งั ท่ี 6 ชว่ั โมง 11-12
เรียนรู และกระบวนการจดั การเรียนรู (DO)

7 4 สงิ หาคม 2564 (กลุมยอย) สงั เกตช้นั เรียน เปดชัน้ เรยี น open คร้งั ท่ี 7 ชัว่ โมง 13-14
classroom* (DO)

8 11 สิงหาคม 2564 (กลุม ยอ ย) นาํ สิ่งท่ีไดจ ากการสังเกตชั้นเรียนมา คร้งั ท่ี 8 ช่ัวโมง 15-16
ปรบั แผนการจดั การเรียนรู (DO)

9 18 สงิ หาคม 2564 (กลมุ ยอ ย) สะทอ นผลจากการ PLC (SEE) ครัง้ ที่ 9 ชวั่ โมง 17-18

10 25 สิงหาคม 2564 (กลมุ ยอ ย) เลอื กประเดน็ และพัฒนาแผนการ ครั้งที่ 10 ชัว่ โมง 19-
จดั การเรียนรู (PLAN) 20

11 1 กันยายน 2564 (กลมุ ยอ ย) ออกแบบและพฒั นาแผนการจัด การ คร้ังที่ 11 ช่วั โมง 21-

เรยี นรู และกระบวนการจัดการเรียนรู (DO) 22

12 8 กันยายน 2564 (กลุมยอ ย) สงั เกตช้นั เรียน เปด ชน้ั เรยี น open คร้ังที่ 12 ชวั่ โมง 23-

classroom* (DO) 24

13 15 กันยายน 2564 (กลมุ ยอ ย) นาํ ส่ิงท่ีไดจ ากการสงั เกตชัน้ เรียนมา ครง้ั ท่ี 13 ชั่วโมง 25-
ปรบั แผนการจดั การเรียนรู (DO) 26

14 22 กนั ยายน 2564 (กลุม ยอย) สะทอ นผลจากการ PLC (SEE) คร้ังท่ี 14 ชวั่ โมง 27-
28

15 29 กนั ยายน 2564 (กลุมใหญ) สรปุ อภปิ รายผล วิเคราะหจุดเดนและ คร้ังที่ 15 ชั่วโมง 29-

จดุ ดอ ย จากการดําเนินการ PLC (SEE) 30

วธิ กี ารดําเนนิ การชมุ ชนแหง การเรยี นรทู างวิชาชพี PLC ปการศึกษา 2564 (online)
1. คณะกรรมการประชมุ วางแผนการขบั เคลือ่ นกระบวนการ PLC สถานศึกษา (PLAN)
2. (กลมุ ใหญ) กลุม สาระการเรยี นรูจ ดั ต้ังกลุม PLC และแบงกลุมยอยตามประเด็น (PLAN)
3. (กลมุ ยอ ย) เลือกประเดน็ และพฒั นาแผนการจดั การเรียนรู (PLAN)
4. (กลมุ ยอ ย) ออกแบบและพฒั นาแผนการจดั การเรยี นรู และกระบวนการจัดการเรียนรู (DO)
5. (กลุมยอย) สังเกตชั้นเรียน เปดชั้นเรียน open classroom* (online) (DO) ซึ่งนอกจากจะมี ผู

บันทึก (Model teacher) ผูใหคําปรึกษา (Mentor) สมาชิก (Buddy) แลว ยังจะตองมีผูเขารวมชุมชนแหง
การเรียนรูทางวิชาชีพ PLCบทบาทผอู าํ นวยการ (Administrator) ซงึ่ อาจจะเปนผูอํานวยการโรงเรียน บทบาท
ผูเชี่ยวชาญ (Expert) ซึ่งอาจไดแกรองผูอํานวยการฝายวิชาการ หรือรองฯ ฝายอื่น ศึกษานิเทศก หรืออาจารย
มหาวทิ ยาลยั เปนตน

6. (กลมุ ยอย) นําสง่ิ ทไี่ ดจ ากการสงั เกตชั้นเรยี นมาปรบั แผนการจัดการเรยี นรู (DO)
7. (กลมุ ยอย) สะทอ นผลจากการ PLC (SEE)
8. (กลมุ ใหญ) สรปุ อภปิ รายผล วิเคราะหจดุ เดน จดุ ดอ ย จากการดาํ เนินการ PLC (SEE)

*หมายเหตุ
1. รายละเอียดในกระบวนการ PLC สามารถปรบั เปลย่ี นไดตามบรบิ ทของกลุม สาระการเรยี นรู
2. การสง รายงานแบบบันทึกผลการดําเนนิ การชุมชนแหง การเรียนรูท างวชิ าชีพ PLC (online) ในป

การศึกษา 2564 นี้ ขอใหสงเปน รายเดือน (วนั จนั ทรแรกของเดอื น) ซ่งึ สามารถสง ไดด งั ชอ งทางตอไปนี้
2.1 สง เอกสารออนไลนโดยตรงท่คี รูวุฒชิ ัย ศรีจรูญ อเี มล [email protected]
2.2 สง เอกสารทหี่ องวิชาการ

Self-Assessment Report : SAR


Click to View FlipBook Version